นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 42 เดือนมีนาคม 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

รองผู้ว่าฯ เมืองคอน อบจ.นครฯ พระเทพวินยาภรณ์ รองเสธฯ มทบ. ๔๑ ร่วมแถลงข่าวงานประเพณี ‘มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมือง นคร’ ปี ๒๕๕๘ ที่วัดพระมหาธาตุฯ และสวนศรีธรรมาโศกราช จังหวัดได้ รับผ้าพระบฏพระราชทาน ๕ ผืน ร่วมขบวนแห่พร้อมผ้าพระบฏผืนยาวที่ สุด ๒,๕๕๙ เมตร

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง มุมมองท่องเที่ยว สาธิต รักกมล รักสุขภาพ นพ.ทฏะวัฎร์ พิลึกภควัต มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช นายพินิจ บุ ญ เลิ ศ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ว่ า ที่ ร ้ อ ย โทยุ ท ธการ รั ต นมาศ รองนายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช นายสุ ช าติ ทองบุ ญ ยั ง ผู ้ อ� ำ นวยการกอง การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัด นครศรีธรรมราช พันเอกชัยพิพัฒน์ รันสูงเนิน

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ๑๐ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

อ� ำ นวย ปะติ เ ส ลงฟั ง ความคิ ด ชาวสวนยางที่ ม.วลั ย ลั ก ษณ์ บอกนายกรั ฐ มนตรี ส นใจเรื่ อ งนี้ ครม.อนุมัติ ๖,๐๐๐ ล้านซื้อยาง ปัญหาอื่นๆ ขอ รวบรวมข้อมูลไปปรับแก้ มีผู้เข้าร่วมราว ๕๐๐ คน เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมไทยบุรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช นายอ�ำนวย ปะติเส รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร >> อ่านต่อหน้า ๙


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

กรณี ค นร้ า ยสั ง หารโหด ๔ ศพ ในโรงเรี ย น ประถมแห่ ง หนึ่ ง ในอ� ำ เภอเชี ย รใหญ่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เมื่อกลางดึกวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ หนังสือพิมพ์ส่วนกลาง (รับข่าวจากผู้สื่อ ข่าวประจ�ำท้องถิ่น) รายงานตรงกันว่า คนร้ายมี ประวัติอาชญากรรม สาเหตุการฆ่าถูกโยงเข้ากับ การค้าของผิดกฎหมายร้ายแรง ผู้ตายบางคนมี ประวัติเป็นมือปืน และเกี่ยวข้องกับซุ้มมือปืน การสื บ สวนสอบสวนหาคนร้ า ยมาลงโทษเป็ น หน้ า ที่ ข องฝ่ า ยบ้ า นเมื อ ง ซึ่ ง ก็ เ จ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจ เป็ น เบื้ อ งแรก กระแสข่ า วสั ง หารโหดครั้ ง นี้ ใน โลกโซเชียลมีเดียเชื่อมโยงไปถึงคดีคนร้ายสังหาร นักเรียนนอกทายาทเจ้าของรีสอร์ท ‘หน�ำไพรวัลย์’ เมื่อกลางเดือนมกราคม ๒๕๕๘ ว่าด�ำเนินการไป ถึงไหนแล้ว ผู้เกี่ยวข้องกับคดีบางคนเข้ามอบตัว และเปิดเผยกับต�ำรวจว่าตนไม่ใช่คนยิง ขณะนี้คน ยิงหลบหนีไปซ่อนตัวอยู่ที่ไหนสักแห่ง ‘รักบ้านเกิด’ ไม่มีข้อมูลคดีและไม่บังอาจวินิจฉัย แต่สิ่งที่ปรากฏจากคดี ชาวนครและชาวเมืองอื่นๆ ต่ า งทราบว่ า เมื อ งนครมี ค ดี ฆ ่ า มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และขอชื่ น ชมการตรวจค้ น หาอาวุ ธ และสิ่ ง ผิ ด กฎหมายที่กระท�ำมาอย่างต่อเนื่อง ข่าวการสังหาร โหด ๔ ศพ บอกให้ทราบว่าอาจเกิดจากการขัดแย้ง ในธุ ร กิ จ ผิ ด กฎหมายและมี ซุ ้ ม มื อ ปื น ที่ ต� ำ รวจ ต้ อ งเพิ่ ม การกวดขั น ยิ่ ง ขึ้ น ต� ำ รวจมี วิ ธี ก ารและ ประสบการณ์ของต�ำรวจ ซึ่งซับซ้อนกว่าสุจริตชน จะเข้าใจ อย่างไรก็ตาม ประชาชนจะชื่นชมยกย่อง ต� ำ รวจก็ ต ่ อ เมื่ อ อาชญากรถู ก ขจั ด ออกไปจาก สังคมและสุจริตชนได้ใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย ‘รัก บ้ า นเกิ ด ’ แสดงความคาดหวั ง มาด้ ว ยความ เคารพ

อยากเห็นเป็นหน่วยวัฒนธรรมในฝัน

นครดอนพระตอนนี้ ขอแวะไปถึงที่วลัยลักษณ์ที่อาจเป็น ฐานธรรมที่ส�ำคัญในอนาคตเพื่อร่วมโอกาสมาฆบูชานะครับ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ ผมถูกทาบทามจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ให้รับเป็นกรรมการประจ�ำอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ที่ตั้งและด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ แรกเริ่มของมหาวิทยาลัยโดยมีท่านอาจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ เป็นผู้อ�ำนวยการมาอย่างต่อเนื่อง แต่เพิ่งจะได้เข้าร่วมประชุม เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์นี้ เนื่องจากที่ผ่านมามี กิจอื่นจ�ำเป็น โดยในครั้งนี้มีวาระว่าด้วยผลงานปี ๒๕๕๗ แผน และยุทธศาสตร์ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ งบประมาณปี ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙ ซึ่งมีรายละเอียดยิบย่อยเยอะแยะมากมาย เรียกว่า ท�ำหลายอย่างเหลือประมาณและแทบทุกอย่างท่านอาจารย์ สืบพงศ์บอกว่าท�ำเองทั้งนั้น ทั้งวิจัย ทั้งจัดประชุมสัมมนา อบรม งานประเพณี ประกวด แข่ ง ขั น เล่ า นิ ท าน เพลง

บอก ร้องเรือ ทอดกฐิน ทอด ผ้ า ป่ า งานพระศพ (สมเด็ จ พระสังฆราช) ท�ำบุญโบราณ สถาน ยั น ท� ำ รายการวิ ท ยุ โทรทัศน์ทั่วประเทศไทยและ ออกไปถึงต่างประเทศ โดยมี การจั่ ว หั ว เชิ ง เข็ ม ทิ ศ น� ำ ทาง ของอาศรมฯ ในรายงานว่ า “มุ่งเน้นการบูรณาการงาน ด้ า นการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะ และวั ฒนธรรมกั บการจัด การเรียนการสอนและกิจ กรรม นั ก ศึ ก ษา” และในแผนยุ ท ธศาสตร์ ว ่ า มี ป รั ช ญา “อาศรม วัฒนธรรมวลัยลักษณ์ต้องใช้มิติทางวัฒนธรรมในการขับ เคลื่อนเพื่อการพัฒนา” และวิสัยทัศน์ว่า “อาศรมวัฒนธรรม วลั ย ลั ก ษณ์ เ ป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ของมหาวิ ท ยาลั ย ในการ ประสานและแสวงหาเครือข่ายและทรัพยากรจากภายใน และภายนอกในการด�ำเนินงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ฟื้นฟูและส่งเสริมให้ บั ณ ฑิ ต เป็ น “คนดี แ ละคนเก่ ง ” คุ ณ ธรรมพั ฒ นา ส� ำ นึ ก คุณค่าความเป็นไทย” โดยมี ๘ พันธกิจ ๖ วัตถุประสงค์ ๙ เป้าหมาย ๖ ยุทธศาสตร์ ๔๔ โครงการและกิจกรรม ที่เน้น การอนุรักษ์และท�ำเองเป็นหลัก จนผมอดคิดถึงปรัชญาของ มหาวิทยาลัยที่เคยมีส่วนร่วมเมื่อระหว่างปี ๒๕๓๕ - ๒๕๔๕ และได้ น� ำ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ซึ่ ง มีท่านอธิการบดี ดร.สุเมธ แย้ม นุ่น เป็นประธานพร้อมกับองค์ ประชุ ม ของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก ภายนอกและคณบดีกับผู้อ�ำนวย การในมหาวิทยาลัยว่า “อยาก เห็ น เป็ น อาศรมฯ ในฝั น ยั ง จะ เป็นไปได้ไหม ?” >> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

นรอบสี่ปี ผมเขียนถึงจิมมี่ ชวาลา เจ้าของร้านผ้า ‘จิมมี่’ (สี่แยกท่าวัง) ทั้งใน ‘เนชั่นสุดสัปดาห์’ และ ‘รักบ้านเกิด’ สาม-สี่ครั้ง ราวกับว่าเรื่องดีดี คนดีดี ในเมืองนครวนเวียนอยู่ กับเขาคนเดียว เมืองนครมีคนดีมากมาย แต่ผมเข้าไม่ถึง บางเรื่องผม ไม่รู้ว่าดี หรือดีแต่ผมไม่รู้ ซึ่งเป็นความผิดของผมเอง บาง เรื่องคนอื่นมองว่าดี แต่ผมเฉยๆ ถือว่าความคิดแตกต่างกัน ผมเขียนถึงจิมมี่ ในมุมที่เขามีความเมตตาและสละ ทรั พ ย์ สิ น เงิ น ทองให้ ส ถานสงเคราะห์ เ ยาวชน สนั บ สนุ น อาหารกลางวันแก่เด็กๆ นักเรียนมายาวนานกว่าสิบปี มอบ เครื่องมือแพทย์แก่โรงพยาบาลรัฐและเอกชนอยู่เนืองๆ และ บริจาคเงินในนามตัวเขาและไม่ออกนาม ช่วงปีใหม่ ๒๕๕๘ จิมมี่บริจาคเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านบาท) แก่โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช โดยไม่ต้องการใบรับรองไว้ลดหย่อนภาษี แต่ปรารถนาให้ โรงพยาบาลน�ำไปใช้ประโยชน์ที่จะตกทอดถึงผู้ป่วยที่มาใช้ บริการอันจะเป็นกุศลผลบุญถึงตัวเขาและครอบครัว ปลายเดื อ นมกราคม จิ ม มี่ บ อกผมว่ า เขาต้ อ งเข้ า กรุ ง เทพฯ อี ก ครั้ ง เขาเล่ า ว่ า แขนซ้ า ยกั บ ขาข้ า งขวามี อาการชา เขาได้รับความเมตตาจาก ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ มอบหมายให้เลขานุการโทรศัพท์ติดตามให้ไปตรวจรักษา (http://th.wikipedia.org/ wiki/ประดิษฐ์_ปัญจวีณิน) เมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว จิ ม มี่ เ ป็ น มะเร็ ง ต่ อ มลู ก หมากและเป็ น คนไข้ของ ศ.นพ.สุชาย สุนทราภา อาจารย์ดีเด่นสาขาวิชา ศั ล ยศาสตร์ ยู โ รวิ ท ยา ภาควิ ช าศั ล ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาลกั บ รศ.นพ.สุ นั ย ลี วั น แสงทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา (ระบบทางเดินปัสสาวะ) โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เมื่อกลับ

มาดู แ ลตั ว เองที่ บ ้ า น ช่ ว งปลายปี จิ ม มี่ ร ายงานผลเลื อ ดต่ อ ศ.นพ.สุชาย เขาแจ้งไปว่าผลเลือดออกมาดีมากเชื้อมะเร็ง อ่อนตัวและปลอดภัยสบายดี แล้วเพิ่มเติมว่าก่อนไปรักษา มะเร็งต่อมลูกหมาก เขาเคยใส่ขดลวดขยายเส้นเลือดหัวใจ ๓ ตัว ศ.นพ.สุชายถามว่าท� ำที่ไหน จิมมี่ตอบ ศ.นพ.สุชาย บอกว่ามาศิริราชเดี๋ยวนี้--มาให้ ศ.นพ.ประดิษฐ์ ดูให้ ปลาย ธันวาคม ๒๕๕๗ ศ.นพ.ประดิษฐ์ กรุณาให้เลขาฯ โทร.ติด ตามไปตรวจรักษา วันที่ ๑๖-๑๗ มกราคม ๒๕๕๘ จิมมี่ไป รพ.ศิริราชฯ ผลการตรวจเส้นเลือดหัวใจไม่น่าพอใจจึงขอ ตรวจเช็ ค ให้ ล ะเอี ย ด อี ก ครั้ ง ในวั น ที่ ๒๓๒๕ มกราคม ๒๕๕๘ วันที่ ๒๑ กุมภาพั น ธ์ จิ ม มี่ โ ทร.บอก ถ้าว่างให้แวะไปที่ร้าน สัก ๑๐ นาที ผมทราบ จากพนั ก งานว่ า เขา กลับจากกรุงเทพฯ มา ท�ำงานตามปกติหลาย วั น แล้ ว จึ ง ไม่ อ ยาก รบกวน เขาเล่าว่าหลัง เข้าสแกนร่างกายและ ฉี ด สี ดู เ ส้ น เลื อ ดหั ว ใจ แพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า เหตุ ที่ แ ขน

ขาชาและเจ็บเวลาขยับเขยือ้ นร่างกายเกิดจากกระดูกทับเส้น ประสาท ถ้าผ่าตัดรักษาจะเสี่ยงเกินไป แพทย์แนะน�ำให้ท�ำ กายภาพบ�ำบัด แต่ทนี่ า่ ตกใจกว่านัน้ กล้ามเนือ้ หัวใจส่วนล่าง บางส่วนตายไปบ้างแล้ว เพราะเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ ซึ่งเขาต้องดูแลรักษาส่วนที่ยังดีให้ใช้ได้นานที่สุด ผมนั่ ง รออยู ่ ห น้ า ห้ อ งราวๆ ๓๐ นาที เขาประชุ ม พนักงาน ๓-๔ คน ได้ยินเสียงหัวเราะผ่านประตูออกมา ยัง นึกว่าสุขภาพร่างกายเขาดีขึ้นมาก แต่ไม่ใช่เลย เขากลับจาก ศิริราชฯ มาเคลียร์งานโดยไม่ได้หลับนอนถึง ๕๘ ชั่วโมง เย็นวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ เขาโทร.หาอีกครั้ง บอกว่า ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน เมตตา ให้เลขานุการโทร.มาว่าวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ให้ไปตรวจ หัวใจอีกครั้ง จิมมี่ท�ำงานอย่างเห็นคุณค่าของเวลา บางวัน แทบไม่ได้นอน ช่วงที่ควรดูแลรักษาตัวให้หายหรือทุเลาเขา ควรพักผ่อน คนที่รู้จักกันหลายคนรู้ว่าผมสนิทสนมกับจิมมี่ จึงน�ำเรื่องของเขามาเล่าให้ฟังว่า กลางคืนหลังปิดร้านจิมมี่ ไปดูแลพระสงฆ์อาพาทบ้าง ไปเยี่ยมคนป่วยเป็นอัมพาตห่าง จากร้าน ๓๐ กิโลฯ หรือไปนั่งฟังเพลงตามโรงแรมประสาคน รอดจากมะเร็ง ผมอยากรู้เรื่อง ดูแลผู้ป่วยเป็นอัมพาตจึงไป สอบถาม เพราะเพิ่งแนะน�ำให้เขาพักผ่อนดูแลร่างกายหลัง ปิดร้าน จิมมี่เล่าว่าผู้ป่วยอัมพาตเป็นเด็กสาวอายุ ๑๖-๑๗ ชื่อปอ ที่ครอบครัวยากจน บ้านไม่มีน�้ำประปาและไฟฟ้า เมื่อ สองปีก่อนมีคนมาบอกเล่าและขอความช่วยเหลือ เขาเข้าไป ดูจึงเห็นกับตาว่าเด็กคนนั้นเดินไม่ได้ โรงพยาบาลให้กลับ มาอยู่บ้านและนัดให้เลือดเป็นระยะๆ เขาซื้อของใช้จ�ำเป็น ต่างๆ ยากิน ยาฆ่าเชื้อ อาหารเสริมไปให้ทุกๆ ๓ เดือน ต่อ มาซื้อเตียงลมเพราะแผลกดทับเริ่มเปื่อยลึกนิ้วเศษ จิมมี่เพิ่ง เอาชุดเครื่องนอน TOTO พัดลม ยาฆ่าเชื้อ ถุงมือยางไปให้แม่ ใช้ป้องกันติดเชื้อ เครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันอื่นๆ เขาไปหลัง ปิดร้านและกลับประมาณเที่ยงคืน ไปดูแลติดตามผลและให้ ก�ำลังใจ คนป่วยอาการดีขึ้นมาก แผลกดทับค่อยๆ ตื้น และ เริ่มแสดงอาการรับรู้ (หมายเหตุ : ภาพลายมือ จิมมี่เขียนถึงน้องปอหลัง ตรวจสุขภาพ วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์)


