นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 51 เดือนธันวาคม 2558

Page 1

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

ปูนที่องค์พระเจดีย์ยุบทองค�ำปลียอดยุบตาม ผู้ว่าฯ เมืองคอน สร้างพระบรมธาตุฯที่ระลึก ๑,๐๐๐ องค์ ระดมทุนซ่อมปลียอด หลังพิธีพุทธาภิเษกจะเปิดให้เช่าบูชาองค์ละ ๑๔,๙๙๙ บาท

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò

เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผูว้ า่ ราชการ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ให้ เ กี ย รติ สนทนากับ 'รักบ้านเกิด' ณ ร้านสุขทวี ต.ท่าวัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โดยมี นายถาวรวัฒน์ คงแก้ว ปลัด จังหวัดและเจ้าหน้าที่ประจ�ำส�ำนักงาน จังหวัดร่วมอยูด่ ว้ ย

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

เมืองคอนเป็นเจ้าภาพกีฬานักเรียนนักศึกษาครั้ง ที่ ๓๗ ระหว่างวันที่ ๒๓-๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ ชักชวนเป็นเจ้าภาพที่ดี ร่วมให้ก�ำลังใจ ผู้ว่าฯ ชวนซื้อเสื้อที่ระลึก วั น ที่ ๑๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นประธานการประชุมส่วน ราชการที่เกี่ยวข้องเตรียมพร้อม >> อ่านต่อหน้า ๙


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๒

ไปเมื อ งนครเป็ น รู ป พระธาตุ กั บ เรื อ บิ น มี เ ท่ ง ทองฯ โบก มือต้อนรับ กับรูปพระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นโพธิ์ยังติดตา ผมอยู่ถึงทุกวันนี้ พี่ชาติเมตตาท�ำงานหนัง ๗ ชิ้นพิเศษให้ พวกเรา คือ รูปตรา "นอโม" ในกรอบดอกไม้งดงามอ่อนช้อย ซึ่งต่อมาท�ำขายกันทั่วไป ใครๆ ก็ลอกเลียนแบบไป รูปหนัง

เมื อ งท่ อ งเที่ ย วหลั ก ในประเทศไทย ที่ ส ามารถดู ด เม็ดเงินจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ อย่างเป็นกอบเป็นก�ำได้ อาทิ เมืองพัทยา เชียงใหม่ ภู เ ก็ ต เกาะสมุ ย ฯลฯ สร้ า งรายได้ ม หาศาลให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ตลอดถึ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ผลดี ท าง เศรษฐกิจแก่เมืองและประเทศโดยรวม โดยเฉพาะใน สภาวะการณ์เศรษฐกิจถดถอยในปัจจุบัน แต่การเจริญ เติบโตอย่างไร้การควบคุม ปราศจากกรอบจ�ำกัด ท�ำให้ ผลสุดท้ายเมืองท่องเที่ยวดังกล่าวหลายเมืองกลับ หมักหมมไปด้วยปัญหานานาประการ เมืองท่องเที่ยวหลักน้องใหม่ที่เริ่มมีชื่อเสียงและมี รายได้จากการท่องเที่ยวหลายเมือง เริ่มประสบชะตา กรรมไม่ แ ตกต่ า งกั น ผลกระทบด้ า นลบเกิ ด ขึ้ น กั บ เมืองและคนในท้องถิ่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่า จะเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม อาทิ ราคาที่ดินสูงขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น ปัญหายาเสพติด การบุกรุกพื้นที่ธรรมชาติ ปัญหาขยะ ล้นเมืองฯลฯ ปัญหาเหล่านี้เริ่มปรากฎเป็นข่าวในสื่อ ต่างๆ ถี่ขึ้น ในขณะที่การตรวจตรา การควบคุมดูแล ของเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่สามารถ ป้ อ งกั น หรื อ แก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า วได้ ทั น ท่ ว งที ด้ ว ย ระบบที่อุ้ยอ้ายและเคลือบแฝงไปด้วยผลประโยชน์ใน หลากหลายรูปแบบ การบังคับใช้กฎหมายอ่อนแอและ ไร้ความเข้มขลังเกือบสิ้นเชิง ด้วยผลกระทบด้านบวกของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มีอยู่อย่างมากมายมหาศาล จึงท�ำให้หลายเมืองที่มี ศักยภาพมากบ้างน้อยบ้างรวมถึงเมืองนครของเรา พยายามผลักดันให้เกิดเป็นเมืองท่องเที่ยวกันให้จงได้ แต่ความพยายามโดยมีความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจเป็น ตัวล่อ โดยปราศจากการค�ำนึงถึงผลกระทบด้านลบ ที่ จ ะติ ด ตามมา โดยเฉพาะการผลั ก ดั น ภายใต้ ห ลั ก คิดที่มีผลประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นตัวตั้งแล้ว จะกลับ กลายเป็นการส่งมอบความหายนะสู่ลูกหลานรุ่นต่อไป โดยมิได้ตั้งใจ.

