ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๐
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
www.nakhonforum.com
www.facebook.com/rakbaankerd
ผูว้ า่ ฯ จ�ำเริญ ประชุมผูเ้ กีย่ วข้องเตรียมพร้อม งานจัดงานเดือนสิบ ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ให้ยิ่งใหญ่ กว่าปีทแี่ ล้ว ช่วงเย็นๆ ๑๙ กันยาพร้อมตกแต่งแสง ไฟสวยงามตลอดสนามหน้าเมือง-วัดพระธาตุ รมว. ท่องเที่ยวฯ ปธ.เปิดขบวน พิเศษ! สลากการกุศล กาชาด ลุน้ ๗๒ รางวัล รางวัลพิเศษรถเก๋งโตโยต้า ยาริส ๑ รางวัล วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ห้อง ประชุมศาลากลาง นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานการประชุมเตรียมความพร้อม การจัดงานเทศกาลเดือนสิบ ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ รักสุขภาพ ทพญ.พัชรี กัมพลานนท์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชีวิตติดล้อ ผอ.บัญญัติ ลายพยัคฆ์ มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์ โอ ลั่ลล้า พาชิม นภสร มีบุญ
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗ ˹éÒ ñ๘ นายวีระ โรจน์พจนรัตน์
ส�ำนักปลัดฯ วัฒนธรรม ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด นครฯ จัดสัมมนา เชิญผูแ้ ทนสมาคม ชมรม ศิลปินพืน้ บ้าน เสนอปัญหา อุปสรรค เพือ่ การแก้ไขและผลักดัน ให้งานศิลปะศิลปินพื้นบ้านทุกสาขามีเวทีแสดงและมี รายได้ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี เพือ่ ธ�ำรงรักษา ศิลปวัฒนธรรมให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน เพราะเป็นสิง่ สร้าง ความภาคภูมใิ จ สร้างคน สร้างชาติ
เมือ่ วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๖๐ นาย วีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง วัฒนธรรม เดินทางมาเป็นประธานพิธีเปิด ประชุมสัมมนา มอบนโยบายและแนวทาง การขับเคลือ่ น
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๒
(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด
วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๐ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายกเสด็ จ มาปฏิ บั ติ พ ระศาสนกิ จ ที่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช นับเป็นวาระส�ำคัญและโชคดีของ ชาวบ้านชาวเมืองอย่างสูง วาระทรงปฏิบัติพระศาสนกิจก�ำหนดไว้ดังนี้ เวลา ๑๔.๐๐ น. วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๐ สมเด็จพระ อริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชฯ เสด็จถึง สนามบินจังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อจากนั้นเสด็จ โดยรถพระประเทียบไปวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ทรงจุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัยและพระบรมธาตุ เจดีย์ พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชในพระวิหารหลวง เสด็ จ เป็ น ประธานพิ ธี เ ททองหล่ อ พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ จ�ำลองและพระกริ่งพุทธสิหิงค์ เวลา ๑๕.๐๐ น. เสด็จจากวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารไปโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยนครศรีธรรมราช ทรงเจิมและเปิดป้ายอาคารห้องสมุด และ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างหอพระพุทธสิหิงค์ จ�ำลอง เวลา ๑๖.๐๐ น. เสด็จไปยังวัดท่าโพธิ์วรวิหาร ทรงประกอบพิ ธี เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ ส มโภชวั ด ท่าโพธิ์วรวิหาร ในวาระครบ ๑๐๐ ปี การยกฐานะขึ้น เป็นพระอารามหลวง และทรงปลูกต้นไม้เป็นที่ระลึก นายจรั ญ มารั ต น์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานพระ พุทธศาสนาจังหวัดนครฯ พระมหาจินดา ฐานะจินโต เลขานุ ก ารเจ้ า คณะใหญ่ ค ณะธรรมยุ ต ร่ ว มหารื อ กับนายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัด นครฯ เพื่อเตรียมต้อนรับอย่างสมพระเกียรติตลอด เส้ น ทางทุ ก พื้ น ที่ จึ ง ใคร่ ข อให้ ป ระชาชนพร้ อ มใจ ถวายการต้อนรับอย่างเรียบร้อยและสมพระเกียรติ ให้สมกับเราเป็นชาวเมืองพระ
ต้
องขออภัยท่านทั้งหลาย รวมทั้งขอบคุณกอง บก.รัก บ้านเกิด และ พี่จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร ที่อนุเคราะห์กับ คอลั ม น์ น ครดอนพระในฉบั บ ที่ แ ล้ ว เนื่ อ งจากผมต้ อ ง เดินทางหลายที่ในระยะนี้ เพื่อการส�ำรวจตรวจสอบและ ประมวลเรือ่ ง “สุวรรณภูม”ิ ให้กบั จีสด้า(ส�ำนักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสมเทศ-องค์การมหาชน) แถมยังต้องเตรียมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ทวารวดี” ให้ อพท.(องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น -องค์ ก ารมหาชน) ซึ่ ง จะต้ อ งท� ำ ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ในระยะนี้ โดยเฉพาะเรื่ อ ง สุวรรณภูมิที่จีสด้าตั้งใจให้เป็นงานถวายพระเจ้าอยู่หัวใน พระบรมโกศ ซึ่งท�ำให้ผมพบรหัสวิเศษที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงวางไว้กับเมืองนครศรีธรรมราชของเรา ด้วยครับ ในพระราชนิพนธ์ เรื่อง "พระมหาชนก" ที่ทรงพระ ราชนิพนธ์และพระราชทานให้จดั พิมพ์ตงั้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๓๙ อันเป็นปีทที่ รงครองราชย์ครบ ๕๐ ปี ทีค่ นไทยเรารูก้ นั โดย ทัว่ แล้วนัน้ มีสว่ นทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับสุวรรณภูมิ ตามพระราช นิพนธ์ ดังนี้ “พระกุมารทรงเรียนไตรเพทและศิลปะศาสตร์ทั้ง ปวงภายในพระชนม์ ๑๖ ปี. เมือ่ มีพระชนม์ได้ ๑๖ ปี เป็น ผูท้ รงพระรูปโฉมอันอุดม. พระองค์ทรงคิดว่า : เราจักเอาราชสมบัตซิ งึ่ เป็นของ พระบิดา. จึงทูลถามพระมารดาว่า : ข้าแต่พระมารดา ทรัพย์อะไรๆ ทีพ่ ระมารดาได้มา มีบา้ งหรือไม่ ฉันจักค้าขายให้ทรัพย์เกิดขึ้น แล้ ว จั ก เอาราชสมบั ติ ซึ่ ง เป็ น ของพระบิดา.
พระนางตรัสตอบว่า : ลูกรัก แม่ไม่ได้มามือเปล่า. สิ่งอัน เป็นแก่นสารของเรามีอยู่สามอย่าง คือ แก้วมณี แก้วมุกดา แก้ววิเชียร. ในสามอย่างนั้นแต่ละอย่างพอจะ เป็นก�ำลังเอาราชสมบัติได้. พ่อจง รับแก้วสามอย่างนั้น คิดอ่านเอา ราชสมบัติเถิด อย่าท�ำการค้าขาย เลย. พระกุมารทูลว่า : ข้าแต่พระมารดา ขอพระมารดา จงประทานทรั พ ย์ นั้ น กึ่ ง หนึ่ ง แก่ หม่ อ มฉั น จะไปเมื อ งสุ ว รรณภู มิ น�ำทรัพย์เป็นอันมากมา แล้วเอา ราชสมบัตซิ งึ่ เป็นของพระบิดา. ทูลดังนี้แล้ว ให้พระมารดาประทานทรัพย์กึ่งหนึ่ง จ�ำหน่ายออกเป็นสินค้าแล้วให้ขึ้นเรือพร้อมกับพวกพาณิช ทีจ่ ะเดินทางไปสุวรรณภูม.ิ แล้วกลับมาถวายบังคมลาพระมารดา ทูลว่า : ข้าแต่พระมารดา หม่อมฉันจักไป เมืองสุวรรณภูม.ิ พระนางตรัสห้ามว่า : ลู ก รั ก ชื่ อ ว่ า มหาสมุ ท ร ส� ำ เร็ จ ประโยชน์ น ้ อ ย มี อั น ตรายมาก. อย่าไปเลย. ทรัพย์ของพ่อมีมากพอ ประโยชน์ เอาราชสมบัตแิ ล้ว. พระกุมารทูลว่า : หม่อมฉันจักไปแท้จริง. ทูลลาพระมารดาถวายบังคมกระท�ำประทักษิณ แล้ว ออกไปขึน้ เรือ. ในหนั ง สื อ พระมหาชนก ฉบั บ พระราชนิ พ นธ์ ที่ พระราชทานให้จดั พิมพ์นนั้ (อ่านต่อหน้า ๑๑)
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
ส
ามเดือนก่อนกลุ่มผู้สร้างสรรค์และ ชืน่ ชมศิลปะ ชักชวนผมไปร่วมพบปะ สนทนากั บ คนสนใจศิ ล ปะและท� ำ งาน ศิลปะสาขาต่าง ๆ ตามทีต่ วั เองชอบ ผู ้ ม าร่ ว มเป็ น จิ ต รกรสมั ค รเล่ น จิตรกรมีผลงานระดับประเทศ อาจารย์ ผู้สอนศิลปะ สถาปนิก เจ้าของร้านกาแฟ เจ้าของโรงแรมผู้เอื้อเฟื้อสถานที่ ผู้รัก และชืน่ ชมศิลปะ ร่วม ๆ ๒๐ คน เนื้ อ หาการสนทนาวั น นั้ น 'จะน� ำ ศิ ล ปะมาเปลี่ ย นเมื อ งใช้ ศิ ล ปะดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เผยแพร่ ศิ ล ปะสู ่ ชุ ม ชน ประสานความร่วมมือกับชุมชนและท�ำ ให้เกิดรายได้' ผมเคยน� ำ เนื้ อ หาของการสนทนา และสัมภาษณ์สั้น ๆ ของผู้ร่วมประชุมมา ตีพิมพ์ใน 'รักบ้านเกิด' แจ้งให้ทราบว่ามี กลุ่มคนรักศิลปะออกมาขับเคลื่อนเมือง นครให้ก้าวออกมาจากมุมอับโดยใช้สติ ปัญญาและทักษะทางศิลปะให้ชาวต่างบ้าน ต่างเมืองได้ชนื่ ชม ใครเข้ า มาเที่ ย วเมื อ งนครช่ ว ง เทศกาลเดื อ นสิ บ หรื อ มาร่ ว มประเพณี สารทเดื อ นสิ บ จะพบเห็ น ศิ ล ปะกราฟิ ตี (graffiti) ตามผนั ง หรื อ ก� ำ แพงหลาย
ภาพ : อดิศักดิ์ เดชสถิตย์
หน้า ๓ พื้นที่ 'ตลาดหน้าพระธาตุ' ที่น�ำเอาพื้นที่ วัฒนธรรม ศิลปะหลายสาขามาสร้างสรรค์ ตลาดดึงดูดนักท่องเทีย่ วและสร้างรายได้ ในซอยวัดเขาปูน อ.พรหมคีรี จิตรกร หนุ ่ ม สาวสองสามี ภ รรยาตั ด สิ น ใจกลั บ บ้านเกิดมาสร้าง สีดิน See-Din Studio & Homestay สร้ า งบ้ า นดิ น ในชุ ม ชน ชาวสวน ในการประชุมครัง้ แรกเขากับเธอ อุม้ ลูกตัวเล็ก ๆ ไปร่วมด้วย สองคนอาศัยพื้นที่ธรรมชาติกระตุ้น ความคิดสร้างสรรค์งานศิลปะและที่พัก ท่ามกลางธรรมชาติ อาศัยวิถีเกษตรเป็น แรงบันดาลใจ สร้างบ้านดินให้บริการผู้ที่ อยากพักผ่อนใกล้ชดิ ธรรมชาติ
และเป็นแหล่งกิจกรรม Art Workshop, Art Camp, ค่ายอาสาช่วยชุมชน เพื่ อ ร่ ว มผลั ก ดั น และใช้ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เชื่ อ มโยงเยาวชนให้ เ ข้ า ถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญา ท้องถิ่นและปลูกฝังจิตอาสาให้แก่เด็กๆ ร่วมเรียนรูแ้ ลกเปลีย่ นวัฒนธรรม อนุรกั ษ์ เผยแพร่ แบ่ ง ปั น ประสบการณ์ และ สร้างสรรค์พัฒนาสังคมร่วมกัน จนไปถึง การพัฒนาสภาพแวดล้อมรอบข้างกาย และจิตวิญญาณ กลุ ่ ม คนเหล่ า นี้ เ ชื่ อ มั่ น ว่ า ศิ ล ปะ เปลีย่ นเมืองได้
ภาพ : อดิศักดิ์ เดชสถิตย์
ผู้มีจิตเมตตาร่วมช่วยสมทบทุน โดยซื้อสินค้าหรือ บริจาคเป็นเงิน เชิญสนับสนุนและบริจาคด้วยตัวเอง ณ ‘หลาดหน้าพระธาตุ’ ทุกวันเสาร์เย็น
มาช่วยกันเกื้อกูลดูแล...เมืองนครของเราด้วยจิตเมตตา เฟซบุ๊คแฟนเพจ : ร่วมด้วยช่วยตัวเล็ก
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๔
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com
ป
หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๐
สุธรรม ชยันต์เกียรติ
ระเพณี บุ ญ สารทเดื อ นสิ บ เป็ น ประเพณี ที่ ส� ำ คั ญ ที่สุดของชาวนคร ที่ได้รับการสืบทอดมายาวนาน พร้ อ มพุ ท ธศาสนาที่ เ ข้ า มาตั้ ง มั่ น ในแผ่ น ดิ น แถบนี้ ประเพณี นี้ แ ต่ ดั้ ง เดิ ม นั้ น เกิ ด ขึ้ น ในดิ น แดนชมพู ท วี ป สมัยก่อนพุทธกาลเป็นประเพณีของพราหมณ์ เขามีการ ฉลอง 'ฤดูสารท' ด้วยความยินดีเพราะเดือนนีเ้ ป็นเดือนที่ อุดมสมบูรณ์ที่สุดของปี เขาจะอุทิศส่วนบุญให้เฉพาะ 'บรรพบุรษุ ฝ่ายชาย' เท่านัน้ ครั้นถึงสมัยพุทธกาล เหล่าพราหมณ์ที่มาบวชใน พุทธศาสนาก็ก�ำหนดให้ปรับเปลี่ยนประเพณีปฏิบัติใหม่ โดยการท�ำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษทั้งผู้ชายและผู้หญิงได้ ท�ำบุญเลีย้ งพระสงฆ์แทนพราหมณ์
