นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘

Page 1

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

'รักบ้านเกิด' เห็นว่าแนวคิดและข้อเสนอของ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ลู ก หลานชาวนคร อดี ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศ และอดีตเลขาธิการอาเซียนเสนอไว้ในการประชุมหัวข้อ 'คิดสร้างชาติ' มีมุมมองเรื่อง TPP น่าสนใจและควรได้รับ ความสนใจก่อนการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปลาย ปี ๒๕๕๘ กองบรรณาธิการจึงน�ำใจความส�ำคัญมาถ่ายทอด ใน 'รักบ้านเกิด' อีกครั้ง

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ กล่าวว่า “การเสียโอกาสใน TPP คือ ปัจจัยเร่งใหม่ให้ไทยต้องปรับตัวอย่างเร่งด่วน” แล้ว TPP คืออะไร ค�ำตอบ TPP คือเขตการค้าเสรีที่ส�ำคัญของโลกอนาคต TPP ย่อมา จาก Trans - Pacific Partnership ซึ่งประเทศไทยไม่ได้เป็นสมาชิก ซึ่งจะเป็นผลลบต่อประเทศไทย

˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒

รร.ตันติวัตร อ.ทุ่งสง พัฒนาสู่มาตรฐานสากล ครูอาจารย์ ไทย-ฝรั่ ง ล้ ว นเป็ น ช� ำ นาญการสายตรง แผนกภาษา อังกฤษ (EP) ม.เคมบริดจ์เชื่อมั่นให้ใช้ Cambridge ESOL Standards เป็นมาตรฐานในการเรียนการสอนเพียงหนึ่ง เดียวในเมืองนคร ผู้ปกครองให้การยอมรับและยินดีฝาก อนาคตของลูกไว้กับโรงเรียน

˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

1.อมรเทพ เกตุแก้ว 2.David Whitset 3.Ken Koga

เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๘ คณะผู้บริหารโรงเรียนน�ำ โดยนางสาวกัญญา จันทร์จุไร ผู้อ�ำนวยการ เครือข่ายผู้ปกครอง และแขกผู้มีเกียรติกว่า ๑๐๐ จัดงานแสดงความยินดีเนื่องใน โอกาสโรงเรียนตันติวัตรได้รับการยกระดับเป็นโรงเรียนเอกชน ที่ มี คุ ณ ภาพสู ่ ม าตรฐานสากล และฉลองโรงเรี ย นตั น ติ วั ต ร >> อ่านต่อหน้า ๙ อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๒

ควันไฟจากอินโดนีเซียแผ่กระจายเข้าครอบคลุม หลายจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย รวมทั้งจังหวัด นครศรีธรรมราช ควันไฟส่งผลกระทบด้านสุขภาพ ความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและการมอง เห็น ควันไฟจากอินโดนีเซียตอกย�้ำเรื่องอากาศไม่มี พรมแดนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น กระนั้นประเทศที่ได้รับผล กระทบก็ยังไม่มีมาตรการเอาโทษประเทศต้นเพลิง แต่อย่างใด ขณะเดียวกันประเทศต้นเพลิงก็ไม่ได้ สัญญาว่าจะแก้ปัญหาการเผาป่าให้ลดลงหรือไม่ให้ กระทบต่อเพื่อนร่วมภูมิภาค ควั น ไฟจากอิ น โดนี เ ซี ย เป็ น ปั ญ หาที่ ป ระเทศใน ประชาคมอาเซียน อย่างสิงคโปร์ มาเลเซีย หรือ ไทยต้องรับมือกันเอง ถ้าพูดกันให้ตรงเป้า ประชาชน ในประเทศต่างๆ ต้องรับมือกันเอง เพราะรัฐบาล ไม่ ไ ด้ จั ด งบประมาณส� ำ หรั บ แก้ ป ั ญ หาควั น ไฟจาก อินโดนีเซียเอาไว้โดยตรง ประชาชนต้องควักกระเป๋า ซื้อหน้ากาก หรือยากินเอง หมอกควันสร้างปัญหา การมองเห็น ซึ่งอาจน�ำไปสู่อุบัติเหตุบนท้องถนน ส่วนฝุ่นควันปกคลุมยาวนานอาจท�ำให้พืชผักหรือ บ้านเรือนเสียหาย หลังการเปิดประชาคมอาเซียน ประเทศสมาชิกที่ได้ รั บ ผลกระทบควรประชุ ม หาแนวทางแก้ ไ ขการเผา ป่าหรือเรียกร้องความรับผิดของประเทศต้นเพลิง เพราะควั น ไฟไม่ ไ ด้ เ กิ ด เองโดยธรรมชาติ เ หมื อ น แผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด แต่เกิดจากน�้ำมือ ของมนุษย์ เพื่อให้ประชากรอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่าง ปลอดภัย หรือหากมีผลกระทบทางธรรมชาติหรือ สังคมด้านอื่นๆ ก็ควรประชุมหารือเสียแต่เนิ่นๆ หลัง การเปิดประชาคมอาเซียนประชากรอาเซียนจะอยู่ อย่างมีหลักประกันว่าประเทศหนึ่งจะไม่สร้างปัญหา ให้ประเทศหนึ่งหรือหลายประเทศแบกรับ

มื่อวันที่ ๑๗ กันยายนที่ผ่านมา ท่านเจ้าคุณพระเทพวินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุรับอาราธนานิมนต์ไป ร่ ว มงานการอภิ ป รายเชิ ง วิ ช าการถวายสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่สยามสมาคม กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ "ถอดรหัสพระบรมธาตุเมืองนคร" ที่มีผู้ เข้าร่วมรับฟังแน่นขนัด จัดโดยมูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์ ร่วม กับ สุธี-รัตนามูลนิธิ โดยผมรับหน้าที่สรุปส่งท้ายตามทัศนะ ส่วนตัวมาแต่เดิมเหมือนกับหลายๆ ท่าน คือ "เป็นมรดก ธรรมล�้ำค่าเกินกว่ามรดกใดๆ โดยไม่ต้องไปขอให้ใครมา รับรอง" แต่เมื่อมากันถึงขนาดนี้แล้วก็ต้องช่วยกันต่อไป ขณะที่ก�ำลังรอผลการส�ำรวจวิเคราะห์เรื่อง "สนิมไหล ลงมาจากปลียอดพระธาตุ" ที่เพิ่งตั้งนั่งร้านแล้วเสร็จและ คณะของกรมศิลปากรเพิ่งได้ขึ้นไปท�ำการ ก่อนที่ฝนฟ้าจะ ตกต่อเนื่องตลอดจนเข้าสู่เทศกาลงานบุญใหญ่อย่างต่อเนื่อง "เดือนสิบ-กินเจ-ออกพรรษา" ที่มีสองกิจกรรมใหญ่ "แห่หมฺรับ - ชักพระ" กันอย่างเอิกเกริกและสมกับที่จัดกันที่ เมืองนคร ที่ถือเป็นเมืองประวัติศาสตร์ อู่อารยธรรมส�ำคัญ ของภูมิภาค ได้ชื่อว่าเป็นเมืองพระ ในขณะที่การบูรณะ ปรับปรุงบริเวณก็เร่งมือเพื่อให้ทันงานบุญใหญ่เพราะใครๆ ก็จะพากันมาไหว้พระธาตุกันทั้งนั้น แล้วแทนที่จะได้ชื่นชม โสมนัสสมกับการทุ่มเทและตั้งตารอ เมื่อวันแห่หมฺรับใหญ่ ๑๑ ตุลาคม ฝนห่าใหญ่ก็เทลงมาจน "ท่วมแทบทั้งวัด" ที่ ตั้งอยู่บนยอด "ดอนพระแห่งเมืองนคร" อย่างไม่มีใครคาด คิดว่าจะเกิดปรากฏการณ์ต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่จนถึงทุก วันนี้ ซึ่งยังไม่ทราบว่าจะลงเอยอย่างไรได้ เพราะไม่ได้เป็น เพียงการท่วมขังบนลานทราย แต่กลายเป็นการท่วมท้นล้น ทะลักแทบทุกชั้น ตั้งแต่ลานเจดีย์ราย เข้าไปในระเบียงคด

ออกมาที่ ล านทรายในขอบ ปูลาดทางเดิน ในเขตรั้วเดิมของวัด จนกระทั่งถนนที่เพิ่ง ปู ล าดก้ อ นคอนกรี ต หล่ อ คนมาไหว้ พ ระธาตุ ไ ด้ ท� ำ บุ ญ พิเศษด้วยการช่วยกันวิดน�้ำออกจากวัด ซึ่งน่าจะไม่เคยเกิด ปรากฏการณ์อย่างนี้มาก่อน ในขณะที่หลายคนก็พากัน เกรงว่าจะเป็นอย่างนี้เสียแล้ว ไม่ทราบว่าในการออกแบบ ก่อสร้างปรับปรุงครั้งนี้ได้ค�ำนึงถึงเรื่องเหล่านี้ดีพอเพียงไร ? ถึงได้ท�ำให้ "องค์พระบรมธาตุที่ยอดดอนพระแห่งเมือง นคร" เผชิญภาวะเช่นนี้ได้ ยิ่งได้ทราบข่าวว่าไม่แต่เพียง เท่านี้ ระบบไฟส่องสว่างกลางคืนก็เกิด "ดับ" มาหลายวัน อาจจะจากน�้ำที่ท่วม แถมทรายที่ปูก้อนคอนกรีตหล่อที่ ถนนก็ถูกน�้ำเซาะหายไปเกิดการผิดรูปไปไม่น้อย เหล่านี้ ยังไม่รวมถึงสิ่งอื่นๆ ที่ยังไม่รู้ว่าจะลงเอยอย่างไร ไม่ว่าเสา ไฟฟ้านอกถนนที่อุตส่าห์เอาเสาและสายไฟลงใต้ดินตลอด แนวแต่ได้เสาใหม่มีสรรพสัตว์ล่องลอยอยู่บนยอดเต็มไป หมด ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ทางเดิ น ให้ ค นตาบอดตลอดแนวไว้ ด้วย แต่ท�ำไมจึงตั้งเสาไฟตรงแนวตลอดระยะอย่างนั้น คน ตาบอดไม่เดินชนครบสิบสองเสานักษัตรตกถนนกันหรือ? ส่วนแผงกั้นหน้าร้านค้าที่หลายเสียงบอกว่าอยากให้แก้ไข แม้กระทั่งอาคารบริการของวัดที่น่าจะไม่ลงตัวเพราะทาง วัดเริ่มสร้างเองแล้ว ผมนึ ก ได้ แ ต่ ว ่ า ขออย่ า ให้ มี ก ารพลาด ในการบุ ญ ส�ำคัญครั้งนี้ ที่ผู้คนล้วนมุ่งหมายได้ร่วมศรัทธาถวายพระ ธาตุ ตั้งแต่ที่มีคณะบุคคลคิดเสนอชื่อพระธาตุเป็นมรดก โลก คนก็โมทนาสาธุท่วมหัว รัฐบาลนอกจากหนุนเสริม น�ำเสนอจนขึ้นบัญชีแบบเร่งด่วนได้แล้ว ยังจัดสรรงบมาให้ (อ่านต่อหน้า ๑๙) จังหวัดใช้ปรับปรุงอย่างที่รู้


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๓

ขินอยู่เหมือนกัน เมื่อคิดว่าต้องเขียน เรื่อง 'ตัวเอง' แต่พอคิดว่าเป็นการชัก ชวนเด็กๆ คนรักการอ่าน หรือคนรักแมว มาอ่านนิยายสั้นๆ เรื่องหนึ่ง ก็หายเขิน ด้วยเหตุบังเอิญแท้ๆ ที่ฉุดกระชาก ให้ 'เข้าคลุกแมว' ก็อาจเหมือนใครๆ อีก หลายร้อยคนที่จ�ำใจต้องเลี้ยงแมว (หรือ

หมา) เลี้ยงแล้วหลงรักเอ็นดูจนตัดไม่ขาด ทิ้งไม่ลง กลายเป็นความผูกพันและ สิ่งบ�ำบัดความเหงาในบางเวลา อยากเล่าว่าผมลงมือเขียนเรื่องนี้ ราวๆ ๘-๙ ปีที่แล้ว ก่อนเกิดกระแสแมว อย่างปัจจุบัน เขียนแล้วขัดเกลาพออ่าน ได้ส่งไปให้นิตยสาร 'ขวัญเรือน' พิจารณา ตีพิมพ์ นิยายไปเข้าแฟ้มรอตีพิมพ์อยู่ ๒-๓ ปี โดยผมไม่กล้าถามว่านิยายผ่าน หรือไม่ผ่านการพิจารณา บังเอิญเป็นคน ไม่เซ้าซี้ให้เขาร�ำคาญ ปลายๆ ปี ๒๕๕๑ 'เข้าคลุกแมว' ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ใน นิตยสาร 'ขวัญเรือน' พอมีค่าเรื่อง ซื้ออาหาร ซื้อยารักษาแมว ปี ๒๕๕๒ แพรวส�ำนักพิมพ์ น�ำไปจัดพิมพ์รวม เล่มจ�ำหน่ายทั่วประเทศ นักอ่านแฟน ประจ�ำ-แฟนใหม่ต้อนรับอย่างอบอุ่น

ปี ๒๕๕๘ ลิขสิทธิ์ท�ำไว้กับแพรว ส�ำนักพิมพ์ ๕ ปี สิ้นสุด ผมขอน�ำมาจัด พิมพ์เองอย่าง 'ขน�ำน้อยกลางทุ่งนา' คนเขียนรูปประกอบที่มีงานเต็มมือกรุณา วาดปกสวยๆ ให้อย่างที่ปรากฏ มีโอกาสขึ้นไปงานมหกรรมหนังสือ

แห่งชาติที่ศูนย์สิริกิติ์ก็ไปยืนขายเองที่ บูธของสายส่ง บริษัทเคล็ดไทย ผู้จัด จ�ำหน่าย หวังให้หนังสือขายได้บ้าง อย่าให้ถึงกับขาดทุนจนเสียก�ำลังใจ นับเป็นโชคดีของบรรดาแมว ที่นัก อ่านสนใจซื้อหาไปอ่าน โพสต์รูปหนังสือ และข้อคิดเห็นส่งผ่าน Faccbook มาให้ ดู แฟนๆ 'รักบ้านเกิด' หากอุดหนุนค่า อาหารแมวเชิญแวะร้านหนังสือใกล้บ้าน เมืองนครเราเชิญที่ ร้านเส้งโห, ร้านซีเอ็ด ร้านนายอินทร์, ทุ่งสงบรรณาคาร ต่างจังหวัดร้านใหญ่ๆ ใกล้บ้าน ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ช่

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๘

วงเดื อ นตุ ล าคมที่ ผ ่ า นมา มี ง านบุ ญ ประเพณีใหญ่ๆ ถึงสามงานมาตรงกัน คืองานประเพณีกินเจของชาวจีน ประเพณี บุ ญ สารทเดื อ นสิ บ และงานประเพณี ลากพระ ประเพณี ล ากพระนี้ จ ะมี ขึ้ น ใน วั น แรม ๑ ค�่ ำ เดื อ น ๑๑ หลั ง วั น ออก พรรษาหนึ่งวัน ความเป็นมาของประเพณี ลากพระนี้ เ ล่ า กั น มาเป็ น พุ ท ธต� ำ นานว่ า "ครั้ ง หนึ่ ง พระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรด พุ ท ธมารดา เมื่ อ สิ้ น สมั ย พรรษาก็ เ สด็ จ กลั บ มายั ง โลก มนุษย์ พระอินทร์ได้เนรมิตบันไดแก้วทอดจากสวรรค์ มายังโลกมนุษย์ถึงประตูเมืองนครสังกัสสะ ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ พุทธศาสนิกชนทั้งหลายทราบเรื่องการ เสด็จกลับของพระพุทธองค์จาก ‘พระโมมัคลาน’ จึง มารอรับเสด็จพระองค์อย่างล้นหลาม ต่างท�ำภัตตาหาร เตรียมไปถวายพระพุทธองค์ แต่จ�ำนวนผู้คนมากมายจน มิอาจเข้าใกล้ได้ จึงน�ำอาหารห่อด้วยใบไม้แล้วส่งกันต่อๆ เข้าไป บ้างก็โยนเข้าไป ปาเข้าไป ต�ำนานกล่าวว่าด้วยแรง อธิษฐานและบุญญาภินิหารแห่งพระพุทธองค์ อาหาร เหล่านั้นต่างตกลงในบาตรของพระพุทธองค์ทั้งสิ้น แล้ว ผู้คนก็ช่วยกันแห่แหนตามพระพุทธเจ้าสู่ส�ำนัก" จึงเป็นที่มาของประเพณีของภาคต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นประเพณี ‘ตักบาตรเทโวโรหนะ’ และทางภาคใต้เป็น ‘ประเพณีลากพระ’‘ประเพณีซัดต้ม’ และ ‘ชิงต้ม’ ใน ที่สุด หลักฐานเก่าแก่ชิ้นหนึ่ง ได้กล่าวถึงเรื่องประเพณี ลากพระเมืองนคร เมื่อพระภิกษุชาวจีนชื่อ ‘อี้จิง’ ได้ เดินทางไปจาริกแสวงธรรม ณ ดินแดนชมพูทวีป เดิน ทางมายังคาบสมุทรมลายูผ่านเมือง ‘ตามพรลิงค์’ ซึ่ง ท่านภิกษุอี้จิงเรียกเมืองนี้ว่า ‘ตั้งหม่าหลิง’ ท่านใช้เวลา