หน้า ๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปี

นี้ (๒๕๕๘) มีเดือนแปดสองหน พระท่านเรียกว่า ปีอธิกมาส ซึ่งสี่ปีจะมีครั้งหนึ่ง มีสิบสี่ค�่ำบ้าง สิบห้า ค�่ำบ้าง สามปีสี่ปีมันก็ขาดไปเดือนหนึ่ง จึงมีเดือนแปด สองครั้ง ยังไม่ได้ถามผู้รู้คนใดเลยว่า ท�ำไมต้องไปเพิ่ม เดือนแปด ท�ำไมไม่เพิ่มเดือนอื่นบ้าง แต่พอเพิ่มเดือนแปดเป็นสองครั้ง วันมาฆบูชาเราก็ มีสองครั้งเหมือนกัน คือทั้ง ๑๕ ค�่ำเดือน ๓ กับ ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔ ท�ำไมเดือน ๕ เดือน ๖ หรือเดือน ๑๐ ไม่มีสอง ครั้งบ้าง ผมสงสัย! เลยเที่ยวถามเรื่อยเปื่อย ยังไม่พบคน รู้จริง ถ้าพบโอกาสหน้าจะเขียนมาเล่าให้ฟัง วั น มาฆบู ช า เดิ ม เป็ น เรื่ อ งของพราหมณ์ ที่ เ ขา ท� ำ การบู ช าพระศิ ว ะด้ ว ยการลอยบาปด้ ว ยน�้ ำ คงจะ คล้ายๆ กับการลอยกระทงนั่นแหละ และเขาก็เรียกวัน นี้ว่า วันศิวาราตรี ซึ่งคือวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๓ นี่แหละ แต่ต่อมาพราหมณ์เหล่านี้เปลี่ยนมาถือ ธรรมวินัย ของ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพราหมณ์เหล่านี้ก็ถือเอา วันศิวาราตรีของตนแต่เดิม มาเฝ้าบูชาและฟังธรรมจาก พระผู้มีพระภาคเจ้าแทน การท�ำการบูชาในวันเพ็ญเดือนสาม ที่มาที่ไปตาม พุทธประวัติกล่าวว่า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็น สัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ได้ ๙ เดือน พระองค์ได้เสด็จ มาประทับที่วัดเวฬุวัน ในเมืองราชคฤห์ วันนั้นเป็นวัน เพ็ญเดือน ๓ ได้มีอรหันต์สาวกของพระผู้มีประภาคมา ประชุมพร้อมกัน เกิดเป็นเหตุอัศจรรย์ ๔ ประการ เรียก ว่า จาตุรงคสันนิบาต คือการมาประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ ๑. พระสงฆ์ ส าวกของพระพุ ท ธเจ้ า ๑๒๕๐ รู ป ได้มาประชุม ๒. พระภิกษุเหล่านี้ล้วนเป็น “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” คือพระที่พระพุทธเจ้าบวชให้ ๓. พระสงฆ์ ทุ ก องค์ ที่ ม าประชุ ม พร้ อ มกั น ครั้ ง นี้ ล้วนเป็นผู้บรรลุเป็น อรหันต์ ทั้งสิ้น ๔. วั น นั้ น ป็ น วั น ที่ พ ระจั น ทร์ เ ต็ ม ดวงก� ำ ลั ง เสวย มาฆกฤษ

ในวันจาตุรงคสันนิบาตครั้งนี้ พระองค์ได้ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ในที่ประชุมสงฆ์เหล่านั้น ซึ่งก็ถือเป็น หลักการ เป็นอุดมการณ์และเป็นวิธีการปฏิบัติของเหล่า ชาวพุทธสืบต่อมาร่วม ๒๕๐๐ กว่าปี โอวาทปาฏิโมกข์ นี้ถือได้ว่า เป็นหัวใจของพุทธศาสนาทีเดียว เนื้อความ โดยสรุปก็คือ ละความชั่ว ท�ำแต่ความดีและท�ำจิตใจให้ ผ่องใส คาถาโอวาทปาฏิโมกข์ ที่มีรายละเอียดไปหาอ่าน ได้ที่ซุ้มประตูทางเข้าพระบรมธาตุบนซุ้มประตูแรก ที่เรา ลอดกันอยู่ตลอดเวลา แต่หลายคนไม่ได้อ่านดู คนสมัย ก่อนเขาเขียนคาถาเหล่านี้ไว้คุ้มหัวเราทุกครั้งที่เดินเข้า ออกพระบรมธาตุ วันมาฆบูชาทุกปีจะมีคนน�ำผ้าพระบฏขึ้นห่มองค์ พระบรมธาตุ สืบต่อกันมานานหลายปีแล้ว โดยสืบทอด มาตั้งแต่สมัย พระเจ้าศรีธรรมโศก ได้ท�ำการสมโภช พระบรมธาตุอยู่ เกิดมีชาวบ้านที่หาดเบี้ยซัด ได้พบผ้า ผืนยาวมีภาพเขียนเรื่องราวพุทธประวัติมาเกยหาดอยู่ จึง ได้น�ำมาถวายพระเจ้าศรีธรรมโศกราชเจ้า เพื่อสืบหาผู้ เป็นเจ้าของ (ไม่ยึดเอาเป็นเจ้าของเสียเอง) ขณะเดียวกัน ชาวปากพญาก็ได้พบคนเรือแตกรอดตายมาขึ้นฝั่งที่หาด ปากพญา ๑๐ คน จึงน�ำมาให้พระศรีธรรมโศกราชเจ้าให้ ความช่วยเหลือ (นี่ก็มีเมตตาอีก) ผู้น�ำของคนเหล่านี้ชื่อ ผขาวอริยพงษ์ ครั้นมาถึงท้องพระโรงก็เห็นผ้าพระบฏ ผืนนั้นแล้วร้องไห้ สอบความได้ว่าทั้งหมดเป็นชาวเมือง หงสา (ผู้รู้บางท่านบอกว่าคือเมืองพนัสนิคม ชลบุรี อยู่ ในฝั่งอ่าวไทย) ได้น�ำคน ๑๐๐ คน ลงเรือมาเพื่อน�ำผ้า พระบฏไปบูชาพระพุทธเจ้า แต่เรือแตกเสียก่อน เหลือ รอดเพียง ๑๐ คน พระเจ้าศรีธรรมโศกจึงแต่งเรือน�ำผขาว และพวกส่งกลับบ้านเมืองตน และน�ำผ้าพระบฏขึ้นห่ม องค์พระบรมธาตุเพื่อเป็นพุทธบูชาที่ได้ใกล้ชิดบาทของ พระองค์ที่สุด ก็คือ พระบรมสารีริกธาตุ ดังนั้นประเพณีนี้สืบต่อกันมาไม่ขาดสายร่วม ๗๐๐ กว่าปีมาแล้ว ส่วนที่แน่ชัดว่าเป็นวันใด ๑๕ ค�่ำเดือน ๓ หรือวันวิสาขะ ๑๕ ค�่ำเดือน ๖ ชาวบ้านจึงยึดถือเอาทั้ง สองวันไปบูชาพระพุทธองค์ด้วยผ้าพระบฏกันทุกปี

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือน มี น าคม ๒๕๕๘ เรื่ อ งนี้ ยั ง ต้ อ งเกาะติ ด กั น ต่ อ ไป...เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า ประชุ ม คณะกรรมการในการน� ำ เสนอวั ด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครฯ (พระบรมธาตุ เจดีย์) เพื่อขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก คราวนี้มุ่งไปที่การจัด ท�ำหนังสือ ‘พระบรมธาตุสู่มรดกโลก’ และการขุดค้นทาง โบราณคดีบริเวณพื้นที่กันชน (Core Zone) เพื่อหาหลัก ฐานประกอบการจัดท�ำเอกสาร ที่ประชุมได้มีมติไม่เห็น ชอบ และให้ ห าข้ อ มู ล และหลั ก ฐานจากหลั ก ศิ ล าจารึ ก มาเทียบเคียงอายุที่แท้จริงขององค์พระบรมธาตุฯ และ ให้เตรียมพื้นที่ไว้รองรับกิจกรรมมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ ระหว่างวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ – ๕ มีนาคม ๒๕๕๘

ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ประชุมรับทราบ นโยบายของรั ฐ บาลตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ เรื่องการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ในระดับพื้นที่ (Area Based) ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ ซึ่งรัฐบาล ให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ ประชาชน โดยเฉพาะปัญหาเรื่องน�้ำท่วม น�้ำแล้ง โดย แผนการด�ำเนินงานให้บูรณาการร่วมกันกับส่วนราชการที่ เกี่ยวข้อง ทั้งอ�ำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมืองไทยครั้งก่อนเก่าและเวลานี้ เรื่องพระเรื่อง สงฆ์กลายเป็นหัวข้อถกเถียงกันไม่จบสิ้น เพราะคนเลว ปลอมตัวไปอาศัยร่มพระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้น เมืองนคร ประมุขฝ่ายสงฆ์ ทั้ง พระศรีธรรมประสาธน์ (ธรรมยุติ)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ขอแสดงความยินดีกับ สมเกียรติ-สุพิศ ประดู่ พยาบาล รพ.มหาราชนครฯ ที่ลูกชายสุด รัก พาทิศ ประดู่ (เดค) เลือก ศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิ ศ วกรรมเคมี ม.สงขลา นครินทร์ (หาดใหญ่) วัดพระมหาธาตุฯ และ พระเทพสิริโสภณ (มหานิกาย) วั ด วั ง ตะวั น ตก คงไม่ ป ล่ อ ยให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ในหมู ่ สงฆ์ และกวดขั น สงฆ์ ป ระพฤติ ผิ ด วิ นั ย เข้ ม แข็ ง ยิ่ ง ขึ้ น กรณี ช าวบ้ า นร้ อ งเรี ย นเรื่ อ งพระบางวั ด เสพสุ ร าเป็ น ตัวอย่าง ใ น งา น สั มมน า วิ ช า กา ร ‘เทคโนโลยี ภ าคใต้ วิ จั ย ’ ครั้ ง ที่ ๕ เกษมสุ ข พยุ ง พั น ธุ ์ ผู ้ จั ด การส่ ว น พั ฒ นาองค์ ก รอย่ า งยั่ ง ยื น บริ ษั ท ปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสง) จ�ำกัด บอก ว่ า ปั จ จุ บั น ‘ปู น ทุ ่ ง สง’ รั บ ชื้ อ เชื้ อ เพลิงขยะ (RDF) จากเทศบาลเมืองทุ่งสงไปเผาปูน โควต้า เดือนละ ๓๐๐ ตัน แต่เทศบาลเมืองทุ่งสงผลิตได้เดือนละ ๑๐ ตันเท่านั้นเทศบาลนครนครศรีธรรมราชมีขยะมากมาย และสกปรกเป็นอันดับ ๔ ของประเทศ น่าจะให้ความสนใจ

ฮอนด้าศรีนคร ฉลองตรุษจีนแห่งความรัก ๑๔๑๘ กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แจกอั่งเปาคืนก�ำไร ขอบคุณ ลูกค้าที่มาอุดหนุน รับทันทีสิทธิ์จับอั่งเปา ๑ ใบ เพื่อ รั บ ของที่ ร ะลึ ก ช่ ว งเทศกาลวาเลนไทน์ / ตรุ ษ จี น หรื อ คูปองส่วนลดพิเศษมากมาย และยังรับสิทธิ์ลุ้นสร้อย คอทองค� ำ กั น ต่ อ ตอนสิ้ น เดื อ น โกจ้ อ งใจดี แ จกจริ ง สวนกระแสเศรษฐกิ จ คิ ด ถึ ง ฮอนด้ า ต้ อ งมาฮอนด้ า ศรีนคร call center: ๐๗๕-๓๑๖๓๒๔-๕

ต้นเดือนกุมภาพันธ์ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว รมว.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เดินทางมาเป็นประธานประชุมแก้ปัญหาคนพิการใน จังหวัดนครฯ ที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ๔๓,๓๗๘ คน พร้อมเปิด ศูนย์บริการคนพิการ ณ อาคารศาลากลางจังหวัดนครฯ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ คณะรัฐมนตรีมีมติ อนุมัติเพิ่มเบี้ยความพิการจากเดิม ๕๐๐ บาท ต่อเดือนต่อ คนเป็น ๘๐๐ บาทต่อเดือนต่อคน คนพิการประสบปัญหา อื่ น ๆ หรื อ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น ปรั บ ขึ้ น ...ติ ด ต่ อ สอบถามที่ นี่ (ภาพจาก สนง.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ)

เที่ยวไปถ่ายไป สามีถ่าย-ภรรยาบรรยาย พวงรัตน์ - ประพงษ์ วิชัยดิษฐ เป็นสื่อคู่สามีภรรยาที่มีความสุข ที่สุด หลังลูกสาว-ลูกชายได้ท�ำงานเป็นหลักแหล่งมั่นคง ‘ไม่มีใครท�ำให้เราโกรธได้หรอก วิธีที่เราคิดต่าง หาก ที่ท�ำให้เราโกรธ’ — มาร์แชล โรเซนเบิร์ก พบกัน เดือนหน้า....

วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ศุภพร ล่องดุริยางค์ ประธานกรรมการ บริ ษั ท ในเครื อ ปิ ย ะกรุ ๊ ป เปิ ด ศู น ย์ จ�ำหน่ายและบริการนิสสันนครศรีฯ (สุราษฎร์ปิยะ สาขา นครศรีฯ) ณ ถนนสายนครฯ – ร่อนพิบูลย์ แขกผู้มีเกียรติ มาร่วมแสดงความยินดีคับคั่ง อาทิ รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล, ประพัฒน์ ชมเชย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุ โ สการตลาดและการขาย บริ ษั ท นิ ส สั น มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, วรศักดิ์ อดิเทพวรพันธ์, ประภาส เอื้อนนทัช จากมิตรไทย โฮลดิ้ง เป็นต้น

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

“ถ้ า พู ด ถึ ง เรื่ อ งโรงแรมครอบครั ว เรามี เ รื่ อ งพวกนี้ อ ยู ่ แ ล้ ว คื อ ฝ่ า ยสามี มี โ รงแรมที่ ห าดใหญ่ ญาติ พี่ น ้ อ งก็ ท� ำ โรงแรมที่หัวหิน เพราะมันเป็นแนวของ ธุรกิจที่เราพอจะสันทัด เราเองก็ชอบอยู่ แล้ว เลยลงจังหวะกัน ที่เลือกเมืองนคร เพราะเรามีงานท�ำอยู่แถวนี้อยู่แล้ว ซึ่งดู เหมือนจะลงล็อคที่ตรงนี้พอดี” พรรณพิ ศ ไม่ ใ ช่ ค นนครดั้ ง เดิ ม แต่ คาดการณ์ไปตามทิศทางว่าเมืองนครต้อง โตและถนนอ้อมค่อยก็น่าจะเติบโตได้ดี “นครมีขนาดที่เป็นปัจจัยบวก เมือง ทุกเมืองมีศักยภาพในการเติบโตของมัน อยู่แล้ว เพียงแต่ว่ามันจะไปเร็วแค่ไหน ทิศทางไหนเป็นอีกเรื่อง แต่นครนี่มีศักยภาพที่จะโตได้ เรามาดูทิศทางของเมือง

คิดว่าข้างในมันแน่นไปนิด ประเภทธุรกิจ อันนี้ Location มันเป็นไปได้ ในการที่ จะตอบสนองลู ก ค้ า กลุ ่ ม หนึ่ ง ที่ ส ะดวกๆ มองแล้วว่าเมืองต้องขยาย เราคิดไว้ราวๆ ๒๕๕๕ - ๕๖ เดี๋ยวตรงนี้ไม่ใช่นอกเมือง แล้ว มันติดเมือง พอเรามาอยู่แล้วพบว่า เมืองตามมาเร็วมาก”

ภาพโดย สายันต์ ยรรยงนิเวศน์

รรณพิศ เลขะกุล (ปิ๋ม) สุภาพสตรี วัยเกษียณ เดินลงจากห้องพักชั้น บน เธอเป็นหุ้นส่วนและผู้จัดการโรงแรม เดอะ เทอเรส ถนนอ้อมค่าย ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงแรมขนาด ๒๙ ห้อง กึ่งสไตล์โคโลเนียล ผสมผสานโมเดิร์น สีชาเขียวอ่อนๆ กับ ขาวอมเทา เธอสวมเสื้ อ ผ้ า รองเท้ า กลมกลื น กั บ บรรยากาศภายในห้ อ งนั่ ง เล่ น ส่ ง ยิ้ ม ทั ก ทายภายใต้ ก รอบแว่ น ตา สีกระ ให้เกียรติสนทนากับ ‘รักบ้านเกิด’ อย่างเป็นกันเอง โรงแรมเดอะ เทอเรส เปิดบริการมา ๒ ปี ก่อนหน้านี้ครอบครัวรับงานก่อสร้าง บ้านและอาคารในเมืองนครมาก่อน จึง เกิดสนใจท�ำธุรกิจที่นี่

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ปั จ จุ บั น ถนนอ้ อ มค่ า ยมี โ ครงการ บ้านจัดสรร อาคารพาณิชย์ และร้านค้า ขนาดใหญ่เกิดขึ้นมากมาย โรงแรมเดอะ เทอเรส มีพื้นที่ ๓ ไร่ ถ้าหากธุรกิจเติบโต ก็สามารถขยายได้ “เราชอบขนาดเท่านี้ รูปแบบของที่นี่...ลูกค้าทั้งคนในและคน ที่อื่น ลูกค้าของเราค่อนข้างดี...ค่อนข้าง

พรรณพิ ศ เป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย น ราชิ นี จบคณะพานิ ช ยศาสตร์ แ ละการ บั ญ ชี มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ราวปี ๒๕๑๒ สอบบรรจุเป็นพนักงานธนาคาร แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภาคใต้ (หาดใหญ่ ) มุ ม มองธุ ร กิ จ จึ ง เป็ น ระบบและ แม่นย�ำ

ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย นักท่องเที่ยว คน มาท�ำงาน มาเยี่ยมญาติ มาหาเพื่อนฝูง หรือท�ำธุรกิจมาพักกับเรา” บรรยากาศภายในสงบประสาโรงแรมขนาดเล็ก “เรามี ค อนเซ็ ป ต์ ข องเรา เราฟั ง เสียงของลูกค้า เราพยายามให้บริการที่ เราพอเซอร์วิสได้ การตกแต่งก็แบบที่เรา ชอบ เราขอฟังก์ชั่นกลางๆ จากสถาปนิก แล้วได้ Looks ที่เราอยากได้ รายละเอียด ให้เราจัด เรารู้ว่าเราชอบอะไร ข้อดีก็คือ เราปรับเปลี่ยนได้ สีก็มีส่วนส�ำคัญ โทนสี น่าจะดี มีหลายคนว่าเลือกสีได้ดี มันมีสอง สีที่ดูแล้วเกิดความรู้สึกเป็นธรรมชาติ” หุ ้ น ส่ ว นชอบกี ฬ ากลางแจ้ ง น� ำ เรื อ ยอร์ช เรือใบเฮลิคอปเตอร์ควบคุมด้วย วิ ท ยุ แ ละจั ก รยานมาประดั บ ตกแต่ ง ให้ โรงแรมดูสดใสยิ่งขึ้น พรรณพิ ศ เป็ น คนชอบเดิ น ทาง อยู่แล้ว ไปพบอะไรดีๆ ก็น�ำมาปรับใช้ กับโรงแรมเดอะ เทอเรส ทุกวันนี้เธอ เดินทางขึ้นล่องนครฯ-กรุงเทพฯ ไปดู ลูกๆ ที่เรียนจบปริญญาโทท�ำงานอยู่ ในกรุ ง เทพฯ ซึ่ ง เหมาะสมส� ำ หรั บ พวกเขาและหลานๆ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ดั

ชนี ค วามเชื่ อ มั่ น ผู ้ บ ริ โ ภคลดลงอี ก รอบ ชี้ สิ น ค้ า เกษตรบวกเศรษฐกิ จ ซบเซา นายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อ�ำนวย การศู น ย์ พ ยากรณ์ เ ศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า “ถือ เป็นสัญญาณที่แปลกมากเพราะจากช่วง เทศกาลปีใหม่ที่มีการจับจ่ายใช้สอยบวก กับราคาน�้ำมันที่ปรับตัวลดลง น่าจะมีแรง เหวี่ ย งให้ เ ศรษฐกิ จ ดี ขึ้ น แต่ ผ ลส� ำ รวจที่ ตอบกลับมากลับดูไม่ฟื้น - ฟื้นตัวช้า ส่วน หนึ่งมาจากก�ำลังซื้อจากต่างจังหวัดไม่ดี มาจากการที่ ร าคาสิ น ค้ า พื ช ผลทางการ เกษตรไม่ดี จึงท�ำให้บรรยากาศการท�ำมา หากินยากขึ้น เพราะขายของไม่ได้ และ เชื่อว่ารัฐบาลเองก็คงเห็นภาพนี้แล้วเช่น กัน ดังนั้นจึงต้องให้รัฐบาลเร่งอัดฉีดเม็ด เงินเข้าระบบผ่านการจ้างงานต่างๆ โดย ทางศูนย์ฯ จะมีการปรับลดประมาณการ ทางเศรษฐกิจไทยปี ๒๕๕๘ ใหม่อีกครั้ง จากเดิ ม ที่ ค าดว่ า เศรษฐกิ จ ไทย (จี ดี พี ) จะขยายตั ว อยู ่ ที่ ๓.๕-๔% ลดลงเหลื อ ๓%” จากภาพที่ก�ำลังซื้อชะลอตัวในปีนี้ ส่ ง สั ญ ญาณมายั ง ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ที่ ต้องปรับตัว เพื่อรักษาระดับของยอดขาย และก�ำไรให้เป็นไปตามเป้าหมาย ค�ำถาม ที่ส�ำคัญมาก ที่ต้องถามตัวเองให้ชัดก็คือ ปั จ จั ย ภายนอกเป็ น แบบนี้ แ ล้ ว เราจะท� ำ อย่างไร? ค�ำถามแรกก็คือ..เมื่อเราเป็นต้น เหตุของความส�ำเร็จหรือล้มเหลว ก็ต้อง กลั บ มาดู ก ระบวนการท� ำ งานของธุ ร กิ จ ใหม่ การมีมุมมองที่ใช้ตัวเองเป็นต้นเหตุ ท�ำให้เราเรียนรู้ที่จะกลับมามองหาโอกาสใหม่ๆ ที่เป็นไปได้มากขึ้น มากกว่า

การมองเห็ น แต่ อุ ป สรรคจนแทบจะหา ทางออกไม่ได้ และเหตุผลส�ำคัญมากของ คนท�ำธุรกิจก็คือ “การยืนหยัดให้ได้ใน ทุ ก สถานการณ์ ” เมื่ อ เขาเลื อ กที่ จ ะยื น อยู่บนเส้นทางของความส�ำเร็จก็จะค่อยๆ หาช่องทางต่างๆ เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการ กลยุทธ์ ให้สามารถบรรลุเป้าหมายให้ได้ เท่ า ที่ ผ มได้ พ บเห็ น พวกเขามี คุ ณ สมบั ติ พิเศษหลายประการ ๑. เขารู ้ จุ ด มุ ่ ง หมายของตนเอง เสมอ พวกเขารู้ว่าในแต่ละวันนั้นจะต้อง ท� ำ อะไรบ้ า ง เพื่ อ สะสมคะแนนไปสู ่ เ ป้ า หมายปลายทางที่ก�ำหนดไว้ทั้งปี วันนี้อาจ ผิดพลาดไม่ได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ วันที่ เหลือต้องท�ำงานหนักเป็น ๒ เท่า ๓ เท่า เพื่ อ ให้ ไ ด้ ก ลั บ คื น มาให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด เพราะ อะไรหรือครับ? พวกเขาเป็นคนไม่ยอมแพ้ ต่อการลงมือท�ำอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้ถึง จุดหมายเป็นประเภทไม่ยอมจ�ำนนนั่นเอง ๒. เขาพาตัวเองเข้าไปเรียนรู้ตลอด เวลา ในแต่ละวันจะหาโอกาสไปหาสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ที่คนส�ำเร็จในธุรกิจเขาท�ำ พูดให้ง่ายก็คือ การใช้ชีวิตคลุกคลีอยู่กับ คนท�ำธุรกิจที่ส�ำเร็จมากกว่าจะใช้ชีวิตอยู่ กั บ คนที่ ไ ม่ ท� ำ ธุ ร กิ จ หรื อ กลุ ่ ม ที่ ล ้ ม เหลว เขาสร้างพลังให้ตัวเองด้วยการเรียนรู้ ไป ฟัง ไปอ่าน ข้อคิดดีๆ ทางธุรกิจสม�่ำเสมอ

เดือนมีนาคม ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสี่ (๔) ปีมะเมีย (วันมาฆบูชา) วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๘ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือนสี่ (๔) ปีมะเมีย วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๘ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือนสี่ (๔) ปีมะเมีย วันศุกร์ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๘ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนห้า (๕) ปีมะแม

เพื่อเป็นมุมมองความเป็นไปได้ เขาเลือกที่ จะจับถูกมากกว่าจับผิด มองมุมของความ เป็นไปได้มากกว่าความเป็นไปไม่ได้ ๓. เขารู้อยู่แก่ใจว่าเขาเป็นต้นเหตุ ของธุรกิจ จึงเป็นหน้าที่ที่เขาจะออกไป ลงมือท�ำมากกว่าการรอคอยว่ามันจะดีขึ้น สิ่งที่เขาคิดได้ก็คือ มันต้องมีเรื่องใหม่ๆ ที่ ต้องคิดต้องท�ำมีอะไรบ้าง? และฉันจะเดิน ออกไปหาทันที ฉันจะไม่รอใครอีกต่อไป พึ่ง ตนเองให้ได้มากที่สุด จะไม่ติดกับดักโทษ คนอื่น โทษโน้น นี่นั้นและ มีข้ออ้างต่างๆ เช่นไม่มีเวลา ไม่มีทุน ไม่มีความรู้ ฯลฯ ๔. เขารู้ความจริงว่าถ้าเขาอยากได้ อะไร มีเป้าหมายอะไร? เมื่อไร? จะต้อง ไม่ต้องยึดกับอดีต ต้องใช้การหยิบอนาคต มาท�ำในปัจจุบัน นั่นก็คือ หากต้องการได้ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ จะต้องออกแบบในอนาคต ให้ ชั ด เจนเห็ น ภาพชั ด แล้ ว มาลงมื อ ท� ำ ปัจจุบัน เขาใช้แนวคิดการสร้างบ้านต้อง ออกแบบแปลนบ้ า นในอนาคตแล้ ว มา สร้ า งในปั จ จุ บั น เฉกเช่ น เดี ย วกั บ ธุ ร กิ จ ก็ ต ้ อ งออกแบบแปลนในอนาคตภายใน เวลา ๑ ปี ๒ ปี หรือ ๕ ปีจะมีหน้าตา เป็ น อย่ า งไร? ก็ ม าลงมื อ ท� ำ ในปั จ จุ บั น อาจมี ก ารแก้ ไ ขปรั บ เปลี่ ย นบ้ า งขึ้ น อยู ่ กับการออกแบบ นั้นลงรายละเอียดมาก น้อยอย่างไร? โดยใช้ลูกค้าและสถิติบนค่า

หน้า ๗

เฉลี่ ย ที่ ถู ก ต้ อ งเป็ น ฐานข้ อ มู ล ที่ ส� ำ คั ญ มาก ซึ่งถ้ามีข้อมูลเชิงลึกเป็นจริงได้มาก เท่ า ไรก็ จ ะช่ ว ยให้ ก ารตั ด สิ น ใจมี ค วาม แม่นย�ำมากขึ้น ๕. เขารู้ว่าไม่มีพรสวรรค์ ไม่มีการ ผลัดวันประกันพรุ่ง คิดแล้วท�ำ ท�ำวันนี้ให้ มากที่สุด และนั่นก็คือเขาต้องท�ำงานหนัก อดทน ไม่รู้สึกเหนื่อยและท้อ เพราะเขา รู้ว่าจากการท�ำงานท�ำให้ได้เรียนรู้พัฒนา ทักษะความช�ำนาญเพิ่มขึ้นนั่นเอง “การ เป็นมืออาชีพย่อมมาจากการท�ำซ�้ำๆๆ จน มากพอ” เขาเข้าใจกฎข้อนี้ได้ดีทีเดียว ๖. มีทักษะการเลือกที่ชัดเจน รู้จัก แยกแยะเรื่องส�ำคัญและไม่ส�ำคัญใช้เวลา กับการท�ำงานส�ำคัญ Focus ที่เป้าหมาย มุ่งมั่น ยืนหยัดจนส�ำเร็จ เขารู้ว่าทุกอาชีพ มี ป ั ญ หาเป็ น เนื้ อ งาน ไม่ จ� ำ เป็ น ที่ จ ะแก้ ทุ ก เรื่ อ งและไม่ จ� ำ เป็ น ที่ ต ้ อ งไปกั ง วลกั บ มั น มากเกิ น ไป ในระหว่ า งทางมี ป ั ญ หาอุปสรรค = ใกล้ความส�ำเร็จ หนีปัญหา กลัวอุปสรรค = ยิ่งไกลความส�ำเร็จ ๗. ตลอดเส้นทางของการท�ำธุรกิจ เขาได้ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า ให้ กั บ ตั ว เองและผู ้ อื่ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ลู ก ค้ า พนั ก งาน คนใน ครอบครัว เพื่อนฝูง สังคม เขามีความสุข ในการแบ่งปันให้กับผู้คน เพราะเขาซึมซับ บทเรียนจากการที่เขาได้รับการแบ่งปัน จากผู้อื่นเช่นกัน มีค�ำกล่าวหนึ่งที่บอกว่า “เมื่อคุณมี ทัศนคติที่ถูกต้อง มีความเข้าใจในธุรกิจที่ คุณท�ำ บวกความคิดที่ชัดเจน คุณก็จะเป็น ผู้ประกอบการที่ประสบความส�ำเร็จได้” “คนส� ำ เร็ จ เขาจะท� ำ งานอย่ า งมี ความสุขทุกๆ วัน ในอาชีพที่เขาเลือก แล้ ว เพื่ อ สร้ า งชี วิ ต ของเขาและครอบครัว” ไพโรจน์ เพชรคง ๑๘ ก.พ. ๕๘


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

รองเสนาธิ ก าร มทบ.๔๑ และพระเทพวิ น ยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ร่วมแถลงข่าว การจัดงาน ‘มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร’ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ นายพินิจ บุญเลิศ กล่าวว่า จังหวัดนครฯ ร่วมกับ คณะสงฆ์จังหวัดนครฯ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม ชมรม มูลนิธิต่าง ๆ ได้ร่วมกันจัดงาน ‘มาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุ นานนาชาติที่เมืองนคร’ ระหว่างวันที่ ๑-๔ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และสวน ศรีธรรมาโศกราช เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา เพื่ออนุรักษ์ ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวของประเทศไทย ที่ ปฏิบัติสืบทอดต่อเนื่องกันมายาวนานเกือบ ๘๐๐ ปี ส่ง เสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดนครฯ และการสนับสนุนวัด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร (พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) เป็ น มรดกโลกด้ ว ย ปี นี้ ถื อ ว่ า ยิ่ ง ใหญ่ ก ว่ า ทุ ก ปี ที่ โดย จั ง หวั ด นครฯ จั ด ให้ มี พิ ธี ส มโภชและจั ด ริ้ ว ขบวนแห่ เกียรติยศผ้าพระบฏพระราชทาน ๕ ผืน ประกอบด้วย ผ้า พระบฏพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรม โอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร สมเด็ จ พระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี และ ผ้ า พระบฏ พระราชทานของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี เพื่อน�ำขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุ เจดีย์ถวายเป็นพุทธบูชา และผ้าพระบฏของหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ซึ่งปีนี้เป็น

ปีแรกที่มีผ้าพระบฏผืนยาวที่สุดถึง ๒,๕๕๙ เมตร เข้าร่วม ในริ้วขบวนแห่ด้วย ส�ำหรับกิจกรรมในงานระหว่างวันที่ ๑ - ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ สวนสวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช มีการ สาธิ ต การผลิ ต จั ด แสดงผ้ า พระบฏ ๔ ภาค ตลาดนั ด โบราณ ขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ชุมชน และนิทรรศการเรื่อง ต้นธารสยาม-ลังกาวงศ์ วันที่ ๑ มีนาคม จัดพิธีเปิดงานอย่างเป็นทางการ เวลา ๑๘.๐๐ น. โดยมีนายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครฯ เป็นประธานเปิดงาน พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม ของวิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ปนครศรี ธ รรมราช และเทศบาล นครนครศรีธรรมราช และการแสดงหนังตะลุง ณ สวน

สาธารณะศรี ธ รรมาโศกราช วั น ที่ ๓ มี น าคม ๒๕๕๘ จัดริ้วขบวนแห่รับมอบผ้าพระบฏพระราชทานจากอ�ำเภอ ปากพนัง และพิธีสมโภชผ้าพระบฏ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช เริ่มเวลา ๑๖.๓๐ น. วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ ตรงกับ วั นขึ้น ๑๕ ค�่ ำ เดือน ๓ เป็นวันมาฆบูชา เวลา ๐๖.๓๐ น. จั ด พิ ธี ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรข้ า วสารอาหารแห้ ง แด่พระสงฆ์ ณ บริเวณหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหา ธาตุฯ เวลา ๑๖.๐๐ น. นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า เป็น ประธานลั่นฆ้องปล่อยริ้วขบวนแห่ผ้าพระบฏพระราชทาน พร้อมขบวนเกียรติยศ และริ้วขบวนผ้าพระบฏของหน่วย งานภาครัฐ ภาคเอกชน เคลื่อนตัวจากหน้าศาลาประดู่หก ถนนราชด�ำเนิน สนามหน้าเมือง ไปยังวัดพระมหาธาตุฯ ระยะทางกว่า ๑ กิโลเมตร โดยมีคณะสงฆ์ไทย พระสงฆ์ จากประเทศต่างๆ ข้าราชการ นักเรียน ศึกษา พ่อค้า ประชาชน กลุ่มพลังมวลชนทุกหมู่เหล่าร่วม เมื่อริ้วขบวน ถึงหน้าพระบรมธาตุเจดีย์ จะมีการแสดงร�ำบูชาพระบรม ธาตุเจดีย์ ประกอบพิธีทางศาสนา กล่าวถวายผ้าพระบฏ แล้วอัญเชิญผ้าพระบฏพระราชทานขึ้นห่มองค์พระบรม ธาตุเจดีย์ จากนั้นผู้เข้าร่วมพิธีร่วมกันประกอบพิธีเวียน เทียนเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาต่อไป นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมประกวดสวดมนต์อาราธนา ในศาสนพิธี การประกวดร้องเพลงส่งเสริมคุณธรรม การ ประกวดภาพวาดระบายสี ‘แห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ ที่ ฉั น รู ้ จั ก ’ และกิจกรรมการถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับ การแห่ผ้าขึ้นธาตุ หัวข้อ ‘บุญน�ำพาฉันแห่ผ้าขึ้นธาตุ’ เป็ น ต้ น กิ จ กรรมปี นี้ สมาคมชาวนครศรี ธ รรมราช กรุงเทพมหานคร ร่วมกับ สมาคมสโมสรวัฒนธรรมหญิง ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สมาคมชาวปักษ์ใต้ ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ สมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย รามค� ำ แหง และชมรมศิษย์เก่าโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครฯ ได้จัด ขบวนแรลลี่จากกรุงเทพมหานครมาถวายผ้าพระบฏ และ เคลื่อนริ้วขบวนรถผ้าพระบฏไปรอบตัวเมืองถึงวัดพระมหาธาตุฯ ประกอบพิธีถวายผ้าพระบฏที่ลานโพธิ์ และพิธี ทอดผ้าป่าสามัคคีที่วิหารพระด้าน เพื่อร่วมสนับสนุนการ น�ำเสนอพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชสู่มรดกโลกด้วย ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชนเข้ า ร่ ว มงานประเพณี ‘มาฆบู ช าแห่ ผ ้ า นานาชาตื ที่ เ มื อ งนคร’ และร่ ว มลด อบายมุขในช่วงดังกล่าวโดยพร้อมเพรียงกัน