ความเชื่อในประเพณีบุญสารทเดือนสิบว่าพญายม จะปล่อยวิญญาณของผูล้ ว่ งลับไปแล้วทีต่ กนรกให้กลับมา เยีย่ มลูกหลานของตนในโลกมนุษย์ได้ตงั้ แต่ 'วันแรม ๑ ค�ำ่ เดือนสิบไปจนถึงแรม ๑๕ ค�ำ่ เดือนสิบ' ดังนัน้ วันแรม ๑ ค�่ำเดือนสิบชาวนครจึงเรียกว่า 'วันรับตายาย' และเรียก วันแรม ๑๕ ค�่ำเดือนสิบว่า 'วันส่งตายาย' ซึ่งเป็นวัน ท�ำบุญใหญ่เพื่อส่งตายาย และนิยมเรียกว่า 'วันบุญเล็ก' กับ 'วันบุญใหญ่' วันบุญเล็กนั้นไม่ค่อยมีพิธีกรรมมากมาย ส่วนมาก จะยกชัน้ ไปท�ำบุญทีว่ ดั แต่วนั ท�ำบุญใหญ่จะมีการเตรียม การล่วงหน้าท�ำขนมในพิธี เช่น พอง ลา ขนมบ้า ขนมดีซำ� ขนม ไข่ปลา สมัยก่อนจะท�ำกันเองหรือร่วมมือกันท�ำ ตัง้ แต่วนั แรม ๑๓ ค�ำ่ เรียกว่า 'วันจ่าย' จะมีพอ่ ค้าแม่คา้ น�ำสินค้าเครื่องไหว้มาจ�ำหน่ายกัน แรม ๑๔ ค�่ำก็เริ่มดับ หมฺรบั กัน การจัดหมฺรบั มีรปู แบบแตกต่างกัน เลยมีหลาย ขนาด ครอบครัวเล็กก็ท�ำขนาดเล็ก ครอบครัวใหญ่ก็มา รวมท�ำกันได้ขนาดใหญ่ ใช้กระบุง ตะกร้าหรือกะเฌอ ขนาดใหญ่ใส่ขา้ วสารรองก้น แล้วใส่หอม กระเทียม พริก ไทย เกลือ กะปิ น�ำ้ ตาล ลงไป ชัน้ ต่อมาใส่เนือ้ เค็ม ปลา เค็ม พืชผักผลไม้ เช่นกล้วย มัน อ้อย ข้าวโพด ตะไคร้ ข่า ขมิ้น ต่อมาก็ใส่ของใช้ประจ�ำวันสมัยก่อน เช่น น�้ำมัน มะพร้าว น�ำ้ มันก๊าด ขีไ้ ต้ ไม้ขดี ไฟ หม้อ กะทะ ถ้วยชาม ด้าย เข็ม เครือ่ งเช่ยี น เช่นหมาก พลู ปูน กานพลู การบูร พิมเสน สีเสียด ยาเส้น บุหรี่ ยาสามัญประจ�ำบ้านและธูป เทียน
ขนม ๕ อย่างทีเ่ ป็นหัวใจส�ำคัญพิธกี รรมนีค้ อื 'ขนมพอง' ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนแพ เพื่อใช้ล่อง ข้ามห้วงมหรรณพ 'ขนมลา' ใช้แทนเสือ้ ผ้าเครือ่ งนุง่ ห่ม 'ขนมกงหรือขนมไข่ปลา' ใช้แทนเครือ่ งประดับ 'ขนมดีซำ� ' ใช้แทนเบีย้ เงินไว้ใช้สอย 'ขนมบ้า' ใช้แทนลูกสะบ้า ของเล่นของคนยุคก่อนที่ เล่นในวันสงกรานต์ เมื่อถึงวันหมฺรับใหญ่แรม ๑๕ ค�่ำมาถึง มีการจัด ภัตตาหารไปถวายพร้อมกับหมฺรบั ทีเ่ ตรียมไว้ โดยการน�ำ ไปถวายพระในช่วงเพลและหลังจากเสร็จพิธถี วายภัตตาหารและถวายหมฺรับแล้ว ก็จะท�ำหมฺรับเล็กมาต่างหาก เพื่อน�ำไปท�ำบุญให้กับเปรตที่ไม่มีญาติไม่มีคนท�ำบุญให้ เชื่อกันว่าเปรตบางตนท�ำบาปเอาไว้มากเข้ามาในเขตวัด ไม่ได้ ชาวบ้านจึงได้ไปท�ำพิธีกันที่นอกก�ำแพงวัดหรือใน เขตป่าช้า 'การตัง้ เปรต'- 'การชิงเปรต' จึงถือก�ำเนิดขึน้ มา เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของสารทเดือนสิบ การตั้งเปรต เป็นการจัดหมฺรบั ขนาดเล็กเพือ่ เป็นเสบียงกรังในการเดิน ทางกลับขุมนรกของเปรตผู้ไร้ญาติเหล่านี้ บางที่ก็เล่น สนุกจัดวางขนมไว้สูงเพื่อให้เด็กขึ้นไปแย่งชิงกันเป็นที่ สนุกสนาน ซึ่งวันบุญใหญ่นั้นบรรดาญาติมิตรลูกหลาน กลับมาจากต่างถิ่น จึงมีโอกาสร่วมสนุกด้วยกัน เป็น >> อ่านต่อหน้า ๙ ประเพณีทชี่ าวนครมีปฏิบตั กิ นั ทัว่
วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครฯ น�ำหัวหน้าส่วนราชการ ฝ่าย พลเรือน ตุลาการ ทหาร ต�ำรวจ และผู้แทนองค์กรต่างๆ ร่วมประกอบพิธีถวายเครื่องราชสักการะ (พุ่มทองพุ่มเงิน) และจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ในวโรกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๕ พรรษา สนามหน้าเมือง จังหวัดมอบ นโยบายให้ประกอบพิธีและจัดกิจกรรมทั้ง ๒๓ อ�ำเภอ เพื่อ พสกนิกรได้น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายเป็น พระราชกุศลอย่างทั่วถึง
วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๐ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเสด็จ ปฏิ บั ติ พ ระศาสนกิ จ ที่ จั ง หวั ด นครฯ ณ วั ด พระมหาธาตุ ฯ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยฯ และ วัดท่าโพธิ์ฯ ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ประชุมเตรียมถวาย การต้อนรับกับจรัญ มารัตน์ ผอ.ส�ำนักพุทธฯ และพระมหา จินดา ฐานะจินโต เลขานุการเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต เพื่อ เตรียมถวายการต้อนรับ
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
วีระ โรจน์พจนรัตน์ รมว.วธ. ฝากศิลปินพื้นบ้าน รวมตัวตั้งชมรมหรือสมาคม รัฐบาลพร้อมสนับสนุนให้มีรายได้ ย�้ำถนนสายวัฒนธรรมต้องเกิดพร้อมกันทั่วประเทศอย่างยั่งยืน ๑๔๑ สาย นั บ แต่ เ ปิ ด 'หลาดหน้ า พระธาตุ ' วั ช รพงษ์ พงศ์ วั ช ร์ ยั ง รื้ อ ของเก่ า ของ สะสมมาขายเพิ่ ม มนต์ เ สน่ ห ์ ใ ห้ ต ลาด ถนนคนเดิ น มี ข อง เก่ า ให้ นั ก สะสมนั ก เล่นมาเลือกซื้อ
หน้า ๕ ขอเชิ ญ ประชาชนร่ ว มงานโครงการจิ ต อาสาเฉพาะกิ จ งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ เพื่อสานต่อโครงการ พระราชด� ำ ริ โครงการจิ ต อาสาเราท� ำ ความดี ด ้ ว ยหั ว ใจเป็ น การ รวมพลังอันมีค่า รวมพลังน�้ำใจของคนไทยทุกหมู่เหล่าน้อมถวาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยร่วมปฏิบัติงานระหว่างวันที่ ๑๘–๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ กรุงเทพฯ รับสมัครที่สนามเสือป่าและส�ำนักงานเขต ๕๐ เขต ต่างจังหวัด รับสมัคร ณ ที่ว่าการอ�ำเภอ ๘๗๘ แห่งทั่วประเทศ ระหว่างวัน ที่ ๑-๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ เวลา ๐๘.๐๐–๑๖.๐๐ น. ไม่เว้นวัน หยุดราชการ ต่างประเทศสมัครที่สถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ โดยแสดงบัตรประชาชนฉบับจริง ผู้สมัครสามารถ เลือกประเภทของงานจิตอาสาที่ต้องการท�ำได้ตามความสมัครใจ ได้แก่ งานดอกไม้จันทน์ งานประชาสัมพันธ์ งานโยธา งาน ขนส่ง งานบริการประชาชน งานแพทย์ งานรักษาความปลอดภัย และงานจราจร วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๐ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติเป็นประธานพิธีบวงสรวง และสักการะหลักเมืองอนุญาตประกอบพิธีเทวาภิเษกวัตถุ มงคลพังพกาฬ 'เปิดศาลหลักเมือง' ปี ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๓ (ครั้งแรกวัดเขาขุนพนม ครั้งที่ ๒ พลีทะเลที่อ่าวปากพนัง) ช่วงบ่าย พล.ต.ต.วันไชย เอกพรพิชญ์ ผบก.ภ.จว.นครฯเป็น ประธานจุดเทียนประกอบพิธีฯ พระเกจิ ๑๗ รูปนั่งปรกอธิฐานจิต วัตถุมงคลรุ่นนี้ อนุวัตร ศรีไสยเพชร (บี บ่อล้อ) กับ พระครูสังฆกิจพิมล (หลวงศักดิ์) วัดพรหมโลก อ.พรหมคีรี จ.นครฯ ร่วมประสานงานจัดสร้างจนส�ำเร็จสมปรารถนา
รวมเรื่องสั้น ‘เมือง บ้าน ผม’ ของ จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร ผ่านเข้ารอบ Long List การประกวดรางวั ล ซีไรต์ ปี ๒๕๖๐ เมืองนคร หาซื้อที่ร้านเส้งโห ร้านซีเอ็ด และนายอินทร์
ขอแสดงความยินดีกับ อดิศักดิ์ เดชสถิตย์ ช่างภาพ มือดีนิสัยดีกับรางวัลภาพตลาดริมน�้ำเมืองลิกอร์ร่วมกับช่าง ภาพฝีมือดีคนอื่นๆ
นั ก เรี ย นโรงเรี ย นตั น ติ วั ต ร (ทุ ่ ง สง) คว้ารางวัลโครงการ 'ธนชาต ริเริ่ม...เติมเต็ม เอกลั ก ษณ์ ไ ทย' รอบคั ด เลื อ กภาคใต้ ครั้ ง ที่ ๔๖/๒๕๖๐ ณ มรภ.นครฯ ด.ช.ธนกร ชูไชยยัง (ชนะเลิศระดับ ป.๔-๖) ด.ญ.ณัฎฐณิชา ศรีระษา (รองชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับ ป.๔-๖) และ ด.ช.ภูวพัฒน์ บุญชูดวง (รองชนะเลิศอันดับ ๒ ระดับ ป.๑-๓) นักเรียนคนเก่งจะเป็นตัวแทน เข้าแข่งขันชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และทุนการ ศึกษาระดับประเทศ Find Us On :
Page เพชรทองซีกวง
Seekuang_official
099-195-6996
วั น ที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ อุ ษณี ย์ ลี สุรวณิ ช กรรมการบริหาร บริษัทตั้งใจกลการ จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่าย รถจั ก รยานยนต์ ฮ อนด้ า ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ได้ ร ่ ว มเปิ ด พิ ธี ส ่ ง มอบสนามเด็กเล่นให้กับเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดมัชฌิมภูผา อ.ร่อนพิบูลย์ นครศรีฯ ช่วงงานเทศกาลเดือนสิบและประเพณีบุญสารทเดือน สิบ ปี ๒๕๖๐ ระหว่าง ๑๔ - ๒๓ กันยายน โปรดขับรถและ เดินทางด้วยความระมัดระวัง ขอทุกคนถึงที่หมายได้กราบไหว้ พระบรมธาตุเจดีย์อันศักดิ์สิทธิ์ด้วยความปลอดภัย
Line Official : @Seekuang
Line ID : boonada
โดย บจก.ซีกวงโกลด์ และ บจก.ทองบุณณดา ธุรกิจเพชรทองที่ลูกค้ามั่นใจได้ว่าคุ้มค่าด้วยคุณภาพและบริการ
ถ.เนรมิต ท่าวัง ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร)
ชั้ น 1 ห้างโรบินสัน (ฝั่ ง MK) สะพานยาว (ติดโลตัสเอ็กซเพรส)
ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) หัวถนน (ตรงข้ามคิวรถเชี ยรใหญ่)
หัวอิฐ (ข้างไปรษณีย์) www.facebook.com/BOONADA
คูขวาง (หน้า ธ.SME) ชวนเฮง หาดใหญ่
0991956996
หน้า ๖
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ การอบรมพนั ก งานให้ มี ศั ก ยภาพ สูงสุดในการบริการลูกค้า เน้นความ เป็นกันเองเสมือนพี่น้อง อยากให้ ทุกคนประทับใจแล้วบอกต่อว่าจะ ซื้อรถสักคันก็จะคิดถึงตั้งใจกลการ ซึ่งพนักงานในองค์กรทุกคนสนอง นโยบายเป็นอย่างดีจนได้รับค�ำชม จากลูกค้ากลับมาอย่างสม�่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม ไกรสีห์ยอมรับ ว่า “การท�ำธุรกิจต้องแสวงหาผล ก� ำ ไรเป็ น ธรรมดาครั บ แต่ เ ราจะ คืนก�ำไรสู่สังคมได้ทางไหนบ้าง นั่น เป็ น แนวคิ ด ที่ ท างครอบครั ว คื อ คุณแม่ได้ปลูกฝังจิตส�ำนึกมาตลอด
วั
นที่ ๒๕ สิ ง หาคม ๒๕๖๐ หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า น เกิด นครศรีธรรมราช ได้รับเกียรติให้ไปร่วมงานพิธี ส่งมอบสนามเด็กเล่นให้กับเด็กๆ โรงเรียนวัดมัฌชิมภูผา อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครฯ ของบริษัท ตั้งใจกลการ จ�ำกัด พันธมิตรทางการค้าพนักงานและบริษัทในเครือ สนาม เด็กเล่นช่วยให้เด็กๆ ๔๖ คน ได้เล่นสนุกสนานมีชีวิต ชีวา ในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ 'รักบ้านเกิด' ได้สนทนากับ ไกรสีห์ โล่สถาพรพิพิธ รองกรรมการบริหาร ทายาทคนโตของ อุษณีย์ ลีสุรวณิช กรรมการบริหาร บริษัทตั้งใจกลการ จ�ำกัด ไกรสี ห ์ เ กิ ด ในครอบครั ว นั ก ธุ ร กิ จ จบการศึ ก ษา ระดับมัธยมจากโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย จ.ตรัง จบปริ ญ ญาตรี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขาเครื่ อ งกล จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และระดับปริญญาโท International Business and Entrepreneurship จาก University of Essex ประเทศอังกฤษ นักบริหาร วัย ๓๐ ใช้ชีวิตอยู่เมืองผู้ดีหลายปี ซึมซับประสบการณ์ดีๆ กระทั่งจบการศึกษาปี ๒๕๕๔ จึงกลับบ้านเกิดมาสานต่อ
และพัฒนาธุรกิจครอบครัวให้เติบโต ครอบครั ว มี พื้ น เพเป็ น คนจั ง หวั ด ตรั ง จึ ง ตั ด สิ น ใจเปิ ด ธุ ร กิ จ ตั ว แทน ขายรถจักยานยนต์สาขาแรกที่บ้าน เกิด จากนั้นจึงขยายสาขามาจังหวัด นครศรีธรรมราชเมื่อ ๑๐ ปีก่อน โดย เลือกอ�ำเภอทุ่งใหญ่ที่สวนปาล์มและ สวนยางพาราก�ำลังประสบผลส�ำเร็จ นับเป็นสาขาแรกในเมืองนคร ต่ อ มาเปิ ด สาขา อ.ทุ ่ ง สง อ.ร่อนพิบูลย์ อ.ชะอวด ตามล�ำดับ “เราเน้ น เปิ ด ต่ า งอ� ำ เภอเพราะเล็ ง เห็ น ว่ า กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ ที่ ใ ช้ ร ถ จั ก ยานยนต์ จ ะเป็ น กล่ ม ลู ก ค้ า ต่ า ง อ� ำ เภอมากกว่ า ในเมื อ ง ทุ ก สาขาได้ รั บ การตอบรั บ ที่ ดี ด้วย” ไกรสีห์ เปิดเผยว่า ๔-๕ ปีที่ผ่านมาผู้บริหารพยายาม พั ฒ นาศั ก ยภาพทุ ก ๆ อย่ า งในองค์ ก ร ทั้ ง วางแผนการ ขาย ท�ำการตลาดและบุคลากร โดยให้ความส�ำคัญเรื่อง
