นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 40 เดือนมกราคม 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รมว. ท่องเที่ยวและกีฬา ปาฐกถาหนุนเมืองนคร เป็นเมืองท่องเที่ยวตามแนวคิด ‘เมือง ๒ ธรรม’ ทั้งร่วมปั่นจักรยานตามเส้น ทางสายวัฒนธรรมสู่เส้นทางจักรยานถนนเฉลิมพระเกียรติ ¹¤Ã´Í¹¾ÃР˹éÒ ò ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ˹éÒ ó ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย ˹éÒ ๔ สุธรรม ชยันต์เกียรติ àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ Ë¹éÒ ๙ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ แนวทางการออกแบบภูมิทัศน์ วัดพระมหาธาตุสู่มรดกโลก ˹éÒ ๑๐ ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบ ม.วลัยลักษณ์ เที่ยวเมืองมรดกโลก ˹éÒ ๑๐ โกแอ๊ด ความคืบหน้าพระธาตุสู่มรดกโลก ˹éÒ ๑๑ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ ˹éÒ ñ๒ นพ.ทฏะวัฏร์ พิลึกภควัติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ˹éÒ ñ๖ ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ ˹éÒ ñ๗ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ นางกอบกาญจน์ ท่ อ งเที่ ย วนครปี ๕๘’ สนั บ สนุ น วัฒนวรางกูร รมว.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การท่ อ งเที่ ย วภายใต้ ‘โครงการ เดิ น ทางมาแสดงปาฐกถาพิ เ ศษ ‘เปิ ด มุ ม มองการ ๑๒ เมื อ งต้ อ งห้ า ม...พลาด’ จั ด โดยหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช ณ โรงแรมราวดี ต.ปากพู น อ.เมื อ ง จ.นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัด นครศรีธรรมราชให้เป็นที่รู้จักมาก ยิ่งขึ้นตาม >> อ่านต่อหน้า ๘

รายงาน ผศ.ฉัตรชัย เผยเอกสารฉบับสมบูรณ์เสนอพระบรมธาตุ เจดีย์เป็นมรดกโลก จะเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๗ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธาน สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า การจัดท�ำเอกสาร เพื่ อ น� ำ เสนอพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารเป็ น มรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก ได้ คื บ หน้ า ไปถึ ง บทส� ำ คั ญ คื อ บทที่ ๕ ว่าด้วยการจัดท�ำแผนเพื่อการอนุรักษ์ >> อ่านต่อหน้า ๙


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

“ส นางกอบกาญจน์ รั ต นวรางกู ร รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงท่ อ งเที่ยวและกี ฬา มาแสดงปาฐกถาและ ปั ่ น จั ก รยานประชาสั ม พั น ธ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ให้เป็นเมืองท่องเที่ยว สร้างความปีติ ความคาดหวัง และก� ำ ลั ง ใจแก่ ผู ้ ป ระกอบการที่ เ กี่ ย วโยงกั บ การ ท่องเที่ยว ตั้งแต่โรงแรม รีสอร์ต ร้านอาหาร สินค้า และบริ ก ารต่ า งๆ เพราะแลเห็ น ว่ า รั ฐ มนตรี ล งมา ร่ ว มปฏิ บั ติ ก ารณ์ จ ริ ง ในภาคสนามและสนทนากั บ ผู ้ ป ระกอบการ เจ้ า หน้ า ที่ อ งค์ ก รจั ด งานอย่ า งเป็ น กันเอง

วัสดีปีใหม่ครับผม” หลายคนถามว่าทุก วันนี้ผมอยู่ที่ไหนแน่ ? “อยู ่ ไ ปทั่ ว เลยครั บ ” คื อ ค� ำ ต อ บ ข อ ง ผ ม เ ข ้ า ลั ก ษณะว่ า ที่ ไ หนมี อ ะไรที่ เป็ น ประโยชน์ ใ ห้ ท� ำ ผมก็ จะไป เมื่ อ ปลายปี ก็ ไ ปช่ ว ย งานร�ำลึก ๑๐ ปี สึนามิ ที่ ฝั่งอันดามัน ปีใหม่ไปอยู่ช่วย งานสวดมนต์ข้ามปี เนสัชชิก ข้ามคืนที่สวนโมกข์กรุงเทพ ซึ่ ง มี ค นไปร่ ว มหลายพั น คน พอกลางเดื อ นนอกจากน� ำ คณะไปงานอาจารยบูชาพระ อาจารย์ ช าที่ อุ บ ลราชธานี แล้วยังต้องช่วย ททท.ท�ำงาน เทศกาลเที่ ย วเมื อ งไทยที่ ภาพต้นแบบในการ ท�ำป้ายใหญ่ ด้วยความ อนุเคราะห์จาก คุณพยอม ปิดชิด

อย่ า งไรก็ ต าม ชาวนครไม่ ค วรคาดหวั ง จนเกิ น ไป เพราะการท่องเที่ยวของจังหวัดนครศรีธรรมราชอยู่ ในสภาพ ‘ปล�้ำผีลุก ปลุกผีนั่ง’ มากว่า ๒๐ ปี อาจ ตื่ น ตั ว คึ ก คั ก ตอนได้ ย า เมื่ อ สิ้ น ฤทธิ์ ย าก็ น อนเตี ย ง ตื่นๆ ตายๆ อยู่เป็นระยะๆ ข้าราชการสังกัดหน่วยงาน ท่องเที่ยวต่างหากที่ได้ดิบได้ดี ได้หยิบจับงบประมาณ มาซื้อพลุซื้อดอกไม้ไฟมาจุดฉลอง เรื่องที่ชาวนครต้องคาดหวังรัฐมนตรีว่าการท่องเที่ยว และกีฬา คืองบประมาณสักก้อนไว้ด�ำเนินการส่งเสริม หรือผลักดันการท่องเที่ยวของเมืองนครให้ก้าวรุดหน้า กระนั้นชาวนครต้องช่วยกันจับตา เพราะงบประมาณ ที่ ผ ่ า นทางจั ง หวั ด มั ก ถู ก จั ด ให้ กั บ กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ที่ รู ้ ช ่ อ ง ทางฉกฉวยเอางบประมาณ ซึ่ ง ควรจั ด สรรปั น ส่ ว น ไปยังภาคประชาชนหรือชุมชนให้น�ำไปพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวของตน โดยมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในจังหวัด รู้เห็นเป็นใจ โดยเฉพาะงบประมาณสนับสนุนการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรที่ชาวบ้านเข้าไม่ถึง ถ้าคุณกอบกาญจน์ รัตนวรางกูร สามารถผลักดันให้ จังหวัดนครศรีธรรมราชได้งบประมาณก้อนใหญ่ คุณ กอบกาญจน์ นามสกุลเดิม ‘สุริยสัตย์’ หรือ ‘ผู้ซื่อสัตย์ ดั่งดวงอาทิตย์’ ควรติดตามตรวจสอบการใช้เงินด้วย ตัวเอง การท่องเที่ยวเมืองนครยุครัฐบาล คสช. จึงจะ เป็นประโยชน์ต่อชาวบ้าน

สวนลุมพินี โดยเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวทางธรรมในภาค อี ส าน ถึ ง เดื อ นหน้ า คณะนั ก วิ ช าการโบราณคดี ร ะดั บ โลก หลายคนชวนไปตามรอยศูนย์กลางพระพุทธศาสนาที่ลุ่มน�้ำ กฤษณา-โคธาวารีในอินเดียใต้แถบเมืองอมราวดี ที่มีหลัก ฐานว่าเป็นศูนย์ส่งพระพุทธศาสนามาสู่ดินแดนไทยทุกวันนี้ เมื่อเกือบ ๒,๐๐๐ ปีก่อน มีหลักฐานพระพุทธรูปส�ำริดองค์ งามศิ ล ปะสมั ย อมราวดี อ งค์ ห นึ่ ง พบที่ สิ ช ล จั ด แสดงอยู ่ ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราชทุกวันนี้ อันที่จริง กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีที่ก�ำลังเป็นที่นิยมจน ทั่วประเทศนั้นก็มีส่วนริเริ่มเสริมส่งไปจากวัดพระธาตุเมือง นครเมื่อครั้งพวกเราชาวนครขอท่านเจ้าคุณฯ จัดกิจกรรมสวด มนต์ข้ามปี ร่วมภาวนากันจนเช้าในพระวิหารหลวงแล้วร่วม ให้ทานไฟใส่บาตรกันที่หน้าพระธาตุเมื่อหลายปีก่อน ส่วนงาน เทศกาลเที่ยวเมืองไทยที่สวนลุมปีนี้นั้น เมืองนครได้รับการ ยกระดับเป็นกรณีพิเศษให้เป็น “เมืองต้องห้าม...พลาด” ของ ททท.ที่น่าจะมีอะไรดีและส่งเสริมเมืองนครไม่น้อย ทั้งนี้ หนังสือตามรอยธรรมที่เมืองนคร ที่พวกเราท�ำให้ ททท.ก็ได้รับ การแปลเป็นภาษาจีน ถูกน�ำไปเผยแพร่ถึงเมืองจีนอย่างกว้าง ขวางมาแล้ว มิหน�ำซ�้ำไม่กี่วันก่อนก็พบคุณวินิจ รังผึ้ง ตากล้อง ททท.มาด้อมๆ มองๆ ที่พระธาตุเพื่อถ่ายท�ำโปสเตอร์แนะน�ำ

เมืองนครขนาดใหญ่ ส่ ง ไปทั่ ว ทั้ ง โลกอี ก ด้ ว ย ผมแนะน� ำ ให้ เสนอเรื่องลากพระที่ เมื อ งนครซึ่ ง มี เ สน่ ห ์ และศักยภาพสูงมาก ยังไม่ทราบว่าตกลง ททท.เลือกอะไร ส�ำหรับผมและเพื่อนพี่น้อง ขอโอกาสจัดท�ำของขวัญชิ้น พิเศษถวายพระธาตุและมอบแก่เมืองนคร เป็นป้ายสื่อความ ขนาดก�ำลังดีท�ำด้วยเหล็กกล้าสแตนเลส แนะน�ำ ๒๔ จุดห้าม พลาดในพระบรมธาตุพร้อมค�ำอธิบายรายละเอียด ๓ ภาษา ไทย อังกฤษ จีน และ QR Code รายละเอียดเพิ่มเติม ริเริ่มโดย ททท.นครฯ ท่านเจ้าคุณฯ เห็นชอบ ทางจังหวัดเอาด้วย ผมเอา เงินที่บ้านมาสมทบท�ำ ก�ำลังทยอยติดตั้งให้สอดคล้องกับการ ปรับปรุงอาณาบริเวณที่ก�ำลังเร่งรัด ได้อดีตประธานนักเรียน เบญจมราชู ทิ ศ อุ ก ฤษฎ์ หนู จุ ้ ย ที่ เ คยเป็ น แกนน� ำ ขบวน การฅนคอนเป็นโต้โผด�ำเนินการ ประกอบด้วย ๘ จุดส�ำคัญภาย ในวิหารคด ๘ จุดเก่าก่อนภายนอก และ ๘ จุดเพิ่มใหม่ในภาย หลัง ตามแบบป้ายและแท่นติดตั้งที่เชื่อว่าน่าจะน้อมน�ำความ รู้ความเข้าใจจนรักและภูมิใจ เกิดศรัทธาในพระพุทธศาสนา และบรรพชนที่ช่างสร้างสรรค์ไว้ให้เราอย่างนี้ถึงทุกวันนี้ ก็ขอถือเป็นหนึ่งในหลายความพยายามของพวกเรา ชาวนครเพื่อเป็นของขวัญบรรณาการปีใหม่ ถวายพระธาตุ เพื่อเมืองนคร ตลอดจนเป็นการต้อนรับแขกของบ้านเมือง ไม่ว่าจะเป็นชาติภาษาอะไร ตั้งแต่นี้ที่ก�ำลังจะเป็น “เมือง นคร...ต้องห้าม” กันแล้ว >> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

ก่

อนมาท� ำ ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ ผมเคยแอบคิ ด ว่ า ถ้ า ยั ง อยู ่ ใ นวั ย หนุ ่ ม สาว ร่ า งกายความคิ ด กระ กระฉั บ กระเฉง ผมอยากท� ำ ‘Free Copy’ ในรู ป Magazine บางๆ แจกฟรี ใ ห้ ค นใน-คนนอก วางไว้ ตามร้านกาแฟ เกสต์เฮ้าส์ โรงแรมแขกบ้านแขกเมือง หยิบอ่านสักเล่ม เนื้อหาเกี่ยวกับเมืองนคร เรื่องกินเที่ยว แฟชั่น วิถีชีวิต วัฒนธธรม เทคโนโลยี กิจกรรมต่างๆ ในชีวิต ประจ�ำวัน จัดหน้าตาให้สวยงามน่าอ่าน เขา/เธออาจจะนั่งอ่านขณะนั่งจิบกาแฟ รอเวลา เช็คอินหรือเช็คเอ้าต์ ขณะอ่านอาจค้นพบความรู้ มุม มองดีๆ หรืิอเกิดแรงบันดาลใจที่มีผลต่อการสร้างงาน ปี ๒๕๓๖-๓๘ ผมหลงรัก Free Copy เก็บสะสม เอาไว้มากมาย ตอนนั้นยังจัดวิทยุอยู่ที่ ๙๗.๕ MHz. (อสมท.) ของผู้จัดการรายวัน และเป็นบรรณาธิการ บริหารนิตยสารรายเดือน Art of Living ผมได้ความรู้ และมุมมองดีๆ จาก Free Copy ที่เก็บจากผับ ร้าน กาแฟ ร้านหนังสือ หรือแม้แผ่นพับจากร้าน Starbuck ที่ บ อกเล่ า ประวั ติ ข องกาแฟหรื อ เกร็ ด ความรู ้ ต ่ า งๆ แผ่นพับของสตาร์บัคสีสันคลาสสิคสวยงามน่าจับต้อง ที่สุด แม้จะเล่นสีแปลกๆ แต่ไม่เคยมีอุปสรรคในการ อ่าน โตมร ศุขปรีชา นักเขียน-นักแปล คอลัมนิสต์ เนชั่นสุดสัปดาห์ ให้ความเห็นว่า “Free Copy แต่ละ เล่ ม ก็ ค วรมี ‘หน้ า ที่ ’ ที่ ตั ว เองเป็ น ผู ้ ก� ำ หนดขึ้ น มา แต่ โ ดยผิ ว เผิ น เรามั ก คิ ด ว่ า Free Copy รั บ ใช้ ไลฟ์สไตล์ของชนชั้นกลาง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ท�ำให้ Free Copy หาโฆษณาได้มากที่สุด แต่จริงๆ แล้ว Free Copy ก็ต้องมีจิตวิญญาณของตัวเอง มี ‘แก่น’ ของ ตัวเองเหมือนกัน ซึ่งแต่ละเล่มก็แตกต่างกันไปตาม แต่จะคิดหา ‘ตลาด’ ของตัวเองขึ้นมา ข้อดีอย่าง หนึ่งของ Free Copy คือมันฟรี เพราะฉะนั้นผู้อ่าน จึ ง ไม่ ลั ง เลที่ จ ะหยิ บ เล่ ม ที่ ต นสนใจขึ้ น มา จึ ง ท� ำ ให้ สื่อถึงกลุ่มเป้าหมายได้ชัดและตรง” Free Copy เป็นสื่อโฆษณาที่น่าสนใจ ผมเชื่อ ว่า ‘รักบ้านเกิด’ หนังสือพิมพ์แทบลอยด์ที่เป็น Free

Copy หรื อ แจกฟรี ฉ บั บ นี้ ก็ เ ป็ น สื่ อ โฆษณา ที่น่าสนใจ เมื่อดูจุดยืน ทิศทางและเรื่องราว ที่น�ำเสนอล้วนเป็นเรื่องสร้างสรรค์ - ให้ความ รู้ - กระตุ้นความคิดในทางที่จะช่วยพัฒนา สั ง คมนครศรี ธ รรมราชให้ เ ป็ น เมื อ งน่ า อยู ่ เราท�ำ ‘รักบ้านเกิด’ ฉบับ e-book ที่มีผู้อ่านในประเทศ และต่างประเทศมากกว่า ๕,๐๐๐ คน ปี ๒๕๕๗ เมืองนครมี Free Copy ที่เป็น Magazine แจกฟรี ๓ ฉบับ อาทิ SSS, Fredom Travel, ZIP และเร็วๆ นี้ก�ำลังจะมีฉบับน้องใหม่ ทุกฉบับมีแนวทาง ของตั ว เอง คนท� ำ มี ค วามรั ก ความฝั น ผมบั ง เอิ ญ ได้ สนทนากั บ น้ อ งๆ ผู ้ จั ด ท� ำ ก็ อ ดนึ ก ภาพตั ว เองตอนอายุ ๒๓ - ๒๕ ที่ อ ยากเขี ย นหนั ง สื อ อยากอยู ่ ป ระจ� ำ กอง บรรณาธิการหนังสือสักฉบับ รักบ้านเกิด, SSS, Freedom Travel และ ZIP ช่วยให้คนในและคนนอกรู้จักและเข้าใจเมืองนครมาก ยิ่งขึ้น ผมดีใจที่เมืองนครมี Free Copy หลายเล่ม เพราะ หนังสือแนวนี้เป็นสิ่งบ่งบอกทิศทางของบ้านเมือง เมือง ที่มี Free Copy มากอย่างเชียงใหม่เราได้เรียนรู้ว่าเป็น เมืองเปิดและเป็นเมืองท่องเที่ยวที่ผู้คนจากทุกสารทิศ เข้าไปเที่ยวไปชม คุ ณ กอบกาญจน์ รั ต นวรางกู ร รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬาอุตส่าห์มาปั่นจักรยานเที่ยว

