นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 70 สิงหาคม 2560

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๐

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

นายกเชาวน์วัศ ระดม ประชาชนเสนอความคิดเห็น เรื่ อ งพั ฒ นาพื้ น ที่ ท ่ อ งเที่ ย ว 'เมื อ งสามธรรม' ลงท้ า ย ขอผู ้ เ ข้ า ร่ ว มยกมื อ หนุ น ๔ โครงการ เกรงกรมโยธาฯ เอา งบฯ กลับ ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์ โอ ลั่ลล้า พาชิม นภสร มีบุญ

˹éÒ ò ˹éÒ ó

คณะผู้บริหาร ว.เทคโนโลยีภาคใต้ (ทุ่งสง) ต้อนรับคณะแขกพิเศษจาก ลาว กัมพูชา เวียดนาม และเมียนมาร์ น�ำชมห้องเรียนและกิจกรรม

˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๗ ˹éÒ ñ๘

ศ.ดร.นิตย์ศรี แสงเดือน ดร.สรรค์นันท์ ตันติอุโฆษกุล อัครวงศ์ และนายธรรมรงค์ สัญจร

เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.นิตย์ศรี แสง เดือน อธิการบดี


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๒

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร (แทน นพ.บัญชา พงษ์พานิช) (bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด

นายจ� ำ เริ ญ ทิ พ ญพงศ์ ธ าดา ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เห็นชอบให้เปิดตลาดถนนคนเดินมี ภาพลักษณ์เป็นถนนสายวัฒนธรรม ภายใต้การสนับสนุน ของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) และหอการค้า จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นผู้ด�ำเนินการให้เกิดตลาด ตามจุดประสงค์ สมาชิกหอการค้านครฯ หนุม่ สาวร่วมระดมความคิดเพือ่ หาแนวทางจัดการตลาดให้เกิด 'ตลาดบนถนนสายวัฒนธรรม' ที่แข็งแกร่งยั่งยืนและมีเอกลักษณ์ โดยได้รับ ถนนราชด� ำ เนิ น พื้ น ที ่ ห น้ า วั ด พระมหาธาตุ เ ป็ น ตลาด (market place) ก�ำหนดเอาบ่ายวันเสาร์จนถึงเทีย่ งคืน เป็นช่วงจัดวางซือ้ ขายและท�ำความสะอาด เปิดตลาดนัดแรกวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ชาวนคร หลายพันคนไปชม ไปเดิน ไปซื้อและกินดื่ม ทุกคนได้ สัมผัสบรรยากาศเดิมๆ ของเมืองนคร ในรูปศิลปะการ แสดง การแต่งกาย อาหารพื้นบ้านพื้นเมือง อาหาร ประยุกต์ และสินค้าออกแบบผลิตเองจ�ำนวนมาก ตลาด นัดแรกปรากฏเงินหมุนเวียนร่วม ๒ ล้านบาทในยุค ร้านค้าปิดตัวและยางพาราดิ่งเหว ๓ กิโล ๑๐๐ บาท ขณะเดียวกันก็มีคนเห็นแย้งว่าตลาดท�ำให้รถติด เลือก สถานที่ไม่เหมาะสม ถนนหน้าพระธาตุสกปรกและเห็น ควรไปจัดทีอ่ น่ื 'ตลาดหน้าพระธาตุ' อาศัยพื้นที่ที่มีความหมายและ คุณค่าทางวัฒนธรรม เป็นพืน้ ทีใ่ นความทรงจ�ำ มีเรือ่ งราว เฉพาะของเมืองนคร และเป็นพืน้ ทีใ่ นฝันหรือจินตนาการ ของคนไกล อาศัยบารมีพระบรมธาตุเจดียโ์ น้มน้าวชักจูง ให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาเยี่ยมมาชมและถ่ายรูปเป็นที่ ระลึกหรือส่งต่อไปยังเพื่อนฝูงตามโลกสื่อสารสมัยใหม่ ซึ่งจะเกิดประโยชน์ระยะยาวแก่เมืองนคร ขณะนี้จังหวัด ก�ำลังจัดท�ำเอกสารฉบันภาษาอังกฤษที่สมบูรณ์เตรียม เสนอยูเนสโก้เพื่อพิจารณาขึ้นทะเบียนวัดพระมหาธาตุ เป็นมรดกโลก นักท่องเทีย่ วนอกจากมาสักการะพระบรม ธาตุเจดียแ์ ล้ว เย็นย�ำ่ ของวันเสาร์พวกเขาสามารถเดินชม ตลาดเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ผลิตในมิติวัฒนธรรมของ เมืองนครและพักค้างคืนเปลี่ยนเมืองนครเป็นเมืองผ่าน ให้เป็นเมืองต้องพักค้างจับจ่าย

คุ

ณหมอบั ญ ชา พงษ์ พ านิ ช มี ข ้ อ ความมาถึ ง กอง บรรณาธิการว่า ท่านยังอยูท่ เี่ มืองจีนไม่สามารถเขียน ต้นฉบับ 'นครดอนพระ' ทัน เลขาฯ กองบรรณาธิการขอให้ ผมช่วยเขียนแทน คุณหมอบัญชามีแฟนประจ�ำ แต่ละคนจดจ�ำส�ำเนียง ความคิดเห็น มุมมองของคนที่รอบรู้ได้แม่นย�ำ ผมอาสา เขียนแทนก็เสี่ยงสักหน่อย เพราะมองเห็นเมืองนครไม่ ลึกเท่า ส�ำนวนลีลา ข้อมูลต่างกัน ถ้าไม่สนุกหรือขัดใจก็ ขออภัย สองสามสัปดาห์ที่ผ่านมาเมืองนครดอนพระของเรา เกิดพื้นที่ใหม่ขึ้นกลางตัวเมือง เกิดบนดอนพระ เกิดต่อ หน้าพระบรมธาตุเจดีย์ หลายท่านแสดงความขุ่นเคืองใจ ไม่ถูกใจ แม้แต่คนมองเห็นพระบรมธาตุเจดีย์มองเห็นอยู่ ทุกวันก็คาดไม่ถงึ ไม่ถกู ใจทีถ่ นนหน้าวัดพระมหาธาตุฯ ที่ ขับขี่สบายถูกปิดช่วงบ่ายวันเสาร์ถึงเที่ยงคืน ปิดให้เป็น ถนนคนเดินและสร้างเป็น 'ตลาด' (market place) ขับขี่ ไม่ได้ คนนิยมความสะอาดบ่นว่าถนนสวยงามๆ ตลาด

เลิกมีเศษคราบน�้ำคราบด�ำติดผิวพื้น ฝ่ายแก่พุทธแก่วัด ติวา่ ตลาดเปิดช่วงพระท�ำวัตรเย็นชวนหนวกหู 'หลาดหน้าพระธาตุ' ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆ แต่เกิดตาม ยุคสมัยของโลกซึง่ การท่องเทีย่ วกลายเป็นกระแสหลัก การ ท่องเทีย่ วน�ำเม็ดเงินสูป่ ระเทศต่างๆ ไม่วา่ ฝรัง่ เศส อังกฤษ เยอรมันหรือเนเธอร์แลนด์ ยืนอยู่ได้ด้วยรายได้จากการ ท่องเทีย่ ว หลังเศรษฐกิจประสบปัญหาเมือ่ ๕-๖ ปีทผี่ า่ นมา ญี่ปุ่นปรับตัวเองให้นักท่องเที่ยวเข้าออกได้ง่ายขึ้น คนไทย พม่า เวียดนาม แห่เข้าญีป่ นุ่ สร้างรายได้จนเศรษฐกิจฟืน้ ตัว ทรั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ม่ สิ้ น เปลื อ งคื อ วั ฒ นธรรม ก�ำแพงเบอร์ลิน โบสถ์ วิหารหรือพิพิธภัณฑ์ต่างๆ เพียง แต่เมืองรู้จักบ�ำรุงรักษาและเปิดให้เข้าชม เหมือนฝรั่งเศส เปิดโอกาสให้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ หรือหอไอเฟล นัก ท่องเที่ยวได้ชื่นชมความงามและกลับมาพร้อมภาพถ่าย แต่ทุกอย่างยังอยู่ครบ เพียงระวังไม่ให้นักท่องเที่ยวแตะ ต้องหรือท�ำให้เสียหาย นักท่องเทีย่ วซือ้ ของทีร่ ะลึกกลับมา ขณะใช้เวลาอยู่ในประเทศนั้นก็ต้องใช้จ่ายค่าที่พัก อาหาร และค่าบริการต่างๆ นับเป็นการลงทุนทีค่ มุ้ ค่า ถนนหน้ า พระธาตุ คื อ การปรั บ พื้ น ที่ ท างประวั ติ ศาสตร์และวัฒนธรรมเป็นพื้นที่เศรษฐกิจจ� ำเพาะ ผู้จัด สร้างรูปแบบ 'จ�ำเพาะ' โดยเอาวัฒนธรรมของคนนคร มาก�ำหนดเพื่อเพิ่มมูลค่า เช่น พ่อค้าแม่ค้าแต่งกายแบบ เดิมๆ เท่าที่แต่งได้ เลือกสินค้าในวัฒนธรรมชาวนครหรือ นครประยุกต์มาขาย ขณะเดียวกันตลาดหน้าพระธาตุยัง เป็นพืน้ ทีก่ จิ กรรมทีช่ าวนครได้ไปเดินร่วมกัน ชมการแสดง โนรา หนังตะลุง ดนตรีเปิดหมวก (อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๓

มเปรยเรื่ อ ง 'ต� ำ หรั บ ต� ำ ราและ เอกสารโบราณจดจารสรรพวิ ช า ความรู้' ของเมืองนครศรีธรรมราช ถูก เผาทิ้ ง สมั ย แรกมี ก ารปกครองแบบ เทศาภิ บ าล และถู ก น� ำ ขึ้ น รถไฟไป กรุ ง เทพฯ จ� ำ นวนมาก เพราะคิ ด ว่ า ภูมิปัญญาเกี่ยวกับหัวใจและการอยู่ร่วม กันอย่างสมัครสมานแบบ 'คนคอน' อาจ ถูกเผาหรือขโมยไปด้วย คนรุ่นหลังจ้อง เอาแต่เถียงกันจนกลายเป็น 'คนหัวหมอ' ในสายตาคนอืน่ ทีพ่ เิ ศษกว่านัน้ 'คนนคร' เถียงกันได้ ทุกเรื่อง โดยขาดการวินิจฉัยว่าควรหรือ ไม่ควรเถียงกัน บางเรือ่ งเถียงไม่จบเพราะ หมดปัญญาหรือไม่ยอมลงให้กัน จึงต้อง พาไปให้ ค นอื่ น ที่ มี ป ั ญ ญาช่ ว ยวิ นิ จ ฉั ย ตัดสินหมดสิ้นศักดิ์ศรีของเมืองยิ่งใหญ่ ในอดีต เรือ่ งบูรณะศาลหลักเมือง ปี ๒๕๖๐ แรกล้ อ มรั้ ว กั้ น บริ เ วณเตรี ย มบู ร ณะก็ เหมือนกัน ฝ่ายบูรณะประชุมกันไม่รู้กี่ หน พอเขาลงมื อ ไปสั ก ระยะก็ เ ริ่ ม โวย ยกเหตุผลมาติสารพัดเท่าที่คิดได้ ตั้งแต่ รถติ ด ปกปิ ด ไม่ แ จ้ ง หรื อ เปลี่ ย นแปลง อัตลักษณ์ ไม่รักษาแบบดั้งเดิม ซึ่งเป็น ประเด็นที่เป็นเหตุเป็นผลน่ารับฟัง และ มีการร้องเรียนศูนย์ด�ำรงธรรมจนจังหวัด ต้ อ งจั ด ประชุ ม รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น สอง ครัง้ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็นคนจากบ้าน อื่นเมืองอื่นต้องอาศัยสอบถามหาข้อมูล ความรู ้ จ ากบุ ค คลที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ เพราะ ตระหนั ก ดี ว ่ า เล่ น กั บ คนนครล� ำ บาก ศาลหลักเมืองสร้างเสร็จ ๓๐ ปี ราวกับ จะมีเจ้าของ การประชุมครั้งที่ ๒ ต้อง

วัตถุมงคลที่ระลึก แจกฟรีแก่ผู้ไปร่วมงานสมโภช

อ.พรชัย วัฒนวิกย์กิจ นายสัมพันธ์ ทองสมัคร และรองผู้ว่าฯ สกล จันทรักษ์

ขอบคุณ 'อ.เปี๊ยก' พรชัย วัฒนวิกย์กิจ ซึ่ง ร่ ว มสร้ า งศาลหลั ก เมื อ งตั้ ง แต่ ค รั้ ง แรก อ.เปี ๊ ย กเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า วิ ท ยาลั ย ช่ า งศิ ล ป์ เชีย่ วชาญงานช่างสิบหมู่ เป็นช่างปัน้ เครือ่ ง

บนศาลหลักเมืองและคราวนี้ อ.เปี๊ยก ได้ อธิบายอย่างแข็งขันและยืนยันว่าที่ปั้นต่อ เติมราหูและอืน่ ๆ เป็นการเพิม่ ส่วนทีย่ งั ค้าง อยูค่ ราวแรกให้สมบูรณ์ตามทีว่ างไว้ ขอบคุณ 'พีเ่ ล็ก' ฉันท์ทพิ ย์ พันธรักษ์ราชเดช ที่เข้าร่วมประชุมสนับสนุนการ บูรณะว่าด�ำเนินไปถูกต้องแล้วและเสนอ แนะวิธที จี่ ะท�ำให้ถกู ต้องตามศาสตร์โบราณ ให้ประชาชนยอมรับ ซึ่งคณะผู้บูรณะเห็น ด้วยและยอมรับโดยดี ขอบคุณอาจารย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร ผู้หลักผู้ใหญ่ของบ้าน เมือง รองผู้ว่าฯ สกล จันทรักษ์ พล.ต.ต. วันไชย เอกพรพิชญ์ รศ.ดร.วิเชษฐ์ สุวสิ ทิ ฐ์ สถาปนิกผู้ออกแบบการบูรณะปรับปรุงฯ อนุวตั ร ศรีไสยเพชร ตัวแทนผูว้ า่ จ้างบูรณะ ตลอดจนผูเ้ ข้าร่วมแสดงความคิดเห็น ทุกคนทีเ่ ป็นพลังสร้างความเข้าใจให้เกิดขึน้

และยินยอมให้การบูรณะให้ดำ� เนินต่อไป นี่คือสิ่งดีๆ ที่เกิดขึ้นกับสังคมชาว นครว่า 'เราสามารถยุติเรื่องของเราเอง ได้ เ พื่ อ ผลประโยชน์ ส ่ ว มรวมหรื อ ผล ประโยชน์ ข องบ้ า นเมื อ งโดยใช้ เ หตุ ผ ล และการยอมรับ แม้ว่าบางอย่างอาจไม่ ถูกใจเราทัง้ หมด' เราค่อยๆ เรียกจิตวิญญาณอันสง่า งามของชาวนครดัง้ เดิมกลับมา บางทีเรา อาจได้เรียนรู้ไปด้วยว่าภูมิปัญญาอะไร ของเราถูกเผาไปบ้าง ขณะเดียวกันเรา จะได้เฝ้ามองความงดงามของหลักเมือง บูรณะ ปี ๒๕๖๐ ว่างดงามสูงค่าเพียงไร อยากเรียนว่างานสมโภชต้นเดือน สิงหาคมนี้คณะกรรมการจัดงานเตรียม วัตถุมงคลที่ระลึกไว้แจกฟรีแก่ผู้ไปร่วม


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รกั บ้านเกิด ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๐