ท่านอยากให้ธุรกิจด�ำเนินไปพร้อมๆ กับการช่วยกันสร้าง สังคมให้ดี บริษัทจึงเน้นการท�ำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคม เป็นการตอบแทนคืนก�ำไรกลับสู่สังคมในหลายๆ รูปแบบ ที่ทางบริษัทได้ท�ำมาอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ” บริษัทจัดกิจกรรมเพื่อสังคมเกือบทุกเดือน เช่น การ รับบริจาคโลหิต มอบสิ่งของช่วยน�้ำท่วมที่ อ.ชะอวด เมื่อ ต้นปี เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคมที่ผ่านมาก็ได้ร่วมสนับสนุน การแข่งขันฟุตบอลของโรงเรียนชะอวด จนส�ำเร็จ ติด ๑ ใน ๕ ของภาคใต้ ปัจจุบันนี้ บริษัท ตั้งใจกลการ จ�ำกัด เติบโตจนมี สาขาในจังหวัดนครฯ ๒๖ สาขา และรวมจังหวัดอื่นๆ รวม ๕๙ สาขา บริษัทในเครืออื่นๆ อีก ๖๖ สาขา ครอบคลุม ๔ จังหวัดทางภาคใต้คือ นครฯ พัทลุง สงขลา และสตูล ไกรสี ห ์ ย อมรั บ ว่ า การท� ำ ธุ ร กิ จ ที่ มี คู ่ แ ข่ ง แต่ เ ขา ไม่ได้มองธุรกิจแนวเดียวกันเป็นคู่แข่ง แต่มองเป็นการ แข่งขันกันทางธุรกิจที่ช่วยกันสร้างตลาดมากกว่า ช่วยกัน ท�ำให้ตลาดมอเตอร์ไซค์คึกคัก เป็นการกระตุ้นส่งเสริม เศรษฐกิจโดยรวมของภาคใต้และประเทศด้วย
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๗
จดหมายข่าว
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช
การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ
ก
ารศึกษาทางโบราณคดีที่ผ่านมาในหลายภูมิภาค ได้ แสดงให้เห็นว่าชีวิตประจ�ำวันที่สะท้อนออกมาใน รูปแบบอัตลักษณ์ทางสังคม โดยเฉพาะเรื่องการบริโภค การตัง้ ถิน่ ฐาน รูปแบบสถาปัตยกรรม การผลิตหัตถกรรม จัดเป็นสิ่งที่ผสานการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-การเมืองเศรษฐกิจที่มาจากการปฏิสัมพันธ์ต่างภูมิภาคให้เข้ากับ สังคมท้องถิน่ การศึกษาวิเคราะห์หตั ถกรรมทีผ่ ลิตในบ้าน มีส่วนส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งในการแสดงถึงความสัมพันธ์ที่ กล่าวถึงนี้ โบราณวัตถุตา่ ง ๆ เช่น เครือ่ งปัน้ ดินเผา ลูกปัด และศิลปวัตถุโลหะ เป็นต้น มีสว่ นอย่างมากในการศึกษา วิถีชีวิตผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร เนื่องจากการก่อสร้างบ้านเรือนและชุมชนในภูมิภาค แห่งนี้ในยุคต้นไม่ได้ยั่งยืนถาวร อย่างไรก็ดี ความหลาก หลายในการผลิตและการอุปโภควัตถุเหล่านี้ยังไม่ค่อยได้ ศึกษาและใช้ให้เป็นประโยชน์ นักโบราณคดีในภูมิภาค แห่งนี้ได้ช่วยชี้ให้เห็นถึงบริบททางสังคม-การเมืองของ การผลิตที่เปลี่ยนไปจากการติดต่อกับโลกภายนอก การ ศึกษาส่วนใหญ่ทเี่ กีย่ วกับการค้าข้ามภูมภิ าคมักจะเน้นไป ที่แง่มุมเศรษฐกิจเป็นหลัก มิใช่แง่มุมวัฒนธรรมการผลิต หัตถกรรม ดังนัน้ ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปแบบชีวติ ประจ�ำ วันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และความเกี่ยวข้องกับการ ปฏิสัมพันธ์ข้ามภูมิภาคและพัฒนาการในท้องถิ่นจึงไม่ สมบูรณ์ ท�ำให้แง่มมุ ทีเ่ กีย่ วกับความส�ำคัญและนวัตกรรม ของผู้คนธรรมดาซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ เกิดขึน้ ในราว ค.ศ.๑๐๐-๑๕๐๐ (พ.ศ.๖๐๐-๒๑๐๐) ยังไม่ ได้ถูกใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ในการท�ำความเข้าใจว่ารัฐ ชายฝัง่ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคต้นพัฒนาขึน้ มา ได้อย่างไร และด้วยปัจจัยใด พื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชมีบริบท
คุณโคลิน โธมัส เลอเจิน : ผู้น�ำเสนอ บรรยากาศในวันบรรยาย ผลการขุดค้นทางโบราณคดีที่นครศรีธรรมมราช
ทางโบราณคดีที่เหมาะสมในการศึกษาความหลากหลาย แตกต่างของเครื่องปั้นดินเผาท้องถิ่น เพื่อที่จะตรวจสอบ ถึงพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกันระหว่างรูปแบบชีวิตประจ�ำวัน ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมือง-เศรษฐกิจ และการ ปฏิสมั พันธ์ขา้ มภูมภิ าคของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ สมุทร พื้นที่ชายฝั่งนครศรีธรรมราชปัจจุบันกว้างราว ๑๕ กิโลเมตร และยาวราว ๘๕ กิโลเมตร ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ อ่าวไทย มีความสาคัญในพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ สมุทรตัง้ แต่ราว ๕ ศตวรรษ ก่อนคริสตกาลเป็นต้นมา ทิศทางของพัฒนาการและความ สัมพันธ์กับภายนอกของพื้นที่นี้เป็นตัวอย่างที่ดีต่อดินแดน อืน่ ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ สมุทรได้ประสบ เช่นกัน เช่น การค้นพบกลองมโหระทึกส�ำริดหลายใบ และ สินค้าชั้นสูงหลายชนิดในหลายแหล่งโบราณคดีบนสัน ชายหาดโบราณใกล้กบั ชายฝัง่ ซึง่ ชีใ้ ห้เห็นว่าในระหว่างราว ๕ ศตวรรษก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ ๔ พื้นที่แห่ง นี้เคยเป็นบ้านให้แก่สังคมที่ซับซ้อน และมุ่งเน้นทางการ ค้าที่เปิดออกสู่โลกภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกสู่ ทะเลจีนใต้
* ตัดตอนจากโครงการวิจัยเรื่อง Interaction, Change and Ceramics Variation along Coastal of Nakhon Si Tnammarat, Thailand, A.D 100-1500. ซึ่งน�ำเสนอเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ หอสมุดแห่งชาติ นครศรีธรรมราช โดยส�ำนัก ศิลปากรที่ ๑๒ เป็นเจ้าภาพจัด และนางสาวเสาวลักษณ์ แป้นปลื้ม นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นล่ามแปล
เดือนกันยายน ๒๕๖๐ วันอังคารที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๐
ขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือนสิบ(๑๐) ปีระกา
วันพุธที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๐
แรม ๘ ค�ำ่ เดือนสิบ(๑๐) ปีระกา
วันพุธที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๐
แรม ๑๕ ค�ำ ่ เดือนสิบ(๑๐) ปีระกา
วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐ ขึน้ ๘ ค�ำ่ เดือนสิบเอ็ด(๑๑) ปีระกา
จากนัน้ ในราวกลางถึงปลายคริสตศตวรรษที่ ๑ ได้ เกิดความหนาแน่นเป็นอย่างมากของศาสนสถานฮินดูได้ แก่ศิวลึงค์ และเทวรูปพระวิษณุสวมหมวกทรงกระบอก ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอสิชล ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นสันทรายชายหาดโบราณ แสดงให้เห็นว่าประชากรและความสัมพันธ์กับภายนอก ได้ขยายตัวขึ้นเป็นอย่างมาก ล้วนเป็นพื้นที่ซึ่งพัฒนา ขึ้นเป็นรัฐรุ่นต้นที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย มาพัฒนา ให้เป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคพื้นสมุทร ความหนาแน่นของศาสนสถานฮินดูใน ตอนเหนือของพืน้ ทีน่ ี้ บ่งบอกว่า “อาณาจักรตามพรลิงค์” อาจจะตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณนี้ ชื่ อ อาณาจั ก รนี้ ไ ด้ ถู ก กล่ า วถึ ง ในจารึกและเอกสารจีนตัง้ แต่ ในช่วงปลายคริสตศตวรรษ แรกจนถึงต้นคริสตศตวรรษที่ ๒ และได้รบั การสันนิษฐาน จากนักประวัตศิ าสตร์และนักโบราณว่าน่าจะอยูใ่ นบริเวณ ตัวเมืองนครศรีธรรมราชในปัจจุบนั ครั้นในระหว่างคริสตศักราชที่ ๙๐๐ ถึง ๑๓๐๐ พื้นที่นครศรีธรรมราชมีการค้นพบเครื่องถ้วยจีนจ�ำนวน มาก ได้พบศิลปวัตถุในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเมือง พระเวียงที่มีคูน�้ำคันดิน สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าอาณาจักร ตามพรลิงค์ได้คลีค่ ลายเป็น “อาณาจักรนครศรีธรรมราช” และภู มิ ภ าคแห่ ง นี้ ไ ด้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการค้ า ของเอเชี ย มากขึ้น มีพัฒนาการทางสังคม-การเมืองอย่างต่อเนื่อง เอกสารประวัติศาสตร์ในช่วงคริสตศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ ได้เริ่มกล่าวถึงตามพรลิงค์ที่ได้กลายมาเป็นอาณาจักร นครศรีธรรมราช ซึง่ เป็นชือ่ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับพระเจ้า อโศกมหาราช ผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา โดยกล่าวถึง อาณาจักรแห่งนี้ว่าเฟื่องฟูเป็นอย่างมากในทางศาสนา และการทหาร แม้ความเฟือ่ งฟูนจี้ ะมีอายุไม่ยนื นานก็ตาม ต่อมาในราวคริสตศวรรษที่ 15 พลวัตของเมืองท่าต่าง ๆ ของคาบสมุทรสยามได้บ่ายคล้อยลง เนื่องจากอิทธิพล ของอาณาจักรอยุธยาทีเ่ ติบโตขึน้ ในลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยา อ่านต่อฉบับหน้า
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
<< ต่อจากหน้า ๑
และงานกาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ข้าราชการและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าร่วมรับทราบและ แสดงความคิดเห็น งานเทศกาลเดือนสิบและงานกาชาด จังหวัดนครศรีธรรมราชปีนี้ก�ำหนดจัดงานระหว่างวันที่ ๑๔-๒๓ กันยายน ๒๕๖๐ สถานทีจ่ ดั ประกอบด้วย ณ สวน สมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) สนามหน้าเมือง และสนามหน้าศาลากลางจังหวัด นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผูว้ า่ ราชการจังหวัด เปิด เผยว่างานเทศกาลเดือนสิบและกาชาดถือเป็นงานประเพณี ที่เป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสืบสานมานานของ ชาวนคร ซึ่งเริ่มจัดงานครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ณ สนามหน้าเมือง แต่ปัจจุบันได้ย้ายไปจัดงานที่สวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ๘๔ ทุง่ ท่าลาด เนือ่ งจากความเจริญและ ตะลุงเยาวชน การประกวดวรรณกรรมไทย การขยายตัวของเมือง ปีนี้นับเป็นปีที่ ๙๔ ของการจัด และพิธแี ห่หมฺรบั และประกวดหมฺรบั ชิงหมฺรบั ทองค�ำ งาน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมและสืบสานเอกลักษณ์วัฒนธรรม พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ประเพณีจงั หวัดนครฯ เพือ่ ส่งเสริมภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เพือ่ ราชกุมารี ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๐ เวลาประมาณ ส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อเสริมสร้างความกตัญญูกตเวที ต่อบรรพชนที่ล่วงลับและความรักสามัคคีใน หมู่คณะ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมกาชาดและหารายได้มาใช้จ่ายใน กิจกรรมสาธารณกุศลต่างๆ และเพื่อสนับสนุนให้วัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ สูม่ รดกโลก ปี ๒๕๖๐ จังหวัดตั้งใจจัดงานให้ดีและยิ่งใหญ่กว่า ปีที่ผ่านมาโดยแบ่งพื้นที่จัดงานออกเป็น ๓ จุดหลักดัง กล่าวแล้ว พิธีเปิดงานจะยิ่งใหญ่น่าชม และการแสดง ของดารานักร้องที่มีชื่อเสียงของประเทศ การแสดงของ นักเรียนนักศึกษากว่า ๙๐ ชุด และมีการประกวดนางสาว นครศรีธรรมราช มีการออกร้านกาชาดและการออกรางวัล สลากกาชาด วิถีชีวิตย้อนยุค (ลานขนมพื้นบ้านอาหาร พื้นเมือง) มหกรรมศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านและภูมิปัญญา ท้องถิน่ (OTOP นครศรีฯ ๔.๐) วิถชี วี ติ เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมด้านพลังงานและพลังงานทดแทน เวทีชุมชน เทศบาลนครนครศรีธรรมราช บริเวณสนามหน้าเมือง นครศรีธรรมราชมีการแข่งขันเพลงร้องเรือเด็ก (เพลงกล่อม เด็ก) ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ การประชันหนังตะลุงชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดแข่งขันเพลงบอก มโนราห์ กลอนสด หนัง