เมืองนคร หวังจะปลุกเมืองนครให้เป็นเมืองท่องเที่ยว คราวนี้หวังว่ายักษ์หลับน่าจะตื่นเสียที ถ้ า การท่ อ งเที่ ย วเมื อ งนครตื่ น Free Copy ก็ได้ท�ำหน้าที่ เจ้าของสินค้าและบริการรุ่นใหม่ก็ต้อง มองหาสื่อโฆษณาที่เหมาะสมสักฉบับ Free Copy แจกฟรีก็จริง ทว่า ค่าจัดท�ำไม่ฟรี มีต้นทุนค่าพิมพ์ ค่าสติปัญญาอยู่ไม่น้อย ใครเห็นความส�ำคัญต้องช่วย กันสนับสนุน


หน้า ๔

นครศรีธรรมราช

เอาเดือนธันวาคมเป็นเดือนสุดท้ายของปี มกราคมเป็น เดื อ นเริ่ ม ปี แ ละใช้ ก ารนั บ เดื อ นเหมื อ นอย่ า งฝรั่ ง เขา ทุกประการ ปัจจุบันเราก็เอาอย่างเข้าไปถึงประเพณี วั ฒ นธรรมเขาด้ ว ย โดยเฉพาะคนเมื อ งหลวง แต่ ใ น ขอบเขตชนบทยังนับปีใหม่ไทยคือวันสงกรานต์อยู่ คน เมืองหลวงหรือส่วนราชการก็นับเอาแบบฝรั่งแทบทุก อย่าง การฉลองก็ต้องเลียนแบบฝรั่ง เห็นฝรั่งเขาส่งฑูต สวรรค์ ไ ปร้ อ งเพลงอวยพร กันในวันคริสต์มาส เราก็เอา อย่างร้องเพลงอวยพรปีใหม่ กัน ไม่ร้องไม่เปิดเพลงดูจะ เชยๆ ไป ฝรั่งเขาฉลองดื่มกิน เราก็ ฉ ลองดื่ ม กิ น กั น เหมื อ น อย่ า งฝรั่ ง ที่ แ น่ ก ว่ า คื อ เมา แล้วยังขับรถไปได้อีก น�ำรถ ไปฉลองปี ใ หม่ ก็ ต ้ อ งขอให้ คนขับกินด้วย ไม่กินก็ไม่รัก กั น จริ ง กิ น เหล้ า แล้ ว ขั บ รถ ไม่ได้ก็ไม่แน่จริง เลยได้ตาย เหมาครั ว กั น บ่ อ ยๆ ตอนนี้ รั ฐ บาลเขาให้ ค วามสุ ข ด้ ว ย การจัดวันหยุดยาว ปีใหม่ให้ พอหรื อ มากกว่ า สงกรานต์ เข้าไปแล้ว ธรรมเนียมต่างชาติอีก อย่ า งคื อ การจุ ด ประทั ด จุ ด พลุ ใ นวั น ขึ้ น ปี ใ หม่ อ ย่ า งจี น ชาวจีนเชื่อว่าการจุดประทัด เพื่ อ ขั บ ไล่ ป ี ศ าจตามความ บุญทานไฟที่วัดมหาธาตุ ปี ๒๕๕๔ เครดิตรูป www.ssc.mbu.ac.th เชื่อในนิทานจีนโบราณ ไทย กบ้านเกิดฉบับนี้ ออกก่อนขึ้นปีใหม่ ผมจึงขอเขียน เราก็เอาด้วย จุดประทัดอย่างจีน จุดพลุอย่างฝรั่ง ที่ เรื่องวันขึ้นปีใหม่ว่าเราจะฉลองกันอย่างไร ตั้งแต่ ดังกว่าคือยิงปืนด้วย ลูกกระสุนหล่นบนกระหม่อมคน โบราณมาคนไทยเราไม่ได้นับเอาวันขึ้นปีใหม่อย่างฝรั่ง ก็เคยมีมาแล้ว ดังนั้นปีหนึ่งๆ คนต้องตายเพราะเหล้า ถึงฝรั่งก็เถอะ มีไม่กี่ประเทศที่นับเอาวันที่ ๑ มกราคม น�ำไปก็มาก ทั้งอุบัติเหตุเรื่องรถและยังทะเลาะวิวาทฆ่า เป็ น วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ เพิ่ ง มาเปลี่ ย นเอาเมื่ อ ไม่ กี่ สิ บ ปี ม า กันตายก็ไม่น้อย นี้เอง หลายปีมาแล้วช่วงปีใหม่ ในหลวงทรงเขียนการ์ด การนับวันขึ้นปีใหม่ของคนไทยโดยการก�ำหนด อวยพรปีใหม่ ท่านอาจารย์พุทธทาสอวยพรปีใหม่ ล้วน การเคลื่ อ นย้ า ยของดวงอาทิ ต ย์ จ ากราศี ห นึ่ ง ไปสู ่ อี ก เตือนสติให้อยู่ในศีลในธรรม แต่คนไทยเราก็ไม่สนใจ ราศี ห นึ่ ง โดยนั บ ราศี มี น ย้ า ยเข้ า สู ่ ร าศี เ มษ เรี ย กว่ า ขอตามก้นฝรั่งต่อไป เมื่อพระสอนธรรม ก็เอามือก�ำหู ‘มหาสงกรานต์’ ตามแบบอย่างอินเดียเป็นการเปลี่ยน เมื่อหลายปีก่อน อาจารย์สมพุทธ ธุระเจน แนะ ‘จุลศักราช’ หรือ ‘วันขึ้นปีใหม่’ โดยไม่เกี่ยวกับวันที่ ให้ผมไปดูการให้ทานไฟที่วัดแถวพรหมคีรี ผมก็แวะ อย่างปัจจุบัน แต่ไทยเราเปลี่ยนมาใช้เป็นครั้งแรกตรง เวียนไปดูหลายที่ ตั้งแต่คีรีวง พรหมคีรี ร่อนพิบูลย์ ก็ กับวันที่ ๑๓ เมษายน เราจึงยึดเอาวันขึ้นปีใหม่เป็น รู ้ สึ ก สนุ ก ดี จึ ง สอบถามคนเฒ่ า คนแก่ และพระสงฆ์ วันที่ ๑๓ เมษษยนทุกปี ซึ่งฤกษ์การเคลื่อนเข้าสู่ราศี องค์เจ้าถึงความเป็นมาของงานบุญให้ทานไฟ ได้ทราบ เมษนี้ จะไม่ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายนของทุกปีเสมอไป จากค�ำบอกเล่าว่ามันมีมาตั้งแต่พุทธกาล บันทึกอยู่ใน >> อ่านต่อหน้า ๑๔ ต่อมาถึงมาเปลี่ยนตามอย่างสากลเขา โดยนับ ‘ขุนทกนิกายชาดก’ กล่าวถึง

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือน มกราคม ๒๕๕๘ กองบรรณาธิการขอกล่าวสวัสดีปีใหม่ แก่คุณผู้อ่านผู้มีอุปการคุณทุกท่าน พร้อมตั้งจิตอธิษฐาน อาราธนาคุณพระรัตนตรัย สิ่งศักดิ์ทั่วสากลโลก บารมีองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง อ�ำนวยพรให้ทุก ท่านประสบแต่ความสุขความเจริญรุ่งเรืองตลอดปี

วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ นายพีระศักดิ์ หินเมือง เก่ า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครฯเป็นประธานในพิธีถวาย เครื่องราชสักการะ จุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคล และ กล่าวน�ำถวายพระพรชัยมงคล หน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา โดยมีหัวหน้าส่วน ราชการทั้งฝ่ายพลเรือน ตุลาการ อัยการ ทหาร ต�ำรวจ เหล่ากาชาด สถาบันการศึกษา ผู้บริหารท้องถิ่น นักการ เมือง พ่อค้า ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และกลุ่ม พลังมวลชนทุกหมู่เหล่านับหมื่นคน ณ สนามหน้าเมือง

รั

วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ พล.อ.อุดมเดช สีตบุตร ผบ.ทบ.เดินทางมาเป็นประธานในพิธีวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์วีรไทย ๒๔๘๔ บ�ำเพ็ญกุศลอัฐิอุทิศให้กับ ดวงวิญญาณวีรไทย ณ ศาลาวีรไทย ภายในค่ายวชิราวุธ จ.นครฯ วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ พ่อท่านเอื้อม กตปุญโญ พระเกจิอาจารย์รูปส�ำคัญของเมืองนครได้ละ สังขารที่วัดธรรมรุ่งโรจน์ (วัดคลองเดา) ต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร ด้วยโรคชรา สิริอายุ ๑๐๘ ปี พรรษา ๔๓ บรรดา ลูกศิษย์ต่างโศกเศร้าเสียใจ นักสะสมวัตถุมงคลของท่าน ทั้งเหรียญ รูปหล่อ ฯลฯ พระเกจิอายุยืนเมืองนคร คงเหลือ แต่พ่อท่านพุ่ม กตปุญโญ อายุ ๑๑๓ ปี แห่งส�ำนักสงฆ์


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ดอยเจดี ย ์ ศ รี พุ ท ธสถิ ต บนภู เ ขาวั ด ท่ า ยาง อ.ทุ ่ ง ใหญ่ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า นายจาง จิ้น สง กงสุ ล ใหญ่ แ ห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประจ� ำ สงขลา นายกสมาคมพาณิ ช ย์ จี น จั ง หวั ด นครฯ และผู ้ แ ทนจาก หน่ ว ยงานรั ฐ และเอกชน ร่ ว มประชุ ม แลกเปลี่ ย นความ คิดเห็นหาแนวทางการพัฒนาจังหวัด และสร้างความรัก สามัคคีในที่ประชุมภาคเอกชนเสนอแนวทางการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาการเกษตร และหาทางขยาย ตลาดสินค้า OTOP

เดือดร้อนก็ต้องดิ้นรน... ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า รับมอบหนังสือร้องเรียนจาก ทศพล ขวัญรอด, วิน ศรีมาลา และคณะตัวแทนเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางพาราปาล์มน�้ำมัน ๑๖ จังหวัดภาคใต้ พร้อมเรียกร้องให้รัฐบาล ชดเชยส่วนต่างราคายางกิโลละ ๘๐ บาท โดยจ่ายเป็น พันธบัตรรัฐบาล, เร่งรัดมาตรการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไร่ละ ๑,๐๐๐ บาท, เร่งยุทธศาสตร์การน�ำยางไปท�ำถนน แก้ไข ปัญหายางล้นสต็อก และส่งเสริมการใช้ยางในประเทศ น� ำ ไปสู ่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาที่ ยั่ ง ยื น และตั้ ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ผลิตภัณฑ์ยางให้ครอบคลุมทุกอ�ำเภอ ต�ำบลและหมู่บ้าน

เป็ น นายอ� ำ เภอเมื อ งหลายปี ราชิ ต สุ ด พุ ่ ม นักปกครองฝีมือดีมีความรอบรู้ได้เลื่อนต�ำแหน่งเป็นปลัด จังหวัดนครฯ งานแรกจัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการเตรียม ความพร้ อ มป้ อ งกั น และลดอุ บั ติ เ หตุ บ นท้ อ งถนนช่ ว งปี

นครศรีธรรมราช

ใหม่ ๒๕๕๘ โดยก�ำหนดแผนลดปัจจัยเสี่ยงจากคน ยาน พาหนะ ถนนและสิ่งแวดล้อม ควบการสร้างจิตส�ำนึกด้าน ความปลอดภัย ฝนตกหนัก พายุเข้า ถนนชายทะเล ปากพนัง-หัวไทร ถูกคลื่นซัดกินพื้นที่บ้าน มาโนช เสนพงศ์ ไปยืนดูถ่ายรูปโพสต์ลงเฟซบุ๊ค หลังจากนี้ต้องหาทางแก้ ปัญหาให้ชาวบ้าน ทุ่งสงผลิตขยะวันละ ๕๐ ตัน ทรงชัย วงศํวัชระด�ำรง นายกเทศมนตรีเมืองทุ่งสง จับมือ กับบริษัทปูนซีเมนต์ไทยทุ่งสง สร้างศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอย อย่างยั่งยืน และกิจกรรมธนาคารวัสดุรีไซเคิลโดยให้ครัว เรือนต่างๆ คัดแยกขยะที่ดีจ�ำหน่ายให้กับเทศบาล กิจกรรม คัดแยกขยะอินทรีย์ในตลาดสดเทศบาลและร้านต่างๆ เพื่อ น�ำขยะมาผลิตก๊าซชีวภาพ ผลิตปุ๋ยพืชสด ผลิตน�้ำหมัก ชีวภาพ เลี้ยงไส้เดือนดิน ส่งเสริมกลุ่มคัดแยกขยะ ขณะบาง ส่วนขายคืนบริษัทปูนซิเมนต์ทุ่งสง สร้างรายได้แก่เทศบาล วั น ละราว ๒๒,๐๐๐ บาทต่ อ วั น งานนี้ ถ ้ า ตั้ ง ใจก็ ท� ำ ได้ ข่าวของคนรักสวยรักงาม ศิริลัคณา เอียดวิจิตร์ กรรมการผู้จัดการจริงใจครีเอชั่น เปิด ‘ศูนย์จ�ำหน่ายเครื่อง ส�ำอางเคธี่ โกลด์’ ชั้น ๒ ห้างสรรพสินค้าโลตัส (ทุ่งสง)

ดร.มงคล ธีระนานนท์ เปิด ‘Park Cafe ท่าศาลา’ วานิช พันธุ์พิพัฒน์ อดีตประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด นครฯ ชวนผองเพื่อนไปร่วมแสดงความยินดี สนใจ ซื้อหรือขายของเก่า ของใหม่ ของกิน ของใช้ ของสะสม เชิญ ไปตลาดนัดวันสุข ทุกวันศุกร์-เสาร์ ณ ไอบิซอเวนิวถนน คูขวาง สนใจจองล็อกขายฟรี ๓ เดือน ติดต่อ ๐๘๓-๑๘๒๒๑๙๙ (คุณเปิ้ล) หรือ ๐๘๒-๒๙๒-๒๔๓๗ (คุณอู๊ด)

หน้า ๕

เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ ฮอนด้ า ศรี น คร จั ด กิ จ กรรมบริ จ าคโลหิ ต เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนม์ พรรษา ๘๗ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีผู้เข้าร่วมบริจาคทั้งสิ้น ๑๓๘ ท่าน ขออนุโมทนาบุญกับ ทุกท่าน วันศุกร์-เสาร์ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ ขอเชิญร่วม ประเพณีให้ทานไฟวัดธาราวดี (วัดพ่อท่านจบ) ต.บางจาก อ.เมื อ ง จ.นครฯ วั น ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘ นั ก ศึ ก ษาภาคการศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรประจ� ำ การ (กศ.บป.) ม.ราชภั ฏ นครฯกั บ กลุ ่ ม ไบค์ เ กอร์ เ ชิ ญ เที่ ย ว งาน ‘RATJAPHAT BIG BIKE FOR CHARITY ๒๐๑๕’ ณ ลานเทศบาลต�ำบลท่างิ้ว เพื่อสมทบทุนสร้างพระพุทธสิหิงค์มิ่งมหาชัย

ห้างทองซีกวง สาขาถนนเนรมิต ท่าวัง, สาขาท่า ม้า, สาขาหัวอิฐ, สาขาสี่แยกคูขวาง ใกล้ปั๊มเชลล์, และ สาขาตลาดเสาร์อาทิตย์ จัดโปรโมชัน่ พิเศษสมนาคุณลูกค้า ซื้อหรือฝากทองค�ำรูปพรรณ มีสิทธิ์ลุ้นทองค�ำรูปพรรณ ๑ สลึง ทุกเดือน ซือ้ หรือฝากมาก มีสทิ ธิล์ นุ้ มาก แสดง วันเกิดตามบัตรประชาชน หรือแสดงการ์ดอวยพรวันเกิด จากทางร้ า น ลดค่ า ก� ำ เหน็ จ ทั น ที ๕๐% ในวั น เกิ ด นั้ น ผ่ อ นทองดอกเบี้ ย ถู ก ติ ด ต่ อ เพชรซี ก วง โทร. ๐๘๘-๗๖๑ ๒๔๕๑, ๐๘๔-๐๖๑ ๔๗๔๔ และหากท่านน�ำ ‘รักบ้านเกิด’ ฉบับนี้มา ลดค่าก�ำเหน็จทันที ๓๐%

