นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 48 เดือนกันยายน 2558 ebook

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

สมพร ศรีเพชร นายกสมาคมชาวสวนปาล์มเมืองนคร จัดประชุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์มและเครือข่าย ชาวสวนปาล์มภาคใต้ หารือแก้ปัญหาปาล์มราคาต�่ำกว่า ๓ บาท พร้อมยื่นข้อเสนอ ๔ ข้อ ต่อรัฐบาล โดยขอค�ำตอบภายใน ๑๕ วัน หากค�ำตอบไม่น่าพอใจเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มประกาศชุมนุมใหญ่

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ พญ.ภัทริยา มาลัยศร มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒

เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ เครื อ ข่ า ยสหกรณ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น ๘ สหกรณ์ กั บ สมาคมชาวสวนปาล์ ม น�้ำมันจังหวัดนครศรีธรรมราช น�ำโดย นายสมพร ศรีเพชร นายกสมาคมชาวสวนปาล์มน�้ำมันจังหวัดนครศรีธรรมราช นายวาสนา วิ ม ลทรง ประธานชุ ม นุ ม สหกรณ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น นครศรี ธ รรมราช นายนิรัตน์ แพรกม่วง สหกรณ์ปาล์มน�้ำมันช้างซ้าย นายไพโรจน์ แก้วเนียม ประธานสหกรณ์ปาล์มควนชลิก จ�ำกัด

˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

งบฯ เมืองนคร ปี ๒๕๕๙ ผู้ว่าฯพีระศักดิ์ สั่งซ้อมการจัด ซื้อจัดจ้างระบบใหม่ เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๘ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธาน ประชุมหน่วยราชการ >> อ่านต่อหน้า ๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๒

ก�ำลังย่างเข้าสู่ไตรมาสสุดท้ายของปี ๒๕๕๘ ภาพ รวมเศรษฐกิจของไทยยังจมดิ่งหาทางฟื้นไม่พบ ถ้า รัฐบาลหว่านเม็ดเงินลงมากระตุ้นก็ยังไม่รู้ว่าจะฉีด ตรงไหนการใช้จ่ายจึงสะพัด ถ้าลงสู่ภาคประชาชน เอาอย่าง ‘รัฐบาลคึกฤทธิ์ ปราโมช’ เมื่อ ๔๐ ปีที่ แล้ว เข้าใจว่าชนบทคงไม่มีที่ทางให้ขุดหรือถากถาง อีกแล้ว การ ‘ผันเงิน’ สู่ชนบทอาจล้มเหลว ขณะ เดียวกันมีผู้เสนอว่าควรปรับขั้นเงินเดือนข้าราชการ ๓ ล้านกว่าคน เพราะรับประกันได้ว่าเงินถึงมือข้าราชการ และคนชั้นกลางโดยตรง โดยเม็ดเงินไม่ถูกกักถูกกัน อย่าง ‘เงินผัน’ สู่ชนบท ที่ส�ำคัญข้าราชการหรือคน ชั้นกลางกล้าซื้อกล้าจับจ่ายเม็ดเงินจะสะพัด แต่การ ขึ้นเงินเดือนข้าราชการก็เป็นข้อเสี่ยง เพราะอาจเกิด ความรู้สึกแตกแยกและช่องว่างระหว่างประชาชนกับ ข้าราชการมากขึ้น รัฐบาลสามารถอธิบายการปรับเงิน เดือนด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ แต่เหตุผลทางสังคม ยอมรับล�ำบาก เหตุ ก ารณ์ ร ะเบิ ด ที่ สี่ แ ยกราชประสงค์ เ มื่ อ ค�่ ำ วั น ที่ ๑๗ สิ ง หาคม ๒๕๕๘ สั ง หารผู ้ ไ ปสั ก การะท้ า ว มหาพรหม ๒๐ คน บาดเจ็บอีกประมาณ ๑๐๐ คน ได้ทุบท�ำลายเศรษฐกิจไทยให้จมดิ่งลงไปอีก เราพอมี รายได้จากการท่องเที่ยวมาช่วยพยุงสภาพเศรษฐกิจ ไม่ ใ ห้ ล งสู ่ ก ้ น เหว เพราะรายได้ จ ากการส่ ง ออกลด ลงต�่ ำ สุ ด ในรอบสิ บ ปี สิ น ค้ า ของเราถู ก กี ด กั น จาก ประเทศประชาธิ ป ไตย กลุ ่ ม ประเทศที่ รั ง เกี ย จและ เรียกร้องให้เราแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ กลุ่มธุรกิจ รายใหญ่ ย ้ า ยฐานการผลิ ต ไปยั ง ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ที่ ต ้ น ทุ น ต�่ ำ กว่ า ทั้ ง ต้ น ทุ น พลั ง งาน ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ต้นทุนแรงงานและต้นทุนธรรมาภิบาลพนักงานและ ลูกจ้างตกงาน จ�ำนวนคนตกงานเพิ่มมากขึ้นๆ ปัญหา อาชญากรรมก็ ต ามมาเป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ว่ า สั ง คม ไร้ ห ลั ก ประกั น ที ม เศรษฐกิ จ ชุ ด ใหม่ ข องรั ฐ บาลจะ สามารถแก้ ป ั ญ หาเศรษฐกิ จ ที่ มื ด มนเพราะปั ญ หา สั ง คมการเมื อ งที่ ห มั ก หมมมานานวั น ได้ ห รื อ ไม่ ประชาชนชาวไทยต้องเฝ้ารออย่างอดทน

มื่ อ วั น ที่ ๑๙ สิ ง หาคม ที่ ผ ่ า นมา มี ก ารประชุ ม สั ม ม น า น ่ า ส น ใ จ ม า ก ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ นครศรี ธ รรมราช ว่ า ด้ ว ย เรื่ อ งช้ า งเมื อ งนคร โดยมี ผู้รู้และเชี่ยวชาญเรื่องช้าง ของประเทศมาพร้ อ มกั น ตั้ ง แต่ คุ ณ หมอปรี ช า พวงค� ำ ผู ้ อ ภิ บ าลคุ ณ พระเศวตฯ คุ ณ ภาษพล กนิ ษ ฐสุ ต แห่ ง โรงช้ า งต้ น คุ ณ อิ ท ธิ พั น ธุ ์ ขาวละมัย แห่งวังช้างอยุธยา คุณวิโรจน์ ศุภโชคสหกุล แห่งศูนย์คชบาลล�ำปาง ที่ส�ำคัญคือมีหมอช้างชาวกูยจาก บ้านตากลางที่สุรินทร์ แล้วยังมีลุงจ�ำเริญ คนร่วมเลี้ยง พลายแก้วที่กระบี่ก่อนส่งถวายกลายเป็นคุณพระเศวตฯ ช้างส�ำคัญแรกของพระเจ้าอยู่หัว โดยเมืองนครนอกจาก คุณหมอพรภิรมย์ ปศุสัตว์ผู้ทุ่มเทให้ช้างเมืองนครมานาน แล้ ว ยั ง มี อ าจารย์ ช าลี ศิ ล ปรั ศ มี แห่ ง ช้างกลางที่ถือเป็นผู้รู้เรื่องช้างคนส�ำคัญ ของเมืองนครเป็นวิทยากร ผมจึงลงมา ร่ ว มเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยเพราะถู ก คะยั้ น คะยอ 5และเคยคิ ด ท� ำ เรื่ อ งนี้ ด ้ ว ยเชื่ อ ว่ า ใน อนาคตช้ า งน่ า จะหมดไปจากโลก จาก ประเทศไทย และเมืองนครของเรา หลังฟังท่านอาจารย์ฉัตรชัย ศุกรกาญจน์ อาจารย์ สื บ พงษ์ ธรรมชาติ อาจารย์รงค์ บุญสวยขวัญ อาจารย์ชาลี ศิลปรัศมี และ คุณสุธรรม ชยันต์เกียรติ น� ำ เสนอข้ อ คิ ด โดยมี คุ ณ ประพั น ธ์ เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น รายการ ผมได้ เ สนอชุ ด ความ คิดส่วนตัวที่ฉีกจากประเด็นที่ก�ำหนดว่า ช้างกับอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็น ช้าง กับ อาณาจักร : นครศรีธรรมราช และ ความส�ำคัญ ด้วยเห็นว่าควรขยายว่าด้วยช้างให้กว้าง สมกับความเป็นช้าง และไม่ใคร่อยากให้ติดอยู่กับความ เป็น “อาณาจักรนครศรีธรรมราช” จนเกินไป

ช้ า งเมื อ งนคร ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ นครศรีธรรมราช ก่อนการประชุม ผมลองเดินส�ำรวจพิพิธภัณฑ์พบว่า มีจัดแสดงอยู่ “หลายช้าง” เริ่มจากรูปช้างก�ำลังขนถ่ายของลงท่าเรือที่มีส�ำเภา เทียบบริเวณหน้าห้องสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ที่ระบุว่า เริ่มมีการติดต่อกับต่างแดนตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๔ - ๕ แล้วรุ่งเรืองเป็นชุมชนเมืองท่าค้าขายในพุทธศตวรรษที่

๑๘ ที่มีพระเจ้าศรีธรรมโศกราชเป็นประมุข ต่อด้วยตู้ ๓ เทวรูปพระพิฆเนศวร์มีเศียรเป็นช้างสมัยอยุธยาที่รวบรวม มาจากเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ (อ่านต่อหน้า ๑๙)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๓

มื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘ การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ประกาศรายชื่ อ โครงงานของนิ สิ ต นักศึกษา ๒๐ ทีมจากสถาบันอุดมศึกษา ทั่วประเทศ ที่ผ่านเข้ารอบการแข่งขัน ‘โครงการ กฟผ. เพาะเมล็ดพันธุ์จิตอาสา พัฒนาสังคม รุ่น ๗’ ผู้เข้ารอบได้รับทุน โครงงานละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท น� ำ ไป พัฒนาโครงการจิตอาสาให้เป็นจริงและ เกิดประโยชน์ตามที่น�ำเสนอ นั ก ศึ ก ษาจากวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภาคใต้ (SCT.) อ.ทุ่งสง จ.นครศรีฯ ส่ง โครงงานเข้าแข่งขัน ๓ ทีม ๓ โครงงาน ทั้ง ๓ ทีมผ่านเข้ารอบ อั ฮ หมั ด สาและ (อ.แม่ ล า) กั บ อาลียัส แนปิแน (อ.ยะรัง) จากปัตตานี ทั้งคู่ท�ำโครงงาน ‘จับมืออาสาพัฒนาเพื่อ ศูนย์การเรียนรู้ ตาดีกานูรุลอีมาน สันติ ๑’ ต.เขื่อนบางลาง อ.บันนังสตา จ.ยะลา อัฮหมัดว่าเห็นมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่ ค ่ อ ยลงไปท� ำ โครงการในพื้ น ที่ ๓ จั ง หวั ด “บ้ า นเกิ ด เราอยู ่ ที่ นั่ น เราเอา ตรงนี้มาใช้เป็นโอกาสของเรา เราอยาก ไปพัฒนา เขาอยากท�ำรั้ว และอยากปู กระเบื้องในห้องพักครู” ตาดีกา แปลว่า ศูนย์ฝึกอบรมทาง ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และการสอน ภาษาอาหรับ อังกฤษ มาลายู มีนักเรียน ประถมราวๆ ๖๐ อาลียัสบอกว่าหมู่บ้านที่ไปท�ำอยู่ บนภูเขาที่รัฐเข้าไม่ค่อยถึง และค่อนข้าง จะกันดาร “ตอนไปเซอร์เวย์ค่าย มีโต๊ะอีหม่าม ชุดคุ้มครองหมู่บ้าน (ชรบ.) ผู้น�ำ หมู่บ้านมาคุยกับเราด้วย เขาบอกถ้าเรา ท�ำตรงนั้น เขาจะช่วยดูแลความปลอดภัย ให้ ใกล้ๆ ตาดีกามีค่ายทหารด้วย คิดว่า ไม่เป็นอะไร” เขาว่าพื้นที่นี้ถ้าเด็กไทยไปท�ำก็คง

(ซ้ายบน) อัฮหมัด สาและ กับ อาลียัส แนปิแน (ซ้ายล่าง) นันทพัทธ์ ไกรนรา กับ ชลิดา ปานแดง (ขวา) มาซีเตาะห์ สือแม

ยากพอสมควร นันทพัทธ์ ไกรนรา (อ.ทุ่งใหญ่) จ. นครศรีฯ กับ ชลิดา ปานแดง (อ.ปะเหลียน) จ.ตรัง เรียนสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ พูดถึง ‘โครงการ กฟผ.และสาธารณสุข SCT มีจิตสาธารณะพัฒนาโรงเรียนบ้าน หนองราโพ’ ต.ห้วยนาง อ.ห้วยยอด จ.ตรัง นันทพัทธ์ (อดีตทหารพรานยศสิบ เอก) เล่าความเป็นมาของโครงงาน “ที่ เราไปท� ำ เป็ น ชุ ม ชนเล็ ก ๆ มี ร าวๆ ๑๐๐ ครอบครัว เป็นมุสลิม ๒๐ เปอร์เซ็นต์ ไทย พุทธ ๘๐ เปอร์เซ็นต์” ชลิดา ปานแดง เล่าว่า “ปัญหาหลัก ๓ อย่างของโรงเรียนบ้านหนองราโพ คือ โรงอาหาร การวางโต๊ะ อุปกรณ์ต่างๆ วาง ในที่ต�่ำ ห้องพยาบาลก็เก่ามาก เราเน้น เรื่องการใช้ยา เพื่อให้เกิดความปลอดภัย มากที่สุด สนามเด็กเล่นเป็นพื้นที่ต�่ำ--ไม่ เรียบ เกิดอุบัติเหตุง่าย กิจกรรมที่จะไปท�ำ ก็คือปรับปรุงโรงอาหารให้ถูกสุขลักษณะ มากขึ้น ปรับปรุงห้องพยาบาลที่ทรุดโทรม ให้น่าใช้ อบรมครูกับเด็กๆ เรื่องการใช้ห้อง พยาบาล ให้น้องๆ ช่วยปฐมพยาบาลเบื้อง ต้นได้ สนามเด็กเล่นเป็นพื้นดิน เด็กๆ ตก

จากเครื่องเล่นจะบาดเจ็บบ่อยๆ เราจะถม ทราย ลดอาการบาดเจ็บให้น้อยลง” นั น ทพั ท ธ์ เ ล่ า เพิ่ ม เติ ม “เราได้ ม า ๑๐๐,๐๐๐ บาท จาก กฟผ. คณาจารย์ กับนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขบริจาค คนละ ๑๐๐ บาท วันที่ ๔ ตุลาคม เราจะ เข้าไปจัดประเพณีเลี้ยงน�้ำชาที่หมู่บ้าน ให้ ชาวบ้านมากินน�้ำชา ปาท่องโก๋ แล้วแต่ ใครจะจ่ายเท่าไร เราจะเอาเงินมาเปลี่ยน โต๊ะรับประทานอาหาร จัดวางให้ถูกสุขลักษณะ ซื้อตู้ยา ปรับปรุงเตียง ปรับพื้นที่ สนามเด็กเล่น” ฝากข่าวนี้ไปยังผู้บริหาร อบต.ห้วยนาง และชาวห้วยยอดที่อยู่ใกล้ๆ ให้ไป อุดหนุนกันมากๆ มาซี เ ตาะห์ สื อ แม (ต.มาโมง อ. สุคิริน) จ.นราธิวาส กับโครงงาน ‘ค่ายรวม พลพลั ง จิ ต อาสาเครื่ อ ข่ า ยสี่ ภ าคแบ่ ง ปั น รอยยิ้มเพื่อน้องและท้องถิ่นครั้งที่ ๓’ เธอ ว่าเป็นค่ายสานสัมพันธ์หรือค่ายกลางของ กฟผ. ให้ผู้เสนอโครงงาน ๓๖ ทีมจากทุก ภาคมาร่วมชุมนุมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม “เราจั ด ระหว่ า งวั น ที่ ๑๑ - ๑๗ ตุ ล าคม ที่ โ รงเรี ย นบ้ า นควนเกาะจั น ทร์

ต� ำ บลโคกยาง อ.เหนื อ คลอง จ.กระบี่ เขาต้องการพัฒนาโรงเรียน โรงเรียนต้อง การสร้างรั้ว เรายังไปท�ำเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียง ปรับปรุงห้องพยาบาล ห้องสมุด จัดให้มีมุมอาเซียน ผู้อ�ำนวยการ ผู้ใหญ่ บ้าน ชุมชนก็ต้องการ ชาวค่ายจากทั่ว ประเทศน่าจะมากกว่า ๒๐๐ คน งบฯ กฟผ.สนั บ สนุ น มาแล้ ว เราอาจขอรั บ บริจาค งบฯเดินทางทุกคนที่มีจิตอาสา ออกกั น เอง เรามี กิ จ กรรมฝากลู ก ฝาก หลานให้ชาวค่ายได้รู้จักกับชาวบ้านด้วย เราจะฝากชาวค่ า ยบางส่ ว นไปอาบน�้ ำ แต่งตัว ให้เรียนรู้จักชาวบ้าน ส่วนกิน ข้าวแล้วแต่ชาวบ้าน ถ้าชาวบ้านชวนก็ ยิ น ดี เรามี กิ จ กรรมสั น ทนาการทุ ก คื น แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของทุกภาคบนเวที กลาง” วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) ทุ่งสง เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็ก ที่ ส นั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นจิ ต สาธารณะ อย่างเห็นความส�ำคัญอย่างต่อเนื่อง หวัง ว่า ๓ โครงงานที่ได้กับการคัดเลือกจะ เป็นประโยชน์กับโรงเรียนทั้ง ๓ โรง ใน ๓ พื้นที่