๑๗.๐๐ น. โดยนางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นประธานใน พิธีปล่อยขบวนแห่หมฺรับ จากหน้าศาลาประดู่หกไปยังวัด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เพื่ อ ให้ ป ระชาชนและนั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ช มริ้ ว ขบวนหมฺ รั บ อย่ า งสบายเพราะเป็ น ช่วงเวลาเย็นพร้อมจัดแสดงไลท์อัพตลอดเส้นทางถนน ราชด�ำเนิน ส่ ว นบริ เ วณสนามหน้ า ศาลากลางจั ง หวั ด มี ง าน จัดการประกวดหุ่นเปรต การสาธิตหุ่นเปรตและจัดขบวน แห่ หุ ่ น เปรต และกิ จ กรรมลานตะเกี ย งเคี ย งดิ น ทั้ ง ยั ง จัดพิธีบวงสรวงพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และพระราชานุสาวรียพ์ ระเจ้า ศรีธรรมาโศกราช การแข่งขันกีฬาสามล้อพ่วงท้าย เซปัค ตะกร้อ และตะกร้อลอดห่วง การพัฒนาทักษะและการ ประกวดผลงานด้านศิลปะนักเรียน จังหวัดนครฯ จึงขอ เชิญชวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเดินทาง มาท่องเที่ยว ร่วมท�ำบุญและกราบไหว้พระบรมธาตุเจดีย์ ในช่วงประเพณีบุญสารทเดือนสิบและงานกาชาดจังหวัด นครศรีธรรมราช นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา กล่าวเพิ่มเติมเกี่ยวกับ กิจกรรมของเหล่ากาชาดว่า ปีนี้เหล่ากาชาดจังหวัดจัด พิมพ์สลากกาชาดการกุศลเพือ่ หารายได้ไปใช้จา่ ยในกิจการ สาธารณกุศล และกิจการต่างๆ ของเหล่ากาชาดจังหวัด และสภากาชาดไทยขึ้ น จ� ำ หน่ า ยฉบั บ ละ ๑๐๐ บาท ชิงรางวัลมากมายมีรางวัลพิเศษ ๑ รางวัล คือ รถเก๋ง โตโยต้า (YARIS) รางวัลที่ ๑ มี ๑ รางวัล คือรถกระบะ โตโยต้า (REVO) ตอนครึง่ รางวัลที่ ๒ มี ๕ รางวัล คือ รถ จักรยานยนต์ รางวัลที่ ๓ มี ๕ รางวัล คือ สร้อยคอทองค�ำ หนัก ๑ บาท รางวัลที่ ๔ มี ๕ รางวัล คือโทรทัศน์สจี อแบน ขนาด ๓๒ นิ้ว รางวัลที่ ๕ มี ๕ รางวัล คือ ตู้เย็นขนาด ๖.๔ คิว และรางวัลเลขท้าย ๓ ตัว หมุน ๑ ครั้ง มี ๕๐ รางวัล คือ หม้อหุงข้าวอุน่ ทิพย์ขนาด ๑.๘ ลิตร รวมทัง้ สิน้ ๗๒ รางวัล ซึ่งจะออกรางวัลกลางคืนวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๐ ณ เวทีกลาง สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุง่ ท่าลาด) อ.เมืองนครศรีธรรมราช สอบถามรายละเอียด เกี่ยวกับสลากการกุศลเพิ่มเติมได้ที่ส�ำนักงานเหล่ากาชาด จังหวัด โทร.๐-๗๕๓๔-๑๒๐๒ หรือที่เสมียนตราจังหวัด นครศรีธรรมราช ศาลากลางจังหวัด ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด กล่ า วขอเชิ ญ ชวนลู ก หลาน ชาวนครที่ไปท�ำงานอยู่ทุกจังหวัดทั่วประเทศได้กลับไป เยี่ยมบ้านเกิด ร่วมท�ำบุญกับครอบครัว ญาติพี่น้องและ พรรคพวกเพื่อนฝูงเพื่ออุทิศให้กับบรรพชนและผู้ล่วงลับที่ รอ รับส่วนบุญกุศลจากลูกหลาน เพื่อแสดงออกถึงความ กตัญญูกตเวทิตาและความรักความสามัคคี
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๙
รายงาน การด� ำ เนิ น งานกระทรวงวั ฒ นธรรม ณ ห้ อ งประชุ ม โรงแรมทวินโลตัสนครศรีธรรมราช มีผู้บริหารหน่วยงาน ของกระทรวงวัฒนธรรม ในเขตตรวจราชการที่ ๖ ผูแ้ ทน ของสมาคม ชมรม ศิลปินพื้นบ้าน ประมาณ ๑๐๐ คน เข้ารับมอบนโยบาย นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ กล่าวว่า กระทรวงวัฒนธรรมได้รบั ความร่วมมือจากศิลปินพืน้ บ้าน และเครือข่าย ศิลปินขับเคลื่อนงานของกระทรวงท�ำให้ประชาชนเห็น ความส�ำคัญว่าวัฒนธรรม มีบทบาทสร้างความสามัคคี ปรองดองของคนในประเทศ ช่วยสร้างคน สร้างรายได้ สร้างความภาคภูมิใจ กระทรวงได้ปฏิบัติตามนโยบาย ของนายกรั ฐ มนตรี โดยจั ด ส� ำ รวจ จ� ำ แนกประเภท ศิลปินสาขาต่างๆ เพื่อดูแล ส่งเสริม ช่วยเหลือ พบว่า ศิลปินพืน้ บ้านในท้องถิน่ คณะลิเก หมอล�ำ ล�ำตัด ความ นิยมลดลงจนน่าเป็นห่วง ปัจจุบันเวทีแสดงมีน้อยลง เพราะประชาชนหาความบันเทิงจากช่องทางอื่นๆ มาก ขึ้น ศิลปินต้องไปหางานอื่นท�ำเป็นรายได้เสริมการฝึก
ซ้อมจึงไม่ตอ่ เนือ่ ง ขณะนีก้ ระทรวงจะเริม่ ช่วยเหลือคณะลิเกก่อนศิลปิน แขนงอื่ น ๆ โดยให้ พั ฒ นาการแสดงให้ เ ข้ า กั บ ยุ ค สมั ย และหาตลาดให้จดั ท�ำนามสงเคราะห์ และเว็บไซต์รวบรวม ศิ ล ปิ น พื้ น บ้ า นทุ ก สาขา แต่ ล ะสาขาต้ อ งรวมตั ว กั น จั ด ตั้งสมาคม โดยรัฐจะให้การช่วยเหลือ ขอความร่วมมือ ผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เวลา จัดงานให้ว่าจ้างศิลปินพื้นบ้านไปแสดง กระทรวงก�ำลัง
<< ต่อจากหน้า ๔
ทุกท้องถิ่น วัดทุกวัดในเมืองนครจะไม่มีวัดไหนไม่มีการ ท�ำบุญสารทเดือนสิบกันเลย 'งานเดือนสิบ' เป็นงานที่เกิดขึ้นภายหลัง จนคนรุ่น หลังๆ จะเอาไปรวมกับงาน 'บุญสารทเดือนสิบ' ของชาว บ้านเขา งานเดือนสิบเพิง่ ริเริม่ ขึน้ เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๖ พระยา รัษฎานุประดิษฐ์' เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด กับ 'พระยา ภัทรนาวิกจ�ำรูญ' ผูพ้ พิ ากษาหัวหน้าศาลสมัยนัน้ ได้รเิ ริม่ จัดขึ้นครั้งแรก ด้วยเห็นว่าปีก่อน '๒๔๖๕' ทางวัดได้จัด งานวันวิสาขบูชาได้เงินเข้าวัดมากมาย จึงคิดหาช่องทาง หาเงินมาสร้างสโมสรข้าราชการ ชือ่ 'ศรีธรรมราชสโมสร' ปัจจุบันคืออาคาร 'ที่ท�ำการ ททท.' นครศรีธรรมราช จัดติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา ๑๐ ปี สร้างสโมสรเสร็จ เงินเหลือใช้อยูห่ ลายปี ปี ๒๔๗๗ หลวงสรรพนิตภิ ทั ธ์ และ ส.ส.มงคล รัตนวิจิตร ขอมาจัดเองเป็นตัวแทนภาคส่วนของประชาชน
เพือ่ น�ำเงินมาสร้าง "สาธารณประโยชน์เพือ่ ส่วนรวม" แทน การหาเงินเข้าเฉพาะกลุม่ ข้าราชการเพียงกลุม่ เดียว จนเกิดการขัดแย้งอย่างรุนแรงจนปีแรกงานล้มเหลว แต่ปีต่อมาชาวเมืองร่วมมือกันมากขึ้น งานก็ดีขึ้น เพิ่มวัน จัดงานเป็น ๓ วัน เป็น ๕ วัน เป็น ๗ วัน และเป็น ๑๐ วัน จนถึงปัจจุบนั ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ 'นายสันต์ เอกมหาชัย' ผูว้ า่ ราชการ จังหวัด ดึงงานมาให้ 'จังหวัดเป็นผูจ้ ดั งาน' โดยได้ประกาศ ว่าจะน�ำรายได้ของการจัดงานมาสร้าง "สาธารณประโยชน์ อย่างชัดเจน" (แสดงว่าก่อนหน้านีค้ งไม่ชดั เจน) ต่อมาได้นำ� เงิ น รายได้ ง านเดื อ นสิ บ มาสร้ า งรั้ ว สนามหน้ า เมื อ ง รื้ อ ซุ ้ ม ประตู วั ด แบบโบราณสร้ า งใหม่ ใ ห้ เ หมื อ นกั น หมด ทัง้ เมือง ตัง้ มูลนิธเิ พือ่ การศึกษา (ปัจจุบนั ยังมีอยูห่ รือเปล่า ไม่ทราบ) ในงานเร่ิมมีบริษัทห้างร้านมาออกร้านมากมาย เงินทองไหลมาเทมาจนสร้างโรงเรียนองค์การบริหารส่วน
ขอบคุณ ภาพอดีตจากหนังสือประเพณีฯคุณดิเรก พรตนะเสน สารนครศรีธรรมราช, http://www.gotonakhon.com
จัดท�ำโครงการเสนอนรัฐบาล ผลักดันให้ศิลปินพื้นบ้าน ได้ไปแสดงในงานเทศกาลต่างๆ เพือ่ ให้มรี ายได้ และขอให้ ศิลปินพืน้ บ้านแต่ละสาขารวมตัวจัดตัง้ สมาคม กระทรวง วัฒนธรรมจะส่งเสริมสนับสนุนเรื่องการตลาดไปแสดง ในประเทศและต่างประเทศ ซึง่ ล่าสุดมีคณะมโนราห์ได้ไป ร่วมแสดงทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ มาแล้ว เกี่ยวกับการจัดท�ำโครงการถนนสายวัฒนธรรม ขณะนี้เกิดถนนสายวัฒนธรรม ๑๔๑ แห่งทั่วประเทศ ซึง่ เปิดไปแล้ว ๒๘ สาย ต่อมาหลังเป็นประธานพิธเี ปิดงานมหกรรมมโนราห์ เยาวชนปักษ์ใต้ ถนนสายวัฒนธรรมตลาดริมน�้ำเมือง ลิกอร์ ณ เวทีกลางสนามหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ กล่าวเพิม่ เติม ว่ากระทรวงสนับสนุนถนนสายวัฒนธรรมโดยน�ำไปออก รายการเดินหน้าประเทศไทย เผยแพร่ให้ประชาชนและ นักท่องเที่ยวได้รับทราบ ทั้งเน้นย�้ำให้ช่วยกันดูแลถนน สายวัฒนธรรมเมืองลิกอร์ให้ประสบความส�ำเร็จมีความ ยัง่ ยืนโดยยึดองค์ประกอบ ๓ อย่าง ได้แก่ ต้องมีเรือ่ งราว ประวัติศาสตร์ของถนนสายวัฒนธรรมนั้น ต้องคงไว้ซึ่ง ประเพณีวถิ ชี วี ติ รูปแบบการแสดงดัง้ เดิมไว้ เช่น มโนราห์ หนังตะลุง และต้องมีอาหารอร่อย อาหารโบราณ จังหวัดได้ถงึ ๕ โรง ปี ๒๕๒๑ 'ศูนย์วฒ ั นธรรมวิทยาลัยครูนครฯ' จัดให้ มี ข บวนแห่ ห มฺ รั บ กั น ขึ้ น ททท.ก็ เ ริ่ ม เข้ า มามี บ ทบาท สนับสนุน ผังงานก็เริม่ เปลีย่ น ร้านค้าทัว่ ไปแยกออกจาก ร้านค้าของโรงเรียนและร้านหน่วยราชการ เวทีกลางก็ เกิดขึน้ สนุกขึน้ ปี ๒๕๒๘ 'ผูว้ า่ ฯ เอนก สิทธิประศาสน์' ตัง้ งบฯ ให้ ทุกอ�ำเภอออกร้านและส่งหมฺรับเข้าประกวด งานเลยดัง ประดับประเทศ ปี ๒๕๓๑ เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญเกิดขึ้น เมือ่ สมัย 'ผูว้ า่ ฯ นิพนธ์ บุญญภัทโร' ได้รเิ ริม่ ให้มกี ารเหมา งาน ให้เอกชนมาประมูลงาน ส่วนแบ่งเป็นเงินค่าประมูล ก�ำไรเอกชนเอาไป ตั้งแต่นั้นมากิจกรรมของ 'โรงเรียน สถานศึกษา หน่วยราชการ' ก็ถูกยกเลิกไป เหลือเพียง 'ร้านกาชาด' ที่ไม่มีผู้เหมางานคนไหนกล้าแตะ จึงพอ เหลื อ อยู ่ บ ้ า ง เวที ก ลางเริ่ ม ต้ น ประกวดนางงาม นครศรีธรรมราชขึน้ มา ปี ๒๕๓๕ ได้ยา้ ยสถานทีจ่ ดั งานจากสนามหน้าเมือง ไปที่ทุ่งท่าลาดแทน จบต�ำนานสนามหน้าเมือง (๖๙ ปี) ขบวนแห่หมฺรับก็ต้องแห่ไปทุ่งท่าลาดแทนการแห่ไปวัด เลอะเทอะกั น หลายปี ชาวบ้ า นก็ ม าจั ด งานขึ้ น ที่ วั ด พระบรมธาตุขึ้นอีกงานหนึ่ง สกปรกเลอะเทอะกันในวัด จนสือ่ มวลชนประโคมข่าวอัปยศไปทัว่ ประเทศ ปี ๒๕๔๔ 'สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว' สมัยนายก 'จักรพรรดิ์ ลีเลิศพันธ์' ได้เปลี่ยนมาจัด 'ตลาดย้อนยุค' แทน โด่งดังกันทั่วประเทศ เป็นต้นแบบการจัด 'ตลาด ย้อนยุค' ทัว่ ประเทศทันที ปั จ จุ บั น 'งานเดื อ นสิ บ ' ได้ รั บ ความสนใจจาก สือ่ มวลชน ภาคประชาชนหาเวทีทจี่ ะจัดให้เป็น 'งานบุญ สารทเดือนสิบ' ที่เป็นที่เชิดหน้าชูตาของเมืองขึ้นมาใหม่ ช่วยแยกให้ชดั เจนหน่อยครับระหว่าง 'งานเทศกาลเดือน สิบ' กับงาน 'บุญสารทเดือนสิบ' เห็นป้ายโฆษณา 'งานบุญ สารทเดือนสิบ' มีแต่รูปดาราเรียงรายวันเหมือนหนึ่งจะ มาขอแบ่งส่วนบุญรายวันเดือนสิบกับเขาด้วย
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๐
(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)
ใ
ครมานมัสการ 'พระบรมธาตุเจดีย์' คงจะ สังเกตเห็น 'เจดีย์หิน' ที่ประดิษฐ์อยู่ข้าง วิหารธรรมศาลาหรือใกล้กับวิหารหลวง มีผู้คน ไปจุดธูปเทียนกราบไหว้กันมากมายเป็นพิเศษ กว่าเจดีย์องค์อื่นๆ ปัจจุบันมีคนน�ำพระบรม ราชานุสาวรีย์ 'สมเด็จพระเจ้าตากสิน' ไปวาง ประดิษฐานอยู่ด้านหน้าด้วย เหตุเพราะมีผู้คน จ�ำนวนหนึ่งเชื่อกันว่าในเจดีย์นี้ได้บรรจุอัฐิของ 'สมเด็จพระเจ้าตากสิน' เอาไว้ เจดี ย ์ หิ น นี้ สั่ ง เข้ า มาจากประเทศจี น ใน สมัย 'เจ้าพระยานครพัฒน์' ที่มาพร้อมๆ กัน คือ ตุ๊กตาสิงห์คู่ที่อยู่หน้า 'ประตูเหมรังษี หน้า วิหารคด' ทั้งเจดีย์และสิงห์คู่สลักจากหินแกรนิต เจดีย์ ศิลาของจีนในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ นิยมสั่งเข้ามาด้วย วัตถุประสงค์อันใด ยังไม่มีใครสรุปได้อย่างชัดเจน แต่ บางเสียงบอกว่าใช้ส�ำหรับบรรจุอัฐิคนส�ำคัญของตระกูล 'ณ นคร' มีบางท่านก็สงสัยว่าจะเป็นการอ�ำพรางเสีย มากกว่า เพราะสืบเนื่องมาจาก 'วิหารสูง' ที่หลายคน เชื่อว่าเป็นที่ปลงพระศพของ 'พระเจ้าตากสิน' ร่วมกับ 'เจ้าพระยานครหนู' เพื่อให้สมพระเกียรติหลังจากปลง พระศพแล้ว อัฐิของพระเจ้าตากสินจะน�ำไปประดิษฐาน ไว้ ณ ทีใ่ ด จึงเป็นเหตุให้ผคู้ นมีความเชือ่ และเหตุผลทีจ่ ะ สนับสนุนความเชื่อเรื่องนี้ ประกอบกับอัฐิขุนนางชั้นสูง
พ
ระผู ้ มี พ ระภาคได้ ต รั ส แก่ พ ระเจ้ า ปเสนทิโกศลว่า มหาราช ! บุคคล ๔ จ�ำพวกนี้ มี ปรากฏอยูใ่ นโลก บุคคล ๔ จ�ำพวกเป็นไฉน ? บุคคล ๔ จ�ำพวกคือ :บุคคลผูม้ ดื แล้วมืดต่อไปจ�ำพวก ๑, บุ ค คลผู ้ มื ด แล้ ว กลั บ สว่ า งต่ อ ไป จ�ำพวก ๑, บุ ค คลผู ้ ส ว่ า งแล้ ว กลั บ มื ด ต่ อ ไป จ�ำพวก ๑, บุคคลผู้สว่างแล้วคงสว่างต่อไป จ�ำพวก ๑.