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

ปั

นครศรีธรรมราช

ญญาพร ก้อนแก้ว (ทราย) หญิงสาว รูปร่างเล็ก เธอเป็นศิษย์เก่าโรง-เรียน เบญจมราชู ทิ ศ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ พบเธอขณะศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ป ี สุ ด ท้ า ย คณะวิ เ ทศศึ ก ษา สาขาไทยศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต มาพบอี ก ครั้ ง ใน ‘เฟซบุ๊ค’ สื่อออนไลน์ยอดนิยม ตอน นี้ เ ธออยู ่ ที่ แ วนคู เ วอร์ ประเทศแคนาดา หลังสนทนากันราวๆ ๑๐ นาที ‘รักบ้าน เกิด’ จึงขอสัมภาษณ์เพื่อแบ่งปันประสบการณ์แก่คนหนุ่มสาวที่อยากออกไปเผชิญ โลกกว้าง “ตอนเรียนที่คณะวิเทศศึกษา สาขา ไทยศึกษา ฉันได้ฝึกงานที่สถานฑูตไทย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย การ ฝึ ก งานที่ ส ถานฑู ต ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ที่ดีมาก การได้ท�ำงานในองค์กรที่ถือเป็น ตัวแทนของประเทศ ซึง่ มีระเบียบแบบแผน และวัฒนธรรมองค์กร ท�ำให้เราได้เรียนรู้ การท�ำงานจริงๆ รวมทั้งมารยาททางสังคม ต่ า งๆ บ่ อ ยครั้ ง ที่ มี โ อกาสได้ ติ ด ตามเจ้ า หน้าที่ของสถานฑูตไปออกงาน ท�ำให้เรา ได้ฝึกเข้าสังคมและติดต่อผู้คนไปในตัว มี โอกาสได้ใช้ภาษาอังกฤษที่ร�่ำเรียนมา นอก จากนั้ น การได้ ไ ปใช้ ชี วิ ต ในต่ า งแดน แม้ จะเป็นช่วงสั้นๆ เพียง ๒ เดือน แต่ก็เป็น ประสบการณ์ที่คุ้มค่ามากกับการท�ำงานใน อนาคต”

ส�ำหรับบางคนปริญญาตรีอาจเพียง พอ แต่ไม่พอส�ำหรับหญิงสาวใบหน้าอ่อน หวานคนนี้ “พอเรียนจบก็สนใจอยากฝึกภาษา เพิ่มเติม เลยตัดสินใจขออนุญาตทางบ้าน มาเรียนภาษาอังกฤษกับโครงการ study and work ที่แวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา เรี ย นจบหลั ก สู ต รจะได้ เ ป็ น ประกาศนี ย บัตรค่ะ ตอนนีอ้ ยูม่ าจะครบปีแล้ว” ได้ภาษา (พูดเขียนอ่านคล่อง) แล้ว ก็มีทางเลือกเพิ่มขึ้น “เรื่ อ งเรี ย นต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาโทก็ คิดๆ ไว้อยู่ ถ้าเรียนคงเลือกเรียนสาขาที่ จะน�ำมาใช้ในการท�ำงานได้จริง แต่คงใช้ ความรู้ที่ร�่ำเรียนมาท�ำงานสักพักหนึ่งก่อน

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เพราะถ้าเรียนต่อเลยเราจะตื้นเขิน เพราะ ไม่มีประสบการณ์อะไรในชีวิตจริงอะไรไป แลกเปลี่ยนกับอาจารย์หรือเพื่อนๆ ได้” แปลความว่าเธอไม่ก้มหน้าก้มตาอยู่ กับหนังสือเพียงอย่างเดียว “ตอนแรกๆ ก็ ศึกษาหาข้อมูลไว้หลายๆ ประเทศค่ะ ซึ่ง แคนาดาเป็ น ประเทศที่ น ่ า อยู ่ มี ค วาม ปลอดภัยสูง และเป็นประเทศที่น่าเรียนต่อ ติดอันดับต้นๆ มานานแล้ว” แต่การเดินทางไปเรียน ใช่ว่าจะไป ดุ่ยๆ แล้วมองหาเอาข้างหน้า “ติ ด ต่ อ ผ่ า นตั ว แทนค่ ะ ซึ่ ง สะดวก มาก โดยเราก็หาข้อมูลก่อนว่าแต่ละเมือง มี จุ ด เด่ น อย่ า งไรบ้ า ง สภาพแวดล้ อ ม สภาพอากาศ สถานศึ ก ษาที่ จ ะไป ผู ้ ค น ซึ่งแคนาดาเป็นประเทศที่ไม่ค่อยมีปัญหา เรื่ อ งการกี ด กั น ชาวต่ า งชาติ รวมทั้ ง ลั ก ษณะงานที่ ต ้ อ งไปท� ำ พอดู ๆ แล้ ว ก็ เป็นงานที่หนักเอาการอยู่ เช่น งานในร้าน อาหาร เสิร์ฟอาหาร รับออเดอร์ รวมถึง ท�ำความสะอาด เป็นต้น แต่เราก็เป็นคนสู้ งานอยู่แล้ว คิดว่าไม่มีปัญหาอะไร” เธอเรียนภาษาและใช้เวลาท�ำงาน หาประสบการณ์ “เรียนก็หนักนิดหน่อยค่ะอาทิตย์ละ ๕ วัน วันละประมาณ ๖-๗ ชั่วโมง เรียน สนุกมาก ครูที่สอนก็เคยสอนที่จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย มาก่ อ น มี เ ทคนิ ค การสอน ดี ได้เพื่อนต่างชาติเยอะมาก เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี บราซิล รวมทั้งเพื่อนคนไทย แต่เรา ก็พยายามไม่ไปเกาะกลุ่มกับกลุ่มนักเรียน ไทยมากจนเกินไป เพราะอยากมีโอกาส ฝึกภาษาให้ได้เยอะๆ เราคิดว่าไหนๆ ก็มา เรียนทั้งทีต้องพยายามหาโอกาสฝึกฝนให้ ได้มากที่สุดค่ะ” ถามว่าไปถึงแวนคูเวอร์แล้วหางาน ท�ำทันทีหรือเปล่า... “ช่วงแรกๆ เน้นเรื่องการเรียนอย่าง เดียวค่ะ เพราะเรียนเกือบทุกวัน พอใกล้ๆ จบคอร์ ส ถึ ง เริ่ ม มองหางานอย่ า งจริ ง จั ง

แล้ว พอท�ำงานจริงก็เปลี่ยนงานอยู่หลาย ที่เหมือนกัน เพราะบางร้านเจ้าของก็ค่อน ข้างตุกติก ท�ำแล้วไม่คุ้มหรือไม่สบายใจก็ เปลี่ยน” เพราะว่าชีวิตเลือกได้ “ตอนนี้ก็ท�ำอยู่ ๒ ร้าน บางวันยืนท�ำ ตั้งแต่เช้า ๙ - ๑๒ ชั่วโมง หรือบางวันท�ำ ควบ ๒ กะ เช้า - บ่าย มีเวลาพักแค่ชั่วโมง เดียวบนรถ เพราะต้องรีบไปท�ำงานอีกที่ หนึ่ง ก็เหนื่อยหน่อยค่ะ แต่ก็ไม่ได้ท�ำแบบ นี้ทุกวัน ค่าแรงในการท�ำงานอยู่ที่ชั่วโมงละ ประมาณ ๓๐๐ กว่าบาท ท�ำงานได้ก็เอามา จ่ายค่าเช่าบ้าน กิน เล่น ชอปปิ้ง” ถามถึงประเทศแคนาดาที่ได้ใช้ชีวิต “แคนาดาเป็นประเทศที่น่าอยู่มาก ไม่ ค ่ อ ยมี ป ั ญ หาเรื่ อ งเชื้ อ ชาติ ผู ้ ค นที่ นี่ ก็ น่ารัก มีอัธยาศัยที่ดีกับชาวต่างชาติอย่าง เรา เคยคิดเล่นๆ ว่าถ้าอยู่ได้ก็อยากอยู่ต่อ ไปยาวๆ เลย ตอนมาอยู่ที่นี่คนรอบข้าง เพื่อนๆ ก็เป็นห่วงว่าเราจะอยู่ได้ไหม ทน งานหนักๆ ไหวหรือเปล่า เพราะตอนอยู่ เมืองไทยเราก็มีหน้าที่เรียนอย่างเดียว ไม่ เคยท�ำงานแบบนี้มาก่อน ซึ่งเราก็ได้พิสูจน์ ให้ทุกคนเห็นแล้วว่าเราท�ำได้จริงๆ” ระหว่างเป็นเด็กในเมืองไทย แล้ว เป็ น ผู ้ ใ หญ่ เ ต็ ม ตั ว ในแคนาดา มี อ ะไร แตกต่างกันบ้าง “สิ่งหนึ่งที่เราสังเกตเห็นความแตก ต่างระหว่างเด็กไทยกับเด็กฝรั่งก็คือ เขา จะมีความเป็นผู้ใหญ่เร็วกว่า อายุ ๑๗-๑๘ ก็ท�ำงานส่งตัวเองเรียนแล้ว ความรับผิด ชอบต่อชีวิตตัวเองเลยเกิดขึ้นเร็วกว่า เขา มีความกล้าที่จะออกไปท่องโลกกว้าง มี เพื่อนๆ หลายคนสมัครมาเป็นอาสาสมัคร ในประเทศโลกที่สาม เช่น มาสอนภาษา หรือท�ำงานให้องค์กรการกุศลต่างๆ โลก ของเขากว้ า งเพราะความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเองและการเรี ย นรู ้ จ ากชี วิ ต จริ ง บาง คนท�ำงานหลายปีแล้วถึงกลับมาเรียนต่อ ก็ยังได้ เพราะระบบการศึกษาของเขาเป็น แบบ Lifelong learning สามารถเรียนรู้ ได้ตลอดชีวิต มีเพื่อนของเพื่อนหลายคน ที่เกษียณจากการท�ำงานแล้วกลับมาเรียน ปริญาตรีใหม่ ในสาขาที่เขาเพิ่งค้นพบตัว เองว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ช อบ แต่ ถ ้ า เป็ น บ้ า นเรา คงยากหน่อย เด็กฝรั่งเป็นพวกกล้าที่จะ แสดงออก เพราะเขาสอนกั น มาแบบนี้ ตั้งแต่ประถม เขาจึงกล้าออกไปเผชิญโลก กว้าง แต่เด็กไทยอาจจะคิดว่าเรียนจบแล้ว ท�ำงานก่อน แก่ๆ ค่อยไปเที่ยว ซึ่งตอนนั้น กว่าจะเห็นว่าโลกมันมีอะไรที่น่าท�ำและเรา ยังไม่รู้อีกเยอะก็หมดไฟแล้ว” ถาม-ตอบผ่าน ‘เฟซบุค๊ ’ บางครัง้ ต้อง เคาะส่งข้อความไปก่อน (อ่านต่อหน้า ๙)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ปี

๒๕๕๘ จะเป็ น อี ก ปี ห นึ่ ง ที่ ท ้ า ทาย ความรู้ ความสามารถของนักธุรกิจ ในการที่จะน�ำพาธุรกิจของตนให้เดินต่อไป หลังจากผ่านปี ๒๕๕๗ มาอย่างยากล�ำบาก แต่ ก็ อ าจมี บ างธุ ร กิ จ ที่ ส ามารถเติ บ โตได้ เช่นกัน ในโลกความเป็นจริงของธุรกิจที่ มีขึ้น มีลง คละเคล้ากันไปทุกยุคทุกสมัย แต่ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก “ขึ้ น ได้ ไ ม่ เ ท่ า ไรแล้ ว ก็ ล ง ลงมาแล้ ว ก็ ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว หลั ง ปรั บ ตั ว ได้ ทั น ท่วงที” นับวันแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว “การเปลี่ยน ความต้องการแบบพลิกฝ่ามือไม่มีความ ภักดีถึงสินค้าใดสินค้าหนึ่งหากไม่พอใจ การค� ำ นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม การเป็ น ส่ ว น หนึ่งของสังคมจากโซเชียลมีเดีย มีการ รวมกลุ่มต่างๆ เวลาไม่ได้เป็นข้อจ�ำกัด อีกต่อไป การอยากมีประสบการณ์ร่วม มีกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น”เพื่อสนองตอบ ต่อพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปอย่าง รวดเร็ว จึงเป็นโจทย์ที่ไม่ง่ายนัก ส�ำหรับนัก ธุรกิจและนักการตลาดที่จะสามารถครอง ใจผู้บริโภคให้อยู่กับสินค้าและบริการของ ตนได้อย่างยั่งยืนดั่งเช่นอดีต ปรากฏการณ์ ตกรุ่นจึงเกิดขึ้นให้เราเห็นมากมาย ย้ อ นกลั บ มาดู เ ศรษฐกิ จ ไทยในปี ๒๕๕๗ ซึ่ ง มี ก ารคาดการณ์ ว ่ า จะมี ก าร เติบโต ๑.๒ – ๑.๔% และในปี ๒๕๕๘ เติบโต ๓.๕ – ๔% “เศรษฐกิจไทยปัจจุบัน เปรี ย บเสมื อ นคนป่ ว ยที่ เ พิ่ ง ออกจาก โรงพยาบาลต้องให้เวลาฟื้นฟูอีกสักระยะ ก่ อ นกลั บ มาแข็ ง แรงอี ก ครั้ ง แต่ แ รงส่ ง ทางเศรษฐกิ จ ยั ง ไม่ เ ข้ ม แข็ ง พอ ท� ำ ให้ ความหวังที่ได้เห็น จีดีพีไทยรีบาวด์ ๔%

นครศรีธรรมราช

ในปี ห น้ า รางเลื อ นลง ด้ า นต่ า งประเทศยั ง มี ความกังวลกับเศรษฐกิจ ยุโรป ญี่ปุ่น จีนอยู่” (นาย เชาว์ เก่ ง ชน กรรมการ

ผู้จัดการบริษัทศูนย์วิจัยกสิกรไทย จ�ำกัด) เป็นไงครับพอมองเห็นภาพเศรษฐกิจไทย ในปี นี้ ชั ด เจนขึ้ น มั้ ย ครั บ ? ส� ำ หรั บ ภาค ใต้ บ ้ า นเราหลั ง จากโดนถล่ ม ด้ ว ยราคา ยางพาราที่ตกต�่ำจนท�ำให้ชาวสวนยางต้อง อยู่ในสภาพ “ลูกต้องอด...รถถูกยึด” ส่ง ผลต่ อ การจั บ จ่ า ยใช้ ส อย ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ใน เมือง - ชนบท เงียบวังเวง อย่างไม่เคยเป็น มาก่อน ความหวังว่ารัฐบาลใหม่ที่น�ำโดย คสช. จะช่วยเยียวยาให้เพื่อให้ยางพารา ขยับไปถึงกิโลกรัมละ ๖๐ – ๘๐ บาทเป็น อย่ า งต�่ ำ ก็ ยั ง เป็ น สิ่ ง ที่ ต ้ อ งรอต่ อ ไป มี ค น โทร.มาถามผมว่าไปขอส่งเสริมจากกองทุน สวนยางและปรั บ ปรุ ง ที่ ดิ น แล้ ว จะปลู ก ยางดีมั้ย? เขามีพื้นที่อยู่ ๒๐ ไร่ ผมไม่รู้จะ ตอบอย่างไร? ก็ได้แต่บอกว่าถ้าจะปลูกก็ ต้องรออีก ๖ - ๗ ปีกว่าจะตัดได้ ระหว่าง นี้ก็ให้ปลูกพืชล้มลุกหารายได้ไปด้วยหรือ ไม่ ก็ ไ ปเจรจากั บ กองทุ น ฯใหม่ ล ดพื้ น ที่ เพาะปลูกยางพาราเพียง ๑๐ ไร่ ที่เหลือ ก็ ป ลู ก พื ช สวนอื่ น ๆ ไว้ ใ ห้ มี ค วามหลาก หลายไม่ ต ้ อ งพึ่ ง พายางพาราเพี ย งอย่ า ง เดี ย ว ก็ ท� ำ ให้ มี ค วามเสี่ ย งลดลงกว่ า เดิ ม จะให้ตอบว่า “แล้วอนาคตราคายางจะ ดีขึ้นมั้ย? ผมตอบไม่ได้จริงๆ ครับ” แต่

เดือนมกราคม ๒๕๕๘ วันอาทิตย์ที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๘ วันพระขึ้น ๑๕ ค�่ำ วันจันทร์ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๘ วันพระแรม ๘ ค�่ำ วันจันทร์ที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ วันพระแรม ๑๕ ค�่ำ วันอังคารที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๘ วันพระขึ้น ๘ ค�่ำ

อย่างน้อยถ้ามีสวนยางไม่มากแล้วกรีดเอง โดยไม่มีลูกจ้างมาช่วยแบ่งก็น่าจะพออยู่ได้ และหากมีพืชสวนอื่นๆ เช่นทุเรียน มังคุด ลองกอง สะตอ และพืชปลูกง่ายและได้ผล เร็ว เช่น ผักต่างๆ รวมทั้งผักปลอดสารพิษ ผสมปนเปกันไปหารายได้จากพื้นที่ ๒๐ ไร่ ให้เกิดประโยชน์และมีรายได้ตลอดไป ซึ่ง มี ตั ว อย่ า งที่ เ กษตรกรมื อ อาชี พ ท� ำ ส� ำ เร็ จ มากมายให้ไปศึกษาลอกเลียนแบบเขามา ในขณะที่ ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก กิ จ การ ส่ ว นตั ว ในปี ๒๕๕๗ ที่ ผ ่ า นมาก็ ป ระสบ ภาวการณ์ แ ข่ ง ขั น กั น เองจนแทบจะไม่ มี ก�ำไร ธุรกิจอะไรดีก็แข่งกันเปิด ผมเห็นร้าน กาแฟเป็นตัวอย่างหนึ่งที่เปิดกันมากรวมถึง ธุรกิจค้าขายต่างๆ ที่เปิดกันตามริมฟุตบาท ทางเท้า - พื้นที่ย่านการค้าต่างๆ ผ่านมาไม่ ถึง ๒ เดือนก็เห็นเลิกรากันไป แห่กันเปิด ตามใครเปิดแล้วพอขายได้ คนใหม่ก็เข้า มา “ติดกับดักหลุมพรางโฆษณาชวนเชื่อ และความเชื่อมั่นในตนเองมากเกินไป” วั น นี้ ส� ำ หรั บ คนที่ อ ยากท� ำ ธุ ร กิ จ เป็ น ของ ส่วนตัวนั้น สิ่งส�ำคัญที่เราต้องรู้ก็คือไม่มี อะไรได้ ม าง่ า ยๆ ส� ำ คั ญ คื อ การยื น หยั ด อดทน เรียนรู้อย่างเข้าใจในอาชีพต่างๆ ที่ เ ราท� ำ ในทุ ก ๆ อาชี พ ความแตกต่ า ง

