นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 46 เดือนกรกฎา 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ พญ.ภัทริยา มาลัยศร มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

เรื่องการจัดท�ำผังเมืองรวมจังหวัดนครศรีธรรมราชที่จะ ประกาศใช้ใน ปี ๒๕๖๒ กลายเป็นเผือกร้อนของผูว้ า่ ราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช และกรมโยธาธิการและผังเมือง เมือ่ มีกลุม่ ไม่เห็นด้วยออกมาคัดค้านจนเวทีรบั ฟังความเห็น ไม่สามารถด�ำเนินต่อไปได้ วันที่ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ กลุม่ ประชาชนผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเปิดเวทีวชิ าการและรับฟังข้อ เสนอแนะ ณ ศาลาประชาคมโรงละคร เพือ่ รวบรวม ความคิดเห็นส่งให้กรมโยธาธิการและผังเมือง พิจารณาแก้ไข ‘รักบ้านเกิด’ เห็นความส�ำคัญ ของเรื่องผังเมืองใหม่ปี ๒๕๖๒ ที่มีส่วน ก�ำหนดชะตากรรมของเมืองนคร จึงน�ำ ความเคลือ่ นไหวมาถ่ายทอดให้ทราบ

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓

˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

ประกาศของกรมโยธาธิการและผังเมือง ลงนามโดยนายมณฑล สุดประเสริฐ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ เนื้อหาส�ำคัญระบุว่า... “กรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ด�ำเนินการเพื่อแก้ไขเพิ่ม เติมกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๖ เฉพาะประเด็ น ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแก้ ไ ข เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม (สีฟ้า) แก้ไขข้อก�ำหนดการใช้


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ นายพิ นิ จ บุญเลิศ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็ น ประธานการลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความ ร่วมมือ ‘การอ�ำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความ เหลื่อมล�้ำในสังคม’ โดยบูรณาการความร่วมมือ ระหว่าง ๖ หน่วยงานหลัก ประกอบด้วย ศูนย์ด�ำรง ธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ส�ำนักงานอัยการ คุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายและ การบังคับคดีจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ท�ำการ ปกครองจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ส� ำ นั ก งาน ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และสภา ทนายความจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ ร่ ว ม อ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรม และลดความเหลื่ อ มล�้ ำ ในสังคมแก่ประชาชนในพื้นที่ การจัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) จั ด ท� ำ ตามนโยบายของรั ฐ บาลที่ ต ้ อ งการลด ความเหลื่อมล�้ำทางสังคมและการสร้างโอกาส การเข้าถึงบริการของรัฐเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง ความยุติธรรมได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว โดย หน่ ว ยงานระดั บ จั ง หวั ด ได้ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ การบู ร ณาการด้ า นการรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ร้ อ งทุกข์ บริการข้อมูลข่าวสาร ข้อเสนอแนะต่างๆ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชมี ผู ้ ถู ก ล่ ว งละเมิ ด สิ ท ธิ และเสรีภาพ หรือได้รับผลกระทบจากความไม่ เป็ น ธรรมอยู ่ จ� ำ นวนมาก จึ ง ได้ แ ต่ ค าดหวั ง ว่ า หลังการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือแล้ว หน่วยงานหลักทั้ง ๖ จะสามารถลดความเหลื่อมล�้ำและท�ำให้เกิดความยุติธรรมขึ้นได้จริงๆ อย่าง เป็นรูปธรรม

มออกจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ที่เข้าไปปลุกปล�้ำ อยู ่ ๑๐ ปี ตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๓๕ ที่ ทั้ ง หมื่ น ไร่ ยั ง เป็ น ที่ รกร้างสาธารณะสงวนเลี้ยงสัตว์ซึ่งมีผู้คนเข้าไปตั้งถิ่นฐาน ปลูกสร้างผลอาสินอยู่หลายร้อยครอบครัว ถึงปี ๒๕๔๕ ที่ ศึกษิตรุ่นแรกจบออกมาสู่สังคมจนถึงทุกวันนี้ ๑๓ ปี ไม่รู้ ว่ากี่รุ่นแล้ว โดยระบุในใบลาว่าขอออกไปใช้ชีวิตแนวอื่น คือเป็นแบบที่ผมเรียกเองว่าอาสาสมัครอิสระสาธารณะ ประโยชน์ ขอเลือกท�ำในสิ่งที่ตนเองรักชอบและเชื่อว่าจะ เกิดประโยชน์ตามสมควร และไม่ขอรับบทบาทหน้าที่ใดๆ ในวลัยลักษณ์เลย แม้แต่การเป็นอาจารย์พิเศษ โดยขัดไม่ ได้ ต้องรับเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยอยู่วาระหนึ่ง เมื่อ อ.ดร.สุภัทท์ ภู่ผกา อธิการบดีขณะนั้นมาแจ้งว่าเป็น มติของของทุกฝ่ายให้ท่านมาตามผมไปร่วมด้วยช่วยกัน กับขณะนี้ยังคงเป็นกรรมการประจ�ำอาศรมวัฒนธรรมที่ แทบไม่ได้มีส่วนร่วมอะไรเลย เพิ่งเคยร่วมประชุมเพียง ครั้งเดียว นอกนั้นน่าจะไม่มีอะไรและจ�ำไม่ค่อยได้แล้ว แต่ก็ยังระลึกถึง ห่วงใย และหวังให้เจริญก้าวหน้าจนเป็น องค์กรธรรมาภิบาล เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล ได้ ตามวิสัยทัศน์ที่จ�ำได้ว่ามีการช่วยกันท�ำกันไว้อย่างคึกคัก และมุ่งมั่นอย่างยิ่ง ตั้งแต่ปลายปีที่แล้วมาถึงทุกวันนี้ซึ่งเลยกลางปีมา แล้ว ดูเหมือนว่าวลัยลักษณ์ก�ำลังวุ่นวนจนอาจจะละวาง พันธกิจที่วางไว้เพื่อให้บรรลุซึ่งวิสัยทัศน์ ด้วยเหมือนว่า จะมีอะไรหลายอย่างชวนให้วิตก ห่วงใย ไม่น่าสบายใจ

ใครๆ ก็พากันถามว่าเกิดอะไรขึ้น เช่นเดียวกับที่ผมเมื่อ พบใครๆ ก็ได้แต่ถามท�ำนองเดียวกัน ผมจ� ำ ได้ ว ่ า เมื่ อ แรกเสนอตั ว เข้ า ร่ ว มงานมหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ โดยได้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย และ รักษาการแทนอธิการบดี เสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ให้ ท� ำ หน้ า ที่ ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี แ ละรองอธิ ก ารบดี ต าม ล� ำ ดั บ โดยมี ผู ้ ค นอี ก มากมายที่ อ าสาเข้ า มาร่ ว มกั น ก่ อ ร่างสร้างมหาวิทยาลัย ทั้งที่เสนอตัวเข้ามาเอง ที่เขาไป เชื้อเชิญเข้ามา และที่ถูกแต่งตั้งเข้ามา แบบที่สามารถ เรียกได้ว่าเป็นปฏิบัติการร่วมกันครั้งส�ำคัญของทั้งจังหวัด นครศรีธรรมราชและรัฐบาลไทย กล่าวคือ ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด และข้ า ราชการทุ ก ภาคส่ ว น เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม อย่างจริงจัง ไม่เพียงพลเรือนเท่านั้น ต�ำรวจและทหาร ก็ เ ข้ า ร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น อย่ า งคึ ก คั ก เมื่ อ วั น ก่ อ นผมไปที่ สถานีต�ำรวจภูธรเมืองนคร ยังมีต�ำรวจหลายนายปรารภ ถึงความหลังครั้งที่ท่านผู้การ ผู้ก�ำกับ น�ำก�ำลังลงไปช่วย จนไถที่และเริ่มก่อสร้างทุกอาคารออกมาได้อย่างที่เห็น ท่านแม่ทัพกิตติ รัตนฉายา นั้นไม่ต้องถามถึง ท่านถามถึง พวกเราเสมอ ท่านอดีตผู้ว่าวิชม ทองสงค์ ขณะเป็นปลัด จังหวัดถึงกับอาสาขนเหล้าเบียร์ลงไปตั้งวงเจรจากับคณะ บุคคลที่เห็นต่างเป็นคืนๆ ส�ำหรับฝ่ายการเมืองนั้น ผมถือ เป็นการแสดงสามัคคีธรรมครั้งส�ำคัญของทั้งสองฟากฝ่าย (อ่านต่อหน้า ๑๙) น�ำโดยคุณลุงนิเวศน์ เกตุชาติ กับ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

บ่

ายแก่ๆ วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ ลูกศิษย์วัยเกษียณเคยฝึกเขียนภาพ กับครูแนบ ทิชินพงศ์ พาอาจารย์ของเขา มาเยี่ยมถึงบ้าน ผมลุกมาต้อนรับที่หน้า ประตู จิตรกรเอกลงจากรถกระบะส่งยิ้ม และรับไหว้ผม ด้วยวัย ๙๔ ‘ครูแนบ’ ยัง แข็งแรง หูตายังแจ่มชัด ครูบอกว่าจะมาชวนไปร่วมงานเปิด นิ ท รรศการ ‘ศิ ล ปิ น สี่ แ ผ่ น ดิ น แนบ ทิชินพงศ์’ จัดที่ศูนย์บรรณสารและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ระหว่าง ๒๙ มิถุนายน - ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๔๕ น. วั น ที่ ๒๙ มิ ถุ น ายน ฯพณฯ พลากร สุ ว รรณรั ฐ องคมนตรีให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน ผมตอบรับ ทั้งๆ ที่รู้ว่าติดงานที่อื่น แต่ไม่อยากปฏิเสธให้ท่านเสียความรู้สึก ครูแนบแสดงงานครั้งล่าสุดระหว่าง วั น ที่ ๖ - ๓๐ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๕ ณ อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ เ มื อ งนคร บริ เ วณ สนามหน้าเมือง ตอนนั้นได้ไปร่วมบันทึก บรรยากาศและเขียนถ่ายทอดใน ‘เนชั่น สุดสัปดาห์’ และเมื่อ ๒ ปีที่แล้ว รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรี ธ รรมราช มาชั ก ชวนให้ ช ่ ว ยท� ำ อะไรเล็กๆ เพื่อเสนอชื่อครูเป็นศิลปินแห่ง ชาติ แต่ผมก็ช่วยอะไรไม่ได้มากนัก ครูแนบเกิดปี ๒๔๖๔ เรียนจบชั้น ม.๖ จากโรงเรียนเบญจมราชูทิศนครฯ ไปเรี ย นวิ จิ ต รศิ ล ป์ ที่ โ รงเรี ย นเพาะช่ า ง ปี ๒๔๘๔ ขณะขึ้นปีที่ ๓ ภาคบ่ายครูยัง ไปเรียนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งก่อตั้ง ใหม่ๆ ได้ศึกษางานของ ศาสตราจารย์ ศิ ล ป์ พี ร ะศรี อาจารย์ จิ ต ร บั ว บุ ศ ย์ อาจารย์เฉลิม นาคีรักษ์ และเหม เวชกร โดยยกเป็นครู เมื่ อ สามปี ก ่ อ นครู แ นบเล่ า ให้ ฟ ั ง “เวลานั้ น ศิ ล ปะแนวอิ ม เพรสชั่ น นิ ส ม์ ก�ำลังเป็นที่นิยมในหมู่นักเรียนนักศึกษา ช่ ว งนั้ น เป็ น สมั ย สงครามวั ส ดุ อุ ป กรณ์ เขียนรูปราคาแพงมาก แถมหาซื้อยากอีก ด้วย ผมเลยขึงเฟรมด้วยผ้าดิบแทนผ้าใบ

ใช้สีฝุ่นแทนสีน�้ำมัน ผมบดสีฝุ่นจนละเอียด แล้วผสมกับน�้ำมันใช้เขียนรูป” เรียนจบกลับมาเป็นครูสอนศิลปะที่ โรงเรียนนครสมาคม (American School for Boys) หรือโรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา รับเงินเดือน ๕๐ บาท งานชิ้นแรกเป็นรูปคนเหมือนได้เงิน ๓๐ บาท ปี ๒๔๙๐ สอบเข้ า รั บ ราชการที่ โรงเรี ย นเบญจมราชู ทิ ศ สอนวิ ช าศิ ล ปะ และยั ง ไปช่ ว ยสอนตามโรงเรี ย นที่ ข าด ครู ศิ ล ปะอี ก หลายแห่ ง รั บ ราชการ ๑๒ ปี ก็ ล าออกเพราะอยากท� ำ หนั ง การ์ ตู น เรื่องกามนิต-วาสิฏฐี “ผมอยากเป็นคน แรกของเมืองไทยที่จะท�ำหนังการ์ตูนได้ ส�ำเร็จ ผมใช้เวลากลางค�่ำกลางคืน หรือ วันเสาร์ วันอาทิตย์ ท�ำแล้วท�ำอีกๆ หลาย ครั้ง จนสุดท้ายส่งฟิล์มไปล้างที่ประเทศ ออสเตรเลีย เพราะเมืองไทยยังล้างภาพสี ไม่ได้” ทางออสเตรเลี ย ส่ ง ฟิ ล ์ ม กลั บ มา ปรากฏว่าภาพกระโดดต้องเขียนซ่อมส่ง กลับไปอีก จนได้หนังยาว ๒ – ๓ นาทีที่ สวยงาม แต่เงินหมดต้องยุติโครงการ “คน

ที่จะท�ำหนังการ์ตูนได้ในสมัยนั้นมีปรัชญา สี่-ห้าข้อ คือ ต้องมีฝีมือ ต้องมีเวลา ต้อง มีสุขภาพดี ต้องมีความคิด วิสัยทัศน์กว้าง ไกล มีทุน” ปี ๒๕๐๑ ครู ศึ ก ษางานของเหม เวชกร แล้วน�ำมาเขียนฉากละครการกุศล หาเงินให้เทศบาล และออกแบบฉากละคร แสดงถวายหน้าพระที่นั่งพระบาทสมเด็จพระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จประพาสจังหวัด นครศรี ธ รรมราช คราวนั้ น ครู ทู ล เกล้ า ฯ ถวายภาพเขียนสีน�้ำมันภาพน�้ำตกพรหมโลก ครูแนบทุ่มเทเวลากับการเขียนภาพ และเปิดโรงพิมพ์เล็กๆ ชื่อศิษย์เพาะช่าง ปี ๒๕๒๘ ได้รับเชิญไป เขี ย นภาพที่ ชิ ค าโกและแคลิ ฟอร์เนียนาน ๓ เดือน และได้ เขียนภาพฝากไว้หลายชิ้น ปี ๒๕๒๕ มีงานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ครู แนบได้ รั บ เลื อ กจากรั ฐ บาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ที่ นายชวน หลีกภัย เป็นรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้

เขียนภาพพระราชกรณียกิจของราชวงศ์ จักรีร่วมกับศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายท่าน ผลงานดั ง กล่ า วติ ด ตั้ ง ในอาคารรั ฐ สภา และกระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๓๔ ได้ รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงาน ดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมแห่งชาติ สาขา จิตรกรรม จากส�ำนักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ นายชวน หลี ก ภั ย ประธานที่ ปรึ ก ษาพรรคประชาธิ ป ั ต ย์ และอดี ต นายกรั ฐ มนตรี ศิ ษ ย์ เ พาะช่ า งรุ ่ น น้ อ ง กล่าวแนะน�ำในวันเปิดงานแสดงกลางปี ๒๕๕๕ “ลูกๆ ของครูแนบก็อย่าให้พ่อ หยุดเขียนรูป ปีนี้อายุเก้าสิบเอ็ดท่านยัง เขียนรูปได้อีกหลายปี เพราะว่าการคิด สามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้ การ เขียนรูปป้องกันโรคพาร์กินสันได้” ปี ๒๕๕๕ ครูแนบกระซิบบอกผม ว่า “หลังจากนี้ผมจะเขียนภาพดอกไม้ เพียงอย่างเดียว” นิทรรศการศิลปะ ปี ๒๕๕๘ ของ แนบ ทิชินพงศ์ มีผลงานประมาณกว่า ๑๐๐ ภาพ ให้ชื่นชมหรือจับจองเป็น สมบัติ


หน้า ๔

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ารแข่งขันกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ผ่านมา ได้ให้อะไรกับ สังคมไทยมากมายทีเดียว นอกเหนือจากความยินดี กับชัยชนะของเหล่าบรรดานักกีฬาทั้งชายและหญิง แต่ที่ น่าสังเกตประการหนึ่งคือชาวไทยทั้งประเทศเราเชื่อกัน ว่า กีฬาอะไรที่ท�ำกันเดี่ยวๆ เล่นคนเดียว เช่น ชกมวย ยกน�้ำหนัก เทควันโด เราจะเก่งพอสู้เขาได้ระดับโลก แต่ ถ้าท�ำเป็นทีมละก้อ เราจะสู้เขาไม่ได้ เชื่อกันว่าคนไทย ท�ำงานเป็นทีมไม่ได้ เห็นแก่ตัว ขาดความสามัคคี ไม่มี วัฒนธรรมในการท�ำงานร่วมกันเหมือนญี่ปุ่น มีแต่ความ ขัดแย้ง แบ่งพรรคแบ่งพวก กีฬา ‘ซีเกมส์ ๒๐๑๕’ ได้ พิสูจน์ให้คนไทยทั้งประเทศต้องเปลี่ยนความเชื่อเดิมๆ ในเรื่ อ งการท� ำ งานเป็ น ที ม เราได้ แ ชมป์ ป ระเภทที ม มากมายหลายอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน อย่างเช่นกีฬา ขวัญใจมวลชนอย่างฟุตบอล วอลเล่ย์บอล บาสเก็ตบอล เซปัคตะกร้อ แบดมินตัน หรือโปโลน�้ำ ว่ายน�้ำเดี่ยวสู้เขา ไม่ได้ แต่ถ้าเป็นทีมก็คว้าแชมป์มาได้ กรีฑาวิ่งเดี่ยวไม่ ค่อยประสบผลส�ำเร็จ แต่พอเป็นทีมกวาดมาเรียบ

