นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 68 เดือนมิถุนายน 2560

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถนุ ายน ๒๕๖๐

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

หลักเมือง ๒๕๖๐ ยอดทอง เพิ่มประตูสลักดุน ๘ บาน เชื่อสวยงามอลังการ

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

เพื่อนเรียนรู้ ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

สื บ เนื่ อ งจากค� ำ ถามและข้ อ สงสั ย ผู ้ ศ รั ท ธาต่ อ ศาลหลักเมืองนครศรีธรรมราชและองค์จตุคามรามเทพ ทีพ่ บว่าบริเวณศาลหลักเมืองมีแผ่นพลาสติกขึงกัน้ ส่วน ด้านหลังกั้นฝามิดชิดกันพื้นที่ไม่ให้บุคคลภายนอกเข้า ออกมา ๔-๕ เดือน มีป้ายของ บริษัทหินอ่อน จ�ำกัด ตั้งแสดงให้เห็นชัดเจนว่าเป็นพื้นที่สงวน พิธีไหว้ครูก็ไป >> อ่านต่อหน้า ๘ ประกอบกันหน้าหอพระสูง

หินอ่อนสีขาว จากเมืองคาร์ราร่า อิตาลี

อนุวัตร ศรีไสยเพชร

นิคม นกอักษร

˹éÒ ò ˹éÒ ó

ธนนนท์ บุญสนธิ

พรชัย วัฒนวิกย์กิจ

˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๓

˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ผศ.วิรุจ ถิ่นนคร

บ่ า ยวั น ที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ อาจารย์สุเมธ รุจิวณิชย์กุล กับ 'โกแอ๊ด' สุ ธ รรม ชยั น ต์ เ กี ย รติ เปิ ด เวที ร ะดม ความเห็นเรื่อง 'ถนนราชด�ำเนินเมืองนคร' ผู้เข้าร่วมเสนอความคิดเห็นประกอบด้วย อาจารย์ สถาปนิ ก นั ก ธุ ร กิ จ เจ้ า หน้ า ที่ เทศบาลนคร


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

ก็ เ

มื ่ อ วั น ที ่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ นายจ� ำ เริ ญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานเปิดตัวแคมเปญ 'นครศรีดดี๊ ี นครศรีดกี ว่า เดิม' ดีกว่าแคมเปญ 'นครศรีดดี๊ 'ี สมัย ผูว้ า่ ฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ทีด่ ดี๊ อี ยูร่ ะยะหนึง่ พอหมดงบประมาณทีว่ า่ ดี ก็แผ่วลง แต่การท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราชก็ ขับเคลื่อนไปตามธรรมชาติเพราะพลังดึงดูดดั้งเดิมทั้ง โบราณสถาน ธรรมชาติ อาหารการกินและความเป็น เจ้าบ้านทีร่ จู้ กั ปรับตัวทันโลกยิง่ ขึน้ โครงการ '๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด' ต่อเนือ่ งด้วย 'เมืองต้องห้ามพลาดพลัส' ของ ททท. ดึงนักท่องเทีย่ วเข้ามาอย่างน่าพอใจ ปี ๒๕๕๙ ชาวนครต้อนรับนักท่อง เทีย่ ว ถึง ๓.๕ ล้านคน น�ำเงินมาใช้จา่ ยถึง ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท การท่องเที่ยวเมืองนครเติบโตเพิ่มขึ้น ๑๔ เปอร์เซ็นต์ ที่ส�ำคัญคือผู้มาเที่ยวซ�้ำ ๔๘ เปอร์เซ็นต์ ตัวเลขยืนยันความดีที่แยกประเภทชัดเจนไม่ได้ ว่าดี โบราณสถานทีพ่ ระบรมธาตุเจดียเ์ ป็นหัวใจหลัก ประเพณี วัฒนธรรม อาหาร ทีพ่ กั อาศัย ร้านค้า ร้านกาแฟ และ เจ้าบ้านทีน่ กั ท่องเทีย่ วให้คะแนนดีขนึ้ ตามล�ำดับ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา กล่าวย�้ำว่ากิจกรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวมีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดปี เป้าหมายวางไว้ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นเมืองท่องเที่ยวหลักของภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยภายใน ๓-๕ ปี การ ท�ำให้ 'ดีกว่าเดิม' ท�ำโดยมุง่ เน้นคุณภาพและมาตรฐาน 'เดิมเคยดี' อยูแ่ ล้วก็ทำ� ให้ดกี ว่า โรงแรม ร้านอาหารและ ภาคบริการต่างๆ ต้องขบคิด อบรม ปรับปรุง เพราะได้ สัมผัสนักท่องเที่ยวโดยตรง ให้ส�ำนึกว่านักท่องเที่ยวจะ ผิดหวังไม่หันกลับมาเพราะบุคลากรในแหล่งท่องเที่ยว และบริการเป็นหลัก เรื่องความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ฝ่ายบ้าน เมืองประชุมกวดขันไปตามกลไก ก็ผ่านข้อเรียกร้องเป็น พิเศษ คือการกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนผู้เป็นเจ้าของ ทรัพยากรท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบการรายใหญ่รายย่อยต้อง คิดตลอดเวลาว่า 'กินคนเดียวไม่อร่อยและกินได้ไม่นาน' ต้องรู้จักเจือจานถึงจะยั่งยืนและสามารถเพิ่มนักท่องเที่ยว ๑๐ เปอร์เซ็นต์ตามเป้าหมาย จังหวัดนครศรีธรรมราชจึงจะเป็นเมืองเอกของการท่องเทีย่ วฝัง่ อ่าวไทย ตอนบน

ไม่ทราบว่ามีการท�ำโดยใครและเมื่อไหร่บ้าง พอดีได้ เห็นรายงานนี้ ที่ท�ำไว้เมื่อปี ๒๕๕๖ โดยศูนย์เครือ ข่ายวิชาการเพือ่ สังเกตการณ์และวิจยั ความสุขชุมชน มหา วิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจยั เรือ่ ง “ผลการจัดอันดับ จังหวัดแห่งความสุขของประเทศไทย” พบว่า จังหวัดที่ ประชาชนอยู่แล้วมีความสุขมากที่สุดอันดับหนึ่งได้แก่ แม่ฮ่องสอน ส่วนกรุงเทพมหานครเป็นจังหวัดที่อยู่ใน อันดับสุดท้าย ขณะทีจ่ งั หวัดนครศรีธรรมราชของเราอยูใ่ น อันดับที่ ๗๒ จากทัง้ หมด ๗๗ จังหวัด ส�ำหรับผลส�ำรวจดังกล่าว ได้ใช้กลุม่ ตัวอย่างประชาชนอายุ ๑๘ ปีขึ้นไปใน ๗๗ จังหวัดทั่วประเทศจ�ำนวนทั้ง สิน้ ๑๒,๔๒๙ ตัวอย่าง ตัง้ แต่วนั ที่ ๑-๑๙ มี.ค.๒๕๕๖ ผล การจัดอันดับค่าร้อยละของประชาชนที่อยู่อาศัยในแต่ละ

จังหวัด พบว่า จังหวัดที่ประชาชนอยู่แล้วมีความสุขมาก ที่สุด ๑๐ อันดับแรกเป็นจังหวัดขนาดเล็กและห่างไกล อันดับหนึง่ ได้แก่ แม่ฮอ่ งสอน ได้รอ้ ยละ ๖๐.๙ อันดับสอง ได้แก่ พังงา ได้ร้อยละ ๖๐.๗ อันดับสามได้แก่ ชัยภูมิ ได้ ร้อยละ ๖๐.๐ อันดับสี่ได้แก่ ปราจีนบุรี ได้ร้อยละ ๕๗.๐ อันดับห้าได้แก่ อุทยั ธานี ได้รอ้ ยละ ๕๖.๖ อันดับหกมีสอง จังหวัดได้แก่ จันทบุรีและสุโขทัย ได้ร้อยละ ๕๖.๓ อันดับ

เจ็ดมีสองจังหวัดได้แก่ พะเยาและแพร่ ได้ร้อยละ ๕๕.๖ อันดับแปดได้แก่ น่าน ได้ร้อยละ ๕๔.๘ อันดับเก้าได้แก่ หนองคาย ได้ร้อยละ ๕๔.๓ และอันดับสิบได้แก่ ล�ำปาง ได้รอ้ ยละ ๕๓.๙ โดยปัจจัยทีท่ ำ� ให้ อยูแ่ ล้วเป็นสุขมีปจั จัย ด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นหลัก วิถีชีวิตชาวบ้าน เป็นเมืองที่สงบ เป็นสังคมขนาดเล็ก มีความสัมพันธ์ที่ดี ของคนในครอบครัวและชุมชน ผู้คนมีความช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสูง คดี อาชญากรรมต�่ำ มีความภูมิใจในประวัติศาสตร์ของคน ท้องถิ่น มีความเป็นเมืองและลักษณะวัตถุนิยมระดับน้อย ถึงปานกลาง และที่ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ คนในพื้นที่มีความ จงรักภักดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ เพือ่ เสริมสร้างความเป็นหนึง่ เดียวกันในหมูป่ ระชาชน ส่วนจังหวัดที่อยู่ใน ๑๐ อันดับสุดท้ายส่วนใหญ่เป็น จังหวัดขนาดใหญ่ ได้ชื่อว่ามีการพัฒนาสูง ยกเว้นหลาย จั ง หวั ด ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ต อนล่ า ง คื อ อั น ดั บ ที่ ๗๗ ของ ประเทศคือ กรุงเทพมหานคร ได้เพียงร้อยละ ๒๐.๘ อันดับ ที่ ๗ ได้แก่ สมุทรปราการ ได้ร้อยละ ๒๒.๐ และอันดับ ที่ ๗๕ ได้แก่ ภูเก็ต ได้รอ้ ยละ ๒๔.๒ อันดับที่ ๗๔ ได้แก่ ลพบุรี อันดับที่ ๗๓ ได้แก่ นราธิวาส อันดับที่ ๗๒ ได้แก่ นครศรีธรรมราช อันดับที่ ๗๑ ได้แก่ สิงห์บรุ ี อันดับที่ ๗๐ ได้แก่ ระยอง อันดับที่ ๖๙ ได้แก่ ยะลา และอันดับที่ ๖๘ ได้แก่ สงขลา จากการส�ำรวจนี้ ประชาชนจากกลุม่ ตัวอย่างทีท่ ำ� การ ส�ำรวจทีอ่ ยูอ่ าศัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช (อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๓

มตามอาจารย์นคิ ม นกอักษร อนุวตั ร ศรีไสยเพชร (บี บ่อล้อ) และธนนนท์ บุญสนธิ หัวหน้าควบคุมโครงการบูรณะ และปรับปรุงศาลหลักเมือง บจก.หินอ่อน ไปชมงานสลักดุนที่บ้านซอยตลาดจันทร์ ต�ำบลกะหรอ อ�ำเภอท่าศาลา บ้านของสราวุฒิ แดงงาม (เอ็ม) ที่ รับงานสลักดุนบานประตูศาลหลักเมือง นคร บูรณะฯ ปี ๒๕๖๐ (อ่านข่าวหน้า ๑) ภายใต้สัญญาที่ บจก.หินอ่อน ท�ำไว้กับ บริษัท คิงส์เพาเวอร์ จ�ำกัด ผู้ว่าจ้าง การ บูรณะครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ภายในและภายนอกหลายอย่าง ซึ่งโครง สร้างภายนอกอนุวัตรเป็นผู้รับเหมาและ ท�ำสัญญาว่าจ้างอาจารย์นิคม นกอักษร เป็นผู้ออกแบบและรับงานสลักดุนภาพ ประตูขนาดใหญ่บนแผ่นทองแดง ๘ บาน ว่าจ้างอาจารย์พรชัย พรชัย วัฒนวิกย์กิจ (ช่างเปีย๊ ก) มาปัน้ คันทวยกับราหู โดยธนนนท์เป็นผูด้ แู ลให้งานส�ำเร็จตามก�ำหนด ล�ำพัง อ.นิคม ไม่สามารถรังสรรค์ บานประตู ๘ บานคนเดียว จึงติดต่อลูก ศิษย์เคยสอนที่วิทยาลัยศิลปหัตถกรรม นครฯ มาช่วยกันท�ำชิ้นงานส�ำคัญ ที่บ้าน ของสราวุฒิผมได้พบ สาคร จันทร์จ�ำปา (คร) กับ ระนอง สุวรรณ (บ่าว) เพือ่ นร่วม วิ ท ยาลั ย ศิ ล ปหั ต ถกรรมนครฯ แผนก ศิลปหัตถกรรม ทั้งสามคนเคยสร้างสรรค์ สราวุฒิ, อ.นิคม, ผู้เขียน, สาคร และระนอง

เสาซุ้งหลังที่พิพิธภัณฑ์เอราวัณ

บานประตูโลหะสลักดุน

ประตูด้านหน้าศาล

งานสลักดุนฝากไว้ที่พิพิธภัณฑ์ช้าง เอราวัณ จังหวัดสมุทรปราการ และ ท�ำงานต่อเนื่องอยู่ที่นั่นร่วม ๑๐ ปี สามคนกลับมาอยู่บ้าน เอ็มอยู่ท่าศาลา บ่าวอยู่พระพรหม ครอยู่ลาน สกา งานสลักดุนแผ่นทองแดงขนาด ใหญ่ที่แบ่งมาจาก อ.นิคม เป็นงาน ยาก เอ็ ม จึ ง ชวนเพื่ อ นมาอยู ่ ม ากิ น มาช่วยกันสร้างงานตามที่เห็น บาน ประตูหน้าคัดลอกมาจากบานประตู

ทางขึ้นลานประทักษิณองค์พระบรมธาตุ เจดีย์ แต่เพิ่มลวดลายจากที่ช่างโบราณ ท�ำไว้ หลักเมืองหลังใหม่จะมีประตู ๔ ทิศ เป็นประตูไม้ตะเคียนหนาหลายนิ้ว บาน ประตูมี ๘ บาน ช่างช�ำนาญการจะสลักดุน แผ่ น ทองแดงมาติ ด ประกบบนแผ่ น ไม้ ตะเคียน บานทีช่ า่ ง ๓ คนช่วยกันท�ำ (อีก บาน อ.นิคมรับท�ำ) บานนีจ้ ะติดอยูด่ า้ นหน้า ระนองบอกผมว่าภาพทีเ่ ห็นยังไม่ลง รายละเอียดที่เป็นลวดลาย สลักดุนพระ พักตร์ไว้เรียบร้อย แต่ยงั ไม่สลักพระเนตร เว้นไว้รอพิธเี บิกเนตรเสียก่อน ของอย่างนี้ ช่างยึดถือความเชือ่ โบราณ เขาจะท�ำโดย พลการไม่ได้ งานบูรณะและปรับปรุงศาลหลักเมืองนคร ปี ๒๕๖๐ รับรองได้วา่ สวยงาม อลังการ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือน มิถุนายน ๒๕๖๐

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

‘ข

นมจีน’ เป็นค�ำที่คนไทยภาค กลางเรียกชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ของชาวมอญ คือ 'คนอมจิน' ค�ำว่า 'คนอม' ในภาษามอญหมายถึงเส้นสี ขาวๆ ท�ำจากแป้ง ค�ำว่า 'จิน' แปลว่า สุกจากการหุงต้ม ชาวมอญจะเรียก 'ขนมจีน' ว่า 'คนอม' เพียงอย่างเดียว ผู้รู้ท่านเล่าเป็นท�ำนองอธิบาย เรื่องว่า เมื่อมีงานเทศกาลงานบุญต่างๆ การท�ำขนมจีน พร้อมน�ำ้ ยาต่างๆ จะต้องใช้สรรพก�ำลังของผูค้ นมากมาย ตะโกนสั่ ง ถามหาสิ่ ง ต่ า งๆ คงดั ก โหวกเหวก รวมทั้ ง ค�ำถามว่า 'คนอมจินระฮา' แปลได้วา่ 'เส้นแป้งสีขาวสุก หรือยัง' ท�ำนองว่าเส้นแป้งสุกหรือยังวะ ? คนกินหิวกัน แล้วโว้ยอะไรท�ำนองนี้ คนมอญในหมูช่ าวบ้านจึงเรียกขานอาหารชนิดนีว้ า่ 'คนอมจิน' จนกระทั่งคนไทยภาคกลางจึงเรียกชื่อกลาย เป็น 'ขนมจีน' ด้วยประการฉะนี้ ด้วยความอร่อยของขนมชนิดนี้จึงเป็นที่นิยมของ ชาวตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ พม่า ลาว เวียดนาม เขมร ไทย มาลายูจนถึงชวา หรือเกาะไหหล�ำของประเทศจีน ล้วนแต่มขี นมเส้นขาวชนิดนีก้ นั ทกุประเทศ มีกรรมวิธใี น การผลิตเหมือนๆ กัน เริม่ ตัง้ แต่นำ� ข้าวสาร (ข้าวเจ้า) มา

