นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 47 สิงหาคม 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

หลังพราหมณ์ประกอบพิธบี วงสรวงขอขมาพระบรมธาตุเจดีย์ และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ผูร้ บั จ้างรายใหม่กอ่ ตัง้ นัง่ ร้านขึน้ ตรวจคราบ สนิมปลียอดทองค�ำ หาสาเหตุและบูรณะ ก่อนเสนอขึน้ ทะเบียน เป็นมรดกโลก

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ พญ.ภัทริยา มาลัยศร มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò

เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ช่างเริ่มติดตั้งโครงเหล็กนั่งร้าน จากฐานพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ขึ้นไปถึงปลียอดทองค�ำเป็นบันไดให้กลุ่มงานโลหะ ประณีตศิลป์ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ขึ้ น ไปตรวจสอบปลี ย อดทองค� ำ สื บ เนื่ อ ง มาจากประชาชน

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

>> อ่านรายงานหน้า ๑๑


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ผ นายวันชัย สอนศิริ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ผู้สนับสนุนรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวผ่านสื่อว่า ข่าวการตั้งรัฐบาลแห่งชาติและการ ปรับคณะรัฐมนตรี (ครม.) สะท้อนให้เห็นว่าความนิยม ในรัฐบาลเริ่มลดน้อยลง ผลการส�ำรวจความนิยมของ โพลล์ส�ำนักต่างๆ ไปในแนวเดียวกัน ประชาชนให้โอกาส ท�ำงานอย่างเต็มที่ ถึงเวลานี้เริ่มรู้สึกว่าเพียงพอแล้ว การแก้ปัญหาเศรษฐกิจโรงงานผลิตสินค้าอิเลคทรอนิกส์และอื่นๆ ในนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสี ม าปิ ด ตั ว แล้ ว ย้ า ยไปเวี ย ดนาม คนงานนั บ พั น ตกงาน ส่งผลกระทบต่อบ้านเช่าและร้านค้าจ�ำนวนมาก และภัยแล้ง ๒๒ จังหวัด เป็นวิกฤติธรรมชาติถล่มซ�้ำที่น่า หดหู่ใจที่สุด เป็นชาวนานอกจากฝนแล้งยังถูกห้ามสูบ น�้ำเข้าสู่นาข้าว ชาวนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเผชิญ หน้ากับทหารที่เข้าไปห้ามสูบน�้ำ ความต้องการน�้ำกลาย เป็นความโกรธเคืองรัฐบาล หลังจากนี้ถ้ารัฐบาลวางแผนชดเชยอย่างสมเหตุสมผลและหาแนวทางชะลอ การช�ำระหนี้ ธกส. ความบาดหมางใจอาจลดลง นายวันชัย เสนอว่า รัฐบาลต้องรีบเอาศรัทธากลับ มา ทั้งต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลายอย่างสนองความ ต้องการและความรู้สึกของประชาชน โดยรีบเปลี่ยน คนมาท�ำงาน เพราะการเมืองเป็นเรื่องการบริหารความ รู้สึกของประชาชน นายวันชัยคงเข้าใจคลาดเคลื่อนไป แล้ว การเมืองไม่ใช่การบริหารความรู้สึกโดยตรง แต่ การเมืองคือการใช้งบประมาณส่งเสริมสนับสนุนและแก้ ปัญหาให้ประชาชนอยู่ดีกินดี มีงานท�ำ มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย และอยู่ในสังคมที่ยึดเอาความยุติธรรมเป็นเรื่องส�ำคัญ นั บ แต่ คสช. เข้ า ยึ ด อ� ำ นาจและจั ด ตั้ ง รั ฐ บาล บริหารประเทศกว่า ๑ ปี รัฐบาลพยายามแก้ปัญหา ต่างๆ ควบคู่กับการสร้างความปรองดอง เช่น การปราบ คอร์รัปชั่น หรือโยกย้ายข้าราชทุจริต แต่ปัญหายาเสพติด ก็ไม่ได้ลดลง ร่างรัฐธรรมนูญของ สนช. เหมือนจงใจ จ�ำกัดบทบาทพรรคการเมืองและนักการเมืองตัวแทน ของประชาชน เมื่อรัฐบาลไม่กล้าบอกว่าจะอยู่ในอ�ำนาจ นานเท่าไร กลับยิ่งสร้างความเคลือบแคลงมากเท่านั้น ‘เราจะท�ำอย่างซื่อตรง ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา’ ความไพเราะงดงามและความฝันตามบทเพลงกลาย เป็นค�ำถาม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ต้องกลับไป ทบทวนเนื้อเพลงที่รจนาขึ้นมา ว่ามีความคลาดเคลื่อน ตรงไหนบ้าง แล้วรีบเรียกศรัทธากลับคืนมาให้ได้

มเพิ่ ง กลั บ มาจากตามรอยลู ก ปั ด และพระพุ ท ธศาสนา แรกเริ่มที่พม่ากับคุณแอนนา เบนเน็ต ผู้เชี่ยวชาญโลหะ สมัยก่อนประวัติศาสตร์จากอังกฤษและคณะของ อพท.และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ระหว่างวันที่ ๖ - ๑๓ กรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงเพิ่งพ้นการครบรอบ ๑ ปี ที่ ๓ เมืองโบราณสมัยพยูในพม่าได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน เป็นมรดกโลกจากการประชุมที่กรุงพนมเปญ กัมพูชาเมื่อวัน ที่ ๒๒ มิถุนายน ปีที่แล้ว ที่มีมติขึ้นบัญชีพระบรมธาตุเมืองนคร เพื่อรอการพิจารณาภายใน ๑๐ ปี ที่ก�ำลังเร่งรัดและด�ำเนิน การกันอยู่ทุกวันนี้ การเดิ น ทางครั้ ง นี้ พวกเราไปกั น ๔ คน มี ค ณะนั ก โบราณคดีจากสมาคมโบราณคดีแห่งพม่า (MAA) เป็นฝ่าย ดูแลรับรองตลอดรายการ ๙ วัน เริ่มจากมัณฑะเลย์ ขึ้นไป ชเวโป บ้านเกิดของพระเจ้าอลองพญาที่มาตีกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย แล้วไปท่องในเมืองโบราณฮาลินที่เพิ่งได้มรดก โลกทั้งวัน วกกลับมาขึ้นเขาสกาย ไปเยี่ยมเจ้าพ่อลูกปัดพม่า ตอนเหนือ อู วิน เมือง แล้วเที่ยวดูกรุงมัณฑะเลย์ก่อนลงไป ที่ลุ่มน�้ำซามอนที่เป็นดงลูกปัดสมัยก่อนประวัติศาสตร์ส�ำคัญ ของพม่า แวะบ้านนักท�ำลูกปัดแบบโบราณแล้วดูหลุมขุดหา ลูกปัดในหมู่บ้าน ก่อนที่จะเข้าไปเมืองพุกามที่ตามต�ำนาน และการมีการตีความว่าพระเจ้านรปติสิทธูแห่งพุกามประเทศ นี้ที่ร่วมกับพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ แห่งกรุงลงกา มาร่วม สถาปนาพระสถูปบรมธาตุเจดีย์ที่หาดทรายแก้วกับพระเจ้า ศรีธรรมาโศกราชเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ โดยถึงทุกวันนี้ พุกามไม่ได้รับการพิจารณาจากยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกด้วย หลายเหตุและมีข้อขัดแย้งกันมากมาย ที่นี่คณะ MAA ได้พา เราไปที่ควนลูกปัดขนาดใหญ่ไม่แพ้ที่คลองท่อม อยู่ริมแม่น�้ำ อิระวดีแล้วเดินทางต่อไปเมืองเบกถาโนต่อด้วยเมืองพเยหรือ ศรีเกษตรที่ร่วมเป็นมรดกโลกกับเมืองฮาลิน โดยที่ศรีเกษตร ได้พบคนขายลูกปัดท�ำใหม่อีกพวก ก่อนที่จะมุ่งหน้าสู่นคร ย่ า งกุ ้ ง ที่ ผ มวนเวี ย นหลายรอบ ขึ้นมหาเจดีย์ชเวดากองที่เขาไม่ คิ ด เสนอให้ ใ ครมารั บ รองความ เป็นมรดกโลก โดยได้พบเจ้าพ่อ เจ้าแม่ทางโบราณคดีในพม่า ๒ คน คือ อู ซาล วิน กับ อลิซาเบธ มัวร์ พร้ อ มกั บ ไปเข้ า ไปตลาดสก็ อ ต แบบเดียวกับจตุจักรที่เมือไทย ได้ พบเห็นและได้ลูกปัดมาอีกจ�ำนวน หนึ่ ง เพื่ อ ประกอบการศึ ก ษาค้ น คว้าต่อไป กรณีศึกษา ๓ มรดกโลกจาก พม่ารอบนี้ที่น่าแลกเปลี่ยน คือ ๑) ที่ฮาลิน เบกถาโน และ

แผนผังเมืองโบราณฮาลินที่มีติดไว้แทบทุกจุดส�ำคัญและตามทางแยก หลายภาษา กับนักเรียนในเมืองโบราณก�ำลังไปโรงเรียนกลางเมืองโบราณ

ศรีเกษตร ซึ่งเพิ่งได้มรดกโลกร่วมกันเมื่อปีที่แล้วนั้น ทั้งสาม เมื อ งอยู ่ ไ กล เดิ น ทางสุ ด ยากล� ำ บาก แทบทั้ ง นั้ น มี แ ต่ ซ าก อิ ฐ ที่ พ อเห็ น เป็ น ร่ อ งรอย คู น�้ ำ ก� ำ แพงเมื อ งสถู ป เจดี ย ์ วิ ห าร บ้าง เป็นหลุมขุดค้นทางโบราณคดีที่เต็มไปด้วยโครงกระดูก และหม้อบรรจุอัฐิ มีการจัดแสดงเพื่อการเรียนรู้พร้อมระบบ

ชาวบ้านก�ำลังอาบน�้ำซักผ้าในบ่อน�้ำแร่ร้อนธรรมชาติกลางเมือง โบราณที่ มี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ทั้ ง ของทางการ ของวั ด ศาลาเก็ บ จารึ ก บ้านทอผ้า รวมทั้งป้ายแสดงหลักฐานการขุดค้นศึกษาอายุทาง โบราณคดีต่างๆ

ป้ า ยอธิ บ ายพร้ อ มแผนที่ และ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โ บราณคดี ข องแต่ ล ะ เมื อ งที่ ทุ ก คนเห็ น ว่ า ดี ม ากๆ แม้ ไม่ มี อ ะไรมากนอกจากซากและ ใต้ ดิ น แต่ ก็ ส ามารถท� ำ ให้ ดู ดี แ ละ มี อ ะไรได้ เ รี ย นรู ้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ โดยเฉพาะวิถีชีวิตผู้คนที่ยังด�ำเนิน อยู่ได้ในมรดกโลก

ป้า ยแสดงข้อมูลพื้นฐานของทั้ง ๓ เมื อ ง เบกถาโน ฮาลิ น ศรี เ กษตร แสดงแผนผังโบราณสถาน ข้อบ่งชี้ ความเป็นมรดกโลก โบราณวัตถุที่ พบ พร้อมผลการศึกษาต่าง ๆ (อ่านต่อหน้า ๑๙)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

ยุ

คล จิตส�ำรวย ช่างภาพ นักจัดสวน มื อ อาชี พ วั ย ๕๖ มี ห นั ง สื อ แนว จั ด สวน เขี ย นจากประสบการณ์ พิ ม พ์ จ�ำหน่ายหลายเล่ม เขาหันหลังให้กรุงเทพฯ ที่ลูกค้าเข้าคิวรอ ๒-๓ เดือนให้เขา จัดสวนในบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ หรือคอนโดมิเนียม

ยุคลกลับมาอยู่บ้านสวนที่ ‘ลานสกาใน’ อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช (ใกล้วัดเจดีย์ เยื้องร้านขาย วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง) มาดู แ ลแม่ วั ย ชรา และ ลงมือปลูกบ้านอย่างช้าๆ เป็นบ้านปูน เปลือยตกแต่งบ้านและบริเวณสวยงาม สองปี ต ่ อ มาคนรั ก วั ย ๔๒ —อนั ญ ญา อดี ต พนั ก งานธนาคารมาอยู ่ ด ้ ว ย บ้ า น อบอุ่นมีชีวิตชีวา ช่วยกันดูแลแม่ ช่วยกัน

เลี้ยงแมวหอบหิ้วกันมา--ทาร์โออายุ ๑๖ กับพิ้วเพิ่งได้ขวบ เพื่อนๆ เบญจมฯ แวะเวียนเข้าไป เยี่ยมเยือน ไปดูบ้านสวย ดูสวนสวยๆ ไปกิน มังคุด จิบกาแฟคุยกันสนุกสนาน วันหนึ่ง เพื่ อ นๆ มี ราชิ ต สุ ด พุ ่ ม ปลั ด จั ง หวั ด นครฯ เป็นหัวหน้าทีมเปรยว่า ยุคลน่าท�ำ ร้านกาแฟ เพราะสองข้างทางลานสกาใน (เส้นลานสกา-ร่อนพิบูลย์) เป็นสวนทุเรียน สวนมั ง คุ ด มี แ นวป่ า ร่ ม รื่ น เป็ น ทางปั ่ น จักรยานที่งดงาม แต่ไม่มีร้านกาแฟให้นั่ง พัก ยุคลจึงเริ่มสร้างร้านในสวนมังคุดอยู่ ติดถนน ร้านตกแต่งโปร่งๆ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ อีกฟากเป็นร้านขนมจีน

บางวั น อนั ญ ญาท� ำ ขนมถ้ ว ย แกง มัสมั่น ห่อหมกสูตรโบราณ หมูสามรส ข้าวห่อไข่แกงกะหรี่หมูทอด หรืออื่นๆ ท�ำด้วยหัวใจ แล้วให้ยุคลไปส่งลูกค้าขา ประจ�ำตามบ้านเรือนละแวกนั้น ขายใน ราคาที่พออยู่พอกินกันได้ ลูกค้าเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ เพราะรสมือแตกต่างจากที่เคยกิน อยู่ประจ�ำ ประสบการณ์ท�ำขนมต้มแกง อนัญญาเรียนรู้จากพ่อ สุดยอดมือแกง มัสมั่นกับแม่ที่เป็นแม่ค้าขนมแสนอร่อย ในตลาดหลังสวน จังหวัดชุมพร ช่วงนี้ยุคลได้งานจัดสวนในตัวเมือง หลายแห่ ง บางวั น ต้ อ งออกจากบ้ า น แต่ เ ช้ า อนั ญ ญาอยู ่ เ ฝ้ า ร้ า น ว่ า งก็ นั่ ง ออกแบบเย็บผ้าชิ้นเล็กๆ ไว้เป็นของฝาก ของใช้ หรือไม่ก็นั่งจัดสวนถาดเผื่อมีคน ชอบใจซื้อหาไปประดับบ้านหรือห้องหับ บ้านป่าฝนเป็นร้านแปลกอยู่อย่าง ใครไป ใครมาชอบให้เจ้าของร้านถ่ายรูป เพราะ มีมุมสวยๆ ให้ถ่ายหลายมุม เจ้าของร้าน เป็นช่างภาพมือดี ลูกค้า กับเพื่อนๆ ได้ภาพสวยๆ ไปเก็บ ไปโพสต์ในเฟซบุ๊ค หรื อ อิ น สตาแกรมโก้ ห รู ไปอีก อยากไปนั่ ง เล่ น ที่ ‘บ้านป่าฝน’ โทร.ไปก่อน ได้ที่ ๐๙๕-๕๖๕๕๙๗๘