หน้า ๗

ระหว่ า งมื อ อาชี พ กั บ มื อ สมั ค รเล่ น คื อ มื อ อาชีพท�ำธุรกิจแล้วมีก�ำไรอยู่ได้ มือสมัคร เล่นท�ำแล้วขาดทุนอยู่ได้ไม่นาน ประเด็น คื อ การเลื อ กของเรา เลื อ กที่ จ ะเป็ น มื อ อาชีพหรือมือสมัครเล่นกันแน่...? การหา ช่องทางใหม่ๆ ในธุรกิจวันนี้มีมากมาย เช่น ค้าขายผ่านออนไลน์ (Ecommerce) ธุรกิจ เครือข่าย (Network Marketing) เพราะเป็น ธุ ร กิ จ ที่ ล งทุ น ต�่ ำ และได้ ผ ลตอบแทนที่ ดี แต่ ส� ำ คั ญ มากคื อ การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งจริ ง จั ง แบบมืออาชีพ ข้อควรระวังคือการเลือก บริษัทที่จะเข้าเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ “ต้อง เข้าใจว่านี่คือการท�ำธุรกิจจึงต้องรู้จริง เรื่องของบริษัทฯ - สินค้า - ลูกค้ากลุ่ม เป้าหมาย - คู่แข่งขัน - อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจ และส�ำคัญมากๆ คือต้องมีหัวใจ ผู้ประกอบการ จงรับผิดชอบอย่างเต็มที่” และภาพที่ น ่ า ห่ ว งอี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ การขยายตั ว ของการก่ อ สร้ า งอาคาร พาณิชย์ บ้านพักอาศัยของโครงการต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ เริ่ ม ส่ ง ผลต่ อ ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โ ดย เฉพาะรายย่ อ ยและขนาดเล็ ก ที่ มี ทุ น จ�ำกัด หากโครงการฯ ไม่มีผู้ซื้อหรือธนาคาร เข้ ม งวด การปล่ อ ยสิ น เชื่ อ ฯ ก็ ย ่ อ มเป็ น ไปได้ที่จะประสบภาวะขาดทุน และนี่คือ อีกฉากหนึ่งหลังจากที่เศรษฐกิจเฟื่องฟู มี ให้เราเห็นกันทุกยุคทุกสมัย โลกธุรกิจอาจ ไม่สวยงามดั่งที่หลายคนคิดก็ได้ สิ่งที่ทำ� ให้ นักธุรกิจท้องถิ่นรายเล็ก รายย่อย เริ่มออก อาการอยากเลิกรา อยากวางมือ แต่ก็ท�ำ ไม่ได้ สภาพที่เราจะเห็นต่อนี้ไปก็คือ ธุรกิจ ที่ตกอยู่ในสภาพ “โตก็ไม่ได้ ตายก็ไม่เป็น แสนล� ำ เค็ ญ นั ก ” ความจริ ง เป็ น แบบนี้ แหละครับ สุดท้ายก็ต้องท�ำใจ ตัดใจ และ เลิ ก ราไปตามสภาพ โดยเฉพาะหากรุ ่ น ลูกรุ่นหลานไม่รับช่วงต่อ ก็จะง่ายต่อการ ปิดกิจการหรือไม่ก็ปรับเปลี่ยนธุรกิจใหม่ ต่อไป นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๗ ธ.ค. ๕๗


หน้า ๘

นครศรีธรรมราช

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

<< ต่อจากหน้า ๑

นโยบายของรั ฐ บาลที่ น างกอบกาญจน์ วั ฒ นวรางกูร ต้องการกระจายการท่องเที่ยวจากจังหวัดใหญ่ ไปยังจังหวัดน่าเที่ยวอื่นๆ แต่จะต้องดูแลไม่ให้กระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคตด้วย กิจกรรมครั้งนี้นายพีระ ศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพินิจ บุญเลิศ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายมาโนชญ์ เสนพงศ์ นายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช คณะกรรมการหอการค้าจังหวัด และผู้ประกอบ การด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง เดินทางเข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมาก นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร กล่าวว่า จังหวัด แนวคิดหลักว่า ‘นครศรีธรรมราชเมืองสองธรรม’ คือ นครศรี ธ รรมราชมี ท รั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วที่ ง ดงาม มี ‘ธรรมะ’ กับ ‘ธรรมชาติ’ ซึ่งเป็นเอกภาพที่ไม่สามารถ อัตลักษณ์ความเป็นไทยทักษิณ เป็นศูนย์กลางศิลป- แยกจากกัน เพราะเรามีวัดพระมหาธาตุ อันเป็นศูนย์รวม วัฒนธรรมของภูมิภาค มีความ พร้ อ มทั้ ง ด้ า นภู มิ ศ าสตร์ ข อง ที่ ตั้ ง การเป็ น แหล่ ง รวมของ ศาสนาถึง ๕ ศาสนา มีศักยภาพ เป็นเมืองท่องเที่ยวที่น่าค้นหา ‘โครงการ ๑๒ เมืองต้องห้าม... พลาด’ ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจะเป็นส่วนหนึ่ง ของการผลั ก ดั น ให้ น ครศรี ธรรมราชเป็ น เมื อ งเป้ า หมาย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ภายใต้ ชื่ อ

นายภราเดช พยัฆวิเชียร

ความศรัทธาของคนไทยทั้งประเทศ ซึ่งก�ำลังด�ำเนินการ เพื่อขอเป็นมรดกโลก ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจ และอยาก ให้นักท่องเที่ยวทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของและ ร่วมชื่อชม และมีธรรมชาติที่งดงามสมบูรณ์ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวว่า จังหวัดนครศรีธรรมราชมี ท รั พ ยากรด้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ พ ร้ อ มมาก มีอัตลักษณ์ โดยเฉพาะมีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่อดีต ในฐานะที่เป็นต้นก�ำเนิดหรือเมืองหลวงของอาณาจักร ศรีวิชัย การท่องเที่ยวทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และ โบราณสถานนั้นมีความโดดเด่นมาก ซึ่งรู้สึกดีใจที่การท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทย ได้มีแคมเปญ ๑๒ เมืองต้องห้าม... พลาด ซึ่งบรรจุจังหวัดจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นหนึ่งใน โครงการนี้ จึงหวังว่าการร่วมเสนอความคิดเห็นของภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องจะท�ำให้ได้พบทิศทางที่ชัดเจน ทิศทางที่ เป็นอัตลักษณ์ นางสาววาริน ชิณวงศ์ ประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีธรรมราช กล่าวว่า ชาวนครศรีธรรมราชมีความ ยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งมาก ที่ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ ประเทศให้ ค วาม ส�ำคัญ ให้โอกาสกับจังหวัดนครศรีธรรมราช ผลักดันการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่จะสามารถสร้างรายได้ พัฒนา เศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ได้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม หอการค้ า จังหวัดนครศรีธรรมราช จะได้ร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ ร่วมกันท�ำการท่องเที่ยวเชิงรุก ระดมสรรพก�ำลังทุกด้าน หวังจะให้เป็นแหล่งรายได้ใหม่ที่มั่นคง สร้างความมั่งคั่ง ให้กับชาวนครศรีธรรมราช แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ และ กระจายรายได้ให้เกิดความสุขที่ยั่งยืน นายมาโนช เสนพงศ์ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า ก่อนนี้การท่องเที่ยว จังหวัดนครศรีธรรมราชด้อยกว่าหลายจังหวัด เพราะว่า ไม่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบเป็นหนึ่งเดียวกัน แต่เป็น ต่างคนต่างพัฒนา นครศรีธรรมราชมีทรัพยากรธรรมชาติมาก มีมรดกธรรมที่คนรุ่นก่อนมอบไว้ให้ แต่เราไม่ได้ สานต่อ หรือสานต่อก็ไม่ได้เต็มที่ แต่คิดว่าสักวันคงจะมี โอกาสที่จะมารวมกลุ่มกัน วันนี้ อบจ. กับ จังหวัดคือผู้ว่าฯ จับมือเดินไปในทิศทางเดียวกัน อบจ.จะท�ำอย่างไรให้ นักท่องเที่ยวรู้จักไปทั่วโลก อนึ่ง เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ส�ำนักงาน การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเจ้า ภาพจัดประชุมผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สังกัดส�ำนักงาน การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดในพื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ และเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่และใกล้เคียงเพื่อระดม ความคิดเห็นเพื่อทบทวนแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่ง ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕- ๒๕๕๘ เพื่อสรุปการท�ำงานในรอบ ๒ ปี เป็นแนวทางปรับปรุงให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่ า ง โดยเชิ ญ นายภราเดช พยั ฆ วิ เ ชี ย ร อดี ต


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ผู ้ ว ่ า การการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย มาบรรยายพิเศษในหัวข้อ ‘แนวทางการ พั ฒ นาท่ อ งเที่ ย วไทยให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงกระแสท่ อ งเที่ ย วโลก’ เนื้ อ หาสรุ ป คร่ า วๆ ว่ า การก� ำ หนดแผน พัฒนาการท่องเที่ยวไทยต้องเริ่มจากการ สร้างองค์ความรู้ด้านโครงสร้าง กฎหมาย และระเบี ย บที่ ส อดรั บ กั บ การท่ อ งเที่ ย ว แก่ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และการให้ความ ส�ำคัญกับ ๓ ประเด็นหลัก คือ สถานการณ์ การท่องเที่ยวของไทย, สถานการณ์การ ท่องเที่ยวของโลก และการปรับตัวสู่การ ท่ อ งเที่ ย วที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง หน่ ว ยงานหรื อ ผู ้ เกี่ยวข้องร่วมประชุมเพื่อคิดและก�ำหนด แนวทางการด�ำเนินงานกันน้อยมาก ต่าง ฝ่ า ยต่ า งท� ำ เฉพาะในพื้ น ที่ ข องตั ว เอง ขาดการเชื่อมโยงและโอกาสในการพัฒนา ทั้งขาดระบบการบริหารจัดการที่ดีท�ำให้ การท่องเที่ยวไม่กระจายตัว ในอนาคตการ ท่องเที่ยวในแนววิถีชีวิตแบบดั้งเดิมจะได้ รับความนิยมเป็นพิเศษ ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของนางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร ที่ได้ไว้ ๕ ข้อ ได้แก่ การพัฒนาต้นแบบการ ท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์, ส่งเสริม เส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน, เพิ่มศักยภาพ เครื อ ข่ า ยการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน เพื่ อ รองรับการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย น (เออี ซี ) , ส่ ง เสริ ม แหล่ ง ท่ อ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีศักยภาพในระดับ นานาชาติ และ เพิ่มความรู้ให้แก่ชุมชน ในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวต้นแบบ

หน้า ๙

รายงาน

และการท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง ภายในต้ น เดื อ น มกราคม ๒๕๕๘ คณะกรรมการฝ่ายวิชา การร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราชเตรียมจัดประชุมสัมมนา ตรวจ สอบแผนบริ ห ารการท่ อ งเที่ ย ว แผน บริหารจัดการของวัด และแผนบริหาร จั ด การของจั ง หวั ด ที่ มี ต ่ อ องค์ พ ระบรม ธาตุเจดีย์ เพื่อตรวจสอบแต่งเติมในส่วน ที่ยังขาดตกบกพร่อง หากผ่านบทที่ ๕ ไป ได้ บทที่เหลือถือเป็นเรื่องส�ำคัญน้อยลง ไป ขณะนี้การจัดท�ำเอกสารมีความคืบ หน้าไปมากประมาณ ๗๕ เปอร์เซ็นต์ จะ ต้องจัดท�ำให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ ในเดือน

กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ หลังจากนั้นส่งเข้าสู่ กระบวนการกลั่นกรองของกรมศิลปากร จากนั้นส่งต่อไปที่คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก และ ต่อไปที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และเสนอเข้าที่ประชุมคณะ รัฐมนตรีพิจารณา และส่งเอกสารฉบับที่ ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีภายใน เดือนสิงหาคมปี ๒๕๕๘ ให้ศูนย์มรดกโลก ของยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง หาก ไม่มีข้อแก้ไขจะส่งให้คณะกรรมการมรดก โลกพิจารณา

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธาน สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวถึงเรื่องคราบสนิมพระบรมธาตุที่ ประชาชนวิพากษ์วิจารณ์ทางสื่อสังคม ออนไลน์ในทางลบ ว่ากรมศิลปากรมอบ ให้ชา่ งสิบหมูม่ าตรวจสอบสาเหตุทแี่ ท้จริง และต้องประมูลสร้างนั่งร้านขึ้นไปตรวจ สอบ แต่เรือ่ งนีเ้ ป็นเสมือนการฟ้องว่า เรา ไม่ได้เอาใจใส่ดูแลองค์พระบรมธาตุ ซึ่ง เป็นปูชนียสถานส�ำคัญที่สุดที่ก�ำลังเป็น มรดกโลกในเวลาอีกไม่ช้า กรมศิลปากร ด�ำเนินการส่งช่างและผู้เชี่ยวชาญลงมา ด�ำเนินการตัง้ แต่ปลายปี ๒๕๕๗

“ระบบการจราจรที่นี่ค่อนข้างดี รถ ไม่ติดมาก ผู้คนนิยมใช้รถสาธารณะ เพราะ สะดวกรวดเร็ ว และตรงเวลามาก บอก จะออก ๑๑.๐๙ น. พอถึ ง เวลาเขาออก เลย คนวิ่งตามก็ไม่สน ก�ำหนดเวลาการ เดินรถในแต่ละเที่ยวก็บอกไว้ชัดเจน คน รอที่ ป ้ า ยสามารถเช็ ค ได้ เ ลยว่ า รถจะมา

ถึงภายในกี่นาที มีระบบติดตามรถให้คน ตรวจสอบได้ว่ารถที่ก�ำลังรอขณะนี้อยู่ตรง จุดไหนแล้ว ไม่ต้องเสียเวลามายืนชะเง้อ รอ เอาเวลาไปนั่งอ่านหนังสือจิบกาแฟรอ ได้เลย ส่วนคนที่ใช้รถยนต์ส่วนตัวก็มักจะ ใช้รถยนต์ขนาดเล็ก ไม่ค่อยมีใครใช้รถยนต์ ขนาดใหญ่ๆ โดยไม่จ�ำเป็นเหมือนบ้านเรา เห็นคนอื่นซื้อก็ซื้อตามๆ กัน ผู้คนของเขา เคารพกฎหมาย วินัยการจราจรก็ค่อนข้าง มีระเบียบ เพราะบทลงโทษหนักมาก ไม่ ค่อยมีการขับปาดหน้าหรือแซงกัน และอีก อย่างที่บ้านเขาไม่มีแน่ๆ คือต�ำรวจจราจร ที่ ม าตั้ ง ด่ า นรี ด ไถแบบบ้ า นเรา เคยถาม เพื่ อ นเหมื อ นกั น ว่ า บ้ า นเธอมี แ บบนี้ ไ หม เขาบอกใครท�ำก็ไล่ออกสถานเดียว และ ถ้ า ใครท� ำ ผิ ด กฎจราจรไปเสนอสิ น บนให้ ต�ำรวจ โดนปรับหนักและติดคุกแน่” หลายประโยคบอกเล่าข้างบน ‘รัก บ้ า นเกิ ด ’ ปล่ อ ยให้ ผู ้ อ ่ า นวิ นิ จ ฉั ย ด้ ว ย ตัวเอง “อย่างที่บอกไว้ในตอนต้นแล้วว่า

ถ้าเป็นไปได้ใจก็อยากอยู่ต่างประเทศต่อ ไปนานๆ แต่เรามีงานของครอบครัวที่ต้อง กลับไปรับผิดชอบต่อ ซึ่งก็คงจะถือโอกาส อยู ่ ห าประสบการณ์ ใ ห้ น านที่ สุ ด และ ถ้ า มี โ อกาสอาจกลั บ มาเรี ย นต่ อ อี ก ครั้ ง หรือเดินทางไปท่องเที่ยวหาประสบการณ์ ให้มากที่สุดเท่าที่จะมีโอกาส” บอกเล่าซ�้ำ--ย�้ำให้ตระหนัก “การมาเรี ย นและท� ำ งานในต่ า ง แดนไม่อยากให้คิดว่าเป็นเรื่องเท่หรือมา เที่ยวเฉยๆ หรือได้มาแต่งตัวสวยๆ แต่ เป็นการมาหาความรู้ ประสบการณ์ เพื่อ เปิ ด มุ ม มองโลกทั ศ น์ ใ หม่ ๆ น� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ มองหาข้ อ ดี ข องเขามาปรั บ ใช้ กั บ ตัวเอง ไม่จมอยู่แต่ในห้อง หาโอกาสไป ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ดู บ ้ า นเมื อ งของเขา ถ้ า ตั้งใจมาเรียนภาษาก็ถือโอกาสพูดกับชาว ต่างชาติ ฝึกฝนตัวเองให้ได้มากที่สุดค่ะ” ปัญญาพร ก้อนแก้ว บอกว่าตัว เองเป็นผู้หญิงตัวเล็ก แต่ประสบการณ์ และสติปัญญา ไม่ได้เล็กเลย