แช่น�้ำไว้คืนหนึ่งหรือสองคืน เปลี่ยนน�้ำเช้าเย็น แล้วน�ำ ข้าวที่หมักมาโม่ (โม่แป้ง) สมัยโบราณทุกประเทศแถบนี้ จะใช้ 'ครกบด' มาเป็นเครื่องมือในการโม่แป้ง แล้วน�ำ แป้งทีโ่ ม่ได้มาห่อผ้าบางกรองน�ำ้ ให้สะเด็ด หาอะไรหนักๆ มาวางทับให้น�้ำไหลซึมออกมาให้หมด น�ำก้อนแป้งที่ได้ ไปต้ม ไม่ต้องให้สุกทั้งก้อนจะท�ำให้แป้งเหนียวจนเกินไป น�ำแป้งที่ต้มแล้วใส่ลงใน 'ครกเช' เป็นอุปกรร์ที่มีใช้ ทุกบ้านเรือนของชาวตะวันออกเฉียงใต้ คือครกไม้สากไม้ ต�ำจนเนื้อเข้ากัน นวดให้นุ่มกับน�้ำสะอาดพอประมาณ กะว่าเหลวพอที่จะบรรจุลงใน 'กระบอกขนมจีน' ได้ กระบอกขนมจีนที่ว่านี้โดยทั่วไปจะนิยมท�ำด้วยไม้กลม เจาะให้เป็นทรงกระบอก เจาะรูที่ก้นกระบอก แล้วใช้ ไม้อัดแป้งขนมจีนให้ไหลออกทางรู้ที่ก้นกระบอก บาง แห่งใช้ผนื ผ้าหนาเจาะช่องฝังแผ่นโลหะเป็นรูเหมืนอรังผึง้ ใส่แป้งลงในผ้าลักษณะเป็นถุง บีบแป้งให้ผา่ นรูแผ่นโลหะ ก็จะได้เส้นขนมจีนเช่นกัน กระบอกขนมจีนทีน่ ยิ มใช้ในเมืองนครมาแต่โบราณ มีลกั ษณะพิเศษกว่าทีอ่ นื่ ๆ คือเป็น 'กระบอกทองเหลือง' เมื่อ ๑๐๐ ปีก่อน ชุมชนหลังวัดพระบรมธาตุเป็นแหล่ง ผลิตกระบอกขนมจีนทองเหลืองที่ส�ำคัญที่สุดของเมือง นคร มีการส่งออกไปจ�ำหน่ายทั่วภาคใต้ รวมทั้งประเทศ ใกล้เคียง กระบอกทองเหลืองใช้งานได้ดีกว่ากระบอกไม้ ทัว่ ไป มีขนาดเล็กบรรจุได้ปริมาณมาก คงทนแข็งแรง ใช้ งานได้ยนื ยาว การบีบขนมจีน คนนครจะเรียกว่า 'เหยียบขนมจีน' การเหยียบเส้นขนมจีนโดยการน�ำกระบอกขนมจีนวางไว้ บนคานไม้ที่เจาะรูพอสอดขนมจีนลงไปได้ ตั้งกะทะน�้ำ ร้อนอยูด่ า้ นล่างเอาแป้งบรรจุลงในกระบอกขนมจีน หมุน เกลียวอัดลงไป เนื้อแป้งจะไหลเป็นเส้นลงในกะทะน�้ำ ร้อนด้านล่าง พอเส้นสุกรีบตักมาแช่ในน�้ำเย็น จับขึ้นมา เป็นกลุ่มๆ (เรียกหนึ่งจับ) วางเรียงในกระชะทรงกลม >> อ่านต่อหน้า ๙ ขอบตืน้ จนเต็ม เป็นอันเสร็จพิธี

วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เวลา ๑๘.๐๐ น. จังหวัดนครศรีธรรมราชประกอบพิธีมหามงคลบ�ำเพ็ญพระราช กุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชบรมนาถบพิ ต ร และเจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ ถ วายพระพร ชัยมงคลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ณ พระ วิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ พระสงฆ์ร่วมเจริญพระพุทธมนต์ ๑๐ รูป มีพระเทพปัญญาสุธี เจ้าอาวาสวัดแจ้งวรวิหาร เป็น ประธานสงฆ์ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานพิธี หัวหน้าส่วนราชการพลเรือน ตุลาการ ทหาร ต�ำรวจ ข้าราชการทุกสังกัดและประชาชนทุกหมู่เหล่าเข้าร่วม อย่างพร้อมเพรียง

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ช่วย เหลือโรงเรียนและครอบครัวผู้เสียชีวิตจากอุทกภัยในพื้นที่ ภาคใต้ ๑๒ จังหวัด ๔๐ ล้านบาท เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ พลเอกไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี ได้ตรวจเยี่ยม ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปี ๒๕๕๙-๒๕๖๐ และพบปะนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาพระราชทานในพื้นที่จัง หวัดนครฯ ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา และหัวหน้าส่วน ราชการ หัวหน้าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมต้อนรับองคมนตรี มอบบัญชีเงินฝากเบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๕

เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดนครฯ ๓ จุด ณ ศู น ย์ ก ารเรี ย นต� ำ รวจตะเวนชายแดน บ้านห้วยตง หมู่ที่ ๗ ต.กรุงชิง อ.นบพิต�ำ โรงเรี ย นต� ำ รวจตระเวนชายแดนบ้ า นเขา วัง หมู่ที่ ๑๒ ต.หินตก อ.ร่อนพิบูลย์ และ ศูนย์การเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้าน หลังอ้ายหมี หมู่ที่ ๕ ต.วังอ่าง อ.ชะอวด มีข้าราชการ และประชาชนเฝ้ารับเสด็จฯ เนืองแน่นทุกพื้นที่

วันที่ ๒๑ พฤษภาคม นางกอบกาญจน์ วัฒนาวรางกูล รมว.ท่องเที่ยวและกีฬา เป็นประธานเปิดการแข่งขัน 'เดิน-วิ่ง เบญจมฯ ๑๑๘ ปี ฮาล์ฟมาราธอน ๒๕๖๐' ซึ่งเป็น กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดนครศรีธรรมราช และหารายได้น�ำไปใช้เกี่ยวกับสาธารณประโยชน์ งานนี้นักวิ่ง เข้าร่วมกว่า ๓,๐๐๐ คน

วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา เป็นประธานประชุมก�ำหนดทิศทางและการจัดท�ำแผนงาน/ โครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงาน นายอ�ำเภอ คณะท� ำ งาน ที ม ที ่ ป รึ ก ษาและภาคเอกชนเข้ า ร่ ว ม 'ผู ้ ว ่ า ฯ จ�ำเริญ' มุ่งเน้นเรื่องการบริหารจัดการน�้ำแบบบูรณาการเป็น อั น ดั บ หนึ ่ ง และเรื ่ อ งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน การท่ อ งเที ่ ย ว เศรษฐกิจ สังคม/เมืองอารยธรรมและความมั่นคง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามล�ำดับ แต่ละอ�ำเภอต้องจัดท�ำ โครงการยกระดับการแข่งขันเน้นเรื่องน�้ำกับถนน และโครงการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ๔ ชุด ได้แก่ ช็อป ชิม ชม โชว์

กณิศ ศรีเปารยะ ธิดาคน โตของ วรชาติ-เกษร ศรีเปารยะ เพิ่งสอบปกป้องวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก หั ว ข้ อ 'ศึ ก ษานาฏลี ล า พิธีกรรม และจักรวาลทัศน์ในโนรา เปรียบกับมะโย่งและบารอง' กรรมการสอบ ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร, ศ.(พิเศษ) ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา, ดร.มรว.รุจยา อาภากร, ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และ ดร.นิพนธ์ ทิพย์ศรีผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา เปิดแคมเปญ ' นคร นิมิต ประธานสอบ ถ้าผ่านจบจะได้ ศรีดี๊ดี นครศรีดีกว่าเดิม' หวังว่าการท่องเที่ยวจะน�ำเม็ดเงินเข้า ดอกเตอร์สาขาเอเซียตะวันออกเฉียง สู่เมืองนคร ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท ในปี ๒๕๖๐ ใต้ศกึ ษา ม.วลัยลักษณ์ ทีน่ า่ ยกย่องอีกคน Find Us On :

Page เพชรทองซีกวง

Seekuang BJ

Line ID : @Seekuang

ถ.เนรมิต ท่าวัง หัวอิฐ www.facebook.com/BOONADA

วันที่ ๒๒-๒๔ พฤษภา ว.เทคโนโลยีภาคใต้ (SCT) กับชาวกลุ่มโรงแรมกระบี่จัดอบรมพัฒนาทักษะการใช้ภาษา อังกฤษและจีนแก่บุคลากร ๗๔ คน จาก ๑๘ โรงแรม ณ ห้องประชุมสัมมนาโรงแรมชาวเกาะพีพีลอร์ด โดย ดร.บายาตี ดือรามัน หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษและการสื่อสาร เป็น หัวหน้าโครงการฯ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนของ ศ.ดร. นิตย์ศรี แสงเดือน อธิการบดี

เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม บ.ฮอนด้าศรีนคร ร่วมออก บูธงานเดิน วิ่ง เบญจมฯ ๑๑๘ ปี ฮาล์ฟมาราธอน ๒๕๖๐ Line ID : boonada

ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน คูขวาง (หน้า ธ.SME) หัวถนน (หน้าตลาด)

099-195-6996

ชั้ น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร) สะพานยาว (ติดโลตัสเอ็กซเพรส) ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๖

ผู้อาวุโส คนหนุ่มสาว น�ำโดย อารยา สารคุณ กับเพื่อนพ้อง พบปะพูดกันเกี่ยวกับทิศทาง แนวทางการสร้าง งานศิลปะ การเสพและการขาย ปลุก 'เมืองนคร' เป็นเมืองศิลป์ ให้ผู้คนชื่นชม ชื่นชอบ มีแหล่งเสวนา แหล่ง แสดงผลงานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวและสามารถสร้างรายได้ มีผู้เข้าร่วมพูดคุยประมาณ ๒๕ คน ณ โรงแรม The Plug ภายในย่านการค้า I-BIZ ถนนพัฒนาการคูขวาง 'รักบ้านเกิด' น�ำสาระส�ำคัญมาถ่ายทอด ในพื้นที่ อันจ�ำกัดจึงไม่สามารถเก็บความของทุกคน

อ.วณิชยา นวลอนงค์

วุฒิพงศ์ สุขแก้ว

พงศธร อิทธิผลิน

อ.วณิชยา นวลอนงค์ หัวหน้าหมวดวิชา เครือ่ งเคลือบดินเผา วิทยาลัยช่างศิลป์นครศรีธรรมราช เพิ่งชักชวนอาจารย์สถาบันมาเปิด สอนและสาธิตปั้นเครื่องปั้นดินเผา 'รากุ' ที่ อุทยานการเรียนรู้เมืองนครเมื่อปลายเดือน เมษายน ๒๕๖๐ มีผู้สนใจร่วมเรียนปั้นและ เผางานของตัวเอง ทุกคนจดจ่อกับผลงานชิ้น แรกและชิ้นเดียวในโลก "อันที่จริงวิทยาลัย ช่างศิลป์นครฯ เปิดสอนศิลปะแก่บุคคลภาย นอกมาสิบห้าปีแล้ว มีกลุ่มผู้สนใจอาชีพต่างๆ แม้ข้าราชการเกษียณอายุเข้าอบรมกับเรา แต่เป็นกลุ่มเดิมๆ ทั้งที่น่าจะเคลื่อนไหวได้ มากกว่านี"้ ปี ที่ แ ล้ ว วณิ ช ยากั บ คณะอาจารย์ ข อง วิทยาลัยไปร่วมแสดงศิลปกรรมที่บาหลี เธอ แสดงทัศนะเกี่ยวกับการสร้างงานศิลปะอย่าง น่ารับฟัง "การคิดทางศิลปะไม่ได้อยูท่ หี่ อศิลป์ อย่างเดียว เราต้องน�ำออกจากหอศิลป์ โดย เฉพาะองค์ความรู้สู่ผู้สนใจภายนอก รวมถึง การท�ำ เวิร์คช็อปดังที่ได้ชักชวนเพื่อนๆ มา ถ่ายทอดการท�ำเครื่องปั้นดินเผา ถ้ามีผู้สนใจ มากพอดิฉนั สามารถชักชวนเพือ่ นจากสถาบัน ต่างๆ มาท�ำเวิรค์ ช็อปอีกก็ได้" วุ ฒิ พ งศ์ สุ ข แก้ ว ศิ ษ ย์ เ ก่ า วิ ท ยาลั ย เพาะช่าง ผ่านงานมาหลายอย่าง ปัจจุบนั เป็น เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมหาราช เข้าร่วมแลก เปลี่ยนความคิดกับกลุ่มหลายครั้ง เขาท�ำงาน สลั ก ดุ น ชิ้ น ใหญ่ ไ ปวางในห้ อ งท� ำ งานที่ โ รง พยาบาล ปรากฏว่าเด็กออทิสติกเข้ามาลูบคล�ำ อย่างมีความสุข "ผมเลยคิดว่าศิลปะสามารถ บ� ำ บั ด หรื อ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความสุ ข ในผู ้ ป ่ ว ยบาง ประเภท ผมท�ำงานชิ้นใหญ่ๆ คิดว่าน่าจะมีที่ วางให้ผู้สนใจได้ชมหรือซื้อกลับไป ซึ่งจะเป็น ทางออกทีด่ "ี พงศธร อิทธิผลิน (เพ้ง) เจ้าของ คาเฟ่ เดอ พอร์โต้ (Cafe De Porto) ถ.พาณิชสัมพันธ์ อ.ปากพนัง ก�ำลังตกแต่งอาคารพาณิชย์ย่าน หมูบ่ า้ นเมืองทอง ถ.พัฒนาการคูขวาง เพ้งเป็น ผู้รับฟังการเสวนาที่ดี เขาพูดถึงบทบาทของ ศิลปะ "ผมคิดว่าศิลปะสอดแทรกอยู่ในชีวิต ประจ�ำวัน ผนังอาคารทีห่ มูบ่ า้ นเมืองทองกว้าง พอให้น�ำรูปภาพหรืองานศิลปะไปแสดง แล้ว ผมจะช่วยดูแลด้านการตลาด"

กุลสิริ เกรียงไกร

อลงกต วัชรสินธุ์

วิสิทธิ์ เตชสิริโกศล

กุลสิริ เกรียงไกร (แก็ป) ศิษย์เก่าคณะ สถาปัตยกรรม จุฬาฯ "ถ้ามีแหล่งให้คนทั่วไป ได้สัมผัส ตื่นตา รับรู้ มีประสบการณ์ มีสัก งานที่ น� ำ คนเสพมาพบกั บ คนสร้ า ง เราขาย ประสบการณ์และขยายการรับรู้เพิ่มขึ้น แก็ป คิดว่าช่วงเทศกาลเดือนสิบทีค่ รอบครัวชาวนคร กลับมาพบกัน มีการพบปะ มีกิจกรรมใหม่ๆ เราดึงชุมชนมาร่วมมือกับศิลปิน จบแล้วงาน ขายได้ เราต้องสร้างตรงนัน้ " อลงกต วัชรสินธุ์ (ก็อต) นักธุรกิจด้านการ ท่องเทีย่ ว เจ้าของโรงแรม 'VISH๒๓' ที่ อ.ขนอม ก็อตบอกว่าโรงแรมใหม่จัดท�ำพิพิธภัณฑ์และที่ จัดแสดงงานศิลปะ เขายกตัวอย่างหอศิลป์ขัว ศิลปะ (Art Bridge Chiang Rai) จ.เชียงราย ที่ศิลปินมารวมตัวกัน "ตอนแรกๆ พวกเขาหา บ้านเช่าราคาถูกๆ อยู่ห่างตัวเมืองพอสมควร พวกเขาเริ่มต้นด้วยช้างที่เป็นสัญลักษณ์ของ เมือง ทุกคนช่วยกันออกแบบช้างในรูปลักษณ์ ต่างๆ ต่อมาได้รับความสนใจขัวศิลปะกลาย เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวต้องไปชม พวกเขาเปิดร้านกาแฟ ร้านขนมและกลายเป็น จุดจ�ำหน่ายของที่ระลึก แต่มีกติกาว่าจะต้องมี การแสดงศิลปะทุกเดือน...เมืองนครเรามีราก มากมาย ผมคิดว่าเราน่าจะไปได้" วิ สิ ท ธิ์ เตชสิ ริ โ กศล (เจมส์ ) ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจ้าของ ร้ า นอาหาร "หลั ง แรกบาร์ " ร�่ ำ เรี ย นจบจาก วิจิตรศิลป์ มช. เป็นศิลปินดาวเด่นรางวัลบัว หลวง มูลนิธิธนาคารกรุงเทพฯ เคยเปิดร้าน อาหาร 'หลักแรงบาร์' ย่านเสาชิงช้า ๔ ปี เป็น แหล่ ง แสดงผลงานของศิ ล ปิ น ไร้ ชื่ อ เพราะ เบื่อระบบแกลลอรี่หรือพิพิธภัณฑ์ที่เลือกคน มีชื่อเสียงหรือศิลปินมีรางวัล ภรรยาเป็นชาว นครเป็นศิษย์เก่าคณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัย ศิลปากร ชักชวนเจมส์มาอยูบ่ า้ นริมถนนวัดเขา ปูน อ.พรหมคีรี “ผมก� ำ ลั ง ท� ำ บ้ า นดิ น ที่ บ ้ า นใกล้ วั ด เขา ปูน คิดว่าจะเป็นทีท่ ำ� งานงานศิลปะ เป็นแหล่ง พบปะพูดคุยแลกเปลีย่ นและพักพิงของศิลปินที่ ตั้งใจท�ำงานศิลป์ ผมคิดว่าทุกคนมีส่วนร่วมกับ ชุมชน ผมได้เรียนรู้จากการเดินทางไปท�ำงาน ไปดูงานในต่างประเทศ ถ้าพอจะช่วยวงการ ศิลปะเมืองนครได้ผมก็ยนิ ดี"


