นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 66 เดือนเมษายน 2560

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน ๒๕๖๐

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชีวิตติดล้อ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์ โอลั่ลล้าพาชิม นภสร มีบุญ

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗ ˹éÒ ñ๘

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

เลขาฯ มูลนิธิรัฐบุรุษน�ำเสวนาฟังความคิดเห็น ขุดคลองไทย สร้างความเข้าใจ อภิมหาโครงการ ยกระดั บ พลั ง ของประเทศทางเศรษฐกิ จ และ สังคม คลองกว้าง ๔๐๐ เมตรตัดผ่าน จ.นครฯ ๕ อ�ำเภอ ได้แก่ บางขัน ทุง่ สง จุฬาภรณ์ ชะอวด และหัวไทร รวม ๒๑ ต�ำบล ๒๕๒ หมูบ่ า้ น ตลอด แนวคลองจาก อ.สิเกา จ.ตรัง อพยพราษฎร ๒๕,๐๐๐ ครอบครัว วั น ที่ ๑๑ มี น าคม ๒๕๖๐ โรงแรมราวดี ถนนอ้อมค่าย ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรี ธ รรมราช พลเอกพงษ์ เ ทพ เทศประที ป เลขาธิการมูลนิธิรัฐบุรุษพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นประธานในการประชุมเสวนา >> อ่านต่อหน้า ๘


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

จังหวัดนครศรีธรรมราชกลางเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ รัฐมนตรี ข้าราชการระดับสูงยังเดินทางมาปฏิบัติ ภารกิจหรือติดตามงานอันสืบเนื่องมาจากอุทกภัย ต้ น ปี อ ย่ า งไม่ ข าดสาย จนข้ า ราชการประจ� ำ ใน จังหวัดไม่ได้ท�ำหน้าที่เพราะมีแต่งานต้อนรับไม่เว้น แต่ละวัน ปลายเดือนมีนาคมช่วงเวลาเดียวกัน กระแส คลื่นความร้อนขยับสูงขึ้น พื้นที่ลุ่มต�่ำน�้ำท่วมขัง เหือดแห้ง บางพื้นที่แตกระแหง ลางแล้งปรากฏ ชัดเจน ปัญหาน�้ำท่วมยังแก้ไม่จบ ปัญหาภัยแล้ง กระโจนเข้ามาอย่างรวดเร็ว อีกไม่นานจะมีข่าว คราวไฟไหม้ป่าพรุเคร็งและการจัดหาน�้ำไปดับไฟ กระบวนการแก้ปัญหาอันเกิดจากน�้ำวนเวียน อยู่อย่างนี้ปีแล้วปีเล่า หน่วยงานเกี่ยวกับการจัด การน�้ำโดยตรงกลายเป็นตัวสร้างปัญหา ตัวอย่าง การเอาน�้ำออกจากป่าพรุหลายปีก่อน ก่อให้เกิด การบุกรุกที่ดินและการเผาป่าต่อเนื่องกันมาทุกปี การป้องกันน�้ำท่วมล้มเหลวทุกประการ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดนครศรีธรรมราชควรรับมือ กับภัยแล้งได้เพราะมั่งคั่งประสบการณ์ โรงพยาบาลมหาราชจะไม่ขาดแคลนน�้ำจนต้องปิดตึกบาง ตึก ซึ่งต้องลดจ�ำนวนเตียงผู้ป่วยอย่างปี ๒๕๕๙ น�้ำสะอาดในกระบวนการดูแลรักษาและน�้ำเพื่อการ อุปโภคจะไม่ขาดแคลน เทศบาลนครนครศรีธรรมราชสามารถจัดหาน�้ำดิบมาผลิตน�้ำประปาใสสะอาด ส่ ง ตามท่ อ ไปยั ง บ้ า นเรื อ น หน่ ว ยงานราชการ โรงแรม โรงงาน อพาร์ตเม้นต์และรีสอร์ต ซึ่งเป็น ภาคราชการและธุรกิจ ถ้ า หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบสามารถชี้ แ จงให้ ประชาชนทราบความพร้ อ ม เพื ่ อ การเตรี ย มตั ว เตรียมใจ เตรียมรับมือ หรือแสดงความมั่นใจว่าจะ ไม่ขาดแคลนน�้ำตลอดช่วงหน้าแล้งก็ควรบอกกล่าว ชี้แจง

ที่อินเดียมี “ทันตปุ ระ” จริง ๆ ด้วย พงศาวดารธาตุวงศ์ของลังกา กับ ต�ำนานพระธาตุนครศรีธรรมราช มเพิ่ ง ถู ก เชิ ญ จากรั ฐ เตลางคะนะที่ เ พิ่ ง แยกจากรั ฐ

อานธรประเทศ ทางตอนใต้ ข องรั ฐ โอริ ส สาที่ คื อ แดนกลิ ง คะโบราณในสมั ย พุ ท ธกาลจนถึ ง สมั ย พระเจ้ า อโศกมหาราช ด้ ว ยการแนะน� ำ ของสถานทู ต อิ น เดี ย ใน ประเทศไทย ให้ไปน�ำเสนอในงานฉลองพระพุทธศาสนา ระดับโลกของรัฐนัน้ ทีน่ ครไฮเดอราบัด พร้อมกับพาลงพืน้ ที่ ๓ พุ ท ธสถานส� ำ คั ญ คื อ นครนาคารชุ น โกณฑะ นิ ล ะ กัณฑะพัลลี และ พันนิคีรี ที่ร้างและปรักหักพังเหลือแต่ ฐานรากแล้วทั้งนั้น แล้วได้หนังสือน้อยมาเล่มหนึ่งว่าด้วย ทันตปุระ ทีเ่ ขาเรียกตามแบบอินเดียใต้วา่ Dhantapuram ระบุว่าที่นี่เคยประดิษฐานพระทันตธาตุ ทันตกุมารท่านก็ เชิญพระทันตธาตุไปลังกาจากทีน่ ี่ โดยทีย่ งั ไม่เคยได้ไปด้วย ตนเอง เพราะเมือ่ ครัง้ ก่อนก็เริม่ ต้นตอนใต้ลงไปจากทีน่ ี่ ในหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ที่ ส� ำ นั ก โบราณคดี แ ละพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แห่งรัฐบาลอานธรประเทศในนครไฮเดอราบัด เรียบเรียง และพิมพ์เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ทีก่ ำ� ลังจะขุดค้นครัง้ ใหม่ซงึ่ ผม ยังหาบันทึกรายงานไม่เจอ ระบุว่าแม้ทุกวันนี้ที่เป็นเพียง หมูบ่ า้ นเล็ก ๆ นัน้ ทันตะปุระ เคยเป็นนครหลวงของกลิงคะ หนึ่งใน ๑๖ มหาชนบททางชายฝั่งตะวันออก ที่สืบเนื่อง มาจนถึงสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ในฐานะเมืองส�ำคัญ ทางการค้ า ทั้ ง ภายในและภายนอกทางทะเล มี ก ารตั้ ง ถิ่นฐานเป็นเมืองที่รุ่งเรือง มีพุทธสถานและโบราณวัตถุ สถานเก่าแก่ถึงสมัยพุทธกาลสอดคล้องกันในหลายบันทึก และพงศาวดาร ไม่ ว ่ า จะทางลั ง กา ในชาดก มหาวั ส ดุ มหาวงศ์ มหาภารตะ จนกระทัง่ พงศาวดารในศาสนาเชน

เขายกพงศาวดารธาตุวงศ์ของลังกาที่แต่งเมื่อ พ.ศ. ๘๕๓ ว่ามีการประดิษฐานพระทันตธาตุที่ “ทันตปุระ” นี้ จากส่วนทีโ่ ทณพราหมณ์จดั พระทันตธาตุเบือ้ งซ้ายให้เขมะ เถระอัญเชิญมาถวายท้าวพรหมทัต หนึง่ ใน ๘ กษัตริย์ แห่ง กลิงคะ โดยพระองค์ทรงสถาปนาหอพระธาตุเป็นอาคาร หลายชัน้ มีหลายห้องคูหาทาทอง ประดับประดาด้วยไข่มกุ มากมาย ในนครที่มีก�ำแพงล้อมรอบ กับ ๑๐ ช่องประตู โดยพระเจ้าคูหสีวะซึง่ เปลีย่ นจากศาสนาเชนมานับถือพุทธ ได้จัดให้มีการบูชาพระทันตธาตุจนกระทั่งพระเจ้าปาณ ฑุแห่งชมพูทวีปส่งทูตชื่อชิตญาณมาทูลเชิญพระเจ้าคูหสี วะให้อัญเชิญพระทันตธาตุไปยังนครปาฏลีบุตรจนเป็นที่ เลื่องลือทั่วทุกทิศ ขณะเดียวกันพระเจ้ากีรธรนเรนทรา ? (Kheeradhara Narendra) ได้กรีฑาทัพมาบุกปาฏลีบุตร เพื่อชิงพระทันตธาตุแต่พ่ายแพ้กลับไป กษัตริย์แห่งปาฏลี บุตรซึง่ เชือ่ ว่าเป็นอานุภาพแห่งพระทันตธาตุจงึ มีพระราชา นุญาตให้พระเจ้าคูหสีวะอัญเชิญพระทันธาตุกลับไปบูชาที่ ทันตปุระ จากนัน้ ทันตกุมาร กษัตริยแ์ ห่งอุชเชนีได้มายังกลิงคะ เพื่อบูชาพระทันตธาตุ แล้วพระเจ้าคูหสีวะทรงประทับใจ ในพระจริยวัตรจึงทรงถวายพระธิดาให้อภิเษกด้วย ขณะ เดียวกันราชบุตรแห่ง Kheeradhara Narendra ได้ตาม มาบุกกลิงคะเพือ่ ครอบครองพระทันตธาตุ พระเจ้าคูหสีวะ ซึ่งรู้ว่ากองทัพของพระองค์สู้ไม่ได้ จึงขอให้พระทันตกุมาร อัญเชิญพระทันตธาตุไปสูพ่ ระเจ้ามหาเสนะแห่งลังกาก่อนที่ จะถูกบุกถึงและสิน้ พระชนม์ชพี ในการรบ พระทันตกุมารทรงอัญเชิญพระทันตธาตุลงไปทาง ใต้ (กับพระนางเหมชาลา) จนเรืออับปางขณะข้ามแม่น�้ำ กฤษณาแล้วไปขึ้นฝั่งที่หาดทรายแก้ว (ซึ่งเขาเขียนว่าเป็น เพชร Diamond Sands) ก่อนที่จะเดินทางต่อจนถูก พญานาคมาลักกลืนพระทันตธาตุจนมีเถระมาช่วยทวงคืน ได้ จากนัน้ จึงลงเรือที่ Thambalithi จนไปถึงลังกา ซึง่ ถึงทุก วันนีม้ กี ารศึกษาค้นคว้า เชือ่ ว่า (อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๓ ด้ ว ยการเข้ า ไปกราบขอพรสั ง ขารพ่ อ ท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ ต้ น เดื อ นมี น าคมที่ ผ ่ า นมา ผมมี โอกาสนั่ งจิ บ กาแฟพู ดคุ ย กั บ ธีร ะพงศ์ ชูช่วย นายอ�ำเภอช้างกลาง ที่ก�ำลังทุ่มเท เปิดเมืองช้างกลางให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ถ้ า ได้ ท ่ อ งเที่ ย วกิ น อาหารอร่ อ ย ๆ ใน ท้องถิ่น ท่านที่ยินดีจะนอนค้างแรม ตื่น เช้ามาชมความสวยงามของทิวทัศน์ สูด อากาศดี ๆ กลางป่าเขาก็ค้างคืนที่ช้าง กลาง

มื่ อ วั น เสาร์ ที่ ๑๑ มี น าคม ๒๕๖๐ พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า สิ ริ วัณณวรีนารีรัตน์ เสด็จพระราชด�ำเนิน สั ก การะสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช เป็นการส่วนพระองค์พร้อม คณะ เส้ น ทางเสด็ จ ฯระบุ ไ ว้ ชั ด เจนว่ า 'สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์' ถ้าหน่วยงานเกี่ยว กับการท่องเที่ยวยึดเอาเส้นทางเสด็จฯ พัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเมืองนครใน อนาคตพอจะเป็นได้หรือเปล่า

พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า สิ ริ วั ณ ณวรี น ารี รั ต น์ เสด็ จ ฯไปวั ด พระ มหาธาตุวรมหาวิหาร เราก็ตั้งจุดเริ่มต้น อันเป็นมงคล ณ ที่นั่น คือ เข้าวิหารพระ ทรงม้าชมความงามของประติมากรรม

ปูนปั้น กราบไหว้พระบรมธาตุเจดีย์ขอพร หรือถวายผ้าห่มพระบรมธาตุ กราบพระ ประธานในพระวิ ห ารหลวง กราบไหว้ พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระเจ้ า ตากสินมหาราช เดินทางต่อไปอีกไม่ถึง ๑๐ นาทีทรงสักการะเทวรูปพระนารายณ์ ณ หอพระนารายณ์ และเทวรูปพระศิวะ ณ หอพระอิศวร จุดต่อไปเป็นวัดวังตะวันออก หรือ จะข้ า มฟากมาชมกุ ฏิ ท รงไทยกลิ่ น หอม บอกเล่าเรื่องราวของวัดทั้งสองไปพร้อม ๆ กัน แล้วข้ามสะพานราเมศวร์ไปกราบไหว้ เก๋ ง จี น พระเจ้ า ตากและชมความงดงาม ของไม้แกะสลัก เข้าโบสถ์ไปสักการะพระ สารีริกธาตุ ต่อจากนั้นไปวัดนางพระยา ต�ำบล ปากนคร ได้ ก ราบไหว้ ห ลวงพ่ อ ทั น ใจ ทรงจุ ด ธู ป เที ย นไหว้ พ ระแม่ น างพระยา และบอกเล่ า เรื่ อ งราวของการสร้ า ง หลั ก เมื อ งนคร พอใกล้ เ ที่ ย งก็ เ ลยไปชม ทะเล กิ น อาหารทะเลสด ๆ จากอ่ า ว ปากนคร กิ น อิ่ ม นั่ ง รถยนต์ ไ ปยั ง วั ด ธาตุ น ้ อ ย ต�ำบลหลักช้าง อ�ำเภอช้างกลาง เข้าจุด ธูปเทียนหน้าพระประธาน และปิดทริป

ธีระพงศ์ ชูช่วย นายอ�ำเภอช้างกลาง

ท่านที่ชอบนอนในเมืองก็เข้าเมือง ถนนหนทางสะดวกสบาย ระหว่างเส้น ทางมีร้านกาแฟตกแต่งสวยงามให้นั่งชม ทิวเขาสวย ๆ ของเมืองนคร (จุ ด กึ่ ง กลางระหว่ า งวั ด พระมหา ธาตุฯ กับวัดวังตะวันออกมีศาลหลักเมือง อันศักดิ์สิทธิ์ ณ สนามหน้าเมือง ถ้าเรา พิจารณาผนวกเข้าไปก็นับว่าดี) เส้นทางท่องเที่ยวเส้นนี้ อาจเรียก ไปก่อนว่า 'เส้นทางเจ้าฟ้า' ก็ได้


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รกั บ้านเกิด ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน ๒๕๖๐

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

มื่ อ ต้ น เดื อ นมี น าคมที่ ผ ่ า นมา ผมมี โ อกาสไปออก รายการร้อยเรื่องเมืองนคร ของวิทยุเทศบาลนคร ได้ พูดคุยถึงงานสงกรานต์ที่จะมาถึงในเดือนเมษายนนี้ ผม ได้รบั ค�ำถามจากผูจ้ ดั รายการ คือคุณเจริญ เมืองสง และ คุณบุญส่ง มีนลิ ถึงเรือ่ งประเพณีสงกรานต์ในยุคก่อนใน ช่วง พ.ศ. ๒๔๐๐ กว่าเป็นต้นมา ผมก็เล่าให้เขาฟังจาก เรือ่ งทีอ่ า่ นจากบันทึกต่างๆ เรือ่ งทีค่ นเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟงั และเรือ่ งทีป่ ระสบมากับตัวเองในช่วง ๕๐ ถึง ๖๐ ปีเท่าที่ จ�ำได้ จึงอยากจะเอามาคุยให้ฟงั ในรักบ้านเกิดด้วย ค�ำถามที่คนหนุ่มสาวชอบถามคือ ท�ำไมวันขึ้นปี ใหม่ไทยจึงไปใช้วันที่ ๑๓ เมษายน ซึ่งมันเป็นเดือนที่ ๔ ของปี น่าจะเป็นวันที่ ๑ เดือน ๑ (มกราคม) ผมจึงต้อง ค้นคว้าหามาเล่าให้ฟัง การค�ำนวณวันเดือนปีของคน โบราณนัน้ เขาดูดวงดาวต่างๆ เป็นหลักจนมีการสรุปได้วา่ ดาวดวงนี้โคจรเคลื่อนผ่านมาต�ำแหน่งเดิมนี้นับวันเวลา ได้ ๓๖๕ วัน “วัน” ก็คอื พระอาทิตย์ขนึ้ และตกครบรอบ “เดือน” ก็คอื ดวงจันทร์ครบรอบหนึง่ ก็ ๓๐ วันเศษ จึงก�ำหนดวัน เดือน และ ปี ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้าง ต้น การสังเกตดวงดาวในช่วงแต่ละเดือนมีหมู่ดาวแตก ต่างกัน เริม่ มีการก�ำหนดชือ่ เดือนทีก่ ลุม่ ดาวทีผ่ า่ นเข้ามา ในแต่ละเดือน จนเกิดชือ่ กลุม่ ดาวราศีตา่ งๆ ได้ ๑๒ ราศี การจะเริม่ นับ ๑ ในราศีใดนัน้ มันก็แล้วแต่ชนชาติใดจะ ก�ำหนดเอาเมื่อใด ส่วนมากแล้วจะก�ำหนดเอาเดือนที่ “เริม่ ต้นของฤดูการผลิต” ของตน เช่น อินเดียโบราณยึด เอาวันที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านจากราศีมีนมาสู่ราศีเมษ