ภาพ : นพ.บัญชา พงษ์พานิช

ในการเดินทางมาแสวงธรรมในช่วง พ.ศ.๑๒๑๔-๑๒๓๘ ได้พบเห็นประเพณีของเมืองนี้ โดยบันทึกไว้ว่า "พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่ง มีผู้คนแห่แหนน�ำมาจากวัด โดยประดิษฐานบนรถหรือแคร่ มีพระสงฆ์และฆราวาส หมู ่ ใ หญ่ แ วดล้ อ มมา มี ก ารตี ก ลองและบรรเลงดนตรี ต่างๆ มีการถวายของหอม ดอกไม้ และถือธงชนิดต่างๆ ที่ทอแสงในกลางแดด พระพุทธรูปเสด็จสู่หมู่บ้านด้วยวิธี ดังกล่าวนี้ ภายใต้เพดานอันกว้าง" บั น ทึ ก ฉบั บ นี้ เ วลาล่ ว งมาแล้ ว ร่ ว ม ๑๓๕๐ ปี ประเพณี ที่ ท ่ า นอี้ จิ ง ได้ พ บเห็ น นั้ น เป็ น การยื น ยั น ว่ า ประเพณีลากพระนี้ มีอยู่ในเมืองนครมาแต่โบราณแล้ว การแสดงออกของพุ ท ธศาสนิ ก ชนเพื่ อ ระลึ ก ถึ ง เหตุการณ์ ครั้งพระพุทธเจ้าได้เสด็จกลับจากชั้นดาวดึงส์ ภายหลังจึงมีการน�ำพระพุทธรูปมาประดิษฐานบนบุษบก แห่แหนต้อนรับเหมือนเมื่อครั้งพุทธกาล พระพุทธรูปที่ใช้ ในพิธีการลากพระนั้น จะเรียกว่า ‘พระลาก’ โดยนิยมใช้ พระยืนเป็นหลัก มีการใช้ ‘พระปางลีลา’ นัยว่าพระองค์ เสด็จด�ำเนินลงมาจากสรวงสวรรค์ บางแห่งใช้ ‘ปางอุ้ม บาตร’ จึงมีการตัดบาตรหน้าล้อในพิธีลากพระ บางแห่ง ใช้ ‘ปางคันธารราษฎร์’ ซึ่งเป็นพระปางขอฝนด้วย ช่วง หลังพรรษาชาวนาจะเริ่มฤดูท�ำนา จึงเชื่อว่าแห่พระปางนี้ แล้วฝนฟ้าจะอุดมสมบูรณ์ สมั ย โบราณผู ้ ค นล้ ว นใช้ ล� ำ น�้ ำ เป็ น ที่ สั ญ จรเป็ น ส่วนใหญ่ บ้านเรือน วัดวาอารามจึงปลูก สร้ า งอยู ่ ริ ม น�้ ำ การลากพระที่ ส ะดวก ที่สุดก็คือใช้เรือ จึงมีการสร้าง ‘เรือพระ’ เพื่อความสะดวกในการลากพระ เรียก ติดปากว่า ‘เรือพระ’ แม้จะลากทางบกก็ ยังเรียกว่า 'เรือพระบก' การลากพระทางน�้ ำ จะน� ำ ‘นม พระ’ ซึ่งสร้างเป็นซุ้มมีหลังคาตกแต่ง อย่างสวยงามรูปทรงจตุรมุข ทรงฉัตร ทรงเจดีย์ แล้วแต่จะประดิษฐ์ประดอย ภาพ : pleng1567.wordpress.com น�ำมาวางไว้บนเรือ >> อ่านต่อหน้า ๙

วั น ที่ ๒๐ ตุ ล าคม ๒๕๕๘ พงศ์ เ ทพ ไข่ มุ ก ด์ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชได้ รั บ พระกรุ ณ า โปรดเกล้ า ฯ ให้ อั ญ เชิ ญ พวงมาลาหลวง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และ พระบรมวงศานุ ว งศ์ ไปวางหน้ า หี บ ศพอาสาสมั ค รทหาร พรานพิพัฒน์พงศ์ ช่วยบุญส่ง ที่เสียชีวิตจากความไม่สงบ จังหวัดชายแดนใต้ ณ บ้านเลขที่ ๒๗/๑ หมู่ ๓ ต.ท่าเรือ อ.เมือง และร่วมแสดงความเสียใจแก่ พวงศักดิ์ กับปิยะนุช ช่วยบุญส่ง ผู้เป็นบิดามารดา อภินันท์ จันทรังษี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เป็น ประธานประชุ ม ผู ้ บ ริ ห าร และหั ว หน้ า ส่ ว นราชการในสั ง กั ด ส�ำนักประชาสัมพันธ์เขต ๕ เพื่อชี้แจงและมอบหมายแนวทาง การปฏิบัติราชการตามนโยบายของรัฐบาลในประเด็นการยุติ ความขัดแย้งและสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนใน ชาติ ตาม ROAD MAP ของรัฐบาลและ คสช. เรื่องลดความ เหลื่อมล�้ำในสังคม การเตรียมความพร้อมรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน การสนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรม Bike for Dad 'ปั่นเพื่อพ่อ' ซึ่งสมเด็จพระบรม โอรสาธิ ร าชฯ จะทรงน� ำ คนไทยทั่ ว ประเทศปั ่ น จั ก รยานอี ก ครั้ง เนื่องในวโรกาสคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ใน วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๐๐ น.


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๕

Mr.Gaku Nakanishi

วันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ฝ่ า ยฆราวาส และ พระเทพวิ น ยาภรณ์ รองเจ้ า คณะภาค ๑๖-๑๗- ๑๘ (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราชร่วมเป็นประธาน ประกอบพิธี บ� ำ เพ็ ญ พระกุ ศ ลครบ ๒ ปี แห่ ง การสิ้ น พระชนม์ สมเด็ จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

วันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๘ สมศักดิ์ ห่มม่วง ผู้ตรวจ ราชการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานเปิดประชุมสร้างความ เข้าใจในมาตรการแก้ไขปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมาย (IUU Fishing) ทั้งการจับปลาและการค้ามนุษย์ในรูปแบบแรงงาน ประมงโดยมีหัวหน้าส่วนราชการ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ประมง และประชาชน ณ โรงแรมสุภา รอยัล บีช อ.ขนอม หน่ ว ยงานเพื่ อ ติ ด ตามเร่ ง รั ด การใช้ จ ่ า ยเงิ น ปี ง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ ตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘ ที่เห็นชอบในมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย เพื่อสนับสนุนให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศวงเงิน กว่า ๑,๕๘๖ ล้านบาท

ข้าวกล้าจะงอกงามขายได้ราคา...วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ ผศ.ประสิทธิ์ คงทอง, อดีต ส.ส.อภิชาต ศักดิเศรษฐ์ เขต ๑, ผศ.ดร.รงค์ บุญสวยขวัญ, ปราโมทย์ สวนประพัฒน์ นายก อบต.มะม่วงสองต้น และสมาชิกพรรค เชิญอดีตนายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์มาเป็นประธาน ด�ำนา บริเวณทุ่งนาถนนสายพุทธภูมิ ต.มะม่วงสองต้น อ.เมือง จังหวัดนครศรีฯ วั น ที่ ๒๒ ตุ ล าคม ๒๕๕๘ (ห้ อ งประชุ ม ศรี วิ ชั ย ชั้น ๕ ศาลากลางจังหวัด) สมเกียรติ จันหนู หัวหน้าส�ำนักงาน จังหวัดฯ เป็นประธานประชุมหัวหน้าส่วนราชการและผู้แทน

Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

วั น ที่ ๒๐ ตุ ล าคม ๒๕๕๘ บริ ษั ท กลางคุ ้ ม ครอง ผู ้ ป ระสบภั ย จากรถจ� ำ กั ด , ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ฮอนด้ า ศรี น คร, ผู ้ บ ริ ห ารร้ า นสลั ด น�้ ำ , สภ.เมื อ งฯ และกรรมการหอการค้ า จังหวัดร่วมลงนามความร่วมมือเสริมสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน โดยมี บ.ฮอนด้าศรีนคร และ ร้านสลัดน�้ำเป็นหน่วยงานต้นแบบด้านการสวมหมวกนิรภัย ๑๐๐% ณ ห้องประชุมร้านสลัดน�้ำ นครไอทีพลาซ่า

Page เพชรทองซีกวง

: Boonpalika

Seekuang BJ

ฮอนด้าเทิดพระเกียรติ ผู้จัดจ�ำหน่าย รถยนต์ฮอนด้า เตรียมทุ่มทุนกว่า ๑ ล้านบาท จั ด งานเปิ ด ตั ว โชว์ รู ม ทั น สมั ย และศู น ย์ บ ริ ก าร ครบวงจร (Grand Opening) ภายใต้แนวคิด Japanese Culture (วั ฒ นธรรมญี่ ปุ ่ น ร่ ว ม สมั ย ) ในวั น ที่ ๑๑ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ชม คอนเสิร์ตวง Polycat จากค่ายสมอลล์รูม และ ศิลปินรับเชิญอีกมากมาย ผู้เข้าร่วมงานจะได้ สัมผัสถึงบรรยากาศกลิ่นอายญี่ปุ่น เริ่มตั้งแต่ ๐๙.๐๐-๑๓.๐๐ น. พบกิจกรรมน่าสนใจ ๑๑ รายการ เปิดตัวมัสค็อตฮอนด้าเทิดพระเกียรติ, Mr.Gaku Nakanishi ประธานกรรมการและ ซี อี โ อ บ.ฮอนด้ า ออโตโมบิ ล (ประเทศไทย) จ�ำกัด มาร่วมเป็นเกียรติ, พารามอเตอร์ ๑๑ ล�ำ บินโชว์, จองรถรับส่วนลด ๒๐,๐๐๐ บาท, เล่นเกมและลุ้นรับไอโฟน ๖ สนใจเชิญที่โชว์รูม ฮอนด้ า เทิ ด พระเกี ย รติ ถ.เทิ ด พระเกี ย รติ ต.ปากนคร อ.เมือง จ.นครศรีฯ

วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ปาลิกา (บุ๋น) จึงไพศาล เจ้าของและผู้บริหารห้างเพชรทองซีกวง ร่วมกิจกรรมวันชาติ จีน ชุดสวัสดีอาเซียน พร้อมกับประภา ชยันต์เกียรติ แห่ง ร้านโกปี๊ สนับสนุน โดยเทวสถานเต็กก่าจีคุงเกาะ นครศรีธรรมราช ๒๕๕๘

ข่าวของคนรักทองค�ำ...ซื้อหรือฝากทองค�ำรูปพรรณ มี สิ ท ธิ์ ลุ ้ น ทองค� ำ รู ป พรรณ ๑ สลึ ง ทุ ก เดื อ น ที่ ร ้ า นเพชร ทองซี ก วง สาขาถนนเนรมิ ต ร, หั ว อิ ฐ , ท่ า ม้ า , ตลาดเสาร์ อาทิ ต ย์ และสี่ แ ยกคู ข วาง และเชิ ญ รั บ โปรโมชั่ น พิ เ ศษสุ ด คืนความสุข แบบ unlimited ไม่มีก�ำหนดเวลา แด่ลูกค้าห้าง ทองซีกวง by Boon and Jo ทั้ง ๕ แห่ง@นครศรีธรรมราช สอบถามเพิ่มเติม ๐๙๙-๑๙๕-๖๙๙๖ (ปาลิกา) หรือ ๐๗๕๓๔๒-๙๒๐ boonada

099-195-6996

WWW.SEEKUANG.COM

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๖

เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยวิ ช าการ ซึ่ ง ขณะนั้ น ผศ.สุ พั ต รา สื บ ประดิ ษ ฐ์ เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ “โรงเรี ย นตั น ติ วั ต รอยู ่ ไ ม่ ไกลบ้ า น อยู ่ อ� ำ เภอร่ อ นพิ บู ล ย์ ห ่ า งจาก โรงเรียน ๓๐ กิโล ดิฉันดูแลพ่อแม่สะดวก" ต่อมา ผศ.สุพัตราลาออกเจ้าของและ ผู ้ บ ริ ห ารสนั บ สนุ น ให้ เ ป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียน เธอเล่ า ว่ า หลั ง ก� ำ หนดนโยบายก็ บริหารกระจายอ�ำนาจ โดยมีหัวหน้าแผนก รับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อสร้างคนให้มีภาวะผู้น�ำ โรงเรียนมีเด็กปฐมวัยอายุ ๓-๕ ขวบกว่า ๗๐๐ คน "เด็ ก วั ย นี้ เ ราต้ อ งพั ฒ นาร่ า งกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญา เตรียม ความพร้ อ ม สร้ า งพื้ น ฐานให้ พ ร้ อ ม IQ (Intelligence Quotient / ความฉลาด ทางเชาวน์ปัญญา) และ EQ (Emotional Quotient / ความฉลาดทางอารมณ์) มี ความรู้ อารมณ์ สอนผ่านกระบวนการเล่น กิ จ กรรม การลงมื อ ท� ำ กิ จ กรรมสามารถ สร้างแนวความคิดได้ รู้ผิด รู้ถูก รู้วิธีแก้ ปัญหาไปในตัว มีครูเป็นผู้คอยดูแล" การเรี ย นการสอนระดั บ ประถม ศึกษา เธอกล่าวว่า "เน้นวิชาการมากขึ้น แต่ จ ะมากไปก็ ไ ม่ ไ ด้ คนเก่ ง มี เ ยอะ แต่

กั

ญญา จั น ทร์ จุ ไ ร เกิ ด ในครอบครั ว ทหารที่ ค ่ า ยวชิ ร าวุ ธ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เรี ย นจบมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๖ หรือ ม.ศ.๓ จากโรงเรียนสุวรรณศิลป์ วิทยา มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียน กัลยาณีศรีธรรมราช จบ ป.กศ.สูงสาขา ภาษาอั ง กฤษ จากวิ ท ยาลั ย ครู น ครศรี ธรรมราช (ม.ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช) และปริ ญ ญาตรี วิ ช าเอกภาษาอั ง กฤษ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา กลับมาเป็นครูที่โรงเรียนภาษาต่าง ประเทศ จังหวัดนครศรีธรรมราช ลาออก และย้ายไปสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียน ศรีธรรมราชศึกษา โรงเรี ย นศรี ธ รรมราชศึ ก ษาเตรี ย ม เปิดแผนก EP (English Programme) จึ ง ส่ ง ไปฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รการจั ด การ เรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษให้ นั ก เรี ย น ไทยที่ ม หาวิ ท ยาลั ย โอ๊ ค แลนด์ ประเทศ นิวซีแลนด์ และเปิดแผนก EP ระดับมัธยม ที่โรงเรียนศรีธรรมราช ปีเดียวกันเธอสมัครเป็นล่ามให้การ ฝึกซ้อมรบร่วมนานาชาติ Cobra Gold มี พ่อที่เป็นทหารสามารถขอความรู้ไปใช้ ปี ๒๕๔๐ ได้ทุน AFS ไปดูงานการ เรี ย นการสอนระดั บ ปฐมวั ย ถึ ง มหา-

แก้ปัญหาและเผชิญวิกฤต) ด้วย สิ่งเหล่า นี้ส�ำคัญและจะติดตัวเขาไป จนเป็นผู้ใหญ่ เราเน้นพัฒนาคนเป็นก�ำลังของชาติ และ ไปสู่สากลได้" เธอย�้ำว่าโรงเรียนสร้างความเข้าใจ ร่ ว มกั บ ผู ้ ป กครองว่ า โรงเรี ย นมุ ่ ง จั ด การ ศึกษาแก่ผู้เรียนทุกคนให้เต็มตามศักยภาพ และความแตกต่างของแต่ละคน ครูต้อง รู ้ ว ่ า เด็ ก มี ช ่ อ งว่ า งตรงไหน เมื่ อ หาพบก็ สามารถเติมเต็มได้ เราต้องพัฒนาเด็กเป็น รายคนเพราะแต่ ล ะคนมี ค วามแตกต่ า ง กัน โรงเรียนเชื่อว่าเด็กๆ สามารถพัฒนา ได้ทุกคน "เรามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี หั ว หน้ า ระดั บ ขึ้ น มาดู แ ลอี ก ชั้ น ระดั บ อนุ บ าลเรามี ค รู หั ว หน้ า อนุ บ าล ๑ ที่ จ ะ ดูแลครูอนุบาล ๑ ถ้ามีปัญหาอะไรก็คุย กัน มีปัญหาก็จะผ่านไปถึงหัวหน้าแผนก อนุบาล ถ้าแก้ได้ก็แก้ ถ้าไม่ได้ก็ผ่านมาถึง หัวหน้าฝ่ายวิชาการ" โรงเรี ย นส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมการอ่ า น โดยเข้าร่วมโครงการของ ‘นานมีบุ๊คส์’ ซึ่ง เป็ น โครงการของสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี โดยให้ เด็กกลับไปอ่านและผู้ปกครองต้องเซ็นรับ ทราบ โรงเรียนจัดหาหนังสือโดยครูผู้สอน กับกลุ่มสาระเป็นผู้เลือก และบรรณารักษ์

แขกผู้มีเกียรติและผู้ปกครองร่วมแสดงความยินดี เนื่องในวาระที่โรงเรียนตันติวัตรได้รับการยกย่องเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล

มร.เคน โกกะ ประธานบริหารโรงเรียนมัธยมยานากาวา ร่วมแสดงความยินดี

วิทยาลัยที่อาดิเลส ประเทศออสเตรเลีย ๔๕ วัน พบว่าเด็กๆ รู้จักใช้คอมพิวเตอร์ ตั้ ง แต่ ต ้ น "นึ ก ไว้ ว ่ า จะน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ปี ๒๕๔๔ เปิ ด EP ระดั บ ปฐมศึ ก ษาที่ โรงเรียนศรีธรรมราช" กั ญ ญาศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาการปฐมศึกษาและการบริหารการ ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี) "เราเคยเป็นครู มาก่อน ถ้าจะขึ้นฝ่ายบริหารก็ต้องเรียน เพื่อมาเป็นหัวหน้ากลุ่มหรือบริหาร" ปี ๒๕๔๘ ลาออกจากโรงเรี ย น ศรีธรรมราช ปี ๒๕๔๗ โรงเรียนตันติวัตรเปิดสอน ปี ๒๕๕๘ ผู้บริหารโรงเรียนทาบทามมา

