นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 69 กรกฎาคม 2560

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๐

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชีวิตติดล้อ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

การอนุรักษ์และพัฒนาถนนราชด�ำเนินบนฐานจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นเมืองเก่า ถนนราชด�ำเนินส่วนส�ำคัญอยู่ในพื้นที่ มรดกโลก (ในอนาคต) ที่ จ ะชั ก น� ำ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเยี่ ย มชม มาจับจ่ายซื้อสินค้าและบริการ ในอนาคตอันไม่ไกลทุกประเทศ ในโลกมุ่งแสวงหารายได้จากการท่องเที่ยว ชาวนครจึงต้องท�ำ ความเข้าใจเพือ่ การปรับตัวให้สอดคล้องกับอนาคต


หน้า ๒

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

นายจ� ำ เริ ญ ทิ พ ญพงศ์ ธ าดา ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช แต่งตั้งคณะท�ำงานเปรียบเสมือนที่ ปรึกษากรณีการพัฒนาและอนุรกั ษ์ถนนราชด�ำเนินจังหวัด นครศรีธรรมราช โดยให้ระดมความคิดเห็น แนวทาง และ ความต้องการของชาวนครว่าอยากเห็นถนนอายุรอ้ ยกว่าปี มีภาพเช่นไร จังหวัดพร้อมจัดท�ำงบประมาณสนับสนุน กองโยธาเทศบาลนครนครศรีธรรมราช กับชมรมรัก บ้านเกิด ช่วยกันระดมสถาปนิก นักประวัติศาสตร์และ ผู้สนใจจัดเสวนาขอความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางพัฒนา และอนุรักษ์ถนนสายเก่าให้ควบคู่ไปกับการเสนอวัดพระ มหาธาตุวรวิหารเป็นมรดกโลก ถนนราชด�ำเนินเป็นทาง สัญจรในชีวิตประจ�ำวันและประตูเข้าสู่องค์พระบรมธาตุ เจดีย์ ดังนั้นถนนช่วงหน้าวัดพระบรมธาตุฯ จึงต้องจัด ภูมทิ ศั น์เพิม่ โอกาสได้รบั รองการขึน้ ทะเบียนเป็นมรดกโลก และแสดงอัตลักษณ์อันงดงามยิ่งใหญ่ของเมืองนครให้ เป็นสถานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวส�ำคัญตามที่จังหวัดตั้ง เป้าหมายเอาไว้ ขณะเดียวกันสมาชิกหอการค้าจังหวัดนครฯ กลุม่ ศิลปิน และคนหนุ ่ ม สาวจั ด ประชุ ม ขอความคิ ด เห็ น และหา แนวทางจัดกิจกรรมถนนคนเดินในพื้นที่มรดกโลกใน อนาคตเปิดโอกาสให้ชาวบ้านชาวเมืองได้พบปะพูดคุย เลือกซื้อสินค้าและแสดงออกด้านต่างๆ แม้ยังไม่ลงตัว แต่ถนนคนเดินเริม่ เป็นรูปเป็นร่างขึน้ มา การระดมความคิดทุกๆ กรณีเป็นการขับเคลือ่ นเมืองนคร ไปข้างหน้าตามนโยบายประชารัฐที่ร่างขึ้นมาลดบทบาท ของนักการเมืองและก�ำลังเดินไปตามเจตนา เพราะแทบ ไม่มีนักการเมืองเข้าร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ยกเว้น ดร.กณพ เกตุชาติ ทีด่ ำ� เนินกิจกรรมด้านประชา สังคมต่อเนือ่ งกันมานับสิบปี นโยบายประชารัฐถูกร่างและ ใช้กลไกรัฐขับเคลือ่ นโดยหวังให้แทนทีน่ โยบายประชานิยม ถ้านักการเมืองไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองพวกเขา จะถูกประชาชนผลักออกไปเพราะไม่มีความจ�ำเป็นอีก ต่อไป แต่ประชารัฐก็มีจุดอ่อนที่ต้องด�ำเนินการด้วย ความโปร่งใส การธ�ำรงความยุติธรรม การดูแลความ ปลอดภัยให้เกิดในสังคมและการสร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ แก่ประชาชน

ไม่ทนั ครบเดือน อะไร ๆ ก็เปลีย่ นแปลงได้ในทางทีด่ ี หากทุกคนต่างลุกกันขึน้ มาท�ำหน้าที่ นีค่ อื โพสต์ของท่านพระครูฯ เจ้าอาวาสวัดวังตะวันตกองค์ปจั จุบนั เมือ่ เช้านี้ ทีบ่ ง่ บอกว่า "วัดวังตะวันตก" ทีท่ ำ� "ใจ" ชาวพุทธไทยและทัง้ เมืองนคร แหลกสลายไม่มชี นิ้ ดีเมือ่ ต้นเดือนนี้ กับข่าวท่านเจ้าคุณเจ้าอาวาสฯ ระดับพระเทพฯ อดีตเจ้าคณะจังหวัดฯ ถูกขังกุฏิ มีสกี าคอยคุมร่วมกับสามี ทีเ่ พิง่ บวช เพราะส�ำนึกบาปจากการทุบตีนอ้ งเณรปลืม้ จนตาย แล้วร่วมกันหลายคน ช่วยกันฝังไว้ตรงข้างโรงธรรม หน้าหอไตร แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ ให้ผคู้ นมากราบไว้สกั การะไถ่โทษ ผมกราบกลับไปทางอากาศนีว้ า่ ... สาธุขอรับ สิน้ เดือนนีก้ ระผมจะมากราบเรียนพระอาจารย์ ว่าจะมีสงิ่ ใดให้รบั ใช้ตามทีป่ วารณาไว้อกี ไหม ? ดูเหมือน ใคร ๆ จะมารับใช้กนั ทัว่ ถ้วนแล้วไหมขอรับ ? เมืองนครศรีธรรมราชของชาวไทยและคนนครนีน้ นั้ ไม่ธรรมดาส�ำหรับผม เอาทีพ่ ระเจ้าอยูห่ วั ทรงบ่งชีไ้ ว้ชดั เป็นทีส่ ดุ ในแผนทีม่ หาสงกรานต์ เมือ่ ๒๓ ปีกอ่ นโน้น ในปี ๒๕๓๗ ในเรือ่ ง "สุวรรณภูม"ิ ว่ามีอยู่ ๒ นคร คือ Devamahanagara กับ Dharmarajanagara ทรงก�ำหนดในแผนทีใ่ ห้หนึง่ นัน้ อยูท่ กี่ รุงเทพ อีกหนึง่ นัน้ อยูท่ เี่ มืองนคร

(อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

มเข้าฟังการเสวนาเรื่องการพัฒนา และอนุรักษ์ถนนราชด�ำเนิน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๒ เน้นบริเวณหน้าวัดพระบรมธาตุฯ ผมขอเรียกล่วงหน้าว่า 'พื้นที่หรือ ปริมณฑลมรดกโลก' การพัฒนาถนนราชด�ำเนินในพื้นที่ มรดกโลกมี ค วามส� ำ คั ญ ตามกฎเกณฑ์ ของคณะกรรมการมรดกโลก คื อ ให้ พื้นที่สวยงาม ไม่บดบังความงดงามอัน เป็ น แกนหลั ก ของมรดกโลก คื อ องค์ พระบรมธาตุเจดีย์ที่มีความงดงามทาง สถาปัตยกรรม สิ่งที่บดบังอาจเป็นต้น ไม้ เสาไฟฟ้าและเครือข่ายเครื่องต่อพ่วง อาคารบางอาคาร ป้ายโฆษณา รถบัสนัก ท่องเที่ยวหรือแม้แต่เสาไฟ ๑๒ นักษัตร อั น เป็ น เครื่ อ งประกอบถนน (street furniture) ก็กลายเป็นสิ่งอุจาดตาหาก พิจารณาสีสนั รูปแบบและเสาพิมพ์นยี้ งั มี ให้เห็นทัว่ ประเทศ ถ้ า มองจากข้ า งภายในวั ด เราจะ เห็นความสูงและสีของอาคารตลอดแถว หน้าและหลังพืน้ ทีม่ รดกโลกไม่สอดคล้อง กลมกลืนเป็นโทนสีเดียวกัน สิ่งเหล่านี้ ต้องการความร่วมมือและความเข้าใจของ เจ้าของบ้านเรือนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีม่ รดกโลก วิคตอร์ ฮูโก นักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ชาว ฝรั่งเศสกล่าวไว้ว่า "การใช้อนุสรณ์สถาน เป็นของเจ้าของ แต่ความงามนัน้ เป็นของ พวกเราทุกคน"

หน้า ๓

“มรดกทางวัฒนธรรมเป็นหลักยึดส�ำคัญส�ำหรับรากเหง้าของมนุษย์ เป็นสิ่งสร้างความพึงพอใจในตนเอง และส่งเสริมอัตลักษณ์ และอัตลักษณ์เป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับเมืองที่มีชีวิตและประชาชนทุกคน” - - ราเชล ไคท์ - -

เครดิตรูป : กาญจนา ประดู่

ถนนท่าชี ถนนสายที่มีพระสงฆ์จากหลายวัดเดินบิณฑบาตทุกเช้า

วัดพระบรมธาตุฯ องค์พระเจดีย์ อาคารต่ า งๆ ในปริ ม ณฑลอายุ ห ลาย ร้อยปี บางคนอาจรู้สึกเป็นเจ้าของและ เป็ น เจ้ า ของถื อ ครองจริ ง ๆ แต่ ข อให้ ส�ำนึกว่าการท�ำให้สิ่งที่เป็นอนุสรณ์สถาน เหล่านี้สวยงามเป็นของทุกคน รวมถึง นักท่องเทีย่ วทีจ่ ะมาชืน่ ชมความงดงาม การท่ อ งเที่ ย วเป็ น สถานการณ์ ส�ำคัญของโลกที่ยังเติบโตไปเรื่อยๆ และ เป็นที่มาของรายได้ นักท่องเที่ยวมาค้าง มาพัก มาดื่มกินและซื้อสินค้าโดยเฉพาะ พืน้ ทีส่ ำ� คัญทางวัฒนธรรม ดังนัน้ การจัด พื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและป้องกัน ผลกระทบเป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่ ป ระชุ ม ขอให้ ผ มแสดงความคิ ด เห็นบ้าง ผมบอกว่าประตูทางเข้าสู่มรดก โลกของเรามีหลายทาง ขอเพียงให้แต่ละ พืน้ ทีร่ กั ษาสภาพ 'ดัง้ เดิม' ไม่วา่ ตลาดเช้า ที่พระสงฆ์บิณฑบาต ร้านขนมครก ร้าน ข้าวแกง ร้านกาแฟโบราณ ขอความเสีย สละ สิ่งที่จะท�ำให้เกิดความงดงาม ทั้ง สีสนั สภาพพืน้ ที่ ให้สมกับบ้านเรือนของ ท่านเป็นประตูเข้าสู่มรดกโลก นานๆ ไป ท่านจะรู้สึกภาคภูมิใจว่าท่านอาศัยอยู่ใน เขตมรดกโลกที่สามารถท�ำมาค้าขายได้ คล่องตัว เรื่ อ งดี ดี เ กิ ด จากความเข้ า ใจและ มองเห็นอนาคตของส่วนรวม


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รกั บ้านเกิด ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือน กรกฎาคม ๒๕๖๐

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ช่

วงนี้ วั ด วั ง ตะวั น ตกได้ รั บ ความ สนใจจากผู้คนทั่วไปทั้งประเทศ ผมเลยถือโอกาสน�ำเรื่องราวประวัติ ของวัดแห่งนี้มาเล่าให้ฟัง เพื่อนฝูง หลายคนเข้าไปช่วยเหลือวัดในด้าน ต่างๆ มากมาย กลุม่ ผูต้ ดิ ตามเรือ่ งราววัดนีห้ ลายท่านคิด ว่าจะช่วยกันระดมเขียนเรื่องราวประวัติของวัดแห่งนี้ ออกสู่สาธารณชน เรื่องราวของวัดนี้ไม่ธรรมดาแน่นอน ผมจึงขอรวบรวมเรื่องเล่าที่สืบค้นได้ด้วยระยะเวลาอัน สัน้ มาเล่าให้แฟนๆ 'รักบ้านเกิด' ได้อา่ นกันสักรอบก่อน เล่ากันตัง้ แต่ครัง้ 'พระเจ้าตากสิน' รวมพลกันกอบกู้ ประเทศหลังจากอยุธยาถูกเผาผลาญจนราบเรียบ เมือง

นครเรา 'ปลัดหนู' ก็ตั้งตนเป็นใหญ่ขึ้นเป็นเจ้าพระยา นครศรีธรรมราช พระเจ้าตากสินกอบกูเ้ อกราชขับไล่พม่า ออกไปจากประเทศได้ส�ำเร็จ ล�ำดับต่อมาก็ออกปราบ ปรามก๊กต่างๆ ที่ประกาศตัวเป็นอิสระ จนเหลือเมือง สุ ด ท้ า ยคื อ นครศรี ธ รรมราช ซึ่ ง กองทั พ ที่ ส ่ ง มาท� ำ การไม่สำ� เร็จ พระเจ้าตากสินจึงยกทัพมาเอง เจ้าพระยา นคร (หนู) เกรงในพระบารมีจึงพาครอบครัวหนีไปอยู่ ปัตตานี แต่กถ็ กู จับส่งตัวมาถวายแด่พระเจ้าตากสินจนได้ แต่กไ็ ด้รบั การอภัยโทษเนือ่ งจากเจ้าพระยานคร (หนู) นัน้ เป็นนักรบที่มีฝีมือ จึงมอบหมายให้รับผิดชอบในช่วงที่ ทหารที่ มี ฝ ี มื อ แตกกระสานซ่ า นเซ็ น เหลื อ น้ อ ยเต็ ม ที เจ้ า พระยานคร (หนู ) มี บุ ต รสาวสามนาง คนโตเป็ น ภรรยา 'ปลัดพัด' ซึง่ ต่อมาก็ได้เลือ่ นขึน้ มาเป็น 'เจ้าพระยา นคร' สืบต่อจากพ่อตา เจ้าพระยานคร (หนู) ได้ถวายบุตร สาวทัง้ สองให้เป็นสนมในสมเด็จพระเจ้าตากสิน ในปี ๒๓๑๙ 'เจ้าพระยานคร' (พัด) เดินทางไปเข้า เฝ้าพระเจ้าตากสินที่กรุงธนบุรี พระองค์ได้สอบถามถึง ทุกข์สุขก็ได้ทราบว่าขณะนั้นภรรยาเพิ่งเสียชีวิต ตกพุ่ม หม้ายอยู่คงมีความทุกข์ พระองค์จึงประทานพระสนม 'หม่อมปราง' ซึง่ เป็นน้องสาวของภรรยาเจ้าพระยานครที่ เสียชีวติ ไปมาให้ทดแทน เมือ่ กลับมาถึงเมืองนครจึงทราบ ว่า 'หม่อมปราง' ตั้งครรภ์มาแล้วสองเดือน เจ้าพระยา นครจึงได้สร้างวังให้เจ้าจอมปรางแยกออกมาต่างหากใน พืน้ ทีว่ ดั วังตะวันตกในปัจจุบนั 'เจ้าจอมมารดาปราง' ได้เลี้ยงดูบุตรชายอยู่ ณ วัง แห่งนีจ้ นเติบโต พืน้ ทีว่ งั แห่งนีด้ า้ นหลัง (ฝัง่ ตะวันตก) เป็น พืน้ ทีป่ า่ รกร้างชาวบ้านเรียกว่า 'ป่าตากแดด' แต่เดิมสมัย โบราณเคยเป็นป่าขี้แรด (ชื่อพืชพื้นเมืองชนิดหนึ่ง) ชาว เมืองนครในสมัยก่อนโน้นยังไม่มีธรรมเนียมการเผาศพ จึงน�ำศพออกมาทิง้ ค้างไว้ในป่านอกเมือง ก็คอื ป่าขีแ้ รดนี้ จนเมื่อคติความเชื่อเรื่องการเผาศพเกิดขึ้นป่าขี้แรดก็ถูก ทิง้ ร้างไป 'เจ้าพระยานคร' (พัด) จึงได้ตกแต่งพืน้ ทีส่ ว่ นนี้ ให้กลายเป็น 'อุทยานดอกไม้' อันสวยงามขึน้ มาแทน ล่วงเข้ามาถึงปี ๒๓๔๘ 'เจ้าจอมมารดาปราง' ได้เสีย ชีวติ ลงประกอบกับบุตรชายหนุม่ น้อย >> อ่านต่อหน้า ๙