<< ต่อจากหน้า ๖ รอค�ำตอบหรือเขียนถามต่อไป ปัญญาพรส่งข้อความค่อนข้างยาวให้อ่านก่อน “พอเราได้มาเห็นวัฒนธรรมที่แตก ต่างออกไปจากสภาพแวดล้อมที่เราเคย อยู่มา มันท�ำให้เกิดการเปรียบเทียบ มอง เห็ น ว่ า อะไรคื อ ข้ อ ดี ข องเขาที่ เ ราพอจะ รับมาเป็นแนวคิดในการพัฒนาตัวเองได้ บ้าง จึงอยากจะฝากบอกน้องๆ ว่า ถ้า มีโอกาสออกไปหาประสบการณ์ในโลก กว้างก็ควรลองดู ก่อนอื่นก็ตั้งใจเรียนให้ เก่ ง ภาษาห้ า มทิ้ ง โดยเด็ ด ขาด ลองหา โอกาสไปเรียนหรือไปสอบชิงทุนเรียนต่อ ต่างประเทศดู เราจะรู้ว่าในโลกกว้างใบ นี้ยังมีอะไรอีกมากมายที่รอให้เราออกไป ค้นหา” แวนคูเวอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็น เมืองน่าอยู่น่าเที่ยวเมืองหนึ่งในโลก

นครศรีธรรมราช


หน้า ๑๐

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

เสนอโดย ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ตอนจบ) และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ๓. พื้นที่เปิดโล่งและมุมมอง พื้ น ที่ โ ล่ ง ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางด้านประวัติศาสตร์ บางส่วน ถูกบุกรุกเพื่อการอยู่อาศัย หรือ ใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น บริเวณคูเมืองด้านทิศตะวันออก มี ก ารสร้ า งอาคารที่ พั ก อาศั ย ถาวร หรื อ มี ก ารสร้ า งอาคาร ส� ำ หรั บ เป็ น ร้ า นอาหารคร่ อ ม บริ เ วณคลองคู เ มื อ ง ซึ่ ง ควรให้ ย้ายอาคารออกไป และปรับพื้นที่ โล่ ง เสริ ม ภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ กั บ บริ เ วณ ให้เป็นพื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการ และถู ก ต้ อ งตามรู ป แบบของ คู เ มื อ ง และชานเมื อ งซึ่ ง เป็ น องค์ประกอบของเมืองที่มีความ ส� ำ คั ญ ทางด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ และโบราณคดี และมีทัศนียภาพ ที่ ส ว ย ง า ม แ ล ะ ถู ก ต ้ อ ง ต า ม เอกลั ก ษณ์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เป็นที่หมายตาของเมือง (Landmark) ซึ่ ง จะต้ อ งรั ก ษาความ เป็ น ที่ ห มายตาของเมื อ งไว้ ใน จุดที่สามารถมองเห็นได้ง่ายโดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในทิ ศ ทางที่ ม อง

เห็นจากถนนราชด�ำเนิน ซึ่งเป็น ทางสัญจรหลักของเมือง โดยมิให้ มีสิ่งใดมาบดบังหรือเปลี่ยนแปลง ความส�ำคัญและความเด่นชัดของ พระบรมธาตุเจดีย์ มาตรการและพื้นที่ที่ต้องการ ๑. ขึ้ น ท ะ เ บี ย น โ บ ร า ณ สถานคู เ มื อ งทั้ ง สี่ ด ้ า น และ ก� ำ หนดขอบเขตของคู เ มื อ งที่ ชั ด เจน และท� ำ การขุ ด ลอกให้ ปรากฏชั ด เจนและรื้ อ ย้ า ยสิ่ ง ก่อสร้างที่รุกล�้ำบริเวณพื้นที่แนว ก� ำ แพงเมื อ งและคู เ มื อ งและจั ด ภู มิ ทั ศ น์ ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ ที่ ถู ก ต้ อ ง ตามรูปแบบ ๒. ควบคุ ม การติ ด ตั้ ง ป้ า ย โฆษณาบริ เ วณริ ม รั้ ว วั ด ทุ ก ชนิ ด เพื่ อ ป้ อ งกั น การบดบั ง โบราณ สถาน และปัญหาสภาพแวดล้อม ทางมลทัศน์ (Visual Pollution) ๓. ควบคุ ม ความสู ง และ รู ป แบบอาคารบริ เ วณโดยรอบ โบราณสถานและในเส้นทางการ เข้าถึงหลัก โดยไม่ให้มีความสูง เกิน ๑๒ เมตรที่สันหลังคา

บทสรุปและข้อเสนอแนะ การศึ ก ษาแนวทางการ ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห ารสู ่ ม รดกโลก เป้ า หมายหลั ก คื อ การหาแนวทางที่ ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห ารให้ มี ลั ก ษณะทาง กายภาพที่ ส ่ ง เสริ ม ความส� ำ คั ญ ขององค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ใ ห้ เป็ น จุ ด หมายตาและเป็ น ศู น ย์ กลางของเมือง จึงท�ำให้การศึกษา ในครั้งนี้มีความเกี่ยวพันกับชุมชน และองค์ประกอบต่างๆ ของเมือง ด้วย ดังนั้นแนวทางในการปรับปรุ ง พื้ น ที่ โ ดยรอบวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารนอกจากจะ ต้องค�ำนึงถึงความส�ำคัญของวัด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารและ องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นหลัก แล้วยังต้องค�ำนึงถึงการปรับปรุง พื้นที่ให้สามารถรองรับกิจกรรม ของชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย เพื่อ ท�ำให้แนวทางการพัฒนาสามารถ มี แ นวทางร่ ว มกั น ได้ แ ละเกิ ด ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย การด�ำเนินการเพื่อให้เป็น

ไปตามแผนที่ ว างไว้ ใ นการออก แบบปรับปรุงจะขึ้นอยู่กับหน่วย งานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ พั ฒ นาเมื อ ง โดยเฉพาะหน่ ว ย งานท้ อ งถิ่ น คื อ เทศบาลนคร นครศรี ธ รรมราช กรมศิ ล ปากร ที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช รวมทั้ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องพื้ น ที่ คื อ ส� ำ นั ก พุทธศาสนาและวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห ารเองที่ ต ้ อ งมองเห็ น ความส�ำคัญของการปรับปรุงพื้น ที่ จึ ง จะเกิ ด แรงผลั ก ดั น ในการ วางแผนและพัฒนาต่อไป ส�ำหรับ ปัจจัยหลักในการพัฒนาอีกอย่าง หนึ่ ง คื อ งบประมาณในการ พัฒนา โดยหน่วยงานของรัฐและ ทางวั ด จะต้ อ งเป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น และจัดหางบประมาณเพื่อก่อให้ เกิดการด�ำเนินการ และเป็นเรื่อง ที่น่ายินดีว่าในการปรับปรุงพื้นที่ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารสู ่ มรดกโลกประชาชนทั่ ว ไปจะมี ความต้ อ งการที่ จ ะสนั บ สนุ น ใน ด้านปัจจัยต่างอย่างเต็มที่ ท�ำให้ เชื่ อ ได้ ว ่ า ในการด� ำ เนิ น การตาม แผนพั ฒ นานั้ น สามารถหางบ

ระเทศที่ อ ยู ่ ติ ด กั บ ออสเตรี ย อี ก เมื อ ง หนึ่งคือประเทศสาธารณรัฐเช็ก ซึ่งเมื่อ ก่อนเราจะรู้จักกันในชื่อประเทศ ‘เช็คโกสโล วะเกีย’ มีสินค้าอุตสาหกรรมมาขายในเมือง ไทยช่ ว งหกเจ็ ด สิ บ ปี ก ่ อ นมามากมาย ถู ก รวมเข้าไปอยู่ในสหภาพโซเวียตอยู่พักหนึ่ง จนได้แยกประเทศออกมาเป็น ‘สาธารณรั ฐ เช็ ก ’ ในปั จ จุ บั น เศรษฐกิ จ ไม่ ดี เ ท่ า ออสเตรีย แต่เป็นเมืองเก่าแก่ที่สวยงาม ทั้ง ด้านสถาปัตยกรรมและธรรมชาติ เป็นเมือง ที่ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกด้วย คือ เมือง ‘เชสกี้คุลมล็อฟ’ มีความโดดเด่นทาง ด้านวัฒนธรรม เมืองเชสกี้คลุมล็อฟ เป็นเมืองขนาด เล็ก เดินเที่ยวได้ทั่วทั้งเมือง บ้านเรือนเก่า แก่ ยั ง รั ก ษาเอาไว้ อ ย่ า งดี ที่ บู ร ณะใหม่ ก็ เลี ย นแบบของเดิ ม ไม่ ใ ห้ ผิ ด เพี้ ย น ส่ ว นที่ สร้ า งใหม่ ก็ ดู แ ทบไม่ อ อก เลี ย นแบบงาน สถาปั ต ย์ อ ย่ า งดั้ ง เดิ ม แต่ ภ ายในกลั บ ทั น

สมัยมีเทคโนโลยีพร้อม ถนนภายในเมือง เชสกี้ ค ลุ ม ล็ อ ฟก็ ยั ง มี ร ถรางอยู ่ รถม้ า ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ม ากมายกว่ า เมื อ ง อื่ น ๆ จอดเรี ย งกั น เป็ น แถว วิ่ ง เป็ น จ้ า ว ถนน เพราะรถเก๋ ง ส่ ว นตั ว ก็ ไ ม่ อ นุ ญ าต ให้ เ ข้ า มาในเขตเมื อ งเก่ า มี เ ลนถนน ส�ำหรับรถแท็กซี่ไฟฟ้าเพียงช่องทางเล็กๆ ทางจั ก รยานและทางคนเดิ น ถู ก จั ด ให้ ใหญ่ ก ว่ า เมื อ งเขาเน้ น ให้ ใ ช้ เ ดิ น และขี่ จั ก รยานเป็ น หลั ก รถที่ ใ ช้ น�้ ำ มั น อนุ ญ าต

ให้เข้าในบางเขตเท่านั้น แต่ก็เป็นเฉพาะรถ นักท่องเที่ยวเท่านั้น ส่วนในเขตเมืองเก่า ไม่อนุญาตให้เข้าไปเด็ดขาด มีเฉพาะรถราง รถเมล์ไฟฟ้า รถม้าและจักรยานเท่านั้น เพื่อ ป้องกันมลภาวะทั้งเสียงและอากาศ ในเมื อ งจะมี แ ต่ แ ม่ น�้ ำ ปั ต ตาว่ า ไหล ผ่านกลางเมือง น�้ำใสสะอาด น�้ำเสียจาก ครั ว เรื อ นไม่ ส ามารถระบายลงในคลอง เหมือนบ้านเรา กระแสน�้ำค่อนข้างแรง เมื่อ ถึงทางโค้งจะมีการท�ำสิ่งสกัดกั้นกระแสน�้ำ

ประมาณเข้ามาใช้ในการด�ำเนิน การได้ โดยอาจจะต้ อ งแบ่ ง ออกเป็ น ส่ ว นๆ ในการพั ฒ นา ตามล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ และงบ ประมาณที่มี ดังนั้นในการบริหารจัดการ พื้ น ที่ (Management Plan) การคุ ้ ม ครองป้ อ งกั น (Protection) และการติดตามตรวจสอบ (Monitoring)ให้ เ ป็ น ไปตาม แผนการพั ฒ นานั้ น จ� ำ เป็ น ต้ อ ง อาศัยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายผังเมือง พระราชบัญญัติ ควบคุ ม อาคาร เทศบั ญ ญั ติ ท้ อ งถิ่ น เป็ น ต้ น ต้ อ งมี ค วาม สอดคล้องกับการประกาศคุณค่า โดดเด่นอันเป็นสากลของแหล่ง มรดกโลก เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลบั ง คั บ และสามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ งโดยไม่ ลิ ด รอนสิ ท ธิ์ ข อง ประชาชน ในขณะเดี ย วกั น ใน การออกมาตรการใดๆ ก็ ต าม ควรให้ความส�ำคัญกับการมีส่วน ร่วมของชุมชน เพื่อให้มาตรการ เหล่ า นั้ น สามารถน� ำ ไปปฏิ บั ติ ด้วยความร่วมใจของชุมชนและ ท�ำให้มาตรการเหล่านั้นประสบ ความส�ำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์

ให้ชะลอลงป้องกันตลิ่งพัง ตลิ่งก็มีการก่อ ก�ำแพงกั้นเป็นระดับสวยงาม แทนที่สร้าง เป็ น ก� ำ แพงทื่ อ ๆ แบบบ้ า นเรา มี ส ะพาน ข้ามแม่น�้ำที่สวยงามแตกต่างกัน ไม่เป็นรูป แบบเดียวกันอย่างบ้านเรา แต่ละสะพาน สวยงามน่าจดจ�ำ ‘ปราสาทคลุมเล้า’ มีป้อมปราการ ของเมืองใหญ่สองป้อม เสียดายป้อมเมือง ของนครถูกรื้อทิ้งหมด เพิ่งถูกรื้อฟื้นสร้าง ขึ้นมาใหม่ได้แล้วหนึ่งป้อม แต่พ่อบ้านผ่าน เมืองของเรายังไม่เคยหยิบจับขึ้นมา จัดท�ำ เป็นแหล่งท่องเที่ยวของเมืองให้เป็นที่จัด กิ จ กรรมเรื่ อ งราวทางประวั ติ ศ าสตร์ ข อง บ้านของเมือง เพิ่มรายได้ให้ชาวเมือง ดีกว่า เอาสถานที่ไปให้คนรับเหมางาน เมืองเขา จะสงวนอาชีพหลายอย่างให้ท�ำได้เฉพาะ คนในท้องถิ่นเท่านั้น แม้แต่ห้างสรรพสินค้า ขนาดใหญ่ขนาดย่อย ก็ไม่มีสิทธิ์เข้าไปขาย ในเมืองท่องเที่ยวของเขา แต่คนท้องถิ่นก็ ห้ามขายสินค้าเอาเปรียบนักท่องเที่ยวและ คนทั่วไป มีกฎหมายเอาผิดรุนแรงกับคนที่ ขายของปลอมหรือเลียนแบบ ซึ่งเป็นการ ท�ำลายการท่องเที่ยวของเขา คุณภาพต�่ำ ได้ แต่ปลอมและขี้โกงไม่ได้


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

หน้า ๑๑

ต่ อ มาได้ ย ้ า ยที่ ท� ำ งานจากวิ ห ารนี้ ไ ปอยู ่ ตรงข้ า งประตู ท างเข้ า พระระเบี ย งวิ ห าร คด โดยสร้ า งเป็ น ที่ ท� ำ การชั่ ว คราวเรี ย ก ว่า “ส�ำนักงานจัดผลประโยชน์วัดพระมหา ธาตุฯ” ส�ำนักงานนี้ใช้ส�ำหรับอ�ำนวยความ สะดวกและให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชนที่ ไ ป นมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันวิหาร นี้ มี พุ ท ธศาสนิ ก ชนนิ ย มเข้ า ไปสั ก การะ ควบคู่กับวิหารพระทรงม้า คงจะเป็นเพราะ ต้องการเรียนรู้และบูชาพระพุทธรูปอันเป็น ตั ว แทนของกษั ต ริ ย ์ ผู ้ ท รงสร้ า งพระบรม ธาตุเจดีย์ทรงระฆังคว�่ำ ณ หาดทรายแก้ว คือพระเจ้าศรีธรรมโศกราชเป็นส�ำคัญ

วิ

หารหลั ง เล็ ก อี ก หลั ง ซึ่ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ เขตพุทธาวาส ใกล้กับวิหารพระด้าน (วิ ห ารคดหรื อ พระระเบี ย ง) แม้ จ ะสร้ า ง ขึ้นหลังวิหารอื่นๆ แต่ก็เป็นที่รู้จักกันกว้าง ขวาง ในฐานะเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธ รูปทรงเครื่องขนาดใหญ่ ที่ได้รับการขนาน นามว่ า “วิ ห ารพระเจ้ า ศรี ธ รรมาโศก” อั น เป็ น พระนามของปฐมกษั ต ริ ย ์ แ ห่ ง รั ฐ นครศรีธรรมราช วิ ห ารหลั ง นี้ มี อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า “วิ ห าร สามจอม” เหตุที่ได้ชื่อเช่นนี้ก็เพราะนาย “สามจอม” เป็ น ผู ้ ส ร้ า งถวายในช่ ว งต้ น