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

จดหมายข่าว

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช

วัดเก่ารายรอบวัดพระมหาธาตุฯ บริ เ วณทิ ศ เหนื อ ของ “เมื อ งพระเวี ย ง” จนถึ ง วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหาร เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ มีวดั อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากอีกพืน้ ทีห่ นึง่ แต่ปจั จุบนั ร้างไปเป็นส่วน ใหญ่ เท่าทีม่ หี ลักฐานเอกสารและซากโบราณสถานทีค่ น้ พบขณะนีม้ ี ๗ วัดคือ ๑. วัดหัวท่า ตัง้ อยูท่ มี่ มุ ก�ำแพงเมืองด้านทิศตะวันตกต่อกับกับก�ำแพงเมืองด้านทิศ ใต้ หน้าวัดมีคลองท่าดี (หรือคลองท้ายวัง) ไหลผ่าน (ปัจจุบันอยู่ในท้องที่ต�ำบลมะม่วง สองต้น) ๒. วัดพระโพธิ์ ตัง้ อยูน่ อกคูเมืองด้านทิศใต้ บริเวณหลังตลาดประตูชยั ใต้ (ประตู ไชยสิทธิ์) เดิมมีต้นโพธิ์ใหญ่ขึ้นอยู่ใกล้ๆ กับวิหารขนาดเล็ก (ปัจจุบันมีเหลือเพียงฐาน วิหารอยู)่ ๓. วัดประตูทอง ตั้งอยู่ริมคลองป่าเหล้า ตรงข้ามวัดโคกธาตุ บริเวณที่เรียกว่า “บ้านประตูทอง” วัดนีเ้ ดิมอยูใ่ นท้องทีต่ ำ� บลนา (ปัจจุบนั รวมอยูใ่ นต�ำบลในเมือง) ๔. วัดหอไตร ตั้งอยู่เยื้องกับวัดท้าวโคตร และวัดประตูทอง เดิมมีหอไตรซึ่ง อยู่กลางสระน�้ำขนาดใหญ่ ในคราวที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จมาตีเมือง นครศรีธรรมราชเมือ่ พ.ศ.๒๓๑๒ ได้อญ ั เชิญพระไตรปิฎกจากวัดหอไตรไปจารึกคัดลอก เป็นพระไตรปิฎกฉบับกรุงธนบุรี แทนพระไตรปิฎกฉบับเดิมซึ่งสูญหายเมื่อครั้งเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ปัจจุบันเป็นวัดร้างและทางราชการได้ใช้เป็นสถานที่ตั้งวิทยาลัยศิลป หัตถกรรมนครศรีธรรมราช ๕. วั ด ธาราวดี ตั้ ง อยู ่ ระหว่างวัดท้าวโคตร (ด้านทิศ เหนือ) กับวัดโคกธาตุ (ด้าน ทิศใต้) เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “วัด ไฟไหม้” ๖. วัดวา ตั้งอยู่ในเขต วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช วั ด ท้ า วโคตรปั จ จุ บั น โดย ยุบรวมกับวัดท้าวโคตร ตาม พระราชปรารภของพระบาท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล ้ า เจ้ า อยู ่ หั ว (ครั้ ง ด� ำ รงพระ อิ ส ริ ย ยศสมเด็ จ พระบรมโอ รสาธิ ร าชฯ) ในคราวเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น เยี่ ย มราษฎร วัดท้ายโคตร จังหวัดนครศรีธรรมราชเมือ่ พ.ศ.๒๔๕๒ ๗. วัดศภ (หรือวัดสพ) ตัง้ อยูใ่ นเขตวัดท้าวโคตร โดยยุบรวมกับวัดท้าวโคตร ตาม พระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั พ.ศ.๒๔๕๒ เช่นกัน

เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ วันศุกร์ที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีระกา วันศุกร์ที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีระกา วันเสาร์ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ แรม ๘ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีระกา วันศุกร์ที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีระกา

หน้า ๗ การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

วัดเก่าในต�ำบลในเมือง

พื้นที่บนสันทรายในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราชปัจจุบัน แบ่ง เป็นต�ำบลรวม ๔ ต�ำบล คือต�ำบลในเมือง ต�ำบลคลัง ต�ำบลท่าวัง และต�ำบลโพธิ์เสด็จ (บางส่วน) รวม ๒๒.๕๖ ตารางกิโลเมตร ต�ำบลที่มีพื้นที่กว้างขวางที่สุดคือ “ต�ำบลใน เมือง” มีพนื้ ที่ ๗.๒๕ ตารางกิโลเมตร (คิดเป็น ๓๒.๙๕ % ของพืน้ ทีเ่ ขตเทศบาล) ส่วน ต�ำบลที่มีพื้นที่เล็กที่สุดคือ “ต�ำบลคลัง” มีพื้นที่เพียง ๒.๐๐ ตารางกิโลเมตร (คิดเป็น ๙.๐๙ % ของพืน้ ทีเ่ ขตเทศบาล) พื้ น ที่ “ต� ำ บลในเมื อ ง” ถื อ เป็ น พื้ น ที่ ศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ สู ง สุ ด ของจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เจริญต่อเนือ่ งกันมาตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ เป็นต้นมา (เป็นเวลาร่วม ๕๐๐ ปีแล้ว) พืน้ ทีต่ ำ� บลนีแ้ ต่เดิมมี ๔.๙๕ ตารางกิโลเมตร ต่อมาได้ยบุ รวมต�ำบลนา และ ต�ำบลศาลามีชัยเข้ามารวมอยู่ในต�ำบลในเมือง จึงท�ำให้ต�ำบลในเมืองมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น ๗.๒๕ ตารางกิโลเมตรดังทีป่ รากฏในปัจจุบนั พื้นที่ต�ำบลในเมืองมีวัดเป็นจ�ำนวนมาก ในจ�ำนวนนี้เป็นวัดร้างในการดูแลของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๘ วัดคือ ๑. วัดโรงช้าง เนือ้ ที่ ๒ ไร่ ๒๐ ตารางวา อยูใ่ กล้สแี่ ยกพานยม ปัจจุบนั ใช้เป็นบ้าน พักศึกษาธิการจังหวัด (ริมถนนราชด�ำเนิน) ๒. วัดดิง่ ดง เนือ้ ที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๘๓.๒ ตารางวา อยูต่ ดิ กับวัดสระเรียง ปัจจุบนั ได้ อนุญาตให้เอกชนเช่าสร้างอาคารพาณิชย์ ๓. วัดธระมา เนือ้ ที่ ๒ ไร่ ๓ งาน ๘๘.๒ ตารางวา (เป็นโฉนด ๒ แปลง) อยูใ่ กล้กบั วัดสระเรียง ริมถนนราชด�ำเนิน ๔. วัดเสมาชัย เนือ้ ที่ ๖ ไร่ ๑ งาน ๖.๗ ตารางวา เป็นวัดคูแ่ ผดกับวัดเสมาเมือง ปัจจุบนั ใช้เป็นโรงเรียนเทศบาลวัดเสมาเมือง

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีธรรมราช

โรงเรียนเทศบาลวัดเสมาเมือง

๕. วัดสิงห์ เนือ้ ที่ ๓ ไร่ ๑ งาน ๔๙.๔ ตารางวา ตรง ข้ามวัดพระมหาธาตุฯ บริเวณ อุโมงค์ลอดถนน ๗. วั ด หน้ า พระคลั ง เนือ้ ที่ ๓ ไร่ ๑๘.๓ ตารางวา ตรง ข้ามสวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช เดิ ม เป็ น ส� ำ นั ก งาน บั ญ ชาการเรื อ นจ� ำ กลาง นครศรี ธ รรมราช ต่ อ มาใช้ เป็นส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดนครศรีธรรมราช


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

ชาวนครและผู ้ ศ รั ท ธาทราบว่ า ขณะนี้ มี ก ารบู ร ณะศาล หลักเมือง แต่ไม่ทราบว่าบูรณะอย่างไร จะแล้วเสร็จวันไหน ศาลหลักเมืองบูรณะปี ๒๕๖๐ จะมีรปู ลักษณะอย่างไร เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ 'รักบ้านเกิด' จึง เข้าสอบถามนายอนุวัตร ศรีไสยเพชร ผู้ประสานงานและ รับเหมา นายธนนนท์ บุญสนธิ หัวหน้าควบคุมโครงการ บูรณะและปรับปรุงศาลหลักเมือง บจก.หินอ่อน นายพรชัย วัฒนวิกย์กิจ และนายนิคม นกอักษร ผู้รับงานบูรณะด้าน ศิลปกรรมโครงสร้าง นายอนุวัตร ศรีไสยเพชร หรือนักนิยมวัตถุมงคลสาย จตุคามฯ เจ้าของฉายา บี บ่อล้อ เล่าว่าตนเป็นผู้รับเหมา งานโครงสร้างภายนอกและเป็นผูป้ ระสานงานการบูรณะกับ เทศบาลและบริษทั ผูว้ า่ จ้าง นายอนุวตั รเปิดเผยต่อไปว่าตนได้ ไปว่าจ้างนายพรชัยหรือช่างเปีย๊ กทีม่ ปี ระสบการณ์ออกแบบ และร่วมก่อสร้างศาลหลักเมือง เมื่อปี ๒๕๓๐ และว่าจ้าง นายนิคม นกอักษร อดีตอาจารย์วิทยาลัยศิลปหัตถกรรม นครศรีธรรมราช มาท�ำสลักดุนประตูตามแบบทีเ่ ขียนมาเพือ่ บูรณะและปรับปรุงปี ๒๕๖๐ โดยเฉพาะ โดยก�ำหนดให้เสร็จ บางส่วนทันงานสมโภชต้นเดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ แต่งาน บูรณะล่าช้าเพราะศาลหลักเมืองส่วนบนทรุดโทรมมาก นายธนนนท์ บุ ญ สนธิ หั ว หน้ า ควบคุ ม โครงการ บูรณะและปรับปรุงศาลหลักเมือง บจก.หินอ่อน เปิดเผย ว่าการบูรณะศาลหลังเมืองครั้งนี้ บจก.หินอ่อน ท�ำงานร่วม กั บ อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าสถาปั ต ยกรรมและภาควิ ช า ประวัตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒ ท่าน ทีร่ บั งานจาก บริษทั คิงส์ เพาเวอร์ จ�ำกัด มาในฐานะผูร้ บั เหมา บจก.หินอ่อน ท�ำงานร่วมกับอาจารย์มาตลอด เช่น โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ฯ หรือทีอ่ นื่ ๆ นายธนนนท์ กล่าวว่า "บจก.หินอ่อนจึงมาท�ำงานบูรณะ และงานหินอ่อนที่ศาลหลักเมือง โดยรับจากคิงส์เพาเวอร์ โดยตรง ทีมงานหลักของเราก็คืออาจารย์พรชัย งานปูนปั้น กับอาจารย์นิคม ท�ำงานสลักดุน ซึ่งเป็นงานภายนอก ของ บจก.หินอ่อนเป็นงานโครงสร้าง งานภายในเราท�ำผนังหิน อ่อนเราใช้เป็นหินอ่อนสีขาวจากเมืองคาร์ราร่า ประเทศ อิ ต าลี ที่ ใ ช้ ก ่ อ สร้ า งพระที่ นั่ ง อนั ต นตสมาคม และสร้ า ง วัดเบญจมบพิตร ภายในศาลก่อนนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยม คราวนี้ อาจารย์ผู้ออกแบบเพิ่มเสาเข้าไปสิบสองต้น มุมละสามต้น เป็ น เสาหิ น อ่ อ นคาร์ ร าร่ า หนั ก เสาละหนึ่ ง ตั น ส่ ว นงาน ภายนอกเราใช้หนิ จากสระบุรี งานพืน้ ข้างนอกใช้หนิ แกรนิต ฟ้าน�ำ้ ดิบจากตาก คูนำ�้ เราท�ำใหม่พนื้ จะปูหนิ แกรนิตสีดำ� จาก อินเดีย งานปรับปรุงภูมิทัศน์ ท�ำที่ระบายน�้ำใหม่ให้ถ่ายเท

ได้สะดวก งานบูรณะศาลหลักเมืองเป็นงานเฟสแรก เฟสต่อ ไปจะเป็นศาลบริวาร เราพยายามเร่งให้เสร็จเพราะเข้าใจว่า ประชาชนต้องการเข้ามาสักการะ" นายพรชัย วัฒนวิกย์กจิ กล่าวว่า "ผมมาช่วยแก้ปญ ั หา มาช่วยคุมแบบฟอร์มให้สวยงามขึน้ แล้วก็เสริมหลายสิง่ ทีม่ นั ขาดไปในสมัยแรก คันทวยเรือ่ งหนึง่ ล่ะ เรามาเสริมให้ครบให้ สมบูรณ์ แต่รปู แบบก็ยงั เหมือนเดิม ทีท่ ำ� อยูต่ อนนี้ คือปิดทอง ตัง้ แต่ยอดสูงประมาณสามเมตร มีพระปางลีลาตามซุม้ ประตู ผมปัน้ ราหูสตี่ นวางสีท่ ศิ เสียใหม่ให้เข้มขรึม ปัน้ คันทวย แล้วก็ ลายคันทวยสามชัน้ ประมาณ ๗๐ ตัว ปัน้ คนเดียว เสร็จหมด แล้ว ตอนนี้ดูแลเรื่องน�้ำที่มันรั่ว เวลารถวิ่งมันกระเทือนจน เกิดรอยร้าว เราก็อดุ รูรวั่ ไม่ให้นำ�้ ซึมลงมา แล้วติดเกล็ดงูกบั ที่ ฐานบัวคว�ำ่ บัวหงายรอบฐานใหม่ให้สวย เมือ่ ก่อนเราไม่มลี าย ท�ำใหม่ให้มีลายดูสง่างามขึ้น ข้างบนท�ำสีใหม่ให้เหมือนกัน หมดเป็นสีขาวสะอาด พวกทองก็จะเด่นขึ้น ที่ท�ำเพิ่มขึ้นมา เป็นสลักดุนบานประตู ๘ บาน" นายพรชัย กล่าวเพิม่ เติม "หลังบูรณะครัง้ นีค้ วามทีเ่ รา ไม่เปลีย่ นแปลงมากเพราะสิง่ เดิมทีเ่ ราท�ำกันมามันสมบูรณ์อยู่ แล้ว เราบูรณะใหม่ให้สวยงามขึน้ ครัง้ นีย้ อดเราลงรักปิดทอง ขึ้นมาเราคิดเวลา ๓๐ ปีตั้งแต่แรกสร้าง มันมีความผุกร่อน บ้าง ต้นไทร นกท�ำรัง เราบูรณะให้แข็งแรงขึน้ สมัยก่อนกัน ซึมเราไม่ได้ใช้ เรารือ้ มาใส่กนั ซึมให้หมด คิดว่าดีกว่าเก่าเยอะ คงอยูไ่ ปได้อกี ๓๐ ปีขา้ งหน้า ความแข็งแรงดีขนึ้ ความรูส้ กึ ศรัทธามากขึ้น ศาลบริวารจะท�ำเฟสสองหลังบูรณะองค์ ประธานเสร็จทันพิธีสมโภชต้นเดือนสิงหาคงได้เห็นว่าศาล บูรณะใหม่รปู ร่างหน้าตาเป็นอย่างไร” นายนิคม นกอักษร อาจารย์ผู้สอนศิลปะและสมาชิก ชมรมเครื่องถมนครแห่งร้านนครหัตถกรรมเป็นผู้ออกแบบ ประตูศาลหลักเมืองตามแบบที่เขียนขึ้นใหม่ ประตูสี่ด้าน วงกบขนาดใหญ่ท�ำด้วยไม้ตะเคียนหนักแปดคนหาม บนไม้ ตะเคียนบานประตูเขียนไว้ให้ปิดแผ่นสลักดุนรูปเทพเจ้าใน ต�ำนานบนแผ่นทองแดงขนาดใหญ่สงู ท่วมศีรษะ (อ่านเรือ่ งดีดี หน้า ๓) ๘ บาน แล้วน�ำไปติดตัง้ “งานสลักดุนทองแดงเป็นงานศิลปะทีท่ ำ� ยาก เพราะมี ขนาดใหญ่ ผมเป็นผูร้ บั เหมาไปออกแบบและจัดท�ำ ผมท�ำคน