เราพยายามมองคนดี ไ ปด้ ว ย เพราะคน ดีสามารถพัฒนาเป็นคนเก่งได้ ให้เขาทั้ง เก่ ง และดี ท� ำ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งมี ร ะบบ มี ขั้นตอน : 'คนดี คนเก่ง คนกล้า น่ารัก' ใน การพัฒนา H head, Hand ลงมือปฏิบัติ เคลื่ อ นไหว, Heart เด็ ก ต้ อ งมี ค วามสุ ข เมื่อมาโรงเรียน โรงเรียนเป็นบ้านหลังที่ สอง กิจกรรมทุกอย่างต้องจัดให้เหมือน เขาไม่ได้ไปโรงเรียน และ Health เด็ก ต้ อ งมี สุ ข ภาพดี ร่ า งกายแข็ ง แรง ร่ า เริ ง แจ่ ม ใส...H ตั ว ไหน ผู ้ ป กครองคาดหวั ง Head แต่ดิฉันว่าคนเราจะมีสมอง มี IQ อย่างเดียวไม่ได้ ต้องมี EQ MQ (Moral Quotient /จริ ย ธรรม คุ ณ ธรรม) AQ (Adversity Quotient / ความสามารถ

จะเลื อ กหนั ง สื อ ที่ ช นะการประกวดโดย เฉพาะวรรณกรรมที่เหมาะกับเด็ก ๓-๕๑๐ ขวบ เจ้ า ของโรงเรี ย นสนั บ สนุ น ให้ โรงเรี ย นตั น ติ วั ต รมี ค วามพร้ อ มต่ อ การ เรียนรู้ ปัจจุบันโรงเรียนมีนักเรียน ๑,๘๒๐ คน ครูเฉพาะทางกว่า ๑๐๐ คน กั ญ ญา จั น ทร์ จุ ไ ร ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาเอกสาขาการบริ ห ารการ ศึ ก ษา ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เย็นวันศุกร์เดินทางไปกรุงเทพฯ เรียนวัน เสาร์-อาทิตย์ เรียนเสร็จกลับมาท� ำงาน วันจันทร์


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๗

มี

โอกาสได้ไปเจอคุณสุธรรม ชยันต์เกี ย รติ (โกแอ๊ ด ) กั บ คุ ณ ประภา ชยันต์เกียรติ เจ้าของธุรกิจร้านอาหาร ชื่อดังของเมืองนคร “โกปี้” และธุรกิจ เบเกอร์รี่ “ลิกอร์” มีเวลาได้สนทนากับ ท่ า นในฐานะคนคุ ้ น เคย ผมถู ก เชิ ญ ให้ เข้าไปนั่งในห้องท�ำงาน เห็นโกแอ๊ดก�ำลัง นั่งเขียนลายกนกแบบไทยโบราณอยู่บน โต๊ะท�ำงาน ผมถามท่านว่า “อะไรเติม เต็มให้กับชีวิตในช่วงเวลาที่เหลืออยู่?” ค�ำตอบ “การได้ท�ำงานที่อยากท�ำที่ชอบ อยู่ตลอดเวลาท�ำให้มีความสุข” พร้อม กับขยายความต่อว่า “ถ้าอยู่โดยไม่ได้ ท� ำ อะไรจะท� ำ ให้ ส มองไม่ พั ฒ นา” ผม รู้สึกประทับใจและชื่นชมกับความส�ำเร็จ ทางธุรกิจของครอบครัวท่านเป็นอย่าง มาก และนี่เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของธุรกิจ ครอบครัวที่ก�ำลังก้าวผ่านช่วงการส่งต่อ ไปให้กับทายาทรุ่นที่ ๒ ต่อไป แต่ที่ผม อยากกล่ า วถึ ง ในที่ นี้ ก็ คื อ คนเราท� ำ สิ่ ง ต่างๆ ด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันไป แต่ อะไรอยู ่ เ บื้ อ งหลั ง ที่ เ ป็ น พลั ง งาน-พลั ง ปรารถนา-แรงจู ง ใจและความตื่ น เต้ น ท้ า ทายของเขา? สิ่ ง นี้ ส� ำ คั ญ มากครั บ เพียงแต่ผมไม่ได้ถามโกแอ๊ดทั้งที่อยาก ถามมาก ก็คือ ส่วนไหนในงานหรือสิ่งที่ คุณท�ำอยู่น่าตื่นเต้นและรู้สึกสนุกกับสิ่งนี้ อยู่? อะไรคือสิ่งที่คุณหลงใหลที่สุดในงาน ที่ท�ำ แล้วชีวิตส่วนตัวท�ำไมถึงเป็นเช่นนี้? สองค�ำถามนี้ผมถามตัวเองและถามท่าน ผู้อ่านด้วยครับ

เมื่อผมไม่กล้าถามก็กลายเป็นท่าน กลับถามผมว่า “ท�ำไมถึงยังต้องท�ำงานอยู่ อีก เและไม่เข้าใจว่าท�ำไมถึงมาท�ำธุรกิจ เครือข่าย (ขายตรง) ?” ท่านพูดตรงว่า “อาชีพแบบนี้ท่านไม่ชอบ ไม่ถนัดเลย” ผมตอบกลับท่านไปว่า “ช่วงแรกผมก็ไม่ ชอบเหมื อ นกั น เพราะมี มุ ม มองมาจาก ความเชื่อเดิมๆ ว่าเป็นงานที่ไม่น่าสนใจ เป็นอาชีพเสริมต้องไปขอ-ง้อ-ตื้อ ท� ำให้ คนอื่น เพื่อนฝูง ญาติมิตรล�ำบากใจ ไม่ กล้ า คบหาสมาคมด้ ว ย และที่ ส� ำ คั ญ คื อ “ดูไม่ดี” แต่พอเปิดใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ อยู่สองปีกว่าก็กลับพบว่า เป็นธุรกิจหนึ่ง ที่น่าสนใจ มีพัฒนาการมาเป็นล�ำดับตาม วงจรของธุรกิจทั่วๆ ไป และก็ไม่ได้มีความ แตกต่างจากอาชีพที่เราท�ำกันอยู่ในเวลา นี้ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ลู ก จ้ า ง-ผู ้ ป ระกอบการ อาชี พ อิ ส ระ-ข้ า ราชการ-เจ้ า ของกิ จ การ ส่ ว นตั ว -นั ก ธุ ร กิ จ ผู ้ ป ระกอบการฯ คื อ ทุ ก อาชี พ ล้ ว นแล้ ว แต่ ต ้ อ งเป็ น มื อ อาชี พ จึ ง ประสบความส� ำ เร็ จ และในทุ ก วงการ

อาชี พ ก็ มี ค นล้ ม เหลว-ล้ ม เลิ ก -คนส� ำ เร็ จ เพี ย งแต่ ค นส� ำ เร็ จ มี ไ ม่ ม ากเท่ า นั้ น และ พวกเขารู ้ ว ่ า “ท� ำ ไมถึ ง ท� ำ สิ่ ง ที่ ท� ำ อยู ่ ” เอาเข้าจริงๆ เราไม่อาจมองข้ามหรือแบ่ง แยกว่าอะไรดีกว่า-แย่กว่า มันขึ้นอยู่กับ ว่าอาชีพเหล่านั้นมันเหมาะสมกับเราหรือ ไม่ต่างหาก ขอเพียงอาชีพต่างๆ ล้วนแต่ มีมาตรวัดเดียวกันคือ “ไม่ผิดกฎหมายไม่ ท� ำ ร้ า ยใคร-ไม่ ผิ ด ศี ล ธรรมอั น ดี - มี จรรยาบรรณ” ขึ้นอยู่ว่าเราจะแยกแยะ ระหว่ า งธุ ร กิ จ กั บ ตั ว บุ ค คลออกจากกั น หรือไม่? ทุกอาชีพมีคนส�ำเร็จในอาชีพ นั้น และก็มีคนล้มเหลวเช่นกัน แต่ไม่ได้ หมายความว่าอาชีพนั้นล้มเหลว เพราะ ทุกอาชีพทุกกิจกรรมที่มนุษย์กระท�ำล้วน แต่เกื้อกูล-แบ่งปันให้แก่กันและกัน เพื่อ สร้างความสมดุลบนโลกใบนี้ให้อยู่ร่วมกัน ได้ต่อไป ก่อนจากกันท่านถามผมด้วยความ ห่วงใย ว่างานใหม่ที่ท� ำอยู่รู้สึกอย่างไร? ผมขอบคุ ณ และตอบไปว่ า “ผมมี ค วาม

สุ ข กั บ อาชี พ ใหม่ คื อ การได้ แ บ่ ง ปั น การดู แ ลสุ ข ภาพในโหมดของการ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ป ่ ว ย ทางด้ า นร่ า งกาย และจิ ต ใจ” การได้ อ อกไปแบ่ ง ปั น ให้ กับผู้คนที่เขายินดี ผมเน้นโหมดยินดีไม่ใช่ยินยอม เพราะการท�ำธุรกิจเครือ ข่ า ยไม่ มี ลู ก จ้ า ง-ไม่ ใ ช่ พ นั ก งาน ที่ ต ้ อ ง ท�ำตามค�ำสั่งหรือเกรงใจ มีแต่ คู่ค้าหรือ หุ้นส่วนทางธุรกิจ เป็นการหาเพื่อนร่วม ธุรกิจที่เริ่มต้นจากการดูแลตัวเองแล้วก็ แบ่งปันไปให้กับผู้คนที่เขายินดีจะร่วม เป็ น หุ ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ อาจดู เ ป็ น เรื่ อ ง ใหม่ ที่ เ ข้ า ใจยากครั บ แต่ ผ มก็ มี ค วาม เชื่ อ ว่ า นี่ คื อ อาชี พ หนึ่ ง ซึ่ ง เปิ ด กว้ า งให้ กับทุกๆ คนเข้ามาได้โดยง่าย แต่หลาย อาชี พ กลั บ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด เรื่ อ งคุ ณ สมบั ติ ความรู ้ - ประสบการณ์ - เงิ น ทุ น -พรรค พวก-อื่นๆ ในอนาคตจะมีคนรุ่นใหม่-นัก ธุรกิจเข้าสู่อาชีพนี้มากขึ้น ส่งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทางการ ตลาดที่หลากหลาย บวกกับเทคโนโลยี ดิจิตัล ยิ่งจะท�ำให้การเปลี่ยนผ่านเป็นไป อย่างรวดเร็วมากกว่าแต่ก่อน” ผมตอบ ไปโดยไม่แน่ใจว่าท่านจะเข้าใจหรือไม่ เข้าใจสิ่งที่ผมพยายามอธิบายให้ฟัง ส� ำ คั ญ กว่ า นั้ น ผมเชื่ อ ว่ า วั น นี้ นั ก ธุ ร กิ จ และทุ ก อาชี พ จะต้ อ งกลั บ มาตั้ ง ค� ำ ถามกั บ ตั ว เองใหม่ ก็ คื อ “การสร้ า ง รายได้ จ ากธุ ร กิ จ และอาชี พ คื อ การ ลงทุน การสร้างชีวิตให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีก็คือการลงทุนเช่นกัน” ท�ำอย่างไร ให้เกิดสมดุลทั้ง ๒ ด้านไปพร้อมกัน ไม่ ได้หนักด้านใดด้านหนึ่งอย่างที่เคยเป็น ทุ ก ท่ า นจะทราบด้ ว ยตั ว เองดี อ ยู ่ แ ล้ ว เหลือแต่จะเริ่มลงมือท�ำเมื่อไร? ไพโรจน์ เพชรคง ๑๘/๑๐/๕๘

เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ แรม ๘ ค�่ำ เดือนสิบเอ็ด(๑๑) ปีมะแม วันอังคารที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือนสิบเอ็ด(๑๑) ปีมะแม วันพุธที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสิบสอง(๑๒) ปีมะแม วันพุธที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบสอง(๑๒) ปีมะแม วันลอยกระทง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

หรือว่าช้าเกินไปหรือเปล่าหากประเทศไทยจะเข้าร่วม และ ถ้าเราไม่เข้าร่วมแล้วจะเกิดผลเสียอะไรบ้าง ดร.สุรินทร์ อธิบายว่าความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคใน รูปแบบ TPP ริเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ แต่ความร่วมมือนี้ ไม่ได้เป็นที่สนใจมากเท่าที่ควรด้วยเหตุผล เพราะความไม่ พร้อมของประเทศไทย หรือการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยู่แล้ว หรือ ไทยไม่ต้องการ เป็นหมากในความขัดแย้งของมหาอ�ำนาจอย่าง สหรัฐฯ และจีนใน ASEAN (Association of Southeast Asian Nation) การเกิดของ TPP จะเป็นตัวกระตุ้นให้เห็นถึง ความจ�ำเป็นเร่งด่วนที่ประเทศสมาชิกต้องร่วมมือกันผลัก ดันกรอบความร่วมมือต่างๆ ของอาเซียนโดยเฉพาะ RCEP (Regional Comprehensive Economic Partnership) ซึ่งเป็นเขตการค้าเสรีร่วมกันของ ASEAN กับอีก ๖ ประเทศ คือ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ดร.สุรินทร์กล่าวว่า ไม่ว่าเหตุผลของการไม่ได้เข้าร่วม TPP จะเป็นอย่างไรก็ตาม สิ่งที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยและ ประชาคมอาเซียนอย่างมีนัยยะส�ำคัญ คือ ความหมายของ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนเปลี่ยนไปอย่างแน่นอน ในกลุ่ม สมาชิก TPP มีประเทศในอาเซียนเข้าร่วมเป็นสมาชิกถึง ๔ ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ บรูไน มาเลเซีย และ เวียดนาม ซึ่งประเทศเหล่านี้มองข้ามการพัฒนาและความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจภายในอาเซียนไปสู่ความร่วมมือนอกกลุ่ม อาเซียน ขณะที่ประเทศไทยกลับคิดว่าเราจะเตรียมความ พร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร TPP เป็นคู่แข่งที่ส�ำคัญของกรอบความร่วมมือเขต การค้าเสรีของ ASEAN + ๖ หรือ RCEP ซึ่งจะเปรียบเทียบ ได้อย่างสูสีในหลายแง่มุมได้แก่ ๑. ถึ ง แม้ ป ระชากรรวมกั น ของกลุ ่ ม RCEP จะมี มากกว่า กลุ่ม TPP กว่า ๔ เท่า แต่ผลรวมของ GDP นั้น TPP กลับมีค่าที่สูงกว่าอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยในปี ๒๕๕๗ สมาชิก ๑๒ ประเทศของ TPP มี GDP รวมกันเป็นมูลค่า ถึง ๒๘ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ในขณะที่ ๑๖ ประเทศ จากกลุ่ม RCEP นั้นมี GDP รวมเป็นมูลค่า ๒๓ ล้านล้าน

เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งสาเหตุส่หนึ่งมาจากกลุ่ม TPP มีประเทศ สหรัฐอเมริกาซึ่งมีขนาด GDP สูงที่สุดในโลก ๒. ปริมาณการค้าภายในแต่ละกลุม่ ชีใ้ ห้เห็นถึงจ�ำนวน เม็ ด เงิ น ที่ ห มุ น เวี ย นในระบบเศรษฐกิ จ ของทั้ ง ๒ กลุ ่ ม มีความแตกต่างกันมาก ในปี ๒๕๕๔ ในรายงานจาก Federation of American Scientists ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ในกลุ ่ ม ประเทศ TPP มีมลู ค่าการค้าภายในกลุม่ สูงถึง ๔ ล้านล้าน เหรียญสหรัฐฯ ขณะกลุม่ ASEAN+๖ มีมลู ค่าการน�ำเข้า-ส่ง ออกภายในกลุม่ มีเพียง ๑.๔ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ เท่านัน้ ดร.สุรินทร์ขยายความว่าถ้าพิจารณาถึงมูลค่ารวม ของการค้ า ระหว่ า งประเทศของทุ ก ประเทศสมาชิ ก ใน แต่ละกลุ่มรวมกันในปี ๒๕๕๗ จะพบว่าตัวเลขของ TPP และ RCEP สูสีกัน โดย RCEP มีมูลค่าถึง ๑๐.๙ ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐฯ เฉือนชนะ TPP ที่มีมูลค่ารวมอยู่ที่ ๙.๕ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งบ่งชี้ความเข้มข้นของการ แข่งขันระหว่างกลุ่มความร่วมมือสองกลุ่มและสร้างอ�ำนาจ ต่อรองร่วมกันภายในเศรษฐกิจโลก ส�ำหรับ ๔ ประเทศอาเซียนสมาชิก TPP ยังแบ่งได้ เป็น ๒ กลุ่ม คือ สิงคโปร์กับบรูไนซึ่งมีระดับรายได้สูงเมื่อ เทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว และอาจมีต้นทุนทางสังคม และเศรษฐกิ จ มากกว่ า ประเทศอื่ น ๆ ในอาเซี ย น หาก ทั้ง ๒ ประเทศจะมองข้ามความร่วมมือระหว่างภูมิภาค อย่างอาเซียนไปสู่ความร่วมมือนอกภูมิภาคอย่าง TPP แต่ การที่สมาชิกอาเซียนอีก ๒ ประเทศได้แก่ เวียดนามกับ มาเลเซี ย ที่ พื้ น ฐานและฐานะทางเศรษฐกิ จ ไม่ แ ตกต่ า ง จากประเทศไทยมากนัก คือรายได้ของประชาชนไทยต่อ หัว (GDP per capita) เป็นอันดับที่ ๔ รองจาก สิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย ขณะที่เวียดนามอยู่เป็นอันดับที่ ๗ ของอาเซียน กล่าวถึงการดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติ ประเทศไทยยังได้เปรียบประเทศเวียดนามและมาเลเซีย เพราะต่างชาติยังเชื่อมั่นและลงทุนในประเทศไทยอย่าง ต่อเนื่อง แต่ด้วยปัจจัยที่กระทบต่อความน่าเชื่อถือและ