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

วั

นที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๘ ผมได้รับเชิญเข้าไปร่วมงาน ‘เชิดชูเกียรติบูรพาจารย์กรานสักการะบูชาครู’ ซึ่ง เป็นโครงการสืบสานวัฒนธรรมการละคร เพื่อท�ำพิธีไหว้ ครูโขน-ละคร วังเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ในพระ วิหารหลวง พระบรมธาตุ เข้าไปเล่าเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ในเรื่องราวของเหล่าบูรพาจารย์บางท่านที่ผมมีโอกาส ใกล้ชิดในขณะที่ท่านเหล่านั้นยังมีชีวิตอยู่ เช่น ‘แม่ครู พลับ จันทราทิพย์’ นางละครรุ่นสุดท้ายของเจ้าเมือง นคร ‘พ่อครูชอบ บุญกาญจน์’ นักดนตรีของวังเจ้าเมือง รุ่นเดียวกัน ‘แม่ครูเจต ไชยาค�ำ’ ครูผู้จัดตั้งคณะละคร นอกว่าในยุคแรก ‘พ่อครูชม เสาวพรรณ’ คนพากย์ นัก ร้องและนักดนตรีของวังเจ้าเมืองนคร ซึ่งเป็นผู้สืบสานฝึก โขน-ละครของเมืองนครยุคนั้น (พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๓๐) คณะผู ้ จั ด งานดู จ ะเป็ น คนหนุ ่ ม สาวแทบทั้ ง สิ้ น สั ง กั ด ชมรมอาสาสมั ค ร ‘ยุ ว มั ค คุ เ ทศก์ เ ล่ า เรื่ อ งเมื อ ง ลิกอร์’ มีโต้โผใหญ่เอาการเอางานอย่าง ‘อาจารย์วันพระ สืบสกุลจินดา’ เป็นแม่งานและมี ‘พ่อครูธงชัย ไพรพฤกษ์’ ศิษย์เอกคนสุดท้ายของแม่ครูพลับ ผู้ได้รับมอบ กรรมสิทธิ์ท�ำพิธีไหว้ครูโขน-ละครต่อจากพ่อครูชอบ ก็ได้ ท�ำพิธีไหว้ครูตามต�ำรับโบราณโดยแท้ สมเป็นผู้สืบเชื้อ สายโขน-ละครแห่งวังเจ้าเมืองนครอันโด่งดังในอดีต ผมได้อ่าน ‘ความน�ำ’ จากหนังสือสูจิบัตรงาน รวม ทั้ ง ได้ ฟ ั ง กล่ า วเล่ า ประวั ติ ค วามเป็ น มาของโขน-ละคร เมืองนครจากอาจารย์วันพระ สืบสกุลจินดา ที่ได้เพียร พยายามสืบค้นจากหลักฐานและหนังสือเก่า แม้เล่าให้

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือน กันยายน ๒๕๕๘ วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๘ ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี นายดนุชา สินธวานนท์ รอง เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) และคณะเดินทางติดตาม งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในเขตพื้นที่จังหวัด นครฯ โดยลงพื้นที่โครงการศึกษาทดลองการปลูกป่าจากเพื่อ ฟื้นฟูนิเวศลุ่มน�้ำปากพนัง ต.ขนาบนาก อ.ปากพนัง พร้อม รับฟังบรรยายสรุปการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากและเยี่ยมชมการ ผลิตน�้ำตาลปี๊บ ขนมลาและขนมจาก ต่อมาองคมนตรีและ คณะร่วมปลูกต้นจากในแปลงสาธิต

ฟังเล็กน้อยในช่วงเวลากล่าวเปิดงาน ก็ได้ปลุกความทรง จ�ำของเรื่องราวในอดีตได้มากมายทีเดียว ผมนั้นรู้เรื่อง ราวของโขน-ละครจากช่วงชีวิตสั้นๆ และเรื่องเล่าของคน เฒ่าคนแก่ในยุคนั้นเล่าให้ฟัง เป็นเรื่องจริงแต่ฟังดูเหมือน เรื่องในต�ำนานของเมือง แต่เรื่องก็พ้องตรงกันเป็นส่วน มากจากหลักฐานเอกสารเก่า คนเฒ่าเล่าว่า โขน-ละครเมืองนครมีมานานตั้งแต่ ครั้ ง อยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี เมื่ อ อยุ ธ ยาเสี ย เมื อ งแก่ พ ม่ า เหล่านางละครของกรุงเก่าที่รอดตายก็แตกกระสานซ่าน เซ็น บางส่วนก็มาอยู่เสียที่เมืองนคร อันเป็นราชธานีที่ ไม่เสียเอกราชแก่พม่า การโขนการละครของเมืองนคร ยุคนั้นจึงรุ่งเรืองมาก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กอบกู้เอกราชชาติได้แล้วสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี นครศรีธรรมราชยุคนั้น นอกเหนือจากส่งครูบาอาจารย์ผู้ รู้ด้านศาสนาไปแล้ว ยังได้ส่งคณะครูโขนละครไปฝึกหัด ให้กับคณะละครหลวง ซึ่งได้รวบรวมกันจนเป็นคณะ ละครหลวงของกรุงธนบุรี ล่วงมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ การละครก็ได้รับการ สนับสนุนเต็มที่ แต่ก็มีข้อห้ามบุคคลภายนอกมิให้ฝึกหัด โขน-ละคร เล่นได้แต่เฉพาะในราชส�ำนักหรือในวัง ชาว บ้านเรียกกันว่า ‘ละครใน’ ครัน้ สมัยรัชกาลที่ ๓ พระองค์ ทรงยกเลิกละครใน เพราะไม่ทรงโปรด เจ้าขุนมูลนาย ทั้งหลายต่างก็รับตัวแม่ครูละครมาตั้งวงตั้งคณะเป็นของ ตัวเอง การโขนละครก็แพร่หลายออกมาสู่สามัญชนมาก ขึน้ ชาวบ้านก็เรียกว่า ‘ละครนอก’ >> อ่านต่อหน้า ๙

พล.อ.ประยุ ท ธ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ปรั บ คณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ทั้งย้ายกระทรวงและปลดออก เชิญ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ขึ้นนั่งเก้าอี้รองนายกรัฐมนตรีรับบท หัวหน้า ‘ทีมเศรษฐกิจ’ ใช้มนต์เรียกนักลงทุนต่างชาติให้กลับ มาและฟื้นเศรษฐกิจรากหญ้า

แรงงานมี ทั ก ษะความสามารถก็ ต ้ อ งฝึ ก เตรี ย มไว้ รองรับ AEC รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ประชุมอนุกรรมการ พั ฒ นาแรงงาน คณะอนุ ก รรมการฯ ระดั บ จั ง หวั ด เร่ ง ฝึ ก แรงงานป้อนอุตสาหกรรม ๗ สาขา ทั้งอุตสาหกรรมอาหาร, ท่องเที่ยวและบริการ, ยางพารา/ไม้ยางพารา, การเกษตร, อุตสาหกรรมการขนส่ง, ก่อสร้างและเหมืองแร่และอโลหะ ก่อนแรงงานพม่าแย่งไปหมด


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ปลายเดือนกรกฎาคม มร.เซี๊ยะ หมิงเฉียง ผอ.ศูนย์ ธุ ร กิ จ ไทย-จี น ร่ ว มประชุ ม ปรึ ก ษาด้ า นวิ ช าการกั บ รศ.วิ ม ล ด�ำศรี อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครฯ และ คณะผู้บริหาร เรื่องการสร้างสรรค์พัฒนาเครือข่ายการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครฯ ตามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือระหว่างจังหวัดนครฯ กับศูนย์ธุรกิจไทย-จีน ประจ�ำ หนานหนิง ณ นครหนานหนิง เพื่อขับเคลื่อนผลักดันความร่วม มือด้านธุรกิจการค้าการลงทุน การบริการการท่องเที่ยวและ สปา และด้านเครือข่ายการศึกษาและศิลปวัฒนธรรมโดยมี หน่วยงานในประเทศไทยร่วมผลักดันให้ก้าวหน้า

หน้า ๕ สมเกียรติ นวลรอด กับ สุภาภรณ์ นวลรอด บวช ลู ก ชาย กิ ต ติ ภั ท ร นวลรอด แบบง่ า ยๆ แค่ โ กนหั ว เข้ า วั ด จ� ำ พรรษาที่ วั ด ใหญ่ ชั ย มงคล พระครู ป ริ ยั ติ คุ ณ าสั ย (รั่ น อาริ โ ย) เจ้ า อาวาสวั ด ประดู ่ เป็ น อุ ป ั ช ฌาย์ ควั ก กระเป๋ า จ่ายค่าอาหารและพิธีการกว่า ๑๕๐,๐๐๐ บาท ‘เงินท�ำบุญ’ ทุกบาทไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ กว่า ๒๐๐,๐๐๐ บาท สมทบทุ น สร้ า งศาลาและสร้ า งเมรุ ใ ห้ ช าว บ้านยากไร้ได้จัดงานศพโดยไม่ยุ่งยากล�ำบาก จัดงาน เลี้ยงต้องการอาหารติดต่อ ‘ร้านเพชรโภชนา’ โทร. ๐๙๑๑๕๔๘๖๘๑, ๐๙๑-๘๔๗๘๖๘๑ รองผู ้ ว ่ า ฯ พิ นิ จ บุญเลิศ แจ้งว่ากรมการกงสุล จะจัดหน่วยหนังสือเดินทาง เคลื่อนที่ (พาสปอร์ต) มาบริการในจังหวัดนครฯ ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๕ กันยายน ๒๕๕๘ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ณ ศาลาประชาคม สนามหน้าเมือง เตรียมค่าธรรมเนียม ๑,๐๐๐ บาท และค่าส่งไปรษณีย์ (EMS) ๔๐ บาท (ส่งทางไปรษณีย์ ภายใน ๒ สัปดาห์)

ทีมงานจากโซนี่ ทีมงานนครดีซี จัดงานเปิดตัว กล้องถ่ายรูปชั้นเยี่ยมจากโซนี่ที่ร้าน PixZel caffe’ หน้า วั ด พระมหาธาตุ ฯ มี น างแบบ ช่ า งภาพมื อ อาชี พ และ สมัครเล่นมาสร้างความสนุก ความเพลิดเพลิน รับทราบ ประสิทธิภาพของกล้องรุ่นใหม่ นครดีซีขอขอบพระคุณทุก ท่านทีม่ าร่วมกิจกรรม ติดตามข่าวทีเ่ ฟสบุค๊ แฟนเพจ นครดีซี

งานสมโภชหลักเมืองนคร ๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ พลตรี ธีร์ณฉัฏฐ์ จินดาเงิน ผบ.มทบ.๔๑ ให้เกียรติเป็นประธาน จุด เทียนบูชาพระ และจุดเทียนบวงสรวงพิธีพราหมณ์ ฉันท์ทิพย์ พันธรักษ์ราชเดช เป็นเจ้าพิธีมีผู้ศรัทธามาร่วมคับคั่ง สมควร อุ่มตระกูล ผอ.ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เผยการตรวจสอบทางกายภาพเบื้ อ งต้ น องค์ พ ระบรมธาตุ เจดีย์ พบว่ามีสภาพช�ำรุดหลายจุดโดยเฉพาะบริเวณกลีบบัว เมือ่ วันที่ ๑๖ สิงหาที่ผ่านมา บริษัท ฮอนด้า เทิด ทองค�ำและบริเวณปลียอดทองค�ำ และได้เก็บตัวอย่างคราบ คล้ายสนิมที่กลีบบัวทองค�ำเพื่อการ วิเคราะห์ทางเคมีหาชนิด พระเกียรติ นครศรีธรรมราช จ�ำกัด ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของสารเคมีที่ท�ำให้เกิดคราบ หลังจากนี้จะเตรียมตรวจสอบ ในกิ จ กรรม “BIKE FOR MOM ปั ่ น เพื่ อ แม่ ” เนื่ อ งใน วโรกาสวันมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ทั้งหมดและบูรณะด้วยงบฯ ๓๐.๙๙ ล้านบาท

สั ง คมปลอดภั ย ..วั น ที่ ๑๙ สิ ง หาคม ๒๕๕๘ ราชิต สุดพุ่ม ปลัดจังหวัดนครฯเป็นประธานปล่อยแถวชุด ปฏิ บั ติ ก ารออกตรวจเฝ้ า ระวั ง การก่ อ เหตุ วุ ่ น วายและสอด ส่องติดตามสถานการณ์ โดยสนธิก�ำลังจากกองทัพภาคที่ ๔, กองบังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครฯ กองก�ำกับการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนที่ ๔๒, หน่วยงานอื่นๆ กว่า ๓๐๐ คน ออก ออกตรวจเข้มพื้นที่อ�ำเภอเมือง, ท่าศาลาและทุ่งสง

Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

ผู ้ บ ริ ห าร หจก.เพชรทองซีกวง ไปแสดงความ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ โดยสนับสนุนน�้ำดื่มจ�ำนวน ๒,๐๐๐ ยินดีในงานฉลองมงคลสมรสของ พญ.เข็มทรวง สว่างขวด แจกให้กับเหล่านักปั่น ที่บริเวณศาลากลาง จังหวัด วรชาติ กับ นพ.กิตติ ตันรุง่ เรือง ทีโ่ รงแรมทวินโลตัส และ นครศรี ธ รรมราช “ฮอนด้ า เทิ ด พระเกี ย รติ ใ ส่ ใ จทุ ก ราย ร่วมแสดงความยินดีกับ ผู้จัดการหอการค้าจังหวัดนครศรีละเอียดของความสุข” โทร.๐๗๕ ๓๕๕ ๗๗๗ ธรรมราช รัชนี พิณทอง กับ พรศักดิ์ คงทอง ที่ร้านสลัดน�้ำ เมื่อเร็วๆ นี้ วันที่ ๑๖ สิงหาคมทีผ่ า่ นมา สมาชิกฮอนด้าศรีนคร คลับ พร้อมด้วยผู้บริหาร คุณมณฑล บุญญวงศ์ และ คุณอารยา สารคุณ ร่วมกิจกรรมปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนารถ (Bike for mom ปัน่ เพือ่ แม่) เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนารถ ๘๓ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช พบกันใหม่ตน้ เดือนตุลาคม

Page เพชรทองซีกวง

: Boonpalika

Seekuang BJ

boonada

099-195-6996

WWW.SEEKUANG.COM

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๖

ก่อสร้างบ้าน วิธีการขาย การตลาด การ จั ด สรรงบฯ “ผมได้ ค วามรู ้ ม าใช้ กั บ งาน อสังหาฯ ที่เราท�ำอยู่-- เขาดูแล ส่งเจ้าหน้าที่ผู้บริหารมาดูผลงานของเราตามมาตรฐานที่ เขาวางไว้หรือเปล่า แม้การดูแลลูกค้าก็ต้อง อยู ่ ใ นมาตรฐานเหมื อ นสาขาอื่ น ๆ เขาจั ด อบรมทุกปี ตอนนี้มีงานรับสร้างบ้าน PD มี อยู่ราว ๒๐ หลังทั่วจังหวัดนครฯ..ไม่เกี่ยว กับโครงการอื่นๆ ของเรา” หลั ง ปิ ด โครงการอาภาสิ ริ ค รอบครั ว เปิ ด หมู ่ บ ้ า นโครงการ Vintage อาคาร สไตล์ยุโรป ๖๘ ยูนิตตรงข้ามโรงพยาบาล นครินทร์ ถนนอ้อมค่าย ต.ปากพูน กฤตเปิด เผยว่า “ข้างในโครงการวินเทจเราจะสร้าง โรงแรมระดับ ๔-๕ ดาว ใช้สถาปนิกจาก อเมริกา ออกแบบสไตล์ยุโรปสมัยใหม่ คิดว่า จะก่อสร้างปลายปี ๒๕๕๘” กฤตเปิ ด เผยว่ า ขณะนี้ เ ขาลงทุ น ท� ำ โครงการคอนโดมิเนียมขนาด ๒๕๐ ห้อง ชื่อ VII-7 แถวเอแบค บางนา ก�ำลังตอกเสา เข็ม โครงการที่ชุมพร ที่คลองท่อม ที่ไสไทย จังหวัดกระบี่ และที่ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา วั น ที่ ๒๒ สิ ง หาคมที่ ผ ่ า นมากฤต จัดงานเปิดตัว CASA ราชด�ำเนิน อาคาร พาณิ ช ย์ แ ละทาวเฮ้ า ส์ ติ ด ถนนราชด� ำ เนิ น ถนนมณี วั ต รใกล้ ส นามกี ฬ ากลางจั ง หวั ด “เราซื้อโครงการของคนอื่นเมื่อ ๖ ปีก่อน เขา ยินดีขายให้เรา-- เรามาออกแบบใหม่หมด ข้ า งหน้ า จากราชด� ำ เนิ น ถึ ง ถนนอ้ อ มค่ า ย

ดื อ นนี้ ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ สนทนากั บ กฤต นามเกิ ด นั ก บริ ห ารเลื อ ดใหม่ กั บ ๑๑ โครงการอสังหาริมทรัพย์ ในเครืออาดารา กรุ๊ป จ�ำกัด มูลค่านับพันล้านบาทที่ท้าทาย ความสามารถอย่างยิ่ง กฤตเป็นบุตรชายคนเดียวของเจ้าของ ธุรกิจปศุสัตว์ ‘ภาคใต้ค้าสัตว์’ จบการศึกษา จากโรงเรียนนานาชาตินครพายัพ (เชียงใหม่) แล้วไปเรียนต่อสาขาบริหารธุรกิจที่ University of Central Queensland (ซิดนี่ย์) ประเทศออสเตรเลีย ขณะเรียนอาศัยทักษะ ทางธุรกิจโดยเช่าหอพัก แล้วแบ่งเป็นห้อง เล็กๆ ให้นักศึกษาต่างชาติและคนงานเช่า รายเดื อ น ผลประกอบการมี ก� ำ ไรคุ ้ ม ค่ า เหนื่อย กลับประเทศไทยปี ๒๕๕๒ ครอบครัว ส่งไปท�ำโปรเจ็คใหญ่ คือสร้างโรงงานฟัก ลู ก ไก่ ที่ หั ว หิ น ส่ ง ป้ อ นสาขาทั่ ว ภาคใต้ (คอนแทรคฟาร์มมิ่ง) ธุรกิจที่ครอบครัวท�ำ มาร่วม ๔๐ ปี ปี ๒๕๕๔ ครอบครั ว ดึ ง มาช่ ว ยงาน ด้านอสังหาริมทรัพย์ที่นครศรีธรรมราช เริ่ม จากหมู่บ้านแนว Neo Modern โครงการ อาภาสิริ “ผมตั้งใจมาท�ำด้านการเกษตร แต่ คุณแม่บอกให้มาช่วยตรงนี้ ตอนนั้นท�ำทุก ต�ำแหน่ง ทั้งฝ่ายขาย ต้องลองหมด เราไม่มี ความรู้เรื่องนี้เลย พอปิดโครงการได้ก็เริ่มจัด บริษัทใหม่ให้มีรูปร่างมากขึ้น รับพนักงาน มากขึ้น”

กฤตใช้เวลา ๑ ปี ปิดโครงการบ้าน อาภาสิ ริ โ ครงการแรก ท่ า มกลางปั ญ หา มากมาย และใช้อีก ๑ ปี การก่อสร้างบ้าน ทุกหลังเสร็จสิ้น เมื่ อ ๔ ปี ที่ แ ล้ ว กฤตตั ด สิ น ใจซื้ อ แฟรนไชส์ PD house มาเปิดบริการรับ สร้ า งบ้ า น “ผมอยากมี พื้ น ฐานด้ า นการ ก่อสร้าง การขาย การตลาด ความจริงคุณ แม่เคยแนะน�ำตั้งแต่ยังเรียนอยู่ออสเตรเลีย ท่านเก็บบทความและข่าวต่างๆ คุณแม่จะ ยื่นแฟ้มให้เอาไปอ่าน ว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง คุณแม่มีประสบการณ์ คุณแม่เป็นคนก่อตั้ง ภาคใต้ค้าสัตว์” กฤตได้ รั บ ประสบการณ์ จ าก PD House ทั้งด้านการจัดการงานก่อสร้าง การ