นักกีฬาเหล่านี้อยู่กันคนละสโมสร เล่นกีฬาเป็น อาชีพอยู่คนละทีม ห�้ำหั่นกันมาตลอดปีอย่างเอาเป็น เอาตาย แต่พอมารับใช้ทีมชาติ กลับร่วมมือสามัคคีกัน รวมเป็นหนึ่ง จนประสบความส�ำเร็จ หรือเป็นเพราะ เพลงปลุ ก ใจ เพลงที่ เ น้ น เรื่ อ งสามั ค คี เ ปิ ด กรอกหู อ ยู ่ ทุกวัน ส ่ ว น บ ร ร ด า นั ก กี ฬ า เหล่ า นี้ ม าจากทั่ ว ประเทศ เหนือ อีสาน ภาคกลาง ภาค ใต้ ร วมกั น ไม่ แ บ่ ง สี ไม่ แ บ่ ง ภาค รวมเลือดเนื้อชาติเชื้อ ไทย สู้เพื่อชาติ ท�ำตามโค้ช แต่เพียงผู้เดียว สิ่งที่ส�ำคัญ อี ก ประการหนึ่ ง คื อ เรื่ อ ง ระเบี ย บวิ นั ย การลงโทษ ของโค้ ช ในกี ฬ าเทควั น โด วิ นั ย ของนั ก ฟุ ต บอลไทย ยุคปัจจุบัน การถูกคู่แข่ง ใช้ ค วามรุ น แรงผิ ด กติ ก า การตัดสินของกรรมการ ครั้งแข่งกับทีมเกาหลี เรา จะเห็ น สปิ ริ ต วิ นั ย ของ นักกีฬาไทย ไม่โต้ตอบ จนได้ รั บ การปรบมื อ ชื่ น ชมจากกองเชี ย ร์ ของต่ า งชาติ รวมทั้ ง สื่อมวลชนของเขา ต่างยกย่องนักกีฬา ของเราว่าเยี่ยมจริง แม้แต่กองเชียร์ของเรายังปรบมือ ให้ เ กี ย รติ แ ก่ คู ่ แ ข่ ง และเก็ บ ขยะในสนามเช่ น เดี ย วกั บ ชาวญี่ปุ่น ก็ได้รับค�ำชมเชยจากสื่อต่างประเทศ หลาย คนที่ อ ยู ่ ใ นที ม กี ฬ าเหล่ า นั้ น และกองเชี ย ร์ เ หล่ า นั้ น ก็ เป็นคนนครศรีธรรมราชอยู่ด้วย คนนครมีความสามัคคี มีความสามารถท�ำงานเป็นทีมได้ดี และเป็นคนดีด้วย เชื่อเถอะ ที่ผมยกตัวอย่างเรื่องการกีฬามาให้ฟังเพราะช่วงนี้ มีการท�ำกิจกรรมใหญ่ๆ ของบ้านเมืองอยู่หลายเรื่อง และ ผู้คนต่างวิพากษ์วิจารณ์กันไปในทางดูถูกดูแคลนคนบ้าน เอง หาว่าหัวหมอ ไม่ยอมรับฟังความเห็นคนอื่น ท�ำงาน เป็นทีมไม่ได้ ด้วยความเป็นจริงคนเหล่านี้มีอยู่ทุกสังคม ทุกเมืองทุกจังหวัด ไม่ใช่มีแต่คนนคร เรามองแต่คนชั่ว มองแต่ในเรื่องลบ ท�ำไมถึงไม่มองที่คนดีที่มีอยู่มากกว่า หรื อ มองเชิ ง บวกบ้ า ง เพื่ อ เราจะได้ มี ก� ำ ลั ง ใจที่ จ ะท� ำ กิจกรรมส่วนรวมของบ้านเกิดของเราต่อไป กิจกรรมที่ว่า นี้ ที่ประชาคมเมืองของเราเข้าไปเกี่ยวข้องคือ เรื่อง ‘โรง พยาบาลมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์’ >> อ่านต่อหน้า ๑๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๔ ฉบั บ ที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ มงคลอันสูงสุด...วัน ที่ ๑ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ พี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นประธานน�ำข้าราชการ และประชาชน ประกอบพิธีถวายผ้าพระบฏพระราชทาน ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี สัปดาห์ส่งเสริม พระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชาโลก และ วั น อั ฏ ฐมี บู ช า ประจ� ำ ปี ๒๕๕๘ ณ ลานโพธิ์ วั ด พระ มหาธาตุฯ

อยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งเข้ า ใจวั ฒ นธรรมของกั น และ กั น พิ นิ จ บุ ญ เลิ ศ รองผู ้ ว ่ า ฯ, คฑา รุ ่ ง โรจน์ รั ต กุ ล รองนายก อบจ.นครฯ และ ซาเราะห์ ยิ่งกุลเชา นายก สมาคมสตรี มุ สลิ มนครฯ ร่ ว มเปิด งาน ‘ประสานใจผูก ไมตรี สั ม พั น ธ์ ร อมฎอนสู ่ อ าเซี ย น’ เพื่ อ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ความส�ำคัญของเดือนแห่งการถือศีลอดตามหลักการของ ศาสนาอิสลาม และเตรียมความพร้อมของมุสลิมะฮ์นครฯ ก่อนเข้าสู่ AEC

หน้า ๕

‘ลูกนางฟ้า’ อุดมศรี ประสิทธิผลทวี รุ่นพี่ ม.ศ.๕ กัลยาณีศรีธรรมราช เจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์คนดัง เมืองระยอง กลับมางานศพญาติที่ท่าศาลา มีเวลามากิน ข้าวและสนทนากับ วิโรชา เจียมกัลชาญ เจ้าของร้าน P&P ถนนอ้อมค่าย จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร รุ่นพี่ของพี่ร่วมแจม

เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ‘ปั่นเพื่อแม่ bike for mom ๒๐๑๕’ เนื่องในโอกาสมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ‘๑๒ สิงหาคม’ ตามพระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร โดยจั ด พร้ อ มกั น ทั่ ว ประเทศ

วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ อนันต์ ชูโชติ รองปลัด กระทรวงวั ฒ นธรรม เปิ ด การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเน้ น เรื่องการใช้ทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพิ่ม มูลค่าทางเศรษฐกิจ (Cultural Product of Thailand : CPOT) ตามนโยบายของรั ฐ บาล พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นพ.นพดล ไพบู ล ย์ สิ น รั ก ษาราชการแทนผู ้ อ�ำนวยการส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๑ จังหวัด นครฯ เตือนประชาชนให้ระวังไข้หวัดใหญ่ที่เกิดได้ตลอดปี และเกิดได้ทุกที่ทั้งครอบครัว ที่ท�ำงาน โรงเรียน โดยเชื้อ ที่อยู่ในเสมหะ น�้ำมูก น�้ำลาย แพร่ติดต่อไปยังคนอื่นๆ โดยการ ไอ จามรดกันโดยตรง หรือผ่านสิ่งของใช้ร่วม กัน เช่น แก้วน�้ำ ลูกบิดประตู โทรศัพท์ ผ้าเช็ดมือ หากมี อาการไข้สูง ไอ ปวดเมื่อยตามตัว หอบเหนื่อยควรพบแพทย์ วันที่ ๒๐-๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ รองผู้ว่าฯ พินิจ บุ ญ เลิ ศ กั บ นภสร ค้ า ขาย ผอ.ททท.ส� ำ นั ก งานนครฯ ร่วมปล่อยขบวนนักปั่นจักรยานกว่า ๒๐๐ คน ในกิจกรรม ‘เที่ยวด้วยกัน ปั่นด้วยใจ ไปกรุงชิง’ ออกจากหน้าส�ำนัก งาน ททท. ไปยังอุทยานแห่งชาติเขาหลวงน�้ำตกกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ – ร้านกาแฟนาเหรง – น�้ำตกอ้ายเขียว - วนกลับหน้า สนง. ททท. บริเวณสนามหน้าเมือง ระยะ ทางประมาณ ๑๘๐ กม. หวังเปิดเป็นเส้นทางท่องเที่ยวที่ ได้สัมผัสกับธรรมชาติตลอดเส้นทาง ข่าวนี้เพื่อนัก ปั่น...วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ รัฐบาลจัดกิจกรรมจักรยาน

คมเดช ชูวงศ์ ยุติธรรมจังหวัดนครฯ ร่วมลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง ๖ หน่วย งาน ได้ แ ก่ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรมจั ง หวั ด นครฯ, ส� ำ นั ก งาน อัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการ บั ง คั บ คดี จั ง หวั ด นครฯ, ที่ ท� ำ การปกครองจั ง หวั ด นครฯ, ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครฯ และสภาทนายความจัง หวัดนครฯ ตามแนวคิด’การอ�ำนวยความยุติธรรมเพื่อลด ความเหลื่อมล�้ำในสังคม’ นโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้ ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว แม่เป็นหญิงใบ้ เลี้ยง ลูก ๓ คนด้วยค่าแรงจากงาน รับจ้างวันละ ๑๖๐ บาท บางวัน ลู ก ไม่ มี เ งิ น ไปโรงเรี ย น อ่ า น หนังสือตะกุกตะกักเรียนไม่ทัน คนอื่น และอยู่บ้านเก่าอย่าง ยากล� ำ บาก จิ ม มี่ ชวาลา (นายห้างร้านจิมมี่ สี่แยกท่าวัง) เข้าไปช่วยเหลือ โดยน�ำของกิน ของใช้ จ� ำ เป็ น ไปมอบให้ ด ้ ว ยตั ว เอง และสร้ า งบ้ า นหลั ง เล็กๆ ให้อาศัย สนับสนุนให้ท�ำงานอยู่กับบ้านต่อไป

กิจกรรมคืนก�ำไรสมาชิกซื้อไข่ไก่ราคาถูกฟองละ ๑ บาท ของฮอนด้าศรีนครได้รับการตอบรับอย่างสูง วัน ที่ ๑๑ มิถุนายน ‘โกจ้อง’ แห่งฮอนด้าศรีนคร ยังประกอบ พิธีไหว้ครูแก่นักศึกษาฝึกงาน โดยเรียนเชิญผู้อ�ำนวยการ วิทยาลัยการอาชีพนครศรีธรรมราชมาเป็นประธาน ‘โก จ้อง’ ร่วมให้โอวาท โดยน�ำประสบการณ์จากการท�ำงาน อาชีพจนประสบความส�ำเร็จมาถ่ายทอด

ชาวไทยเชื้ อ สายจี น ผู ้ ศ รั ท ธาร่ ว มพิ ธี ลุ ย ไฟ ณ ศาลเจ้าแม่ทับทิม จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๘

บริษัท ฮอนด้า เทิดพระเกียรติ นครศรีธรรมราช จ�ำกัด เปิดโชว์รูมฮอนด้าทันสมัยที่สุดมูลค่า ๒๐๐ ล้านบาท บนพื้นที่ ๑๔ ไร่ ริมถนนเทิดพระเกียรติ เป็นศูนย์จ�ำหน่ายรถยนต์ฮอนด้า และบริการครบวงจร พื้นที่จัดแสดงรถยนต์ ๑๕ คัน ช่องเช็คระยะ และซ่อมทั่วไป ๔๐ ช่อง รองรับความต้องการของลูกค้า สนใจชม รถยนต์ฮอนด้าหรือทดลองขับได้ที่โชว์รูมฮอนด้า เทิดพระเกียรติ นครศรีธรรมราช หรือสอบถามรายละเอียดที่ ๐๗๕-๓๕๕-๗๗๗ หรือเฟซบุ๊กแฟนเพจ : Honda Therdphrakiet NST.

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

นนท่าช้าง หลังสนามหน้าเมืองนครศรีธรรมราช เป็นแหล่งจ�ำหน่ายเครื่องถม เครื่ อ งเงิ น เครื่ อ งประดั บ และของฝากที่ ส�ำคัญ มีร้านค้าตั้งอยู่ตลอดแนว ร้านหนึ่งเป็น ตึกสีเหลืองดูโดดเด่นจับตาขึ้นป้าย ‘เครื่อง ถมศรีนคร’ เป็นอาคารใหม่สุดประจ�ำย่าน เจ้าของร้าน ๒ สามีภรรยา สุริยา - สุดารัตน์ จิรสูตรสกุล สุ ริ ย าตอบค� ำ ถามแรกของ ‘รั ก บ้ า น เกิด’ ว่า “เครื่องถมของผมช่วงนี้ยอดไม่ตกมาก เพราะว่าสินค้าของผมเยอะ หมายถึงมีจ�ำนวน แบบ พวกสร้อย ก�ำไล งานถมของผมเยอะ อาจได้เปรียบกว่าร้านอื่น ร้านอื่นของเขาไม่ ค่อยลง อาจเป็นเพราะของต้องใช้ทุนสูง ที่ว่า ลงมากเพราะเรามีลูกค้าประจ�ำอยู่แล้ว งาน เครื่องถมถ้าไม่มีลูกค้าขายยากสักนิด ราคา ค่อนข้างสูง” สุ ริ ย า ว ่ า ลู ก ค ้ า ป ร ะ จ� ำ เ ป ็ น ก ลุ ่ ม ข้ า ราชการมากกว่ า กลุ ่ ม อื่ น ๆ เขาซื้ อ เป็ น ของขวั ญ ของฝากหรื อ ซื้ อ ไปใช้ เ อง พอใช้ ดี ก็แนะน�ำต่อไปว่า ถ้าอยากได้เครื่องถมของ จังหวัดนครศรีธรรมราชต้องมาร้านศรีนคร เพราะมีแบบมาก มีทุกขนาด คนอ้วน คนผอม มีหมด ก�ำไล ต่างหู ขันน�้ำ ทองเหลือง รูปภาพ ที่เป็นที่ระลึก สินค้ามีเป็นหมื่นชิ้น กรอบรูป กับงานทองเหลือง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์คู่บ้านคู่ เมืองอย่างเรือสุพรรณหงส์ พระพิฆเณศ พระ คู่บ้านคู่เมือง พระบรมธาตุฯ เครื่องเบญจรงค์ น�ำมาจากสมุทรสาคร - สมุทรสงคราม “สิ น ค้ า เราท� ำ เองกั บ เอาเข้ า มาครึ่ ง ต่อครึ่ง งานทองเหลืองรับมาจากกรุงเทพฯ ลูกค้าเป็นคนบ้านเรา คนกรงเทพฯ บางที ไม่รู้ก็ซื้อกลับไป พวกกระทะ ขันน�้ำพานรอง แจกัน ถาด โตก ถ�้ำใส่กรวดน�้ำ พวกเงินท�ำ เอง ๘๐ เปอร์เซ็นต์ อีก ๒๐ เปอร์เซ็นต์มีช่าง มาเสนอว่าจะท�ำส่งให้ ถ้าสวยเราจะเลือกไว้ งานถมส่วนมากเราจะออกแบบเอง”

งานโรงงานมีช่างฝีมือ ๕-๖ คน ทั้งช่าง ก�ำไล ช่างท�ำขัน เครื่องถมอย่าง ก�ำไล แหวน ต่างหู สร้อยสองกษัตริย์ สามกษัตริย์ขายได้ ต่อเนื่อง ขายดีกว่าเครื่องเงินเพราะเครื่องเงิน ซื้อที่ไหนก็ได้ แต่เครื่องถมต้องมาหาที่นคร ศรีฯ ซึ่งศรีนครจะเน้นถมทอง “ถมทองจะ ออกดีกว่า ตลาดถมเป็นตลาดค้าปลีกมากกว่า ค้าส่ง เพราะเขาซื้อไปใช้ ถมทองคนมีเงินซื้อ ๕,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ขันหรือกระเป๋าลูกละแสน หรือสองแสน” ถมทองอาจมีลูกค้าสั่งล่วงหน้า แต่ใน ร้านมีไม่เคยขาด เผื่อลูกค้าเข้ามาจะได้เลือก ซื้อ ข้อดีของร้านคือมีช่างมีโรงงาน เขาดูแล ช่างโดยป้อนงานให้ตลอด แม้ช่วงขายไม่ดี ช่างแต่ละคนอยู่กันมานาน บางคน ๖-๗ ปี เขาว่า “ช่างบางคนเคยท�ำงานในวังมาก่อน เขากลับมาอยู่บ้าน เขาท�ำแล้วเดินหาตลาด เขาเอาของมาให้ดู ผมบอกว่าท�ำมาให้ผมบ้าง ก็ได้ ถ้าพอใจราคาก็ท�ำมาส่ง พอมาส่งผมก็มี ลูกค้า ผมขายไม่แพง พอให้ช่างอยู่ได้ ผมอยู่ ได้ ก�ำไรต้องแบ่งกัน” สุ ริ ย ามองหารู ป แบบเครื่ อ งถมจาก อิ น เตอร์ เ นตบ้ า ง ดู ล วดลายของในวั ง บ้ า ง แล้วน�ำมาประยุกต์ให้สวยงาม มีคุณค่า ช่าง ตอกลายที่มีฝีมือส่วนมากจะจบจากวิทยาลัย ศิลปหัตถกรรมนครศรีฯ ความเป็นมาก่อนเกิดเครื่องถมศรีนคร สุ ริ ย าเล่ า ว่ า มาจากพี่ ส าว-เพ็ ญ พรรณ หนู คง กับพี่เขย-ย้วน หนูคง บ้านเดิมอยู่หัวไทร แต่เป็นช่างทองอยู่ที่ปากพนัง ร้านทองแม่ เอก เมื่อแต่งงานก็ย้ายมาท�ำเครื่องถมเครื่อง เงินอยู่ถนนท่าช้าง พี่ชายที่เรียนศิลปะฯ ก็มา ช่วยพี่เขย สุริยามาเรียนบัญชีที่โรงเรียนนคร พาณิชยการก็มาช่วยงาน ทุกคนจึงเป็นงาน กันหมด “ผมเป็ น คนบางด้ ว น อยู ่ ป ากพนั ง ฝั ่ ง ตะวั น ออก ผมมาอยู ่ ใ นเมื อ งนครราวๆ ปี ๒๕๒๓ จบบัญชี ปวส. ผมขึ้นกรุงเทพฯ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒-๓ ปี ไปเรียนรามค�ำแหง ผมอยากท�ำงาน ไปสมั ค รที่ ไ หนเขาไม่ รั บ เพราะยั ง ไม่ ไ ด้ คั ด เลือกทหาร พี่ชายคนโตเปิดร้านเย็บเสื้อผ้า อยู่ห้วยขวางบอกให้ลงกลับไปเอาเครื่องเงิน เครื่องถมที่บ้านมาขาย แม่ลงทุนให้ ๑๒,๐๐๐ บาท ผมเอาไปขายหน้ารามฯ ช่วงเช้าขาย หน้าร้านเสริมสวยปากซอย ๕๑ เราเช่าหน้า ร้านวันละ ๑๐๐ บาท ขาย ๘ โมง ถึงบ่าย ๒ โมง ตอนเย็นมีพี่ที่ขายกางเกงในเสื้อในมารับ ช่วงผมต่อ ผมขายได้วันละ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ลูกค้าเป็นนักศึกษา พวกสร้อยข้อมือ ๒ กษัติรย์ ๓ กษัตริย์ ต่างหู ก�ำไรต่อชิ้นเกือบ ๑๐๐-๑๑๐ เปอร์เซ็นต์ ถูกเทศกิจไล่จับ ต้อง ขนแผงวิ่งหนี ---ไปลงรามฯ แต่ไม่ได้เรียน ผม ขายเดือนครึ่งคืนทุนให้แม่หมด ก�ำไรอยู่ใน ของ ผมตั้งตัวได้ บางเที่ยวผมลงมาเอง บาง เที่ยวแม่เป็นคนส่ง”