เดียวให้ทันเวลาไม่ไหว โชคดีที่ผมมีลูกศิษย์ช่างสลักดุนสมัย สอนวิทยาลัยศิลปะฯ พวกเขาไปท�ำงานในส่วนกลางกลับมา บ้าน มาเลีย้ งท�ำฟาร์มเลีย้ งหมูบา้ ง ประกอบอาชีพอืน่ ๆ บ้าง แต่ยังรับงานสลักดุนหารายได้และรักษาฝีมือไม่ให้แข็ง ผม เอางานให้พวกเขาช่วยกันท�ำ พวกเขาเป็นชาวนครทีม่ โี อกาส ฝากฝีมือ ฝากชื่อเสียงไว้กับบ้านเมือง ผมคิดว่าบานประตู โลหะสลักดุนจะสวยงาม ผมเอาแบบมาจากประตูขึ้นลาน ประทักษิณที่วัดพระมหาธาตุฯ มาประยุกต์เพิ่มลายเข้าไป แต่รักษาศิลปะศรีวิชัยเอาไว้ เมื่อศาลหลักเมืองบูรณะเสร็จ เชือ่ ว่าผูศ้ รัทธาและคนจากบ้านอืน่ เมืองอืน่ จะชืน่ ชม" นายธนนนท์ กล่าวเพิ่มเติมเรื่องการปรับปรุงภายใน "เราปรับจากห้องสี่เหลี่ยมเป็นแปดเปลี่ยม หินอ่อน ๓๐๐ ตารางเมตร เสาตัน ภายในมีโดมกลม จะมีราหูติดตั้งที่เดิม จะติดตั้งดวงไฟภายในและภายนอกส่องสว่างตอนกลางคืน ดวงไฟน�ำเข้าจากเยอรมัน บานประตูข้างนอกจะเป็นไฮไล ของการปรับปรุง บานประตูกเ็ ป็นไม้ตะเคียนทองกรุดว้ ยสลัก ดุนของอาจารย์นคิ มทัง้ ๘ บาน เราจะท�ำให้งดงามทีส่ ดุ ให้ สวยงามทีส่ ดุ การท�ำงานค่อนข้างยาก โครงสร้างเดิมน�ำ้ รัว่ ซึม เราใช้เวลาแก้ปญ ั หามาก แทนทีจ่ ะทาสีและกรุฝา้ เพดาน เรา เปลี่ยนจากยิปซัมเป็นไม้ตะเคียนทอง เราต้องมาอุดรอยรั่ว ก่อน บริษทั ภายนอกมาท�ำช่วงบนแก้ปญ ั หา ภายในสีพพุ อง เป็นเชือ้ รา เราต้องท�ำใหม่ เราไม่รวู้ า่ ข้างในมีอะไร พอเราเปิด มาก็พบปัญหา มันยากตรงนีเ้ อง วัสดุทรี่ อื้ จากการบูรณะผม ต้องเก็บรวบรวมท�ำบัญชีสง่ คืนให้ทางเทศบาล" นายพรชัย อธิบายว่า "เสา ๑๒ ต้น เสาเปรียบเทียบ ๑๒ ราศี ๔ เหลีย่ มเป็น ๘ เหลีย่ มเอาราหูเป็นตัวก�ำหนด" นายอนุวตั ร ศรีไสยเพชร กล่าวเพิม่ เติมว่า งบฯบูรณะ ทางผูส้ นับสนุนยินดีรบั ผิดชอบ หลังส�ำรวจพบความเสียหาย และต้องการท�ำเพิ่มให้คงทนสวยงาม ทางผู้ใหญ่บอกว่าท�ำ ให้ดีที่สุดให้สวยงามที่สุดให้สมกับความศรัทธา ส่วนงาน สมโภช ระหว่างวันที่ ๑-๔ สิงหาคมนัน้ "เจ้านายบอกมาว่า จัดให้ยิ่งใหญ่กว่าปีที่แล้ว ท�ำสัญญากับวงดนตรีมาลีฮวนน่า ไว้เรียบร้อย พีไ่ ข่ มาลีฮวนน่า ยืนยันว่างานนีต้ อ้ งมาแสดงให้ แฟนๆ ชาวนครได้ชม ส่วนวงดนตรีอนื่ ๆ ผมจะเลือกให้ดที สี่ ดุ ให้ดกี ว่าปีทแี่ ล้ว"


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๙

รายงาน นครศรีธรรมราช ณ โรงแรม The Plug ภายในย่านการค้า I-BIZ อเวนิว ถนนพัฒนาการคูขวาง อาจารย์สุเมธ รุจิวณิชย์กุล เกริ่นว่าต้องการข้อมูล ความเห็นตามความต้องการของนายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อตั้งงบประมาณ สนับสนุน และกล่าวต่อไปว่าถนนราชด�ำเนินต้องได้รบั การ บูรณะและพัฒนาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการ ท่องเทีย่ ว ขณะเดียวกันต้องรักษาเอกลักษณ์เอาไว้ดว้ ย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดนครฯ เล่าประวัตถิ นนราชด�ำเนินสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ สมัยเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นสมุหเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการมลฑลนครศรีธรรมราช โดย ตัดถนนตามแนวหาดทรายผ่ากลางเมืองพระเวียงซึ่งเป็น เมืองเก่า ผ่านเมืองนครดอนพระที่มีวัดท้าวโคตรกับวัด พระบรมธาตุต่อไปจนถึงสะพานราเมศวร์ สมัยพลเอก หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์) เป็นผูบ้ ญ ั ชาการมณฑล ทหารบกที่ ๖ (สมัยนั้น) ค่ายวชิราวุธ ได้ตัดถนนต่อไปถึง ท่าแพ เมือ่ ปี ๒๔๘๓ คณะเทศบาลเมืองนครฯ ตัง้ ชือ่ ถนน สายนีว้ า่ ราชด�ำเนินโดยเอาถนนราชด�ำเนินทีก่ รุงเทพฯ เป็น แม่แบบ นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) เจ้าของร้านโกปี๊ เล่าว่า ปี ๒๕๔๒ ตนเคยเสนอให้ ททท.ฟืน้ ฟูประเพณีแห่ นางดานซึ่งก็ใช้ถนนราชด�ำเนิน ปี ๒๕๔๕ เสนอแนวคิด แก่เทศบาลนครนครฯ สมัยนายสมนึก เกตุชาติ เป็นนายก เทศมนตรี เทศบาลชูคำ� ขวัญ 'เรียกความยิง่ ใหญ่ของเมือง นครกลับคืนมา' จนมีการฟื้นฟูบูรณะบ่อน�้ำศักดิ์หลายบ่อ อยู่ติดถนนราชด�ำเนิน การฟื้นฟูสะพานต่างๆ มีจัดนั่งรถ ชมเมืองเล่าเรื่องลิกอร์ การฟื้นฟูหอพระสูงและปรับพื้นที่ สนามหน้าเมืองเป็นพื้นที่พักผ่อนกึ่งสวนสาธารณะ การ บูรณะถนนราชด�ำเนินตนอยากให้เห็นความส�ำคัญของตึก

<< ต่อจากหน้า ๔

สมั ย ก่ อ นขนมจี น เป็ น แป้ ง หมั ก มี ร สออกเปรี้ ย วๆ หน่ อ ยๆ รสชาติชวนกิน มีขนั้ ตอนการผลิตยุง่ ยากเสียเวลาในการหมักแป้งไว้ล่วง หน้าวันสองวันหรืออาจถึงสามวันก็ มี ปัจจุบนั การท�ำเส้นขนมจีนปรับ เปลี่ยนเป็นเส้นสด ใช้เครื่องจักรทันสมัยทุ่นแรง แต่กลิ่น เหม็นเปรี้ยวจะหายไป เอาความสะดวกรวดเร็วเป็นหลัก ค่อยๆ เคยชินกับรสชาติใหม่ไปในทีส่ ดุ ต่อไปเป็นเรื่องของน�้ำแกงที่ใช้คลุกกับเส้นขนมจีน แต่ละท้องถิ่นจะมีรูปแบบและรสชาติแตกต่างกันออกไป การเรียกชื่อก็แตกต่างไปตามการตั้งชื่อของแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคกลางเรียก 'ขนมจีนซาวน�ำ้ ' นิยมท�ำน�ำ้ แกงด้วย ลูกชิน้ ปลากราย ปรุงด้วยขิง กระเทียมซอย รากผักชี ภาค อีสานเรียก 'ข้าวปุน้ ' แน่นอนภาคอีสานต้องไม่ขาดปลาร้า แต่เน้นผักสดผักลวกคลุกด้วยพริกป่น น�ำ้ ตาล น�ำ้ มะนาว แซ่บตามแบบชาวอีสาน แถบภาคเหนือล้านนาเรียกว่า 'ขนมเส้น' น�ำ้ แกงไม่เผ็ดนัก ไม่ใช้เครือ่ งแกง มีเนือ้ หมู หรือ

แบบชิโน-โปรตุกีสที่มีอยู่หลายหลังสองข้างถนนราชด�ำเนิน และอยากให้ศกึ ษาแล้วสร้างซุม้ ประตูเมืองตามแบบโบราณ บริเวณซุม้ เก่าข้างสะพานนครน้อย ผศ.วิรุจ ถิ่นนคร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาสถาปัตยกรรม ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ม.วลัยลักษณ์ในรายงานพิเศษ กล่าวถึงแนวคิด ขบวนการ และกลไกในการบูรณะถนนราชด�ำเนินที่เป็นทางเข้าถึง พระบรมธาตุเจดียท์ เี่ ปรียบเสมอหัวใจของเมืองทัง้ ถนนทาง ทิศเหนือและถนนทางทิศใต้ พูดรวมๆ ก็คอื การเข้าสูพ่ นื้ ที่ เมืองเก่า ภูมทิ ศั น์ตลอดเส้นทางต้องมีสว่ นปลุกความรูส้ กึ ใน การเข้าสู่เมืองเก่าที่มีพระบรมธาตุฯ เป็นแกนกลาง ท�ำให้ คงคุณค่าดัง้ เดิมและรับรูถ้ งึ ความรุง่ เรืองในอดีต ตลาดท่าม้า อาคารหนาแน่นมาก เครือ่ งประกอบถนน (street furniture) มีสว่ นบดบังการมองเห็น องค์ประกอบของเมืองเก่าอีกอย่าง คือหอพระสิหงิ ค์กถ็ กู บดบังจนมองไม่เห็น อาคารในรัศมีการ มองเห็นควรควบคุมสีให้อยูใ่ นโทนเดียวกัน รวมถึงการจ�ำกัด ขนาดและพืน้ ทีใ่ นการท�ำหรือติดตัง้ ป้ายโฆษณา นายศรีโรจน์ อนุตรเศรษฐ์ เจ้าของโรงแรม The Plug กล่าวว่าตนเป็นเด็กริมถนนราชด� ำเนิน บ้านอยู่หน้าวัด จันทาราม ต�ำบลท่าวัง เคยเห็นท่าน�ำ้ วัดจันทารามริมคลอง ราเมศวร์ที่หายไปแล้ว ตนอยากเห็นกิจการขนส่งมวลชน ที่ดีและทันสมัยบนถนนสายนี้ จินตนาการเกี่ยวกับถนน ราชด�ำเนินทีค่ าดหวังคืออยากให้เป็นถนนทีม่ ที างเท้าเดินไป สนามกีฬาหรือหัวถนนอย่างปลอดภัยเหมือนญีป่ นุ่ มีพนื้ ทีบ่ น ทางเท้าถนนให้คนเดินไปกลับ ร้านค้าก็จะฟืน้ ตัวได้ โสฬส ทองสมัคร เจ้าของร้าน PixZel Caffe หน้าวัด พระมหาธาตุฯ เล่าว่า การท่องเที่ยวของเรามีปัญหาเรื่อง ขนส่งมวลชน นักท่องเทีย่ วมาทีร่ า้ นกาแฟอยากไปปากพนัง หรือไปคีรวี ง บางทีเขาต้องไปส่ง เดีย๋ วนีม้ ี Back Packer มาก ขึน้ อยากให้มี tourist center ทีต่ ดิ ต่อได้จริงตลอดเวลา มี

คูม่ อื ท่องเทีย่ ว หน้าวัดพระธาตุฯ รถทัวร์จอดซ้อนคันเกิด ความแออัด ตนอยากเห็นเมืองนครทีน่ กั ท่องเทีย่ วสามารถ เดินได้ คือมีทางเท้าให้เดินอย่างปลอดภัย เป็นเมืองท่ี สามารถเดินเทีย่ วได้ ดร.กณพ เกตุชาติ (ดร.โจ) นักธุรกิจอุตสาหกรรม กล่าวว่าถนนราชด�ำเนินมีความส�ำคัญทั้งด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ คมนาคม และประวัตศิ าสตร์ ตนคิดว่าการ ธ�ำรงรักษาประวัตศิ าสตร์ของถนนราชด�ำเนินและซอยต่างๆ เช่น ซอยท่านร่ม ซอยท่านปานและอืน่ ๆ เอาไว้เป็นเสน่ห์ อย่างหนึง่ ท�ำให้คนรุน่ หลังเข้าใจบ้านเมืองให้พวกเขาเห็น คุณค่าและเกิดความรักความผูกพัน อารยา สารคุณ ผูบ้ ริหารบริษทั ฮอนด้าศรีนคร อยาก เห็น info graphic เกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์และเรือ่ งราวต่างๆ ที่ดูง่าย เข้าใจง่ายในสื่อสมัยใหม่ เรื่องนี้ตนคงต้องพูดคุย กันในเครือข่ายกลุม่ ศิลปะว่าจะช่วยอะไรได้บา้ ง โดยเฉพาะ กลุม่ Graffiti พ่นงานศิลปะตามก�ำแพงทีไ่ ด้รบั อนุญาต ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในสร้างความสนใจให้เกิดแก่นกั ท่องเทีย่ ว

เนื้ อ ปลาขู ด ปรุ ง รสเปรี้ ย วด้ ว ย มะเขื อ เทศลู ก เล็ ก ๆ มะนาวนิ ด หน่อย ขนมจี น ของภาคใต้ เ รี ย ก 'หนมจีน' เน้นเครือ่ งแกงเต็มรูป มี น�ำ้ แกงคลุกเส้นขนมจีนหลากหลาย ตัวหลักๆ ที่นิยมมากมี ๔ น�้ำแกง คือ น�้ำแกง (น�้ำยา) ใส่กระทิและ ขมิน้ รสเผ็ดปานกลาง 'น�ำ้ เผ็ด' (แกง ป่าก์) เป็นน�ำ้ แกงทีไ่ ม่ใส่กะทิ ต้องมี ฝีมือดีจริงๆ จึงจะปรุงรสชาติให้ อร่อยได้ จึงเรียก 'น�ำ้ แกงป่าก์' ซึง่ รากศัพท์เดิม คือ 'ปากะ' แปลว่า 'ศิลปะในการท�ำกับข้าว' ใครมีฝมี อื การท�ำอาหารมี ศิลปะชัน้ ครูเขาจึงเรียก 'แม่ครัวหัวป่าก์' อย่าได้เข้าใจผิดว่า เป็นแกงคนในป่า 'น�ำ้ เผ็ด' เป็นตัวเผ็ดจัด ต่อมาก็ 'น�ำ้ พริก' อันนี้เผ็ดน้อยที่สุด เครื่องปรุงน�้ำแกงชนิดนี้เข้มข้นแต่เผ็ด น้อย รสเปรี้ยวหน่อยๆ จากมะขามเปียก หอมหวานจาก น�้ำตาลปี๊บ (น�้ำตาลมะพร้าว) ถั่วลิสงคั่วบดหยาบๆ กุ้งสด เครือ่ งน�ำ้ พริกมันด้วยรสกะทิ รสหนักไปทางหวานอมเปรีย้ ว หน่อยๆ เคยมีคนภาคกลางกินขนมจีนคลุกด้วย 'น�้ำแกง' (น�ำ้ ยา) ออกอาการเผ็ดจนทนแทบไม่ได้ แม่คา้ แนะน�ำให้ใส่ 'น�ำ้ พริก' ผสมลงไปเพือ่ ลดเผ็ด เขากลับโวยวายว่า "นีข่ นาด น�ำ้ แกงเผ็ดขนาดนี้ นีถ่ า้ น�ำ้ พริกมันจะเผ็ดกว่าขนาดไหน ชือ่

'น�ำ้ พริก' ขนมจีนมันไปพ้องกันกับ 'น�ำ้ พริก' ทีก่ นิ กับข้าว ด้วยเหตุทใี่ ช้ 'เครือ่ งแกงพริก' เป็นตัวปรุงหลักเหมือนกัน น�้ำแกงตัวต่อมาที่ชาวนครโดยเฉพาะชาวชนบทมักจะท�ำ ขนมจีนเลีย้ งแขก งานออกปากต่างๆ จึงต้องมีนำ�้ แกงทีม่ ี เนือ้ สัตว์เป็นส่วนประกอบ เนือ้ ไก่เป็นเนือ้ ทีพ่ อจะหาได้ทกุ ครัวเรือนไม่เหมือนเนื้อวัวเนื้อควายซึ่งต้องเข้างานใหญ่ เนือ้ ไก่จะท�ำแกงได้เหมาะกับขนมจีนทีส่ ดุ คือน�ำ้ 'แกงเขียว หวาน' ใส่นำ�้ ซาวได้เยอะ ใส่ (ทอด) ผักต่างๆ ลงไปได้หลาย ชนิดโดยเฉพาะมะเขือ ได้ทงั้ ปริมาณและรสชาติเข้ากันกับ เส้นขนมจีน ส่วนน�ำ้ 'แกงพุงปลา' ชาวชนบทนิยมใส่ลงไป ในน�้ำแกงและน�้ำเผ็ดอยู่แล้ว แต่แม่ค้าในตลาดในเมือง หรือภาคอืน่ จะแยกออกมาต่างหากเป็นของแถม ไม่คดิ เงิน องค์ประกอบของการสร้างชือ่ ของขนมจีนภาคใต้อกี อย่าง คือ 'ผักเหนาะ' มีทงั้ ผักลวก ผักดอง ผักสด ลูกไม้ ต่างๆ เช่นลูกสะตอ ลูกเนียง ลูกฉิง่ ลูกส้มไฟจิปาถะ ยอด ผักท้องถิ่นอีกนับร้อย ภาคใต้บางถิ่นมีลูกปลาเป็นเครื่อง เคียงด้วย บางถิ่นก็นิยมไข่ต้ม ความอร่อยของขนมจีน ภาคใต้ โดยเฉพาะขนมจีนเมืองนคร เป็นที่แพร่หลายไป ทั่วประเทศ น�้ำแกงท้องถิ่นต่างๆ ต้องหลีกทางให้แต่ต้น ต�ำรับ 'ขนมจีนเมืองนคร' 'ขนมจีนภาคใต้' ทีม่ ชี อื่ เสียงเป็น ที่โจษจันกันทั่วประเทศก็คือเมืองนคร จนมีค�ำกล่าวติด ปากของแขกผูม้ าเยือน ว่า "มาเมืองคอนไม่ได้กนิ ขนมจีน เมืองนครก็ถอื ว่าไม่ถงึ เมืองนคร"