เป็นอาคารพาณิชย์ ๒ ชั้นสไตล์อิตาลี (Tuscany) ๔๐ ยูนิต ด้านหลังเป็น CASA ๒๘ ยูนิต เนื้อที่ ๒๓ ตารางวา สไตล์ Tropical Modern โครงการของเราทุกโครงการเน้น การออกแบบให้สวยงามน่าอยู่ มีไม้ปนอยู่ บ้ า ง เรื่ อ งการออกแบบเราต้ อ งน� ำ คนอื่ น อยู่แล้ว ตรงนี้จะต้องเป็นหลัก ฟังก์ชั่นการ ใช้สอยในบ้าน เราค่อนข้างมีความสุข” กฤต ยิ้มอย่างเชื่อมั่น โครงการ CASA ราชด�ำเนินโดดเด่น บนเนื้อที่ ๑๒ ไร่ ใกล้สนามกีฬากลางจังหวัด เพียง ๒-๓ นาที ห่างจากสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) ไม่เกิน ๕ นาที วิเศษมากๆ ส�ำหรับผู้รักการออกก�ำลังกาย ลู ก ค้ า โครงการมี ทั้ ง กลุ ่ ม ข้ า ราชการและ

พนักงานบริษัท เพราะการเดินทางสะดวก ส�ำหรับนักเรียนหรือคนท�ำงาน จะออกทาง ฟากถนนราชด�ำเนินหรือถนนอ้อมค่าย ถามเรื่ อ งตลาดอาคารพาณิ ช ย์ แ ละ บ้าน ณ เวลานี้ กฤตเล่าว่าช่วงต้นปียังพอ จับจ่ายใช้สอยอยู่บ้าง แต่ไตรมาสที่ ๓ ผู้คน กลับระมัดระวังและเฝ้าดูสถานการณ์ การ ลงทุนซื้ออาคารพาณิชย์ลดน้อย “ช่วงนี้เขาหันมาดูเรื่องบ้านเรื่องที่อยู่ อาศั ย ของตั ว เอง ตอนนี้ ก็ จ ะเหลื อ แต่ ร าย ที่เก่งๆ เป็นมืออาชีพ พอมืออาชีพแข่งกัน เขาค่อนข้างขยับตัวแรง เวลาลดก็ลดแรง เพราะเขาคุมต้นทุนได้ เวลาเล่นกันก็หนัก นิดหนึ่ง ช่วงนี้เหมาะจะซื้อบ้านเพราะโปรโมชั่นแรง” โครงการ CASA ราชด�ำเนินมีผู้จอง เฟส ๑ แล้วในราวๆ ๘๕ เปอร์เซ็นต์ กฤตก�ำลัง เปิดเฟส ๒ ถามว่าประสบการณ์ด้านดูแล ฟาร์มใช้กับงานนี้ได้หรือเปล่า เขาตอบว่า ในแง่การด�ำเนินงานใช้ได้อยู่บ้าง “ปศุสัตว์ เราท�ำมา ๓๐-๔๐ ปี เราท�ำอย่างไร ก็ยัง ท�ำอย่างนั้นเพื่อให้ลูกค้า เกษตรกรที่อยู่กับ เรารู้สึกว่าเรามั่นคง เราซื่อสัตย์กับเขา มี อะไรพร้อมช่วยพร้อมคุย แต่ลูกค้าปศุสัตว์ ก็ซื้อเรามากอยู่ โดยเฉพาะที่กรุงเทพฯ ๒๐ เปอร์เซ็นต์เป็นลูกค้ากลุ่มปศุสัตว์” อาคารพาณิชย์สไตล์ทัสคานี่ติดถนน มณีวัตรว่าจะมีร้านอาหาร ร้านกาแฟ และ กลุ่มศูนย์การค้าส่ง หัวมุมถนนราชด�ำเนิน ซึ่งราคาขายแต่ละยูนิตจะต่างกัน ลูกค้าจอง ไปแล้ว ๖๐ เปอร์เซ็นต์ วันเปิดตัวโครงการเขาขายลดทาวน์ เฮ้าส์ต�่ำสุด ๒,๓๙๐,๐๐๐ บาท ราคาแพง ที่สุด ๓ ล้าน วันเปิดตัวไม่มีค่าท�ำสัญญา ที่ตั้ง โครงการคาบเกี่ยวระหว่างเขตเทศบาลนคร นครฯกับเขตเทศบาลต�ำบลปากพูน กฤต รับรู้ปัญหาเรื่องน�้ำประปาเป็นอย่างดี เขา ตกลงวางท่อเข้าสู่โครงการเพื่อแก้ปัญหา ล่วงหน้าให้ลูกค้า “ผมยอมขยายเขตให้ ไ ด้ ใ ช้ น�้ ำ ของ เทศบาล ยอมเสี ย มากขึ้ น เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า สะดวก แล้วเรายังท�ำแท้งค์บาดาลเพิ่มจะได้ ตัดปัญหาเรื่องน�้ำออกไป ผมไม่กลัวเพราะ แท้งค์บาดาลเราใหญ่ ชุมชมโครงการนี้น่า จะมีคนอาศัย ๒๐๐ กว่าคน” เรื่ อ งความปลอดภั ย โครงการจั ด ซุ ้ ม เวรยามดูแลความปลอดภัย ลูกค้ามาจาก อ�ำเภอรอบนอกราวๆ ๕๐-๖๐ เปอร์เซ็นต์ บางคนซื้ อ เป็ น บ้ า นหลั ง ที่ ส องให้ ลู ก เรี ย น หนังสือ กฤตเปิดเผยว่า ขณะนี้บริษัทเติบโต ขึ้ น ไปเรื่ อ ยๆ ทั้ ง บ้ า นจั ด สรรและโรงแรม ที่ก�ำลังจะก่อสร้าง “เราก�ำลังจะปรับภาพ ลักษณ์บริษัทใหม่ พอมีโรงแรมเราจะมุ่งเน้น ไปทางโรงแรมให้มากขึ้น เปลี่ยนชื่อไปตาม ทิศทางธุรกิจใหม่ในรุ่นของเขา” ปลายปี ๒๕๕๘ หรื อ ต้ น ปี ๒๕๕๙ กฤต นามเกิด นักบริหารหนุ่มจะปรับโฉม บริษัทให้เป็นสากลและทันสมัยยิ่งขึ้น


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๗

ข่

าวจากวงในภาคธุรกิจ “ยอดขาย ต�่ ำ กว่ า เป้ า หมายและติ ด ลบจาก ปีที่แล้ว” ผ่านมา ๘ เดือน ย่างเดือน ที่ ๙ ของปี ส่วนใหญ่ท�ำใจยอมรับว่าปีนี้ คือปีที่ไม่น่าจะได้ตามเป้าหมายค่อนข้าง แน่นอนแล้ว ส่งผลต่อภาคธุรกิจ ขนาด กลาง-ขนาดย่อม (เอส เอ็ม อี) ติดกับ ดั ก สภาพคล่ อ งทางการเงิ น ข่ า วจาก ธนาคารพานิ ช ย์ “แบงค์ เ ผยหนี้ เ สี ย เอส เอ็ม อี น่าห่วง แนวโน้มขยับจากผล กระทบเศรษฐกิจชะลอตัว โดยเฉพาะ กลุ ่ ม ต่ า งจั ง หวั ด หนั ก สุ ด เหตุ พึ่ ง พา ก� ำ ลั ง ซื้ อ ในประเทศ แนะรั ฐ เร่ ง ออก มาตรการช่วยผู้ประกอบการ” จากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกยังไม่ ฟื้นตัวได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ซึ่งเป็นเศรษฐกิจที่พึ่งพาการส่งออกโดย เฉพาะอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาด ย่อม (เอส เอ็ม อี) ได้รับผลกระทบหนัก จากการส่งออกและก�ำลังซื้อในประเทศ ยังไม่ฟื้นตัว ข้อมูลจากธนาคารพัฒนา วิ ส าหกิ จ ขนาดกลาง ขนาดย่ อ ม แห่ ง ประเทศไทย (เอส เอ็ ม อี แบงค์ ) ได้ ระบุข้อมูลที่น่าวิตกว่ายอดขายภาพรวม ของ เอส เอ็ม อี ที่เป็นลูกค้า เอส เอ็ม อี แบงค์ ลดลงต่อเนื่อง ไตรมาสแรกยอด ขายลดลง ๓๐% ไตรมาส ๒ ยอดขายลด ลงถึง ๓๕% ในไตรมาส ๓ ก็มีแนวโน้ม ลดลงไปอีกเมื่อเทียบกับช่วงปีก่อน จาก ภาพนี้ ท� ำ ให้ เ รามองเห็ น ว่ า จากจ� ำนวน ผู ้ ป ระกอบการทั้ ง หมดในเมื อ งไทยมี ผู ้ ประกอบการ เอส เอ็ม อี ประมาณ ๙๐% มูลค่าประมาณ ๓๗% ของ GDP ประเทศ และมีการจ้างงานมากที่สุด และเมื่อกลุ่ม ธุรกิจนี้ประสบปัญหา “ยอดขายตกต�่ำ ขาดสภาพคล่อง” ย่อมส่งผลกระทบเป็น วงกว้างอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มู ล นิ ธิ ส ถาบั น อนาคตไทยศึ ก ษา ได้จัดท�ำรายงานเรื่องเศรษฐกิจไทยภาย ใต้บริบทใหม่ (Thailand’s New Normal) นายเศรษฐพุ ฒิ สุ ท ธิ ว าทนฤพุ ฒิ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิฯ กล่าว ว่ า “เศรษฐกิ จ ไทยช่ ว งที่ ผ ่ า นมามี ก าร เติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ ๕% เพราะได้แรงหนุน จากการส่ ง ออกที่ เ ติ บ โตเฉลี่ ย ปี ล ะมาก กว่า ๑๐% ขึ้นไป แต่จากนี้ไปอีก ๕ ปี

“Start Up” คือธุรกิจใหม่ที่เปิดขึ้นเริ่มจากคนเพียงไม่กี่คน ที่มุ่งหวังให้กิจการเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดด โดยมีแผนธุรกิจและมีนักลงทุนร่วมด�ำเนินการ ซึ่งก�ำลังมาแรงเป็นกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล, ธุรกิจสีเขียว, ธุรกิจเพื่อสุขภาพและมีไลฟ์สโตล์ ฯลฯ.. ข้างหน้าเชื่อว่าเศรษฐกิจไทยจะเติบโตได้ เพียงปีละ ๓% เท่านั้น และการส่งออก ก็ ค งไม่ น ่ า จะสู ง เกิ น ๔% สาเหตุ เ พราะ ปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ได้เปลี่ยนแปลงไป มาก ประชากรไทยเข้าสู่วัยชรารวดเร็วจน ก�ำลังแรงงานแทบไม่เพิ่ม ค่าจ้างโตเร็วแซง ผลิตภาพการผลิต ท�ำให้ความสามารถใน การแข่งขันลดลงเมื่อเทียบกับประเทศคู่ แข่ง หนี้ครัวเรือนที่สูงเกือบ ๘๐% ของจี ดีพี จะยังท�ำให้การบริโภคเพิ่มขึ้นได้ยาก อีกพักใหญ่” แต่ ใ นอี ก ด้ า นหนึ่ ง ของการเปลี่ ย นแปลงนี้..การเข้ามาของนักธุรกิจผู้ประกอบ การใหม่ โดยคนรุ่นใหม่ที่มีไอเดียหรือที่ เรียกกันว่า “Start up” คือธุรกิจใหม่ที่ เปิดขึ้นเริ่มจากคนเพียงไม่กี่คนที่มุ่งหวัง ให้กิจการเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าว กระโดดโดยมีแผนธุรกิจและมีนักลงทุน ร่วมด�ำเนินการซึ่งก�ำลังมาแรงเป็นกลุ่ม ธุ ร กิ จ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล , ธุ ร กิ จ สี เ ขี ย ว, ธุรกิจเพื่อสุขภาพและมีไลฟ์สโตล์..ฯลฯ.. เป็นไปตามยุคสมัยจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ทางธุรกิจที่พลิกโฉมหน้าใหม่คือ.. ๑. การเกิ ด ธุ ร กิ จ จะเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็วมีผู้ประกอบการหน้าใหม่ จากคน หนุ่มสาวช่วงอายุ ๒๕-๓๕ ปี (Gen Y) ที่ ต้องการสร้างธุรกิจของตนเองเพิ่มมากขึ้น พวกเขาเลือกสร้างธุรกิจแนวใหม่สอดรับ กับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ ๒. การเลือกสร้างธุรกิจใหม่ที่ให้ผล

ตอบแทนสูงภายในระยะเวลาที่ไม่นานนัก ๓-๕ ปี คนรุ่นใหม่เลือกที่จะไม่เดินตาม รอยคนรุ่นก่อน ๓. ธุ ร กิ จ ใหม่ จ ะเป็ น ธุ ร กิ จ ยุ ค เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล การท� ำ ธุ ร กิ จ บนเครื อ ข่ า ย อิ น เตอร์ เ น็ ต ธุ ร กิ จ ค้ า ขายออนไลน์ (Ecommerce) สอดรั บ กั บ เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ที่ ช ่ ว ยผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ ไทยใน อนาคต ปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมาจากพฤติ ก รรมของผู ้ บ ริ โ ภคที่ เปลี่ยนไปบวกกับการเข้ามามีบทบาทของ

กลุ่ม Gen Y และ Gen Z โดยได้รับการ สนับสนุนจาก Gen X พูดให้เข้าใจง่าย ขึ้นนับจากนี้โลกได้เปลี่ยนมือผู้น�ำจากคน รุ่นก่อนมาสู่คนรุ่นใหม่ (คนหนุ่มสาว) ที่ มีวิสัยทัศน์-ไลฟ์สไตล์ที่เป็นตัวตนของเขา กับยุค “ผู้บริโภคดิจิทัลไลฟ์” ค�ำถาม… นักธุรกิจต่างจังหวัดมอง เห็นภาพนี้ในมุมมองแบบใด? มองเห็น การเปลี่ ย นที่ จ ะมาถึ ง ในไม่ อี ก กี่ ป ี ข ้ า ง หน้าอย่างไร? และจะรับมือได้หรือไม่? สิ่งที่คาดเดาได้ยากก็คือการเปลี่ยนแปลง วิธีคิดในการมองโลกของเราในวันนี้และ อนาคตส� ำ คั ญ มาก เราเปลี่ ย นอดี ต ไม่ ได้ แ ต่ เ ราใช้ บ ทเรี ย นจากอดี ต ที่ ผ ่ า นมา ได้ชัดเจนมากในเวลา ๑๐ ปี ที่ผ่านมา เราเห็นการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี มากมายและรวดเร็ว เห็นการตกรุ่นแบบ เฉียบพลันของหลายผลิตภัณฑ์และการ ล้ ม ของธุ ร กิ จ เอส เอ็ ม อี . แบบดั้ ง เดิ ม เมื่อเราใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาก้าวหน้าไม่ หยุดยั้งท�ำให้เรื่องยากๆ เป็นเรื่องง่ายได้ อย่างรวดเร็วแบบพลิกฝ่ามือ โลกธุรกิจ ก็ เ ช่ น กั น ครั บ จะเห็ น ด้ ว ย-ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย หรือไม่ทันเห็น แต่เป็นเรื่องจริงที่ต้องเกิด ขึ้น .... นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๖/๘/๒๕๕๘

เดือนกันยายน ๒๕๕๘ วันอาทิตย์ที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ แรม ๘ ค�่ำ เดือนเก้า(๙) ปีมะแม วันเสาร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือนเก้า(๙) ปีมะแม วันอาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสิบ(๑๐) ปีมะแม วันอาทิตย์ที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบ(๑๐) ปีมะแม


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

นายวิน สีมาลา ประธานชาวสวนยาง ปาล์มน�้ำมันจังหวัด นครศรีธรรมราช นายทศพล ขวัญรอด แกนน�ำชาวสวน ยาง ปาล์มน�้ำมัน อ.ชะอวด นายชัยวัฒน์ โภคาวัฒนา เลขานุการสมาคมชาวสวนปาล์มจังหวัดตรัง และนาย วิพล สิทธิศักดิ์ แกนน�ำชาวสวนยาง อ.ชะอวด เข้าร่วม ประชุมที่โรงแรมเมืองลิกอร์ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาปาล์มน�้ำมันที่ราคาต่อ กิโลกรัมตกต�่ำกว่า ๓ บาท นายสมพร ศรีเพชร กล่าวว่า เครือข่ายเกษตรกร ผู ้ ป ลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น จ� ำ เป็ น ต้ อ งมาประชุ ม กั น เพื่ อ หา มาตรการแก้ ไ ขปั ญ หาราคาปาล์ ม ตกต�่ ำ ไปเสนอต่ อ รั ฐ บาล ซึ่ ง ตนเข้ า ใจว่ า เป็ น เพราะคณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ อนุ มั ติ ใ ห้ น� ำ เข้ า น�้ ำ มั น ปาล์ ม ๕๐,๐๐๐ ตั น เมื่ อ ต้ น ปี ๒๕๕๗ ตามมติของ คณะกรรมการนโยบายปาล์มน�้ำมัน แห่งชาติ (กนป.) จนกระส่งผลกระทบส่งผลมาถึงวันนี้ แม้ ต นกั บ ตั ว แทนได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ที่ ก ระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ฯ หรื อ กระทรวงพาณิ ช ย์ ห ลายครั้ ง ก็ ไ ม่ ส�ำเร็จ จนรู้สึกเหมือนถูกหลอก ประกาศของกระทรวง พาณิชย์ก�ำหนดว่าปาล์ม ๑๗ เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปราคารับ ซื้อ ๔.๒๐ บาท ก็ยังไม่สามารถประกาศออกมาใช้ เพราะ จากการประชุม ๓ ฝ่าย บางฝ่ายคัดค้านไม่เห็นด้วย

“เราต่อสู้เพื่อให้ได้สี่บาทยี่สิบสตางค์เท่านั้น แต่โรงงาน สกัดน�้ำมันปาล์มขายให้กับ อคส. (องค์การคลังสินค้า) ที่ ๒๕-๒๖ บาท แล้วขายให้โรงงานน�้ำมันปาล์มน�ำไปใส่ ขวดติดสติ๊กเกอร์ขายชาวบ้านขวดละ ๔๒ บาท โรงงาน ได้เปรียบเกษตรกรมาก ความจริงราคาปาล์ม ๕ บาท ก็ ไม่ได้น่าเกลียดอะไร เพราะโรงงานได้ก�ำไรมาก พวกเรา ต้องสู้ เวลานี้เราเหมือนปลาอยู่ในตะข้อง ถ้าสู้อาจหลุด รอดออกมาบ้าง”