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ครศรีธรรมราชช่วงนี้จะสังเกตเห็นแขกบ้านแขก เมืองเข้ามาเยือนมากขึ้นผิดหูผิดตา เห็นจากร้าน โกปี๊มีรถตู้รถทัวร์เข้ามาไม่เว้นแต่ละวัน แม้ไม่มากมาย อย่างเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ ก็มากกว่าที่เคยมี ทราบจาก ข้อมูลของ ททท. ว่าโครงการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว '๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด' นครศรีธรรมราชเรามาอันดับหนึ่ง ดังนั้นงบการท่องเที่ยวกิจกรรมต่างๆ ก็เริ่มระดมลงมา เป็นระยะๆ อยูท่ คี่ นเมืองเราจะปรับตัวอย่างไรเท่านัน้ เอง การเตรี ย มบ้ า นเตรี ย มเมื อ งก็ ต ้ อ งว่ า กั น ตั้ ง แต่ จังหวัดเอง เทศบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ ส่วนนีข้ ยับตัวอย่างเห็นได้ชดั องค์กรภาค เอกชนเช่นหอการค้า การท่องเทีย่ ว สภาอุตสาหกรรมก็มี กิจกรรมใหญ่ออกมาให้เห็น ผู้ประกอบการก็เตรียม

ปรับปรุงตัวเองเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีชาว ต่างเมืองมาท่องเทีย่ ว มาใช้บริการ มาซือ้ บริการเรามาก ขึ้ น องค์ ก รส่ ว นท้ อ งถิ่ น และภาครั ฐ ก็ เ ร่ ง จั ด ฝึ ก อบรม เตรียมพร้อมให้ผู้ประกอบการรายย่อยและผู้ให้บริการ ต่าง ๆ เมือ่ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ทางเทศบาลนคร นครศรี ธ รรมราชได้ เ ชิ ญ ผมและวิ ท ยากรท่ า นอื่ น ใน สายของคนรักบ้านเกิดมาช่วยเปิดประเด็นการท่องเที่ยว น� ำ เสนอความเห็ น เกี่ ย วกั บ โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ก าร ท่องเที่ยวในเขตเทศบาลโดยจัดเวทีลักษณะเสวนา ให้ วิทยากรทั้งสามท่านได้น�ำเสนอมุมมองของโครงการที่น�ำ เสนอ ๔ โครงการ คือ ๑.ปรับปรุงถนนสายราชด�ำเนิน ๒.ปรับปรุ​ุงถนนสายหัตถกรรมและภูมิทัศน์สนามหน้า เมือง ๓.ปรับปรุงถนนสายกะโรม (หัวอิฐ) ๔.ปรับปรุงภูมิ ทัศน์พนื้ ทีร่ อบอ่างเก็บน�ำ้ ทุง่ ท่าลาด ด้วยเวลาอันจ�ำกัดวิทยากรไม่สามารถวิพากษ์หรือ น�ำเสนอกิจกรรมอะไรได้มากมายต่อเทศบาล เพียงแต่ เสนอแนวคิดกันบนเวที แล้วเปิดเวทีให้ประชาคมได้ เสนอด้วย แนวคิดผมต่อโครงการนี้ผมก็เปิด ประเด็นเล็กๆ เอาไว้ ทีย่ งั ค้างคาใจอยูผ่ ม ก็ขอเขียนน�ำเสนอทาง 'ชวนคิด ชวนคุย' ในรักบ้านเกิดนี่แหละ ผมสนใจโครงการ 'ปรับปรุงถนนสายราชด�ำเนิน' เป็นอันดับ ต้นๆ เพราะเห็นว่าน่าจะเป็นรูปธรรม ที่ สุ ด ในการส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วด้ ว ย การพัฒนาพืน้ ทีก่ ารท่องเทีย่ วส่วนนีก้ อ่ น ชือ่ 'ถนนราชด�ำเนิน' ในเมืองไทยมี ทัง้ หมด ๑๖ สาย เป็น >> อ่านต่อหน้า ๙

วันที่ ๑๙ กรกฎาคม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช อัญเชิญอาหารพระราชทานให้แก่ นั ก เรี ย น คณะครู และผู ้ ป กครองนั ก เรี ย นโรงเรี ย นบ้ า น บางเนียน ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครฯ ๑๕๙ คน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนพระราชหฤทั ย ด้ า นการศึ ก ษาของเยาวชนที ่ มี ฐ านะ ยากจนในพื้นที่ห่างไกลชุมชนให้ได้รับการศึกษาที่ดีมีอุปกรณ์ การเรี ย นเพี ย งพออย่ า งต่ อ เนื ่ อ งสามารถน� ำ วิ ช าความรู ้ ไ ป ประกอบอาชี พ เลี้ ย งครอบครั ว และพั ฒ นาเป็ น ประชาชน ที ่ มี คุ ณ ภาพของประเทศชาติ . ..อาหารพระราชทานได้ แ ก่ ข้าวหมกไก่และผลไม้ ยังความปลาบปลื้มปิติและส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ แก่ผรู้ บั อย่างหาทีส่ ดุ มิได้

นางสาวปภัสมน อัมราลิขิต ผู้ตรวจราชการส�ำนัก นายกรัฐมนตรี เขต ๖ พร้อมด้วย นางสายพิรณ ุ น้อยศิริ ผู้ ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และคณะประชุมการตรวจ ติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศ.ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โครงการโรงเรียนคุณธรรม ซึ่งใช้งบประมาณของรัฐ จ�ำนวนมาก ผูต้ รวจราชการฯ กล่าวว่า รัฐบาลให้ความส�ำคัญ เป็นอย่างมากในการขจัดโรคพิษสุนขั บ้า สนองพระปณิธานโดย วางเป้าหมายก�ำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายในปี ๒๕๖๓ โดยก�ำหนดแผนปี ๒๕๖๐ ให้จงั หวัดร่วมมือกับ ม.วลัยลักษณ์ จัดท�ำศูนย์พกั พิงสุนขั จรจัดเนือ้ ที่ ๓๕ ไร่ ใช้งบฯ ๑๐๐ ล้านบาท


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๕

วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ พล.ท.ปิยวัฒน์ นาควานิช แม่ ท ั พ ภาคที ่ ๔ เป็ น ประธานเปิ ด เวที ส าธารณะสร้ า งการ รั บ รู ้ ท� ำ ความเข้ า ใจการจั ด ท� ำ สั ญ ญาประชาคม ตามด� ำ ริ ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธาน คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความปรองดอง (ป.ย.ป.) ณ สโมสรรืน่ ฤดี ค่ายวชิราวุธ อ.เมืองโดยมีภาคส่วนต่างๆ เข้าร่วม รับฟังประมาณ ๕๐๐ คน

ปาป้าจิมมี่ ชวาลา 'ร้านจิมมี'่ ไปเยีย่ มชมโรงเรียนมัธยม ยานากาวา ดร.เชาว์ เต็มรักษ์ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ ต้อนรับและน�ำชม

เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ พลโทธีร์ณฉัฏฐ์ จินดาเงิน ผูท้ รงคุณวุฒพิ เิ ศษกองทัพบก เป็นประธานเปิดการ แข่งขันกีฬา 'ท่าไร่เกมส์' ครั้งที่ ๑๐ ที่ ประพัฒน์ ทุมรัตน์ นายก อบต.ท่าไร่ เป็นประธานจัดมีนกั กีฬาและผูป้ กครองเข้า ร่วมหลายร้อยคน คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มรภ.นครศรี ฯ ปาลิกา จึงไพศาล ทองซีกวงร่วมสนับสนุน การ ขอเชิ ญ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาพื้ น ที ่ ภ าคใต้ ร ่ ว มกิ จ กรรมเสริ ม ประกวด Prince and Princess Southern Thailand ๒๐๑๗ สร้ า งความรู ้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ น อกสถานที ่ ก ั บ งานสั ป ดาห์ ต้นเดือนกรกฎาคมทีผ่ า่ นมา วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ภายใต้หัวข้อ 'จุด ประกายความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์ เสริมสร้าง เมือ่ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ ลานอีเดน ชัน้ ๓ ด้วยเทคโนโลยี สูว่ ธิ แี ห่งนวัตกรรม' ระหว่างวันที่ ๑๖ – ๑๘ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผูว้ า่ ฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์- สิงหาคมนี้ ธาดา น�ำทีมงานจากจังหวัดนครฯ ประกอบด้วย ส�ำนักงานการ ท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดฯ ส�ำนักงานเกษตรจังหวัด ส�ำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยขน ของดีไปโชว์ 'นครศรีดี๊ดี...นครศรีดีกว่าเดิมสู่เมืองกรุง' เพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ และส่งเสริมการท่องเที่ยวของ จังหวัดในมุมมองใหม่ ว่า 'เมืองคอน' น่าเทีย่ วและดีกว่าเดิม

วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ผูว้ า่ ฯ จ�ำเริญ ทิพญ พงศ์ธาดา เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการบริหารสภา อุตสาหกรรมจังหวัดนครฯและรับฟังข้อเสนอปัญหาและความ ต้องการโครงการพัฒนาจังหวัด และมอบนโยบายความร่วมมือ ระหว่างจังหวัดกับภาคเอกชนพัฒนาจังหวัดไปในทิศทางเดียวกัน Find Us On :

Page เพชรทองซีกวง

วันที่ ๑๘ กรกฎาคม วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) น�ำนักศึกษาร่วมกิจกรรมปลูกข้าว (หน�่ำข้าว) ในสวน ยางพารา-เรียนรูว้ ถิ ชี มุ ชน อาหาร อาชีพและวิถชี วี ติ ชาวชุมชน ใน 'งานรณรงค์ส่งเสริมเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตข้าวไร่แก่ เกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้' ณ บ้านวังขลี ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครฯ โดย พลตรีปริยารณ มัชฌิมวงศ์ ผบ.มณฑลทหาร บกที่ ๔๓ เป็นประธาน จ�ำเนียร ไชยรัตน์ เกษตรกรดีเด่นและ ปราชญ์ชมุ ชนร่วมถ่ายทอดประสบการณ์

Seekuang_official

099-195-6996

บริษทั ฮอนด้าศรีนคร ได้รบั เกียรติจากส�ำนักงานขนส่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เข้าร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรม หัวข้อ รถจักรยานที่ปลอดภัยและเทคนิคการขี่จักรยานสองล้ออย่าง ปลอดภัยในโครงการสนามจราจรเยาวชนเสริมสร้างจิตส�ำนึก ความปลอดภัย รุน่ ที่ ๑ วันที่ ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ โรงเรียน วัดเขาขุนพนม อ.พรหมคีรี รุ่นที่ ๒ วันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ โรงเรียนบ้านชะอวด อ.ชะอวด และ รุน่ ที่ ๓ วันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ โรงเรียนหัวไทร (เรือนประชาบาล) อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช

Line Official : @Seekuang

Line ID : boonada

โดย บจก.ซีกวงโกลด์ และ บจก.ทองบุณณดา ธุรกิจเพชรทองที่ลูกค้ามั่นใจได้ว่าคุ้มค่าด้วยคุณภาพและบริการ

ถ.เนรมิต ท่าวัง ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร)

ชั้ น 1 ห้างโรบินสัน (ฝั่ ง MK) สะพานยาว (ติดโลตัสเอ็กซเพรส)

ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) หัวถนน (ตรงข้ามคิวรถเชี ยรใหญ่)

หัวอิฐ (ข้างไปรษณีย์) www.facebook.com/BOONADA

คูขวาง (หน้า ธ.SME) ชวนเฮง ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่

0991956996


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๖

วิ

ศวกรโยธาฯ จาก ม.วลัยลักษณ์ หันหลังให้วชิ าชีพตาม ที่เล่าเรียนหลังจากบ้านท�ำงานที่ชลบุรีเพียง ๔ เดือน เคนบอกตัวเองว่ามันไม่ใช่หนทางที่จะใช้ชีวิตอย่างมีความ สุขตั้งแต่เดือนที่ ๒ เขาจบระดับมัธยมที่โรงเรียนทุ่งใหญ่ วิทยาคมและเรียนมหาวิทยาลัย ๔ ปี ๒ เทอม ความจริงเขา อยากเรียนทางด้านการเกษตร แต่สอบสัมภาษณ์ติดคณะ วิศวกรรมศาสตร์เสียก่อน ขณะท�ำงานที่ชลบุรีเขาคิดถึงที่นาของพ่อที่ห้อมล้อม ด้วยสวนยาง เขารักและฝันอยากกลับมาท�ำนา พอมีวัน หยุดเขานั่งรถกลับบ้าน มาท�ำการเกษตรทฤษฎีใหม่ตาม แนวพระราชด�ำริ สมัยนัน้ พ่อเฒ่า (ตา) เป็นแกนน�ำชาวบ้าน ต.ปริก อ.ทุง่ ใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช เขาคลุกคลีกบั ท้องทุง่ จนหลงรักวิถีเกษตรแบบแบ่งพื้นที่ ๓๐-๓๐-๓๐ และ ๑๐ คือปลูกข้าว ขุดสระ ปลูกพืชและทีอ่ ยูอ่ าศัย สมัยนั้นหน่วยงานรัฐจัดแบคโฮมาขุดสวนยาง ที่ยัง ไม่มีราคาเป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ เมื่อราคายางพารา ขยับขึ้นชาวบ้านส่วนมากหันมาปลูกยางกับปาล์มน�้ำมัน ตามกระแส

"แต่พ่อเฒ่ายังไม่เลิก แกเชื่อมั่นการเกษตร ทฤษฎีใหม่ ปลูกข้าว เลี้ยงปลาในนาข้าว ปลูก ผัก เลี้ยงเป็ดให้กินหอยเชอร์รี่ ผมได้ลงนาได้จับ ลูกคลัก ได้ชอ้ นกุง้ ผมรูส้ กึ เข้าใจและรักธรรมชาติ รถแบคโฮมาบ้านเราไล่กลับหมด" เคนเล่าต่อว่าท�ำนาได้ข้าวพอกินตลอดปี ต่อมาครอบครัวสู้กระแสยางกับปาล์มไม่ได้ก็หัน ไปท�ำตามบ้าง แม้พอ่ เฒ่ายังยืนยันการเกษตรแต่ ครอบครัวเกิดเสียงแตก "ผลของการทิง้ นาเราต้อง ซือ้ ข้าวกิน ซือ้ ข้าวเป็นกิโลมากินค่าใช้จา่ ยสูงมากมันเกินตัวแล้ว จึงหันกลับมาท�ำเกษตร" เคนลาออกจากงานกลับมากรีดยาง ขนน�ำ้ ยางไปขาย พ่อแม่และเพื่อนบ้านต่างเสียดายความรู้และ เงินเดือนที่ทิ้งไป เขาลงมือท�ำนาท�ำไร่ ได้พ่อเฒ่าเป็นแรง สนับสนุน เคนสร้างสะพานทอดผ่านนาข้าว อาศัยความ รู้เล่าเรียนมาและแรงจากน�้ำใจของเพื่อนบ้านที่อาสาช่วย ปลูกสละ และจัดภูมทิ ศั น์ใหม่ๆ อาศัยเปิดดูในอินเตอร์เน็ต “ตัวผมอยู่ชลบุรีแต่ใจอยู่ที่บ้าน นั่งรถทางไกลกลับ มาถึงก็ท�ำ โชคดีพ่อเฒ่ากับพ่อเป็นช่างไม้รับเหมามาก่อน สี่เดือนผมลงบ้านห้าครั้ง พอผมลาออกแม่ร้องไห้ แม่คอย ดูว่ามีงานที่ไหนชี้ช่องให้ไปสมัคร ผมก็ผัดจนแม่ยอมๆ ไป ในทีส่ ดุ " บนพืน้ ที่ ๑๗ ไร่ เคนแบ่งท�ำนา ๕ ไร่ ขุดสระ ๕ ไร่ ปลูกผลไม้ทงั้ สละ ลองกอง มังคุด ท�ำสวนสมรม ๕ ไร่และ เลี้ยงสัตว์ "ใช้ศาสตร์ของพระเจ้าอยู่หัวที่น�้ำเป็นสิ่งส�ำคัญ ผมท�ำนากลางป่ายางบางคนบอกว่าเป็นไปไม่ได้ไร่อยูก่ ลาง ป่าอ�ำเภอทุง่ ใหญ่ใครจะมาเทีย่ ว" วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ ไร่เกษมสุขยังไม่เปิด แต่ผคู้ น ทราบข่าวทางโลกโซเชียลขับรถเข้าไปเที่ยว "ตอนนั้นข้าว ก�ำลังออกรวง ขับรถเข้าไปตัง้ แต่เช้า ไปดูสายหมอก เดินบน