ดร.กณพ เกตุชาติ

ศรีโรจน์ อนุตรเศรษฐ์

อารยา สารคุณ

โสฬส ทองสมัคร


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๐

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว) องค์พระบรมธาตุเจดีย์ ตามต�ำนานระบุการสร้างว่า เป็นศักราชโดยมีบนั ทึกว่า สร้างขึน้ เมือ่ “ศักราชได้ ๑๐๗๘ ปี” แต่ไม่ชดั เจนว่าเป็น มหาศักราช หรือ พุทธศักราช หาก จะนับเป็นมหาศักราชก็จะตรงกับ พ.ศ. ๑๐๗๘ ซึง่ ก็เท่ากับ ว่าล่วงมาแล้ว ๑๔๘๒ ปี แต่ถ้านับเป็นพุทธศักราช พระ ธาตุก็สร้างเมื่อปี ๑๗๑๙ เท่ากับว่าพระธาตุสร้างมาแล้ว ๘๔๑ ปี ดังนัน้ การขุดค้นทางโบราณคดีครัง้ ล่าสุดตรงฐาน พระบรมธาตุเจดีย์ เมื่อส่งไปพิสูจน์อายุพบว่าอิฐชั้นล่าง อายุประมาณ ๑๒๐๐ กว่าปี ส่วนชัน้ บนอิฐเจดียป์ จั จุบนั ๘๐๐ กว่าปี นักวิชาการก�ำลังหาข้อมูลอย่างอืน่ เพิม่ เติม จึง จะก�ำหนดอายุทชี่ ดั เจนอีกครัง้ หนึง่ ข้อที่ยังไม่ยุติอีกเรื่องหนึ่ง คือ ก่อนที่จะสร้างเจดีย์ ทรงระฆังแบบลังกานัน้ องค์เดิมของเจดียม์ รี ปู ทรงอย่างไร มีนักวิชาการกลุ่มหนึ่งเห็นว่าน่าจะเป็นแบบ “ศรีวิชัย” เพราะเชื่อตามแนวคิดที่ว่า เมื่อจะสร้างเจดีย์องค์ใหม่ทับ ลงบนองค์เก่า ก็จะต้องสร้างเจดีย์จ�ำลององค์เก่าเอาไว้ ดังนีห้ น้าลานทรายเราก็มี เจดียท์ รงศรีวชิ ยั องค์ขนาดเล็ก อยู่องค์หนึ่งด้วย ส่วนนักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งมีความเห็น ว่าพระบรมธาตุองค์เดิมคงสร้างทรงแบบ “สถูปสาญจี” โดยอ้างว่าพระพุทธศาสนาแรกเริ่มเข้ามาในเมืองนครมา จากทางอินเดียก่อน โดยเข้ามาทางพุกาม ทวารวดี เขมร และชวาในยุคเดียวกัน งานสถาปัตยกรรมจึงได้รบั อิทธิพล จากอินเดีย ซึ่งขณะนั้นรูปทรงเป็นสถูปสาญจี และมีการ ผสมผสานกับศิลปะศรีวชิ ยั เป็นบางส่วน อีกทัง้ รูปทรงของ สาญจีกม็ ลี กั ษณะโป่งกลม ง่ายและสะดวกกับการสร้างรูป

ธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักตั้งมั่นด�ำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน และอกุศลธรรมอันเป็นบาปทีเ่ กิดขึน้ แล้ว จักไม่ ครอบง�ำจิตได้ เมือ่ ใดจิตของเธอเป็นจิตตัง้ มัน่ ด�ำรงอยูด่ ว้ ย ดีแล้วในภายใน และอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่เกิดขึ้นแล้ว แล้ว ไม่ครอบง�ำจิตได้ เมือ่ นัน้ เธอพึงศึกษาอย่างนีว้ า่ เราจัก เจริญ กระท�ำให้มากซึง่ เมตตาเจโตวิมตุ ติ, กรุณาเจโตวิมตุ ติ, มุทิตาเจโตวิมุตติ, อุเบกขาเจโตวิมุตติ ท�ำให้เป็นดุจยาน ท�ำให้เป็นทีต่ งั้ ให้มนั่ คง สัง่ สม ปรารภดีแล้ว เมื่อเธอพิจารณาเห็นตนบริสุทธิ์ พ้นแล้วจากอกุศล ธรรมอันเป็นบาปที่เกิดขึ้น ปราโมทย์ก็เกิด เมื่อเธอเกิด ปราโมทย์แล้ว ปีติก็เกิด เมื่อเธอมีใจประกอบด้วยปีติแล้ว กายก็สงบร�ำงับ ผู้มีกายสงบร�ำงับย่อมเสวยสุข จิตของผู้มี สุขย่อมตัง้ มัน่ เป็นสมาธิ เธอมีจติ ประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๑ อยู่ แผ่ไป สูท่ ศิ ที่ ๒ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๓ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๔ ก็อย่างนัน้ และเธอมีจติ ประกอบด้วยเมตตา อันกว้าง ขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มเี วร ไม่มพี ยาบาท แผ่ไปทัง้ เบือ้ งบน เบือ้ งต�ำ่ เบือ้ งขวางทัว่ ทุกทาง เสมอหน้า กันตลอดโลกทัง้ ปวงทีม่ อี ยู่ มีจิตประกอบด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศที่ ๑ ก็อย่างนั้น

เจดียท์ รงระฆังครอบทับซ้อนไปได้สนิทดี รูปทรงสาญจีเองก็ มีลานประทักษิณอยูด่ ว้ ย และแย้งว่า...เจดียท์ รงศรีวชิ ยั องค์ เล็กที่สร้างอยู่ ณ ลานทรายนั้น เพิ่งสร้างเมื่อสมัยรัชกาล ที่ ๕ นีเ่ อง อายุเพียง ๑๐๐ กว่าปี ไม่ได้สร้างเมือ่ สมัยสร้าง พระบรมธาตุองค์ปจั จุบนั ซึง่ ก็หา่ งกันหลายร้อยปี ข้อนีจ้ งึ ยังไม่ยุติ รอนักวิชาการท่านสรุปยืนยันให้ชัดเจนเสียก่อน ค่อยมาว่ากัน องค์พระบรมธาตุทรงระฆังคว�ำ่ ศิลปะลังกานัน้ มีหลัก ฐานชัดเจนว่าพระภิกษุสงฆ์และช่างฝีมือจากลังกามาสร้าง ขึน้ โดยอาศัยต้นแบบจากมหาสถูปเจดีย์ “รุวลั เวลิยะ” ของ เมืองโปโลนนารุวะในลังกา มีสณ ั ฐานสีเ่ หลีย่ มรอบองค์พระ เจดีย์ รอบฐานทัง้ สีม่ รี ปู ช้างปัน้ โผล่ออกมา ๒๒ ซุม้ ภายหลัง

มีการสร้างพระพุทธรูปยืนเพิ่มเติมอยู่ใน ซุม้ เรือนแก้ว และมีการมุงหลังคาเป็นเพิง โดยรอบ เรียกว่า “วิหารทับเกษตร” ถัดขึน้ ไปด้านบนเป็นฐานกลาง มีบวั เป็นลายลูกแก้ว ซ้อนกันหลายชั้น มีลานทางเดินโดยรอบเรียกว่า “ลาน ประทักษิณ” ที่มุมทั้งสี่มีเจดีย์อยู่มุมละองค์ รูปทรงเช่น เดียวกับเจดีย์องค์ใหญ่เรียกรวมกันว่า “ปัญจายตนะ เจดีย”์ ถอดแบบมาจากสถูปเจดียท์ เี่ มืองสารนาถอินเดีย อีกชั้นหนึ่งที่ตั้งอยู่บนองค์ระฆังคือ “แท่นบัลลังก์” เป็ น ชั้ น ที่ ส วยงามมากอี ก ชั้ น หนึ่ ง มี เ สาเรี ย งติ ด ชิ ด ใน ก�ำแพง มีการประดับประดาด้วยถ้วยชามโบราณหลากสี ตรงกลางทัง้ สีด่ า้ นมีวงกลมเด่นอยู่ สันนิษฐานว่าแต่เดิมน่า จะประดับรูปธรรมจักร รูปพระอาทิตย์ รูปพระจันทร์ และ รูปดอกบัว ในการบูรณะในช่วงหลังคงมีการรือ้ ออกไป ต่อมาถึง “ปล้องไฉน” สร้างอยูบ่ น “ฐานพระเวียน” ซึง่ เป็นรูปของพระอรหันตสาวกทัง้ ๘ รูป แนบติดกับ “เสา หาร” มีลักษณะเป็นทรงกลม ปล้องไฉนมีทั้งหมด ๕๓ ปล้อง เสาหารทัง้ ๘ นัน้ ท�ำหน้าทีช่ ว่ ยรับน�ำ้ หนักของปล้อง ไฉน ส่วนต่อกับปล้องไฉนขึ้นไปก็คือ “ปลียอดทองค�ำ” ฐานของปลียอดทองค�ำท�ำเป็นรูป “กลีบบัวคว�ำ่ บัวหงาย” แต่เดิมภายในท�ำด้วยแก่นไม้จัน ปัจจุบันผุเปื่อยไปตาม กาลเวลาจึงมีการเปลี่ยนเป็นโครงสแตนเลสหุ้มด้วยแผ่น ดีบุกและทองแดง ก่อนที่จะหุ้มด้วยแผ่นทองค�ำดังที่เรา เห็น ความสูงเฉพาะปลียอดทองค�ำคือ ๖ วา ๒ ศอก ๑ คืบ บนสุดของปลียอดเป็นลูกกรงทองค�ำ ประดับด้วยแก้ว แหวนเงินทอง เพชรพลอยมณีหลากสี และปลายยอดสุดมี “บาตรทองค�ำ” เมือ่ ฝนตกบาตรก็จะรับน�ำ้ ฝนเอาไว้ เมือ่ แสงแดดแผดเผาก็จะระเหยเป็นไอไปรวมกับหมูเ่ มฆ กลาย เป็นน�้ำพระพุทธมนต์ประพรมไปทั่วทั้งแผ่นดินเมืองนคร ให้ชาวเราได้อยูเ่ ย็นเป็นสุขสืบไป กระวนกระวายเพราะความร้อนเสียได้ แม้ฉนั ใด เธอมาถึง ธรรมวินยั ทีต่ ถาคตประกาศแล้ว เจริญเมตตา กรุณา มุทติ า และอุเบกขาอย่างนัน้ ย่อมได้ความสงบจิต ณ ภายใน ก็ฉนั นัน้ เหมือนกัน เรากล่าวว่าเป็นผูป้ ฏิบตั ขิ อ้ ปฏิบตั อิ นั ดียงิ่ เปรียบเหมือนคนเป่าสังข์ผู้มีก�ำ ลัง ย่อมเป่าสังข์ ให้ได้ยินได้ทั้งสี่ทิศโดยไม่ยากฉันใด ในเมตตาเจโตวิมุตติ (กรุณาเจโตวิมุตติ..., มุทิตาเจโตวิมุตติ..., อุเบกขาเจโต วิมุตติ...,) ที่เจริญแล้วอย่างนี้ กรรมชนิดที่ท�ำ อย่างมีขีด จ�ำกัดย่อมไม่มเี หลืออยู่ ไม่ตงั้ อยูใ่ นนัน้ ก็ฉนั นัน้ เมือ่ ใดเธอ เจริญสมาธินี้อย่างนี้ เจริญดีแล้ว เมื่อนั้นเธอจักเดินไปใน ทางใดๆ ก็จักเดินเป็นสุขในทางนั้นๆ ยืนอยู่ในที่ใดๆ ก็จัก ยืนเป็นสุขในทีน่ นั้ ๆ นัง่ อยูใ่ นทีใ่ ดๆ ก็จกั นัง่ เป็นสุขในทีน่ นั้ ๆ นอนอยูท่ ใี่ ดๆ ก็จกั นอนเป็นสุขในทีน่ นั้ ๆ เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพมาแต่แรกท�ำให้ เจริญแล้ว ท�ำ ให้มากแล้ว ท�ำ ให้เป็นดุจยานทีเ่ ทียมดีแล้ว ท�ำ ให้เป็นที่ตั้ง ประพฤติสั่งสมเนืองๆ ปรารภสม�่ำเสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ อย่าง คือ หลับเป็นสุข ๑ ตืน่ เป็นสุข ๑ ไม่ฝนั ร้าย ๑ เป็นทีร่ กั ของพวกมนุษย์ ๑ เป็นทีร่ กั ของพวก อมนุษย์ ๑เทพยดารักษา ๑ ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัสตราก็ดไี ม่ ต้องบุคคลนัน้ ๑ จิตตัง้ มัน่ ได้รวดเร็ว ๑ สีหน้าผุดผ่อง ๑ ไม่ หลงท�ำ กาละ ๑ เมื่อยังไม่บรรลุคุณวิเศษที่ยิ่งขึ้นไปย่อม เกิดในพรหมโลก ๑ เมือ่ เมตตาเจโตวิมตุ ติ อันบุคคลเสพมา แต่แรกท�ำ ให้เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้เป็นดุจยานที่ เทียมดีแล้ว ท�ำให้เป็นที่ตั้ง ประพฤติสั่งสมเนืองๆ ปรารภ สม�ำ่ เสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ อย่างนีแ้ ล.

แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๒ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๓ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสู่ ทิศที่ ๔ ก็อย่างนัน้ และเธอมีจติ ประกอบด้วยกรุณา อันกว้าง ขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มเี วร ไม่มพี ยาบาท แผ่ไปทัง้ เบือ้ งบน เบือ้ งต�ำ่ เบือ้ งขวางทัว่ ทุกทาง เสมอหน้ากัน ตลอดโลกทัง้ ปวงทีม่ อี ยู่ มีจติ ประกอบด้วยมุทติ า แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๑ อยู่ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๒ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๓ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๔ ก็ อย่างนัน้ และเธอมีจติ ประกอบด้วย มุทติ า อันกว้างขวาง เป็น ส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปทั้ง เบือ้ งบน เบือ้ งต�ำ่ เบือ้ งขวางทัว่ ทุกทาง เสมอหน้ากันตลอด โลกทัง้ ปวงทีม่ อี ยู่ มีจิตประกอบด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศที่ ๑ อยู่แผ่ไปสู่ ทิศที่ ๒ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๓ ก็อย่างนัน้ แผ่ไปสูท่ ศิ ที่ ๔ ก็อย่างนัน้ และเธอมีจติ ประกอบด้วยอุเบกขา อันกว้างขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มเี วร ไม่มพี ยาบาท แผ่ไป ทั้งเบื้องบน เบื้องต�่ำ เบื้องขวาง ทั่วทุกทาง เสมอหน้ากัน ตลอดโลกทัง้ ปวงทีม่ อี ยู่ สระโบกขรณี มีน�้ำใสจืด เย็น สะอาด มีท่าอันดี น่า รืน่ รมย์ ถ้าบุรษุ มาแต่ทศิ ตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้ และจากที่ไหนๆ อันความร้อนแผด เผาเร่าร้อน ล�ำ บาก กระหาย อยากดื่มน�้ำ เขามาถึงสระ สตฺตก. อํ. ๒๓/๓๐๘/๑๖๐. มู. ม. ๑๒/๕๑๘/๔๘๒. เอกาทสก. โบกขรณีนั้นแล้ว ก็บรรเทาความอยากดื่มน�้ ำ และความ อํ. ๒๔/๓๗๖/๒๒๒. สี. ที. ๙/๓๑๐/๓๘๓-๔.