นายสมพร ศรีเพชร กล่าวต่อไปว่า “มาถึงวันนี้ ๑๗ เปอร์เซ็นต์ที่ประกาศวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เขาขอ ชะลอไป ๓ เดือน ให้ทุกฝ่ายได้สมดุล ของเราน่าจะถีบขึ้น ไปถึง ๑๐ บาท เราไปประชุม ๓-๔ ครั้งที่กรุงเทพฯ ไม่มี อะไรดีขึ้น ถ้าอย่างนี้เราต้องเรียกสหกรณ์และสมาคม มาหารือ ขอข้อเสนอแนะจากสมาชิกในจังหวัดเราร่วม กับสมาชิกจังหวัดอื่นๆ หลายจังหวัดว่าจะต้องท� ำอะไร สักอย่างเพื่อเรียกร้องรัฐบาล จึงขอเชิญสมาชิกมาหาข้อ ตกลงว่าจะเอากันอย่างไร พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ ท่าน รั บ ปากกั บ เราว่ า จะช่ ว ย ขณะนี้ โ ปปั ่ น เปลี่ ย นเม็ ด แล้ ว (ปรับคณะรัฐมนตรี) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ คนใหม่มาเราจะไปพูดกับใครอีก ถ้าเราไปพูดเขาจะบอก ว่าขอเวลาศึกษาอีกนิด ตอนที่คุณก�ำลังศึกษา ถ้าเราก็ ขอราคา ๔.๒๐ บาทก่อน คุณจะศึกษาสัก ๓-๔ เดือนก็ ศึกษาไป แต่วันนี้เราจะระดมความคิด แล้วท�ำหนังสือ ให้ ถึ ง รั ฐ บาลเร่ ง รั ด ให้ ก ฎกระทรวงมี ผ ลเป็ น ผลในการ ปฏิบัติ” นายวาสนา วิมลทรง กล่าวว่าตนกับนายสมพร ศรี เพชร ร่วมต่อสู้เรื่องราคาปาล์มมาพอสมควร โดยเข้า ประชุมที่กระทรวงพาณิชย์หลายครั้ง “ราคา ๔ บาทที่หน้า โรงงานชาวบ้านเสียหาย ผมว่ามันต้อง ๔ บาทที่ลานเท หรือจุดรวบรวม แต่ราคาก็ขึ้นๆ ลงๆ มาตลอด ผมในฐานะ เกษตรกรและผู ้ ร วบรวมผลผลิ ต ในนามชุ ม นุ ม สหกรณ์ ปาล์มน�้ำมันนครศรีธรรมราช ก�ำลังจดทะเบียนเกษตรกร เพื่ อ รวบรวมไปท� ำ ทะเบี ย นใหม่ กระทรวงพาณิ ช ย์ ท� ำ เพื่ อ ให้ เ กษตรกรขายปาล์ ม ในราคาสู ง กระทรวง เกษตรฯ ก็ท�ำทะเบียนเกษตรกร แต่ ๒ กระทรวงไม่ได้ ประสานงานกั น ผลสุ ด ท้ า ยปั ญ หาก็ ต กอยู ่ ที่ เ กษตรกร ปัญหาซ�้ำเติมจนถึงปัจจุบัน เกิดปัญหามากมายในรอบ หลายปี ถ้าเขาไม่เอาน�้ำมันปาล์มเข้ามา ขณะนี้ปาล์มจะ อยู่ที่ ๖ บาท อย่างต�่ำที่สุด ผมว่ารัฐบาลตัดสินใจผิด การ ประชุมที่กระทรวงพาณิชย์แทบจะไม่ได้อะไรในวันนั้น ผ่านไปเหมือนไม่มีอะไรเลย เราไม่น่าจะไว้ใจ ครั้งนี้เรา ต้องเอาจริงกันแล้ว เรามีมวลชนที่เป็นเกษตรกร เราจะ ท�ำให้เกิดความชัดเจน เราพร้อม” นายวาสนา วิมลทรง กล่าวต่อที่ประชุม นายชั ย วั ฒ น์ โภคาวั ฒ นา เลขานุ ก ารสมาคม ชาวสวนปาล์ ม จั ง หวั ด ตรั ง กล่ า วว่ า ขณะนี้ เ กษตรกร ชาวสวนปาล์ ม เดื อ นร้ อ นมาก กระทรวงพาณิ ช ย์ เ ชิ ญ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ตัวแทนทุกจังหวัดไปประชุมหารือแต่ไม่มีความเปลี่ยนแปลง “การประชุมวันนั้นมีลานเทกับโรงงานสกัดเข้าไป ด้วย เราพยายามคุยกับกระทรวงเรื่องสต็อกที่ล้นอยู่ ๕ แสนตัน มันมาจากไหน เราเช็คสต็อกทุกเดือน เราเสนอ ให้ทบทวนนโยบาย ๔.๒๐ บาท ราชการบีบให้เรา สรุป ว่าจะยังไม่ประกาศ โรงงานที่ตรังบางโรงไม่รับซื้อปาล์ม แล้ว เราจะติดต่อประสานงานกับเครือข่ายทั่วภาคใต้เพื่อ ยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล” ต่อมาสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมประมาณ ๔๐ คน ผลัดกันแสดงความคิดเห็น นายสมพร ศรีเพชร เสนอ ข้อเรียกร้อง ๔ ข้อต่อที่ประชุมเพื่อขอความคิดเห็นและ รั บ รอง ทั้ ง เรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลบั ง คั บ ใช้ ป ระกาศคณะ กรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เรื่องการ สิ น ค้ า และบริ ก ารควบคุ ม ๒๕๕๘ ในข้ อ ๒๒ ที่ ใ ห้ ผ ล ปาล์มน�้ำมันเป็นสินค้าควบคุม ซึ่งราคาผลปาล์มน�้ำมันมี ต้นทุนที่กิโลกรัมละ ๓.๕๐ บาท ซึ่งผลปาล์มสดจะต้อง อยู่ที่ ๔.๒๐ บาท โดย วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ สมาคม ปาล์ ม น�้ ำ มั น ทุ ก พื้ น ที่ จ ะยื่ น หนั ง สื อ ให้ กั บ ผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด ของแต่ ล ะจั ง หวั ด ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และตอบ ค�ำถามกับเกษตรกรให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน หากครบก� ำ หนดในวั น ที่ ๑๔ กั น ยายน ๒๕๕๘ เกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช และใกล้เคียงจะ เคลื่อนตัวมาชุมนุมพร้อมกันที่จังหวัดนครศรีธรรมราช นายทศพล ขวัญรอด แกนน�ำชาวสวนยาง ปาล์ม น�้ำมัน อ.ชะอวด กล่าวว่า ตนเข้าประชุมแก้ไขปัญหา เกษตรกรมาหลายครั้ง ราคาพืชผลทางการเกษตรยังไม่ ดีขึ้น ตนจึงขอสนับสนุนการเรียกร้องของเครือข่ายปาล์ม น�้ำมันอย่างเต็มที่ ข้อเรียกร้อง ๔ ข้อ ได้แก่ ๑.) ผลักดันให้ใช้ประกาศ ของกระทรวงพาณิชย์ ฉบับวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ ๒.) ให้รัฐบาลเร่งน�ำ พ.ร.บ. ปาล์มเข้าสู่สภาปฏิรูป ๓.) เร่งรัดให้กรมส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ผลักดันให้ เกิดโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มในจังหวัดนครศรีธรรมราช เพิ่มขึ้น ๔.) แก้ไขระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย ปาล์ ม น�้ ำ มั น แห่ ง ชาติ (กนป.) ให้ เ พิ่ ม จ� ำ นวนตั ว แทน ของเกษตร << ต่อจากหน้า ๔

ทางฝัง่ เมืองนครโขนละครก็ยงั รุง่ เรืองอยูใ่ นวังเหมือน เดิม สมัยเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนูพร้อม ณ นคร) ก็มีโขนละครโด่งดังอยู่สองคณะ ชาวนครจะเรียกคณะ เมียน้อยคณะเมียหลวง เพิ่งทราบภายหลังว่าสองคณะนี้ เป็นภรรยาของ ‘คุณพระศิริธรรมบริรักษ์’ คือคุณทรัพย์ และคุณพิน ครั้งที่ ‘พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยูห่ วั ’ เสด็จประพาสเมืองนครเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๔๑ พระองค์ ยังทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในจดหมายเหตุว่า โขนละครทั้ง สองคณะนี้ได้แสดงถวายคนละวาระกัน เหมือนหนึ่งเป็น คู่แข่งกัน โขนละครของนครในยุคนั้นมีการพัฒนาจนมี ความรุง่ เรืองถึงขีดสุด มีความงดงามประณีต สมเป็นละคร ของราชส�ำนักเมืองนครโดยแท้ อีกทัง้ มีทา่ ร�ำ การแต่งกาย มีเอกลักษณ์เฉพาะตน ไม่เหมือนกับโขนละครในราชส�ำนัก ของเมืองหลวง

หน้า ๙

รายงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเรื่ อ งงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ โดยเปิ ด เผยว่ า คณะ กรรมาธิ ก ารร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ ่ า ย ป ร ะ จ� ำ ปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้ พิ จ ารณางบประมาณรายจ่ า ย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ของจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เมื่ อ วั น ที่ ๕ สิ ง หาคม ๒๕๕๘ ปรากฏว่า จังหวัดนครศรีธรรมราชถูกปรับลด งบประมาณทั้ ง สิ้ น ๕,๗๑๙,๕๐๐ บาท จากที่ เ สนอ ไป ๒๖๙,๐๗๖,๒๐๐ บาท คงเหลือ ๒๖๓,๓๕๖,๗๐๐ บาท และได้ รั บ การจั ด สรรงบประมาณกลุ ่ ม จั ง หวั ด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยอีก ๑๓๗,๕๖๐,๑๐๐ ล้านบาท ดัง นั้นเพื่อให้การด�ำเนินงานโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ ราชการประจ� ำ ปี ข องจั ง หวั ด ประจ� ำ ปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สามารถก่ อ หนี้ ผู ก พั น และเบิ ก จ่ า ยเงิ น ได้เสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระหว่าง เดือนตุลาคม ๒๕๕๘ – เดือนกันยายน ๒๕๕๙ และ เป็ น ไปตามนโยบายเร่ ง รั ด การเบิ ก จ่ า ยของรั ฐ บาล จั ง หวั ด ก� ำ หนดจั ด ประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ โครงการและเจ้าหน้าที่ พัสดุของหน่วยงานในวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๘ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจการใช้จ่ายงบ ประมาณดังกล่าว ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จ�ำนวน ๒๘ โครงการ อาทิ โครงการเส้นทางจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว ๓๘.๖๖๘ ล้านบาท โครงการพัฒนาศักยภาพพื้นที่บริเวณปลาย แหลมตะลุมพุก เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒๗.๓๑๙ ล้านบาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน เพื่ อ การเกษตร (คลองไม้ เ สี ย บขยาย) ๒๓.๔ ล้ า น บาท โครงการพัฒนาศักยภาพข้าวครบวงจรต้นแบบ ๑๔.๘๘๗ ล้านบาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเส้นทาง สู่การท่องเที่ยว ๑๔.๑๓๙ ล้านบาท โครงการปรับปรุง

ภูมิทัศน์เพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศริมฝั่งคลอง ๑๖.๔๔๔ ล้านบาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเส้นทางการขนส่ง สิ น ค้ า ทางการเกษตร ๑๔.๑๑๗ ล้ า นบาท โครงการ ก่อสร้างแนวหินใหญ่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล หมู ่ ที่ ๑-๒ ต.แหลมตะลุ ม พุ ก อ.ปากพนั ง ๑๓.๘ ล้ า นบาท โครงการแก้ ไ ขปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของ ประชาชนตามแผนชุมชน ๑๒.๖๗๔ ล้านบาท เป็นต้น และค่าใช้จ่ายในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ๑๐ ล้านบาท นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวว่า สิ่งที่น่าเป็น ห่วงคือการเปลี่ยนรูปแบบการจัดซื้อจัดจ้าง จากระบบ เดิมคือ สอบราคา ประกวดราคา และ อี-อ็อกชั่น เป็น แบบ e-market และแบบ e-bidding ดังนั้น จึงขอให้ ศึกษาท�ำความเข้าใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ดี และ มอบหมายให้ ส� ำ นั ก งานคลั ง จั ง หวั ด ไปจั ด ท� ำ คู ่ มื อ การ ใช้งานระบบ e-market และระบบ e-bidding รวม ทั้งการให้ค�ำแนะน�ำให้แก่ส่วนราชการต่างๆ ด้วย ทั้งนี้ จังหวัดนครศรีธรรมราชได้ซักซ้อมการเตรียมใช้จ่ายงบ ประมาณ ปี ๒๕๕๙ ในวงเงิน ๒๖๓ ล้านบาทเพื่อสร้าง ประสบการณ์และความเข้าใจแก่ผู้ปฏิบัติ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวเพิ่มเติมว่า ขณะ นี้งบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ของจังหวัด นครศรีธรรมราชได้เบิกจ่ายไปแล้ว ๙๐.๓๐ เปอร์เซ็นต์ อยู ่ ล� ำ ดั บ ที่ ๑๓ ของประเทศ ซึ่ ง ต้ อ งขอชมเชยผู ้ ที่ เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานที่ช่วยกันอย่างเต็มที่

แม่ครูพลับ จันทราทิพย์ หนึ่งใน คณะโขนละครของวังเจ้าเมืองนคร ได้ อพยพออกมาอาศัยอยู่ท้ายวัง ท่านยัง ได้ ร วบรวมคณะโขนละครด้ ว ยกั น มา ร่วมกันฝึกหัดให้กับเด็กเยาวชนในแถบ สมเด็ จ เจ้า พระยาด�ำ รงราชานุภ าพ เมืองเก่า เพื่อฝึกหัดโขนละครฉบับวัง ได้ ล งมาปรั บ เปลี่ ย นการปกครองของ เจ้ า พระยานครให้ ค งอยู ่ สื บ ไปจนลม หั ว เมื อ งปั ก ษ์ ใ ต้ ได้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น หายใจสุดท้ายด้วยวัย ๑๐๓ ปี ที่ ท� ำ การเจ้ า เมื อ งนคร (ศาลากลางหลั ง การที่พ่อครูธงชัย ไพรพฤกษ์ ลูก เก่า) มาเป็นศาลากลางจังหวัด เจ้าพระยา แม่ครูพลับ จันทราทิพย์ ศิษย์รุ่นสุดท้ายของแม่ครูพลับ ยังคง นคร (หนูพร้อม) ในสมัยนั้นก็ได้ถวายที่ดิน และทรัพย์สินบางส่วนให้ตกเป็นของแผ่นดิน กิจการโขน สืบทอดรักษาการแสดงโขนละครต�ำรับดั้งเดิมของโขน ละครในวังเจ้าเมืองนครก็ถึงยุคสิ้นสุดลง แตกกระสาน นครเอาไว้จึงเป็นคุณูปการที่ดีงาม เป็นการบูชาคุณครู ซ่านเซ็นออกมาท�ำมาหากินกันเอง วิชาชีพด้านอื่นคงไม่ บาอาจารย์อย่างใหญ่หลวง ได้สืบต่อต�ำนานโขนละคร ถนัดเท่าการแสดงร้องร�ำท�ำฟ้อน มีการจับกลุ่มเป็นคณะ เมืองนครให้ฟื้นคืนชีวิต เป็นศักดิ์เป็นศรีเป็นเกียรติยศให้ เล็ ก ๆออกเล่ น ในงานต่ า งๆ บ้ า งก็ ฝ ึ ก หั ด ลู ก ศิ ษ ย์ ลู ก หา ชาวนครได้ภาคภูมิใจ สืบต่อไปจนถึงยุครุ่งเรืองอีกครั้งใน โดยเฉพาะนักดนตรี ประกอบอาชีพเป็นวงปี่พาทย์ บ้าง อนาคตข้างหน้า ขออวยพรครับ ก็เข้าด้วยกับคณะลิเกที่ประกอบอาชีพ ซึ่งรุ่งเรืองอยู่ใน ภาพจาก ชมรมอาสาสมัครยุวมัคคุเทศก์ เล่าเรื่องเมืองลิกอร์ หมู่ชาวบ้านอยู่แล้ว


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๐

อานิสงส์สูงสุด แห่งอานาปานสติ

ภิกษุทั้งหลาย! อานาปานสติสมาธินี้แล เป็นธรรมอันเอก ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมท�ำให้สติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ ย่อมท�ำให้โภชฌงค์ทั้ง ๗ ให้บริบูรณ์ โภชฌงค์ทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมท�ำวิชชาและวิมุตติ ให้บริบูรณ์ได้

อุ

ทยานประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อยุธยา เป็นมรดกโลกของเมืองไทย อีกที่หนึ่ง โดยได้นับรวมกับเมืองบริวาร ใช้ชื่อว่า ‘นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาและเมืองบริวาร’ องค์การยูเนสโก ได้จดทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๔ ซึ่งกว่าจะเป็นมรดกโลก ได้ก็ผ่านการบูรณะปรับปรุงมาหลายยุค หลายสมัย โดยเฉพาะ ‘กรมศิลปากร’ ได้ มีโครงการส�ำรวจขุดแต่งบูรณะปรับปรุง โบราณสถานตามอย่างสากลเขา จนได้ รับการรับรองจากยูเนสโกให้เป็นมรดก โลก ขอบเขตพื้ น ที่ น อกจากเมื อ งเก่ า อยุธยาทั้งเมืองแล้ว ยังมีพื้นที่ที่ปรากฏ หลักฐานด้านประวติศาสตร์และโบราณ คดีรอบๆ เกาะอีกหลายที่รวมอยู่ด้วย จึง มีพื้นที่ประมาณ ๓,๐๐๐ ไร่ พระบรมธาตุ ของเรามีขอบเขตครอบคลุมเขตเมืองเก่า ไว้สองเมือง คือ ‘เมืองเก่าพระเวียง’ และ ‘เมืองเก่านครดอนพระ’

มีพื้นที่รวมกันน่าจะได้สัก ๑,๐๐๐ ไร่ แต่เป็นเมืองที่ยังมีชีวิต มีวิถีชีวิตของผู้คน มีขนมธรรมเนียมประเพณีสืบอยู่มิได้ขาด จึ ง ต้ อ งอาศั ย ความละเอี ย ดอ่ อ นในการ บริหารจัดการกับเมืองเก่าแห่งนี้มากกว่า อยุธยาหรือสุโขทัย อยุ ธ ยาอยู ่ ใ นแผนที่ โ ลกร่ ว ม ๔๐๐ กว่าปี ผ่านเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