หน้า ๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

โดย : นครา นี้ได้ของบบูรณะหอพระอิศวรให้กลับไปในรูปแบบเดิม เมื่อร้อยปีก่อนอีกครั้ง ผมก็เลยเข้าไปขอบคุณเขา และ เป็ น ที่ น ่ า ยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ที ม งานศิ ล ปากรชุ ด นี้ ซึ่ ง เป็นคนจากจังหวัดอื่น ศึกษาเรื่องราว ของหอพระอิศวรและโบสถ์พราหมณ์ จากเอกสารหนังสือประวัติรวมทั้งการ ขุ ด ค้ น ทางโบราณคดี ม าเป็ น อย่ า งดี แล้วยังเสาะหาบุคคลต่างๆ ที่เคยเห็น หอพระอิ ศ วรโบสถ์ พ ราหมณ์ ม าให้ ข้อมูลเพิ่มเติมอีกด้วย รู้สึกอุ่นใจเป็น อย่างยิ่ง จากต�ำนานพราหมณ์เมืองนคร เล่าว่า กษัตริย์จากเมือง ‘รามนคร’ คือ ‘พระเจ้ า รามาธิ บ ดี ’ ส่งเครื่อง หอพระอิศวรที่บูรณะให้มีหางหงส์แบบคล้ายโบสถ์วัดพุทธ ราชบรรณาการอั น มี เ ทวรู ป พระนารายณ์ เทวรูปพระศรีลักษมี เทวรูป พระอิศวร รูปหงส์ ชิงช้าทองแดงมา เพื่อเจริญพระราชไมตรีกับอยุธยาใน สมัยแผ่นดิน ‘พระรามาธิ บ ดี ที่ ๑’ (พระเจ้ า อู ่ ท อง) โดยมี ‘พราหมณ์ ธรรมนารายณ์ ’ เป็ น หั ว หน้ า แต่ เรื อ ต้ อ งมาถู ก พายุ ซั ด เข้ า ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ ตรั ง กรมการเมื อ งตรั ง น� ำ เครื่ อ ง บรรณาการมารายงานกับเมืองนคร เจ้ า พญานครจึ ง ท� ำ หนั ง สื อ ถึ ง ‘เจ้ า พญาโกษา’ มารับ ‘เจ้าพญาโกษา’ หอพระอิศวรที่บูรณะให้กลับมาเป็นแบบดั่งเดิมเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว แต่งเรือ ๖ ล�ำมารับ แต่เกิดอัศจรรย์ ามเดือนก่อน คุณหมอบัญชา พงษ์พานิช ได้เขียน ลมพายุพัดรุนแรงเมฆหมอกด�ำปกคลุมท้องฟ้ามืดครึ้ม ถึงเรื่องการบูรณะโบราณสถานทั้งสี่ของเมืองนคร ๗ วั น ๗ คื น ก็ ไ ม่ ห าย เจ้ า พญาโกษาเกิ ด นฤมิ ต รว่ า คือ หอพระอิศวร หอพระนารายณ์ เจดีย์ยักษ์ และพระ นารายณ์เทวปรูปจะเสด็จอยู่เมืองนคร เนื่องด้วย ‘หาด บรมธาตุฯ ผมเองก็เฝ้าติดตามดูตั้งแต่เริ่มต้นขุดค้นจน แคว้นเมืองนี้มีสาริกอิสรา’ เจ้าพญาโกษาจึงแต่งเครื่อง แล้วเสร็จเกือบสมบูรณ์ ที่น่ายินดีก็คือ การบูรณะหอพระ พลีกรรมถวาย หากนฤมิตรนั้นเป็นจริงก็ขอให้ลมพายุ อิศวร เมื่อหลายปีก่อนต้นไม้หักโค่นลงบนหอพระอิศวร สงบ พลันท้องฟ้าก็สว่างขึ้น พายุลมก็สงบลง จึงส่งข่าว หลังคาพังทลาย ผู้มีจิตศรัทธาในตลาดท่าวังท่านหนึ่ง ไปยังองค์รามาธิบดีที่อยุธยาทรงทราบ พระอง์ก็ได้ตรัส ขอออกค่าใช้จ่ายในการบูรณาการทั้งหมด แต่มีข้อแม้ว่า สั่งแก่เจ้าพญาโกษาให้แต่งตราไปบอก ‘เจ้าพญานคร’ ขอให้หน่วยศิลปากรท�ำรูปแบบงานสถาปัตย์เดิมในช่วง ให้หาที่เหมาะสมในแผ่นดินเมืองนครให้อยู่ที่นั่น ร้อยปีก่อน ซึ่งมีภาพถ่ายเป็นหลักฐานอยู่ แต่ก็ได้รับค�ำ นี่เป็นหลักฐานว่าพราหมณ์คณะนี้เข้ามาเมืองนคร แนะน�ำกับผมว่า ไปหาเรื่องอื่นท�ำเถอะ ทางนี้ของบท�ำรูป เป็นคณะพราหมณ์จากเมือง ‘รามนคร’ ของประเทศ แบบเดิมก่อนถูกต้นไม้ทับใส่ มีหางหงส์แบบคล้ายโบสถ์ อินเดียปัจจุบัน เวลาก็ล่วงเลยมาเกือบ ๖๐๐ ปีแล้ว วัดพุทธไปเรียบร้อยแล้ว ก็ได้แต่ท�ำตาปริบๆ สมบัติของ พระบรมธาตุเจดีย์ก็มีอยู่ที่หาดทรายแก้วนี้แล้วด้วย เมืองนครชาวนครไม่มีสิทธิ์คิดหรือก�ำหนดได้ การบูรณะครั้งนี้ นอกเหนือจากการปรับเปลี่ยนรูป การบูรณะครั้งหลังสุดนี้ ทางกรมศิลปากรชุดใหม่ ทรงหลังคากลับมาเป็นรูปทรง >> อ่านต่อหน้า ๑๔

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

nagara@nakhonforum.com หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๔ ฉบั บ ที่ ๔๗ เดื อ นสิ ง หาคม ๒๕๕๘ จั ง หวั ด นครฯ เตรี ย ม พร้อมกิจกรรม ‘ปั่นเพื่อแม่ bike for mom 2015’ เนื่อง ในวโรกาสสมเด็จพระนางเจ้าทรงเจริญพระชนมายุ ๘๓ พรรษา ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รมว.มหาดไทย ผ่านระบบวีดิทัศน์ทาง ไกล ย�้ำกับรองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ว่ากิจกรรมนี้เป็น พระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุ ฎ ราชกุ ม ารให้ ทุ ก จั ง หวั ด ค� ำ นึ ง เรื่ อ งความปลอดภั ย เนื่องทั้งการขับขี่ จุดพัก การปฐมพยาบาลและชุดช่วย ชีวิตฉุกเฉิน ทราบว่าเมืองนครมีผู้ลงทะเบียน ๓,๓๘๑ คน ผู้ที่ลงทะเบียน ๑,๐๐๐ คนแรกจะได้รับเสื้อพระราชทาน bike for MOM พิธีปล่อยขบวนจักรยาน ๑๕.๐๐ น. ณ หน้าศาลากลางจังหวัด ระยะทาง ๓๓ กิโลเมตร จุด พักรถสองจุดอยู่ที่รอยต่อถนนพัฒนาการคูขวางกับถนน อ้อมค่าย และอนุสาวรีย์วีรไทย การปั่นไม่เน้นความเร็ว เพราะผู ้ เ ข้ า ร่ ว มไม่ ใ ช่ นั ก ปั ่ น อาชี พ กิ ต ติ ศั ก ดิ์ เชียรศรี ประธานชมรมจักรยานจังหวัดนครฯ บอกชื่นใจ ที่ ส มาชิ ก ชมรมเข้ า ร่ ว มราวๆ ๗๐๐ คน เรื่ อ ง ซุบซิบเกี่ยวกับเสื้อ ‘bike for MOM’ ๑,๐๐๐ ตัว ตอนแรก ข้าราชการบนศาลากลางจับจองกันจนนักปั่นลงทะเบียน โวยวาย ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า สั่งยกเลิก คนลง ทะเบียน ๑,๐๐๐ คนแรกต้องมารับพร้อมรถจักรยานมา ยืนยัน (ห้ามยืมของคนอื่น)..เสื้อสวยใครๆ ก็อยากได้

จบลงอย่ า งประทั บ ใจ...จั ง หวั ด นครฯ เป็ น เจ้ า ภาพจัดการแข่งขันกีฬาอาชีวเกมส์ ระดับภาค ภาคใต้ ครั้งที่ ๑๓ ระหว่าง ๑๓-๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘ พลตรี ธีร์ณฉัฎฐ์ จินดาเงิน ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๔๑ ให้ เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด ณ สนามกีฬากลางจังหวัด วั น ที่ ๒๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ ผู ้ ว ่ า ฯ พี ร ะศั ก ดิ์ หินเมืองเก่า เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่ ว มมื อ จั ด การเรี ย นธรรมศึ ก ษาในสถานศึ ก ษา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้บริหารสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ พระศรีธรรมประสาธน์ เจ้าคณะจังหวัดนครฯ (ธ.) พระศรีปริยัติบดี เจ้าคณะจังหวัดนครฯ (มหานิกาย) พระครูอธิการบดีฝ่ายบริหาร ม.จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

วิ ท ยาเขตนครศรี ธ รรมราช และฆราวาส ร่ ว มบั น ทึ ก ข้ อ ตกลง เกสร ธานีรัตน์ ผอ.สนง.กศน. จังหวัดนครฯ แจ้งว่า เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล

วั น ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ รองผู ้ ว ่ า ฯ พิ นิ จ บุญเลิศ บรรยายพิเศษในหัวข้อ ‘ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดนครศรีธรรมราช’ แก่นักศึกษาหลักสูตรนักปกครอง ระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ ๖๕ ของกระทรวงมหาดไทย ณ โรง แรมทวินโลตัส

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

นานๆ ออกงานครั้ง อ.สุธีร์ เจริญสุข ไปเล่นไวโอลิน, ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน อดีตอธิการบดี มวล. และ ภิญโญ เพชรแก้ว ร่วมงานเปิดนิทรรศการของ อ.แนบ ทิชินพงศ์

นครดีซี จ�ำกัด จัดแนะน�ำโทรทัศน์ Samsung SUHD TV เทคโนโลยี ภ าพคมชั ด ละเอี ย ดกว่ า Full HD ๔ เท่ า และสามารถโหลดภาพ Real Time จาก TV สู่ Smart วั น ที่ ๑๘-๑๙ กรกฎาคม ขนส่ งทางบกจั งหวั ด Phone ได้ กิ จ กรรมนี้ มี ผู ้ บ ริ ห ารด้ า นการตลาดจาก นครฯ จัดประมูลเลขทะเบียนรถยนต์ ธรา รุ่งนิรันดรกุล Samsung มาแนะน� ำ คุ ณ ภาพของที วี รุ ่ น ใหม่ นั ก แสดง จ่ายเงินก้อนเล็ก ๑,๕๐๖,๐๐๐ บาท ประมูลทะเบียนรถ มายากลจากรายการ ‘เกมพันหน้า’ และ ‘ยายแหววตีสิบ’ หมายเลข ‘กพ ๑ นครศรีธรรมราช’ มากอด มาร่วมให้ความบันเทิง

วันที่ ๑๗-๑๙ กรกฎาคม เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ประธานคณะกรรมาธิการปฎิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม และการศาสนา สภาปฏิรูปแห่งชาติ น�ำคณะกรรมาธิการ อาทิ ศ.ปรีชา เถาว์ทอง, รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ และ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี ร่วมประชุม ณ ห้องประชุมเทศบาลเมือง ทุ่งสง มีทรงชัย วงศ์วัชระด�ำรง นายกเทศมนตรีให้การ ต้อนรับ และพาเยี่ยมชมอาคารเก่าแบงค์สยามกัมมาจล สาขาภูมิภาค สาขาแรกของประเทศไทย สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ และเยี่ ย มชมบ้ า นนายเหมื อ งยิ บ อิ น ซอย คณะ วั น ที่ ๑๓ กรกฎาคม เอกกร ตั น ติ อุ โ ฆษกุ ล มี ค วามเห็ น ว่ า ทุ ่ ง สงเป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ทาง ผู้ก่อตั้ง อ.โสภา โลหะขจรพันธ์ ผู้ร่วมก่อตั้งและกรรมวัฒนธรรม มีจุดเด่นเพื่อเป็นตัวอย่างน�ำร่องแก่ชุมชนอื่นๆ การสภาวิทยาลัย ศ.ดร.นิตย์ศรี แสงเดือน อธิการบดี ขอแสดงความยินดีกับนักเรียนโรงเรียน ดร.สรรค์นันธ์ ตันติอุโฆษกุล อัครวงศ์ ตั น ติ วั ต ร (ทุ ่ ง สง) ๒ คน ด.ญ.เปรมิ ก า ศิ ริ ที่ ป รึ ก ษาอธิ ก ารบดี ผู ้ บ ริ ห าร และ วงศ์ วิ บู ล ย์ กั บ ด.ช.ไมเคิ ล แฮมเม็ ธ ที่ ไ ด้ รั บ คณาจารย์ จัดประกอบพิธีไหว้ครูประจ�ำ รางวั ล เหรี ย ญทองการทดสอบภาษาอั ง กฤษ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ วิทยาลัยเทคโนโลยี ระดั บ ประถมศึ ก ษา โครงการ ‘การทดสอบ ภาคใต้ ( SCT. ) มี นั ก ศึ ก ษาทุ ก ชั้ น ปี ทั ก ษะและการใช้ ภ าษาอาเซี ย นภาษาเพื่ อ การ เข้าร่วม สื่อสารอาเซียน’ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ จากส�ำนักงาน วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ณ นครดีซี ศึ ก ษาธิ ก ารภาค ๑๑ (ชุ ม พร สุ ร าษฎร์ ฯ นครฯ In The Park ถนนพัฒนาการคูขวาง พัทลุง) ที่สนามแข่งขัน อ.หาดใหญ่ ธนวั ฒ น์ ลี ล ะพั น ธุ ประธานบริ ษั ท

วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ บริษัท ฮอนด้าศรีนคร ได้รับเกียรติจากส�ำนักงานขนส่งจังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น วิ ท ยากร ฝึ ก อบรม หั ว ข้ อ รถจั ก รยาน ที่ ป ลอดภั ย และเทคนิ ค การขี่ จั ก รยานสองล้ อ อย่ า ง ปลอดภั ย ในโครงการสนามจราจรเยาวชนเสริ ม สร้ า ง จิตส�ำนึกความปลอดภัย รุ่นที่ ๑ ณ โรงเรียนไตรภูมิวิทยา และเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เปิดบ้านให้นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่าง แผนกช่างยนต์ เข้าเยี่ยมชม ศึกษา ดูงานและทดลองปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ บริษัท ฮอนด้าศรีนคร ส�ำนักงานใหญ่ สาขาตลาดหัวอิฐ

Find Us On :

boonada

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Boonpalika

Seekuang BJ

099-195-6996

WWW.SEEKUANG.COM

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

สุวัฒน์ อึ้งเกียรติกุล (ต้น) จบมัธยม จากเบญจมฯ สอบตรงเข้ า คณะบริ ห าร ธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์ (การตลาด) รหัส ๒๕๕๐ จบปี ๒๕๕๓ ได้ฝึกงานกับบริษัท บุญรอด บริวเวอร์รี่ ที่คัด ๕๐ คนจากทั่ว ประเทศ ๑๐,๐๐๐ คน ได้ท�ำโครงงาน ๓ เดือน โดยมีผู้บริหารระดับสูงเป็นอาจารย์ รวมทั้งสันติ ภิรมย์ภักดี ผู้บริหารสูงสุด ที่ ม าดู แ ลใกล้ ชิ ด และมอบรางวั ล หลั ง จบ โครงการ ต้นได้เรียนรู้ว่าเขาบริหารองค์กร อย่างไร แต่ละฝ่ายท�ำงานอย่างไร และ ผู ้ บ ริ ห ารมี วิ ธี คิ ด อย่ า งไร พอจบบริ ษั ท ชวนคนที่ มี ค วามสามารถรายคนมาร่ ว ม งาน บุ ญ รอดฯเสนอให้ ต ้ น เป็ น Brand Manager น�้ำดื่มเพอร์ร่า ที่เพิ่งออกตลาด และเขาท�ำโปรเจ็คนี้ตอนฝึกงาน “ต่อมา เขาเสนองานใหม่ เป็นธุรกิจร้านอาหารชื่อ Est. 33 by Singha เลียบทางด่วนเอกมัย ผมท�ำแผนกเล็กๆ มีคนราว ๘ คน เขาให้ เราเป็น Brand Manager ดูแลร้าน ดูแล ทุกอย่างตั้งแต่มาร์เก็ตติ้ง คุมคอร์ส มัน ท้าทายมาก เราเคยฝึกมากว้างๆ เขาให้ เรารับผิดชอบของจริงเลย สี่ห้าเดือนกว่า จะเข้าที่เข้าทาง ตอนแรกงงๆ พอได้ท�ำเรา เลยชอบงานบริการไปเลย ดูแลลูกค้า ดูแล หลังร้าน ท�ำให้เป็นระบบ ให้จัดการได้ง่าย พอท�ำไปราวปีกว่าๆ ธุรกิจร้านอาหารบูม เลยท�ำให้เห็นอะไรใหม่ๆ ไม่ว่าในประเทศ หรือประเทศเพื่อนบ้าน เขาจะพาไปดูงาน บ่อย ได้ซึมซับอะไรดีๆ มาก” ท� ำ ร้ า นอาหาร ๒ ปี ก็ ล าออก ต้ น อยากลองท� ำ product ที่ เ ป็ น สิ น ค้ า