การพัฒนาทางเศรษฐกิจไทย อาจส่งผลให้การเติบโตของ เม็ดเงินลงทุนในไทยอาจไม่เพิ่มขึ้นเท่าที่ควร และน่ากังวล ว่ า ในอี ก ไม่ กี่ ป ี ข ้ า งหน้ า ประเทศเวี ย ดนามและมาเลเซี ย อาจรุกแซงหน้าเราไปได้ การจัดอันดับประเทศที่มีโอกาสดึงดูดนักลงทุนมาก ที่สุดของ Global Opportunity Index โดยให้คะแนน จาก ๔ ปัจจัยหลัก ได้แก่ พื้นฐานเศรษฐกิจ ความคล่องตัว ในการท�ำธุรกิจ คุณภาพของหลักเกณฑ์ และการบังคับใช้ กฎหมาย ซึ่งสิงคโปร์ได้คะแนนสูงสุดเป็นอันดับ ๑ ของโลก ขณะที่ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ ๔๔ หรืออันดับที่ ๓ ของ อาเซียน ซึ่งไทยยังเป็นที่เชื่อมั่นมากกว่าอีกหลายประเทศ ในอาเซี ย น แต่ ไ ทยยั ง ถู ก ทิ้ ง ห่ า งจากคู ่ แ ข่ ง ส� ำ คั ญ อย่ า ง มาเลเซียที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่ม TPP ดร.สุ ริ น ทร์ ชี้ ท างออกว่ า ถ้ า หากไทยไม่ ต ้ อ งการ ตกหลุมด�ำหรือตกขบวนรถไฟการพัฒนาอีกต่อไป สังคม ต้องตระหนักรู้กับการพลาดโอกาสในเรื่องนี้ เพื่อเป็นแรง กระตุ้นเราปรับปรุงกลไกภายในเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ทดแทนความเสียเปรียบจากการเสียโอกาสในการเข้าร่วม TPP ซึ่งไทยยังมีความหวังอันเห็นได้จากตัวเลขการลงทุน จากต่างชาติ หรือ Foreign Direct Investment (FDI) ที่ ต่างชาติยังลงทุนในไทยเป็นอันดับ ๓ ในอาเซียน ด้วยมูลค่า กว่า ๑๓,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๕๘ สูงกว่า มาเลเซีย (๑๒,๓๐๐ ล้านเหรียญ) และ เวียดนาม (๘,๙๐๐๐ ล้ า นเหรี ย ญ) เพราะมี ค วามพร้ อ มด้ า นสาธารณู ป โภค (Infrastructure) มากกว่าเวียดนามมาก และมีแผนการ ลงทุ น โครงข่ า ยคมนาคมอย่ า งชั ด เจนจากภาครั ฐ ซึ่ ง สามารถดึงดูดเม็ดเงินต่างชาติตลอดจนเสริมสร้างพื้นฐาน การพัฒนาประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระนั้นไทยยังต้องพัฒนาและปรับปรุงกลไกภายใน เพื่อต่อยอดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และยืนหยัดต่อสู้ภาย ใต้กระแสการแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นทุกวัน เราจ�ำต้องพัฒนา คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ซึ่งส�ำคัญมากที่สุด และเรา ก�ำลังจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องมี แรงงาน คุณภาพพร้อมท�ำงานในมาตรฐานระดับนานาชาติ และภายในประเทศไทยก็จ�ำเป็นต้องสร้างฐานรากที่มั่นคง ทั้งในระบบการท�ำงานของภาครัฐที่มาตรฐานและโปร่งใส รวมถึงความเป็นเลิศของคุณภาพข้าราชการ การประยุกต์ ใช้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ มาพัฒนาภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม การเข้าร่วมกลุ่ม TPP ท�ำให้ความหมาย และบทบาทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนถูกลดทอน ความส�ำคัญลง อาเซียนจึงต้องเร่งสร้างให้เกิดความร่วมมือ ภายใต้กรอบ RCEP เพื่อป้องกันไม่ให้ TPP เข้ามาแย่งชิง ความส�ำคัญจากอาเซียน และจ�ำกัดการขยายวงของ TPP ในการดึงดูดสมาชิกอาเซียนอื่นเข้าสู่กรอบความร่วมมือ TPP ซึ่งท้ายที่สุดจะส่งผลลบต่ออ�ำนาจต่อรองและอิทธิพล ทางการค้าของอาเซียนในประชาคมโลก ประเทศไทยต้องไม่ปล่อยให้การสูญเสียโอกาสใน การเข้าสู่ TPP มาลดทอนความสามารถในการแข่งขัน ทั้ง การดึงดูดนักลงทุนและโอกาสทางการค้าระหว่างประเทศ เราจ�ำเป็นต้องสร้างรากฐานที่แข่งแกร่งในทุกด้านเพื่อขับ เคลื่อนตัวเองไปข้างหน้าให้ทันการเปลี่ยนแปลงและไม่ตก ขบวนแห่งการพัฒนานี้ (ข้อมูลจาก เฟซบุ๊คคิดสร้างชาติ)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๙

รายงาน นางสาวกั ญ ญา จั น ทร์ จุ ไ ร ผู ้ อ� ำ นวยการกล่ า วหลั ง นักเรียนร�ำมโนราห์ต้อนรับว่า การจัดงานครั้งนี้เพื่อแจ้งแก่ ผู้ปกครองและแขกผู้มีเกียรติว่าโรงเรียนตันติวัตรยกระดับ มาตรฐานสู่สากลโดยโรงเรียนได้รับเกียรติและความเชื่อมั่น จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ให้ใช้ Cambridge ESOL Standards เป็นมาตรฐานในการจัดการเรียน การสอนและโรงเรียนตันติวัตรเป็นสถาบันการศึกษาตัวแทน เพี ย งแห่ ง เดี ย วในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ที่ ดู แ ลบริ ห าร จัดการทดสอบด้านภาษาอังกฤษ 'Cambridge ESOL' ซึ่ง เป็นมาตรฐานสากลที่นักเรียนต้องผ่านการทดสอบก่อนไป ศึกษาต่อหรือท�ำงานในต่างประเทศ ซึ่งแต่ละปีมีผู้เข้าสอบ กว่า ๒ ล้านคนจากทั่วโลก โรงเรียนตันติวัตรน�ำหลักสูตรของ Cambridge มาบูรณาการเข้ากับหลักสูตร EP ของโรงเรียน จนประสบความส�ำเร็จจนสามารถสร้างการเรียนการสอน ด้วยภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทั้ง ๔ ทักษะของนักเรียนตั้งแต่ ระดับปฐมวัย ทั้งด้านการอ่าน การเขียน การฟังและการพูด (อ่านบทสัมภาษณ์) นอกจากนี้โรงเรียนยังผ่านการประเมินให้ ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษารอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔- ๒๕๕๘) จากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีคะแนนเฉลี่ยระดับดีมาก เมื่อวัน ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ นายอมรเทพ เกตุแก้ว พนักงานคดีปกครองช�ำนาญการ ศาลปกครองนครศรีธรรมราช และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เครือข่ายผู้ปกครองที่ลูกชายหญิง ๒ คนเรียนอยู่ที่นี่กล่าวว่า "โรงเรียนตันติวัตรมีความพร้อมที่จะจัดการศึกษาให้เด็กเท่า ทันสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าเรื่องสถานที่ซึ่งตันติวัตรมีพร้อมจริงๆ เรื่องดนตรี กีฬาทั้งเทนนิส เทควันโด ว่ายน�้ำ หรือศิลปะ เรา ได้ชมมโนราห์ที่เด็กๆ เพิ่งร�ำต้อนรับ อาจารย์ผู้สอนเรียนมา ทางนี้โดยตรง รวมถึงภาษาซึ่งเราประเมินพื้นฐานตรงนี้ก่อน แล้วไปประเมินที่หลักสูตรที่สอดคล้องกับการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนมีความพร้อมมาก เราดูทั้งระบบถ้า ลูกเรามีความถนัดทางด้านไหนเขาเลือกได้ ไม่ว่าดนตรีไทย ดนตรีสากล ว่ายน�้ำ บัลเล่ต์ โรงเรียนสนับสนุนกิจกรรมใน ทุกๆ ด้าน"

<< ต่อจากหน้า ๔

ล�ำใหญ่ บางวัดที่ไม่มีเรือขนาดใหญ่ก็หาที่ขนาดย่อมลง แล้วน�ำมาผูกกันเป็นแพสองสามล�ำ พอรับน�้ำหนักนม พระได้ ขึงเชือกโยงให้มั่นคงแข็งแรง แล้วประดับตกแต่ง ด้วยธงทิวให้สวยงาม ใส่หางหงส์ ช่อฟ้า ใบระกา แต่ข้าง ล�ำเรือทั้งบกและน�้ำมักท�ำเป็นรูปพญานาค ด้วยความเชื่อ ว่านาคเป็นผู้ให้น�้ำแก่มนุษย์โลก ส่วนเรือพระน�้ำนั้นจะใช้ เรือขนาดเล็ก เช่น เรือเพรียวหลายล�ำ ผูกเชือกพายลาก จูงเรือพระไป ส่วนเรือพระบกจะใช้เชือกสองสามเส้น ตามแต่ขนาดนมพระใช้คนลากกันไป ทั้งพระบกพระน�้ำ ต้องมีเครื่องดนตรีประโคมโหมกระตุ้นให้ช่วยกันลากไป สู่ที่หมาย บนเรือพระนั้นจะน�ำพระพุทธรูปส�ำคัญของวัดนั้น สองสามองค์มาผูกไว้บนเรือพระให้มั่นคง นิมนต์พระ ภิกษุในวัดนั้นขึ้นนั่งประจ�ำเรือพระ อุบาสก ลูกศิษย์วัด

นายอมรเทพกล่าวต่อไปว่าลูกชายของเขาเป็นนักดนตรี วงโยธวาทิตกับลูกสาวเรียนแผนก EP "โรงเรียนมีครูอาจารย์เป็นชาวต่างชาติ กิจกรรมที่จัด ให้เด็กๆ ผู้ปกครองได้เรียนรู้ไปพร้อมกัน โดยเฉพาะ English Camp กิจกรรมด้านคุณธรรม เด็กๆ จะเดินทางไปท�ำ กิจกรรมกับโรงเรียนตลอด ท�ำให้เรารู้สึกว่าเมื่อโรงเรียนพร้อม เราก็พร้อมให้ลูกมาเรียนรู้ ที่นี่โรงเรียน นักเรียน ครูอาจารย์ และผู้ปกครองเดินไปด้วยกัน การประชุมผู้ปกครองจัดบ่อยๆ และยั ง เชิ ญ มาร่ ว มกิ จ กรรมกั บ เด็ ก ด้ ว ย เมื่ อ เข้ า มาตรงนี้ ก็ จะเห็นศักยภาพของคุณครู ศักยภาพของโรงเรียนซึ่งพร้อม รับฟังความคิดเห็นของผู้ปกครอง ลูกๆ เรียนแผนก EP เรา พบว่ า โรงเรี ย นเน้ น การออกเสี ย งการพู ด และการฟั ง เด็ ก ๆ ท�ำได้ดีกว่าผู้ปกครอง ผมว่ามันก้าวผ่านไปเร็วกว่าเราสอนที่ บ้าน ปัจจุบันลูกที่อยู่ ป. ๔ สามารถเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสามารถอธิบายให้พ่อแม่ฟัง เป็นภาษาอังกฤษได้ ผมต้องอ่านหนังสือของลูก ไม่งั้นเราก็สอน ไม่ได้ เราจะเห็นว่าเขาอยู่ในระดับที่จะอธิบายเรากลับมาได้ ด้วย เป็นการสื่อสารสองทาง" กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและเครือข่ายผู้ปกครองมีหน้าที่ มองภาพรวมและเสนอความคิ ด เห็ น โดยเฉพาะกิ จ กรรมที่ สอดคล้องกับเป้าหมาย ซึ่งโรงเรียนมีความคล่องตัวที่จะส่ง เสริมกิจกรรมด้านต่างๆ "โรงเรียนมีศักยภาพไปสู่สากลได้ ผู้ ปกครองสวนใหญ่มองเห็นความพร้อมทั้งหลักสูตร ชุมชนรอบ ข้างรับรู้ เราไปร่วมงานกับชุมชนบ่อยๆ เราไปทุกที่ที่มีการ

แข่งขันทักษะ มีผลงานปรากฏ ทั้งกีฬา ภาษา ชุมชนมองเห็น ผู้ปกครองมองเห็น สถานที่ก็อ�ำนวยให้ส�ำเร็จ ผู้ปกครองมั่นใจ ที่จะส่งลูกมาเรียน" นายอมรเทพสรุป นายเดวิด ไวท์เซ็ท (Mr.David Whitset) ผู้ช่วยหัวหน้า แผนกภาษาอังกฤษ บัณฑิตสาขาคณิตศาสตร์ จาก Warwick University (London) เคยท�ำงานแผนกบัญชีที่ Exxon บริษัท น�้ ำ มั น ใหญ่ ข องอั ง กฤษ เขาแต่ ง งานกั บ นางอั ญ ชลี พั น ธุ ์ พิพัฒน์ บุตรสาวเจ้าของธุรกิจโรงยางนาบอน อัญชลีเป็น เชฟฝีมือดี นอกจากสอนภาษาอังกฤษ นายเดวิดยังสอนวิชา คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ นายเดวิดเล่าว่า "ตอนมาเที่ยวเมืองไทย พ่อของภรรยา มีปาร์ตี้วันเกิด ผมพบกับคุณวาว (Mrs.Valerie Tantiukosakula) ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ โครงการ EP คุณวาวถามว่าชอบ เป็นครูไหม ผมกับภรรยาตอบว่าชอบครับ เลยย้ายครอบครัว มาเมืองไทย ผมเป็นหัวหน้าครูฝรั่ง ช่วยสอนและดูระบบของ โรงเรียน ผมสอน ป.๕ อังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การสอนภาษาอั ง กฤษส� ำ คั ญ มาก ผมพยายามพู ด กั บ ครู ที่ พูดได้ ว่าเราต้องฟังต้องคุยกันแบบธรรมชาติ มันไม่ใช่วิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เด็กๆ ต้องสนุก เด็กๆ ต้องชอบ อยากให้ทุกคนสนุก เพราะว่าถ้าเด็กไม่สนุก ไม่ชอบเขาก็ไม่ อยากเรียน ในระดับอนุบาลการออกเสียงส�ำคัญมาก เราต้อง ใช้เพลงมากๆ ใช้นิทาน ใช้ภาพ ให้ทุกคนเข้าใจ ไม่ใช่ค�ำศัพท์ อย่างเดียว แต่มีเนื้อเรื่องด้วย ใช้เพลงสอนให้มีจินตนาการ ผมสนุ ก มาก ชอบมาก เด็ ก นั ก เรี ย นที่ ม าตั้ ง ใจเรี ย น ถ้ า นักเรียนตั้งใจเรียนสอนสนุกได้ทุกคน" นายเดวิดยืนยัน นายเคน โกกะ (Ken Koga) ประธานบริหารโรงเรียน มั ธ ยมยานากาวา ประเทศญี่ ป ุ่ น เป็ น แขกต่ า งชาติ ที่ ม า ร่วมแสดงความยินดีพร้อมกับเชาว์ เต็มรักษ์ นายกสมาคม พัฒนาบุคลากร (ไทย-ญี่ปุ่น) สองคนร่วมก่อตั้งโรงเรียนที่ นครศรีธรรมราชและเปิดสอนปีการศึกษา ๒๕๕๙ "การได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนสู่สากลของตันติวัตรเป็นสิ่งที่ดีมาก ในฐานะที่ผมเป็นเจ้าของโรงเรียนที่ญี่ปุ่น ผมรู้สึกยินดีมาก ผมพยายามสร้างความสัมพันธ์ระหว่างไทย กับญี่ปุ่น โดยเอาการศึกษาเป็นตัวเชื่อม" เคนกล่าว

ขึ้นท�ำหน้าที่เครื่องประโคม ทั้งโหม่ง ฉิ่ง ฉาบ ฆ้อง โพน หลั ง จากพระฉั น ภั ต ตาหารเช้ า แล้ ว เริ่ ม ประโคมเครื่ อ ง เรียกความคึกคักให้กับผู้คนได้ช่วยกันลากพระออกจากวัด พระน�้ำใช้เรือลากจูงไป พระบกก็ใช้ก�ำลังแรงของผู้คนดึง ลากกันไป เรือพระนั้นยังตกแต่งด้วยขนมต้มแขวนไว้บูชาพระ ก่อนออกจากวัดเป็นจ�ำนวนมาก ใช้เพื่อเป็นเสบียงกับผู้คน ที่เหน็ดเหนื่อยจากการลากพระ เมื่อหยุดพักก็จัดการ ‘โยน ต้ม’ ออกไป ที่ไกลๆ หน่อยก็ ‘ซัดต้ม’ กันออกไป อันนี้อาจ น�ำไปสู่ ‘ประเพณีการซัดต้ม’ อีกอย่างหนึ่งด้วย การลากพระมี ก ารละเล่ น อี ก อย่ า งหนึ่ ง ประกอบ ด้วย จนมีการจัดให้มีการประชันแข่งขันกัน ชาวพัทลุงจะ มีการแข่งกันตีโพนกันอย่างเอิกเกริก จนคุยกันได้ว่าเป็น หนึ่งเดียวในโลก จังหวัดอื่นๆ เช่นสงขลา สุราษฎร์ฯ และ นครศรีธรรมราชก็จะมีการประโคมเครื่องกันตั้งแต่ก่อน ถึงวันแรม ๑ ค�่ำ เพิื่อเตือนให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้ มาช่วยกันตกแต่งเรือพระของวัดตนเพิ่อจะน�ำไปประชัน ขันแข่งกัน การประโคมเครื่องดนตรีก็แสดงฝีไม้ลายมือ ให้สนุกครึกครื้นแก่คนมาช่วยงาน ไม่เงียบไม่เหงา หาก มีวัดที่อยู่ใกล้กันก็จะตีโพนด้วยเสียงอันดัง จังหวะกลอง รัวท้าทายกันเป็นที่ครึกครื้นอย่างยิ่ง อวดแข่งกันเรื่องใคร