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

เมื่ อ ปี ๒๕๕๖ มี ค วามสุ ข เมื่ อ เปรี ย บ เทียบกับ ๗๗ จังหวัดทั่วประเทศไทย อยู ่ อั น ดั บ รั้ ง ที่ ๖ จากท้ า ยของทั้ ง ประเทศ โดยใน ๑๐ จังหวัดสุดท้ายนัน้ อยูใ่ นภาคใต้ถงึ ๕ จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต นราธิวาส นครศรีธรรมราช ยะลา และ สงขลา เมื่ อ เรี ย งล� ำ ดั บ ใน ๑๔ จั ง หวั ด ภาคใต้ นครศรี ธ รรมราชอยู ่ อั น ดั บ ที่ ๑๒ จาก ๑๔ จังหวัด เรียงล�ำดับ ดั ง นี้ พั ง งา (๒) ระนอง (๒๕) สตู ล (๓๒) สุราษฎร์ธานี (๓๔) กระบี่ (๓๗) ชุมพร (๔๕) ปัตตานี (๔๙) พัทลุง (๕๓) ตรัง (๖๑) สงขลา (๖๘) ยะลา (๖๙) นครศรีธรรมราช (๗๒) นราธิวาส (๗๓) และ ๑ ภูเก็ต (๗๕) หากเลือกในกลุม่ ๙ จังหวัดทีม่ ชี อื่ ว่า “นคร” นครศรีธรรมราชก็อยู่รั้ง ท้าย อันดับที่ ๘ ก่อนกรุงเทพมหานคร เพียงจังหวัดเดียว ดังนี้ นครราชสีมา (๓๓) นครนายก (๓๕) นครสวรรค์ (๔๐) สกลนคร (๔๓) นครพนม (๕๒) พระนครศรี อ ยุ ธ ยา (๕๗) นครปฐม (๖๐) นครศรีธรรมราช (๗๒) ๒กรุงเทพมหานคร (๗๗) ครั้นลองเปรียบเทียบกับจังหวัด ที่ประชากรมากที่สุด ๑๑ จังหวัดแรก ที่ เ กิ น หนึ่ ง ล้ า นห้ า แสนคน นครศรี ธรรมราชก็ อ ยู ่ รั้ ง ท้ า ยในล� ำ ดั บ ที่ ๑๐ ก่อนหน้ากรุงเทพมหานครเพียงจังหวัด เดียว ดังนี้ บุรรี มั ย์ (๓๑) นครราชสีมา (๓๓) อุดรธานี (๓๙) ขอนแก่น (๔๗) ชลบุรี (๔๘) เชียงใหม่ (๕๑) อุบลราชธานี (๕๕) ศรีสะเกษ (๕๙) สงขลา (๖๘) นครศรีธรรมราช (๗๒) และ กรุงเทพมหานคร ๗๗ ท้ า ยสุ ด เมื่ อ น� ำ มาเปรี ย บเที ย บกั บ จั ง หวั ด ที่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมสู ง สุ ด ๒๐ จั ง หวั ด แรกโดยไม่ รวมกรุ ง เทพมหานคร มี ระยอง (๗๐) ชลบุ รี (๔๘) สมุทรปราการ (๗๖) พระนครศรีอยุธยา (๕๙) สมุทรสาคร (๖๖) ปทุมธานี (๖๒) ฉะเชิงเทรา (๒๖) นครปฐม (๖๐) นนทบุรี (๕๘) นครราชสีมา (๓๓) สงขลา (๖๘) เชียงใหม่ (๕๑) ปราจีนบุรี (๔) สระบุรี (๒๗) สุราษฎร์ธานี (๓๔) ขอนแก่น (๔๗) ราชบุรี (๒๓) ภูเก็ต (๗๕) นครศรีธรรมราช (๗๒) จันทบุรี (๖) พบว่าจังหวัดนครศรีธรรมราชที่มี ผลิตภัณฑ์มวลรวมอยูใ่ นอันดับที่ ๑๙ ใน ๒๐ ประชาชน ตอบผลการส�ำรวจว่ามีความสุขอยู่ในอันดับที่ ๑๘ เหนือ กว่ า จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต และสมุ ท รปราการเพี ย งสองจั ง หวั ด เท่านัน้ กล่าวโดยสรุป เมื่อ ๔ ปีที่แล้ว ประชาชนที่อยู่ใน จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชตอบผลการส� ำ รวจถึ ง การอยู ่ ในจังหวัดแล้วมีความสุขอยู่ใน ๓ อันดับท้ายทั้งสิ้น ไม่ ว่าจะในด้านใดก็ตาม คือ ใน ๑๔ จังหวัดภาคใต้ ใน ๙ จังหวัดที่มีชื่อว่า “นคร” ใน ๑๑ จังหวัดที่มีประชากร

มากที่ สุ ด และ ใน ๒๐ จั ง หวั ด ที่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวม สูงสุด ในขณะที่ภาพรวมอยู่ในอันดับที่ ๖ จากท้ายของ ๗๗ จั ง หวั ด ทั่ ว ทั้ ง ประเทศ เหนื อ จากเพี ย ง ๖ จั ง หวั ด เท่านั้น มีเพียง ๕ จังหวัดเท่านั้นที่ประชาชนบอกว่าสุข น้อยกว่านครศรีธรรมราช คือ นราธิวาส ลพบุรี ภูเก็ต สมุทรปราการ และ กรุงเทพมหานคร ซึง่ เมือ่ พิจารณาจาก ปัจจัยที่ในรายงานนี้ใช้ในการวัดประเมิน มีปัจจัยด้านสิ่ง แวดล้อมทางธรรมชาติเป็นหลัก วิถชี วี ติ ชาวบ้าน เป็นเมือง ที่สงบ เป็นสังคมขนาดเล็ก มีความสัมพันธ์ที่ดีของคนใน ครอบครัวและชุมชน ผู้คนมีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสูง คดีอาชญากรรม ต�่ำ มีความภูมิใจในประวัติศาสตร์ของคนท้องถิ่น มีความ เป็นเมืองและลักษณะวัตถุนิยมระดับน้อยถึงปานกลาง และที่ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ คนในพื้นที่มีความจงรักภักดีต่อ สถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ เพื่อเสริมสร้าง ความเป็นหนึ่งเดียวกันในหมู่ประชาชน ก็อาจจะเข้าใจได้ ว่าอะไรเป็นปัจจัยหลักและรองของการรั้งท้ายที่ถึงทุกวัน นี้ผมก็ไม่แน่ใจว่าขยับขึ้นมาหรือหลุดลุ่ยลงไปเป็นอันดับที่ เท่าไหร่แล้ว ไหนๆ ก็ได้ชื่อว่าเป็นเมืองพระ พอดีผมเพิ่งทบทวน หนังสือเล่มนี้ที่เจ้าพระคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุ ต โต) เมตตาเลื อ กมาให้ พ วกเราที่ ส วนโมกข์

กรุงเทพพิมพ์เผยแผ่เมื่อปี เดียวกันกับที่ท�ำการส�ำรวจ คือ พ.ศ.๒๕๕๖ แล้วก�ำหนด ชื่อให้ด้วยว่า “ความสุขอยู่ ที่ นี่ มั น ไปหากั น ที่ ไ หน” ที่ “ว่าด้วย-บุญ-และ-การ ปฏิ บั ติ ธ รรม-ที่ ส ามารถน� ำ มาปฏิ บั ติ ใช้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ก่อเกิดประโยชน์และความ สุขที่แท้” เพื่อบอกว่าที่เขา ส� ำ รวจนั้ น ก็ อ าจจะไม่ จ ริ ง และถูกถ้วนทั้งหมด เพราะ เป็นการถามความเห็นของ คนเพี ย งหนึ่ ง หมื่ น กว่ า คน ประมาณน่ า จะจั ง หวั ด ละ ร้อยกว่าคนเท่านั้น ในขณะ ที่เมืองนครเรานี้มีประชากร ตั้งหนึ่งล้านห้าแสนกว่าคน แล้ว ล อ ง อ ่ า น บ ท น� ำ นี้ ที่ พ วกเราเชิ ญ มานะครั บ “บุญ...ช�ำระจิตใจให้บริสทุ ธิ์ สะอาด และ ท�ำให้เกิดภาวะ น่ า บู ช า...ควรที่ จ ะท� ำ กั น ให้ ม าก เพราะการท� ำ บุ ญ เป็ น ความสุ ข ที่ มี ผ ลระยะ ยาว ไม่เหมือนอาหารที่รับ ประทานหรื อ สิ่ ง ภายนอก ที่บ�ำรุงบ�ำเรอกาย พอผ่าน ไปแล้วก็หมด ก็หาย ความ สุขก็สนิ้ ไป บางทีพอนึกใหม่กลายเป็นทุกข์เพราะมันไม่มี เสียแล้ว มันขาดไป ต้องหาใหม่ แต่บุญเป็นสุขที่เข้าไป ถึงเนื้อตัวของจิตใจ เป็นความสุขที่เต็มอิ่ม ท�ำให้เกิดปีติ ในบุญ และเมื่อเราท�ำไปแล้วมันก็ไม่หมด นึกถึงเมื่อไรก็ ใจเอิบอิ่มผ่องใสเรื่อยไป เป็นความสุขที่ยั่งยืนยาวนาน... บุญที่แท้แผ่ความสุขออกไป ให้ความงอกงามทั้งแก่ชีวิต ของเราและทั่วสังคม” โดย “บุญ” มี ทาน ศีล ภาวนา เป็นหลักอย่างเดียวกับ ศีล สมาธิ ปัญญา หรือการฝึกฝน และพัฒนากายวาจา จิตใจและปัญญาในไตรสิกขาที่ เน้นต่างกันที่ภายนอกและภายใน เหมาะแก่คฤหัสถ์ หรือบรรพชิต กล่าวคือ ชุด ทาน ศีล ภาวนา นั้นขยาย ภายนอกด้านหยาบเป็นทานกับศีล แล้วเอาภายในคือ สมาธิกบั ปัญญายุบรวมกันเป็นภาวนาส�ำหรับคฤหัสถ์ ใน ขณะที่ชุดศีล สมาธิ ปัญญา แยกภายในคือภาวนาเป็น สมาธิและปัญญา แล้วรวมทานและศีลเข้าด้วยกันในศีล เช่นเดียวกับเรือ่ ง ปริยตั ิ ปฏิบตั แิ ละปฏิเวธ. ลองหาอ่านและทบทวนแล้วก�ำหนดหมุดหมาย ความสุขของตัวเองกันดูนะครับ ของคนอื่นๆ หรือที่ ไหนๆ นั้น มากเหตุและปัจจัย ใครท�ำให้กันไม่ได้มาก ดอกครับ. ๒๐ พค.๖๐


หน้า ๑๒

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

ข่าวประชาสัมพันธ์

ระเทศไทยเป็ น แชมป์ นั ก ดื่ ม ติ ด อันดับโลก มีโรงกลั่นสุราเหล้าเบียร์ เป็นอันดับ ๔ ของโลก เป็นอันดับที่ไม่ น่ า ภาคภู มิ ใ จ เพราะการดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ส ร้ า งปั ญ หามากมาย ทั้ ง สุขภาพ อุบัติเหตุ การทะเลาะเบาะแว้ง และใช้จา่ ยเงินทีห่ ามาได้ไม่เกิดประโยชน์ ชาวบ้ า นบางสะพาน ต.บางจาก อ.เมื อ ง จ.นครศรี ธ รรมราช ก็ เ หมื อ น ที่ อื่ น ๆ ในประเทศ ไม่ ว ่ า งานบุ ญ งาน เลี้ยง หรืองานศพ ไม่เคยขาดเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์

ธัญพร เพชรรัตน์ ผู้ใหญ่บ้านหญิงบ้านบางสะพาน

ธัญพร เพชรรัตน์ ผู้ใหญ่บ้านหญิง คนเก่ง บ้านบางสะพาน หมู่ที่ ๗ ส�ำรวจ พบว่าลูกบ้าน ๑๕๐ กว่าครัวเรือน มีผู้ ดืม่ สุราถึง ๓๓ ครัวเรือน ในงานเลีย้ งงาน มงคลต่างๆ หรืองานศพดื่มเหล้ากันหนัก ขึ้น เธอคิดว่าถ้าปล่อยไว้เช่นนี้ ต่อไปจะ เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจในครัวเรือนและ ปัญหาสังคมเหมือนทีอ่ นื่ ๆ เมื่อคิดได้ผู้ใหญ่บ้านสาวแกร่งจึงได้ ชักชวนสมาชิกในชุมชนจัดท�ำ 'โครงการ งานบุญปลอดเหล้าชาวบางสะพาน' โดย ได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนักสร้างสรรค์ โอกาสและนวัตกรรม ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มี การพบปะพูดคุยและแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ลูกบ้านได้ตระหนักถึงพิษภัยจากการ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งชาวบ้านรู้ดี อยูแ่ ล้ว แต่ไม่สามารถลดละเลิกได้ ผู้ใหญ่ฯ ธัญพร เล่าว่าปกติแต่ละ เดือนจะมีการประชุมลูกบ้านอยู่แล้ว จึง ได้มาคุยกับคณะท�ำงาน ซึ่งประกอบด้วย อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า น (อสม.) และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ของ หมู่บ้าน ขอให้ช่วยงดเลี้ยงดื่มเครื่องดื่ม

ขบวนรณรงค์ลดละเลิกเหล้า ในงานบุญมีทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกิจกรรม

“ใครที่เลิกเหล้าได้ เราจะท�ำเกียรติ บัตรให้ เจ้าภาพงานต่างๆ ถ้าไม่มีเหล้าใน แอลกอฮอในงานเลี้ยงงานบุญหรืองานศพ งาน ก็จะท�ำเกียรติบัตรยกย่องด้วย ตอน ถือเป็นการลดภาระรายจ่ายของเจ้าภาพ นี้หลายงานจะไม่มีการเลี้ยงเหล้าหรือขาย ตัง้ เป้าหมายแรกไว้ ๓๐ ครัวเรือน เริม่ จาก เหล้าแล้ว ดีขนึ้ กว่าแต่กอ่ นมาก” ก็ได้อธิบายถึงผลเสียต่างๆ ตอนแรกรับฟัง การส�ำรวจข้อมูลและน�ำมาบอกเล่าในที่ เฉยๆ ต่อมาจึงค่อยๆ ลดการดืม่ ลง เธอยัง ประชุม ค�ำนวณรายจ่ายให้เห็น จากนั้นก็ ชักชวนให้สามีใช้เวลาออกก�ำลังกาย ซึ่ง จัดกิจกรรมรณรงค์เชิญวิทยากรจากศูนย์ ช่วยลดเวลาและโอกาสร่วมวงสุราออกไป อนามัยเขต ๑๑ มาให้ความรูเ้ รือ่ งโทษของ “ตอนนี้ลูกๆ โตขึ้น ค่าใช้จ่ายก็เพิ่ม การดืม่ สุราให้แก่ทกุ ครัวเรือน ขึน้ ก็เลยคุยกันว่าให้ดมื่ ลดลง หันมาออก “เราขอร้องเจ้าภาพงานเลี้ยง ห้าม ก�ำลังกายมากขึ้น และให้ลูกๆ คอยสอด ตั้งเหล้าบนโต๊ะ ถ้าไม่มีได้เลยก็ยิ่งดี และ ส่องว่าพ่อไปกินเหล้าหรือเปล่า โดยให้ ห้ า มจ� ำ หน่ า ยในงานด้ ว ย เพราะในงาน ลูกๆ คอยช่วยอีกแรง” เลี้ยงทั่วไปของชาวบ้านทางนี้ เจ้าภาพจะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสมาชิก น�ำเหล้ามาขายให้แก่แขกผู้มาร่วมงานซึ่ง ชุมชนแห่งนี้ กลายเป็นต้นแบบและจุด ภานุวัชร เพชรรัตน์ นายกองค์การบริหาร เป็นเรื่องปกติที่ท�ำกัน ตอนนี้ก็ดีขึ้น ทาง ประกายให้หลายชุมชนหันมาลดละเลิก ส่วนต�ำบลบางจาก ฝ่ า ยแม่ บ ้ า นเองก็ จ ะไปชั ก ชวนพู ด คุ ย ให้ ดืม่ เหล้า สร้างค่านิยมงานบุญหรืองานศพ ผู้ชายเลิกดื่มด้วย ก็ได้ผลดี ชาวบ้านก็ให้ ภานุวัชร เพชรรัตน์ นายกองค์การ ความร่วมมือไปบอกสมาชิกครอบครัวให้ บริหารส่วนต�ำบลบางจาก เสริมว่า ทาง ลดการดื่ม เพราะช่วยลดรายจ่าย เมื่อไม่มี อบต. ได้เข้ามาส่งเสริมด้านการประชาคนเมาปัญหาทะเลาะเบาะแว้งก็ลดน้อยลง สัมพันธ์ ให้ลูกบ้านทุกหมู่บ้านได้รับรู้ว่า ครอบครัวก็อบอุน่ ขึน้ ” การไม่ดื่มเหล้าหรือการจัดเลี้ยงที่ไม่มีสุรา ผู้ใหญ่บ้านหญิงแห่งบ้านบางสะพาน ช่วยลดรายจ่ายในครอบครัวได้ และเมื่อมี เชิญวิทยาการด้านสาธารณสุขมาให้ความรู้ เปิดเผยต่อว่า หลังจากด�ำเนินโครงการฯ ผู ้ ติ ด สุ ร าก็ จ ะสิ้ น เปลื อ งค่ า ใช้ จ ่ า ยในการ ระหว่างการประชุมลูกบ้าน มี ส มาชิ ก ของครอบครั ว เลิ ก ดื่ ม สุ ร าเด็ ด รักษา อีกทั้งขอร้องให้เจ้าภาพปรับเปลี่ยน ขาดได้ แ ล้ ว ๑ ครอบครั ว และได้ น� ำ มา วิ ธี ก ารจั ด งานเลี้ ย ง เพื่ อ เป็ น การเปลี่ ย น เป็นต้นแบบในการรณรงค์เป็นตัวอย่างให้ ค่านิยมของผูท้ มี่ าร่วมงานด้วย ครอบครั ว อื่ น ขณะเดี ย วกั น ก็ ยั ง ชั ก ชวน เยาวชน ผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ร่วมเป็นสื่อ บุคคลรณรงค์การลดละเลิกดื่มสุราซึ่งได้ ผลตอบรับดี ขณะเดี ย วกั น ก็ ไ ด้ ส ร้ า ง 'กติ ก า หมู่บ้าน' ที่เข้มข้นเพิ่มขึ้น แม้มีข้อห้าม ตามกฎหมายอยู่แล้ว แต่หมู่บ้านอยู่นอก วนิดา วรฤทธิ์ อาสาสมัครสาธารณสุข เขตเมืองเจ้าหน้าที่อาจดูแลไม่ทั่วถึง เช่น ประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ห้ามซื้อขาย ห้ามดื่มเหล้าในเขตโรงเรียน วนิดา วรฤทธิ์ อาสาสมัครสาธารณ- ยุคใหม่ไร้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจาก สถานที่ทางศาสนา สถานที่ราชการ ห้าม ทะเลาะวิวาท หากทะเลาะวิวาทมีโทษปรับ สุขประจ�ำหมู่บ้าน ยอมรับว่าในอดีตสามี ช่วยลดค่าใช้จ่ายของเจ้าภาพ อานิสงส์นี้ ๒,๐๐๐ บาท ห้ามจ�ำหน่ายสุราแก่เด็กอายุ ของตนดืม่ เหล้าแทบทุกวัน และมักโวยวาย ยังส่งผลดีต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของ ต�่ำกว่า ๒๐ ปี ซึ่งร้านค้า ๕ แห่งภายใน เสี ย งดั ง เนื่ อ งจากแวดล้ อ มอยู ่ กั บ กลุ ่ ม ผูร้ ว่ มงานทุกคน เพือ่ นๆ ทีช่ อบดืม่ สุรา เมือ่ เข้าร่วมโครงการ หมูบ่ า้ นให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