เป็นวันปีใหม่ เริ่มนับหนึ่งเอาในเดือนเมษานั้น ส่วนของ จีนก็ยึดเอาฤดูการผลิตเป็นหลักเช่นกัน เมื่อสิ้นสุดฤดู หนาวแล้ว เริ่มต้นฤดูเพาะปลูกใหม่ ก็นับเป็นการขึ้น ปีใหม่ซงึ่ ตรงกับวันที่ ๑ เดือน ๑ ในปฏิทนิ จีน ซึง่ อาจจะ ตรงกั บ กลางเดื อ นมกราคม หรื อ ต้ น เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ก็เป็นได้ ประเทศสยามของเราเริ่มใช้จุลศักราชมานานแล้ว ตามอย่างอินเดียนับวันสงกรานต์ (แปลว่าเคลื่อนผ่าน) เป็นวันเริ่มต้นปี ก่อนนั้นคงจะเอาฤกษ์ราศีแบบอย่าง อินเดียแต่จะเป็น พ.ศ.ใดไม่ปรากฏชัด มีการระบุกัน หลายส�ำนักไม่ตรงกัน แต่ก็ใช้วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปี มานานจนมาถึง พ.ศ. ๒๔๓๒ เปลีย่ นมานับเอาวันที่ ๑๓ ในปีนนั้ ก�ำหนดเป็นวันเริม่ ปีใหม่ตรงกันทุกปี แต่จะไม่ตรง กับวันที่ราศีมีนเคลื่อนเข้าราศีเมษเหมือนแต่เดิมแล้ว ใช้นับอย่างนั้นมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๗๗ สมัยที่มีรัฐธรรมนูญใช้แล้ว เทีย่ วนีเ้ ปลีย่ นมาเป็นวันที่ ๑ เมษายน เป็นวัน ขึ้นปีใหม่ไทย ใช้ได้เพียง ๗ ปี ก็มาถึงยุคสมัยจอมพล ป.พิบูล สงคราม ท่านหลวงวิจิตรวาทการ ท่านก็เปลี่ยน ให้มันทันสมัยตามแบบอย่างสากล คือวันที่ ๑ มกราคม ประเทศก็เป็นประเทศศิวไิ ลซ์ตงั้ แต่บดั นัน้ ประเพณีสงกรานต์นั้นแต่เดิมพวกล้านนา เขาจะ เป็นเจ้าของประเพณีในแถบนี้ โดยรับเอาความเชื่อมา จากพราหมณ์อินเดีย มีนิทานเรื่อง ธรรมบาลกับท้าว กบิลพรหม เป็นตัวน�ำเรือ่ ง ตัวประกอบก็คอื ลูกสาวทัง้ ๗ ซึ่งก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันแห่เศียรท้าวกบิลพรหม ทุกปี เป็นประเพณีสงกรานต์ที่สืบสาน เป็นต�ำนานที่ สนุกสนานในอดีต ภาคเหนื อ ของไทยเรา จะเรียกประเพณีนี้ว่า “ประเพณีปใ๋ี หม่เมือง” ภาคอี ส านและภาคใต้ เรียก “ประเพณีบญ ุ เดือน ๕” เหมือนกัน ทางภาคเหนื อ จะมี วั น สั ง ขารล่ อ ง วั น เนา และวั น พญาวัน ทางภาคอีสาน มีวันส่ง เทวดา วันว่างเทวดา วันรับ เทวดา

ภาพ : talung.gimyong.com (รร.นานาชาติเซาท์เทิร์นหาดใหญ่), เว็บไซต์จังหวัดนครศรีธรรมราช

>> อ่านต่อหน้า ๙

รองผูว้ า่ ฯ ขจรเกียรติ รักพานิชมณี กับ นพ.ยุทธนา ศิลปรัศมี ประธานชมรมคนรักในหลวง จ.นครฯ ร่วมปล่อยแถว ขบวนนักปัน่ ๘๙ คัน ต่อเบือ้ งหน้าพระบรมธาตุเจดียอ์ อกเดิน ทางไปเข้าถวายบังคมพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ เริ่ม ปัน่ ๑๗ ถึง ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๐ ระหว่างทางนักปัน่ จักรยาน ของ จ.สุราษฎร์ฯ ชุมพร เข้าร่วมปัน่ ให้กำ� ลังใจ กิจกรรมนีช้ มรม จักรยานจังหวัดนครฯ ร่วมสนับสนุน

วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๐ ที่สถานีกาชาดสิรินธร อ.ทุง่ สง รองผูว้ า่ ฯดนัย เจียมวิเศษสุข ประธานเปิดโครงการ ช่วยเหลือคนไข้ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวันพระราชสมภพ ๖๒ พรรษา '๒ เมษายน ๒๕๖๐' วาสนา ทิพญพงษ์ธาดา นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนครฯ กล่าวว่าโครงการนี้เหล่า กาชาดจังหวัด, ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, พัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด, ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จังหวัด, สถานีกาชาดสิรินธรและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมจัดเพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจคนไข้ ทศพร จันทรประวัติ นอภ.ทุง่ สง และผูเ้ กีย่ วข้องเข้าร่วมอย่างพร้อมเพรียง


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๕ วันที่ ๑๗-๑๙ มีนาคม ๒๕๖๐ กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศจัดน�ำคณะทูตต่างประเทศ ประจ�ำ ประเทศไทยและคู่สมรสเดินทางทัศนศึกษาโครงการพัฒนา พื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และสถาน ทีส่ ำ� คัญอืน่ ๆ เช่น ชุมชนพึง่ ตนเองบ้านคีรวี ง อ.ลานสกา ชม ชุมชนลุ่มน�้ำปากพนังและล่องเรือชมแม่น�้ำปากพนัง เยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์หนังตะลุงที่บ้านหนังตะลุงสุชาติ ทรัพย์สิน หวังว่า เรื่องราวดีๆ ของเมืองนครจะถูกน�ำไปถ่ายทอดสู่บ้านเกิดเมือง นอนของคณะทูตานุทตู

วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ผู้ว่าฯ โชคชัย เดชอมรธัญ กับ ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ร่วมลงนามในบันทึกความ ร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและการพัฒนา สู่เมืองอัจฉริยะ ระหว่างจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดนครฯ และ มีการประชุมร่วมกับภาคีระหว่างส่วนราชการและภาคเอกชน ทั้ง ๒ จังหวัด เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการ พัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว สร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันภายใต้หวั ข้อ 'Imagine Nakhon Si Thammarat วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐ ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล & Phuket ๒๐๑๗ : A new Economic and Tourism รมช.ศึกษาธิการ เป็นประธานมอบบ้านในโครงการให้ความ Cooperation Development' ใจความส�ำคัญของ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั ไิ ทยช่วยไทยในเขตพืน้ ทีภ่ าคใต้ ๑๒ บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ (MOU) คื อ ๒ จั ง หวั ด ร่ ว มมื อ และ จ�ำนวน ๕ หลังพร้อมสิง่ ของเครือ่ งใช้ท่ี ต.กรุงชิง อ.นบพิตำ� สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวและการพัฒนาสู่ เมืองอัจฉริยะ (Smart City) และร่วมส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในการพัฒนา เศรษฐกิจ การบริหารจัดการการท่องเทีย่ ว สร้างความเชือ่ มโยง ด้านการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด เริ่มที่สนับสนุนให้มีการแลก เปลี่ยนสินค้าท้องถิ่นและซื้อขายแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ OTOP ของกันและกัน

วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๐ สากล ฐินะกุล อธิบดีกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในการมอบหนังสือ วัสดุ อุปกรณ์การศึกษาและสมทบทุนอาหารกลางวัน เพือ่ ฟืน้ ฟู โรงเรียนทีไ่ ด้รบั ความเสียหายจากอุทกภัย ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครฯ ณ กองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๒ (ค่ายศรีนครินทรา) อ.ทุง่ สง พ.ต.ท.พิมณรัตน์ ธรรมาธิปติ์ รองผูก้ ำ� กับ การต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๒ ผศ.ดร.รังสรรค์ ปิตปิ ญ ั ญา รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมและสมาชิกเครือข่าย ห้องสมุดสีเขียว ผูน้ ำ� ชุมชน คณะครูและนักเรียน คณะครูและ นักเรียนศูนย์การเรียนรู้ ตชด.บ้านหลังอ้ายหมี ให้การต้อนรับ

ที่ วาสนา ทิพญพงศ์ธาดา นายกเหล่ากาชาดจังหวัดฯ ร่วมกับ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดฯ พอมี เวลาว่าง 'แม่ชศี นั สนีย'์ ไปเยีย่ ม จิมมี่ ชวาลา ทีร่ า้ นจิมมี่ และ เมตตาพูดคุยกับ มุธกิ า ชวาลา ผูเ้ ป็น 'สะใภ้'

ดร.ประทีป ตั้งมติธรรม ประธานกรรมการบริหาร, อัจฉรา ตั้งมติธรรม รองประธานกรรมการบริหาร, ไตรเตชะ ตัง้ มติธรรม กรรมการผูจ้ ดั การ, อดิศกั ดิ์ วารินทร์ศริ กิ ลุ ผูช้ ว่ ย กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานโครงการภูมภิ าค ๓ บริษทั ศุภาลัย จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมพันธมิตรทางธุรกิจน�ำคณะสื่อมวลชน ลงพื้นที่ฟื้นฟูโรงเรียนที่ประสบอุทกภัยโดยบริจาคเงิน วัสดุ อุปกรณ์ หนังสือพร้อมชั้นวาง ปั๊มน�้ำ ถังเก็บน�้ำ ซ่อมแซม อาคารเรียน อาคารอเนกประสงค์ กับสนามเด็กเล่น โรงเรียน วัดท่านคร มี ผอ.วีระ นิลวิเชียร รับมอบ และซ่อมแซมห้อง สมุดโรงเรียนบ้านบางกระบือ ผอ.เรณู จุลผดุง ผู้รับมอบ... ขอขอบพระคุณแทนชาวนคร

ยินดีกับอาจารย์และนักวิจัย มรภ. นครฯ ที่ได้รับ รางวัลการน�ำเสนอผลงานวิจัยในระดับดีมาก ในการประชุม ใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจยั ในอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๕ (HERP CONGRESS V) 'รากฐานภูมปิ ญ ั ญาไทย นวัตกรรมวิจยั สูส่ ากล' ระหว่างวันที่ ๒-๔ มีนาคม ทีผ่ า่ นมา ณ มรภ. อุดรธานี ได้แก่ อ.วราศรี แสงกระจ่าง กับ อ.จุรภี รณ์ นวลมุสิ (การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากผักพื้นบ้าน) ผศ.ดร.จุติพร อัศวโสวรรณ ผศ.ดร.สมพร เรืองอ่อน ผศ.สุรศักดิ์ แก้วอ่อน อ.จุฑามาศ ศุภพันธ์ อ.วิเชียร มันแหล่ และ ผศ.ดร.สุภาวดี รามสูตร (เรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ความ หลากหลายทางชีวภาพ วิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น) ผศ.วรรณชัย พรหมเกิด (การศึกษาและพัฒนารูปแบบการ ปลูกข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์ด้าน อาหารอย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ จังหวัดนครฯ) และ ผศ.ศุภมาตร อิสสระ (การกระจายตัว และการใช้ประโยชน์ปา่ สาคูในพืน้ ทีภ่ าคใต้ : จังหวัดนครฯ) เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๐ บ.ฮอนด้า ศรีนคร เชิญชวนสมาชิกคลับไปร่วมท�ำกิจกรรม "แต้มสีเติมฝัน แบ่งปันด้วยรัก" พัฒนาโรงเรียนทีป่ ระสบภัยน�ำ้ ท่วมไปเมือ่ หลาย เดือนก่อน ด้วยการซ่อมแซม ทาสี เครือ่ งเล่น ให้ดทู นั สมัยและ สร้างบรรยากาศในการเล่น และพัฒนาห้องสมุดที่ช�ำรุดให้กลับ ระหว่าง ๙-๑๐ มีนาคม แม่ชศี นั สนีย์ เสถียรสุต มาใช้งานได้เหมือนเดิม ณ โรงเรียนวัดบางด้วน ต.ปากแพรก มาเป็นวิทยากร ในโครงการฟืน้ ฟูเยียวยาจิตใจผูป้ ระสบอุทกภัย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช

Find Us On :

Page เพชรทองซีกวง

Seekuang BJ

Line ID : @Seekuang

Line ID : boonada

099-195-6996

เพชรทอง 1. ถนนเนรมิต ท่าวัง 2. ชั้ น 2 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน 3. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างสหไทยพลาซ่ า ทอง 4. ชั้ น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา 5. ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) 6. หัวอิฐ 7. คูขวาง (หน้า ธ.SME) 8. ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร) 9. สะพานยาว (ข้างโลตัสเอ็กเพรส) เพชรทองออนไลน์ 10. www.facebook.com/BOONADA ทอง (หาดใหญ่) 11. ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๖

ยุ

ทธนากับสุพนิ ดา ไกรเสม แห่งสโมสรเยาวชน ส�ำนัก ข่าวเสียงเด็ก อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช คูส่ ามีภรรยา ที่ท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมและส่งเสริมเยาวชนให้ได้รับการ เรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งยาวนานมาตัง้ แต่ ปี ๒๕๔๗ ผูอ้ า่ นอาจ จะรูจ้ กั สองคนมากขึน้ เมือ่ 'รักบ้านเกิด' บอกว่าสองคนเป็น พ่อแม่ของผูส้ อื่ ข่าวเด็ก พุธติ า กับ ภาวิต ไกรเสม รายการ ‘เด็กเล่าข่าว’ ช่อง ๓ แฟมิลี่ สองคนพาลูกตระเวนท�ำข่าว ทัว่ ประเทศ บางครัง้ ข้ามฟ้าไปต่างประเทศ ยุ ท ธนา (แกะ) เป็ น ลู ก ขนอมแท้ ๆ เข้ า ศึ ก ษา ม.รามค�ำแหงที่กรุงเทพฯ "ผมเรียนมาก เรียนเกินกว่า มหาวิทยาลัยอนุมัติ แต่ไม่จบ เพราะออกไปท�ำงานหา ประสบการณ์ หาเงินเลีย้ งตัวเอง แรกเริม่ ท�ำงานทีน่ ติ ยสาร คลาสซี่ ยุคทีช่ า่ งภาพดัง ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์ เป็นช่างภาพ แล้วก็ไปท�ำงานกับพี่แอ้-กรรณิการ์ ธรรมเกษร ที่ฟินิกซ์ แอดเวอร์ไทซิง่ " แกะรักงานหนังสือกับงานข่าว เมือ่ หนังสือเล่มแรกล้ม เขาไปเป็นบรรณาธิการบริหารนิตยสารแนวธุรกิจ เป็นฝ่าย ขายนิตยสารสตรีบางฉบับ และไปเป็นนักข่าวที่เนชั่นสุด สัปดาห์ชว่ งเริม่ ต้นใหม่ๆ ส่วนเปิล้ -- สุพนิ ดา ญาณะณิสสร เป็นชาวกรุงเทพฯ เรียนจบคณะบริหารธุรกิจ สาขาการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ม.รามค�ำแหง ขณะเรียนมหาวิทยาลัยเปิ้ลฝึกงานแผนก Traffic ทีโ่ อกิลวี่ แอนด์เมเธอร์ ซึง่ เป็นเอเยนซีต่ า่ งประเทศ เรียนจบไปท�ำงานอยู่ฝ่ายการตลาดที่ห้างแพรงส์ตอง ห้าง หรูจากฝรัง่ เศสซึง่ ปัจจุบนั คือเสรีเซ็นเตอร์