มี ลู ก เล่ น พลิ ก แพลงกว่ า กั น มี ค วามอึ ด ทน อวดความ สามั ค คี ด ้ ว ยเสี ย งดนตรี เ ครื่ อ งประโคมไม่ ข าดเสี ย งถึ ง ๔-๕ วันติดต่อกัน เมื่ อ ถึ ง วั น ลากพระออกไปชุ ม นุ ม ร่ ว มกั น การ ประกวดประชัน การแข่งขันเครื่องประโคมเหล่านี้ เป็น ที่สนุกสนานยิ่งนัก เคยมีอยู่บ่อยที่แพ้แล้วชวนทะเลาะ วิวาทกัน โดยเฉพาะกลุ่มขี้เหล้าทั้งหลาย ที่กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้นว่า ‘ประเพณีลากพระ’ มี สืบเนื่องกันมานับพันปีแล้ว ควรที่จะรักษาประเพณีนี้ เอาไว้เป็นอย่างดี ดังนั้น พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ควรที่ จะรักษาประเพณีนี้เอาไว้ เนื่องด้วยเป็นประเพณีที่เก่า แก่ที่สุดในแผ่นดินไทย ศิลปินนักร้อง นักดนตรี นักแต่ง เพลง น่าจะช่วยกันแต่งเพลงลากพระขึ้นมาใหม่ ให้มี ท่วงท�ำนอง กลิ่นอายเหมือนเก่า แต่เนื้อหาสนุกสนาน ให้คนยุคนี้รับได้ อย่าผูกขาดแต่กลุ่มขี้เมาร้องอย่างเดียว หน่วยงานภาคท้องถิ่น ภาครัฐ เอกชนก็ควรร่วมกันท�ำให้ เป็นงานใหญ่ของบ้านเมือง ให้คนทั่วโลกได้รู้จัก อย่า ปล่อยให้บางสถาบันการศึกษา องค์กรส่วนท้องถิ่นไม่ กี่รายท�ำอยู่ ที่เหลือเป็นไปตามชาววัดชาวบ้านกล้อมแกล้มกันท�ำ เมืองนครวัดมากพระน�้ำพระบกก็มีมาก... จะยากอะไร

ภาพ : ศุลีพร อมรสิทธิโชค


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๐

ภิกษุทั้งหลาย !

พวกเธอได้ เ ห็ น ท่ อ นไม้ ใ หญ่ นั้ น ซึ่ ง ลอยมาโดย กระแสแม่น�้ำคงคา หรือไม่ ? “ได้เห็นแล้ว พระเจ้าข้า !” ภิกษุทั้งหลายกราบทูล. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าท่อนไม้นั้น จะไม่เข้าไปติดเสีย ที่ฝั่งในหรือฝั่งนอก, ไม่จมเสียในท่ามกลางน�้ำ, ไม่ขึ้นไป ติดแห้งอยู่บนบก, ไม่ถูกมนุษย์จับไว้, ไม่ถูกอมนุษย์จับ ไว้, ไม่ถูกเกลียวน�้ำวนวนไว้, ไม่เน่าเสียเองในภายในไซร้, ท่อนไม้เช่นที่กล่าวนี้ จักลอยไหลพุ่งไปสู่ทะเล เพราะเหตุว่า ล�ำแม่น�้ำคงคา โน้มน้อม ลุ่มลาด เอียง เท ไปสู่ทะเล. ข้อนี้ฉันใด; ภิกษุทั้งหลาย ! แม้พวกเธอทั้งหลายก็ฉันนั้น : ถ้า พวกเธอไม่เข้าไปติดเสียที่ฝั่งใน, ไม่เข้าไปติดเสียที่ฝั่ง นอก, ไม่จมเสียในท่ามกลาง, ไม่ขึ้นไปติดแห้งอยู่บน บก, ไม่ถูกมนุษย์จับไว้, ไม่ถูกอมนุษย์จับไว้, ไม่ถูกเกลียว น�้ำวนวนไว้, ไม่เน่าเสียเองในภายในไซร้, พวกเธอก็จะ เลื่อนไหลไปสู่นิพพาน เพราะเหตุว่า สัมมาทิฏฐิ มี ธรรมดาที่โน้มน้อม ลุ่มลาด เอียงเท ไปสู่นิพพาน.

ครั้ น สิ้ น กระแสพระด� ำ รั ส แล้ ว ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ได้ กราบทูลถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรเล่าเป็นฝั่งในหรือฝั่ง นอก ? อะไรชื่อว่าจมในท่ามกลาง ? อะไรชื่อว่าขึ้นไปติด แห้งอยู่บนบก ? อะไรชื่อว่าถูกมนุษย์จับไว้ ? อะไรชื่อว่าถูกอมนุษย์ จับไว้ ? อะไรชื่อว่าถูกเกลียวน�้ำวนวนไว้ ? อะไรชื่อว่าเน่า เสียเองในภายใน ?”

บังเกิดขึ้นแก่คฤหัสถ์เหล่านั้นด้วยตน : ภิกษุนี้ เราเรียก ว่า ผู้ถูกมนุษย์จับไว้. ค�ำว่า “ถูกอมนุษย์จับไว้” ได้แก่ ภิกษุบางรูปใน กรณีนี้ ประพฤติพรหมจรรย์ โดยตั้งความปรารถนา เทพนิกายชั้นใดชั้นหนึ่ง ว่า “ด้วยศีลนี้ หรือด้วยวัตร นี้ หรื อ ว่ า ด้ ว ยตบะนี้ เราจั ก ได้ เ ป็ น เทวดาผู ้ มี ศั ก ดา ใหญ่หรือเป็นเทวดาผู้มีศักดาน้อย อย่างใดอย่างหนึ่ง” ดังนี้ : ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้ถูกอมนุษย์จับไว้. ค� ำ ว่ า “ถู ก เกลี ย วน�้ ำ วนวนไว้ ” เป็ น ชื่ อ ของ กามคุณ ๕. “ภิกษุเป็นผู้เน่าเสียเองในภายใน” คืออย่างไร เล่ า ? คื อ ภิ ก ษุ บ างรู ป ในกรณี นี้ เป็ น คนทุ ศี ล มี ภิกษุทั้งหลาย ! ความเป็ น อยู ่ เ ลวทราม ไม่ ส ะอาด มี ค วามประพฤติ ค�ำว่า “ฝั่งใน” เป็นชื่อของ อายตนะภายใน ๖. ชนิดที่ตนเองนึกแล้ว ก็กินแหนงตัวเอง มีการกระท�ำ ค�ำว่า “ฝั่งนอก” เป็นชื่อของ อายตนะภายนอก ๖. ที่ ต ้ อ งปกปิ ด ซ่ อ นเร้ น ไม่ ใ ช่ ส มณะก็ ป ฏิ ญ ญาว่ า เป็ น ค�ำว่า “จมเสียในท่ามกลาง” เป็นชื่อของ นันทิ สมณะ ไม่ใช่คนประพฤติพรหมจรรย์ ก็ปฏิญญาว่าเป็น ราคะ (ความก�ำหนัดด้วยความเพลิน) คนประพฤติพรหมจรรย์ เป็นคนเน่าใน เปียกแฉะ มี ค�ำว่า “ขึ้นไปติดแห้งอยู่บนบก” เป็นชื่อของ อัส๎มิ สัญชาติหมักหมม เหมือนบ่อที่เทขยะมูลฝอย. มานะ (ความส�ำคัญว่า เรามี เราเป็น). ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้เน่าเสียเองในภายใน แล. ค�ำว่า “ถูกมนุษย์จับไว้” ได้แก่ ภิกษุในกรณีนี้เป็น ผู้ระคนด้วยพวกคฤหัสถ์ เพลิดเพลินด้วยกัน, โศกเศร้า สฬา. สํ. ๑๘/๒๒๓/๓๒๒. ด้วยกัน, มีสุข เมื่อคฤหัสถ์เหล่านั้นมีสุข, เป็นทุกข์ เมื่อ คฤหัสถ์เหล่านั้นเป็นทุกข์, ประกอบการงานในกิจการที่

มืองพม่าหรือเมียนมาร์ในปัจจุบัน พุทธศาสนาได้มาเผยแผ่ยังดินแดนนี้ตั้งแต่ สมัยพุทธกาล เนื่องจากมีดินแดนติดกับ ประเทศอิ น เดี ย ซึ่ ง เป็ น ต้ น ก� ำ เนิ ด ของ พระพุ ท ธศาสนา ในพุ ท ธประวั ติ ยั ง ได้ กล่าวถึงพ่อค้าชาวเมือง อุตกละ (เมือง บัลข์ กรุงคาบูล อัฟกานิสถาน) ชื่อ ตปุสสะ กับ พัลลิกะ เดินทางค้าขายผ่านป่า อุรุเวลา ได้พบกับพระผู้มีพระภาคเจ้า หลัง จากที่พระองค์เสวยวิมุติสุขในอนุตรสัมมา โพธิญาณล่วงไปแล้ว ๗ สัปดาห์ ทั้งสอง ได้เข้าไปถวายข้าวตู อาหารชนิดหนึ่งของ ชาวพม่า อันเป็นภัตตาหารมื้อแรกหลัง จากทรงตรั ส รู ้ ก่ อ นจากกั น พระองค์ ไ ด้ ประทานพระเกศา ๘ เส้นให้แก่บุคคลทั้ง สอง เมื่ อ เดิ น ทางไปถึ ง พม่ า ได้ ม อบเส้ น พระเกศาส่ ว นหนึ่ ง ให้ พระเจ้ า อุ ก ลบดี เอาไว้ ซึ่งภายหลังเส้นพระเกศาเหล่านี้ ก็ ไ ด้ รั บ การบรรจุ ล งในพระเจดี ย ์ ส� ำ คั ญ ต่างๆ เช่น เจดีย์โบตากอง เจดีย์สุเล และ เจดีย์ชเวดากอง จะเห็ น ได้ ว ่ า พระพุ ท ธศาสนาได้ เผยแผ่เข้ามายังดินแดนพม่าปัจจุบันมา

นานตั้ ง แต่ ส มั ย พุ ท ธกาล มี ศ าสนสถาน หลายแห่ ง ในพม่ า ที่ ถู ก สร้ า งมานาน ร่วม ๒๐๐๐ ปี แต่คงอยู ่ร่วมกับศาสนา พราหมณ์ แ ละความเชื่ อ ในเรื่ อ งนั บ ถื อ ผี แบบดั้งเดิม นับถือเทพยดาต่างๆ ของยุค สมั ย นั้ น ศาสนาพุ ท ธได้ รุ ่ ง เรื อ งขึ้ น เต็ ม ที่ เมื่อสมัยอาณาจักรพุกามช่วง พ.ศ.๑๓๙๒ พระเจ้าอโนรธา หันมานับถือศาสนาพุทธ แล้วได้สร้างเจดีย์ชื่อ ชเวดากอง นักประวัติศาสตร์ชาวพม่ายืนยันว่า ชาวพม่าส่วน หนึ่งในสมัยนั้นเป็นชาวเมื อ งศากายะ ที่ หลบลี้หนีภัยจากการรุกรานของศาสนาอื่น มา ชาวมอญเป็นชนชาติที่ส�ำคัญชนชาติ

หนึ่งในพม่าโบราณ มีความศรัทธามั่นคง ในพระพุทธศาสนามากกว่ากลุ่มใดในพม่า เป็ น ชนชาติ ที่ ส ร้ า งศาสนสถานส� ำ คั ญ ไว้ ในดินแดนพม่ามากมาย เช่น สร้างเจดีย์ ชเวดากอง ดั้งเดิมเอาไว้เมื่อ ๒๕๐๐ ปีก่อน แล้ ว สร้ า งวั ด อนั น ดา วั ด ที่ ส วยที่ สุ ด ใน ดินแดนพุกาม สร้างเมืองเจดีย์สี่พันองค์ เป็นทุ่งเจดีย์สุดลูกหูลูกตา เมื่อ พ.ศ.๒๔๐๐ สมัยพระเจ้ามินดง ได้ จั ด ให้ มี ก ารสั ง คายนา พระไตรปิ ฎ ก ขึ้นในพระพุทธศาสนา เพราะขณะนั้นที่ ประเทศอินเดียพุทธศาสนาสูญหายไปนับ พันปีแล้ว การสังคายนาพระไตรปิฎกจัด

ท�ำมาแล้ว ๔ ครั้ง ครั้งนี้จึงจัดสังคายนา ขึ้ น เป็ น ครั้ ง ที่ ๕ ซึ่ ง นั บ เวลาล่ ว งเลยมา ร่วม ๒๐๐๐ ปีแล้วที่ว่างเว้นไป ในการ สังคายนาครั้งนั้นคงจะได้นิมนต์พระสงฆ์ ผู ้ ท รงความรู ้ ม ากมายซึ่ ง ผมไม่ มี ข ้ อ มู ล แต่ เ ท่ า ที่ ไ ด้ ไ ปเห็ น แผ่ น หิ น ศิ ล าที่ ส ลั ก พระคั ม ภี ร ์ ทั้ ง ไตรปิ ฎ กนั้ น ตื่ น ตาตื่ น ใจ จริงๆ ถูกวางเรียงไว้เป็นระเบียบ สร้าง มณฑปครอบไว้ นับได้จ�ำนวน ๗๒๙ แผ่น ใช้ ค นอาลั ก ษณ์ ส ลั ก พระคั ม ภี ร ์ นี้ ถึ ง ๒๔๐๐ คน แล้ ว ยั ง คั ด ลอกลงสมุ ด อี ก ๓๘ เล่ม เล่มละ ๔๐๐ หน้า แต่ พ ม่ า ในยุ ค สมั ย ต่ า งๆ ก็ ผ ่ า น ศึ ก สงครามท� ำ ลายล้ า งมาก อี ก ทั้ ง ภั ย ธรรมชาติ แ ผ่ น ดิ น ไหว อุ ท กภั ย วาตภั ย หลายครั้ ง จนศาสนสถานเหล่ า นั้ น ถู ก ท�ำลายลงมากมาย แต่ด้วยแรงศรัทธาของ ชาวพุทธในพม่า เขาก็ได้ทุ่มเทฟื้นซ่อม สร้างบูรณะขึ้นมาใหม่มิให้เสื่อม ผมจึงถึง บางอ้อว่าท�ำไมโบราณสถานต่างๆ ของ พม่ า ถึ ง ไม่ ไ ด้ รั บ การประกาศมรดกโลก ทั้ ง ๆที่ มี สิ่ ง เหล่ า นี้ ม ากมาย คงจะมี ก าร บู ร ณะซ่ อ มสร้ า งในยุ ค หลั ง ที่ ไ ด้ ท� ำ ลาย ความเป็นดั้งเดิมลงไปอย่างผิดวิธี จึงยังไม่ ได้รับการรับรอง ส่วนเรื่องการเมืองก็ยกไว้ ไม่ขอพูด พระบรมธาตุของเราอย่าให้การ เมืองมาท�ำลายก็แล้วกัน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๑

รายงาน จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร (แทน)

นั ง น้ อ งเดี ย วก� ำ ลั ง ดั ง เป็ น หนั ง ยอดนิยม มีคนชื่นชอบนับแสนคน บังเอิญมีคนน�ำคลิปหนังตอนเลียนเสียง นายกรัฐมนตรีไปวางบนหน้า facebook แล้วมีคนกด like ถูกใจมากมาย รายการ ทีวีเช้าวันจันทร์ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ น�ำคลิปไปเผยแพร่ พิธีกรพูดหยอกเย้า แกมประจบว่า '...ระวังจะถูกเรียกไปปรับ ทัศนคติ...' เหมือนชี้ช่องทางให้กระรอก ปั จ จุ บั น การแสดงหนั ง ตะลุ ง ดู เหมื อ นเป็ น ศิ ล ปะการแสดงชนิ ด เดี ย ว ที่ ส ามารถวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ บ ้ า นเมื อ งพอ ให้ประชาชนชาวปักษ์ใต้ยิ้มหัวได้ในยุค 'ยางสามโลร้ อ ย' ถ้ า หนั ง เดี ย วถู ก เรี ย ก