เวลาเปิด ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. ปิดทุกวันจันทร์ จองที่พักล่วงหน้า โทร.๐๘๘ ๓๘๒๙๕๕๒

สะพานไม้ไปถ่ายรูปกัน เรามีกาแฟด�ำ มีขา้ วต้ม มีลกู ปลา ทอดเค็ม ผู้ที่ไปก็เป็นข้าราชการในพื้นที่ คนละแวกนั้น มี พยาบาลบ้าง ไปเดินดูขา้ วในนา" กระแสตอบรับออกมาน่าชืน่ ใจพ่อแม่ยมิ้ ได้ ความเชือ่ มัน่ ในความคิดของลูกชายเพิม่ ขึน้ ญาติๆ ก็เข้ามาช่วยเหลือ ช่วงปีใหม่ ๒๕๖๐ เกิดปรากฏการณ์ผู้คนกลับบ้าน หลัง่ ไหลเข้าไปเทีย่ วไร่เกษมสุขเพราะเป็นช่วงเก็บข้าวพอดี เก็บข้าวมัดเลียงใส่หาบวางบนสะพานกลายเป็นมุมถ่ายรูป ทีง่ ดงาม "นักท่องเที่ยวมาจากสุราษฎร์ฯ กระบี่ สงขลาก็มี ครับ จากทุง่ สงก็เข้าไปมาก มันตอบโจทย์การท่องเทีย่ วเชิง เกษตรได้เป็นอย่างดี" เคนซือ้ เครือ่ งชงกาแฟสดมาบริการ ปรุงน�ำ้ ดืม่ รสชาติ ต่างๆ ของกินแกล้มกาแฟทีเ่ ป็นอาหารเมนูโปรดเป็น 'ข้าว เหนียวสองดัง' ใช้ขา้ วไร่ปลูกในอ�ำเภอทุง่ ใหญ่ “ผมยังไม่ได้เรียนชงกาแฟ ฝึกชงเองยังไม่แน่ใจว่า รสชาติถกู ปากหรือไม่ แต่กาแฟชงแทบไม่ทนั ผมก็บอกไป ว่าผมมือใหม่ คนไปเทีย่ วก็ไม่ได้ถอื สา อาหารก็ได้ฝมี อื แม่กบั ป้าช่วยๆ กันท�ำ เป็นอาหารบ้านๆ มีผกั เหนาะเก็บจากไร่" หลังเก็บเกี่ยวข้าวทุ่งนาไม่สวย เคนหารือพ่อเฒ่ากับ พ่อว่าจะท�ำนาต่อเนือ่ งให้ทงุ่ นาเป็นแหล่งดึงดูด ครอบครัว ตัดสินใจท�ำนาปรังไม่ปล่อยให้พื้นที่ว่างเปล่า วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เป็นวันหยุดยาว ไร่เกษมสุขแทบแตก นักท่องเทีย่ วขับรถยนต์เข้าไปนับร้อยคันรถ ทัง้ ๆ ทีไ่ ร่ยงั ไม่ เปิดเป็นทางการ เคนยังไม่ทำ� เมนูอาหารและเครือ่ งดืม่ เขาไม่มีที่จอดรถมากเพียงพอ นักท่องเที่ยวจ�ำนวน ไม่นอ้ ยผิดหวัง เสนอให้ท�ำลานจอดรถ จัดเตรียมอาหารให้ เพียงพอ เคนว่าวันนัน้ แม่กบั ป้าท�ำอาหารไม่ทนั พ่อกับเขา ช่วยกันเสิร์ฟอาหาร เขาอาจทักทายต้อนรับไม่ทั่วเพราะ คาดไม่ถึงว่าจะมีนักท่องเที่ยวเข้าไปมากมาย ไร่เล็กๆ ยัง ไม่ขึ้นท�ำเนียบแหล่งท่องเที่ยว สร้างมาตอบสนองความ ฝันส่วนตัวและแบ่งปันผู้รักวิถีธรรมชาติด้วยต้นทุนเท่าที่ พอมี ไม่ต้องไปกู้เงินให้เกิดความทุกข์ ไม่ต้องจ้างพ่อครัว มาท�ำอาหารเพราะจะผิดไปจากอาหารท้องถิ่น และเขา ไม่สามารถจัดหาที่ดินขยายลานจอดรถขนาดใหญ่ซึ่งอาจ ท�ำลายความสงบของไร่เล็กๆ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ เคนจะเปิดไร่เกษมสุขอย่าง เป็นทางการ เขาอยากแบ่งปันความสุข ขณะเดียวกันก็ ต้องการความเข้าใจจากนักท่องเที่ยวที่อยากเข้าไปสัมผัส ความสุขในวิถธี รรมชาติ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

จดหมายข่าว

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว) ๘. วัดคิด เป็นวัดเล็กในใจกลางชุมชนท่าวัง (บริเวณธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด สาขานครศรีธรรมราชปัจจุบัน) ด้านตะวันออกจดถนนราชด�ำเนิน ด้านทิศตะวัน ตกจดปัม้ น�ำ้ มันเชลล์ ด้านทิศเหนือจดมัสยิด และด้านทิศใต้จดวัดสมิท ๙. วัดลุม่ เป็นวัดเล็กอีกวัดหนึง่ ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือของตัวเมือง ในท้องทีต่ ำ� บล ปากพูน อ�ำเภอเมือง ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ของค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ ๔ ๑๐. วัดบ่อกลม เป็นวัดเล็ก ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของตัวเมือง ในท้องที่ต�ำบล ท่าวัง อ�ำเภอเมือง ต่อมาเป็นพืน้ ทีส่ วนราชฤดี ปัจจุบนั เป็นส่วนหนึง่ ของสนามกีฬาจังหวัด นครศรีธรรมราช ๑๑. วัดป่าทุ เป็นวัดเล็ก ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของตัวเมือง ในท้องที่ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมือง ปัจจุบนั เป็นส่วนหนึง่ ของสนามกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช ๑๒. วัดชุมแสง เป็นวัดเล็กๆ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของตัวเมือง ในท้องที่ต�ำบล ท่าวัง อ�ำเภอเมือง ปัจจุบนั เป็นส่วนหนึง่ ของวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช ๑๓. วัดตะเคียนทอง เป็นวัดเล็ก ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือของตัวเมือง อยูต่ รงข้ามวัด แจ้ง ท้องทีต่ ำ� บลท่าวัง อ�ำเภอเมือง ปัจจุบนั ให้เอกชนเช่าเป็นสถานีบริการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ๑๔. วัดประตูเขียน เป็นวัดเล็ก ซึง่ ตัง้ อยูต่ ำ� บลหลังวัดชะเมา ในท้องทีต่ ำ� บลท่าวัง อ�ำเภอเมือง เดิมเคยมีเศียร ท�ำด้วยส�ำริดและมีซากวิหารและพระพุทธรูปปูนปัน้ ขนาด ใหญ่อยูก่ ลางวัด ปัจจุบนั พืน้ ทีบ่ างส่วนของวัดผนวกเป็นส่วนหนึง่ ของวัดชะเมา ๑๕. วัดท่าโพธิ์ (เก่า) เป็น วัดใหญ่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก เฉี ย งเหนื อ ของตั ว เมื อ ง อยู ่ ใ น ท้ อ งที่ ต� ำ บลท่ า วั ง อ� ำ เภอเมื อ ง เหตุ ที่ ร ้ า งไปก็ เ พราะถู ก สลั ด ชื่ อ “อุ ช งคตนะ” จากชวาเข้ า ปล้ น สะดมเมืองนครเมื่อ พ.ศ.๒๑๘๑ สี่แยก ธ.กรุงเทพ (สาขานครฯ) มักเรียกว่าสี่แยกวัดคิด (ตรงกับสมัยพระเจ้าปราสาททอง แห่งกรุงศรีอยุธยา) พระรามราช ท้ายน�้ำเจ้าเมืองนครน�ำทหารออก ไปต่อสู้กันที่ “ทุ่งหยาม” จนตัว ตายในที่ ร บ สลั ด อุ ช งคตนะจึ ง ยกก�ำลังเข้าประชิดตัวเมือง และ เผาวัดท่าโพธิ์จนเสียหายยับเยิน กลายเป็นวัดร้าง ต่อมาจึงย้ายวัด มาสร้ า งใหม่ ริ ม คลองท่ า วั ง ใน วัดท่าโพธิ์วรวิหาร ปัจจุบนั ส่วนพืน้ ทีว่ ดั ท่าโพธิ์ (เก่า) ใช้เป็นสถานทีต่ งั้ โรงเรียนเทศบาลวัดท่าโพธิ์

เดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ วันจันทร์ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ ขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือนเก้า (๙) ปีระกา วันอังคารที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ แรม ๘ ค�ำ่ เดือนเก้า (๙) ปีระกา วันจันทร์ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ แรม ๑๔ ค�ำ ่ เดือนเก้า (๙) ปีระกา วันอังคารที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ขึน้ ๘ ค�ำ่ เดือนสิบ (๑๐) ปีระกา

หน้า ๗ การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

วัดเก่าในต�ำบลมะม่วงสองต้น

เฉพาะในที่ต�ำบลมะม่วงสองต้น มีวัดร้างอยู่ ๗ วัด ได้แก่ ๑. วัดภูเขายี เนื้อที่ ๕ ไร่ ๑ งาน ๑๒ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ต�ำบลมะม่วง สองต้น ปัจจุบันอนุญาตให้ เอกชนเช่าเป็นที่อยู่อาศัย ๒. วัดมะม่วงสองต้น เนื้อที่ ๑๒ ไร่ ๓ งาน ๙๑ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ต�ำบล มะม่วงสองต้น ปัจจุบันเป็นที่ตั้งโรงเรียนวัดมะม่วงสองต้น ๓. วัดอินทราวาส เนื้อที่ ๑ ไร่ ๒ งาน ๒๒ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ต�ำบลมะม่วง สองต้น ปัจจุบันอนุญาตให้เอกชนเช่าเป็นที่อยู่อาศัย ๔. วัดสระเรียง เนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๘๙.๒ ตารางวา (เป็นโฉนด ๒ แปลง) ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลมะม่วงสองต้น ปัจจุบันอนุญาตให้เอกชนเช่าเป็นที่อยู่อาศัย ๕. วัดหัวท่า เนื้อที่ ๓ ไร่ 1 งาน ๘๒.๔ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ต�ำบลมะม่วงสอง ต้น ริมคลองท่าดีซึ่งอยู่มุมก�ำแพงเมืองโบราณด้านทิศใต้ ๖. วัดหมอไชย (วัดสมอชัย) เนื้อที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๒๒.๗ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ต�ำบลมะม่วงสองต้นปัจจุบันอนุญาตให้เอกชนเช่าเป็นที่อยู่อาศัย ๗. วัดนาสน (วัดนาสนธิ์) เนื้อที่ ๗ ไร่ ๘๑.๖ ตารางวา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ ต�ำบล มะม่วงสองต้น เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เริ่มมีพระสงฆ์เข้ามาฟื้นฟูเพื่อจัดตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์

โรงเรียน วัดมะม่วงสองต้น

ส�ำนักสงฆ์วัดนาสน (วัดนาสนธิ์)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

มื่ อ วั น ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เทศบาลนคร นครศรีธรรมราช เป็นเจ้าภาพประชุมรับฟังความคิดเห็น หัวข้อเกี่ยวกับ 'โครงการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว' ตามแนวคิด 'นครสามธรรม' ณ ห้องบงกชรัตน์ โรงแรม ทวินโลตัส โดยเชิญนายสุเมธ รุจวิ ณิชน์กลุ สถาปนิกอาวุโส นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) เจ้าของธุรกิจร้าน อาหารลิกอร์และโกปี๊ ผศ.วิรจุ ถิน่ นคร อาจารย์สำ� นักวิชา สถาปัตยกรรม ม.วลัยลักษณ์ และนางจิตรา มณีสงค์ รักษา การ ผอ.ส�ำนักการช่างร่วมเสวนา ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ก่อนการเสวนา ผศ.เชาวน์วศั เสนพงศ์ กล่าวต่อผูเ้ ข้า ร่วมประชุมประมาณ ๕๐๐ คนว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช จั ด งบประมาณให้ เ ทศบาล ๑๔๐ ล้ า นบาทสนั บ สนุ น กิจการประปาซึ่งเป็นสาธารณูปโภคส�ำคัญที่ประชาชน ร้องเรียนเรื่องคุณภาพอยู่เสมอ ขณะนี้ได้แก้ไขปัญหา น�้ำไปมากแล้ว ขณะเดียวกันกรมโยธาธิการและผังเมือง จัดสรรงบประมาณมาให้ก้อนหนึ่งเพื่อสนับสนุนเทศบาล แนวทางพัฒนาเมืองเพือ่ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วในอนาคต ถ้า ประชาชนไม่เห็นด้วยกับแนวทางของเทศบาลกรมโยธาธิการและผังเมืองจะตัดงบประมาณดังกล่าวออกไป ขณะ เดียวกันเทศบาลมีนโยบายผลักดันแนวคิดเมืองท่องเที่ยว 'นครสามธรรม' คือธรรมะ ธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็น ทรัพยากรการท่องเทีย่ วทีจ่ ะสร้างมูลค่าได้มาก นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ กล่าวว่าตนเองเติบโตใน ตัวเมืองนครรู้เห็นภาพความเป็นไปของเมืองนครมากว่า ๖๐ ปี ตั้งแต่เมืองเริ่มมีไฟฟ้า มีรถม้า รถสามล้อเครื่องวิ่ง รับส่งผู้โดยสาร รถยนต์ดอร์ทวิ่งไปตลาดท่าแพ ต้นประดู่ กับต้นฉ�ำฉาขึน้ ตลอดสายถนนหลัก ต้นไม้โค่นล้มคราวเกิด วาตภัย ปี ๒๕๐๕ ก่อนนั้นสะพานราเมศวร์ยังมีเรือขนส่ง สินค้าเข้าออก ท่าวังเป็นศูนย์การค้าส�ำคัญอายุ ๑๐๐ กว่า ปี ตลอดสองข้างถนนมีวัดส�ำคัญๆ ตนเห็นว่าการพัฒนา เมืองต้องแบ่งโซนต่างๆ ๕ โซน (รายละเอียดอ่านคอลัมน์ ชวนคิดชวนคุย) ผศ.วิรุจ ถิ่นนคร กล่าวว่า เทศบาลจะจัดท�ำพื้นที่ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างไรเพื่อให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ สาธารณะ เป็ น แหล่ ง จั ด กิ จ กรรมและสามารถใช้ ร ่ ว ม กัน การพัฒนาพื้นที่ที่เป็นพื้นที่เกษตรตามฤดูกาล พื้นที่