ต่างๆ เขาจึงได้ร่วมกองคาราวานตระเวนขาย ไปเรื่อยๆ “ตอนนั้นที่รังสิตมีงานคาราวานสินค้า ราคาถูกไปลง ผมเลิกจากตลาดนัดไปเดินใน งานมีคนขายโปสเตอร์บอกมีล็อคว่างสนใจ หรื อ เปล่ า ค่ า เช่ า แบ่ ง คนละครึ่ ง ผมก็ ก าง โต๊ะ--เขาขายโปสเตอร์ดารา ยึดอาชีพขายไป กับคาราวานเพราะเห็นว่างาน ๑๐ วันขาย ดี พอเขาย้ า ยไปปทุ ม ธานี ก็ ต ามเขาไป ยึ ด อาชีพขายตามงานคาราวานไปเลย วิ่งตาม ภาคกลางไปกับน้องคนขายโปสเตอร์ จ่าย ค่าที่คนละครึ่ง งาน ๑๐ วัน ค่าเช่า ๖๐,๐๐๐๗๐,๐๐๐ ตกวันละ ๖,๐๐๐ ของขายดีมาก ไม่ต้องวิ่งเหมือนขายตลาด คนมาหาซื้อเอง จ่ายค่าไฟที่เขามีให้หลอดละ ๑๐ บาท บาง วันขายได้ ๒,๐๐๐ ก็มี คนเวียนเข้าออกขาย ดี ม ากเหมื อ นงานเดื อ นสิ บ สิ บ วั น ย้ า ยหน

ปี ๒๕๒๗ เป็นปีที่ดีของสุริยา ซึ่งขณะ นั้นเขาอยู่ที่แฟลต ๒๙ คลองจั่น “ขายแถว หน้ารามฯ อยู่ ๓ ปี มีปัญหาเทศกิจ พอขายดี ผมขยายโต๊ะพับออกฟุตบาท แต่ถูกเทศกิจไล่ จับ ผมวิ่งเข้าซอย ต่อมาไปขายริมทางเท้าหน้า เดอะมอลล์ ๔ เพื่อนๆ มีแผงขายเสื้อ ผมขาย หน้าร้านเพื่อนอยู่ปีกว่าๆ กลางวันลองวิ่งไป ตลาดนั ด คลองเตย ต้ อ งวิ่ ง หนี เ ทศกิ จ อยู ่ ดี ไปขายที่ไหนก็ซื้อโต๊ะแบบพับ ขายเสร็จก็ฝาก ไว้ บางทีล็อกกุญแจกับเสาไฟฟ้า เทศกิจก็มา ตัดเอาไป ของอยู่ในย่าม ไปกลับผมนั่งรถเมล์ วันพุธขายที่คลองเตย วันพฤหัสฯ ขายข้าง แฟลตคลองจั่น วันศุกร์ไปตลาดนัดรังสิต--ผมโตที่นั่น” รังสิตสมัยนั้นยังเป็นท้องทุ่งที่ว่างข้าง อาคารยังเป็นป่ากกและโรงงานมากมาย “ที่ รั ง สิ ต ขายดี ม ากวั น ละ ๑๕,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ โดยเฉพาะวันศุกร์ต้นเดือน งานสองกษัตริย์ ขายดีมาก ใครอยากได้ต้องลงไปภาคใต้ ผม ขายอยู่หลายปี วันเสาร์ไปขายตลาดย่าพรหม ที่อยุธยา วันอาทิตย์ไปลพบุรีที่นั่นเครื่องเงิน ขายดี เวลาผมไปขายที่ตลาดไหนพอคนบอก ว่าที่นั่นขายดี ผมก็ตามไปทดลองขาย ไปแจม ไปขายกับโต๊ะพับเล็กขนาดหนึ่งเมตร เป็นช่วง สะสมทุน เดือนหนึ่งได้หลายหมื่น” ตอนขายที่รังสิตโลกการค้าของสุริยา เปิ ด กว้ า งออกไปเรื่ อ ยๆ เมื่ อ พบกั บ กอง คาราวานสิ น ค้ า ที่ เ คลื่ อ นไปตามแหล่ ง งาน

หนึ่ง ไปหน้าอ� ำเภอปทุมฯ ไปริมทางรถไฟ สระบุรี ตอนหลังจองล็อคของตัวเอง เพิ่มโต๊ะ เพิ่มของ จากโต๊ะพับกลายเป็นโต๊ะใหญ่ พวก ขายรองเท้าเขาเหมารถ ๖ ล้อ เราโต๊ะเดียวก็ อาศัยไปกับเขา” ตระเวนไปกับคาราวานสินค้า จนพบ หญิงสาวผิวพรรณงดงาม รูปร่างสูงโปร่ง สวย อย่างกับลูกครึ่งฝรั่ง “ผมพบแฟน—ชื่ อ สุ ด ารั ต น์ (แหม่ ม ) ตอนผมไปขายของที่ตลาดทรายโพธาราม ผม ขายงานประจ�ำปี เขามาซื้อต่างหูคู่ละ ๓๐ บาท มาเจาะหู . ..แฟนเป็ น คนราชบุ รี เป็ น ผู้ช่วยหมอ--” สุริยาหัวเราะกับโชคชะตาที่ เหมือนถูกมือที่มองไม่เห็นก�ำหนด มองจาก มุ ม ของสุ ริ ย า เขาขายต่ า งหู ๓๐ บาท ได้ หญิงสาวคนหนึ่งมาเป็นคู่ชีวิต มองจากมุม สุดารัตน์--เธอซื้อต่างหู ๓๐ บาท ได้ชายหนุ่ม ที่ขยันการงานคนหนึ่งมาเป็นคู่ชีวิต ช่วยกัน สร้างเนื้อสร้างตัว มีฐานะร�่ำรวยมั่นคง มีลูก ๔ คน คนโตเรียนจบด้านบริหาร มหาวิทยา ลัยอัสสัมชัญ ก�ำลังท�ำงานหาประสบการณ์ ในกรุงเทพฯ อีกคนชอบค้าขายอยู่ปี ๔ มหาวิทยาลัยเดียวกับพี่ น้องชาย ๒ คนอยู่โรงเรียน ศรีธรรมราชศึกษา เครื่องประดับเป็นสินค้าที่ขายได้ตลอด คนยังแต่งตัว เครื่องเงินแบบเก่าก็ยังขายได้ ไม่ตกรุ่น รูปแบบบางทีสุริยาดัดแปลงจากของ (อ่านต่อหน้า ๙) เก๊ เอามาท�ำเป็นของแท้


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ผ่

านมาครึ่ ง ปี บนเส้ น ทางของการท� ำ ธุรกิจสิ่งที่ต้องตรวจสอบก็คือ ธุรกิจ เดิ น มาถึ ง วั น นี้ เป็ น อย่ า งไรกั น บ้ า ง? มี ค� ำ ถามมากมายก็ คื อ ท� ำ ไมยอดขายจึ ง ต�่ำกว่าเป้าหมายที่คาดไว้? และท�ำไมต�่ำ กว่าปีที่แล้ว? สร้างความกังวลใจให้กับผู้ ประกอบการว่าต่อไปครึ่งปีหลังจะฟื้นตัว หรือไม่? อย่างไร? สิ่งที่ผมเห็นความจริง ก็ คื อ วั น นี้ ธุ ร กิ จ ในต่ า งจั ง หวั ด ไม่ ไ ด้ ส ดใส ดังเช่นอดีตอีกต่อไป ซึ่งอาจมาจากหลาย ปั จ จั ย ก� ำ ลั ง ซื้ อ โดยรวมหดตั ว ลง การ แข่งขันที่นับวันยังรุนแรงมากขึ้น ในเกือบ ทุกประเภทธุรกิจ ตั้งแต่ร้านการขายของ เล็ ก ๆ ร้ า นอาหาร-ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก -ค้ า ส่ ง รวมถึงธุรกิจด้านการบริการต่างๆ ก็มีคน หน้ า เก่ า -หน้ า ใหม่ เข้ า มาลงทุ น เปิ ด กั น มากขึ้น ถ้าในสภาพที่เศรษฐกิจโดยรวมดี ก็ไม่เป็นไร แต่พอเศรษฐกิจเริ่มเข้ายุคขา ลง ซึ่งเป็นไปตามวงจรธุรกิจที่มีขึ้น-มีลง เป็นรอบๆ ในทุกๆ ๑๐ ปี ก็จะเกิดภาวะ เศรษฐกิจตกต�่ำ แล้วผ่านไปอีกระยะหนึ่ง (หนึ่งปี-สองปี-สามปี) ก็ค่อยฟื้นตัวขึ้นมา ใหม่ เป็นผลจากมีผู้ที่ล้มเลิกไปบ้างในช่วง เศรษฐกิจซบเซา บ้างก็มีการปรับตัวเพื่อ ให้อยู่รอด สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องค�ำนึงถึงก็คือ การจะเดินต่อไปหรือการจะเปลี่ยนธุรกิจ ก็เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนัก เพราะการลงทุน ย่อมมีความเสี่ยงมากกว่าเดิมหลายเท่านัก การมีทักษะการเลือกที่แม่นๆ จึงส�ำคัญ มาก มีคนถามผมว่าจะท�ำธุรกิจอะไรดีถึง จะได้ผลในช่วงเวลานี้ ค�ำถามนี้ตอบยาก มาก เพราะในธุ ร กิ จ ทุ ก วั น นี้ แ ทบจะมี ผู ้

เล่นจ�ำนวนมากเข้ามาเกือบทุกธุรกิจ คือ อะไรที่ดีอยู่ในกระแสก็จะมีเข้ามาร่วมแชร์ มากและรวดเร็ ว กว่ า ในอดี ต ความรู ้ สึ ก อยากเป็นเจ้าของกิจการส่วนตัวของคน ยุคใหม่ไม่อยากเป็นลูกจ้าง เพราะเห็น รุ่นพี่ที่จบออกมาแล้วมายึดอาชีพนี้ส่วน ใหญ่ก็ไม่ได้ประสบความส�ำเร็จในชีวิต ตามความใฝ่ฝันของตนเลย แต่ก็ต้องทน อยู่กับสภาพการเป็นลูกจ้างต่อไป โดยที่ ไม่รู้ว่าจะไปท�ำอาชีพอะไร? การกลับไป ยึดอาชีพการเกษตรที่พอจะพาตัวเองให้ อยู ่ ไ ด้ ก็ แ ทบจะหาช่ อ งทางกลั บ ล� ำ บาก เป็นเพราะพืชผลทางการเกษตรตกต�่ำไม่ ว่ายางพารา ปาล์ม และพืชผลผักผลไม้ ก็ยังไม่ดีขึ้น หลายๆ คนเริ่มคิดถึงการท�ำ เกษตรแบบพึ่งตนเอง แต่เอาเข้าจริงก็ยัง ไม่ง่ายนัก บ้างก็ไปลงทุนการเกษตรแบบ ปลอดสารพิษที่อยู่ในกระแส แต่ก็ใช่ว่าจะ ท�ำได้ทุกคน บนเส้นทางของอาชีพที่ทุกคน เลือกนั้น ถ้าพิจารณาแล้วกลับพบว่าเรา

เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘

วันพุธที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันแรม ๘ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีมะแม วันพุธที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีมะแม วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีมะแม วันพฤหัสบดีที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันอาสาฬหบูชา วันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีมะแม วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันเข้าพรรษา

จะเลือกที่อาชีพว่าจะท�ำอะไร? มากกว่า ที่จะเลือกว่าเราต้องการอะไร? อยากได้ อะไร? จากการประกอบอาชีพ จากนั้น เมื่อเป้าหมายชัดเจนว่าอยากได้? อยากมี? อยากเป็น? อยากเห็น? แล้วมาพิจารณา อาชี พ ต่ า งๆ ด้ ว ยการเลื อ กว่ า อาชี พ ใด ที่ ต อบโจทย์ เ ป้ า หมายชี วิ ต แล้ ว ก็ เ ข้ า ไป ศึกษาดูรุ่นพี่ในอาชีพนั้นว่า ผลลัพธ์ที่เขา ได้ ใ นอาชี พ นั้ น คื อ สิ่ ง เดี ย วกั บ ที่ เ ราอยาก ได้ อยากมี อยากเป็น ก็ตัดสินใจเลือกแล้ว ลงมือท�ำตามแบบรุ่นพี่ที่เขาส�ำเร็จ ยึดเขา ชื่อผลงาน ผู้เขียน

หน้า ๗

เป็นต้นแบบแล้วพัฒนาตนเองในทุกด้าน ให้เหมาะสมกับอาชีพที่เลือกรวมถึงการ เป็นมืออาชีพ ลงมือท�ำอย่างสม�่ำเสมอ-ต่อ เนื่อง ด้วยความขยัน-อดทน-ไม่ยอมจ�ำนน จนกว่ า จะได้ ผ ลลั พ ธ์ เ พราะในทุ ก อาชี พ ไม่อาจส�ำเร็จได้ในระยะเวลาสั้นๆ แบบ เสี่ยงโชค วันนี้โอกาสเปิดให้กับทุกคนแต่ ใช่ ว ่ า ทุ ก คนจะใช้ โ อกาสนั้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์กับตนเองและธุรกิจได้เท่ากัน เป็ น การปรั บ มุ ม มองใหม่ จ ากการเลื อ ก อาชี พ เพราะทุ ก วั น นี้ ส อนให้ เ ราเรี ย นรู ้ ที่ ต้องกล้าหลุดออกจากความเชื่อแบบเดิมๆ เสียบ้าง การเปลี่ ย นแปลงทางการค้ า แบบ ใหม่ ก� ำ ลั ง ท� ำ ให้ ก ารค้ า แบบดั้ ง เดิ ม ได้ รั บ ผลกระทบจากอดี ต ร้ า นค้ า สมั ย ใหม่ (Modern Trade) ได้เพิ่มส่วนแบ่งทางการ ตลาดค้าขายแบบดั้งเดิม นี่คือภาพที่เรา เห็นได้ชัดเจนมากในวันนี้ พื้นที่ค้าปลีกทั้ง ขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ ใ นอนาคตรู ป แบบการค้ า ปลี ก ผ่ า น ออนไลน์ อี-คอมเมิร์ซ และช่องการตลาด แบบใหม่ๆ ก็จะเข้ามาแทนที่การปรับตัว ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของผู้ประกอบ การจึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ท ้ า ทายเป็ น อย่ า งยิ่ ง พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างเห็น ได้ชัดคือวันนี้พฤติกรรม “สังคมก้มหน้า” อยู ่ กั บ มื อ ถื อ ได้ พ ลิ ก โฉมหน้ า รู ป แบบ ธุรกิจที่เราไม่อาจคาดคิดก็เป็นไปได้ครับ ไพโรจน์ เพชรคง ๒๑ มิถุนายน ๕๘

การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน โดยการใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ นางนฤมล ศิริวรรณ ปีการศึกษา ๒๕๕๗

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อสร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน ชุดพลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียน ชุดพลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑ ก่อนเรียนและหลังเรียน ๓) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยใช้ เอกสารประกอบการเรียน ชุดพลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๔ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการ ศึกษา ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๔๐ คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย เอกสารประกอบ การเรียน ชุด พลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง จ�ำนวน ๕ เล่ม แผนการจัดการ เรียนรู้ จ�ำนวน ๑๖ แผน รวม ๑๖ ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัย ๓ ตัว เลือก จ�ำนวน ๓๐ ข้อ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียน ชุด พลเมืองดีวิถีไทยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบสมมติฐานที่ใช้ t-test ผลการศึกษาปรากฎผล ดังนี้ ๑. เอกสารประกอบการเรียน ชุด พลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ มีประสิทธิภาพ ๘๒.๙๐/๘๓.๓๕ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พลเมือง ดีวิถีไทยรายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๓. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พลเมืองดีวิถีไทย รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทั้ง ๕ เล่ม โดยรวมมีความพึงพอใจระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๕๓


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ประโยชน์ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สี ข าวมี ก รอบและเส้ น ทแยงสี เ ขี ย ว) และการแก้ ไ ข บั ญ ชี ท ้ า ยกฏกระทรวงให้ ใ ช้ บั ง คั บ ผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่ ง ได้ รั บ ความเห็ น ชอบ จากคณะกรรมการผังเมืองแล้ว โดยรายละเอียดที่แก้ไข เพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ จึงขอ เชิญชวนให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเขตผังเมืองรวมดังกล่าว ไปตรวจดูแผนผัง ข้อก�ำหนด บัญชีท้ายข้อก�ำหนดและ รายการประกอบแผนผัง ที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ ณ ศาลากลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ ตั้งแต่วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ จนถึงวันพุธที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๘ ผู้มีส่วนได้ส่วน เสียในเขตผังเมืองรวม มีสิทธิยื่นค�ำร้องเฉพาะในประเด็น ที่ มี ก ารแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ดั ง กล่ า วโดยให้ ท� ำ ค� ำ ร้ อ งขอเป็ น หนังสือยื่นที่ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ” (http://www.dpt.go.th/nakhonsithammarat/main/) วั น ที่ ๗ มี น าคม ๒๕๕๘ ตั ว แทนภาคประชา สังคม’เครือข่ายติดตามผังเมืองรวมจังหวัดนครศรีธรรมราช’ ยื่ น หนั ง สื อ ต่ อ นายวิ ชั ย คั ม ภี ร ปรี ช า โยธาธิ ก าร และผั ง เมื อ งนครศรี ธ รรมราชตามสิ ท ธิ ดั ง ประกาศไว้ เพื่ อ คั ด ค้ า นผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ฉบั บ แก้ไข พ.ศ.๒๕๕๗ เพราะบัญชีต่อท้ายข้อก�ำหนดผังเมือง รวมเอื้อต่อการเปิดให้มีโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเลียม สถานที่กักเก็บเคมีภัณฑ์อันตราย และขัดขวางการพัฒนา พลังงานทางเลือก จึงขอบัญชีข้อก�ำหนดแนบท้ายฯ ให้ เป็นโมฆะหรือให้ตกไป และเปิดโอกาสให้ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ มีส่วนร่วมเสนอ ความคิดเห็นในการจัดท�ำผังเมือง นายวิชัย คัมภีรปรีชา แจ้ ง ว่ า ตนไม่ มี อ� ำ นาจแก้ ไ ข และเป็ น หน้ า ที่ ข องคณะ กรรมการพิ จ ารณาแก้ ไ ขบั ญ ชี แ นบท้ า ยข้ อ ก� ำ หนดการ ใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งพบว่าการร้องคัดค้านมีหลายพื้นที่ หน่ ว ยงานของตนจะรวบรวมและสรุ ป เสนอต่ อ คณะ กรรมการพิจารณาต่อไป (http://www.khaosod.co.th/view_ newsonline.php?newsid=TVRReU5UY3pPRFk0T0E9PQ==)