อาจารย์หมี, หนังน้องเดียว กับครูเชาว์

เครดิตภาพ : www.hu.ac.th

ไปปรั บ ทั ศ นคติ ค งขั น ขื่ น อยู ่ พ อสมควร ภาพคนตาบอดสนิทมองหน้าใครไม่เห็น หรื อ สบตาใครไม่ ไ ด้ ไ ปนั่ ง ฟั ง ใครสั ก คน หรื อ คณะที่ ล ้ ว นตาดี ต าใสพยายามจะ ท�ำความเข้าใจนโยบายของรัฐบาล ผมเคยเขียนถึงหนังเดียว หรือหนัง น้ อ งเดี ย วไว้ ใ น 'คมชั ด ลึ ก ' เมื่ อ ปลาย เดือนมกราคม ปี ๒๕๕๕ ลองอ่าน ชื่อ 'โลกของเดียว' ไว้ดังนี้ -- โลกของเดี ย ว หรื อ บั ญ ญั ติ สุ ว รรณแว่ น ทอง มื ด มิ ด มาแต่ ก� ำ เนิ ด อายุ ๕ ขวบ พ่ อ ชาว อ.ป่ า พะยอม จ.พัทลุง เสียชีวิต ทิ้งลูก ๔ คนไว้กับแม่ บ้านอยู่ ต.เกาะขันธ์ อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช เดี ย วรั ก ศิ ล ปะการแสดงพื้ น บ้ า น เมืองนครทุกแขนง อายุ ๖ – ๗ ขวบ เขา ฝึกว่าเพลงบอกเอาอย่างเพลงบอกสร้อย เสี ย งเสนาะ (ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ) ทุ ่ ม เท ฝึ ก หั ด หนั ง ตะลุ ง เอาอย่ า งหนั ง สุ ทิ พ ย์ ลูกทุ่งบันเทิง ฝึกร้องมโนราห์และร้อง เพลงของเอกชัย ศรีวิชัย ฝันว่าจะโด่งดัง เด็ ก ชายตระเวนร้ อ งเพลงกั บ วง

ธงชัยโชว์ ช่วงนี้ได้รู้จักกับเชาวรัตน์ รักษาพล (ครูเชาว์ เขาทะลุ) ครู กศน. ผู้ก่อตั้งครู เชาว์โชว์ บางวันได้แสดงทอล์คโชว์ด้วยกัน อายุ ๑๔ ปี เอกชั ย ชวนเดิ น สาย ร่วมกับศรีวิชัยโชว์ ร้องเพลงได้ ๑๐ คืน แฟนๆ หน้าเวทีเอ็นดูควักเงินให้เป็นก�ำลัง ใจประมาณหนึ่งแสนบาท เอกชัยสมทบอีก แสนกว่าๆ จึงน�ำไปซื้อที่ดินสร้างบ้านให้แม่ ปี ๒๕๔๙ ขณะอายุ ๑๘ ปี เดี ย ว เปิดโรงรับงานแสดงทั่วไป ‘หนังน้องเดียว ลูกทุ่งวัฒนธรรม’ ได้รับความนิยมอย่าง รวดเร็ ว เพราะสร้ า งความสนุ ก ได้ ห ลาก หลาย ทั้งขับหนัง ร้องมโนราห์ ว่าเพลง บอกและร้องเพลงลูกทุ่ง เดี ย วบั น ทึ ก เทปหนั ง ตะลุ ง ไปแล้ ว ๕ ชุด (ข้อมูลปี ๒๕๕๕) ผลงานเพลง ๔ ชุด มี เพลงดังๆ เช่น คนเชิดหนัง, รักแท้แพ้เปรว (ป่าช้า), รักน้องต้องคล�ำ และ ลมหายใจ ปลายด้ามขวาน ที่ดังเป็นพลุ คนแต่ง คือ อาจารย์หมี เหนือคลอง บ้านอยู่ อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ อดีตผู้รับ เหมา ที่นอนป่วยเป็นอัมพาตย่างปีที่ ๒๐ ด้ ว ยอุ บั ติ เ หตุ จ ากการขั บ ขี่ จั ก รยานยนต์

ด้วยหัวใจไม่ยอมแพ้เขาใช้ปากคาบปากกา แต่งเพลง แต่งไว้ร่วม ๒๐๐ แต่ไม่มีใคร ต้องการ กระทั่งเดียวน�ำไปบันทึกเสียง นั ก แต่ ง กั บ นั ก ร้ อ งกลายเป็ น คู ่ บุ ญ ของกั น และกั น เราสามารถเข้ า ใจได้ ว ่ า ท�ำไมเขาจึงแต่ง – 'รักน้องต้องคล�ำ' กับ 'ดวงดาวไม่มีแสงให้เดียว' ครู เ ชาว์ ซึ่ ง ยั ง รั บ งานทอล์ ค โชว์ กั บ

เดียวเล่าว่า คนแต่งขยับตัวแทบไม่ได้ คน ร้องก็มองไม่เห็น สองคนต่อเพลงกันทีละ วรรคอย่างอดทน ถ้าเป็นคนอื่นคงเผ่นหนี ไปแล้ว พุ่มพวง ดวงจันทร์ อ่านหนังสือไม่ ออก แต่ยังมองเห็น เวลาครูเพลงร้องให้ ฟังเป็นแนว เธอดูริมฝีปาก หรือใบหน้า ท่าทางก็รับรู้อารมณ์เพลง อาจารย์หมีกับ เดียวต่างรู้ว่าพวกเขาถอยไม่ได้อีกแล้ว เดือนมีนานี้เดียวก�ำลังจะออกเพลง ชุดใหม่ ชื่อ อยากบวชให้แม่ อาจารย์หมี เป็นผู้แต่ง ปีนี้อายุ ๒๔ เขาอยากบวชให้ แม่ แต่บวชไม่ได้ตามข้อปริยัติ เดี ย วเป็ น หนั ง ตะลุ ง ยอดนิ ย มของ ภาคใต้ไปแล้ว ปฏิทินรับงานปี ๒๕๕๕ เต็มหมด เต็มจนถึงกรกฎาคม ปี ๒๕๕๖ เด็กฝึกร้องเพลงบอกที่ไม่มีเงินชื้อฉิ่งคู่ละ ๔๕ บาท ปัจจุบันหนังน้องเดียวมีลูกคู่ ร่วมคณะ ๑๗ คน รถยนต์บรรทุกเครื่อง เสียงกับอุปกรณ์ ๔ คัน พร้อมคนขับ เดี ย วซื้ อ ที่ ดิ น สร้ า งบ้ า นให้ ตั ว เอง ที่ บ ้ า นไสไฟลาม ต.ควนกรด อ.ทุ ่ ง สง จ.นครศรี ธ รรมราช ถึ ง โด่ ง ดั ง เขายั ง ไม่ ลืมตัว -น�ำข้อเขียนเก่ามาตีพิมพ์ใน 'รัก บ้านเกิด' เผือ่ ผูอ้ า่ นได้รจู้ กั บางแง่มมุ ของ นายหนังตะลุงยอดนิยมแห่งยุค


หน้า ๑๒

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

ช่

วงสัปดาห์นี้เกือบทุกท่านตื่นมาเห็น หมอก รอบตัวเต็มไปหมด อาจท�ำให้ นึ ก ว่ า ก� ำ ลั ง อยู ่ บ นยอดเขา แต่ พ อได้ สู ด สัมผัสคงพบว่ามันไม่สดชื่นเหมือนที่เคย ประสบมา กลับกลายมาเป็นหมอกควัน ที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของเรา เป็นหมอก ควันและฝุ่นละออกจากไฟป่า สภาพดัง กล่าวนี้ได้บดบังทัศนวิสัยการมองเห็น ซึ่ง ส่ ง ผลต่ อ การคมนาคมทางบก ทางน�้ ำ และทางอากาศ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของประชาชนที่อาศัยใน พื้ น ที่ ชาวปั ก ษ์ ใ ต้ เ ราประสบภั ย หมอก ควันนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่รู้ไหมว่ามันมี ผลอย่างไรกับเราบ้าง และเราจะป้องกัน ได้อย่างไรกัน ก่ อ นอื่ น เรามารู ้ จั ก ดั ช นี คุ ณ ภาพ อากาศกันก่อน ดัชนีคุณภาพอากาศที่ใช้ อยู่ในประเทศไทย ค�ำนวณโดยเทียบจาก มาตรฐานคุ ณ ภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่ ว ไปของสารมลพิ ษ ทางอากาศ ๕ ประเภท ได้แก่ ก๊าซโอโซน (O3) เฉลี่ย ๑ ชั่วโมง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย ๑ ชั่วโมง ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย ๘ ชั่ ว โมง ก๊ า ซซั ล เฟอร์ ไ ด ออกไซด์ (SO2) เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง และ ฝุ ่ น ละอองขนาดเล็ ก กว่ า ๑๐ ไมครอน (PM10) เฉลี่ ย ๒๔ ชั่ ว โมง ทั้ ง นี้ ดั ช นี คุ ณ ภาพอากาศที่ ค� ำ นวณได้ ข องสาร มลพิ ษ ทางอากาศประเภทใดมี ค ่ า สู ง สุ ด จะใช้ เ ป็ น ดั ช นี คุ ณ ภาพอากาศของวั น นั้น หากดัชนีคุณภาพอากาศมีค่าสูงเกิน

กว่า ๑๐๐ แสดงว่าค่าความเข้มข้นของ เจือจาง เพราะเป็นกระแสลมพัด มลพิษทางอากาศมีค่าเกินมาตรฐานและ คุ ณ ภาพอากาศในวั น นั้ น จะเริ่ ม มี ผ ลกระ ข้อแนะน�ำในการปฎิบัติตัวเมื่อต้อง ทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน อยู่ในสภาวะอากาศหมอกควัน ๑. หลี ก เลี่ ย งการอยู ่ ใ นสถานที่ ที่ มี หมอกควันมีผลกระทบต่อสุขภาพ หมอกควันหรือฝุ่นละออง ถ้าจ�ำเป็นต้อง อย่างไร ? อยู่ในสถานที่ที่มีหมอกควันหรือฝุ่นละออง - ฝุ ่ น ละอองของคาร์ บ อนจะมี ผ ล ให้ใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก แต่หากไม่มีหรือ ระคายเคื อ งระบบทางเดิ น หายใจ อั น ไม่ ส ะดวกในการขอรั บ ให้ ใ ช้ ผ ้ า ชุ บ น�้ ำ ได้แก่ จมูก คอ หลอดลม และปอด ถ้า หมาดๆ ปิดปากปิดจมูกแทนได้ ส�ำหรับ ฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า ๑๐ ไมครอน จะ บริ เ วณพื้ น ที่ ว ่ า งเปล่ า ควรปลู ก พื ช คลุ ม สามารถเข้าสู่ปอดได้ และมีผลท�ำให้ปอด หน้าดินไว้ เพื่อลดโอกาสที่ฝุ่นละอองจะ อักเสบ ลอยฟุ้งขึ้นมาในอากาศได้ - ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ มีผล ๒. ปิดประตูหน้าต่างด้านที่รับลมซึ่ง ท�ำให้ขาดออกซิเจน พัดหมอกควันเข้าสู่ภายในบ้านและเปิด - สารไดออกซิน ก๊าซจากสารอินทรีย์ ประตูหน้าต่างด้านตรงข้ามกับทิศทางลม ระเหย และก๊าซโอโซน มีผลท�ำให้ระคาย ๓. หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีหมอกควัน เคืองทางเดินหายใจและท�ำให้ปอดอักเสบ ปกคลุม โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เด็ก และอาจท�ำให้เกิดมะเร็งได้ถ้าได้รับสารนี้ คนชรา ผู้ป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ หอบหืด นานๆ หลายปี ๔. การเปิดพัดลมในอาคารบ้านพัก - ก๊ า ซไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ จะมี ผ ล ควรเป่าลมกระทบผ่านผิวน�้ำก่อน จะช่วย ระคายเคื อ ง ทางเดิ น หายใจ ท� ำ ลาย ลดปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้ เนื้ อ เยื่ อ ปอด อาจท� ำ ให้ ป อดบวมน�้ ำ ได้ ๕. ผู้ที่เป็นโรค หอบหืด โรคหัวใจ และเมื่ อ ผสมกั บ น�้ ำ ในร่ า งกายจะมี ฤ ทธิ์ โรคปอด เด็กและคนชรา ควรพักผ่อนอยู่ เป็นกรด อย่างไรก็ตาม หากควันไฟและ ในบ้าน และเตรียมยา อุปกรณ์ที่จ�ำเป็น หมอกควันดังกล่าว ลอยมาจากที่ไกล ฝุ่น ให้พร้อม ละอองเขม่าควัน เถ้าลอยและก๊าซพิษก็จะ ๖. ใช้น้าสะอาดกลั้วคอ แล้วบ้วนทิ้ง

วันละ ๓-๔ ครั้ง ห้ามกลืน ๗. งดเว้นการสูบบุหรี่และควรดื่มน�้ำ บ่อยๆ ในช่วงที่มีฝุ่นควันรบกวน ๘.หลีกเลี่ยงการออกก�ำลังกายและ ท�ำงานหนัก ที่ต้องออกแรงมากนอกบ้าน และบริเวณที่มีฝุ่นควันรบกวน ๙. เมื่ อ มี อ าการผิ ด ปกติ ต ่ อ ระบบ หายใจและสายตาหลั ง สู ด ดมและอยู ่ ใ น บริเวณที่มีหมอกควัน ควรรีบไปพบแพทย์ ทันที ๑๐. งดการรองรั บ น�้ ำ ฝนไว้ ใ ช้ อุ ป โภคชั่ ว คราว แต่ ห ากจ� ำ เป็ น ควรให้ ฝ น ตกลงมาอย่างน้อย ๑ ชั่วโมง ก่อนรองน�้ำ ใช้ ๑๑. ห้ามเผาขยะ เศษใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ทุกชนิด รวมทั้งช่วยดับไฟป่าที่เกิด ๑๒. ติ ด ตามรั บ ฟั ง ข่ า วสารและ ข้ อ มู ล จากทางราชการ อย่ า งใกล้ ชิ ด ส�ำหรับผู้ที่มีโรคประจ�ำตัวเรื้อรัง เช่น โรค ความดันโลหิตสูง โรคภูมิแพ้ฯ ควรเตรียม ยาประจ�ำตัวให้พร้อมและพกติดตัว เพื่อ ป้องกันและใช้รักษาเมื่ออาการก�ำเริบ แม้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงมลพิษจาก หมอกควันได้ แต่ถ้ารู้จักปรับตัวดูแลและ ป้องกันตนเองด้วยวิธีดังกล่าวข้างต้น จะ ช่วยลดอันตรายจากมลพิษจากหมอกควัน ได้และหากมีอาการผิดปกติ เช่น หายใจ ล�ำบาก แน่นหน้าอก ควรรีบพบแพทย์ที่ โรงพยาบาลหรือสถานบริการสาธารณสุข ใกล้บ้าน

ที่ ม าข้ อ มู ล : กลุ ่ ม สื่ อ สาร และ รณรงค์ ด ้ า นสุ ข ภาพ กองสุ ข ศึ ก ษา กรม สนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ โดย นวลฉวี รตางศุ, ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือ โรงพยาบาลกรุงเทพ,ไทยโพสต์, www. mhso.moph.go.th รูปภาพ : http://www.thaihealth. or.th/Content/28230


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๓ วงเวียนใหญ่หรือไม่ ๔. บริเวณวงเวียนตามแบบ จะมี เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางตามแบบ ๖.๘๐ เมตร เป็นตัวเลขที่มีนัยยะ ส�ำคัญหรือไม่ ๕. การท�ำกิจกรรมต่างๆ เช่น การเข้าสักการบูชาประจ�ำวันท�ำได้ หรื อ ไม่ มี พื้ น ที่ เ พี ย งพอหรื อ ไม่ ที่ จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายจากยาน พาหนะ หรื อ เป็ น เพี ย งวงเวี ย น ส� ำ หรั บ การจราจรให้ ร ถวนรอบ เท่านัน้ ๖. หากลงเอยต้องเป็นสถาน ที่ นี้ จะสามารถขยายวงเวี ย นให้ กว้างขึ้นและขอพื้นที่รั้วของสถานี รถไฟถอยร่ น เป็ น รั ศ มี โ ค้ ง เข้ า ไป อีกได้หรือไม่ เพื่อความสง่างามสม พระเกียรติและป้องกันอุบัติเหตุที่ อาจเกิดขึน้ ได้หรือไม่ ๗. จะสามารถสร้างภูมิทัศน์ และควบคุ ม ทั ศ นี ย ภาพอาคาร แวดล้อมให้ดูดีได้หรือไม่ ความสูง

มื่ อ เ ดื อ น ที่ แ ล ้ ว ผ ม ไ ด ้ รั บ หนั ง สื อ เชิ ญ จากเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช ให้ไปร่วมแสดง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ โครงการจั ด สร้ า ง อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บริ เ วณสามแยกด้ า นหน้ า สถานี ร ถไฟ นครศรีธรรมราช ซึ่งผมเองก็อยากน�ำข้อ คิดเห็นต่างๆ จากผู้เข้าร่วมประชุมลงใน หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดฉบับเดือนพฤศจิ ก ายน แต่ บั ง เอิ ญ เป็ น การเชิ ญ ประชุ ม ปลายเดือนตุลาคม ไม่ทนั ต่อการส่งต้นฉบับ จึงขอน�ำมุมมองของผมที่ยังไม่ได้ผ่านการ เสนอต่อที่ประชุมมาให้ท่านได้อ่าน ซึ่งอาจ ไม่ตรงกับข้อสรุปจากทีป่ ระชุมก็เป็นได้ครับ ผมเชื่ อ ว่ า คณะกรรมการจั ด สร้ า ง โครงการนี้จะต้องมีการศึกษารายละเอียด เกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ของพระองค์ทา่ นกับ เมืองนครอย่างแน่นอน และตกลงปลงใจ ที่จะต้องสร้างจึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่าย ของเทศบาลรอไว้แล้ว ผมเองก็เห็นด้วย กั บ สิ่ ง ที่ ดี ง ามจะเกิ ด ขึ้ น ใหม่ ใ นตั ว เมื อ ง นคร แต่ ก็ ยั ง มี มุ ม มองอี ก หลายประเด็ น ที่ ค วรจะพิ จ ารณาอย่ า งรอบคอบ เนื่ อ ง ด้ ว ยพระองค์ เ ป็ น ผู ้ ก อบกู ้ ช าติ บ ้ า นเมื อ ง จึงมีการสร้างอนุสาวรีย์เพื่อร�ำลึกถึงพระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ ไว้ ห ลายแห่ ง โดยมี ก าร ก�ำหนดรูปแบบและรายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ พระราชกรณี ย กิ จ ที่ พ ระองค์ ท ่ า นได้ กระท�ำขึ้นในสถานที่ตั้งนั้นๆ แฝงไว้ เมื่อ สมั ย ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการปกครอง ใหม่ๆ ในปี ๒๔๗๗ มีสมาชิกสภาผู้แทน จังหวัดธนบุรี (สมัยนั้น) ได้ด�ำริการสร้าง อนุสาวรีย์ขึ้นที่กรุงธนบุรีที่เคยเป็นราชธานี แต่เป็นเพียงโครงการมานาน จนรัฐบาล อนุ มั ติ ใ ห้ ส ร้ า งในปี ๒๔๘๐ ทางกรม ศิลปากรจึงได้ปั้นแบบจ�ำลองย่อส่วนขนาด เล็กไว้ ๗ แบบ และได้มีการท�ำประชามติ กั น เลื อ กมาแบบหนึ่ ง ที่ ไ ด้ แ สดงถึ ง การที่ พระองค์ท่านได้ออกศึกกู้ชาติ ซึ่งเป็นแบบ ที่ปรากฏในปัจจุบันที่วงเวียนใหญ่ ธนบุรี เป็นพระรูปที่พระองค์ทรงม้าในเครื่องแบบ กษัตริย์นักรบ พระหัตถ์ขวาเงื้อพระแสง ดาบน� ำ ทั พ ชี้ ไ ปเบื้ อ งหน้ า ทิ ศ ที่ ตั้ ง เมื อ ง จันทบุรี และอนุสาวรีย์ของพระองค์ท่าน ที่เมืองจันทบุรีมีลักษณะคล้ายคลึงกันแต่ กลับทิศน�ำทัพสูก่ รุงธนบุรหี ลังจากมีชยั ชนะ แล้ว การก่อสร้างที่วงเวียนใหญ่ได้เริ่มจริง ในปี ๒๔๙๑ และเป็นสถานที่สักการะทั้ง เหล่ า ทหารและประชาชนเป็ น ประเพณี