"ต่อมาเปิล้ ไปท�ำงานทีห่ า้ งโลตัสซึง่ เป็นสาขาแรกทีเ่ ข้า มาเปิดในเมืองไทยที่ซีคอนสแควร์ ท�ำงานจนเป็นผู้จัดการ ฝ่ายการตลาด ได้รว่ มวางแผนขยายสาขาโลตัสทัว่ ประเทศ ในยุคแรกที่มีสาขาเดียวที่ซีคอน ช่วงนั้นคบหากับพี่แกะ แล้วค่ะ พี่แกะบอกให้ลาออกเพราะตอนนั้นเปิ้ลมีหน้าที่ คิดวางแผนล้วงกระเป๋าชาวบ้านให้จ่ายสตางค์เยอะๆ เช่น ยกเลิกใช้ตะกร้าใส่ของในโลตัสเปลี่ยนมาใช้รถเข็นขนาด ใหญ่เพือ่ ให้เห็นว่าทีต่ ัวเองซื้อมาใส่รถยังน้อยไป ยังมีทวี่ า่ ง ให้หยิบของมาใส่อกี มีกลวิธอี กี สารพัดให้ขายของได้" ยุ ท ธนาเบื่ อ หน่ า ยชี วิ ต ลู ก จ้ า งในกรุ ง เทพฯ และ ต้องการท�ำงานอิสระที่เป็นผู้คิดเอง เปิ้ลตัดสินใจทิ้งเงิน เดือนเกือบแสนลาออกมาอยู่ อ.ขนอม เมือ่ ปี ๒๕๔๐ ต่ อ มายุ ท ธยาก่ อ ตั้ ง ส� ำ นั ก ข่ า วเสี ย งเด็ ก โดยอาศั ย ประสบการณ์การท�ำหนังสือในกรุงเทพฯ และประสบการณ์ ด้านกิจกรรมและการตลาดของภรรยา จุดประสงค์ของ ส� ำ นั ก ข่ า วคื อ การฝึ ก ฝนและชั ก ชวนเด็ ก ๆ ในพื้ น ที่ ม า เรียนรูแ้ ละท�ำกิจกรรม เริม่ จากกิจกรรมอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และการเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ปั ญ หาขยะและขยายความคิ ด ปลูกจิตส�ำนึกเรื่องรีไซเคิล โดยมีบริษัทผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด เป็นผูส้ นับสนุนรายส�ำคัญ ต่อมากิจกรรมอนุรักษ์ขยายตัว ไม่เพียงเรื่องการฝึก

เด็กๆ รักโลกรักสิ่งแวดล้อม หากขยายตัวสู่ความเข้าใจ เรื่องการอนุรักษ์พลังงาน จัดกิจกรรมดูนก กิจกรรมถ่าย ภาพ ฝึกเยาวชนให้อ่านเขียนและเสริมสร้างทักษะท�ำข่าว สิ่งแวดล้อม ทั้งการมองหาประเด็น การเขียนและการ ถ่ายภาพ โดยเชิญวิทยากรผู้มีชื่อเสียงอย่างอาจารย์มงคล วงศ์กาฬสินธุ์ ผูเ้ ชีย่ วชาญการดูนกหรือเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ ช่างภาพผู้เชี่ยวชาญการถ่ายภาพธรรมชาติ บางครั้ง ได้รบั การสนับสนุนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ให้จดั ค่ายเรียน รูเ้ รือ่ งพลังงานและพาเยาวชนในพืน้ ทีไ่ ปชมโรงไฟฟ้าหลาย ประเภททัว่ ประเทศ “ต่อมาเราจัดกิจกรรมคาร์ฟรีเดย์ สร้างจิตส�ำนึก ประหยัดพลังงานและเห็นคุณค่าของพลังงาน แรกๆ มี เด็กกับผู้ใหญ่ในอ�ำเภอขนอมเข้าร่วมไม่มาก แต่เราจัด สืบเนื่องมาทุกๆ ปี จะครบสิบปีอยู่แล้ว ชาวขนอม ผู้ ปกครองและหน่วยงานส�ำคัญเข้าใจเจตนารมณ์ ปีหลังมี ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมล้นหลามครับ กลายเป็นกิจกรรมทีเ่ ด็กๆ กับชาวขนอมถามหาทุกปี ว่าปีนจี้ ะจัดไหมๆ" ยุทธนาเล่า ปัจจุบันเยาวชนที่เติบโตจากค่ายกิจกรรมเสียงเด็ก บางคนเป็นผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ เป็นผู้น�ำในองค์กรที่ พวกเขาท�ำงาน เพราะเยาวชนที่เติบโตเป็นหนุ่มสาวได้ ฝึกฝนทักษะหลายๆ ด้าน รวมถึงความกล้าหาญในการ แสดงออกด้วยเหตุผล รวมทั้งพุธิตากับภาวิตที่เติบโตได้บรรจุเป็นผู้สื่อข่าว เด็กประจ�ำช่อง ๓ แฟมิลี่ ปัจจุบนั สองคนกลายเป็นพีเ่ ลีย้ ง และวิทยากรถ่ายทอดประสบการณ์แก่เยาวชนในพื้นที่รุ่น >> อ่านต่อหน้า ๙ ใหม่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

จดหมายข่าว

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช

พื้นที่บริเวณอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จากการศึกษาชั้นตะกอน ดินทีส่ ะสมในพืน้ ทีช่ ายฝัง่ นครศรีธรรมราช โดยสิน สินสกุล และคณะ จากกรมทรัพยากรธรณี พบว่าเมือ่ ๙,๐๐๐ ปีทผี่ า่ นมา น�ำ้ ทะเลมีระดับสูงและได้ทว่ มเข้า มาในแผ่นดินคาบสมุทรภาคใต้ฝง่ั ตะวันออก (รวมทัง้ ชายฝัง่ ทะเลนครศรีธรรมราช) ครัน้ เมือ่ ๖,๐๐๐ ปีทผี่ า่ นมา ระดับน�ำ้ ได้เพิม่ ระดับสูงขึน้ อีกจนมีระดับสูงกว่าน�ำ้ ทะเลปัจจุบนั ประมาณ ๔ - ๕ เมตร จนกระทัง่ เมือ่ ๑,๔๐๐ - ๑,๐๐๐ ปีทผี่ า่ นมา น�ำ้ ทะเลจึงลดลงมาถึง ระดับปัจจุบนั ท�ำให้พนื้ ทีเ่ ดิมซึง่ เคยมีนำ�้ ทะเลท่วมถึง เป็นพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเล ซึง่ มีลกั ษณะ ลุม่ ต�ำ่ ลาดลงสูท่ ะเล ด้วยอิทธิพลของคลื่นลมที่กระทบแนวชายฝั่ง และอิทธิพลน�้ำขึ้นน�้ำลง ท�ำให้ ตะกอนทรายทั บ ถมลงเป็ น แนวยาวตลอดชายฝั ่ ง ทะเลคาบสมุ ท รภาคใต้ เรี ย กว่ า “สันทราย” หรือ “สันดอนทราย” (Sand dune) สันทรายดังกล่าวมีความกว้างแตกต่าง กันไปตามสภาพพื้นที่และภาวะคลื่นลมในแต่ละภูมิภาค เฉพาะพื้นที่นครศรีธรรมราช มีสันทรายชายฝั่งทะเลเป็นสองสันดอน สันดอนแรก คือบริเวณสันทรายใน (ปัจจุบัน คือพื้นที่ต�ำบลนาพรุ อ�ำเภอพระพรหม จนถึงต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง) สันดอนที่ สอง คือบริเวณ สันทรายนอก ปัจจุบันคือพื้นที่เขตต�ำบลท่าเรือ คร่อมเขตเทศบาลนคร นครศรีธรรมราชไปจนถึงต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง) ต่อมาพื้นที่บนสันทรายทั้งสองเริ่ม มี กลุม่ ชนทยอยมาตัง้ ถิน่ ฐาน จนในทีส่ ดุ กลายเป็นชุมชนใหญ่และเป็นบ้านเป็นเมืองขึน้ กลุ่มชนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานบนสันทรายทั้งสองในช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๖ (เมื่อราว ๑,๒๐๐ ปีที่แล้ว) มีสองกลุ่ม กลุ ่ ม แรกคื อ คนพื้ น เมื อ งซึ่ ง นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนามหายาน (แบบเดียวกับคนในอาณาจักรศรีวิชัย) กลุ่มที่สอง คือคนเชื้อ สายอินเดียซึ่งนับถือศาสนาพราหมณ์ (ไศวนิกายและไวษณพ นิกาย) แต่ภายหลังการโจมตีของราเชนทรโจฬะแห่งอินเดียใต้ เมือ่ พ.ศ.๑๕๖๘ ก็มชี นกลุม่ ใหม่เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานเพิม่ ขึน้ อีกสอง กลุ่ม คือชาวสิงหลที่มาจากลังกา (โดยเฉพาะพระสงฆ์) และ ชาวมอญที่ ม าจากหงสาวดี ชนกลุ ่ ม ใหม่ นี้ ผู ก พั น กั น โดยมี พระพุทธศาสนาเถรวาทลังกาวงศ์เป็นแกน เมื่อชุมชนเติบโตจึง มีการสร้างปูชนียสถานและวัดขึ้นในชุมชนตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๘ เป็นต้นมา วัดทีส่ ำ� คัญก็คอื “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร” ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นสันทรายทีส่ อง เฉพาะในนครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานประวัติศาสตร์ และต�ำนานพบว่ามีวัดบนสันทรายที่ สองของนครศรีธรรมราช ๓ กลุ่มใหญ่ คือกลุ่มเมืองพระเวียง กลุม่ รายรอบพระบรมธาตุ และกลุม่ ทิศเหนือพระบรมธาตุ ซึง่ จะ ขยายความในฉบับต่อไป

เดือนเมษายน ๒๕๖๐ วันอังคารที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐

ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนห้า(๕) ปีระกา

วันอังคารที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนห้า(๕) ปีระกา วันพุธที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๖๐

แรม ๘ ค�่ำ เดือนห้า(๕) ปีระกา

วันอังคารที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๐ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือนห้า(๕) ปีระกา

หน้า ๗ การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

บนสันทรายที่สองของเมืองนครศรีธรรมราช ทางด้านทิศใต้ของ พระบรมธาตุเจดีย์ ในอดีตเมือ่ ประมาณ ๙๐๐ ปีทผี่ า่ นมา มีชมุ ชน ใหญ่ซึ่งเคยมีฐานะเป็น “ศูนย์กลางของอาณาจักรตามพรลิงค์” เรียกว่า “เมืองพระ เวียง” ลักษณะทางกายภาพของเมืองเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ขนาด ๔๕๐ - ๑,๑๐๐ เมตร ตัง้ อยูบ่ นสันทรายทีส่ งู จากระดับน�ำ้ ทะเลประมาณ ๔ - ๘ เมตร มีคลองธรรมชาติเป็น คูเมืองสองสาย คือคลองสวนหลวง (ทางทิศเหนือ) และคลองคูพาย (ทางทิศใต้) มีกำ� แพง เมืองเป็นก�ำแพงดิน ผลการขุดค้นทางโบราณคดีของส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่าเป็น “เมืองโบราณ” ทีพ่ ฒ ั นามาจากชุมชนสมัยแรกเริม่ ประวัตศิ าสตร์ตอ่ เนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา ก่อนจะย้ายเมืองไปตั้งอยู่บริเวณพระบรมธาตุเจดีย์ในพุทธ ศตวรรษที่ ๒๐ วัดเก่าในเมืองพระเวียง เดิมมีวดั อยู่ ๑๐ วัด ปัจจุบนั ร้างไปแล้ว ๘ วัด เหลือเพียง ๒ วัดคือวัดสวนหลวง (สวนหลวงตะวันตก) และวัดเพชรจริก (เพชรจริกตะวันตก) วัด ทีร่ า้ งไปแล้ว ๘ วัดได้แก่ ๑. วัดพระเวียง ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีส่ ถานสงเคราะห์เด็กชาย “บ้านศรีธรรมราช” ๒. วัดสวนหลวง (ตะวันออก) ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีส่ ำ� นักศิลปากรที่ ๑๔ ๓. วั ด เพชรจริ ก (ตะวั น ตก) ปั จ จุ บั น เป็ น พื้ น ที่ ส� ำ นั ก งานปศุ สั ต ว์ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ๔. วัดพระเสด็จ ปัจจุบนั เป็นพืน้ ที่ สตง. ภูมภิ าคที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ๕. วัดกุฏิ ปัจจุบันเป็นพื้นที่สถานีย่อย ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) และสุสานมุสลิม ๖. วัดบ่อโพรง (หรือวัดบ่อโพง) ปัจจุบัน เป็ น พื้ น ที่ ส ถานี ย ่ อ ยของการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต (กฟผ.) ๗. วัดนาโรง ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีแ่ ฟลตต�ำรวจ ภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช (แฟลตเพชรจริก) ๘. วัดคอกวัว ปัจจุบันเป็นพื้นที่บ้านพัก อาศัยฝัง่ ตรงข้ามบ้านศรีธรรมราช เดิมวัดเหล่านี้เป็นวัดอยู่ในเมือง (เมือง พระเวียง) ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ อยุธยา ในฐานะราชธานีได้เข้ามาดูแลวัดพระมหาธาตุฯ จึงได้ก่อก�ำแพงเมืองล้อมรอบวัดพระมหาธาตุฯ และปริมณฑล ท�ำให้วดั ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นเมืองพระ เวียงกลายเป็นวัดนอกเมืองไปโดยปริยาย


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

เพือ่ ให้ความรู้ ความเข้าใจ และเปิดเวทีรบั ฟังความคิดเห็น 'ชาวนครศรีธรรมราชคิดอย่างไรกับการเสนอให้รัฐบาลตั้ง คณะกรรมการศึกษาความเป็นไปได้ของการขุดคลองไทย แนว ๙ A' มีผู้เข้าร่วมประชุมเสวนา อาทิ นายดนัย เจียมวิเศษสุข รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ว่าที่ ร.ต.ประพันธ์ เพ็งเจริญ หัวหน้าแกนน�ำคลองไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ทรงคุณวุฒิ อดีตนักการเมือง หัวหน้าส่วนราชการ ผูแ้ ทนจากส่วนราชการต่างๆ ทัง้ ส่วน กลาง ส่วนภูมภิ าค ส่วนท้องถิน่ หน่วยงานอิสระ สือ่ มวลชน และประชาชนจากต�ำบลพื้นที่เป้าหมายที่คาดว่าเส้นทาง คลองไทยแนว ๙ A จะพาดผ่าน ทัง้ ๑๙ ต�ำบล ตลอดถึง ผู้สังเกตการณ์จากจังหวัดพัทลุง ตรัง กระบี่และสงขลา กว่า ๔๐๐ คน การเปิดเวทีรบั ฟังความคิดเห็น แนวทางการพัฒนาคลองไทย คือ โครงการขุดคลอง เชือ่ มต่อทะเลอันดามันและอ่าวไทย การศึกษาขัน้ ต้นความ เป็นไปได้โครงการขุดคลองไทยควรมีความกว้างไม่น้อย กว่า ๔๐๐ เมตร ความยาว ๑๓๕ กิโลเมตร เริม่ ฝัง่ ทะเล อันดามันจากอ�ำเภอสิเกา จังหวัดตรัง นครศรีธรรมราช และออกสู่อ่าวไทยที่อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ตาม โครงการจะมีการพัฒนา ๒ ฝั่งคลองให้เป็นศูนย์กลาง การแลกเปลี่ยนสินค้าและท่าเรือ เพื่อให้ไทยกลายเป็น ศูนย์กลางแลกเปลีย่ นสินค้าภูมภิ าคเอเชียตะวันออกรวมไป

ถึงแหล่งท่องเทีย่ วสองฟากคลอง ที่ช่วยลดพื้นที่ยากจน โดยคาดหวังว่าเมื่อคลองไทย เกิดขึ้นพื้นที่ ๒ ฝั่งคลองจะได้รับการพัฒนาให้กลายเป็น ศูนย์แลกเปลีย่ นสินค้า ศูนย์กลางการเงินธนาคาร เพือ่ เพิม่ การจ้างงานสร้างรายได้แก่ประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ คลองไทยจะลดต้นทุนการขนส่งสินค้าของไทย สามารถร่น ระยะเวลาในการขนส่งได้ประมาณ ๒ วันโดยไม่ต้องผ่าน ช่องแคบมะละกา อีกทั้งช่วยลดต้นทุนการขนส่งน�้ำมันดิบ จากตะวันออกกลางสูไ่ ทย นอกจากนีก้ องทัพเรือยังสามารถ เคลื่อนพลจากอ่าวไทยสู่อันดามันได้อย่างรวดเร็ว การ ปฏิบตั กิ ารตามภารกิจต่างๆ สามารถท�ำได้อย่างรวดเร็วโดย ไม่ต้องเคลื่อนผ่านน่านน�้ำประเทศเพื่อนบ้านอันอาจเกิด การกระทบกระทัง่ ได้งา่ ย ณ เวลานัน้ ไทยจะเป็นศูนย์กลาง การแลกเปลีย่ นสินค้า เรือประมงไทยนับหมืน่ ล�ำสามารถจับ ปลาได้ ๒ ฝัง่ ทะเล จะช่วยเพิม่ รายได้ในอุตสาหกรรมประมง มากยิง่ ขึน้ อนึ่ง การศึกษาข้อสงสัยของหลายๆ ฝ่ายอย่างรอบ ด้านโดยเฉพาะประชาชนเกีย่ วกับคลองไทยของสมาคมการ ค้าและอุตสาหกรรมไทย-จีน โดยการลงพื้นที่ส�ำรวจความ คิดเห็นของประชาชนพบว่าประชาชนส่วนใหญ่นั้นมีข้อ สงสัยและข้อห่วงใยในโครงการคลองไทยอยูห่ ลายประการ จากรายงานการศึกษาของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยชัน้