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ นาย จ�ำเริญ ทิพญาพงศ์ธาดา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช และรองผูว้ า่ ฯ เชิญพวงมาลาหลวงและพวงมาลาของ สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ พวงมาลาของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทูล กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี พระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิรวิ ณ ั ณวรีนารีรตั น์ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า สิรภิ าจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ วางหน้าหีบศทหารชุดปฏิบัติการกองร้อย ๑๕๓๒๔ หน่วยเฉพาะกิจปัตตานี ๒๕ ทัง้ ๔ นาย ซึง่ เสียชีวติ จากเหตุ คนร้ายลอบวางระเบิด ณ บริเวณถนนกลางทุง่ นา บ้านชะมา ม. ๓ ต.น�ำ้ ด�ำ อ.ทุง่ ยางแดง จ.ปัตตานี เมือ่ วันที่ ๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๖๐

วันที่ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ นายดนัย เจียมวิเศษสุข รองผูว้ า่ ฯ เป็นประธานในพิธปี ระกอบพิธบี ำ� เพ็ญกุศลเพือ่ อุทศิ ถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อนันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเจริญ พระพุทธมนต์ถวายพระพรชัยมงคลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ โดยมี พระเทพวินยาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นประธานสงฆ์ เหล่าหัวหน้าส่วนราชการพลเรือน ตุลาการ ทหาร ต�ำรวจ ข้าราชการทุกสังกัด และประชาชนทุกหมูเ่ หล่าร่วม ในพิธอี ย่างพร้อมเพรียง ณ พระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๕

ลดาวัลย์ ช่วยชาติ ผอ.ททท.นครฯ จัดแคมเปญใหญ่ 'ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง' และ '๑๒ เมืองต้องห้าม พลาด Plus' น�ำนักท่องเทีย่ วสัมผัส เรียนรู้ และรับประสบการณ์ แปลกใหม่ ในชุมชนเมือง และการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ได้เรียนรู้ เรือ่ งวัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ โดยน�ำสือ่ มวลชนและคณะ ลงท่องแพทีบ่ า้ นวังหอน อ.ชะอวด มา ปชส. ตัวอย่างการท่อง

เมือ่ วันที่ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานโล่และเกียรติบตั ร โครงการ 'มหาวิทยาลัยเด็กประเทศไทย' ณ บ้านวิทยาศาสตร์ สิ ร ิ น ธร อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ป ระเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี มรภ.นครฯ เป็นตัวแทน เข้ารับฯ

'บี บ่อล้อ' แจ้งว่างานสมโภชหลักเมืองนครระหว่าง ๑-๕ สิงหาคมนี้ 'เจ้านาย' ก�ำชับให้ยง่ิ ใหญ่กว่าปีกอ่ นๆ ใครมาสักการะ องค์พอ่ นอกจากเทีย่ วฟรี กินฟรี กลางคืนชมคอนเสิรต์ ศิลปินดัง อาทิ DAX, วงกลม, ซิลลี่ ฟูล, L.กกฮ., โป่ง หินเหล็กไฟ, แบล็ค เฮด, ไข่ มาลีฮวนน่า

เทีย่ วแบบ 'วิถไี ทยเก๋ไก๋สไตล์ลกึ ซึง้ Local Experience' สนใจ เพิ่มเติมเข้า Facebook ของ TAT นครศรีธรรมราช หรือ สอบถามที่ ๐๗๕-๓๔๖๕๑๕-๖

ยังเดินหน้าต่อไป... ผูว้ า่ ฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา น�ำ หัวหน้าส่วนราชการ จัดท�ำโครงการ 'ผูว้ า่ ฯ เดินดิน กินข้าวแกง แหลงใต้รบั ใช้คนคอน' (ตอนพัฒนาเมืองคอนสูม่ รดกโลก) ลง พบปะประชาชนชาวลานสกา และรับฟังแนวทางการพัฒนา ปัญหา อุปสรรค สิ่งที่ขาดแคลน เพื่อช่วยกันพัฒนา อ.ลานสกาให้ เจริญมากยิง่ ขึน้ ทีว่ ดั ลานสกาใน ก่อนเยีย่ มชมบูธแสดงกิจกรรม จ�ำหน่ายสินค้าชุมชน สินค้าโอทอป สินค้าธงฟ้าราคาประหยัด ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน ผูว้ า่ ฯ พักค้างแรมทีว่ ดั ลานสกาในตืน่ เช้ามาร่วมท�ำบุญตักบาตรกับประชาชน

ข่าวจากบริษัท ศุภาลัย จ�ำกัด (มหาชน) อดิศักดิ์ วารินทร์ศิริกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานโครงการ ภูมภิ าค ๓ จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายพร้อมมอบโปรโมชัน่ สุด พิเศษโครงการทัง้ บ้านเดีย่ ว บ้านรุน่ ใหม่ ทาวน์โฮม พร้อมอยู่ ๓ โครงการใน จ.สุราษฎร์ธานี อาทิ ศุภาลัย การ์เด้นวิลล์ ราคาเริม่ ต้น ๓.๕๙ ล้านบาท, ศุภาลัย วิลล์ ราคาเริม่ ต้น ๑.๗๙ ล้านบาท และศุภาลัย เบลล่า ราคาเริม่ ต้น ๒.๗๙ ล้านบาท ได้รบั ความ วันที่ ๑๔ มิถุนายนที่ผ่านมา ศูนย์การค้าเซ็นทรัล สนใจจากชาวสุราษฎร์ฯ และพืน้ ทีใ่ กล้เคียงอย่างน่าพอใจ พลาซานครฯ ร่วมกับเหล่ากาชาดจังหวัดนครฯ จัดงานวัน ผู้บริจาคโลหิตโลกประจ�ำปี ๒๕๖๐ (World Blood Donor Day) รองผูว้ า่ ฯ สกล จันทรักษ์ กับ วาสนา ทิพญพงศ์ธาดา นายกเหล่ากาชาดจังหวัดร่วมเป็นประธาน ด้วยการสนับสนุน ของ วรกัญญา เจริญสุข ผู้จัดการแผนกร้านค้าสัมพันธ์มี ผูใ้ จบุญบริจาคโลหิต ๑๙๔,๐๐๐ ซีซ.ี อารยา สารคุณ ผูบ้ ริหารฮอนด้าศรีนคร กับรุน่ พี่ Vi Suttikarn รักหมารักแมวเป็นชีวติ จิตใจ เจอเจ้าตัวเล็กบาดเจ็บ จับขึ้นรถไปรักษา ควักกระเป๋าชักเนื้อจนแฟบจึงคิดท�ำเสื้อสวยๆ สนใจสนับสนุนมองหาเสือ้ แบรนด์นี้

รองผูว้ า่ ฯ ขจรเกียรติ รักพานิชมณี เป็นประธานเปิด การอบรมมัคคุเทศก์ตัวน้อยเตรียมพร้อมต้อนรับนักท่องเที่ยว ชาวไทย ชาวต่างประเทศ น�ำเทีย่ ววัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร สถานที่ส�ำคัญที่ก�ำลังเสนอชื่อเป็นมรดกโลกตามแนวทางของ ททท. ที่ต้องการสร้างอาสาสมัครน�ำเที่ยววัดพระมหาธาตุฯ ณ ห้องประชุมวัดพระนคร อ.เมือง Find Us On :

Page เพชรทองซีกวง

วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ภักดี เหมทานนท์ ผอ. ร.ร.เบญจมราชูทศิ จัดพิธแี สดงความยินดีแก่ ครองพิภพ วันที่ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ ฮอนด้าศรีนคร ได้เข้าร่วม วิรตั นิ นั ท์ นักเรียนทีม่ คี ะแนนสอบแอดมิชชัน่ เป็นอันดับ ๑ ของ ประเทศ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๖๐ เป็นการยกย่องและสร้าง กิจกรรมไหว้ครู ประจ�ำปี ๒๕๖๐ และมอบทุนการศึกษาให้แก่ แรงจูงใจแก่ศิษย์ปัจจุบัน มีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมแสดง นักเรียน-นักศึกษาที่เรียนดี มีความประพฤติดี แต่ขาดแคลน ความยินดีลน้ สนาม ทุนทรัพย์ ณ วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช

Seekuang BJ

Line ID : @Seekuang

ทองซีกวง

Line ID : boonada

099-195-6996

โดย บจก.ซีกวงโกลด์ และ บจก.ทองบุณณดา ธุรกิจเพชรทองที่ลูกค้ามั่นใจได้ว่าคุ้มค่าด้วยคุณภาพและบริการ

ถ.เนรมิต ท่าวัง ชั้น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน ชั้ น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) หัวอิฐ คูขวาง (หน้า ธ.SME) ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร) สะพานยาว (ติดโลตัสเอ็กซเพรส) www.facebook.com/BOONADA หัวถนน (หน้าตลาด) ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


หน้า ๖

ริยา สุขชื่น หรือ 'สาวบ้านสวนปุณปัณ' ต่อไปนี้จะ เรียกว่า 'สาว' เธอเป็นลูกลานสกาแท้ๆ เป็นลูกพ่อ วิเชียร-แม่ภาณี สุขชื่น จบปริญญาตรีสาขาการจัดการ ทั่วไป มรภ. นครศรีธรรมราช และสาขาการโรงแรมและ ธุรกิจท่องเทีย่ ว “ตอนนี้ ส าวเป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ลั ย ลั ก ษณ์ อยู่ที่นั่นมาหลายปี ยังรักงานที่มหาวิทยาลัยอยู่ค่ะ อย่าง ที่ ค นต่ า งถิ่ น รู ้ กั น ว่ า คี รี ว ง อ� ำ เภอลานสกาของเราเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนที่ ค นอยากมาเที่ ย วกั น มาก สาว เป็นลูกคนในพื้นที่จึงได้เป็นเลขานุการเครือข่ายท่องเที่ยว ชุมชนอ�ำเภอลานสกา ได้งบสนับสนุนการท่องเที่ยวจาก มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เน้นท่องเทีย่ วเชิงเกษตร" ถือเป็นคนมีความรู้และสู้งาน ชอบงานเชิงอนุรักษ์ ชุมชนต้นน�้ำและธรรมชาติเป็นทุนอยู่แล้ว พ่อมีสวนสมรม เก่าอยู่ริมล�ำธารบ้านบนเหมือง ต�ำบลลานสกา จึงลงทุน เปิดโฮมสเตย์รองรับนักท่องเทีย่ วทีน่ ยิ มการท่องเทีย่ วแบบ อยู่กินและเรียนรู้วิธีชีวิตชาวบ้าน ซึ่งท�ำสวนเกษตรแบบ ผสมผสานปลูกพืชกินผลกินใบกินดอกในแปลงเดียว หรือ 'สวนสมรม' ค่อยๆ หาลูกค้าไปทีละรายๆ คนเคยมาอยูม่ า ค้าง มากินอาหารบ้านๆ ประทับใจก็ไปบอกต่อปากต่อปาก นักท่องเทีย่ ววิถเี กษตรทีช่ นื่ ชอบความเรียบง่ายก็เข้ามา “ทีแรกเป็นบ้านปลูกไว้อยู่กับลูกๆ น้องปุณกับน้อง ปัณช่วงวันหยุด สาวมีเพือ่ นทีม่ หาวิทยาลัยอยูม่ าก วันหยุด เพื่อนๆ ก็ชวนกันมาเที่ยวหน้าร้อนมีล�ำธาร หน้าผลไม้มี มังคุด ลางสาด ทุเรียน มีความสงบ เพือ่ นหลายคนรวมทัง้ นักเดินทางอยากให้เปิดรับนักท่องเทีย่ ว สาวปรึกษาพ่อกับ แม่แล้วตัดสินใจเปิด บอกเขาว่าบ้านสวนปุณปัณเป็นเรือน

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

รู้จักมากขึ้น ตอนแรกนายอ�ำเภอแพลนจะให้ ท่านผู้ว่าฯ นั่งพักผ่อนริมธาร แต่ต้องเดินทางไปงานศพคุณแม่ของ อดีตรัฐมนตรีชิณวรณ์ บุณยเกียรติ เลยกลับมาประมาณ สามทุม่ กว่าจะท�ำงานเสร็จได้นอนกว่าเทีย่ งคืน" 'รักบ้านเกิด' ขอภาพผู้ว่าฯ ในสายตาเจ้าของบ้าน สวน เธอว่า "ตอนเดินทางท่านให้เลขาฯสองสามคนหอบ แฟ้มเต็มหลังรถสามกอง ถ้าวางก็เยอะท่วมหัวแหละค่ะ นั่งเซ็นแฟ้มท�ำงาน ๒ ชั่วโมง เลขาฯที่ติดตามทยอยหอบ แฟ้มลงมาเก็บในรถ น่าจะเหนื่อยมากๆ นอนดึกตื่นเช้า มากๆ" ถามว่าผูว้ า่ ฯ คุยอะไรเป็นพิเศษ "ท่านถามถึงฤดูกาล ผลไม้ แล้วก็ที่มาในการเปิดบ้านสวนปุณปัณ การท�ำสวน สมรมของชาวบ้าน ท่านชมว่าธรรมชาติยังดีมากๆ และ อยากให้รกั ษาไว้อย่างนีต้ ลอดรวมถึงสวนมังคุด ๑๐๐ ปี ใน ลานสกา สาวดีใจมาก ผูว้ า่ ฯ แหลงใต้อย่างเป็นกันเอง ท่าน มาพักแบบวิถีชาวสวนติดดินแบบบ้านๆ ทานกับข้าวพื้น บ้าน แกงไก่กับหยวก ย�ำลูกมุดมะพร้าวคั่ว ปลาทอดซีอิ้ว ผัดผักเขลียงกับไข่ น�ำ้ พริกขย�ำแบบชาวบ้าน" ความตื่นเต้นความกังวลกลัวว่าต้อนรับไม่ดีที่หลับ ทีน่ อนไม่สบายจึงหมดไป “ท่านตื่นเช้ามาก ตื่นไปตักบาตรให้ทานไฟตั้งแต่ตี ๕ และท�ำบุญร่วมกับชาวบ้านที่วัดลานสกาใน วัดโบราณ มีโบสถ์เก่าหลายร้อยปี กี่ปีสาวไม่แน่ใจค่ะ หลังจากนั้นก็ เดินทางต่อไปยังนพพิตำ� ท่านไปเยีย่ มเยือนชาวบ้านพักต่อ ที่วัดถ�้ำเขาเหล็ก สาวคิดว่าท่านท�ำงานรับใช้คนคอนด้วย หัวใจจริงๆ ค่ะ"