อ่างเก็บน�้ำทุ่งท่าลาด

ประกอบอาชีพ ตลาดชุมชน หรือตลาดทางน�ำ้ ริมน�ำ้ ลาน วัดให้เป็นลานจัดกิจกรรมสามารถเชื่อมโยงกับอดีต โดย ค�ำนึงถึงเอกลักษณ์ จังหวัดนครฯเป็น ๑ ใน ๘ จังหวัดที่ มีครบทุกอย่าง ท�ำอย่างไรจึงสามารถท�ำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ กระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวและแสดงออก อาจารย์ บ อกว่ า โลกเปลี่ ย นไปพื้ น ที่ ก็ ต ้ อ งเปลี่ ย น ถนน ราชด�ำเนินเป็นถนนสายโบราณเป็นแนวแกนที่มีพระบรม ธาตุเจดีย์เป็นจุดหมายตา และยังมีสถานที่ส�ำคัญๆ เชื่อม โยงถนนราชด�ำเนินกับพื้นที่ว่างริมถนนราชด�ำเนิน เรามี ต้นทุนทรัพยากรที่มีเอกลักษณ์ครบครันเราต้องท�ำให้ชัด ขึ้น และชี้ให้เห็นคุณค่าร่วมจึงสามารถท�ำพื้นที่สาธารณะ ให้เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวได้ส�ำเร็จ สิ่งที่ต้องท�ำให้ชัดเจนก็ คือ ชี้ให้เห็นว่าพื้นที่นั้นเป็นที่เกิดของสังคม สามารถท�ำ กิจกรรมที่หลากหลาย มีความสว่างและรู้สึกสบายอย่าง ทุง่ ท่าลาด และมีระบบการการดูแลและบ�ำรุงรักษาอย่างดี เทศบาลหรือผูเ้ กีย่ วข้องต้องท�ำให้เต็มศักยภาพให้เป็นเมือง น่าอยู่เป็นเมืองที่ดีเพื่อส่งให้คนรุ่นต่อไป ทั้งนี้อาจารย์วิรุจ ยกตัวอย่างเมืองปารีสที่หอไอเฟลที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ แต่ละปีดึงดูดเงินเข้าประเทศมหาศาลและมีจุดดึงดูดใจ ให้ถ่ายรูป ในอนาคตพระบรมธาตุเจดีย์ของเราจะเป็นจุด ชม เมืองนครจะเป็นจุดแวะพักและจับจ่าย ที่ส� ำคัญเรา ต้องสรุปเรื่องราวให้สื่อสารได้และเข้าใจง่ายผ่านออนไลน์ รูปแบบต่างๆ เชื่อมโยงไปกับการปรับภูมิทัศน์ของเมือง เชื่อว่าการพัฒนาเมืองในทางที่ถูกต้องจะเพิ่มมูลค่าทาง

ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์

เศรษฐศาสตร์แก่จงั หวัด นายสุเมธ รุจวิ ณิชย์กลุ กล่าวว่า ตนในนามลูกหลาน ชาวนครทีไ่ ด้เล่าเรียนมาทางสถาปัตยกรรม ได้สอนหนังสือ ในสถาบันอุดมศึกษาและใช้ชีวิตในเมืองเก่าอย่างสงขลา และภูเก็ต ได้เห็นการอนุรกั ษ์เมืองของสองจังหวัดทีเ่ อกชน กับรัฐร่วมมือกันจนกลายเป็นเมืองเก่าที่มีเอกลักษณ์ดึงดูด นักท่องเที่ยวและน�ำรายได้เข้าสู่เมือง เมืองนครเป็นเมือง เก่าที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมและเราอาจจะมีมรดกโลก เป็นของตนเองถ้าผ่านการรับรองของยูเนสโก้ซึ่งมีระยะ เวลาเสนอ ๑๐ ปี ขณะนีเ้ ราใช้เวลาไปแล้ว ๓ ปี และก�ำลัง เข้าสูช่ ว่ งสุดท้ายคือท�ำเอกสารฉบับภาษาอังกฤษทีส่ มบูรณ์ ส่งผ่านคณะกรรมการในประเทศไทย ๓ ชุดก่อนส่งไปยัง คณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก้พิจารณา ถ้าคนรุ่นนี้ ท�ำส�ำเร็จการพัฒนาเมืองจะถูกส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ที่มี คุณภาพและไว้ใจได้ นางจิตรา มโนสงค์ กล่าวว่า การรับฟังความคิดเห็น ครั้งนี้เทศบาลขอการสนับสนุนโครงการ ๔ โครงการเพื่อ พัฒนาเมืองเพื่อการท่องเที่ยวโดยมีงบประมาณจากกรม โยธาธิการและผังเมืองก้อนใหญ่สนับสนุน ได้แก่ ๑.ปรับ ภูมิทัศน์ ถนนราชด�ำเนิน (ถนนวัฒนธรรม) ซึ่งเป็นแหล่ง เศรษฐกิจที่ต้องกลั่นกรองเรื่องราว และแนวคิดดีๆ จาก ผู้รอบรู้ ๒.ปรับภูมิทัศน์อ่างเก็บน�้ำ ๓๐๐ ไร่ (ทุ่งท่าลาด) ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวสันทนาการและเป็นปอดของเมือง ๓. ปรับภูมิทัศน์ถนนกะโรม ซึ่งเส้นทางไปสู่แหล่งท่อง เที่ ย วธรรมชาติ แ ละเกษตรกรรม ทั้ ง คี รี ว งและกรุ ง ชิ ง ๔.ปรับภูมทิ ศั น์ สนามหน้าเมืองและถนนท่าช้าง (ถนนสาย หัตถกรรม) ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มฟั ง ความคิ ด เห็ น ยกมื อ สนั บ สนุ น ทั้ ง ๔ โครงการโดยขอให้ท�ำอย่างจริงจังและโปร่งใส ที่ประชุม หลายท่านเสอนแนวคิด เช่น เรื่องควรหรือไม่ควรเก็บ ประตูเรือนจ�ำเอาไว้, อยากให้ส่วนราชการบูรณาการวัน หยุดให้ข้าราชการทุกส่วนได้ร่วมกิจกรรมส�ำคัญๆ, ขอให้ ส่วนการจราจรยืดหยุ่นและรถโดยสารซื่อสัตย์ต่อนักท่องเทีย่ ว, ขอให้ปรับปรุงริมคลองสนามหน้าเมือง และท�ำทาง เดินลอดใต้สะพานนครน้อย, ท�ำตลาดแขกกับท่าวังให้เป็น ย่านลิตเติ้ลอินเดียกับไช่นาทาวน์ตามอย่างนานาชาติ ท�ำ ทางจักรยานและผลักดันพิพิธภัณฑ์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เรียนรูอ้ ย่างเมืองเบอร์ลนิ ของเยอรมัน, ขยายถนนเข้าซอย หอไตรเพือ่ ชมพิพธิ ภัณฑ์และหอศิลป์ที่ ว.ศิลปหัตถกรรมฯ และพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในเขตเทศบาลโดยขยับสถานี ขนส่งออกไปอยู่รอบนอก ผู้เข้ารับฟังความคิดเห็นบางคน ชี้ว่าเม็ดเงินที่ใช้ปรับภูมิทัศน์อ่างเก็บน�้ำทุ่งท่าลาดอาจถูก น�ำไปใช้จดั การกองขยะทีก่ อ่ ปัญหามายาวนาน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๙

รายงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) พร้อมคณะผู้บริหาร ได้ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น เปิดวิทยาลัยต้อนรับคณะ ผู้ปกครองจากคริสตจักรกิติคุณทุ่งสงซึ่งเดินทางมาจาก ประเทศลาว กัมพูชา เวียดนามและเมียนมาร์ ๑๑๐ ท่าน โดยการน� ำ ของนายธรรมรงค์ สัญ จร ศิษ ยานุบ าลของ คริสตจักร ภายในงานมีการจัดกิจกรรมพิเศษต้อนรับ ด้ ว ยศิ ล ปะวั ฒ นธรรมที่ ส วยงามและเป็ น ประณี ต ศิ ล ป์ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช กับการแสดงมโนราห์จาก คณะศรีธรรมา ทางวิทยาลัยได้เปิดบ้านต้อนรับให้ได้ชม การนวดสปา การช่างอิเล็คทรอนิคส์และการสาธารณสุข กิจกรรมการเรียนการสอน และเปิดห้อง Lab ทางการ การต้อนรับคณะผู้เยี่ยมชมจากประเทศอาเซียนครั้งนี้นับ ศึกษาให้ได้เข้าชม พร้อมการสาธิตกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้าน เป็ น ครั้ ง ที่ ๖ วิ ท ยาลั ย พยายามสร้ า งความประทั บ ใจให้ มากที่สุด ดร.สรรค์นันท์ ตันติอุโฆษกุล อัครวงศ์ รองอธิการบดี กล่าวเพิ่มเติมว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) มีความ มุ่งมั่นตั้งใจพัฒนาการศึกษาของไทยสู่อาเซียน โดยเปิด สถาบันซิว-เสงี่ยมเพื่อภาษาและวัฒนธรรมข้ามชาติ ภาย ใต้ปรัชญา 'ภาษาและวัฒนธรรมน�ำสังคมสู่ความส�ำเร็จ' เมื่ อ วั น ที่ ๑๐ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ โดยเชิ ญ นายบั ญ ชา ชุมชัยเวทย์ พิธีกรผู้ประกาศข่าว 'จอโลกเศรษฐกิจ' ไทย

ทีวีสีช่อง ๓ บรรยายในหัวข้อ 'เปิดประตูทองของไทย สู่อาเซียน' มีผู้สนใจและนักศึกษาเข้ารับฟังกว่า ๕๐๐ คน ทั้งนี้วิทยาลัยได้รับทุนสนับสนุนงบประมาณในการ ก่อตั้งสถาบันภาษาและวัฒนธรรมข้ามชาติจากดอกเตอร์ กนิ ษ ฐา กาญจนจารี ประธานกองทุ น การศึ ก ษาเสริ ม มู ล นิ ธี ส วิ ต า ที่ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการศึ ก ษา ศาสนา ภาษาและพหุ วั ฒ นธรรม โดยสภาวิ ท ยาลั ย มี ความเห็นชอบให้มีมติจัดตั้งภายใต้ชื่อ 'ซิว-เสงี่ยมเพื่อ ภาษาและวั ฒ นธรรมข้ า มชาติ (SIEW-SNGIEM INSTITUTE OF LANGUAGES AND CROSS-CULTURES)' เพื่อ สร้างเอกลักษณ์และจุดเด่น การให้บริการวิชาการทั้ง แก่ชุมชนท้องถิ่น ภูมิภาค และระดับชาติที่สอดคล้อง กั บ การพั ฒ นาสู ่ ป ระชาคมอาเซี ย นพร้ อ มยกระดั บ การ เรียนการสอนของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้สู่ ระดับอนุภูมิภาคอาเซียน (ตอนใต้) การต้อนรับคณะแขก พิเศษจากประเทศลาว กัมพูชา เวียดนามและเมียนมาร์ คราวนี้เป็นหน้าที่โดยตรงของวิทยาลัย ขณะนี้วิทยาลัยมี นักศึกษาแลกเปลี่ยนจากมาเลเซีย เวียดนาม ลาว และ กัมพูชาหลายคน วิทยาลัยยึดมั่นในปรัชญา 'ภาษาและ วัฒนธรรมเป็นสื่อน�ำสังคมสู่ความเข้าใจ' โดยหวังเชื่อม โยงทุกองคาพยพของสังคมเป็น 'One Community' ที่มี ภาษาเป็นเครื่องมือ

<< ต่อจากหน้า ๔

ถนนทีม่ อี ายุ ๑๐๐ กว่าปี ริเริม่ การก่อสร้างโดย 'เจ้าพระยา สุขุม' ประมาณปี ๒๔๕๕ พร้อมกับขุดคลอง 'นครน้อย' หรือคลองหน้าเมือง คุณครูนอ้ ม อุปรมัย เทศมนตรียคุ นัน้ (พ.ศ.๒๔๘๓) เป็นผูต้ งั้ ชือ่ ตลอดเส้นทางยาว ๙ กิโลเมตร ผ่านเมืองเก่าสองเมือง ผ่านพระบรมธาตุ ศาสนสถานที่ ส�ำคัญต่างๆ มากมาย ผมน�ำเสนอให้มีการแบ่งโซนออก เป็น ๕ โซนเชื่อมต่อกัน นับตั้งแต่ 'โซนเมืองพระเวียง' จากหัวถนนถึงสะพานป่าเหล้า ช่วงนีจ้ ะเป็นพืน้ ทีเ่ มืองเก่า พระเวียง มีพพิ ธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติตงั้ อยู่ รวบรวมเรือ่ ง ราวทางประวัติศาสตร์ ศิลปะวัตถุโบราณของเมืองอยู่ที่นี่ มีวัดเก่าแก่อย่างวัดท้าวโคตรเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ คู่กัน ถัดมาคือ 'โซนมรดกโลก' ถึงแม้ยูเนสโกจะยังไม่ได้ รับรอง แต่มนั ก็เป็นมรดกของโลกอยูใ่ นตัว โซนนีก้ นิ พืน้ ที่ มรดกโลกไว้ทงั้ หมด คืออยูใ่ นกรอบก�ำแพงเมืองเก่า (นคร ดอนพระ) ทั้งหมด โซนต่อมา คืิอ 'โซนหน้าเมือง' เป็น พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์อีกที่หนึ่งของเมือง บริเวณ 'หลาโดหก' ก่อนนี้เคยเป็นที่ประทับของกษัตริย์หลายพระองค์เมื่อ ครั้งเสด็จฯ เมืองนคร เป็นที่ตั้งพระต�ำหนักพักแรมของ รัชกาลที่ ๕ ที่ ๖ และที่ ๙ มีสนามหน้าเมืองซึ่งปัจจุบัน เหลืออยูเ่ พียง ๓ เมืองแล้วเท่านัน้ เรายังรักษาไว้ได้อยู่ มี ศาลหลักเมือง มีบอ่ น�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระตูขาว มีสระล้างดาบ ศรีปราชญ์ มีถนนสายหัตถกรรมที่จะพัฒนาไปพร้อมกับ ร่วมเชื่อมกับถนนราชด�ำเนินด้วย โซนต่อมาเป็นเมือง กลางเก่ากลางใหม่อายุ ๑๐๐ กว่าปี 'โซนท่าวัง' หรือจะ เรียก 'โซนเมือง ๑๐๐ ปี' ก็เท่ไม่เบา มีตกึ เก่าของของจีน ผสมฝรัง่ ทีเ่ รียกว่า 'ชีโนปอร์ตกุ สี ' อยูน่ บั ๑๐๐ หลังทีถ่ กู ซ่อนอยู่ มีวังเก่าของเจ้าเมืองเก่าพอเล่าขานกันได้ไม่