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

รายงาน และสหกรณ์ เดินทางมารับฟังความคิดเห็นและชี้แจง นโยบายในการแก้ ไ ขปั ญ หาราคายางพาราตกต�่ ำ ที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จั ด เวที ค รั้ ง ที่ ๑ มี นายสมาน แสงสอาด รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์การเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช แกน น�ำเครือข่ายยางพาราภาคใต้ และตัวแทนชาวสวนยาง ภาคใต้เข้าร่วมประมาณ ๕๐๐ คน

นายอ�ำนวย ปะติเส กล่าวว่า รัฐบาลตั้งใจที่จะเร่ง ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาราคายางตกต�่ำและการแก้ไข ปั ญ หายางทั้ ง ระบบ เบื้ อ งต้ น รั ฐ บาลได้ ใ ช้ ม าตรการ แก้ไขปัญหายางพารา ๑๖ มาตรการ ระยะเร่งด่วนโดย อนุมัติงบประมาณ ๖,๐๐๐ ล้านบาท เพื่อใช้ในโครงการ สร้ า งมู ล ภั ณ ฑ์ กั น ชนเพื่ อ รั ก ษาเสถี ย รภาพราคายาง ใช้ซื้อยางแผ่นดิบและยางแผ่นรมควันไม่อัดก้อน ยาง แผ่ น รมควั น อั ด ก้ อ น และยางแท่ ง STR ๒๐ จาก เกษตรกรทั่วประเทศ เพื่อทยอยส่งมอบให้กับรัฐบาล จีนตามข้อตกลง โดยนายกรัฐมนตรีติดตามงานอย่าง

ต่อเนื่อง แต่บางโครงการล่าช้ากว่าแผนที่ตั้งไว้ เนื่อง จากติ ด ขั ด ข้ อ ระเบี ย บ เวที ค รั้ ง นี้ จึ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ การชี้ แ จงท� ำ ความเข้ า ใจกั บ เกษตรกรและรั บ ฟั ง ความ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ อันจะน�ำไปสู่การปรับปรุงแนวทาง เพื่อเป็นการสร้างเสถียรภาพราคายางพาราอย่างยั่งยืน และสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรชาวสวน ตลอดจนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยาง นายอ� ำ นวย ปะติ เ ส กล่ า วว่ า คณะท� ำ งานที่ ตั้ ง ขึ้ น สามารถซื้ อ ยางพาราได้ แ ล้ ว ๑๑๐,๐๐๐ ตั น จาก ยางพาราในประเทศทั้งหมดประมาณ ๔.๒ ล้านตัน จาก การประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) ครั้งล่าสุด ได้เห็นชอบให้มีการพัฒนาระบบตลาดกลาง ยางจากที่ก�ำหนดไว้ ๓ ปี แต่ให้มาท�ำในปี ๒๕๕๘ การ ปรั บ ระบบต้ อ งรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากชาวสวนยางที่ เป็นเจ้าของตลาด เป็นผู้ใช้ตลาด และเป็นผู้ที่ได้รับผล ประโยชน์ ส� ำ หรั บ ยางพาราที่ รั บ ซื้ อ ไปก็ จ� ำ หน่ า ยไปต่ า งประเทศแล้ว ราคาอยู่ที่ระดับ ๖๐ บาทเศษๆ ต่อกิโลกรัม ซึ่งไม่ขาดทุน

เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ นาย สมาน แสงสะอาด รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เป็นประธานในพิธีกิจกรรมวัน รณรงค์ ป ลอดควั น พิ ษ จากไฟป่ า ประจ� ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่โรงเรียนวัดควนยาว ต�ำบลเคร็ง อ�ำเภอ ชะอวด จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี ป ระชาชน นักเรียน หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรเอกชนต่างๆ เข้าร่วมรณรงค์ให้ ประชาชนงดการจุ ด ไฟเผาป่ า ลดหมอกควั น ใน ท้ อ งที่ จั ง หวั ด นครฯและจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง สร้ า ง ความตระหนักถึงอันตรายและผลกระทบจากไฟ ป่าและควันพิษจากไฟป่า และเกิดความส�ำนึกร่วม ในการคุ้มครอง ดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๒๒ สิ ง หาคม ๒๕๔๓ ก�ำหนดให้วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันรณรงค์ให้ปลอดควันพิษจากไฟป่า ส�ำนัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๕ นครศรีธรรมราช ร่วมกับ หน่วยงานต่างๆ จึงจัดกิจกรรมโดยเลือกพื้นที่พรุ ควนเคร็งที่เกิดไฟป่าไหม้แทบทุกฤดูแล้ง

<< ต่อจากหน้า ๑๐ ต รั ก ก ม

า ธิ

ของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วธรรมชาติ , การ รบกวนธรรมชาติ อั น เกิ ด จากการไม่ จ�ำกัดจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้าเยี่ยมชม หรือเกิดการพัฒนาและใช้ประโยชน์จาก ที่ดินในแนวทางที่ไม่เหมาะสม ตัวอย่างผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมและสังคม กรณีนักท่องเที่ยวต่าง ชาติ ที่ ส ร้ า งความปวดร้ า วให้ กั บ ชาว เชียงใหม่ เชียงราย ที่ปรากฎเป็นข่าว ทางหน้าหนังสือพิมพ์ติดๆ กัน ๒-๓ กรณี ในช่วง ๑-๒ เดือนที่ผ่านมา คือเรื่องนัก ท่ อ งเที่ ย วสร้ า งความอุ จ าดตาและบ่ ง บอกถึงความไร้มารยาท โดยตากเสื้อผ้า และชุดชั้นในภายในสนามบินเชียงใหม่ เรื่ อ งความไม่ มี วั ฒ นธรรมในการใช้ ห้ อ งน�้ ำ ห้ อ งส้ ว มที่ วั ด ร่ อ งขุ ่ น จั ง หวั ด เชี ย งราย และกรณี ล ่ า สุ ด คื อ นั ก ท่ อ งเที่ยวใช้เท้าถีบระฆังในบริเวณวัดพระธาตุดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถ้า

เรื่ อ งแบบนี้ ม าเกิ ด ขึ้ น ในเมื อ งนครบ้ า น เรา ชาวนครจะท�ำใจยอมรับได้มากน้อย แค่ ไ หน หรื อ เราจะต่ อ ต้ า นเอาเรื่ อ งกั น อย่างแตกหักถึงที่สุด ซึ่งก็คงจะกลายเป็น ประเด็นที่ตอกลิ่มความแตกแยกเข้ามาใน สั ง คมเมื อ งนครอย่ า งยากที่ จ ะหลี ก เลี่ ย ง ฝ่ายหนึ่งก็จะหยิบยกเอาความเหมาะสม ความศรัทธามาเป็นเหตุผลยืนยัน ในขณะ ที่อีกฝ่ายก็จะอ้างเอารายได้ทางเศรษฐกิจ เข้ า มาเป็ น ข้ อ ถกเถี ย งยื น กราน ผมเชื่ อ ว่าเรื่องราวแบบนี้หรือเรื่องราวในรูปแบบ อื่น ๆ มี สิ ทธิ์ ที่ จะเกิ ดขึ้ นไม่ ช้า ก็เ ร็ว ถ้ ามี นักท่องเที่ยวจ�ำนวนมากและหลากหลาย เชื้อชาติเข้ามาท่องเที่ยวในบ้านเรา โดย ปราศจากการก� ำ หนดแนวทางหรื อ กฎ กติกาที่เหมาะสมชัดเจน ผมมีโอกาสได้เดินทางไปท่องเที่ยว และศึกษาดูงาน ในเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อ เสียงระดับโลกหลายแห่ง ทั้งในอาเซียน ใกล้ๆ บ้านเรา จนถึงยุโรปและอเมริกา ซึ่ง บางเมืองมีชื่อเสียงมานานนับหลายสิบปี

และยังคงความมีชื่อเสียงควบคู่กับความ สมบูรณ์ของแหล่งท่องเที่ยว พบว่าปัจจัย หลั ก ที่ ท� ำ ให้ เ มื อ งเหล่ า นั้ น ยั ง คงความ เป็นเมืองท่องเที่ยวแบบยั่งยืนอยู่ได้ นอก เหนือจากการมีแผนและนโยบายทางการ ท่องเที่ยวที่ชัดเจน จริงจัง ใช้ได้จริงแล้ว สาเหตุหลักที่ส�ำคัญที่สุดอีกประการก็คือ ความเข้มงวดจริงจังในการบังคับใช้กฎหมายจากภาครัฐ ซึ่งควบคุมและคลอบ คลุมทั้งในส่วนของผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และประชาชน ในท้องถิ่นอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ผมพยายามใช้ค�ำว่าธุรกิจการท่องเที่ยวมาโดยตลอด เพราะการท่องเที่ยว เป็นธุรกิจครับ เพราะฉะนั้นเมื่อเราคิดจะ ท�ำเมืองท่องเที่ยว เราจึงจ�ำเป็นที่จะต้อง ค�ำนึงว่า เรามีต้นทุน (ที่บรรพบุรุษสร้างไว้ หรือธรรมชาติสร้างสรรค์ไว้อย่างมหาศาล) เรามีการลงทุน (ทั้งจากเงินงบประมาณ เงิ น ภาษี อ ากร และเงิ น ลงทุ น จากภาค เอกชน) เพราะฉะนั้นธุรกิจท่องเที่ยวจึงมี

การได้ก�ำไร มีความเจริญรุ่งเรือง หรือมี การขาดทุน เกิดความเสียหาย ทั้งในแง่ ของเงินตรา คุณค่า และสิ่งแวดล้อม จึง ควรจะต้องมีผู้รับผิดชอบในผลที่จะเกิด ขึ้ น ในอนาคต ดั ง นั้ น ก่ อ นที่ เ ราจะก้ า ว เดินต่อไปบนถนนสายธุรกิจท่องเที่ยว ผมเชื่อว่าทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนถึงคน นครในฐานะเจ้าของบ้าน ล้วนแล้วแต่ เป็นผู้มีส่วนได้เสีย จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องตระหนักถึงผลกระทบทั้งด้านดี และด้านเสียจากการลงทุนครั้งนี้ วั น นี้ ผ มอยากเห็ น ผู ้ จั ด การใหญ่ หรื อ คณะกรรมการการท่ อ งเที่ ย วเมื อ ง นคร ที่เปรียบเสมือนเจ้าภาพหลักในการ บริหารจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเมืองนคร ระดมผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียมา ร่วมคิดร่วมประชุม ว่าเราจะเริ่มก้าวเดิน ต่อไป ในแนวทางไหน มีเป้าหมายเป็น อย่างไร ก่อนที่เราจะก้าวเข้าไปสู่กับดัก การท�ำร้ายเมืองโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยมีเหตุผลทางเศรษฐกิจและเงินตรา เป็นเหยื่อล่อ.


หน้า ๑๐

นครศรีธรรมราช

ต รั ก ก ม

า ธิ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

บับที่แล้วผมเกริ่นน�ำเรื่องธุรกิจการ ท่องเที่ยวของเมืองนครตั้งแต่ยุคอดีต จนถึงปัจจุบัน แบบคร่าวๆ พอให้ได้เห็น ภาพรางๆ กั น ครั บ ฉบั บ นี้ ค งจะมาชวน ท่านผู้อ่านคิดต่อจากปัจจุบันถึงอนาคต ข้ า งหน้ า ถ้ า เราจะเดิ น หน้ า เรื่ อ งธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วกั น จริ ง ๆ ว่ า เราจะไปกั น แบบ ไหน-อย่างไร เพื่อที่จะให้เมืองของเราเป็น เมืองท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism) สามารถสื บ ทอดมรดกของ เมืองให้ตกทอดไปยังลูกหลานในอนาคต อย่างสมบูรณ์ที่สุด มิใช่เพียงแค่ตักตวงผล ประโยชน์เฉพาะหน้าของคนรุ่นเรา โดย ไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบทั้งด้านบวกและด้าน ลบที่ จ ะตามติ ด มาเป็ น เงาตามตั ว สร้ า ง ตราบาปหรือรอยด่างให้กับบ้านเมืองใน ระยะยาวจนยากเกินที่จะแก้ไขเยียวยา เรื่องของทิศทาง หรือแนวทางของ ธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วเมื อ งนครในอนาคต ควรจะเป็นแบบไหน อย่างไร ผมไม่กล้าและ ไม่มีปัญญาพอที่จะน�ำเสนอแบบรวบรัด เบ็ดเสร็จ เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและ มี ผ ลกระทบกั บ ผู ้ ค นในท้ อ งถิ่ น และ หน่ ว ยงาน ทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชนในวง กว้าง ผมเพียงแต่อยากกระตุ้นเตือนท่าน ผู้อ่านในฐานะเจ้าของบ้าน ให้ใช้โอกาส อันดีที่เรายังไม่ได้มีโอกาสเป็นเมืองท่อง-

เที่ยวหลักอย่างจริงจังเสียที มาย้อนมอง ไปยังเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของเมือง ไทยหลายๆ แห่ง ซึ่งล้วนแล้วแต่ประสบ ชะตากรรมคล้ายๆ กัน จากมลภาวะด้าน ต่างๆ ซึ่งกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และประเพณีวัฒนธรรม ให้กับคนท้องถิ่น เป็นการลงทุนที่เรียกว่า ได้ไม่เท่าเสีย จนยากที่จะหาวิธีรับมือหรือ หางบประมาณจ�ำนวนมหาศาลมาฟื้นฟูสิ่ง แวดล้อมด้านต่างๆ ให้กลับมาสมบูรณ์ดัง เดิม วงจรชี วิ ต ของธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย ว คือ การเกิด การเติบโต และการเสื่อมโทรม ค่อนข้างสั้น เนื่องจากขาดระบบ การควบคุมที่ดี เมื่อถึงเวลาเติบโตหรือ กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงขึ้น มา นักลงทุนจากต่างถิ่น (ส่วนใหญ่) ก็จะ เข้ า มาลงทุ น ตั ก ตวงผลประโยชน์ แ บบ มือใครยาวสาวได้สาวเอา โดยไม่สนใจ ในมิ ติ อื่ น ๆ นอกเหนื อ จากผลก� ำ ไรจาก การลงทุนเพียงด้านเดียว แล้วเราในฐานะ คนเกิดที่นี่ โตที่นี่ และหวังว่าจะใช้ชีวิตใน

บั้ น ปลายอย่ า งมี ค วามสุ ข จะคิ ด อ่ า นกั น อย่างไร เรามีสิทธิ์ที่จะควบคุมวงจรชีวิต ของธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วได้ ม ากน้ อ ยแค่ ไหน-อย่างไรหรือไม่ หรือยินยอมเป็นเพียง ผู้ถูกกระท�ำเพียงฝ่ายเดียว อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เปรียบเสมือน ดาบสองคม ไม่ต่างจากอุตสาหกรรมหรือ ธุรกิจอื่นๆ ย่อมมีผลกระทบทั้งด้านดีและ ด้านเสีย ซึ่งมีผู้ศึกษาวิจัยและน�ำเสนอไว้ อย่างมากมาย ผมพยายามคัดสรุปมาพอ สังเขป ดังนี้ครับ (อ้างอิงจากเอกสารค�ำสอน วิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ม. ธุรกิจบัณฑิตย์) ๑. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ถึงแม้ ว่ า จะมี เ งิ น ตราจากภายนอกไหลเข้ า มา สร้างรายได้เป็นกอบเป็นก�ำ แต่เราก็ต้องไม่ ลืมเรื่องค่าครองชีพที่จะสูงขึ้น ที่ดินราคา แพงขึ้น กลายเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจให้ กับคนท้องถิ่นหรือผู้คนที่ไม่ได้มีส่วนได้ส่วน เสียกับธุรกิจท่องเที่ยวทั้งโดยตรงหรือโดย อ้อม

มมี โ อกาสได้ ไ ปเที่ ย วที่ ป ระเทศ ศรีลังกาครั้งหนึ่ง ได้ไปพร้อมกับคณะ ของเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ในยุค ของท่านนายกสมนึก เกตุชาติ ในคณะ ยั ง มี ค รู บ าอาจารย์ ที่ เ ป็ น นั ก วิ ช าการที่ ปรึกษาของเทศบาลอยู่ด้วย อันประกอบ ด้วย อ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อ.สมพุทธ ธุระเจน อ.สืบพงศ์ ธรรมชาติ อ.บัณฑิตย์ สุ ท ธมุ สิ ก เพื่ อ ไปเตรี ย มงานแห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ไปเพื่อดูเมือง ต้นทางพระพุทธศาสนาของเมืองนคร ณ ประเทศศรีลังกา เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วในเมืองนคร ที่ว่า พุทธศาสนาของเราเฟื่องฟูที่สุดในยุค ของพระศรีธรรมาโศกราชเจ้า พระองค์ ทรงสร้างเจดีย์ยอดทองสูงเสียดฟ้า โดย มี พ ระสงฆ์ จ ากประเทศศรี ลั ง กามาเป็ น