พักที่เรียบง่ายในวิถีเกษตรธรรมชาตินะ ทุกวันนี้วันเสาร์ อาทิตย์มนี กั ท่องเทีย่ วจองห้องพักเข้ามาเรือ่ ยๆ ค่ะ" เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ นายจ�ำเริญ ทิพยพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครฯ ยกคณะหัวหน้าส่วน ราชการตามโครงการ 'ผูว้ า่ ฯ เดินดิน กินข้าวแกง แหลงใต้ รั บ ใช้ ค นคอน' ไปพบปะชาวบ้ า นที่ วั ด ลานสกาใน ได้ สอบถามปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ขัดขวางการสร้าง ชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยววิถีเกษตรกรรมรองรับวันที่ พระบรมธาตุเจดีย์ได้ประกาศเป็นมรดกโลก ซึ่งต้องจัด เตรี ย มล่ ว งหน้ า เพราะลานสกาได้ รั บ การประกาศเป็ น พื้นที่ที่อากาศดีที่สุดในประเทศไทยใครๆ ก็ต้องการมาสูด อากาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมีก�ำหนดพักค้างที่ลานสกา ๑ คืน ตอนเช้าตักบาตรร่วมกับชาวบ้าน 'พ่อเมือง' เลือกพัก ค้างทีบ่ า้ นสวนปุณปัณ สาวยิ้มหวานก่อนตอบ “สาวต้องขอบคุณท่านนาย สนใจบ้านสวนปุณปัณดูที่นี่ https://www.faceอ�ำเภอส�ำคัญ อรทัย รวมถึงทีมงานของท่านผู้ว่าฯ ที่ให้ book.com/profile.php?id=1299266535&fref=ts เกียรติพักค้างที่บ้านสวนปุณปัณท�ำให้สวนของเราเป็นที่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

จดหมายข่าว

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช

วัดเก่าในต�ำบลคลัง เขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราชประกอบด้วย ๔ ต�ำบล ต�ำบลที่มี พืน้ ทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ คือ “ต�ำบลคลัง” ซึง่ มีพนื้ ทีเ่ พียง ๒.๐๐ ตารางกิโลเมตร แต่มวี ดั อยู่ ๑๓ วัด ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นวัดร้าง ๘ วัด วัดร้างเหล่านีป้ ระกอบด้วย ๑. วัดชายตัง เนือ้ ที่ ๓ ไร่ ๒ งาน ๖๗.๖ ตารางวา เคยเป็นทีต่ งั้ โรงเรียนเบญจมรา ชูทศิ ต่อมาเมือ่ โรงเรียนได้ยา้ ยไปอยูท่ ตี่ ำ� บลโพธิเ์ สด็จ กรมสามัญศึกษา (ชือ่ สมัยนัน้ ) จึง ขอใช้เป็นทีต่ งั้ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช ๒. วัดพระสูง เนือ้ ที่ ๔ ไร่ ๑ งาน ๗๔.๕ ตาราวา เรียกอีกชือ่ ว่า “วัดพระวิหารสูง” อยูต่ ดิ กับวัดชายตัง ปัจจุบนั เป็นโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช ๒ ๓. วัดท่าช้าง เนือ้ ที่ ๑๗ ไร่ ๑ งาน ๒๔.๙ ตารางวา (เป็นโฉนด ๒ แปลง) เป็นวัด ใหญ่สมัยอยุธยาตอนต้น สร้างโดยท้าวโคตรคีรีเศรษฐี ปัจจุบันใช้พื้นที่ส่วนหนึ่งของวัด เป็นมัสยิดชื่อ “ซอลาฮุดดิน” และอีกส่วนหนึ่งเป็นกองบังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด นครศรีธรรมราช ๔. วัดหูนำ�้ เนือ้ ที่ ๘ ไร่ ๕๖.๗ ตารางวา (เป็นโฉนด ๔ แปลง) เป็นวัดทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ทางรถไฟสายนครศรีธรรมราช-เขาชุมทอง มีถนนยมราชตัดผ่าน ปัจจุบันเป็นสุสาน คริสเตียน (บริเวณตลาดผีหบี ) ๕. วัดเจดียย์ กั ษ์ เนือ้ ที่ ๑๗ ไร่ ๓ งาน ๗๔ ตารางวา เป็นวัดทีม่ เี จดียท์ รงระฆังคว�ำ่ ขนาดใหญ่เรียกว่า “เจดียย์ กั ษ์” มีเขตติดต่อกับวัดพระเงิน ปัจจุบนั พืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ใช้เป็น ส�ำนักงานเทศบาลนครนครศรีธรรมราช และอีกส่วนหนึ่งเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษา นครศรีธรรมราช ๖. วัดพระเงิน เนื้อที่ ๒ ไร่ ๓ งาน ๒๐.๒ ตารางวา เป็นวัดที่มีพระพุทธรูป ปู น ปั ้ น ขนาดใหญ่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ เดิ ม พระเงิน ช� ำ รุ ด มาก กรมศิ ล ปากรร่ ว มกั บ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชในสมั ย นายสั น ต์ เอกมหาชัย เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดด�ำเนินการ บูรณะครั้งใหญ่ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ พื้นที่ ปัจจุบนั อยูต่ ดิ กับส�ำนักงานเทศบาลนคร ๗. วัดประตูขาว เนือ้ ที่ ๑๑ ไร่ ๑ งาน เจดีย์ยักษ์ ๔๘.๙ ตารางวา เคยมี ชื่ อ เสี ย งในฐานะ ที่มีบ่อน�้ำอภิเษกที่ใช้ในรัฐพิธีมาแต่โบราณ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งโรงเรียนอนุบาลจังหวัด นครศรีธรรมราช ๘. วัดเสมาทอง เนือ้ ที่ ๓ ไร่ ๑๘.๓ ตารางวา ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกของวัดท่าช้าง ปัจจุบันพื้นที่บางส่วนเป็นที่ตั้งวัดมเหยงคณ์ และบางส่วนเป็นที่ตั้งกองบังคับการต�ำรวจ ภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช

เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๐ วันเสาร์ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ขึน้ ๘ ค�ำ่ เดือนแปด(๘) ปรี ะกา วันเสาร์ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือนแปด(๘) ปรี ะกา วันอาสาฬหบูชา วันอาทิตย์ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แรม ๑ ค�ำ่ เดือนแปด(๘) ปีระกา วันเข้าพรรษา วันอาทิตย์ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แรม ๘ ค�ำ่ เดือนแปด(๘) ปรี ะกา วันอาทิตย์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แรม ๑๕ ค�ำ ่ เดือนแปด(๘) ปรี ะกา วันจันทร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ขึน้ ๘ ค�ำ่ เดือนเก้า(๙) ปีระกา

หน้า ๗ การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

วัดเก่าในต�ำบลท่าวัง

ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช มีพนื้ ที่ ๒.๗๕ ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีความหนาแน่นสูงสุดในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ต�ำบลนี้มีวัดอยู่ ๒๒ วัด ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นวัดร้าง ๑๕ วัด วัดร้างเหล่านีป้ ระกอบด้วย ๑. วัดชมพูพล เนื้อที่ ๗ ไร่ ๓ งาน ๔๕.๑ ตารางวา (เป็นโฉนด ๒ แปลง) เป็นวัดขนาดใหญ่ในย่านตลาดท่าวัง ต่อมาในสมัยพระยาสุขุมนัยวินิตเป็นเทศาภิบาล มณฑลนครศรีธรรมราช ได้ตัดถนนราชด�ำเนินผ่านวัดนี้ และเทศบาลได้ตัดถนนผ่าน กลางวัด เรียกว่า “ถนนชมพูพล” ๒. วัดเท เนือ้ ที่ ๒ งาน ๓๙.๗ ตารางวา เป็นวัดเล็กๆ ตรงข้ามกับวัดศรีทวี (วัด ท่ามอญ) ปัจจุบนั เอกชนเช่าทีด่ นิ ประกอบการโรงกลึง ๓. วัดโพธิม์ อญ เนือ้ ที่ ๓ งาน ๖๑.๕๓ ตารางวา อยูต่ ดิ กับวัดศรีทวี (วัดท่ามอญ) ปัจจุบนั ใช้เป็นถนนข้ามไปยังสะพานยาว ๔. วัดมะขามชุม เนือ้ ที่ ๔ ไร่ ๗.๗ ตารางวา ตัง้ อยูต่ รงข้ามกับวัดประดูพ่ ฒ ั นาราม ปัจจุบนั เป็นทีต่ งั้ โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา (ฝ่ายอนุบาล) ๕. วัดกุฏ ิ เนือ้ ที่ ๘ ไร่ ๑ งาน ๖๗.๕ ตารางวา เป็นพืน้ ทีบ่ ริเวณใกล้เคียงโรงเรียน อ�ำมาตย์พทิ ยานุสรณ์ปจั จุบนั ๖. วัดประตูโกบ เนือ้ ที่ ๓๙ ไร่ ๓ งาน ๒๖.๒ ไร่ ตัง้ อยูถ่ ดั จากวัดแจ้งไปทางเหนือ ปัจจุบนั เป็นส่วนหนึง่ ของวิทยาลัยเทคนิคนคร ๗. วัดสมิท เนือ้ ที่ ๓ ไร่ ๖๙.๒ ตารางวา เป็นชือ่ ทีเ่ พีย้ นมาจากค�ำ “ส�ำริด” ใน พืน้ ทีบ่ ริเวณห้างสหไทย (เก่า) เป็นวัดคูแ่ ฝดกับวัดคิด (อ่านต่อฉบับหน้า)

วัดศรีทวี

วิทยาลัยเทคนิค นครศรีธรรมราช


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

มื​ื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ นักวิชาการ นักวิชาชีพ ข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับพลเมืองร่วมสนทนาเกี่ยวกับ การพัฒนาและบูรณะถนนราชด�ำเนิน คราวนี้ตัดสั้นลงมา เฉพาะพื้นที่หน้าวัดพระมหาธาตุฯ ซึ่งเป็นพื้นที่มรดกโลก ทัง้ buffer zone และ core zone ว่าควรจะพัฒนาและ บูรณะลักษณะไหนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งการอนุรักษ์ และการท่องเที่ยว ถ้าการจัดการถนนหน้าวัดพระมหาธาตุฯ ส�ำเร็จสวยงามจะยึดเป็นแบบในการจัดการแบ่งโซน ทัง้ ทีพ่ นื้ ที่ ชุมชนและวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกัน 'รักบ้านเกิด' สรุปสาระส�ำคัญจากห้องประชุม ณ อุทยานการเรียนรู้เทศบาลนครนครศรีธรรมราช บริเวณ สนามหน้าเมือง สถาปนิกจากเทศบาลกล่าวว่าสืบเนื่องมาจากกรม โยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง ส� ำ นั ก ผั ง เมื อ งส่ ว นกลางมี ง บ ประมาณ ๘๐ ล้านบาท ถ้าโยงกับการท่องเที่ยวงบฯ จะ ผ่านง่าย จึงเกิดการเชื่อมโยงถนนราชด�ำเนินจากวัดพระ มหาธาตุฯ ทุ่งท่าลาดและถนนกะโรมที่เป็นประตูไปสู่ แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติซึ่งส่วนกลางจะลงมาส�ำรวจให้ ทันการจัดท�ำงบฯ ปี ๒๕๖๑ ผู้ร่วมเสวนาท่านหนึ่งเสนอวิธีแบ่งโซนออกเป็น ๕ โซน ได้แก่ พระเวียงเมืองเก่า, โซนมรดกโลก, หน้าเมือง และตลาดแขก, ท่าวังเมืองเก่า ๒๐๐ ปี ถึงตลาดเย็น และ ส่วนรื่นฤดีรวมถึงทุ่งท่าลาด ซึ่งแต่ละโซนมีประวัติศาสตร์ อาคาร สถานทีส่ ำ� คัญๆ และอาชีพทีแ่ ต่งต่างกัน การแบ่งโซนยังอยู่บนหลัก คุณค่า (value zone) และการจัดการ (management) ผู้เข้าร่วมอีกท่านเห็นว่าการเชื่อมต่อของแต่ละโซน ถ้าแบ่งตามการตั้งถิ่นฐาน วัดพระมหาธาตุฯ กับองค์ ประกอบด้านกายภาพอืน่ ๆ เชือ่ มโยงกับโซนต่างๆ อย่างไร จึงจะเกิดมูลค่า อีกท่านหนึ่งกล่าวว่า คณะกรรมการหลายชุดของ ทางราชการที่ท�ำเรื่องพระธาตุสู่มรดกโลกเห็นว่ารูปแบบ เมืองเก่าเมืองนครเป็นแนวยาวมีโบราณสถานเกี่ยวข้อง นับแต่วัดท้าวโคตร วัดพระมหาธาตุฯ หอพระสิหิงค์ หอ พระอิศวร หอพระนารายณ์ สนามหน้าเมือง ตลาดแขก ท่าวัง เราจะท�ำอย่างไรให้เชือ่ มโยงให้เป็นเมืองโบราณ เรา น่าจะมีส่วนช�ำระประวัติศาสตร์ให้เป็นรูปธรรมก่อนจัด

ท�ำหรือบูรณะสาธารณูปโภค ๙ กิโลเมตร จากสี่แยกหัว ถนนเป็นต้นไปสาธารณูปโภคควรเป็นอย่างไร ทางเท้า ผิว จราจร ถนน ทางแยก ทางเชือ่ ม ป้ายบอกสถานที่ ถ้ากรม โยธาฯ จะสนับสนุนงบฯ ก็ตอ้ งการรูปแบบทีเ่ หมาะสมก่อน ผู้ร่วมเสวนาท่านหนึ่งเสนอให้มองมิติทางประวัติศาสตร์ ชีวิต สังคมและกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละชุมชน เพื่อเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว ว่านักท่องเที่ยวต้องการ อะไร อยู่ที่ไหน เที่ยวที่ไหน กินที่ไหน เพราะเมืองนคร ใหญ่มาก และมีความหลากหลาย ทั้งทางวัฒนธรรม ภูมิสถาปัตย์ ในระยะ ๙ กิโลเมตรมีตลาด มีวดั มีพระประธาน อาคารแม้ตน้ ไม้ในวัดซึง่ ต้องลงไปดูแต่ละวัดๆ ขณะเดียวกัน ต้องมองเรือ่ งความมัน่ คงยัง่ ยืน ผู ้ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ วั ด พระมหาธาตุ ฯ และมรดกโลก น� ำ กลั บ มาสนทนาเกี่ ย วกั บ มรดกโลกว่ า มี ๒ เรื่ อ ง คื อ (๑) ความแท้ ที่ ก ลั บ มาเป็ น ความเก่ า จากการพิ สู จ น์ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (๒) องค์ประกอบรวมๆ ใหม่ ที่ต้องไม่รบกวนการมองเห็นองค์พระบรมธาตุฯ ซึ่งต้อง ถามว่านักท่องเที่ยวที่มาเขาอยากเห็นอะไร นักท่องเที่ยว ต้องการจุดที่สามารถถ่ายรูปได้... "การรักษาคุณค่าเดิมที่ จะเป็นรายได้ มาตรการในการควบคุมมุมถ่ายภาพ (view point) ที่ไม่ถูกท�ำลาย มีคณค่าทางเศรษฐกิจ มีมูลค่า มหาศาล อะไรที่ท�ำลาย view point เป็นการลดมูลค่า การควบคุมเพือ่ รักษาภูมทิ ศั น์ไม่ให้เสียไปเป็นสิง่ จ�ำเป็น" ผูเ้ สวนาตอกย�ำ้ ว่านักท่องเทีย่ วเสียเงินมาถ่ายรูปอย่า ได้ท�ำลาย street furniture เทศบาลคิดต่อว่าเหมาะสม หรือกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่ามองจากข้างในหรือข้างนอกวัด