ทุกปี ผมไม่ใช่นักประวัติศาสตร์จึงไม่ขอลง ในรายละเอียดเรื่องราวต่างๆ แต่เป็นเพียง สถาปนิกคนหนึ่งที่มีโอกาสรับใช้ท�ำงานที่ เกี่ยวข้องประเภทนี้บ้างในเมืองนคร เช่น งานออกแบบก�ำหนดที่ตั้งและออกแบบภูมิ ทัศน์ของอนุสาวรียพ์ ระเจ้าศรีธรรมโศกราช ซึ่งเป็นสวนเฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน (ผมเคยเขียนเรื่อง "สวนศรีธรรมโศกราช... บางเรื่ อ งที่ ช าวนครยั ง ไม่ เ คยทราบ" ลง ฉบับเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ รวม ๒ ตอน ซึง่ จะมีขอ้ ก�ำหนดเรือ่ ง ความสูงและการหันพระพักตร์ต้องไปทาง ทิศใด และการแสดงถึงพระบุญญาธิการใน การปกครองอาณาจักร ๑๒ นักษัตร) งาน ออกแบบภูมิทัศน์บริเวณพระบรมราชานุ สาวรีย์รัชกาลที่ ๕ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ และงานออกแบบรั้ ว โรงเรี ย นโยธิ น บ� ำ รุ ง เพื่อให้ส่งเสริมอนุสาวรีย์วีรไทย (เจ้าพ่อ จ่าด�ำ) ค่ายวชิราวุธ ซึ่งสถานที่ดังกล่าวนี้ จะมีกิจกรรมสักการะหรือร�ำลึกในโอกาส ต่างๆ เป็นประจ�ำที่ต้องใช้พื้นที่กว้างพอ

สมควร จึงจะท�ำให้อนุสาวรียม์ คี วามสง่างาม สมเกียรติ และสามารถท�ำกิจกรรมสะดวก ไม่เป็นปัญหาต่อการสัญจร ส�ำหรับสถานที่โครงการประดิษฐาน อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ของเทศบาลนครนครศรีธรรมราชนั้น ผม ไม่ แ น่ ใ จว่ า ได้ ก� ำ หนดแน่ ชั ด ลงไปว่ า ต้ อ ง เป็นบริเวณนี้หรือไม่ เท่าที่ได้รับเอกสาร และผังบริเวณประกอบนั้นยังเป็นแบบร่าง เค้าโครงอยู่ จึงอนุมานเอาเองว่าน่าจะยัง ไม่ได้ออกแบบรายละเอียดก่อสร้าง (ผมได้ สเก็ตช์ภาพประกอบให้เห็นว่าถ้าเสร็จแล้ว ตามแบบของเทศบาลจะเป็นอย่างไร) ผม ขอตัง้ ประเด็นทีค่ วรพิจารณาในมิตติ า่ งๆ ให้ ช่วยกันคิดต่อดังนี้ ๑. สถานทีต่ งั้ ดังกล่าว มีความเป็นมา หรือสัมพันธ์กบั พระองค์ทา่ นอย่างไร ๒. การหันพระพักตร์ไปยังทิศตะวัน ออกมีนยั ยะส�ำคัญอะไรหรือไม่ ๓. ลั ก ษณะของพระรู ป นั้ น มี พ ระ กรณี ย กิ จ ที่ จ ะต้ อ งเป็ น แบบเดี ย วกั บ ที่

อาคารโรงแรมที่อยู่ด้านข้างถึง ๙ ชั้น จะ ข่มสัดส่วนอนุสาวรียห์ รือไม่ ๘. ถ้ า บริ เ วณนี้ ไ ม่ ค วรสร้ า ง จะมี สถานที่ อื่ น ในตั ว เมื อ งที่ เ หมาะสมกว่ า นี้ หรือไม่ และจ�ำเป็นต้องตัง้ ในตัวเมืองหรือไม่ (มีกรณีตัวอย่างในการเลือกที่ตั้งอนุสาวรีย์ พระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่สร้างเสร็จแล้ว แต่ต้องใช้เวลาในการหาที่ตั้งที่เหมาะสม อยูห่ ลายปี) การสร้างอนุสาวรีย์พระมหากษัตริย์ เป็ น เรื่ อ งใหญ่ แ ละมี แ บบแผนมากมาย แม้ว่าจะเป็นการแสดงออกถึงความจงรัก ภั ก ดี ห รื อ การโยงกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ใ ดๆ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาให้ ค รบทุ ก มิ ติ มิ ฉะนั้ น อาจมี ป ระเด็ น ใหญ่ ที่ จ ะแก้ ป ั ญ หา ได้ ย าก เราคงมี เ วลาพอที่ จ ะทบทวนกั น อย่างรอบคอบแล้วเสนอต่อประชาคมให้ ช่วยลงมติอีกครั้งจะดีไหมครับ เพราะการ ลงมือก่อสร้างไปแล้วจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข ย่อมมีความยุง่ ยากตามมาอย่างแน่นอน


หน้า ๑๔

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

สํ

าหรั บ เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น รางวั ล ประเภทแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ยั ง มี เกณฑ์มาตรฐานและมีเกณฑ์เฉพาะ ดังนี้ เกณฑ์มาตรฐาน ๑. ระบบการบริ ห ารการจั ด การแหล่งท่องเที่ยว ๒. ทรั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วและ สิ่งแวดล้อม ๒.๑ การจั ด การคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อม และการควบคุมมลพิษ อย่ า งเป็ น ระบบ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผลและต่อเนื่อง ๒.๒ ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ระบบนิ เ วศ มรดกทางวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต และภู มิ ปัญญาท้องถิ่น) ๒.๓ ด้ า นภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม และสถาปัตยกรรม ๓. เศรษฐกิจและสังคม ๓.๑ การให้การสนับสนุนการพัฒนาชุมชนใน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ๓.๒ การไม่สร้างปัญหาให้กับชุมชนท้องถิ่น ๓.๓ ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง ๔. คุณภาพด้านการบริการ ๔.๑ การบริการด้านข้อมูล ๔.๒ การบริการนักท่องเที่ยว ๔.๓ ด้านการตลาด มีการด�ำเนินการอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เกณฑ์ เ ฉพาะส� ำ หรั บ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วนั น ทนการ

เพื่อการเรียนรู้ จะพิจารณาด้านองค์ความรู้ การศึกษา หาความรู้ภายในแหล่งท่องเที่ยวเป็นหลัก ในการจัดท�ำเอกสารรายละเอียดผลงานของศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชนั้น เพื่อให้ ครอบคลุมทั้งกรอบแนวคิดและเกณฑ์การตัดสินต่างๆ ได้มีการจัดท�ำโดยแบ่งออกเป็น ๓ บทด้วยกัน ได้แก่ บทที่ ๑ ภารกิจหลัก ซึ่งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการ ศึกษานครศรีธรรมราชมีภารกิจหลัก ๔ ด้านและยังมีการ จัดท�ำโครงการให้สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการ ด�ำเนินงาน ส�ำนักงาน กศน. ในด้านต่างๆ อีกด้วย บทที่ ๒ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ผลงานที่ ส ่ ง เข้ า ประกวด โดยผลงานครั้ ง ที่ ๘ ปี ๒๕๕๓ ชื่ อ ผลงาน “พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มี ชี วิ ต ” ครั้ ง ที่ ๙ ปี ๒๕๕๖ ชื่อผลงาน “เที่ยวเพลิน..เพลิน Play & Learn @ ศูนย์วิทย์คอน” และล่ า สุ ด ครั้ ง ที่ ๑๐ ปี ๒๕๕๘ ชื่อผลงาน “เที่ยว เพลิ น ..เพลิ น Play & Learn @ ศูนย์วิทย์คอน” บทที่ ๓ กรอบแนว คิ ด การตั ด สิ น รางวั ล โดย ตอบโจทย์ในแต่ละแนวคิด ที่ ททท.ได้ตั้งไว้ และเน้นที่ การสร้างคุณค่าและมูลค่า เพิ่มสินค้า (Value Creation) ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์

เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชได้ใช้ความได้เปรียบโดย การน�ำจุดแข็งที่มีอยู่ตามธรรมชาติมาสร้างสรรค์กิจกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรมภาย ใต้แนวคิด 7 Green Concepts คือ Green Heart หัวใจที่เคารพในวิถีแห่งธรรมชาติ ตระหนักและศรัทธาในพลังอันยิ่งใหญ่ มิใช่เพียงแค่คิด หรือพูดแต่ต้องลงมือท�ำ ได้แก่ กิจกรรมพิชิตโลกร้อน ซึ่ง ปลูกจิตส�ำนึกให้มีหัวใจสีเขียว โดยเริ่มจากการพิจารณา จากตัวเองก่อน Green Activity กิจกรรมที่สามารถท�ำได้เพื่อความ สนุกสนานเพลิดเพลิน ตราบเท่าที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กิจกรรม Walk Rally กิจกรรมปีนหน้าผา กิจกรรม ตะลุยป่าหลังคาแดนใต้ และกิจกรรมนักสืบสายน�้ำ Green Community ชุมชนท่องเที่ยวที่รู้เท่าทัน ผสานประโยชน์จากการท่องเที่ยวพร้อมรักษาอัตลักษณ์ ชุมชนได้อย่างสมดุล เช่นกิจกรรม Discovery กิจกรรม เส้นสายลายเทียน กิจกรรมมัดเส้นเน้นลาย และกิจกรรม ของเล่นไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ Green Logistics วิ ธี ก ารเดิ น ทางไปสู ่ จุ ด หมาย ปลายทางที่ ผ สมผสานแนวคิ ด เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม แทบทุกกิจกรรมภายในศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช จะใช้วิธีการเดินเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะ เป็น กิจกรรม Discovery ชุมชน กิจกรรมWalk Rally และกิจกรรมนักสืบสายน�้ำ Green Service จริ ง ใจด้ ว ยการเลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ และควบคุมการปล่อยของเสียกลับคืนสู่ธรรมชาติ ได้แก่ กิจกรรมขยะจ๋า ที่ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้การคัดแยกขยะ และ การย่อยสลายของวัสดุแต่ละชนิด Green Attraction ประสานการใช้ประโยชน์เพื่อ การท่องเที่ยวกับสภาพดั้งเดิมของแหล่งไว้ให้ได้ ภาย ใต้การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้พื้นที่ ธรรมชาติ ใ นการจั ด กิ จ กรรมโดยไม่ มี ก ารดั ด แปลงใดๆ และมีการก�ำหนดเส้นทางที่ชัดเจน ได้แก่ กิจกรรมนัก ธรณีน้อย (ลอดถ�้ำเขาขุนพนม) กิจกรรมWalk Rally กิ จ กรรมนั ก สื บ สายน�้ ำ และกิ จ กรรมตะลุ ย ป่ า หลั ง คา แดนใต้ Green Plus การให้คืนกลับแก่โลกใบนี้ด้วยความ ตั้งใจ ผ่านกิจกรรมอันหลากหลาย สร้างโอกาสในการ ดูแลโลกอย่างสม�่ำเสมอ ได้แก่ กิจกรรมนักสืบสายน�้ำ และการจัดโครงการจากต้นสายสู่ปลายน�้ำ ที่เชื่อมโยง กิ จ กรรมนั ก สื บ สายน�้ ำ ไปสู ่ ชุ ม ชนให้ ชุ ม ชนได้ เ ข้ า ใจถึ ง คุณภาพแหล่งน�้ำของตนเอง เมื่ อ ได้ จั ด ท� ำ เอกสารประกอบโดยต้ อ งจั ด รู ป เล่ ม ตามเกณฑ์ที่ได้ถูกก�ำหนดมาแล้ว จัดส่งตามก�ำหนดเวลา จากนั้นเมื่อเอกสารผ่านการพิจารณาในขั้นต้น คณะกรร การจะมี ก ารลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ตรวจพิ จ ารณาผลงานอี ก ครั้ ง กรรมการจะใช้เวลาในการเดินตรวจพื้นที่อย่างละเอียด เต็มวัน แต่ก่อนหน้านั้นทีมงานศูนย์วิทย์ฯ ต้องใช้เวลาใน การน�ำเสนอเพียง ๓๐ นาที ให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด ก่อน ดังนั้นรูปแบบในการน�ำเสนอจึงมีความส�ำคัญไม่ น้อยไปกว่าเอกสารผลงานและตัวผลงานจริงเช่นกัน และในที่ สุ ด ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษา นครศรีธรรมราชก็ได้รับคัดเลือกเป็น ๑ ใน ๓๓๐ รางวัลทั่ว ประเทศ ที่ได้ขึ้นไปรับมอบรางวัลบนเวทีอันทรงเกียรติ นี้อีกครั้ง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว (ต่อจากฉบับที่แล้ว) คุณสมบัติโดยรวมของ Samsung Gear 2 ขนาด ๕๘.๔ x ๓๖.๙ x ๑๐ มม. น�้ำหนัก ๖๘ กรัม ตัวเครื่องมีคุณสมบัติในการป้องกัน น�้ำ และป้องกันฝุ่น ตามมาตรฐาน IP67 ชนิดจอแสดงผลแบบ Super AMO LED ขนาด ๑.๖๓ นิ้ว ความละเอียด ๓๒๐x๓๒๐ พิกเซล สั่ ง งานด้ ว ยระบบสั ม ผั ส บนหน้ า จอแสดงผล (Touch Screen) ร ะบบตรวจจั บ ความเคลื่ อ นไหว แบบ Gyroscope ระบบ Accelerometer Sensor ช่วย หมุ น หรื อ ปรั บ เปลี่ ย นทิ ศ ทางการ แสดงผลของหน้าจอให้แบบอัตโน มัติ ตามลักษณะการจับถือของผู้ใช้ เซ็นเซอร์วัดอัตราการเต้นของหัวใจ หน่วยประมวลผลแบบ Dual-Core ความเร็ว 1 GHz ขั บ เคลื่ อ นการท� ำ งานด้ ว ยระบบ ปฏิบัติการ Tizen Bluetooth เวอร์ชัน 4.0 LE Infrared LED หน่วยความจ�ำภายในส�ำหรับเก็บ บันทึกข้อมูลขนาด 4 GB หน่วยความจ�ำ RAM ขนาด 512 MB กล้องดิจิตอลในตัว ความละเอียด ระดับ ๒ ล้าน Pixels (ความละเอียด สูงสุดของภาพถ่าย ๑๖๐๐x๑๒๐๐ พิกเซล) ถ่ายภาพวีดีโอ (HD : 1280 x 720

Pixels : 30 fps) แบตเตอรี่ 300 mAh

ระดับการใช้งานปกติ : แบตเตอรี่ สามารถใช้งานต่อเนื่องได้นาน ๒ ๓ วัน ระดับการใช้งานน้อย : แบตเตอรี่ สามารถอยู่ได้นาน ๖ วัน เ ปิ ด ตั ว ครั้ ง แรก เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพันธ์ ปี ๒๕๕๗