มื่อเดือนที่แล้ว ผมมีโอกาสเข้าร่วมเสวนา กับกลุ่มประชาคมต่างๆ นคร ทั้งในฐานะ เป็นผูร้ บั เชิญและฐานะแกนน�ำ กลุม่ ดังกล่าว มิได้มีการจัดตั้งโดยองค์กรรัฐหรือองค์กร เอกชนใดๆ แต่ เ กิ ด ขึ้ น จากกรณี มี ป ั ญ หา ของบ้านเมืองแล้วอยากมีส่วนร่วมกันหา ทางออก หรืออยากให้เกิดแนวทางใหม่ๆ ใน การพัฒนาบ้านเมือง กลุ่มแรกค่อนไปทาง เจ้าหน้าที่รัฐที่ยังคิดแก้ปัญหาไม่ออกในการ แก้ไขน�้ำท่วมใหญ่ตัวเมืองนครทุกปี (ความ จริงท่วมอ�ำเภออื่นด้วย) เป็นประเด็นร้อน ที่หันกลับมาขอความรู้ความเห็นจากภาค ประชาชนและภาควิชาการ จึงได้จัดการ เสวนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารขึ้ น ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ โดยความร่วมมือของ รศ.ดร.รงค์ บุ ญ สวยขวั ญ จากส� ำ นั ก วิ ช ารั ฐ ศาสตร์ และมีการไปส�ำรวจข้อมูลตามสถานที่เกิด ปัญหา มีนักวิชาการระดับประเทศ และ นักวิชาการท้องถิ่นส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น วิศวกรของกรมชลประทาน และชาว เมืองนครที่พอรู้ประเด็นปัญหาเข้าร่วมด้วย (แต่ยังมีเป็นส่วนน้อย) สิ่งหนึ่งที่ผมพบจาก การเสวนาคือ ทางภาครัฐได้รปู้ ระเด็นปัญหา ทุกเรื่อง รวมทั้งข้อมูลเชิงลึกทางภูมิศาสตร์ อุทกศาสตร์และวิศวกรรมชลประทาน เช่น การรู้ปริมาณน�้ำฝนที่ตกลงมาเก็บเป็นสถิติ ย้อนหลังและการท�ำนายฝนในอนาคต การ รู้พื้นที่รับน�้ำหรือพื้นที่หน่วงน�้ำ (แก้มลิง) ว่าอยู่ตรงไหน รับได้ปริมาณเท่าใด รวมทั้ง รูท้ างน�ำ้ ไหล คลองสายต่างๆ ว่ามีอตั ราการ ไหลของน�้ำวินาทีละกี่ลูกบาศก์เมตร ข้อมูล เหล่านี้ทราบว่านักวิชาการทางสถาบันการ ศึกษาหลายแห่งก็ทำ� การศึกษาเช่นกัน และมี การออกแบบทางด้านวิศวกรรมชลประทาน ที่ฟังดูก็เป็นเหตุเป็นผลกันที่รับได้ ค�ำถาม ของผมคื อ ว่ า ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ ค วรเผยแพร่ และสร้ า งความเข้ า ใจและความร่ ว มมื อ จากประชาคมมากน้ อ ยเพี ย งใด เพราะ โครงการต่างๆ ที่จะแก้ปัญหานี้ต้องใช้งบ ประมาณมาก และมีผลกระทบต่อประชาชน

หน้า ๑๓

แนวคิ ด การประชุ ม ครั้ ง แรก เมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว ผมเองก็ ห ลุ ด เข้าไปนั่งร่วมฟังร่วมคิดเช่นกัน ศักยภาพถนนสายนีป้ ระมาณ ๘ กิโลเมตรในเชิงท่องเที่ยวมีมาก แต่โจทย์ไม่ง่ายเลยในการคิด เพราะความส�ำเร็จไม่ได้อยูท่ กี่ าร ทุ ่ ม งบประมาณปรั บ ปรุ ง ทาง กายภาพ ยังมีมิติในเอกลักษณ์ รศ.ดร.รงค์ บุญสวยขวัญ จัดเสวนาการแก้ปัญหาน�้ำท่วมเมือง และตัวตนของแต่ละพืน้ ทีท่ แี่ ตก นคร โดยวิทยากร ศ.ดร.เกษม จันทร์แก้ว และคณะ ต่างกัน จึงต้องหาความร่วมมือ ไม่มากก็นอ้ ย กลุม่ นีผ้ มเชือ่ ว่าหากใช้แนวทาง จากภาคประชาชนที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับ รัฐศาสตร์เข้ามา และให้ประชาคมมีสว่ นร่วม โครงการนี้ หลังการประชุมครั้งนั้นในกลุ่ม รับรูแ้ ละมีสว่ นร่วมคิดด้วย มันต้องหาค�ำตอบ สถาปนิก นักผังเมือง และนักบริหารเมืองของ ที่ยังติดค้างสงสัยจนได้ จะสร้างการยอมรับ นครได้ปรึกษาหารือแนวทางทีจ่ ะช่วยภาครัฐ ในการเสนอความคิดและออกแบบ จึงได้รวม และการร่วมมือได้ทกุ ฝ่าย กลุ ่ ม ประชาคมที่ ผ มติ ด ตามทั้ ง ฟั ง ตัวนัดหมายจัดเสวนาขึ้น ตั้งชื่อกลุ่มขึ้นเอง ข้อมูล และไปดูงานจริงที่เกิดขึ้นอย่างเป็น ว่า “กลุม่ ประชาคมคนคอน” เป็นจุดเริม่ ทีจ่ ะ รูปธรรมคือ “ฝายมีชวี ติ ” ตัง้ แต่สร้างเป็นต้น ขยายวงให้กว้างขวาง เพือ่ สร้างความร่วมมือ แบบไม่กี่ตัวในจังหวัดนครศรีธรรมราช จน จากประชาชนในรายละเอียดต่อไป ต่ อ จากการเสวนากลุ ่ ม ประชาคม บัดนี้มีมากกว่า ๔๐๐ ตัวทั่วประเทศ กลุ่ม นี้ ต ้ อ งฟั น ฝ่ า ปั ญ หาอุ ป สรรคมากมายทั้ ง คนคอน มีชาวนครคนรักงานศิลปะซึ่งมีนัก ด้านกฎหมาย และฝ่ายไม่เห็นด้วย เดือน ธุรกิจคนรุน่ หนุม่ สาวเป็นส่วนใหญ่ โดยมี คุณ ที่แล้วผมได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมเสวนา อารยา สารคุณ เป็นแกนน�ำได้ชวนกันตั้ง กั บ แกนน� ำ คื อ ดร.ด� ำ รง โยธารั ก ษ์ และ วงสนทนาแสดงความคิดเห็นในการน�ำงาน ท่านอื่นๆ ของฝายมีชีวิตที่สามารถยกระดับ ศิลปะให้เกิดกระแสการสร้างงานและส่งเสริม ตัวเองเป็นสถาบันการเรียนรู้เรื่องฝาย และ การท่องเที่ยวเมืองนคร โดยเห็นว่าศิลปิน การจั ด การเชิ ง รั ฐ ศาสตร์ จนมี แ นวร่ ว มที่ ชาวนครได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่เมืองอื่นกันเป็น ส�ำคัญคือฝ่ายทหาร ผมเคยเขียนถึงฝายมีชวี ติ ส่วนใหญ่ เพราะเมืองนครไม่สามารถจูงใจ ลงหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดในปีที่แล้วถึง ๓ ในการใช้งานศิลปะเพื่อด�ำรงชีพได้เท่าที่ควร ตอนต่อเนือ่ งกัน และแสดงความเห็นส่วนตัว ด้วยเหตุนจี้ งึ มองไกลไปว่า นครน่าจะส่งเสริม มาแล้วจึงไม่ขอกล่าวซ�ำ้ แต่ผมยกให้เป็นกรณี ให้เป็นเมืองแห่งศิลปะ เพื่อดึงให้ศิลปิน นัก แบบอย่างของกลุม่ ประชาคมทีเ่ ข้มแข็งมาก สะสมงานศิลปะ และนักท่องเทีย่ วมาเทีย่ วมา ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรม- อยู่ อาจท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงด้านธุรกิจ ราช จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ย้ายมาจาก ครัง้ ใหม่ กลุม่ นีต้ งั้ ชือ่ ว่า “กลุม่ ศิลปะเปลีย่ น จังหวัดภูเก็ต เมืองท่องเที่ยวระดับโลก ท่าน เมือง” ผมสนใจเรียนรู้การจัดตั้งกลุ่มประชาสนใจการพัฒนาเมืองนครให้มีจุดขายการ ท่องเที่ยวตามศักยภาพของสถานที่ จึงตั้ง คมใหม่ที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากภาครัฐ และทราบ คณะกรรมการขึ้ น เพื่ อ ออกแบบปรั บ ปรุ ง ว่ า กรรมการท่ า นหนึ่ ง ที่ ผู ้ ว ่ า ฯ แต่ ง ตั้ ง คื อ ถนนราชด�ำเนินทั้งสายเป็นโครงการน�ำร่อง อาจารย์ ท วี พลายด้ ว ง ศิ ล ปิ น ชาวนคร โดยมีหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องเข้ามาเสนอ ได้ไปจัดตั้งหมู่บ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นเมือง

การเสวนากลุ่มประชาคมคนคอน

การสนทนากลุ่มศิลปะเปลี่ยนเมือง

อ.ทวี พลายด้วง ผู้อ�ำนวยการหมู่บ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นเมืองนคร

นคร เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรู้ และโรงบ่มเพาะ ภูมปิ ญ ั ญาด้านศิลปะ ด้านวิถวี ฒ ั นธรรม และ ด้านการเกษตร ทีต่ ำ� บลท่าเรือ ในทีด่ นิ ของ ตัวเองประมาณ ๑๓ ไร่ โดยได้ชักชวนกลุ่ม ชาวบ้านต�ำบลนีม้ าสร้างเรือนถ่ายทอดความ รู้แต่ละแขนง มีเวทีการแสดงโนรา หนัง ตะลุง รวมทัง้ การขุดสระเลีย้ งปลาและปลูก พืชผักสมุนไพร ผมได้เดินทางไปดูงานแล้ว ยอมรับว่าอาจารย์ทวีเป็นผู้น�ำเดี่ยวที่ต้องใช้ ความพยายามและพลังมากเพื่อให้เกิดเป็น ประชาคมขึน้ มา นับเป็นโครงการทีส่ ามารถ จะส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมท้องถิน่ ได้ดแี ห่งหนึง่ ทางราชการ ควรเหลียวมองและให้การสนับสนุนเพื่ออยู่ รอดได้อย่างยัง่ ยืน ประเด็นที่ผมมองคือประชาชนที่รวม ตัวกันเป็นกลุ่มในกิจกรรมสาธารณะที่ผมใช้ ค�ำว่า “ประชาคม” เป็นกลไกหนึ่งที่จะขับ เคลื่อนทางสังคมให้ไปในทิศทางเดียวกัน หรือตรงกันข้ามก็ได้ แน่นอนว่าความคิดเห็น หรือกิจกรรมของกลุ่มประชาคมไม่จ�ำเป็น ต้องไปในทิศทางของรัฐทีก่ ำ� หนด ซึง่ อาจจะ เกิดจากความไม่รขู้ อ้ มูลหรือความรูข้ องฝ่าย ใดฝ่ายหนึ่ง จึงมีกรณีต่อต้านกันไม่สามารถ เดินหน้าต่อไปได้ ประโยชน์ที่พึงได้ต่อบ้าน เมืองจึงท�ำให้สญ ู เสียไปอย่างน่าเสียดาย ผม ได้พูดย�้ำเสมอในการที่ต้องให้ผู้มีส่วนได้เสีย ในโครงการสาธารณะเข้ามามีสว่ นร่วมเสมอ ในขณะเดียวกันประชาคมก็จ�ำเป็นต้องเปิด ใจกว้างในการรับฟังและเรียนรูใ้ นวิทยาการ ใหม่ๆ เสมอ เพราะเราไม่สามารถยึดติด เพียงภูมปิ ญ ั ญาในอดีตมาใช้ได้ทกุ เรือ่ ง และ ประเด็นส�ำคัญคือหากจะให้เกิดความส�ำเร็จ ตามความมุง่ หวัง กลุม่ ประชาคมจะต้องรวม ตัวสร้างความเข้มแข็งด้วยตัวเองขึ้นมาก่อน การรับความช่วยเหลือจากภายนอกยังเป็น เรื่องรองที่ไม่มีใครรับรองว่าจะได้โดยตลอด หรือไม่ ประชาคมเมืองนคร...ถึงเวลาสร้าง ความเข้มแข็งอย่างแท้จริงหรือยัง ?


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๔ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

ขึ้

นชือ่ ว่า เขานางหงส์ จังหวัดพังงา น่า กลัวส�ำหรับรถยนต์มากๆ สมัยก่อน ต้องขับรถผ่านเขาทีส่ ลับซับซ้อน ส่วนใหญ่ คนที่นั่งรถโดยสารมักจะอาเจียนเอาของ เก่าออกมาทัง้ นัน้ อาการเมารถจะเกิดขึน้ ทันทีทรี่ ถโดยสารผ่านเขานางหงส์ ปั จ จุบั นถึ งแม้ จ ะท� ำ ถนนใหม่ และ รถส่วนใหญ่ไม่ตอ้ งขับผ่านแล้ว ไปพังงาตาม เส้นทางสายใหม่ แต่ส�ำหรับจักรยานแล้ว การถีบขึ้นเขานางหงส์ยังน่ากลัวอยู่ดี โดย เฉพาะนักปัน่ อย่างผม ครั้งนี้เป็นครั้งที่ ๒ แล้ว ที่ผมลงปั่น ในรายการจักรยานทางไกลใจเกินร้อยพิชติ

เขานางหงส์ เมื่อ ๒๗ ม.ค.๒๕๕๖ ระยะ ทาง ๘๐ กิโลเมตร โดยใช้เส้นทาง สวน สมเด็จฯ - เขานางหงส์ - แยกนบปริง – ทุง่ คาโงก - นิคมท้ายเหมือง - เขาหินลับ - ถนน เพชรเกษม - และเข้าเส้นชัยทีส่ วนสมเด็จฯ ตามเดิม ถามว่าเหนือ่ ยไหม แต่ผมว่ามิตรภาพ

บนหลังอานจะยิ่งใหญ่กว่า ยิ่งเราปั่นโดย ไม่หวังต้องชนะเลิศ แต่เน้นมิตรภาพที่ เกิดขึน้ ระหว่างทาง ๘๐ กิโลเมตร มันเกิน บรรยายจริงๆ ยิ่งตอนปั่นขึ้นเขานางหงส์ ต้องอาศัยแรงอึด ทน และต้องสู้ ก็ต้อง อาศัยความรัก เอื้ออาทร จากเพื่อนร่วม ทางเช่นกัน

(ต่อจากหน้า ๑๖)

ของปีกคูห่ ลังยืน่ แหลมคล้ายหนาม ปีกบน พื้นปีกสีเหลืองอ่อน ปีกคู่หน้าตั้งแต่กลาง ปีกไปจนถึงมุมปลายปีกหน้ามีสีด�ำ มีจุด สีเหลืองอ่อน ๒ จุดบนสีด�ำ ปีกคู่หลังมี แต้มสีด�ำรูปเคียวตามช่องสันปีก ปีกล่าง พื้นปีกสีขาว ปีกคู่หน้าตั้งแต่กลางปีกไป จนมุมปลายปีกหน้ามีสีเทาอ่อน แต้มสี น�้ำตาล และขีดสีเทาเข้ม กลางปีกใกล้ โคนปีกมีจดุ สีดำ� – เทาประปราย ตามแนว ขอบปีกด้านข้างของปีกคู่หลังมีสีน�้ำตาล อ่อนและแต้มสีนำ�้ ตาลเข้มเรียงกัน

ผีเสื้อแผนที่เส้นตรง Straight-line Map : Cyrestis nivea ขนาดประมาณ ๕๐-๖๐ มม. ขณะเกาะมักกางปีกราบ ปีก บนคล้ายผีเสื้อแผนที่ธรรมดา แต่ลายเส้น สีด�ำที่พาดยาวบริเวณกลางปีกเรียงเป็น ระเบียบ และเป็นเส้นค่อนข้างตรงมาก กว่า ปีกล่างคล้ายปีกบนแต่สขี องลวดลาย อ่อนกว่า ในการเดินทางครัง้ นี้ นอกจากจะพบ ผีเสื้อสวยแปลกตามากมายยังพบหนอน และแมลงลักษณะแปลกๆ อีกมากมาย เป็นความเพลิดเพลินในการเดินป่าที่ได้ สังเกตเห็นธรรมชาติที่หลากหลาย ฉบับ หน้าจะมาเล่าเรื่องการดูนกในธรรมชาติ นะคะ ถ้ามีโอกาสลองหาเวลาว่างมาเดิน ส�ำรวจธรรมชาติด้วยกันนะคะ รับรองว่า ได้ทั้งความเพลิดเพลิน และสุขภาพที่ดี ด้วยค่ะ สนใจรายละเอียดกิจกรรมโทร สอบถามครูแจงได้ที่ ๐๘๑ ๘๒๔ ๘๘๘๐ หรือจะติดตามในเฟสบุ๊คกลุ่ม Lomfon Nature Camp ก็ได้คะ่