ในตระกูล ณ นคร ช่วงปลายอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ล้วน บรรจุในวิหารสามจอม ในชั้นหลังก็บรรจุไว้นอกวัดพระ บรมธาตุ เช่น เจ้าพระยานครพัฒน์ไว้ทวี่ ดั ท่าโพธิ์ เจ้าพระยา นครหนูอยูว่ ดั แจ้ง เจ้าพระยานครน้อยอยูท่ วี่ ดั ประดู่ ดังนั้นการบรรจุอัฐิในเจดีย์หิน จะต้องเป็นบุคคล ที่ส�ำคัญมากๆ ของบ้านเมืองเป็นแน่ ต่อมาในภายหลัง 'เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี' ได้ปลูกต้นหว้าล้อมรอบเจดีย์ไว้
หาได้โดยยาก เขาเป็นผูม้ ผี วิ พรรณทรามไม่ น่าดู เตีย้ ค่อม ขีโ้ รค ตาบอด ง่อยกระจอก มีตวั ตะแคงข้าง ไม่คอ่ ยจะมีขา้ ว น�ำ้ เครือ่ ง นุง่ ห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครือ่ ง ลูบไล้ ทีน่ อน ทีอ่ ยู่ และประทีปโคมไฟ เขา ซ�ำ้ ประพฤติทจุ ริตด้วยกาย วาจา ใจ ครั้ น เขาประพฤติ ทุ จ ริ ต ด้ ว ยกาย วาจา ใจแล้ว ครัน้ ตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินบิ าต นรก. มหาราช ! บุรษุ พึงไปจากความมืดทึบ สู่ความมืดทึบ หรือพึงไปจากความมืดมัวสู่ ความมืดมัว หรือพึงไปจากโลหิตอันมีมลทิน สูโ่ ลหิตอันมีมลทิน ฉันใด, มหาราช ! ตถาคตกล่าวว่าบุคคลนี้ มี มหาราช ! ก็อย่างไร บุคคลชื่อว่า อุปไมยฉันนัน้ . มืดแล้วคงมืดต่อไป ? มหาราช ! อย่างนี้แล บุคคลชื่อว่า มหาราช ! บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผูม้ ดื แล้วคงมืดต่อไป. เป็นผู้เกิดมาภายหลังในตระกูลอันต�่ำ คือ ในตระกูลจัณฑาล ตระกูลพราน ตระกูล มหาราช ! ก็อย่างไร บุคคลชือ่ ว่าเป็น จักสาน ตระกูลท�ำรถ หรือตระกูลเทหยาก ผูม้ ดื แล้วกลับสว่างต่อไป ? เยื่อ ซึ่งเป็นคนยากจน มีข้าวและน�้ำน้อย มหาราช ! บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็น เป็นอยูฝ่ ดื เคือง มีอาหารและเครือ่ งนุง่ ห่ม ผูเ้ กิดมาภายหลังในตระกูลอันต�ำ่ ทราม คือ
หกต้น ผมพยายามสืบค้นว่าท�ำไมต้องเป็น ต้ น หว้ า ท� ำ ไมต้ อ งหกต้ น หรื อ ว่ า 'เจดี ย ์ หกเหลี่ยม' แต่มีบางคนบอกว่าเป็นการผูก 'ปริศนา' เอาไว้ เป็นการเล่นค�ำถามตามนิสัย ของคนนคร เดิมที่นั้นผู้คนจะเรียกเจดีย์นี้ว่า 'เจดีย์เจ้าเมือง' เพราะเจ้าเมืองสั่งมา เมื่อมี ต้นหว้าหกต้นก็เรียกว่า 'เจดีย์หกหว้า' ออก เสียง 'เจดียห์ กว่า' เมือ่ น�ำค�ำพูดมารวมกัน จะ ได้ค�ำว่า 'เจดีย์หกว่าเป็นเจดีย์เจ้าเมือง' แปล ว่า 'เจดีย์นี้โกหกว่าเป็นเจดีย์ของเจ้าเมือง' คนทีค่ ดิ ผูกค�ำอย่างนีน้ า่ จะมีเจตนาแฝงค�ำเอา ไว้ แต่บางคนก็ไม่เชื่อว่าจะปลูกต้นหว้าเพื่อ สื่อให้เป็นปริศนาเพื่อบอกเล่าให้ผู้คนทราบ ความนัยบางอย่าง เรือ่ ง 'เจดียศ์ ลิ า' นีม้ คี วามเป็นมาอย่างไร ก็อย่าไปจริงจังมากนัก รอนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดีเขาค้นคว้าศึกษาหาหลักฐาน ให้เจอะเจออย่างชัดเจนเสียก่อน ตอนนี้ก็ดูเป็นงานของ เก่ า งานศิ ล ปะไปก่ อ นก็ แ ล้ ว กั น คนต่ า งชาติ ส ่ ว นมาก เขาก็ดูกันแบบนี้ ห่วงแต่บ้านเราไปเที่ยวเอาธรรมเนียม แปลกๆ เข้ามาใช้ ชอบบนบานแล้วจุดประทัดนับพัน นับหมื่นดังสนั่นเหมือนจะขับไล่สิ่งชั่วร้ายตามคติความ เชื่อของชาวจีน แต่มาท�ำในเขตพุทธาวาสจนทางวัดต้อง ออกค�ำสั่งห้าม บ้างก็เอาไก่ปูนปั้นราคาถูกๆ มาวางไว้ให้ เป็นภาระของวัดต้องคอยขนไปทิ้ง หาประโยชน์อะไรไม่ ได้ เห็นคนอืน่ ท�ำอะไรแปลกแทนทีจ่ ะว่ากล่าวตักเตือน แต่ กลับท�ำตาม เข้าวัดเข้าวาอย่างมงาย ใช้ปัญญาพิจารณา กันบ้าง
ในตระกูลจัณฑาล ตระกูลพราน ตระกูล จักสาน ตระกูลท�ำรถ หรือตระกูลเทหยาก เยื่อ ซึ่งเป็นคนยากจน มีข้าวและน�้ำน้อย เป็นอยู่ฝืดเคือง มีอาหารและเครื่องนุ่งห่ม หาได้โดยยาก เขาเป็นผู้มีผิวพรรณทราม ไม่ น ่ า ดู เตี้ ย ค่ อ ม ขี้ โ รค ตาบอด ง่ อ ย กระจอก มี ตั ว ตะแคงข้ า ง ไม่ ค ่ อ ยจะมี ข้าว น�ำ้ เครือ่ งนุง่ ห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่ และ ประทีปโคมไฟ แม้กระนัน้ เขาก็ประพฤติสจุ ริตด้วย กาย วาจา ใจ ครั้นเขา ประพฤติสุจริต ด้วยกาย วาจา ใจแล้ว ครัน้ ตายไป ย่อม เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์. มหาราช ! บุรุษพึงขึ้นจากแผ่นดิน สู่บัลลังก์ หรือพึงขึ้นจากบัลลังก์สู่หลังม้า หรือพึงขึ้นจากหลังม้าสู่คอช้าง หรือพึงขึ้น จากคอช้างสูป่ ราสาท แม้ฉนั ใด, มหาราช ! ตถาคตย่อมกล่าวว่า บุคคล นีม้ อี ปุ ไมยฉันนัน้ . มหาราช ! อย่างนี้แล บุคคลชื่อว่า เป็นผูม้ ดื แล้วกลับสว่างต่อไป.
มหาราช ! ก็อย่างไร บุคคลชือ่ ว่าเป็น ผูส้ ว่างแล้วกลับมืดต่อไป ? มหาราช ! บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็น ผู้เกิดมาภายหลังในตระกูลสูง คือในสกุล กษัตริย์มหาศาล สกุลพราหมณ์มหาศาล หรือสกุลคหบดีมหาศาล อันมัง่ คัง่ มีทรัพย์ มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินพอตัว มี อุ ป กรณ์ แ ห่ ง ทรั พ ย์ พ อตั ว มี ท รั พ ย์ แ ละ ข้าวเปลือกพอตัว เขามีรูปงาม น่าดู น่า เลือ่ มใส ประกอบด้วยความเกลีย้ งเกลาแห่ง ผิวพรรณอย่างยิ่ง ร�่ำรวยด้วยข้าว ด้วยน�้ำ เครือ่ งนุง่ ห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๑
นพ.บัญชา พงษ์พานิช
นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒
พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรง "ปรุ ง " ภาพแผนที่ แ ผนทางใน การเดินทางของพระมหาชนกไว้ ๔ แผ่น ระบุว่าเป็น ของ Manimekhala Meteorological Service หรือ สถานีพยากรณ์อากาศมณีเมขลา ตั้งอยู่ที่ เขาพระสุเมรุ นครวิเทหะ ดังนี้ ๑) Mani Mekhala ๒๐ April พยากรณ์ส�ำหรับ ออกเดิ น ทางจากเมื อ งจั ม ปา ในวั น ที่ ๒๐ เมษายน ไปสุวรรณภูมโิ ดยสวัสดิภาพ ๒) Mani Mekhala ๒๔ April พยากรณ์วา่ จะบรรลุ ที่หมายอันเลิศอย่างไม่คาดฝัน แม้จะล่าช้าไปบ้าง และ ต้องฝ่าอันตรายนานัปการ ๓) Mani Mekhala ๒ May Tropical Cyclone (ไม่มภี าษาไทย) ๔) Mani Mekhala ๙ May วันนีว้ นั อุโบสถ ต่อด้วยเนือ้ เรือ่ งว่า... "พวกพาณิชประมาณเจ็ดร้อยคนขึ้นสู่เรือ เรือแล่น ๑ไปได้เจ็ดร้อยโยชน์ ใช้เวลาเจ็ดวัน เรือแล่นด้วยก� ำลัง คลื่นที่ร้ายกาจ ไม่อาจทรงตัวอยู่ได้ แผ่นกระดานก็แตก ด้วยก�ำลังคลื่น น�้ำเข้ามาแต่ที่นั้น ๆ เรือก็จมลงในกลาง มหาสมุทร. มหาชนกลัวมรณภัย ร้องไห้คร�ำ่ ครวญ กราบ ไหว้เทวดาทั้งหลาย. แต่พระมหาสัตว์ไม่ทรงกันแสง ไม่ ทรงคร�่ำครวญ ไม่ไหว้เทวดาทั้งหลาย, พระองค์ทรง ทราบว่าเรือจะจม จึงคลุกน�้ำตาลกรวดกับเนย เสวยจน เต็มท้อง แล้วชุบผ้าเนื้อเกลี้ยงสองผืนด้วยน�้ำมันจนชุ่ม
ทรงนุง่ ให้มนั่ . ทรงยืนเกาะเสากระโดง ขึน้ ยอดเสากระโดง เวลาเรือจม. มหาชนเป็นภักษาแห่งปลาและเต่า น�้ำโดย รอบมี สี เ หมื อ นโลหิ ต . พระมหาสั ต ว์ เ สด็ จ ไปทรงยื น ที่ ยอดเสากระโดง. ทรงก�ำหนดทิศว่า เมืองมิถิลาอยู่ทิศนี้ ก็กระโดดจากยอดเสากระโดง ล่วงพ้นฝูงปลาและเต่า ไปตกในที่สุด อุสภะหนึ่ง (๗๐ เมตร) เพราะพระองค์มี พระก�ำลังมาก." แม้การเดินทางของพระมหาชนกจะไม่ถึงสุวรรณภูมิ
ณ ต�ำแหน่งแห่ง กรุงเทพมหานคร และ นครศรีธรรมราช โดยในอินเดีย มี "เขาไกรลาส เขาพระสุเมรุ (ตรงกับต�ำแหน่งยอดเขาเอเวอร์เรสต์) กรุงมิถลิ า (ตรงกับ กรุงกาฐมาณฑุ) กรุงอโยธยา นครพารานสี นครกาลจาม ปากะ และ เกาะลังกา" ขนาดนี้แล้ว ผมจะต้องไปค้นคว้าสืบเสาะหรือหา “สุวรรณภูม”ิ ทีไ่ หนอีกหรือหนอ ? แต่ที่ยิ่งกว่านั้น การได้พบ “ธรรมราชานคร” ที่
๒ เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่ และประทีป โคมไฟ แต่ เ ขากลั บ ประพฤติ ทุ จ ริ ต ด้ ว ย กาย วาจา ใจ ครั้นเขาประพฤติทุจริต ด้ ว ยกาย วาจา ใจแล้ ว ครั้ น ตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินบิ าต นรก. มหาราช ! บุรุษลงจากปราสาทสู่ คอช้าง หรือลงจากคอช้างสู่หลังม้า หรือ ลงจากหลั ง ม้ า สู ่ บั ล ลั ง ก์ หรื อ ลงจาก บัลลังก์สู่พื้นดิน หรือจากพื้นดินเข้าไป สูท่ มี่ ดื แม้ฉนั ใด, มหาราช ! ตถาคตกล่าวว่า บุคคลนี้ มีอปุ ไมยฉันนัน้ . มหาราช ! อย่ า งนี้ แ ล บุ ค คลชื่ อ ว่าเป็นผูส้ ว่างแล้วกลับมืดต่อไป.
ร�่ ำ รวยด้ ว ยข้ า ว ด้ ว ยน�้ ำ เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครื่อง ลูบไล้ ทีน่ อน ทีอ่ ยู่ และประทีปโคมไฟ เขาย่อมประพฤติสุจริตด้วยกาย วาจา ใจ ครั้นเขาประพฤติ สุจริตด้วย กาย วาจา ใจแล้ว ครัน้ ตายไป ย่อมเข้า ถึงสุคติโลกสวรรค์.
มหาราช ! บุรษุ พึงก้าวไปด้วยดีจาก บัลลังก์สบู่ ลั ลังก์ หรื อ พึ ง ก้ า วไปด้ ว ยดี จ ากหลั ง ม้ า สูห่ ลังม้า หรื อ พึ ง ก้ า วไปด้ ว ยดี จ ากคอช้ า ง สูค่ อช้าง หรือพึงก้าวไปด้วยดีจากปราสาท สูป่ ราสาท แม้ฉนั ใด, มหาราช ! ก็ อ ย่ า งไร บุ ค คลชื่ อ มหาราช ! ตถาคตย่ อ มกล่ า วว่ า ว่าเป็นผูส้ ว่างแล้วคงสว่างต่อไป ? บุคคลนีม้ ี อุปไมยฉันนัน้ . มหาราช ! บุคคลบางคนในโลกนี้ มหาราช ! อย่างนี้แล บุคคลชื่อว่า เป็ น ผู ้ เ กิ ด มาภายหลั ง ในตระกู ล สู ง คื อ เป็นผูส้ ว่างแล้วคงสว่างต่อไป. ในสกุลกษัตริย์มหาศาล สกุลพราหมณ์ มหาศาล หรือสกุลคหบดีมหาศาล อัน มหาราช ! บุคคล ๔ จ�ำพวกนีแ้ ล มี มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทอง ปรากฏอยูใ่ นโลก ดังนี.้ และเงิ น พอตั ว มี อุ ป กรณ์ แ ห่ ง ทรั พ ย์ พอตัว มีทรัพย์และข้าวเปลือกพอตัว เขา บาลี สคา. สํ ๑๕/๑๓๖/๓๙๓. มีรูปงาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้วย ความเกลี้ยงเกลาแห่งผิวพรรณอย่างยิ่ง
ด้วยเหตุแห่งเรืออับปางและ ทรงว่ายน�้ำกลับมิถิลา แต่ ในแผนที่ ป ระกอบทั้ ง ๔ ที่ พ ระเจ้ า อยู ่ หั ว ปรุ ง ไว้ นั้ น ทรงก� ำ หนด "สุ ว รรณภู มิ " ไว้บนผืนแผ่นดินไทยทุกวัน นี้ มี "ศรีวิชัย" อยู่ที่ปลาย แหลมทองในมาเลเซี ย ทุ ก วันนี้ นอกจาก "ย่างกุง้ ทะเล อั น ดามั น และ หมู ่ เ กาะ นิ โ คบาร์ กั บ เกาะภู เ ก็ ต " ทรงแสดงถึง ๒ เมืองไว้ดว้ ย คื อ "Devamahanagara กับ Dharmarajanagara"
พระองค์ผทู้ รงมีปฐมบรมราชโอการว่า “เราจะครองแผ่น ดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ทรงปักหมุดหมายไว้บนสุวรรณภูมิเคียงคู่กับเทวามหา นครนั้น ผมถือเป็นรหัสวิเศษที่พระองค์ทรงฝากไว้กับ พวกเราทีเ่ มืองนครครับ. ขอน้อมรับใส่เกล้า พร้อมกับถวายบังคมรับพรที่ ทรงพระราชทานว่า "ขอจงมีความเพียรทีบ่ ริสทุ ธิ์ ปัญญา ที่เฉียบแหลม ก�ำลังกายที่สมบูรณ์" เพื่อขยับขับเคลื่อน ทั้งประเทศไทยและนครศรีธรรมราชให้เป็นได้ตามมงคล นาม ณ แดนทองของไทย ทีพ่ ระองค์ทรงวางรหัสไว้ เท่า ทีจ่ ะท�ำได้ ด้วยเกล้า ฯ ข้าพระพุทธเจ้า บัญชา พงษ์พานิช ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๐
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๒
เหตุการณ์ทคี่ าดไม่ถงึ ป้ า สุ ด สะอาดบอกว่ า “ชั้ น แปรงฟั น ทุ ก ครั้ ง หลั ง อาหารเลยนะ ไม่ว่าจะกินข้าว กินทุเรียน ชั้นต้องแปรง ฟันอย่างสะอาด” “แต่ท�ำไมลุงด�ำชอบบ่นว่าปากชั้น ยังมีกลิ่น” “หมอคิดว่ายังไงบ้างคะ” หมอตรวจในช่อง ปากของป้าสุดสะอาดก็พบว่าผิวฟันสะอาด แต่คอฟันสึก แสดงว่าป้าต้องแปรงฟันสะอาดแต่รุนแรงไปสักหน่อย ที่ส�ำคัญป้าสุดสะอาดมีฟันกรามห่างกันหลายๆ ซี่ ซึ่งก็ พบได้บ่อยๆ ในผู้สูงวัย ท�ำให้ตรวจพบเศษอาหารเป็น ชิ้นเล็กๆ ติดแทรกอยู่ระหว่างซี่ฟันซึ่งห่างกัน นั่นหละ