น�ำจากประเทศจีนได้อธิบายถึงมาตรการที่จะน�ำมาใช้ใน การลดผลกระทบในทุกๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านสังคม ด้าน เศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงปัญหาการรุกล�้ำ ของน�ำ้ เค็ม ด้วยวิทยาการสมัยใหม่การป้องกันน�ำ้ เค็มท�ำได้ หลายรูปแบบ อาทิ การจัดท�ำประตูน�้ำเพื่อป้องกันไม่ให้ น�ำ้ เค็มไหลลงสูแ่ หล่งน�ำ้ จืด การวางระบบชลประทานเพือ่ รักษาระดับน�ำ้ จืดให้พอเหมาะ หรือแม้กระทัง่ การปรับปรุง พันธุพ์ ชื ให้สามารถอยูร่ ว่ มกับน�ำ้ เค็มได้ ส�ำหรับการชดเชยให้กับประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ จะต้องได้รับการชดเชยที่เป็นธรรม ซึ่งแบ่งเกณฑ์ในการ ชดเชยตามผลกระทบ ดังนี้ กลุม่ ที่ ๑ กลุม่ ทีอ่ ยูใ่ นแนวการ ขุด ประชาชนกลุม่ นีไ้ ด้รบั ค่าเวนคืนทีด่ นิ พร้อมทัง้ จะได้รบั สิทธิในการย้ายเข้าไปอยู่ยังพื้นที่อยู่อาศัยที่ได้จัดเตรียมไว้ อีกทัง้ จะได้สทิ ธิในการประกอบอาชีพโดยราคาทีด่ นิ ทีใ่ ช้ใน การเวนคืนนัน้ ต้องเป็นทีพ่ งึ พอใจของเจ้าของทีด่ นิ กลุ่มที่ ๒ คือ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากการสัญจร ของเรือ กลุ่มนี้จะไม่ถูกเวนคืนแต่อาจจะได้รับผลกระทบ จากเสียง มลภาวะที่เรือสัญจรไปมาจึงสมควรได้รับการ ชดเชย และรวมไปถึงได้สทิ ธิในการประกอบอาชีพในเมือง ใหม่ทเี่ กิดขึน้ ขณะที่ ก ารย้ า ยถิ่ น ฐานตามการศึ ก ษาน่ า จะมี ประชาชนอย่ า งน้ อ ย ๔๕,๐๐๐ ครั ว เรื อ นจะได้ รั บ ผล กระทบโดยตรง ซึง่ การย้ายถิน่ ฐานและเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ การจัดสรรทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ใหม่นนั้ จะจัดท�ำขึน้ ในรูปแบบของ ชุมชนอนุรกั ษ์ ซึง่ จะให้ชาวบ้านทีเ่ คยอยูอ่ าศัยได้เข้าไปอยู่ และท�ำงานในเขตอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม การเกษตร นอกจาก นี้ยังมีการศึกษาการลดผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ยวทาง ทะเล การกัดเซาะตามแนวชายฝัง่ อ่าวไทย รวมถึงการรักษา แหล่งน�ำ้ จืดในภาคใต้ดว้ ย ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งเป็น ๑ ใน ๕ ของจังหวัดทีค่ าดว่าคลองไทยแนว ๙ A จะพาด ผ่านในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย ๕ อ�ำเภอ ๒๑ ต�ำบล ๒๕๒ หมูบ่ า้ น ประกอบด้วยอ�ำเภอบางขัน ๒ ต�ำบล อ�ำเภอทุง่ สง ๒ ต�ำบล อ�ำเภอชะอวด ๑๑ ต�ำบล อ�ำเภอจุฬาภรณ์ ๔ ต�ำบล และ อ�ำเภอหัวไทร ๒ ต�ำบล การประชุมเสวนารับฟังความคิดเห็นจัดขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ม.อ.หาดใหญ่ เพื่อให้ ประชาชนที่สนใจหรือผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงได้แลก เปลีย่ นและรับทราบแนวทางแก้ปญ ั หา


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๙

<< ต่อจากหน้า ๔

ส่วนทางภาคใต้กม็ คี ล้ายๆ กันคือ วันส่งเจ้าเมืองเก่า วันว่าง และวันรับเจ้าเมืองใหม่ ทางภาคกลางจะมีวนั มหาสงกรานต์ วันเนา และวัน เถลิงศก ที่เปรียบเทียบให้ดู ภาคกลางดูจะผิดแผกกว่า ภาคอืน่ บุญเดือน ๕ ของภาคใต้จะไม่มีประเพณี รดน�้ำ ด�ำหัว เหมือนของภาคเหนือเจ้าของธรรมเนียม เขาจะ เอาส้มป่อยและอืน่ ๆ ใส่ลงในภาชนะใส่นำ�้ อบน�ำ้ ปรุงลงให้ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ได้ชบุ น�ำ้ ด�ำหัว (เอามือจุม่ น�ำ้ มาลูบหัว) เป็นการ อาบน�้ำคนแก่ตามแบบฉบับชาวเหนือ ขอพรจากผู้เฒ่า ผู้แก่ ทางใต้เราจะใช้วิธี อาบน�้ำคนแก่ โดยการให้ลูก หลานมาพร้อมกันที่บ้านท่าน แล้วจัดที่เหมาะสม ผลัด เปลี่ยนเป็นผ้าอาบน�้ำ แล้วให้ลูกหลานน�ำน�้ำปรุงน�้ำหอม ช่วยกันอาบน�ำ้ สระหัวให้ทา่ น เช็ดตัวแต่งตัวประแป้งหอม เปลี่ ย นเสื้ อ ผ้ า ชุ ด ใหม่ ใ ห้ ท ่ า น เป็ น กิ จ กรรมภายใน ครอบครัว ซึ่งมีตั้งแต่พ่อแม่ลูกหลานเหลนมาอาบน�้ำให้ คุณปูค่ ณ ุ ย่าหรือคุณตาคุณยาย บางครอบครัวมีมากันนับ ร้อยคนทีเดียว ก่อนหน้านั้นเราได้ไปสรงน�้ำพระพุทธรูปองค์ส�ำคัญ

ของหมู ่ บ ้ า นมาก่ อ นแล้ ว ณ วั ด ที่ มี พระรูปองค์ส�ำคัญ และชวนกันไปอาบ น�้ ำ ให้ พ ่ อ ท่ า น ซึ่ ง เป็ น พระภิ ก ษุ ส งฆ์ สู ง อายุ ที่ ผู ้ ค นเคารพบู ช า พิ ธี อ าบน�้ ำ พ่ อ ท่ า น มี ก ารกั้ น ผ้ า เหมื อ นเป็ น กระโจมใหญ่ นิ ม นต์ พ่อท่านเข้าสู่กระโจม บางแห่งมีการแบกหามแห่แหน เข้าไป แล้วมีอุบาสกคอยช่วยเหลือดูแลอาบน�้ำให้ท่าน มี การต่อรางน�ำ้ เข้าไปในกระโจม นิยมใช้กาบกล้วย หรือต้น หมากผ่าซีก ต่อกันยาวประมาณ ๒๐ วา ตั้งบนเสาสูงไม่ เกินศีรษะ ทุกคนจะน�ำน�้ำของตนที่เตรียมมาตักใส่ลงบน รางน�้ำไหลเข้าไปในกระโจมที่ท่านนั่งอาบน�้ำอยู่ อุบาสก ช่วยกันเช็ดตัว เปลี่ยนจีวรใหม่ แล้วแห่แหนไปยังกุฏิของ ท่าน ผูค้ นก็จะไปกราบไหว้รบั พรกันอีกครัง้ หนึง่ ประเพณี นีม้ มี าแต่โบราณ เพิง่ จะสูญหายไปไม่กปี่ มี านีเ้ อง แบบอย่างการอาบน�ำ้ คนเฒ่าคนแก่ปจั จุบนั ได้มาจาก ภาคกลาง เรียกแบบชาวเหนือว่า รดน�้ำด�ำหัว แต่วิธีต่าง จากภาคเหนือ ซึ่งเหล่าเทศบาล อบต.ของบ้านเราไปน�ำ แบบอย่างเขามา จัดขึน้ ทุกหมูบ่ า้ น น�ำคนแก่มานัง่ เข้าแถว เหมือนเจ้าบ่าวเจ้าสาว นั่งประนมมือให้คนในหมู่บ้านมา

รดน�้ำให้ ขาดความเป็นครอบครัวไปจนหมด น่าสงสาร คนแก่ที่ต้องถูกเกณฑ์ออกมาจากบ้านให้คนทั่วไปรดกัน ให้เด็กอวยพรให้คนแก่ได้อายุมั่นขวัญยืน คนเฒ่าคนแก่ บางคนเคยพูดกับผมว่า “เราไม่ทนั ตายมันมารดน�้ำใส่มอื ให้แล้ว” นีค่ อื ประเพณีวฒ ั นธรรมของคนภาคอืน่ ซึง่ น�ำมา ใช้โดยละทิ้งของเก่า คนเฒ่าคนแก่ปรับตัวไม่ทันก็รู้สึก เวทนาตัวเองอย่างนีแ้ หละ ประเพณีบุญเดือน ๕ ของนครศรีธรรมราชเรา มี อะไรดีๆ แฝงอยู่มากมาย อยากให้ผู้บริหารบ้านเมือง ชุมชนที่มีหัวใจเป็นชาวนคร ช่วยหันกลับมาดูและรื้อฟื้น ปะเพณี ท ้ อ งถิ่ น ของตั ว ให้ ก ลั บ คื น มาอี ก ครั้ ง สรงน�้ ำ พระพุทธรูปส�ำคัญของหมูบ่ า้ น อาบน�ำ้ พ่อท่าน พระสงฆ์ที่ เคารพนับถือ อาบน�ำ้ คนแก่ อาบน�ำ้ ให้คณ ุ ปูค่ ณ ุ ย่าคุณตา คุณยายของเรา ให้ท่านได้มีความสุขหน่อยเถอะ อย่าท�ำ กับท่านอย่างทีเ่ ป็นอยูท่ กุ วันนีด้ ว้ ยเถอะ ขอร้องครับ

มีเดียเจริญก้าวหน้า เด็กๆ จะได้รบั การฝึกจนสามารถส่งข่าว ออกอากาศผ่านมือซึง่ จะเป็นประสบการณ์ตรง “ประสบการณ์ ข องพุ ธิ ต ากั บ ภาวิ ต ที​ี่ ท� ำ งานเป็ น ผู้สื่อข่าวเยาวชนของรายการสุขสโมสร ช่อง ๓ Family มานานกว่า ๓ ปีและวิทยากรอืน่ ๆ อีกหลายคน ถือกิจกรรม ดีๆ ไม่มีค่าใช้จ่ายส�ำหรับเด็กๆ อ�ำเภอขนอมทุกคนที่เข้า ร่วม”

กิจกรรมค่ายครั้งนี้มีลักษณะพิเศษ เพื่อให้เข้ากับ ยุคโซเชียลมีเดียก้าวหน้า สุพนิ ดาเปิดเผยกับ 'รักบ้านเกิด' ว่า... "คราวนี้เปิ้ลคิดว่ากิจกรรมจะเป็นการสอนออนไลน์ แทบทัง้ หมด โดยวิทยากรทุกท่านจะสอนผ่านทางสมาร์ท โฟนหรือจากหน้าจอทีท่ า่ นท�ำงานอยู่ โดยตัดข้อจ�ำกัดเรือ่ ง การเดินทาง ถ้ามันมีอปุ สรรค แต่อารมณ์ทอี่ ยากให้เด็กได้ ล้อมวงคุยกับวิทยากรยังต้องการและจ�ำเป็นอยูค่ ะ่ " ยุทธนาเสริม... "อีกอย่างก็คือเป็นการเตรียมเด็กๆ เข้าสู่โลกของการเรียนรู้สมัยใหม่ เพราะต่อไปการเรียน รู้มันไม่ได้มีเพียงการสอนในห้องเรียนหรือในโรงเรียน เท่านัน้ " สโมสรเยาวชน ส�ำนักข่าวเสียงเด็ก ทันโลกทันสมัย เสมอ

ประเพณีอาบน�้ำคนแก่ต�ำบลเทนมีย์ จังหวัดสุรินทร์ (ภาพส�ำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์)

<< ต่อจากหน้า ๖ วันที่ ๓๑ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๖๐ สโมสร เยาวชน ส�ำนักข่าวเสียงเด็กจัดกิจกรรมค่าย 'เด็กเล่าข่าว' ณ ห้องประชุมบริษัทผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด จากค่าย แรกเมือ่ ปี ๒๕๔๙ นับจนถึงปัจจุบนั สโมสรเยาวชนส�ำนัก ข่าวเสียงเด็กจัดกิจกรรมมานับ ๑๐๐ กิจกรรม เยาวชนใน พืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ทีม่ าร่วมค่ายนับพันคน “ตัง้ แต่คา่ ยแรกเมือ่ ปี ๒๕๔๗ สโมสรเยาวชน ส�ำนัก ข่าวเสียงเด็ก ยังยืนยันเจตนารมณ์เดิมว่าเสียงเด็กเป็น เสียงที่ต้องรับฟังไม่ว่าคุณจะเป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์หรือ ผู้น�ำชาวบ้าน ตัวแทนชุมชนในทุกภาคส่วน” ยุทธนา ตอกย�ำ้ เจตนารมณ์ของการก่อตัง้ องค์กรเล็กๆ ของเขากับ ภรรยา "กว่า ๑๓ ปีทเี่ สียงเด็กยืนหยัดจะให้เด็กมีศกั ยภาพ ในการส่ง 'สาร' ที่พวกเขาต้องการน�ำเสนอ ในฐานะ เจ้าของชุมชนตัวจริงในอนาคต ออกมาสู่การรับรู้ของ ผู้ใหญ่ทั้งในครอบครัวและในชุมชน ผมเชื่อว่าเรามาถูก ทาง ๑๓ ปี กับหลากหลายกิจกรรมเพือ่ สร้างสรรค์เยาวชน ที่ชุมชนขนอมร่วมด้วยช่วยกันเคียงข้างกันมาโดยตลอด และเราจะยืนยันในการเดินหน้าทุกกิจกรรมเพือ่ ให้ เสียง เด็กเป็นเสียงทีผ่ ใู้ หญ่ไม่ปฏิเสธทีจ่ ะรับฟัง” ค่ายเด็กเล่าข่าวผูจ้ ดั มีเจตนาให้วทิ ยากรสอนเยาวชน ให้ฝกึ เล่าข่าว ตัง้ แต่คดิ ประเด็นถ่ายท�ำ เขียนบทข่าว ลง เสียงตัดต่อด้วยสมาร์ทโฟน ตามกระแสสมัยใหม่ทโี่ ซเชียล


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๐

มารวิชัย ลักษณะองค์พระเป็นปูนปั้นปิด ทอง มีรปู เหมือนของพระเถระองค์สำ� คัญ ของเมืองนครอยู่ ๔ รูป คือหลวงปู่ทวด พระรัตนธัชมุนี (ท่านม่วง) พระรัตนธัชมุณี (ท่านแบน) พระธรรมรัตโนภาส (โอภาโสเถระ) รวมทั้งมีตู้พระธรรม ลายรดน�ำ้ ทีส่ วยงามมากอีกหลายใบ ถัดมาด้านหลังพระพุทธรูปประธาน ยังมีกั้นแบ่ง ห้องอีกห้องหนึ่งไปครอบระเบียงคด ซึ่งเป็นส่วนท้าย ของวิหารธรรมศาลา ทีท่ า้ ยวิหารนี้ ยังมีพระพุทธรูปทรง เครื่องประทับยืนอีกองค์หนึ่งชื่อ “พระนางเหมชาลา” ยกพระหัตถ์ขนึ้ ทัง้ สองข้าง เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ตามต� ำ นานพระบรมธาตุ เ มื อ งนครได้ ก ล่ า วถึ ง “เจ้าชายทนทกุมาร” และ “เจ้าหญิงเหมชาลา” เป็นผู้ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หนีภัยข้าศึก คือ “ท้าวอังกุตราช” ซึ่งได้ยกทัพมาแย่ง ชิงพระบรมสารีริกธาตุที่เมือง “ทนทบุรี” ครอบครอง อยู่ สองพี่น้องได้ลงเรือส�ำเภาเพื่อมุ่งหน้าไปเมืองลังกา แต่เกิดคลื่นใหญ่รุนแรง ซัดเปลี่ยนทิศทางมาติดอยู่ที่ฝั่ง เมืองตรัง เมื่อขึ้นถึงฝั่งเมืองตรังก็ยังเกรงข้าศึกติดตาม มาแย่งชิงพระบรมสารีริกธาตุอีก จึงดั้นด้นเดินบุกป่าฝ่า ดงพงไพร ข้ามป่าเขามาจนถึงฝั่งทะเลอีกด้านหนึ่งของ แผ่นดิน หยุดพักลง ณ หาดทรายแก้ว เห็นเป็นที่เหมาะ สม จึงตัดสินใจฝังพระบรมสารีริกธาตุไว้ ณ หาดทราย แก้วแห่งนี้ จนเป็นจุดก�ำเนิดของพระบรมธาตุเจดีย์เมือง นครแห่งนี้

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)

ตั้

งอยู่ทางทิศตะวันออกขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ตามประวัตสิ ร้างเมือ่ พ.ศ.๑๘๖๑ สร้างพร้อมกับพระ ระเบียงล้อมพระบรมธาตุเจดีย์ แรกสร้างมีลักษณะเป็น วิหารโถง ไม่มฝี าผนัง เป็นวัฒนธรรมทีว่ ดั ทางภาคใต้นยิ ม สร้างกัน และเรียกศาลาอย่างนีว้ า่ “ศาลาโรงธรรม” โรงธรรมหลั ง นี้ มี ลั ก ษณะสี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า กว้ า ง ประมาณ ๑๕ เมตร ยาวประมาณ ๑๖ เมตร หน้าจั่ว เป็นไม้แกะสลักประดับกระจกมองเห็นได้ชัดเจนจาก ถนนราชด�ำเนิน ด้านหน้ามีพุทธรูปทรงเครื่องขนาดใหญ่ ประทับยืน ปางประทานอภัย สูงประมาณ ๘ เมตรเศษ พระพุทธรูปนีม้ นี ามว่า “เจ้าชายทนทกุมาร” ถัดเข้ามาใน วิหาร จะพบเจดีย์ขนาดเล็กประดิษฐานอยู่ภายในวิหาร องค์หนึง่ ชือ่ “เจดียส์ วรรค์” มีลกั ษณะเป็นเจดียท์ รงระฆัง ตั้งอยู่บนฐานสิงห์ ซ้อนกันสามชั้น สร้างขึ้นเพื่อบรรจุ อัฐิ “พระยารามราชท้ายน�้ำ” ที่เสียชีวิตเมื่อครั้งต่อสู้กับ “สลัดอุชงคตนะ” เมือ่ พ.ศ. ๒๑๔๔ มีการบูรณะสังขรณ์ ครั้งใหญ่โดยชาวจีนตลาดท่าวังท่านหนึ่งเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗ ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับการบูรณะพระบรมธาตุครั้งใหญ่ โดย “ท่านปาน” ด้านในทีต่ ดิ ผนังมีพระพุทธรูปเป็นพระประธานปาง

ภิ

กษุทั้งหลาย ! ก็อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึง ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นนั้ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐ นีเ้ อง, องค์แปดคือ :- ความเห็นชอบ, ความด�ำริชอบ, การ พูดจาชอบ, การงานชอบ, การเลีย้ งชีพชอบ, ความเพียร ชอบ, ความระลึกชอบ, ความตัง้ ใจมัน่ ชอบ. ภิกษุทงั้ หลาย ! ความเห็นชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ความรู้ในทุกข์, ความรู้ในเหตุให้ เกิดทุกข์, ความรูใ้ นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, ความรูใ้ น หนทางเป็นเครือ่ งให้ถงึ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นีเ้ ราเรียกว่า สัมมาทิฏฐิ. ภิกษุทงั้ หลาย ! ความด�ำริชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ความด�ำริในการออกจากกาม, ความด� ำ ริ ใ นการไม่ พ ยาบาท, ความด� ำ ริ ใ นการไม่ เบียดเบียน, นีเ้ ราเรียกว่า สัมมาสังกัปปะ. ภิกษุทงั้ หลาย ! การพูดจาชอบเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! การเว้นจากการพูดเท็จ, การเว้น จากการพูดยุให้แตกกัน, การเว้นจากการพูดหยาบ, การ เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ, นีเ้ ราเรียกว่า สัมมาวาจา. ภิกษุทงั้ หลาย ! การงานชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทงั้ หลาย ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์, การเว้นจาก การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้, การเว้นจากการ ประพฤติผดิ ในกามทัง้ หลาย, นีเ้ ราเรียกว่า สัมมากัมมันตะ.