อย่าให้รบกวนองค์พระบรมธาตุฯ ดังที่ ดร.โรนัลด์ ซิลวา กรรมการมรดกโลกเสนอแนะไว้ ผู้เสวนาอีกท่านเสริมว่าการตกแต่งทรงพุ่มต้นไม้ก็ ต้องอาศัยผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพฤกษศาสตร์ การปลูกควรปลูก ต้นไม้ชนิดไหน ให้ดอกสีอะไรที่สอดคล้องกับพื้นที่หลักซึ่ง สามารถท�ำได้โดยออกเทศบัญญัติ เจ้าหน้าที่เทศบาลกล่าวว่าเทศบาลมีงบฯ สามารถ จัดหาต้นไม้ได้ การขยายทางเท้าเป็นไปได้ยาก ปลูกต้นไม้ บังหน้าอาคารบ้านเรือนเจ้าของเขาไม่ยอม เอาผิวจราจร มาขยายเป็นทางเท้าไม่ได้ ผู้บริหารหอการค้านครฯ มองเรื่องการจัดถนนคน เดินหน้าวัดพระมหาธาตุฯ ซึ่งจะเป็นผลดีทางเศรษฐกิจ ขณะไม่ขัดต่อการอนุรักษ์และคุณค่าของพื้นที่ต้องได้รับ ความร่วมมือจากชุมชน ต้องสร้างความเข้าใจ ถ้าเรามี บริการขนส่งมวลชนที่ดี มีสถานที่จอดรถตลาดถนนคน เดินอาจเกิดขึน้ ได้ วงเสวนายั ง พู ด ถึ ง เรื่ อ งโซนควบคุ ม ความสู ง ของ อาคารโดยก�ำหนดไว้ในรัศมีเท่าไร โดยเอาพระบรมธาตุฯ เป็นศูนย์กลาง เราจะจ�ำกัดความสูงของอาคารไว้กี่เมตร จังหวัดอยากปลูกต้นไม้ในเมืองจากประตูชยั ถึงตลาดท่าม้า ทั้ ง สถานที่ ร าชการและวั ด ซึ่ ง อาจเป็ น ราชพฤกษ์ ป้ า ย โฆษณาสี แ ปลกออกไปขอร้ อ งใช้ สี โ ทนเดี ย วกั น ในเขต ควบคุม รูปเก่าวัดพระมหาธาตุฯ มีตน้ ตาล ต้นโพธิเ์ ก่าแก่ ควรดูแล ทัง้ ตกแต่งและใส่ปยุ๋ บ�ำรุง ผู ้ ร อบรู ้ เ รื่ อ งภู มิ ทั ศ น์ แ ละการจั ด สวนเสนอว่ า เรา สามารถปลูกราชพฤกษ์จากหน้าวัดพระมหาธาตุฯไปถึงหอ นาฬิกา ใช้ตน้ ขนาด ๔ นิว้ แล้วอาศัยแต่งกิง่ ชลอได้ ปลูก ราชพฤกษ์หน้าศาลากลาง เหลืองปรีดียาธรหรือทองอุไร ก็ได้ เทศบาลท�ำได้ทันที จะเป็นการส่งเสริมคุณค่าแก่ เมืองเก่า สมาชิกพูดเรือ่ งการลดความหนาแน่นของการจราจร หน้าวัดพระมหาธาตุฯ เพราะยวดยานจ�ำนวนมากรบกวน โบราณสถาน การท่องเที่ยวต้องการที่จอดรถและระบบ จราจรน�ำเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ มองในแง่เศรษฐกิจก็ดี แต่เริ่มมีมลภาวะ การมีที่จอดรถท�ำให้ปริมาณรถเพิ่มขึ้น บางมรดกโลกการเข้าถึงนักท่องเที่ยวต้องเดิน ถ้าต้องการ สร้าง walking street คณะกรรมการเมืองหรือเทศบาล ด�ำเนินการได้ ถนนคนเดินรอบวัดพระมหาธาตุฯ อาจมี สามล้อ รถน�ำเทีย่ วขนาดเล็ก การตัดแต่งต้นไม้ให้เหมาะสม โดยใช้กฎหมายบังคับเป็นพืน้ ทีเ่ มืองเก่า การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าให้เกิดคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ ความภาคภูมิใจของชาวเมืองและสร้าง คุณค่าทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งที่ต้องเร่งท�ำ โลกอนาคตทุก ประเทศล้วนแสวงหารายได้จากการท่องเทีย่ ว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๙

รายงาน

วามคืบหน้าเกี่ยวกับการเสนอพระบรมธาตุเจดีย์ขึ้น ทะเบียนเป็นมรดกโลก มีขั้นตอนส�ำคัญ หลังจาก เขียนเอกสารน�ำเสนอ (Nomination Dossier) ฉบับ ภาษาไทยเสร็จเรียบร้อยและมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ อีกชั้น เพื่อเสนอคณะกรรมการมรดกโลกที่ปารีสภายใน วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ นับแต่วันนี้เป็นต้นไปคณะท�ำงานทางวิชาการน�ำ โดย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ต้องระดมสรรพก�ำลังและ ความสามารถท�ำเอกสารให้เรียบร้อย ก่อนส่งไปยังคณะ กรรมการมรดกโลก นั บ แต่ นี้ จ นถึ ง ปลายปี ๒๕๖๐ เอกสารดังกล่าวต้องผ่านกรรมการ ๓ คณะในประเทศเสีย ก่อน ได้แก่ คณะกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรมซึ่งมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมเป็นประธาน ต่อไปก็ เสนอคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครอง มรดกโลกมีรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และคณะ รั ฐ มนตรี ซึ่ ง นายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธาน ทั้ ง ๓ คณะ เกีย่ วข้องกับรัฐ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายนที่ผ่านมานายวีระ โรจน์-

พจนรัตน์ รมว.กระทรวงวัฒนธรรม นายอนันต์ ชูโชติ อธิบดีกรมศิลปากร พร้อมคณะลงมาประชุมที่เมืองนคร เพื่อติดตามความคืบหน้าการจัดท�ำเอกสารเสนอวัดพระ มหาธาตุฯ ขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก การประชุ ม ครั้ ง นี้ ถื อ ว่ า ส� ำ คั ญ มาก เพราะ รมว. กระทรวงวัฒนธรรมเป็นประธานคณะกรรมการชุดที่ ๑ ดังกล่าว รมว.กระทรวงวัฒนธรรมจะได้รับทราบล่วงหน้า ก่อนเอกสารจะถือมีคณะกรรมการชุดที่ ๑ ที่ท่านเป็น ประธาน และจะดียิ่งขึ้นเมื่อเอกสารเข้าสู่คณะกรรมการ ชุดที่ ๒ และ ๓ ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เราอาจ สบายใจว่าเอกสารทีผ่ า่ น ๓ คณะ รมว.วัฒนธรรมมีบทบาท

อย่างมากในฐานะปากเสียงให้ผ่านไปทีละด่านๆ โดย เฉพาะด่านของความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีซึ่งท่าน เป็นหนึง่ ในนัน้ ด้วย หลังรับฟังบรรยายสรุปและสักการะองค์พระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ รมว.วั ฒ นธรรมกล่ า วกั บ สื่ อ มวลชนว่ า วั ด พระมหาธาตุฯ เมืองนครมีศกั ยภาพและมีโอกาสขึน้ บัญชี เป็นมรดกโลกค่อนข้างสูง เพราะมีความโดดเด่นด้าน การเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม และการสืบทอดทางวัฒนธรรมมายาวนาน ท่านมั่นใจว่าทางเราจะจัดท�ำเอกสาร เสร็ จ สมบู ร ณ์ พ ร้ อ มน� ำ เสนอต่ อ ยู เ นสโกภายในเดื อ น มกราคม ๒๕๖๑

<< ต่อจากหน้า ๔

ได้ขนึ้ เป็นปลัดเมืองนครศรีธรรมราช และได้เลือ่ นขึน้ เป็น 'เจ้าพระยานคร' ในช่วงต่อมาด้วยเหตุที่ 'เจ้าพระยานคร' (พัด) กราบบังคมทูลลาออกเนื่องด้วยชราภาพมากแล้ว เมื่อ 'เจ้าพระยานคร' (น้อย) ย้ายไปอยู่ ณ วังหลวง (ที่ ศาลากลางปัจจุบัน) ก็ยกวังที่อยู่กับมารดาเป็นวัดชื่อ 'วัดวัง' ส่วนในอุทยานฝั่งตะวันตกก็ก่อเนินดินขึ้นแล้ว ปลงพระศพ ณ เนินดินแห่งนั้น เมื่อมีผู้ใช้ทางเดินตัด ผ่านระหว่างวัดกับอุทยานจึงสร้างวัดขึ้นในฝั่งอุทยานอีก วัดเรียกว่า 'วัดวังตะวันออก' และ 'วัดวังตะวันตก' ตัง้ แต่ นัน้ มา น่าจะประมาณ พ.ศ.๒๓๗๐ จนถึงปี ๒๓๘๐ 'เจ้าพระยานครน้อย' ผูเ้ ป็นบุตรได้ ด�ำริให้ก่ออิฐถือปูนสร้างพระพุทธรูปองค์หนึ่งบนเนินดิน ที่เคยปลงพระศพของ 'เจ้าจอมมารดาปราง' เป็นพระพุทธรูปหน้าตัก ๔.๑๐ เมตร มีความสูง ๔.๗๕ เมตร วัดถึง ยอดพระเกศ แล้วถวายพระนามว่า 'พระศรีธรรมโศกราช' เพื่อเป็นกตัญญุตานุสรณ์แด่พระมารดา และเฉลิมพระเกียรติยศแห่งเจ้าผู้ครองนครศรีธรรมราชทุกยุคสมัย แต่ พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ นี้ ช าวเมื อ งนครยั ง นิ ย มเรี ย กว่ า 'พระสูง' ต่อเมือ่ ได้สร้างวิหารโล่งครอบลงไปก็เรียกเปลีย่ น ว่า 'พระวิหารสูง' ล่วงเลยผ่านมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๓๑ ยุคสมัย 'เจ้า สุธรรมมนตรี' (หนูพร้อม) ท่านได้แต่งตั้ง 'พ่อท่านย่อง สุวรรณโณ' เป็นเจ้าอาวาสวัดวังตะวันตก ซึ่งเจ้าอาวาส องค์ก่อนชื่ออะไรหรือจะใช้เจ้าอาวาสวัดวังตะวันออก ดูแลด้วยหรือไม่ ก็ไม่ปรากฏหลักฐาน 'พระครูกาชาดย่อง' นี้เป็นพระที่ชาวนครให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก เพราะท่านมีความรอบรู้ในเชิงช่างอยู่ด้วย ประกอบกับ ท่านเป็นพระนักพัฒนา มีเจ้าสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม) ให้การสนับสนุนอยู่ด้วย ท่านท�ำการสิ่งใดมักส�ำเร็จผล ด้วยดี สิง่ ก่อสร้างส�ำคัญทีย่ งั ปรากฏอยูจ่ นปัจจุบนั คือ 'กุฏิ

โบสถ์เก่า

กลิ่นสะตอ' คือกุฏิที่มีกลิ่นอายความเป็นใต้นั่นเอง กุฏิ แห่งนี้มีที่ที่ไปคือ 'พระครูกาชาดย่อง' ท่านได้เห็นวังเก่าที่ วัดวังตะวันออกถูกทิ้งร้างผุพังไปตามกาลมานาน จึงได้รื้อ เอาส่วนที่ดีๆ บางส่วนมาสร้างเป็นกุฏิที่วัดวังตะวันตกทั้ง ใหม่และเก่า ช่างที่ท่านระดมมาช่วยสร้างมีหลายคณะ (ตามค�ำบอกเล่าของคุณหมอบัญชา พงษ์พานิช) มีทั้งช่าง ฝีมือคนไทยและคนจีน แต่การก่อสร้างก็ลงตัวสวยงาม แต่ละมุมแต่ละด้านได้ชา่ งต่างกันงานก็ออกมาวิจติ รต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นวงกบประตู บ้านหน้าต่าง ช่องลม ลายฉลุ แปลกตาหลายลาย เป็นงานศิลปะชั้นเยี่ยมทีเดียว จนได้ รับการขึน้ ทะเบียนจากกรมศิลปากรเรียบร้อยแล้ว ภายในวัดยังมีโบสถ์เก่าอายุ ๑๐๐ กว่าปีอยูห่ ลังหนึง่ ถูกตัดลงเหลือเฉพาะช่วงหลัง (ตามภาพ) มีพระพุทธรูป เก่าแก่อยู่หลายองค์ ทราบว่าชาวท่าวังก�ำลังระดมสรรพ

ก� ำ ลั ง บู ร ณะขึ้ น มาให้ อ ยู ่ ใ นสภาพดี อี ก ครั้ ง กรมศิลป์ก็ให้การสนับสนุนอยู่ แม้ยังไม่ขึ้น ทะเบียน แต่เป็นพุทธสถานเก่าแก่กว่า ๑๐๐ ปี ส่วนวิหารพระสูงก็ได้ปรับปรุงสร้างโบสถ์ ใหม่ครอบเมื่อปี ๒๕๑๕ และได้รับพระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภู มิ พ ลฯ และสมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรม ราชินนี าถ ทัง้ เจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ฯ และเจ้าฟ้าชาย ก็ได้ ร่ ว มเสด็ จ ทรงยกฟ้ า อุ โ บสถวั ด วั ง ตะวั น ตก เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๑๗ อีกด้วย หลังจากที่ท้องฟ้าที่วัดวังได้เปิดขึ้นได้ตรงกับวันที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนกลุ ่ ม หนึ่ ง เข้ า ไปบู ร ณะปิ ด ทองอร่ า ม ทั้ง องค์ 'พระศรีธรรมโศกราช' พอดิบพอดี ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไปวัดวังตะวันตก พื้นที่ประวัติศาสตร์ส�ำคัญของ เมืองจะกลับมาเป็นวัดที่งามสง่าอีกครั้งหนึ่ง สมนามว่า 'วัดวัง' อีกครั้ง อุโบสถเก่าจะได้รับการบูรณะ กุฏิกลิ่น สะตอจะมีกิจกรรมให้มีชีวิตชีวาให้ผู้คนได้ชื่นชมอีกครั้ง หนึ่ง ตึกหอไตรก็จะได้รับการตกแต่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ ส�ำคัญอีกแห่ง หอระฆังเก่าได้รับการปรับปรุงให้ส่งเสียง เหง่งหง่างปลุกพุทธศาสนิกชนให้ได้กลับเข้ามาปฏิบัติ ธรรมกันสืบไป


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๐

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)