มามากมาย เคยเป็ น สถานี ก ารค้ า กั บ นานาประเทศ มีเอกสารบันทึกเรื่องราว ต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน เป็นแม่แบบของการ ปกครองของไทยสืบมาจนปัจจุบัน ศิลปะ งานช่าง ภาษาวรรณคดีมากมายไว้อ้างอิง ประกอบเรื่องราวให้เป็นมรดกโลก มีเรื่อง ราวของวัดวาอาราม วังหน้า วังหลวง วัง หลัง เป็นต้นแบบให้รัตนโกสินทร์ ร่องรอย

การอยู่อาศัยของชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส ฮอลันดา แขกเปอร์เซีย ญี่ปุ่น จีนก็ยัง หลงเหลื อ อยู ่ มี ป ้ อ มเมื อ ง ประตู เ มื อ ง ขนาดใหญ่ถึง ๑๖ ป้อม ประตูเมืองประตู ย่อยส�ำหรับชาวเมืองอีก ๖๑ ประตู สิ่ง ประกอบที่ส�ำคัญเหล่านี้มีส่วนให้อยุธยา เป็ น มรดกโลกที่ ค นทั่ ว โลกต้ อ งมาเยี่ ย ม เยือน พระบรมธาตุเราที่ก�ำลังเสนอชื่อขึ้น เป็นมรดกโลก มีเรื่องราวทั้งต�ำนานและ ประวัติศาสตร์อันยาวนานก่อนอยุธยา มี ศิลปะงานช่าง ภาษา วรรณคดี เป็นของตัวเองมากมาย ประตู เ มื อ งป้ อ มเมื อ งซึ่ ง เป็ น กายภาพ ส่วนหนึ่งก็ยังคงรักษาเอาไว้อย่างดีมีชีวิต วัดวาอาราม โบราณสถาน โบราณวัตถุ จนถึ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานต่ า งๆ ที่ ส� ำ คั ญ ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ที่ยังสืบทอดมา แต่โบราณจนถึงปัจจุบันก็ยังด�ำรงอยู่ งาน สถาปัตยกรรม รูปทรงเจดีย์ก็เป็นแบบ อย่างส่งต่อไปถึงเมืองสุโขทัย จนแพร่มา ถึงอยุธยา พระนครศรี อ ยุ ธ ยาปั จ จุ บั น ได้ รั บ ผลประโยชน์ จ ากการที่ เ ป็ น เมื อ งมรดก โลกอย่างเห็นได้ชัดคือการท่องเที่ยว โดย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน ๗. ขุนรัศวรีย์

ากถามว่า “เสาชิงช้า” อยู่ที่ใด คน ไทยส่ ว นใหญ่ ใ นปั จ จุ บั น รู ้ จั ก ชื่ อ นี้ ในฐานะเป็นชื่อบ้านนามเมืองแห่งหนึ่ง ในกรุ ง เทพมหานคร ที่ รู ้ จั ก ลึ ก หน่ อ ยก็ จะตอบว่ า เป็ น ย่ า นค้ า ขายของเก่ า แก่ ประเภทพระพุ ท ธรู ป บู ช า เครื่ อ งสั ง ฆภัณฑ์ และหนังสือเก่า และหากจะถาม ว่าหน้าตาเสาชิงช้าเป็นอย่างไร ก็คงตอบ ได้ว่าเป็นเสาสูงที่น่าจะใช้โล้ชิงช้า ตั้งอยู่ บริ เ วณหน้ า วั ด สุ ทั ศ น์ เ ทพวรารามหรื อ หน้ า ศาลาว่ า การกรุ ง เทพมหานคร แต่ แท้ ที่ จ ริ ง เสาชิ ง ช้ า ใช่ ว ่ า จะมี อ ยู ่ เ ฉพาะ บริ เ วณนั้ น ยั ง มี อ ยู ่ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น “ต้ น ก� ำ เนิ ด ” เสาชิ ง ช้ า ใน กรุ งเทพมหานคร นั่น ก็คื อ “เสาชิ ง ช้ า เมื อ งนคร” ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณตลาดท่ า ม้า ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช “เสาชิงช้า” เป็นเสาไม้คู่ที่ฝังหรือ ปั ก ไว้ เ ป็ น หลั ก ในการโล้ ชิ ง ช้ า ในพิ ธี “ตรี ยั ม ปวาย” อั น เป็ น พิ ธี ส� ำ คั ญ ของ พราหมณ์ที่จัดขึ้นเพื่อรับพระอิศวร (พระ ศิวะ) ในเดือนยี่ ขึ้น ๗ ค�่ำตอนเช้า และวัน ขึ้น ๙ ค�่ำตอนเย็นของทุกปี จุดประสงค์

มี ร ายได้ ๒ ล้ า นล้ า นบาทต่ อ ปี ธุ ร กิ จ การท่องเที่ยวที่ตามมา โรงแรม สถาน ที่พักทุกรูปแบบเกิดขึ้นมากมาย ธุรกิจ อาหารทั่วตลอดริมน�้ำรอบเกาะจนถึงใน เมือง อาหารการกินพื้นบ้านพื้นเมืองเดิม ได้รับการรื้อฟื้นส่งเสริม เกิดแหล่งท่อง เที่ยวใหม่ๆ มากมาย เช่น ปางช้าง การ แสดงพื้นบ้าน นาฏศิลป์ต่างๆ รถสองล้อ สามล้ อ รถตุ ๊ ก ตุ ๊ ก สิ น ค้ า ที่ ร ะลึ ก หลาก หลาย รถน�ำเที่ยว นักเล่าเรื่องก็เกิดขึ้น มากมาย ท�ำให้เมืองมีเสน่ห์มากขึ้น นคร เราก็เถอะมีของดีอยู่มากมาย ช่วยกันขัด สีฉวีวรรณอีกหน่อยก็จะดูดีขึ้น ที่ติดลบ คิดร้ายก็จะเบาบางลง พูดแต่เรื่องดีๆ ท�ำ แต่เรื่องดีๆ ช่วยกันลงมือท�ำคนละเรื่อง สองเรื่อง เมืองเราเพื่อลูกหลานเรา อย่า ไปร้องแรกแหกกะเฌอให้คนอื่นเขาท�ำ แต่ตัวเองไม่ท�ำ จริงไหมครับ

พนักงานขนานน�้ำพระ

พนักงานเชิญพระไปส�ำหรับพิธี

พนักงานถวายน�้ำสังข์ท�ำโขลนทวาร

พนักงานถวายน�้ำสังข์ท�ำโขลนทวาร

พนักงานอ่านตรีปวายส�ำหรับพระอิศวร

๘. ขุนเทวกัณฑ์

๙. ขุนญาณสมภูว์ ๑๐. ขุนเวศนุภักตร์

๑๑. ขุนพัทนเวก พนักงานอ่านพิชัยยาตรา ๑๒. ขุนญาณภักดี

เสาชิงช้า (เดิม) เมื่อแรกสร้างเป็นเสาไม้กลม ต่อ เสาชิ ง ช้ า (ใหม่ ) ต่ อ มาเมื่ อ พ.ศ. ๒๕๕๘ กรม มาเมื่อมีการบูรณะหอพระอิศวรเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ศิลปากรโดยส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ๑๓. ขุนศรีภักดี ได้ใช้เสาไม้กลมมาท�ำเป็นเสาชิงช้าเช่นสมัยโบราณ ได้แก้ไขปรับปรุงเสาเสียใหม่ โดยใช้เสาไม้ตะเคียน พนักงานอ่านตรีปวายส�ำหรับพระอิศวร (ที่ผู้รับจ้างได้จัดซื้อมาจากมาเลเชีย) และย้ายที่ตั้ง ๑๔. ขุนศรีกาดาล ส� ำ นั ก ศิ ล ปากรที่ ๑๔ นครศรี ธ รรมราช ได้ มาอยู่ด้านหน้าหอพระอิศวร ทั้งนี้เพื่อคืนกลับมาให้ พนักงานอ่านตรีปวายส�ำหรับพระอิศวร ด� ำ เนิ น การประกอบพิ ธี บ วงสรวงเสาชิ ง ช้ า ตรงกับผังที่ตั้งดั้งเดิม

๑๕. ขุนญาณชูด

(ใหม่ ) เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ ๒๒ กรกฎาคม 2558 (ตรงกับ เดื อ น ๘-๘ ขึ้ น ๗ ค�่ ำ ปี มะแม) ทันทีที่ด�ำเนินการ ย้ า ยมาตั้ ง อยู ่ ห น้ า หอพระ อิศวรแล้วเสร็จ

ส� ำ คั ญ ของการโล้ ชิ ง ช้ า ก็ คื อ การทดสอบความ แข็ ง แรงของพื้ น พิ ภ พนี้ ว่ า ยั ง มั่ น คงแข็ ง แรงอยู ่ หรือไม่ และพอจะรับน�้ำหนักของผู้คนและ เทหวัตถุสรรพสิ่งทั้งหลายที่มนุษย์สร้างขึ้น มากน้อยเพียงใด ทั้งนี้พราหมณ์ผู้ประกอบ พิธีได้แต่งตั้งให้ “นาลิวัน” ไปโล้ชิงช้า ๓ กระดาน กระดานละ ๔ คน (รวม ๑๒ คน) ต่อหน้าพระพักตร์ของพระอิศวร (สมมติ) หากโล้แล้วเสาชิงช้ายังมั่นคงไม่สั่นคลอน ก็ถือว่าโลกมนุษย์นี้ยังแข็งแรง พระอิศวร (สมมติ) ก็เสด็จกลับ เป็นอันเสร็จพิธี นครศรีธรรมราชในสมัยโบราณเป็นที่ รู้จักของคนอินเดียตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษ ที่ ๖ เป็นต้นมา (ราว ๒,๐๐๐ ปีที่แล้ว) ในชื่ อ “ตามพรลิ ง ค์ ” (หรื อ ตะมะลิ ง ) นอกจากจะมาค้าขายทางทะเลแล้ว คน อินเดียส่วนหนึ่งยังมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเมือง นี้ ร่องรอยหลักฐานที่ยังปรากฏชัดได้แก่ โบราณสถานและโบราณวั ต ถุ ใ นท้ อ งที่ อ�ำเภอสิชล ท่าศาลา นบพิต�ำ และพระ พรหม เป็นต้น รวมทั้งเทวสถานในท้อง ที่อ�ำเภอเมือง อันได้แก่ฐานพระสยม หอ พระนารายณ์ หอพระอิ ศ วร และโบสถ์ พราหมณ์ (ปั จ จุ บั น รื้ อ ถอนออกไปแล้ ว เพราะช�ำรุดทรุดโทรมมาก) เฉพาะที่ ห อพระอิ ศ วร นอกจากมี อาคารหอพระอิศวรซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน “ศิ ว ลึ ง ค์ ” อั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องพระ

พนักงานอ่านตรีปวายส�ำหรับพระอิศวร

พนักงานเร่งรัดเจ้าพนักงานสิรพิ ราหมณ์

๑๖. ขุนรัณไภรี พนักงานตีกลองแห่พระ ๑๗. ขุนสวัสดิญาณ

อิ ศ วรแล้ ว มี ก ารสร้ า งเสาชิ ง ช้ า ขึ้ น ด้ ว ย เพื่อใช้ประกอบพิธีตรียัมปวาย ไม่มีหลัก ฐานว่าเสาชิงช้านี้สร้างขึ้นเมื่อใด แต่คงไม่ ต�่ ำ กว่ า สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตอนกลางเป็ น อย่ า งน้ อ ย และอยู ่ ค งคู ่ กั บ หอพระอิ ศ วร ตลอดมา เพราะต้องใช้ในพิธีการรับพระ อิศวรดังกล่าวข้างต้น ในท�ำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชครั้ ง รั ช กาลที่ ๒ ระบุ ว ่ า ให้ มี ต�ำแหน่ง สังกัดศาลตุลากร อย่างน้อยจ�ำนวน ๑๗ ต�ำแหน่ง ถือ ศักดินา ๒๐๐ เป็นพนักงานปฏิบัติราชการ เนื่องด้วยหอพระอิศวรและเสาชิงช้า ภาย ใต้การก�ำกับของขุนยศโสธรณ์พญาริยศศรี นาคเทวัญ ถือศักดินา ๘๐๐ ดังนี้ ๑. ขุนเท้าเพ็ชร

พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน

๒. ขุนโหราจารย์ พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน ๓. ขุนฤทธิ์เสรียน พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน ๔. ขุนศรีสเภา พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน ๕. ขุนศรีราชภูเบนทร์ พนักงานชิงช้าแลรักษาเทวสถาน ๖. ขุนโสภร

“เสาชิงช้าเมืองนคร” ได้มกี ารปรับปรุงรูปแบบและเคลื่อนย้ายต�ำแหน่งที่ตั้ง อยู่สี่ครั้ง ครั้งแรกอยู่หน้าโบสถ์พราหมณ์ เมื่อรื้อถอนโบสถ์พราหมณ์ออกไป (เพราะ เหตุช�ำรุดทรุดโทรม) ก็ได้ย้ายเสาชิงช้า มาไว้บริเวณด้านข้างหอพระอิศวรครั้งที่ สองใน พ.ศ. ๒๕๓๑ เสาชิงช้าได้หักโค่น ลง หน่วยศิลปากรที่ ๘ (ชื่อในขณะนั้น) จึงบูรณะใหม่ ครั้งที่สามวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๐ ได้เกิดพายุลมแรง ส่งผลให้เสา ชิงช้าหักโค่นลง ตัวเสาหักเป็นหลายท่อน ฐานแตกร้าวและทรุดตัว รุ่งปี (๒๕๔๑) จึ ง มี ก ารบู ร ณะเสาชิ ง ช้ า นี้ ใ นวงเงิ น ๑๘๐,๐๐๐ บาท โดยใช้ท่อเหล็กกลมมา เป็นเสาแทนไม้ ท�ำฐานเป็นคอนกรีต ตัว เสาทาสีแดง รวมความสูงจากฐานถึงยอด ๑๑.๖๐ เมตร ครั้งที่สี่ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ กรมศิลปากรได้อนุมัติงบประมาณ แก่ส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ ด�ำเนินการบูรณะ ปรับปรุงหอพระอิศวร (พร้อมปรับปรุงหอ พระนารายณ์) ในการบูรณะปรับปรุงครั้ง นี้ก็ได้มีการย้ายเสาชิงช้าอีกครั้ง เพื่อให้ ถูกต้องตามต�ำแหน่งเดิมที่เคยตั้งในสมัย โบราณ และประกอบพิธีบวงสรวงเป็นสิริ มงคลเมื่อวันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เสาชิ ง ช้ า นี้ แ ม้ จ ะเป็ น สิ่ ง ก่ อ สร้ า ง เล็กๆ ในสายตาของผู้คนรุ่นปัจจุบัน แต่ก็ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สะท้อนให้เห็น ร่องรอยความเป็น “พราหมณ์” ที่ยังคง เหลืออยู่ในปัจจุบัน ณ เมืองนี้


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๒

อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช

(ต่อจากฉบับที่แล้ว) ๑. การที่จะรักษาให้ผู้ป่วยเข้าสู่จุด ประสงค์ดังกล่าวข้างต้น จะต้องประกอบ ไปด้วย ๑.๑ วิ ธี ก ารที่ ไ ม่ ใ ช้ ย า ได้ แ ก่ การ ปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการใช้ข้อ ที่ อั ก เสบท� ำ งานหนั ก พั ก การใช้ ข ้ อ ตาม สมควร การพั ก ข้ อ ให้ อ ยู ่ ใ นท่ า ที่ เ หมาะ สม รวมทั้งใช้วิธีทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู เช่น การออกก�ำลังกาย การท�ำกายภาพบ�ำบัด ได้แก่ การนวด การประคบร้อน ประคบ เย็ น ซึ่ ง จะช่ ว ยบรรเทาอาการปวดได้ เป็นต้น ๑.๒ การรักษาด้วยยา เป็นสิ่งส�ำคัญ ในการบรรเทาอาการปวด ควบคุ ม ข้ อ อักเสบ ไม่ให้ข้อถูกท�ำลาย การรักษาด้วย ยาที่ส�ำคัญประกอบด้วย a. ยาต้ า นการอั ก เสบที่ ไ ม่ ใ ช่ ส เตี ย รอยด์ หรื อ เอ็ น เสด ยากลุ ่ ม นี้ จ ะช่ ว ย บรรเทาอาการปวดได้เป็นอย่างดี แต่มีข้อ เสีย คือการระคายเคืองกระเพาะอาหาร ท� ำ ให้ เ กิ ด แผลในกระเพาะอาหาร หรื อ ท�ำให้ไตท�ำงานบกพร่อง b. ยาต้ า นรู ม าติ ส ซั่ ม ที่ ป รั บ เปลี่ ย น การด� ำ เนิ น โรค หรื อ ดี ม าด ยากลุ ่ ม นี้ มี หลายชนิด เช่น MTX, SASP, Azathioprine, leflunomide เป็นต้น ยากลุ่ม นี้ ไ ม่ มี ฤ ทธิ์ ใ นการระงั บ การอั ก เสบและ อาการปวดโดยตรง แต่ อ อกฤทธิ์ ผ ่ า น ระบบภูมิคุ้มกัน หรือระบบอิมมูน ป้องกัน ข้ออักเสบไม่ให้ข้อถูกท�ำลาย ยากลุ่มนี้มี ผลข้างเคียง คือ การกดการท�ำงานของ ไขกระดู ก ตั บ อั ก เสบ และการติ ด เชื้ อ แทรกซ้อน c. สารชี ว ภาพ เป็ น ยากลุ ่ ม ใหม่ มี

ประสิทธิภาพสูงในการควบคุมการอักเสบ เช่น ยา infliximab และ etanercept แต่ ราคายังสูงมากในขณะนี้ และผลข้างเคียง ในระยะยาวยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ๒. การผ่าตัด จะพิจารณาในรายที่ ข้อผิดรูป หรือมีภาวะแทรกซ้อน จ�ำเป็น ต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไข ๓. การรักษาอื่นๆ ขึ้นกับปัญหาที่ผู้ ป่วยมีในอวัยวะอื่น เช่น ในรายที่มีม่านตา อักเสบ ควรได้รับการดูแลรักษาด้วยจักษุ แพทย์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจ ท� ำ ให้ ต าบอดได้ หรื อ ในรายที่ มี ป ั ญ หา ลิ้นหัวใจรั่ว ควรได้รับการดูแลรักษาด้วย อายุรแพทย์โรคหัวใจร่วมด้วย