ภิกษุทงั้ หลาย ! การเลีย้ งชีพชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทงั้ หลาย ! อริยสาวกนี้ ละมิจฉาชีพเสีย ส�ำเร็จ ความเป็นอยูด่ ว้ ยสัมมาชีพ, นีเ้ ราเรียกว่า สัมมาอาชีวะ. ภิกษุทงั้ หลาย ! ความเพียรชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุนี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อม พยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตัง้ จิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรมทั้งหลายอัน เป็นบาป ที่ยังไม่ได้บังเกิดขึ้น; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อม พยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตัง้ จิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันเป็นบาป ทีบ่ งั เกิดขึน้ แล้ว; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อม ปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตัง้ จิตไว้ เพือ่ การ บังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่ยังไม่ได้บังเกิด; ย่อม ปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่ เลอะเลือน ความงอกงามยิง่ ขึน้ ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบแห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแล้ว, นี้ เราเรียกว่า สัมมาวายามะ. ภิกษุทงั้ หลาย ! ความระลึกชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุนี้ เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็น กายในกายอยู่, มีความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส มีความ รูส้ กึ ตัวทัว่ พร้อม มีสติ น�ำความพอใจและความไม่พอใจใน โลกออกเสียได้; เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา ทัง้ หลายอยู,่ มีความเพียรเป็นเครือ่ งเผากิเลส มีความรูส้ กึ ตัวทัว่ พร้อม มีสติ น�ำความพอใจและความไม่พอใจในโลก ออกเสียได้; เป็นผูม้ ปี กติพจิ ารณาเห็นจิตในจิตอยู,่ มีความ

เพียรเป็นเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ น�ำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้; เป็น ผู้มีปกติพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่, มีความ เพียรเป็นเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ น�ำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้, นีเ้ รา เรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุทงั้ หลาย ! ความตัง้ ใจมัน่ ชอบเป็นอย่างไร ? ภิกษุทงั้ หลาย ! ภิกษุนี้ เพราะสงัดจากกามทัง้ หลาย เพราะสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึงฌานที่ หนึง่ อันมีวติ กวิจาร มีปตี แิ ละสุข อันเกิดแต่วเิ วก แล้วแล อยู่; เพราะวิตกวิจารระงับลง, เธอเข้าถึงฌานที่สอง อัน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอัน เอกผุดขึน้ ไม่มวี ติ กไม่มวี จิ าร มีแต่ปตี แิ ละสุข อันเกิดแต่ สมาธิแล้วแลอยู;่ เพราะปีตจิ างหายไป, เธอเป็นผูเ้ พ่งเฉย อยู่ได้ มีสติ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อมและได้เสวยสุขด้วย นามกายย่อมเข้าถึงฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริย เจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ ได้ มีสติ มีการอยูเ่ ป็นสุข” แล้วแลอยู;่ เพราะละสุขและ ทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและ โทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึงฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ และไม่สขุ มีแต่สติอนั บริสทุ ธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู,่ นีเ้ ราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจ คือ หนทาง เป็นเครือ่ งให้ถงึ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์. มหา. ที. ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.__


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

หน้า ๑๑

<< ต่อจากหน้า ๒

Thambalithi ที่ทรงอัญเชิญพระทันต ธาตุลงเรือนัน้ คือ Thalamitha ทีบ่ ริเวณ

ปากแม่น�้ำกฤษณาในขณะนั้นซึ่งขณะนี้ ออกไปไกลออกไปจากหมูบ่ า้ นถึง ๖ – ๘ กม. และยังห่างจากทะเล ๑๒ – ๑๕ กม. ทั้งหมดนี้ มีทั้งที่พ้องและต่างจาก ต� ำ นานพระธาตุ เ มื อ งนคร คื อ เมื อ ง ทั น ตะปุ ร ะเป็ น ทนทบุ รี คู ห สี ว ะเป็ น ท้าวโคสีหราช ราชบุตรเขยทันตกุมาร เป็นราชบุตรทนทกุมาร (พระทันตกุมาร เป็นสวามีพระนางเหมชาลามิใช่พี่กับ น้อง) Kheeradhara Narendra ผูบ้ กุ รุกเป็นท้าวอังกุศราช หาด Diamond Sands เป็นหาดทรายแก้วชเลรอบและ อยู่ที่คาบสมุทรไทยมิใช่ที่แม่น�้ำกฤษณาแต่ประการใด โดยในหนังสือของเขาก็กล่าวไว้ด้วยว่ามีปรากฏเรื่อง คล้าย ๆ กันเกีย่ วกับต�ำนานพระประโทนของไทย (ซึง่ เขา คงเข้ า ใจคลาดเคลื่ อ น จากที่ ถู ก คื อ ต� ำ นานพระธาตุ นครศรี ธ รรมราช) ที่ แ ม้ จ ะแตกต่ า งในรายละเอี ย ด พระนามกษั ตริยแ์ ละสถานทีต่ า่ ง ๆ แต่โครงเรือ่ งเดียวกัน ๑ คือทันตกุมารอัญเชิญพระทันธาตุจากทันตปุระไปยังลังกา และในที่นี้ผมยังไม่ขออภิปรายเรื่องเหล่านี้ แต่มุ่งเปิด ประเด็นหลักถึง “ทันตปุระในอินเดีย” ตามที่ระบุถึงไว้ หัวเรือ่ งและในหนังสือนีว้ า่ อยูท่ ไี่ หนกันแน่

เขาขุดค้นทางโบราณคดีแล้วหลายครัง้ เขาระบุ ว ่ า จากการส� ำ รวจและขุ ด ค้ น โดยส� ำ นั ก โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์แห่ง๒รัฐอานธรประเทศในอาณา บริเวณรายรอบ Dantavaktrunikota พบประจักษ์พยาน หลักฐานทีส่ อดคล้องกับต�ำนานและพงศาวดารต่าง ๆ ว่า ทันตปุระ นีค้ อื เมืองหลวงแห่งกลิงคะ กล่าวคือมีแนวเนิน ดินสูง ๑๐ เมตรล้อมรอบ พร้อมกับมีปอ้ มประตูอยู่ ๔ ทิศ แม้จะเหลือให้เห็นเพียงทิศตะวันตกเป็นแนวทางยาว แคบ ๆ อยูก่ บั เนินก�ำแพงเมือง ส่วนแม่นำ�้ Vamsadhara ที่น่าจะเคยเลียบก�ำแพงด้านตะวันออกนั้นทุกวันนี้ไหล ห่างออกไป ๒ กม. มีลักษณะคล้ายกับเมืองโบราณร่วม สมัยอืน่ ๆ ในละแวกนี้ ได้แก่ Kotalingala ริมฝัง่ ขวาของ แม่น�้ำโคทาวารี และ อมราวดี หรือ Dhanyakataka บน ฝัง่ ขวาของแม่นำ�้ กฤษณา จากการขุดค้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๗ ที่บริเวณตะวัน ออกเฉียงเหนือของเนินดินด้านในแนวก�ำแพงดิน พบฐาน สถูปเรียงเป็นแถว และได้เปิดดูเพียง ๒ สถูป มีแกนข้าง ในเป็นดินล้อมรอบด้วยอิฐรูปลิ่มขนาด ๓๙ x ๓๕ x ๙ ซม. และ ๔๐ x ๔๐ x ๙ ซม. มีความสูง ๖๐ ซม. พร้อม กับพบเครื่องถ้วยในพระสถูป ทั้งประเภทสีด�ำและแดง (black and red ware), สีด�ำขัดมัน (black polished ware), สีแดงชุบสี (red slipped ware) และ สีดำ� ขัดมัน มีปมุ่ (highly polished blac k knobbed ware) ส่วนที่ ฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของเนินดินพบร่องรอยกิจกรรมของ มนุษย์เป็น ๒ ชั้นเข้ากันได้กับยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ กับเริม่ ต้นสมัยกลางทีเ่ รียกกันว่า สมัยที่ ๑ และ ๒ กล่าว คือ สมัยที่ ๑ มีโครงสร้างเป็นอิฐร่วมกับภาชนะประเภท สีดำ� และแดง (black and red ware), สีดำ� ขัดมัน (black polished ware), สีแดงชุบสี (red slipped ware), ลายลูก กลิง้ (rouletted ware), แบบมีปมุ่ (knobbed ware) กับ ลูกปัดและก�ำไล ส่วนสมัยที่ ๒ นัน้ พบภาชนะสีแดงหม่น

(dull red ware), สีเทา (grey ware) และ สีดำ� (black ware) ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ด้อยกว่า และที่ส�ำคัญคือไม่มีการพบ ภาชนะสี ด� ำ และแดงกั บ อิ ฐ มี ป ี ก ? (brick bats) เลย ส่วนการขุดค้นที่คันก�ำแพงดิน ด้ า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ซึ่ ง ขุ ด ลง ไปลึก ๑.๕ เมตรนั้น ได้พบร่องรอย วัฒนธรรมสมัยแรกเริม่ ประวัตศิ าสตร์ บนชั้นดินหนาที่อัดแน่นจนสรุปได้ว่า ป้อมก�ำแพงดินนี้มีมาตั้งแต่สมัยก่อน คริสตกาล จนกระทั่งสมัยแรกเริ่มยุคกลางซึ่งมีการพัฒนา ความแข็งแรงของก�ำแพงดินในเขตที่ราบลุ่มน�้ำคงคาทาง ตะวันออกดังทีข่ ดุ พบ ในปี พ.ศ.๒๕๔๑-๒ ส�ำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ ยังได้ขดุ ค้นด้านในป้อมก�ำแพงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พบแถวของสถูป ๔ องค์ โดยมี ๒ องค์สร้างด้วยอิฐรูปลิม่ อีก ๒ องค์ ด้วยอิฐรูปลิม่ และอิฐแบบมีปกี (brick bats) ด้าน ในเต็มไปด้วยก้อนหินเขีย้ วหนุมาน (quartz pebbles) ทีอ่ ดั แน่นอยูก่ บั ดิน แต่ละสถูปมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ เมตร เมือ่ ขุดลงไปลึกถึงระดับ ๒.๖๐ เมตร พบเป็นฐานอิฐเรียงกัน ๓๙ แผ่น ใต้ลงไปเป็นฐานหินแกรนิตรูปวงกลมรองรับอยู่ อิฐทีใ่ ช้มหี ลายขนาด คือ ๓๖ x ๒๘x๙, ๔๐x๓๙ x ๙, ๓๔ x ๓๓ x ๙ และ ๓๔ x ๒๙ x ๙ ซม. นอกจากอิฐแล้วยังพบเศษภาชนะหลายแบบ ทัง้ แบบ เรียบ ๆ มีลายประดับ ง่าย ๆ, ลายขูดขีดและลายกดประทับ ส่วนใหญ่ผลิตด้วยแป้นหมุนและเผาได้ระดับ มีทงั้ ประเภทสี แดงหม่น, สีแดง, สีแดงขัดมัน, สีดำ� , สีดำ� ขัดมัน ฯลฯ ส่วน รูปทรงนัน้ มีทงั้ เป็นไห แจกัน หม้อ ตะเกียง ขาตัง้ ตะเกียง ชาม ฝา และ อ่าง ที่พิเศษคือการพบภาชนะแบบมีปุ่ม สีเทาด�ำ, สีด�ำขัดมัน และสีแดง ซึ่งปุ่มมีขนาดใหญ่ และ มีร่องเป็นวงรอบอยู่ด้านในด้วย ลักษณะนี้เข้ากันได้กับ ภาชนะประเภทสีด�ำขัดมันในภาคเหนือ (Northern Black Polished Ware-NBPW) ซึง่ มีรายงานการพบที่ Sisupalgarh ในโอริสสา อายุเมื่อ ๓ - ๒ ศตวรรษก่อนคริสตกาล กับ ยังพบการตกแต่งลักษณะพิเศษต่าง ๆ บนภาชนะ ได้แก่ การเคลือบกราไฟท์หรือกราไฟท์กับไมก้าที่ขอบ ปากของ ภาชนะ รวมทั้งมีการขุดขีดเป็นอักษรหรือรูปบนผิว คอ ขอบหรือที่ฐาน และการกดประทับตรากระทั่งการระบาย ป้ายแต้มให้เป็นภาพ โบราณวัตถุต่าง ๆ ที่พบที่ทันตปุระนี้ รวมถึงลูกปัด ดินเผา หินคาร์นเี ลียน จัสเปอร์ และ อะเกต ก�ำไลแก้วและ เปลือกหอย ตะปูเหล็ก แหวน แท่งตะกัว่ รูปคนและสัตว์ปน้ั ด้วยดินเผา แท่งหินบด โม่ และกระดูกทีอ่ าจจะท�ำเป็นหวี และที่ส�ำคัญคือการพบเครื่องถ้วยขัดมันสีด�ำมีปุ่ม (highly polished black knobbed ware) ในชัน้ ดินแรก ๆ จ�ำนวน มาก ร่วมกับเครือ่ งถ้วยสีดำ� แดง, สีแดงขัดมัน,สีดำ� , สีชอ็ คโกแล็ต และสิง่ อืน่ ๆ โดยเครือ่ งถ้วยชนิดนีน้ นั้ มีรายงานการ พบมากร่วมกับ Northern Black Polished Ware-NBPW ในชัน้ ทีม่ กี จิ กรรมของคนที่ Silsupalgarh ในโอริสสา และ Gopalapatnam ทัง้ นี้ NBPW นีเ้ ป็นสิง่ ชีช้ ดั ว่าแถบนีม้ คี วาม สัมพันธ์กับดินแดนชนบทต่าง ๆ ในอินเดียเหนือเมื่อสมัย พุทธกาล ประมาณ ๖-๕ ศตวรรษก่อนคริสตกาล และ ท�ำให้ประมาณอายุของทันตปุระว่ามีอายุอยู่ในช่วง ๓-๒ ศตวรรษก่อนคริสตกาล โดยภาชนะแบบมีปมุ่ นีอ้ าจเรียกได้

ว่า “เครือ่ งถ้วยกลิงคะ” เนือ่ งจากมีพบมากในแดนกลิงคะ จาก Sisupalgarh เลียบชายฝัง่ ทะเลถึง Gopalapatnam ท�ำนองเดียวกับ NBPW ทีเ่ ป็นของภาคเหนือ และน่าจะมี การเริ่มตั้งถิ่นฐานที่ทันตปุระนี้ตั้งแต่ ๕-๔ ศตวรรษก่อน คริสตกาล

“ทันตปุ ระ” นี้ คือนครหลวง ของกลิงคะมาแต่พุทธกาล นอกจากนี้ การขุดค้นที่ Salihundam ซึ่งเป็น แหล่งโบราณในพุทธศาสนาใกล้ ๆ บนริมฝัง่ ขวาของแม่นำ�้ Vamsadhara นอกจากพบกลุ่มอารามวิหารแล้ว ยังพบ เหรียญประทับตรา (Punch-marked coins) เหรียญโรมัน และเหรียญสาตวาหนะ รวมทั้งเศษภาชนะมีจารึกอักษร พราหมี อายุประมาณ ๓-๒ ศตวรรษก่อนคริสตกาลถึง คริสต์ศกั ราชที่ ๘ และทีก่ ลิงคะปัตนัมซึง่ เป็นเมืองท่าปาก แม่นำ�้ Vamsadhara ไม่ไกลออกไป ก็พบแหล่งโบราณคดี ในพุทธศาสนาสมัย ๒ ศตวรรษก่อนคริสต์กาลถึงคริสตฺ ศตวรรษที่ ๑ ขณะที่การขุดค้นที่ Bovikonda ใกล้กับวิ สาขะปัตนัม มีการพบพุทธอารามและวิหารขนาดใหญ่ ตลอดจนพระสารีรกิ ธาตุในผอบทีม่ อี ายุ ๓ ศตวรรษก่อน คริสตกาล เมือ่ รวมแหล่งพุทธอืน่ ๆ ที่ กลิงคปัตนัม, Bojjannakonda, Pavurallakonda, Ramatirtham, Lingarajupalem, Kodavali, Adurru, Dharapalem, Kagithammametta, Timmavaram, Erravaram, Amalapuram และ Gopalapatnam ซึง่ ล้วนอยูใ่ นเขตกลิงคะ ผูค้ นทีน่ จี่ งึ น่าจะ

นับถือพุทธศาสนามาก่อนการพิชติ กลิงคะองพระเจ้าอโศก มหาราชนานมากแล้ว ในรายงานดังกล่าวทั้งจากหลักฐานบันทึก พงศาวดารต่าง ๆ และ ทางโบราณคดี เขาสรุปว่าทันตปุระนีค้ อื นครหลวง Dantavaktrunikota ของแคว้นกลิงคะโบราณ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั Amudalavalasa ในเขต Srikakulam ของรัฐ อานธรประเทศปัจจุบนั ทีน่ า่ จะรุง่ เรืองเป็นเมืองหลักเมือง หนึง่ ในระดับ “ชนบท” ทีม่ อี ารามวิหารมัน่ คงมาตัง้ แต่ครัง้ พุทธกาลแล้ว.