บับนี้ไม่มีเรื่องเที่ยวเมืองมรดกโลก ผมเห็นว่าพระ ธาตุสู่มรดกโลกของเราก�ำลังคืบหน้า จึงขอยกเอา จดหมายข่าว 'วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่ มรดกโลก' ที่ท่านอาจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ซึ่งเป็น ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการเขียนไว้มาบอกกล่าวกันว่า เราไปถึงไหนกันแล้วอย่างย่อๆ เอาแต่สาระส�ำคัญ เพราะ ว่า 'รักบ้านเกิด' ตามรายงานเรือ่ งนีอ้ ยูต่ ลอดเวลา จากการประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกครั้ ง ที่ ๓๘ เมือ่ วันที่ ๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ ขณะนีด้ ำ� เนินการท�ำ ร่ า งเอกสารน� ำ เสนอ (Nomination Dossier) ฉบั บ ภาษาไทยเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย โดยนั ก วิ ช าการ ม.ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช ร่ ว มกั บ นั ก วิ ช าการด้ า นโบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร์ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละศิ ล ปกรรม จากมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในเมืองนครและกรุงเทพฯ หลาย มหาวิทยาลัย รวมถึงนักวิชาการจากกรมศิลปากรที่เป็น ผูแ้ นะน�ำแก้ไข นั บ แต่ เ ดื อ นมิ ถุ น ายนจนถึ ง ธั น วาคม ปี ๒๕๖๐ ทางเราต้องเร่งด�ำเนินการ ๔ เรือ่ งให้แล้วเสร็จ ๑. การตรวจสอบความถูกต้องของต้นฉบับจะด�ำเนิน การจั ด ประชุ ม พิ จ ารณาความถู ก ต้ อ ง ท� ำ ให้ ค รบถ้ ว น สมบูรณ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปกรรมและหลักธรรมพระพุทธศาสนาภายในปลายเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ ที่องค์ การสปาฟา กรุงเทพฯ องค์การสปาฟานี้เป็นศูนย์ภูมิภาคศึกษาว่าด้วยโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ เขามุ่งเน้น การศึกษาวิเคราะห์และด�ำเนินการในเรื่องของบันทึก ประวัติศาสตร์และประเพณีของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนการพัฒนาผูส้ อน วิธกี ารสอน เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และประเพณี มีการจัดสรรทุน ฝึกอบรมแก่ประเทศสมาชิก ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

“ราหุล ! กระจกเงามีไว้สำ� หรับท�ำอะไร ? “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! กระจกเงามีไว้สำ� หรับส่องดู พระเจ้าข้า !”. “ราหุล ! กรรมทัง้ หลาย ก็เป็นสิง่ ทีบ่ คุ คลควรสอดส่อง พิจารณาดูแล้วดูเล่าเสียก่อน จึงท�ำลงไป ทางกาย, ทางวาจา หรือ ทางใจ ฉันเดียวกับกระจกเงานัน้ เหมือนกัน”. -บาลี ม. ม. ๑๓/๑๒๕/๑๒๘ เชือ่ ว่า “กรรม” ไม่มี อันตรายอย่างยิง่ ภิกษุทงั้ หลาย ! ในบรรดาผ้าทีท่ อด้วยสิง่ ทีเ่ ป็น เส้นๆ กันแล้ว ผ้าเกสกัมพล (ผ้าทอด้วยผมคน) นับว่าเป็น

๒. การแปลเอกสารจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ จะด�ำเนินการในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๐ หลังปรับแก้ให้ สมบูรณ์ตามข้อ ๑ ๓. การจัดท�ำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ จะด�ำเนินการใน เดือนตุลาคมหลังแปลเป็นภาษาอังกฤษและตรวจแก้โดย ผู้เชี่ยวชาญแล้วเสร็จ หมายความว่าเราจะเสนออย่าง มัน่ ใจยิง่ ขึน้ ๔. การน�ำเสนอขอความเห็นชอบจากรัฐบาล หรือ การน� ำ เข้ า สู ่ ก ารพิ จ ารณาขอความเห็ น ชอบจากคณะ กรรมการระดับชาติที่เกี่ยวกับการเสนอเป็นมรดกโลก ซึ่ง มี ๓ คณะ ได้แก่ คณะกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม ซึง่ มีรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรมเป็นประธาน ต่อไป ก็เสนอคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครอง มรดกโลกมี ร องนายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธาน และคณะ รัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ซึ่งจะด�ำเนินการ ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ๒๕๖๐ ขั้ น ตอนต่ อ จากนั้ น ส� ำ นั ก งานนโยบายและแผน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในฐานะเลขาธิการจะ น�ำส่งศูนย์มรดกโลก ซึ่งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ก่อนวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ หลังจากนัน้ เราชาวนคร ก็ช่วยกันภาวนาให้การประชุมของพิจารณาของคณะ กรรมการอิโคโมส (ICOMOS) หรือ สภานานาชาติว่า ด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี (International Council on Monuments and Sites) และ คณะกรรมการมรดกโลกประกาศรับรอง ตอนนี้ทางภาคพลเมืองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเสวนาระดมความคิดหาแนวทางพัฒนา อนุรักษ์และ บูรณะบ้านเมือง ทั้งมุ่งหวังให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวน�ำ รายได้เข้าจังหวัดเรา โดยมีการขบคิดจัดกิจกรรม เช่น ถนนคนเดินหน้าวัดพระมหาธาตุฯ อย่างคึกคัก บางคณะ ออกส�ำรวจวัดวาอาราม ดังทีเ่ ขียนไว้ใน 'ชวนคิดชวนคุย' ในฉบับเดียวกันนี้

ผ้าเลวทีส่ ดุ . ผ้าเกสกัมพลนี้ เมือ่ อากาศหนาว มันก็เย็นจัด, เมือ่ อากาศร้อน มันก็รอ้ นจัด. สีกไ็ ม่งาม กลิน่ ก็เหม็น เนือ้ ก็กระด้าง; ข้อนีเ้ ป็นฉันใด, ภิกษุทงั้ หลาย ! ในบรรดาลัทธิตา่ งๆ ของ เหล่าปุถสุ มณะ (สมณะอืน่ ทัว่ ไป) แล้ว ลัทธิมกั ขลิวาท นับว่าเป็นเลวทีส่ ดุ ฉันนัน้ . ภิกษุทงั้ หลาย ! มักขลิโมฆบุรษุ นัน้ มีถอ้ ยค�ำและ หลักความเห็นว่า “กรรมไม่ม,ี กิรยิ าไม่ม,ี ความเพียรไม่ม”ี (คือในโลกนี้ อย่าว่าแต่จะมีผลกรรมเลย แม้แต่ตวั กรรมเองก็ ไม่ม,ี ท�ำอะไรเท่ากับไม่ทำ� ในส่วนของกิรยิ าและความเพียร ก็ มีนยั เช่นเดียวกัน).

จักมีมาในอนาคตกาลนานไกลข้างหน้า ท่านเหล่านัน้ ก็ลว้ นแต่เป็นผูก้ ล่าวว่า มีกรรม มีกริ ยิ า มีวริ ยิ ะ. มักขลิโมฆบุรษุ ย่อมคัดค้านพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เหล่านัน้ ว่า ไม่มกี รรม ไม่มกี ริ ยิ า ไม่มวี ริ ยิ ะ ดังนี.้ ภิกษุทงั้ หลาย ! ในกาละนี้ แม้เราเองผูเ้ ป็น อรหันตสัมมาสัมพุทธะก็เป็นผูก้ ล่าวว่า มีกรรม มีกริ ยิ า มีวริ ยิ ะ. มักขลิโมฆบุรษุ ย่อมคัดค้านเราว่า ไม่มกี รรม ไม่มกี ริ ยิ า ไม่มวี ริ ยิ ะ ดังนี.้

ภิกษุทงั้ หลาย ! คนเขาวางเครือ่ งดักปลา ไว้ที่ ปากแม่นำ �้ ไม่ใช่เพือ่ ความเกือ้ กูล, แต่เพือ่ ความทุกข์ ภิกษุทงั้ หลาย ! แม้พระอรหันตสัมมาสัมความวอดวาย ความฉิบหาย แก่พวกปลาทัง้ หลาย ฉันใด; พุทธเจ้าทัง้ หลาย ทีเ่ คยมีแล้วในอดีตกาลนานไกล มักขลิโมฆบุรษุ เกิดขึน้ ในโลก เป็นเหมือนกับ ท่านเหล่านัน้ ก็ลว้ นแต่เป็นผูก้ ล่าวว่า ผูว้ างเครือ่ งดักมนุษย์ไว้ ไม่ใช่เพือ่ ความเกือ้ กูล, แต่เพือ่ มีกรรม มีกริ ยิ า มีวริ ยิ ะ. มักขลิโมฆบรุษ ย่อมคัดค้านพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านัน้ ความทุกข์ ความวอดวาย ความฉิบหาย แก่สตั ว์ทงั้ หลาย เป็นอันมาก ฉันนัน้ . ว่า ไม่มกี รรม ไม่มกี ริ ยิ า ไม่มวี ริ ยิ ะ ดังนี.้ ติก. อํ. ๒๐/๓๖๙/๕๗๗. ภิกษุทงั้ หลาย ! แม้พระอรหันตสัมมาสัมพทุธเจ้าทัง้ หลาย ที่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

พวกเราแปลกันเสมอมาว่าเมืองเรานีแ้ ปลว่า "เมืองอันงามสง่าแห่งพระราชาผูท้ รงธรรม" พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ เคยตรัสและผมจดจ�ำใส่กบาลเสมอว่า "ไม่นา่ เชือ่ ว่าได้ชอื่ อย่างนี้ แล้วจะเป็นอย่างนี.้ .." แถมทีว่ ดั นี้ ซึง่ ตัง้ อยู่ ณ ใจกลางเมือง แถมยังเคยเป็นวังประสูตขิ องเจ้าเมือง ผูส้ บื สายจากท้าวพระยามหากษัตริย.์ ..พระยาตาก ... เมือ่ ๒๐๐ ปีกอ่ น แถมเป็นทีส่ ถิตย์ของพ่อท่านกาชาด-ย่อง ทีค่ นทัง้ นครนับถือบูชามาก ... เมือ่ ๑๐๐ กว่าปีกอ่ น แถมเมือ่ ๕๐ ปีทผี่ า่ นมา ... วิสาขบูชาปี ๒๕๐๖ พระเจ้าอยูห่ วั พระราชีนี พร้อมพระโอรสธิดา ได้เสด็จมายกช่อฟ้าพระอุโบสถไว้ ไฉนถึงได้เสือ่ มเสียทรุดโทรมลงถึงเพียงนี้ ? ๑เมือ่ ผมจบหมอและกลับมาเมืองนคร ใน พ.ศ.๒๕๒๕ ผ่านเข้าไปพบกุฎทิ รงไทยหลังหนึง่ แทรกอยูห่ ลังหอไตรอินทสุวรรณกับตึกแถวด้านหลัง ก�ำลังรอวันผุพงั แล้วรือ้ ลง ฟังมาว่า นักโบราณหลายคนในเมือง หมายตากันว่า จะเก็บชิน้ ส่วนไม้แกะสลักลายอันไหน กันไว้ทแี่ ต่ละบ้านกันบ้าง ผมกราบท่านเจ้าอาวาส-มหาภากรณ์ ว่าควรพิทกั ษ์และอนุรกั ษ์ไว้ เมือ่ ท่านเมตตาอนุโมทนา ๒ ผมจึงปรึกษากับ ๓ ฝ่ายส�ำคัญ ประกอบด้วย หนึง่ ทายาทแห่งสายสกุล ณ นคร มีคณ ุ พร้อม ณ นคร กับ คุณหญิงพโยม เสนีณรงค์ฤทธิ์ (สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) สอง ทางการอันมีหน่วยศิลปากร ศึกษาธิการจังหวัด และ หน่วยอนุรกั ษ์ศลิ ปกรรมสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีวทิ ยาลัยครูนครศรีธรรมราช (ขณะนัน้ ) เป็นฐาน สาม ชาวท่าวังแห่งเมืองนคร ซึง่ แน่นอนว่า มีแม่-น้าพา กะเพือ่ นพ้องเป็นต้นสายการสนับสนุน ระดมทุนมาได้หลายแสน เพือ่ ไปต่อยอดกับของทีท่ างราชการจะจัดสรรมาสมทบ แล้วก็บรู ณะเอาไว้ได้อย่างทีเ่ ห็นและเป็นอยู่ โดยมีการย้ายออกมาไว้บนลานทรายหน้ากุฎทิ า่ นเจ้าอาวาสหลังปัจจุบนั เพือ่ ความเด่น เป็นสง่าและงดงาม และไม่ตอ้ งรือ้ หอไตรอินทสุวรรณ กับ หอรูปพ่อท่านกาชาด

รวมทัง้ หวังไว้วา่ อาจจะได้บรู ณะทัง้ อาราม อันหมายถึงพระอุโบสถ โรงธรรม และ หอพระสูงด้านหลังทีข่ าดครึง่ มานานมาแล้ว การนี้ มีผใู้ หญ่ระดับน�ำของชาติหลายท่านทีล่ งมาช่วย อาทิ อ.ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง กับ ม.ร.ว.จักรรถ จิตรพงษ์ ทีบ่ อกผมว่า กว่าจะดันให้ได้ยา้ ยมาบูรณะตรงนีไ้ ด้กแ็ ทบตาย ด้วยนักอนุรกั ษ์สดุ ขอบหลายคนยืนยันว่าจะต้องบูรณะ ณ สถานทีด่ งั้ เดิมทีอ่ ยูใ่ นซอกเท่านัน้ หรือไม่กร็ อื้ อย่างอืน่ ออกเสีย หลังจากนัน้ ผมก็ถอื ว่าเสร็จกิจ ทุกอย่างก็ตามแต่ทา่ นเจ้าอาวาสและชาววัดจะจัดการต่อ โดยได้ประสานรายการ "ตามไปดู" มาประชาสัมพันธ์จนโด่งดังอยูช่ ว่ งหนึง่ ในชือ่ "กุฏกิ ลิน่ สะตอ" จนลงเอยอย่างทีเ่ กิดกับน้องเณรปลิม้ เมือ่ ต้นปีนี้ แล้วคลีอ่ อกมาเป็นเรือ่ งฉาวโฉ่แห่ง "นครเมืองพระ-ธรรมราชานคร" เมือ่ ต้นเดือนนี้ มีคณะต�ำรวจติดตาม สือ่ มวลชนเกาะติด คณะสงฆ์ลงมืออย่างฉับพลันทันการ แล้วชาวนครก็เข้ามาร่วมฟืน้ คืนกันคนละไม้คนละมืออย่างทีเ่ ห็น พระพุทธองค์ทรงตรัสรูแ้ ละสอนเสมอเรือ่ ง "ปัจจยการ" และ "การกุศล" วัดวังตะวันตกหรือวัดไหน ๆ เมืองนครหรือเมืองไหน ๆ หากปล่อยให้ "ปัจจยการ" ปนเปือ้ นไปจาก "กุศล" ก็เสียสถานะทัง้ นัน้ หวังว่า กรณีนา่ ศึกษาทีว่ ดั วังตะวันตก มหาอารามแห่งนครเมืองพระ-ธรรมราชานครแห่งนี้ จะเป็นอีกหมุดหมายแห่งการฟืน้ คืนบ้าน และเมือง นครศรีธรรมราชและประเทศไทย ของเราสืบไป. ๒๕ มิย.๖๐


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๒

ข่าวประชาสัมพันธ์

งค์การอนามัยโลกก�ำหนดเอาวันที่ ๓๑ พฤษภาคมของทุกปีเป็น 'วัน งดสูบบุหรี่โลก' เพื่อกระตุ้นสูบบุหรี่และ คนรอบข้างให้ตระหนักถึงพิษภัยอันตราย จากบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพของคนสูบและคน รอบข้าง โครงการควบคุมยาสูบโดยใช้ชุมชน เป็นฐานที่ได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนัก สร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม ส�ำนัก อนันท์ พรมนิน