ผี เ สื้ อ แผนที่ ธ รรมดา Common Map : Cyrestis thyodamas ขนาด ประมาณ ๕๐-๖๐ มม. ขณะเกาะมักกาง ปีกราบ ปีกบนพื้นปีกสีขาว มีลายเส้น สีด�ำหลายเส้นพาดยาวต่อเนื่องในแนว เดียวกับล�ำตัว ขอบปีกด้านข้างมีสนี ำ�้ ตาล เข้มและหยักคล้ายรอยฉีกขาด มุมปลาย ปีกหลังของปีกทั้งสองคู่มีแต้มสีส้ม มีติ่ง ขอขอบคุณข้อมูลจากคู่มือดูผีเสื้อใน แหลมยื่นออกมากจากปีกคู่หลังเล็กน้อย ปีกล่างคล้ายปีกบน แต่สีของลวดลายจะ ประเทศไทย โดย อาจารย์จารุจนิ ต์ นภีตะภัฏ และ อาจารย์เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ อ่อนกว่า


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

ปั

จจุ บั น การให้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ครอบคลุมเกือบทุกพืน้ ทีข่ องประเทศ หลายคนคงคุน้ เคยและรูจ้ กั กับค�ำว่า Internet of Things หรือ IoT มาบ้างแล้ว ซึ่ง ในตอนนีเ้ ทคโนโลยีนกี้ �ำลังเป็นทีส่ นใจของ คนทั่วไปเป็นอย่างมาก แต่คุณรู้หรือไม่ ว่ามันคืออะไร เกี่ยวข้องอะไรบ้างในชีวิต ประจ�ำวันของเรา มาติดตามกันเลยครับ

Internet of Things คืออะไร

แนวคิด Internet of Things

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ โทรศัพท์ มือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือทางการ เกษตร อาคารบ้านเรือน เครื่องใช้ในชีวิต ประจ�ำวันต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น IoT มีชอื่ เรียกอีกอย่างว่า M2M ย่อมา จาก Machine to Machine คือเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทีเ่ ชือ่ มต่ออุปกรณ์กบั เครือ่ งมือ ต่างๆ เข้าไว้ดว้ ยกัน เทคโนโลยี IoT มีความจ�ำเป็นต้อง ท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors ซึง่ เปรียบเสมือนการเติมสมองให้ กับอุปกรณ์ต่างๆ ที่ขาดไม่คือการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้อุปกรณ์สามารถรับส่ง ข้อมูลถึงกันได้ เทคโนโลยี IoT มีประโยชน์ ในหลายด้าน แต่ก็มาพร้อมกับความเสี่ยง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภัยของ อุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ดีพอ ก็อาจท�ำให้มีผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามาขโมย ข้อมูลหรือละเมิดความเป็นส่วนตัวของเรา ได้ ดังนั้นการพัฒนา IoT จึงจ�ำเป็นต้อง พั ฒ นามาตรการและระบบรั ก ษาความ ปลอดภัยไอทีควบคูก่ นั ไปด้วย

แนวคิด Internet of Things ถูก คิดค้นขึน้ โดย Kevin Ashton ในปี ๑๙๙๙ ซึง่ เริม่ ต้นจากโครงการ “Auto-ID Center” ในมหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology จากเทคโนโลยี RFID ย่อ มาจากค�ำว่า Radio Frequency Identification เป็นระบบที่น�ำเอาคลื่นวิทยุมา ใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ สองชนิด ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบไร้สาย ต่ อ มาในยุ ค หลั ง ปี ๒๐๐๐ เทคโนโลยี ต่างๆ ได้รบั การพัฒนาอย่างรวดเร็ว เริม่ มี อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจ�ำนวน มาก และยังมีการใช้คำ� ว่า Smart เกิดขึน้ เช่น Smart grid, Smart home, Smart device, Smart network เป็นต้น สิง่ เหล่า นี้สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเทอร์เน็ต ได้ ท�ำให้อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลโดยอาศัยตัว Sensor ในการสื่อสารถึงกัน โดย Kevin ได้ให้ นิ ย ามไว้ ว ่ า “Internet-like” ต่ อ มามี ค� ำ ว่ า “Things” เข้ า มาแทนอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ

IoT : Internet of Things (บางที เรียก IoE : Internet of Everything) หรือ “อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง” หมายถึง การที่ สิ่งต่างๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลก อินเตอร์เน็ต ท�ำให้มนุษย์สามารถสั่งการ ควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทาง

Internet of Things กับ การประยุกต์ใช้งาน ในปัจจุบนั มีการน�ำ IoT มา ประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ มากมาย เว็บไซต์ IoT Analytics ได้ท�ำการส�ำรวจ และจัดอันดับ โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง ที่ มี ผู ้ ใ ช้ ง านอิ น เตอร์ เ น็ ต ยอดนิ ย มหลั ก ๆ

ได้แก่ สถิตกิ ารค้นหาใน Google การแชร์ บน Twitter และ จากการทีม่ คี นพูดถึงบน Linkedin เรามาดูกนั ว่า ๑๐ อันดับทีม่ กี าร ประยุกต์ใช้มากสุดมีอะไรกันบ้าง อันดับที่ ๑ Wearables คือ อุปกรณ์ คอมพิ ว เตอร์ ข นาดเล็ ก ที่ ส ามารถติ ด ตั้ ง และใช้งานบนส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อ ความสะดวกในการใช้งานเพราะสามารถน�ำ ติดตัวไปได้ทุกที่ ปัจจุบันมีการพัฒนาออก มาเป็นรูปแบบต่างๆ เช่น นาฬิกา สายรัดข้อ มือ และแว่นตา อั น ดั บ ที่ ๒ Smart City หรื อ เมืองอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่มีการน�ำ เทคโนโลยีมาปรับใช้เพือ่ ท�ำให้คณ ุ ภาพ ของ ประชากรดีขึ้น เช่น การจัดการพลังงาน ไฟฟ้า ระบบจัดการน�ำ้ จัดการขยะ เป็นต้น อั น ดั บ ที่ ๓ Smart Home หรื อ บ้านอัจฉริยะ หมายถึง การน�ำเทคโลยีมา ควบคุมอุปกรณ์ตา่ งๆ ภายในหรือภายนอก บ้ า นได้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสะดวกสบาย และความปลอดภัย เช่น ประตูอัตโนมัติ เซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว การเปิด ปิดไฟอัตโนมัติ เป็นต้น อันดับที่ ๔ Industrial internet

เป็นการใช้ IoT ส�ำหรับอุตสาหกรรมและโรงงานการผลิต อันดับที่ ๕ Smart grid หรื อ โครงข่ า ยไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะ เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารมาบริหารจัดการ ควบคุมการผลิต ส่ง และจ่าย พลังงานไฟฟ้า อันดับที่ ๖ Connected car เป็นรถยนต์อัจริยะที่มีการ ติดตั้งระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย อันดับที่ ๗ Connected health เป็นแนวคิดการสร้าง เครื อ ข่ า ยเชื่ อ มโยงชุ ม ชนเข้ า กั บ ระบบ สุขภาพแบบครบวงจร อันดับที่ ๘ Smart farming หรือ ฟาร์ ม อั จ ฉริ ย ะ คื อ การน� ำ เทคโนโลยี สมั ย ใหม่ เ ข้ า มาผสมผสานเข้ า กั บ งาน ด้านเกษตร อันดับที่ ๙ Smart retail เป็นการ น�ำเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มโอกาสในการ ด�ำเนินธุรกิจห้างร้าน อันดับที่ ๑๐ Smart Supply Chain คือ การจัดการในส่วนของกระบวนการ ทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างผูผ้ ลิตกับผูข้ าย ปั จ จุ บั น เมื อ งไทยเราก็ เ ริ่ ม มี ก าร พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับเทคโนโลยี IoT กั น มากมายเพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการและความทันสมัยของคนรุ่นใหม่ เช่น Smart Home (บ้านอัจฉริยะ) , Smart City (เมืองอัจฉริยะ) และ Smart Banking Solution (ธนาคารอัจฉริยะ) เป็นต้น ใน โอกาสต่อไปจะเจาะรายละเอียดต่างๆ มา ให้ท่านผู้อ่านได้เข้าใจหลักการท�ำงานใน แต่ละรูปแบบนะครับ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๖

ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน

ช่

วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ของ ทุกปี เป็นช่วงเวลาเริ่มต้นฤดูกาลดู ผีเสื้อ (Butterfly watching) ของผืนป่า ต่างๆ ในประเทศไทย เนือ่ งจากเป็นช่วงที่ ต้นไม้แตกใบอ่อนเป็นอาหารของทัง้ หนอน ผีเสือ้ และผีเสือ้ ตัวเต็มวัย ในป่าเขาหลวง เองก็มีผีเสื้อหลากหลายชนิดเช่นกัน นั่น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละ ความหลากหลายของพืชพันธุต์ า่ งๆ ในป่า เพราะผีเสื้อแต่ละชนิดจะเลือกกินเฉพาะ ใบทีเ่ ป็นพืชอาหารของตนเท่านัน้ เมือ่ ต้น เดือนพฤษภาคมได้มีโอกาสพาเด็กๆ เดิน ป่าขึน้ เนินลมฝนบนเขาหลวง ตลอดระยะ ทางที่เราไต่ระดับไปที่ความสูง ๑,๕๐๐ เมตร จากระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง เราพบ กับผีเสื้อสวยงามแปลกตา จะมีชนิดไหน บ้างมาดูกนั ค่ะ

ร่อนลมมลายู

องครักษ์

ผีเสือ้ องครักษ์ Constable : Dichorragia nesimachus ขนาดประมาณ ๙๕๑๐๕ มม. ท่อวงปากมีสแี ดง พืน้ ปีกสีเขียว ขี้ม้า มีจุดสีขาว-ด�ำ ประปรายทั่วทั้งปีก มี ผีเสือ้ ร่อนลมมลายู Malayan Tree วงจรชีวติ เป็นไข่ ๕-๗ วัน หนอน ๒๓-๓๑ Nymph : Idea hypermnestra ขนาด วัน ดักแด้ ๑๐-๑๑๗ วัน พบได้ทวั่ ทุกภาค ประมาณ ๑๔๐–๑๖๐ มม. พบเฉพาะ ป่ า ภาคใต้ พื้ น ปี ก สี ข าวและมี สี ด� ำ ตาม แนวเส้นปีก มีจดุ สีดำ� ประปรายทัว่ ทัง้ ปีก มัก บินร่อนพริม้ ไปตามลม ไม่คอ่ ยเกาะนิง่ มอธหนอนคืบสะไบแดง เป็นมอธ (ผีเสือ้ กลางคืน) ทีช่ อบหากินกลางวัน

พ่อมด

ผี เ สื้ อ พ่ อ มด Wizard : Rhinopalpa polynice ขนาดประมาณ ๗๐๘๐ มม. ปี ก บนพื้ น ปี ก สี น�้ ำ ตาลอมส้ ม ขอบปีกด้านข้างของปีกทั้งสองคู่มีแถบ หนาสีด�ำ ขอบปีกหยักเว้า และปีกคู่หลัง ยื่นแหลม ปีกล่างพื้นปีกสีน�้ำตาลแดง มี เส้นลวดลายสีขาวจางๆ ถ้าหากออกจาก ดั ก แด้ ใ หม่ ๆ เส้ น ลวดลายจะออกสี ฟ ้ า มากกว่าสีขาว ขอบปีกด้านข้างของปีก ทั้งสองคู่มีจุดวงกลมเรียงกัน พืชอาหาร หนอนคือ ขมัน

ผีเสื้อแถบขาวธรรมดา Commander : Moduza procris ขนาดประมาณ ๖๐-๗๕ มม. ปีกบนมีพื้นปีกสีน�้ำตาลแดง มีจุดสีด�ำกระจายทั่วปีก กลางปีกมีแต้ม สี ข าวเรี ย งกั น เป็ น แถบยาวพาดต่ อ เนื่ อ ง ผี เ สื้ อ เหลื อ งหนามประดั บ เพชร ทั้งสองปีก ปีกล่างพื้นปีกสีขาวมีจุดสีด�ำ Jewelled Nawab : Polyura delphis ประปราย พืชอาหารหนอนคือ ก้านเหลือง ขนาดประมาณ ๙๕-๑๐๐ มม. มีบางส่วน เข็มช้าง แข้งกวาง โงม ใบต่างดอก ของขอบปีกด้านข้าง (อ่านต่อหน้า ๑๔)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ สะพายกล้องออกท่องล่องไปตามหมู่บ้านในเขตอ�ำเภอท่าศาลา วิถีธรรมดาที่พบเห็นได้ทั่วไปในชนบท เป็นวิถีท�ำมาหาเลี้ยงชีพที่มีคุณค่า เป็นวิถีที่มีความหมายต่อชีวิต เพราะนี่คือ "วิถีแห่งชีวิต"

หน้า ๑๗


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๘

รอยดีที่เมืองคอนฉบับนี้ ขอพาท่านผู้ อ่านเดินทางหลบไปสัมผัสธรรมชาติ อันงดงาม อีกหนึง่ บรรยากาศทีท่ า่ นอาจจะ ยังไม่เคยรู้ว่า .. ความงดงามของธรรมชาติ ภายใต้ ท ้ อ งฟ้ า และผื น น�้ ำ นี้ มี อ ยู ่ จ ริ ง ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช เมืองสองธรรม หรือ ภายใต้สโลแกน นครศรีดี๊ดี นครศรีดี กว่าเดิม นครฯ หรอยฉบับนี้ นอกจากจะน�ำ เสนออาหารพืน้ บ้านหรอย ๆ (อร่อย) แล้ว ยังจะพาท่านไปดื่มด�่ำ กับความชุ่มชื่นของ สายน�้ำใสเย็น และธรรมชาติกลางป่าเขาที่ เขียวขจี.......อ�ำเภอชะอวด คือ เป้าหมาย ของเราที่จะพาท่านผู้อ่านไปท่องเที่ยวกัน ในฉบับนี้ค่ะ ล่องแพไม้ไผ่บ้านวังหอน .. ความสนุกสนานอันแสนสวยงามท่ามกลาง ธรรมชาติ แ ละสายน�้ ำ ที่ ฉ�่ ำ เย็ น บอกได้ เลยว่าถ้าได้มาด้วยกัน ท่านจะอยากหยุด เวลาไว้ ต รงนี้ ทั น ที เราออกเดิ น ทางจาก ตั ว เมื อ งนครศรี ธ รรมราช เข้ า สู ่ เ ส้ น ทาง นครศรีธรรมราช พัทลุง เจอ ปั๊ม ปตท. ขวามือ กลับรถเข้าไปเส้นทางเดียวกันกับ

ล่ อ งแก่ ง หนานมดแดง ขั บ เลยไปอี ก ประมาณ ๒๐ กิโล ก็จะเห็นป้ายทางเข้า ค่ะ ที่บ้านวังหอนนี้เน้นการขายวิถีชีวิตเชิง เกษตร อาหารที่มีไว้รองรับนักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ ก็จะเป็นเมนูเกี่ยวกับผักพื้นบ้าน .. ปลอดสารพิษแน่นอน อีกทั้งรสชาติจัด

แบบปักษ์ใต้เลยทีเดียวค่ะ .. วันนีห้ ลังจาก เราลงล่องแพ ชื่นชมธรรมชาติไปกลับด้วย ระยะทางประมาณหนึง่ กิโล และลงเล่นน�ำ้ กันอย่างสนุกสนานแล้ว เราก็ยงั ได้มโี อกาส ชิมอาหารกลางวัน แบบหรอยจังหู้ ด้วย เมนู แกงกะทิไก่บ้านกับขนุนแก่ รสชาติ เข้มข้น ตามมาด้วยผักแหมร๊ะลวกกะทิ เคียงคู่กับน�้ำพริกกะปิ ผักสด, ลาบหัวปลี รสเด็ด ไข่เจียวหัวปลี และทอดมันกุ้งใบ เล็บครุฑ กรอบอร่อย เล่นเอาอิ่มอร่อยแบบน�้ำตาซึมกันทั้ง คณะ ที่นี่นอกจากมีแพคเกจท่องเที่ยวให้ เลือกทัง้ เดินป่า เข้าถ�ำ้ ไหว้พระดัง ล่องแพ ไม้ไผ่ และเล่นน�้ำใสเย็นอย่างชุ่มฉ�่ำหัวใจ ความปลอดภัยของที่นี่ก็ถือเป็นอีกเสน่ห์

ของการชวนเชิญให้มาท่องเที่ยวค่ะ เพราะ สามารถมาได้ทั้งครอบครัว เนื่องจากน�้ำ ไม่ลึก และใสเย็น ส่วนที่พักนักท่องเที่ยว ก็สามารถเลือกได้ทั้งขน�ำ และเต็นท์นอน เรียกได้วา่ ธรรมชาติสดุ ๆ จริงๆ สนใจท่องเที่ยวล่องแพบ้านวังหอน สามารถส�ำรองและสอบถามรายละเอียด ได้ที่ น้องปุ้ย น้องเปีย เจ้าของบ้านคนสวย ที่คอยดูแลผู้มาเยือนอย่างเป็นกันเอง โทร. ๐๘๐-๖๙๕-๕๖๕๖ / ๐๖๓-๑๙๑-๖๕๙๑ หรือ ติดต่อที่ @banwanghornraft99 / banwanghornraft@gmail.com ขอบอกว่ า พลาดแล้ ว จะเสี ย ดาย รีบๆ เดินทางมาเยือนกันนะคะ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.