แล้วนครเราว่าไง ? ในฐานะที่ชาวเราถือพระบรมธาตุเจดีย์เป็นหลักใจ อะไร ๆ ก็พระธาตุทั้งนั้น แม้จะสนใจและรู้เรื่องต�ำนาน พระธาตุกันไม่มากนัก ในขณะที่ต�ำนานธาตุวงศ์ของฝ่าย ลังกานั้น น่าจะไม่มีใครรู้เท่าใด เนื่องจากไม่ค่อยได้ยิน การกล่าวถึง อย่าว่าแต่ทนทบุรใี นอินเดียอันเป็นทีม่ าของ พระทันตธาตุในองค์พระเลย แม้เมืองนครหรือดอนพระ นี้ ก็ดเู หมือนจะมีการศึกษาค้นคว้ากันไม่มากเท่าทีค่ วร ได้ แต่ลอกตาม ๆ กันมาจากต�ำนานพระธาตุและต�ำนานเมือง นคร ๒ ฉบับเท่านัน้ จนเพิง่ จะมีการขุดค้นทางโบราณคดี ไม่กี่หลุมเมื่อไม่นานนี้ เพียงเพื่อประกอบการเสนอพระ ธาตุสู่มรดกโลกเท่านั้น ส่วนต�ำนานทั้ง ๒ ก็เริ่มมีคนตั้ง ค�ำถามและเสาะหาต�ำนานอื่น ๆ หวังว่ารายงานฉบับนี้ ของอินเดียที่ผมได้เจอและถ่ายทอดออกมานี้ จะพอมี ประโยชน์บา้ งนะครับ. ๖ มีนาคม ๒๕๖๐


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๒

ตลอดขอแค่อย่าเพิกเฉย อย่าเบือ่ หน่าย

ต้

นเดือนมีนาคม 'รักบ้านเกิด' ไปร่วม ขบวนกิจกรรมปลูกป่าโกงกางและ สั ม มนาที่ ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น โรคที่ ๑๑ นครศรีธรรมราช (สคร. ๑๑) กับ สคร. ๑๒ สงขลา ร่วมกันจัดเพื่อกระชับความ สัมพันธ์เครือข่ายป้องกันและเฝ้าระวังโรค ภัยใน ๑๔ จังหวัดภาคใต้กว่า ๑๐๐ ชีวติ ให้แข็งแกร่ง พร้อมสือ่ สารข่าวสุขภาพและ ความปลอดภัยในชีวติ พีน่ อ้ งประชาชน กิ จ กรรมปลู ก จั ด ขึ้ น ที่ ช ายหาด สระบัว อ.ท่าศาลา หาดเก่าแก่เคยเที่ยว เล่นสมัยแตกหนุ่ม ที่กลายเป็นหาดเลน ยื่นออกไปหลายร้อยไร่ ก่อนนี้ป่าชายเลน ชายฝัง่ นครฯ เคยมีถงึ ๑๕๐,๐๐๐ ไร่ เดีย๋ ว นีเ้ หลือราวๆ ๙๐,๐๐๐ ไร่ ป่าหายไปไหน คนนครย่อมรูด้ ี ลุยโคลนปลูกป่าแม้ทะลักทุเล แต่ ทุกคนมีรอยยิ้มเพราะว่าได้ 'ท�ำความดี ถวายพ่อหลวง' และฝันว่าต่อไปข้างหน้า ผืนป่าโกงกางที่หน่วยงานต่างๆ ร่วมกัน ลุ ย โคลนเลนแล้ ว ไปสั ม มนาต่ อ ที่ ปลู ก จะกลายเป็ น ก� ำ แพงมี ชี วิ ต ป้ อ งกั น คลื่นลมในฤดูมรสุม เป็นพื้นที่เพาะพันธุ์ ราชาคีรี รีสอร์ต แอนด์ สปา ทีบ่ รรยากาศ และที่อยู่อาศัยของกุ้ง หอย ปู ปลา นั่ง ชายทะเลชวนรืน่ รมย์จนลืม พญ.ศิริลักษณ์ ไทยเจริญ ผอ. สคร. เครื่องบินหรือขับรถผ่านจะเห็นแนวป่า ๑๑ กล่ า วย�้ ำ เรื่ อ งความส� ำ คั ญ ของการ สีเขียวครึม้ ตลอดชายฝัง่

พญ.ศิริลักษณ์ ไทยเจริญ ผอ.สคร. ๑๑

ประชาสัมพันธ์เพื่อการป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเขตพืน้ ทีท่ เี่ ครือข่ายอาศัย หรือ ๑๔ จังหวัด สมาชิกเครือข่ายที่เดิน ทางมาร่วมรู้ดีอยู่แล้วเพราะช่วยร่วมกันมา

มษาปี นี้ ก รมอุ ตุ ฯ ท� ำ นายว่ า จะร้ อ น กว่าปีที่แล้ว นพ.เจษฎา โชคด�ำรงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรคกังวลว่าจะมีผู้ป่วย และเสียชีวิตเพราะโรคลมแดดลมร้อน (ฮีตสโตรก) ทีเ่ พิม่ สูงทุกๆ เดือน จึงเตือน ประชาชนให้หลีกเลีย่ งการอยูก่ ลางแดดที่ ร้อนจัด ดืม่ น�ำ้ เปล่ามากๆ โดยไม่ตอ้ งรอให้ หิวน�ำ้ เพือ่ ควบคุมระดับความร้อนให้อยูใ่ น ระดับไม่อนั ตราย กลุม่ คนท�ำงานกลางแจ้ง เป็นเวลานาน นักกีฬา คนอ้วน ผู้สูงอายุ คนป่วยโรคหัวใจ หรือการฝึกทหารกลาง แดดต้องระวัง คนเป็นฮีตสโตรกจะรู้สึกอ่อนเพลีย หน้ามืด ตัวร้อนจัด เหงื่อไม่ออก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เป็นลมและบางราย อาจเสียชีวติ ผู้สูงอายุกับเด็กควรหลีกเลี่ยงการ อยู่กลางแดดร้อนจัด เสื้อผ้าสวมใส่ต้อง ระบายความร้ อ นได้ ดี โปร่ ง สบาย ไม่ รั ด แน่ น จนเกิ น ไป หลี ก เลี่ ย งเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ทกุ ชนิด เด็ก ผูส้ งู อายุ ผูป้ ว่ ย ติดเตียงไม่ควรอยูต่ ามล�ำพัง หากมีอาการ ตั ว ร้ อ นแต่ เ หงื่ อ ไม่ อ อก หายใจถี่ อาจ วิงเวียนศีรษะให้รบี ไปพบแพทย์ทนั ที ถ้าพบผู้ป่วยช่วยเหลือได้โดยให้น�ำ เข้าทีร่ ม่ แล้วหาน�้ำเย็นเช็ดตัวลดอุณหภูมิ น�ำส่งโรงพยาบาลใกล้ที่สุดหรือโทรขอ ความช่วยเหลือสายด่วน ๑๖๖๙ ทันที

(ต่อจากหน้า ๑๓)

ส่วนใหญ่เป็นเรือขนน�้ำมันมีความกว้าง ๖๐-๘๐ เมตร ลึก ๓๐-๓๕ เมตร เรือกินน�้ำลึกต้องสร้างคลองเผื่อไว้ เพราะถ้ามีคลองเดียวเมื่อเกิดอุบัติเหตุเรือแตกและจอด สามารถเปลีย่ นมาใช้คลองเดียวร่วมกันได้ ค่าใช้จา่ ยในการ ขุดคลองไทยและการลงทุนเงินส�ำหรับค่าขนดินประมาณ ๔,๐๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน ๖๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ค่าก่อสร้าง ๓ สะพาน และ ๒ อุโมงค์เป็นเงิน ๕๐,๐๐๐ ล้านบาท รวม ๖๕๐,๐๐๐ ล้านบาท การก่อสร้างต้อง อาศัยบริษัทที่มีเครื่องมือทันสมัย จ�ำนวน ๑๒๐ บริษัท แบ่งงานขุดพร้อมกันจุดรวม ๕ ปี คลองนี้ประเทศที่ น่าจะได้ประโยชน์มากที่สุดน่าจะเป็นจีน เพราะช่วยร่น

ระยะเวลาการขนส่งน�้ำมันจากตะวันออกกลางไปจีน เรือบรรทุกน�ำ้ มันจะใช้บริการมากทีส่ ดุ ....ฯลฯ อย่างไรก็ตามตามรายงานผลกระทบของการขุด คลองนี้ ด้านสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการอพยพประชาชน ครั้งใหญ่ และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น การ แลกเปลีย่ นมวลน�ำ้ ด้านอ่าวไทยกับทะเลอันดามัน ปัญหา การรุกล�ำ้ ของน�ำ้ เค็มเข้าไปในแผ่นดิน ปัญหาการกระจาย ของตะกอนจากการขุดร่องน�ำ้ ปัญหาการท�ำลายปะการัง สาหร่ า ยและหญ้ า ทะเลที่ เ ป็ น แหล่ ง อาศั ย ของพะยู น ปัญหาการบุกรุกป่าชายเลน และผลกระทบต่อลุ่มน�้ำ ปากพนัง....ฯลฯ ” จากบางส่วนของบทความ : หนังสือพิมพ์มติชนราย วัน ๑๒ มกราคม ๒๕๕๙ เรื่องที่น�ำมาลงให้เห็นในหลักใหญ่ผมไม่สามารถลง ทั้งหมดได้ และไม่ขอแสดงความเห็นในมุมมองของผม ต่อโครงการนีเ้ นือ่ งจากไม่รรู้ ายละเอียดอีกมาก หากท่าน สนใจก็คงสืบค้นจากระบบสารสนเทศได้ และผมก็เพิ่ง รับทราบจากการสืบค้นเช่นกันว่า ในปีหน้านี้ ประเทศ มาเลเซียจะร่วมกับจีนเริ่มลงมือสร้างทางขนส่งทางบก เชื่อมระหว่าง 2 ฝั่งทะเล ชื่อ Malaysia’s East Coast

Rail Link (ECRL) จากท่าเรือน�้ำลึกกลัง (Port Klang) ฝั่งตะวันตกมายังท่าเรือกวนตัน (Kuantan Port) ฝั่ง ตะวันออก ระยะทาง ๖๒๐ กิโลเมตร โดยเป็นการขนส่งทาง รถไฟและรถยนต์แบบ Land Bridge เหมือนกับทีไ่ ทยเรา สร้างเชื่อมระหว่างกระบี่กับขนอม แล้วทิ้งร้างไว้จนถึงทุก วันนี้ ก็ไม่ทราบว่าคณะศึกษาฯ ได้นำ� เรือ่ งนีม้ าเป็นประเด็น พิจารณาการแข่งขันทางธุรกิจระหว่างประเทศและความ เสีย่ งหรือไม่ ขอปิดท้ายนิดเดียวว่า “การลงทุนมหาศาลของ ประเทศ หากขาดความรอบรู้ ความรอบคอบ ความ รอบจัด อาจเป็นเรื่องระหว่างการเสียโอกาสกับการเสีย หายครัง้ ยิง่ ใหญ่เช่นกัน ” (หมายเหตุ : ภาพสิ่งก่อสร้างที่น�ำมาลงเป็นภาพ จินตนาการเพือ่ ประกอบบทความ)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๓

“เ

มษายน” เป็นเดือนร้อนครับ ไม่แน่ใจว่าบทความ นี้จะช่วยดับร้อนคนไทยให้มีความหวังในอภิมหา โครงการ (Mega - Project) ทีอ่ าจเกิดขึน้ จริงในภาคใต้ และ มีผลกระทบต่อคนภาคใต้ทั้งด้านบวกและด้านลบอย่าง แน่นอน (ผมไม่ได้พูดถึงคนภาคอื่นที่ผมไม่คุ้นเคย) ทั้งนี้ เมื่อเดือนที่แล้ว ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมฟังการบรรยาย จากคณะกรรมการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องการขุ ด คลองไทย แนว ๙ A ที่นครศรีธรรมราช โดยการน�ำของ พลเอกพงษ์เทพ เทศประทีป เลขาธิการมูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ โดยเป็นรายการเสวนาว่า “ชาวนครศรีธรรมราชคิดอย่างไร” ต่อโครงการนี้ ผมได้ฟังจนจบแต่ไม่ได้มีประเด็นค�ำถามหรือข้อคิด เห็ น ใดๆ อาจเป็ น เพราะตื่ น เต้ น กั บ ความยิ่ ง ใหญ่ ข อง โครงการที่จะพลิกผันอนาคตของประเทศอย่างไม่เคย ปรากฏมาก่อน เมื่อได้น�ำเอกสารที่รับแจกมาอ่านพร้อม สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ จึงอยากน�ำเรื่องราวนี้มา ถ่ายทอดให้ทราบกันต่อ (โดยไม่ได้ขออนุญาตจากผู้เขียน แต่คิดว่าเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและเผยแพร่ทางสื่อ สาธารณะกันแล้ว) ผมขอให้ท่านใช้วิจารณญาณเอง ใน เรือ่ งราวทีผ่ มคัดลอกหรือสรุปย่นย่อมาให้อา่ น “สวรรค์ได้วางประเทศไทยอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่ ดี เ ลิ ศ มี แ ผ่ น ดิ น เป็ น แนวยาวไปในทะเล ๑,๐๐๐ กว่ า กิโลเมตร กัน้ ทะเลอ่าวไทยกับทะเลอันดามัน หรือระหว่าง มหาสมุ ท รแปซิ ฟ ิ ก และมหาสมุ ท รอิ น เดี ย ถ้ า ขุ ด แนว คลองผ่านแผ่นดินนี้จะท�ำให้การขนส่งสินค้าร่นระยะทาง ประมาณ ๓ วัน ซึง่ จะท�ำให้ชาวโลกได้รบั ประโยชน์ ๒ ใน ๓ ของประชาชนโลก จะประหยัดเชือ้ เพลิงไม่ตอ้ งอ้อมผ่าน ช่องแคบมะละกา และช่องลอมบ๊อกปีละหลายล้านตัน ซึ่งเรือที่จะแล่นผ่านเส้นทางนี้ประมาณ ๑๓๐,๐๐๐ ล�ำ/ ปี และเป็นเรือขนาด ๒๐๐,๐๐๐ – ๕๐๐,๐๐๐ ตัน จะ ท�ำให้ลดก๊าซเรือนกระจกได้หลายล้านตันต่อปี แต่ท�ำไม คนไทย รัฐบาลไทยคิดจะท�ำเรื่องนี้มา ๓๐๐ ปี ตั้งแต่ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว แต่ไม่สามารถ ท�ำได้ ท�ำให้ประเทศเสียโอกาสไปอย่างน่าเสียดายยิง่ ใน อนาคตทุกประเทศมีการแข่งขันกันสูงมาก ประเทศไทย ในปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติของเราแทบไม่เหลือแล้ว ในน�ำ้ ไม่มปี ลา ในนาไม่มขี า้ ว ป่าหมด แร่ธาตุในดินเหลือ น้อย ท�ำให้แข่งขันกับประเทศอืน่ ไม่ได้เลย หากเราไม่หา โครงการใหญ่ๆ มาท�ำ ซึง่ เราไม่ตอ้ งลงทุนเองมีผมู้ าลงทุน ให้ ในระยะยาวกลายเป็นสมบัติของชาติ เมื่อสร้างเสร็จ