พรหมพร สุขเกษม

ผู้ใหญ่โชค วารีนาค

คณะท�ำงาน อสม. โครงการชุมชนบ้านพังสิงห์ร่วมใจลดภัยบุหรี่ฯ

งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับชุมชนต�ำบลพังสิงห์ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครฯ ขั บ เคลื่ อ น โครงการ 'ชุ ม ชนบ้ า นพั ง สิ ง ห์ ร ่ ว มใจ ลดภัยบุหรี่ ทุกภาคีมีส่วนร่วมด้วยหลัก ๕ ร' มีพื้นที่เป้าหมาย ๗ หมู่บ้าน โดย ใช้กิจกรรมบูรณาการและการชักชวนของ อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า น (อสม.) เช่น การชักชวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้หยุดสูบทันที การใช้สมุนไพรเข้ามาช่วย

และการจดจุดสะท้อนเท้าไม่ให้อยากสูบ อีกต่อไป อนันท์ พรมนิน ผอ.รพ.ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลพังสิงห์ เปิดเผยว่าต�ำบลพังสิงห์ มีประชากรราว ๑๐,๐๐๐ คน มีผสู้ บู ยาสูบ และบุหรี่ ๒๗% และยังพบว่า ๘๐% ของ ผู้สูบมานานกว่า ๒๐ ปี สูบวัน ๑๐-๒๐ มวน กลายเป็นคนเลิกยาก โครงการตั้ง เป้าใช้ อสม. ๑ คน หาเครือข่ายเลิกสูบ ๔ คน และ อสม.จะต้องเป็นต้นแบบเลิก

บุหรี่ด้วย อสม.เป็นผู้ให้บริการกดจุดเลิก บุหรี่ และการแจกลูกอมสมุนไพร อสม.ลงพื้นที่พบคนเป็นโรคเรื้อรังจึง ตรวจปอด และนวดกดจุด ตอนนีเ้ ลิกได้เด็ด ขาด ๑๐๐ กว่าคน โครงการยั ง จั ด กิ จ กรรมด้ า นการ รณรงค์ ร ่ ว มกั บ โรงเรี ย นท่ า เรื อ มิ ต รภาพ เชิญบุคคลต้นแบบมาพูดคุยและ ชักชวน ปกครองเข้ า ร่ ว ม และยั ง ได้ ท� ำ กิ จ กรรม 'บ้านนีป้ ลอดบุหรี'่ ให้นกั เรียนน�ำป้ายไปติด ที่บ้าน และรณรงค์ในงานศพ การรณรงค์ ลงลึกถึงร้านค้าในชุมชนขอให้งดขายบุหรี่ “เราตั้งเป้าหมายไว้ว่าให้มีผู้เลิกบุหรี่ ได้ ๔๐๐ คน ภาพรวมทัง้ ต�ำบลน่าจะลดลง อยูร่ าว ๒๐ % ของประชากรทัง้ หมด”

เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ มิ ถุ น ายน ๒๕๖๐ พล.ต.วรพล วิศรุตพิชญ์ รองแม่ทัพภาค ที่ ๔ เป็ น ผู ้ แ ทนแม่ ทั พ ภาคที่ ๔ เป็ น ประธานเปิดส�ำนักงานโครงการบรรเทา อุทกภัยเมืองนครฯ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครฯ สืบ เนื่ อ งมาจากความห่ ว งใยของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ต่อราษฎรที่ปริมาณน�้ำคลองท่าดีที่รวม กับน�้ำจากคลองเสาธงไหล่บ่าลงมาท�ำให้ น�้ ำ ท่ ว มตั ว จั ง หวั ด อย่ า งรุ น แรง สมควร พิจารณาขุดลอกล�ำน�้ำที่ผ่านมาตัวเมือง ให้ลึก และขยายให้มีความกว้างมากขึ้น ทั้ ง พิ จ ารณาขุ ด ทางระบายน�้ ำ ใหม่ ช ่ ว ย ระบายน�้ำให้ไหลลงสู่อ่าวไทยรวดเร็วยิ่ง ขึ้น จึงเกิดโครงการบรรเทาอุทกภัยเมือง นครอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ เพื่ อ บรรเทาอุ ท กภั ย ไม่ ใ ห้ เ ข้ า มาท่ ว มพื้ น ที่ ชุ ม ชนและเขตเศรษฐกิ จ และเพื่ อ เก็ บ กั ก น�้ ำ ไว้ ใ ช้ เ พื่ อ การเกษตรกรรมและ

อุปโภคบริโภคในช่วงฤดูแล้ง นายสั ญ ชั ย เกตุ ว รชั ย อธิ บ ดี ก รม ชลประทาน กล่ า วว่ า พระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรง พระราชทานพระราชด� ำ ริ เกี่ ย วกั บ การ บรรเทาอุทกภัยเมืองนครเพือ่ เป็นเป็นแนวทางเข้าไปพัฒนาฟืน้ ฟูพฒ ั นาพืน้ ที่ ป้องกัน ไม่ให้เกิดความเสียหาย กรมชลประทาน

ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ส นอง พระราชด�ำริ แก้ปัญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ ปี ๒๕๓๒-๒๕๔๕ แต่ท�ำได้เพียง งานขุดลอกคลองบางส่วนเท่านั้น ยังคง เหลืองานขุดขยายคลองเดิมและงานขุด คลองผั น น�้ ำ สายใหม่ แต่ ติ ด ปั ญ หาเรื่ อ ง การจั ด หาที่ ดิ น ต่ อ มาเดื อ นมี น าคม ปี ๒๕๔๕ เกิดอุทกภัยรุนแรง กรมชลประ-

พรหมพร สุขเกษม ผูช้ ว่ ยแพทย์แผน ไทย รพ.สต.พังสิงห์ เจ้าของรางวัล อสม. ดีเด่นด้านการณรงค์เลิกบุหรี่ปีล่าสุด เปิด เผยว่า กลุม่ เป้าหมายทีช่ กั ชวนให้สบู ๖๐ คน ขณะนี้เลิกได้ ๑๐ กว่าคน สามีของ เธอก็เป็นคนหนึง่ ทีเ่ ลิอกได้เพราะกดจุด โชค วารีนาค ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๒ ต.พังสิงห์ สูบนานกว่า 30 ปี ขณะนี้เลิก มาได้ ๒ ปี โชคเป็น อสม. เป็นวิทยากร ชั ก ชวนให้ ลู ก บ้ า นเลิ ก สู บ ได้ ๔-๕ คน และมีเป้าหมายอีก ๑๐ คน ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ นุ ่ ม นวลผสมการให้ ความรู้และศาสตร์กดจุด ชุมชนต�ำบลพัง สิงห์สามารถลดผูส้ บู บุหรีแ่ ละเพิม่ คนปอด สะอาดแข็งแรงอย่างต่อเนือ่ ง

ทานได้ ศึ ก ษาทบทวนแนวทางแก้ ไ ข ปัญหาอุทกภัยเมืองนครอย่างเป็นระบบ และมีแผนด�ำเนินโครงการ ๖ ปี ตั้งแต่ ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๕ เพื่อบรรเทาอุทกภัย ในเขตเมืองนคร ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การบริหาร จัดการทรัพยากรน�้ำและแผนยุทธศาสตร์ เกษตรและสหกรณ์ระยะ ๒๐ ปี


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๓

ดือนกรกฎาคมปีนี้ เป็นเดือนส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนาอีกวาระหนึง่ คือตรงกับ วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา และ ประจวบกับทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ก�ำลังจัดท�ำโครงการพัฒนาถนนราชด�ำเนิน บริเวณหน้าวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดพระธาตุ หรือวัดพระบรมธาตุ แล้วแต่ เรียกครับ) ที่ก�ำลังเสนอให้เป็นมรดกโลก ถึงขั้นตอนสุดท้ายแล้ว เพื่อให้สอดคล้อง กับการอนุรักษ์ตามข้อก�ำหนดของ UNESCO เพื่อเป็นสถานที่ที่จะด�ำรงพระพุทธ ศาสนาให้โดดเด่นตามประวัติศาสตร์เมือง เก่าของเรา ความจริงโครงการนี้อยู่ใน แผนทีจ่ ะพัฒนาถนนราชด�ำเนินตลอดระยะ ทาง ๘ กิโลเมตรทัง้ สาย แต่จะลองจัดเป็น โครงการน�ำร่องในพื้นที่มีศักยภาพสูงใน การพัฒนาให้เป็นรูปธรรมก่อน และเมื่อ เดือนที่แล้วผมได้เข้าร่วมประชุมกับคณะ อนุกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ที่กรุงเทพฯ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และข้อคิดเห็นต่างๆ กับแกนน�ำนักพัฒนา เมืองเก่าหลายจังหวัด จึงอยากน�ำมาเล่า สู ่ กั น ฟั ง ในบางประเด็ น ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น ซึ่งอาจได้ข้อคิดที่จะน�ำมาใช้พัฒนาเมือง เราได้ ผมขออนุญาตอ้างอิงบทความของ รศ.ดร.โรจน์ คุณอเนก นักวิชาการด้าน อนุรักษ์เมือง ในการอธิบายความหมาย ของเมืองโบราณ ย่านเก่า และเมืองเก่าที่ มีความแตกต่างกัน เมืองโบราณจะคงเหลือ แต่โบราณสถานที่แสดงถึงความเป็นบ้าน เมืองในอดีต ไม่ได้มสี ภาพการอยูอ่ าศัยของ ผู้คนอย่างในอดีตแล้ว ย่านเมืองเก่าเป็น บริเวณของผูค้ นทีย่ งั รักษาอัตลักษณ์เฉพาะ ตนในอดีตให้คงอยูใ่ นปัจจุบนั แต่ยงั ไม่ครบ องค์ประกอบในการเป็นเมือง ส�ำหรับเมือง เก่าจะมีองค์ประกอบที่แสดงถึงความเป็น เมืองในอดีตทีย่ งั มีผคู้ นอาศัยต่อเนือ่ งจนถึง ปัจจุบัน เช่น ก�ำแพงเมือง คูเมือง สนาม หน้ า เมื อ ง ศาสนสถานประจ� ำ เมื อ ง ที่ หมายตาของเมือง อาคารสถานที่ หรือ ที่ พั ก อาศั ย ที่ มี แ บบแผนสถาปั ต ยกรรม เฉพาะเมื อ ง เป็ น ต้ น และยั ง มี วิ ถี ชี วิ ต และวัฒนธรรมประจ�ำเมืองที่สืบต่อกันมา อย่างเด่นชัด จังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย ไม่ ส ามารถจะเป็ น เมื อ งเก่ า ได้ ทุ ก เมื อ ง เนือ่ งจากองค์ประกอบไม่ครบอย่างทีก่ ล่าว แล้ว ปัจจุบันที่ขึ้นทะเบียนเป็นเมืองเก่า ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย

การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมื อ งเก่ า พ.ศ.๒๕๔๖ มี เ พี ย ง ๒๗ จังหวัด ซึง่ จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นหนึง่ ในจ�ำนวนนี้ตั้งแต่เริ่มแรกที่มีการคัดเลือก เมืองเก่าที่สามารถรักษาอัตลักษณ์ทั้งเมือง ไว้ได้ ย่อมแสดงถึงความร่วมแรงร่วมใจกัน ของพลเมืองทีจ่ ะสร้างคุณค่าให้กบั เมืองของ ตัวเองได้ จากการเล่าประสบการณ์ของผู้ เข้าร่วมประชุมเมืองเก่าเช่น ภูเก็ต สงขลา น่าน ฯลฯ ได้ฉายภาพความโดดเด่นที่เป็น อัตลักษณ์ของเมือง จากการร่วมมืออย่างจริง จังทั้งภาคประชาชนและภาครัฐจนกลาย เป็นเมืองที่คนนิยมมาท่องเที่ยวอย่างมาก มาย แต่ก็เหมือนดาบสองคมหากมองด้าน การท่องเที่ยวเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ อย่างเดียว อาจส่งผลต่อความเสื่อมคุณค่า ของเมืองเก่าได้ จึงต้องตระหนักถึงขีดความ สามารถในการรองรับได้ (carrying capacity) ที่ต้องเตรียมมาตรการปกป้องในด้าน ผั งเมื อ ง ผั งชุ ม ชน ด้ า นการจราจร ด้ า น มลพิษ และด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรมให้ คงอยู ่ ไม่ ส ลายไปตามกระแสสั ง คมสมั ย ใหม่ อย่างไรก็ตามประเด็นส�ำคัญที่ต้อง ท�ำความเข้าใจคือ การอนุรกั ษ์เมืองเก่ามิใช่ การเก็ บ รั ก ษาโดยห้ า มเปลี่ ย นแปลงหรื อ พัฒนาใดๆ หากแต่การอนุรักษ์จะต้องเป็น ไปพร้อมกับการพัฒนาและต้องสามารถน�ำ มาใช้ประโยชน์ได้ เพียงแต่การใช้ประโยชน์ นั้ น ๆจะต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ ม าตรการในการ อนุรักษ์ที่สอดคล้องกลมกลืนไปกับการปก ปักรักษาคุณค่าของพื้นที่โดยรวม โดยไม่ ท�ำลายเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และบูรณภาพ ของเมือง ผมมองความโดดเด่นของเมืองนครที่ ครบองค์ประกอบของเมืองเก่าที่ค่อนข้าง สมบูรณ์แบบ โดยเฉพาะความเข้มแข็งของ

ประชาคมที่ ผ มได้ เ ขี ย นถึ ง ในฉบั บ ที่ แ ล้ ว จากประสบการณ์ของผมที่อยู่ในกลุ่มต่างๆ ทั้งกลุ่มนักวิชาชีพ (เช่น วิชาชีพสถาปนิก และช่าง) กลุม่ ทางสังคม (เช่นสโมสรโรตารี,่ ชมรมศิษย์เก่าของสถาบันการศึกษา) และ กลุม่ ประชาคม (เช่น ชมรมรักบ้านเกิด กลุม่ ประชาคมคนคอน กลุม่ ศิลปะเปลีย่ นเมือง) ที่มีความหลากหลายความคิด แต่จุดร่วม ส�ำคัญ อันหนึ่งก็คือความภาคภูมิใจและ ส�ำนึกในบ้านเกิด ท�ำให้เราคุยกันได้ และ เป็นยุคของคนรุน่ ใหม่จริงๆ ทีอ่ อกมาแสดง พลังกันอย่างจริงจัง ล่าสุดทราบมาว่า ทาง กลุม่ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ประธานคนใหม่ทยี่ งั หนุม่ มาก คือ คุณกรกฎ เตติรานนท์ ได้อาสาทางจังหวัดมาช่วยจัด งานถนนคนเดินบนถนนราชด�ำเนิน บริเวณ หน้าวัดพระธาตุ โดยไม่ได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากภาครัฐแต่อย่างไร แต่เรือ่ งดัง กล่าวนีเ้ ป็นเพียงกิจกรรมหนึง่ ให้เกิดกระแส ทางด้านเศรษฐกิจและศิลปะวัฒนธรรม ยัง มีหลายมิตทิ ตี่ อ้ งคิดควบคูก่ นั ไป โดยเฉพาะ การพัฒนาทางกายภาพ ซึง่ หมายถึงการจัด พื้นที่และสิ่งก่อสร้างทางภูมิทัศน์ (hardscape) จะต้องมีการออกแบบกันอย่างไร ให้สอดคล้องกับบริบทของวัดพระธาตุที่ เป็นพื้นที่หลัก (core zone) ของการเป็น มรดกโลก โจทย์เรือ่ งนีผ้ มขอตัง้ เป็นประเด็น เฉพาะบริเวณนีใ้ ห้คดิ ต่อกันคือ ๑. อาคารร้านค้าและบ้านเรือน รวม ทัง้ วัดต่างๆ ทีอ่ ยูร่ อบๆ วัดพระธาตุอนั เป็น พื้นที่ปกป้องภาพลักษณ์โดยรวมของพื้นที่ มรดกโลก (buffer zone) ผูด้ แู ลครอบครอง อาคารย่านนีเ้ ป็นผูท้ จี่ ะอยูร่ ว่ มกันและได้ผล ประโยชน์หรือได้รับผลกระทบโดยตรงจะ ให้ความร่วมมือต่อโครงการมรดกโลกมาก แค่ไหน และใครจะให้คำ� แนะน�ำว่าควรท�ำ