๒ ครั้ง ตัวอย่างท่าในการบริหารร่างกาย บริหารท่าละ ๕ ครั้ง โดยแต่ละท่าให้ค้างไว้ ประมาณ ๕ วินาที ๑) นอนราบ ชันเข่าขึ้นทั้งสองข้าง ยกก้นขึ้นให้สูงที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ นับ ๕ แล้วเอาลงช้าๆ ๒) นอนราบ ชั น เข่ า ขึ้ น ทั้ ง สอง ข้าง ประสานมือกันและเหยียดแขนขึ้นชี้ เพดาน เหวี่ยงแขนไปด้านซ้ายให้ไกลที่สุด พร้อมกับเหวี่ยงเข่าทั้งสองข้างมาด้านตรง ข้าม เป็นการบิดเอว พัก ท�ำซ�้ำด้านตรง ข้าม สลับกัน ข้างละ ๕ ครั้ง ๓) นอนราบ ชันเข่าขึ้นทั้งสองข้าง ประสานมื อ กั น และเหยี ย ดแขนไปด้ า น หน้า และกดคางลงให้ชิดคอ ยกตัวขึ้นให้ ไหล่ พ ้ น จากพื้ น เอื้ อ มมื อ ไปแตะหั ว เข่ า จากนั้นนอนราบลงพัก ท�ำซ�้ำ ๕ ครั้ง ๔) นอนราบ ชันเข่าขึ้นทั้งสองข้าง ยกตัวขึ้นให้ไหล่พ้นพื้น เหยียดแขนไปด้าน ข้างของเข่า เหวี่ยงไปทางด้านขวา และ ด้านซ้าย สลับกันด้านละ ๕ ครั้ง ๕) คุ ก เข่ า มื อ ยั น พื้ น ทั้ ง สองข้ า ง เหยียดศอกตรง ก้มหัวลงระหว่างแขนทั้ง ๙. การท� ำ กายภาพบ� ำ บั ด มี แ นวทาง สองข้ า ง โก่ ง หลั ง ขึ้ น ให้ สู ง ที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะ ท�ำได้ จากนั้นเงยหน้าขึ้นและแอ่นหลังให้ อย่างไร การบริหารร่างกายเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น มากทีสุด ท�ำสลับกัน ๕ ครั้ง อย่างยิ่งส�ำหรับผู้ป่วยโรคเอ เอส ที่ต้อง ปฏิ บั ติ ค วบคู ่ ไ ปกั บ การใช้ ย าเสมอ ใน ๑๐. สรุป โรคข้ อ กระดู ก สั น หลั ง อั ก เสบชนิ ด ระยะแรกที่ บ ริ ห ารอาจยุ ่ ง ยากเล็ ก น้ อ ย เนื่องจากยังไม่คุ้นเคยกับท่าทาง แต่เมื่อ ติ ด ยึ ด ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ พี ย งโรคที่ มี อ าการปวด เริ่มคุ้นเคยแล้ว จะเห็นว่าเป็นสิ่งที่ท� ำได้ หลังธรรมดาเท่านั้น เนื่องจากหากได้รับ ไม่ยากและใช้เวลาไม่มากนัก แนะน�ำให้ การวิ นิ จ ฉั ย และการรั ก ษาที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ท�ำเป็นกิจวัตรประจ�ำวันไม่ว่าโรคจะอยู่ใน ตั้งแต่ระยะแรกแล้วจะท�ำให้ข้อถูกท�ำลาย ระยะก�ำเริบหรือสงบแล้วก็ตามอย่างน้อย ข้ อ กระดู ก สั น หลั ง เชื่ อ มติ ด กั น ในท่ า ที่ ไ ม่ ท� ำ วั น ละ ๑ ครั้ ง เช่ น ตอนเช้ า หลั ง ตื่ น เหมาะสมตั้ ง แต่ ร ะยะแรก นอกจากจะ นอน แต่จะดียิ่งขึ้น ถ้าสามารถท�ำได้วันละ ช่ ว ยบรรเทาอาการปวดและป้ อ งกั น ข้ อ

ภาพจาก ladytheme.blogspot.com

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี

ถูกท�ำลายหรือข้อติดยึดแล้ว ยังเป็นการ ป้องกันความพิการที่จะตามมาด้วย ควรสงสัยว่าอาจเป็นโรคข้อกระดูก สันหลังอักเสบชนิดติดยึดเมื่อ ๑. มี อ าการปวดหลั ง หรื อ หลั ง ตึ ง ขั ด เรื้ อ รั ง นานกว่ า ๓ เดื อ น โดยไม่ มี ประวัติการได้รับอุบัติเหตุบริเวณหลังหรือ กล้ามเนื้อหลังท�ำงานมากกว่าปกติ ๒. อาการปวดหลัง หรือหลังตึงขัด เป็ น มากในตอนกลางคื น ตอนนอน ตื่ น นอนตอนเช้า หรือเมื่อหยุดการเคลื่อนไหว ของกระดูกสันหลัง และมีอาการดีขึ้นใน ตอนสาย หรือมีการเคลื่อนไหวร่างกาย ๓. มี ข ้ อ อั ก เสบร่ ว มด้ ว ย โดยข้ อ อักเสบจะเป็นกับข้อส่วนล่างของร่างกาย เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า เป็นต้น การกระจาย ของข้อที่อักเสบเป็นชนิดไม่สมมาตร ๔. มีอาการในระบบอื่นนอกระบบ ข้อ เช่น อาการเคืองตาหรือตาแดง แผล ที่ ป ากหรื อ ที่ อ วั ย วะเพศ ผื่ น ตามผิ ว หนั ง เป็นต้น ๕. มี ป ระวั ติ อ าการปวดหลั ง เรื้ อ รั ง ในครอบครัว โดยเฉพาะในเพศชายที่อายุ น้อย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๓

วั

ดศรีทวี(ชื่อเดิมวัดท่ามอญ) อยู่ต�ำบล ท่ า วั ง ใจกลางเมื อ งนครที่ มี ป ระวั ติ เล่ า ขานกั น ว่ า ตั้ ง มานานร่ ว ม ๓๐๐ ปี แต่ มี บั น ทึ ก การจดทะเบี ย นเมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ เก่าแก่อย่างไรก็ให้เป็นเรื่องของ นักประวัติศาสตร์สืบค้นกันเองนะครับ ผม อยากคุยเรื่องราวของวัดนี้ที่ผมได้สัมผัส มาตั้งแต่ผมเป็นเด็กจนถึงปัจจุบัน เพราะ บ้ า นเกิ ด ผมอยู ่ ใ กล้ จึ ง พอจ� ำ ความอะไร บางเรื่ อ งได้ บ ้ า ง ไล่ เ รี ย งตั้ ง แต่ ผ มอายุ ประมาณ ๗-๘ ขวบไปช่วยผู้ใหญ่เข็นรถ ขนปี๊บน�้ำมันก๊าดที่ดัดแปลงเป็นถังใส่น�้ำ ไปตักจากบ่อน�้ำซับที่วัดนี้คราวละ ๖ ปี๊บ ส� ำ หรั บ เป็ น น�้ ำ ดื่ ม ที่ บ ้ า น ทั้ ง ๆ ที่ ใ นย่ า น ชุมชนนี้มีบ่อน�้ำกันทุกบ้าน จึงใช้ส�ำหรับ ช�ำระล้างเท่านั้น บางคนก็ขนน�้ำจากวัด ไปขายตามบ้านเป็นอาชีพก็มี ในวัดมีต้น จันต้นใหญ่มากขนาดหลายคนโอบ ที่มีผล เป็นลูกกลมแบนๆ สีเหลืองสดส่งกลิ่นหอม จัด มีศาลาการเปรียญเก่าแก่หลังใหญ่เป็น สถานที่จัดกิจกรรมด้านศาสนาและตั้งศพ สวดอภิ ธ รรมกั น แทบทุ ก ตระกู ล ของคน ย่านสถานีรถไฟ (รวมทั้งตระกูลผมด้วย) สมัยเป็นเด็กก็มาเที่ยววิ่งเล่นกันในบริเวณ โรงเรียนบนพื้นทรายขาวสะอาดเหมือน กับวัดอื่นๆ ในตัวเมืองแสดงถึงท�ำเลที่ตั้ง เมื อ งบนสั น ทราย แต่ ก็ มี ต ้ น ไม้ ใ หญ่ ขึ้ น เป็นกลุ่มให้ความร่มรื่นแก่คนที่มานั่งหลบ ร้อนกัน ส่วนพื้นที่ด้านนอกหน้าวัดก็ยัง ไม่มีอาคารห้องแถว ผมฉายภาพในอดีตเมื่อ ๖๐ กว่าปี แล้ ว เปรี ย บเที ย บการพั ฒ นาของวั ด มา ตลอด มีความแตกต่างกันในด้านอาคาร สถานที่มากมายรวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ผม มี โ อกาสเข้ า ในวั ด นี้ บ ่ อ ยๆ ได้ เ ห็ น ความ ร่มรื่นจากบริเวณต้นไม้ร่มเงาที่มีชานไม้ ล้ อ มรอบส� ำ หรั บ นั่ ง ท� ำ กิ จ กรรม อาคาร ต่างๆ สร้างขึ้นมาอย่างสวยงามและส่วน ใหญ่เน้นส�ำหรับรองรับกิจกรรมการปฏิบัติ ธรรม ศาลาห้องสมุดที่มีหนังสือมากมาย ให้คนทั่วไปได้นั่งอ่าน มีสถานีวิทยุส�ำหรับ เผยแพร่เกี่ยวกับค�ำสอนทางพุทธศาสนา และสาระที่ เ ป็ น ประโยชน์ ห้ อ งน�้ ำ รวม สร้างไว้สวยงามและสะอาดที่เข้าไปใช้ได้ อย่ า งสบายใจซึ่ ง มี ใ ห้ เ ห็ น ไม่ ม ากนั ก ใน วั ด ทั่ ว ไป ภาพโดยรวมได้ เ ห็ น ความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยทั้ ง สถานที่ กิ จ กรรม พระเณร นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม และชาวบ้ า น เป็นที่น่าประทับใจในสายตาของผม

เมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว ท่ า นเจ้ า อาวาส ปัจจุบันคือพระพุทธิสารเมธี (สุวิทย์ อชิโต ป.) ได้เชิญผมไปร่วมแสดงความคิดเห็น กั บ ชาวพุ ท ธและชาวบ้ า นที่ ช านไม้ ใ ต้ ต้ น ไม้ เ พื่ อ รั บ ฟั ง โครงการพั ฒ นาวั ด ของ กลุ ่ ม สถาปนิ ก ใจบุ ญ จากกรุ ง เทพฯ คื อ “สถาบันอาศรมศิลป์” ซึ่งได้เลือกวัดศรีทวี ในการใช้วิชาชีพมาช่วยพัฒนาวัดโดยการ ออกแบบวางผัง และออกแบบอาคารให้ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับบริบทของ วัด คณะท�ำงานน�ำโดยคุณประยงค์ โพธิ์ ศรีประเสริฐ ประธานสาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ให้ภูมิสถาปนิกเสนอ ผั ง แม่ บ ทที่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง วางกั น ใหม่ เพราะการใช้ ง านอาคารสถานที่ ภ ายใน วัดมีเพิ่มขึ้นจนเป็นปัญหาที่อาจแก้ไขยาก ในอนาคตถ้ า ไม่ มี ก ารเตรี ย มไว้ ล ่ ว งหน้ า การน�ำเสนอมีภาพผังบริเวณปรับปรุงทั้ง วัด (ไม่รวมบริเวณโรงเรียน) ในวันนั้นก็มี ข้อคิดเห็นดีๆ จากหลายฝ่ายร่วมกันปรับ แก้ตามความต้องการของวัดและชุมชนนับ เป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาวัดที่ไม่ใช่ ขึ้นกับเจ้าอาวาสเพียงรูปเดียว ผมได้เห็น ความมีวิสัยทัศน์ของท่านเจ้าอาวาสก็เลย อาสาเข้ามาร่วมโครงการนี้ และก็ขอท� ำ หน้ า ที่ น� ำ เอาข้ อ สรุ ป แนวคิ ด มาเขี ย นให้ ท่านทราบโดยไม่มีภาพผังประกอบ ดังนั้น ท่านที่มาท� ำกิจกรรมในวัดนี้มาก่อนอาจ

มองเห็นภาพได้ ส่วนที่ท่านไม่เคยมาอาจ จินตนาการตามไปก่อนนะครับ โดยผมจะ พยายามบรรยายให้เห็นภาพเข้าใจง่ายๆ ๑. อาคารพาณิชย์ในที่ดินของวัดติด รั้วด้านนอก ผู้เช่าได้เห็นเจตนารมณ์ในการ พัฒนาให้เป็นวัดที่สวยเด่นเป็นสง่าแก่เมือง นครก็ยินยอมย้ายออกเพื่อจัดเป็นสวนและ ที่นั่งพักผ่อนของชุมชน (คงหาได้ยากครับ ที่วัดต่างๆ จะยอมสูญเสียรายได้ประจ�ำ ไป แล้วจัดให้เป็นสถานที่ให้คนทั่วไปได้ใช้ แล้วต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเองอีก เรื่องนี้ อาจขอความอนุเคราะห์จากทางเทศบาล ซึ่ ง เป็ น ภารกิ จ หนึ่ ง ที่ ต ้ อ งจั ด หาบริ ก าร ประชาชน) ๒. ศาลาการเปรียญเก่าที่จะรื้อออก สร้างใหม่ในพื้นที่เดิมให้กว้างขวางขึ้นเพื่อ รองรับกิจกรรมงานประเพณีต่างๆ และ กิ จ กรรมการอบรมปฏิ บั ติ ธ รรมของกลุ ่ ม ต่างๆ เฉลี่ยเดือนละ ๓ ครั้ง ในผังใหม่ไป ทับซ้อนกับต้นโศกใหญ่ด้านทิศเหนือ จึง มี ค วามเห็ น พ้ อ งกั น ที่ ใ ห้ เ ลื่ อ นลงมาเพื่ อ รักษาชีวิตต้นไม้นี้ไว้ (พูดถึงต้นไม้ใหญ่แล้ว เสียดายต้นจันใหญ่ที่ตายไปเพราะต้นไทร ขึ้นซ้อน แต่ท่านเจ้าคุณได้ปลูกต้นใหม่ ทดแทนแล้ว คงต้องรอให้เติบใหญ่รุ่นลูก หลานได้ดู) ๓. ลานทรายปฏิ บั ติ ธ รรมด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของศาลาการเปรี ย ญ จะเก็ บ

ต้นไม้ใหญ่ที่มีอยู่ไว้ (รวมทั้งต้นสาเกใหญ่ หลายคนโอบ) จัดภูมิทัศน์ใหม่ให้สามารถ ใช้งานได้เอนกประสงค์ และต่อเนื่องกับ กิจกรรมจากศาลาการเปรียญ ๔. โรงรับประทานอาหารที่อยู่ขวาง หน้ า กุ ฏิ ส ามั ค ยานุ ส รณ์ เป็ น โครงสร้ า งเหล็ ก หลั ง คาแผ่ น เหล็กรีดลอน (metal sheet) ซึ่งลักษณะอาคารไม่ได้มีความ กลมกลืนกับอาคารทรงปั้นหยา อื่นๆ จะรื้อออกเพื่อเปิดมุมมอง ให้ เ ห็ น ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงาม ส� ำ หรั บ พื้ น ที่ ร องรั บ การรั บ ประทานอาหารได้เตรียมไว้ในอาคารอื่นๆ ที่มีไว้แล้ว ๕. ปรั บ ปรุ ง บ่ อ น�้ ำ เก่ า แก่ ๒ แห่ ง ให้เป็นงานส่วนหนึ่งของภูมิทัศน์ ตั้งป้าย แสดงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และจัด ให้สามารถใช้งานได้จริง (ผมคิดว่าอาจมี บ่อน�้ำอื่นอีกที่ถูกถมไปแล้ว เพราะจ�ำได้ ลางๆ ว่าบ่อที่ผมเคยมาตักน�้ำตอนเป็นเด็ก อยู่ใกล้ริมคลอง แต่ก็ไม่จ�ำเป็นต้องรื้อฟื้น ขึ้นมาอีก) ๖. ลานจอดรถยนต์มีความจ�ำเป็นที่ ต้องจัดเตรียมไว้ และจัดระบบการจอดให้ เป็นระเบียบสามารถจอดได้มากคันหรือ สงวนไว้ส�ำหรับผู้ที่มาติดต่อท�ำกิจกรรมที่ วัดเป็นอันดับแรก โดยส่วนตัวไม่เห็นด้วย กั บ การท� ำ พื้ น เป็ น คอนกรี ต คลุ ม ทั้ ง หมด ควรปล่อยให้เป็นพื้นทรายตามสภาพเดิม (ยกเว้นแนวถนน) เพื่อให้มีการซึมน�้ำจาก ฝนตกและมี ก ารระบายความร้ อ นจาก ใต้พื้นขึ้นมา จะท�ำให้อากาศไม่ร้อนระอุ เหมือนการคายความร้อนจากพื้นคอนกรีต หรือบางกรณีอาจใช้แผ่นซีเมนต์ชนิดมีช่อง ส�ำหรับปลูกหญ้ามาคลุมพื้นทรายเพื่อจอด รถก็ได้ ๗. มี ร ายการปรั บ ปรุ ง อาคารต่ า งๆ อีก แต่เป็นเรื่องรายละเอียดการใช้งานที่ ยังไม่พูดถึงตอนนี้ครับ ผมมี ค วามเห็ น เพิ่ ม เติ ม จากการที่ มี ความจ� ำ เป็ น ต้ อ งรื้ อ อาคารหรื อ เปลี่ ย นแปลงของเก่าต่างๆ จะต้องมีการพิจารณา อย่างรอบคอบและมีค�ำตอบแก่สาธารณะ ซึ่ ง แน่ น อนว่ า ต้ อ งอาศั ย ข้ อ คิ ด เห็ น จาก ผู ้ รู ้ ใ นด้ า นต่ า งๆ และยอมรั บ ร่ ว มกั น ใน ประโยชน์อนาคตเบื้องหน้าเป็นหลัก โดย จะมีการพิจารณาจากประเด็นคุณค่าต่างๆ เช่น ประวัติศาสตร์ การใช้งาน รูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมและทางศิลปะ ความ ผูกพันด้านจิตใจ ฯลฯ มาชั่งน�้ำหนักผลดี ผลเสียกันจนตกผลึก ผมยังเชื่อว่าความ ร่วมมือกันคิดร่วมกันท�ำ จะท�ำให้ “วัดศรี ทวี ” เป็ น ต้ น แบบในการขจั ด ข้ อ ขั ด แย้ ง และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๔