หมด 'วังเก่าเจ้านครพัด' วัดวังตะวันออก วัดวังตะวันตก วังของ 'เจ้าจอมมารดาปรางค์' 'กุฏกิ ลิน่ สะตอ' 'พระพุทธรูปศรีธรรมาโศกราช' 'เจดีย์ยักษ์' เหล่านี้เนรมิตให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวได้ไม่ยาก โซนสุดท้ายเลยสะพานราเมศวร์ ขึ้นไปถึงสนามบิน จะเรียกโซนนี้ว่าเป็นโซนสุขภาพหรือ โซนพักผ่อนอะไรก็แล้วแต่ หากจะมีการปลูกต้นไม้ตลอด สองข้างทางโซนนีน้ า่ จะเป็นไปได้ทสี่ ดุ ง่ายกับการปรับปรุง เชื่อมต่อกับสนามกีฬาและทุ่งท่าลาด เป็นที่ออกก�ำลังกาย พักผ่อน สถานทีจ่ ดั กิจกรรมงานใหญ่ ทีป่ ระชุมใหญ่อยูโ่ ซน นี้ แ ทบทั้ ง หมด ความเจริ ญ ทางด้ า นธุ ร กิ จ ของเมื อ งถู ก พัฒนาเป็นถนนสายเพือ่ การท่องเทีย่ วเข้าไป เพราะทีเ่ ป็น เปลี่ยนไปอยู่ที่ถนนพัฒนาการคูขวางและถนนสายหัวอิฐ อยู่ปัจจุบันจะเหลือพื้นที่ถนนใช้เพื่อการสัญจรของเหล่า ถนนราชด�ำเนินจึงถูกลดบทบาทด้านนีล้ ง เห็นด้วยกับการ นักเรียนมากที่สุด หน่วยงานราชการเก่าบางส่วน ส่วน ภาคธุรกิจเหลือแต่ธุรกิจเล็กๆ บริษัทหรือห้างขนาดใหญ่ ต่างโยกย้ายหนีความจอแจของเมืองออกไปข้างนอกกัน หมดแล้ว ผมจึงเห็นด้วยกับการพัฒนาถนนสายนี้ให้เป็น พืน้ ทีก่ ารท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ อีกทาง ในการเสวนาครั้ ง นี้ มี ผู ้ น� ำ เสนอนอกเหนื อ จาก วิทยากรบนเวทีนำ� เสนอแล้ว ยังมีบางท่านน�ำเสนอให้เป็น 'มิวเซียมซิตี้' ไปเสียเลย บ้างก็เสนอให้ท�ำคลองสนาม หน้าเมืองให้เป็นคลองเพื่อการนั่งเรือท่องเที่ยวไปออก ปากอ่าวปากนคร บ้างก็เสนอให้รื้อซุ้มประตูสวนศรีธรรมาโศกราชเสียเพราะเมื่อก่อนเคยเป็นเรือนจ�ำ บ้างก็ เสนอให้มีสถานฝึกปฏิบัติธรรมของเยาวชนบ้าง เผื่อมี นักท่องเที่ยวกลุ่มสีขาวนี้เขามีที่ท�ำกิจกรรมเมื่อมาเยี่ยม เมืองมรดกโลกในอนาคต ครับ...น่าสนใจไหมครับ ช่วยๆ กันคิด เพือ่ สร้างบ้านสร้างเมืองของเราเอง ถือโอกาสเอา ตอนผูบ้ ริหารเขาเปิดโอกาส เปิดทางให้อย่านิง่ อยูล่ ะ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๐

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)

มื่อแรกสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ฐาน โดยรอบยั ง ไม่ มี ห ลั ง คาคลุ ม มี เ พี ย ง พระระเบียงโดยรอบฐานพระเจดีย์ ที่ ฐานพระบรมธาตุเจดีย์มี 'ประติมากรรม รูปช้าง' เป็นช้างปูนปั้นยืนโผล่ออกมา ลักษณะเหมือนช้างแบกองค์เจดีย์เอา ไว้ ทุกด้านมีรูปช้างโผล่ออกมาด้านละ ๖ ตัว เว้นแต่ดา้ นทิศเหนือมีเพียง ๔ ตัว เพราะเว้นพื้นที่บันไดขึ้นองค์พระเจดีย์ นักวิชาการได้ขุดค้นทางโบราณคดีแล้วว่าฐานพระเจดีย์ ชุดนี้ถูกสร้างขึ้นเมื่อ ๘๐๐ กว่าปีก่อนก็คือ พ.ศ.๑๗๑๙ โดยประมาณ แต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ ส�ำนักศิลปากรที่ ๑๒ ได้ ขุดค้นหาอายุฐานพระเจดีย์ที่ลึกลงไปอีกชั้นหนึ่งพบว่า เป็นอิฐคนละยุคสมัย มีขนาดแตกต่างกัน มีอายุประมาณ ๑,๑๐๐-๑,๒๐๐ ปี 'วิหารทับเกษตร' นี้ แต่เดิมเป็นเพียงฐานพระเจดีย์ เท่านัน้ ต่อมาได้มกี ารสร้าง 'พระระเบียง' ครอบคลุมฐาน พระเจดีย์ขึ้นอีกในภายหลังประมาณ พ.ศ.๑๘๖๑ น่าจะ พร้อมๆ กับ 'วิหารธรรมศาลา' พระระเบียงนีค้ งจะใช้เพือ่ เวียนประทักษิณรอบเจดียด์ า้ นล่างได้ดว้ ย นอกเหนือจาก ใช้ลานประทักษิณชัน้ บนอยูแ่ ต่เดิม เมือ่ สร้างระเบียงครอบ ภายในพระระเบียงก็เกิดงานปูนปั้นประดับขึ้นมากมาย รวมทัง้ พระพุทะรูปยืนอยูใ่ นซุม้ เรือนแก้วอันวิจติ รโดยรอบ

ล่วงมาถึง พ.ศ.๒๓๑๒ 'สมเด็จพระเจ้าตากสิน' เมือ่ ครั้งลงมาปราบชุมนุมเจ้านคร ได้โปรดให้จัดการปรับปรุง วิหารทับเกษตรด้วยการก่ออิฐ ถมทราย ลาดปูนรอบฐาน พระเจดีย์ ยกพื้นสูงถึง ๓๕ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๑ เมตร ชาวบ้านเรียกกันว่า 'ทางพระเจ้าตาก' การบูรณะใน คราวนั้นได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ซุ้มเรือนแก้วเดิมและ สร้างเพิ่มเติมขึ้นโดยสลับกับซุ้มช้างล้อมอีก ๒๕ ซุ้ม ฐาน พระเจดีย์ภายในวิหารทับเกษตรนี้มีพระพุทธรูปส�ำคัญ อยู่มากมาย รวมทั้งศิลปะปูนปั้นอันเก่าแก่ที่ได้รับอิทธิพล จากยุคสมัยทวารวดี ลพบุรี สุโขทัย และอยุธยา ปัจจุบัน งานศิ ล ปะเหล่ า นี้ ยั ง ได้ รั บ การอนุ รั ก ษ์ ใ ห้ อ ยู ่ ใ นสภาพ

ถ้าพวกเธอไม่เข้าไปติดเสียทีฝ่ ง่ั ใน, กษุทงั้ หลาย ! พวกเธอได้เห็นท่อนไม้ ไม่เข้าไปติดเสียทีฝ่ ง่ั นอก, ใหญ่นนั้ ซึง่ ลอยมาโดยกระแสแม่นำ�้ ไม่จมเสียในท่ามกลาง, คงคา หรือไม่ ? ไม่ขนึ้ ไปติดแห้งอยูบ่ นบก, “ได้เห็นแล้ว พระเจ้าข้า !” ไม่ถกู มนุษย์จบั ไว้, ภิกษุทงั้ หลายกราบทูล. ไม่ถกู อมนุษย์จบั ไว้, ไม่ถกู เกลียวน�ำ้ วนวนไว้, ภิกษุทงั้ หลาย ! ถ้าท่อนไม้นนั้ ไม่เน่าเสียเองในภายในไซร้, จะไม่เข้าไปติดเสียที่ฝั่งในหรือฝั่ง พวกเธอก็จะเลื่อนไหลไปสู่นิพพาน นอก, เพราะเหตุวา่ สัมมาทิฏฐิ มีธรรมดาที่โน้ม ไม่จมเสียในท่ามกลางน�ำ้ , น้อม ลุม่ ลาด เอียงเท ไปสูน่ พิ พาน. ไม่ขนึ้ ไปติดแห้งอยูบ่ นบก, ไม่ถกู มนุษย์จบั ไว้, ครัน้ สิน้ กระแสพระด�ำรัสแล้ว ภิกษุรปู ไม่ถกู อมนุษย์จบั ไว้, หนึง่ ได้กราบทูลถามพระผูม้ พี ระภาคเจ้าว่า ไม่ถกู เกลียวน�ำ้ วนวนไว้, “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! ไม่เน่าเสียเองในภายในไซร้, อะไรเล่าเป็นฝัง่ ในหรือฝัง่ นอก ? ท่อนไม้เช่นที่กล่าวนี้ จักลอยไหล อะไรชือ่ ว่าจมในท่ามกลาง ? พุง่ ไปสูท่ ะเล อะไรชือ่ ว่าขึน้ ไปติดแห้งอยูบ่ นบก ? เพราะเหตุวา่ ล�ำแม่นำ�้ คงคา โน้มน้อม ลุม่ อะไรชือ่ ว่าถูกมนุษย์จบั ไว้ ? ลาด เอียงเท ไปสูท่ ะเล. ข้อนีฉ้ นั ใด; อะไรชือ่ ว่าถูกอมนุษย์จบั ไว้ ? อะไรชือ่ ว่าถูกเกลียวน�ำ้ วนวนไว้ ? ภิกษุทงั้ หลาย ! แม้พวกเธอทัง้ หลาย อะไรชือ่ ว่าเน่าเสียเองในภายใน ?” ก็ฉนั นัน้ :

ภิ

สมบูรณ์มากๆ โดยเฉพาะซุม้ ช้างเป็นวง โค้งคล้ายซุม้ สมัยทวารวดี พระพุทธรูป ส�ำคัญทีช่ าวนครรูจ้ กั กันดี คือ พระพุทธ รูป 'พระศรีอาริย'์ มีอยูถ่ งึ ๒ องค์ ยืนชิด ผนังวิหารพระทรงม้าทั้งสองด้าน ส่วน เสาโดยรอบตกแต่งด้วย 'ภาพจิตรกรรม ไทย' พระพุ ท ธรู ป ที่ เ รี ย งรายอยู ่ โ ดย รอบพระระเบียงนัน้ มีพทุ ธลักษณะแตก ต่างกันไป มีทงั้ ปูนปัน้ ทองเหลือง ทอง สัมริด และปางต่างๆ มากมาย ระเบียง โดยรอบทับเกษตรมักใช้จัดพิธีกรรม ทางศาสนาสืบต่อมาจนถึงปัจจุบนั โดย เฉพาะการแสดงธรรมเทศนา จะมีธรรม มาสน์ส�ำหรับให้พระสงฆ์ได้แสดงธรรม อยู่ทุกด้าน พระสงฆ์ต่างมุ่งหมายจะ ได้มาแสดงธรรมบนธรรมมาสน์เหล่านี้ โดยเฉพาะธรรมาสน์ฝั่งตะวันออก ถือ ว่าต้องเป็นพระสงฆ์ที่มีความสามารถที่สุดจึงจะขึ้นแสดง พระธรรมได้ ท่านอาจารย์ 'ปัญญานันทภิกขุ' ท่านเคย เล่าให้ฟงั ว่าท่านก็เคยมีโอกาสได้แสดงธรรมบนธรรมาสน์ ฝัง่ ตะวันออกด้วย ปัจจุบัน 'วิหารทับเกษตร' นี้ ชาวบ้านยังนิยมเรียก อย่างชาวบ้านว่า 'วิหารตีนธาตุ' หรือ 'ระเบียงตีนธาตุ' เรา จะได้ยนิ ชาวบ้านคนเม่าคนแก่พดู ว่า "ไปฟังพระทีต่ นี ธาตุ" ก็มเี ช่นกัน เราชาวนครน่าจะหาโอกาสเข้าไปชมอย่างจริงๆ จังๆ สักครั้ง เผื่อมีความรู้ได้พูดคุยให้บุคคลอื่นเล่าเรื่อง 'ตีนธาตุ' ให้เขาฟังกันบ้าง

ภิกษุทงั้ หลาย ! ค�ำว่า “ฝัง่ ใน” เป็น ชือ่ ของ อายตนะภายใน ๖. ค�ำว่า “ฝัง่ นอก” เป็นชือ่ ของ อายตนะ ภายนอก ๖. ค�ำว่า “จมเสียในท่ามกลาง” เป็น ชื่อของ นันทิราคะ (ความก�ำหนัดด้วย ความเพลิน). ค�ำว่า “ขึน้ ไปติดแห้งอยูบ่ นบก” เป็น ชือ่ ของ อัสม๎ มิ านะ (ความส�ำคัญว่า เรามี เราเป็น). ค�ำว่า “ถูกมนุษย์จบั ไว้” ได้แก่ ภิกษุ ในกรณีนเี้ ป็นผูร้ ะคนด้วยพวกคฤหัสถ์ เพลิดเพลินด้วยกัน, โศกเศร้าด้วยกัน, มีสขุ เมือ่ คฤหัสถ์เหล่านัน้ มีสขุ , เป็นทุกข์ เมื่อคฤหัสถ์เหล่านั้นเป็น ทุกข์, ประกอบการงานในกิจการที่บังเกิด ขึ้นแก่คฤหัสถ์เหล่านั้นด้วยตน : ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผูถ้ กู มนุษย์จบั ไว้. ค�ำว่า “ถูกอมนุษย์จบั ไว้” ได้แก่ ภิกษุ บางรูปในกรณีนี้ ประพฤติพรหมจรรย์ โดยตั้งความปรารถนาเทพนิกายชั้นใด

ชั้นหนึ่ง ว่า “ด้วยศีลนี้ หรือด้วยวัตรนี้ หรือว่าด้วยตบะนี้ เราจักได้เป็นเทวดาผูม้ ี ศักดาใหญ่ หรือเป็นเทวดาผูม้ ศี กั ดาน้อย อย่างใดอย่างหนึง่ ” ดังนี้ : ภิ ก ษุ นี้ เราเรี ย กว่ า ผู ้ ถู ก อมนุ ษ ย์ จับไว้. ค�ำว่า “ถูกเกลียวน�ำ้ วนวนไว้” เป็น ชือ่ ของ กามคุณ ๕. “ภิกษุเป็นผู้เน่าเสียเองในภายใน” คื อ อย่ า งไรเล่ า ? คื อ ภิ ก ษุ บ างรู ป ใน กรณี นี้ เป็ น คนทุ ศี ล มี ค วามเป็ น อยู ่ เลวทราม ไม่สะอาด มีความประพฤติ ชนิดที่ตนเองนึกแล้ว ก็กินแหนงตัวเอง มีการกระท�ำที่ต้องปกปิดซ่อนเร้น ไม่ใช่ สมณะ ก็ปฏิญญาว่าเป็นสมณะ ไม่ใช่คน ประพฤติพรหมจรรย์ ก็ปฏิญญาว่าเป็น คนประพฤติพรหมจรรย์ เป็นคนเน่าใน เปียกแฉะ มีสญ ั ชาติหมักหมม เหมือนบ่อ ทีเ่ ทขยะมูลฝอย. ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผูเ้ น่าเสียเองใน ภายใน แล. -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๒๒๓/๓๒๒.