วั น ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ กรมโยธิการและผังเมือง ร่วมกับจังหวัดนครศรีธรรมราช เปิ ด เวที ร ะดมความคิ ด เห็ น ใน การจั ด ท� ำ ผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ที่โรงแรมทวินโลตัส นายโอฬาร ศักยโรจน์กุล รองอธิ บ ดี ก รมโยธาธิ ก ารและ ผังเมือง นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีฯ กล่าวยืนยันว่าผังเมืองนี้ร่างขึ้นใหม่จะน�ำไปสู่ การพัฒนา ยกตัวอย่างจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีรายได้เฉลี่ย ต่อหัวที่ ๑.๓ แสนบาทต่อปี แต่นครศรีฯ เฉลี่ยที่ ๓ หมื่น บาทต่อปี หลังจากนั้นกลุ่มคัดค้านได้ซักถามข้อข้องใจ โดยเฉพาะเรื่องโรงไฟฟ้าถ่านหิน แต่เจ้าหน้าที่บนเวที ไม่สามารถตอบค�ำถามได้ นายโอฬาร ศักยโรจน์กุล จึง ประกาศยุติเวที ผู ้ คั ด ค้ า นบางคนกล่ า วว่ า ภาคประชาชนไม่ ไ ด้ คัดค้านการร่างผังเมือง แต่การแก้ประกาศแนบท้ายที่มี ผู้ร่างเพียง ๑๒ คน ไม่ครอบคลุมทุกอาชีพ พวกเขาเห็น ด้วยที่จะต้องเร่งให้เดินหน้าให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี ส่วน ฉบับเก่าให้ยกเลิกไป (http://www.manager.co.th/South/ ViewNews.aspx?NewsID=9580000056451)

วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๘ นายสวัสดิ์ สมัครพงศ์ ผู้ได้รับเลือกจากกลุ่มผู้คัดค้านให้เป็นผู้ประสานงานเครือ ข่ายให้จัดเวทีวิชาการและสัมมนาระดมความคิดเห็นโดย ออกหนังสือนัดหมายและเชิญผ่านโทรศัพท์ไปยังตัวแทน หลากหลายอาชีพ ทั้งตัวแทนภาคเกษตรกร ประธานสภา เกษตรกร ตัวแทนสมาคมชาวสวนปาล์ม ตัวแทนกลุ่ม ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และการท่องเที่ยว เข้าร่วมแสดง ความคิดเห็น นายสวัสดิ์ สมัครพงศ์ กล่าวกับ ‘รักบ้านเกิด’ ว่า ตอนแรกตนไม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม คั ด ค้ า น แต่ พ วกเขา

ติดต่อขอค�ำปรึกษา “เรื่องการ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ พฤษภาคม บริ ษั ท โชติ จินดา ที่รับจ้างกรมผังเมืองและ โยธาธิ ก ารมาท� ำ ผั ง เมื อ งรวม ของจังหวัดนครฯ ที่จะประกาศ ใช้ ปี ๒๕๖๒ เขาชวนผมเข้าแต่ ผมไม่ได้เข้า มีการร้องกรรมการ สิทธิถึงการท�ำผังเมืองว่ามีปัญหาที่ท่าศาลา วันนั้นผม ฝากไว้ ๒ เรื่อง ๑. ท�ำอย่างไรให้โรงไฟฟ้าพลังงานน�้ำใน เขตป่าเขาสามารถสร้างได้โดยไม่ติดปัญหาอะไร ๒. อยาก ให้ กั ง หั น ลมลงทุ ก ที่ ที่ มี ล มได้ โ ดยไม่ มี ข ้ อ แม้ ต่ อ มาคน โทร.มาบอกว่าเวทีล่มเสียแล้ว—เขามี ๑๒ อรหันต์ร่าง ผังเมืองให้แมวลอด แต่ว่าช้างลอดได้ ช่วงบ่าย คุณทรงวุฒิ พัฒน์แก้ว เครือข่ายท่าศาลา ว่าผมต้องมาช่วย วันที่ ๑๙ พฤษภา นัดกัน เขามากันเกือบ ๒๐ คน เขาว่าผังเมือง ฉบั บ แก้ ไ ขของกระทรวงเขาเอาบั ญ ชี แ นบท้ า ยโดยเอา บั ญ ชี ข องอุ ต สาหกรรมมาใส่ ทั้ ง หมด ๑๑๗ โครงการ เป็นการเปิดช่องในนิคมอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรม อื่ น ๆ เข้ า มาอย่ า งเต็ ม ที่ เช่ น พลั ง งานความร้ อ นร่ ว ม เท่ากับเปิดโอกาสให้ไฟฟ้าถ่านหิน ก๊าซ นิวเคลียร์ เข้ามา เขาไม่ต้องการ และจะยื่นคัดค้าน ผมให้พวกเขากลับไป ร่างเหตุผลมาน�ำเสนอ” นายสวัสดิ์ กล่าวหลังได้อ่านร่างของกลุ่มคัดค้าน ว่า ตนไม่พอใจร่างที่แก้ไขมาเพราะเป็นการเขียนเชิงปรารภ “ผมถามว่า วันนี้เราจะเอาอย่างไร เขาว่าให้ยุติ ผมว่าต้อง ไปร่างมาตรการแก้ไขปรับเล็ก—ข้อยุติต้องชัดเจน อย่า เขียนแบบบ่น ดูบัญชีแนบท้ายปี ๒๕๕๖ และดูบัญชีแนบ ท้ายใหม่-- เขาเชิญให้ผมมาช่วย มาร่วมกัน ผมจะไม่เป็นก องหน้า ผมจะช่วยประสานความร่วมมือ” นายสวั ส ดิ์ พ ยายามประสานงานไปยั ง นายสมาน แสงสอาด รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ ที่ได้รับการ มอบหมายให้รับผิดชอบเพื่อพูดคุยหารือก่อนยื่นหนังสือ คัดค้าน “ท่านสมานฯ บอกผ่านมาว่าขอพบปลายเดือน-เราตั้งข้อสังเกตว่าท�ำไมต้องปลายเดือน น่าจะมีเหตุไม่ ปกติบางอย่างผมเลยบอกให้ยื่นวันพรุ่งนี้ ก็มีคนมายื่นราว ๑๐ คน”นายสวัสดิ์เปิดเผยว่า ตนมีข้อแม้กับกลุ่มคัดค้าน ว่าจะไม่เซ็นหนังสือ “ผมต้องการให้พวกเขาลงก่อน แล้ว ผมจะเซ็นแนบท้ายในนามสมาคมเพื่อนเกลอเทือกเขา หลวง เซ็นแล้วเราไปยื่นต่อศูนย์ด�ำรงธรรม ท�ำหนังสือไป ๖ ฉบับ ฉบับหนึ่งส่งผู้ว่าฯ คัดค้าน อีก ๕ ฉบับยื่นผ่าน ศูนย์ด�ำรงธรรม ถึงนายกรัฐมนตรี ถึง คสช. ถึง รัฐมนตรี มหาดไทย แม่ทัพภาคที่ ๔ กรมโยธาธิการและผังเมือง ขอให้ยุติการด�ำเนินการใดๆ ของการแก้ไขผังเมืองตาม กฎกระทรวง แต่พร้อมด�ำเนินการต่อในการปรับผังเมือง อย่างเป็นระบบ โดยขบวนการชุมชนได้มีส่วนร่วมอย่าง ทั่วถึงทุกกลุ่มได้ประกาศใช้ในปี ๒๕๖๒ ผมจัดการประชุม ฟั ง ความคิ ด เห็ น ในวั น ที่ ๒๔ มิ ถุ น ายน คิ ด ว่ า คนจะมี คนมาประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ คน ทุกกลุ่มกิจกรรมต้องมี ส่วนร่วม” นายสวัสดิ์ กล่าวว่า ตนจะเสนอยุทธศาสตร์แบ่ง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พื้นที่ออกเป็น ๔ โซน “ผมเสนอโซน ๑. ตั้ ง แต่ ล านสกา พระพรหม เมือง เป็นศูนย์กลาง โซน ๒. ถ้า ไม่คุยกันให้ดีลุ่มน�้ำปากพนังจะมีปัญหา เมื่อ เป็นโรงไฟฟ้าลงจะมีปัญหาถึงคน คุยกันให้ จบระหว่างต้นน�้ำถึงชายทะเล โซน ๓. ฝั่ง เหนื อ นบพิ ต� ำ พรหมคี รี ท่ า ศาลา สิ ช ล ขนอม บวกทั้งต้นน�้ำ การท่องเที่ยว ชายฝั่ง แหล่ ง แร่ ก็ อ ยู ่ ที่ นั่ น มาดู กั น ว่ า จะเอายั ง ไง สมาคมเหมื อ งแร่ จ ะคิ ด อย่ า งไร ดู ร ะบบ นิเวศ โซน ๔. มี ๘ อ�ำเภอหลังเขาจนถึงกระบี่ สุ ร าษฎร์ ฯ นิ ค มจะเอาตรงไหน โรงงาน อื่นๆ อยู่ตรงไหนไปคิดกันมาว่าจะเอายังไง คิดว่าพอหลังจากสร้างแกนระดับภาพรวมได้ แล้ว ก็จะท�ำให้เกิดแกนโซนต่อไปอีก ข้อเสนอของผมเป็น แค่ตุ๊กตา ใครเสนอเป็นอย่างอื่นก็ได้ แต่ขอให้ที่ประชุม ยอมรับ หลังจากนั้นจะเคลื่อนขั้น ๒ ถ้าท�ำเวทีหมดทั้ง ๔ โซนจะเอาข้อมูลมาดูกัน ว่ามันครอบคลุมหรือยังขาด อะไรตรงไหนอยู่บ้าง ข้อมูลนี้จะน�ำไปสู่การแปลผลจาก ตัวอักษรจากความรู้สึก แปลเป็นพื้นที่--จัดเขตพื้นที่ แล้ว ว่ากันก่อนเอามาประกาศ” นายสวัสดิ์ กล่าวย�้ำว่าตนไม่ต้องการให้คน ๑๒ คน มาบงการชีวิตของชาวนคร ๑.๕ ล้านคน นายสมบูรณ์ เกตุแก้ว มีประสบการณ์ด้านการท�ำ ผั ง เมื อ ง เพราะท� ำ งานกั บ บริ ษั ท โมดั ส คอนซั ล แท้ น ส์ จ�ำกัด บริษัทที่ปรึกษาการจัดท�ำผังเมือง และเห็นด้วยกับ กลุ่มคัดค้าน นายสมบูรณ์ชี้ว่า ภาคใต้ไม่ต้องการแลนด์ บริดจ์ตามแผนพัฒนาสังคมแห่งชาติอีกต่อไป การพัฒนา ต้องเป็นไปตามยุทธศาสตร์ใหม่ “ยุทธศาสตร์การพัฒนา ใหม่คืออะไรตั้งบนพื้นฐานโครงการนิคมทวาย-เว้ สินค้า ถูกขนมาจากทวายมากองอยู่ที่จุดเปลี่ยนถ่ายที่บ้านโป่ง แยกลงใต้เพื่อสนับสนุนภาคใต้และมาเลเซียตอนบน ส่วน ที่จะขึ้นเหนือ ไปตะวันออกเข้าเมืองเว้ เข้าลาวก็ว่ากัน ไป พอตรงนี้มันเปลี่ยนความจ�ำเป็นที่จะใช้แลนด์บริดจ์อีก ที่ระบุว่าพื้นที่ชายฝั่งต้องรองรับเรื่องนิคมอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีและโรงไฟฟ้าถ่านหิน” นายสมบูรณ์กล่าวต่อไปว่า ตามแนวทางบริหารใหม่ เมื่อครบรอบ ๕ ปี ผังเมืองรวมต้องเกิดขึ้น “แต่ปัญหา เมืองนครเกิดขึ้น เนื่องจากพวกท่าศาลา ปากพนัง หัวไทร ที่มีสารตกค้างจากการคัดค้านโรงงานไฟฟ้าถ่านหิน พอ ผั ง เมื อ งฉบั บ แก้ ไ ขตามกฎกระทรวงที่ ป ระกาศใช้ เ มื่ อ ปี ๒๕๕๖ พอเป็ น อย่ า งนี้ ตั ว ที่ วิ ก ฤติ คื อ ท่ า ศาลากั บ หัวไทร หัวไทรกับปากพนังในผังปี ๒๕๕๖ ก่อนแก้ไข มั น เป็ น พื้ น ที่ สี ฟ ้ า คื อ พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ เ พื่ อ การประมง ของ ท่าศาลาหลายส่วนเป็นพื้นที่สีขาว พวกนี้ถูกเปลี่ยนให้เป็น พื้นที่ขาวคาดเขียว นั่นคือพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการเกษตร ที่นี้ ถ้าเปลี่ยนเท่านี้ก็ยังไม่เจ็บปวดเท่าไร ความเป็นความตาย ของผังเมืองไม่ได้อยู่ที่สี แต่อยู่ที่บัญชีแนบท้ายเพราะทุก สีสามารถท�ำอะไรได้พิเศษกว่าหลักการทั่วไป เช่น พื้นที่ อนุรักษ์เพื่อการเกษตร ฟังดูเหมือนว่าท�ำได้แต่การเกษตร แต่ในความเป็นจริงสามารถสร้างโรงงานอุตสาหกรรมที่ ไม่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นพิษกับกระบวนการผลิต แล้วเป็นอุตสาหกรรมที่มาต่อยอดสินค้าเกษตรให้มีมูลค่า เพิ่ม แต่ที่เขาประกาศเขาเขียนไว้กว้าง เช่น หัวไทรบอก

นครศรีธรรมราช

ว่าเราสามารถสร้างโรงงานที่ใช้ความร้อนร่วมได้ ถ้าเรา ตีความแล้วมันได้ตั้งแต่ก๊าซ ถ่านหิน ไปถึงนิวเคลียร์ แล้ว เขาบอกให้มีโรงงานการผลิตน�้ำจืดเพื่อป้อนอุตสาหกรรม เหล่านั้นได้ พอพูดอย่างนี้ฝ่ายคัดค้านก็รู้ว่า-- มันต้องท�ำ อะไรสักอย่าง ในเมื่อเขาให้เราปกป้องชุมชนของเราแล้ว ในวันที่เราเห็นเงาของภัยเราก็ทักไปเสียก่อน เขายื่นเรื่อง ไปที่ ก รรมการสิ ท ธิ ฯ จึ ง มี ก ารไต่ ส วนสาธารณะ ซึ่ ง ฟั ง ความได้ว่าผังที่แก้ไขตามกฎกระทรวงไม่น่าจะมีผลบังคับ ใช้ ในการแก้ไขมันไม่เอาทุกภาคส่วน คืออนุกรรมการ ของจังหวัดมีอยู่ ๒๒-๒๓ คน แต่มาร่วมเพียง ๑๒ คน ก็ หมายความว่าตรงอื่นที่ไม่ต้องปรับก็ไม่ต้องพามา ปรับ เฉพาะส่วนไหนก็พาส่วนนั้นมา เหตุก็บานปลายโดยความ ไม่เข้าใจของชาวบ้านโดยเฉพาะหัวไทร ท่าศาลา เข้าใจ ว่าบริษัท โชติจินดาที่มาจัดเวทีเมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภา จัด เพื่อท�ำให้ฉบับปรับปรุงตามกฎกระทรวงใช้งานได้ เพราะ ฉะนั้นก็ต้องล้มเวที ผมในฐานะคนหัวไทรก็มาบอกคนจัด ว่าอะไรที่ไม่ใช่เรื่องของเราๆ อย่าไปตอบ แล้วเวทีก็ล้ม ในเมื่อผังเมืองเป็นกฎหมายที่เกิดขึ้นทุก ๕ ปี ถ้าเราไม่ ท�ำไม่มีส่วนร่วมเขาก็หยิบขึ้นมาใช้ได้ เราจะเสียหาย ชาว บ้านที่เขาเรียกร้องกันมาเขาก็อยากได้โรงงาน แต่ต้องเป็น โรงงานที่เป็นมิตร เช่น โรงงานแปรรูปผลิตผลการเกษตร เป็นสินค้าอุตสาหกรรม แต่ทั้งหมดท�ำได้ไหม ผมว่าท�ำได้

หน้า ๙

เพราะผมก�ำลังท�ำอยู่ที่จังหวัดน่าน” นายสมบู ร ณ์ ก ล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า “ผม กลัวพอสมควร เพราะข้อบังคับใดๆ ที่เขียน เอาไว้ เ ป็ น กฎหมายกว้ า งๆ พอวั น ที่ ทุ น มั น ต้องการขึ้นมา อาจจะใช้อ�ำนาจพิเศษออก พระราชกฤษฎีกาขึ้นมา เขาบอกสามารถท�ำ ประชาพิ จ ารณ์ ท� ำ EIA ท� ำ อะไรก็ แ ล้ ว แต่ สุดท้ายเราไม่เคยชนะ เพราะฉะนั้นวันที่ ๑๘ ต้ อ งล้ ม ไปมั น ดี ม ากๆ ประชุ ม ที่ น ครฯ ล้ ม บริ ษั ท ที่ รั บ ปรั บ ปรุ ง ผั ง เมื อ ง ๓๖ จั ง หวั ด โทร.หาผมมากมาย ช็ อ กกั น ทั้ ง วงการ ผม บอกว่าเขาไม่ได้ล้มผังปี ๒๕๕๖ เขาล้มผังที่ เป็ น ไปตามกฎกระทรวงที่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชน ไม่สอดคล้อง กับกระบวนการผลิต แล้วปล่อยให้มันคาราคาซังหรือ ผั ง เมื อ งพอเดิ น ไปแล้ ว มั น ต้ อ งเดิ น ไปจนสุ ด ทาง คื อ ผ่านไปจนถึงรัฐมนตรีว่าการกระรวงมหาดไทยลงนาม รับรอง แล้วประกาศแก้ไขในพระราชกิจจานุเบกษาที่ ออกเมื่อปี ๒๕๕๖ ตรงนี้เอาเข้าจริงๆ มันมีเทคนิคใน การระงับยับยั้งได้หลายช่องทาง เช่น ที่ก�ำลังด�ำเนินการ อยู่ คือให้ยื่นเรื่องต่อผู้ว่าราชการจังหวัดว่าประชาชนไม่ เห็นด้วย และกรรมการสิทธิฯ มาไต่สวนสาธารณะ เราก็ ให้ ค ณะกรรมการสิ ท ธิ ฯ ยื่ น เรื่ อ งต่ อ โยธาธิ ก ารและผั ง เมือง ซึ่งที่รองผู้ว่าฯ สมาน บอกรอวันที่ ๒๙ มิถุนายน เพราะ อนุกรรมการของกรมเขาจะพิจารณา เพราะท่านไม่อยาก มาตอบแบบหลักการ เพราะบางคนไม่ฟัง พวกท�ำผังเมือง ๓๖ จังหวัดก�ำลังจับตาเราอยู่ ถ้าเราท�ำไม่ดี เราจะกลาย เป็นจังหวัดที่ดีแต่จะล้มเวที แต่ไม่ได้คิดสร้างสรรค์อะไรได้ พอคุณสวัสดิ์เข้ามารับหน้าที่ประสานงาน จัดประชุมรับ ฟังความคิดเห็นก็เป็นแนวทางที่จะได้น�ำความคิดไปเสนอ เราพร้อมสร้างสรรค์ในสิ่งที่ดี ให้จังหวัดเราได้ประโยชน์ เอาไปเขียนไปแปลให้ถูกตามหลักวิชา” การคัดค้านอาจท�ำให้ล่าช้าหรือเกิดประโยชน์ ยัง ต้องติดตามกันต่อไป ‘รักบ้านเกิด’ ไม่ต้องการให้ผังเมือง เป็ น ต้ น เหตุ ข องการพั ง เมื อ ง หรื อ หลั ง ปี ๒๕๖๒ ไม่ สามารถพัฒนาจังหวัดให้เจริญก้าวหน้าอย่างที่ควร