อย่างไร จ�ำเป็นต้องออกข้อบังคับท้องถิ่น เฉพาะบริเวณนี้ เหมือนที่เชียงใหม่ หรือ ภูเก็ตหรือไม่ ๒. การจัดระบบจราจรโดยไม่ให้ยาน พาหนะผ่านถนนช่วงนีอ้ ย่างถาวร ควรจะ มีการทบทวนในการใช้ถนนตามกิจกรรมให้ ได้ประโยชน์สูงสุดในลักษณะแบ่งปันเวลา การใช้ (time sharing) แต่ละช่วงเวลาหรือ ไม่ เช่น การปล่อยให้รถผ่านช่วงชัว่ โมงเร่ง ด่วนทีต่ อ้ งการพืน้ ทีผ่ วิ จราจรในการรองรับ ยานพาหนะให้มากและเร็วทีส่ ดุ ส่วนช่วง เวลาอืน่ ทีเ่ ป็นกิจกรรมของนักท่องเทีย่ ว ก็ อาจปิดถนนให้เกิดความปลอดภัยและลด มลพิษจากยวดยาน แต่อาจอนุโลมให้รถ จักรยาน รถสามล้อรับจ้าง รถน�ำเที่ยว ไฟฟ้าที่ออกแบบพิเศษ หรือรถม้ารับจ้าง เข้ามาได้ เพื่อสร้างบรรยากาศความเป็น เมืองเก่าได้ ๓. หากถนนบริ เ วณนี้ จ ะมี น โย บายต้ อ งการเน้ น เป็ น ถนนคนเดิ น และ ลดมลภาวะต่างๆ จะสามารถออกแบบ เปลี่ยนแปลง เพื่อสนองการใช้ประโยชน์ เชิงท่องเที่ยวและภูมิทัศน์ที่สอดคล้องกับ โครงการมรดกโลกได้หรือไม่ เช่น การ ขยายทางเท้าด้านร้านค้าให้กว้างขึ้นลงบน พืน้ ทีถ่ นน ต้องออกกฎหมายพิเศษรองรับ หรือไม่ ๔. การสร้างวินัยในการใช้ประโยชน์ ในที่สาธารณะ เช่น การไม่ทิ้งขยะในที่ ไม่ควร การไม่วางของกีดขวางทางสัญจร การไม่สง่ เสียงดังรบกวนเกินสมควร เป็นต้น จะต้องรณรงค์หรือใช้มาตรการควบคุมกัน อย่างไรให้จริงจัง ส�ำหรับรายละเอียดอื่นๆ เช่น การ ออกแบบสิ่งประกอบถนนเพื่อการใช้ประโยชน์หรือความสวยงาม (street furniture) เช่น ประติมากรรม ป้ายบอกสถานที่และ ประวัติ เสาไฟฟ้าแสงสว่าง ม้านัง่ บนทาง เท้า ถังขยะ ฯลฯ คิดว่ามีชาวเมืองที่มี ความเชี่ ย วชาญคงสามารถช่ ว ยกั น ได้ (ทราบมาว่ามีอาจารย์บางคนก�ำลังท�ำวิทยา นิพนธ์เรือ่ งนีด้ ว้ ย) ผมได้เขียนภาพร่างในจินตนาการ จากความเห็นการเสวนาร่วมกันของนัก วิชาชีพทางสถาปัตย์ ผังเมือง นักธุรกิจ และผู้ที่สนใจในการพัฒนาเมืองนคร โดย ใช้ ชื่ อ ว่ า “กลุ ่ ม ประชาคมคนคอน” ใน การช่วยกันออกแบบถนนหน้าวัดพระธาตุ ตามโจทย์ที่รับมาว่า ควรเป็นอย่างไร มี ความเป็นไปได้แค่ไหน และมีเงือ่ นไขหรือ อุปสรรคด้านไหน เพือ่ ให้ผทู้ มี่ หี น้าทีร่ บั ผิด ชอบโดยตรง ลองน�ำไปพิจารณาให้สามารถ เกิดขึน้ โดยเร็ว และผมเชือ่ ว่ายุคนีเ้ ป็นยุคที่ ดีที่สุดในการที่พลเมืองรุ่นใหม่จะมีโอกาส ร่วมกันคิดร่วมท�ำกับภาครัฐในการปรับปรุง เปลี่ ย นแปลงเพื่ อ พั ฒ นาเมื อ งอย่ า งเป็ น รูปธรรม


หน้า ๑๔

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ วาดรูปนกกัน เด็กๆ ขอวาดนกที่ประทับ ใจที่สุดวันนี้คือ นกแต้วแล้วธรรมดา ที่ บินลงมาเล่นน�้ำโชว์อยู่ใกล้ๆ สีสวยถูกใจ เด็ก มีภาพและเกร็ดความรู้เล็กๆ เรื่อง นกแต้วแล้วธรรมดามาฝากกันค่ะ

B

ird Walk เป็ น การจั ด กิ จ กรรมพา เด็กๆ ไปดูนกในธรรมชาติรอบๆ ตัว ฝึกให้เด็กรู้จักสังเกตธรรมชาติ และเชื่อม โยงชี วิ ต ที่ แ วดล้ อ มและสั ม พั น ธ์ กั น ใน ธรรมชาติคะ่ ครัง้ นีเ้ ราพาเด็กๆ มาดูนกที่ อ�ำเภอพรหมคีรี นครศรีธรรมราช กันสอง วัน คือเมื่อวันที่ ๒๗ – ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ วันแรกเป็นเด็กรุ่นจิ๋ว มีตั้งแต่อายุ ๒ ปี ๙ เดือนเลยทีเดียว จึงต้องซ้อมวิธี การดูนกกันก่อน แล้วก็ออกเดินดูนกที่ สวนในชุมชนเขาขุนพนม ต่อด้วยนกใน พระต�ำหนักเมืองนคร กลับมาทานเที่ยง แล้วก็ไปเล่นน�้ำกันพอให้ชื่นใจ ได้ดูนก ในน�้ำกันด้วย จากนั้นกลับมาฝึกวาดภาพ นก บันทึกนกที่พบเจอ...เด็กๆ สนุกกัน รังด้วย...ตอนเย็นบางคนกลับก่อน บาง มาก ไม่งอแงเลย อากาศก็เป็นใจ ครึ้มๆ ส่วนอยู่นอนเต็นท์ค้างคืนต่อ แต่ไม่มีฝน นกก็น่ารัก เด็กๆ ตื่นเต้นได้ วันต่อมาเป็นรอบวันอาทิตย์ เด็กวัย เห็นแม่นกปรอดสวนป้อนอาหารลูกใน ประถมมาสมทบ พ่อนกแม่นกปรอดสวน

นกแต้วแล้วธรรมดา/ Blue - wing Pitta

ยั ง คงมาป้ อ นอาหารลู ก ให้ เ ด็ ก ได้ ดู ดึ ง ความสนใจได้ อ ย่ า งยาวนานอี ก เช่ น เคย ก่อนออกเดินส�ำรวจนก เราฝึกมองดูนก ด้วยเสียงกันก่อน แล้วก็เรียนรู้การสังเกต ลักษณะและนิสัยนกกัน พอฝนหยุดสนิท อากาศก�ำลังดีเรา จึงออกเดินส�ำรวจธรรมชาติรอบตัว ทั้งนก ทั้งแมลง เดินออกจากสวน เข้าวัดเขาขุน พนม นั่งใต้ต้นไทร ฟังเรื่องลูกไทร แมลง และนก แล้ ว เดิ น ต่ อ เข้ า ศู น ย์ วิ ท ย์ เ มื อ ง

ลักษณะรูปร่างนกแต้วแล้วธรรมดา มี ค วามยาวจากปลายปากถึ ง ปลายหาง ๒๐ ซม. มีรูปร่างป้อม คอสั้น หัวโต ปากสั้น อวบหนาแข็ ง แรง ปากบนโค้ ง ลงมาเล็ ก น้อย ปีกสั้นมนกลมแต่แข็งแรง หน้าอก ค่อยๆ แคบเข้าหาส่วนท้ายของล�ำตัว หาง สั้นมาก ขาค่อนข้างยาวแข็งแรงและเท้า ใหญ่ซึ่งยื่นไปข้างหน้า ๓ นิ้ว และยื่นไป ข้างหลัง ๑ นิ้ว หากพิจารณาดูจากรูปร่าง ของมันจะเห็นว่า มันมีรูปร่างเหมาะสม ที่จะใช้ชีวิตอยู่บนพื้นดินมากกว่าอยู่บน ต้นไม้ เมื่ออยู่บนพื้นดินล�ำตัวของมันค่อน ข้างตั้งตรงเช่นเดียวกับนกแต้วแล้วอื่นๆ อีก ๑๑ ชนิด ในประเทศไทย แต่นกแต้ว แล้ ว ธรรมดามี สี สั น สวยงามกว่ า นกแต้ ว

คอนเจอนกเอี้ยงด�ำปักษ์ใต้ นกเฉพาะถิ่น ภาคใต้ เราเดินได้รอบใหญ่หน้าเขาขุน พนมแล้ ว จึ ง กลั บ มากิ น ข้ า วกลางวั น เติ ม พลังกัน ภาคบ่ า ยได้ เ วลาบั น ทึ ก ผลการ ส�ำรวจนก วันนี้เจอ ๑๑ ชนิด แล้วมาฝึก

แล้ ว อื่ น ใด เพราะมี สี สั น ตั ด กั น มากมาย ถึง ๗ สี ต่อไปเราจะมี Bird Walk ส�ำหรับ เด็กภาคใต้กนั ทุกเดือนแล้วนะคะ ติดตาม ข่าวสารกันได้ในเฟสบุ๊ค กลุ่มชมรมดูนก ภาคใต้คะ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

ต่

อเนื่องจากฉบับที่แล้ว หลังจากที่ทุก ท่านได้รู้จักกับเทคโนโลยี ๔.๐ หรือ Internet of Things กันมากขึน้ ฉบับนีจ้ ะ กล่าวนี้เทคโนโลยีภายในบ้านในยุค ๔.๐ ให้ทกุ ท่านได้รจู้ กั เคยได้ยนิ ค�ำว่า "smart home" หรือ "smart building" ในภาษา ไทยใช้คำ� ว่า "บ้านอัจฉริยะ" หรือ "อาคาร อัจฉริยะ" หรือไม่ ค�ำว่าอัจฉริยะนัน่ ก็หมาย ถึงการน�ำระบบอัตโนมัติต่างๆ เข้ามาใช้ ภายในบ้านเพื่อให้ผู้อยู่อาศัยเกิดความ สะดวกสบาย รู ้ สึ ก ปลอดภั ย หรื อ ช่ ว ย ประหยัดพลังงานได้

Smart Home

Smart Home หมายถึง การรวม โครงข่ายการสื่อสาร (communication network) ของทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมเข้าด้วยกัน เพื่อเชื่อมต่อเครื่องใช้ไฟฟ้า การบริการ การตรวจตราดูแล รวมทั้งสามารถเข้า ถึงการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ได้ โดยการ ควบคุ ม อาจหมายถึ ง การควบคุ ม ทั้ ง ที่ เกิดจากทั้งภายในที่อยู่อาศัยเองหรือถูก ควบคุ ม จากภายนอกก็ ไ ด้ นั่ น คื อ บ้ า น หรือที่อยู่อาศัยที่จะเรียกว่าบ้านอัจฉริยะ หรือ smart home จะต้องมีคณ ุ สมบัติ ๓ ประการคือ ๑. มี Smart Home Network คือ ระบบพืน้ ฐานของ smart home อาจเป็น การเดินสายหรือไร้สายก็ได้ ประกอบด้วย ๑.๑ Power line System (X10) เป็น protocol ทีใ่ ช้สอื่ สารระหว่างอุปกรณ์ ต่างๆ ในระบบ home automation ถูก

พัฒนาการอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อเข้า กับแหล่งจ่ายไฟหลักได้โดยตรง เป็นระบบ ทีง่ า่ ยในการ config ท�ำงานได้เร็วและราคา ถูก โดยข้อเสียหลักๆ ของระบบนี้คือการ รบกวนค่อนข้างมาก ๑.๒ Bus line (EIB,Cebus) ใช้สาย ๑๒ โวลท์ แยกออกมา (ตีเกลียว) เพือ่ รับส่ง ข้อมูลกับอุปกรณ์ เป็นอิสระจากแหล่งจ่าย ไฟ เพือ่ ป้องกันการรบกวน ๑.๓ Radio frequency(RF) และ Infrared(IR) system เป็นระบบทีใ่ ช้กนั มาก ผู้ผลิตส่วนใหญ่มักใช้ระบบนี้ในอุปกรณ์ smart home แต่ระบบนี้ก็ยังมีปัญหาอัน เกิ ด จากการรบกวนสั ญ ญาณและระยะ ทางในการส่งสัญญาณ ๒. มี Intelligent Control System คือ ระบบการควบคุมระบบอัจฉริยะที่มีความ ชาญฉลาด ๒.๑ เป็ น เสมื อ นสะพานเชื่ อ มต่ อ

ระหว่ า งเทคโนโลยี ที่ แ ตกต่ า งกั น ของ อุปกรณ์ภายในบ้าน ๒.๒ เป็นเสมือน gateway เพือ่ เชือ่ ม ต่อกับบริการทีอ่ ยูภ่ ายนอกบ้าน ๓. มี Home Automation Device คือ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านที่ สามารถเชือ่ มโยงกันได้ เช่น ๓.๑ smart refrigerator คือ ตู้เย็น อัจฉริยะสามารถบอกได้ว่ามีอาหารอะไร กี่อย่างอยู่ภายในตู้เย็น อีกทั้งยังบอกได้ว่า อาหารจะหมดอายุเมือ่ ไหร่ ๓.๒ smart sofa คือโซฟาที่สามารถ ปรับความอ่อนแข็งได้ตามสรีระและความ พอใจของแต่ละคน ๓.๓ smart bathroom คือห้องน�้ำ อัจฉริยะ ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิ เสียง แสง และกลิน่ ภายในห้องน�ำ้ ได้ ๓.๔ smart door คือประตูอตั โนมัติ ที่ สามารถตรวจจับใบหน้าของสมาชิกภายใน