ดงเฟินป่าเขาหลวง

ใบเฟินอ่อน จะงอเป็นวงคล้าย เลข ๑

คยได้ยินไหมว่า “ป่าเขาหลวงนครศรีธรรมราช เป็นป่าดึกด�ำบรรพ์” ที่กล่าว เฟินแผ่นฟิล์ม (Filmy Fern) กันเช่นนั้นก็เพราะเหตุผลหนึ่งที่ว่า ป่าฝน หลังคาแดนใต้แห่งนี้ เป็นป่าดิบชื้นที่อุดม ไปด้วยพืชในยุคแรกๆ ของโลก ตั้งแต่สมัย เมื่อ ๔๐๐ ล้านปีก่อน เป็นพืชที่ยังมีการ สืบพันธุ์แบบยุคดึกด�ำบรรพ์ ได้แก่ มอสส์ เฟิน และเห็ดรา โดยเฉพาะ “เฟิน” พบ ในป่าเขาหลวงหลากหลายสายพันธุ์ ทั้ง ชนิ ด ที่ สู ง ที่ สุ ด ในโลก คื อ เฟิ น มหาสด� ำ หรือเฟินต้น (Tree Fern) ชนิดที่บางที่สุด ในโลก คือ เฟินแผ่นฟิล์ม (Filmy Fern) นอกจากนี้ยังพบเฟินบัวแฉกที่เป็นเฟินที่ มีมาตั้งแต่ยุคดึกด�ำบรรพ์อีกด้วย ว่าแล้ว ล�ำต้น และใบที่แท้จริงเหมือนพืชทั่วๆ ไป เรามาท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ ชี วิ ต ของเฟิ น กั น ส่วนมากขึ้นในที่ร่มและมีความชุ่มชื้น ใน ดีกว่านะคะ ประเทศไทยพบมากกว่า ๔๐๐ ชนิด เฟินเป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตช้า เฟิน มีความต้องการสารอาหารไม่มาก ท�ำให้ เฟิ น เป็ น พื ช มี ร ะบบท่ อ ล� ำ เลี ย ง สามารถเจริญเติบโตได้ในบริเวณที่ดินมี เหมื อ นพื ช ดอก แต่ ว ่ า ไม่ มี ด อก ก� ำ เนิ ด แร่ธาตุอาหารน้อย เช่น ตามร่องหิน หรือ ขึ้ น บนโลกนี้ ม ากว่ า ๔๐๐ ล้ า นปี แ ล้ ว บนต้ น ไม้ เฟิ น อาจจะขึ้ น ปะปนกั บ พื ช (ตั้งแต่ยุคดิโวเนียน – Devonian) และ ล้มลุกอื่นๆ เช่น มอสส์ ลิเวอร์เวิร์ต สาม ได้วิวัฒนาการมาเป็นเฟินที่คล้ายกับเฟิน ร้อยยอด ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก หญ้าถอด ในปั จ จุ บั น ในช่ ว งยุ ค คาร์ บ อนนิ เ ฟรั ส ปล้อง ว่านไก่แดง สาวสนม บีโกเนีย (ประมาณ ๓๕๐ ล้านปีก่อน) ยังคงใช้รูป ใบเฟินอ่อนจะงอเป็นวงคล้ายเลข ๑ แบบของการแพร่พันธุ์ด้วยสปอร์ และมี (circinated frond) เมื่อโตขึ้นใบจึงคลาย วงจรชี วิ ต คล้ า ยกั บ พวกมอสส์ แต่ มี ร าก ตัวออก

เฟินมีล�ำต้นที่เรียกว่า เหง้า เฟินบัวแฉก

ท้องใบเฟินมีอับสปอร์

ท้ อ งใบเฟิ น มี อั บ สปอร์ ที่ ใ ต้ ท ้ อ ง ใบของเฟิ น จะมี ก ลุ ่ ม อั บ สปอร์ เ รี ย งราย อยู ่ จ� ำ นวนมาก อั บ สปอร์ มี รู ป ร่ า งคล้ า ย ก�ำปั้น ภายในมีสปอร์ขนาดเล็กคล้ายผง ฝุ ่ น ไม่ ส ามารถมองเห็ น รู ป ร่ า งลั ก ษณะ ได้ ด ้ ว ยตาเปล่ า ต้ อ งใช้ แ ว่ น ขยายหรื อ กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ ส ่ อ งขยายดู เฟิ น แต่ ล ะ ชนิ ด มี รู ป ร่ า งและลวดลายบนผิ ว ของ สปอร์ แ ตกต่ า งกั น จึ ง ใช้ เ ป็ น จุ ด สั ง เกต หนึ่งในการจ�ำแนกชนิด เฟิ น มี ล� ำ ต้ น ที่ เ รี ย กว่ า เหง้ า (rhizome) มี ห ลายลั ก ษณะและมี รู ป แบบ การเจริญเติบโตที่แตกต่างกันไป เหง้าจะ ท� ำ หน้ า ที่ ส ่ ง ผ่ า นน�้ ำ และสารอาหารโดย ผ่านท่อล�ำเลียง และยังท�ำหน้าที่สะสมน�้ำ และอาหารเพื่อเก็บเอาไว้ใช้อีกด้วย ปลาย ยอดเหง้าเป็นส่วนที่เจริญเติบโต ท�ำหน้าที่ สร้างทั้งเหง้า ใบ และรากชุดใหม่ เหง้าจะ ช่วยพยุงใบให้ชูตั้งขึ้น และเลื้อยเกาะไป ตามโขดหินหรือล�ำต้นของต้นไม้ เพื่อให้ ใบสามารถขึ้นไปรับแสงข้างบนได้มากขึ้น

วงจรชีวิตของเฟิน ๑. เมื่อสปอร์ตกอยู่ในที่เหมาะสมจะ งอกขึ้นเป็นเซลล์สีเขียวและพัฒนาขึ้นเป็น โปรทัลลัส ๒. โปรทั ล ลั ส มี ลั ก ษณะเป็ น แผ่ น แบนๆ คล้ า ยรู ป หั ว ใจ มี ค ลอโรฟิ ล ล์ ส�ำหรับสังเคราะห์แสง มีรากแบบไรซอยด์ ท�ำหน้าที่ยึดกับวัสดุที่เกาะ และดูดซับน�้ำ และธาตุอาหาร ๓. เมื่ อ สภาพแวดล้ อ มเหมาะสม สเปิ ร ์ ม เพศผู ้ จ ะว่ า ยน�้ ำ ไปหาไข่ ข องเพศ เมีย เมื่อโปรทัลลัสเจริญเติบโตเต็มที่จะ สร้างอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย ที่ บริเวณผิวด้านใต้ของโปรทัลลัส อวัยวะ สืบพันธุ์เพศผู้อยู่บริเวณขอบของโปรทัลลั ส ส่ ว นล่ า ง มี ลั ก ษณะเป็ น ติ่ ง เล็ ก ๆ ยื่ น ออกมา ภายในมี ส เปิ ร ์ ม เมื่ อ สเปิ ร ์ ม โต เต็ ม ที่ และมี ค วามชุ ่ ม ชื้ น เพี ย งพอ ผนั ง จะเปิ ด ออกและสเปิ ร ์ ม ว่ า ยน�้ ำ ออกไป อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมียอยู่ตรงกลางของ โปรทัลลัสภายในมีไข่ สเปิร์มและไข่ใน โปรทัลลัสเดียวกันจะโตเต็มวัยพร้อมผสม พั น ธุ ์ ไ ม่ พ ร้ อ มกั น เพื่ อ ป้ อ งกั น การผสม พันธุ์กันเองบนโปรทัลลัสเดียวกัน ๔. โปรทั ล ลั ส ที่ ไ ด้ รั บ การผสมพั น ธุ ์ กลายเป็นต้นอ่อน เริ่มต้นชีวิตในรูปแบบ ของต้นเฟินที่พบเห็นทั่วไป ๕. เฟิ น เจริ ญ เติ บ โตเต็ ม ที่ จ ะสร้ า ง สปอร์ขึ้นภายในอับสปอร์ที่อยู่ใต้ใบ ว่ า งๆ ลองหาเวลาไปเดิ น อยู ่ ใ นป่ า ท่ามกลางดงเฟินดูนะคะ นอกจากจะได้ อากาศบริสุทธิ์สดชื่นในป่าที่ให้บรรยากาศ ย้อมอดีตในยุคดึกด�ำบรรพ์แล้ว ยังท�ำให้ เรารู ้ สึ ก ได้ ว ่ า มนุ ษ ย์ เ ราก็ เ ป็ น แค่ สิ่ ง มี ชี วิ ต เล็ ก ๆ ที่ เ ป็ น ส่ น ประกอบหนึ่ ง บน โลกเท่านั้นเอง ขอบคุณข้อมูล อ.เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ ภาพ : ทาร์ซานบอย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

นขณะที่ 3BB ทีโอที และเอไอเอส ไม่จ�ำเป็นต้องยึดติดต่อการให้บริการ ผ่ า นสายเคเบิ ล จึ ง เน้ น ที่ จ ะลงทุ น บน ไฟเบอร์ ออปติ ก เป็ น หลั ก ส่ ง ผลให้ ปัจจุบันเริ่มมีการแนะน�ำบริการ FTTx มากยิ่ ง ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง ผู ้ บ ริ โ ภคเองก็ มี ความรู้ และความเข้าใจในเทคโนโลยีดัง กล่าวมากยิ่งขึ้น ด้วยจุดเด่นของไฟเบอร์ บรอดแบนด์ คือ เน้นไปที่ความเร็วในการ ให้บริการสูงสุดที่ 1 Gbps เร็วกว่าการ ให้บริการบนเคเบิลที่ปัจจุบันมีให้บริการ สูงสุดที่ 100 Mbps แม้ว่าตัวเทคโนโลยี Docsis 3 จะสามารถท�ำความเร็วได้สูง กว่า 200 Mbps ก็ตาม แต่ก็ยังมีข้อจ�ำ กัดอื่นๆ จากสภาพแวดล้อม และระยะ ทางในการให้ บ ริ ก ารจากจุ ด กระจาย สัญญาณแต่ก็ใช่ว่าไฟเบอร์จะมีแต่ข้อดี เพียงอย่างเดียว เพราะสายไฟเบอร์ออปติกก็มีข้อจ�ำกัดที่ค่อนข้างสูง ไม่ว่าจะเป็น ในเรื่องของตัวสายที่ไม่สามารถหักงอได้ รวมกับต้นทุนในการลงทุนสายไฟเบอร์ที่ สูงกว่า ท�ำให้การขยายพื้นที่ให้บริการจะ ท�ำได้ช้ากว่าเคเบิล จึงต้องเน้นขยายไปใน พื้นที่ที่มีการใช้งานสูงก่อนเป็นหลัก อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คื อ ก ร ณี ที่ มี การเชื่อมต่อไฟเบอร์ออปติกเข้าไปตาม อาคาร หรื อ ส� ำ นั ก งาน จะมี ข ้ อ จ� ำ กั ด ในเรื่ อ งของสายเดิ ม ที่ มี ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ไ ว ้ ใ น อาคาร ท�ำให้ผู้อยู่อาศัย ไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง อิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง ผ่ า นไฟเบอร์ อ อปติ ก ได้ จึ ง ต ้ อ ง มี ก า ร น� ำ ส า ย เคเบิล หรือสายโทรศัพท์ มาเชื่อมต่อแยกเข้าไปในแต่ละห้องอีก ที ท�ำให้เห็นได้ว่าอย่างเอไอเอส ก็จะมี แพกเกจพิเศษส�ำหรับลูกค้าที่อาศัยอยู่ใน คอนโดฯ แยกออกมา ถ้าต้องติดควรเลือกอะไร ค�ำถามที่ตามมาหลังจากรู้จักถึงตัว

เทคโนโลยีแล้ว เชื่อว่าผู้ใช้งาน ADSL ใน ปัจจุบันจะเริ่มมีความคิดที่ต้องการเปลี่ยน มาใช้งานเคเบิล หรือไฟเบอร์มากยิ่งขึ้น เพียงแต่ด้วยข้อจ�ำกัดหลักในปัจจุบันคือ ในพื้นที่ที่ใช้งานยังไม่มีผู้ให้บริการรายใด น�ำบริการดังกล่าวมาถึง ดังนั้น จึงท�ำได้ เพียงแค่รอ หรือเลือกใช้ผู้ให้บริการที่มีอยู่ ในปัจจุบัน แต่ถ้ามองถึงความคุ้มค่าแล้ว ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า การที่ทรูเริ่มท�ำแคมเปญ อย่าง สุขคูณ ๒ หรือ สุขคูณ ๓ เข้ามา ถือเป็นการผูกมัดให้ลูกค้าใช้งานบริการ ภายในกลุ่มทรู เช่นเดียวกันเมื่อเอไอเอส เข้ า มาให้ บ ริ ก ารในจุ ด นี้ ก็ จ ะมี บ ริ ก ารที่ พ่วงระหว่างการใช้มือถือ กับเน็ตไฟเบอร์ เข้าด้วยกันแน่นอน ดังนั้น จึงกลายเป็น

ตอนนี้คงหนีไม่พ้น AIS Fibre ที่แถม AIS Playbox ให้แก่ลูกค้าด้วย โดยที่ผ่านมา เอไอเอส ได้ร่วมมือกับ พาร์ตเนอร์ในการให้บริการคอนเทนต์อยู่ แล้ว อย่างการให้บริการแอปพลิเคชัน AIS Live TV ที่ร่วมกับทาง CTH ในการน�ำ ภาพยนต์ และกีฬามาให้บริการบนสมาร์ทโฟน ก็ จ ะถู ก น� ำ ไปใช้ ใ น AIS Playbox เช่นเดียวกัน ที่ส�ำคัญคือ AIS Playbox ยังรองรับการให้บริการภาพยนตร์ระดับ 4K รุ่นแรกในท้องตลาด รับต่อเทคโนโลยี ทางการแสดงผลภาพที่เริ่มมีการจ�ำหน่าย จอระดับ 4K แล้ว ดั ง นั้ น เชื่ อ ว่ า ในท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว เมื่ อ มี ก ารขยายพื้ น ที่ ก ารใช้ ง านไฟเบอร์ บรอดแบนด์ที่ครอบคลุม รวมกับความเร็ว

ในการเชื่อมต่อที่เพิ่มขึ้น จนเป็นยุคของ ดิ จิ ต อลที่ ส ามารถรั บ คอนเทนต์ ผ ่ า น ระบบอินเทอร์เน็ตได้ทั้งหมด เทคโนโลยี Docsis ที่ มี ใ นปั จ จุ บั น ก็ จ ะหมดความ จ�ำเป็นในอนาคต ก้าวข้ามเทคโนโลยี เมื่อ Fibre มา แทนที่ Docsis แม้ว่าบริการไฟเบอร์บรอดแบนด์ จะเริ่ ม มี ก ารให้ บ ริ ก ารมาระยะหนึ่ ง แล้ว แต่ในปัจจุบันก็ยังไม่มีการก�ำหนด มาตรฐานออกมาอย่ า งเป็ น ทางการ ท�ำให้ผู้ให้บริการแต่ละรายจ�ำเป็นต้อง เลือกใช้ผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งในการน�ำ บริ ก ารเหล่ า นี้ ไ ปสู ่ ลู ก ค้ า เนื่ อ งมาจาก เวนเดอร์ แ ต่ ล ะรายก็ จ ะใช้ เ ทคโนโลยี ไม่ เ หมื อ นกั น และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ถ้ า ใช้ เทคโนโลยีที่แตกต่างกันนิดเดียวก็จะส่ง ผลให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานลดลงไม่ เหมือนกับเคเบิลบรอดแบนด์ที่ปัจจุบัน ใช้งานกันอยู่บนมาตรฐานของ Docsis 3.0 ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาจาก Docsis 1.0 และ Docsis 2.0 ซึ่งแน่นอนว่า ถูกพัฒนา มาบนมาตรฐานแบบเปิดท�ำให้สามารถ เลื อ กใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากผู ้ ผ ลิ ต ที่ ห ลาก หลายได้ ไม่จ�ำเป็นต้องยึดติดกับผู้ผลิต รายใดรายหนึ่ง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้คง เป็นประโยชน์กับผู้อ่าน และสามารถช่วย ตั ด สิ น ใจในการเลื อ กใช้ บ ริ ก าร ส� ำ คั ญ ที่สุดคือบริการที่มีประสิทธิภาพสูงย่อม มีราคาแพง โปรดใช้วิจารณญาณในการ เลือกใช้เทคโนโลยีครับ

ว่า ถ้าจะใช้ให้คุ้มที่สุดก็เลือกผู้ให้บริการที่ ใช้อยู่เดิม เพราะแต่ละรายก็จะมีจุดเด่นที่ แตกต่างกันไป ทรูมีบริการทรูวิชั่นส์ พร้อม กับโบนัสพิเศษให้แก่ทรูมูฟเอช 3BB ถ้า สมั ค รเน็ ต ไฟเบอร์ ก็ จ ะให้ บ ริ ก ารดู ห นั ง ผ่านอินเทอร์เน็ตฟรี แต่ที่ถือว่ามาแรงใน

ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๖ Tarzanboy

....เรายั ง คงอยู ่ ใ นเส้ น ทางศึ ก ษาธรรมชาติ น�้ ำ ตกกรุ ง ชิ ง อุทยานแห่งชาติเขาหลวงครับ ! ตั ว น�้ ำ ตกกรุ ง ชิ ง นั้ น มี ๗ ชั้ น แต่ ล ะชั้ น เราเรี ย กค� ำ น� ำ หน้าว่า “หนาน” ที่มาที่ไปค�ำนี้ผมไม่ค่อยแน่ใจนัก เพราะใช้ เฉพาะเจาะจงกับล�ำธารน�้ำตกในพื้นที่ภาคใต้ อาจจะเจาะจง อีกว่าเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช หนานวังเรือบิน หนาน สะตอ หนานจน หนานโจน หนานฝนแสนห่า หนานมัดแพ ทั้งหมดคือชั้นของน�้ำตกกรุงชิง ความพิเศษชวนให้งุนงงของ น�้ำตกกรุงชิงมีอีกอย่างหนึ่งคือ ขณะเราเดินชมป่าชมไพรตลอด ๓ กม.ที่ผ่านมา เราจะมาถึงสายน�้ำตกซึ่งเป็น “หนานวังเรือ บิน” ชั้น ๗ อันหมายความว่า จากนี้เราจะค่อยๆ เดินลงลัด เลาะไล่ชมน�้ำตกไปทีละหนาน จนไปถึงชั้นที่ ๒ ซึ่งอยู่ในร่อง หุบเขาสูง เป็นจุดที่สวยที่สุดเรียกว่า “หนานฝนแสนห่า” อัน จะหมายความว่า เราต้องปีนป่ายกลับมาตามเส้นทางเดิม เส้น ทางแบบนี้จะยากง่ายแค่ไหน เราลองไปดูกันครับ จากชั้ น ๗ หนานวั ง เรื อ บิ น นี้ จะเหลื อ เส้ น ทางอี ก ประมาณ ๗๐๐ เมตร ก็จะถึงหนานที่สวยที่สุดของน�้ำตกแห่ง นี้ เส้นทางช่วงนี้จะเป็นพื้นดินในช่วงแรกๆ จากนั้นเส้นทาง จะเป็นพื้นหินกาบที่จัดท�ำไว้เพื่อความสะดวกในการเดินของ นักท่องเที่ยว แต่ละชั้นจะมีบันใดและราวบันไดให้ยึดเกาะ ในรายทางที่เนิ่นช้า ยังมีหลายอย่างให้น่าสนใจศึกษาครับ ระหว่างเชิงบันไดของชั้น ๖ ถึงชั้น ๕ มีพืชส�ำคัญชนิดหนึ่ง เรา เรียกว่า “ใบหูหมี” หรือ “ผักกาดคอมมิวนิสต์” เจ้าพืชชนิด นี้กินได้ครับ และเป็นส่วนหนึ่งของอาหารป่าในยุคสงคราม ลัทธิ จึงถูกเรียกชื่อตามลักษณะและผู้ ค้นพบตอนนั้น และในระหว่างชั้นที่เรา