<< ต่อจากหน้า ๖

“ผมอยู่ตลาดเองผมได้เห็นความต้องการของลูกค้า เราวิ่งงานเรารู้ สถานที่ซื้อสินค้าในกรุงเทพฯ เรารู้แหล่ง-- มี บางคนถามมึงมาอยู่เมืองนครไม่กี่ปีท�ำไมรวยเร็ว ผมบอกว่า เราไม่ได้ท�ำเองอย่างเดียว เราหาสินค้าได้มาก เรารู้แหล่ง รู้ ความต้องการ ของคนอื่นเราก็รับ-- ในคาราวานที่มีคนเอา ของมาขาย เราสอบถามว่าเอามาจากไหน ตอนหลังเราก็เอา มาขาย” จึงไม่แปลกใจว่าท�ำไมศรีนครจึงมีสินค้าเป็นหมื่น รายการ งานบางชิ้นเกิดจาก ‘มุมมอง’ ที่แตกต่าง เช่นการน�ำ ของชิ้ น เล็ ก ๆ มาขยายให้ ใ หญ่ เช่ น เข็ ม กลั ด ครุ ฑ เรื อ สุพรรณหงส์ พระแก้วมรกต พระพิฆเณศ ฯลฯ เขาไปพบงาน ต้นแบบราคา ๙๙ บาท ที่ส�ำเพ็ง “เราเอามาสั่ ง โรงงานเปิ ด พิ ม พ์ ข ยายให้ ใ หญ่ แล้ ว

มาใส่กรอบก็เข้าท่า แต่ ต้องใช้ทุนมากสักนิด เรือ พระที่นั่งสุพรรณหงส์เมื่อ ก่ อ นเป็ น เข็ ม กลั ด เล็ ก ๆ เราขยายใหญ่แล้วน�ำมา ใส่กรอบ รูปพระบรมธาตุหล่อด้วยทองเหลืองลงสีใส่กรอบ ฝังเพชร ฝังพลอยลงทุนเพิ่ม ตอนนี้ขายดีมาก” ถามว่าช่วงไหนร้านขายดี เขาตอบว่าเทศกาลปีใหม่ กับเดือนสิบขายพอๆ กัน แต่สงกรานต์ขายดีที่สุดเพราะคน กลับบ้านมากกว่า วิ ธี ส ร้ า งตั ว ของ สุ ริ ย า จิ ร สู ต รสกุ ล อาจเป็ น แรง บันดาลใจของคนหนุ่มสาวบางคนที่ได้อ่าน ‘รักบ้านเกิด’ ฉบับนี้บ้างเป็นได้


หน้า ๑๐

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ลานสกามาราธอน ครั้งที่ ๑๑ เมื่อ ๒๑ มิถุนา ที่ ผ่านมา มีนักวิ่งทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เข้า ร่วมวิ่งกันมากกว่า ๒,๐๐๐ คน

ภิ

กษุทั้งหลาย ! “อานาปานสติอันบุคคล เจริญแล้ว กระท�ำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่” ภิกษุทั้งหลาย ! “ในกรณีนี้ ภิกษุไปแล้ว สู่ป่าหรือโคนไม้ หรือเรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขา เข้ามาโดยรอบ ตั้งกายตรง ด�ำรงสติเฉพาะหน้า เธอนั้น มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก” เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าชัดเราหายใจเข้าสั้น เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น ชื่อเรื่อง : การพั ฒ นาชุ ด กิ จ กรรมกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ โดยใช้ วิ ธี จัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ ๕ ขั้น (5E) เพื่ อ พั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละความพึ ง พอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โดย : นายนริศ เจดีย์รัตน์ บทคัดย่อ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่ อ พั ฒ นาชุ ด กิ จ กรรมกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒. เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๕ หลังจากได้รับการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ วิธีจัดการเรียน แบบสืบเสาะหาความรู้ ๕ ขั้น (5E) ๓. เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่ได้รับการจัดการเรียน รู้โดยใช้วิธีจัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ ๕ ขั้น (5E)กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๑๒๐ คน ได้กลุ่ม ตัวอย่างมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ๑ ห้องเรียน จ�ำนวน ๔๐ คน เป็นก ลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ชุดกิจกรรมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ จ�ำนวน ๖ ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล t-test (dependent) ผลการศึกษาพบว่า ๑. ชุดกิจกรรมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ มีประสิทธิภาพที่ได้รับการพัฒนาเท่ากับ ๘๒.๑๗/ ๘๓.๙๒ มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้วิธีจัดการเรียนแบบสืบเสาะ หาความรู้ ๕ ขั้น (5E) อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ .๐๕ ๓. ความพึงใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้วิธีจัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ ๕ ขั้น (5E) หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ .๐๕


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

รายงาน

ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ ประชุมส่วนราชการ เรื่องความคืบหน้าการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุฯ สู่มรดกโลก พูดถึงแผนอนุรักษ์พื้นที่ภายในและหน้าวัด เอกสารน�ำเสนอยังไม่เสร็จสมบูรณ์ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ ห้อง ประชุมวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น ประธานการประชุ ม คณะกรรมการใน การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ ขึ้ น บั ญ ชี เป็ น มรดกโลก โดยมี ป ลั ด จั ง หวั ด ผู ้ แ ทนจากส� ำ นั ก งานศิ ล ปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ส่วนราชการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ เข้าร่วมประชุมรายงานความคืบหน้าการ ในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการฝ่าย ต่ า งๆ ในการน� ำ เสนอวั ด พระมหาธาตุ

ปูพื้นอิฐตัวหนอนถนนหน้าวัดพระมหาธาตุ

ปกติ มี ๘ บท โดยบทที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ บทที่ ๒, ๓, ๔ และบทที่ ๕ ซึ่งเป็นบท ที่ พู ด ถึ ง วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช วิ ธี ก ารในการ ก�ำกับดูแลแผนบริหารจัดการ การคุ้มครอง และบูรณะปฏิสังขรณ์พื้นที่มรดกโลกทั้งวัด ไม่ว่าจะเป็นเขตพุทธาวาส ซึ่งมีพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช เป็นศูนย์กลางหรือบริเวณที่ เป็นเขตสังฆาวาส หมายถึง พื้ น ที่ ที่ มี กุ ฎิ ข องพระภิ ก ษุ สงฆ์ อ ยู ่ ทั้ ง ด้ า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ใต้ ทั้ ง หมดเป็ น เรื่องหลักของการน�ำเสนอ ศูนย์จ�ำหน่ายของที่ระลึกสร้างใหม่ข้างพระวิหารหลวง ก�ำลังปรับปรุงถนนหน้าวัดพระมหาธาตุ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวรมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช อะไรเพื่อบูรณะต่อไป วิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ขึ้นบัญชี (วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) เพื่อ ส� ำ หรั บ ความคื บ หน้ า ในการจั ด เป็ น มรดกโลก ขณะนี้ ก ารเรี ย บเรี ย ง ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ประเด็นแรกคือ ท� ำ เอกสารน� ำ เสนอวั ด พระมหาธาตุ ว ร- เอกสารเดินทางไปถึงบทที่ ๕ ซึ่งมีส่วนที่ ความคืบหน้าการแก้ไขสนิมที่ปล้องไฉน มหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อ จะต้ อ งแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ ง านมี ค วาม ขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ นายยงยุทธ์ ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ผศ.ฉัตรชัย ศุกระ- สมบู ร ณ์ ถู ก ต้ อ ง โดยศู น ย์ ม รดกโลกได้ แจ่มวิมล ผู้แทนจากส�ำนักงานศิลปากรที่ กาญจน์ กล่ า วว่ า ขณะนี้ ค วามคื บ หน้ า ก�ำหนดแนวทางในการเรียบเรียงไว้ว่าทุก ๑๔ นครศรีธรรมราช ได้รายงานถึงความ ในเรื่ อ งของการเรี ย บเรี ย งเอกสาร ซึ่ ง ส่ ว นควรจะมี ห ลั ก ฐานที่ ชั ด เจน แน่ น อน

ระเทศเนปาลเป็นที่รู้จักของคนทั้ง โลกเพราะเกิดภัยพิบัติแผ่นดินไหว เมื่อไม่นานมานี้ ความจริงแล้วประเทศ เนปาลมีอะไรที่ชาวโลกรู้จักกันมาก่อนนี้ แล้วคือ ‘เมืองลุมพินีวัน’ เมืองที่เป็นจุด เริ่มต้นพุทธศาสนา เป็นสถานที่ประสูติ ของเจ้าชายสิทธัตถะ ‘ยอดเขาหิมาลัย’ (เอฟเวอร์เรส) ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก และ ‘ทหารกูรข่า’ (Gurkha) อันเกรียงไกร เป็นทหารรับจ้างที่โด่งดังที่สุดในโลก โดยประจ� ำ กองทั พ อั ง กฤษ เป็ น ที่ ค รั่ น คร้ามของคู่สงครามอังกฤษในทุกสมรภูมิ ภัยพิบัติครั้งนี้สร้างความเสียหายทั้ง ทรัพย์สินและชีวิตผู้คนอีกนับหมื่น โดย

คื บ หน้ า ขณะนี้ ไ ด้ ผู ้ รั บ จ้ า งท� ำ สั ญ ญาลง นามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายนที่ผ่านมา ซึ่งขั้นตอนต่อไปผู้รับ จ้างจะต้องด� ำเนินการติดตั้งนั่งร้าน เพื่อ ให้ผู้เชี่ยวชาญขึ้นไปส�ำรวจหาสาเหตุของ คราบสนิมที่เกิดขึ้นที่กล่องปล้องไฉน เมื่อ ส�ำรวจแล้วได้รับข้อมูลที่ชัดเจนว่าเกิดจาก

เฉพาะ ‘เมืองกาฐมาณฑุ’ ที่เป็น ที่รู้จักของคนทั่วโลกนอกจากสาม สิ่งที่กล่าวแล้วข้างต้น เพราะเป็น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ มี ผู ้ ค นจากทั่ ว โลกมาเยือนปีละนับล้านคน เป็น เมืองที่มีแหล่งมรดกโลกอยู่หลายแห่งใน เมืองเดียวกัน เมืองนี้ถูกสร้างโดย ‘ราชวงศ์ มั ล ละ’ มี ต� ำ นานเล่ า ว่ า กษั ต รย์ มั ล ละมี โอรสสี่พระองค์ พระองค์แบ่งเมืองให้เจ้า ชายทั้งสี่ โดยแบ่งออกเป็นสี่ส่วน แล้วให้ มีการสร้างเมืองแข่งขันกัน ว่าใครจะสร้าง ได้ ง ดงามกว่ า กั น ดั ง นั้ น เมื อ งทั้ ง เมื อ งจึ ง ถูกสร้างขึ้นอย่างวิจิตรพิสดาร เต็มไปด้วย ศิ ล ปะงดงามหาเมื อ งใดสวยงามอย่ า งนี้

แทบไม่ได้ ทั้ง ‘จตุรัสดูบาร์’ ‘เทวสถาน ฮิ น ดู ’ สถู ป เจดี ย ์ ที่ สู ง สุ ด ของประเทศ ‘เมืองปาตัน’ เมืองหลวงโบราณสร้างสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช อายุร่วม ๒,๒๐๐ ปี สถูปเจดีย์ที่ฝรั่งเรียก ‘วิสด้อมอาย’ (wisdom eyes) อั น โด่ ง ดั ง ซึ่ ง มี รู ป ดวงตา เห็นธรรมอยู่รอบทั้งสี่ด้าน หรือ ‘หอคอย ดาราห์รา’ (ธาราฮาราทาวเวอร์) ล้วนแล้ว แต่ ไ ด้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลก

และแผนในการท�ำงานทุกแผนจะต้องได้ รั บ การรั บ รองจากส่ ว นราชการ ขณะนี้ ด�ำเนินการจัดท�ำแผนในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์พนื้ ที่ ของวัด เป็นแผนที่ ๑ แผนที่ ๒ คือพื้นที่ ปริมณฑล ตั้งแต่สี่แยกประตูไชยสิทธิ์ถึง สะพานนครน้อย เป็นพื้นที่ที่จะต้องดูแล เช่นเดียวกัน โดยจะต้องมีข้อก�ำหนดเกี่ยว กั บ บั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการก� ำ หนดความสู ง ของอาคาร เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้อยู่ ระหว่างการด�ำเนินการ และจะต้องรีบ ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ ประชาคมรั บ ฟั ง ความ เห็นชอบจากประชาชน คาดว่าสามารถ ด�ำเนินการได้ประมาณเดือนกรกฎาคมกันยายนนี้ ในส่วนที่เป็นเนื้อหาภาษาไทย จะต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ ส�ำหรับ ภาคผนวกจะต้องท�ำให้แล้วเสร็จภายใน เดื อ นธั น วาคม ๒๕๕๘ เพื่ อ เข้ า สู ่ ค ณะ กรรมการคณะต่างๆ เสนอคณะรัฐมนตรี ก็จะสามารถส่งไปยังศูนย์มรดกโลกของ ยูเนสโกเข้าสู่การพิจารณาได้ภายในต้น เดือนมกราคม ๒๕๕๙ แทบทั้งนั้น จนบางคนให้ฉายา ว่าเป็น ‘หุบเขามรดกโลก’ เลย ทีเดียว ผู้คนในเมืองนี้ทั้งเมือง ล้วน มีรายได้จากการท่องเที่ยวกันทั้ง เมื อ ง ช่ ว งที่ ภั ย พิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น นั ก ท่องเที่ยวก็หายไป ผู้คนในเมือง แทบไม่มีรายได้อะไรเลย เมื่อไม่ กี่วันมานี้ทางประเทศเนปาลเปิด ให้เมืองกาฐมาณฑุ ให้นักท่องเที่ ย วเข้ า เที่ ย วได้ แม้ ไ ด้ รั บ การคั ด ค้ า น จากสหประชาชาติว่าอาจจะไม่ปลอดภัย ก็ตาม มรดกโลกเป็นรายได้หลักของเมือง กาฐมาณฑุเช่นเดียวกับพระบรมธาตุเจดีย์ ของเรา หากนักท่องเที่ยวลดน้อยถอยลง ผู้ประกอบการคงเดือดร้อน จึงควรช่วย กันร่วมแรงร่วมใจถนอมรักษา สร้างสรรค์ แต่สิ่งดีงาม เพื่อความเจริญรุ่งเรืองของ บ้านเรา


หน้า ๑๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี

อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช

ารู้จัก โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบ ชนิดติดยึด

๑. โรคข้ อ กระดู ก สั น หลั ง อั ก เสบ ชนิดติดยึด หรือที่เรียกในศัพท์แพทย์ว่า Ankylosing spondylitis หรือที่เรียก ย่อๆ ว่า โรค เอ เอส เป็นโรคข้ออักเสบ เรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคข้อและ ข้อกระดูกสันหลังอักเสบ กลุ่มโรคนี้จะมี การอักเสบของกระดูกสันหลังเด่น ร่วม กั บ มี ข ้ อ อั ก เสบ และมี อ าการนอกระบบ ข้ อ ร่ ว มด้ ว ย ในโรคข้ อ กระดู ก สั น หลั ง อั ก เสบชนิ ด ติ ด ยึ ด นั้ น เมื่ อ มี ก ารอั ก เสบ ที่ ก ระดู ก สั น หลั ง เป็ น ระยะเวลานานจะ ก่ อ ให้ เ กิ ด หิ น ปู น จั บ ที่ บ ริ เ วณกระดู ก สั น หลัง ท�ำให้กระดูกสันหลังเชื่อมติดกันเป็น ท่อนเดียวโค้งงอและบิดไม่ได้ คล้ายกับล�ำ ไม้ไผ่ที่เห็นเป็นปล้องๆ ผู้ป่วยที่เป็นโรคเอ เอส มานานๆ และมีอาการรุนแรงมักจะ เดินหลังแข็งก้มหลังไม่ลง แหงนคอไม่ได้ และบิดล�ำตัวไปมาไม่ได้ แต่ส�ำหรับราย ที่อาการไม่รุนแรงอาจเกิดความผิดปกติ เฉพาะบางส่วน เช่น เป็นเฉพาะหลังส่วน เอว หรือต้นคอเท่านั้น ผู้ป่วยบางรายมี อาการน้อยมากจนแทบมองไม่เห็นความ แตกต่างจากคนปกติ นอกจากการอักเสบ ของข้ อ ต่ อ กระดู ก สั น หลั ง แล้ ว ผู ้ ป ่ ว ยที่ เป็นโรคเอ เอส อาจมีการอักเสบของข้อ ต่ อ ตามแขนขา เส้ น เอ็ น พั ง ผื ด รวมถึ ง เนื้อเยื่อตามอวัยวะอื่นๆ ได้ด้วย เช่น ตา ปอด หัวใจ และล�ำไส้ อาจมีคนถามว่าท�ำไมโรคนี้จึงฟังไม่ คุ้นเคยนัก เป็นโรคที่เพิ่งค้นพบใหม่หรือไม่

เครดิตรูป www.carenity.co.