อุปกรณ์ทำ� ความสะอาดฟัน นอกเหนื อ จากการแปรงฟั น ด้ ว ยแปรงสี ฟ ั น ที่ เหมาะสม เช่น แปรงขนนุม่ พอประมาณ ด้ามตรง ขนาด เหมาะกับช่องปาก (เด็กหรือผูใ้ หญ่) ยาสีฟนั ก็ตอ้ งเลือกยา ที่มีฟลูออร์ไรด์ผสม ผงยาสีฟันไม่หยาบจนเกินไป แปรง ฟันให้ถูกวิธี ฟันบนหมุนขยับมือแล้วปัดลง ส่วนฟันล่าง ต้องปัดขึ้น ไม่แปรงฟันขึ้นๆ ลงๆ จนขอบเหงือกร่นเป็น แถบๆ ถ้าแปรงขวางแถมแปรงรุนแรงแบบป้าสุดสะอาด คอฟันก็จะสึก จนสุดท้ายฟันอาจหักกร่อนหรือถูกถอน ออกไป
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จับไหมขัดฟัน แล้วค่อยๆ เลื่อน เส้นไหมลงระหว่างซอกฟันเบาๆ อย่าออกแรงกดลงบน เหงือก จะท�ำให้เหงือกบาดเจ็บ โค้งไหมโอบรอบฟัน แต่ละซี่ เลือ่ นไหมขัดฟันขึน้ ลงเบาๆ ระหว่างซอกฟันและ
โค้งไหมโอบรอบฟันแต่ละซี่ จะป้องกันการบาดเจ็บต่อเหงือก คอฟันสึก จากการแปรงฟัน ไม่ถูกวิธี
ต้ น ตอส� ำ คั ญ ของกลิ่ น ปากที่ ป ้ า สุ ด สะอาดคาดไม่ ถึ ง เศษอาหารเจอกับเชือ้ โรคประจ�ำถิน่ ในช่องปาก ผลิตก๊าซ ชนิดต่างๆ ตามชนิดของอาหาร ลุงด� ำถึงยังได้กลิ่นตุๆ จากปากของป้าสุดสะอาดทุกวัน ไหมขัดฟันเท่านัน้ หละที่ จะช่วยน�ำเศษอาหารออกมาจากซอกระหว่างซีฟ่ นั ได้ เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นกับตัวหมอฟันเอง สิบกว่าปีที่ ผ่านมาขึน้ ไปประชุมทีก่ รุงเทพฯ แล้วก็เกิดอาการปวดฟัน กรามซี่ล่างอย่างไม่น่าเชื่อ “เอ๋...ฟันเราก็ไม่ได้ผุนิ สงสัย เหงือกต้องอักเสบแน่นอนเลย” จินตนาการตามประสา ผู้เชี่ยวชาญในช่องปาก จึงตั้งใจใช้ไหมขัดฟันท� ำความ สะอาดระหว่างซอกฟันที่ปวดนั้น เพราะเป็นวิธีรักษา โรคเหงือกที่ส�ำคัญ ก่อนหน้านั้นวันไหนขยันก็ใช้ไหม ขัดฟัน วันไหนขี้เกียจก็ไม่ได้ใช้ แต่แปลกแฮะอาการปวด ก็ยังไม่ทุเลา กลับมาถึงที่ท�ำงานรีบให้รุ่นพี่หมอฟันช่วย ตรวจในช่องปาก หลังจากได้ผลเอกซเรย์ฟัน ตกกะใจ อย่างแรง เมื่อพบว่าฟันซี่ที่ปวดนั้นมีการผุด้านที่ติดกับ ซอกฟัน ผุลึกเกือบถึงโพรงประสาทฟันกันเลยทีเดียว หากช้าอีกเสีย้ ววินาที ฟันซีน่ นั้ อาจถูกถอนหรือรักษาโพรง
ขอบเหงือก พยายามดึงไหมให้ตึงแนบกับผิวฟันตลอด เวลา เพือ่ หลีกเลีย่ งการบาดเจ็บต่อเหงือก ในแต่ละซอก ต้องท� ำความสะอาดซี่ฟันด้านหน้าและซี่หลังคู่กันไป เมื่อท�ำความสะอาดเสร็จในแต่ละซอก ให้เลื่อนไหมจาก นิว้ กลางหนึง่ ไปยังอีกนิว้ กลางหนึง่ เพือ่ ทีจ่ ะได้เส้นไหมที่ สะอาดส�ำหรับขัดซอกฟันถัดไป
ใช้ไหมขัดฟันตอนไหนดี ถ้าให้สมบูรณ์แบบก็ควรใช้ไหมขัดฟันหลังอาหาร ทุ ก มื้ อ เพราะซอกฟั น ในคนบางคนก็ พ ร้ อ มจะเป็ น ที่ เก็บเศษอาหารได้เป็นอย่างดี ถ้าไม่พร้อมจริงๆ ก็ควร จะใช้ไหมข้ดฟันก่อนการแปรงฟันมื้อเย็นหรือก่อนนอน เพราะกลางคืนจะเป็นช่วงเวลาที่เศษอาหารอยู่สัมผัสกับ อุปกรณ์เสริมในการท�ำความสะอาดซอกฟันมีหลาย ผิวฟันนานทีส่ ดุ แบบ การเลือกใช้ให้เหมาะสมต้องขึ้นกับสภาพเหงือก และฟันของแต่ละคน อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ ไหมขัดฟัน เลือกแปรงซอกฟันทดแทนไหมขัดฟันเมือ่ ใด แปรงซอกฟัน เราจะเลือกใช้แปรงซอกฟัน ในกรณีที่ซอกฟันมี ไหมขัดฟัน (Dental floss) เป็นอุปกรณ์ท�ำความสะอาดซอกฟันที่จ�ำเป็นส�ำหรับ ทุกคน การใช้ไหมขัดฟันช่วยลดอาการเหงือกอักเสบ ลด กลิ่นปาก และท�ำให้ทราบว่ามีฟันผุบริเวณซอกฟัน หรือ วัสดุอดุ ฟันบริเวณนัน้ ช�ำรุดต้องแก้ไขหรือไม่ ไหมขัดฟันมีลกั ษณะคล้ายเส้นด้าย แต่ไม่เหมือนเส้น ด้ายเย็บผ้าอย่างแน่นอน เวลาใช้งานไหมขัดฟันจะถูกแผ่ ออกมาเป็นแถบ ท�ำความสะอาดฟันได้ต่างจากเส้นด้าย ธรรมดา ไหมขัดฟันมีชนิดเคลือบแวกซ์และชนิดไม่เคลือบ ชนิดเคลือบแวกซ์ใช้งานได้สะดวกกว่า เพราะการสอดเข้า ระหว่างซอกฟันท�ำได้ลื่นง่าย แต่การรูดเศษอาหารหรือ คราบอาหารออกจากผิวฟันอาจมีประสิทธิภาพสู้ชนิดไม่ เคลือบแวกซ์ไม่ได้ แนะน�ำประชาชนทั่วไปให้เลือกชนิด แวกซ์ดกี ว่าค่ะ
เลือกใช้แปรงซอกฟันในกรณีที่ซอกฟันมีขนาดกว้าง
ขนาดกว้าง อาจเกิดจากโรคร�ำมะนาด หรือใช้ไม้จิ้มฟัน เป็นเวลานานๆ แปรงซอกฟันสามารถสอดเข้าไปท�ำความ สะอาดผิวฟันได้ทั้งสองด้าน ด้านหน้าและหลัง ค่อยๆ สอดแปรงเบาๆ แล้วดึงเข้าออก ใช้หลังการแปรงฟัน จะ ช่วยให้ซอกฟันสะอาดสมใจ อย่างไรก็ดีควรขอค�ำแนะน�ำ จากทันตแพทย์กอ่ นการใช้แปรงซอกฟัน ลองเสียสตางค์ซื้อไหมขัดฟันมาใช้ ท่านจะไม่ผิด หวังเมื่อพบว่า หลังการแปรงฟันที่ท่านคิดว่าสะอาดที่สุด แล้ว ท่านยังพบเศษอาหารชิ้นเล็กชิ้นน้อยระหว่างซอก ฟันผุด้านซอกฟันลึกเกือบถึงโพรงประสาทฟัน ฟัน คืนนัน้ ท่านจะนอนหลับฝันดี และอยากใช้ไหมขัดฟัน ประสาทฟันเป็นแน่แท้ อย่างไรก็ตามฟันซีด่ งั กล่าวต้องรับ วิธใี ช้ไหมขัดฟัน ให้เป็นประจ�ำต่อๆ ไป ความคุ้มค่าคือการลดความเสี่ยง ดึงไหมขัดฟันยาวประมาณหนึ่งฟุต พันรอบนิ้วกลาง ในการสูญเสียฟันจากโรคเหงือก หรือฟันผุลกึ บริเวณซอก การรักษาทีย่ งุ่ ยากตามมา คือการครอบฟันเมือ่ เวลาผ่าน ทัง้ ๒ ข้าง โดยให้เหลือเส้นไหมทีใ่ ช้ขดั ฟันประมาณ ๒ นิว้ ฟันอย่างไม่คาดคิด ไปหลายปี
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
ร
ะยะนี้ ก ระแสการพั ฒ นาเมื อ งเก่ า นครศรี ธ รรมราชมาแรงมาก ที่ เ กิ ด จากการจุ ด ประกายทั้ ง ภาคประชาคม ต่ า งๆและภาครั ฐ ท� ำ เอาชาวเมื อ งตื่ น ตั ว เข้ า มามี บ ทบาทและมี ส ่ ว นร่ ว มมาก ขึ้ น จะเห็ น ได้ จ ากมี กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วโยง กั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ก ารเป็ น เมื อ งเก่ า ที่ มี การพิ สู จ น์ ท างโบราณคดี แ ล้ ว ว่ า มี อ ายุ มากกว่าพันปี โดยเฉพาะการสืบค้นหลัก ฐานจากสิ่ ง ก่ อ สร้ า งเชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ มี กลุ ่ ม คนรุ ่ น ใหม่ ไ ด้ จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สร้ า ง อัตลักษณ์ของเมืองเป็นตลาดนัดถนนคน เดิน “หลาดหน้าพระธาตุ” (ตลาดศิลปวัฒนธรรมหน้าวัดพระบรมธาตุ) มีกลุ่ม เสนอให้ รื้ อ ป้ อ มโบราณนั บ ร้ อ ยปี ที่ ส วน ศรี ธ รรมโศกราชเพราะเห็ น ว่ า เป็ น อั ป มงคลจากการเป็นเรือนจ�ำเก่ามาก่อน มี การรือ้ ฟืน้ ประเพณีแห่นางดาน ฯลฯ ล้วน แล้วเป็นการแสดงว่าชาวเมืองได้สนใจเข้า มาแสดงบทบาทและความคิดเห็นกันตาม ที่แต่ละกลุ่มได้รับรู้กันมา แต่ผมเชื่อว่า ยังมีคนอีกเป็นจ�ำนวนมากไม่ทราบความ หมายหรือนิยามของความเป็น "เมืองเก่า" คืออะไร ซึ่งผมก็คงไม่กล่าวซ�้ำอีกเพราะ เขียนถึงหลายรอบแล้ว แต่สิ่งที่ชาวเมือง อาจต้องท�ำความเข้าใจต่อคุณค่าของเมือง เก่าที่จ�ำเป็นต้องอนุรักษ์โบราณสถานและ โบราณวัตถุอันเป็นส่วนหนึ่งของประจักษ์ พยานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมิได้เป็นแค่ จากค� ำ บอกเล่ า ที่ สื บ ต่ อ กั น มาหรื อ การ บันทึกโดยปราศจากข้อพิสูจน์ โดยเฉพาะ จากความเชื่ อ ส่ ว นบุ ค คลหรื อ ส่ ว นกลุ ่ ม ที่ อ าจน� ำ ไปสู ่ ก ารท� ำ ลายหลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร์ไปอย่างน่าเสียดาย การรื้อ ทิ้งของเก่ายุคที่ยังเหลือซากให้เห็น แล้ว สร้างขึ้นมาใหม่ตามจินตนาการหรือตาม ความเชือ่ ของตนทีอ่ าจไม่ตรงกับความเป็น จริงในอดีต ไม่ว่าโดยวัตถุประสงค์อะไรก็ หาได้ลบล้างประวัติศาสตร์ได้ไม่ ผมเอง ไม่กล้าที่จะสอนหรือชี้น�ำผู้ใดในเรื่องการ อนุ รั ก ษ์ แต่ ก็ อ ยากเผยแพร่ ค วามรู ้ ท าง วิชาการ (ซึ่งผมก็ลอกเขามา) เพื่อให้ผู้ที่ จะเสนออะไรเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองเก่า จะได้มีหลักการประกอบกับความเชื่อส่วน ตัวอย่างเหตุผล
หน้า ๑๓
หลักการอนุรักษ์ (Conservation) โบราณสถานแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ๑. การบริรกั ษ์หรือสงวนรักษา (Preservation) คื อ การคงสภาพเดิ ม ของ โบราณสถานให้มากที่สุดเท่าที่ท�ำได้ การ อนุรกั ษ์ในลักษณะนี้ ส่วนใหญ่จะใช้กบั ซาก โบราณสถานเก่าๆที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว หรือ ต้องการเก็บไว้โดยให้เห็นสภาพที่คงเหลือ อยู่เพื่อการศึกษา เช่น เมืองโบราณอยุธยา เมืองสุโขทัย เป็นต้น ๒. การปฏิสังขรณ์ (Restoration) คือการย้อนสภาพกลับไปสูย่ คุ ใหม่ตา่ งๆ ไม่ ว่าจะสมัยที่การก่อสร้างเพิ่งเสร็จ หรือสมัย ที่ มี ก ารต่ อ เติ ม จนสวยงามและได้ รั บ การ ยอมรับจากผูค้ นในยุคหลังๆ อาคารเก่าบาง แห่งที่ยังใช้งานก็จะมีการปรับปรุงทับซ้อน กันมาหลายยุคจนเลิกการใช้งาน ซึ่งการ อนุรักษ์จะต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์ว่า ยุคไหนที่จะแสดงจุดเด่นของตัวมันให้เป็น ทีป่ ระจักษ์ได้มากทีส่ ดุ
๓. การบูรณะ (Renovation) คือ การฟื้นฟูโบราณสถานโดยอนุญาตให้น�ำ เทคนิ ค ใหม่ ห รื อ ประโยชน์ ใ ช้ ส อยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้กับตัวโบราณสถานได้ เช่น เรือนจ�ำกลางกรุงเทพฯ (คลองเปรม) ที่ ย กเลิ ก การใช้ ง าน ปรั บ ปรุ ง เป็ น สวน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีรัชกาล ที่ ๙ และบูรณะอาคารต่างๆ เป็นพิพิธภัณฑ์และอืน่ ๆ เป็นต้น ๔. การสร้างขึ้นมาใหม่ (Reconstruction) กรณีนี้ใช้กับเมืองหรืออาคาร ที่ พั ง ทลาย เช่ น เมื อ งที่ โ ดนระเบิ ด หลั ง สงครามเป็นต้น เนื่องจากไม่มีสภาพเดิม เหลือพอให้ฟื้นฟู จึงต้องอาศัยหลักฐาน ต่างๆ เช่นภาพถ่าย หรือบันทึกทางประวัต-ิ ศาสตร์ส่วนต่างๆ แล้วจึงน�ำกลับมาสร้าง ใหม่อกี ครัง้ แต่ไม่ว่าจะเป็นการอนุรักษ์ลักษณะ ใด สิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ การก� ำ หนดคุ ณ ค่ า หรื อ นิ ย ามความส� ำ คั ญ ของโบราณสถาน
“โดยเฉพาะจากความเชื่อส่วนบุคคลหรือส่วนกลุ่ม ที่อาจน�ำไปสู่การท�ำลายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไปอย่างน่าเสียดาย การรื้อทิ้งของเก่ายุคที่ยังเหลือซากให้เห็น แล้วสร้างขึ้นมาใหม่ตามจินตนาการหรือตามความเชื่อของตน ที่อาจไม่ตรงกับความเป็นจริงในอดีต ไม่ว่าโดยวัตถุประสงค์อะไรก็หาได้ลบล้างประวัติศาสตร์ได้ไม่”