แม่ ง านใหญ่ ท� ำ แบบอย่ า งเจดี ย ์ ‘กิ ริ วิจาร’ ของเมือง ‘โปโลนนารุวะ’ มา เป็นต้นแบบ รวมทั้งแบบอย่างประเพณี วั ฒ นธรรมเชิ ง พุ ท ธ ซึ่ ง ชาวนครก็ ไ ด้ สืบทอดมาจนถึงยุคปัจจุบัน ประเทศศรี ลั ง กา มี เ มื อ งหลวง แห่ ง แรกชื่ อ ‘อนุ ร าชปุ ร ะ’ เป็ น ต้ น ก� ำ เนิ ด ของพุ ท ธศาสนาลั ง กา องค์ ก าร ยู เ นสโกได้ รั บ รองให้ เ ป็ น เมื อ งมรดกโลก ด้านวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๕ อนุราชปุ ร ะเป็ น เมื อ งหลวงศรี ลั ง กาอยู ่ น านถึ ง ๑,๕๐๐ ปี มี ก ษั ต ริ ย ์ ป กครองมากมาย หลายพระองค์ ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา

จนรุ่งเรืองเฟื่องฟู ปราสาทราชวังก็สร้างได้ ยิ่งใหญ่ระดับโลกทีเดียว ในเมืองอนุราชปุ ร ะยั ง มี เ จดี ย ์ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ในศรี ลั ง การู ป ทรงอย่ า งอย่ า งเดี ย วกั บ ที่ โ ปโลนนารุ ว ะ แต่ขนาดย่อมกว่า ชื่อเจดีย์ ‘ถูปาราม’ มี ต้น ‘ศรีมหาโพธิ์’ ที่มีอายุยืนยาวที่สุดใน โลก อายุ ๒,๓๐๐ กว่าปี ได้รับการรับรอง

๒. ผลกระทบด้านสังคม ถึงแม้ว่า คนในท้องถิ่นจะได้รับความสะดวกสบาย มากขึ้ น จากระบบสาธารณู ป โภคและ สาธารณู ป การในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วหรื อ บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง อาจจะมี ก ารจ้ า งงาน มากขึ้น คุณภาพชีวิตของผู้คนดีขึ้น แต่ก็ ต้องค�ำนึงถึงปัญหาทางสังคมที่จะตามมา เช่น ปัญหาอาชญากรรม การขูดรีดเอา รัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยว หรือแม้กระทั่ง ปัญหาโสเภณี ยาเสพติด รวมไปถึงการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของครอบครัว ๓. ผลกระทบด้านวัฒนธรรม อาจ จะมีการฟื้นฟูอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม ต่างๆ ขึ้นมา ด้วยเหตุผลของการส่งเสริม การท่องเที่ยว แต่ผลกระทบด้านลบที่เกิด ขึ้นตามมาคือ สิ่งที่รื้อฟื้นขึ้นมาบางอย่าง ท�ำแบบฉาบฉวย เพียงเพื่อให้เป็นสินค้า สนองความต้องการของนักท่องเที่ยว ๔. ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ใน ด้านบวก อาจมีการปรับปรุงและพัฒนา สภาพภู มิ ทั ศ น์ แ ละกายภาพให้ ดี ขึ้ น , มี การลงทุนจากภาครัฐในด้านสาธารณูปโภคเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ, เกิด การพั ฒ นาพื้ น ที่ ธ รรมชาติ ใ ห้ เ ป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยว เพื่อประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า, การปรับปรุง แก้ไขมาตรการ ระเบียบตลอดจนกฎหมาย ต่างๆ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในระยะยาว แต่ผลกระทบด้านลบที่เกิด ขึ้ น เช่ น พื้ น ที่ ธ รรมชาติ บ างส่ ว นถู ก ท� ำ ลายเพื่อการสร้างที่พักในแหล่งธรรมชาติ, กิจกรรมนันทนาการบางประเภทมีผลต่อ ธรรมชาติ อาทิ การตั้งแคมป์ไฟ การตัด ต้นไม้, การสร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาจส่งผลต่อภูมิทัศน์ (อ่านต่อหน้า ๙) จากกิ น เนสส์ บุ ๊ ค ด้ ว ย ต้ น ศรี ม หาโพธิ์ นี้ เป็นกิ่งที่พระราชธิดาของพระเจ้าอโศก มหาราชน�ำมาจากต้นศรีมหาโพธิ์ที่พุทธ คยาของประเทศอินเดีย แล้วน�ำมาถวาย ให้กับกษัตริย์ของศรีลังกา โพธิ์ลังกาที่ บรมธาตุเราก็น�ำหน่อมาจากศรีลังกาอีก ต่อหนึ่ง ยังคงมีชีวิตอยู่ การดู แ ลต้ น ศรี ม หาโพธิ์ ข อง เขา ได้ใช้เสาค�้ำยันป้องกันการหักโค่น โดยรอบถึง ๔๕ ต้น เสาทุกต้นล้วนหุ้ม ด้ ว ยทองค� ำ แล้ ว ล้ อ มด้ ว ยรั้ ว ที่ ท� ำ ด้ ว ย ทองค� ำ อี ก ๓๔๕ ต้ น เยี่ ย มไหมล่ ะ ! ต้ น ศรี ม หาโพธิ์ จ ากลั ง กาของเราก็ มี อ ยู ่ ช่วยๆ กันดูแลหน่อย อีกทั้งต้นไม้ส�ำคัญ ที่ ร าชวงศ์ อ งค์ ต ่ า งๆ มาปลู ก เอาไว้ อี ก มากมาย ช่วยๆ กันบ�ำรุงบูรณะให้เปล่ง ประกาย ต้อนรับการเป็นมรดกโลกอีก ไม่นาน


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

‘วิ

หารพระทรงม้ า ’ ถื อ เป็ น วิ ห าร ส� ำ คั ญ ล� ำ ดั บ ต้ น ๆ ของวั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เพราะเป็ น ศู น ย์ รวมประติมากรรมปูนปั้นว่าด้วยจตุคาม รามเทพขนานแท้และดั้งเดิม และประติมากรรมว่ า ด้ ว ยเทวดาผู ้ รั ก ษาโลกและ จักรวาลที่มีรายละเอียดพิสดารยิ่ง รวม ทั้ ง เป็ น บั น ไดทางขึ้ น ลานประทั ก ษิ ณ รอบองค์พระมหาธาตุเจดีย์ เหนืออื่นใด ยั ง มี ป ระติ ม ากรรมปู น ปั ้ น ว่ า ด้ ว ยพุ ท ธ ประวัติตอนที่เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออก บรรพชาโดยม้าพาหนะชื่อ ‘กัณฐกะ’ ที่ จัดสร้างขึ้นอย่างประณีตบรรจง จนอาจ กล่าวได้ว่าเป็นฝีมือช่างที่สวยงามที่สุด ในภาคใต้ ด้วยเหตุนี้เองวิหารนี้จึงมีชื่อ เรียกเป็นทางการอีกชื่อว่า ‘วิหารพระ มหาภิเนษกรมณ์’ (แต่คนทั่วไปมักเรียก) ‘วิหารพระม้าฯ’ วิหารพระทรงม้าอยู่ติดกับพระบรม ธาตุเจดีย์ทางด้านทิศเหนือ เป็นวิหารที่ มีหลังคาเดียวกับวิหารเขียน โดยมีผนัง กั้นอยู่ จึงแยกพื้นที่ออกเป็นสองส่วน คือ เป็นวิหารพระม้าส่วนหนึ่ง และเป็นวิหาร เขียนอีกส่วนหนึ่ง แต่เดิมมาวิหารทั้งสอง มีพระตูวงโค้งสามารถเดินทะลุถึงกัน ต่อ มาได้ใช้วิหารเขียนเป็นพิพิธภัณฑ์จึงก่อ อิ ฐ เป็ น ผนั ง ทึ บ มากั้ น ไว้ ผนั ง นี้ มี ข นาด กว้าง ๕ วา ๑๐ นิ้ว สูง ๑๕ วา ๓ ศอก ๘ นิ้ว จากการศึกษาโครงสร้างของวิหาร โดย ดร.เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ แห่ ง คณะ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรเมื่ อ พ.ศ.๒๕๕๕ พบว่ า สร้ า ง เชื่ อ มกั บ บั น ไดเพื่ อ กั น แดดกั น ฝน ทั้ ง นี้ สังเกตได้จากร่องรอยของฐานยกเก็จของ องค์พระบรมธาตุเจดีย์ ที่กลายเป็นผนัง ด้านหลังของวิหารพระทรงม้าในปัจจุบัน นี้ สันนิษฐานว่าวิหารหลังนี้น่าจะสร้าง ในราว พ.ศ.๒๐๙๐ - ๒๑๗๑ (ตรงกับสมัย อยุธยาตอนกลาง) ประติ ม ากรรมปู น ปั ้ น ที่ ถื อ เป็ น จุ ด เด่นของวิหารพระทรงม้า ก็คือประติมากรรมว่าด้วย ‘มหาภิเนษกรมณ์’ เป็นภาพ เจ้ า ชายสิ ท ธั ต ถะก� ำ ลั ง ทรงม้ า กั ณ ฐกะ แวดล้อมด้วยหมู่เทวดาและท้าวจตุโลกบาลที่ก�ำลังรองรับเท้าม้าอยู่ เบื้องหน้า ของม้าเป็นรูปท้าววัสวดีมาร ก�ำลังชูมือ ไปข้างหน้า ประหนึ่งห้ามมิให้เจ้าชายสิทธัตถะออกบรรพชา ตรงข้ามให้กลับเข้าไป

ในปราสาทราชวังเพื่อจะได้ครองแผ่นดิน และโลกียวิสัยต่อไป ภาพประติมากรรม นี้ติดอยู่ที่ผนังบันไดขึ้นสู่ลานประทักษิณ ทั้งสองด้าน เป็นภาพแบบเดียวกันอยู่บน ผนังทั้งสองข้างของบันไดทางขึ้น เพียงแต่ จัดองค์ประกอบกลับด้านกัน (ทั้งนี้เพื่อให้ ภาพของม้ากัณฐกะหันหัวไปทางทิศเหนือ เหมือนกันนั่นเอง) มีเรื่องเล่าเป็นต�ำนานว่า วิหารพระ ม้ า นี้ ผู ้ ส ร้ า งเป็ น เศรษฐี ช าวลั ง กาสองคน ชื่อ ‘พลิติ’ กับ ‘พลิมุ่ย’ เศรษฐีทั้งสอง ได้รับพระบัญชาจากพระเจ้ากรุงลังกาให้ ไปช่วยสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ที่เมืองนคร แต่ทั้งสองมาถึงช้าไปพระบรมธาตุเจดีย์ สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ด้วยแรงศรัทธา เศรษฐีทั้งสองจึงด�ำเนินการก่อสร้างวิหาร พระม้าแทน ระหว่างก่อสร้างบุตรชายของ

เศรษฐี ชื่ อ มดและหมู ไ ด้ ท ะเลาะกั น เรื่ อ ง แข่งชนไก่จนฆ่ากันตายทั้งสองคน เศรษฐี เศร้าใจมาก จึงเอาอัฐิของบุตรมาต�ำเคล้า เข้ากับปูน และปั้นเป็นรูปพระสิทธัตถะ พระนางพิมพา พระราหุล นายฉันนะ ม้า กัญฐกะ เทวดาและมาร โดยเอาเหตุการณ์ ครั้งที่พระสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชามา สร้างเป็นภาพ ส่วนที่เหลือก็น�ำไปผสมปูน ปั้นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ พระสารีบุตร และพระโมคคั ล ลานะไว้ ที่ ผ นั ง ตรงข้ า ง บันได ที่ผนังทั้งสองข้างของบันได มีรูปปูน ปั้นเป็นภาพเทวดาและสัตว์ในเทพนิยาย ด้านซ้ายตอนบนเป็นพระพุทธบาทจ�ำลอง ด้านขวาเป็นพระหลักเมือง ที่ผนังตรงหัว บันไดมีรูปครุฑคู่หนึ่ง ที่เชิงบันไดมียักษ์ และหั ว นาคอย่ า งละคู ่ ส่ ว นปลายบั น ได

หน้า ๑๑

ก่อนขึ้นลานประทักษิณนั้นมีประตูไม้หนึ่ง ประตู ที่ บ านประตู ทั้ ง สองแกะสลั ก รู ป คล้ายทวารบาลลงบนไม้แผ่นใหญ่ (โดย ไม่ ไ ด้ ต ่ อ ไม้ ) ฝี มื อ การแกะสลั ก ประณี ต สวยงาม บานด้านซ้ายสลักเป็นรูปพระ พรหม บานด้านขวาเป็นรูปพระนารายณ์ ทั้งสองบานท�ำขึ้นใหม่แทนบานเดิมที่ถูก เพลิงไหม้เสียหาย สมเด็จพระยาด�ำรงราชานุภาพสันนิษฐานว่าบานประตูเดิมน่า จะแกะเป็นรูปพระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร ประติมากรรมอีกอย่างหนึ่งที่มีผู้คน ให้ความสนใจไม่แพ้ประติมากรรมรูปปั้น มหาภิเนษกรมณ์ ก็คือเทวดา ‘จตุคาม รามเทพ’ เป็นรูปปั้นลอยองค์ ประทับนั่ง อยู ่ ต รงบั น ไดทางขึ้ น ลานพระบรมธาตุ เจดีย์ (ตรงบันไดขั้นที่ ๑๗-๑๘) ลักษณะ เป็นเทวดาทรงเครื่องกษัตริย์ภูษาสีทอง (รูปแบบเครือ่ งทรงคล้ายทวารบาลทีป่ ระตู สลั ก ไม้ ที่ วั ด พระศรี ส รรเพชญ์ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งก�ำหนดอายุศิลปะ ราวพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๑) ประทั บ นั่ ง ใน ท่าชันเข่าสององค์ (ขวา-ซ้าย) มีข้อความ จารึ ก บนแผ่ น หิ น แกรนิ ต องค์ ห นึ่ ง ชื่ อ ‘ขัตตุคาม’ องค์หนึ่งชื่อ ‘รามเทพ’ ส่วน บานประตูเป็นประติมากรรมแกะสลักนูน สูงบนแผ่นไม้ เป็นรูปเทวดาถือเทพาวุธ ทั้งสี่กรประหนึ่งเป็น ‘ทวารบาล’ ผู้รู้บาง ท่านสันนิษฐานว่าเป็น ‘พระพรหม’ กับ ‘พระนารายณ์’ แต่ผู้รู้บางท่านก็สันนิษฐานว่ า น่ า จะเป็ น เทพ ‘พระสุ ม นเทพ’ กั บ ‘พระลั ก ขณาเทพ’ ซึ่ ง เป็ น เทวดา รั ก ษาพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ต ามคติ ช าว ศรีลังกาสมัยโบราณมากกว่า แต่ละวัน ประติ ม ากรรมทั้ ง สี่ มี ผู ้ ไ ปชมไปสั ก การะ และไปถ่ายภาพจ�ำนวนนับร้อยคน โดย เฉพาะในช่วง พ.ศ ๒๕๔๐ - ๒๕๕๒ ซึ่ง เป็นช่วงที่วัตถุมงคล ‘จตุคามรามเทพ’ ได้ รับความนิยมศรัทธาสูงที่สุดในประเทศ ส่วนประติมากรรมอื่นๆ ที่สร้างขึ้น ตามคติ ค วามเชื่ อ ท้ อ งถิ่ น และคติ ใ น ไตรภู มิ ก ถา ได้ แ ก่ ท้ า วธตรฐมหาราช (เป็นนาค ๗ เศียร) ท้าวเวฬุราช ท้าวเวส สุวรรณ (เป็นยักษ์ถือกระบอง) ท้าววิรุฬ ปักษ์ ท้าววิรุฬหก (เป็นครุฑ) นอกจากนี้ ยังมีสิงห์อันเป็นสัตว์ป่าหิมพานต์อีก ๓ คู่ (สิงห์ด�ำ สิงห์แดง และสิงห์ทอง) แต่ละตัว ยืนอยู่ที่ราวบันไดทางขึ้นลานประทักษิณ ในท่ า ทางอ้ า ปากแคบกว้ า งตามล� ำ ดั บ ความสูงของบันไดดูน่าคร้ามเกรงยิ่ง ทั้งหมดนี้คือเสน่ห์ความงามอันเกิด จากประติ ม ากรรมปู น ปั ้ น ที่ ช ่ า งท้ อ งถิ่ น น่าจะบรรจงสร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาที่มุ่ง ถวายเป็นพุทธบูชาเป็นส�ำคัญ


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

- จากประสบการณ์การท�ำงานของ ผมพบว่ า ปั จ จุ บั น มี เ ด็ ก จ� ำ นวนมากมา พบแพทย์ด้วยเรื่องเครียด ซึมเศร้า นอน ไม่หลับ ปวดศีรษะ ปวดท้องเรื้อรังแบบ ไม่ทราบสาเหตุ เด็กกลุ่มนี้มีความเครียด สะสม ถู ก กดดั น จากทางบ้ า นและทาง โรงเรี ย น ต้ อ งเรี ย นหนั ก เรี ย นพิ เ ศษทั้ ง สัปดาห์ กลับบ้านค�่ำทุกวัน จนไม่มีเวลาไป ท�ำกิจกรรมผ่อนคลายอื่นๆ และพักผ่อนไม่ เพียงพอ ซึ่งส่งผลต่อสมาธิ ความจ�ำ และ อารมณ์ของเด็ก ยิ่งท�ำให้เรียนแย่ลง - จริงอยู่ว่าการเรียนดีเป็นการกรุย ทางสู ่ ค วามส� ำ เร็ จ ในการประกอบอาชี พ ที่ดีและมั่นคง แต่ไม่ใช่ทั้งหมด เด็กแต่ละ คนมีความชอบและความถนัดที่แตกต่าง กัน และชีวิตของเด็กไม่ได้มีแต่การเรียน ยังมีอะไรอีกหลายๆ ด้านให้เด็กได้เรียน รู้ อย่าให้คุณค่าในการเรียนของเด็กอย่าง