กรุงรัตนโกสินทร์ (ราว พ.ศ. ๒๓๙๘) แต่ บางท่ า นก็ บ อกว่ า เป็ น การสร้ า งถวายแด่ จอมกษั ต ริ ย ์ ส ามพี่ น ้ อ ง ผู ้ ค รองนครศรี ธรรมราชในสมั ย พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๘ คื อ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระเจ้าจันทรภาณุ และพระเจ้ า พงษาสุ ร ะ จึ ง เรี ย กชื่ อ วิ ห ารนี้ ว ่ า “วิ ห ารสามจอม” ประกอบ กับมาในชั้นหลังมีผู้สร้างพระพุทธรูปทรง เครื่องไว้ สมมติเป็นพระเจ้าศรีธรรมาโศก ราช ซึ่งเป็นก�ำลังหลักในการสร้างพระบรม ธาตุเจดีย์ขึ้นที่หาดทรายแก้ว จึงเรียกวิหาร นี้ อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า “วิ ห ารพระเจ้ า ศรี ธ รรมา โศกราช” วิหารสามจอมอยู่ทางด้านตะวันออก เฉี ย งใต้ ข องพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ตรงข้ า ง ประตู พ ระระเบี ย งก่ อ นเข้ า สู ่ วิ ห าร มี รู ป ปั ้ น พระธรณี ก� ำ ลั ง บี บ มวยผมที่ ผ นั ง หน้ า ของวิหาร ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปาง มารวิชัย มีเครื่องทรงอย่างกษัตริย์โบราณ

นครศรีธรรมราช

ประดั บ ชฎายอดสู ง เป็ น ฝี มื อ ช่ า งสมั ย อยุธยา จารึกชื่อพระพุทธรูปว่า “พระเจ้า ศรีธรรมาโศกราช” เหตุนี้จึงเรียกวิหารสาม จอมอีกชื่อหนึ่งว่า “วิหารพระเจ้าศรีธรรมา โศกราช” ด้านหลังของวิหารเป็นซุ้มประตูสาม ช่อง บรรจุพระพุทธรูปปางมารวิชัยใช้เป็น ที่เก็บอัฐิของเชื้อพระวงศ์ เจ้านายในเชื้อ สายของสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช และอัฐิเจ้านายในสกุล ณ นคร เช่น กรม พระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์ พระองค์ เจ้าเฉลิมวงศ์ พระองค์เจ้าปัทมราช เจ้าจอม มารดาน้ อ ยใหญ่ เจ้ า จอมมารดานุ ้ ย เล็ ก และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต เป็นต้น และตรงซุ ้ ม ประตู มี ภ าพปู น ปั ้ น พระพุ ท ธประวัติ ตอนทรงตัดเมาฬีเพื่อออกบรรพชา อั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องการก้ า วออกจาก เพศฆราวาสของเจ้าชายสิทธัตถะ แต่ เ ดิ ม วิ ห ารนี้ เ คยใช้ เ ป็ น ที่ ท� ำ งาน ของพนั ก งานรั ก ษาวั ด พระมหาธาตุ แต่

มลังเมลืองเฟื่องฟ้า สถาปณ์สถิตวิจิตรวาด ประดับประดุจพุทธศาสน์ มหาเจดีย์พิสุทธิ์แฉล้ม

นภากาศ แต่งแต้ม สม�่ำเสมอ แช่มช้อยชาติพันธุ์

มรดกตกแต่งไว้ บรมธาตุพระศาสดา มหากุศลพลรักษา จึ่งสืบทอดจนบัดนี้

ศาสนา บ่งชี้ พสกสานต์ ผงาดพ้นกลไก

ประชาชีรายรอบล้วน ประกอบกิจชิดชีวัน วิถีทางสร้างสวรรค์ ต่างวิธีดีต่างถ้อย

สุขสันต์ พร่างพร้อย สงบสงัด ถ่องแท้ร่วมเทียน

สืบสมัยแต่บัดนั้น ผ่านล่วงห้วงเก่ากาล เกิดคุณค่ามหาศาล เรื่อเรืองเปรื่องชาติเชื้อ

โบราณ ก่อเกื้อ สมบัติ ยิ่งแล้วลิกอร์แดน

ศาสน์สถานคู่ราษฎร์ล้อม กลมเกลียว ร้อยรวมใจไม่ดายเดียว แน่นแฟ้น พิศพิลาสชาติเฉลียว ผดุงเมือง มรดกโลกโฉลกแคว้น เพื่อพ้องฉลองเฉลิม สมเกียรติ ประดู่ (เกียรตินคร) ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ ๑๕.๕๑ นาฬิกา


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ชีวิตเรียบง่าย จัดชีวิตให้ลงตัวสมดุลทั้งด้าน สุขภาพ การงาน ครอบครัว ๓. ภูมิใจ คือ ความภูมิใจในสิ่งที่ตน ประสบผลส� ำ เร็ จ โดยสิ่ ง นั้ น สร้ า งคุ ณ ค่ า ให้กับตัวเองและผู้อื่น เช่น การได้รับการ ยอมรับ ท�ำในสิ่งที่รู้ว่าดีเป็นประโยชน์แก่ สั ง คม ได้ รู ้ จั ก ให้ และช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น มี จิตใจที่เข้มแข็ง เพื่อให้สามารถปรับและรับ สถานการณ์ปัญหาต่างๆ ได้ วิ ธี ก ารจั ด การผ่ อ นคลายอารมณ์ ตึงเครียด อาจใช้เทคนิคง่ายๆ โดยการใช้ อารมณ์ขัน จะช่วยลดความอคติ ช่วยสร้าง บรรยากาศให้ อ บอุ ่ น โดยอารมณ์ ขั น จะ ท�ำให้คนเรามีความอดทน อดกลั้นสูงขึ้น จะไม่เกิดความรู้สึกเกลียดชัง ไม่เป็นมิตร

นไทยโดยพื้ น ฐานเป็ น คนอารมณ์ ดี สังคมไทยอยู่ร่วมกันอย่างช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน การมีจิตใจดี เชื่อในเรื่องการ ท� ำ ความดี สร้ า งบุ ญ สร้ า งกุ ศ ล จะช่ ว ย ให้ สั ง คมอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ สุ ข การมี อารมณ์ดี มีความสุข ช่วยให้สุขภาพแข็ง แรง มีความคิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา และปรั บ ตั ว เก่ ง สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ดี รู้จักดูแลตัวเอง มีพฤติกรรมที่ดี และมีอายุ ยืนยาว ในปัจจุบัน สถานการณ์ความรุนแรง ต่างๆ ในสังคมที่ปรากฏทางสื่อมวลชนปีนี้ เกือบ ๓๐,๐๐๐ ครั้ง ล้วนเกี่ยวโยงอารมณ์ ที่ขาดการจัดการอย่างถูกต้อง ขณะที่สาย ด่วนสุขภาพจิต ๑๓๒๓ พบประชาชนโทร. ปรึกษาสุขภาพจิตเฉลี่ยชั่วโมงละ ๖ ราย โดยมักเกี่ยวข้องกับความเครียด วิตกกังวล มากที่สุด ผลการศึ ก ษาทางการแพทย์ ยื น ยั น ตรงกันว่า ผู้ที่เกิดความเครียดทางจิตใจ จะ ปรากฏอาการออกมาทั้งในระยะเฉียบพลัน คือหงุดหงิด โมโหง่าย อารมณ์ร้อน อาจ ก่อความรุนแรงได้ง่าย และหากสะสมทิ้งไว้ นาน จะก่อให้เกิดโรคจิต และโรคทางกาย โดยเฉพาะโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และที่ร้ายแรงที่สุดคือโรค มะเร็ง ซึ่งเป็นผลมาจากกลไกในร่างกาย ท�ำงานผิดปกติ การมีสุขภาพจิตดี หรือมีความคิดใน ทางบวก คิดสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี ก็ จะเป็นการป้องกันโรคทางสุขภาพจิต ลด ความรุนแรงสังคม และลดการป่วยโรคทาง

ขอบคุ ณ เนื้ อ หาและภาพจาก กรม สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข สายด่ ว นสุ ข ภาพจิ ต ๑๓๒๓ สาย อัตโนมัติ ๑๖๖๗ www.dmh.go.th เรียบเรียงโดย นพ.ทฏะวัฎร์ พิลึกภควัต จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น กาย มีพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม และท�ำให้ประชาชนมีอายุยืนยาวด้วย ในการสร้ า งสรรค์ อ ารมณ์ ดี ให้ มี ความสุขนั้น มีเทคนิคง่ายๆ โดยยึด “หลัก ๓ ใจ” เป็นแนวปฏิบัติ ประกอบด้วย ๑. สบายใจ คือ การท�ำใจให้สบาย ไม่เคร่งเครียดจนเกินไป รู้ทันสถานการณ์ ที่มากระตุ้นอารมณ์ จัดการอารมณ์ให้เป็น และถูกวิธี ลดอารมณ์โกรธให้ได้ หลีกเลี่ยง ความรู้สึกอคติ สร้างบรรยากาศความไว้ วางใจและใช้ อ ารมณ์ ขั น เพื่ อ สร้ า งความ อบอุ่น ๒. พอใจ คือ รู้จักพอในสิ่งที่มีอยู่ ใช้

เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ นายแพทย์ สุพรรณ ศรี ธ รรมา อธิ บ ดี ก รมการ แพทย์ เป็ น ประธานพิ ธี มอบขาเที ย มและอุ ป กรณ์ เครื่ อ งช่ ว ยเหลื อ ความ พิการแก่คนพิการ ที่ศาลา ประชาคมอ� ำ เภอทุ ่ ง สง จ.นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ พั ฒ นาระบบ สุ ข ภาพคนไทยในกลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ แ ละคน พิการ กว่า ๒ ล้านคน เป็นผู้พิการขาขาด ประมาณ ๔๖,๐๐๐ คน สาเหตุเกิดจาก โรคเบาหวานและอุบัติเหตุจราจร ซึ่งเป็น ผู้สูงอายุกว่า ๔๗ เปอร์เซ็นต์ ส�ำนักงาน สถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ร ะบุ ว ่ า แต่ ล ะปี มี ผู ้ ถู ก ตั ด ขาประมาณ ๓,๕๐๐ คน และไม่ต�่ำกว่า ๑๙,๓๑๐ คน เข้าไม่ถึงบริการขาเทียม จากข้อจ�ำกัด ขาเทียมมีราคาสูง เดินทาง ล�ำบากและขาดความรู้เฉพาะในการจัด ท�ำขาเทียม กรมการแพทย์จัดท�ำโครงการ ส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพคนพิ ก ารขาขาด เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราช

สุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาส เจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ช่วยเหลือ ให้ด�ำเนินชีวิต และประกอบอาชีพได้ ใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ โดยเลือกจังหวัด นครศรีธรรมราชเป็นพื้นที่น�ำร่อง อนึ่ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี ประชากรผู้พิการ ๓๘,๕๕๔ คน เป็นผู้ พิการขาขาด ๘๖๒ คน ที่ผ่านมาโครง การฯ จัดอบรมเรื่อง พรบ.ส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แก่แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์กว่า ๓๐๐ คน ให้ช่วยเหลือคนพิการได้อย่าง เข้าใจ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

ศั

กราชใหม่ นี้ ผ มมี ค วามความตั้ ง ใจที่ จะหยุดเขียนย�้ำซ�้ำเรื่องเดิมในการชี้ ชวนให้ ค นนครมี ค วามส� ำ นึ ก ในบ้ า นเกิ ด การรับรู้อัตลักษณ์ของท้องถิ่น และการมี วินัย เพราะเมื่อกลับไปอ่านต้นฉบับตลอด ระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมาในเรื่องที่กล่าวถึง และกล่าวย�้ำได้มีการขานรับเป็นรูปธรรม มากพอสมควร ผมอยากก้ า วข้ า มไปพู ด เรื่องที่เราจะร่วมกันเปิดฟ้าเปิดเมืองนคร ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่น่าเที่ยวตามที่การท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทยอุตส่าห์จัดให้เป็น หนึ่งใน ๑๒ เมืองต้องห้าม....พลาดของ ประเทศไทย เมื่อกลางเดือนที่แล้วที่โรงแรมราวดี ผมได้เข้าร่วมฟังปาฐกถาเรื่อง “อนาคต การท่ อ งเที่ ย วไทย” โดยท่ า นรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า คุ ณ กอบกาญจน์ วั ฒ นวรางกู ร จั ด โดย หอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ซึ่ ง ประธานหอการค้า คุณวารินทร์ ชินวงศ์ ผู ้ น� ำ องค์ ก รไฟแรงเป็ น ผู ้ ที่ ส ามารถเชิ ญ รัฐมนตรีมา ซึ่งผมได้ฟังแนวคิดของท่าน แล้วมีความประทับใจในวิธีคิดนอกกรอบ และยิ่งได้ฟังสมาชิก YEC (Young Enterpreneur Chamber of Commerce) ที่ได้ ร่วมแสดงวิสัยทัศน์ในรายการนี้ ท�ำให้ผม เห็นศักยภาพของคนรุ่นหนุ่มสาวที่มีความ พร้อมทั้งด้านความรู้ ความสามารถและ ความมุ่งมั่นที่กลับมาร่วมสร้างอนาคตของ บ้ า นเมื อ งแทนรุ ่ น เก่ า ที่ จ ะต้ อ งถอยห่ า ง ออกมา แต่ผู้อาวุโสทั้งหลายท่านก็ยังต้อง เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อคิดเห็นในฐานะที่ มีประสบการณ์ชีวิตและความรู้ที่สั่งสมมา นาน มิใช่ห่างหายกันไปเลย ผมขอร่วม แสดงความคิดเห็นด้านล่างเวทีเสวนาผ่าน บทความนี้ในประเด็นต่างๆ เสริมคนรุ่น ใหม่บางแง่บางมุมครับ นักท่องเที่ยวมิได้มาเที่ยวทุกสถานที่ ที่เรามีในคราวเดียวกัน แต่จะมาเฉพาะ เรื่ อ งที่ เ ขาสนใจในเวลาที่ จ� ำ กั ด ดั ง นั้ น การแบ่งกลุ่มแหล่งท่องเที่ยวเป็นประเภท จะต้ อ งสร้ า งความโดดเด่ น และเติ ม เรื่ อ ง ราวในแต่ละแหล่งให้ได้ ซึ่งได้แก่ - กลุ่มท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีวัดพระบรม ธาตุเป็นหลักและมีวดั อืน่ ๆ เป็นรายการพ่วง - กลุม่ ท่องเทีย่ วเชิงวิถชี วี ติ เช่น แถบ

ภาพ : นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ลุ่มน�้ำปากพนัง ล่องเรือเที่ยวชมสถานที่ ต่างๆ และแหล่งผลิตสินค้าพืน้ เมือง เป็นต้น - กลุ่มท่องเที่ยวทางทะเล เช่น แถบ อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอขนอม มีกิจกรรมชายหาดและทางทะเล - กลุ่มท่องเที่ยวทางภูเขา เช่น แถบ อ�ำเภอพรหมโลก อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอ นบพิต�ำ ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย และสุขภาพ การอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นเรื่องข้อมูล การเดินทาง การจอง ที่ พั ก ร้ า นอาหารที่ อ ร่ อ ยถู ก สุ ข ลั ก ษณะ การดูแลความปลอดภัย เป็นต้น แม้เรา ประชาสัมพันธ์ให้เขามากันแล้วแต่เรายัง ไม่พร้อมก็เท่ากับว่าเขากลับไปวิจารณ์ให้ เกิดภาพลบได้ แล้วเราสร้างความพร้อม เหล่านี้หรือยังครับ ของที่ระลึกเป็นสินค้าคู่กับการท่องเที่ ย วเสมอ เราได้ ผ ลิ ต ออกมาแสดงถึ ง เอกลั ก ษณ์ ข องสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วในทุ ก ระดับราคาแล้วหรือยัง การออกแบบผลิตภั ณ ฑ์ โ ดยอาศั ย วั ส ดุ ท ้ อ งถิ่ น จะมี ส ่ ว นส่ ง เสริมให้คนในพื้นที่มีรายได้เพิ่มขึ้น และ รูปแบบก็เป็นองค์ประกอบส�ำคัญมากที่จะ สร้างความน่าสนใจ เรามีสถาบันสอนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์เหล่านี้หลายแห่ง เช่น มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช น่ า จะลองใช้ บริการดนะครับ มั ค คุ เ ทศก์ (คนน� ำ เที่ ย ว) มี ค วาม

ส�ำคัญที่ต้องได้รับการฝึกอย่างถูกต้องทั้ง องค์ความรู้อย่างครบถ้วน (ความรู้เรื่องราว ภาษา มารยาท จรรยาบรรณ) การอบรม เด็ ก นั ก เรี ย นให้ เ ป็ น ยุ ว มั ค คุ เ ทศก์ เ ฉพาะ เรื่อง จะช่วยฝึกทักษะให้เป็นอาชีพได้ใน อนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราก�ำลังเข้าสู่ ประชาคมอาเชียน (AEC) ในเร็วๆ นี้ จึง เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องจัดเตรียมไว้ในการ สื่อภาษาให้คล่องแคล่วและถูกต้อง เศรษฐกิ จ ของนครหาได้ มี เ ฉพาะ ภาคการท่องเที่ยวเท่านั้น ยังมีภาคอื่นๆ ที่ ต้องพึ่งพาด้วย อาทิ ภาคการเกษตรที่มี ทั้ ง พื ช สวนไร่ น าพื้ น ที่ ก ว้ า งใหญ่ ไ พศาล มี ส ้ ม โอทั บ ทิ ม สยาม มี มั ง คั ด เขา (บน ภู เ ขา) ที่ ข ายกิ โ ลกรั ม ละหลายร้ อ ยบาท (ยอมรับว่าตั้งแต่เกิดมาเพิ่งเคยได้ยินการ ขายมังคุดได้ราคากิโลกรัมละ ๗๐๐ บาท เป็นครั้งแรกในชีวิต) ตัวอย่างเหล่านี้ล้วน แล้วเป็นจุดขายที่จะดึงนักท่องเที่ยวไปยัง แหล่งปลูก เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ ได้ประโยชน์ร่วมกันตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลาย น�้ำ มีหลายเรื่องที่เรากล้าประกาศถึงความ เด่นกว่าที่อื่นหรือที่อื่นไม่มี ตัวอย่างเช่น หมู ่ บ ้ า นคี รี ว งเราประกาศว่ า เป็ น สถาน ที่ มี อ ากาศดี ที่ สุ ด ในประเทศ คงต้ อ งคิ ด แล้วว่าจะท�ำอย่างไรต่อไป เราอาจต้องมี ที่พักแบบ Home stay ที่นักท่องเที่ยว สู ง อายุ ส ามารถมาอยู ่ ไ ด้ เ ป็ น แรมเดื อ น จั ด กิ จ กรรมให้ ท� ำ ที่ เ หมาะสมกั บ วั ย จั ด

ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ อ ากาศสะอาดที่ ไ ม่ มี ม ลพิ ษ โดยการใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้น�้ำมัน เช่น จักรยาน หรือรถที่ใช้ไฟฟ้า เป็นต้น (เมือง อื่นเขาประกาศตัวและกล้าท�ำ เช่น จังหวัด น่ า น) อี ก ตั ว อย่ า งเช่ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาว พุ ท ธที่ ตั้ ง ใจมาท� ำ บุ ญ หรื อ ร่ ว มกิ จ กรรม วันส�ำคัญทางศาสนา โดยเฉพาะการมาที่ วัดพระบรมธาตุจะสามารถดึงให้อยู่ต่อไป เที่ยวที่อื่นๆ ในประเภทเดียวกันได้หรือไม่ (เช่นการไปท�ำบุญต่อ ๙ วัด ที่จัดให้มีรถ บริการเป็น package tour เป็นต้น) ภาพรวมโดยสรุ ป ก็ คื อ คนนครคง เห็นศักยภาพตัวเองว่าสามารถที่จะสร้าง เศรษฐกิจอยู่ในแถวหน้าของประเทศให้ ยั่งยืนได้ แต่การบริหารจัดการเป็นเรื่อง ใหญ่ที่ต้องอาศัยพลังและความเป็นน�้ำหนึ่ง ใจเดียวเท่านั้นที่จะฟันฝ่า “เปิดฟ้าเมือง นคร” ให้ติดเป็นเมืองที่ต้องห้ามพลาดใน การมาท่องเที่ยวไม่ได้จริงๆ ศักราชใหม่ นี้ขอให้ก�ำลังใจคนรุ่นใหม่ที่จะช่วยท�ำให้ เศรษฐกิจของเมืองนครดีขึ้นสักครั้งเถอะ ฉบับหน้าอาจขอให้มาแสดงมุมมองรักษ์ บ้านรักษ์เมืองกันบ้างแล้ว ก่อนจบผมตั้งใจที่ไปเยี่ยมชมโครงการประชาคมห้วยขวาง ที่กรุงเทพฯ ซึ่ง ประสบความส�ำเร็จในการรวมตัวกันของ ชุมชนเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและมีพลังในการ เสนอข้อคิดเห็นต่อรองกับผู้บริหารบ้าน เมือง จนได้รับรางวัลระดับโลกคือ Holcim award (Swiss) หากท่านใดสนใจ กรุ ณ าติ ด ต่ อ ผม จะประสานกั บ แกนน� ำ โครงการเพื่อไปดูงานกันเป็นคณะครับ


หน้า ๑๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

วั

นเด็ก ’๕๘ มาเที่ยวที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราชกั น นะคะ ที่ นี่ มี ค วามสุ ข แห่ ง การเรี ย นรู ้ มี เกมและของเล่นสนุกสนานที่สร้างระบบ คิ ด มากมายมามอบให้ เ ป็ น ของรางวั ล แก่ เ ด็ ก ๆ ทุ ก คน โดยปี นี้ จั ด ในแนวคิ ด “วิทยาศาสตร์การบิน” อาทิ การประดิษฐ์และแข่งขัน ได้แก่ • เครื่องบินพลังงานยาง • เครื่องร่อน • ร่มพยุงไข่ • จรวดขวดเหยียบ การประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ ได้แก่ • นักกระโดดร่ม • เฮลิคอปเตอร์กระดาษ • กังหันดินสอ • ของเล่นจากธรรมชาติ • การท�ำว่าว

เล่ น สนุ ก กั บ ของเล่ น กลางแจ้ ง ที่ มี หลั ก การทางวิ ท ยาศาสตร์ เ กี่ ย วข้ อ งใน สวนวิทยาศาสตร์ Science park ได้แก่ • ปั่นจักรยานลวดสลิง • ปั่นจักรยานน�้ำพุ • โหนสลิง Flying Fox • ถ่ายภาพสามมิติ 3D Art Street นอกจากกิจกรรมสนุกสนานมากมาย แล้ ว ยั ง มี ส าธิ ต เครื่ อ งบิ น เล็ ก บั ง คั บ วิ ท ยุ การแสดงร่ ม บิ น พารามอเตอร์ ชมภาพยนตร์ ๓ มิติ ร่วมสนุกกับเกมและกิจกรรม บนเวทีกลาง วันเด็กปีนี้อย่าพลาดนะคะ มาเที่ยว อย่างมีความสุข..มาสนุกกับการเรียนรู้ กันที่ศูนย์วิทย์เมืองคอนค่ะ

<< ต่อจากหน้า ๔

‘โกสิยะ’ ซึ่งเป็นคนถี่เหนียว หลังจาก ได้ ฟ ั ง พระธรรมก็ เ กิ ด ความเลื่ อ มใสไป ท�ำอาหารและขนมร้อนๆ ก่อฟืนก่อไฟ ถวายความอบอุ ่ น ให้ แ ก่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ด้วย จึงมีประเพณีเช่นนี้สืบต่อมาในหมู่ ชาวพุทธ โดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราชเพียงจังหวัดเดียวที่ยังคงมีประเพณี นี้อยู่ตามวัดวาต่างๆ ที่ผมไปเห็นมา เขา ไม่ มี ก ารก่ อ ฟื น ก่ อ ไฟกั น แล้ ว เหล่ า ผู ้ ใจบุญจะไปท�ำอาหารเลี้ยงผู้คนก็มีน้อย จะเป็นพวก แม่ค้าแม่ขายเสียมากกว่า ที่ไปท�ำขนมจ�ำหน่ายกันใน วัด เพื่อให้คนมาซื้อไปถวายพระ มีบ้างบางรายไปท�ำ แจกเป็นทานแต่ก็น้อย เมื่ อ ปี ๒๕๕๓ ผมจึ ง ปรึ ก ษาท่ า นผู ้ รู ้ แ ละคนที่ นับถือว่าขอจัดให้ทานไฟขึ้นที่วัดพระบรมธาตุ โดยท�ำ แบบอย่างโบราณให้มากที่สุด มีการก่อกองฟืนกองไฟ ขึ้นในลานวัด นิมนต์พระสงฆ์สามเณรมารับการถวาย ความอบอุ่น ไปหาคนมาท�ำขนม ปรุงอาหารร้อนๆ ขึ้น ข้างกองไฟ ใช้เตาถ่านและเตาไม้ฟืนอย่างคติโบราณ ขนมอาหารก็ไม่ลืมขนมต�ำนานอย่าง ‘ขนมเบื้อง’ ที่

โกสิยะเศรษฐีท�ำถวายพระพุทธเจ้า แล้วก็มีอาหารขนม ท้องถิ่นให้พระได้ฉันเช้ากัน เสร็จแล้วผู้ร่วมงานก็เลือก หาหยิบมากินกัน ไม่หยิบเปล่าร่วมบุญด้วย เมื่อเสร็จ งานบุญยังมีขนมอาหารอีกมากก็ห่อหอบหิ้วกันไปแจก คนเฒ่าคนแก่หรือคนพิการที่ไม่สามารถมาร่วมบุญได้ แม้แต่ไปฝากคนยากไร้ก็ได้ทานบุญด้วย งานจัดมาแล้ว ๕ ปี มีหลายวัดเริ่มกลับมาก่อฟืน ก่อไฟถวายความอบอุ่นให้แก่พระสงฆ์ตามอย่างโบราณ ที่ วั ด พิ ศ าลนฤมิ ต ร-ร่ อ นพิ บู ล ย์ มี ก ารท� ำ บุ ญ ให้ ท าน ไฟด้วย มีการก่อไฟ นิมนต์พระสงฆ์มานั่งที่ศาลาใกล้ กองไฟ มี เ ศรษฐี ใ จบุ ญ จั ด อาหารและขนมร้ อ นๆ ท� ำ

ถวายพระสงฆ์ แล้วยังเอื้อเฟื้อเป็นทาน ให้ แ ก่ ผู ้ ม าร่ ว มงานบุ ญ ได้ กิ น อิ่ ม กั น ทุ ก คน เศรษฐีใจบุญที่ว่าไม่ใช่โกสิยะเศรษฐี แต่ เ ป็ น ‘เจ๊ แ จ๋ ว ’ เศรษฐี ผู ้ ใ จบุ ญ ชาว ร่ อ นพิ บู ล ย์ เศรษฐี นี้ ต ามความหมาย ของ ‘คุณจิมมี่ ชวาลา’ ท่านอธิบายว่า หมายถึงคนที่มีโรงทานเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่คน ยากไร้ เขาจึงเรียกว่าเศรษฐี ปีนี้เป็นปีที่ ๖ ของการรื้อฟื้นการ จัดงานบุญให้ทานไฟของเมืองนคร ที่ผม เลือกจัดเอาวันขึ้นปีใหม่ ก็เพื่อเป็นงาน บุญแรกของปี ร่วมฉลองปีใหม่สากลอย่าง ไทย ดีกว่าไปเต้นแร้งเต้นกากินเหล้าจุด ประทัดยิงปืนกัน เผื่อจับพลัดจับผลูบ้าน อื่นเมืองอื่นมาเห็นแบบอย่าง เอาไปจัดบ้านเขา คงจะ เข้ากับอากาศหนาวๆ อยู่พอดี อากาศหนาวคนไปเที่ยว ภูจนลืมพระที่ครองจีวรเพียงสามผืนอยู่น่าเวทนานัก การจัดงานปีนี้ ชมรมรักบ้านเกิดเป็นเจ้าภาพหลัก ในการจั ด ร่ ว มกั บ ที ม ที่ แ ข็ ง ขั น เช่ น วั ด พระมหาธาตุ พุ ท ธสมาคม ส่ ว นผู ้ ส นั บ สนุ น ก็ เ ทศบาล ททท. นครศรี ธ รรมราช อบจ.นคร ส่ ว นหน่ ว ยงานอื่ น กั บ องค์กรเอกชนก็มาร่วมเป็นเจ้าภาพจัดอาหารขนมร้อน มาท�ำถวาย คิดว่าพระจ�ำนวนร้อยกว่ารูปคงมีอาหาร พอจ�ำนวนพระที่นิมนต์มาแน่ ถ้าเป็นห่วงก็ร่วมทาน ร่วมบุญด้วยก็ได้


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

ลายคนตั้งค�ำถามว่าท�ำไม iOS ที่มี RAM น้ อ ย แต่ ลื่ น ไหลกว่ า แอน ดรอยด์ ที่ มี RAM มากกว่ า เห็ น สมาร์ ท โฟน รุ ่ น ใหม่ จ ากหลายค่ า ยออกมาแล้ ว ตื่ น ตะลึ ง พอสมควรกั บ ขนาดของ RAM แถม CPU ก็แรงสะใจ แต่ทว่าเมื่อซื้อหา มาใช้กลับมีข้อสงสัยบางประการ เพราะดู เหมือนว่า สเปคฮาร์ดแวร์ที่สูงกว่าภายใน เครื่องแอนดรอยด์กลับมีบางอย่างที่ด้อย กว่า iPhone สเปคที่ต�่ำกว่าเสียอีก วันนี้ ผมหาค�ำตอบมาให้ศึกษากัน เมื่ อ เปรี ย บเที ย บจากสมาร์ ท โฟน เรือธงตัวล่าสุดของสองค่ายยักษ์ใหญ่แล้ว มันท�ำให้เกิดข้อข้องใจบางอย่าง เพราะใน ขณะที่ Samsung ออก Galaxy Note4 ตัวใหม่ขนาด RAM 3 GB แต่ Apple กลับ ออก iPhone 6 และ 6 Plus ที่มี RAM เพียง 1 GB เท่านั้น หรือว่ามีเหตุผลบาง อย่ า งที่ ซ ่ อ นอยู ่ ใ นสมาร์ ท โฟนจากค่ า ย Apple กันแน่

ความจริงเกี่ยวกับ RAM ในสมาร์ทโฟน สมาร์ ท โฟนที่ ใ ช้ ร ะบบ ปฏิ บั ติ ก ารแอนดรอยด์ จ ะมี การใช้งานหน่วยความจ�ำอยู่ ๓ ชนิด คือ RAM, Storage และ SD Card RAM คือหน่วยความจ�ำ ที่ มีหน้าที่เป็นที่พักข้อมูลในการ ค� ำ นวณของเครื่ อ งและแอพพลิเคชั่นต่างๆ หากมี RAM มาก เครื่ อ งก็ จ ะท� ำ งานได้ ร วดเร็ ว และราบรื่ น หากมี น ้ อ ยก็ อ าจ ท� ำ ให้ เ ครื่ อ งเกิ ด อาการกระตุ ก ได้ ปกติ RAM จะถูกจองการใช้งานให้กับแอพพลิ เคชั่น ต่างๆ ที่เราเปิดขึ้นมา หากเปิดค้าง ไว้หลายๆ โปรแกรมพร้อมกัน ก็จะท�ำให้ RAM เหลือน้อยลง และเครื่องจะเริ่มอืด ได้ ดังนั้นเราอาจจะต้องปิดแอพพลิเคชั่น บางตัวที่เปิดค้างไว้ แต่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อให้ เครื่องกลับมาท�ำงานเป็นปกติ ส�ำหรับคน ที่ชอบเล่นเกมส์บนมือถือ ก็ควรทราบไว้

ด้วยว่าเกมส์โดยมากชอบเครื่องที่มี RAM เยอะๆ หากมีน้อยก็มักจะกระตุกครับ RAM ที่มากับเครื่องจะมีมากมีน้อย ส่วนหนึ่งขึ้นกับราคา เครื่องที่ราคาสูงก็จะ มีมากหน่อย อาจถึง 1GB ส่วนเครื่องราคา ปานกลางก็จะมีมาประมาณ 512 MB แต่ ตัวเลขนี้เป็นเพียงค่าตามฮาร์ดแวร์ ส่วน การใช้งานจริง ตัวระบบจะแบ่ง RAM ส่วน หนึ่งไว้ใช้งานเอง ท�ำให้ RAM ที่เราใช้งาน ได้จริงจะเหลือน้อยลง เช่นเครื่อง Galaxy Cooper ที่มี RAM มา 512 MB แต่เวลา เราตรวจสอบด้วยโปรแกรมจะพบว่าเห็น แค่ 278 MB เท่านั้น และเมื่อบูทเครื่อง เสร็จตัวโปรแกรมระบบก็จะใช้ไปแล้วกว่า 150 MB อ้ างอิ งจาก Glyn Williams แห่ง เว็บไซต์ Quora และ John Brownlee

แห่งเว็บไซต์ Cultofmac ได้เปิดเผยข้อมูล ส�ำคัญที่เป็นการบ่งบอกว่า iPhone 6 ที่มา พร้อม RAM ขนาด 1 GB กลับท�ำงานได้ เร็วกว่าสมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ในสเปค ใกล้เคียงกัน แต่มาพร้อมแรมขนาด 2 GB ซึ่งใหญ่กว่าเท่าตัว โดยปัจจัยส�ำคัญที่ช่วย ให้ iPhone 6 ท�ำงานได้ดีกว่าบน RAM ที่ น้อยกว่าก็คือ ๑. เทคนิคการจัดการแอพพลิเคชั่น บนระบบปฏิบัติการ iOS ที่แตกต่างจาก ระบบปฏิบัติการ Android แอพพลิเคชั่น แอนดรอยด์ พั ฒ นาอยู ่ บ นพื้ น ฐานของ ภาษา Java ซึ่งจากการใช้ Java นี่แหละ เป็นข้อเสียเพราะจะมีการสะสมพวกไฟล์ ขยะ หรื อ เรี ย กกั น ว่ า “garbage collection” ซึ่ ง ทุ ก ครั้ ง ที่ ผู ้ ใ ช้ แ อนดรอยด์ ได้ ป ิ ด แอพพลิ เ คชั่ น พวกไฟล์ ข ยะเหล่ า นี้ จ ะถู ก เก็ บ สะสมอยู ่ ใ น หน่ ว ยความจ� ำ ซึ่ ง ปั ญ หา ก็ คื อ พวกไฟล์ ข ยะเหล่ า นี้ กินพื้นที่ของหน่วยความจ�ำ มาก (RAM) ถึง ๔-๘ เท่า และถ้ า เกิ ด ว่ า เราใช้ ง าน แอพพลิ เ คชั่ น เยอะเกิ น ไป จนส่งผลให้ RAM มีไม่พอใช้ มันจะท�ำให้เครื่องช้าลงแต่ หากมาดูกันในฝั่งของระบบ ปฏิ บั ติ ก าร iOS จะพบว่ า