คนไทยจะมีงานท�ำ ๒-๓ ล้านคน ต่างประเทศจะแย่งกัน มาลงทุนทั้งโลกเพราะจุดนี้จะเป็นฮับการลงทุนขนาดใหญ่ ทุกๆ เรือ่ ง เช่น เส้นทางเดินเรือทีม่ ากทีส่ ดุ ของโลกประมาณ ๓๐๐–๓๕๐ ล�ำ/วัน โรงกลัน่ น�ำ้ มันทีใ่ หญ่ลำ� ดับโลก แหล่ง อุตสาหกรรม แหล่งธุรกิจ แหล่งการท่องเทีย่ ว ศูนย์การ ขนส่งทางรถไฟ-รถยนต์ในการกระจายสินค้าไปทั้งภูมิภาค เอเซียทีม่ ปี ระชากรประมาณ ๓,๐๐๐ ล้านคน จะท�ำให้ลกู หลานชาวไทยยกย่องว่าบรรพบุรุษพวกเขาได้สร้างความ เจริญ สร้างรายได้ไว้ให้เช่นเดียวกับประเทศอื่นท�ำไว้ เรา ต้องคิดให้ผู้ได้รับประโยชน์ไม่ใช่แค่สมัยเรา ต้องคิดให้ได้ ประโยชน์ถงึ ลูกหลานอย่างยัง่ ยืน แล้วเราจะมีความสุขเมือ่ จากโลกนีไ้ ปเพราะเราได้ทงิ้ มรดกไว้ให้ลกู หลาน...ฯลฯ” จากค�ำนิยมหนังสือ “คลองกระ-ไทย : มรดกทาง ยุทธศาสตร์ของชาติ” โดย : พลเอกธวัชชัย สมุทรสาคร “ผลการศึ ก ษาของบริ ษั ท Tippetts-AbbettMcCarthy-Stratton (TAMS) ที่ถือว่าเป็นผลการศึกษา การขุด “คอคอดกระ” ที่เป็นระบบมากที่สุดครั้งแรกของ ไทย น�ำเสนอต่อรัฐบาลเมื่อปี ๒๕๑๖ โดย TAMS ศึกษา ๑๐ แนว โดยระบุว่าแนว ๕ A มีความเป็นไปได้มากที่สุด ในการขุดคลองช่องทางเดียวขนาดความลึก ๓๓.๕ เมตร กว้าง ๔๙๐ เมตร ยาว ๑๐๗ กิโลเมตร สามารถให้เรือขนาด ๕๐๐,๐๐๐ เดดเวทตัน แล่นผ่านได้โดยใช้วิธีขุดแบบปกติ หรือใช้นิวเคลียร์บางส่วน ปากคลองสามารถพัฒนาท่าเรือ และอุตสาหกรรมทั้งสองด้านของท่าเรือให้เป็นศูนย์กลาง ขนถ่ายในภูมภิ าคใกล้เคียง ได้ประมาณการงบประมาณไว้ ที่ ๒๒,๔๘๐ ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ตามค่าเงินในขณะนัน้ ) ข้อ

เสนอนี้ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ หรือสภาพัฒน์ น�ำมาประมวลผลการศึกษา และค�ำนวณค่าใช้จ่ายใหม่ในปี ๒๕๔๑ พบว่ามูลค่าการ ลงทุนจะสูง ๕๐๐,๐๐๐-๘๑๐,๐๐๐ ล้านบาท (ตามค่าเงิน ในขณะนัน้ ) ขณะที่ข้อมูลจาก รศ.ดร.สถาพร เขียววิมล คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อ ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ (คลอง ไทย) วุฒิสภา ระบุว่า แนวความคิดขุดคอคอดกระ ปรับ เปลีย่ นตลอดเวลา ขณะนีม้ ถี งึ ๑๒ แนว การศึกษาเรือ่ งนี้ ต้องพิจารณามิตติ า่ งๆ เช่น ด้านความอิสระในการบริหาร คลองของประเทศ ด้านยุทธศาสตร์ทางทหาร ด้านสังคม และสิง่ แวดล้อม และด้านวิศวกรรม เมือ่ แยกข้อเสนอการ ขุดคอคอดกระทีม่ ีความน่าเชื่อถือ โดยหน่วยงาน องค์กร ต่างๆ ตัง้ แต่ปี ๒๕๑๖-๒๕๔๘ สรุปแนวโน้มทีน่ า่ จะมีความ เป็นไปได้มากที่สุดคือแนว ๕ A (จากการศึกษาของคณะ กรรมาธิการฯ วุฒสิ ภาชุดปี ๒๕๔๔ แล้วเสร็จปี ๒๕๔๘) ต่อมาจากการศึกษาเส้นทางขุดคลองไทย (หรือแนว ๙ A) จากจังหวัดตรัง ผ่านพัทลุง นครศรีธรรมราช และ สงขลา โดยขุดคลองเชื่อมระหว่างฝั่งทะเลอันดามันและ ฝัง่ อ่าวไทย ความยาว ๑๒๐ กิโลเมตร ลึก ๓๕-๔๐ เมตร ลักษณะเป็นคลองคู่ขนาน ไปหนึ่งคลองและกลับหนึ่ง คลอง ความกว้างประมาณ ๓๐๐ – ๓๕๐ เมตร จุดกลับ เรือกว้าง ๕๐๐ เมตร การสร้าง ๒ คลองเพื่อรองรับเรือ ขนาด ๕๐๐,๐๐๐ เดดเวทตัน (อ่านต่อหน้า ๑๒)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๔

ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน

ปิ

ดเทอมใหญ่ กั น อี ก แล้ ว ...เป็ น ช่ ว ง เวลาที่ ผู ้ ป กครองมองหาค่ า ยหรื อ กิจกรรมเพือ่ เสริมทักษะและการเรียนรูใ้ ห้ แก่เด็กๆ ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน ก็ จั ด กิ จ กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งแทบทุ ก สัปดาห์เช่นกัน กิจกรรมหนึง่ ทีไ่ ด้รบั ความ สนใจอย่างมากมายต่อเนื่องทุกๆ ปี คือ Science Summer Camp โดยครัง้ นีเ้ ป็น ครั้งที่ ๕ จับมือกันกับกลุ่มสาระพันปัน สุข...จะมาร่วมกันมอบความสนุกสนาน และกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้ในรูปแบบค่ายกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับเด็กอายุ ๙ – ๑๒ ปี ณ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การ ศึกษานครศรีธรรมราช กิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยใช้ธรรมชาติ แ ละวิ ถี ชุ ม ชนเกษตรดั้ ง เดิ ม ราย ล้อมเป็นสื่อการเรียนรู้อย่างสนุกสนาน กิจกรรมทีจ่ ดั ได้แก่ Science show....มายากลทีอ่ ธิบาย ได้ดว้ ยหลักการวิทยาศาสตร์

พาราพาเรี ย น...เรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ จากยางพารา โดยท�ำถุงมือยาง นักสืบสายน�้ำ...ประเมินคุณภาพน�้ำ จากตัวอ่อนสัตว์เล็กน�ำ้ จืด เปิ ด เลนส์ ส ่ อ งฟ้ า ...สั ง เกตวั ต ถุ บ น ท้องฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์ และบรรยาย ดาว มวลเมฆน่ารู้....ประดิษฐ์วงล้อเมฆ เพื่ อ เรี ย นรู ้ เ มฆชนิ ด ต่ า งๆ และฝึ ก การ พยากรณ์อากาศ Walk rally...กิจกรรมเรียนรูเ้ ชือ่ มโยง องค์ความรูใ้ นพืน้ ทีต่ า่ งๆ รอบเขาขุนพนม จากดินสูด่ าว...ภาพประทับใจจากดิน เรียนรูเ้ รือ่ งกายภาพของดิน Nature game...กิจกรรมธรรมชาติ เพือ่ สัมผัสตรงสิง่ แวดล้อมรอบตัว ใครสนใจติดต่อด่วนรับจ�ำนวนจ�ำกัด นะคะ

ส�ำนักบริหารพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ที่ ๕ จัดอบรมเรดด์พลัส ให้บคุ ลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ป้องกันการบุกรุกป่า เพือ่ เป็นทีก่ กั เก็บคาร์บอน ลดภาวะโลกร้อน นายสุพจน์ เพริศพริ้ง ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๕ กล่าวขณะ เป็นประธานพิธีเปิดโครงการฝึอบรมความ รู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการด�ำเนินกิจกรรมเรดด์ พลัส และการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ภาคป่าไม้ ส�ำหรับเจ้าหน้าทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ที่อุทยานแห่ง ชาติเขาหลวง ต.กรุงชิง อ.นบพิตำ� ปัจจุบนั การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคป่าไม้มี แนวโน้มเพิ่มขึ้น จากสาเหตุหลายประการ เช่น การขยายพืน้ ทีท่ ำ� การเกษตร ประชากร เพิ่มขึ้น เมืองขยายตัว เป็นต้น ท�ำให้พื้นที่ ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว เพราะถูกบุกรุก ส่งผลกระทบมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สู่ชั้นบรรยากาศโลก ท�ำให้อุณหภูมิสูงขึ้น เกิดภัยธรรมชาติตามมา การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมตามแนวทาง กลไกเรดด์พลัส เพือ่ ผลักดันให้ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ท�ำลายป่า และท�ำให้ป่าเสื่อมโทรม ขอให้น�ำความรู้ จากการอบรมไปร่วมมือกันจัดการ ควบคุม การบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ให้มปี ระสิทธิภาพ กลไกเรดด์ พ ลั ส เป็ น กลไกที่ ไ ด้ รั บ

การเสนอภายใต้ อ นุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยแนวคิด หลักของเรดด์พลัส คือ การสร้างแรงจูงใจ ให้ กั บ ประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นา รั ก ษาป่ า ไม้ ส�ำหรับเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน เนือ่ งจาก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ แสดงให้เห็นว่า การ ท�ำลายป่าและการท�ำให้ปา่ เสือ่ มโทรม ก่อให้ เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นสาเหตุ ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ เ กิ ด ภาวะโลกร้ อ น คิ ด เป็ น สัดส่วนร้อยละ ๒๐ ดังนั้น หากสามารถ รักษาพืน้ ทีป่ า่ ไม้เอาไว้ได้ จะช่วยชะลอและ ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศได้ กลไกเรดด์พลัสเป็นเรื่องใหม่ เจ้ า หน้ า ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และ พันธุพ์ ชื ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ส�ำนักบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๕ ได้จดั อบรมหลักสูตรนี้ เพือ่ ถ่ายทอดองค์ ความรู้ และสร้างความเข้าใจแก่บุคลากร จ�ำนวน ๕๕ คน ให้มคี วามเข้าใจตรงกัน น�ำ ไปถ่ายทอดให้เพื่อนร่วมงาน บุคคลทั่วไป เพือ่ เตรียมการจัดท�ำโครงการเรดด์พลัสของ ประเทศไทยในอนาคตต่อไป ที่มา : ส�ำนักข่าวแห่งชาติกรมประชาสัมพันธ์


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๕

ลังงาน เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส�ำคัญของ ชีวิต และจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต เราต้องใช้พลังงานตั้งแต่ตื่นเช้าจนถึงเข้า นอน ไฟฟ้าจึงเป็นพลังงานทีม่ คี วามส�ำคัญ ยิ่งต่อชีวิตประจ�ำวัน หากไม่มีไฟฟ้า ชีวิต เราจะยุ่งยากและวุ่นวายมาก เพราะจะ ไม่มแี สงสว่าง โดยเฉพาะช่วงกลางคืน ไม่มี ลมเย็นๆ จากแอร์ คอมพิวเตอร์ทำ� งานไม่ ได้ ต้องเดินขึน้ ตึกสูง เพราะลิฟต์ไม่ทำ� งาน ชีวิตคนเราจะอยู่อย่างล�ำบากหากไม่มี พลังงานไฟฟ้า ข้อมูลของส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบว่า ปัจจุบนั นีป้ ระเทศไทยมีสดั ส่วนการใช้เชือ้ เพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ สูงถึงร้อยละ ๗๐ รองลงมาก็คือถ่านหิน ร้ อ ยละ ๑๘ ที่ เ หลื อ ก็ เ ป็ น พลั ง งานน�้ ำ ประมาณร้อยละ ๒ พลังงานหมุนเวียน ประมาณร้อยละ ๒.๖ และอื่นๆ ต�่ำกว่า ร้อยละ ๑ เช่น น�้ำมันเตา น�้ำมันดีเซล เป็นต้น นอกจากนี้ ก็มีการน�ำเข้าไฟฟ้า จากต่างประเทศถึงร้อยละ ๗ จะเห็นได้ ว่าประเทศไทยนั้นพึ่งพาการผลิตกระแส ไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติเป็นสัดส่วนที่สูง มาก หากก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยลดลง จนไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียง พอต่อความต้องการของประเทศ ก็จะมี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและความมั่นคง ของประเทศอย่างใหญ่หลวงแน่นอน ที่ น่าเป็นห่วงคือเราจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าไฟฟ้า จากต่างประเทศในปริมาณทีถ่ อื ว่าไม่นอ้ ย เลย หากสมมติวันหนึ่งเกิดเรามีปัญหา กับเพือ่ นบ้านและอยูๆ่ เขาตัดไฟฟ้าไม่สง่ ให้เราดื้อๆ ความมั่นคงของประเทศย่อม มี ป ั ญ หาแน่ น อน ดั ง นั้ น เราจึ ง มี ค วาม จ�ำเป็นจะต้องหาเชื้อเพลิงที่มาทดแทน ก๊าซธรรมชาติ เพื่อปรับสัดส่วนเชื้อเพลิง การผลิตกระแสไฟฟ้าของประเทศ ให้มี ความยื ด หยุ ่ น มากขึ้ น ในราคาที่ ส มเหตุ สมผล เพราะต้นทุนไฟฟ้าเป็นปัจจัยส�ำคัญ ต่ออุตสาหกรรมการผลิต ยิ่งได้ต้นทุนที่ ถูกลงเท่าไร ก็ยิ่งเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของอุตสาหกรรมของประเทศ

หากมีตน้ ทุนทีแ่ พงเกินไป ก็จะท�ำให้เกิดการ ย้ายฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้านจน หมด จึงต้องเตรียมความพร้อมล่วงหน้าเพือ่ รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อพิจารณาพลังงานทางเลือกอื่นๆ เช่ น พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ พลั ง งานลม พลั ง งานชี ว มวลขณะนี้ ยั ง คงมี ต ้ น ทุ น ต่ อ หน่วยสูงมาก ผลิตได้น้อยและขาดความ ต่อเนื่องในการผลิตกระแสไฟฟ้าจึงยังไม่ สามารถใช้ เ ป็ น พลั ง งานหลั ก ได้ การใช้ น�้ำมันปาล์มเป็นเชื้อเพลิงก็ยังมีต้นทุนสูง ปริ ม าณก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ ผลผลิ ต ตามฤดู ก าล ท�ำให้ไม่มคี วามแน่นอน และน่าจะเอาไปท�ำ ประโยชน์อย่างอื่นมากกว่า ส่วนพลังงาน น�้ำโดยปกติการผลิตไฟฟ้าจากเขื่อนเป็น เพียงผลพลอยได้ เพราะจุดประสงค์หลัก ของเขื่ อ นในประเทศไทยคื อ สร้ า งเพื่ อ การชลประทาน และเราก็ไม่ได้มีแหล่งน�้ำ มากมายที่จะสร้างเขื่อนจ�ำนวนมากเพื่อ ผลิตไฟฟ้าเป็นหลักได้ พลังงานนิวเคลียร์ก็ เป็นทางเลือกที่มีต้นทุนพลังงานต่อหน่วย ต�ำ่ แต่ตน้ ทุนการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และการจัดการสิ่งแวดล้อม ยังคงมีต้นทุน สูง และขณะนีป้ ระชาชนยังคงมีความกังวล เกี่ ย วกั บ โอกาสการเกิ ด การรั่ ว ไหลของ กัมมันตภาพรังสี ซึง่ คงต้องใช้เวลาสักระยะ หนึ่ง ที่จะสร้างความมั่นใจให้แก่ประชาชน ได้ แต่ผมเชือ่ ว่าในอนาคตประเทศไทยก็คง หนีไม่พ้นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่ดี ก็เหลือ พลั ง งานถ่ า นหิ น ที่ จ ะเป็ น ทางเลื อ กหนึ่ ง ในการปรับสัดส่วนเชื้อเพลิงให้พึ่งพาก๊าซ ธรรมชาติให้นอ้ ยลงในเวลานี้