ก�ำลังก้าวย่างลงบันใดจะมีพืชพันธุ์อีกหลากหลายอย่าง บิโก เนียใบลายดอกเล็กๆ น่ารักน่าชัง พืชไม้ประดับอย่างเจ้า “ว่าน ไก่แดง” จะเลื้อยประดับตามหน้าผาสูง เส้นทางช่วงนี้ต้องใช้ ความระมัดระวังอย่างมาก เพราะจะอยู่บนหน้าผาสูงชัน คง ไม่มีอะไรดีไปว่า การเดินเรื่อยๆ ชมดอกไม้เล็กๆ ริมทาง และ ก้าวย่างอย่างระมัดระวัง อาจจะเรียกได้ว่า ลุ้นไปชมป่าไปกับเส้นทางที่ลาดชัน ดังกล่าว จนในที่สุดเราจะได้ยินเสียงสายน�้ำตกดังกระหึ่มอยู่ ในหุบผา นั่นแหละครับเป้าหมาย “หนานฝนแสนห่า” ณ จุด สิ้นสุดบันใด เราจะพบกับสายน�้ำตกที่กระโจนไหลลาดจาก หน้าผาสูงร่วม ๗๐ เมตร ด้วยลีลาของสายน�้ำและปริมาณ น�้ ำ อั น มากมาย ผลผลิ ต จากความสมบู ร ณ์ ข องผื น ป่ า เขา หลวง ท�ำให้น�้ำตกกรุงชิง ถือว่าเป็นน�้ำตกอันยิ่งใหญ่ที่สุดใน นครศรีธรรมราช ความส�ำคัญอีกอย่างของน�้ำตกกรุงชิง โดย เฉพาะหนานฝนแสนห่านี้คือ ความสวยงามของชั้นน�้ำตก ถูก น�ำไปพิมพ์เป็นลายน�้ำของธนบัตรฉบับละ ๑๐๐๐ บาทในสมัย ที่พิมพ์ออกมาครั้งแรก และเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่นักเดินทางทั้ง หลาย อยากจะมาสัมผัสสายน�้ำนี้สักครั้ง บริเวณหน้าชั้นน�้ำตก เป็นจุดยืนชมสายน�้ำที่เหมาะแก่ การบันทึกภาพ จากจุดนี้เราจะเห็นถึงความยิ่งใหญ่อลังการ ของน�้ำตกกรุงชิง และความสมบูรณ์ของผืนป่ารายรอบ ขณะ ยืนชมสายน�้ำตกหลายคนจะเห็นละอองน�้ำขาวๆ ปลิวมากระ ทบใบหน้า นั่นแหละครับที่มาของชื่อ “ฝนแสนห่า” สายน�้ำ ที่ไหลลงจากหน้าผาสูง กระทบแก่งหินต่างๆ เกิดเป็นละออง นับหมื่นนับแสน ดุจดั่งสายฝนแสนห่า อันท�ำให้ผู้ชมสดชื่น และเปียกปอนไปตามๆ กัน หน้าชั้นน�้ำตกเป็นแอ่งน�้ำขนาด ใหญ่ ในบางครั้งสามารถลงเล่นน�้ำได้ เพราะท้องน�้ำจะเป็นผืน ทรายขาว แต่ทว่าในบางครั้งด้วยแรงน�้ำมหาศาลจากน�้ำป่าไหล

หลาก อาจจะกวาดท้องน�้ำให้ลึกเกินจะลงเล่นน�้ำ จุดนี้นักท่อง เที่ยวต้องระมัดระวังและควรได้รับค�ำแนะน�ำจากเจ้าหน้าที่ หรือคนน�ำทางเสียก่อน ส�ำหรับผมแล้วการไปที่นี่ ไม่เคยพยายามจะรีบไปชม จุดนี้แล้วรีบกลับ เพราะดูเหมือนการสามารถอยู่ตรงนี้ได้นาน เท่าไหร่ ชีวิตก็มีก�ำไรมากขึ้นเท่านั้น อากาศบริสุทธิ์ สายน�้ำ บริสุทธิ์...จิบชา กาแฟร้อนๆ สักแก้ว หลับสักตื่นก็เหมือนได้ ชีวิตใหม่คืนมา และเมื่อจ�ำต้องลาจาก ผมก็อยากจะแนะน�ำให้ท�ำใจให้ สบาย ก้าวย่างไปอย่างเนิ่นช้า สนใจรายทางแม้จะเคยผ่าน มาแล้วครั้งหนึ่ง ...หลายคนเรียกน�้ำตกนี้ว่า “น�้ำตกกุหลาบ” (กูหลาบ) ที่มาของค�ำประชดประชันนี้ ก็คงจะเกิดจากอารมณ์ ขนะเดินทางกลับเนี่ยแหละครับ เพราะขามาเราเดินดิ่งลงมา จากหน้าผาสูง ด้วยใจอยากรู้อยากเห็นท�ำให้ขาลงไม่ยากเกิน ไปนัก แต่พอได้พบพานและต้องลาจาก เรี่ยวแรงปีนป่ายกลับ ไปยอดเขาเบื้องบน ดูจะหดหายไปเสียดื้อๆ ขากลับนี้ก็เตรียม ท�ำใจกลับ เราลงมาเท่าไหร่ก็ต้องกลับขึ้นไปเท่านั้น เดินมาไกล เท่าไหร่ ก็ต้องหวนกลับไปจุดเริ่มต้นด้วยระยะทางเท่านั้น ฟังดู คล้ายปรัชญาการด�ำเนินชีวิตยังไงก็ไม่รู้ ทุกเส้นทางในพื้นที่ธรรมชาติ มีสิ่งละเล็กละน้อยร้อยพัน ให้เรียนรู้ ผมยังคงคาดหวังว่า ในการเดินทางเข้าสู่พื้นที่ศึกษา ธรรมชาติของหลายๆ ท่าน จะไม่เป็นเพียงการเร่งรีบไปสู่จุด หมาย และรีบเร่งกลับออกมาอย่างเหนื่อยเปล่า การคาดหวัง ในจุดหมายจนหลงลืมรายละเอียดในรายทาง อาจจะเป็นนิสัย อันคุ้นชิ้นของพวกเราหลายคน ทว่าหากเรายอมปรับใจปรับ ตัวให้เนิ่นช้าลงบ้าง เวลาชีวิตอันมีเท่ากันทุกคน ย่อมได้รับผล ในปริมาณที่ต่างกัน ในเส้นทางสู่น�้ำตกกรุงชิงแห่งนี้ ตอบความ หมายของชีวิตในบทนี้ได้ดี ผมเชื่อเช่นนั้น !


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เวียนเทียนคืนเดือนเพ็ญ อาสาฬหบูชา

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ พิธีกรรมเรียบง่าย สงบ ดูขรึมขลัง น่าศรัทธา

หน้า ๑๗


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๘

อ ลั่ ล ล้ า .. ฉบั บ นี้ ข ออนุ ญ าตท่ า น ผู ้ อ ่ า นใช้ พื้ น ที่ น� ำ เสนอกิ จ กรรมดี ดี เทิดพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันแม่แห่ง ชาติ ซึ่งสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัด นครศรีธรรมราช จัดขึ้นภายใต้ชื่อ “สิง หา พาแม่ท่องนครสองธรรม” การจั ด กิ จ กรรมคาราวานทั ว ร์ ใ น ครั้ ง นี้ โดยนางชนั น ธร ธนานราสิ น นายกสมาคมธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วคน ปัจจุบัน ซึ่งถือเอาธรรมเนียมปฏิบัติใน การสื บ ทอดกิ จ กรรมมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทุกปี ในปีนี้สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว จังหวัดนครศรีธรรมราชได้รับเกียรติจาก นายพินิจ บุญเลิศ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช ให้เกียรติเป็นประธาน เปิดงานและปล่อยขบวนคาราวาน การ จั ด กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ คุ ณ ชนั น ธร ธนา นราสิ น และคณะกรรมการจั ด งานมี ความเห็นตรงกันที่จะปลูกฝัง และเชิญ ชวนให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วตระหนั ก ถึ ง การ ท่องเที่ยวโดยไม่ท�ำลายธรรมชาติ (Go Green) ซึ่ ง จะสอดคล้ อ งกั บ สโลแกน “ท่ อ งนครสองธรรม” ของส� ำ นั ก งาน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ที่ น� ำ เสนอการท่ อ ง เที่ยวหัวใจใหม่แบบยั่งยืน ให้กับนักท่อง เที่ ย วได้ ต ระหนั ก ถึ ง การท่ อ งเที่ ย วแบบ อนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งนอกจากจะได้รับ ความสุข สนุกสนานแล้ว ยังตระหนักถึง การดู แ ลรั ก ษาธรรมชาติ ใ ห้ ยั ง คงความ สมบูรณ์อย่างยั่งยืนด้วย ดังนั้น กิจกรรม คาราวานทัวร์ “สิงหา พาแม่ท่องนครสอง ธรรม” นอกจากเราจะมุ่งเน้นการสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างคุณลูกกับคุณ แม่แล้ว

เรายั ง ให้ คู ่ แ ม่ ลู ก ได้ ซึ ม ซั บ กิ จ กรรม ฟังธรรม โดยท่านเจ้าอาวาส และกิจกรรม ล้างเท้ากราบขอขมาแม่ ณ วัดเขาเหล็ก ซึ่ ง ท� ำ เอาคู ่ แ ม่ ลู ก ที่ เ ข้ า ร่ ว มในคาราวาน ซาบซึ้งจนไม่อาจกลั้นน�้ำตาไหว .. กิจกรรม สร้างเสริมความรักความสัมพันธ์ ระหว่าง แม่ลูกที่ทางสมาคมฯ ได้สอดแทรกเอาไว้ ในสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ต ่ า งๆ เช่นการบอกรักผ่านการนวดระหว่างคู่แม่ ลูก ณ จุดบ่อน�้ำพุร้อน ต.นบพิต�ำ อ.กรุงชิง ก็เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่น่ารักที่ท�ำให้คู่แม่ ลูกได้ผ่อนคลายและใช้เวลาพูดคุยถึงความ รู้สึกดีดีต่อกัน ได้อย่างลงตัว

การน� ำ ขบวนคาราวานแวะเยี่ ย ม ชมสวนผลไม้ ณ อ.พรหมคีรีก็เป็นความ สนุก สนานส� ำ หรับ ผู้เข้าร่ วมกิ จกรรมทุ ก ท่าน เพราะนอกจากจะได้สนับสนุนสินค้า ผลิตภัณฑ์จากชุมชน โดยชาวบ้าน แล้ว ยัง ได้ชิมผลไม้สดๆ ในสวน ท่ามกลางความ รื่นรมย์ของธรรมชาติอีกด้วย แม้กิจกรรม ที่กล่าวมาจะถูกจัดขึ้นในหนึ่งวัน ส�ำหรับ เส้ น ทางสองธรรม แต่ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มขบวน คาราวานทุกคัน ทุกท่านก็ล้วนมีสีหน้าที่ ยิ้มแย้ม และเปี่ยมไปด้วยความสุข สลับ กั บ เสี ย งหั ว เราะตลอดเส้ น ทาง..มื้ อ เย็ น ขบวนคาราวานทั้งหมดก็ได้กลับมาร่วมรับ

ประทานอาหารค�่ำกัน ณ ลานบ้านท่าน ขุน ซึ่งกิจกรรมช่วงค�่ำ ทางสมาคมธุรกิจ การท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราช ก็ ยังได้รับเกียรติจาก ชมรมผู้สูงอายุจังหวัด นครศรี ธ รรมราช ให้ เ กี ย รติ จั ด ชุ ด การ แสดง และร่วมร้องเพลงร�ำวง กันอย่าง สนุกสนาน และประทับใจกันไปจนจบ งาน เล่ า สู ่ กั น ฟั ง กั บ กิ จ กรรมเล็ ก ๆ แต่ เต็มไปด้วยคุณภาพของความสุขในครั้งนี้ เพียงเพื่อจะบอกต่อกับท่านผู้อ่านว่า การ จัดกิจกรรมในแต่ละครั้ง บางครั้ง ก�ำไร และความยิ่งใหญ่ก็ อาจจะไม่ใช่สาระส� ำคัญ แต่สิ่งที่ส�ำคัญ ส� ำ หรั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมในแต่ ล ะครั้ ง คื อ เขาได้ รั บ ความสุ ข สนุ ก สนานและ ความประทับใจอะไรกลับไปจากคณะจัด งานมากน้อยแค่ไหน ...โอลั่ลล้าในฉบับนี้ จึงได้ขอเป็นส่วนหนึ่งในการเป็นตัวแทน บอกเล่าความรู้สึกที่มากด้วยคุณค่าของ ความสุข กับกิจกรรมเล็กๆ ที่ผู้เข้าร่วม คาราวานได้รับในครั้งนี้อีกครั้ง และขอ ขอบคุณผู้ร่วมสนับสนุนงบประมาณการ จัดกิจกรรม “สิงหา พาแม่ท่องนครสอง ธรรม” ทุกท่านอีกครั้ง แล้วเจอกันกับ การชวนชิมอาหารอร่อยๆ ตามประสา .. โอลั่ลล้า พาชิมพาเที่ยว ภาคปกติใน ฉบับหน้านะคะ บ๊าย บายค่ะ ..


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

ใกล้วัดเสมาเมือง พระที่นั่งกัญญาเรือถมสมัยรัชกาลที่ ๕ และ สันติคีรีกับไม้เท้าไม้ถือ ผลงานลุงอ�่ำ ศรีสัมพุทธ ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมคนส�ำคัญของเมืองนครที่ ล่วงลับไปนานมากแล้ว ทั้งหมดนี้ชี้ถึงร่องรอยเรื่อง “ช้าง” ในเมืองนคร ในหลายสถาน ทั้งช้างใช้งาน ช้างเทพ ช้างสัญญลักษณ์ ประกอบเครื่องใช้ ช้างสื่อความหมายของการอยู่ร่วมกัน

หน้า ๑๙

โดยสันติ เฉพาะพระที่นั่งกัญญาเรือถม ที่ เ จ้ า พระยานครท� ำ ถวายรั ช กาลที่ ๕ ร่ ว มกั บ เครื่ อ งราชู ป โภคอื่ น ๆ ที่ ทุ ก วั น นี้ ถื อ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ เช่ น พระที่นั่งภัทรบิฐ พระที่นั่ง พุ ด ตาลนั้ น ดู ล ายถมบน แผ่ น เงิ น ที่ ท าทองขนาด มหึ ม าจะเห็ น เป็ น ภาพช้ า ง จ�ำนวนมาก ทั้งเดี่ยวๆ และ เป็ น ครอบครั ว อยู ่ ใ นป่ า หิ ม พานต์ ซึ่ ง อาจหมายถึ ง ป่าเขาหลวงเมืองนครนี้นี่เอง ที่ส�ำคัญในตรา สารศักดิเลิศฟ้า” แผ่ น ดิ น ตรงใจกลางก็ มี ช ้ า งด้ ว ย นอกจาก ถือเป็นช้างส�ำคัญคู่พระบารมี คล้องได้จากป่ารอย หมายถึงช้างป่าแล้วยังอาจหมายถึงช้างหลวง ต่อจังหวัดกระบี่ ตรัง และ นครศรีธรรมราช เมื่อปี ๒๔๙๙ และช้างส�ำคัญอื่นได้ด้วย ที่แถบ พรุดินนา ดินอุดม ล�ำทับ แล้วน�ำมาดูแลรักษาที่ คลองท่อม ก่อนจะพิสูจน์ลักษณะและน�ำขึ้นทูลเกล้าฯ คุณพระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ขึ้ น ระวางสมโภชในปี พ.ศ.๒๕๐๒ แล้ ว ยื น โรงที่ ส วน ช้างเผือกหลวงคูพ ่ ระบารมี จิตรลดาฯ เข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวทุกวัน เวลา ๑๔.๐๐ น. ไปจากป่ าเมืองนคร กระทั่ ง ตามเสด็ จ ไปยื น โรงที่ พ ระต� ำ หนั ก ไกลกั ง วล แต่ที่ส�ำคัญว่าด้วยช้างนครคือนิทรรศการพิเศษว่า หั ว หิ น และล้ ม เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๕๓ โดยคนทั่ ว ไปอาจ ด้วยพระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ที่มีพระนามเต็มตามพระ ไม่รู้และลืมกันหมดแล้ว และอย่าลืมว่าส�ำหรับช้างแล้ว ไม่ รู ้ ห รอกว่ า จั ง หวั ด ไหน ป่ า แถบนั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ แ บ่ ง แยก สุพรรณบัฏว่า “พระเศวตอดุลยเดชพาหน ภูมิพลนามนาคบารมี ว่านี้ป่ากระบี่ ป่าตรัง ป่านคร มีแต่คนกระบี่ คนตรัง ทุ ติ ย เศวตกรี ก มุ ท พรรโณภาส บรมกมลาสนวิ ศุ ท ธวงศ์ คนนครทั้งนั้นที่สมมุติกันเข้าไปถือครองครอบไว้ และ สรรพมงคลลั ก ษณคเชนทรชาต สยามราษฎรสวั ส ดิ - ถ้าให้ถึงที่สุดแถบนี้เมื่อก่อนก็ล้วนอยู่ในอาณาบริเวณ ประสิทธิ์ รัตนกุญชรนิมิตบุญญาธิการ ปรมินทรบพิตร- ที่ เ รี ย กว่ า เขตเมื อ งนคร ทั้ ง นั้ น ผู ้ ค นที่ อ ยู ่ ใ นทุ ก วั น นี้ ส่วนมากก็ขยับขยายออกมาจากเมืองนครทั้งนั้น นี้จึง เป็ น ประเด็ น แรกที่ ผ มเห็ น ว่ า อย่ า ยึ ด ติ ด กั บ ความเป็ น “อาณาจักรนครศรีธรรมราช” จนท�ำให้แคบ เพราะท�ำให้ ต้องตีความว่าอาณาจักรในสมัยไหน หากเปิดให้กว้าง ทั้งพื้นที่ กาลเวลา อาจถือว่าภาคใต้ตลอดคาบสมุทรสุด แดนนั้ น ล้ ว นมี ส ่ ว นสั ม พั น ธ์ กั บ “นครศรี ธ รรมราช” เสมอมา (อ่านต่อฉบับหน้า)


หน้า ๒๐

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๘ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.