มื่อสมัยเด็กๆ ด้วยความที่เป็นลูกหลานคนจีนในตลาด ท่ า วั ง ผมจึ ง แทบไม่ เ คยดู ห นั ง ตะลุ ง โนราอย่ า งจริ ง จั ง เลย จนกลับมาเป็นหมอเมืองนคร แล้วเริ่มนาคร-บวรรัตน์ ท� ำ งานด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม วรรณกรรม การศึ ก ษาและ พัฒนาท้องถิ่น จึงได้สนใจตามล�ำดับ วันเปิดสวนฯ ๑ มิ.ย. ๒๘ ยังเชิญ ๒ ศิลปินที่ต่อมาเป็นศิลปินแห่งชาติมาร่วม "ทอกเพลงบอก" เปิด คือ เพลงบอกเนตร ชลารัตน์ กับ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ส่วนตรานาครที่เลือกใช้ตัว "นอโม" นั้นก็ขอ "ลุงเห้ง โสภาพงษ์" ช่างถมมือดีแห่งเมือง ที่ต่อมาเป็นศิลปินแห่งชาติ ท�ำพานถมทองวางตรา "นอโม" ไว้ตรงกลาง ครั้งอังคาร กัลยาณพงศ์ ได้รับทั้งซีไรท์และศิลปิน แห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดงานคลาสสิค "รับอังคารกลับบ้าน เกิด" แห่จนรอบเมือง แล้วชวนกัน "กินหมฺรับกับอังคาร" ที่ เอาโคลง "วักทะเลเทใส่จาน รับประทานกับข้าวขาวฯ" ของ ท่านมาน�ำเรื่องจนกลายเป็นอีกหนึ่งประเพณีเลี้ยงต้อนรับ "กินหมฺรับดับที่" ของเมือง เพิ่งจะจัดงาน "รับอังคารกลับ บ้านเกิด" อีกรอบหลังการพระราชทานเพลิงศพและคณะ ญาติน�ำอัฐิอังคารมาบรรจุอยู่กับป้าขุ้มลุงเข็บที่ฐานเสมา วัดท่าโพธิ์ เมื่อปีที่แล้ว กับ "พี่ชาติ" หรือ "หนังสุชาติ ทรัพย์สิน" นั้น ดูเหมือน ผมจะมีส่วนร่วมและผูกพันมากกว่าใคร เริ่มจากที่ "พี่ชาติ" มีความเด่นโดดไม่เหมือนนายหนังคนไหนหลายประการ ใน ที่นี้ของยกเพียง ๓ ที่สุดของความเป็น "สุชาติ ทรัพย์สิน" แห่ง "ถนนศรีธรรมโศก" ที่ผมซูฮก หนึ่ง ฝีไม้ฝีมือและลูกเล่น "การแกะหนัง" เฉียบฉกาจ มาก ทั้ ง แบบประเพณี นิ ย มและประยุ ก ตวิ ธี ตั้ ง แต่ ก าร ออกแบบ การแกะตัด การให้สี ฯลฯ มีแม้การเว้นขนไว้ ดูได้สองด้านด้วยรสศิลปะที่แตกต่าง ในขณะที่ขนาดนั้น ก็ท�ำทั้งแบบตัวหนัง รูปหนังประดับ ของที่ระลึกกระจุก กระจิก จนกระทั่งหนังใหญ่ท�ำจากวัวทั้งตัวที่สมัยนั้นใครๆ ก็ไม่ท�ำ จนทุกวันนี้ที่ไหนๆ ใครๆ ก็พากันท�ำทั้งนั้น ซึ่งผมไม่ เคยพบเห็นว่าใครมีฝีมือเทียบเท่า ภาพแนะน�ำการบินไทย

"ต่อต้านยาเสพติด" สุดคลาสสิคที่แขวนอยู่ใน นาครฯ ตลอด ๓๐ ปีที่ผ่านมา รูปเท่งกับทอง ขนาดเท่าตัวคนจริง ส�ำหรับใช้เวลาไปออกงานหรือแห่แหน ประเพณีพิธีต่างๆ นานๆ จึงจะน�ำออกมา ล่าสุดเมื่อสองปี ก่อนตอนท�ำบุญ ๙๐ ปีแม่ พี่ชาติยังช่วยแกะ ๓ ตัวหนัง ส�ำคัญส�ำหรับพวกเราให้หนังบุญธรรมเอาไปเล่นในเรื่อง "ลูกสาวขุนบวร" ที่ รร. J W Mariott อีกด้วย สอง ลีลาการ "เล่นและพากย์หนัง" เชิงสาธิตแสดง ไม่มีใครเทียบ พี่ชาติสามารถเลือกตัวและประกอบเรื่อง เพื่อเล่นในกรอบเวลาที่ "นิมนต์" ได้แบบฉับพลันทันทีและ ไม่เคยมีใครผิดหวัง ได้รับรสทั้ง ๓ ครบ ทั้งความงดงาม แห่ ง ศิ ล ปะหนั ง ตะลุ ง ทั้ ง ความรื่ น รมย์ สุ น ทรี ย ์ ผ ่ า นภาพ ลีลาท่าทางเรื่องราวและมุขที่สนุกสนานและแพรวพราว ที่ ส�ำคัญคือเนื้อหาที่กระชับรัดกุมเกาะตรงประเด็นต่อแต่ละ ผู้ชมแบบเจ็บๆ มันๆ มีเฮและฮา และนี่ที่ส่งให้พี่ชาติได้ชื่อ ว่า "หนังหน้าที่นั่ง" เมื่อท่านผู้ว่าเอนก สิทธิประศาสน์ ซึ่ง เป็นที่ปรึกษาของสวนฯ นาครฯ ด้วย เลือกเบิกตัวพี่ชาติไป แสดงถวายหน้าพระที่นั่งที่พระต�ำหนักทักษิณ จนติดตาม กันไปทั่วแทบทุกที่และทุกๆ งานจนแทบทั่วทั้งโลก ผมนั้น แบบว่ามีงานอะไรทั้งที่จัดเองจนกระทั่งใครมาขอให้จัดการ เป็นต้อง "เชิญพี่ชาติ" ทุกทีไป หลายคนเคยถามว่า แล้วไม่มี ใครอื่นอีกหรือ ผมบอกว่ามีแต่ไม่เท่า ตอนท�ำบุญใหญ่ ๑๒๐ ปีขุนบวรและคุณยายช้อยที่บ้านบวรรัตน์ เมื่อปี ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา ผมยังขอพี่ชาติรับงานด้วยการตั้งจอเล่นกันที่หัว บันไดบ้าน ในหัวเรื่อง "ขุนบวรกับเมืองนคร" ที่พี่ชาติรู้จัก และคุ้นเคย อย่างออกรส "สุชาติ" เช่นเคย สาม ความเป็น "ยิ่งกว่านายหนัง" ของพี่ชาติน่าจะ เป็นสิ่งส�ำคัญ อันที่จริงแล้ว หลังจากติดตามงาน "หนัง ตะลุง - โนรา" ของภาคใต้อย่างต่อเนื่อง ผมเรียนรู้ว่านี้เป็น งานศิลปะชั้นสูงอย่างมาก และยากที่ใครจะท�ำได้ และยาก ยิ่งที่จะสืบสานต่อไปในโลกยุคหน้า หรือแม้แต่ในโลกหน้า เพราะว่าเฉพาะการเป็นนายหนัง (และโนรา) นั้น "คนเดียว (อ่านต่อหน้า ๑๙) เท่านั้น" ที่จะต้องวางโครงเรื่อง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๓

ปสเตอร์จากเฟซบุ๊คบ้านนิทาน รูป และข้ อ ความแจ้ ง ข่ า วจากคุ ณ หมอ รั ง สิ ต ทองสมั ค ร์ ถู ก น้ อ งนก-อารยา สารคุ ณ (ฮอนด้ า ศรี น คร) ส่ ง ต่ อ มาถึ ง ผมเมื่ อ วั น ที่ ๑๖ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ชักชวนไปฟัง เจริญ โอทอง (หมู) กับ อรวรรณ (หอวัฒนสุข) โอทอง : สามี ภรรยาคนไทยคู่แรกที่ปั่นจักรยานรอบ โลก (อ่านหนังสือ'ปั่นข้ามฝัน ๒,๐๐๐ วัน