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ก่อนไปพรีเซนต์ตัวเองกับบริษัทแม่ สุวัฒน์แอบไปเป็นพนักงานขายที่โชว์รูม ฮอนด้า สาขาสายไหมเกือบ ๕ เดือน “แถวนั้ น มี ห มู ่ บ ้ า นอยู ่ ม าก แต่ ก็ มี โชว์รูมฮอนด้าอยู่มากเหมือนกัน แข่งขัน กันสูง ในโชว์รูมมีเซลส์ที่ขายดีเราก็เรียน รู้จากเขา ผมขายได้ ๔-๕ คัน คันแรกเป็น ฮอนด้า ซีวิคกับฮอนด้าซิตี้ ผมเชื่อว่าตัว เองท� ำ ได้ มั น คื อ ธุ ร กิ จ บริ ก ารที่ ผ มท� ำ ได้ ฮอนด้ามีข้อดีอยู่อย่าง โชว์รูมเหมือนกัน แต่ วั ด กั น ที่ ใ ครบริ ก ารลู ก ค้ า ดี ก ว่ า ผม อยากท�ำเพราะว่าเรามาทางนี้อยู่แล้ว เรา สามารถท�ำได้” สุวัฒน์พูดอย่างมั่นใจ การพรีเซนต์ครั้งแรก ฮอนด้าอยาก รู้ว่าที่ดีลเลอร์เป็นใคร มีความพร้อมขนาด ไหน และที่ ส� ำ คั ญ กว่ า นั้ น เขาอยากดู ทั ศ นคติ ครั้ ง ที่ ส องบริ ษั ท แม่ ถ ามเรื่ อ งที่ ตั้งโชว์รูม ซึ่งฮอนด้ามีกลยุทธ์ตั้งใกล้เคียง คู่แข่ง “แต่เรามองว่าเราเป็นคนนครเรารู้ ว่านครจะเจริญไปทางไหน ซึ่งถนนเทิดพระเกียรติเป็นย่านสดใหม่ เราก็เอาเรื่อง นี้ไปพรีเซนต์ ตอนแรกเขาไม่เชื่อ สักพัก ฮอนด้าก็ส่งคนมาดูโดยไม่บอกเรา พอไป พรี เ ซนต์ อี ก ครั้ ง กั บ นายชาวญี่ ป ุ่ น ก็ เ ลย เรียบร้อยเพราะเราท�ำการบ้านมาดี สาม อุ ป โภคบริ โ ภคขายได้ ทั่ ว ประเทศ ตอน เดือนต่อมาเขาบอกว่าตกลงเราให้คุณเป็น นั้นคิดจะสมัครเข้าไปเรียนรู้กับยูนิลิเวอร์ ดีลเลอร์” หรื อ เนสท์ เ ล่ แต่ เ ขาตั ด สิ น ใจบวชที่ วั ด ชลประทานรั ง สฤษดิ์ ๑ เดื อ น หลั ง ลา สิกขาพ่อ-- สุรวุฒิ อึ้งเกียรติกุล บอกว่า บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ก� ำ ลั ง รั บ สมั ค รดี ล เลอร์ ส นใจหรื อ เปล่า เขาตอบว่าน่าสนใจ พ่อเลยให้ลอง ติดต่อบริษัทแม่ แล้วไปแนะน�ำตัว เราเป็น ใคร เราท�ำธุรกิจย่างไร “ผมปรึกษาพ่อ แต่ ผมไปพรีเซนต์เอง ๖ เดือนผมไป ๓ ครั้ง ผมโชคดี รุ ่ น น้ อ งคนหนึ่ ง ครอบครั ว เป็ น ดีลเลอร์ฮอนด้าที่เชียงราย เขาท�ำมา ๒๐ ปี แ ล้ ว ผมเลยได้ ค วามรู ้ จ ากพ่ อ ของเขา ท่านบอกว่าเป็นธุรกิจที่ดี แต่ต้องท�ำระยะ ยาว หัวใจคือดูแลลูกค้าให้ดีที่สุด อยาก ได้ก�ำไรเร็วๆ คงไม่มี ถ้าคุณท�ำได้ดีก็เป็น ธุรกิจที่มั่นคง” ฉันทัช - สุวัฒน์ อึ้งเกียรติกุล

เริ่ ม ก่ อ สร้ า งต้ น ปี ๒๕๕๗ ใช้ เ วลา ๑ ปีครึ่ง ทางฮอนด้า ออโต้โมบิล ลงมา ดูความคืบหน้าเดือนละครั้ง ทุกสัปดาห์ ต้องส่งรายงานให้เขาทราบ โชว์รูมฮอนด้า เทิ ด พระเกี ย รติ ที่ โ อ่ อ ่ า สวยงามฝ่ า ยขาย กับส่วนบริการเปิดเมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ เป็นโชว์รูมครบวงจร ๓ ส่วน คือ โชว์ รู ม กั บ ส� ำ นั ก งาน เฉพาะฝ่ า ยขาย มี ๑๑ คน, ส่ ว นบริ ก ารเช็ ค ซ่ อ ม ที่ ฉั น ทั ช อึ้งเกียรติกุล น้องชายเพิ่งเรียนจบปริญญา ตรีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเครื่องกล จากสถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ฯ (ลาดกระบัง) เป็นกรรมการผู้จัดการ ส่วนนี้ มีพนักงานรับรถ ๑๐ คน ช่างประมาณ ๒๐ คน และอู่สี งานซ่อมสี ตัวถัง จัดจ้าง ซับพลายเออร์ที่มีประสบการณ์ซ่อมสีให้ ฮอนด้ า นานกว่ า ๑๐ ปี ซึ่ ง จะต้ อ งผ่ า น การตรวจสอบมาตรฐานและการรับรอง ของฮอนด้าบริษัทแม่ก่อน ก่อนจะมาเปิด บริการจริง “เราอยากให้ลูกค้าได้มากที่สุด ก�ำไร เราลดลงไป แต่ได้คุณภาพกลับมาเราถือ ว่าคุ้มค่า นี่เป็นนโยบายที่เราวางไว้” สุวัฒน์ ย�้ำด้วยรอยยิ้ม ถามตรงๆ ว่าช่วงเศรษฐกิจซบเซา ฮอนด้าเทิดพระเกียรติมีกลยุทธ์การขาย อย่างไร เขาตอบว่า “เรามองว่าแบรนด์ ฮอนด้าไปได้ เราว่าถ้าเป็นเพราะเศรษฐกิจ เราก็ ไ ม่ ต ้ อ งท� ำ อะไร ผมลองขยายพื้ น ที่ เปิ ด โชว์ ร ถชั่ ว คราวที่ ห น้ า ห้ า งโรบิ น สั น โอเชี่ยน ลูกค้ามาเราก็ได้อีกกลุ่ม ๖ เดือน เรารู้ว่าลูกค้าอยู่ที่ไหน เราไม่ได้รอให้เขา มาหาเรา ผมพบว่ า มี ลู ก ค้ า ที่ อ ยากใช้ แบรนด์ฮอนด้าอยู่เยอะ แต่เราต้องไปหา เขา อย่ารอให้เขามาหาเรา เราต้องออกไป หาลูกค้าอย่างแบรนด์อื่นๆ นี่เป็นโอกาส เพราะฐานของแบรนด์ฮอนด้าแข็งอยู่แล้ว ช่วงที่ผ่านมาเขาท�ำไว้ดีอยู่แล้ว ชื่อได้อยู่ แล้ว แต่ที่อาจไม่ส�ำเร็จสูง เนื่องจากเจ้าของ ดี ล เลอร์ ไ ม่ เ อา performance ไปบอก ลูกค้า” โชว์รูม ฮอนด้า เทิดพระเกียรติ ใหญ่ โตโอ่อ่าบนเนื้อที่กว่า ๑๖ ไร่ ตอนลงมือ ก่ อ สร้ า งคุ ณ พ่ อ ของสุ วั ฒ น์ ค อยควบคุ ม อย่างใกล้ชิด บริษัทแม่ติดตามดูแลอย่าง ใกล้ชิด เมื่อโชว์รูมเปิดคุณพ่อก็ถอยออก ไปอยู่ข้างหลังคอยให้ค�ำปรึกษา ที่นี่ทันที ที่ ลู ก ค้ า ไปถึ ง บริ เ วณจอดรถ พนั ก งาน ขายจะลงไปต้อนรับถึงประตูและเดินน�ำ เข้ า โชว์ รู ม ที่ มี ร ถยนต์ ห รู ๆ รุ ่ น เล็ ก Dio, City, Jazz, Mobilio, Civic, CR-V, HR-V, Escort และ Odyssey ซึ่งเป็นรถน�ำเข้า ๗ ที่นั่งราคาเฉียด ๓ ล้านบาท มีกาแฟ ทีวี อินเตอร์เน็ตบริการ “ผมบอกพนักงานขายว่า ถ้ามีลูกค้า เข้ามาต้องเดินลงไปรับลูกค้า เชิญขึ้นมา บนโชว์รูม ดูแลจนลูกค้าเดินออก เราต้อง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

มี

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

คนใหม่ๆ เข้าสู่ธุรกิจด้วยความอยาก เป็นเจ้าของกิจการต่างๆ มากมาย หลายคนเลือกตามกระแสธุรกิจ แต่ก็มี หลายคนเลือกอาชีพจากที่ชอบ ที่ถนัด การเลื อ กท� ำ อาชี พ ของเจ้ า ของกิ จ การ ส่วนใหญ่เลือกจากท�ำอาชีพเพื่อหวังว่า จะมีรายได้สุทธิ นั่นก็คือ รายได้หรือยอด ขาย - ต้นทุน - ค่าใช้จ่าย - ดอกเบี้ย เหลือก�ำไรสุทธิไว้คืนเงินทุนที่ลงไป - เก็บ ไว้ เ ป็ น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย น และใช้ จ ่ า ย ส่วนตัวและครอบครัว สิ่งที่เราเลือกมา จากอาชี พ ที่ ท� ำ แต่ เ ราไม่ ไ ด้ เ ลื อ กจาก ผลลัพธ์คือก�ำไรสุทธิที่อยากได้ แล้วจึงมา พิจารณาว่าอาชีพใดที่ตอบโจทย์รายได้ สุทธิต่อเดือน / ปี ที่เราอยากได้ หลาย รายก็ติดอยู่กับภาวะเงินหมุน - มีหนี้สิน ติดพันไปเรื่อยๆ พูดง่ายๆ รายได้ - ราย จ่าย - ไม่พอใช้จ่ายส่วนตัวและครอบครัว แต่ต้องท�ำต่อไปเพราะไม่รู้จะไปเริ่มต้น อะไรใหม่ ไ ด้ อี ก เงิ น ทุ น ที่ ล งไปก็ ยั ง ไม่ สามารถเอาคืนได้ ท�ำไมจึงเป็นเช่นนี้ ก็ เพราะการเลื อ กของเรามาจาก เลื อ ก

อาชีพ ผมขอใช้สมการง่ายๆ ดังนี้ X=Y (X คืออาชีพ, Y คือรายได้) การเลือกครั้ง แรกเราเลือกจาก Y คืออยากมีรายได้แล้ว จึงมาเลือกอาชีพ แต่พอลงมือท�ำเรากลับ มาเลื อ กที่ X คื อ อาชี พ และพยายามหา อาชี พ ที่ อ ยากท� ำ ที่ ช อบ ที่ เ ห็ น คนอื่ น ท� ำ แล้วส�ำเร็จ หรืออยู่ในกระแสก�ำลังฮิตมาก ไม่ ท� ำ ตอนนี้ ไ ม่ ไ ด้ แ ล้ ว เป็ น การตกหลุ ม พรางของการเลือกอาชีพโดยไม่ได้เลือก ว่าจริงๆ แล้วต้องการก�ำไรสุทธิเท่าไร? จะคืนทุนเมื่อไร? และจะท�ำต่อไปอีกกี่ปี แนวโน้มเติบโตได้หรือไม่? ท�ำไมจึงเป็นเช่นนี้ ไม่มีใครตอบได้ แต่โลกอาชีพที่คนส่วนใหญ่มีความเชื่อก็ คือการเลือกอาชีพ เรียนให้เก่งๆ จะได้เป็น หมอ - วิศวะ - เป็นลูกจ้างบริษัทใหญ่ - รับ ราชการมีความมั่นคง - ท� ำธุรกิจแล้วจะ รวย เราถูกปลูกฝังให้เลือกจากอาชีพมา เป็ น เวลานานพอสมควรส่ ง ต่ อ กั น มารุ ่ น ต่อรุ่น - มาถึงวันนี้ เราจึงพบว่าลูกจ้าง ที่เกษียณ - รับราชการเกษียณแล้วเป็น อย่างไร? เจ้าของกิจการส่วนตัวขนาดเล็ก

เป็นอย่างไร? อาจมีหลายคนประสบความ ส�ำเร็จ แต่ก็ไม่เสร็จไม่สามารถที่จะหยุด การดูแลกิจการตัวเราได้ แม้นว่าไม่ต้อง เข้าไปบริหารรายวันแต่ความรับผิดชอบ ยังอยู่ ความกดดันในการท�ำธุรกิจยังมีอยู่ ยังไม่สามารถปล่อยได้อย่างอิสระหลุดพ้น จากตัวเองไปได้ เป็นเพราะอะไร? ถ้าเรา ลองกลับมุมใหม่ละครับ เราเลือกก�ำหนด ว่าจะต้องการก�ำไรสุทธิเท่าไร? ต่อเดือน ต่ อ ปี ต้ อ งคื น ทุ น ภายในระยะเวลากี่ ป ี และธุ ร กิ จ นี้ จ ะอยู ่ ต ่ อ ไปได้ อี ก กี่ ป ี โดย ก�ำหนดจากการออกแบบงบการลงทุน จัด ท� ำ งบก� ำ ไรขาดทุ น และงบกระแสเงิ น สด ขึ้นมาก่อน จากนั้นมาพิจารณาว่าจะเลือก อาชีพอะไรที่สามารถตอบโจทย์เป้าหมาย การท�ำธุรกิจของเราได้ แม้นบางธุรกิจอาจ เป็นสิ่งที่เราไม่ชอบ ไม่ถนัด ไม่ใช่แนว ฯลฯ แต่ ถ ้ า พิ จ ารณาในการท� ำ ธุ ร กิ จ แล้ ว ตอบ โจทย์เป้าหมายของเรา ถามตัวเองใหม่ดีมั้ยครับว่าวันนี้เรา เลื อ กจากเป้ า หมายหรื อ เลื อ กการแทน ค่ า ในการลงมื อ ท� ำ กั น แน่ (รายได้ สุ ท ธิ

VS อาชีพ) เพราะการเลือกส�ำคัญมาก เลือกท�ำอาชีพก็ได้ท�ำแต่ไม่แน่ใจว่าเป้า หมายคื อ รายได้ สุ ท ธิ จ ะได้ ห รื อ ไม่ ? แต่ ถ้าเราเลือกจากรายได้สุทธิที่ต้องการก็ ต้ อ งไปดู ค นที่ เ ขาเลื อ กแบบนี้ ม าเป็ น ที่ ปรึกษามาเป็นโค้ช ให้เขาบอกวิธีการใน การออกแบบทางการเงิ น ของธุ ร กิ จ ให้ เราก่ อ นที่ จ ะไปท� ำ อาชี พ แต่ ส ่ ว นใหญ่ ท� ำ ไปก่ อ นมี ป ั ญ หาทางการเงิ น ค่ อ ยมา วางระบบกันทีหลัง ในอดีตอาจเป็นไป ได้ เพราะการแข่งขันไม่สูงนัก แต่มาวัน นี้นักธุรกิจหน้าใหม่ต้องเข้าใจว่าเรามีเงิน ทุนไม่มากนัก ยกเว้นทายาทเศรษฐีที่เขา ลงทุน ๑๐ ล้าน-๒๐ ล้าน แล้วเลิกก็ไม่ เป็นไร? เพราะเขาอาจมองว่านี่คือการ เรียนรู้ประสบการณ์แต่ส�ำหรับคนทั่วไป ท�ำอย่างนั้นไม่ได้ เพียงเงินลงทุน ๑ ล้าน บาท ก็ต้องออกแบบทางการเงินไว้ก่อน ดีกว่าครับ

บางที เ ขาชวนแฟน ชวนครอบครั ว มาดู รถ ตรงนี้เราได้มาก อยากให้ลูกค้ามาลอง ใช้ บ ริ ก ารดู ว ่ า การบริ ก ารที่ เ ราตั้ ง ใจเป็ น อย่างไร มีโอกาสผ่านมาดูรถ เอารถมาล้าง ดูทีวี มีอินเตอร์เน็ตฟรี เย็นๆ มีเวลา ๑ ชั่วโมง เลิกงานแล้วมาดูก็ได้”

สุ วั ฒ น์ เ ข้ า โชว์ รู ม ตั้ ง แต่ เ ช้ า และ กลั บ เย็ น ทุ ก วั น เขาคอยต้ อ นรั บ ลู ก ค้ า บางครั้งช่วยแก้ปัญหาให้ลูกค้าได้รถยนต์ ฮอนด้ารุ่นที่ถูกใจไปใช้ เขาต้องการให้ ลูกค้าได้รับความสุขและความพึงพอใจ มากที่สุด