ท�ำไมต้องถ่านหิน? เพราะถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกที่สุดและถ่านหิน สามารถเก็บส�ำรองไว้ในโกดังระบบปิดได้ ปริ ม าณมาก ท� ำ ให้ ส ามารถผลิ ต กระแส ไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง แตกต่างจากก๊าซ ธรรมชาติที่เราไม่สามารถสร้างถังส�ำรอง ก๊าซไว้ได้ พอมีการหยุดส่งก๊าซเนื่องจาก ซ่อมบ�ำรุงท่อก๊าซหรือซ่อมบ�ำรุงแท่นผลิต ก๊าซเมือ่ ไรก็เดือดร้อนกันทัง้ ประเทศ แล้วผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมล่ะ? ใน อดีตโรงไฟฟ้าถ่านหินก่อมลภาวะอย่างมาก แต่ด้วยการพัฒนาทางเทคโนโลยี ท�ำให้ ปัจจุบันโรงไฟฟ้าถ่านหินด้วยเทคโนโลยี ถ่านหินสะอาด ก่อมลภาวะน้อยมาก ยก ตั ว อย่ า งโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ไอโซโกะของ ประเทศญีป่ นุ่ ทีท่ งั้ หมดเป็นระบบปิดตัง้ แต่ เรือขนส่งถ่านหิน ท่าเรือ สายพานขนถ่าย ถ่านหินและตัวโรงไฟฟ้า ท�ำให้แทบไม่มี มลภาวะเกิ ด ขึ้ น เลย โดยมี เ ทคโนโลยี ใ น การดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ ฝุ่นละออง ออกไซด์ของก�ำมะถัน (SOx) และออกไซด์ ของไนโตรเจน (NOx) ที่มีประสิทธิภาพ มาก โดยมีค่าการปลดปล่อยออกไซด์ของ ก� ำ มะถั น เพี ย ง ๐.๐๑ กรั ม ต่ อ กิ โ ลวั ต ต์ ชั่วโมง และค่าการปลดปล่อยออกไซด์ของ ไนโตรเจนเพียง ๐.๐๕ กรัมต่อกิโลวัตต์ ชัว่ โมง ซึง่ ต�ำ่ มาก เรียกได้วา่ ดักจับได้เกือบ ร้อยเปอร์เซนต์เลย นอกจากนี้ ถ่านหินที่ จะน�ำมาใช้กับโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ใน ประเทศไทยเป็นประเภทซับบิทูมินัส หรือ บิ ทู มิ นั ส น� ำ เข้ า ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า และมี มลพิษต�ำ่ กว่าถ่านหินลิกไนต์ในประเทศ

ท� ำ ไมต้ อ งภาคใต้ ? ผมจ� ำ ได้ ว ่ า มี เหตุการณ์ไฟฟ้าดับที่ภาคใต้ เพราะฟ้าผ่า สายส่ ง ไฟฟ้ า จากภาคกลางไปภาคใต้ ท�ำให้อุปกรณ์สายส่งไฟฟ้าช�ำรุดจนดับไป ทั้งภาคใต้อยู่หลายชั่วโมง ซึ่งขณะนั้นมี โรงไฟฟ้าในภาคใต้บางส่วนปิดซ่อมบ�ำรุง ท� ำ ให้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ได้ ไ ม่ เ พี ย งพอ จึ ง ต้ อ ง ส่งไฟฟ้าบางส่วนจากภาคกลางมาเสริม ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าภาคใต้เพิ่ม ขึ้นทุกปีตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ หากไม่มีโรงไฟฟ้าใหม่ก็จะมีความเสี่ยงที่ จะขาดแคลนไฟฟ้าต้องพึ่งพาไฟฟ้าจาก ภาคกลางและไฟฟ้าน�ำเข้าจ�ำนวนมาก และการท่องเที่ยวในภาคใต้ที่มีส่วนการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศ จะต้องได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้หากขาดแคลนไฟฟ้า ดังนัน้ โครงการโรง ไฟฟ้าถ่านหินจึงมีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของภาคใต้ เรื่องนี้เป็น เรื่องระยะยาวไม่ใช่ว่าพอถึงเวลาไฟฟ้า ขาดแคลนจริงๆ ก็เอาโรงไฟฟ้าเดี๋ยวนั้น เดี๋ยวนี้เลยมันไม่ได้ จึงอยากให้มีการพูด คุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับผล กระทบและผลประโยชน์ที่จะได้รับโดย ส่วนรวมบนพื้นฐานข้อเท็จจริงตามหลัก การวิทยาศาสตร์ เพือ่ ให้มแี ผนการจัดการ ด้านความมัน่ คงทางพลังงานทีส่ ามารถอยู่ ร่วมกับชุมชนและสิ่งแวดล้อมให้ได้อย่าง เหมาะสมครับ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

ขาน�้ำค้าง ตั้งอยู่ในอ�ำเภอนาทวี จ.สงขลา เมื่ อ ก่ อ นเป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของโจรจี น คอมมิ ว นิ ส ต์ (จคม.) ปั จ จุ บั น เปิ ด ให้ ช ม เป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของ จ.สงขลา เข้าไปในถ�้ำจะเห็นความเป็นอยู่ ของโจรจีนคอมมิวนิสต์สมัยก่อน ที่มาตั้ง หน่วยบัญชาการ ที่จะเอาจังหวัดในภาคใต้ ไปครอบครอง ผมได้ ไ ปปั ่ น เส้ น ทาง อ.นาทวี จ.สงขลา เมื่อ ๑๒ ส.ค. ๕๕ ในรายการ “เดิน - วิ่ง จักรยานเสือภูเขาทางเรียบ และเสื อ หมอบเฉลิ ม พระเกี ย รติ พิ ชิ ต อุ โ มงค์ ป ระวั ติ ศ าสตร์ เ ขาน�้ ำ ค้ า ง” ณ โรงพยาบาลสมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถ อ.นาทวี จ.สงขลา ระยะทาง ๘๕ กม. คราวนั้นปล่อยตัวเวลา ๑๑.๔๐ น. นับว่าเป็นครั้งแรกที่ต้องปั่นผ่าเปลวแดดที่ ร้อนระอุ ตลอดสองข้างทางที่ปั่นมีทหาร คอยอารักขาเส้นทางตลอด นับว่าแปลก ดีเหมือนกัน ถึงอย่างไรผมก็ปั่นไม่ชนะอยู่ แล้ว จึงจอดข้างทางที่มีทหารอยู่ คอยพูด

เปิดรับสมัครเดิน-วิ่งเบญจมฯฮาล์ฟมาราธอน เฉลิมฉลอง ๑๑๘ ปี ได้ตงั้ แต่วนั นี้ - ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ (จ�ำนวนจ�ำกัด) สมัครได้ ๕ ช่องทาง ดังนี้ ๑. ทางเวปไซต์ benjamanst-alumni.org/run/ ๒. ณ โรงเรียนเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช อาคาร หอเกียรติยศ สมาคมศิษย์เก่า สอบถามเพิม่ เติมได้ท่ี ๐๗๕-๓๑๖๓๕๗, ๐๙๑-๘๒๓๙๘๒๗ คุณอธิศ ระแบบเลิศ ๐๘๐-๖๔๗๙๗๗๙ ๓. ทางไลน์ ID : baa0918239827 ๔. ดาวน์โหลดใบสมัครและจัดส่งมาไปรษณีย์ จ่าหน้าซอง เดินวิ่งเบญจมฯฮาล์ฟมาราธอน สมาคมศิษย์เก่าเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช อาคารหอเกียรติยศ โรงเรียนเบญจมราชูทศิ ถนนนาพรุ-ปากพูน ต.โพธิเ์ สด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ๘๐๐๐๐ โทร ๐๗๕-๓๑๖๓๕๗ ๕. แฟ็กซ์ใบสมัครมาทีเ่ บอร์ ๐๗๕-๔๔๗๓๘๘ รายละเอียดดังนี้ ๑ ฮาล์ฟมาราธอน ๒๑ กิโลเมตร ท่านละ ๓๕๐ บาท ๒. มินมิ าราธอน ๑๐.๕ กิโลเมตร ท่านละ ๓๐๐ บาท ๓. ฟันรัน ๓.๕ กิโลเมตร ท่านละ ๓๐๐ บาท โอนเงินค่าสมัครได้ทบ่ี ญ ั ชี สมาคมศิษย์เก่าเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช เลขบัญชี ๗๕๐-๒๔๕๓๖๖-๒

คุยและถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เวลาบนหลั ง อานใช้ ไ ป ๓ ชั่ ว โมง กับเส้นทาง ๘๕ กม. ก็ถือว่าใช้เวลานาน แต่ที่ประทับใจนักปั่นมากๆ คือ นักปั่น ทุ ก คนจะขึ้ น ไปเอาเครื่ อ งหมายที่ แ สดง ว่าผ่านจุดปั่น ในอุโมงค์เขาน�้ำค้างปั่นมา เหนื่อยๆ แล้วต้องขึ้นเขาน�้ำค้างอีก ความ ทรหด ความสนุ ก ของการปั ่ น อยู ่ ต รงนี้ และเมื่อถึงเส้นชัย ที่ รพ.สมเด็จฯ ความ เหนื่อยทั้งหมดหายเป็นปลิดทิ้ง เพราะนัก ปั่นทุกคนได้ท�ำเพื่อแม่ของแผ่นดิน ในวันที่ ๑๒ สิงหา

ขอเชิญเที่ยวงาน Sichon Art & Craft รวบรวมผลงานศิ ล ปิ น /นั ก ออกแบบ/Designer หลากหลายแขนง เช่น งานวาด งานจิตรกรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย สื่อผสม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี การโชว์การสร้างสรรค์ผลงานกันสดๆ จาก ศิลปินภายในงาน และพบกับการแสดง ดนตรีของวง THE Parkinson การฉาย หนังสั้นริมหาด และลงมือสร้างผลงาน ศิลปะที่มีชิ้นเดียวในโลกด้วยตัวเอง จาก โซน Workshop เสพย์งานศิลป์ ชิมอาหาร จิบเครื่องดื่ม เพลิดเพลินกับเสียงดนตรี ที่ อิสระบีช รีสอร์ท อ.สิชล วันเสาร์ที่ ๖ พฤษภาคมนี้ ตั้งแต่เวลา ๑๕.๓๐ น. เป็นต้นไป บัตร ๒๐๐ บาท จัดโดยชมรม ท่องเทีย่ วสิชล เฟซบุค๊ : Go โก Sichon

ดนตรีในสวน "Farm Love" ครั้งที่ ๑ งานปาร์ตี้เล็กๆ บรรยากาศ ร่มรื่นภายในสวน ดนตรีหลากแนวขับ กล่อมตั้งแต่เที่ยงวันยันเที่ยงคืน สวน ร่มรื่น เสียงดนตรี มิตรภาพ พูดคุย นอนพักผ่อนใต้ร่มไม้ ผูกเปล ชมงาน ศิลปะ ตามอัธยาศัย บัตรเข้างาน ๑๕๐ บาท เปิดจ�ำหน่ายบัตรแล้วตัง้ แต่วนั นี้ ที่ Boog Bar : Reggae Bar and Art Gallery ติดบริษัทสิงห์อรฉัตร ถ.กะโรม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ทะเลหมอกเขาเหลี้ยม บ้านห้วยพาน หุบเขากรุงชิง ระดับความสูงตรงจุดชมวิว ๔๗๐ เมตร ทะเลหมอกแห่งใหม่ของเมืองนคร ที่ยืนยันชัดเจนว่า "สวรรค์ที่เมืองคอนมีอยู่จริง"

หน้า ๑๗


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๘

วัสดี .. รับลมร้อน ในเดือนเมษายน ๒๕๖๐ ของปีระกานะคะ ท่านผู้อ่าน ทุกท่าน โอ ลัล่ ล้า ฉบับนีข้ ออนุญาตเป็นสือ่ บอกกล่าวเรือ่ งราวดีดี และแจ้งข่าวภารกิจ ในเรือ่ งของกิจกรรมด้านการท่องเทีย่ วทีจ่ ะ เกิดขึ้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อม กับพาท่านผูอ้ า่ น มาท�ำความรูจ้ กั กับหน่วย งานเล็กๆ หน่วยงานหนึง่ ซึง่ เป็นฟันเฟืองที่ ขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ของจังหวัดนครศรีธรรมราช จากอดีตมา จนถึงปัจจุบัน .. ซึ่งก็เพิ่งผ่านการเลือกตั้ง นายกสมาคมท่ า นใหม่ หลั ง จากที่ ด� ำ รง ต�ำแหน่งครบวาระ ๒ ปี และในปีบริหาร ๒๕๖๐-๒๕๖๒ นายกสมาคมธุ ร กิ จ การ ท่ องเที่ย วจั งหวั ดนครศรีธรรมราช ท่ าน ใหม่ คื อ นางชนั น ธร ธนานราสิ น และ เลขาธิการสมาคมฯ นางสาวศิริกมล แก้วแสงอ่ อ น ซึ่ ง ได้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก สมาชิก ให้อยู่ในวาระต่ออีก ๒ ปี รวมไป ถึงทีมคณะกรรมการชุดใหม่ของสมาคมอีก ๑๐-๑๙ ท่าน และตัวดิฉันเอง นางนภสร มีบุญ (โอ ลั่ลล้า) ในฐานะกรรมการฝ่าย ประชาสัมพันธ์ของสมาคมฯ ขอประมวล ภาพกิจกรรมทีเ่ ราได้รว่ มกันท�ำ และขอเล่า สู่กันฟังถึงเรื่องราวข่าวคราวของสมาคมฯ ในโอกาสพิ เ ศษครบรอบ ๒ ปี ข องการ ท�ำงานจิตอาสาในสมาคมฯ ที่ผ่านมา จน มาถึงในการเลือกตั้งครั้งนี้ท�ำให้เราได้เห็น ถึงความเปลี่ยนแปลงในวงการท่องเที่ยว เพราะในปัจจุบนั เรามีสมาชิกน้องใหม่จาก แวดวงของการท่องเที่ยวที่หลากหลายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นจากกลุ่มที่จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึก ชมรมฯ วิสาหกิจชุมชนที่จด ทะเบี ย นถู ก ต้ อ ง ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ในแต่ ล ะ อ�ำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช

ที่เป็นกลุ่มจากการก่อตั้งของคนรุ่น ใหม่ และการรวมกลุ่มที่เข้มแข็งของคนที่ ประกอบอาชีพหลักในพื้นที่ และต้องการ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับกลุ่ม หรือ ชุมชนของตนเอง พร้อมเปิดรับและพัฒนา เพื่อให้ชุมชน และสินค้าของตนได้เข้าถึง นักท่องเที่ยวได้มากขึ้น ตลอดระยะเวลา ยี่สิบกว่าปีที่ผ่านมาของการเข้ามามีส่วน ร่วมการขับเคลื่อนด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว ของจังหวัดนครศรีธรรมราช เราได้ เห็นถึงศักยภาพมากมายที่ล้วนเป็นความ โชคดีของคนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ไม่ ว่าจะเป็นในด้านของแหล่งท่องเทีย่ ว ซึง่ เรา มีแหล่งท่องเทีย่ วทีห่ ลากหลายและโดดเด่น ไม่วา่ จะเป็นในด้านของศิลปวัฒนธรรม หรือ จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ อีก ทั้งยังเป็นเมืองเดียวที่สามารถจะท่องเที่ยว ได้ตลอดทัง้ ปี, ด้านอาหาร เมืองนครฯ ก็ไม่

ได้น้อยหน้า ในเรื่องของความอร่อย และ โดดเด่นของรสชาติอาหาร ไม่ว่าจะเป็น ขนมจีน ข้าวย�ำ คั่วกลิ้ง แกงส้ม ซึ่งล้วน แต่เป็นของหรอยเมืองคอนที่นักท่องเที่ยว รู้จักเป็นอย่างดีทั้งสิ้น, ผลไม้ขึ้นชื่อ มังคุด ทุเรียนกวนห่อกาบหมาก ส้มโอทับทิมสยาม ที่ใครเดินทางมานครฯ ก็ต้องเอ่ยปากถาม ถึงและหอบหิว้ กลับไปเป็นของฝากอันล�ำ้ ค่า รวมไปถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ OTOP ห้ า ดาวของ ชุมชนต่างๆ ทีแ่ ทบจะกล่าวถึงไม่หมด การ ส่งเสริมการตลาดเชิงรุก ไม่วา่ จะเป็นการท�ำ กิจกรรมส่งเสริมการขายท่องเทีย่ วเชือ่ มโยง กับจังหวัดใกล้เคียง, การจัดฝึกอบรมให้ ความรู ้ เ รื่ อ งการพั ฒ นาสิ น ค้ า ด้ า นการ ท่องเที่ยว และการตลาดออนไลน์, การจัด กิจกรรม Trade Show / Road Show ฯลฯ เรียกได้ว่าทุกอย่างตอบโจทย์ของ นครศรี ดีด๊ ี นครศรีดกี ว่าเดิม ของท่านผูว้ า่ ราชการ

จังหวัดนครศรีธรรมราช นายเจริญ ทิพยพงศ์ธาดา ได้เป็นอย่างดีจริงๆ เพราะพ่อ เมืองท่านนี้มีมุมมอง และความมุ่งมั่นที่จะ ท�ำให้จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอีกหนึ่ง จังหวัดทีจ่ ะก้าวขึน้ สูเ่ มืองแห่งการท่องเทีย่ ว น้องใหม่ ในอนาคตอันใกล้ ด้วยความร่วม มือร่วมใจของทุกหน่วยงานและทุกองค์กร ที่เกี่ยวข้อง โดยลงลึกไปถึงชุมชนเจ้าของ พืน้ ที่ ทัง้ ๒๓ อ�ำเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราช มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน นครศรีดี๊ดี นครศรีดีกว่าเดิม ด้วยกันนะ คะ ยิ้ ม และร่ ว มต้ อ นรั บ พร้ อ มหยิ บ ยื่ น ไมตรีจิต ให้กับทุกคนที่เข้ามาเยือนจังหวัด นครศรีธรรมราช ด้วยการเป็นเจ้าบ้านทีด่ ใี น ทุกๆ วัน แล้วฝันทีเ่ ราจะเป็นหนึง่ ของเมือง แห่งการท่องเทีย่ วก็จะไม่ไกลค่ะ ... ร่วมด้วย ช่วยกันนะคะ.. พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๖ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.