รอบโลก) มาพู ด คุ ย กั บ นั ก ปั ่ น จั ก รยาน ชาวนครและผู้สนใจที่บ้านพักนิทาน เวลา ๕ ปี ๑๑ เดือน ๑ วัน กับ ระยะทางสภาพแตกต่ า งกั น ๔๐,๐๐๐ กิโลเมตร ใน ๔๓ ประเทศ ๖ ทวีป ที่ ภู มิ อ ากาศ วั ฒ นธรรม และผู ้ ค นแตก ต่างกัน เวลากว่า ๓ ชั่วโมงที่น้อง ๒ คน ผลั ด กั น เล่ า ผมตื้ น ตั น จนน�้ ำ ตาซึ ม โดย เฉพาะเมื่อค�ำพูดว่า 'แรงบันดาลใจ' หรือ 'ความฝัน' ออกมาจากปาก จนต้องล้วง ผ้าเช็ดหน้ามาซับเหงื่อ ผมตระหนักและ รับรู้ความหมายของค�ำว่า 'แรงบันดาลใจ' มาตั้งแต่อายุ ๒๐ ต้นๆ ผมมี ค� ำ ถามที่ อ ยากถาม เป็ น ต้ น ว่า "ระหว่างกระดูก กล้ามเนื้อและหัวใจ สองคนหล่ อ หลอมอย่ า งไรให้ เ ป็ น หนึ่ ง เดียว" หรือ "เมื่อได้ข้ามพรมแดน ๔๔ เส้น เวลาหันกลับไปมอง คุณรู้สึกอย่างไร

กับเส้นกั้นพรมแดน" ผมมี ค วามคาดหวั ง กั บ ค� ำ ถามหลั ง อย่างมาก แต่มีเหล่านักปั่นกับคนหนุ่มสาว รุ่นใหม่นั่งฟังอยู่หลายคน เกรงว่าจะปล่อย ค�ำถามเชยๆ ออกไป ผมถามน้องวรรณ ว่า "เพราะท�ำงานสถานทูตอเมริกาหรือ เปล่าที่จุดประกายให้อยากปั่นรอบโลก"

ผมคิดว่าหลักคิดอย่างนี้น่าจะเกิดในเขต วัฒนธรรมฝรั่ง ถึงเป็นค�ำถามที่น่าข�ำแต่ก็ อยากถาม น้องขบคิดอยู่ชั่วครู่ก่อนตอบ ว่า...สถานทูตมีส่วนเพราะได้พบโปรแกรม เดิ น ทางทั่ ว โลกของบริ ษั ท ทั ว ร์ ม ากมาย แต่เพื่อนฝรั่งแนะน�ำว่าถ้าเดินทางอย่างนั้น จะไม่ได้อะไร เงินทองต้องใช้มากมาย

สองคนเมื่อตัดสินใจว่าจะเดินทาง ก็ต้องเตรียมตัวเตรียมร่างกายฟิตซ้อม ให้ร่างกายแข็งแกร่ง น้องหมูต้องฝึกพูด ภาษาอังกฤษ น้องวรรณพูดภาษาอังกฤษ ดีอยู่แล้ว เมื่อตัดสินใจเดินทางจากนั้น จึงส่งเอกสารขอสปอนเซอร์ ไม่มีสปอนเซอร์ไหนมีสายตายาวไกลว่าสองคนจะ ท�ำได้ กระนั้นก็มี เดช บูลสุข ผู้บริหาร ใหญ่แมคโดนัลด์ กับสายชล พเยาว์น้อย เจ้ า ของ 'บ้ า นใร่ ก าแฟ' และผู ้ ที่ ท� ำ ให้ ผมเต็ ม ตื้ น ในน�้ ำ จิ ต น�้ ำ ใจ คื อ คุ ณ หมอ รังสิต ทองสมัคร์ ที่โอนเงินเข้าบัญชีดูแล น้องสองคนวันละ ๑,๐๐๐ บาท ตลอด ๒,๐๐๐ วัน ตลอด ๒๐๐๐ วั น น้ อ งสองคน พบกับความงดงาม ความกันดาร ผู้คน ทั้ ง หมายปองชี วิ ต และยื่ น มื อ ช่ ว ยเหลื อ อุ ป การะ ส่ ว นมากคนแปลกหน้ า หรื อ นักปั่นที่สวนทางกันแบ่งเงินดอลล่าร์ให้ เก็บไว้ใช้ด้วยหัวใจที่มีธาตุเดียวกัน ผม ไม่ ส ามารถเขี ย นความประทั บ ใจเป็ น ตัวหนังสือในหน้ากระดาษขนาดนี้ คุณ ผู้อ่านต้องไปเสาะหามาอ่านเองเผื่อจุด ประกายความคิดให้ออกไปเผชิญโลก สิ่งที่อยากเขียนเป็นพิเศษส�ำหรับ นครศรีธรรมราชของเรา ก็คือการเกิดขึ้น ของ 'บ้านพักนิทาน' ริมถนนศรีปราชญ์ บริเวณหลังวัดสระเรียงสามารถทดแทน การหายไปของ 'ร้านนาคร-บวรรัตน์' ใน ด้านการเสวนาซึ่งก่อนนี้เคยจัดมาแล้ว ๒ ครั้ง ต่อไปร้านน่าจะเป็นแหล่งเสวนาทาง ปัญญาเหมือนเชียงใหม่มี 'ร้านเล่า' ที่จัด ล้อมวงคุย 'ประเด็น' ส�ำคัญๆ อยู่บ่อยๆ บ้านพักนิทานก�ำหนด ตั ว เองให้ เ ป็ น The Old Times Boutique Homestay ในย่านนครเมืองเก่า ถ้ า เอาพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เป็นแกนกลาง... กิ จ กรรมเสวนาของ น้องวรรณกับน้องหมู เป็น สั ญ ญาณการขยั บ ตั ว เบาๆ ที่น่ายินดีอย่างยิ่ง ภาพจาก เฟซบุ๊กบ้านพักนิทาน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๘

ดือนนี้เป็นเดือนสุดท้ายของปี มีกิจกรรมของ บ้ า นของเมื อ งใหญ่ ๆ เกิ ด ขึ้ น มากมาย เริ่ ม ตั้งแต่งานเฉลิมพระชนม์พรรษาของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว แล้ ว ยั ง มี กิ จ กรรมปั ่ น