เดินไปส่ง แล้วยืนรอจนลูกค้าออกไป ผม เน้นเรื่องนี้มาก ผมอยากให้มาตรฐานขยับ ขึ้นมาเป็นมาตรฐานจริงๆ ผมเคยอ่านเรื่อง คนที่ เ ป็ น ดี ล เลอร์ ที่ ญี่ ป ุ่ น ปกติ ญี่ ป ุ่ น เขา มาตรฐานอยู่แล้ว เขาบริการลูกค้าดีมาก สามารถยกระดับให้เหนือกว่าคนอื่นได้” ตลอด ๖ เดือนตั้งแต่เปิดโชว์รถหน้า โรบิ น สั น โอเชี่ ย นจนถึ ง ปั จ จุ บั น สุ วั ฒ น์ เปิ ด เผยว่ า รุ ่ น ที่ ข ายดี เ ป็ น H-RV ขายดี มาก โชว์รูมเราเปิด ๖ เดือน ยอดขายราว ๗๐ คัน “ผมว่าเหมาะรุ่นนี้กับการขับทาง

ไกลและขั บ ในเมื อ ง ตอบโจทย์ ค นนคร อยู่แล้ว รุ่นเดียวกับซีวิค แต่มี ๕ ประตู มี ค วามคล่ อ งตั ว การแข่ ง สู ง บริ ษั ท แม่ พยายามปล่อยโปรโมชั่นดีๆ โดยเฉพาะ รถรุ ่ น ใหญ่ ที่ ต อบโจทย์ ค นภาคใต้ ส่ ว น มากจะซื้อรถรุ่นใหญ่หมดเลย บริษัทแม่ ออกโปรโมชั่น ทั้งลดดอกเบี้ย ประกันภัย แถมส่ ว นลดเพิ่ ม ให้ อี ก ตรงนี้ ส ามารถ แข่งขันกับแบรนด์อื่นได้ดี ของเราสามารถ ท�ำได้เหมือนกัน แต่ไม่เยอะมาก ไม่ต่างกัน มาก เราอยากนั่งคุยกับลูกค้า ว่าเราจะได้ ตรงไหน ถ้าเราพอจะท�ำได้เราก็อยากให้ ลูกค้าพอใจทุกกรณี ผมพยายามให้ลูกค้า ได้ประโยชน์ตามต้องการ เรื่องดูแลลูกค้า พ่อก็คอยแนะน�ำเหมือนกันเพราะคุ้นเคย กับคนอยู่มาก แนะน�ำว่าควรท�ำอย่างไร” ลูกค้าของฮอนด้า เทิดพระเกียรติ มี ทั้งผู้ประกอบการ ข้าราชการ ชาวสวนมี กระบะ แต่ก�ำลังมองหารถยนต์คันที่สอง ก็มาเยี่ยมมาชม วันอาทิตย์ ฮอนด้า เทิดพระเกียรติ ก็เปิดบริการ “เรามองว่าตอนแรกเราเปิดแค่ ๖ วัน เราคิดว่าลูกค้าบางคนวันธรรมดาเขา ไม่สะดวก วันอาทิตย์เขาอยู่กับครอบครัว

ไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ ก.ค. ๕๘

เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘

วันศุกร์ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีมะแม วันศุกร์ที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีมะแม วันเสาร์ที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนเก้า (๙) ปีมะแม วันเสาร์ที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๘ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนเก้า (๙) ปีมะแม


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชเรียกร้องให้เร่งตรวจสอบหา สาเหตุและที่มาของคราบสนิมที่ปลียอดทองค�ำ บริเวณ กลีบบัวคว�่ำบัวหงายดูไม่สวยงามและเกิดความเคลือบ แคลงสงสัยการบูรณะครั้งก่อนๆ นับเป็นการตั้งนั่งร้านขึ้น ส�ำรวจครั้งที่ ๒ ในรอบ ๓ ปี สืบเนื่องมาจากเสียงเรียกร้องของกลุ่มประชาชน ผู้ศรัทธา เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ นายบวรเวท รุ่งรุจี อธิบดีกรมศิลปากร มีความเห็นชอบให้ตั้งนั่งร้าน ขึ้นไปตรวจสอบหาสาเหตุที่แน่ชัดซึ่งจากหลักฐานที่มีอยู่ เฉพาะส่วนของปลียอดเหนือกลีบบัวขึ้นไปด้านในมีแผ่น ตะกั่วและไฟเบอร์กลาสหุ้มไว้ โดยมีแผ่นทองค�ำหุ้มทับอยู่ รอบนอกไม่มีโลหะที่เป็นสนิม แต่ในส่วนของกลีบบัวคว�่ำ บัวหงายมีโครงเหล็กรัดอยู่โดยรอบ มีปูนโบกทับ ซึ่งไม่ มั่นใจว่าจะเป็นสแตนเลสแท้หรือไม่ คิดว่าคราบสนิมน่า จะมาจากโครงสร้างเหล็กจึงต้องขึ้นไปตรวจสอบข้อเท็จ จริงโดยส่งช่างสิบหมู่ชุดใหญ่ลงมาพร้อมนักวิทยาศาสตร์ เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ แ ละวิ ศ วกรมาตรวจสอบสาเหตุ แ ละ ก�ำหนดวิธีการบูรณะ หากจ�ำเป็นก็ต้องถอดกลีบบัวคว�่ำ บัวหงายทองค�ำมาเก็บรักษาไว้ก่อนรื้อโลหะที่เป็นสนิม ออกมาทั้งหมดแล้วจึงติดตั้งทองค�ำกลับคืน เมื่อถึงตอน นั้นจะต้องมาประมาณการงบประมาณส่วนนั่งร้านจะติด ตั้งได้อีกครั้งในช่วงเดือนเมษายน ๒๕๕๘ แต่เวลาได้ล่วง เลยมาถึงกลางเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ ก่อนการตั้งนั่งร้าน เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ นายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานการประกอบพิธีพราหมณ์บวงสรวงพระ บรมธาตุเจดีย์ฯ บริเวณลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุวรมหา วิหาร โดยเชิญนายโชติ ทวิสุวรรณ พราหมณ์ชื่อดังของ จังหวัดมาเป็นเจ้าพิธีบวงสรวงเพื่อความเป็นสิริมงคลและ ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ก่อนการติดตั้งนั่งร้านรอบพระบรมธาตุเจดีย์ฯ นายศิริพัฒ พัฒกุล กล่าวว่า การติดตั้งนั่ง ร้านครั้งนี้ด�ำเนินการโดยกรมศิลปากร ซึ่งส�ำนักศิลปากร ที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช เป็นผู้ว่าจ้างห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บูรณาไท เป็นผู้รับจ้าง เริ่มสัญญาจ้างวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ รวมระยะเวลา

๓๓๐ วัน ใช้งบประมาณ ๑,๐๒๐,๐๐๐ บาท ใช้งบจาก ๓ ส่วนคือ กรมศิลปากร จังหวัดนครศรีธรรมราช และ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ส่วนการบูรณะซ่อมแซม หลั ง การตรวจสอบสาเหตุ ก ารเกิ ด คราบสนิ ม จนแน่ ชั ด จังหวัดนครศรีธรรมราชได้ของบประมาณรายจ่ายประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ ในวงเงิน ๓๐ ล้านบาท การส�ำรวจและบูรณะจึงไม่สามารถด�ำเนินการให้ แล้วเสร็จทันช่วงงานบุญประเพณีเทศกาลเดือนสิบตามที่ เคยกล่าวไว้ เรื่องนี้ประชาชนต้องเข้าใจว่าการส�ำรวจและ ซ่อมแซมมีปัจจัยทางเทคนิคที่ละเอียดอ่อนหลายอย่าง การตั้งนั่งร้านส�ำรวจปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ฯ ปี ๒๕๕๘ เกี่ ย วข้ อ งอย่ า งส� ำ คั ญ กั บ การประชุ ม คณะ กรรมการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช (วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) เพื่อ ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ การประชุ ม ครั้ ง นั้ น มี น ายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น ประธาน ผู ้ เ ข้ า ประชุมประกอบด้วย ปลัดจังหวัด ผู้แทนจากส�ำนักงาน ศิลปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ส่วนราชการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง โดยผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดได้รายงานความคืบหน้าเรื่องความคืบ

หน้าการแก้ไขสนิมที่ปล้องไฉนขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ นายยงยุทธ์ แจ่มวิมล ผู้แทนจากส�ำนักงานศิลปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช รายงานว่ากรมศิลปากรได้ผู้รับจ้าง ท�ำสัญญาลงนามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ หลังจากนี้ผู้รับจ้างจะต้องด�ำเนินการติด ตั้งนั่งร้าน เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญขึ้นไปส�ำรวจหาสาเหตุของ คราบสนิมที่เกิดขึ้นที่ปล้องไฉน เมื่อได้รับข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อบูรณะต่อไป การประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ ผศ. ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ กล่าวถึงความคืบหน้าในการจัด ท�ำเอกสารน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช (วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) เพื่อ ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ว่าการเรียบเรียงเอกสารซึ่งปกติ มี ๘ บท โดยบทที่ส�ำคัญที่สุด คือ บทที่ ๒, ๓, ๔ และ ๕ ซึ่งว่าด้วยวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร วิธีการก�ำกับดูแล แผนบริหารจัดการ การคุ้มครองและบูรณะปฏิสังขรณ์ พื้นที่มรดกโลกทั้งวัด ไม่ว่าจะเป็นเขตพุทธาวาส ซึ่งมี พระบรมธาตุเจดีย์ฯ ศูนย์กลาง หรือเขตสังฆาวาส หรือ พื้นที่ที่มีกุฎิทั้งหมดเป็นเรื่องหลักของการน�ำเสนอวัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหารเพื่อขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนี้ การเรียบเรียงเอกสารเดินทางไปถึงบทที่ ๕ ซึ่งต้องแก้ไข เพิ่มเติมเพื่อให้งานมีความสมบูรณ์ถูกต้องตามแนวทาง ของศู น ย์ ม รดกโลกที่ เ คร่ ง ครั ด เรื่ อ งความถู ก ต้ อ งของ หลักฐาน ส่วนการจัดท�ำแผนในพื้นที่อนุรักษ์พื้นที่ของวัด เป็นแผนที่ ๑ แผนที่ ๒ คือพื้นที่ปริมณฑลตั้งแต่สี่แยก ประตูไชยสิทธิ์ ถึง สะพานนครน้อยเป็นพื้นที่ที่ต้องดูแล เช่นเดียวกัน โดยมีข้อก�ำหนดเกี่ยวกับบัญญัติว่าด้วยการ ก�ำหนดความสูงของอาคาร เป็นต้น และต้องรีบด�ำเนิน การจัดท�ำประชาคมรับฟังความเห็นชอบจากประชาชน คาดว่าสามารถด�ำเนินการได้ประมาณเดือนกรกฎาคมกันยายน ๒๕๕๘ ส�ำหรับเอกสารฉบับภาษาอังกฤษจะ เสร็จภายในเดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ส่วนภาคผนวก จะแล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ เพื่อเข้าสู่คณะ กรรมการคณะต่างๆ เสนอคณะรัฐมนตรี และจัดส่งไปยัง ศูนย์มรดกโลกของยูเนสโกเข้าสู่การพิจารณาได้ภายใน ต้นเดือนมกราคม ๒๕๕๙ หมายเหตุ : คราบสนิมขององค์พระบรมธาตุเจดีย์มอง เห็นชัดเจนเมื่อปี ๒๕๕๕ ปลายปี ๒๕๕๖ สมัยนายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช การตั้งนั่งร้านขึ้นส�ำรวจห้างหุ้นส่วน จ�ำกัด เมธาวีรวมช่างเป็นผู้รับจ้าง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙


หน้า ๑๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ถ้าภิกษุในธรรมวินัยนี้ จะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าฟังมาแล้ว ได้รับมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นค�ำสอนของพระศาสดา ดังนี้ พวกเธออย่าพึงรับรอง อย่าพึงคัดค้าน เธอก�ำหนดเนื้อความนั้นให้ดี แล้วน�ำไปสอบสวนในสูตร น�ำไปเทียบเคียงในวินัย ถ้าลงกันไม่ได้ เทียบเคียงกันไม่ได้ พึงแน่ใจว่า นั่นไม่ใช่ค�ำสอนของพระผู้มีพระภาคแน่นอน ภิกษุรูปนั้นจ�ำมาผิด พวกเธอพึงทิ้งค�ำเหล่านั้นเสีย ถ้าลงกันได้ เทียบเคียงกันได้ พึงแน่ใจว่า นั่นเป็นค�ำของพระผู้มีพระภาคเจ้าแน่แล้ว ภิกษุรูปนั้นจ�ำมาอย่างดีแล้ว พวกเธอพึงรับเอาไว้ (ตรัสที่อานันเจดีย์ โภคนคร มหาปรินิพพานสูตร) มหา.ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๒

มื่อเดือนกรกฎาคม ปี ๒๕๕๗ จังหวัด เชียงใหม่ซึ่งน�ำโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และกลุ่มนักอนุรักษ์เชียงใหม่ ได้มี การน�ำเสนอให้เชียงใหม่เป็นเมืองมรดก โลกทางวั ฒ นธรรมอี ก เมื อ งหนึ่ ง ต่ อ กรม ศิลปากร เพื่อน�ำไปสู่การยื่นขอต่อองค์ การยูเนสโก ขอเป็นเมืองมรดกโลกทาง วัฒนธรรม โดยเฉพาะเรื่องความโดดเด่น ของเมืองเชียงใหม่ เช่น ก�ำแพงเมือง ซุ้ม ประตูเมือง วัดวาอารามต่างๆ ริมแม่น�้ำ ปิง ดอยสุเทพ อนุสรณ์สถานต่างๆ รวมทั้ง คูเมืองชั้นนอก คูเมืองชั้นใน ซึ่งทั้งหมดได้ รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดีมานานแล้ว รวม ทั้งเทศบาลนครเชียงใหม่ก็มีเทศบัญญัติ ในการควบคุมอาคารสูงในเขตอนุรักษ์เอา ไว้แล้ว ในการก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง ขอบเขตที่ จะเสนอเป็ น มรดกโลกนั้ น ก็ ส ร้ า งความ หนั ก ใจแก่ ค ณะท� ำ งานพอสมควร เช่ น เดี ย วกั บ มรดกโลกของเราเหมื อ นกั น ปัญหาการก�ำหนดเขตเมืองให้เป็นมรดก

โลกนั้ น เป็ น ปั ญ หาใหญ่ ซึ่ ง แตกต่ า งกั บ มรดกโลกของไทยเราสามแห่ง คือ อยุธยา สุ โ ขทั ย และบ้ า นเชี ย งที่ อุ ด รธานี ที่ เ หล่ า นี้ มี ผู ้ ค นอาศั ย อยู ่ น ้ อ ยมาก เป็ น ต� ำแหน่ ง ที่ไม่สามารถไปปลูกบ้านเรือน ตึกอาคาร ซ้อนทับลงไปได้ รวมทั้งถนนหนทาง ยาน พาหนะ ก็ไม่สามารถเข้าไปได้แต่เดิมอยู่ แล้ว กล่าวคือ เป็นเมืองที่ร้างไปแล้วจึงน�ำ มาบูรณะเพื่ออนุรักษ์ จนสามารถใช้เป็น แหล่งท่องเที่ยวได้ จึงง่ายกับการเป็นมรดก โลก จะมีก็แต่ปัญหาร้านค้าที่เพิ่งเข้าไปภาย หลัง ที่ท�ำให้เกือบถูกการถอดจากการเป็น มรดกโลกเมื่อสองปีก่อน เชียงใหม่ก็มีปัญหาไปอีกอย่างคล้ายๆ กับเมืองนคร ผู้สนับสนุนให้เป็นมรดกโลกมี จ�ำนวนมากเกิน ๙๐ เปอร์เซ็นต์ มีผู้ไม่เห็น ด้วยเพราะขาดการให้ข้อมูลอย่างชัดเจน เท่ า นั้ น ส่ ว นผู ้ เ สี ย ผลประโยชน์ มี จ� ำ นวน น้อยนิดนับหัวได้ ของเมืองเชียงใหม่จะมี ปัญหาเรื่องความเจริญทางวัตถุใหม่ๆ เทคโนโลยี การก่อสร้างที่ไม่เข้ากัน ไม่สอดคล้อง

เครดิตภาพ : ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่

กัน จึงท�ำให้บรรยากาศไม่เข้ากับโบราณ สถานเมืองเก่าซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเมือง เช่น ศาลาที่พักผู้โดยสาร ป้าย LED รูปแบบ อาคารเป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องธุ ร กิ จ มากกว่ า เอกลักษณ์ของเมือง คนละบรรยากาศ ถึง แม้ ท างเทศบาลนครเชี ย งใหม่ จ ะทุ ่ ม เงิ น มหาศาลน�ำสายไฟฟ้าลงดิน ถอดเสาไฟฟ้า ออก แต่กลับมีเสาป้ายอย่างอื่นขึ้นมาแทน จึงเป็นการขัดแย้งกันทางความคิดของคน เชียงใหม่ ถูกหาว่าอนุรักษ์จนท�ำอะไรใหม่ ไม่ ไ ด้ หรื อ พั ฒ นาการทางวั ต ถุ ข องเมื อ ง อย่างเกรี้ยวกราด จึง เป็ นภาระของผู้ คนในเมือ งเชี ยง-