นพ.ทฎะวัฏร์ พิลึกภควัต จิ ต แพทย์ เ ด็ ก และวั ย รุ ่ น

ระเด็นเรื่องการเรียนพิเศษ พ่อแม่ หลายท่านคงรู้สึกสับสน กังวลใจว่า ควรเรียน ไม่เรียนดี ควรเรียนอะไร เรียน ตอนไหน อย่างไร? ผมไม่ ไ ด้ มี ค� ำ ตอบตายตั ว แต่ จ ะ สะท้อนมุมมองบางอย่างให้อ่านกันดูครับ - เหตุ ผ ลหลั ก ในการให้ ลู ก เรี ย น พิเศษที่ผมได้ยินบ่อยๆ คือ กลัวลูกเรียน ไม่ทันเพื่อน เพราะที่โรงเรียนสอนไม่หมด? ในขณะที่แทบทุกคนเรียนกัน เป็นความ กดดั น ทั้ ง ลู ก และผู ้ ป กครอง อี ก อย่ า งที่ เรียนพิเศษครูมักจะสอนดี และมีเคล็ดลับ เทคนิคให้เข้าใจได้ง่าย ในขณะที่โรงเรียน ไม่ได้สอน? - หากจะแก้เรื่องนี้ เป็นเรื่องยาก คง ต้องปฏิรูปการศึกษากันทั้งประเทศเลยที เดียว - เหตุผลรองลงมา (ที่บางทีพ่อแม่ เองไม่รู้ตัว) คือ ให้ที่เรียนพิเศษช่วยเป็น พี่เลี้ยง ลดภาระให้พ่อแม่ได้เป็นอย่างดี และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์? ดีกว่ามา เล่นอยู่บ้านเฉยๆ - ควรค�ำนึงพัฒนาการตามอายุด้วย เช่น เด็กวัยอนุบาลเรียนรู้ผ่านการเล่นเป็น ส่วนใหญ่ เป็นวัยที่ควรพัฒนาต่อเนื่องใน ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ การเคลื่อนไหว การ ทรงตัว และความคล่องตัว ดังนั้น กิจกรรม วิชาการจริงจัง อาจไม่เหมาะกับเด็กวัยนี้ (แต่อาจมีเด็กบางคนชอบแนววิชาการตั้งแต่อนุบาล ก็ไม่ได้แปลว่าผิดปกติ) เด็กยัง มีช่วงความสนใจสั้นกับกิจกรรมวิชาการ อยากไปวิ่งเล่นมากกว่า การไปบังคับให้ ลูกเรียน จะเป็นการสร้างความเครียดให้

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

กับลูก ผลที่ได้อาจตรงกันข้ามคือ พัฒนาการอาจยิ่งถดถอย - หากต้ อ งการเรี ย นเพื่ อ เสริ ม จุ ด บกพร่องของลูก เช่น เรียนพิเศษในวิชา ที่ ลู ก เรี ย นอ่อ น หรื อ ลูก มีส มาธิ บกพร่อ ง หากต้องการให้ได้ประโยชน์จากการเรียน พิ เ ศษสู ง สุ ด ควรเรี ย นกลุ ่ ม เล็ ก หรื อ ตั ว ต่อตัว เพราะถ้าเรียนกลุ่มใหญ่ ก็ไม่ค่อย ต่างกับในห้องเรียนปกติ เด็กก็เรียนตาม ไม่ทันอยู่ดี เพราะครูไม่สามารถให้ความ สนใจพิเศษได้ หากลูกเป็น LD หรือภาวะ บกพร่องทางการเรียนรู้ ควรเรียนแบบตัว ต่อตัว เพื่อสอนได้แบบเฉพาะเจาะจง - เป้าหมายในการเรียนพิเศษ เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ให้ลูก ไม่ควรเรียนเพียง เพื่อตอบสนองความต้องการหรือลดความ กังวลให้พ่อแม่ - จ�ำนวนชั่วโมงที่เรียนที่มาก ไม่ ได้เป็นตัวบ่งบอกคุณภาพของการเรียน ประเทศไทยมี จ� ำ นวนชั่ ว โมงเรี ย นต่ อ ปีของเด็กอายุ ๑๑ ปี มากที่สุดในโลก

คือ ๑๒๐๐ ชั่วโมง (ข้อมูลจาก UNESCO เดียว จนหมดโอกาสในการเรียนรู้ทักษะ Institute of Statistics ปี ๒๐๐๐) (ใน ชีวติ อื่นๆ เข้าท�ำนอง..ความรู้ท่วมหัว เอา ขณะที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น อยู ่ อั น ดั บ ที่ ๓๐) ตัวไม่รอด.. แต่คุณภาพการศึกษาไทยกลับอยู่รั้งท้าย ขอบคุณภาพจาก : http://blogs.newcastle. อั น ดั บ ๘ ในกลุ ่ ม อาเซี ย น (ข้ อ มู ล จาก edu.au/blog/2013/05/31/degrees-of-learning-may-be-in-the-genes/ World economic forum ๒๐๑๓)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ทุ

กวันนี้ผมมีข้อสังเกตว่าลูกหลานชาว นครได้กลับมาสู่บ้านเกิดเพื่อท�ำมา หากินกันมากขึ้น ประเมินได้จากพ่อแม่ที่ พามาพบผมเพื่อปรึกษางานออกแบบท�ำ ธุ ร กิ จ หลายโครงการ คนสู ง อายุ ที่ ก� ำ ลั ง วางมือก็ยังต้องการให้ลูกหลานจับธุรกิจ ที่ ดู ทั น สมั ย ไม่ ว ่ า สิ น ค้ า บริ โ ภค เช่ น มี ร้ า นขายกาแฟสดจากอดี ต ที่ มี แ ต่ ก าแฟ ชงโบราณ ร้านค้าสะดวกซื้อที่มีรูปแบบ การจั ด สิ น ค้ า ที่ ทั น สมั ย อาคารพาณิ ช ย์ หรื อ บ้ า นพั ก สร้ า งขายมี รู ป แบบที่ เ รี ย ก ว่าสไตล์โมเดิร์น เป็นต้น ทั้งนี้ส่วนใหญ่ ก็ ข อให้ อ อกแบบงานสถาปั ต ยกรรมกั น แนวนี้ โดยส่วนตัวผมนั้นผมไม่ได้ปฏิเสธ ความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และก็เห็น ด้ ว ยว่ า งานสถาปั ต ยกรรมได้ บ ่ ง บอกถึ ง ประวัติแห่งยุคสมัย ทั้งในด้านวิถีชีวิต ด้าน วัฒนธรรม ด้านวิวัฒนาการงานก่อสร้าง ในเรื่ อ งวั ส ดุ แ ละเครื่ อ งมื อ ก่ อ สร้ า ง เช่ น ปัจจุบันสามารถก่อสร้างอาคารช่วงกว้าง ได้โดยไม่มีเสากลางห้อง เพื่อประโยชน์ ใช้สอยเป็นห้องกิจกรรมขนาดใหญ่ เช่น ห้ อ งประชุ ม หรื อ จั ด เลี้ ย งเป็ น ต้ น และ การใช้ วั ส ดุ เ ปลื อ กนอกหุ ้ ม ตั ว อาคาร (Façade) ที่เป็นวัสดุคงทนและสามารถ ท� ำ รู ป ทรงแปลกตาอย่ า งไม่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ราหาได้ ง ่ า ยและรั บ รู ้ ไ ด้ จ าก สื่อต่างๆ ที่เกือบเป็นสากลแล้ว คือจะมี ความเหมื อ นหรื อ คล้ า ยกั น ทั่ ว ประเทศ หรื อ ทั่ ว โลกก็ ว ่ า ได้ ทั้ ง นี้ มั น จะปรากฏ ในสิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ เ ป็ น รู ป ธรรมที่ เ รี ย กว่ า “สถาปัตยกรรม” แต่สิ่งที่เหมือนกันหมด นี้ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ เ รามากน้ อ ยเพี ย งใด ครับ บทความของผมในหนั ง สื อ พิ ม พ์ นี้ เมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว หั ว ข้ อ เรื่ อ ง “จิ น ตภาพของ เมืองนคร” ได้พูดถึงมิติต่างๆ และมีบาง มิติที่เราควรค�ำนึงให้มากๆ ในการก�ำหนด เมืองเราว่าอนาคตจะไปแนวไหน เช่นจะ เป็นเมืองทันสมัยที่เหมือนเมืองใหญ่อื่นๆ ที่ ทุ ่ ม เททรั พ ยากรมากมายเนรมิ ต ขึ้ น มา ให้แปลกตา หรือจะเล่นแนวเป็นเมืองที่ อิงประวัติศาสตร์ เพราะจะส่งผลต่อการ วางแนวทางในปั จ จุ บั น เพื่ อ ส่ ง ผลไปยั ง อนาคต ผมค่อนข้างมั่นใจว่าคนเมืองอื่นที่ จะมาเมืองเรา คงไม่ใช่มาดูสิ่งที่มีเหมือนๆ กันในเมืองเขา แต่จะมาดูในสิ่งที่เป็นตัวตน

ของเราที่ ผิ ด แผกแตกต่ า งจากบ้ า นเมื อ ง อื่นๆ ความจริงมุมมองของผมที่เกี่ยวกับ เรื่องนี้ผมได้เขียนไว้หลายครั้งแล้ว เช่น หัวข้อ “ปรากฎการณ์พลิกโฉมครั้งใหญ่ เมืองนคร.. สัญญาณแห่งการพัฒนาที่ควร จะเป็ น ..” ยิ่ ง เราก� ำ ลั ง น� ำ พระบรมธาตุ สู่มรดกโลก ดูเหมือนว่าจะชัดเจนยิ่งขึ้น แล้วเราจะต้องไปพูดถึงอะไรอีก นี่แหละ ครั บ ...เป็ น ประเด็ น ที่ ผ มอยากเสนอมุ ม มองว่ า “อนาคตสถาปั ต ยกรรมในเมื อ ง นคร ควรเป็นอย่างไร” ผมอยากให้ แ ยกแยะเรื่ อ งงาน ออกแบบสถาปัตยกรรมในส่วนที่โยงกับ ความเป็ น เมื อ งเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ หรื อ เมื อ งที่ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วิ ถี ชี วิ ต ออกจากเรื่ อ งเมื อ งที่ มี ก ารขยายตั ว แบบ ธุรกิจสมัยใหม่ ( Modern Trade ) เรื่อง แรกที่เราต้องท�ำความเข้าใจสิ่งก่อสร้างที่ เป็นอยู่ที่ชี้บอกถึงอดีต ซึ่งก็ผ่านหลายยุค หลายสมัยมาจนถึงปัจจุบัน โชคดีที่เรา ยังมีอาคารที่หลงเหลืออยู่แม้ว่าจะเหมือน กั บ เมื อ งอื่ น ๆ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ นยุ ค เดียวกัน เช่น อาคารรูปทรงชิโนโปรตุกีส ที่ จ ะไปเหมื อ นหรื อ คล้ า ยกั บ เมื อ งภู เ ก็ ต เมืองปีนัง ฯลฯ อาคารร้านค้าที่เป็นครึ่ง ตึกครึ่งไม้ในเขตเมืองเก่า สถาปัตยกรรม เหล่านี้ล้วนส่งเสริมความเป็นเมืองเก่าให้ เด่นชัดขึ้น และก็อาจเป็นเรื่องน่าเสียดาย ถ้ า เจ้ า ของไม่ เ ห็ น คุ ณ ค่ า เพี ย งแต่ ม อง เป็นสิ่งก่อสร้างที่ไม่คุ้มค่าต่อการท�ำราย ได้แล้วรื้อทิ้งสร้างอาคารสมัยใหม่ขึ้นมา

( ปั จ จุ บั น เป็ น ไปแล้ ว หลายอาคารและ แน่นอนอีกไม่ช้าก็จะเป็นอาคารที่สร้างขึ้น ใหม่ก็จะล้าสมัยไปอีกเช่นกันโดยไม่ได้ต่อ ประวัติศาสตร์ให้ยาวนาน) เมื่ออาจเป็น เช่นนี้เราควรสร้างความเข้าใจเรื่องแบบ นี้แก่ชาวเมืองหรือไม่ครับ และเป็นหน้าที่ ของใคร เช่น สภาวัฒนธรรมจังหวัด คณะ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลด้านส่งเสริม ความเป็นเมืองประวัติศาสตร์ของนคร ??? อย่างที่ผมได้กล่าวถึงตอนต้นว่าเทคโนโลยี ด้านการก่อสร้างได้พัฒนาไปไกลที่จะดูแล อาคารเก่าเหล่านี้ให้คงอยู่ต่อไปได้ แต่ก็ไม่ ได้หมายถึงทุกอาคารครับ จะต้องมีการ วิเคราะห์คุณค่าว่าถึงระดับที่ต้องอนุรักษ์ หรือไม่ และอยู่ในพื้นที่ใดที่จะส่งผลต่อ ภาพรวมของเรื่องราว ตัวอย่างที่เห็นชัด ที่สุดคือ เขตปริมณฑลรอบๆ วัดพระบรมธาตุ ที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งสร้ า งสิ่ ง แวดล้ อ มและ บรรยากาศที่ ส ่ ง เสริ ม กั บ การเป็ น พื้ น ที่ มรดกโลก และเป็นที่น่ายินดีที่มีเจ้าของ อาคารหลายหลังที่จะปรับปรุงอาคารเก่า ในเขตนี้ได้มองเห็นและร่วมมือด้วยก็สร้าง “สถาปัตยกรรม” ที่มีความกลมกลืนกับ ความเป็นเมืองเก่าได้อย่างดี แม้ว่าจะท�ำ ธุรกิจเกี่ยวกับสินค้าสมัยใหม่ (ได้ฝากภาพ สเก็ตช์มาให้ดูด้วยครับ) ซึ่งดูในภาพรวม แล้วก็ไม่ขัดเขิน ก็อยากเห็นภาพของอา คารอื่นๆ ที่จะสร้างใหม่หรือปรับปรุงใหม่ ได้ค�ำนึงถึงเรื่องนี้ด้วย (ทางเมืองเชียงใหม่ มีแนวคิดที่จะเสนอเมืองเก่าเป็นมรดกโลก

หน้า ๑๓

เช่นเดียวกับเมืองหลวงพระบาง ประเทศ ลาวซึ่งต้องเล่นเรื่องสถาปัตยกรรมล้านนา ทั้งเมือง แต่เราคงไม่ถึงขนาดนั้น) ส�ำหรับ เมื อ งที่ มี ลั ก ษณะวิ ถี ชี วิ ต ที่ โ ดดเด่ น เช่ น อ�ำเภอปากพนัง หากได้มีการพูดคุยกันใน การอนุ รั ก ษ์ รั ก ษาอาคารเก่ า หรื อ น� ำ เอา สถาปัตยกรรมใหม่ที่กลมกลืนกันจะสร้าง ความน่าสนใจต่อการท่องเที่ยวได้ ส� ำ หรั บ เรื่ อ งของเขตเมื อ งที่ มี ก าร ขยายตั ว เพื่ อ รองรั บ ธุ ร กิ จ สมั ย ใหม่ เรา ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ต้ อ งมี พื้ น ที่ ใ ห้ ค นรุ ่ น ใหม่ ได้ มี ที่ ยื น หรื อ น� ำ แนวคิ ด ใหม่ ๆ สนอง ความต้องการบ้าง แต่ต้องมีการก�ำหนด เขต (Zoning) ว่าควรเป็นพื้นที่ใด เช่น สามารถสร้างได้ตามเขตเมืองใหม่ที่ไม่ใช่ เขตเมืองเก่า ทั้งนี้หน่วยงานที่ก�ำหนดคือ กรมโยธาธิการได้แบ่งเป็นพื้นที่ของเมือง เป็นสีต่างๆ โดยอาศัยความหนาแน่นของ ประชากร และกิ จ กรรมของเมื อ งเป็ น เกณฑ์ แต่ไม่มีรายละเอียดหรือข้อก�ำหนด ทางด้านสถาปัตยกรรมว่าต้องเป็นอย่างไร ดังนั้นอาจเป็นเรื่องของเทศบัญญัติท้องถิ่นที่ต้องมาดูว่ามีพื้นที่ใดที่ต้องมีก�ำหนด ลั ก ษณะทางสถาปั ต ยกรรมท้ อ งถิ่ น ส� ำ หรั บ เขตเมื อ งเก่ า งานออกแบบควร น� ำ งานสถาปั ต ยกรรมท้ อ งถิ่ น เข้ า มา ท�ำให้เกิดบรรยากาศของบริบทของเมือง ที่ ก� ำ หนดไว้ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามในเขต เมื อ งใหม่ ห ากอาคารต่ า งๆ ที่ มี ก ารใช้ งานรองรั บ ความทั น สมั ย ได้ ค รบถ้ ว น ก็ สามารถน� ำ ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมท้ อ ง ถิ่ น เข้ า เป็ น ส่ ว นประกอบท� ำ ให้ เ มื อ งใน ภาพรวมจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มี ตั ว อย่ า งเช่ น อาคารต่ า งๆ ทุ ก หลั ง ของ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช ได้ ตั้ ง ข้ อ ก� ำ หนดงานออกแบบไว้ ใ ห้ มี ลักษณะรูปแบบสถาปัตยกรรมภาคใต้ ซึ่ง ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ก็ มี ค วามกลมกลื น เป็ น เอกลักษณ์ที่สามารถเป็นแหล่งท่องเที่ยว ได้อีกแห่งหนึ่ง ส�ำหรับห้างสรรพสินค้า ใหญ่ๆ ที่มาตั้งที่ต่างจังหวัด เขาก็ตระหนัก เรื่ อ งนี้ เ ช่ น กั น ก็ มั ก ใส่ เ อกลั ก ษณ์ ท ้ อ งถิ่ น เข้าไปในงานสถาปัตยกรรมด้วย โดยสรุป แล้ ว หากนครศรี ธ รรมราชต้ อ งการเป็ น เมื อ งที่ ต ้ อ งห้ า ม..พลาด ในการมาท่ อ ง เที่ ย ว ก็ ต ้ อ งสร้ า งเอกลั ก ษณ์ ข องเมื อ ง ผ่านงานสถาปัตยกรรมที่มองเห็นแล้วเกิด ความรับรู้ของผู้พบเห็นว่า...ใช่เลย