เหล่านั้นเสียก่อนว่า อะไรที่ควรจะต้อง อนุรกั ษ์ไว้ให้โดดเด่นบ้าง (Statement of Significant) โดยประเมินจากคุณค่าในทุก มิติ เช่น ด้านประวัติศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านชุมชนและวัฒนธรรม ด้านการเมืองการปกครอง ผมมองเห็ น ว่ า ในปั จ จุ บั น การรั บ รู ้ หรือเรียนรู้ในเรื่องราวต่างๆไม่ใช่ยากหรือ เป็นศาสตร์ลกึ ลับอีกต่อไป เพราะสามารถ สืบค้นโดยเทคโนโลยีการสื่อสารที่เข้าถึง ได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ก็มีผลสองด้านใน เรื่อง”ความเชื่อกับความจริง” ผมเองก็ อาศัยช่องทางนี้ในการหาความรู้ ผมจึงขอ อนุญาตจะถ่ายทอดบางส่วนจาก social media “The MATTER” เรื่อง “สังคม อุดมความเชือ่ ” ให้คนทัว่ ไปให้เข้าใจดังนี้ “กระแสสังคมโลกเข้าสู่ยุค PostTruth อย่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ ผู ้ ค นก้ า ว ข้ า มผ่ า นความจริ ง แต่ ก ลั บ ยึ ด ถื อ เอา ความรู้สึกและความเชื่อส่วนบุคคลเป็น สรณะในการด� ำเนินชีวิต ภายใต้สังคม อุดมความเชื่อนี้ เรายิ่งต้องการ “การคิด เชิงวิพากษ์” (Critical Thinking) เป็น ภูมิต้านทานมากกว่าแต่ก่อน การคิดเชิง วิพากษ์ใกล้เคียงการคิดแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) ที่ต้องหาหลักฐาน มายืนยัน ไม่ใช่การพยายามหามูลเหตุมา สนับสนุนสมมุตฐิ านของตนเอง” เมื่อเดือนที่แล้วผมมีโอกาสได้เสวนา กับคนนครรุ่นใหม่ ขออนุญาตเอ่ยนามคือ วิรุจ ถิ่นนคร (อาจารย์สอน สถาปัตย์ที่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) ศิริชัย ศิลปะรั ศ มี (อาจารย์ ส อนสถาปั ต ย์ ที่ ภู เ ก็ ต ) ศุภชัย แกล้วทนง (นักออกแบบผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้รบั รางวัลระดับประเทศ) ศราวิน รุจิวณิชย์กุล (สถาปนิกอิสระ) ได้มีทัศนะ ตรงกันต่อ “การพัฒนาเมืองเก่า” ว่าไม่ใช่ การใช้ความเชื่อกับวิจารณญาณ แต่ต้อง เป็ น การสื บ ค้ น หาความจริ ง โดยการใช้ ความรู้และปัญญามาบริหารจัดการ และ ต้ อ งรู ้ จั ก ตั ว ตนว่ า บ้ า นเมื อ งเรามี ต ้ น ทุ น อะไรอยู่ แล้วน�ำเรื่องนั้นมาขยายผลต่อ ยอด ท�ำให้ผมมีความหวังต่อคนรุ่นนี้ที่จะ เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาเมืองอย่าง ถูกทิศทาง
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๔
๑ - ๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ ความฝันของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน แต่มีหนึ่งฝันที่ครูบอยและครูแจงคิดเหมือน กันคือ เราอยากพาเด็กๆ เข้าไปเรียนรู้การ ใช้ชีวิตในป่า ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อให้รู้ว่านั่นชื่อ อะไร มีคณ ุ สมบัตอิ ย่างไร แล้วใช้ประโยชน์ไม่ เป็น เชือ่ มโยงตัวเองไม่ได้ เกิดอาการหวงแหน ธรรมชาติ หวงแหนป่า ประท้วงไม่แตะต้อง แต่กลัว ไม่กล้าเข้าใกล้ ที่ส�ำคัญคือในชีวิต ประจ�ำวันก็ยังเสพทรัพยากรและพลังงาน ธรรมชาติไม่หยุด ทายาทของเผ่าพันธุ์เรา ควรรู้ด้วยว่าเราจะอยู่ร่วมและใช้ประโยชน์ กับป่าอย่างพอดีกับชีวิตได้อย่างไร ให้เขา รู้สึกกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกับป่าจนที่สุด เกิดความรัก ความผูกพันและเคารพ... เรา จึงค่อยๆ ท�ำฝันของเรา เริม่ จากเป็นสือ่ กลาง ระหว่างป่ากับเด็กในทริปเบื้องต้น คือ รหัส ป่าจูเนียร์ ด้วยแนวคิด “ยอมรับและปรับตัว” และพาไต่ระดับขึ้นไปเห็นความงาม ความ บริ สุ ท ธิ์ บนยอดเขาสู ง ที่ มี ร ายทางที่ อุ ด ม สมบูรณ์ เป็นต้นธารที่หล่อเลี้ยงทุกชีวิต ให้ ได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจว่าเรานัน้ เป็นเพียงมนุษย์
ตัวน้อยๆ ทีอ่ ยูใ่ นธรรมชาติทยี่ งิ่ ใหญ่...และท้าย ทีส่ ดุ ทริปแห่งปีสำ� หรับผูท้ จี่ ะด�ำรงเผ่าพันธุข์ อง เราต่อไป คือ ความกลมกลืนเป็นหนึง่ เดียวกับ ป่า...Junior Jungle Camp ในเส้นทางและที่พักที่เดินไม่ไกลเท่าทั้ง สองทริปแรก ไม่ต้องเหนื่อยกายกับการปีน ป่ายความสูงชันสู้กับแรงโน้มถ่วงของโลก เรา ใช้เวลาเดินกันวันแรกเพียงสามชั่วโมงเท่านั้น จากนั้นเป็นเพียงแค่การอยู่นิ่งๆ ใช้ในสิ่งที่ป่า มีให้ใช้อย่างเหมาะสม ใช้ทักษะทั้งหมดที่มีอยู่ มาสร้างสิง่ จ�ำเป็นพืน้ ฐานของชีวติ “เรียนรูก้ าร เป็นผูส้ ร้าง...มิใช่เพียงผูเ้ สพ”...เป็นสิง่ ธรรมดา
ที่มหัศจรรย์และยากเหลือเกินส�ำหรับมนุษย์ ยุคปัจจุบนั วันต่อมาเราสร้างบ้านทีม่ เี พียงโครงสร้าง พื้นฐานที่เราพอจะอยู่ได้อย่างปลอดภัยและ รบกวนธรรมชาติให้น้อยที่สุด ด้วยวัสดุจาก ธรรมชาติทั้งหมดและด้วยมือของเรา กิ่งไม้ ใบไม้และเถาวัลย์ทชี่ าวบ้านป่ารูด้ วี า่ อันไหนน�ำ มาใช้ท�ำอะไรได้ ไม่มีตะปู ไม่มีเชือก สิ่งเหล่า นี้ถูกถ่ายทอดไปยังเด็กแต่ละคน แม้จะรู้สึก เหนื่อย ท้อ ล้า เพราะในชีวิตประจ�ำวันเรา จะไม่ เ คยได้ ท� ำ แต่ เ ด็ ก ๆ ก็ ส ามารถเพี ย ร พยายาม เอาชนะใจตัวเองร่วมกันท�ำจนส�ำเร็จ ได้ เ พิ ง พั ก ที่ เ ป็ น พื้ น ที่ ส ่ ว นตั ว ของตั ว เองได้ ภายในสองวันแรก วันที่สามเราสร้างธนูที่เด็กๆ อาจคิดว่า เป็นของเล่นที่ถูกใจ แต่นี่คืออาวุธของจริงที่ ชาวบ้านป่าทีน่ ที่ ำ� ส�ำหรับป้องกันตัว หาอาหาร และหายา เครือ่ งมือทีเ่ ราต้องใช้คอื มีด เราจึง ต้องเรียนรูก้ ารใช้มดี การก่อไฟ การท�ำตะเกียง ให้แสงสว่าง การหาอาหาร ปลูกอาหารและ ท�ำอาหาร นอกจากเวลานี้ คือ อีกช่วงเวลาที่ ยากมากๆ คือ “การเรียนรู้การใช้ชีวิตในยาม ว่าง...ด้วยตัวเอง” ทีว่ า่ ยากนัน้ เพราะเราเคยชิน กับตารางชีวิตประจ�ำวันที่มีการบอกการสั่งให้ ท�ำจากพ่อแม่ จากผูใ้ หญ่ จนเด็กไม่สามารถคิด เองได้ว่าจะท�ำอะไรดีเมื่อมีเวลาว่าง ซึ่งที่จริง ช่วงเวลานี้ส�ำคัญมากต่อการค้นพบสิ่งที่ตัวเอง รัก หลงใหลและความถนัดเพื่อเป็นแนวทาง ในการท�ำงานการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเมื่อ เติบโตไป เด็กๆ บางคนอาจสนุกกับการปีน ป่าย สังเกต ค้นหา และเล่นสนุกในธรรมชาติ บางคนมีความสุขกับการนั่งซุ่มดูนกเพื่อเก็บ ภาพได้เป็นชัว่ โมงๆ บางคนอาจชอบจดบันทึก วาดรูปและบางคนขออยูก่ บั ตัวเองอ่านหนังสือ ทีช่ อบ...นีค่ อื ช่วงเวลาในการค้นพบตัวเอง มัน
ท�ำให้เราเข้าใจว่าท�ำไมคนในยุคนีแ้ ม้เรียนจบ แล้วก็ยังค้นหาตัวเองไม่เจอ ยังงงกับชีวิตที่ ไม่มชี วี าของตัวเอง วั น ที่ สี่ ทุ ก อย่ า งมี พ ร้ อ มและเพี ย ง พอแล้ว เราจึงออกส�ำรวจป่ากัน เดินไปอีก ไม่ ไ กล เราพบทางไต่ ขึ้ น น�้ ำ ตกอี ก สามชั้ น สวยงามมาก มี ทิ ว ทั ศ น์ ที่ ม องไกลออกไป ถึงทะเล มีต้นไม้พันธุ์ไม้แน่นขนัด สมบูรณ์ สวยงามตามแบบฉบับป่าฝนแดนใต้ เป็นวันที่ เด็กบางคนรืน่ รมย์และรูส้ กึ ดีทไี่ ด้เดินบนทาง ชันบ้าง ได้ปล่อยพลังเหมือนที่เคยผ่านมาใน ทริปก่อนๆ บางคนมีความสุขทีไ่ ด้ถา่ ยภาพได้ เห็นธรรมชาติที่แปลกตากว่าทุกวัน แต่เรารู้ ดีว่าส�ำหรับเด็กเมือง สี่วันนี้คงอึดอัดใจไม่ใช่ น้อย บ่ายวันนั้นเมื่อกลับมาถึงแค้มป์ เราได้ รับมอบหมายให้ออกมาจากป่าลับๆ คนเดียว เพือ่ มารับพ่อแม่ของแต่ละคนเข้าไปเซอร์ไพร้ส์ ในวันรุง่ ขึน้ เพือ่ เป็นรางวัลให้พวกเขา เด็กๆ ยังผ่านความรู้สึกที่ต้องอยู่กับตัวเองให้ได้อีก หนึง่ วันหนึง่ คืน มีเพียงความหวังเดียวทีเ่ ขารู้ คือ ครูจะกลับเข้ามาพรุง่ นีพ้ ร้อมพิซซ่า... วันที่ห้าเมื่อทีมพ่อแม่ญาติพี่น้องทุก คนพร้อม เราเดินเท้าเข้าไปกันถึงประมาณสี่ โมงเย็นพอดี เด็กๆ ดีใจทีเ่ ห็นครูแจง และอ้า ปากค้างเมื่อเห็นขบวนที่ตามหลังมา เรากิน พิซซ่ากันอย่างมีความสุข ไรอันยิ้มและพูด เยอะอย่างไม่เคยมีมาก่อนในห้าวันที่ผ่านมา บุน๊ ดูเหมือนจะเฉยๆ ไม่ได้ตนื่ เต้นอะไร แต่มี อวดเรือ่ งนกบ้าง ส่วนภูมนิ งิ่ เงียบและไม่ลงน�ำ้ เหมือนทุกวันจนกระทัง่ วันกลับ วันทีห่ กเป็น วันอากาศดีที่สุด ฟ้าเปิดที่สุด...เป็นวันที่ทุก คนมีความสุขที่จะได้กลับสู่เมืองแม้แต่ลมฝน ยกเว้น บุน๊ คนเดียวทีย่ งั อยากอยูต่ อ่ ตลอดทั้งหกวันที่ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันใน ป่ากับเด็กๆ มีทงั้ สุข มีทงั้ ทุกข์ ผ่านร้อน ผ่าน ฝน ผ่านลมแรง ผลัดกันท�ำอาหาร ผลัดกัน ยิม้ ผลัดกันหัวเราะ และผลัดกันร้องไห้ มีครบ ทุกความรูส้ กึ ครูเองก็ได้เรียนรูป้ ระสบการณ์ ใหม่ๆ ในการอยู่ร่วมกับเด็กๆ บอกเลยว่ามี ความเป็นห่วงและกังวลมากๆ แอบซ่อนอยู่ ลึกๆ ในใจ ด้วยรูด้ วี า่ พ่อแม่นนั้ ห่วงใยลูกมาก แค่ไหน และไว้วางใจเรามากเหลือเกินที่ให้ ดูแลชีวติ ลูกๆ ของเขาเกือบสัปดาห์ ทุกครัง้ ที่ เด็กมารายงานว่า “ครูแจง ผมถ่ายแล้ว” เรา นี้ดีใจจนบอกไม่ถูก เวลาเห็นเด็กน�้ำตาไหล เราก็ต้องกลั้นความรู้สึกบางสิ่งไว้เช่นกัน... บอกเด็กๆ ว่าร้องไห้ได้เมื่อเรารู้สึกผิดหวัง เสียใจ ระบายออกจะได้สบายใจ ไม่อดึ อัด... แต่เป็นผูใ้ หญ่นรี่ อ้ งไห้ไม่ได้แล้วนะ เราต้องใช้ พรหมวิหารสี่ยกก�ำลังสี่ เพื่อให้เขาได้เรียนรู้ ให้ได้มากทีส่ ดุ ขอบคุณป่าเขาหลวงที่เป็นห้องเรียน ธรรมชาติทดี่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับทุกคนเสมอ ขอบคุณพ่อแม่ทกุ คนทีไ่ ว้วางใจและอด กลัน้ ต่อความรูส้ กึ ของตัวเองเหลือเกิน ขอบคุณทีมงานทุกคน ที่มาถ่ายทอด เรือ่ งราวความเป็นชาวป่าให้แก่เด็กๆ ขอบคุณ เด็กๆ ทีเ่ รียนรู้ ยอมรับ ปรับตัว และอยูร่ ว่ ม กับป่าได้อย่างกลมกลืน “สิง่ ใดเกิดขึน้ แล้ว สิง่ นัน้ เป็นบทเรียน ทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับเราเสมอนะเด็กๆ”
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๕ แบบเดิ ม ได้ ถึ ง ๑๐๐ ล้ า นเท่ า ซึ่ ง การ ทดลองดั ง กล่ า วได้ รั บ การเผยแพร่ โ ดย Google Quantum Artificial Intelligence Lab ทีร่ ะบุวา่ การทดลองเปรียบ เทียบวิธีการค�ำนวณรูปแบบเดียวกันโดย ใช้คอมพิวเตอร์ปกติ และคอมพิวเตอร์ที่ อาศัยเทคโนโลยีควอนตัม พบว่าคอมพิวเตอร์ทอี่ าศัยเทคโนโลยีควอนตัมจะท�ำงาน ได้เร็วอย่างเทียบไม่ได้
อาจารย์แก้ว
เ
รื่องของเทคโนโลยีไม่เคยหยุดนิ่ง จาก อุปกรณ์ที่มีส่วนช่วยให้การท�ำงานง่าย ขึ้น เทรนด์ใหม่ของการพัฒนาเทคโนโลยี ก้าวหน้าไปถึงการยกระดับให้คอมพิวเตอร์ กลายเป็ น "ผู ้ ช ่ ว ย" ของมนุ ษ ย์ ไ ปแล้ ว เรียบร้อย ฟังไม่ผิดหรอกครับ "ผู้ช่วย" ในที นี้ หมายถึ ง ผู ้ ช ่ ว ยตอบข้ อ ซั ก ถาม เรี ย นรู ้ ไ ด้ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ และ วิเคราะห์ฐานข้อมูลทัว่ โลกได้อย่างรวดเร็ว แน่นอนว่ามนุษย์จริงๆ ไม่สามารถท�ำได้ ด้วยความเร็วหรือแม้กระทั่งค้นหาข้อมูล จากโลกออนไลน์ได้ในทันที แต่เทคโนโลยี สามารถท�ำได้แล้ว ด้วย ๒ เทคโนโลยีที่ ก�ำลังจะกลายมาเป็นเทรนด์ใหม่ของการ พัฒนาโลกในอนาคต ๑.ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (Artificial Intelligence) การพัฒนาสมองกลให้เทียบเคียง สมองของมนุ ษ ย์ สามารถเรี ย นรู ้ ก าร ท� ำ งาน พั ฒ นาความคิ ด จดจ� ำ และ วิเคราะห์แยกแยะสิ่งต่างๆ ได้อย่างเป็น ระบบ เป็นแนวทางของการพัฒนาปัญญา ประดิษฐ์ ทีส่ ามารถควบรวมและเชือ่ มต่อ ระบบออนไลน์ได้ในตัวเอง การพัฒนาดัง กล่าวเริ่มมีให้เห็นเป็นรูปเป็นร่างในบาง อุตสาหกรรม โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างการ ตอบโต้เสมือนจริงในระบบคอลเซ็นเตอร์ เพื่อสนทนากับลูกค้าในบางกรณีที่ยังไม่ ซับซ้อน ท�ำให้เกิดความคล่องตัวในการ บริ ก ารที่ ม ากขึ้ น ขณะที่ ก ารน� ำ ระบบ ดังกล่าวมาใส่ไว้ในโทรศัพท์เพื่อให้เกิด การโต้ตอบและสั่งการผ่านเสียงได้อย่าง สะดวก แต่นั่นก็นับว่าเป็นเพียงบางส่วน ของความสามารถหลั ก ที่ เ ทคโนโลยี ใ น ปัจจุบนั ท�ำได้ โดยในต่างประเทศ บริษทั เทคโนโลยี ใหญ่ ๆ อย่ า งไอบี เ อ็ ม เริ่ ม มี ก ารสร้ า ง แพลตฟอร์มการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ที่ ชัดเจนมากขึน้ ด้วยการน�ำมาควบรวมกับ ความสามารถของโซลูชั่นในชื่อว่า “ค็อก นิทีฟ บิสิเนส” ซึ่งเป็นเทคโนโลยีคอมพิว ติ้งรูปแบบใหม่ที่ผสานรวมนวัตกรรมทาง ด้านการวิเคราะห์ ความสามารถในการ ประมวลผลข้อมูลทีเ่ ป็นภาษามนุษย์ รวม ถึงความสามารถของระบบในการเรียนรู้