จักรยานเพื่อพ่อซึ่งคงท� ำลายสถิติโลกของจ�ำนวนผู้เข้า ร่วมปั่นในกิจกรรมเดียวกัน ปลายๆ ปีก็เป็นเทศกาล คริ ส ต์ ม าสของชาวฝรั่ ง คนไทยเรานอกจากคนที่ เ ป็ น คริสตศาสนิกชนแล้ว ก็ยังพลอยเฉลิมฉลองกับฝรั่งเขา ด้วย วันสิ้นปีเก่าต้อนรับปีใหม่ก็เป็นธรรมเนียมประเพณี อย่างสากลเขา ทางราชการ ภาคธุรกิจก็นับเอาวันนี้เป็น วันเริ่มต้นนับปีใหม่อย่างเป็นทางการ เมื่อก่อนนี้ชนชาติต่างๆ นับเอาวันเริ่มต้นการผลิต ในฤดูกาลใหม่เป็นวันเริ่มต้นปีของการผลิตในปีนั้นๆ แล้ว แต่ว่าประเทศไหนอยู่ในภูมิอากาศอย่างไร ฤดูกาลผลิต ก็ไม่ตรงกันทั้งหมดจึงมีการนับวันขึ้นต้นปีใหม่ไม่เหมือน กัน ชาวจีนก็นับวันตรุษจีนเป็นวันขึ้นปีใหม่ตามแบบจีน มีการเฉลิมฉลองกันยาวนานหลายวัน ก่อนจะเริ่มเข้า ฤดูกาลท�ำนาท�ำสวนในปีใหม่ วันปีใหม่ของคนไทยเรามีการเปลี่ยนแปลงมาหลาย ครั้ง จนมาถึงการนับเอาวันสงกรานต์เป็นวันปีใหม่ โดย ถือเอาการเคลื่อนย้ายของดวงอาทิตย์ จากราศีมีนมาสู่ ราศีเมษเป็นหลัก ก็คือการเริ่มต้นฤดูการผลิตเช่นกัน แต่ เดิมวันเคลื่อนย้ายของดวงอาทิตย์จากราศีมีนมาสู่ราศี เมษจะไม่ตรงกับวันที่ที่แน่นอน ภายหลังจึงยึดเอาวันที่ ๑๓ เมษายน ซึ่งเป็นแรกเริ่ม ก็เริ่มก�ำหนดเอาวันที่ ๑๓ เมษายนของทุกปีเป็นวันสงกรานต์ แม้การเปลี่ยนราศีจะ ไม่ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายนก็ตาม ต่อเมื่อมาราชการไทย จ�ำต้องปรับเปลี่ยนประกาศเป็นอย่างสากล จึงเปลี่ยน มาเป็นวันเริ่มต้นปีเป็นวันที่ ๑ มกราคม แต่ชาวไทยโดย ทั่วไปก็ยังถือเอาวันที่ ๑๓ เมษายน เป็นวันปีใหม่ของไทย อยู่เหมือนเดิม และมีการเฉลิมฉลองกันยาวนานหลายวัน เป็นวันครอบครัวอย่างแท้จริง วันปีใหม่สากล ๑ มกราคม ทางราชการก�ำหนดวัน หยุดให้สองวันคือวันสิ้นปีและวันเริ่มต้นปีใหม่ กิจกรรม เฉลิมฉลองกันก็คือการจัดงานปาร์ตี้เล็กบ้างใหญ่บ้าง มี การแสดงดนตรีร้องเต้นแล้วลงเอยด้วยการดื่มกินเลี้ยง เหล้าข้าวปลาอาหารอย่างฝรั่งเขา เมื่ อ ไม่ กี่ ป ี ม านี้ ไ ด้ ริ เ ริ่ ม ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรในเช้ า วั น

ขึ้นปีใหม่แบบชาวพุทธเข้ามาเสริม แต่ก็มีเฉพาะกลุ่มที่ เคร่งครัดในเรื่องเหล่านี้ ส่วนอื่นๆ ก็ต่างเฉลิมฉลองกัน จนเมามาย ลุกขึ้นมาท�ำบุญปีใหม่กันไม่ไหว ธรรมเนียม อีกอย่างที่เกิดขึ้นก็คือการอวยพรวันขึ้นปีใหม่ โดยการส่ง การ์ดอวยพรเรียกว่า ส.ค.ส. น่าจะมีค�ำเต็มว่า 'ส่งความ สุข' มีการส่งของขวัญให้ซึ่งกันและกัน ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชได้มีองค์กรเอกชนหลาย กลุ่มร่วมกันจัดกิจกรรมในวันขึ้นปีใหม่ขึ้นเมื่อปี ๒๕๕๐ คือพุทธสมาคม ชมรมธรรมจารินี ชมรมรักบ้านเกิดและ สวนหนังสือนาคร-บวรรัตน์ กิจกรรมดังกล่าวคือ 'สวด มนต์ข้ามปีบูชาพระธาตุ' มีการสวดมนต์ข้ามปีและนั่ง สมาธิภาวนาในเวลาขึ้นปีใหม่ แล้วจึงไปท�ำบุญตักบาตร พระสงฆ์ในตอนเช้า แต่การจัดปีแรกๆ ก็ต้องต่อสู้กับการ นับเค้าท์ดาวน์ (count down) ของคนรุ่นใหม่ ฝ่ายหนึ่ง สวดมนต์นั่งสมาธิภาวนา อีกส่วยหนึ่งก็ชูขวดนับเค้าท์ ดาวน์แบบฝรั่ง จุดพลุสนั่นฟ้า ดังเข้าไปถึงในวัดในโบสถ์ก็ สนุกดี ฝึกอุเบกขาไว้ แต่ก็นับเป็นอานิสงส์อันยิ่งใหญ่ที่ทางการได้มีการ เอาแบบอย่างเมืองนครไปจัดสวดมนต์ข้ามปีกันในเขตทั้ง ประเทศ ขออนุโมทนาส�ำหรับผู้ก่อการในครั้งนั้นด้วย รุ่งขึ้นอีกปีท่านอาจารย์สมพุทธ ธุระเจน ผู้อาวุโส ของเมืองนครท่านหนึ่งได้รบเร้าให้ผมช่วยจัด 'ท�ำบุญให้ ทานไฟ' ขึ้นในช่วงปีใหม่บ้าง ผมจึงออกเดินทางตระเวน ไปยังวัดต่างๆ ซึ่งขณะนั้นก็เหลือวัดที่จัดท�ำบุญนี้น้อย เต็มที ได้สอบถามจากผู้รู้ทั้งหลายรวมทั้งพระสงฆ์องค์เจ้า จนตกผลึก วันขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๒ ผมจึงได้รื้อฟื้น 'บุญให้ ทานไฟ' ขึ้นที่ลานพระบรมธาตุฯ หลังจากสวดมนต์ข้าม ปีผ่านไปแล้ว ก็มีการนั่งสมาธิภาวนากันในวิหารหลวง และหาดทรายแก้วพระบรมธาตุ ตี ๔ ก็เริ่มก่อกองไฟ พุทธศาสนิกชนทั้งหลายก็เริ่มจัดแจงท�ำขนม ท�ำอาหาร กันที่ข้างกองไฟลานพระบรมธาตุเพื่อท�ำอาหารร้อนๆ ถวายพระคุณเจ้า ได้เวลาไฟชุมก็นิมนต์พระสงฆ์สามเณร มายังศาลาแคร่ที่เตรียมไว้ เพื่อถวายความอบอุ่นให้แก่ >> อ่านต่อหน้า ๙ พระภิกษุสงฆ์

วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายพีระศักดิ์ หิน เมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เชิญพวงมาลา ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว , สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี, ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัลยา สิริ วัฒนาพรรณวดี และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ วางหน้าหีบศพนายสุชาติ ทรัพย์สิน ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ปี ๒๕๔๙ อายุ ๗๗ ปี ที่ถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา ณ ศาลา ๑๐๐ ปี วัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหาร หัวหน้าส่วนราชการ ครอบครัว ญาติมิตร และคณะลูกศิษย์ร่วมในพิธีต่างปลาบปลื้มและซาบซึ้งในพระ มหากรุณาธิคุณ รองผู้ว่าฯ พงศ์เทพ ไข่มุกด์ แจ้งว่า ชาวนครลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๘๘ 'ปั่นเพื่อพ่อ BIKE FOR DAD' ในวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๑๐,๘๑๙ คน

วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม เป็นประธาน ทอดกฐินสามัคคี ณ วัดสามัคคีธรรมวนาราม (วัดบางมูลนาก) ต.ชะเมา อ.ปากพนัง มีนายทหารนายต�ำรวจข้าราชการและ ประชาชนจ�ำนวนมากให้การต้อนรับ รองนายกฯได้จตุปัจจัย เพื่อท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาและบูรณะวัด ๑,๖๖๖,๐๓๖ บาท


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๕

ประชุมวีดีโอคอนเฟอร์เร้นท์เรื่องการใช้เม็ดเงินก้อน ใหญ่...วัน ที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถาวรวั ฒ น์ คงแก้ ว ปลัดจังหวัดนครฯ ร่วมประชุมเรื่องการติดตามการด�ำเนินงาน โครงการตามมาตรการ (ต�ำบลละ ๕ ล้านบาท) ส่งเสริมความ เป็นอยู่ระดับต�ำบลจากผู้แทนกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ ซึ่ง กฤษฎา บุญราช ปลัดฯ มหาดไทยเป็น ประธานชี้แจงให้การด�ำเนินการไปในทางเดียวกันและสุจริต โดย สรรเสริญ พลเจียก เลขาฯ ปปช. ย�้ำให้ ปปช.จังหวัดดูแล ใกล้ชิด และเริ่มตรวจสอบตั้งแต่ธันวาคม ๒๕๕๘ – กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ หากพบการทุจริตต้องรายงานส่วนกลางทันที ถ้าเสีย หายหรือบกพร่องรีบแจ้งผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อหาทางแก้ไข จ.นครฯ มี ๑๗๐ ต�ำบล ๘๕๐ ล้านบาท

วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ พระพรหมจริยาภรณ์ เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดกะพังสุรินทร์เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ์ในพิธถี วายมหาสังฆทานแด่คณะสงฆ์ภาค ๑๖-๑๗-๑๘ ผู้ว่าฯพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า เป็นประธานฝ่ายฆราวาส กิจกรรม นี้จัดเพื่อท�ำนุบ�ำรุงและฟื้นฟูพระพุทธศาสนา และสร้างศาสน ทายาท เพื่อช่วยรักษาสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาเนื่องจาก สังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ท�ำได้จริงชาวบ้านจะสรรเสริญ...อุ ส ่ า ห์ ดวงจั น ทร์ รองประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดนครฯ บอกว่า หน่วยงานก�ำลังติดตามการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์กับ ประชาชน กังวลเกี่ยวกับโครงการต่างๆ ขอให้สอบถาม โดย ผนึกก�ำลังกับ ปปช. ดีเอสไอ สตง. และ ปปท. เริ่มต้นที่สนาม กีฬากลางจังหวัดดีไหมทั่น

นภสร ค้าขาย ผอ.ททท.สนง.นครฯ แจ้งว่าปี ๒๕๕๙ ททท. จะต่ อ ยอดโครงการ 'เมื อ งต้ อ งห้ า ม...พลาด Plus' โดยส่ ง ขยายเส้ น ทางเมื อ งนคร-พั ท ลุ ง ปลุ ก ปั ้ น เส้ น ทาง วัดพระมหาธาตุฯ สู่วัดเขียนบางแก้ว (วัฒนธรรม ธรรมชาติและ ธรรมะ) ผ่านทะเลสาบล�ำป�ำและทะเลน้อยต่อสายกับหมู่บ้าน คีรีวง ฝันหวานว่าจะมีนักท่องเที่ยว ๓ ล้านขึ้น สร้างรายได้กว่า ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท

น่าชื่นชม...วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ 'โกจ้อง' บรรจง ชีวะพันธ์ศักดิ์ กรรมการบริหารบริษัทฮอนด้าศรีนคร เข้ า รั บ เกี ย รติ บั ต รจากรองผู ้ ว ่ า ฯ พงศ์ เ ทพ ไข่ มุ ก ด์ เนื่ อ ง ในโอกาสบริษัทฮอนด้าศรีนครได้รับ 'รางวัลสถานประกอบ กิจการโครงการโรงงานสีขาว' จากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดนครฯ

ปาลิกา จึงไพศาล กับเพื่อนๆ เป็นตัวแทนสโมสร ไลออนส์นครศรีฯ ชมรมเพื่อนเพลงและชมรมคบกันด้วยใจ มอบของขวัญแก่ 'ปิงปอง' เวธกา เพ็ชรสุข รอง Miss International Thailand ๒๐๑๕ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ คว้ามงกุฏ Miss Global Beauty Queen ๒๐๑๕ จาก กรุงโซล เกาหลีใต้

วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ปาลิกา จึงไพศาล ร่วมแสดง ความยินดีงานมงคลสมรสระหว่าง พนิดา หงสุชน กับ ปภณ ชัยพฤกษ์เดชา

วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๘ พลต� ำ รวจเอก อดุ ล ย์ แสงสิงแก้ว รมว.การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ลงพื้นที่ติดตามการด�ำเนินงานโครงการธัญบุรีโมเดล ณ สถาน คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งภาคใต้ อ.สิชล จ.นครฯ น.ส.สมลักษณ์ ขนอม ผอ.สถานคุ้มครองฯ แจ้งว่าปัจจุบันมีผู้ใช้บริการ ๔๑๒ มิตซูชูเกียรติยนต์ นคร จัดงาน All New Pajero คน เป็นคนไร้ที่พึ่ง ๓๙๒ คน ขอทาน ๒๐ คน ได้จัดพื้นที่ ๖๐ ไร่ ปลูกปาล์มน�้ำมัน ผลไม้ ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่พื้นเมือง Sport Day เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ ซึ่งเป็นงานทดลอง ปลาดุก ปลานิล โรงเพาะเห็ด และหมูพันธุ์พื้นเมือง ปี ๒๕๕๘ ขับรถตัวใหม่ครั้งแรกของโลกและส่งมอบรถ All New Pajero Sport ให้กับลูกค้าที่ออกรถเป็นคันแรก มีรายได้ ๙๖,๗๕๔