หน้า ๑๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

นช่วงที่ผ่านมาศูนย์วิทย์เมืองคอนได้จัดกิจกรรมพา น้องๆ เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับไลเคน สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่ อาศัยตามต้นไม้เพื่อประเมินคุณภาพอากาศในพื้นที่ โดย มีพี่ๆ วิทยากรจากหน่วยวิจัยไลเคน ภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ได้ฝึกอบรมและ

พาน้ อ งๆ ออกส� ำ รวจระหว่ า งวั น ที่ ๒๐-๒๑ ธั น วาคม ๒๕๕๗ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช ต. บ้านเกาะ อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช ผลการส�ำรวจไลเคนรอบบริเวณศูนย์วิทย์เมืองคอน พบไลเคนกลุ่มอากาศดี กลุ่มอากาศปานกลางและกลุ่ม อากาศแย่ รวมแล้วกว่า ๒๐ ชนิด จาก ๑๒ สกุล การวาง แปลงส�ำรวจโดยการสุ่มต้นไม้ศึกษาทั้งหมด ๙ ต้น พบ ไลเคนกลุ่มอากาศดีและปานกลางเติบโตได้ทั่วไปในสภาพ สมบูรณ์สูงกว่าไลเคนกลุ่มอากาศแย่ลักษณะดังกล่าวบ่ง ชี้ถึงคุณภาพอากาศ ณ ศูนย์วิทย์และบริเวณโดยรอบว่า มี คุ ณ ภาพอากาศที่ ดี ถึ ง ดี ม าก ขณะที่ บ างจุ ด ยั ง ต้ อ งเฝ้ า ระวังโดยเฉพาะบริเวณเขตชุมชน ริมถนนและลานจอด รถ เนื่องจากเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงสังคมไลเคนจากกลุ่ม อากาศดีเปลี่ยนเป็นกลุ่มอากาศปานกลาง ไลเคนแต่ละกลุ่มพบ ดังนี้ ไลเคนอากาศดี คื อ ไลเคนที่ ส ามารถเติ บ โตได้ เฉพาะในพื้นที่คุณภาพอากาศดี ไม่มีมลพิษทางอากาศ สกุ ล ที่ พ บได้ แ ก่ Parmotrema (ไลเคนกลุ ่ ม ผั ก กาด) Malmidia และ Leptogium ไลเคนอากาศปานกลาง คือไลเคนที่สามารถเติบโต ได้ ใ นพื้ น ที่ คุ ณ ภาพอากาศปานกลาง พบน้ อ ยในพื้ น ที่ คุณภาพอากาศแย่หรือมีมลภาวะสูง สกุลที่พบได้แก่ Dirinaria (ริ้วแพร) Chysotrix (แป้งมณโฑ) Graphis (กลุ่ม ลายเส้น) Sarcographa (กลุ่มลายเส้นผลรวม) Caloplaca (กลุ่มโดรายากิ) และ Physcia (สาวน้อยกระโปรง บาน) ไลเคนกลุ่มอากาศแย่ คือไลเคนที่สามารถเติบโต ได้ดีในพื้นที่คุณภาพอากาศแย่ถึงแย่มาก เนื่องจากไลเคน กลุ่มนี้มีกลไกในการป้องกันมลพิษได้สูงกว่าไลเคนกลุ่มอื่น ขณะที่บางชนิดสามารถเปลี่ยนสารมลพิษให้กลายเป็นปุ๋ย ได้ การส�ำรวจครั้งนี้พบเพียง ๓ สกุล คือ Pyxine (หัตถ์ทศ กัณฐ์กุมน�้ำแข็ง) Trypethelium (ร้อยรู) และ Anthracothecium (สิวหัวช้างจิ๋ว) อย่างไรก็ตามยังต้องเฝ้าระวังและ ติดตาม เนื่องจากหากประชากรไลเคนกลุ่มนี้เพิ่มสูงขึ้นจะ แสดงถึงคุณภาพอากาศที่แย่ลง หากใครสนใจอยากเรียนรู้วิธีการประเมินคุณภาพ อากาศด้ ว ยไลเคน หรื อ การท� ำ กิ จ กรรมนั ก สื บ สายลม ติดต่อมาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชได้นะคะ ยินดีให้บริการค่ะ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

ปั

จจุบันการใช้โทรศัพท์ในระหว่างการ ขับรถนั้นผิดกฎหมายจราจรและอาจ เสี่ ย งต่ อ อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจจะเกิ ด กั บ คุ ณ ได้ เมื่อเราจ�ำเป็นต้องติดต่อสื่อสารระหว่าง ขับรถเราต้องศึกษาการใช้งานเจ้า Bluetooth ซึ่งมีอยู่ในมือถือสมัยใหม่แทบทุกรุ่น เพื่อให้การพูดคุยระหว่างขับรถสามารถ ด�ำเนินต่อได้โดยไม่ติดขัด ไม่ผิดกฎหมาย และไม่ เ สี่ ย งต่ อ อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได้ เรามาท�ำความรู้จักกันเลยครับ

จุดประสงค์ของการน�ำ Bluetooth มาใช้งาน

๑. Cable Replacement จุดประสงค์ แรกของ Bluetooth ที่ออกมาก็เพื่อก�ำจัด สายเชื่อมต่อต่างๆ ๒. Ad Hoc Networking เป็นการ ใช้เทคโนโลยีคลื่นวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร ข้ อ มู ล ท� ำ ให้ ก ารท� ำ งานแบบเน็ ต เวิ ร ์ ค ที่ แตกต่างจากวิธีดั้งเดิม และสามารถเชื่อม กับระบบเน็ตเวิร์คเมื่อใดก็ได้ที่ต้องการ ๓. Data / Voice Access Point ใช้ อย่างรวดเร็ว ปี ๑๙๙๙ ได้ท�ำการเผยแพร่ Blueในการรั บ สั ญ ญาณข้ อ มู ล และเสี ย งจากแม่ Bluetooth คืออะไร ผู้น�ำเทคโนโลยี Bluetooth tooth specification Version 1.0 และได้ Bluetooth เป็ น เทคโนโลยี ข อง ข่าย ปี ๑๙๙๔ บริ ษั ท อี ริ ค สั น โมบาย สมาชิกเพิ่มขึ้น ดังนี้ Microsoft, Lucent, อินเตอร์เฟสทางคลื่นวิทยุ (คือ การท�ำงาน คอมมู นิ เ คชั่ น เริ่ ม ต้ น ที่ จ ะค้ น คว้ า วิ จั ย 3Com, Motorola ที่ใช้ไมโครชิพขนาด ๙ มม. X ๙ มม. ซึ่ง เป้าหมายของ Bluetooth ความเป็ น ไปได้ ใ นการน� ำ คลื่ น สั ญ ญาณ สมาชิกของ Bluetooth SIG (Special ท�ำงานเป็นตัวเชื่อมสัญญาณวิทยุระยะสั้น เทคโนโลยี Bluetooth พัฒนาขึ้นมา วิ ท ยุ มาใช้ ร ะหว่ า งโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และ Interest Group) ที่เป็นผู้ริเริ่มเทคโนโลยีนี้ และมีราคาถูก) ใช้ในการเชื่อมโยงสื่อสาร โดยมีเป้าหมายคือ อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ และเป็ น ผู ้ น� ำ ชื่ อ Blue- ร่วมกันมีอยู่ด้วยกัน ๕ บริษัท ได้แก่ Ericsไร้ ส ายในแถบความถี่ 2.45GHz ท� ำ ให้ ๑. Low cost implementation tooth มาใช้ son, IBM, Intel, Nokia และ Toshiba ในวัน อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ถื อ เคลื่ อ นย้ า ย พัฒนาให้มีราคาต�่ำ ที่สามารถให้คนทั่วไป ปี ๑๙๙๘ กลุ่มผู้พัฒนาวิจัยระบบ ที่ ๑ ธันวาคม ปี ๑๙๙๙ ต่อมากลุ่มบริษัท สามารถติดต่อเชื่อมโยงสื่อสารแบบไร้สาย ใช้ได้ Bluetooth ได้ถูกก่อตั้งขึ้น โดยเกิดจาก ผู ้ ริ เ ริ่ ม ทั้ ง ห้ า ออกมาประกาศว่ า บริ ษั ท ระหว่างกันในช่วงระยะห่างสั้นๆ ได้ ๒. Small implementation size การรวมตัวของบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Erics- 3Com, Lucent, Microsoft และ Moเทคโนโลยี ก ารเชื่ อ มโยงหรื อ การ ท�ำให้ Bluetooth มีขนาดเล็กที่สุด เพื่อให้ son, Nokia, IBM, Toshiba และ Intel ใน torola ได้ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อก่อตั้งกลุ่ม สื่อสารแบบใหม่ที่ถูกคิดค้นขึ้น เป็นเทค- ใช้งานได้สะดวก กลุ่มที่ใช้ชื่อว่า Special Interest Group ใหม่ขึ้นมานั่นก็คือกลุ่ม Promoter จนถึง โนโลยีของอินเตอร์เฟสทางคลื่นวิทยุ ตั้ง ๓. Low power consumption ให้ (SIG) ซึ่งในกลุ่มจะประกอบด้วย กลุ่มผู้น�ำ ปัจจุบันมีบริษัทกว่า ๑,๓๐๐ บริษัท ที่ลง อยู ่ บ นพื้ น ฐานของการสื่ อ สารระยะใกล้ Bluetooth ใช้พลังงานในการท�ำงานน้อย ทางด้ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ , คอมพิ ว เตอร์ นามกับเทคโนโลยีนี้เรียบร้อยแล้ว อุปกรณ์ ที่ปลอดภัยผ่านช่องสัญญาณความถี่ 2.4 เพื่อให้สามารถติดต่อกันได้โดยไร้ข้อจ�ำกัด ฯลฯ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ได้ประเมินว่า ภายในปี ที่ จ ะได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น เทคโนโลยี GHz โดยที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดข้อจ�ำกัด ๔. Robust, high quality data & ๒๐๐๒ ในอุปกรณ์การสื่อสาร, เครื่องใช้, Bluetooth ต้องผ่านการทดสอบจาก SIG ของการใช้สายเคเบิลในการเชื่อมโยงโดยมี voice transfer พัฒนาให้ Bluetooth มี คอมพิวเตอร์ จะถูกติดตั้ง Bluetooth ที่ ของ Bluetooth เสียก่อนเพื่อยืนยันว่ามัน ความเร็วในการเชื่อมโยงสูงสุดที่ 1 Mbps ความทนทานในการใช้งานและสามารถส่ง จะใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ อย่าง สามารถที่จะท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์ Blueระยะครอบคลุม ๑๐ เมตร เทคโนโลยีการ ทั้งข้อมูลและเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ แพร่หลายโดยในปีเดียวกัน บริษัทเหล่านี้ tooth ตัวอื่นๆ และอินเตอร์เน็ตได้ ส่งคลื่นวิทยุของ Bluetooth จะใช้การก ๕. Open global standard เป็ น ได้ประกาศ การรวมตัวกัน และเชิญชวน ระโดดเปลี่ยนความถี่ (Frequency hop) มาตรฐานเปิด คือให้ผู้ที่สนใจสามารถน�ำ บริ ษั ท อื่ น ๆ ให้ เ ข้ า ร่ ว ม ในลั ก ษณะของ (อ่านต่อฉบับหน้า) เพราะว่ า เทคโนโลยี นี้ เ หมาะที่ จ ะใช้ กั บ ไปพัฒนาต่อได้ ท�ำให้เทคโนโลยีพัฒนาได้ การน�ำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ การส่งคลื่นวิทยุที่มีก�ำลังส่งต�่ำและราคา ถูก โดยจะแบ่งออกเป็นหลายช่องความถี่ ขนาดเล็ก ในระหว่างที่มีการเปลี่ยนช่อง ความถี่ ที่ ไ ม่ แ น่ น อนท� ำ ให้ ส ามารถหลี ก หนี สั ญ ญาณรบกวนที่ เ ข้ า มาแทรกแซง ได้ ซึ่ ง อุ ป กรณ์ ที่ จ ะได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็นเทคโนโลยี Bluetooth ต้องผ่านการ ทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียก่อนเพื่อยืนยันว่ามัน สามารถที่จะท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์ Bluetooth ตัวอื่นๆ และอินเตอร์เน็ตได้ Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

มั

นคือ “การตอกทอย” เพื่อเก็บน�้ำผึ้งป่าครับ ของแท้ก็ ต้องได้มาด้วยวิธียากๆ แบบนี้แหละครับ เริ่มตั้งแต่การ หลาวลูกทอยที่ต้องท�ำมาจากไม้ไผ่แข็งๆ ส่วนใหญ่ใช้ “ไผ่ตง” เลือกช่วงโคนตัดให้ติดข้อหน้าๆ เหลาให้เป็น “ลิ่ม” แหลมๆ ขนาดความยาวประมาณ ๘-๙ นิ้ว คล้ายหมุดรถไฟนั่นแหละ รมย่างไฟให้แกร่ง บางรายอาจจะมีเรื่องคาถาอาคมก�ำกับ “ลูกทอย” มีชิ้นส�ำคัญอยู่ ๒ อันครับ นั่นคือ “แม่ทอย” หมายถึงลูกทอยลูกแรกที่จะตอกลงบนต้นไม้ที่จะเก็บรังผึ้ง พรานจะให้ความส�ำคัญกับลูกนี้และขั้นตอนนี้มาก หลังจาก วางของเช่นไหว้และพร้อมลงทอยลูกแรก พรานจะน�ำใบไม้สด มา ๓ ใบ วางซ้อนทับกันและใช้แม่ทอยตอกให้ทะลุใบไม้นั้น ไปบนต้นไม้เป้าหมาย ตอกเพียง ๓ ครั้งครับนั่นเป็นอันเสร็จ พิธี นัยว่า “สะกด” อะไรก็ตามที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการ เก็บรังผึ้ง ทอยลูกต่อๆ ไปก็จะเริ่มตอกซึ่งไม่จ�ำกัดว่าต้อง ๓ ครั้ง แต่เน้นที่ให้มั่นคง ตอกเป็นลักษณะบันไดกะระยะพอที่ จะปีนป่ายได้ แต่จะเพิ่มความมั่นคงโดยการใช้ “ไม้ร่อง” หรือ ไม้ขนาบล�ำต้นผูกมัดติดกับลูกทอยชิ้นอื่นๆ เสมือนราวบันใด

จนไปถึงรังผึ้ง ทั้งหมดนี้ท�ำตอนกลางวันครับ พลบค�่ำถึงจะมา ปีนเก็บรังผึ้ง ลูกทอยลูกส�ำคัญอีกชิ้นคือ ลูกทอยที่ใช้ปาด ตัดรวงผึ้ง พรานจะใช้แทนมีดหรืออุปกรณ์อื่น แต่จะใช้ทอยลูกนี้เสมอ ที่ น่าสังเกตอีกอย่างคือ ทุกขั้นตอนจะไม่มีอุปกรณ์อื่นนอกจาก ของที่มาจากในป่า เช่น เชือกจากเถาวัลย์หรือหวาย ไม้ร่อง จากไม้ในป่า และลูกทอยจากไม้ไผ่ และขณะตอกทอย หรือ ปีนเก็บรวงผึ้ง คนอื่นๆ ต้องสงบจิตสงบใจ สงบปาก ไม่ทัก ไม่ พูด เช่น ผึ้งจะต่อยมั้ย ลูกทอยจะร่วงมั้ย หรือน�้ำผึ้งจะหวา นมั้ย หลายคนเป็นห่วงว่าผึ้งจะสูญพันธุ์เพราะการเก็บน�้ำผึ้ง ป่า เบาใจได้ครับเขามีวิธีการที่แยบยลกว่านั้น...ไว้จะมาเล่าให้ ฟังอีกที...