ชื่อของโรคนี้อาจฟังดูไม่คุ้นหูส�ำหรับ คนทั่วไป หลายคนจะคุ้นกับอาการปวด หลั ง ที่ เ กิ ด จากหมอนรองกระดู ก กดทั บ เส้นประสาท ข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อม หรือโรคกระดูกพรุน มากกว่า โรคเอ เอส ไม่ ใ ช่ โ รคใหม่ แต่ เ ป็ น โรคที่ พ บมานาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยดูจาก หลักฐานบนซากโครงกระดูกที่ค้นพบ เหตุ ที่ไม่คุ้นหูอาจเป็นเพราะคนที่มีอาการปวด หลังจากโรคเอ เอส มักจะถูกมองข้ามไป โดยเฉพาะรายที่มีอาการน้อยหรือเพิ่งเริ่ม มีอาการมาไม่นานเพราะอาการปวดหลัง จะดี ขึ้ น เมื่ อ บิ ด หลั ง ไปมาหรื อ ออกก� ำ ลั ง กาย และมักจะดีขึ้นหรือหายปวดเมื่อกิน ยาบรรเทาปวดโดยเฉพาะยาต้านอักเสบ ที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือที่เรียกว่ายาเอ็น เสด บางคนไม่เคยมีอาการมาก่อน แต่พบ โดยบังเอิญว่าเป็นโรคนี้จากภาพถ่ายรังสี ปริเวณกระดูกสันหลังเนื่องจากป่วยด้วย โรคอื่น โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบชนิด ติดยึด ยังแบ่งออกได้เป็น ๕ กลุ่มโรค ๑.๑ โรคข้ อ กระดู ก สั น หลั ง อั ก เสบ ชนิดติดยึด (ankylosing spondylitis) ๑.๒ โรคข้ อ อั ก เสบรี แ อคตี ฟ หรื อ

โรคไรเตอร์ (reactive arthritis or Reiter’s syndrome) ๑.๓ โรคข้ อ อั ก เสบผิ ว หนั ง สะเก็ ด เงิน (psoriatic arthritis) ๑.๔ โรคข้ อ อั ก เสบที่ ร ่ ว มกั บ โรค ล�ำไส้อักเสบ (arthritis associated with inflammatory bowel disease) ๑.๕ โรคข้ อ และกระดู ก สั น หลั ง อักเสบที่ยังไม่สามารถจัดกลุ่มได้ (undifferentiated spondyloarthropathy) ๒. พบอุบัติการณ์การเป็นโรคข้อ กระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึด มากแค่ ไหนในคนไทย ในประเทศไทยยั ง ไม่ เ คยมี ก าร ส�ำรวจโดยตรงว่าโรคนี้พบบ่อยแค่ไหน แต่ ถ้าเทียบกับโรคปวดหลังที่จากสาเหตุอื่น แล้ว พบได้น้อยกว่ามาก ประชากรไทย ที่มีอายุมากกว่า ๑๕ ปี ๑,๐๐๐ คนจะมี อาการปวดหลังปวดเอว เกือบ ๓๐๐ คน แต่เป็นโรคนี้ไม่เกิน ๒ คน ซึ่งประมาณ การดั ง กล่ า วอาจต�่ ำ กว่ า ความเป็ น จริ ง เพราะเป็ น การวิ นิ จ ฉั ย จากอาการไม่ ใ ช่ ภาพถ่ า ยรั ง สี แ ต่ ตั ว เลขจากการส� ำ รวจ ความชุ ก ของโรคนี้ ใ นประเทศอั ง กฤษใน เพศชายพบ ๑ : ๒๐๐ และในเพศหญิง พบ ๑ : ๕๐๐ พบได้บ่อยในเพศชายมากกว่าเพศ หญิง พบในช่วงวัยรุ่นไปจนถึงวัยกลางคน อุบัติการณ์ของเพศชายและเพศหญิง จะ ใกล้เคียงกัน เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น

๓ ใครคือกลุ่มเสี่ยง ใครบ้างที่มีโอกาสเป็นโรคนี้ โรค นี้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม มักจะเกิด กั บ คนในครอบครั ว เดี ย วกั น แต่ อ าการ รุนแรงไม่เท่ากัน แต่ก่อนเชื่อว่าเพศชาย มีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าเพศหญิง แต่ ปัจจุบันพบว่ามีโอกาสเกิดพอๆ กันทั้งสอง เพศแม้ ก ระทั่ ง ในเด็ ก เล็ ก ก็ ป ่ ว ยด้ ว ยโรค นี้ได้ แต่อาการที่พบในเพศหญิงและเด็ก อาจแตกต่างจากที่พบในเพศชายอยู่บ้าง ลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรมที่ สั ม พั น ธ์ กั บ การ เป็นโรคนี้คือ HLA B27 ซึ่งพบมากกว่า ร้อยละ ๙๐ ของคนที่เป็นโรคนี้ เทียบกับ คนปกติซึ่งพบได้เพียง ร้อยละ ๕ เท่านั้น แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าคนที่ตรวจพบ ลักษณะพันธุกรรมชนิดนี้จะต้องป่วยด้วย โรคนี้เสมอไป ๔. โรคข้ อ กระดู ก สั น หลั ง อั ก เสบ ชนิดติดยึด เกิดจากสาเหตุอะไร ปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ ท ราบสาเหตุ ที่ แ น่ ชั ด ในการเกิ ด โรคกลุ ่ ม นี้ แต่ จ ากการศึ ก ษา พบว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม ได้แก่ การตรวจพบ HLA B27 ที่เอื้อต่อการเกิด โรค ร่วมกับมีปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดโรค โดยเฉพาะการติ ด เชื้ อ ในระบบทางเดิ น อาหารและทางเดินปัสสาวะ หรือการได้ รับสารเคมีบางอย่าง ท�ำให้เกิดความผิด ปกติ ท างระบบอิ ม มู น และก่ อ ให้ เ กิ ด ข้ อ อักเสบตามมา (อ่านต่อฉบับหน้า)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

มได้ขออนุญาตบรรณาธิการที่จะส่ง ต้นฉบับเดือนนี้ช้ากว่าก�ำหนด เพราะ ผมเพิ่ ง ได้ รั บ ค� ำ เชิ ญ ให้ ไ ปร่ ว มฟั ง ในเวที เสวนาประชาคมเมื่อปลายเดือนมิถุนายน เรื่ อ ง “การวางและจั ด ท� ำ ผั ง เมื อ งรวม จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช” ที่ โ รงละคร จังหวัดนครศรีธรรมราช (ผมอยากเรียก ว่ า “ศาลาประชาคม” เหมื อ นแต่ ก ่ อ น มากกว่ า ) ซึ่ ง จั ด โดยเครื อ ข่ า ยประชา อาสาจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และเป็ น เรื่องราวสืบเนื่องจากมุมมองของผมฉบับ ที่ แ ล้ ว ที่ ผ มต้ อ งการหาค� ำ ตอบ จึ ง ต้ อ ง มี ภ าค ๒ ผมขอเท้ า ความสั ก เล็ ก น้ อ ย จากกรณี ที่ ป ระชาชนหลายอ� ำ เภอได้ คั ด ค้ า นการประกาศผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๖ โดยเห็นว่า ไม่มีความชัดเจนในการห้ามตั้งโรงงานที่ ไม่ พึ ง ประสงค์ ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชน จากการ ที่ผมนั่งฟังอยู่ครึ่งวันเช้า (ครึ่งวันบ่ายผม ติดภารกิจไม่ได้ฟังต่อครับ) ได้เห็นภาพ ความจริงจังของภาคประชาชนในข้อข้องใจที่ยังไม่ได้รับค�ำตอบที่พอใจ แม้ผมจะ เห็ น ใจผู ้ เ สวนารั บ เชิ ญ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าครั ฐ ใน การวางผังเมือง แต่ผมกลับมองด้วยความ ชื่นชมในการกล้าแสดงออกของชาวบ้าน ธรรมดาๆ ที่เป็นสิทธิพื้นฐานตามระบอบ ประชาธิ ป ไตย แม้ ว ่ า บางเรื่ อ งอาจเป็ น ความรู้สึกซึ่งไม่ใช่ข้อเท็จจริงทั้งหมด เช่น การมองว่ า ผั ง เมื อ งในประเทศไทยที่ ว าง ผังมาล้วนแล้วล้มเหลวทุกจังหวัด เป็นต้น เพราะผมเชื่ อ ว่ า การวางผั ง เมื อ งนั้ น เป็ น แม่บทของการพัฒนาเมืองหรือชุมชนให้ ประชาชนอยู่อย่างมีความสุข แต่จะถูกใจ หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง เพราะทุกผังจะ มี ป ระชาชนที่ ส นั บ สนุ น เห็ น ด้ ว ย และ ประชาชนที่คัดค้านไม่เห็นด้วย ขึ้นอยู่กับ ใครได้รับผลประโยชน์ด้านไหน แล้วสรุป จะเอาอะไรเป็ น ตั ว ชี้ วั ด ความผิ ด ถู ก ครั บ เรามาท�ำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการ ท�ำผังเมืองกันว่าเพื่อประโยชน์อะไรกัน ๑. เพื่อท�ำให้เมืองหรือชุมชนเจริญ เติ บ โตอย่ า งมี ร ะเบี ย บแบบแผนและถู ก สุขลักษณะ โดยก�ำหนดเป็นย่านต่างๆ ให้ เหมาะสมและสัมพันธ์กัน เช่น ย่านที่พัก อาศัย ย่านพาณิชยกรรม ย่านอุตสาหกรรม ย่านที่โล่งเพื่อการนันทนาการและรักษา สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ๒. เพื่ อ วางผั ง ระบบการคมนาคม ให้สัมพันธ์กับการใช้ที่ดินในอนาคตที่จะ

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

ขยายตัวให้มีความคล่องตัวในการเดินทาง และการขนส่ง ๓. เพื่อสงวนพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ เป็นแหล่งทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมและ สาธารณู ป โภค เช่ น แหล่ ง น�้ ำ สาธารณะ และก� ำ หนดพื้ น ที่ เ พื่ อ ใช้ ใ นการขจั ด สิ่ ง ที่ สร้างมลพิษ เช่น พื้นที่ทิ้งขยะ หรือพื้นที่ ก�ำจัดมูลฝอย ๔. เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคม ของเมืองหรือชุมชน ให้เป็นแหล่งท�ำมา หากินอย่างเหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ เช่น พื้นที่เหมาะสมกับการเกษตร มีแหล่ง น�้ ำ สมบู ร ณ์ ก็ จ ะสงวนไว้ ไ ม่ ใ ห้ เ ป็ น ย่ า น อุตสาหกรรม ๕. เพื่อด�ำรงรักษาสถานที่ที่มีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และศิลป วั ฒ นธรรม เช่ น การก� ำ หนดเป็ น พื้ น ที่ อนุรักษ์เมืองเก่า วัตถุประสงค์โดยย่อนี้ผมเชื่อเต็มร้อย

ว่าทุกคนเห็นด้วยที่อยากเห็นผลออกมา แบบนี้ แต่การท�ำผังเมืองที่มีกระบวนการ หลายขั้นตอนต้องใช้เวลาและทรัพยากร มากมายกว่ า จะออกมาเป็ น กฎหมายได้ กลับมีผลตรงข้าม แล้วมันมีข้อผิดพลาด ตรงไหนครับ ???? ท่านที่ติดตามบทความมุมมองของ ผมต่ อ การพั ฒ นาเมื อ งมากว่ า ๓ ปี จะ พบว่าผมได้เขียนถึงการที่ภาคประชาชน จะต้องได้รับโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ หรือแสดงความคิดเห็นตั้งแต่การเริ่มต้น ทุกโครงการของภาครัฐที่อาจส่งผลได้ผล เสียต่อประชาชน และส่วนมากภาครัฐก็ มั ก บอกว่ า ได้ บ อกกล่ า วแล้ ว แต่ ไ ม่ ส นใจ ประเด็นนี้ผมไม่ค่อยแน่ใจนักว่าจริงหรือ ไม่ การออกแบบวางผั ง เมื อ งนั้ น ผมขอ เปรียบเทียบว่าเหมือนการออกแบบบ้านที่ เจ้าของบ้านจะเป็นผู้ก�ำหนดวัตถุประสงค์ เช่ น ต้ อ งการห้ อ งอะไรบ้ า ง การใช้ ง าน อย่างไร จ�ำนวนมากน้อยเพียงใด รูปแบบ หน้าตาเป็นแบบไหน มีเงื่อนไขพิเศษอะไร แล้วเป็นโจทย์ให้สถาปนิกใช้ความรู้ความ สามารถในการคิดตามหลักวิชาการ อาจ มี ก ารปรั บ แก้ กั น หลายครั้ ง ให้ เ ข้ า ใจตรง กั น จนตกผลึ ก จึ ง จะสามารถเขี ย นเป็ น แบบพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื่ อ สร้ า งจริ ง ต่ อ ไป การ ออกแบบวางผังเมืองก็เช่นกันคงไม่มีนัก ผังเมืองคนไหนเก่งกาจถึงขนาดออกแบบ เพียงไม่กี่ครั้งก็สรุปจบลงได้ เพราะมีหลาย มิติต้องขบคิดกว่าจะลงตัว ปัญหาหนึ่งที่ ผมเคยกล่าวไว้ว่า หาใช่ประชาชนไม่เข้าใจ ในความต้องการของภาครัฐที่อยากให้มี ผังเมืองเพื่อจัดระเบียบของเมือง หากแต่

ภาครัฐต่างหากที่ยังไม่เข้าใจความต้องการ ของประชาชนครบทุ ก มิ ติ แต่ ทั้ ง นี้ ภ าค ประชาชนเองก็ต้องมองให้ครบทุกมิติเช่น กั น มี บ างเรื่ อ งอาจต้ อ งยอมถอยบ้ า งใน กรอบที่ รั บ ได้ เช่ น การก� ำ หนดพื้ น ที่ ตั้ ง โรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับภาค การเกษตร โดยต้องเน้นเป็นโรงงานที่ไม่ ก่ อ มลภาวะกั บ ชุ ม ชน เป็ น ต้ น มิ ฉ ะนั้ น ผลผลิตการเกษตรของประชาชนในพื้นที่ นั้นจะเกิดต้นทุนการขนส่งสูงขึ้น และเกิด การเคลื่อนย้ายถิ่นของประชาชนไปท�ำงาน ที่อื่นเมื่อหมดฤดูกาลเก็บเกี่ยว ผมอยากเสนอตัวอย่างในการสร้าง การมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคพลเมื อ งที่ ผ มมี ส่วนเกี่ยวข้องมาหลายสิบปี คือ การตั้ง “ชมรมรั ก บ้ า นเกิ ด นครศรี ธ รรมราช” เป็ น แนวทางการสร้ า งความเข้ า ใจของ ประชาคมผ่านเวทีเสวนาความคิดเชิงบวก ผมคิ ด ว่ า ชาวนครส่ ว นใหญ่ ไ ม่ เ คยทราบ ว่า “สวนสาธารณะศรีธรรมโศกราช” ที่ ตั้งบนพื้นที่เรือนจ�ำเก่ากลางเมืองนคร มี ความเป็นมาอย่างไร หรือสนามหน้าเมือง ที่ เ ปรี ย บเสมื อ นสนามหลวงของเมื อ ง นคร ไม่ได้ถูกส่วนราชการมาใช้พื้นที่สร้าง อาคารต่างๆ มากกว่านี้ หรือไม่ได้ท�ำเป็น พื้นคอน-กรีตปิดคลุมสนามทั้งหมด ท�ำไม สนามหน้าเมืองจึงสามารถอยู่รอดมาได้ จนถึงทุกวันนี้ ภาครัฐสามารถก�ำหนดจะ รื้อจะสร้างอะไรก็ได้ในพื้นที่หลวง (พื้นที่ใน ความดูแลของภาครัฐ เช่น กรมการศาสนา

กรมธนารั ก ษ์ ) ชมรมรั ก บ้ า นเกิ ด ฯ อั น ประกอบด้วย สถาปนิก วิศวกร หมอ นัก วิชาการ นักธุรกิจ นักประวัติศาสตร์ ฯลฯ ได้ตั้งวงเสวนาในประเด็นหัวข้อที่ภาครัฐ มีโครงการต่างๆ ที่อาจจะสร้างปัญหาโดย ความไม่ รู ้ หรื อ ไม่ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ โดย การพู ด คุ ย และเสนอความคิ ด เห็ น เชิ ง วิชาการต่อหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง มิได้ ใช้อารมณ์โจมตีให้รู้สึกเป็นฝ่ายตรงข้าม กั น ชมรมฯ ได้ ใ ช้ เ วลากั น หลายปี ด ้ ว ย ความใจเย็นกว่าจะมีการยอมรับและมีการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่หลายเรื่องที่ผมเคย เล่าเรื่องเป็นกรณีตัวอย่างลงในบทความนี้ มาแล้ว ความส�ำเร็จหาใช่เกิดจากชมรมฯ ไม่ หากแต่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น และช่วยมองหาทางออกทุกประเด็นให้กับ ภาครัฐที่เป็นหน่วยงานที่ต้องสนองความ ต้องการของประชาชน กรณีตัวอย่างเหล่า นี้สามารถน�ำไปใช้ได้ไม่ว่าการวางผังเมือง หรื อ การวางผั ง แม่ บ ท (ทางกายภาพ) ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ผ มใช้ อ ย่ า งได้ ผ ลมา แล้ ว และผมหวั ง ว่ า แนวทางการมี ส ่ ว น ร่วมตั้งแต่ต้นของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน โครงการต่างๆ เช่น การปรับปรุงสภาพ แวดล้ อ มของอาคารบ้ า นเรื อ นในพื้ น ที่ ปริ ม ณฑล (พื้ น ที่ กั น ชน) ของโครงการ วั ด พระบรมธาตุ สู ่ ม รดกโลกให้ มี ค วาม สอดคล้ อ งกลมกลื น กั บ ความเป็ น พื้ น ที่ ประวั ติ ศ าสตร์ เ มื อ งนคร จะสามารถแก้ ปัญหาความเข้าใจไม่ตรงกันได้


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

บั บ ที่ แ ล้ ว เล่ า เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ การ ตรวจสอบคุ ณ ภาพน�้ ำ กั น ไปแล้ ว ฉบั บ นี้ ม าดู ดั ช นี ตั ว ชี้ วั ด คุ ณ ภาพน�้ ำ ที่ เ ชื่ อ ถือได้คือ ตัวอ่อนสัตว์เล็กน�้ำจืด ซึ่งเป็น ดั ช นี ตั ว ชี้ วั ด คุ ณ ภาพน�้ ำ ทางด้ า นชี ว ภาพ (Biological indicators) ได้เนื่องจากมี วงจรชี วิ ต อยู ่ ใ นแหล่ ง น�้ ำ ท� ำ ให้ ส ามารถ ติ ด ตามตรวจวั ด คุ ณ ภาพน�้ ำ จากตั ว อ่ อ น สัตว์เล็กน�้ำจืดได้อย่างต่อเนื่อง ตัวอ่อน สัตว์เล็กน�้ำจืดเป็นสัตว์ที่อาศัยและหากิน ตามพื้ น ผิ ว หน้ า ดิ น หรื อ ด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ บริเวณพื้นท้องน�้ำ และรวมถึงสัตว์กลุ่ม ที่เกาะหรืออาศัยอยู่ตามกองหิน โขดหิน ขอนไม้ ใ นน�้ ำ หรื อ แม้ แ ต่ พื ช น�้ ำ ที่ พ บได้ ในระบบนิเวศแหล่งน�้ำ ตัวอ่อนสัตว์เล็ก น�้ ำ จื ด แต่ ล ะชนิ ด มี ค วามทนทานต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงสภาพแวดล้ อ มได้ แ ตกต่ า ง กัน บางชนิดต้องอาศัยอยู่ในน�้ำสะอาด ใน ขณะที่บางชนิดสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ใน น�้ำที่เน่าเสียมาก ๆ ซึ่งความหลากหลาย