ใหม่ต้องตั้งคณะท�ำงานจิตอาสามาช่วย กันปรึกษาหารือ ให้ความรู้ ระดมความ คิ ด ระดมสมอง ให้ มี ก ารพั ฒ นาเมื อ ง ต่ อ ไปอย่ า งมี ส ติ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ ประโยชน์กับเมือง กับผู้คนในเมือง ไม่ใช่ พั ฒ นาเฉพาะคะแนนนิ ย มทางการเมื อ ง ของตน พัฒนาแต่ธุรกิจเฉพาะตน ไม่ค�ำนึง ถึงประโยชน์ของเมือง ประโยชน์ทั้งคน ทั้งเมือง รู้จักปกป้องประเพณีวัฒนธรรม ที่คนรุ่นก่อนเขาสร้างและสั่งสมกันตลอด มา จนเราได้เสวยสุขกับสิ่งที่บรรพบุรุษได้ สั่งสมไว้เป็นมรดกให้แก่เราให้แก่โลก


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

รายงาน

ณะพนักงานของห้างหุ้นส่วนจ� ำกัด บู ร ณาไท ผู ้ รั บ จ้ า งก� ำ ลั ง ตั้ ง นั่ ง ร้ า น ขึ้ น ไปส� ำ รวจเหตุ ก ารเกิ ด สนิ ม บริ เ วณ ปลี ย อดพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช บริ เ วณถนนราชด� ำ เนิ น หน้ า วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร พนักงานของกิจการร่วมค้า ธนพรบิลดิ้งค์ ก�ำลัง เร่งปรับปรุงพื้นถนนและทางเท้า ความยาว ๔๗๐ เมตร จากสี่แยกถนน ศรี ธ ามาทางทิ ศ ใต้ ถึ ง สามแยกถนน มั ง คุ ด ทางทิ ศ เหนื อ อย่ า งขะมั ก เขม้ น จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาเป็ น เจ้ า ของโครงการ ชื่อ ‘โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนและ ทางเท้า ถนนราชด�ำเนิน บริเวณหน้าวัด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร ต�ำบลในเมือง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช’ ใช้ ง บประมาณ ๑๒,๓๔๕,๐๐๐ บาท ระยะเวลาด� ำ เนิ น วั น ที่ ๒๙ กั น ยายน ๒๕๕๗ – ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู ้ ควบคุมงานประกอบด้วย นายทรงกลด

เอนกชัย สถาปนิก ๖ว นายเอกชัย ดุกหลิ่ม พนักงานสถาปนิก นายนัณท์ธวัตร แดงกัลยาณวัจน์ นายช่างเขียนแบบ ๗ว และนายเสน่ห์ สิงห์นุ้ย นักวิชาการศาสนา ช�ำนาญการ แต่จนถึงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ โครงการยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จน ต้องเลื่อนไปเป็นวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ต่อแต่นี้ไปคณะกรรมการตรวจการจ้าง ซึ่ง มี น ายวิ ชั ย คั ม ภี ร ปรี ช า โยธาธิ ก ารและ ผั ง เมื อ งจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น หัวหน้าจะต้องเร่งรัดให้เสร็จสมบูรณ์และ ถู ก ต้ อ งตามสั ญ ญาเพราะผู ้ ใ ช้ ร ถใช้ ถ นน และผู้ประกอบการได้รับผลกระทบมาร่วม ๗ เดือน โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนและ ทางเท้า ถนนราชด�ำเนิน บริเวณหน้าวัด พระมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นส่วนหนึ่งของ การสนั บ สนุ น การเสนอวั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ซึ่ง อยู่ในเขตพื้นที่แนวกันชน (Buffer Zone) ซึ่งผู้รับจ้างจะปูพื้นถนนใหม่ด้วยแผ่นหิน

ลูกเต๋า (Cobble Stone) หลากสีสวยงาม ตามรูปแบบที่ประยุกต์ให้สอดรับกับศิลปะ ประจ�ำถิ่น สอดรับต่อรูปแบบศิลปะประจ�ำ ถิ่น แม้การปูพื้นและทางเท้ายังไม่สมบูรณ์ นักท่องเที่ยวและชาวนครที่เดินทางมาสัก การะบรมธาตุ เ จดี ย ์ ต ่ า งชื่ น ชมความงาม และถ่ายภาพกลับมาโพสต์ลงสื่อออนไลน์ ไม่ ว ่ า อิ น สตราแกรมหรื อ เฟซบุ ๊ ค ให้ ช าว นครที่อยู่ต่างจังหวัดได้ชื่นชม

สุทธิรักษ์ จงจิตต์ หุ้นส่วนเจ้าของ ร้านกาแฟไทชิ ตั้งอยู่ในบ้านท่าขุนรัฐวุฒิวิ จ ารณ์ ต รงข้ า มวั ด พระมหาธาตุ ฯ เปิ ด กิจการมา ๓ ปี ยอมรับว่าการปิดถนนนับ แต่ปลายปี ลูกค้าแทบไม่มี ยอดขายลดลง แต่พอผ่านไประยะหนึ่งขาประจ�ำเดินกลับ เข้ามา รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาสัก การะพระบรมธาตุฯ “ผมเห็ น ด้ ว ยกั บ เรื่ อ งนี้ ส� ำ หรั บ คน นครการที่พระบรมธาตุฯ ได้เป็นมรดกโลก จะดีกับทุกๆ คน ไม่ว่าคนนครที่นี่หรือที่ อื่น เราควรภูมิใจและร่วมสนับสนุน การ เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ตอนแรกๆ คนเข้ามา บ่นกันเยอะ ผมอยู่ที่นี่ก็ได้ยินคนพูด โดย เอาข้อมูลที่เขาฟังมา จริงบ้าง ไม่จริงบ้าง ท�ำอย่างนี้ต่อไปเขาให้รถวิ่งได้ไหม ปิดถนน อย่างนี้จะค้าขายอย่างไร มองในมุมที่เขา รับรู้มา อาจจริงหรือไม่จริงก็ได้ ร้านค้าส่วน หนึ่งเขาไม่ได้ปรับตัวเพราะอยู่ๆ ก็ปิดถนน

โดยไม่แจ้งอะไร น่าจะเป็นจุดอ่อน ปิด แล้วไม่มาบอกว่า ปิดท�ำไม ปิดกี่วัน คน ก็พูดกันไปตามที่เขารู้หรือไม่รู้ แผ่นป้าย โครงการมาติ ด ที ห ลั ง ชาวบ้ า นไม่ ไ ด้ เข้าไปอ่าน” สุทธิรักษ์ เปิดเผยต่อไปว่า “ช่วง นี้ ร ้ า นค้ า เริ่ ม ปรั บ ตั ว ได้ แ ล้ ว ลู ก ค้ า พอ ปรับตัวได้เขาก็มา บางคนกลัวรถวิ่งไม่ ได้ กลัวว่าจะไม่แข็งแรง ผมบอกว่ารถ วิ่ ง ได้ เขาท� ำ ให้ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ ของ มรดกโลก ผมว่าคนรอนะครับ เขาอยาก เห็น เขานึกไม่ออกว่าจะเป็นแบบไหน ผมคิดว่าความงามเกิดขึ้นแน่ ถนนสาย นี้ ต ่ อ ไปอาจปิ ด ช่ ว งเทศกาลที่ กิ จ กรรม วัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง ผมเชื่อว่าทุก คนปรับตัวได้ พอเป็นอย่างนี้เขาจะเดิน ไปดู เขาว่ามันสวยแล้ว เป็นรูปเป็นร่าง เขารอดูตอนเสร็จสมบูรณ์”

ดร.สมพร ทองสมั ค ร์ หุ ้ น ส่ ว น เจ้าของร้าน Pixzel Coffe หน้าวัดพระ มหาธาตุฯ กล่าวว่า ช่วงแรกยอดขาย กาแฟและอาหารของร้านลดลงเหมือน กั น ตอนนี้ เ ริ่ ม ดี ขึ้ น เรื่ อ ยๆ “เมื่ อ ต้ น เดือนกรกฎาคม แอ๊ด คาราบาว มานั่ง ที่ร้าน ทีวีช่อง ๙ มาใช้ร้านเราถ่ายท�ำ สัมภาษณ์”


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี

อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช

๕. ผู้ป่วยจะมีอาการอย่างไร ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหลังหรือรู้สึก หลังตึงขัดเรื้อรังนานเกิน ๓ เดือนขึ้นไป อาการปวดในโรคนี้จะเริ่มที่บริเวณกระดูก สันหลังส่วนล่างและข้อต่อกระเบนเหน็บ อาการปวดหลังหรือหลังตึงขัดจะเป็นมาก ภายหลังการตื่นนอนในตอนเช้าหรือภาย หลั ง การหยุ ด เคลื่ อ นไหวเป็ น ระยะเวลา นาน และอาการจะดีขึ้นในตอนสาย ตอน บ่าย หรือเมื่อมีการเคลื่อนไหวกระดูกสัน หลั ง การอั ก เสบของข้ อ กระดู ก สั น หลั ง ในโรคนี้ จ ะลงท้ า ยด้ ว ยการมี หิ น ปู น จั บ บริเวณเอ็นรอบตัวกระดูกสันหลัง ท�ำให้ กระดูกสันหลังเชื่อมติดกัน ในรายที่เป็น มาระยะเวลานาน การอั ก เสบของข้ อ กระดูกสันหลังอาจจะลามจากบริเวณข้อ กระเบนเหน็บ และข้อกระดูกสันหลังส่วน เอว ขึ้นไปบริเวณข้อกระดูกสันหลังส่วน ทรวงอกหรือส่วนคอ ท�ำให้กระดูกสันหลัง ทั้งหมดเชื่อมติดกันแข็ง ผู้ป่วยไม่สามารถ เคลื่อนไหวกระดูกสันหลังได้ ผู้ป่วยบาง รายอาจมีอาการปวดข้อและมีข้ออักเสบ ร่วมด้วย ข้อที่พบบ่อยมักเป็นข้อส่วนล่าง ของร่ า งกาย ได้ แ ก่ ข้ อ เข่ า ข้ อ เท้ า ข้ อ สะโพก ในบางรายอาจมีอาการที่ข้อศอก ข้อมือหรือข้อนิ้วมือ แต่จะพบได้น้อยกว่า และการกระจายของข้อที่อักเสบจะเป็น แบบไม่สมมาตร พบเอ็นหรือพังผืดอักเสบ ร่วมด้วยบ่อย เอ็นที่พบอักเสบบ่อย ได้แก่ เอ็นร้อยหวาย ส่วนพังผืดที่พบอักเสบได้ บ่อย ได้แก่ พังผืดใต้ฝ่าเท้า

อาการปวดหลังช่วงล่างอย่างน้อย ๑-๒ ครั้ง ในชี วิ ต ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ กิ ด จากการท� ำ งาน หรือการใช้อิริยาบถไม่เหมาะสม หรือเกิด จากข้อกระดูกสันหลังเสื่อมในวัยสูงอายุ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วอาการปวดจะเป็นมาก เมื่อใช้งานหรือขยับ และจะทุเลาลงถ้าได้ นอนพักหรือนวดบีบคลายกล้ามเนื้อ แต่ อาการปวดหลังที่เกิดจากโรคเอ เอส จะ มี ลั ก ษณะเฉพาะที่ แ ตกต่ า งไป คื อ เป็ น อาการปวดหลังที่พบในคนอายุน้อยกว่า ๔๐ ปี หรือเริ่มมีอาการตั้งแต่วัยรุ่น ๑๕ ปี ขึ้นไป มาด้วยอาการปวดหลังส่วนเอวหรือ ช่วงล่างใกล้กระเบนเหน็บหรือแก้มก้น เริ่ม แบบค่อยเป็นค่อยไป และเรื้อรังเกิน ๓ เดือน อาการจะปวดมากขณะนอนพักและ จะทุเลาลงถ้าได้เคลื่อนไหว อาการปวด หลังหรือหลังแข็งมักเป็นตอนเช้าหลังตื่น นอน ต่อมาเมื่อเป็นมากขึ้นอาการปวดจะ ลามขึ้นไปยังกระดูกสันหลังส่วนบน และ กระดูกต้นคอท�ำให้ปวดต้นคอและคอฝืด แข็งตามมา และเมื่อเวลาผ่านไป ๕-๑๐ ปี ข้อกระดูกสันหลังจะเชื่อมติดกันในระยะ นี้ อ าการปวดหลั ง จะทุ เ ลาลง แต่ จ ะไม่ สามารถก้ม เงยหรือหันศีรษะไปมาได้

๖. อาจมีภาวะแทรกซ้อนอะไรบ้าง นอกจากอาการปวดหลั ง ปวดข้ อ แล้ว คนที่เป็นโรคนี้มีโอกาสเกิดโรคแทรก ซ้อนอื่นๆ อีก ได้แก่ กระดูกสันหลังหัก เนื่องจากกระดูก เปราะและหักง่าย โดยเฉพาะบริเวณกระดูกคอซึ่งอาจท�ำให้เกิดการกดทับของเส้น จะทราบได้อย่างไรว่าอาการปวด ประสาทและไขสันหลังแทรกซ้อนตามมา หลังของเรา เกิดจากโรคข้อกระดูกสัน ม่านตาอักเสบ ท�ำให้เกิดอาการเคือง หลังอักเสบชนิดติดยึด ตา ตาแดง แพ้แสง ปวดตา ตามัว พบได้ อาจกล่ า วได้ ว ่ า คนทุ ก คนจะเคยมี ประมาณ ร้อยละ ๒๕-๔๐

ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ เช่ น ลิ้ น หั ว ใจรั่ ว หั ว ใจเต้ น ผิ ด จังหวะ หัวใจเต้นช้า ภาวะแทรกซ้อนของระบบ ทางเดิ น หายใจ การขยายของ ทรวงอกลดลง ปอดขยายตัวได้ น้อยลง และอาจตรวจพบพังผืดแทรกใน เนื้อปอดได้ ภาวะแทรกซ้ อ นทางไต อาจเกิ ด ภาวะไตวายได้ ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่กล่าวข้าง ต้นพบได้ไม่บ่อย ยกเว้น ม่านตาอักเสบ ดัง นั้นหากมีอาการผิดปกติทางตา ไม่ว่าจะ เป็นตาแดง ปวดตาหรือตามัว ควรรีบพบ แพทย์ เพื่อรับการวินิจฉัยและรักษาอย่าง ถูกต้อง จากการที่โรคมีอาการแสดงในหลาย ระบบและจากการที่อาการปวดในโรคนี้ เป็ น ชนิ ด เรื้ อ รั ง และไม่ สั ม พั น ธ์ กั บ ปั จ จั ย ที่กระตุ้นชัดเจน เช่นการได้รับอุบัติเหตุ บริ เ วณหลั ง หรื อ การใช้ ก ล้ า มเนื้ อ หลั ง ท�ำงานอย่างมาก ท�ำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ ค่อยได้ให้ความสนใจกับอาการปวดหลัง มากนัก และคิดว่าเป็นอาการปวดกล้าม เนื้อธรรมดา ท�ำให้มาพบแพทย์เพื่อรับการ รักษาหรือได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องล่าช้า โดยเฉพาะเพศหญิงได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เนื่องจากเมื่อเพศหญิงเกิดอาการปวดหลัง ส่วนเอวเรื้อรัง ก็จะถูกคิดว่าเป็นโรคที่อาจ เกี่ยวข้องกับมดลูกและรังไข่ ซึ่งพบได้บ่อย ในเพศหญิง ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการทางตาก็ มักจะไปรับการรักษากับจักษุแพทย์ เมื่อ มีอาการปวดข้อก็ไปพบแพทย์ที่รักษาโรค กระดู ก และข้ อ ซึ่ ง ถ้ า ไม่ ไ ด้ คิ ด ถึ ง โรคนี้ ก็ อาจท�ำให้การวินิจฉัยล่าช้าไป

๗. แพทย์จะวินิจฉัยโรคอย่างไร การวินิจฉัยโรคในกลุ่มโรคข้อและข้อ กระดูกสันหลังอักเสบอาศัยประวัติ และ การตรวจร่างกายเป็นหลัก การตรวจทาง ห้องปฏิบัติการต่างๆ มักไม่ค่อยช่วยการ วินิจฉัยมากนัก แต่อาจจ�ำเป็นส�ำหรับการ ประเมินผู้ป่วยก่อนการรักษา การตรวจหา สารรูมาตอยด์ในเลือดมักจะให้ผลลบ ซึ่ง ต่างจากโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ การพบ ลั ก ษณะความผิ ด ปกติ ท างภาพรั ง สี ข อง กระดูกและข้อ มักพบในรายทีเ่ ป็นนานแล้ว การตรวจหา HLA B27 ถึงแม้จะให้ ผลบวกในผู้ป่วยส่วนใหญ่ แต่ก็ราคาแพง และในบางรายก็เป็นโรคนี้โดยที่ตรวจไม่ พบ HLA B27 นอกจากนี้ผู้ที่มี HLA B27 ก็ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นโรคนี้ ดังนั้น การตรวจ หา HLA B27 จึงมีประโยชน์ในการวิจัย มากกว่ า การใช้ ใ นการวิ นิ จ ฉั ย และการ รักษาทางคลินิก ๘. แนวทางการรักษาผูป้ ว่ ยโรคกลุม่ นี้ คือ ๑.บรรเทาอาการปวด และลดข้ อ อักเสบ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถท�ำงานได้ ไม่ ต้องทนทุกข์ทรมาน ๒.ป้องกันข้อถูกท�ำลาย ข้อติดผิดรูป เพื่อป้องกันความพิการที่จะตามมา ๓.ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ป ่ ว ยสามารถใช้ ข ้ อ ท�ำงานได้อย่างปกติและด�ำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข

(อ่านต่อฉบับหน้า)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๓

หรือสุโขทัยไม่ หากแต่เป็นวัดที่มีชีวิตที่มี กิจกรรมทางศาสนามาตลอดไม่ขาดสาย และการเปลี่ ย นผ่ า นแต่ ล ะยุ ค สะท้ อ น ความเป็นอยู่และเหตุการณ์บ้านเมือง หาก พื้ น ที่ ร ้ า นค้ า ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ส่ ว นที่ จ ะท� ำ ลาย ทัศนียภาพขององค์เจดีย์และโบสถ์วิหาร และสามารถสร้ า งความกลมกลื น กั น ก็ น่าจะอยู่ร่วมกันได้ ดังนั้นหากแต่ละร้าน ยอมรับการปรับปรุงเพื่อผลทางการเสนอ เป็ น มรดกโลกที่ ทุ ก ร้ า นจะได้ ป ระโยชน์

มื่อต้นเดือนที่แล้ว (๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘) ณ ใต้ถุนบ้านท่านขุนรัฐวุฒิวิจารณ์ (บ้าน โบราณอายุกว่าร้อยปี) โดยความเอื้อเฟื้อ จากเจ้าของสถานที่ คุณณัฏฐสุด ตรีสัตยพันธุ์ สมาชิกชมรมรักบ้านเกิดนคร โดย อาจารย์ ส มพุ ท ธ ธุ ร ะเจน คุ ณ สุ ธ รรม ชยั น ต์ เ กี ย รติ สถาปนิ ก คื อ ตั ว ผม และ อาจารย์ วิ รุ จ ถิ่ น นคร มาพร้ อ มกั บ สถาปนิกลูกศิษย์อีก ๓-๔ คน ได้นัดพบ กับเจ้าของร้านค้าขายสินค้าพื้นเมืองและ ของที่ระลึกในบริเวณวัดพระบรมธาตุ รวม ทั้งเจ้าของร้านค้าด้านนอกตรงข้ามวัดกว่า ๓๐ ท่าน โดยทางชมรมฯ ในฐานะกลุ่มเสวนาประชาคมที่เคยร่วมคิดร่วมพัฒนา กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับวัดพระบรมธาตุ เ มื่ อ หลายปี ม า แล้ ว ในนาม “ชมรมรั ก วั ด พระบรมธาตุ ” จนก้ า วไป ไกลถึงการน�ำเสนอให้เป็น มรดกโลก เส้นทางไปสู่การ พิจารณาของ UNESCO จะ ต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบมาก มาย และเข้มข้นพอที่จะได้ รั บ การบรรจุ เ ข้ า วาระการ เสนอชื่อต่อคณะกรรมการ มรดกโลกได้ พระบรมธาตุ ของเราผ่ า นขั้ น ตอนแรก เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และต้ อ ง มี ก ารปรั บ แก้ ไ ขอี ก หลาย เรื่ อ งเพื่ อ ให้ ส มบู ร ณ์ ค รบ ถ้ ว นตามข้ อ ก� ำ หนดจึ ง จะ ได้ รั บ การพิ จ ารณาตั ด สิ น หนึ่ ง ในนั้ น คื อ การที่ จ ะต้ อ งปรั บ ปรุ ง ให้ สิ่งก่อสร้างโดยรอบมีความสอดคล้องกับ เรื่องราวที่น�ำเสนอ สรุปสั้นๆ คือ อาคาร ร้ า นค้ า ภายในวั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น ภายหลั ง มี ลักษณะที่ไม่กลมกลืนกับสถาปัตยกรรม ยุคสมัยก่อน และอาคารด้านนอกวัดที่มี การสร้างขึ้นมาเป็นรูปแบบสมัยใหม่ท�ำให้ ภาพรวมของเรื่องราวในอดีตเว้าแหว่งไป บางบริ เ วณ ทางชมรมรั ก บ้ า นเกิ ด นคร ที่ เ คยมี ป ระสบการณ์ ใ นการประสานกั บ ประชาชนในการตั้งวงสนทนาหาทางออก ร่วมกันจนส�ำเร็จหลายเรื่องมาแล้วก็เข้ามา รับบทบาทนี้อีกครั้ง การเสวนาวั น นั้ น ท่ า มกลางความ รู้สึกอึดอัดใจของเจ้าของร้านค้าที่ถูกปิด ถนนหน้าวัดตลอดแนวเพื่อท�ำพื้นผิวถนน

นครศรีธรรมราช

เครดิตภาพจากเฟสบุ๊ค

ใหม่ โ ดยปู แ ผ่ น คอนกรี ต อั ด แรงสามารถ รับน�้ำหนักรถที่สัญจรไปมาได้ ผมเข้าใจ ความรู ้ สึ ก ของคนค้ า ขายที่ ต ้ อ งขาดราย ได้ไป และเกิดความไม่มั่นใจว่าการได้รับ ที่โครงการต้องการ ใครจะรับประกันว่า ขึ้ น ทะเบี ย นมรดกโลกแล้ ว เขาจะได้ รั บ สามารถกลับเข้ามาท�ำการค้าขายได้อีก อะไรหรือต้องสูญเสียอะไรไปบ้าง ค�ำถาม ๔. หากมีการปรับปรุงอาคาร ต้องใช้ ระยะเวลานานเท่าใดเขาจึงสามารถกลับ มาขายได้ ๕. อาคารร้ า นค้ า ภายนอกวั ด หาก ต้องมีการปรับปรุงด้านหน้าอาคาร (Façade) จะเป็นรูปแบบใด ใครออกค่าใช้จ่าย ผมเชื่ อ โดยความบริ สุ ท ธิ์ ใ จว่ า คน ที่ ถ ามหาได้ มี อ คติ กั บ โครงการเสนอวั ด พระบรมธาตุ เ ป็ น มรดกโลก เพราะหาก ผมเป็ น หนึ่ ง ในเจ้ า ของร้ า นค้ า เหล่ า นี้ ก็ บ้านท่านขุนรัฐวุฒิวิจารณ์ คงตั้งค�ำถามคล้ายกัน ชมรมรักบ้านเกิด นครเป็นเพียงผู้ช่วยกันคิดหาทางออกเพื่อ ให้โจทย์ที่เป็นเงื่อนไขการเป็นมรดกโลก เดินต่อไปได้ ซึ่งจากกรณีค�ำถามข้างต้น ผมขอกล่ า วในภาพรวมที่ ไ ม่ ไ ด้ แ ยกเป็ น ข้อๆ คือ วัดพระบรมธาตุอันประกอบด้วย องค์เจดีย์ โบสถ์และวิหารต่างๆ มีประวัติ ความเป็ น มาที่ มี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า ง ละเอียดหลายแง่มุม แสดงถึงการด�ำรงอยู่ ของพระพุทธศาสนามาช้านานจนถึงทุก วันนี้ และสิ่งก่อสร้างที่ได้บ่งบอกถึงอัจฉ การเสวนาใต้ถุนบ้านท่านขุน ริยภาพของมนุษย์ซึ่งไม่ได้เจาะจงในเรื่อง มากมายจากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเสวนานั้ น คื อ สิ่ ง ศาสนา สิ่งเหล่านี้หากไม่มีการให้ความรู้ ที่ ท างเราปรารถนาจะรั บ ฟั ง แม้ จ ะเป็ น ในสาระส� ำ คั ญ ก็ อ าจถู ก เปลี่ ย นแปลงไป ค�ำถามซ�้ำซากก็ตาม ทางชมรมรักบ้านเกิด โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ได้ การเสนอ นครเป็นเพียงผู้ประสานการรับฟัง และ เป็นมรดกโลกครั้งนี้ท�ำให้ชาวนครและนัก ช่วยคิดหาทางออกร่วมกัน ซึ่งทางชมรมฯ วิชาการด้านต่างๆ ได้เรียนรู้มากขึ้น และ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ผู ้ ใ ห้ ค� ำ ตอบทั้ ง หมดแต่ เ ป็ น ทาง วัตถุประสงค์ของ UNESCO คือการเข้ามา จังหวัดที่เป็นเจ้าของเรื่องจะต้องตอบ ผม ช่วยปกป้องความเป็นอารยธรรมของโลก ขอประมวลค�ำถามและความต้องการของ ไม่ให้ถูกท�ำลายไป ส่วนอานิสงค์จากเรื่องนี้ ที่จะมีนักท่องเที่ยวมามากขึ้นนั้น เป็นเรื่อง เจ้าของร้านค้าต่างๆ ดังนี้ครับ ๑. การเป็ น มรดกโลกเขาจะได้ รั บ ผลพลอยได้จากการจัดการของผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ส�ำหรับทาง UNESCO ก็ไม่ได้มา ประโยชน์อะไร ๒. การปรั บ ปรุ ง ร้ า นค้ า ภายในวั ด เก็บเงินค่าเดินทางมาชมมรดกโลกของนัก เขาต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง และใคร เที่ยวแต่ประการใด ส�ำหรับการค้าขายภายในวัดนี้ ผมมี ออกค่าใช้จ่าย ๓. การให้ ร ้ า นค้ า ย้ า ยออกไปก่ อ น มุมมองส่วนตัวว่า วัดพระบรมธาตุนี้หาใช่ เพื่ อ จั ด ท� ำ อาคารใหม่ ใ ห้ ส อดคล้ อ งตาม วัดร้างที่เป็นมรดกโลกอย่างเช่นที่อยุธยา

มากขึ้นก็ต้องร่วมมือกันทุกวิถีทาง ส่วน การออกแบบปรั บ ปรุ ง อาคาร ก็ ค งเป็ น หน้าที่ของผู้มีความรู้เช่น สถาปนิก วิศวกร จะมาช่วยดูแลให้ทุกร้านสามารถอยู่ที่เดิม โดยกระทบกับการค้าน้อยที่สุดในระหว่าง การก่อสร้างปรับปรุงอาคาร ทั้งนี้หมาย รวมถึงอาคารที่อยู่ภายนอกวัดที่เป็นส่วน หนึ่งของโจทย์ ส�ำหรับค่าใช้จ่ายนั้นคิดว่า ทางจั ง หวั ด คงหาทางออกให้ โดยแต่ ล ะ ร้านอาจรับภาระบ้างเฉพาะส่วนปรับปรุง ของร้านตนเอง บทเรี ย นจากการเสวนาใต้ ถุ น บ้ า น ท่ า นขุ น ที่ ผ มได้ รั บ รู ้ คื อ การสร้ า งความ เข้าใจและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ เสียในกิจกรรมนั้นๆ เป็นหัวใจของการอยู่ ร่วมกัน เช่นกรณีที่ทางราชการมาปิดถนน หน้าวัดเพื่อท�ำงานปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน ทั้งการน�ำสายไฟฟ้าหลักลงใต้ดิน และการ ปู แ ผ่ น พื้ น ถนนใหม่ ใ ห้ เ กิ ด ความสวยงาม ซึ่ ง หากฝ่ า ยประชาชนจะท� ำ เองก็ ค งไม่ สามารถท� ำ ได้ เ พราะต้ อ งใช้ ง บประมาณ มาก แต่เข้าใจว่าทางฝ่ายราชการขาดการ ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละขาดการร่ ว มคิ ด กั บ ประชาชนละแวกนี้ ใ ห้ ท ราบก่ อ นด� ำ เนิ น การจึงเป็นประเด็นปัญหาขึ้นมา ในฝ่าย ประชาชนเองก็ต้องท�ำความเข้าใจด้วยว่า กลุ่มผู้ที่เสนอโครงการ (เช่นนักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ นักวิชาชีพ ฯลฯ) ไม่ ได้มองที่ประโยชน์เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม ใดไม่ แต่ ต ้ อ งเป็ น โครงการที่ บ ้ า นเมื อ ง และประเทศชาติได้ประโยชน์สูงสุดจึงจะ เสียสละเวลาเข้ามาช่วยให้เกิดโครงการ โดยที่ ตั ว เองก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ผ ลประโยชน์ ส ่ ว น ตัวใดๆ ส่วนฝ่ายราชการนั้นเป็นผู้สนอง วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาบ้ า นเมื อ ง ผม ยั ง เชื่ อ ว่ า ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ รั บ ผลประโยชน์ นี้ โดยตรงพร้อมที่จะร่วมมือและช่วยเหลือ ให้โครงการประสบความส�ำเร็จ


หน้า ๑๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

บั บ นี้ ม าเชิ ญ ชวนให้ ไ ปเที่ ย วเทศกาลงานสั ป ดาห์ วิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ แนะน�ำที่นี่เลย ศูนย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราช อ� ำ เภอ พรหมคี รี ปี นี้ จั บ มื อ กั บ เพื่ อ นบ้ า น วิ ท ยาลั ย ช่ า งศิ ล ป นครศรีธรรมราช ภายใต้แนวคิด ART & SCIENCE ศิลปะ กับวิทยาศาสตร์ ซุ้มกิจกรรมมันส์ๆ มากมาย สนุกคิด สนุกเล่น เพลิดเพลินกับการประดิษฐ์ชิ้นงานวิทยาศาสตร์ แบบง่ายๆ โอกาสดีๆ แบบนี้ไม่ควรพลาด พบกันนะคะ วันที่ ๑๗ - ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ ค่ะ

<< ต่อจากหน้า ๔

ดั้ ง เดิ ม เมื่ อ ๑๐๐ กว่ า ปี ก ่ อ น ซึ่ ง ก็ มี กลิ่ น อายของสถาปั ต ย์ ข องนครด้ ว ย แม้ เ ราจะไม่ ท ราบแน่ ชั ด ว่ า รู ป ทรงเมื่ อ แรกสร้างเมื่อ ๕๐๐ กว่าปีก่อนจะเป็น อย่างไร คงจะมีกลิ่นอายของสถาปัตย์ แบบอินเดียของเมืองรามนครเป็นแน่ มี การย้ายเสาชิงช้ามาอยู่ในต�ำแหน่งเดิม ที่ ห น้ า หอพระอิ ศ วร และเปลี่ ย นเป็ น เสาไม้ตะเคียนทองเหมือนเดิม ส่วนเสา ชิงช้าเหล็กคงรอให้พราหมร์ที่ทรงภูมิรู้ ในพิธีกรรมมารื้อถอนออกไป (หมายเหตุ : พราหมณ์ได้ ประกอบพิธีไปแล้วเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘)

การขุดค้นโบสถ์พราหมณ์ ผมก็ได้รับความรู้ใหม่ หลั ง จากเขาขุ ด ค้ น แล้ ว ฐานอาคารโบสถ์ พ ราหมณ์ มี ขนาดยาวและกว้างกว่าหอพระอิศวรมาก สมัยเด็กผม เคยเข้ า ไปเล่ น ในโบสถ์ พ ราหมณ์ อาคารเก่ า ยั ง เหลื อ เสาและก�ำแพงขนาด ๔ x ๔ เมตรอยู่ มีโรงหลังคามุง กระเบื้ อ งคลุ ม อี ก ชั้ น หนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ของใหม่ จนถึ ง สมั ย ‘ผู้ว่าฯสันต์ เอกมหาชัย’ ท่านให้พราหมณ์ท�ำพิธีรื้อ ออก แต่ก็ไม่ได้สร้างใหม่จนบัดนี้ หน่วยศิลปากรได้ ขุดค้นเห็นฐานรากชัดเจน พอจะจับต้นเค้าได้ว่าจะมี รู ป ร่ า งอย่ า งไร คงต้ อ งไปดู แ บบโบสถ์ พ ราหมณ์ ข อง เมื อ งรามนครที่ ป ระเทศอิ น เดี ย รุ ่ น เดี ย วกั น ที่ ยั ง หลง เหลืออยู่มาเพื่อฟื้นโบสถ์พราหมณ์ขึ้นมาใหม่โดย ‘คง ความดั้งเดิม’ เอาไว้ เพราะหอพระอิศวรก็ติดอยู่ในเขต Buffer Zone ของแหล่งมรดกโลกพระบรมธาตุเมือง นครด้วย ในขอบเขตเมืองเก่าเราก็มีโบราณสถานเก่าแก่ หลงเหลืออยู่มากมาย หากขุดรื้อตกแต่งใหม่ เมืองเราก็ หอพระอิศวร ถ่ายเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๑ (จากร้านคนสร้างภาพ หอนาฬิกาเมืองคอน) จะเป็นอุทยานประวติศาสตร์อย่างที่หลายคนวาดหวังไว้