อ้ อ .. สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ยวด อี ก อย่ า งคื อ หลั ง เสร็ จ ภาระกิ จ พรานจะต้ อ งไม่ ลื ม ถอนสะกด หรื อ ถอดแม่ ท อยออกจากโคน ต้ น มี บ ้ า งเหมื อ นกั น ที่ เ ป็ น เช่ น นั้น และส�ำหรับ “คนเล่นของ” นี่

ถือเป็นของหายากอย่างหนึ่งทีเดียว ถ้าอยากได้ คุณก็ต้องกล้า หรือมีวิธีหักล้าง “ถอนสะกด” ด้วยตัวเอง ..นะ น�้ำผึ้งป่าของแท้ ราคาไม่เกิน ๓๐๐-๕๐๐ บาทต่อขวด ซึ่งคงไม่ถือว่าแพงเกินไปนัก ของดีที่แสนจะหายาก ปีนึงจะมี สักครั้ง นั่นหมายถึงว่า ฤดูนี้ที่ผ่านมาต้องดีจริง ดอกไม้ พรรณ ไม้ต้องเบ่งบานเยอะและตรงตามฤดูกาล ถ้าจะขอกล่าวว่าปี ๕๗ ที่ผ่านมาถือว่าคนแถบป่าเขา หลวงนครศรีโชคดี น�้ำผึ้งป่ามีเยอะมาก ดอกไม้ป่าบานกัน อย่างอุดมสมบูรณ์ เป็นเพราะต้นฤดูร้อนจัด ท� ำให้ป่าเขา หลวงเต็มไปด้วยดอกไม้ป่านานาชนิด ผึ้งป่าจึงท�ำรวงรังกัน อย่างคึกคัก พรานป่าอย่างเราๆ ก็เลยเก็บน�้ำผึ้งป่าตามวิถีคน บ้านป่า ...น�้ำผึ้งป่าเขาหลวง เป็นน�้ำผึ้งดีครับ หวานหอมเป็น น�้ำผึ้งเดือนห้าของแท้ ..แท้หรือไม่ดูได้จากหลายอย่าง แต่ จะพูดคร่าวๆ ว่า น�้ำผึ้งป่าของแท้ ต้องหวานหอม นุ่ม และมี สีเหลืองอ�ำพัน ไม่หนืด ไม่ข้นจนเทออกจากขวดไม่ได้ แต่มี ข้อแนะน�ำอย่างหนึ่งว่า ไม่ควรเอาไปแช่ตู้เย็น เพราะมันอาจ จะท�ำให้เกิดผลอยู่สองประการ ..นั่นคือประการแรก แช่ก็ได้ ครับ แต่คุณต้องแช่ตลอดไป เอาเข้าๆ ออกๆ แช่บ้างไม่แช่บ้าง จะเกิดไอน�้ำในขวด และท�ำให้น�้ำผึ้ง “เปรี้ยว” กลายเป็นเสีย ของไป อีกกรณีคือ มักนิยมแช่เพื่อ “พิสูจน์” ว่าแท้หรือไม่ ถ้า แท้เขาว่ามันจะไม่จับตัวเป็นก้อนแข็งก้นขวด เพราะหากเป็น น�้ำผึ้งผสมน�้ำตาล มันจะจับตัวแข็งตกตะกอนอยู่ แต่ทว่า มี บทพิสูจน์ล่าสุดว่า น�้ำผึ้งจากเกสรดอกไม้บางชนิด ก็จับตัวตก ตะกอนแข็งก้นขวดเหมือนกัน ทั้งๆ ที่มัน “แท้” ตะกอนสีขาว คล้ายน�้ำตาล หรือเป็นไขของ”ขี้ผึ้ง” ซึ่งใช้ท�ำเทียนไขนั่นเอง แต่ถ้าของปลอม เกล็ดนี้จะไม่ละลายเป็นน�้ำได้อีก หากแช่ตู้ เย็นแล้ว ..แต่ถ้าเป็นของแท้ มันจะคืนรูปเป็นน�้ำผึ้งอีกครั้ง เมื่อ น�ำมาวางข้างนอก นี่แหละครับ จริงๆ เรื่องนี้ก็พิสูจน์ยากอยู่ เลยมีค�ำจ�ำกัดความให้เรื่อง แท้หรือไม่แท้ของน�้ำผึ้งว่า ... เขาดูที่ “คนให้” แค่นั้นจบ !!!


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

บนเส้นทางสายเอเชีย ริมแม่น�้ำตาปี ติดเขต อ.ทุ่งใหญ่ ถ้าขาขึ้นเหนือ บริเวณกว้างขวางหลายร้อยไร่ พื้นที่เป็นเหมืองเก่า ตอนนี้มีการก่อสร้างพระพุทธรูปนับร้อยองค์ เป็นมุมมองและสถานที่ที่น่าสนใจใหม่ของ นครศรีธรรมราช เมืองต้องห้าม....พลาด

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นภสร มีบุญ

อ ลั่ ล ล้ า .. ฉบั บ ส่ ง ท้ า ยเดื อ นหวาน เทศกาลเดือนแห่งความรัก พร้อมๆ กับ ต้อนรับปีใหม่ของคนไทยเชื้อสายจีน ฉบับ นี้..ขอติดเครื่องยนต์ ล้อหมุน พาแฟนคลับ ไปรับลมเย็นๆ ลั่ลล้ากันริมเสน่ห์สายน�้ำ ปากพนังกันดีกว่านะคะ สายน�้ำปากพนัง อ.ปากพนัง แหล่งอู่ข้าวอู่น�้ำ หัวเมืองท่า เก่าแก่ของจังหวัดนครศรีธรรมราชที่เคย อุดมสมบูรณ์รุ่งเรืองมั่งคั่งในอดีตกาล ย้อน รอยไปในสมั ย สมเด็ จ พระพุ ท ธเจ้ า หลวง เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระองค์ ท ่ า นเสด็ จ ประพาส หั ว เมื อ งปั ก ษ์ ใ ต้ ล่ อ งเรื อ มาตามลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง ในวั น ที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๘ ความรุ่งเรืองมั่งคั่งในอดีตของคน ลุ่มน�้ำปากพนังนั้น ยังคงทิ้งซากอนุสรณ์ ให้ลูกหลานได้พบเห็นในปัจจุบัน กับปล่อง โรงสีไฟร้างอายุนับร้อยปีตั้งเรียงรายตาม ริ ม แม่ น�้ ำ ดั ง ค� ำ เปรี ย บเปรยของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ ที่ท่านได้เปรียบเปรย ไว้ว่านั่นคือ กระถางต้นไม้ที่สูงที่สุดในโลก .. เส้นทางและสายน�้ำ ที่พาเราท่าน แล่น ออกจากท่าน�้ำนนท์ นอกจากจะลัดเลาะ ตามรอยประพาสของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงแล้ว เรายังคงได้เยี่ยมชมโครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงมี พ ระวิ ริ ย ะ อุ ต สาหะในการขจั ด ทุ ก ข์ บ� ำ รุ ง สุ ข แก่ พสกนิ ก รชาวลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง นอกจาก ทัศนียภาพสองฝั่งของสายน�้ำที่เรือพาเรา ล่องไป จะท�ำให้เพลิดเพลินกับวิถีชีวิตของ ชาวประมงพื้ น บ้ า นแล้ ว เรายั ง คงตื่ น ตา ตื่นใจกับการหาปลาแบบหลากหลายของ ชุมชนชาวลุ่มน�้ำอีกด้วย .. อู่ต่อเรือขนาด ใหญ่ ในบริเวณของโรงเรียนอู่ต่อเรืออัน เลื่องชื่อ ท�ำให้เราได้รู้ว่าตลาดแรงงานมือ อาชีพ ยังคงขาดแคลนแรงงานที่มากด้วย ทักษะวิชาชีพ ซึ่งท�ำให้โรงเรียนเหล่านี้ต้อง เร่งการผลิตแรงงานที่มีฝีมือมาป้อนให้กับ ตลาดแรงงานทั้งภายใน และต่างประเทศ ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า โรงเรี ย นแห่ ง นี้ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง ของความภูมิใจของชาวอ�ำเภอปากพนัง อีกเช่นกัน .. ลมเย็นๆ จากสายน�้ำ และ สายลม ที่พาเราออกไปยังปากอ่าว จนถึง ปลายแหลมตะลุมพุก สีน�้ำทะเลครามใส ตัดกับเส้นขอบฟ้าไกล ..ยังคงมีเสน่ห์ชวน ให้ ห ลงใหลเสมอกั บ ผู ้ ที่ ไ ด้ ม าเยื อ น แสง ตะวันที่สาดส่องเตรียมจะลับขอบฟ้า แสง

สุ ด ท้ า ยของวั น นี้ ช่ า งดู ง ดงามเหมื อ น จิตรกรมาแต่งแต้มภาพวาดอยู่เบื้องหน้า ภาพเรือที่แล่นกลับเข้าหาฝั่ง ท่ามกลาง บรรยากาศพระอาทิตย์จวนจะลับขอบฟ้า เหล่านกกาทั้งหลายพากันได้เวลาบินกลับ รัง .. เหล่านกแอ่น นกท�ำเงินของชาวลุ่ม น�้ำปากพนังก็เช่นกันต่างพากันชักชวนบิน สู่รังนอนที่จากมา ฟ้าทั้งฟ้าทะมึนไปด้วย ฝูงนกนับร้อยพันตัวที่ต่างส่งเสียงบินกลับ ที่พัก ..เคยแอบสงสัยแบบข�ำๆ อยู่เหมือน กันว่า จะมีสักครั้งรึเปล่าที่นกเหล่านี้หลง บ้ า น หลงรั ง ..จากที่ ต นเคยพิ ง พั ก เข้ า บ้านผิด รังผิด เข้าคอนโดผิด (เคยสงสัย เหมือนกันมั๊ยคะ) .. แต่ที่แน่ๆ นกแอ่นที่ อ�ำเภอปากพนังส่วนใหญ่อยู่บ้านสบาย มี คอนโดเป็นของตัวเองค่ะ ส่วนเจ้าของนก ก็ น อนชั้ น ล่ า งค่ ะ รั ง นกแอ่ น ของอ� ำ เภอ

ปากพนังเป็นรังนกคุณภาพดี ราคาสูงตาม ความละเอียดของเนื้อรัง .. ชาวจีนส่วน ใหญ่มักมีความเชื่อกันว่ามาปากพนัง ต้อง ได้ชิมรังนก ชีวิตจะยืนยาวค่ะ นอกจาก ความสนุกสนานของการล่องเรือชมสายน�้ำ ต�ำนานวิถีชีวิตของคนลุ่มน�้ำแล้ว อาหาร จานเด็ ด ของอ� ำ เภอปากพนั ง ก็ อ ร่ อ ยไม่ น้อยหน้าใครเช่นกันนะคะ ไม่ว่าจะเป็น เมนู หมี่ เ มื อ งนั ง (หมี่ ผั ด เครื่ อ งแกงปากพนัง), ย�ำไข่ปลากระบอก, ปลากระบอกร้า, แกงไตปลาแห้ ง , ขนมลาดั ง จากบ้ า น หอยราก ตบท้ายด้วยส้มโอทับทิมสยาม ของฝากอันเลื่องชื่อคู่เมืองปากพนัง ..เล่ามาขนาดนี้แล้วจะทนนั่งเฉยกัน ได้อย่างไร มาล่องเรือ ส. ภักดีกันนะคะ แล้วพบกันค่ะ

ส�ำรองเรือ ส.ภักดี @ ท่าน�้ำนนท์ได้ที่ : คุณกานชนัต นนทภักดิ์ โทร. ๐๗๕-๓๓๓-๓๓๓ / ๐๘๖-๓๒๓-๙๙๙๙ บริการล่องเรือพร้อมอาหาร มัคคุเทศก์บรรยาย และคาราโอเกะ ท่านละ ๔๐๐ บาท นักเรียน - นักศึกษา ค่าบริการราคาพิเศษ พร้อมข้าวกล่อง รับบริการ กรุ๊ปทัวร์ จัดเลี้ยงสังสรรค์ เป็นหมู่คณะ จ�ำนวน ๒๐-๖๐ ท่าน บริการลอยอังคาร สามารถเลือกช่วงเวลาล่องเรือได้ - ช่วงเวลา ๑๑.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. (ทานอาหารกลางบนเรือ) - ช่วงเวลา ๑๕.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. (ทานอาหารค�่ำบนเรือ) สิทธิพิเศษ ส�ำหรับท่านผู้อ่าน นสพ.รักบ้านเกิด รับส่วนลด ๑๐% เพียงแสดง นสพ.ฉบับนี้


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

หน้า ๑๙

และ ผอ.ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด นครศรีธรรมราช ชี้ประเด็นส�ำคัญว่าด้วย ศาสนาและคุณธรรม ซึ่งเห็นมีอยู่ในบางแผน และเป้าหมายแต่ขาดรายละเอียดการเน้น ย�้ำ ท�ำให้ผมเพิ่งคิดได้ว่าส�ำหรับวัฒนธรรม ในวลัยลักษณ์เองตอนนี้น่าจะต้องเน้นเรื่อง ศี ล ธรรม จริ ย ธรรม คุ ณ ธรรมตลอดจน ธรรมาภิบาลกันอย่างจริงจัง เพราะกรณี เจ็ บ ปวดไปทั่ ว ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ตลอดถึ ง เมื อ งนครและวงการการศึ ก ษาไทยจาก ปัญหาการก่อสร้างศูนย์การแพทย์ด้วยงบ เป็นพันล้านนั้น ก็น่าจะเป็นหนึ่งในภารกิจ ของอาศรมวัฒนธรรมและทั้งมหาวิทยาลัย เช่นกัน ให้สมกับที่ประกาศและสอนศิษย์ และ การก้ า วสู ่ ป ระชาคม เสมอว่า ต้อง “ดีและเก่ง”, “คุณธรรมน�ำ อาเซียน ทั้งนี้ท่าน ผอ.ส�ำนัก พัฒนา”, และ “ศึกษิตวลัยลักษณ์” ศิ ล ปากรนครศรี ธ รรมราช ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

ยังจะเป็นไปได้ไหม ? ที่วลัยลักษณ์ หากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ยังใช้หลัก รวมบริ ก ารประสานภารกิ จ และ อาศรม วัฒนธรรม เป็นหน่วยเพื่อการประสานใน ด้านการท�ำนุบ�ำรุงส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม ซึ่งเป็น ๑ ใน ๕ ภารกิจตามวัตถุประสงค์ ของ ม.วลั ย ลั ก ษณ์ (การเรี ย นการสอน/ การวิ จั ย และพั ฒ นา/การบริ ก ารวิ ช าการ และสั ง คม/การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม/การพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ภาค ใต้ ต อนบน) อาศรมไม่ น ่ า จะเป็ น หน่ ว ยท� ำ เองทั้งหมด แต่ควรเป็นหน่วยประสานเพื่อ การทั้ ง ๕ ของมหาวิ ท ยาลั ย ในด้ า นนี้ ใ ห้ กับนานาส�ำนักวิชา คณาจารย์ บุคคลากร ตลอดจนศู น ย์ ส ถาบั น ส่ ว นงานต่ า งๆ จน แม้ ก ระทั่ ง นั ก ศึ ก ษา โดยที่ ท� ำ เองก็ มี ไ ด้ ใ น สัดส่วนที่เหมาะสมและตามจ�ำเป็นเมื่อใครไม่ ท�ำหรือเพื่อเป็นการริเริ่ม และควรมีกิจกรรม ใน ๓ ระดับ คือระดับชุมชนชาววลัยลักษณ์ และข้างเคียงรวมถึงท่าศาลา ระดับพื้นที่เป้า หมายคือนครศรีธรรมราชและภาคใต้ และ ระดั บ ชาติ ห รื อ ข้ า มชาติ โดยมิ ติ ข องงาน ศิลปะวัฒนธรรมก็ไม่น่าที่จะเน้นแต่เพียงการ อนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมดั้งเดิม เพราะแท้จริง แล้ ว วั ฒ นธรรมนั้ น เป็ น วิ ถี ชี วิ ต และสั ง คมที่ มีพลวัตสูง ควรมีทั้งวัฒนธรรมร่วมสมัยจน กระทั่งที่จะก้าวน�ำไปข้างหน้าด้วย โดยมีอยู่ ในแทบทุกแง่มุมของชีวิตและทุกสาขาวิชา ล้วนเกี่ยวเนื่องและมีประเด็นให้เล่นและท�ำ ทั้งสิ้น ดู เ หมื อ นว่ า ที่ ป ระชุ ม จะตอบรั บ ต่ อ ข้ อ เสนอชุ ด นี้ มี ม ติ ข อให้ อ าศรมได้ ท� ำ การ ทบทวนปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ตลอดจน แผนงานและงบประมาณใหม่ ทั้ ง นี้ ผ มได้ เรียนต่อที่ประชุมว่าอาศรมวัฒนธรรมวลัย

นครศรีธรรมราช

ขอบคุณภาพถ่ายจากเฟส บุ๊คของชมรมถ่ายภาพ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ลั ก ษณ์ นั้ น มี จุ ด แข็ ง ส� ำ คั ญ หลายประการ ตั้งแต่การเป็นของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ที่ ได้รับการเชื่อถือและคาดหวังจากสังคม การ มีบุคคลากรที่ทรงคุณค่า และ ที่ส�ำคัญได้รับ ความเอื้อเฟื้อจากสื่อสารมวลชนโดยเฉพาะ เครื อ ข่ า ยของกรมประชาสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งดี ยิ่ ง หากได้ปรับในจังหวะนี้มีหวังได้เป็นหน่วย วัฒนธรรมในฝันของสถาบันอุดมศึกษาไทย โดยท้ายประชุม ผมยังชี้ช่องสิ่งที่วลัยลักษณ์ ไม่ควรพลาดการเข้าไปมีส่วนร่วมขบคิดขับ เคลื่อนในเชิงวิชาการวัฒนธรรมคือการบูรณะ ปฏิ สั ง ขรณ์ อ งค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ แ ละการ ด�ำเนินการเรื่องมรดกโลก, การขับเคลื่อนส่ง เสริมการท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้ ก รอบความคิ ด “นครสองธรรม”, ประเด็นการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของหลาย วัฒนธรรมจากกรณี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.