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

วาดรูปและขายสินค้าที่ระลึก แม้ช่วงแรกๆ ยังขายยาก แต่วันที่นักท่องเที่ยวต่างจังหวัดเข้ามางานดีไซน์ดีๆ ของ ดีๆ จะไปได้ พ่อค้าแม่คา้ ต้องปรับตัวเองให้ทนั โลก ถ้ามองไกลๆ หากประสบความส�ำเร็จตลาดสามารถ สนองตอบยุทธศาสตร์การค้าการลงทุนของจังหวัด การ สร้างงานและบรรยากาศการท่องเที่ยวที่มีลักษณะสากล คือน�ำท้องถิ่นไปเชื่อมกับโลก คนมาเที่ยวได้ถ่ายรูปกับ ตลาดมี พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น แบคกราวด์ เ หมื อ นนั ก ท่องเทีย่ วไทยไปยืนหน้าหอไอเฟลหรือก�ำแพงเบอร์ลนิ ตอนนี้ 'หลาดหน้ า พระธาตุ ' ยั ง ต้ อ งอาศั ย เวลา และการปรับปรุงให้สมบูรณ์ ช่วงแรกๆ สามารถดึงชาว นครต่างอ�ำเภอ พี่น้องจากจังหวัดใกล้เคียง เมื่อตลาด ประสบความส�ำเร็จชาวไทยจากภูมิภาคอื่นๆ และชาว ต่างประเทศจะเดินทางเข้ามา นั่นอาจส่งผลถึงโอกาส ทางการค้าและการพัฒนาด้านการขนส่ง หรือการขยาย อืน่ ๆ ถ้านักท่องเทีย่ วมีมากพอ การบินพาณิชย์ ตลอดจนการเพิ่มเที่ยวบินเชื่อมจังหวัด ผมไปเดินเที่ยวเดินซื้อของกิน วันเปิดตลาดครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ได้พูดคุยกับผู้จัดและ ๑ แม่ค้าพ่อค้า ตลาดแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๓ โซน คือ โซนอา หารราวๆ ๒๕๐ บูธ โซนสินค้าหัตถกรรม ๕๐ บูธ และโซน ศิลปวัฒนธรรมแต่งกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าไทยที่ดูยังไงๆ ก็ เหมาะสม ทางจังหวัดประมาณว่ามีเงินหมุนเวียนราว ๑.๕ ล้านบาท ผมประทับใจน้องๆ ผู้รับผิดชอบตลาด แต่ละคน ทุ่มเทเต็มที่ รับฟังทุกเสียงชมหรือติ พวกเขาพร้อมน�ำไป ปรับปรุงแก้ไขอย่างคนมองการณ์ไกล ตลาดเล็กๆ บนถนน ๒

หน้าวัดพระธาตุจะกลายเป็นพลังดึงดูดอย่างมหาศาล ในอนาคต 'พื้นที่กับกิจกรรม' ที่สอดคล้องมีชีวิตชีวาจะ ดึงพลังและศักยภาพของเมืองนครศรีธรรมราชออกมา ศักยภาพของเมืองและคนที่เข้าถึงเข้าใจโลกสมัยใหม่จะ ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่การท่องเที่ยวเมืองนคร ทั้งยังเจือ จานไปสู่แหล่งผลิตวัตถุดิบที่น�ำมาผลิตสินค้า การพัฒนา บ้านเมืองโดยจังหวัด เทศบาลหรือองค์การบริหารส่วน จังหวัดมองเห็นประโยชน์ร่วม ผลดีจะส่งไปถึงแหล่งท่อง เทีย่ วรอบนอกอย่างไม่ตอ้ งสงสัย 'หลาดหน้าพระธาตุ' เป็นปรากฏการณ์ที่ถูกเวลา และต้องท�ำให้ยงั่ ยืน ขอบคุณภาพจาก Nogia Sakura

อาจารย์แก้ว (ต่อจากหน้า ๑๕) กระบวนการสร้าง Smart farmer เป็นการพัฒนา Smart Officer หรือเจ้า หน้ า ที่ รั ฐ ซึ่ ง มี อ งค์ ค วามรู ้ ท างวิ ช าการ และนโยบาย สามารถน�ำเทคโนโลยีมา ใช้สนับสนุนเกษตรกร โดยชี้น�ำเกษตรกร ตามแนวทางการพัฒนาที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม ส่วนการก้าวสู่การเป็น Smart Officer คือ การปรับกระบวนการท�ำงาน ซึ่งเริ่มจากการท�ำความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ถึงชนิดและปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตร ของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งปัญหาของสินค้า แต่ละชนิด และต้องสามารถเชื่อมโยงกับ ศูนย์วิจัยของเครือข่ายหน่วยงานในกระ ทรวงเกษตรฯ และข้อมูลจากส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร โดยน�ำมาวางแผน ด้านการผลิตให้กับเกษตรกรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากการพัฒนาให้เกษตรกรไทย เป็น Smart farmer โดยมี Smart Officer เป็นเพื่อนคู่คิดแล้ว ยังมีการปฏิรูปภาค

การเกษตรของประเทศด้ ว ย ตามกรอบ แนวคิดในการขับเคลือ่ นการพัฒนา คือ Zoning = Area + Commodity + Human Resource มี ส าระส� ำ คั ญ คื อ การขั บ เคลื่ อ น นโยบายการบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ เ กษตรกรรม (Zoning) ในพืน้ ทีห่ นึง่ ให้ประสบความ ส�ำเร็จต้องอาศัยความพร้อมของปัจจัยหลัก ๓ ด้านในการขับเคลือ่ น ได้แก่ การบริหาร จั ด การพื้ น ที่ แ ละทรั พ ยากรที่ เ หมาะสม (Area) ผลิตสินค้าได้ตรงตามความต้องการ ของตลาด (Commodity) รวมทั้ ง การมี บุคลากรด้านการเกษตรทั้งเกษตรกรและ เจ้าหน้าที่ (Human :Smart farmer & Smart officer) ที่จะท�ำหน้าที่บริหารจัดการการ ผลิตทางการเกษตร ตลอดจนห่วงโซ่คณ ุ ค่า (Value chain) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมาร์ทฟาร์มเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีความสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอ เพียง เนื่องจากมีหลักการที่คล้ายคลึงกัน

คือ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิด เป็นสมาร์ทฟาร์มได้หมดทุกคน ปัญหา ประโยชน์สงู สุด ด้วยเหตุนี้ สมาร์ทฟาร์มจึง สินค้าเกษตรล้นตลาด ราคาพืชผลตกต�่ำ เป็นอีกนวัตกรรมหนึง่ ทีน่ า่ สนใจในการช่วย คงไม่เกิดขึน้ อีกต่อไป จัดระบบการเกษตรให้มีศักยภาพมากขึ้น เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาระบบการเกษตรของ ด้วยความปรารถนาดี ประเทศให้ยงั่ ยืนในอนาคต อาจารย์แก้ว หวังว่าเมื่อไหร่ที่เกษตรไทยปรับตัว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๒

แพทย์ โรคซึมเศร้าเกิดจากความเครียด ความกดดัน มีเซลล์ในสมองเกี่ยวกับการ ควบคุมอารมณ์ ส่งผลให้อารมณ์ท�ำงาน ผิดปกติ โรคนี้สามารถติดต่อทางพันธุกรรม วงนี้ ว งสนทนาเรื่ อ งสุ ข ภาพพู ด ถึ ง ชนิดหนึง่ แน่นอน และคุกคามผูค้ นในสังคม ช�ำนาญการ โรงพยาบาลศรีธัญญา กรม ในยีนส์บางตัวได้ หากมีญาติเคยเป็นโรค สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ค�ำ ซึมเศร้า ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีผลวิจัย 'โรคซึมเศร้า' กันถี่ขึ้น บางคนอาจ ปัจจุบนั ทีไ่ ม่อาจมองผ่านอีกต่อไป นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ แพทย์ อธิบายว่า 'โรคซึมเศร้า' เป็นโรคทางการ ทางวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับในวงการ คิดว่าไม่ใช่โรค แต่แพทย์ยนื ยันว่าเป็นโรค แพทย์ทั่วโลก ปัจจุบันโครงการประกัน สุขภาพถ้วนหน้า หรือ ๓๐ บาทรักษาทุก โรค บรรจุโรคนี้ให้ผู้ใช้ประกันสามารถ รักษาได้ในราคาถูก นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ ฝาก มายังประชาชนว่า หากใครรู้สึกว่าตัวเอง มี ค วามผิ ด ปกติ ท างจิ ต ใจสามารถโทร. ปรึกษาสายด่วนกรมสุขภาพจิตได้ที่เบอร์ ๑๓๒๓ หรือ ท�ำแบบทดสอบที่เว็บไซต์ กรมสุขภาพจิตได้เพื่อดูผลประเมินว่าเข้า ข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ ผู ้ เ ป็ น โรคซึ ม เศร้ า ต้ อ งการความ เข้าใจจากเพื่อนร่วมสังคมในวงการแคบ หมายถึงครอบครัวหรือเพือ่ นร่วมงาน 'รัก บ้านเกิด' น�ำตัวอย่างถ้อยค�ำทีค่ วรพูดและ ไม่ควรพูดจากคลินคิ สุขภาพจิต'นายแพทย์ เจษฎา' มาแสดงไว้ แม้ขอ้ แนะน�ำจะดี แต่ ถ้าทุกคนต้องเริ่มต้นด้วยความเมตตาก็ สามารถช่วยผูป้ ว่ ยเป็นโรคนีไ้ ด้

ช่

เรื่ อ งน่ า รู ้

B

ullying หรือการรังแกทางโซเชียล มีเดีย มีโอกาสเกิดกับเราหรือเราไป รังแกคนอื่นได้ทุกวัน ถ้าเราอยู่กับสื่อที่ รวดรวด การเริ่มต้นเป็นเรื่องส�ำคัญ เดี๋ยวนี้ บางคนถู ก ปลุ ก ด้ ว ยสั ญ ญาณไลน์ ก ลุ ่ ม ต่างๆ โดยเฉพาะคนเกษียณที่มักตื่นแต่ ย�่ ำ รุ ่ ง หรื อ นอนไม่ ห ลั บ ตื่ น มารี บ ส่ ง สติ๊กเกอร์วันนี้วันพระหรือสวัสดีวันศุกร์ ลืมคิดไปว่าเพื่อนๆ ก�ำลังหลับนอนอย่าง มีความสุข

ตื่ น เช้ า เข้ า เฟซบุ ๊ ค พบเรื่ อ งดราม่ า สารพัดสารพัน ทั้งรูปประกอบ เรื่องราว และคลิปวีดิโอ รู้สึกขัดใจอยากออกความ เห็น ถ้าอารมณ์ดีก็วิจารณ์ดี อารมณ์ไม่ดี อารมณ์ความคิดก็ไม่ดี สื่อออนไลน์เปิดโอกาสให้แสดงความ คิดได้ แต่ควรถามว่าตัวเองมีความร้ใู นเรือ่ ง

นัน้ ๆ มากพอ กรณีนกั ร้องชือ่ ดังมีความเห็น ต่อโรคซึมเศร้าผิดๆ ถูกนายแพทย์แย้งและ ถูกโซเชียลต�ำหนิหนักบ้างเบาบ้าง เกิดผล กระทบทางจิตใจและอาจถูกกดดัน เพราะ ไม่รจู้ ริงแล้วแสดงความเห็นแรงๆ มือถือของคนคิดน้อย bullying หนัก ข้อขึ้นทุกวัน จนบุคคลสังคมขาดความสุข สงบเพราะเอาใจไปรับรู้ทุกเรื่องที่เกิดขึ้น ในสังคมย่อย สังคมใหญ่หรือทั่วโลกเพราะ เครือข่ายโซเชียลครอบคลุมโลก คนมีสติหรือมีปัญญาเห็นชอบรับมือ กับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ทะลักผ่านเครือ ข่ายสังคมวันละร้อยพันเรื่องได้ แต่บางคน รับไม่ได้ จึงแสดงความคิดเห็นลงเฟซบุ๊ค หรืออินสตาแกรมด้วยอารมณ์ จึงเกิดการ ตอบโต้ถกเถียงแช่งด่าประจาน แค่คดิ ว่าตัว เองไม่รู้ไปเสียทุกอย่าง เราจึงระงับอารมณ์ ทีจ่ ะตอบโต้ได้

สังคมไทยเอาแค่เปลี่ยนความโกรธ เป็นความคิดให้ได้ก็จะเจริญก้าวหน้าไป อีกไกล ถ้าเพิ่มความเมตตาต่อกัน เป็น คนไทยด้วยกัน เป็นเพื่อนร่วมทุกข์ตาม พระท่านว่าก็จะดี อย่ายึดมั่นกับความ คิดตัวตนจนเกินไป ความสุขความเบาจะ เกิดในใจตัวเอง อยู่ใกล้สื่อหรือกุมมือถือ ตลอดเวลาก็ไม่ไปท�ำร้ายกลั่นแกล้งใคร แม้มขี อ้ ความโพสต์รบกวนก็สามารถมอง ผ่านไปได้อย่างสงบ ไม่ตกเป็นเหยือ่ อารมณ์งา่ ยๆ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๓

มเป็ น เด็ ก ที่ เ กิ ด ในต� ำ บลท่ า วั ง ย่ า น ธุ ร กิ จ ที่ รุ ่ ง โรจน์ ที่ สุ ด ของเมื อ งนคร ในยุคปี ๒๕๐๐ มีโรงหนังทันสมัยย่านนี้ ถึง ๔ โรง เรียกว่าเป็นท�ำเลทองทีท่ ำ� ธุรกิจ อะไรก็เจริญรุง่ เรือง เวลาผ่านไป ๔๐ ปีมี หลายเหตุการณ์ของบ้านเมืองที่มาถึงจุด เปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ ทั้งเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ท�ำให้ธุรกิจหลาย ประเภทต้องปิดตัวไปเลย เช่นโรงหนังที่ ไม่มีคนเข้าไปดูแล้ว มีห้างสรรพสินค้าและ ร้านสะดวกซื้อเกิดขึ้นโดยบริษัทใหญ่จาก ส่วนกลางมาแข่งขันกับร้านค้าย่อยท้องถิ่น ค่าเงินบาทตกต�่ำถึงขั้นวิกฤต ฯลฯ ยุคนั้น ผมเคยคุยกับกลุ่มเถ้าแก่ร้านค้าย่านตลาด ท่าวังว่า หากภาวการณ์เป็นเช่นนี้และไม่ คิดจะรวมตัวสร้างความโดดเด่นของย่าน ธุรกิจออกมา จะเกิดการเคลื่อนย้ายความ เจริญไปทีอ่ นื่ แน่นอน ยังโชคดีทมี่ หี า้ งสรรพ สินค้าท้องถิ่นที่ยืนหยัดฟันฝ่าวิกฤตมาได้ ท�ำให้ไม่ซบเซากันจนเกินไปนัก และ ๑๐ ปีต่อมาย่านธุรกิจก็เคลื่อนย้ายไปยังถนน ตัดใหม่คือถนนพัฒนาการคูขวางที่มีอัตรา การสร้างอาคารร้านค้ามากและรวดเร็ว ทีส่ ดุ ทิง้ ให้ยา่ นตลาดท่าวังเงียบเหงาอย่าง เห็นได้ชดั และในปัจจุบนั ก็เคลือ่ นตัวไปยัง ย่านหัวถนน แต่ในภาพรวมของตัวเมืองก็ ต้องถือว่าเศรษฐกิจท้องถิ่นยังพอประคอง ตัวเองไปได้ระยะหนึ่ง ด้วยยังมีเรื่องราว และโบราณสถานที่บรรพบุรุษสร้างทิ้งไว้ มากมาย โดยทีช่ าวเมืองอาจไม่ได้รสู้ กึ อะไร ในสิ่งที่พบเห็นจนชินตาในความเป็นเมือง เก่า เช่น วัดพระบรมธาตุ วัดจันทาราม วัด วังตะวันตก ก�ำแพงเมืองเก่า สนามหลวง หน้าเมือง ฯลฯ โดยที่คนเมืองอื่นเขากลับ รู้มากกว่า และมาเที่ยวชมเมืองเรา ส่วน ลูกหลานชาวนครไปจบการศึกษาที่สูงขึ้น กว่ารุ่นพ่อแม่ก็ได้กลับมาช่วยทางบ้านท�ำ ธุรกิจในแนวทางใหม่ๆ และคงไม่พน้ การน�ำ สิ่งที่พบเห็นหรือไปฝึกฝนกลับมาใช้ที่บ้าน เกิด มีวฒ ั นธรรมแปลกใหม่จากส่วนกลาง ทัง้ การแต่งกาย อาหารการกิน เครือ่ งดืม่ น�ำ้ ชากาแฟ รสนิยมการใช้ชวี ติ ทีล่ อกเลียน แบบกันมา ผมยอมรับว่าเป็นเรื่องของคน รุ่นใหม่ที่เราปฏิเสธไม่ได้ แต่สิ่งเหล่านี้มัน เป็นจุดเด่นมากพอทีจ่ ะเชิญชวนคนต่างถิน่ เข้ามาเที่ยวจับจ่ายใช้สอยในเมืองเราหรือ ไม่ ในเมือ่ เมืองเขาก็มเี ช่นเดียวกับเมืองเรา แถมอาจมีมากกว่าเราด้วยซ�ำ้ ไป เมืองนครเราถือว่าเป็นเมืองใหญ่ที่

มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้ และเป็น เมื อ งเก่ า ที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ อั น ยาวนาน นับ ๑,๒๐๐ ปี มีอารยะธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ที่ เ ข้ ม แข็ ง สื บ ทอดกั น มาจนถึ ง ปัจจุบัน แต่ดูเหมือนการพัฒนาเมืองค่อน ข้างช้า มีคนกล่าวว่านครเหมือนยักษ์ใหญ่ ที่ ห ลั บ ๆตื่ น ๆ คนที่ ม าปลุ ก ท� ำ ธุ ร กิ จ ใหญ่ กลับเป็นคนต่างถิ่นที่มองเห็นศักยภาพทาง เศรษฐกิจ ที่ผ่านมาเราคงได้พบค�ำตอบที่ อยากจะหาประโยชน์จากความเป็นเมือง เก่าทีม่ ชี อื่ เสียง แต่กย็ งั ไม่ได้มอี ตั ลักษณ์ของ เมืองที่เด่นชัด และนับเป็นโอกาสดีที่ทาง เทศบาลนครนครศรีธรรมราชชุดนี้ได้เห็น ความส�ำคัญในการที่จะหาความโดดเด่นนี้ ออกมาเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว “นครสาม ธรรม” อันได้แก่ “ธรรมะ + วัฒนธรรม + ธรรมชาติ” จึงเปิดโอกาสให้ชาวเมืองช่วย กันคิด โดยได้จัดการประชุมเสวนากันเมื่อ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรม ทวินโลตัส นครศรีธรรมราช มีชาวเมืองเข้า ร่วมกว่า ๕๐๐ คน โดยตัง้ โจทย์ให้ชว่ ยเสนอ โครงการพัฒนาเชิงกายภาพในพื้นที่ภายใน เขตเทศบาลนคร ซึง่ ได้ขอ้ เสนอทีน่ า่ จะสนใจ เช่น อยากให้มกี ารสร้างหอศิลป์ทสี่ อดคล้อง กับความเป็นเมืองแห่ง “ศิลปวัฒนธรรม” การจัดสถานปฏิบัติธรรมตามวัดต่างๆ ที่มี อยูม่ ากมายเพือ่ เน้นเป็นเมืองแห่ง “ธรรมะ” การจัดภูมิทัศน์ของเมืองโดยการปลูกต้นไม้ ร่มเงาให้ดอกสวยงามริมถนนสายหลัก เช่น ถนนราชด�ำเนิน ถนนกะโรม ถนนพุทธภูมิ เพื่ อ ให้ เ ป็ น เส้ น ทางที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ “ธรรมชาติ ” ที่ จ ะออกแบบให้ เ ป็ น เมื อ ง แห่งสวน (Garden City) ประเด็นส�ำคัญที่ผมมองก็คือ ในอดีต ทีผ่ า่ นมาโครงการต่างๆของทางราชการ มัก จะเริ่มจากหน่วยงานเป็นผู้คิดและเสนอตั้ง งบประมาณแต่ฝ่ายเดียว ประชาชนจะรับ ทราบก็ตอ่ เมือ่ มีการเริม่ สร้างเริม่ ท�ำแล้ว จึง

มักมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์กันไปต่างๆนานา ตามมา แต่ในครัง้ นีม้ จี ดุ เริม่ ต้นโดยการเสนอ แนวคิดจากชาวเมือง ท�ำให้มองเห็นภาพใน มิติต่างๆที่ทางราชการอาจมองข้ามไป จึง เชื่อว่าจะได้รับการยอมรับมากขึ้นไม่เป็น อุปสรรคท�ำให้บา้ นเมืองเสียโอกาส ปัจจุบนั มีกลุ่มประชาคมที่รวมตัวกันคิดอย่างเป็น วิชาการและเป็นระบบมากขึ้น สมควรที่ ทางราชการจะขานรับให้เข้ามาร่วมมีบทบาท ในการพัฒนาเมือง ซึ่งผมได้เขียนบทความ เกี่ยวกับเรื่องนี้ลงในหนังสือพิมพ์รักบ้าน เกิ ด ฉบั บ เดื อ นมิ ถุ น ายน ๒๕๖๐ เรื่ อ ง “ประชาคมเมืองนคร ถึงเวลาเข้มแข็งหรือ ยัง” แล้วมีกรณีตัวอย่างกิจกรรมที่เริ่มจาก กลุ่มประชาคมที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ไม่ได้ท�ำ เพื่อหวังผลก�ำไรทางธุรกิจส่วนตัว ได้จัด ตลาดถนนคนเดินเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เมืองเก่า โดยการขอปิดการจราจรถนน หน้าวัดพระบรมธาตุทุกวันเสาร์ ซึ่งได้รับ ความร่วมมือและสนับสนุนจากฝ่ายราชการ และเริ่มต้นทดลองจัดเมื่อเดือนที่แล้ว ได้ รับความสนใจจากประชาชนอย่างล้นหลาม ด้วยกิจกรรมการแสดงศิลปะท้องถิ่น เช่น การแสดงมโนราห์ การร้ อ งเพลงบอก ศิลปินมาเขียนภาพสด การขายสินค้าหัตถศิลป์แ ละสอนเด็ กตอกหนังตลุง เป็นต้น ล้วนสร้างอารมณ์ทเี่ ป็นจุดขายการท่องเทีย่ ว เชิงศิลปะวัฒนธรรมที่เด่นชัดมาก แม้จะมี ปัญหาอยู่บ้างก็พยายามปรับปรุงแก้ไข นี่ เป็นตัวอย่างหนึง่ ของความเข้มแข็งของภาค ประชาคม ผมได้เคยเขียนบทความในการ พัฒนาเมืองอย่างต่อเนื่องมาอย่างน้อย ๕ ปี โดยเฉพาะเรื่องมุมมองถนนราชด�ำเนิน, สนามหน้าเมือง...ห้องรับแขกเมืองนคร, นคร...เมืองแห่งศิลปิน, มาออกแบบถนน พุทธภูมิกันเถอะ, โครงการปรับปรุงถนน หน้าวัดพระธาตุ จินตภาพควรเป็นอย่างไร ฯลฯ จะเห็นได้ว่าไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ที่เพิ่ง

คิดกัน หากทางราชการได้หยิบยกเรือ่ งราว เหล่านี้น�ำไปคิดต่อโดยการเชิญผู้ที่มีความ รู้และประสบการณ์ ย่อมจะสามารถเป็น โครงการได้ทงั้ สิน้ และทุกโครงการควรน�ำ เสนอออกสู่สาธารณะให้เกิดการวิพากษ์ วิจารณ์ก่อนการด�ำเนินงานจริง ฉบับนี้ผม ขอน�ำตัวอย่างภาพสเก็ตช์จากความคิดส่วน ตั ว ในการพั ฒ นาพื้ น ที่ “ ศาลาประดู ่ ห ก” เพื่อให้ชาวเมืองได้ทราบว่าทางเทศบาล นครฯเตรียมออกแบบและตั้งงบประมาณ ก่อสร้าง แบบจริงเป็นอย่างไรยังไม่ทราบ ได้ แต่ผมอยากรับฟังความคิดเห็นจากภาค พลเมืองด้วยครับ ในภาคพลเมืองที่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย กับโครงการสาธารณะต่างๆ ของภาครัฐ ผมก็ยงั อยากย�ำ้ ให้ชาวเมืองใช้วจิ ารณญาณ มองให้ครบทุกมิตทิ งั้ ทีเ่ ห็นด้วยหรือคัดค้าน อย่างคนรู้จริง กรณีศึกษาจากความร่วม มือกันกันทุกฝ่าย เช่นย่านเมืองเก่าภูเก็ต ทางฝ่ า ยราชการเป็ น ต้ น คิ ด และออกงบ ประมาณให้ทาสีสันอาคารเก่ารูปแบบชิโน โปรโตกีสกันใหม่โดยฝ่ายประชาชนยอมรับ ย่านเมืองเก่าสงขลาเริ่มโดยประชาคมที่ อยากรื้อฟื้นอัตลักษณ์ชุมชน ทางเทศบาล ก็เข้ามาช่วยสนับสนุนและจัดงบประมาณ ให้ ท�ำให้กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีคน นิยมมาก ส่วนเมืองเก่านครทราบมาว่าทาง ราชการได้มีการตั้งยุทธศาสตร์จังหวัดด้าน ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการเสนอโครงการ เพื่อจัดตั้ง งบประมาณให้โครงการเกิดขึน้ อย่างเป็นรูป ธรรม (โดยโครงการต้องมีความชัดเจนทีจ่ บั ต้องได้ ไม่เพ้อฝัน และประชาชนไม่คดั ค้าน ฝ่ายราชการก็จะจัดตัง้ งบประมาณให้) ดังนัน้ หากพลาดโอกาสนีก้ น็ า่ เสียดาย เราชาวนครจะเดินไปพร้อมๆ กันจะดีกว่า ไหม และคงจะถึงเวลาที่เรากันเองจะปลุก ยักษ์นครให้ตนื่ ตัวกันเสียทีนะครับ


หน้า ๑๔

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

าถึ ง เดื อ นสิ ง หาคมที ไ ร เรามั ก จะ เขียนเรื่องเพื่อระลึกถึงความรักของ แม่ แต่ครั้งนี้อยากจะเขียนในฐานะของ คนเป็นแม่บ้างค่ะ ว่ากันว่า พ่อแม่ คือ เพือ่ นเรียนรูท้ ดี่ ที สี่ ดุ ของลูก และลูกก็เป็น เพือ่ นเรียนรูท้ ดี่ ที สี่ ดุ ของแม่เช่นกัน... ลูกชายครูแจง ชื่อ เด็กชายลมฝน ตั้ ง แต่ เ ด็ ก คนนี้ ใ ห้ โ อกาสครู แ จงได้ ท� ำ หน้าที่แม่ ก็ได้เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง ไปพร้อมๆ กันค่ะ เรียนรูค้ วามอดทน การ รอคอย เรียนรูท้ จี่ ะปล่อยวาง เรียนรูท้ จี่ ะ เป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักฝึกรับฟังและกลั่น กรองค�ำพูดมากขึน้ เรียนรูท้ จี่ ะดูแลตนเอง เพราะรู ้ ว ่ า ชี วิ ต ของคนเป็ น แม่ มี ค วาม ส�ำคัญต่อคนๆ หนึง่ มากแค่ไหน และอืน่ ๆ อีกมากมายทีไ่ ด้เรียนรูก้ นั ลมฝนเป็ น นั ก เรี ย นภายใต้ ก าร จั ด การศึ ก ษาขึ้ น พื้ น ฐานโดยครอบครั ว ประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต ๔ โดย หรื อ บ้ า นเรี ย น (Homeschool) จด เราใช้โลกทั้งใบเป็นห้องเรียน และใช้เวลา ทะเบียนกับส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เรียนรู้ ๒๔ ชัว่ โมง ไม่มกี ารเปิดหรือปิดเทอม ซึง่ นอกจากความรูพ้ นื้ ฐานทีต่ อ้ งเรียนรูแ้ ล้ว เรื่องหนึ่งที่ส�ำคัญมากคือเราได้เรียนรู้การ ตัง้ เป้าหมายของชีวติ และกล้าทีจ่ ะออกเดิน ทางตามความฝัน ในความเป็นแม่ที่ไม่เคย มีความคาดหวังเรื่องอาชีพในอนาคตของ ลูกเลย เพราะตัวเองผ่านชีวิตวัยเรียนแบบ หนักๆ แต่กลับไม่ได้น�ำมาใช้ในชีวิตเท่ากับ วิชาทักษะชีวิตที่ได้ถูกฝึกถูกหล่อหลอมมา จากนอกห้องเรียน และด้วยความเชื่อที่ว่า ความส�ำเร็จมาจากความสุขในปัจจุบนั ขณะ จึงตั้งใจค้นศักยภาพ ความถนัดและความ ชอบของลูกให้เจอโดยเร็ว เมื่อพบเส้นทาง นั้นแล้วก็จะสนับสนุนการเรียนรู้นั้นไปให้ เต็มที่ ดังนั้นตอนลูกยังเล็กๆ เราก็พากัน ออกเดินทางสู่โลกกว้างเพื่อเรียนรู้เรื่องราว ที่หลากหลายอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อที่จะให้ ลูกได้ค้นพบสิ่งที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้ และอยากลงมือท�ำอย่างมีความสุข คนเป็น แม่ก็เฝ้าสังเกตจนมั่นใจว่าอะไรคือสิ่งที่ลูก หลงใหล อะไรคือสิ่งที่ท�ำให้เขาอยู่ด้วยได้ นานๆ อย่างไม่เคยเบือ่ หน่าย ความสนใจของลมฝนคืองานศิลปะ และวัฒนธรรมแบบไทยๆ ในหลายๆ แขนง ทั้งงานวาดจิตรกรรม งานปั้น ศิลปะการ แสดงของไทย เช่น หนังตะลุง โขน ฯลฯ นอกจากนี้ยังชอบเรื่องราวประวัติศาสตร์ ทั้งของไทยและต่างประเทศ ชอบเรื่องราว โบราณคดี สิง่ ทีล่ มฝนลงมือท�ำอยูบ่ อ่ ยตัง้ แต่ สี่ขวบคืองานวาด ๖ ปีผ่านไปก็ยังวาดอยู่ อย่างสม�่ำเสมอ จากงานแบบธรรมดาๆ ก็

เริ่มมีลวดลายมีความวิจิตรมากขึ้นเรื่อยๆ มีจติ ใจจดจ่อในการวาดได้ครัง้ ละนานๆ ไม่ ต�ำ่ กว่า ๒ ชัว่ โมง เราออกเดินทางตามหา แรงบันดาลใจทางด้านนี้อยู่เสมอๆ ล่าสุด ได้มีโอกาสไปเยี่ยมชมครูศิลปะระดับชาติ ของไทยที่ได้มาอาสาวาดงานศิลป์เพื่อใช้ ประดับในพระเมรุมาศงานถวายพระเพลิง พระบรมศพของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เป็น งานที่ละเอียดวิจิตรงดงามสมกับเป็นงาน ทีส่ ดุ ของระดับชาติจริงๆ สร้างแรงบันดาล ใจให้ลมฝนฝันอยากเป็นช่างศิลป์ที่ส�ำนัก ช่างสิบหมู่ จริ ง อยู ่ ที่ อ าชี พ ของลู ก อาจจะ เปลี่ยนแปลงไปตามวัยก็ได้ แต่อย่างน้อย ความสนใจที่มีระยะเวลาต่อเนื่องตลอด ๖ ปี ก็ท�ำให้เราเห็นเส้นทางสายอาชีพที่ ค่อยข้างชัดขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีเวลาเริ่มต้น ค้นหาความชอบความถนัดเร็ว ก็ท�ำให้ ชีวติ มีรายละเอียดชัดขึน้ เรือ่ ยๆ ไม่ตอ้ งไป เดินอ้อมในเส้นทางสายอื่นๆ อยู่นานเกิน ไป แม่เองก็มโี อกาสได้เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ อยู่ เสมอ จากเรื่องที่ไม่เคยได้รู้ก็มีโอกาสได้รู้ ไปด้วยพร้อมกับลูก ต่อจากนี้เราก็ยังต้องเรียนรู้พร้อมๆ กันต่อไป...เรียนรูต้ วั เอง เรียนรูผ้ อู้ นื่ เรียน รู ้ สั ง คมและการเปลี่ ย นแปลงของโลก.. เรียนรู้เพื่อจะได้ท�ำหน้าที่รักษาและด�ำรง เผ่าพันธุม์ นุษย์ของเราด้วยความถนัดและ ความรักของเรา