Microsoft Band

Samsung Gear 2 Neo

Samsung Gear Live

Samsung Gear Fit

Samsung Gear S Sony SmartWatch 3 SWR50

Motorola Moto 360 LG G Watch

LG G Watch R

Asus Zen Watch

ผมคัดมาให้ดูกันเพียงสองแบรนด์ เท่านั้นครับ ในตลาดโดยรวมแล้วแทบ ทุ ก ค่ า ยผู ้ น� ำ ตลาดสมาร์ ท โฟนต่ า งก็ ส ่ ง SmartWatch หรือ นาฬิกาอัจฉริยะ รุก ลงมากันอย่างจริงจังตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นซัมซุงเองซึ่งน�ำออกมาหลาย เวอร์ชั่น, Sony, Motorola, Microsoft, LG และ Asus ในภาพรวมแล้ว SmartWatch หรือ นาฬิกาอัจฉริยะ ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ของผู้ที่ชื่นชอบการออกก�ำลังกาย, สนใจ ในเรื่ อ งของนวั ต กรรม หรื อ ชอบความ แปลกใหม่ ซึ่งคาดว่าผู้บริโภคกลุ่มนี้ มีแต่ จะขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต ดัง นั้นผู้ผลิตสมาร์ทโฟนแบรนด์ใหญ่ จึงมุ่ง มั่นที่จะรุกตลาด SmartWatch กันอย่าง จริงจัง แต่อย่างไรก็ดี ส�ำหรับ SmartWatch บางรุ่น ทางแบรนด์ยังไม่ได้น�ำมา วางจ�ำหน่ายในไทยอย่างเป็นทางการ ซึ่ง ผู้อ่านหลายๆ ท่านคงต้องรอกันอีกสักพัก แต่ถ้าท่านได้อยากจะได้ SmartWatch มาลองเล่น และใช้งานกันเลย ก็สามารถ สอบถามข้ อ มู ล การสั่ ง จอง หรื อ สั่ ง ซื้ อ ได้ที่ช็อปของแบรนด์ต่างๆ รวมไปถึงลอง มองๆ หาเครื่ อ งหิ้ ว ตามร้ า นค้ า ก็ อ าจ จะพอมีผู้น�ำเข้ามาเองบ้าง และ SmartWatch ที่เป็นระบบปฏิบัติการ Android Wear ยังสามารถสั่งซื้อได้ที่ Google Play หรือสามารถสั่งซื้อได้ที่ตัวแทนจ�ำหน่าย ออนไลน์ในประเทศไทยหลายๆ เจ้า ซึ่ง แม้ ว ่ า ขณะนี้ ตลาดของ SmartWatch อาจจะยั ง อยู ่ ใ นวงแคบๆ แต่ เ ชื่ อ ว่ า ใน อนาคตจะเริ่ ม มี ก ารใช้ ง านแพร่ ห ลาย มากขึ้น, มีความลงตัวกับชีวิตประว�ำวัน ของแต่ ล ะคนมากขึ้ น และไม่ แ น่ ว ่ า ต่ อ ไปหลายๆ ท่านก็อาจจะไม่หันกลับไปใช้ นาฬิกาแบบเดิมๆ อีกก็เป็นได้ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๖ Tarzanboy

บั บ นี้ ผ มอยากแสดงความรู ้ สึ ก ยิ น ดี ใ น เรื่องหนึ่งของต�ำนานเมืองนคร เมื่อมีการ เปิดเสวนาและเท้าความถึงอีกหนึ่งความยิ่ง ใหญ่แห่งมหาอาณาจักรแห่งนี้ นั่นคือ เรื่อง “ช้างกับอาณาจักรนครศรีธรรมราช” แม้ว่า ช่ ว งที่ มี ก ารจั ด เสวนานั้ น ผมไม่ ไ ด้ มี โ อกาส เข้าร่วมรับฟังข้อมูล แต่ด้วยความกรุณาของ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิท่านหนึ่ง ที่ก�ำลังท�ำการ ศึกษาวิจัยเรื่อง “ช้าง” และความส�ำคัญของ ช้างกับวิถีบรรพชน ด้วยข้อมูลที่ผ่านการวิจัย วิเคราะห์และค้นคว้าด้านวิชาการจากผู้ทรง ความรู้หลายแขนง ท�ำให้ได้ทราบว่า เมือง นครในอดีตกาลนั้น “ช้าง” ถือเป็นสัตว์ที่มี ความส�ำคัญต่อการก่อร่างสร้างเมือง และมี ความส�ำคัญต่อประวัติศาสตร์บนแผ่นดินนี้ อย่างลึกซึ้ง ส่วนหนึ่งจึงเกิดเป็นต�ำนานเมือง คล้องช้างขึ้นในอดีต และนครศรีธรรมราช ก็ เป็นหนึ่งในเมืองที่มีการจับช้างป่าส�ำคัญ เพื่อ ใช้ในการศึก การพิธี และการใช้งาน และยังมี บันทึกอีกหลายฉบับ กล่าวถึงว่า ช้างป่าเมือง นครนั้น คือสินค้าส่งออกไปสู่ประเทศเพื่อน บ้านต่างๆ ในอดีต ด้ ว ยความเป็ น คนรุ ่ น หลั ง และด้ อ ย ปั ญ ญาความรู ้ ผมอาจจะไม่ ส ามารถบอก เล่าเรื่องราวความเป็นมาของช้างและความ ส� ำ คั ญ ต่ อ เมื อ งนครได้ ชั ด เจนถู ก ต้ อ งครั บ ...แต่ สิ่ ง ที่ จ ะน� ำ มาเล่ า สู ่ กั น ฟั ง เป็ น เรื่ อ ง “ช้าง” ในปัจจุบัน และด้วยความกรุณาจาก คณะผู้ท�ำงานวิจัยเรื่องนี้ ผมจึงได้ถูกขอให้ แชร์ประสบการณ์ในฐานะ “พรานป่า” ที่รู้ เห็นและพบเห็น “ช้างป่า”ในปัจจุบัน ป่าเขาหลวง หรือป่าในเทือกเขานครศรีธรรมราช ในปัจจุบันยังคงมีช้างป่าอาศัย อยู่ครับ จากการเดินป่าท่องไพรลึกอยู่ในแถบ

นี้มาร่วม ๒๐ ปี บ่อยครั้งที่ผมก็ต้องเผชิญ หน้ า กั บ ช้ า งป่ า และจ� ำ เป็ น ต้ อ งเรี ย นรู ้ ถึ ง แหล่งอาศัย แหล่งหากิน ลักษณะนิสัย และ ปริมาณหรือจ�ำนวนประชากรช้างป่าที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ผมเดาคร่าวๆ ว่า บ้านเรามีช้าง ป่าที่อาศัยอยู่ในป่าจริงๆ ประมาณ ๓๐ ตัว โดยแยกออกเป็ น โขลงเล็ ก โขลงใหญ่ และ ช้ า งที่ แ ยกเดี่ ย วหรื อ ที่ เ รี ย กว่ า “ช้ า งโทน” เขตอาศัยที่เขาอยู่จริงๆ คือ ทางตอนเหนือ ของเทือกเขาหลวงที่มีรอยต่อติดเขตจังหวัด สุราษฎร์ธานี หรือจะเรียกกว่าช้างป่าเหล่านี้ มีเส้นทางหากินกว้างใหญ่หลายอ�ำเภอในสอง จังหวัด นั่นคือ ป่าเหนือต้นน�้ำ อ.กาญจนดิษฐ์ อ.นาสาร อ.เวียงสระ และในเขตเมืองนครคือ อ.พิปูน อ.พรหมคีรี อ.นบพิต�ำ หรือถ้าจะพูด ให้เข้าใจง่ายคือ ปัจจุบันช้างป่าโขลงสุดท้าย ของเมืองนคร อาศัยอยู่ใน “ผืนป่ากรุงชิง” ซึ่ ง มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ กั บ อ� ำ เภอต่ า งๆ ดั ง ที่ กล่าวมาแล้ว

ส� ำ หรั บ ผม มั น ก็ ย ากที่ จ ะคาดเดาว่ า ช้างป่าโขลงสุดท้ายของบ้านเรา คือ ช้างป่า ที่ สื บ เชื้ อ สายช้ า งป่ า เดิ ม ในอดี ต กาล หรื อ คือช้างเลี้ยงที่ถูกน�ำมาปล่อยตามข่าวหลาย กระแส แต่ถึงยังไรก็ตาม เป็นเรื่องที่น่ายินดี ว่า สิ่งที่ผมจะน�ำมาเล่าสู่กันฟังต่อจากนี้ คือ เรื่อง “ช้างป่า” ที่มีตัวตนอยู่จริงในเมืองนคร ในผืนป่าบ้านเรา ซึ่งจากนี้ผมอาจจะใช้พื้นที่ ส�ำหรับเผยแพร่ข้อมูลส�ำคัญ บอกเล่าลักษณะ พิเศษและเป็นต�ำนานเรื่องเล่าริมกองไฟ เกี่ยว กับช้างป่า โดยผ่านสายตาพรานป่าธรรมดาๆ คนหนึ่ง ...ถ้าจะให้เอ่ยถึงช้างป่าในผืนป่าบ้าน เรานั้ น ชาวป่ า ชาวเขาหรื อ พรานป่ า แถบนี้ หากจะพูดถึงช้างนั้น เขาไม่เอ่ยเรียกสรรพนามนั้นว่า “ช้าง” หรอกครับ แต่จะเรียกว่า “ท่านขุน” อันเป็นชื่อที่ถือเป็นการให้เกียรติ สัตว์ใหญ่ที่เต็มไปด้วยความฉลาดรอบรู้อย่าง ช้าง และอาจจะมีชื่อเรียกสัตว์อื่นที่รองลงมา

เช่น “พี่ใหญ่” คือเสือโคร่งหรือเสือลายพาดกลอน “ท่านรัฐมนตรี” คือสมเสร็จ และจะ ว่าไปแล้ว แท้จริงผืนป่านครศรีธรรมราช ยัง คงมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์ป่าหายาก และใกล้ สู ญ พั น ธุ ์ ห ลากหลายชนิ ด ส� ำ หรั บ ช้างป่านั้น โดยทั่วไปจะอยู่รวมกันเป็นโขลง แต่ละโขลงจะมีทั้งช้างที่อายุมากจนถึงลูกช้าง เล็กๆ รวมกันได้ประมาณ ๗-๑๐ ตัว โดยจะ มีตัวเมียเป็นจ่าโขลง น้องจากนั้น ยังมีช้าง ตัวผู้ที่เมื่อโตเต็มวัยแล้วก็มักจะต้องแยกออก จากโขลงเพื่อไปหากินเดี่ยว แต่ก็จะแยกออก ไปไม่ ไ กลจากโขลงใหญ่ เ ท่ า ใดนั ก และมั ก จะเข้ามารวมโขลงกันอีกในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ประมาณ เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคมในทุก ปี ช้างป่าในบ้านเรานั้นมีอยู่ประมาณ ๓-๔ โขลงครับ และยังมีช้างโทนที่ออกหากินเดี่ยว อีกประมาณ ๕-๖ ตัว แต่มีเรื่องหนึ่งครับที่ อยากจะเล่าให้ฟัง และถือเป็นสิ่งที่น่าสนใจ อย่างมาก มี ช ้ า งป่ า โทนตั ว หนึ่ ง ครั บ ที่ ดู เ หมื อ น เขาจะเป็น “จ้าว” เหนือช้างป่าทั้งหลาย เขา หากินเดี่ยว ที่ส�ำคัญ หากจะให้ประเมินขนาด นั้น เห็นจะต้องบอกว่า น่าจะเป็นช้างขนาด ยักษ์ใหญ่ ที่มีขนาดน�้ำหนักตัวไม่ต�่ำว่า ๓-๔ ตัน เพราะขนาดแค่รอยเท้านั้น ผู้ใหญ่อย่าง เราๆ สามารถลงไปนั่งขัดสมาธิในรอยได้ จะ ว่าเป็นช้างพลาย หรือช้างพังก็ไม่สามารถระบุ ชัด ผมตั้งชื่อให้เขาว่า “ยักษ์แห่งสันเย็น” ...ฉบับหน้า เราลองมาติดต่อเรื่องราว ของช้างป่าในต�ำนานตัวนี้กันครับ !


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

หน้า ๑๗ การก่อสร้างสถานที่ทางศาสนา เพื่อปฏิบัติธรรม บริเวณขุมแร่เก่า ริมถนนสายเอเชีย ใกล้แม่น�้ำตาปี ในอ�ำเภอทุ่งใหญ่ คืบหน้าไปได้มากพอสมควรแล้ว ช่างภาพจากใกล้ไกลแวะเวียนไป เก็บภาพกันอย่างไม่ขาดสาย ต่อไปจะเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญ อีกแห่งหนึ่งบนถนนล่องใต้ สายเอเชีย


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๘

อลั่ ล ล้ า .. มาล่ ะ จ้ า มาทายทั ก รั บ ความคิดถึงกันแบบชิลล์ ชิลล์ สบายๆ กับบรรยากาศอันอบอุ่น ท่ามกลางเสียง เพลงหลากสไตล์ รั บ สายลมเย็ น กลาง ใจเมื อ ง แหล่ ง พบปะของคนทุ ก เพศ ทุ ก วั ย "Beer & Wine" ณ บริ เ วณ ลานเบี ย ร์ โรงแรมทวิ น โลตั ส อี ก หนึ่ ง สถานที่ที่สามารถรองรับความสุขในทุก สไตล์ ของคนส�ำคัญของคุณ เพราะที่นี่ นอกจากสถานที่ น ่ า นั่ ง ดนตรี ไ พเราะ หลากหลายแล้ ว ฟั ง ได้ ทุ ก รุ ่ น ยั ง เปี ่ ย ม ไปด้ ว ยอาหารรสเลิ ศ หลากหลายเมนู ส�ำหรับคอนักชิมอีกด้วยค่ะ .. ไม่ว่าจะ เป็นอาหารทะเลสด คัดคุณภาพดีมีมาให้ เลือกปิ้งย่าง กระทะร้อน โดยไม่ต้องขับ รถ หรือเดินทางไกลไปถึงริมทะเล เรียก น�้ำย่อย และอร่อยจัดเต็ม ได้ทุกรูปแบบ

อาทิ ปูผัดพริกไทยด�ำ, แปดเซียนกระทะ ร้อน รวมไปถึงเมนูสเต็ก อาหารจานเด็ด ของคนรุ่นใหม่ แบบสเต็กเนื้อโพนยางค�ำ รสชาติ อ ร่ อ ยล�้ ำ , สเต็ ก เนื้ อ รสชาติ แ ซ่ บ แบบอี ส าน, ส้ ม ต� ำ จานเด็ ด , ลู ก ชิ้ น ปลา ลวกจิ้ม, ไส้กรอกอีสาน, แหนมซี่โครงหมู, ปากเป็ดทอด, เนื้อย่างน�้ำจิ้มวาซาบิ ที่ขาด ไม่ได้เห็นจะเป็นปลาแซลมอนเนื้อหวาน เมนูยอดนิยมที่ทุกโต๊ะต้องมี ฯลฯ พร้อม เครื่องดื่ม และไวน์รสละมุนนานาชาติที่ คั ด สรรมาให้ เ ลื อ กลิ้ ม ชิ ม รสอี ก มากมาย

..รับประทานอาหารกันไป คุยกันไป ฟัง เพลงกันไป เมาท์กันไป ฮ่า ๆๆ เผลอ แป๊บเดียว จะถึงเที่ยงคืนซะแล้ว ได้เวลา นางซินฯ (ซินเดอเรล่า) ต้องรีบกลับบ้าน แล้วค่ะ ช้าไปกว่านี้อาจจะล�ำบากถ้าต้อง รอเจ้าชาย ฝากกระซิ บ กั น ไว้ เ ลยนะคะ ว่ า "Beer & Wine" มุมอร่อยของความสุข ณ โรงแรมทวิ น โลตั ส จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา ๑๘.๐๐ น. ถึง ๐๑.๐๐ น. อย่าลืมแวะเวียน

กันมาชิมนะคะ ... อิ่มอร่อยกันแล้วยัง สามารถไปบริหารเส้นเสียงและลูกคอต่อ ณ ห้อง วี.ไอ.พี คาราโอเกะ อีกด้วย .. พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ จุ๊บส์ จุ๊บส์ ขอบคุณภาพประกอบจากเฟสบุ๊ค โรงแรมทวินโลตัส ขอบคุ ณ : น้ อ งๆ พี่ ๆ ชาวทวิ น โลตัสที่ให้การต้อนรับอย่างดีทุกครั้ง ส�ำรองจองโต๊ะ โทร. ๐๗๕-๓๒๓๗๗๗ ต่อ Beer & Wine


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

แถมมี ง บให้ ไ ฟฟ้ า กั บ เทศบาล มาเอาเสาและสายไฟลงใต้ ดิ น พร้อมกับปรับปรุงผิวจราจร สส.นครก็สมทบงบพัฒนา จังหวัดมาจัดไฟส่องสว่าง แว่วว่าทางบริษัทไฟขอสมทบ ด้ ว ย ททท.ก็ ข อมี ส ่ ว นด้ ว ยการให้ พ วกเราที่ ส วนโมกข์ กรุ ง เทพท� ำ ป้ า ยประกอบการเรี ย นรู ้ บู ช า ทั้ ง หมดนี้ นอกจากแสดงถึงศรัทธาสารพัดแล้ว หากพลาดเพราะ เผลอก็พอท�ำเนา แต่ถ้าเพราะเหตุอื่น ผมก็อดเสียใจไม่ได้ ท�ำไมถึงมาท�ำกับพระธาตุ กับศรัทธาของพวกเราเช่นนี้

หน้า ๑๙

นี่ยังไม่รู้ผลการวิเคราะห์ "คราบสนิม" ว่าเกิดจาก อะไร ? "พลาด" ด้วยหรือไม่ ? และจะอย่างไรกันต่อไป ? ขอความกรุณาทุกฝ่ายได้ตั้งสติยั้งคิดอย่าให้เสีย ศรัทธาของพวกเราชาวนครดอนพระ หันหน้าหารือกัน ตั้งแต่นี้ เพราะทั้งหมดนี้อยู่บนศรัทธาพระบรมธาตุที่ ถือเป็นการบุญส�ำคัญที่ต้องช่วยกันอย่างยิ่ง ... อย่าให้ พลาดยิ่งกว่านี้ หรือว่าการที่งานเดือนสิบปีนี้ที่เน้นเปรตกันเหลือ เกินนั้น เป็นการส่งสัญญาณเตือนถึงพวกเราทุกคนว่า ต้องระวังและอย่าพลาด. ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๘


หน้า ๒๐

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๐ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.