ของชนิดและปริมาณของ ตัวอ่อนสัตว์เล็ก น�้ำจืดที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตก ต่างกันนี้สามารถเป็นตัวดัชนี บ่งชี้ถึงความ อุดมสมบูรณ์ของแหล่งน�้ำและคุณภาพน�้ำ ได้ หากแหล่งน�้ำใดมีชนิดและปริมาณตัว อ่อนสัตว์เล็กน�้ำจืดมากย่อมมีผลผลิตสัตว์ น�้ำสูง พบว่าประเทศในเขตร้อนจะมีชนิด และปริมาณตัวอ่อนสัตว์เล็กน�้ำจืดที่สูงกว่า ประเทศในเขตอบอุ่น เนื่องจากมีอุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อน สัตว์เล็กน�้ำจืดได้ตลอดทั้งปี ฉบั บ นี้ จ ะเขี ย นถึ ง ตั ว อ่ อ นสั ต ว์ เ ล็ ก น�้ำจืดประเภทตัวอ่อนแมลงหนอนปลอก น�้ำอาศัยอยู่ในปลอก ชนิด ตัวอ่อนแมลง หนอนปลอกน�้ำกรวดข้าง ที่พบบริเวณป่า

ต้นน�้ำของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง มีลักษณะเด่นคล้ายหนอน มีขาที่แท้ จริง ๓ คู่ ปลอกส่วนกลางที่ตัวมันมุดอาศัย อยู่เป็นปลอกยาว ท�ำจากทรายเม็ดหยาบ หรือกรวดเม็ดเล็ก และมีกรวดเม็ดใหญ่ ติดขนาบข้างปลอกทั้งสองข้าง เพื่อถ่วง น�้ำหนักปลอกไว้กับพื้นใต้น�้ำ บางครั้งจะ เชื่อมปลอกติดอยู่กับก้อนหิน ปลอกที่ห่อ หุ้มร่างกายเพื่อป้องกันอันตรายและหลบ หลี ก พรางตั ว ให้ พ ้ น จากนั ก ล่ า อื่ น ๆ ตั ว อ่อนแมลงหนอนปลอกน�้ำเป็นพวกสัตว์กิน เนื้อ โดยหนอนจะเชื่อมวัสดุเหล่านี้ด้วยใย เหนียวที่ชักจากปากมันเอง วงจรชีวิต เริ่ม จากไข่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงรู ป ร่ า งแต่ ล ะ ระยะในวงจรชี วิ ต มี ๔ ระยะประกอบ

เกิดเวทีเล็กเวทีใหญ่ของผู้คนทั่วทั้งเมือง จนได้เกิดเป็น ‘Nakon Forum’ (กลุ่ม รักบ้านเกิด) ขึ้น ช่วยกันระดมคน ระดม สมองผลักดันให้ภาครัฐ ท้องถิ่น และผู้คน ช่วยกันเปลี่ยนแปลงบ้านเมืองได้อย่างเป็น รูปธรรม การเดินเรื่อง ‘เมืองน่าอยู่’ ใน สมัยนั้น มันท�ำให้เกิดโครงการต่างๆ ขึ้น ด้ ว ยการร่ ว มมื อ กั น ของรั ฐ ท้ อ งถิ่ น และ พลเมื อ ง เช่ น โครงการสนามหน้ า เมื อ ง โครงการอุทยานประวัติศาสตร์ และการท�ำ วิสัยทัศน์เมืองนคร โครงการสนามหน้าเมืองส่งผลให้มี การกั น พื้ น ที่ ส นามหน้ า เมื อ งให้ ห ยุ ด การ จั ด งานเพื่ อ การค้ า และธุ ร กิ จ ส่ ง ผลให้ มี การปรับปรุงสนามหน้าเมืองเป็นที่พักผ่อน หย่อนใจ ออกก�ำลังกาย ใช้เป็นสถานที่จัด งานพิธีต่างๆ ของเมือง ย้ายโรงไฟฟ้าและ เรือนจ� ำออกไปอยู่ในที่เหมาะกว่า สร้าง

สวนสาธารณะและสถานที่จัดงานประเพณี ขึ้น รื้อฟื้นก่อสร้างก�ำแพงเมืองและป้อม โบราณขึ้ น มาใหม่ สร้ า งศาลาประดู ่ ห ก พร้อมทั้งปลูกต้นประดู่คู่เมืองทั้งหกขึ้นมา ใหม่ ผลักดันให้สร้างศาลหลักเมืองจนเสร็จ สมบูรณ์ โครงการอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ เพื่อเรียกความยิ่งใหญ่ในอดีตกลับคืนมา โดยรื้ อ ฟื ้ น กิ จ กรรมประเพณี เ ก่ า ขึ้ น มา ใหม่ เช่น แห่นางดานต�ำนานเมืองนคร, ประเพณี แห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติ, ประเพณี ให้ทานไฟ, บูรณะบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์, ขยาย พิพิธภัณฑ์วัดพระมหาธาตุ รวมทั้งผลักดัน ให้พระธาตุสู่มรดกโลก โครงการท�ำวิสัยทัศน์เมืองนคร ได้ ด� ำ เนิ น การมาตั้ ง ปี ๒๕๔๐ จนสิ้ น สุ ด ปี ๒๕๕๐ ชื่อ นครแห่งการเรียนรู้ และ มีนามสกุลอีกยาวเฟื้อย ทั้งสามโครงการ

ด้วยไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย ซึ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างสมบูรณ์ (complete metamorphosis) ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน�้ำไว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพน�้ ำ พวก มันสามารถเคลื่อนที่ได้เร็ว เพื่อหลบหลีก กระแสน�้ำเชี่ยวได้เป็นอย่างดี จึงพบใน บริเวณน�้ำคุณภาพดีมาก ตั ว อ ่ อ น แ ม ล ง ห น อ น ป ล อ ก น�้ ำ นอกจากจะมีประโยชน์ในแง่เป็นดัชนีชี้วัด คุณภาพน�้ำแล้ว ยังเป็นองค์ประกอบหลัก และส�ำคัญในสายใยอาหารของระบบนิเวศ ล�ำธาร เป็นทั้งผู้ล่าและเหยื่อเป็นอาหาร ของปลาและสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆ ที่ อ าศั ย อยู ่ ในแม่น�้ำล�ำธาร ตัวเต็มวัยของแมลงน�้ำที่ อาศัยอยู่ตามพืชริมฝั่งเป็นอาหารให้แก่นก ค้างคาว และสัตว์กินแมลงอื่น ๆ อีกด้วย

<< ต่อจากหน้า ๔

เรื่อง ‘พระบรมธาตุสู่มรดกโลก’ และ เรื่องใหม่สุด คือ ‘ผังเมืองนครศรีธรรมราช’ มีการตั้งเวทีอภิปรายกัน หลายคน หลายสื่อที่หยิบเอาแง่ลบมาขยาย โดย ลื ม แง่ บ วกในเรื่ อ งการระดมความคิ ด ระดมสมองของผู ้ ค นในหลายแง่ มุ ม มา พูดบ้าง ผมจะขอยกเรื่องการท�ำ ‘ผังเมือง’ มาชวนกั น คิ ด ชวนกั น คุ ย ดู การท� ำ ผังเมืองแต่เดิมที่มันไม่มีปัญหา เพราะ หน่วยงานภาครัฐท�ำกันเองเป็นส่วนใหญ่ มั น จึ ง ‘ไม่ มี ป ั ญ หา’ ส่ ว นพั ก หลั ง ๆ นี้ ประชาชนต้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มในการท� ำ มั น จึง ‘มีปัญหา’ เพราะประชาชนต้องการ ให้มัน ‘ไม่มีปัญหา’ ในโอกาสต่อไป ผม จ�ำได้ว่าในช่วงปี ๒๕๓๗ ได้เกิดการรวม กลุ่มของภาคพลเมืองขึ้นเพื่อต้องการให้ ‘เมืองน่าอยู่’ กว่าที่เป็นอยู่ในขณะนั้น

ใหญ่ที่ชาวเมืองยุคนั้นได้ร่วมมือร่วมใจ ระดมความคิด ระดมสมองเพื่อ ‘ค้นหา อนาคต’ ของเมือง ถ้ามองย้อนกลับไป เราก็ก้าวหน้าขึ้นกว่าเก่าตั้งมากมาย งาน ที่ ยั ง ไม่ ส� ำ เร็ จ แต่ ร อวั น ส� ำ เร็ จ ก็ คื อ เรื่ อ ง สายไฟฟ้าลงดิน และพระธาตุสู่มรดกโลก ก็เดินมาเกือบครึ่งแล้ว ช่วยกันเดินหน้า ต่อเถอะ ทราบข่าวว่า คุณสวัสดิ์ สมัครพงศ์ ได้รับการติดต่อให้เป็นผู้ประสานงาน เป็น ตั ว เชื่ อ มระหว่ า งรั ฐ ท้ อ งถิ่ น และภาค พลเมือง ในการท�ำเรื่อง ‘ผังเมืองนคร’ ให้ ก�ำลังใจครับ ขอฝากคุณสวัสดิ์ไว้ด้วย ‘ใช้ อดีตเป็นบทเรียน ท�ำวันนี้ให้ดี อนาคตก็ ต้องดีแน่’ คนนครที่ดีๆ มีมากกว่า ขอให้ ส�ำเร็จครับ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

ลั ง จากการรั บ ชมโทรทั ศ น์ ข องไทย ได้ ก ้ า วสู ่ ยุ ค โทรทั ศ น์ ดิ จิ ต อล (TV Digital) ท� ำ ให้ ส ามารถรองรั บ การรั บ ชม รายการโทรทั ศ น์ ที่ มี ค วามละเอี ย ดและ ความคมชัดสมจริงมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การพัฒนาความละเอียดของจอภาพได้ก้าว สู่ “เทคโนโลยี 4K” ซึ่งเป็นมาตรฐานความ ละเอียดของจอภาพที่สามารถแสดงผลที่มี ความละเอียดสูงมาก ท�ำให้ความละเอียด สั ง เกตว่ า ความละเอี ย ดแนวนอน เพิ่มขึ้นจากเดิมถึง ๔ เท่า ๑๙๒๐ เรียกง่าย ๆ โดยปัดเศษเป็น ๒๐๐๐ หรือ 2K (K ย่อมาจาก Kilo แปลว่า ๑๐๐๐) ความละเอียดของจอภาพคืออะไร ความละเอียดของจอภาพ (Resolu- เทคโนโลยี 4K tion) เป็ น ค่ า ที่ ก� ำ หนดจากจ� ำ นวนเม็ ด สี เทคโนโลยี 4K (Ultra HD : Ultra (Pixels) ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของภาพ High Definition) คือมาตรฐานใหม่ของ มีหน่วยเรียกเป็น ppi (Pixels per inches) ความละเอียดของ “จอภาพ” และ “คอนเช่น ความละเอียด 100 ppi หมายความว่า เทนต์ ” ดั ง นั้ น 4K ก็ ห มายถึ ง ๔๐๐๐ ในพื้นที่ ๑ ตารางนิ้วมีจ�ำนวน ๑๐๐ เม็ดสี นั่ น เอง ส� ำ หรั บ ความละเอี ย ด หน้ า จอ ค�ำนวณจากจ�ำนวนเม็ดสี แนวนอน X แนว ส�ำหรับทีวี 4K แบบ Widescreen หมาย ตั้ง (๑๐x๑๐=๑๐๐ Pixels หรือ ppi) ถึงมีความละเอียด ๓๘๔๐ x ๒๑๖๐ พิกเซล ผลรวมออกมาก็ได้ ประมาณ ๘.๒๙ ล้าน ก่อนจะถึงเทคโนโลยี 4K พิ ก เซล ทั้ ง นี้ ค วามละเอี ย ดในแนวนอน

ปัจจุบันการแสดงผลความละเอียดสูง ที่ใช้กันทั่วไป ได้แก่ HD : High Definition มี ค วาม ละเอียดที่ 1280 x 720 = 921,600 Pixels Full HD : Full High Definition มีความละเอียดที่ 1920 x 1080 = 2,073,600 Pixles (2 MegaPixels หรือ ๒ ล้านพิกเซล)

เท่ากับ ๓๘๔๐ เพื่อให้ง่ายต่อการเรียกจึงมี การปัดเศษขึ้นให้เป็น ๔๐๐๐ จึงเป็นที่มา ของค�ำว่า 4K ในทางกลับกันทีวี Full HD ซึ่งเป็นมาตรฐานในตอนนี้มีความละเอียด ๑๙๒๐ x ๑๐๘๐ พิกเซล ซึ่งผลรวมออกมา ได้ประมาณ ๒.๐๗ ล้านพิกเซล จะเห็นได้ว่า ความละเอียดหน้าจอของทีวี 4K มากกว่า ทีวีแบบ Full HD ถึง ๔ เท่า สิ่งที่จะเป็นอุปสรรคส� ำ หรั บ เทคโนโลยี 4K ก็ คื อ ราคา ค อ น เ ท น ต ์ ที่ แ พ ง เ กิ น ไ ป ป ั ญ ห า ก า ร เก็ บ ข้ อ มู ล ไฟล์ วี ดี โ อ ส� ำ ห รั บ ค อ น เ ท น ต ์ 4 K ซึ่ ง ใ ห ญ ่ ม า ก ภาพยนตร์ ๑ เรื่องมี

ขนาดถึง 100 GB ขณะเดียวกันสายเชื่อม ต่ อ ก็ ต ้ อ งเปลี่ ย นไปเพราะพอร์ ต HDMI คงไม่สามารถส่งสัญญาณภาพระดับ 4K ได้ ซึ่งล่าสุด VESA เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐาน เรื่ อ งการแสดงผล พร้ อ มที่ จ ะเปิ ด รั บ ข้ อ เสนอของมาตรฐาน 4K แล้ ว ในการออก พอร์ตเชื่อมต่อในเร็วๆ นี้ ประโยชน์ของภาพ 4K ในเชิงคุณภาพ ของภาพ ยิ่งเม็ดพิกเซลเยอะ ก็จะส่งผลให้ ขนาดเม็ดพิกเซลมีความเล็กและเรียงตัวกัน ถี่มากยิ่งขึ้น “รอยหยักตามขอบภาพแบบ ขั้นบันได” (Jaggies) ก็จะน้อยลง รวมถึง พื้นที่ “รอยต่อระหว่างพิกเซล” (Screen Door Effect) ก็จะแคบลงท�ำให้ภาพแลดู เรียบเนียนมากยิ่งขึ้น

ในปัจจุบันเราจะรู้จักทีวีที่มีความคม ชัดสูงในชื่อ Full HD ซึ่งก็คือการแสดงผล แบบ 2K โดยสามารถรองรั บ การบริ ก าร เคเบิ ล ที วี แ ละภาพยนตร์ ที่ มี ค วามคมชั ด ระดับ Full HD ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

แต่ ห ลั ง จากนี้ ม าตรฐานความคมชั ด ที่ เ รา รู ้ จั ก จะถู ก แทนที่ ใ หม่ ด ้ ว ยระบบ 4K ที่ ให้ ค วามละเอี ย ดสู ง กว่ า Full HD ถึ ง ๔ เท่า นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งมาตรฐานที่จะ ตาม 4K มาติดๆ คือ 8K ที่มีความละเอียด ๗๖๘๐ x ๔๓๒๐ หรื อ ให้ ค วามคมชั ด สู ง ถึง ๓๒ ล้านพิกเซล ส�ำหรับเทคโนโลยี 4K ได้ ส รุ ป ออกมาแล้ ว ว่ า ในการเรี ย กความ ละเอียดแบบนี้ให้ทุกค่ายทีวีใช้ค�ำว่า Ultra High Definition (Ultra HD หรือ UHD) เทคโนโลยีการแสดงผลของทีวี ที่ให้ คุ ณ ภาพความคมชั ด และสี สั น ที่ ส วยสดใส กระแทกตาที่สุด ก็คงไม่พ้นเทคโนโลยี LED (Light Emitting Diode) ซึ่ง UHD TV นั้น ก็ได้ใช้ความได้เปรียบของหน้าจอประเภท นี้ เ พื่ อ แสดงสี สั น ที่ ชั ด เจนมี ค วามสว่ า ง สู ง ให้ สี ด� ำ ที่ ด� ำ สนิ ท และมี อั ต ราการตอบ สนองรวดเร็ ว นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารน� ำ เอา เทคโนโลยีล่าสุดอย่าง “Micro Dimming” มาใช้ในการควบคุมหลอดภาพ (Backlight) ท� ำ ให้ ส ามารถแสดงสี ด� ำ ได้ แ บบด� ำ สนิ ท เพื่อสอดรับกับฉากมืด-สว่างของภาพและ ท� ำ การปรั บ ระดั บ ค่ า ความคมชั ด (Contrast) ให้ภาพดูคมชัดด้วยการเพิ่มความมืด ในส่วนภาพโทนด�ำให้ด�ำสนิท และมีมิติใน การรับชมมากยิ่งขึ้น แน่ น อนว่ า เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ย่ อ มมี ราคาสูง โปรดใช้วิจารณญาณในการเลือก ใช้เทคโนโลยีครับ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