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

มาร์ ท ฟาร์ ม (Smart farm) เป็ น นวัตกรรมทีเ่ กิดจากแนวพระราชด�ำริ ในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช (พระบิดาแห่งนวัตกรรม ไทย) เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุนให้ เกษตรกรและผูป้ ระกอบการใช้นวัตกรรม ด้านการเกษตรมากขึ้น เพื่อน�ำไปสู่การ เพิ่ ม ผลผลิ ต และพั ฒ นาภาคการเกษตร ให้ยั่งยืนในอนาคต โดยรายละเอียดที่น่า สนใจเกีย่ วกับสมาร์ทฟาร์ม มีดงั นี้ สมาร์ทฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการท�ำเกษตรแบบใหม่ที่จะ ท�ำให้การท�ำไร่ท�ำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพ ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการน�ำ ข้อมูลของภูมอิ ากาศทัง้ ในระดับพืน้ ทีย่ อ่ ย (Microclimate) ระดับไร่ (Macroclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใช้ ในการบริหารจัดการ ดูแลพืน้ ทีเ่ พาะปลูก เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพอากาศทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพ อากาศทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงไปในอนาคต โดย ได้รบั การขนานนามว่า เกษตรกรรมความ แม่นย�ำสูง หรือ เกษตรแม่นย�ำสูง (Precision Agriculture) ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มกันมากใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และ เริ่มแพร่หลายเข้าไปในหลายประเทศ ทั้ง ยุโรป ญีป่ นุ่ มาเลเซีย และอินเดีย แนวคิดหลักของสมาร์ทฟาร์ม คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิ ว เตอร์ รวมถึ ง เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารยุคเทคโนโลยี ๔.๐ ในการพัฒนาทัง้ ห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินค้า เกษตรไปจนถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภค เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทัง้ พัฒนา มาตรฐานสินค้า สมาร์ทฟาร์มเป็นความ พยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม ๔ ด้านที่ส�ำคัญ ได้แก่ (๑) การลดต้นทุน ในกระบวนการผลิต (๒) การเพิม่ คุณภาพ มาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้า (๓) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่ง เกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจาก ภัยธรรมชาติ (๔) การจัดการและส่งผ่าน ความรู ้ โดยน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ จากการวิจัยไปประยุกต์สู่การพัฒนาใน

ทางปฏิบัติ และให้ความส�ำคัญต่อการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่ง เทคโนโลยีทนี่ ำ� มาใช้ในการท�ำสมาร์ทฟาร์ม ได้แก่ • Global Positioning System (GPS) เป็นเทคโนโลยีในการระบุพกิ ดั หรือ ตํ า แหน่ ง บนพื้ น ผิ ว โลกโดยใช้ ก ลุ ่ ม ของ ดาวเทียม จํานวน ๒๔ ดวง ซึ่งโคจรรอบ โลกในวงโคจร ๖ วง ที่ความสูง ๒๐,๒๐๐ กิโลเมตรเหนือพืน้ โลก • Geographic Information System (GIS) เป็นเทคโนโลยีในการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ แล้วนํามา แสดงผลในรูปแบบต่างๆ สามารถเก็บข้อมูล ได้หลากหลายมิติ ซึง่ ระบบ GIS ทีร่ จู้ กั กันดี คือ Google Earth • Remote Sensing หรือเทคโนโลยี การรับรู้ระยะไกล เป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การเก็ บ ข้ อ มู ล พื้ น ที่ โดยอาศั ย คลื่ น แสง ในช่ ว งความยาวคลื่ น ต่ า งๆ และคลื่ น แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เรดาห์ ไมโครเวฟ วิทยุ เป็นต้น อุปกรณ์รบั รูเ้ หล่านีม้ กั จะติดตัง้ บน อากาศยาน หรือดาวเทียม • Proximal Sensing หรือเทคโนโลยี การรับรูร้ ะยะใกล้ อาศัยเซ็นเซอร์ วัดข้อมูล ต่างๆ ได้โดยตรงในจุดทีส่ นใจ เช่น เซ็นเซอร์ ตรวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอร์ วัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจโรคพืช (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจ วัดผลผลิต (Yield Monitoring Sensor)

เป็นต้น เซ็นเซอร์เหล่านี้สามารถนํามาวาง เป็นระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Sensor Network) โดยนําไปติดตั้งหรือปล่อย ในพื้นที่ไร่นา เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ความชืน้ ในดิน อุณหภูมิ ปริมาณแสง และ สารเคมี • Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยีการให้ปยุ๋ น�ำ้ ยาฆ่า แมลง ตามสภาพความแตกต่างของพื้นที่ โดยมักจะใช้รว่ มกับเทคโนโลยี GPS • Crop Models and Decision Support System (DSS) เป็นเทคโนโลยีที่ บูรณาการเทคโนโลยีทั้งหมดที่กล่าวมาข้าง ต้นเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่า จะทําอะไรกับฟาร์ม เมือ่ ไร อย่างไร รวมถึง ยังสามารถทํานายผลผลิตได้ดว้ ย การทําสมาร์ทฟาร์มในประเทศไทย อาจมีข้อจ�ำกัด เนื่องจากระบบเทคโนโลยี บางชนิดยังมีประสิทธิภาพไม่ดี เช่น ระบบ GPS และ GIS ต้องใช้เงินในการลงทุนสูง รวมถึงเกษตรกรขาดความช�ำนาญในการใช้ เครือ่ งมือ แต่เมือ่ โลกเข้าสูก่ ารเปลีย่ นแปลง ทัง้ ทางกายภาพ สังคม ตลอดจนองค์ความ รู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทีม่ กี ารแลกเปลีย่ นส่งผ่าน กันอย่างรวดเร็วไปทัว่ ทุกภูมภิ าค เกษตรกร ไทยจึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเอง ตามสภาพการด�ำเนินชีวติ การเปิดรับ เรียน รู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อพาตัวเองก้าวสู่การ เป็นเกษตรกรคุณภาพ (Smart farmer) ตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติงานของ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ว่า การ พัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart farmer โดยมี Smart officer เป็นเพื่อนคู่คิด ซึ่ง คุณสมบัตพิ นื้ ฐานของ Smart farmer มี ๖ ประการ คือ ประการที่ ๑ เป็นผูม้ คี วามรูใ้ นเรือ่ ง ที่ท�ำอยู่ สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอด เทคโนโลยี ท างการเกษตร หรื อ ให้ ค� ำ แนะน�ำปรึกษากับผู้อื่นที่สนใจในเรื่องที่ ท�ำอยูไ่ ด้ ประการที่ ๒ มีขอ้ มูลประกอบการ ตัดสินใจ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลทั้ง จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ และผ่านทางระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอืน่ ๆ เช่น Internet, Mobile smart phone เป็นต้น ประการที่ ๓ มีการบริหารจัดการ ผลผลิตและการตลาด มีความสามารถใน การบริหารจัดการปัจจัยการผลิต แรงงาน และทุน สามารถเชื่อมโยงการผลิตและ การตลาดเพื่อให้ขายผลผลิตได้ ตลอดจน สามารถจัดการของเหลือจากการผลิตที่ มีประสิทธิภาพ (Zero waste management)

ประการที่ ๔ เป็นผูม้ คี วามตระหนัก ถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้ บริโภค มีความรูห้ รือได้รบั การอบรมเกีย่ ว กับมาตรฐาน GAP/GMP เกษตรอินทรีย์ หรือมาตรฐานอืน่ ๆ ประการที่ ๕ มีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม/สังคม มีกระบวนการผลิต ที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและไม่ท�ำลายสิ่ง แวดล้อม (Green economy) มีกิจกรรม ช่วยเหลือชุมชนและสังคมอย่างต่อเนือ่ ง ประการที่ ๖ มี ค วามภู มิ ใ จใน ความเป็ น เกษตรกร มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ใน การประกอบอาชีพการเกษตร รักและ หวงแหนพืน้ ทีแ่ ละอาชีพทางการเกษตรไว้ ให้คนรุน่ ต่อไป มีความสุขและพึงพอใจใน การประกอบอาชีพการเกษตร (อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๖

ภาพโดย Traiwat Tresatayapan

ภาพโดย อดิศักดิ์ เดชสถิตย์

ภาพโดย อดิศักดิ์ เดชสถิตย์

ภาพโดย Chatphisit Kaewchead

ภาพโดย Traiwat Tresatayapan

ภาพโดย ภูวกฤต ช่วยเจริญ

ภาพโดย ภูวกฤต ช่วยเจริญ

ภาพโดย ChatChai Suk

ภาพโดย ChatChai Suk

ภาพโดย ChatChai Suk


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

นความเป็นคนนคร ผมไม่เคยเห็นกิจกรรมไหนที่จะโดดเด่นและน่าสนใจเท่ากับ "ถนนคนเดิน หน้าพระธาตุ" ที่ก�ำลังเกิดขึ้นทุกเย็นวันเสาร์บนถนนราชด�ำเนินหน้าวัดพระมหาธาตุแห่งนี้ นอกจากรูปแบบกิจกรรมที่ดึงเอกลักษณ์ของคนคอนแท้แท้ในแทบจะทุกมิติออกมาอวดมาโชว์ กันแล้ว ผมมองว่านี่คืองานแรกที่หน่วยงานราชการหลายหน่วยได้จับมือกัน (จริงๆ) กับฝ่ายเอกชน ความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่าย จากมือเล็กมือน้อย กลับกลายมาเป็นมือใหญ่ที่มีพลังที่ช่วย กันผลักดันกิจกรรม และพยุงกิจกรรมให้คงอยู่คู่เมืองนคร ไม่ยากเกินไปที่จะยกระดับถนนคนเดินแห่งนี้ก้าวสู่ความเป็นสากลรอรับแขกบ้านแขกเมืองใน โอกาสต่อไป ในประเทศไทย ผมยังนึกไม่ออกว่าจะมีที่ไหนที่จะมีถนนคนเดินในโลเคชั่นที่ยิ่งใหญ่ ที่มีวัด คู่บ้านคู่เมืองอันงดงามสง่าอย่างวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นฉากปราการโอบอุ้มทุกผู้ทุกคน.... เช่นนี้


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๘

ลาด (ตลาด) กลางใจเมือง ที่เกิดขึ้น ครั้งแรกในจังหวัดนครศรีธรรมราช (เสาร์ที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐) เป็นวันเสาร์แรก ของการจัดกิจกรรม “หลาดหน้าพระธาตุ” หรื อ ถนนคนเดิ น หน้ า วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้สโลแกน “ตลาดต้องชม บนถนน สายธรรม” ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้นทุกวันเสาร์ เวลา ๑๔.๐๐ - ๒๒.๐๐ น. ปรากฏว่า ได้ รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวและชาว นครศรีธรรมราชเป็นจ�ำนวนมาก ท่ามกลาง บรรยากาศคนทยอยมาเดิน ชม ชิม ช็อป กั น อย่ า งคึ ก คั ก ในวั น เสาร์ แ รกของงาน หลาด (ตลาด) หน้าพระธาตุ เน้นบรรยากาศแบบไทยๆ ย้อนยุค ไม่วา่ จะเป็น ขนม ไทยพื้ น บ้ า น อาหารพื้ น เมื อ ง ขนมไทย โบราณ และอาหารอร่อยเลือ่ งชือ่ ของชาว นครศรีธรรมราช อาทิ ขนมจีน ข้าวย�ำ หมี่ ผัดเครื่องแกง ข้าวหลาม ฯลฯ ทั้งนี้ผู้จัด งานจะเน้นย�้ำให้หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะ ที่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม พร้อมด้วยกิจกรรม

ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น การวาดภาพ เหมื อ น งานศิ ล ปะ หนั ง ตะลุ ง มโนราห์ การแสดงดนตรี เพลงบอกพื้นบ้าน ดนตรี เปิ ด หมวกจากทั้ ง ศิ ล ปิ น มื อ อาชี พ โชว์

เดี่ยวไวโอลิน และศิลปินเยาวชนมากมาย พร้อมด้วยการตั้งจุดบริการนวดแบบแผน ไทย เอาไว้บริการยามเมื่อยล้าในระหว่าง การเดิน ชม ชิม ช็อป ส่วนร้านค้าที่มา จ�ำหน่ายสินค้า ก็จะมีทั้งสินค้าหัตถกรรม สินค้าผลิตภัณฑ์เลื่องชื่อจากชุมชน ผ้ามัด ย้อม จักสาน เครื่องประดับ ปิ่นโตหลาก สี ปิ่นโตกะลา เรียกว่าเดินเลือกซื้อกันได้ แบบสบายกระเป๋า เค้าว่ากันว่างานแบบ นี้ถูกกับจริตคนนครฯ จริงมั๊ยต้องขอให้ ช่วยกันไปพิสูจน์ค่ะ หลาด (ตลาด) นี้จะ ได้อยูก่ นั ยืนยาวต่อไป เพราะจากทีต่ ดิ ตาม ในวันเสาร์ถัดมา พบว่ามียอดผู้เข้ามาเดิน ชม ชิม ช็อป เพิ่มขึ้นจากเสาร์แรกถึงสอง พันกว่าคน ซึ่งคณะผู้จัดกิจกรรมในครั้ง นี้ก็หายเหน็ดเหนื่อยกันเป็นปลิดทิ้ง อีก ทั้งยอดเงินในการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก็สะพัด กระตุ้นเศรษฐกิจของเมืองนครฯ ให้กลับ

มาคึกคักอีกครั้ง เรียกว่าบรรยากาศชื่นมื่น กันทัง้ แม่คา้ พ่อค้า และคนมาเทีย่ ว ... ถ้าไม่ เชื่อ มาลองพิสูจน์กันได้ทุกวันเสาร์ ตั้งแต่ เวลา ๑๖.๐๐ - ๒๒.๐๐ น. เสาร์หน้าอย่าลืม เตรียมความว่างของกระเพาะกันมาให้ดีนะ คะ.. แล้วมาตักตวงความอร่อยแบบหลาก หลายกันได้เลย หลาด (ตลาด) หน้าพระธาตุ พร้อม จะให้ทกุ ท่านมาพิสจู น์กนั จ้า ขอขอบคุณ : ที ม งานหอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช และที ม งาน YEC. รวมถึ ง ที ม งานเบื้ อ งหลั ง ทุ ก ท่ า น คุ ณ หมอรั ง สิ ต , อ.ประสิทธิพร, น้องจอม, น้องตุ๊กติ๊ก และ ช่างภาพขั้นเทพทุกท่าน ทีมงาน ส.ปชส. นศ. ที่เอื้อเฟื้อภาพสวยๆ กัลยาณมิตรใน Facebook


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๐ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.