ระบบนี้ไม่ได้ต้องการหน่วยความจ�ำพิเศษ ใดๆ เหมื อ นกั บ ที่ ต ้ อ งใช้ กั บ Java หรื อ Android เนื่องจากระบบปฏิบัติการ iOS ถู ก ออกแบบมาให้ ห ลี ก เลี่ ย งการท� ำ งาน ในลั ก ษณะของ Garbage Collection ดังกล่าว โดย iOS ต้องการเพียงแค่หน่วย ความจ� ำ เฉพาะที่ ต ้ อ งใช้ ง านจริ ง เท่ า นั้ น สิ่ ง ต่ า งๆ เหล่ า นี้ เ ป็ น การบอกว่ า เพราะ เหตุใดอุปกรณ์ในแพลทฟอร์ม Android จึ ง ต้ อ งการหน่ ว ยความจ� ำ แรมเพื่ อ การ ท�ำงานของแอพพลิเคชั่นมากกว่าอุปกรณ์ ในแพลทฟอร์ม iOS กว่าเท่าตัว และยิ่ง ไปกว่ า นั้ น การที่ ต ้ อ งใช้ ง านพื้ น ที่ ห น่ ว ย ความจ� ำ RAM มากกว่ า ก็ จ ะส่ ง ผลให้ เกิ ด การบริ โ ภคพลั ง งานจากแบตเตอรี่ มากกว่าเช่นเดียวกัน ซึ่งนั่นก็เป็นเหตุผล ส�ำคัญที่ว่าท�ำไมสมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี แ บตเตอรี่ ค วามจุ สู ง กว่ า เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ง านได้ น านต่ อ เนื่ อ ง เท่ากับ iPhone 6 ที่มีแบตเตอรี่ความจุ น้อยกว่า อาจารย์แก้ว (อ่านต่อฉบับหน้า)

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

Tarzanboy

ค่

อนข้างแน่ชัดว่า ผมไม่ได้รู้อะไรมากกว่าคน รุ่นก่อนเลย และไม่ได้เห็นความสวยงามที่สุด ของธรรมชาติ นี้ เ ลย มี ค นเห็ น มั น ก่ อ นผม มั น มี เจ้าของ ...รึอาจจะเป็นเจ้าหญิงเจ้าชายในนิยาย เมืองลับแลในดงลึก ผมได้แต่จินตนาการเอาเอง ตื่นมาผมเห็นซาก หลับตาฝันเห็นเจ้าของ... แต่ยามภวังค์ เจ้าหญิงและเจ้าชาย แวะมาทักทาย เสมอ “ไงล่ะ พ่อพรานขี้โรค ถ้านายพลาดขาดสติ ชีวิตก็เป็นของเรา !!!” มีเหมืองหรือชุมชนโบราณ กระจัดกระจายอยู่ ในหลายพื้นที่ตลอดเทือกเขานี้ ผมเชื่อเช่นนั้น พวก เขาเข้ามาก่อนคนพื้นที่ที่ตั้งรกรากอยู่ในปัจจุบัน และ นานกว่าชุมชนแถวนี้จะมีเชื้อชาติ ผมเชื่อเช่นนั้น ภู เ ขา โตรกผาและป่ า ดิ บ ถู ก บุ ก รุ ก ขุ ด คุ ้ ย กระชาก จากยอดเขาสูงสุด ผลักดันด้วยแรงน�้ำ ที่ผัน เป็นร่อง จัดเรียงหินกั้นและสกัดตัดให้ตรง บังคับน�้ำ ให้เกิดแรงส่ง แรงตก ชะล้างสิ่งที่ไม่ต้องการออก สิ่งที่ ต้องการจะตกอยู่ในแอ่งวงกลม ที่มีรายรอบล�ำธารสาย หลัก ป่าที่เห็นทั้งหมด ไม่ใช่ป่าเดิม แต่เป็นป่าเกิดใหม่ แม้ว่าจะสมบูรณ์ จนคนปัจจุบันชื่นชม แต่อดีต...ผม เชื่อว่าสมบูรณ์กว่านี้ร้อยเท่า พื้นที่ผืนป่าแถบนี้เกิดภัยพิบัติ ได้ง่าย เพราะป่าเดิม หินก้อนเดิม ดินเดิมถูกเปลี่ยนแปลง ย้ายออกจาก ที่เดิม และมีบางสิ่งหายไปในผืนดิน

มันยากที่จะปฏิเสธนะส�ำหรับผม เพราะหลักฐานบางชิ้น มันชัดซะพูดไม่ออก แม้หลายๆ ที่ที่ผมมักชี้ให้คนโน้นคนนี้ดู จากของจริง มันอาจจะไม่ท�ำให้คนอื่นดูออกว่า..นี่ฝีมือมนุษย์ ใครมาก่อนผม ?? ผมตั้งค�ำถามนี้เสมอ พอเจอเข้ากับ อะไรบางอย่างในป่าลึก ที่ลึกเกินกว่าใครจะเข้ามาเดินเล่นกัน ง่ายๆ แรกๆ ผมคิดว่ามันมีเพียงส่วนเดียว หมายถึงมีเฉพาะ ภูเขาลูกนี้ แต่ทว่าพอผมย้อนประมวลผลกลับไป ความรู้สึก เดิมเหล่านี้ อาจจะเป็นแร่ราคาแพง อัญมณี หรือ ???? ที่ว่า ผมว่าตรงนี้มันแปลกๆ จึงได้ค�ำตอบทันที ...ตรงนี้ก็ฝีมือ ค�ำถามเดิม...ใครมาถึงตรงนี้ก่อนผม รึ..มนุษย์ต่างดาว !!! มนุษย์ จึงเป็นที่แน่ชัดว่า ตลอดเทือกเขานครศรีธรรมราช จาก ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ ทุกหุบห้วย ทุกยอดขุนเขา มีกลุ่มชนเข้ามา

ตั้งอาศัยอยู่เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ท�ำเหมือง .... ปัญหาของมันคือ ตามหลักฐานมันไม่ใช่แค่ คนสองคน สิบคน ...แต่น่าจะมากมายจนเรียกได้ว่า ชุมชนในดงลึก เขา คือใคร เข้ามาเอาอะไรในดงลึกนี่ !

กว่าสิบปีทผี่ มปีนป่ายเดินป่าไปทัว่ เทือกเขานครศรีธรรมราช ที่ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๓ แสนไร่ทอดตัวยาวต่อจากเทือกเขา บรรทัดไปจรดเขตสุราษฎร์ธานี ด้วยความสูงกว่าพันแปดร้อย เมตร ป่าแห่งนี้เต็มไปด้วยป่าดงดิบและป่าดิบชื้นที่สมบูรณ์ ด้วยความสูงชันสุดในภาคใต้ ความหลากหลายจึงอัดแน่นอยู่ ในทรงสัณฐานที่ชันดิก และด�ำดิ่งในโตรกลึก และนี่จึงเป็นป่า ที่เดินยากที่สุดในเมืองไทย ผมภูมิใจอยู่เสมอว่า รอยเท้ารอยแรกคือตัวเอง ...แต่หลายปีมานี้ผมกลับแน่ใจว่า มันไม่ใช่ซะแล้ว แม้ ในจุดที่ผมต้องห้อยโหน ปีนป่าย เข้าถึงยาก และเต็ม ไปด้วยอันตรายสารพัด นี่มันปี ๒๐๑๒ ผมว่ามันยังยาก เหมือนเดิมตอนสิบปีก่อน แต่ทว่า ...ผมกลับพบหลัก ฐานการเข้ามาอยู่ก่อน เข้ามาอาศัย เข้ามาท�ำอะไรสัก อย่าง??? ...ของมนุษย์ ร่องรอยนี้นานนักโดยไม่ต้อง พิสูจน์คาร์บอน แต่หากคุณเดินป่าไปทั่วทุกหุบเขาใน เขตนี้ คุณจะฉงนสนเท่ห์เช่นเดียวกับผม เขาเป็นใคร ชนชาติอะไร มาก่อนผมตั้งแต่เมื่อ ไหร่ มาท�ำอะไร มากันกี่คน เข้ามาได้อย่างไร อยู่อย่างไร รวมถึงผมสงสัยว่า ...เขาแต่งตัวอย่างไร จึงสามารถอาศัยอยู่ ในสถานที่เย็นฉ�่ำ ดิบลึก และเต็มไปด้วยสิงสาราสัตว์ ยากต่อ การเข้าถึง และเขาใช้วิทยาการด้านไหน ที่สามารถขยับก้อน หินขนาดบ้านสองชั้น ไปวางซ้อนๆ กัน เปลี่ยนแปลงแนวร่อง ล�ำธาร จากยอดเขาจึงถึงพื้นล่างเหมือนเด็กเล่นฝายกั้นน�้ำ จุดสูงสุดของทุกยอดเขาแถบนี้...ผมมาทีหลัง แม้บาง เส้นทางในปี ๒๐๑๒ ผมใช้เวลากว่า ๓ วันถึงจะเข้าถึง แค่ลอง คิดว่า กว่าร้อยปีย้อนลงไป กลุ่มชนปริศนาเข้ามาได้อย่างไร ? และเขาได้อะไรไป ??? นี่เป็นเพียงหลักฐานหนึ่งในหลายพันภาพในหัวผมที่ พบเจอ ...ผมมองเป็น ...ศิวลึงค์และแท่นบูชา !!


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ สวัสดีปีใหม่ด้วยภาพวาดจากศิลปินสี่แผ่นดิน “แนบ ทิชินพงศ์” ครูแนบ ทิชินพงศ์ ศิลปินดีเด่นคนเดียวของเมืองนคร เป็นครูสอนสีน�้ำของผม ....ผมได้ใช้ความรู้ด้านการถ่ายภาพ ตามเก็บภาพของคุณครูที่วาดไว้ในที่ต่างๆ ทั่วภาคใต้ จนตอนนี้มีภาพผลงานเก่าๆ ของคุณครูกว่า ๓๐๐ ภาพแล้ว ปีใหม่ ๒๕๕๘ ผมน�ำภาพเก่าบางส่วนของคุณครู เป็นภาพวาดที่ยังคงมีต้นฉบับจริง มาให้ชมกันครับ (เตรียมชมผลงานชุดใหญ่ของคุณครู ได้ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ต้นปี ๒๕๕๘ น่ะครับ)

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

นภสร มีบุญ

วามคิดถึงมักท�ำให้ผู้คิดและผู้ได้รับ มีความสุขเสมอ โอลั่ลล้า พากิน พา เที่ยวฉบับนี้หอบความคิดถึงมาฝากท่าน ผู ้ อ ่ า นโดยเฉพาะ ..ขอให้ มี ค วามสุ ข ส่ ง ท้ายปลายปีและสุขยาวไปจนถึงปี ๒๕๕๘ ทุกๆ ท่านนะคะ .. สตาร์ทเครื่องพร้อมกับ ล้อหมุนของการเดินทางครั้งนี้ ขอพาทุก ท่านไปเปลี่ยนบรรยากาศ รับลมทะเล กับบรรยากาศอันฉ�่ำเย็น พร้อมการ บริ ก ารที่ อ บอุ ่ น อาหารรสเลิ ศ จากการ พิถีพิถันและคัดสรรวัตถุดิบที่สดสะอาดมา ปรุงรสอย่างอร่อยแบบกลมกลืน ณ ร้าน ครัวบินตังปลาเผา (บินตังสาขา ๒) ที่ ไม่ใกล้ไม่ไกล สะดวกทั้งการเดินทางและ ลู ก ค้ า สั ญ จร เนื่ อ งจากสถานที่ ตั้ ง ติ ด ริ ม ถนนสายหลัก นครศรี-ท่าศาลา หากขับรถ ไปจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช ใช้เวลา ไม่ ถึ ง ครึ่ ง ชั่ ว โมงบริ เ วณบ้ า นในถุ ้ ง มอง ทางขวามือจะเห็นป้ายสูงใหญ่ตระหง่าน ติดริมถนน หลังจากนั้น ให้ไปกลับรถกลับ มาทางเข้าตัวเมือง เพียงแค่นิดเดียวก็ถึง แล้วค่ะ...ลานจอดรถกว้างขวางบรรยา-

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ กาศสบายๆ หากไปถึงก่อนตะวันจะลับฟ้า รับรองได้ว่าบรรยากาศดีสุดๆ ชั้ น ล่ า งนั่ ง รั บ ลมโปร่ ง สบาย ห้ อ ง แอร์ ด ้ า นในส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ม าเป็ น หมู ่ ค ณะ จุได้ประมาณ ๓๕ ท่าน กับความเป็นส่วน ตัว ส่วนชั้นบน(ดาดฟ้า) สามารถมองเห็น วิ ว ทะเลแบบพาโนรามา กั บ เมนู จิ้ ม จุ ่ ม หม้อดินรสเด็ด ที่มีทั้งน�้ำจิ้มรสหวานและ เผ็ดตามความชื่นชอบของลูกค้า, ปลาเผา รสหวานน่ารับประทานเพราะปลาที่นี่สด ทุกตัว, กุ้งตัวโต ที่ชาวเลออกเรือหาด้วย วิ ถี ธ รรมชาติ บอกได้ เ ลยว่ า ก� ำ ไรจริ ง ๆ ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ไ ด้ ม าชิ ม เพราะเหนื อ อื่ น ใดที่นี่อาหารราคาเป็นกันเองค่ะ ไม่เอา เปรียบผู้บริโภคแน่นอน ส�ำหรับเครื่องดื่ม น�้ ำ ผลไม้ ห ลากหลายเมนู ก็ พ ร้ อ มเสิ ร ์ ฟ ทันที ความสุขของการได้บริโภคอาหาร อร่อย มีคุณภาพ ราคาไม่แพง ทุกอย่างลง ตัวจริงๆ กับที่นี่ ครัวบินตังปลาเผา (บิน ตัง สาขา ๒) @ เมืองคอน ร้านที่ต้องห้าม พลาด .. อย่าลืมหาโอกาสแวะเวียนไปลิ้ม ลองนะคะ ถ้าไม่ไปเดี๋ยวคุณจะคุยกับใคร ไม่รู้เรื่อง จริงๆ นะคะ ร้านเปิด ๑๐.๐๐ - ๒๒.๐๐ น. หยุด ทุกวันพุธ และเปิดทุกวันนักขัตฤกษ์ ส�ำรองโต๊ะโทร.๐๗๕-๕๒๒-๒๒๙, ๐๘๗-๓๘๖-๐๘๓๓ พิ เ ศษสุ ด ๆ ส� ำ หรั บ ผู ้ อ ่ า น นสพ. รั ก บ้ า นเกิ ด ฯ เพี ย งแสดงหนั ง สื อ พิ ม พ์ ฉบับนี้รับส่วนลด ๑๐% ส�ำหรับอาหาร ขอขอบคุณ ..ร้านครัวบินตังปลา เผา พร้อมการบริการที่ประทับใจ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

ภาพต้นแบบและแผ่นป้ายชุดแรกที่ติดตั้งแล้วบน ผนังภายในวัดพระบรมธาตุและซุ้มประตู

แบบแท่นปูนลอยตัวส�ำหรับติดตั้งป้ายประเภทลอยตัว คณะบุคคลผู้มีส่วนร่วมในการด�ำเนินการ ประกอบด้วย วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการพระธาตุสู่มรดกโลก และ บวรนคร

ส่ ว นหลายเรื่ อ งเหลื อ เชื่ อ และชวน ติดตามแบบห้ามพลาดของเมืองนครในช่วง ข้ามปีนี้ที่ขอให้แก้ไขได้ลุล่วงด้วยดีมีมงคล กั บ บ้ า นเมื อ งให้ ส มกั บ ที่ บ รรพชนเลื อ กรั บ พระพุ ท ธศาสนาและสร้ า งสรรค์ เ ป็ น มรดก ส�ำคัญไว้ให้ทั้งทางวัตถุและทางธรรม ตามที่มี ข้อความจารึกบนแผ่นทองที่ปลียอดว่า “ขอ ให้ส�ำเร็จสมบัติสามประการ คือ มนุษยสมบั ติ แ ลสวรรคสมบั ติ มี พ ระนิ พ พาน สมบัติเป็นที่สุด ตามประเพณีพระอริยเจ้า แต่ก่อนนั้นแล” นะครับ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง สนิ ม ที่ ไ หลลงมาตามปลี ย อดองค์ พ ระจน

เกื อ บเต็ ม องค์ จ นมี ค นบอกผมว่ า เป็ น ปาฏิ หาริย์พระธาตุที่ก�ำลังจะกลายเป็นทองทั้งองค์ แล้ว เรื่องแปลกประหลาดในโครงการพันล้าน การก่อสร้างที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ที่ใช้ หลั ก ฐานเป็ น เท็ จ และการน� ำ รถทหารจาก กองทัพภาคที่ ๔ ไปขนข้าวของหนีภาษีในยุค คืนความสุขให้ประเทศไทย ฯลฯ ที่หวังว่าจะ ไม่ท�ำให้กลายเป็นเมืองต้องห้ามในลักษณะ อื่นๆ อีกนะครับ สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๘ ครับ บัญชา พงษ์พานิช ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๗


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.