'โกจ้อง' ผู้ใหญ่แห่งฮอนด้าศรีนครกับคณะร่วมแสดง ความยินดี ในงาน Grand Opening กับคณะผู้บริหารฮอนด้า เทิดพระเกียรติ “Cheers to a new year and another chance for us to get it right.” Oprah Winfrey พบกันใหม่ฉบับเดือนมกราคม ๒๕๕๙

Find Us On :

boonada

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Boonpalika

Seekuang BJ

099-195-6996

WWW.SEEKUANG.COM

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF

NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) 2. Sahathai Plaza Gold 3. Ta Ma 4. Hau It 5. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 6. Weekend Market On-line Shop 7. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 8. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

หตุ ก ารณ์ น�้ ำ ป่ า ไหลหลากกระชากซุ ง นั บ พั น ๆ ท่ อ น ไหลตามน�้ำโคลนไปกระแทกท� ำลายและกลบฝังบ้าน เรือนชาวบ้าน 'บ้านกะทูน' และ 'บ้านห้วยโก' อ.พิปูน จ.นครศรีธรรมราช เพิ่งครบรอบ ๒๗ ปี โศกนาฏกรรมจากภั ย ธรรมชาติ ที่ มี ค นตายนั บ ร้อยคนเงียบหายไร้คนบันทึก วันนี้ กิตติศักดิ์ คเชนทร์ เด็กหนุ่มชาวพิปูน ซึ่งช่วงวัยเด็กได้ประสบเหตุการณ์และ ยังเหลือความทรงจ�ำอยู่บ้างได้ท�ำหน้าที่เก็บเรื่องราวที่ เกิดขึ้นไว้ในรูป 'นวนิยาย' รอการตีพิมพ์เป็นเล่มอีก ๒-๓ เดือนข้างหน้า กิตติศักดิ์ คเชนทร์ หรือต้อย พิปูน (ฉายาในวงการ พระเครื่องและวัตถุมงคล) เล่ากับ 'รักบ้านเกิด' ว่า "ผม ชอบอ่านหนังสือและหัดเขียนเรื่องสั้นอย่างคนอยากเขียน เขียนโดยไม่รู้วิธี แต่อยากเขียนเก็บไว้อ่านเอง หรือให้ เพื่อนที่เคยแนะน�ำให้อ่านหนังสือได้อ่าน เมื่อสี่ปีก่อนได้

พบอาจารย์จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร ที่ร้านลิกอร์ ผมเข้ามาซื้อ ขายพระ เลยเข้าไปไหว้ทักทายเอาเรื่องสั้นให้อาจารย์อ่าน เผื่อได้ค�ำแนะน�ำ" กิตติศักดิ์ เล่าว่า เขาเขียนเรื่องสั้น ๓-๔ เรื่องมาให้ นักเขียนอาวุโสอ่าน บางเรื่องอาจารย์ก็เงียบไป บางเรื่อง ได้รับค�ำแนะน�ำให้กลับไปเขียนใหม่ เขียนใหม่เอามาส่งก็ เกิดความรู้ขึ้นมาทีละน้อยๆ เรื่องย่อหน้า เรื่องวรรคตอน เรื่องการใช้ภาษา “อาจารย์หาหนังสือดีๆ ให้ผมอ่าน อย่าง 'โลกใน ร้านตัดผม' รวมเรื่องสั้นของนักเขียนฝรั่งหลายคน อ่าน แล้วชอบ โดยเฉพาะเรื่องของวิลเลี่ยม ซาโรยัน อาจารย์ เอานิยายเรื่อง 'ความสุขแห่งชีวิต' ของวิลเลียม ซาโรยัน ให้อ่านอีกเล่ม เรื่องนี้ผมชอบมาก ผมอ่านสองครั้ง แล้วหา