บ้านแล้วท�ำการเปิดปิดเองโดยอัตโนมัติ ๓.๕ smart remote คื อ รี โ มทที่ สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่เป็นเครื่องใช้ ไฟฟ้าภายในบ้านทัง้ หมด ๓.๖ security system คือระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย ง กล้องทีบ่ นั ทึกเหตุเท่านัน้ แต่ยงั มีเซนเซอร์ ตรวจจับความเคลื่อนไหว และไซเรนเพื่อ ส่งเสียงในการระงับเหตุ ๓.๗ robot ปัจจุบันได้มีการน�ำหุ่น ยนต์เข้ามาใช้ภายในบ้านเช่น หุ่นยนต์ดูด ฝุน่ หุน่ ยนต์ให้อาหารสัตว์เลีย้ ง งานวิ จั ย ของ smart home ใน ปั จ จุ บั น จะเป็ น การวิ จั ย เพื่ อ ตอบโจทย์ ความต้องการของผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน สามารถแบ่งกลุ่มงานวิจัยออกได้เป็น ๔ กลุม่ ตามความต้องการคือ ๑. เพือ่ ความสะดวกสบาย งานวิจยั พวกนี้จะเป็นระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ประตูอตั โนมัต,ิ รีโมทอัจฉริยะ ซึง่ สินค้าที่ มีในท้องตลาดส่วนใหญ่กจ็ ะเป็นในกลุม่ นี้ ๒. เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ จะเป็นงานวิจยั ในการเพิม่ ความ สามารถให้กับกล้องวงจรปิดคือนอกจาก จะท�ำการบันทึกภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ ยังรวมเซนเซอร์ต่างๆ เข้ามาเพื่อใช้ใน การตรวจตราเช่นเซนเซอร์ตรวจจับความ เคลือ่ นไหว และเพิม่ ระบบการขับไล่ผรู้ า้ ย ด้วยการเชือ่ มต่อกับ alarm หรือแจ้งไปยัง สถานีต�ำรวจ นั่นคือเพิ่มความสามารถใน การช่วยระงับเหตุเข้ามาด้วย ซึ่งสินค้าใน ท้องตลาดในกลุม่ นีก้ ม็ เี ช่นกัน ๓. เพื่อประหยัดพลังงาน เช่นการ เปิดปิดไฟอัตโนมัติตามแสงอาทิตย์ หรือ ปิดไฟอัตโนมัติเมื่อไม่มีคนอยู่ รวมไปถึง การบริหารจัดการพลังงานในกรณีทตี่ ดิ ตัง้ แผงวงจรโซลาเซลล์ ๔. เพื่ อ ดู แ ลสุ ข ภาพของผู ้ อ าศั ย ภายในบ้าน เช่นจะติดตั้งเซนเซอร์ตรวจ คลืน่ หัวใจ ตรวจจับไฟไหม้ โดยส่งสัญญาณ เมือ่ เวลาเกิดเหตุการณ์ทผี่ ดิ ปกติ นั บ จากนี้ เ ป็ น ต้ น ไปคนไทยจะคุ ้ น เคยกับ Smart Home มากขึ้น เพราะ จะมี ห ลากหลายแบรนด์ หลากหลาย ยีห่ อ้ ทีผ่ ลิตอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับ Smart Home สู่ตลาดเพื่อเข้าสู่ยุคเทคโนโลยี ๔.๐ แนะน�ำให้ทกุ ท่านศึกษารายละเอียด ให้รอบคอบก่อนตัดสินใจซือ้ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

อกจากปั ่ น เที่ ย วชมสถานที่ ต ่ า งๆ ในประเทศไทยแล้ ว ด้ ว ยความ อยากรู้อยากเห็นประเพณี วิถีชีวิตของ ชาวบ้าน ผมจึงเลือกใช้จักรยานปั่นไป ประเทศเพื่อนบ้าน อย่าง สปป.ลาว ไม่ ผิ ด หวั ง จริ ง ๆ เที่ ย วกั บ จั ก รยานท� ำ ให้ พบเห็นเรื่องราวรายทางมากมาย ผมปั่นไป สปป.ลาว มาแล้ว ๓ ครั้ง เพราะประเทศนี้มีอะไรให้ค้นหามากมาย ครั้งแรกไปเมื่อ ๒-๔ กันยายน ๒๕๕๖ ตอนนั้นเป็นเศรษฐีย่อยๆ ไปเลย เพราะ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ๑ บาท มีค่าถึง ๒๕๐ กีบ ไปปั ่ น ครั้ ง นั้ น ผมได้ ป ั ่ น ไปเที่ ย วที่ ตลาดกลางคืน ตลาดยามเช้า พระธาตุ หลวง ประตูชัย หอพระแก้ว วัดศรีเมือง พระธาตุด�ำ หอด�ำ และที่อื่นๆ แต่ ล ะที่ น ่ า สนใจขนาดไหน ฉบั บ หน้าจะมาเล่าให้ฟังนะครับ

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

คลองโชน ล�ำคลองสายสั้นราวยี่สิบ กม. ยังคงสภาพความเป็นธรรมชาติอยู่มาก ชาวบ้านช่วยกันดูแลต้นไม้ของสองฝั่งคลองไว้อย่างดี ต้นไม้ใหญ่น้อยยังคงยืนต้นอย่างเหนียวแน่น ผมเดินเข้าไปส�ำรวจสองชั่วโมง เหมือนหลงเข้าไปในป่าทึบใหญ่ ทั้งๆ ที่อยู่ห่างจากที่ท�ำการอ�ำเภอนบพิต�ำไปราว ๒ กม.เอง สภาพล�ำคลองที่มีน�้ำใสสะอาด ก้อนหินระเกะระกะ นกร้องขับขาน ผีเสื้อบินปลิวว่อนทั่งทั้งธารน�้ำ อยากให้ช่วยกันดูแลเพื่อเป็นแหล่งโอโซนใหม่อีกแห่งหนึ่งของเมืองคอน อย่างยั่งยืน

หน้า ๑๗


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๘

จั

งหวัดนครศรีธรรมราช เรือ่ งราวดีดี ของ วิถชี วี ติ เสน่หก์ ารท่องเทีย่ วแบบวิถไี ทย เก๋ไก๋ สไตล์ลึกซึ้ง ดังสโลแกนของการท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทย ที่ก�ำลังปลุกกระแส นักท่องเทีย่ วยุคใหม่ให้หนั กลับมาท่องเทีย่ ว เมืองไทย และเรียนรู้ถึงรากเหง้าของการ ด�ำรงชีวติ แบบไทยๆ เสน่หพ์ นื้ บ้านกับแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส ามารถสั ม ผั ส และเข้ า ถึ ง ได้ อย่างมีความสุข สนุก แถมด้วยความรู้เพิ่ม เติมจากปราชญ์ชาวบ้าน หรือกูรูท้องถิ่น ที่เรา เหล่านักท่องเที่ยวได้ไปเยือน .. เช่น กันกับการเดินทางในครัง้ นี้ เราล้อหมุนกัน เช้าหน่อย เนือ่ งจากกิจกรรมและแหล่งท่อง เทีย่ วทีเ่ ราจะเข้าไปสัมผัส ล้วนอัดแน่นด้วย หลากสิ่งที่น่าสนใจ เราเดินทางสู่เส้นทาง สายหลัก จาก อ.เมือง ไปตามถนนสายหลัก มุง่ สูอ่ ำ� เภอปากพนังฝัง่ ตะวันออก ไปถึงก็บงึ่ ไปยังตลาดเก่าร้อยปีรมิ ท่าน�ำ้ ทีต่ ลาดร้อยปี จะเต็มไปด้วยอาหารทะเลสด กุง้ กัง้ ปู ปลา หมึก ฯลฯ และปลากระบอกร้า ปลาดุกร้า เครื่องแกงแสนอร่อย กะปิขึ้นชื่อ เรียกว่า เดินเลือกซื้อของกันเพลินเลยค่ะ หลังจาก ที่เราเดินชม เดินเลือกซื้อของแล้ว เราก็ไม่ รอช้าเป้าหมายหน้าคือไปร้านขนมจีนเลื่อง ชือ่ ในตลาดสดเทศบาลปากพนัง เค้าเล่ากัน ว่าร้านอร่อยและผักมากมายกว่าสามสิบ

ชนิด ทัง้ ผักพืน้ บ้าน และผักทัว่ ไป แต่ทแี่ น่ๆ ล้วนแล้วแต่เป็นผักปลอดสารพิษทั้งนั้นค่ะ .. เรียกว่าทานกันเฉพาะผักก็อิ่มแปล้แล้ว ร้านขนมจีนป้าทัย เป็นร้านเล็กๆ ในตลาด ตรงข้ามร้านเป็นร้านขายเส้นขนมจีน ดังนัน้ สามารถกินได้ไม่อนั้ ค่ะ เพราะหมดเมือ่ ไหร่ ก็ส่งเสียงสั่งเพิ่มได้เลย หลังจากท้องอิ่มเรา ก็เดินทางไปกราบสักการะ หลวงพ่อโอภาสี ศู น ย์ ร วมความศรั ท ธาของคนชาวลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนัง ด้วยค�ำสอนของท่านดังนั้นท่าน ที่สอนให้บรรดาลูกศิษย์ไม่ยึดติดใดๆ ใน วัตถุและตั้งใจศึกษาพระธรรมตั้งแต่ครอง สมณเพศ และสามารถตัดกิเลสได้ตามค�ำ ทีท่ า่ นสอนอย่างแท้จริง

นอกจากท่านจะเกิดทีจ่ งั หวัดนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ วัตถุมงคลของ ท่านก็จะมีเพียงรุ่นเดียวคือ เหรียญครุฑ แยกเสมา ประชาชนและลูกศิษย์ของท่าน ต่างเคราพหลวงพ่อท่านเป็นอย่างมาก บท สวดมนต์หรือคาถาของท่านก็ส� ำหรับให้ ประชาชนและลูกศิษย์ลูกหาสวดเพื่อเดิน ทางไปไหนจะได้ปลอดภัย และมีสิริมงคล ในชีวิต ขอเพียงเรายึดมั่นในความดี และ ท่านก็มคี ติคำ� สอนอยูอ่ ย่างหนึง่ คือ ก่อนจะ หลับไปแต่ละวัน ขอให้ทุกคนนึกถึงความ ดีที่ตนเองท�ำไปในแต่ละวันด้วย ซึ่งหลัง จากที่พวกเราได้กราบหลวงพ่อแล้ว น้าผู้ หญิงที่อาศัยอยู่ใกล้กับกุฏิ ก็ได้น�ำเหรียญ ของหลวงพ่อโอภาสีมามอบให้เป็นที่ระลึก พร้อมคาถา ท�ำเอาคณะที่มายิ้มน้อยยิ้ม ใหญ่อิ่มบุญอิ่มใจกันไปตามๆ กัน .. หลัง จากนั้นเราก็ออกเดินทางไปยัง บ้านขนาบ นาก สัมผัสกับวิถีชีวิตของชาวบ้านกับการ ปาดน�้ำตาลจาก เพื่อน�ำไปเคี่ยวท�ำน�้ำตาล จาก และน�ำ้ ตาลปีบ๊ เรียกว่าบุกไปหาความ อร่อย และกรรมวิธีการท�ำตามฉบับกูรูกัน เลย เรามาเจอพีโ่ กสิน ชาวบ้านทีอ่ าศัยอยูท่ ี่ ขนาบนากมาตัง้ แต่เกิด เติบโตมาท่ามกลาง ต้ น จาก พี่ โ กสิ น สาธิ ต ให้ เ ราดู ตั้ ง แต่ ก าร เลือกจากที่จะปาด วิธีปาด การน�ำภาชนะ

มารองน�้ำจาก การน�ำน�้ำจากไปเคี่ยวด้วย ไม้ฟืน การน�ำน�้ำผึ้งจากมาตั้งไว้ให้เย็นแล้ว กรองใส่ขวด การเคีย่ วน�ำ้ ตาลจากจนแห้งจน กลายเป็นน�้ำตาลปี๊บ แถมยังได้กินลูกจาก แบบสดๆ อร่อยไม่รลู้ มื จริงๆ ออกจากบ้านขนาบนาก เราเดินทาง มาจนถึงไร่จันทรังษี ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิน่ กับวิถคี นไร่จาก เรียกว่าต้อง จ�ำใจจากทัง้ ทีไ่ ม่อยากจาก ..เราเดินทางต่อ เพื่อตรงไปลงเรือที่บ้านโก้งโค้ง แวะชมการ จับปู ปลา กุง้ กัง้ แล้วไปเดินเล่นบนสะพาน ไม้ไผ่ ที่ยังคงอนุรักษ์ไว้จนถึงปัจจุบัน เสียว และสนุกสนานท่ามกลางเสียงลุ้นยามเดิน ข้ามคลองค่ะ ต้องมาลองสัมผัสด้วยตนเอง แล้วจะรู้ถึงความเสียว .. หลังจากนั้นเรา ก็เดินลัดเลาะไปยังอุโมงค์จาก มาที่นี่เค้า บอกถ้าไม่กระโดด ในอุโมงค์จาก เรียกว่ามา ไม่ถึงค่ะ ส่วนใครจะกระโดดท่าสวยขนาด ไหนก็ตงั้ ใจกันได้เลยค่ะ ระหว่างทางเดิน มี เปลญวนผูกไว้ มีหรือนักท่องเที่ยวอย่างเรา จะไม่พลาด นอนสิคะ จะรออะไร หลังจาก นัน้ เราก็ลงเรือ เพือ่ เดินทางไปตลาดย้อนยุค ปากพนัง ชม ชิมและช็อป กันตามอัธยาศัย อาหารถูกปากไปหมดค่ะ หมี่ผัดเครื่องแกง ปากพนั ง ข้ า วย� ำ ทอดมั น ย่ า ง ขนมขี้ มั น บ๊ะจ่างแสนอร่อย ขนมปะดา ขนมมัน ขนม กรอก ฯลฯ หมดเวลาส�ำหรับทริปนี้ ด้วย อาการถือของกันสองมือหิ้วกลับบ้านก็ใคร จะอดใจไหวคะ ของอร่ อ ยทั้ ง นั้ น สมชื่ อ หรอยนีท้ เี่ มืองคอน กับ นครศรีดดี๊ นี ครศรีดี กว่าเดิม จริงๆ ค่ะ ขอขอบคุณ : ไกด์กติ ติมศักดิ์ คุณคมสันต์ สุวรรณรัตน์ (พีเ่ จอร์ร)ี่ ประธานชมรมมัคคุเทศก์ภาษาอังกฤษ ดร.อังศิกานต์ ศศิ ธรเวชกุล (ดร.มิง๊ ค์) และผูร้ ว่ มทริปจากสมาคมธุรกิจ การท่องเทีย่ วจังหวัดนครศรีธรรมราช


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

คณะกรรมการและสมาชิ กชมรมชาวปากพนั ง และคณะ กรรมการมู ลนิธิชมรมชาวปากพนัง ได้เดินทางจากกรุ งเทพฯ มาแจกทุนการศึกษาประจ�ำปี ๒๕๖๐ ให้แก่นักเรียนก�ำพร้า และยากจน ในเขตอ� ำ เภอปากพนั ง ทุ ก โรงเรี ย น โดย โรงเรี ย นปากพนั ง และสมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นปากพนั ง ได้ ก รุ ณาเอื้ อ เฟื้ อสถานที่ แ ละการจั ด พิ ธี ม อบทุ น ในครั้ ง นี้ เมื่อวันที่ ๑๕ - ๑๖ มิถุนายนที่ผ่านมา

ขอขอบคุณเทศบาลเมืองปากพนัง โดย นายกพิเชษฐ์ กล้าสุคนธ์ เลี้ยงต้อนรับอาหารเย็น ณ หอประชุ มเทศบาลฯ

ขอขอบคุณโรงเรียนปากพนัง โดย ผอ.ประเสริฐ ชี ใหม่ เลี้ยงต้อนรับอาหารกลางวัน ณ ห้องประชุ ม โรงเรียนปากพนัง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.