วัสดีครับ ท่านผู้อ่านครับ ในฐานะนักเขียนประจ�ำ หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดเล่มนี้ ผมยังคงรู้สึกว่า การ เขียนบอกเล่าเรื่องราว ช่างแตกต่างกับพาเดินชมเดินดูซะ จริงเชียว ตัวอักษรนั้นดีที่สามารถสื่อถึงความรู้สึกได้ลึกซึ้ง หากผู้อ่านมีจินตนาการคล้อยตามได้ อรรถรสในเนื้อหาก็ ประสบผลตามเจตนา ทว่ามีหลายกรณี ที่ประสบการณ์ นี้ต่างกัน การรับรู้จึงทิ้งไว้เพียงเครื่องหมายค�ำถาม แต่ใน การที่เราได้มีโอกาสอยู่ตรงนั้นด้วยกัน เห็นจริง สัมผัสรูป รส กลิ่นและเสียง ดูเหมือนว่า ใจจะเข้าถึงสิ่งนั้นได้มากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม ในฐานะนักเขียนผมจึงจ�ำเป็นต้องบอก เล่าเรื่องราวตามบทตามตอน และใช้อักษรเป็นสื่อ ...จึง หวังว่าท่านผู้อ่าน จะสามารถเป็นท่านผู้ชม และเป็นท่าน ผู้ร่วมลิ้มชิมรสในอรรถรสตัวอักษรเหล่านี้ ผมไม่ได้เป็น นักเล่านิทานครับ เพราะทุกเรื่องเป็นเรื่องจริง ! ฉบั บ นี้ ข ออนุ ญ าตน� ำ ท่ า นผู ้ อ ่ า น ไปเดิ น ป่ า กะ ทาร์ซานที่ “น�้ำตกกรุงชิง” ครับ ผมเชื่อว่าหลายๆ ท่าน จะเคยไปมาแล้ว และเคยสัมผัสรับรู้ถึงความยิ่งใหญ่ของ น�้ำตกแห่งนี้ดี ผืนป่าดิบสมบูรณ์และต�ำนานเมืองเก่า รวม อยู่ในเส้นทางสู่น�้ำตกกรุงชิง ที่ถือว่าใหญ่สุด สวยสุดใน เมืองคอนเรา ลองมาเดินไปพร้อมกับผม โดยใช้ตัวอักษร เป็นตัวน�ำทางดีมั้ยครับ ...เราควรเริ่ ม ที่ เ วลาเช้ า ตรู ่ ค รั บ หากใครก็ ต ามที่ สนใจเดินชมผืนป่าบริสุทธิ์ อันมีนามว่า ป่ากรุงชิง จุดเริ่ม ต้นนั้นอยู่ในเขตอ�ำเภอนบพิต�ำ ท่านจะเดินทางมาด้วย อะไรก็แล้วแต่ เพียงแต่ว่าท่านควรมาเริ่มเดินเท้าที่ตัว อุทยานในเวลาเช้า เพราะจุดเด่นนั้น จะเริ่มตั้งแต่ท่าน จะเห็นสายหมอกขาวปกคลุมผืนป่าใหญ่และหมู่บ้านกรุง ชิงแห่งนี้ไปทุกหนแห่ง และนี่อันที่มาของค�ำว่า “หุบเขา กรุงชิง เมืองเก่าในม่านหมอก” ในช่วงที่ขับรถสู่ที่ท�ำการ อช.นั้น ระหว่างช่องเขาขาดก่อนถึงตัวอุทยานฯ หากท่าน มาเช้าตามที่ผมบอก ท่านจะเห็นแสงสีทองของดวงตะวัน ที่สาดแสงส่องผ่านช่องเขาและผืนป่า สายหมอกขาวที่ ปกคลุมจะสร้างเส้นแสงที่ดูน่าตะลึงตะลาน ผมเชื่อว่านัก นิยมธรรมชาติทั้งหลาย จะต้องหยุดรถฉับพลัน และลงไป บันทึกภาพกันไว้เป็นแน่แท้ หากผมเป็น ปกติแล้วผมจะ เริ่มเดินลงจากรถ และค่อยๆ เดินทอดน่องไปเรื่อยๆ นก เงือกหัวหงอกและนกอีกนานาชนิด จะรอพร้อมต้อนรับ ทุกท่านอยู่เสมอ และเป้าหมายต่อผมของผม จะยังไม่ใช่ ที่ท�ำการอุทยานหรอกนะครับ ส่วนใหญ่มักจะอยากไป ยืนดื่มด�ำบริเวณ “ลานจอดเฮลิคอปเตอร์” ซึ่งเป็นจุดวิว พ้อยท์! สามารถชมผืนป่าใหญ่ของกรุงชิงได้เป็นอย่างดี ...สามสายหมอกขาวโพลน ลูบไล้สัมผัสผืนป่านั้น ช่างเป็น สิ่งโอสถอัศจรรย์ส�ำหรับชีวิตจริงๆ

...อย่างที่กล่าวครับ ผมอยากจะน�ำหลายท่านเดินป่า ในอีกมิติหนึ่ง ในอีกสไตล์หนึ่งแม้จะเป็นเส้นทางเดิมๆ แต่ มิติจากนี้จะแตกต่าง ส�ำหรับผมแล้วเส้นทางสู่น�้ำตกกรุง ชิงมีมากมายให้น่าสนใจกว่า เป้าหมายที่เนิ่นช้าเหล่านี้ มิได้มุ่งเป้าที่ตัวน�้ำตกแบบเร่งไปแล้วเร่งกลับ ใครขอให้ผม น�ำทางให้ ผมมักขอเวลา ๑ วันเต็มๆ เสมอ เพราะแค่จุดที่ ตั้งของที่ท�ำการอุทยานฯ ผมก็ว่าน่าอัศจรรย์ใจแล้ว เพราะ อยู่ลึกลงไปในหุบเขาที่โอบล้อมด้วยผืนป่าใหญ่ อากาศ บริสุทธิ์ ทั้งล�ำธาร ต้นไม้ใหญ่ล้วนตรึงตาตรึงใจ เส้นทาง สู่น�้ำตกนั้น มีป้ายสื่อความหมายเป็นระยะ จุดเริ่มต้นมี แผนที่ระยะทาง จุดศึกษา และเพียงเก้าแรกของเส้นทาง ๓.๗ กม.นี้ ท่านก็อยู่ในเขตป่าลึกแล้วครับ หลายคนไม่เคย รู้จักต�ำแยดง ใบไม้มีพิษร้ายที่ต้องระวังอย่าได้กร�้ำกราย ไปสัมผัส ช่วงแรกของการเดินเท้า ท่านจะได้เห็นครับ ชื่อ ท้องถิ่น เรียกสามแก้ว ทางการขึ้นมาอีกนิดเรียกต้นช้าง ร้อง หากศัพท์แสงที่ฟังแล้วเข้าใจกันหมด ก็ต้องเรียก “ใบ ต�ำแยดง” ผมอยากมีเวลาพูดถึงสรรพคุณ โทษ และสิ่ง

ที่เกี่ยวข้องกับเจ้าต�ำแยดงนี้ให้ฟัง เอาเป็นฟังคร่าวๆ นะครับ ..ต้นมัน ใช้ท�ำคบเพลิงตีผึ้งครับ ต้องเอาไป ทุ บ ๆ ตากให้ แ ห้ ง และมั ด รวมกั น เป็นคบเพลิง นัยว่า เวลาจุดแล้ว มั น ไม่ มี เ ปลวไฟ แต่ เ ป็ น ประกาย สะเก็ดไฟที่ล่องลอยอยู่นานไม่ดับ ง่ า ย เวลาพรานป่ า ไปหาผึ้ ง กลาง คืน ก็จะใช้สะเก็ดไฟนี้หลอกล่อให้ ผึ้ ง บิ น ตามออกจากรั ง แล้ ว ขโมย น�้ ำ หวานอั น โอชะ โดยไม่ มี ก าร ท�ำร้ายผึ้งแม้แต่น้อย ...ในรายทาง ของผืนป่ากรุงชิง หากบังเอิญว่าท่านไปเที่ยวชมหน้าฝน อย่าได้กังวลหรือกลัวครับ “ทาก” เจ้าของบ้านอาจจะมี ให้เห็นกันบ้าง เขากลัวสารเคมีทุกชนิดครับ ไม่ว่าเกลือ สบู่ หรือยากันยุงกันแมลงต่างๆ หรือจ�ำพวกยาหม่อง สารพัด เหล่านี้ท่านน�ำไปป้องกันได้ครับ และหน้าฝนที่ ว่านี่แหละส�ำคัญ เพราะรายทางในเส้นทางเท้า ท่านจะ เห็น “เห็ดรา” หลายชนิด เบ่งบานอวดสีสัน เติมแต่งผืน ป่าให้สมบูรณ์พูนสุข มีตลอดเส้นทางครับ เชื่อว่าหลาย คนคงจะสนุกกับการถ่ายภาพ ...ที่นี่เป็นป่าดิบชื้นเขตร้อน พืชต่างๆ จึงเป็นพืชเฉพาะถิ่น และเป็นพืชส�ำคัญอย่างยิ่ง เช่น “เฟิร์นมหาสะด�ำ” เป็นเฟิร์นยุคเดียวกับไดโนเสาร์ อันนี้ไม่ได้หมายความว่า อายุต้นหนึ่งที่เห็นจะเป็นล้านปี นะครับ แต่วงศ์หรือตระกูลเขา ด�ำรงรูปร่างลักษณะแบบ นี้มาจนถึงยุคปัจจุบัน เราจึงเรียกว่า เฟิร์นไดโนเสาร์ และ ในรายทางท่านจะเห็นชีวิตเล็กๆ อีกมากมาย เชื่อแน่ว่า หลายท่านต้องเอ่ยถามหรือมองเห็นเจ้าสิ่งนี้ “ปูภูเขา” มันเป็นปูตัวขนาดเท่าก�ำปั้น อาศัยอยู่ในรูดินตามราวป่า ที่ นี่มีเยอะมาก และเรามีโอกาสเห็นตลอดเส้นทาง เพียงแต่ กฎระเบียบของการเดินป่าศึกษาธรรมชาติข้อหนึ่งคือ...ไม่ ควรส่งเสียงดัง หากท�ำได้ดังนี้ ท่านก็มีโอกาสเห็นสัตว์ป่า น้อยใหญ่มากมาย ...แหม! อย่างที่บอกข้างต้นครับ เวลาเรามีน้อยมาก หากใช้ตัวอักษรเป็นตัวน�ำทาง ท่านอาจจะต้องคิดติดตาม ผมไปเรื่อยๆ เส้นทางเดียวที่อาจจะเดินจริงเพียงครึ่งวัน ทว่าการเดินป่ากับทาร์ซาน อาจจะต้องใช้เวลานานกว่า นั้น รอติดตามฉบับหน้านะครับ !!


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ภาพตัวอย่าง ๓ ใน ๑๔๐ ที่ใช้ประกอบใน หนังสือรวบรวมผลงานครูแนบ ทิชินพงศ์ กับวัย ๙๔ ปีในปัจจุบัน และชมนิทรรศการผลงานครูแนบ ในช่วงอายุสี่แผ่นดินได้ที่ ม.วลัยลักษณ์ ๒๙ มิถุนายน - ๒๔ กรกฏาคม ๒๕๕๘


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ยิ้ม

ยิ้ ม ..เป็ น อาการที่ บ ่ ง บอกถึ ง ความสุขของบุคคล เมื่อความ สุขแผ่ซ่านในหัวใจ จึงปรากฏรอยยิ้มออก มาให้เห็นบนใบหน้า โอ ลั่ลล้า ฉบับนี้จึง ขอพาท่านผู้อ่านมาสัมผัสความสุขของ ร้านเล็กๆ กลางใจเมืองคอน ที่ตกแต่ง ด้ ว ยสี สั น สดใส น่ า รั ก เรี ย บง่ า ย และ บรรยากาศเป็นกันเอง ร้านยิ้ม เป็นอาคารพาณิชย์ขนาด หนึ่งห้อง ตั้งอยู่ในหมู่บ้านราชพฤกษ์ ๒ ตรงข้ามห้างสรรพสินค้าโรบินสัน โอเชี่ยน นครศรีธรรมราช ขับรถตรงเข้ามา มอง ทางซ้ า ยมื อ ถนนหลั ก ทางเข้ า หมู ่ บ ้ า น จะเห็นป้ายสัญลักษณ์รอยยิ้มสดใส เด่น เป็ น สง่ า อยู ่ ห น้ า ร้ า น บทเพลงสากล ไพเราะ ฟังเบาๆ รื่นหูยิ่งนัก ที่กล้าการันตี ถึงความอร่อย และคุณภาพของอาหาร เพราะเจ้าของร้าน (หญิง) เป็นเพื่อนเรียน

กั น มาตั้ ง แต่ ส มั ย ประถม จากโรงเรี ย น อนุบาลนครศรีธรรมราช “ณ นครอุทิศ” .. เมนูอาหารของที่ร้านส่วนใหญ่เน้น อาหารจานเดี ย วเป็ น หลั ก ไม่ ว ่ า จะเป็ น อาหารไทยและอาหารฝรั่ ง รสชาติ แ สน อร่ อ ยด้ ว ยฝี มื อ ของเจ้ า ของร้ า น อดี ต ผู ้ จั ด การธนาคารไทยพาณิ ช ย์ สาขาบิ๊ ก ซี นครศรีธรรมราช ‘หญิง’ เล่าให้ฟังว่าร้านนี้ เกิดขึ้นได้จากการที่ตัวเองมีความชอบส่วน ตัวในการท�ำอาหาร และอยากให้คนอื่น ได้ชิมอาหารคุณภาพดี แต่ราคาประหยัด เลยตัดสินใจอ�ำลาชีวิตสาวธนาคารตลอด เวลายี่สิบกว่าปีที่ผ่านมา

เครื่องดื่มที่นี่ มีจุดเด่นมากคือ เครื่อง ดื่มสมูทตี้โยเกิร์ตทุกตัวจะละลายช้ามาก ท�ำให้ลูกค้าส่วนใหญ่ต้องกลับมาชิมเป็น ครั้ ง ที่ ส อง ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบไอศกรี ม ไอศกรี ม ที่ นี่ สู ต รพิ เ ศษผลิ ต เอง เน้ น ไม่ หวานมาก ไอศกรีมรสผลไม้สามารถเลือก

ได้ตามฤดูกาล เน้นอร่อย และสุขภาพดี ชื่อร้าน “ยิ้ม” นั่งคุยกันไปพักใหญ่ หญิ ง ก็ เ ฉลยให้ ฟ ั ง ถึ ง ชื่ อ ร้ า นว่ า มาจาก ชื่อเล่นลูกสาวคนเก่ง ‘น้องยิ้ม’ นั่นเอง เลือกชื่อนี้เพราะเวลานึกถึงแล้วมีความ สุข อยากให้ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการทุก คนได้ รั บ ความสุ ข กลั บ ไป พร้ อ มกั บ ทิ้ ง รอยยิ้ ม ไว้ เพื่ อ จะกลั บ มาใช้ บ ริ ก ารใน โอกาสต่อไปอีก .. ร้านยิ้มเปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา ๑๐.๐๐ น. ถึง ๒๑.๐๐ น. ลูกค้าสามารถ ปิดร้านเลี้ยงสังสรรค์กรุ๊ปเล็กๆ ประมาณ ยี่สิบคนพร้อมบริการคาราโอเกะได้อย่าง เป็นกันเอง โดยสามารถส�ำรองโต๊ะได้ที่ โทร. ๐๘๑-๒๗๒-๙๙๘๙ .. อย่าลืมแวะมาชิมกันนะคะ อร่อย แล้วบอกต่อกันด้วยล่ะ พบกันใหม่ฉบับ หน้านะคะ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

คณะจากสภาจั ง หวั ด และ คุ ณ สมนึ ก เกตุชาติ จากเทศบาล กับท่านรัฐมนตรี สั ม พั น ธ์ ทองสมั ค ร และท่ า นรั ฐ มนตรี สุรินทร์ พิศสุวรรณ กับคณะจากรัฐบาล กลาง ที่ แ บ่ ง บทบาทในการสนั บ สนุ น การด�ำเนินการอย่างแข็งขัน ร่วมกับพลัง มวลชน ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น พ่ อ ค้ า นั ก ธุรกิจ สภาทนายความ ครูบาอาจารย์และ น้องๆ นักเรียน ตลอดจนสื่อสารมวลชน ทั้งท้องถิ่นและส่วนกลาง แบบที่เรียกว่า ถึงไหนถึงกัน เท่าไหร่เท่ากัน ตอนนั้ น เรามี จุ ด มุ ่ ง หมายร่ ว มกั น ชัดเจนว่า จะร่วมกันสร้างมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์แห่งนี้ให้ส�ำเร็จลุล่วงและให้ดี ที่สุดเท่าที่จะท�ำกันได้ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน เป็นผู้น�ำ ในขณะที่ผม นั้ น ละวางจากทุ ก ภาระและกิ จ กรรมมา ทุ ่ ม เททั้ ง ตั ว พร้ อ มกั บ ขอกั บ ทุ ก ฝ่ า ยว่ า งานนี้ เ พื่ อ แผ่ น ดิ น เกิ ด เมื อ งนครของเรา ร่ ว มกั น งดความขั ด แย้ ง แย่ ง ชิ ง รวมทั้ ง ความไม่ตรงไปตรงมา ทั้งหมดขอให้เป็น ไปอย่างโปร่งใสชัดเจนซึ่งแทบทุกฝ่ายต่าง

เห็นพ้องและท�ำกันมาจนเป็นจริงได้ แม้ จะเกิดความขัดแย้งยุ่งยากบ้างก็ตาม แต่ ไม่ถึงกับท�ำให้เป็นอุปสรรค สับสน วุ่นวาย จนไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไรอย่างที่ก�ำลังเป็น อยู่ทุกวันนี้ ซึ่งผมเองก็รู้ไม่หมดและไม่คิด ว่าจะสามารถรู้ได้ รวมทั้งไม่ได้มีบทบาท ฐานะหรือฉันทะที่จะรู้อีกแล้ว ด้วยตัวเอง นั้นพบแนวทางชีวิตที่สุข สงบ เย็น และ เป็นประโยชน์ อย่างที่ท่านอาจารย์พุทธ

ทาสสั่งสอนชาวสวนโมกข์ไว้ เหตุ ส� ำ คั ญ ที่ เ ขี ย นบทความนี้ เนื่ อ ง จากเมื่อเดือนที่ผ่านมา ถึงกับเกิดการลั่น กระสุนข่มขู่ขึ้นแล้ว และหลายคนถามว่า ท� ำ ไมไม่ รั บ การเสนอชื่ อ ให้ เ ข้ า ไปแสดง วิ สั ย ทั ศ น์ เ พื่ อ การสรรหาเป็ น อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ที่ มี ผู ้ เ สนอชื่ อ เป็ น หนึ่ ง ในหลายสิ บ คนซึ่ ง สุ ด ท้ า ยมี ผู ้ รั บ การเสนอชื่อเพียงไม่กี่ราย ซึ่งผมคิดอะไร

หน้า ๑๙

ไม่ อ อกนอกจากนึ ก ถึ ง แต่ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง มหาวิทยาลัยที่น่าจะยังไม่เปลี่ยนแปลง คือ เป็นองค์กรธรรมาภิบาล เป็นหลักใน ถิ่น เป็นเลิศสู่สากล รวมทั้งค�ำที่พร�่ำสอน ศิษย์ให้เป็นศึกษิตผู้ทรงไว้ซึ่งความดีและ ความเก่ง ด้วยคาดหวังว่าทุกฝ่ายที่มีส่วน เกี่ ย วข้ อ งโดยเฉพาะผู ้ ที่ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ความรับผิดชอบจะยังระลึกถึงเช่นที่ผม ยังร�ำลึกถึงเสมอ อย่างน้อยก็โปรดระลึก ถึ ง และเกรงใจเมื อ งนคร คนเมื อ งนคร บรรพชนคนนคร ที่ ก� ำ หนดชื่ อ อั น เป็ น มงคลยิ่งว่า “นคร-ศรี-ธรรม-ราช” แปล กั น มาแต่ เ ดิ ม ว่ า “นครอั น งามสง่ า แห่ ง พระราชาผู้ทรงธรรม” ซึ่งจะเป็นจริงได้ก็ ต่อเมื่อ “ชาวเมืองทั้งนครนั้นมีธรรม” หวั ง ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาสู ง สุ ด ที่ ช าวนครคาด หวั ง และทุ ่ ม เท จะมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการ “เชิ ด ชู ธ รรม” สมกั บ ที่ ก� ำ หนดในวิ สั ย ทัศน์ไว้ว่า จะเป็น “องค์กรธรรมาภิบาล เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล” บ้านบวรรัตน์ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๘


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.