เครดิตภาพ http://www.gotonakhon.com


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า

อาจารย์แก้ว

ารประกาศเข้ า มาท� ำ ตลาดบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตของผู้ให้บริการ รายใหญ่ ใ นอุ ต สาหกรรมโทรคมนาคม อย่างเอไอเอส ย่อมท�ำให้ถูกจับตามอง อย่างแน่นอนว่า จะสามารถเข้ามาเบียด ผู ้ เ ล่ น รายเดิ ม และกลายเป็ น ผู ้ น� ำ ใน ตลาดนี้ได้หรือไม่ ด้วยเป้าหมายการขึ้น เป็ น ๑ ใน ๓ ผู ้ น� ำ ตลาดบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ตภายใน ๕ ปี ท�ำให้เอไอเอส ต้องมีการสร้างจุดต่างในการให้บริการ ส่ ง ผลมาถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช นิ ด นี้ ที่ น อกจาก จะเป็ น การให้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า น สายไฟเบอร์ออปติก หรือสายเคเบิลใย แก้วแล้ว ยังถือเป็นทางผ่านในการเข้าสู่ บริการโทรศัพท์แบบฟิกซ์ไลน์ และธุรกิจ ไอพีทีวี แม้ว่าบริการจากเอไอเอสในนาม “AIS Fibre” อาจดูซ�้ำรอยกับผู้ให้บริการ รายอื่นในตลาดที่เคยเดินทิศทางนี้ อย่าง กลุ่มทรูที่ปัจจุบันก็มีการให้บริการในรูป แบบดังกล่าวอยู่แล้ว จากการผสานการ ให้บริการอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ และทรู วิชั่นส์ เข้าด้วยกันภายใต้รูปแบบบริการ แบบคอนเวอร์เจนซ์ ซึ่งแน่นอนว่า เอไอ เอสก็ต้องน�ำจุดแข็งหลักของบริษัทอย่าง การให้บริการโทรศัพท์มือถือมาบันเดิล เข้ า กั บ บริ ก ารใหม่ เ พื่ อ สร้ า งจุ ด แข็ ง ให้ บริการนี้แน่นอน

สู ง หรื อ บรอดแบนด์ อิ น เทอร์ เ น็ ต จะ ย้ อ นกลั บ ไปราว ๑๕ ปี ที่ ผ ่ า นมา ที่ เ ริ่ ม มีการน�ำบริการ ADSL เข้ามาให้บริการ ในประเทศไทย ด้วยความเร็วเริ่มต้นราว 256 Kbps - 512 Kbps ซึ่งเป็นการก้าว ข้ า มอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นสายโทรศั พ ท์ ใ น ความเร็ว 56 Kbps ที่ถือเป็นจุดเริ่มต้น ของการใช้งานอินเทอร์เน็ต สิ่งที่ท�ำให้การ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ ADSL เติบโต เป็ น อย่ า งมากในประเทศไทย เนื่ อ งมา จากผู้ให้บริการสามารถใช้สายโทรศัพท์ เดิ ม มาต่ อ เข้ า กั บ โมเด็ ม ที่ เ ป็ น เราเตอร์ ภายในบ้านเพื่อให้บริการได้เลย ไม่จ�ำเป็น ต้องมีการลงทุนเดิน สายใหม่ และสร้าง ความสะดวกให้ แก่ผู้ใช้บริการ จน ปั จ จุ บั น สั ด ส่ ว นผู ้ ใช้ ง าน ADSL ใน ย้อนอดีตบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต ประเทศไทยสู ง ถึ ง ถ้ามองกลับไปในส่วนของเทคโน- ราวร้ อ ยละ ๘๐ โลยีการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็ว ๙๐ โดยปั จ จุ บั น ผู ้

บริ โ ภคในประเทศไทยมี ก ารเข้ า ถึ ง อิ น เทอร์เน็ตประมาณ ๒๖ ล้านราย คิดเป็น อั ต ราการเข้ า ถึ ง อิ น เทอร์ เ น็ ต ประมาณ ร้อยละ ๔๐ โดยในจ�ำนวนนี้แบ่งเป็นการ เข้ า ถึ ง อิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นบรอดแบนด์ ประมาณ ๖ ล้ า นครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น สัดส่วนราวร้อยละ ๓๐ และด้วยนโยบาย บรอดแบนด์ แ ห่ ง ชาติ ก็ จ ะท� ำ ให้ ป ริ ม าณ เหล่านี้เติบโตขึ้นอีกในอนาคต และเริ่มมี ลูกค้าเปลี่ยนจากเทคโนโลยี ADSL เดิม มาเป็นเทคโนโลยีใหม่อย่างเคเบิล และ ไฟเบอร์มากขึ้น ด้วยเทคโนโลยีของ ADSL ที่แม้ว่า

จะพัฒนาเพิ่มมาเป็น VDSL แล้วก็ตาม แต่ ก็ถือว่าเป็นเทคโนโลยีเก่า ท�ำให้มีข้อจ�ำกัด

๑๕

เรื่องความเร็วในการรับส่งข้อมูล ทั้งใน แง่ ข องเทคโนโลยี และสายสั ญ ญาณที่ ใช้ เ ป็ น โทรศั พ ท์ ท� ำ ให้ ส ามารถใช้ ง าน อินเทอร์เน็ตได้ความเร็วสูงสุดไม่เกิน 15 Mbps ในอนาคตเชื่อว่าผู้บริโภคเดิมที่ เคยใช้งาน ADSL ก็จะขยับมาเปลี่ยนเป็น ใช้งานเคเบิลบรอดแบนด์ หรือไฟเบอร์ บรอดแบนด์แทนอย่างแน่นอน เพราะ ด้ ว ยคอนเทนต์ และปริ ม าณการเชื่ อ ม ต่ อ ในแต่ ล ะครั ว เรื อ นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ท� ำ ให้ ความต้ อ งการความเร็ ว ในการเข้ า ถึ ง อิ น เทอร์ เ น็ ต สู ง ขึ้ น ไปด้ ว ย จากเดิ ม ใน แต่ละครัวเรือนเมื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต ไวไฟ อย่างมากก็จะมีการเชื่อมต่อเข้า มา ๓-๔ เครื่อง แต่ปัจจุบันถ้าลองนับทั้ง สมาร์ทโฟน โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต พีซี ยัง ไม่ ร วมกั บ บริ ก ารไอพี ที วี อี ก ก็ ท� ำ ให้ ความเร็ ว อิ น เทอร์ เ น็ ต เดิ ม ที่ เ คยใช้ ไ ม่ พอแล้ว และเชื่อว่ามาตรฐานในปัจจุบัน ความเร็วควรเพิ่มไปอยู่ที่ 20 Mbps จะเห็ น ได้ ว ่ า การที่ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร อิ น เทอร์ เ น็ ต ในปั จ จุ บั น เริ่ ม หั น มาให้ ความส� ำ คั ญ ต่ อ เทคโนโลยี ใ หม่ อ ย่ า ง เคเบิล และไฟเบอร์ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก เพียงแต่ผู้ให้บริการแต่ละรายก็จะเลือก เทคโนโลยีที่ลงทุนแล้วสามารถน�ำไปใช้ งานได้ ห ลากหลายผ่ า นโครงข่ า ยหลั ก ที่ เ ป็ น เทคโนโลยี เ ดี ย วกั น คื อ ไฟเบอร์ ออปติก อย่างกลุ่มทรู ถ้ามองว่าท�ำไม ถึ ง เลื อ กให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การลงทุ น บรอดแบนด์ ไ ฟเบอร์ ผ ่ า นสายเคเบิ ล เพราะกลุ่ม ทรูมีการให้บริการทรูวิชั่นส์ ที่ เป็นการให้บริการเคเบิลทีวีแบบบอกรับ สมาชิกอยู่แล้ว การลงทุนในเทคโนโลยี Docsis 3.0 จึงเหมือนเป็นการน�ำสาย เคเบิลเดิมที่มีมาใช้งานได้ทันที รวมถึง ถ้ า ต้ อ งการขยายพื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเพิ่ ม ก็ สามารถให้บริการได้ทั้งอินเทอร์เน็ต และ เคเบิลทีวีในเวลาเดียวกัน (อ่านต่อฉบับหน้า)

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

...จากความเดิมของฉบับที่แล้ว คุณและผมก�ำลังเดินย�่ำไพรสู่ เส้นทางน�้ำตกกรุงชิง มันเป็นช่วงเวลาเช้าตรู่ของวันดีๆ วันหนึ่ง ที่ผมอยากจะชักชวนทุกท่าน ก้าวย่างเดินช้าๆ ชมไพรชมป่าไป พร้อมกัน เพราะหลังจากก้าวเดินสู่ราวป่ามาได้สักระยะนั้น ท่าน จะผ่านจุดส�ำคัญในเส้นทางศึกษาธรรมชาตินี้อีกอย่างหนึ่งคือ “หลุมขวาก” ลองแวะเข้าไปดูที่มาที่ไปของสิ่งนี้สักหน่อยครับ เส้นทางศึกษาธรรมชาติสู่น�้ำตกกรุงชิงนั้น เดิมทีพื้นที่ แห่งนี้ คือจุดยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของสงครามการต่อสู้ ระหว่าง ฝ่ายลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งได้ใช้ผืนป่าแห่งนี้เป็นที่ซ่องสุมก�ำลังจุด ใหญ่สุดในพื้นที่ภาคใต้กับฝ่ายรัฐบาลไทยในขณะนั้น ที่มาที่ไป ของสงครามระหว่างกองก�ำลังในป่ากับฝ่ายทหารนั้นยาวนาน และซับซ้อน หากจะร่ายต�ำนานนี้สงสัยเรื่องจะยาวกว่าเส้นทาง ที่ก�ำลังเดินกันอยู่ เอาเป็นว่า เมื่อพื้นที่นี้เคยเป็นสนามรถ หลัก ฐานการสู้รบทางยุทธวิธีต่างๆ ก็พอจะเหลือร่องรอยให้เห็นกัน ได้บ้าง อย่างเช่น หลุมขวาก ก็คือ “หลุมพราง” หรือกับดักที่ ไว้ดักคน โดยการขุดหลุมลึกและเอาหาไม้หลาวแหลมๆ ไปปัก ซ่อนไว้ในหลุม ปิดบังอ�ำพรางด้วยใบไม้แห้ง เสมือนว่าเป็นพื้น ดินทั่วไป ฝ่ายบุกโจมตีที่ชะล่าใจเดินย�่ำป่าเข้ามา ก็อาจจะเกิด พลาดท่าเสียทีเดินตกลงไปในหลุมขวากนี้ โดนไม้หลาวแหลมๆ ทิ่มแทงจนเสียชีวิตหรือพิการได้ จากจุดหลุมขวาก เราต้องไต่ ทางลาดชันขึ้นสู่ “ประตูชัย” นี่ก็เป็นจุดยุทธศาสตร์การสู้รบอีก อย่างหนึ่ง เล่ากันว่า เหล่าทหารหาญ ได้เสียชีวิตบริเวณนี้มาก ที่สุด ด้วยท�ำเลที่ฝ่ายตรงข้ามอยู่บนเนินสูง ฝ่ายเข้าโจมตีต้อง เดินจากพื้นที่ต�่ำและเต็มไปด้วยหลุมขวากและกับดักมากมาย จึ งตกเป็ น ฝ่ า ยเสี ย เปรี ย บในเชิ งยุ ทธทั้ งด้ว ยภูมิ ประเทศและ ยุทธวิธี “ศาลาประตูชัย” จึงถูกเรียกขานไว้ในยามชนะกลศึก เรายังอยู่ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติและประวัติศาสตร์ ของพื้นที่กรุงชิงครับ อย่าเพิ่งคิดไปไกลถึงสงครามลัทธิในอดีต จนลืมชื่นชมกับธรรมชาติรายรอบ เพราะหลังจากเราใต่ทางชัน สู่ศาลาประตูชัย เราอาจจะโชคดีได้เห็นสัตว์ชนิดหนึ่ง “พญา กระรอก” หรือกระรอกป่าตัวใหญ่ ที่มักจะอาศัยท�ำรังอยู่บน ต้นไม้ใหญ่บริเวณนี้ นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นดัชนีความสมบูรณ์ของ ผืนป่าได้เป็นอย่างดี เส้นทางที่เราเดินอยู่ขณะนี้ จะยังคงปูลาด ด้วยถนนซีเมนต์แคบๆ อันได้ถูกจัดท�ำไว้เพื่อความสะดวกใน

การเดินศึกษาธรรมชาติ อาจจะมีบางจุดที่จุดศึกษานั้น ต้อง แวะเดินเข้าไปตามราวป่าข้างทาง เช่น “ต้นหลุมพอยักษ์” เขา คือต้นไม้ใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่มีพูพอนค�้ำยันใหญ่โตขนาดเราสิบคน เข้าไปหลบอยู่ได้หมด และต้นหลุมพอนี้ยังถือเป็นไม้ส�ำคัญของ ผืนป่าภาคใต้อีกด้วย หลุมพอคือพืชในวงศ์มะค่า เป็นไม้ใหญ่ที่ เหมาะส�ำหรับการก่อสร้าง จะสังเกตได้ว่า บ้านเก่าๆ ของชน ทางภาคใต้ หากเป็นบ้านไม้ส่วนใหญ่จะเป็นไม้หลุมพอแทบ ทั้งสิ้น ด้วยคุณสมบัติแข็ง มอดปลวกไม่สามารถท�ำอะไรได้ จึง นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ชนิดนี้ และตามต�ำนานเก่าของผืนป่ากรุง ชิง ไม้ที่ส�ำคัญและเป็นอีกเหตุผลที่เกิดการแย่งชิงพื้นที่กันในยุค ต่างๆ ก็คือมูลค่าของไม้หลุมพอชนิดนี้แหละ เราจะพอทราบกัน บ้างว่า หากจะหาไม้มะค่าเนื้อดีมักจะมาจากแหล่งป่าเมืองกาญ จน์ฯ หรือฝั่งเขตพม่า อีกต�ำนานหนึ่งที่ถูกกล่าวไว้คือ หากจะหา ไม้หลุมพอที่ดีและมีมากมายเหลือคณานั้น ก็คือ ผืนป่ากรุงชิง แห่งนี้แหละ ถัดจากการแวะชมต้นหลุมพอยักษ์ อีกสักระยะเราจะเริ่ม เห็นพรรณไม้เด่นและส�ำคัญอีกชนิดหนึ่ง นั่นคือ “ต้นชิง” คือ พืชชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ของปาล์ม มีลักษณะเป็นต้นเป็นกอ มีใบ แฉก กลม คล้ายทรงของพัด หากใครไม่รู้จักต้นชิง ลองนึกถึง ต้นกระพ้อตามท้องไร่ท้องนา กระพ้อที่น�ำใบมาท�ำ “ต้ม” หรือ “ลูกโยน” เป็นขนมที่ท�ำจากข้าวเหนียวที่ห่ออยู่ในใบกระพ้อ ทรงสามเหลี่ยม ต้นชิงกับกระพ้อเหมือนกันครับ แต่เป็นชนิด วงศ์ย่อย ที่อาจจะพูดได้ว่า กระพ้ออยู่นาต้นชิงอยู่ป่า ความแตก ต่างมีบ้างในสายพันธุ์แต่รูปทรงเหมือนกัน ด้วยความที่ผืนป่า แห่งนี้เต็มไปด้วยพรรณไม้ชนิดนี้ ค�ำว่า “กรุงชิง” จึงถูกสันณิษ ฐานอีกอย่างหนึ่งว่า มาจากการที่มีต้นชิงอยู่เยอะ จากจุดศาลา ดงชิง ตามรายทางยังคงเป็นพืชพรรณที่น่าสนใจอีกหลายอย่าง เฟิร์นใบสวยอย่าง “พ่อค้าตีเมีย” หรือ “เฟิร์นตีนตุ๊กแก” และ หากจะเรียกตามถิ่นใต้ คือ “หญ้ารังไก่” เฉดสีฟ้า เขียว ม่วง บนใบเฟิร์นชนิดนี้ เรียกความสนใจจากหลายคนได้ไม่น้อย เมื่อ เราเริ่มเดินเข้าป่าลึกขึ้นเรื่อยๆ ร่องรอยสัตว์ป่าต่างๆ จะพบเห็น

มากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่ารอยช้างป่าที่มีอาณาเขตการหากินเข้ามา ถึงพื้นที่ป่าแห่งนี้ เก้ง กวาง รวมถึงสมเสร็จ แต่ที่จะพบเห็นได้ ตามรายทางคือ ร่องรอยการขุดคุ้ยของหมูป่า ที่หาผลไม้ป่า และใส้เดือนเป็นอาหาร สัตว์ป่าเยอะก็ต้องมีเจ้าสิ่งนี้ตามมาด้วย “ทาก” สัตว์ที่ชอบดูดเลือดสัตว์อื่นเป็นอาหาร หลายคนปฏิเสธ การเข้ามาเดินป่าเส้นนี้ด้วยเหตุผลของการมี “ทาก” ก็เป็น ธรรมชาติครับ ความหวาดกลัวขยะแขยงเจ้าสัตว์ตัวน้อยชนิด นี้ มันไม่เข้าใครออกใคร เมื่อผืนป่าสมบูรณ์สัตว์ป่าสมบูรณ์ เรา จะมีดัชนีชีวัดความสมบูรณ์นี้ด้วยเจ้านี่แหละครับ “ทาก” เป็น สัตว์ตัวเล็กๆ ที่คอยจ้องอยู่ตามรายทาง เกาะเท้าเกาะขา หา จังหวะขอแบ่งเลือดเราสัก ๒ - ๓ ซีซีเป็นอาหาร อย่างเพิ่งหวาด กลัวเขาจนไม่กล้าจะท�ำความรู้จักเขาครับ ทากนั้นมีวิถีชีวิตที่ พิสดารอยู่เหมือนกัน เขาเป็นสัตว์สองเพศในตัวเดียว การที่เขา ได้กินเลือดเป็นอาหาร เขาถึงจะสามารถสืบพันธุ์ออกลูกออก หลานและด�ำเนินวงจรชีวิตต่อไปได้ เขากินแค่ครั้งเดียวในชีวิต ครับ นั่นหมายถึง ถ้าเขาได้กินอิ่มแล้วเขาจะไม่กินอีก หลังจาก ได้เลือดเป็นอาหาร ตัวทากก็จะหลบซ่อนตัวอยู่ในพื้นที่ชื้นๆ ฟักตัวออกลูกออกหลานและตัวแม่ก็ตาย เราสามารถป้องกัน ทากได้หลายวิธีครับ เช่นใช้ถุงเท้ากันทาก ใช้ยาป้องกันจ�ำพวก ยากันยุงชนิดฉีดพ่นหรือครีมทาผิว ยาหม่อง หรืออะไรก็ได้ครับ ที่มีผลระคายเคือง เพราะทากจะกลัวสารเคมีทุกชนิด และด้วย เหตุนี้เราจึงถือว่าทาก เป็นดัชนีชีวัดความสมบูรณ์ของผืนป่าได้ เป็นอย่างดี เมื่อเริ่มมีทาก ก็เชื่อว่าหลายคนเริ่มมีเรี่ยวแรง ทั้งกึ่งวิ่งกึ่ง เดิน เส้นทางสู่น�้ำตกกรุงชิงที่ระยะทางถึง ๓.๗ กิโลเมตร แทบ จะสั้นเหลือเพียงร้อยเมตร เราพักเหนื่อยกันที่ศาลาริมน�้ำชั้น ๗ ของเส้นทางสู่น�้ำตกกรุงชิงกันดีกว่าครับ หลังจากที่เดินผ่าน ป่าดิบสมบูรณ์เราก็จะพบกับล�ำธารใหญ่ของสายน�้ำตกกรุงชิง จุดนี้เรียกว่า “หนานวังเรือบิน” มีศาลาริมน�้ำอยู่หลังหนึ่ง แต่ หลายคนมักเปลี่ยนชื่อจุดนี้ว่า “ศาลาปลดทาก” ....รอติดตามฉบับหน้ากันต่อครับ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

มั นพ.รังสิต ทองสมัคร์

หน้า ๑๗

สยิดซอลาฮุดดิน หรือ มัสยิดท่าช้าง และ ที่ผมเรียกติดมาตั้งแต่สมัยโหนรถสองแถว ผ่านด้านหน้ามัสยิดไปเรียนที่เบญจมฯ ว่า มัสยิด ถนนพาด ปี นี้ . ...ผมแวะไปเยี่ ย มเยื อ นในวั น ออกบวช ของพี่น้องมุสลิม... วั ต รปฏิ บั ติ ท างศาสนายั ง คงเข้ ม ขลั ง ตั้ ง แต่ ห นุ ่ ม ถึ ง วั ย สู ง อายุ ยั ง วนเวี ย นมาละหมาดไม่ ห่างหาย ความใจดี เอื้ออารีต่อกลุ่มช่างภาพที่เข้าใน สถานที่ต่างศาสนา เป็นเหมือนญาติ เหมือนเพื่อน ผมมีความสุขกับสถานที่แห่งนี้มากนัก


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

มอร่ อ ยกั บ ยั ก ษ์ เ ขี ย ว..หนึ่ ง เดี ย ว ในเมืองคอน .. ร้านเชย เมืองครฯ เปิดร้านวันแรกในวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ แต่การตอบรับดีเหลือเชื่อ เฉพาะลูกค้าที่ทยอยมาวันแรกก็ท�ำเอา เจ้าของร้านและลูกทีม เพลียไปตามๆ กัน เพราะกว่ า จะเก็ บ ร้ า นเสร็ จ เกื อ บตี ส าม เรียกว่าหมดแรงเชียวค่ะ โอลั่ลล้าฉบับ นี้ จึ ง พลาดไม่ ไ ด้ ที่ จ ะแนะน� ำ ร้ า นน่ า รั ก อาหารอร่อย สองแบบสองสไตล์ให้เลือก ได้ตามความชื่นชอบของผู้ที่เข้าใช้บริการ บรรยากาศกลางใจเมื อ งริ ม ถนน ราชด� ำ เนิ น ใกล้ ต ลาดท่ า ม้ า ซึ่ ง เป็ น ที่ รู้จักกันดี อาคารไม้หลังเก่า ตกแต่งแบบ คลาสิ ค ห้ อ งริ ม เปิ ด บริ ก ารด้ ว ยอาหาร ประจ�ำเมือง โรตีบังบ่าวสาขาตลาดท่าม้า อาหารอร่ อ ยพื้ น ถิ่ น ของคนเมื อ งคอน และคอสภากาแฟยามเย็นถึงค�่ำ พี่น้อง ชาวมุ ส ลิ ม เลื อ กรั บ ประทานได้ อ ย่ า ง สบายใจ ผนังติดกันมียักษ์เขียวตัวโต ยืน

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

.. อุ ป กรณ์ ภาชนะที่ ใ ช้ แสนจะลงตั ว ด้ ว ยพวงเครื่ อ งปรุ ง ที่ ใ ช้ ป ิ ่ น โตมาจั ด ใส่ ได้อย่างเก๋ไก๋ อาหารหลากหลาย เมนูให้เลือกแบบจัดเต็ม รวมไป ถึงเครื่องดื่ม และเมนูขนมปัง อร่อยๆ ให้เลือกมากมาย บอก ได้ เ ลย สองวั ฒ นธรรมสอง สไตล์ กั บ เมนู อ าหารอร่ อ ย มากมายให้ท่านได้เลือกชิม กับบรรยากาศบ้านไม้หลังเก่าสวยเด่น เป็ น สง่ า ด้ า นหลั ง พร้ อ มที่ จ อดรถ และ อาคารไม้ตกแต่งแบบโดนใจติดถนนราชด�ำเนิน บอกได้เลยค่ะ ร้านเชย เมืองครฯ ไม่ ม าเชยจริ ง ๆ นะ .. อย่ า ลื ม แวะมา อุ ด หนุ น กั น นะคะ เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น ๑๖.๐๐ - ๒๔.๐๐ น. ส�ำรองโต๊ะที่ โทร. ๐๘-๑๘๙๑-๕๗๐๓ ฉบั บ หน้ า พบกั น ใหม่ ด ้ ว ยความ คิดถึงจ้า

แจกยิ้มท่าทางโก้อยู่หน้าร้าน รอใครต่อ ขอขอบคุณ : พี่อ�ำพล เศรษฐวัช-รา ใครมาขอถ่ายรูปคู่ จนกลายเป็นขวัญใจคน เมืองคอนไปแล้ว ร้านเชย เมืองครฯ .. ร้าน วนิช รุ่นพี่ลูกนางฟ้า (กณ.68) เจ้าของ อาหารน้องใหม่ ตกแต่งแบบฉบับคนชอบ อาคารสถานที่ผู้อยู่เบื้อหลังความส�ำเร็จ คุ ณ พุ ฒิ นั น ท์ ขจรสุ ว รรณ์ (คุ ณ สะสมของเก่ า และเสน่ ห ์ ข องความเก่ า นี่เองท�ำให้ลูกค้าที่เข้าใช้บริการหลงเสน่ห์ โมทย์) เจ้าของร้านและทีมงานที่น่ารัก ไม่ว่าจะเป็นการเสิร์ฟเครื่องดื่มกับขันน�้ำ สีเงิน ย้อนให้เราแอบร�ำลึกถึงสมัยเด็กๆ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๙

ภาพซ้ายมือ เห็นหอคอยสูงก�ำลัง สร้างเป็นสถานที่ชมเมือง กลาง ภาพขวามื อ เป็ น อี ก มหาวิ ห าร สร้างใหม่ไม่มีเค้าทางโบราณคดี เพียงพอ

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒ ๒) ที่ พุ ก าม เมื อ งนี้ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เมื อ ง แห่งทุ่งเจดีย์และพม่าเสนอเป็นมรดกโลกมา นานแต่ไม่ได้รับการพิจารณาจนถึงทุกวันนี้ ด้ ว ยเหตุ ที่ ยู เ นสโกเห็ น ว่ า พม่ า ไม่ ไ ด้ ท� ำ การ อนุรักษ์และพัฒนาถูกต้องตามแนวทางสากล ที่ยูเนสโกวางไว้ ล่าสุดมีการสร้างพิพิธภัณฑ์ และหอคอยขนาดใหญ่ขึ้นในเมือง แถมการ เร่งบูรณะปฏิสังขรณ์นานาสถูปวิหารโบราณ สถานก็ท�ำกันแบบระห�่ำ คือท�ำกับปีละหลาย ร้อยแห่ง ในไม่กี่ปีนี้ท�ำแล้วเป็นพันแห่ง งานนี้ ผมรู้สึกว่ามีการประชันกันพอสมควรเพราะ พม่ า ถื อ ว่ า เป็ น หมุ ด หมายแห่ ง ชาติ ที่ แ สดง ถึงความรุ่งเรืองยิ่งใหญ่มาแต่ก่อน มีหนังสือ ออกมามากมาย (แม้จะเป็นภาษาพม่า) แบบ ว่านี้นี่แหละคือพม่าผู้ยิ่งใหญ่ ในเมื่อยูเนสโก ไม่ ใ ห้ เ ป็ น มรดกโลกก็ ต ามใจ ฉั น จะท� ำ ของ ฉันอย่างนี้เพื่อเป็นความภาคภูมิใจของชาติ ฉัน ซึ่งเข้าใจว่าการที่พุกามไม่ได้และพม่าท�ำ อย่างนี้น่าจะมีเหตุแห่งการเมืองของชาติและ นานาชาติด้วยเพราะช่วงของการน�ำเสนอนั้น ยังอยู่ในช่วงของการต่อสู้และบอยคอตกัน แต่พอมาฮาลิม เบกถาโน ศรีเกษตรนั้นเสนอ ปุ๊บได้ปั๊บด้วยเหตุเห่งการเอาใจกันและกัน ของประชาคมโลกและผลประโยชน์ร่วม

นครศรีธรรมราช

ลานดาวที่ ม หาเจดี ย ์ ช เวดากอง ทีค่ นนิยมนัง่ ภาวนาตลอดทัง้ วัน

๓) ที่ ช เวดากอง มหาธาตุ เ จดี ย ์ อ งค์ ส� ำ คั ญ ในระดั บ โลกและวงพระพุ ท ธศาสนา แห่ ง นี้ ถื อ ว่ า ไกลกว่ า ทั้ ง ฮาลิ น เบกถาโนศรี เกษตร เพราะเขาไม่คิดเสนอเป็นมรดกโลก ด้ ว ยเป็ น สิ่ ง ที่ เ หนื อ กว่ า เป็ น ไหนๆ ที่ ส� ำ คั ญ เต็ ม ไปด้ ว ยชี วิ ต จิ ต วิ ญ ญาณคลาคล�่ ำ ด้ ว ย ผู้คนขวักไขว่ ไม่ต่างกับที่พระบรมธาตุเมือง นคร ดร.แอนนา ตอบผมเรื่ อ งมรดกโลกที่ นี่ ว ่ า ในเมื่ อ ยั ง มี ชี วิ ต และด� ำ รงคุ ณ ค่ า อย่ า งนี้ ก็ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ที่ จ ะไปเสนอเป็ น มรดกโลก

ทุ่งเจดีย์ที่พุกาม ในภาพขวามือสุดจะเห็นอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พุกาม ขนาดยักษ์ตั้งอยู่

เพราะจะเต็ ม ไปด้ ว ยเงื่ อ นไข ข้ อ จ� ำ กั ด การท� ำ กิ จ ทั้ ง หลาย ของผู ้ ค น วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง โครงการมรดกโลกที่ ยู เ นสโก และสหประชาชาติท�ำนั้นก็เพื่อ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาป้ อ งกั น ส่ ว นที่ ถู ก ทอดทิ้ ง ทรุ ด โทรมและเสี่ ย ง ของการเสี ย หาย ในเมื่ อ ที่ นี่ ดี พ ร้ อ มอย่ า งนี้ แล้วจะไปสร้างเงื่อนไขให้ท�ำอะไรล�ำบากยาก ยุ่งอย่างของตายแล้วท�ำไมเธอมีความสุขมาก จากการที่อู วัน เนียง นายกสมาคม MAA ที่ เป็นศิลปินประดับกระจกพาดูกระจกที่คุณปู่ เขามาท�ำไว้ ที่พ่อเขามาท�ำไว้และที่ตัวเขาเอง ก็เคยมาท�ำไว้ แล้วบอกว่าหากเป็นมรดกโลก เมื่อไหร่ สิ่งเหล่านี้จะเริ่มยากที่จะเป็นไปได้ ผมคุ ย กั บ ไพโรจน์ ผู ้ จั ด การสุ ธี รั ต นา มูลนิธิที่ไปด้วยว่า คิดอย่างไร? ในขณะที่ผมเอง ก็ระลึกถึงที่เคยคุยกับหลายๆ คนที่เมืองนครนี้ ว่ า อั น ที่ จ ริ ง พระธาตุ ข องเรานั้ น เป็ น มรดก ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ไ หนๆ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งให้ ใ ครมา รับรอง ยิ่งต้องไปเที่ยวร้องขอหรือท�ำตาม กติ ก าของเขาด้ ว ยแล้ ว ยิ่ ง ไปกั น ใหญ่ เว้ น แต่ว่าพระธาตุเราจะอยู่ในภาวะทรุดโทรม

สุ่มเสี่ยง ซึ่งชักไม่แน่ใจจากรอยคราบสนิม ที่ไหลเยิ้มลงมาจากปลียอดทองจนป่านนี้ยัง ไม่เร่งรัดให้ชัดเจนว่าเป็นอย่างไรและจะท�ำ อย่ า งไรแน่ แต่ ที่ ก ลั ว ที่ สุ ด ก็ คื อ กลั ว ว่ า ที่ ใครๆ ก�ำลังลุ้นหวังว่าจะได้เป็นมรดกโลก เพื่อเป็นเพียงจุดขายเพื่อการท่องเที่ยวท� ำ เงินเท่านั้น ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นจริง ก็ควรรีบ ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลกตามความหมาย ที่ ว ่ า อย่ า งยิ่ ง แต่ ไ ม่ แ น่ ใ จเหมื อ นกั น ว่ า ขึ้ น ทะเบียนแล้วจะได้ช่วยกันพิทักษ์รักษา หรือ ว่ารุมกันหาประโยชน์ แล้วลงเอยด้วยการ ถูกขู่ว่าจะถอดจากมรดกโลกอยู่เป็นระยะๆ อย่ า งที่ ไ ด้ ยิ น อยู ่ เ นื อ งๆ กั บ มรดกอื่ น ๆ ใน ประเทศไทย จาก ๓ กรณี ศึ ก ษาที่ พ ม่ า พระธาตุ นครของเราเข้าข่ายไหน เป็นอย่างไร จะ เอาอย่างไรกันแน่ ? ถึงวันนี้ที่เดินหน้ากัน มาปานนี้แล้ว คงไม่มีทางอื่น นอกจากช่วย กั น เท่ า ที่ พ อมี ก� ำ ลั ง และโอกาส สร้ า งอี ก กรณีศึกษาที่เป็นมรดกโลกและมรดกธรรม ที่มีชีวิตจิตวิญญาณอย่างชเวดากอง พร้อม พิทักษ์ปกป้องมิให้เสื่อมทรุดเสียหายอย่าง ฮาลิน เบกถาโน ศรีเกษตร และไม่ถูกเติม ต่อจนเสียสภาพอย่างพุกาม พร้อมกับยังคง สภาพเป็นศูนย์ศรัทธาและการเรียนรู้ส�ำคัญ ของท้องถิ่น มิใช่เพียงเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและท�ำเงินเท่านั้น ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.