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ซื้อหนังสือมือสองมาเก็บไว้เอง ตอนนั้นผมรู้สึกอยากเขียน นิยายบ้าง" ต่อมาเขาได้รู้จักกับศิริวร แก้วกาญจน์ นักเขียน รางวัลศิลปาธร กับ จเด็จ ก�ำจรเดช นักเขียนรางวัลซีไรต์ ได้พูดคุยได้รับค�ำแนะน�ำ วันหนึ่งศิริวรซื้อหนังสือ 'เพื่อน ยาก' ของจอห์น สไตน์เบ็ค มาฝาก “พี่วรเอามาฝากและอยากให้ผมอ่านนิยายเรื่องนี้ ให้จบ ผมประทับใจมาก จนอยากอ่านงานเขียนของนัก เขียนคนนี้ให้มากที่สุด อาจารย์ให้ผมยืมอ่านนิยาย 'ลูก ม้าสีทอง' หรือ 'ไข่มุก' (มหามุกดา) ยิ่งประทับใจจอห์น สไตน์เบ็ค" กิตติศักดิ์เปิดเผย “วั น หนึ่ ง ผมนั่ ง ดื่ ม กาแฟกั บ อาจารย์ ผมบอกว่ า อยากเขียนนิยายสักเรื่อง ผมไม่ทราบว่าอาจารย์คิดอะไร อยู่ นาทีต่อมาอาจารย์บอกว่าเป็นคนพิปูนเกิดที่นั่นอยู่ ใกล้ๆ กะทูน น่าจะเขียนเรื่องซุงถล่มบ้านที่ยังไม่มีใครเคย เขียนมาก่อน มันเป็นโศกนาฏกรรมที่ใหญ่มากตอนเกิด เหตุการณ์อาจารย์ยังอยู่กรุงเทพฯ เขียนไม่ได้ ผมเลยกลับ ไปถามพ่อแม่กับญาติๆ ที่ประสบเหตุการณ์ซุงถล่มแล้ว ลงมือเขียน มันยากส�ำหรับคนเพิ่งเขียน...วันหนึ่งผมมา เล่าให้อาจารย์ฟัง...ว่า...ผมขึ้นต้นบทที่หนึ่งว่า 'พ่อก� ำลัง สร้างบ้าน'...อาจารย์ตั้งชื่อให้เลยนาทีนั่นว่า 'บ้านในโคลน' ภาพต่างๆ ค่อยๆ ชัดเจนขึ้น ผมใช้เวลาหลายเดือนเขียน นิยายเสร็จ เขียนไปปรึกษาไปครับ" ต้นฉบับนิยาย 'บ้านในโคลน' หนาร่วม ๒๐๐ หน้า กระดาษเอสี่ ถูกส่งไปยังศิริวร แก้วกาญจน์, จเด็จ ก�ำจรเดช และจ� ำ ลอง ฝั ่ ง ชลจิ ต ร สองคนแรกอ่ า นจบอย่ า ง รวดเร็ ว แนะน� ำ ให้ แ ก้ ไ ขบางตอน ส่ ว นคนที่ เ ขาเรี ย ก อาจารย์ใช้เวลานานมาก เพราะอ่านแล้วแก้ไขขัดเกลา ชี้ให้เห็นข้อผิดพลาดพร้อมค�ำแนะน�ำเรื่องส�ำนวนภาษา ส่งกลับไปให้เขาแก้ไขเพิ่มเติม... เขาใช้เวลา ๒-๓ เดือนแก้ไขปรับปรุงและเพิ่มเติม เรื่องราวที่หลั่งไหลเข้ามา ขณะนี้ต้นฉบับแก้ไขปรับปรุง ครั้งที่ ๒ ก�ำลังจะแล้วเสร็จ ส�ำนักพิมพ์แห่งหนึ่งก�ำลัง จะจั ด พิ ม พ์ น วนิ ย าย บั น ทึ ก เรื่ อ งราวเหตุ ก ารณ์ น�้ ำ ป่ า ไหลหลากหอบซุงนับร้อยๆ ท่อนเข้าถล่มบ้านกะทูนเมื่อ ปี ๒๕๓๑ ไว้เป็นหลักฐาน “ถ้าผมไม่ได้พบอาจารย์กับพี่ๆ นักเขียน ผมคงไม่ สามารถเขียนเรื่องนี้ได้ด้วยตัวเอง" กิตติศักดิ์ คเชนทร์ บอก กั บ 'รั ก บ้ า นเกิ ด ' ขณะนี้ เ ขา ก� ำ ลั ง อ่ า นและศึ ก ษานวนิ ย าย หนาหลายร้อยหน้าเรื่อง 'อีสท์ ออฟ อีเดน' (East of Eden) ของนั ก รางวั ล โนเบล ชาว อเมริกา จอห์น สไตน์เบ็ค อย่าง ขะมักเขม้น อยากเรี ย นว่ า 'บ้ า นใน โคลน' เป็นนิยายที่ชาวนครควร ได้อ่าน กับจเด็จ ก�ำจรเดช นักเขียนรางวัล ซีไรต์ และศิริวร แก้วกาญจน์ นักเขียนรางวัลศิลปาธร


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๗

มอ่านข่าวจาก MSN “การเงินและ การลงทุน” เขียนถึงจังหวัดบุรีรัมย์ คือ เมื่อวันที่ ๑๖ พ.ย. ๒๕๕๘ ประชาชาติ ธุรกิจจัดงานสัมนา “บุรีรัมย์ Next Step เดสติเนชั่นประเทศไทย” ณ ห้องวีไอพี สนามช้ า งอิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล เซอร์ กิ ต จ.บุรีรัมย์ ในช่วงหนึ่ง นายเนวิน ชิดชอบ ประธานบริ ห ารสโมสรฟุ ต บอลบุ รี รั ม ย์ ยูไนเต็ด ได้ร่วมอภิปรายโดยกล่าวว่า จะ ท�ำให้ “บุรีรัมย์เป็นสถานที่ฟื้นฟูสุขภาพ ของทุกเพศทุกวัย” มาวันนี้ “บุรีรัมย์ได้ พิสูจน์แล้วว่ามีศักยภาพในการเป็นเดสติ เ นชั่ น และสปอร์ ต -อี เ ว้ น ท์ หลั ก ของ เมืองไทย จะเติบโตไปอีกอย่างเข้มแข็ง ด้วยความคิดสร้างสรรค์ที่ไม่หยุดนิ่ง” มี ค� ำ กล่ า วของนั ก การตลาดที่ ร ่ ว มสั ม นา ด้วย “ความส�ำเร็จเกิดจากความไม่รู้ รู้มากก็คิดมาก รู้เยอะจึงไม่กล้าเพราะ กลัวไม่พร้อม กลัวที่จะเจ๊ง ความส�ำเร็จ จริ ง ๆ ต้ อ งทดลองท� ำ สม�่ ำ เสมอ ทาง สายใหม่เกิดขึ้นเพราะความไม่รู้ เวลา ท�ำธุรกิจ อย่าคิดว่าต้องรู้ครบ ๑๐๐% ลองเสียบ้างก็ได้และเต็มที่กับมัน ความ ล้ ม เหลวเกิ ด ขึ้ น ยากมาก” ตั ว อย่ า ง การสร้างเมืองด้วย “กีฬา” สร้างความ มหัศจรรย์ให้กับจังหวัดบุรีรัมย์ นับเป็น เวลากว่า ๔ ปี แล้วที่ “บุรีรัมย์” เดิน หน้าพัฒนาเมืองสู่การเป็น “สปอร์ตซิตี้” หลังเบิกโรงด้วยสนามไอโมบายสเตเดียม หรือธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม และสนาม ช้างอินเตอร์เนชั่นแนลเซอร์กิต ที่ปลุก

เครดิตรูป www.skyscrapercity.com

ทั้งเมืองให้คึกคักด้วยแมตซ์ฟุตบอลและ อีเวนต์แข่งรถรวมกว่า ๑๐๐ อีเวนต์ต่อปี ท�ำให้บุรีรัมย์ได้รับความสนใจจากกลุ่มทุน ขนาดใหญ่ ทั้ ง ภาคบริ ก ารและค้ า ปลี ก ที่ ทยอยเข้ามาปักธงลงทุนสร้างธุรกิจต่างๆ มากมาย ขณะเดี ย วกั น หลายธุ ร กิ จ ใน จังหวัดก็ได้รับอานิสงค์ด้วยโดยเฉพาะร้าน ค้า-ร้านอาหาร ธุรกิจโรงแรมที่พักเติบโต อย่างต่อเนื่อง การสร้างเมืองเป็น “Lifestyle Healthy Sport” ของบุรีรัมย์กลาย เป็ น จุ ด แข็ ง ของเมื อ งนี้ ที่ ไ ม่ มี ใ ครเหมื อ น และไม่เหมือนใคร” กลั บ มาที่ น ครศรี ธ รรมราช แล้ ว ภาคเอกชนท้ อ งถิ่ น คิ ด อย่ า งไร? กั บ การ พั ฒ นาเมื อ งให้ เ ป็ น จุ ด แข็ ง ในการเป็ น เดสติเนชั่นของเมืองไทยเพื่อต้อนรับการ เปิด AEC หากเราเปิดใจถอดบทเรียนจาก “บุรีรัมย์” อะไรคือจุดเปลี่ยน? อะไรท�ำให้ เปลี่ ย นแปลงได้ ถึ ง ขนาดนี้ มี ค นคิ ด ใหญ่ ฝันใหญ่ อย่างคุณเนวิน ชิดชอบ และทีม งานซึ่งเป็นภาคเอกชนร่วมกันสร้างและ พัฒนาความคิด-ความฝัน-เป้าหมายให้เป็น จริง ด้วยความกล้าลงทุนท�ำในสิ่งที่ไม่น่า จะเป็นไปได้ในเมืองที่ห่างไกลและยากจน ให้เป็นไปแล้วพิสูจน์แล้วว่ามีอยู่จริง สัมผัส ได้ การเติบโตของเมืองจึงต้องอาศัยภาค