เข้าใจและให้เหตุผลได้ด้วยตนเอง ซึ่งโดย หลักการนี่ก็คือการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ นัน่ เอง ด้ า นไมโครซอฟท์ เ องก็ เ คยปล่ อ ย ปัญญาประดิษฐ์ ในชื่อ "เทย์" ออกมาเพื่อ เป็นผูต้ อบโต้ผา่ นระบบโซเชียลมีเดียเสมือน หนึ่งตัวแทนของไมโครซอฟท์เอง แต่ความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นคือการซึมซับและเรียนรู้ อารมณ์จากโซเชียลมากเกินไป ท�ำให้บคุ ลิก ของเทย์เปลี่ยนไปจากที่ต้องการ ไมโคร ซอฟท์จงึ ต้องงยุตโิ ครงการดังกล่าวลงในชัว่ ข้ามคืน
มีหน้าทีห่ ลักคือการวิเคราะห์ตวั เลข ๐ และ ๑ ซึ่งเป็นความหมายเชิงคณิตศาสตร์ที่ได้ รับการคิดค้นออกมาเป็นดิจิตอล และถูก พัฒนาต่อยอดออกมาเป็นรูปแบบของค�ำ
และที่ ส� ำ คั ญ เทรนด์ ข องปั ญ ญา ประดิ ษ ฐ์ ยั ง ถู ก บรรจุ เ ข้ า ไปในหุ ่ น ยนต์ ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ เพื่อให้สามารถ ท�ำงานบางอย่างแทนมนุษย์ได้นั่นเอง นับ ได้วา่ ความก้าวหน้าของระบบดังกล่าว ช่วย กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การทดแทนแรงงานของ มนุษย์ลงได้อย่างชัดเจน และในอนาคตเมือ่ การพัฒนาสามารถปิดช่องว่างที่ท�ำให้เกิด ความผิดพลาดลงได้ ก็นา่ เชือ่ ได้วา่ มนุษย์จะ อยู่เคียงคู่หุ่นยนต์ที่เป็นเสมือนเพื่อคู่คิดดัง เช่นภาพยนตร์หลายเรือ่ งทีเ่ ราๆท่านๆเคยดู มาแล้วก็เป็นได้ ๒.ควอนตัม คอมพิวเตอร์ (Quantum Computer) การท�ำงานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั
สั่งที่หลากหลายและมีความซับซ้อนมาก ขึ้ น และมี ก ารพั ฒ นาขึ้ น มาอี ก หลายขั้ น จนกลายมาเป็นคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นกัน อยู่ในปัจจุบัน แต่กระนั้นการท�ำงานทีซับ ซ้อนมากขึ้นเช่นการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ การ วิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์เชิงลึกที่มีความ ซับซ้อนมาก จะต้องใช้เวลาในการท�ำงาน ของคอมพิวเตอร์ที่นานนับปี แน่นอนว่า ทางออกการวิเคราะห์ที่รวดเร็วขึ้นคือการ คิดค้นเทคโนโลยีในการวิเคราะห์ใหม่ ควอนตัม คอมพิวเตอร์ จึงเป็นทาง ออกของการค�ำนวณทีร่ วดเร็ว ด้วยรูปแบบ และโครงสร้างของเทคโนโลยีที่แตกต่าง กัน โดยการทดลองล่าสุดของเทคโนโลยี นี้ สามารถวิเคราะห์ได้เร็วกว่าคอมพิวเตอร์
ทั้งนี้การทดลองดังกล่าวเป็นความ ร่วมมือของ Google และ NASA ซึง่ ได้เริม่ ท�ำการทดสอบประสิทธิภาพที่ศูนย์วิจัย Ames หนึ่งในหน่วยงานด้านอวกาศของ สหรัฐ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ คือ การค�ำนวณแบบ Quantum Annealing ของ D-Wave 2X ท�ำงานได้เร็วกว่า Simulated Annealing ของคอมพิวเตอร์ ทัว่ ไปถึง ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ เท่า ความแตกต่ า งที่ ท� ำ ให้ ค วอนตั ม คอมพิวเตอร์สามารถค�ำนวณได้เร็วกว่า คอมพิวเตอร์ปกติเป็นอย่างมากนั้น อยู่ ที่พื้นฐานทฤษฏีของ Quantum Computing ซึ่งมีหน่วยเล็กที่สุดเป็น คิวบิท (Qubit) ต่ า งจากหน่ ว ยที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ใน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐานคือ บิท (bit) โดยบิท นัน้ เป็นได้แค่ ๑ และ ๐ แต่สำ� หรับคิวบิท จะแสดงสถานะได้ระหว่าง ๑ กับ ๐ ได้ ทุกค่า ซึ่งท�ำให้ควอนตัม คอมพิวเตอร์ สามารถท�ำการประมวลผลแบบขนานได้ เทียบได้คอื ควอนตัมคอมพิวเตอร์สามารถ ประมวลผลค�ำสั่งนับล้านค�ำสั่งได้ในครั้ง เดียว ขณะที่คอมพิวเตอร์ทั่วไปต้องท�ำ ทีละค�ำสัง่ เทคโนโลยีทงั้ ๒ อย่างสะท้อนให้เห็น เทรนด์โดยรวมของการพัฒนาทีส่ ำ� คัญ นัน่ ก็คือความเร็วของการประมวลผล และ ความสามารถเรียนรู้ จดจ�ำ และวิเคราะห์ ด้วยเหตุผล เพื่อต่อยอดไปสู่การพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ที่ใกล้เคียงหรือเหนือกว่า สมองของมนุษย์ให้ได้ในอนาคตนัน่ เอง ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช
ก่
อนที่จะเดินทางเข้า สปป.ลาว ผมปั่น เทีย่ วในจังหวัดหนองคาย และอุดรธานี เสียก่อน เพื่อรอเวลาเข้า สปป.ลาวในวัน รุง่ ขึน้ ผมออกจากที่ พั ก ตั้ ง แต่ เ ช้ า ปั ่ น ไป จนถึงสะพานมิตรภาพไทยลาว เป็นสะพาน ข้ามแม่น�้ำโขงจากอ�ำเภอเมืองหนองคายไป เมืองท่าเดือ่ ของ สปป.ลาว ผ่านวิธกี ารทาง ศุลกากรนิดหน่อย ไม่ยงุ่ ยากอะไรมาก แต่ ก ่ อ นเข้ า ไปเตรี ย มแลกเงิ น ที่ ฝ ั ่ ง ประเทศไทย มีสถานทีใ่ ห้แลกเยอะแยะเลย ตอนที่ไปครั้งแรกปี ๒๕๕๖ อัตราแลกเงิน อยูท่ ี่ ๑ บาท เท่ากับ ๒๕๐ กีบ ข้ามฝัง่ ไปประเทศลาว ต้องมีการปรับ
เปลีย่ นการปัน่ นิดหน่อยเพราะที่ สปป.ลาว ต้องปัน่ ทางขวา จะล�ำบากตอนเลีย้ ว แต่ไม่ เป็นไร ปั่นไปนิดเดียวไม่กี่แยกก็ชินไปเอง แค่ตอ้ งระมัดระวังเพิม่ ขึน้ ระหว่างทางสิง่ ทีผ่ มเลือกท�ำอย่างแรก คือเปลี่ยนซิมโทรศัพท์ ไปใช้ซิมของ สปป. ลาว เพือ่ ให้ทกุ ทีใ่ น สปป.ลาว ถูกถ่ายทอด ให้เพื่อนๆ ที่อยู่เมืองไทยได้ติดตาม สปป. ลาวมีผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ ๔ เครือ ข่าย โทรศัพท์มือถือที่เราน�ำมาจากไทย สามารถซื้อซิมได้จากร้านสะดวกซื้อหรือ ร้านขายของทัว่ ไปใช้ได้เลยครับ ฉบับหน้าอ่านกันต่อนะครับ
A.P.Honda ร่วมกับ ฮอนด้าศรีนคร จัดหนัก! จัดเต็ม! จัดให้!
รับกล้อง GoPro Hero Session มูลค่า ๗,๙๙๐ บาท (เฉพาะกล้อง) พร้อมอุปกรณ์เสริม ทันที เมือ่ ซือ้ รถมอเตอร์ไซค์สปอร์ต #CBR300R, #CBR150R, #CB300F, #CRF250L, #CRF250RALLY และ #REBEL300 ตัง้ แต่วนั นี้ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๐ นีเ้ ท่านัน้ มาก่อนมีสทิ ธิก์ อ่ น นะค้าาา...!! ออกไปเปิดประสบการณ์บดิ ลุยในเส้นทางใหม่ ๆ แล้วให้ GoPro ช่วยบันทึกภาพ ทุกทีท่ ไี่ ด้ออกไปท้าทาย เพราะทุกความทรงจ�ำมากมายมีความหมายเสมอ สนใจติดต่อสอบถาม ได้ที่ ฮอนด้าศรีนคร โทร : ๐๗๕ ๓๑๖ ๓๒๔
ภาพบรรยากาศงานเปิดตัวโครงการ ศุภาลัย พาร์ควิลล์ นครศรีธรรมราช โดย คุณอดิศักดิ์ วารินทร์ศิริกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานโครงการภูมิภาค ๓ บริษัทศุภา ลัย กล่าวเปิดงานและน�ำนักข่าวชมโครงการและบ้านตัวอย่าง โครงการ ศุภาลัย พาร์ควิลล์ นครศรีธรรมราช บนพืน้ ทีโ่ ครงการ ๓๕ ไร่ บ้านเดีย่ วหรูในสังคมคุณภาพและเป็นส่วนตัว เพียง ร้านย�ำหนมจีนวาวา เจ้าแรกในเมืองทุ่งสง ๑๔๙ หลัง บ้านเดีย่ วประหยัดพลังงานสไตล์โมเดิรน์ ๒ ชัน้ ๓-๔ ห้องนอน ๓-๔ ห้องน�ำ้ พืน้ ที่ หิวเมือ่ ไหร่กแ็ วะมานะคะ ร้านย�ำหนมจีนวาวา เจ้าแรกในเมืองทุง่ สง หน้าถ�ำ้ ตลอด ตรงข้าม ใช้สอยเริม่ ๑๕๐-๒๓๓ ตร.ม ด้วยการออกแบบทีเ่ น้นความโล่งโปร่งสบาย ทัง้ ยังเพียบพร้อม สระว่ายน�ำ้ 3J สปอร์ตคลับ เปิดเวลา ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น. หยุดทุกวันจันทร์ #สนใจแฟรนไชส์ ด้วยสโมสร สระว่ายน�ำ้ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน ในราคาเริม่ ต้นไม่ถงึ ๔ ล้านบาท สอบถามโทร ๐๖๔-๐๖๘๒๙๙๒
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
คงไม่มีงานไหนจะไฉไลเท่างาน “เลไฉไล ใต้จันทร์แรม” ที่จัดขึ้นเมื่อคืนวันเสาร์ ที่ ๒๖ สิงหาคม ณ หาดบ้านเราะ ต.ท่าขึ้น อ.ท่าศาลา อีกแล้ว ไฉไล ตั้งแต่ชื่องาน ไฉไล ตั้งแต่เป็นงานที่ชาวบ้านช่วยกันคิดช่วยกันท�ำ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ ไฉไล ตั้งแต่ไม่มีเงินจากที่ไหนมาช่วย ไฉไล ตั้งแต่ ดนตรีทุกวง ‘ออกปาก’ กันมา และมากันอย่างเต็มใจกว่าสิบวง นี่คือความไฉไลที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบนชายฝั่งทะเล เป็นความไฉไลที่ตั้งบนความเป็นจริงที่เราช่วยกันสร้างขึ้นมาได้อย่างไม่น่าเชื่อ
หน้า ๑๗
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๘
ฉ
บับนี้ขอเปลี่ยนบรรยากาศ เชิญชวน ทุกท่านมาท่องเทีย่ วแบบคุม้ ยิง่ กว่าคุม้ กับโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชื่อมโยง โดยสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว, ส�ำนักงาน ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช และ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ส�ำนัก งานตรัง ในชื่อ “เก๋ายกก๊วนชวนกันเที่ยว ตรั ง ” โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เชิ ญ ชวนนั ก ท่องเที่ยวมาหาประสบการณ์ การท่องเที่ยวโดยเน้นแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ ท่องเที่ยวแบบสัมผัสประสบการณ์ เก๋ไก๋ สไตล์ลึกซึ้ง ได้ทั้งสนุกสนาน ความรู้ และ สั ม ผั ส วิ ถี ข องชุ ม ชนที่ เ ดิ น ทางไป อี ก ทั้ ง นอกจากจะเป็ น การท่ อ งเที่ ย วแล้ ว นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ ไ ปร่ ว มโครงการดั ง กล่ า ว ยังได้เข้าไปกระจายรายได้ เยียวยา อีก ทั้งประโยชน์ให้กับชุมชน ที่ได้รับผลกระ ทบจากน�้ ำ ท่ ว มเมื่ อ ครั้ ง ที่ ผ ่ า นมาอี ก ด้ ว ย ... กิจกรรมคาราวานทัวร์ดังกล่าวมุ่งเน้น การท�ำตลาดนักท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อทั้งสองจังหวัดจะได้มีการส่งนักท่อง เที่ยวมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยว ทีม่ คี วามหลากหลายและน่าสนใจ
หรื อ อาจพู ด ได้ ว ่ า เป็ น แลนด์ ม าร์ ค ของแต่ ล ะจั ง หวั ด ..เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ได้ รั บ ความสุ ข และความตื่ น เต้ น ที่ แ ตก ต่างในแต่ละพื้นที่ที่ได้เดินทางไปสัมผัส .. โรงแรมที่พัก อาหาร แหล่งท่องเที่ยวที่คัด สรรมาไว้ในโปรแกรมครั้งนี้ เรียกว่าถ้าได้
ดี๊ดีแบบนี้ .. พลาดไม่ได้
ไปแล้ว จะต้องบอกว่า คุม้ ค่าจริงๆ ค่ะ ด้วย แพคเกจทัวร์ที่พร้อมที่พักหรูหราในราคา กันเอง เพียง ๑,๙๙๐.บาท / ท่าน ด้วย ระยะเวลา สองคืนสามวัน แบบคุ้มแสน คุม้ เดินทางวันศุกร์ที่ ๘ ถึง ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ พิธีปล่อยคาราวานทัวร์ ณ โรงแรมเมืองลิกอร์ เวลา ๐๘.๐๐ น. โดย ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
นะคะ สามารถสอบถามเพิ่ ม เติ ม และจองคาราวานทั ว ร์ ไ ด้ ตั้ ง แต่ วั น นี้ เ ป็ น ต้ น ไป ... ที่ สมาคมธุรกิจการท่องเทีย่ วจังหวัด นครศรีธรรมราช โทร. ๐๙๗-๔๕๖-๙๕๔๕ เลขาธิการสมาคม หรือ ๐๘๑-๙๕๘๗๑๘๑ นายกสมาคมฯ จองด่วนรับ จ�ำนวนจ�ำกัดค่ะ ...พบกันใหม่ กับคอลัมน์ โอลั่ลล้า หรอยและดี ทีเ่ มืองคอน ฉบับหน้าจ้า..
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๙
หน้า ๒๐
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗๑ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