เอกชนเป็ น ตั ว น� ำ ในการขั บ เคลื่ อ นโดยมี ภาครั ฐ สนั บ สนุ น ในด้ า นสาธารณู ป โภค และอื่นๆ ค�ำถามก็คือ แล้วเมืองนครบ้านเรา มี โ อกาสที่ ภ าคเอกชนท้ อ งถิ่ น จะลุ ก ขึ้ น มาขั บ เคลื่ อ นมี ค วามเป็ น ไปได้ ม ากน้ อ ย เพียงใด? นี่คือประเด็นใหญ่ที่ไม่อาจมอง ข้ามได้ ท�ำอย่างไรให้ภาคเอกชนมองเห็น โอกาสและศักยภาพที่มีอยู่ของเมืองนคร แล้วกล้าฝัน คิดใหญ่ สร้างความเป็นไปได้ ท�ำให้มันเกิดเป็นจริงให้ได้ นับว่าเป็นเรื่อง ท้าทายอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว ในส่วนตัว ผมยังมีความเชื่อเล็กๆ ว่า ในที่สุดก็ต้องมี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในไม่ช้าก็เร็ว ท�ำไมผมเชื่อเช่นนั้น ขอยกตัวอย่าง “ถนนพั ฒ นาการคู ข วาง” ในอดี ต เมื อ ๒๐ ปี ที่ แ ล้ ว ได้ ถู ก กลุ ่ ม ทุ น ท้ อ งถิ่ น คิ ด ใหญ่ กล้าท�ำ เปิดห้างสรรพสินค้าโอเชี่ยน (โรบินสัน-โอเชี่ยน) โรงแรม ๕ ดาว ทวิน โลตัส มีห้างค้าปลีกในเครือซีพี คือ โลตัส (Tesco Lotus) มาวันนี้ถนนสายนี้กลาย เป็ น ถนนเศรษฐกิ จ ของเมื อ งนครไปแล้ ว การเปิดโครงการขนาดใหญ่ของ Central Plaza ที่สี่แยกหัวถนนในต้นเดือนสิงหาคม ปี ๒๕๕๙ ก็ยังท�ำให้บริเวณใกล้เคียงมีการ เติบโต ถนนเทิดพระเกียรติที่ถูกสร้างขึ้น

มารับการขยายตัวของเมืองก็เริ่มมีการ พั ฒ นาเป็ น ถนนเศรษฐกิ จ เส้ น ใหม่ ต ่ อ ไปในอนาคตและที่น่าจับตามองอีกเส้น หนึ่งก็คือ ถนนเลียบทางรถไฟเส้นทาง เลี่ยงเมืองมาออกถนนนครศรี- ทุ่งสง ก็ จะได้รับอานิสงค์จากการเติบโตของย่าน เศรษฐกิจใหม่ พื้นที่ใกล้เคียงโครงการ “Central Plaza” ส่งผลให้ที่ดินในย่าน อ�ำเภอพระพรหมราคาขยับตัวสูงขึ้น จาก พื้นที่ลุ่มน�้ำจะถูกถมที่สร้างความเจริญ ทางการค้าและบริการ-ที่พักอาศัย ก็ย่อม ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการน�้ำใน อนาคตเช่นกัน ภาครัฐจึงต้องมองภาพนี้ ให้เห็นไปด้วยกันและออกแบบวางแผน ป้องกันควบคู่ไปด้วย ที่ เ ขี ย นมาก็ ยั ง ไม่ เ ห็ น ภาพชั ด เจน ว่ า จะท� ำ ให้ น ครเป็ น เดสติ เ นชั่ น ของ เมืองไทยได้อย่างไร? ก็ได้แต่หวังว่าภาค เอกชนท้ อ งถิ่ น จะได้ ลุ ก ขึ้ น มาแบกรั บ ภาระอันหนักหน่วงนี้ ค�ำถามแล้ว เขาผู้ นั้นคือใคร? กลุ่มใด? นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ พ.ย. ๕๙

เดือนธันวาคม ๒๕๕๘ วันพฤหัสบดีที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๘ แรม ๘ ค�่ำ เดือนสิบสอง(๑๒) ปีมะแม วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบสอง(๑๒) ปีมะแม วันศุกร์ที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนอ้าย(๑) ปีมะแม วันศุกร์ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนอ้าย(๑) ปีมะแม


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวว่า ขณะนี้การ เสนอพระธาตุเจดีย์เป็นมรดกโลกก้าวหน้าไปตามล�ำดับ แต่สิ่งหนึ่งที่ต้องท�ำอย่างเร่งด่วนก็คือการปรับปรุง วัด พระมหาธาตุวรมหาวิหารฯ ยังต้องท�ำอีกหลายเรื่อง "ขณะนี้เงินหลวงก็ทุ่มไปเยอะแล้ว แต่ผมค่อนข้าง จะแน่ใจว่าเราคงต้องซ่อมยอดพระธาตุฯใหม่อีกรอบ แล้วล่ะ นี่ผู้ว่าฯ พูดนะ เพราะผมขึ้นไปดูแล้ว ทองที่หุ้ม มันยุบลงไป ยุบไปเพราะปูนยุบแล้วดูดทองลงไป เมื่อ ซ่อมแล้วทีนี้อยู่อีกนาน ปลียอดพระบรมธาตุฯก็กร่อน ทีนี้เป็นข่าวดี...ผมเหมือนมีเซ้นส์อะไรบางอย่าง ผมบอก ให้ส�ำนักงานจังหวัดของบฯ จากกลุ่มจังหวัดขอไป ๔๐ กว่าล้านเขาให้มา ๓๐ กว่าล้านบาทเข้าล็อคพอดี ก็จะ เอางบนี้มาซ่อม ถ้าไม่พอก็ขอบริจาค ทีนี้มันโยงใยมาถึง กองทุนที่มีอยู่ ท�ำไมเงินหลวงมีไม่เอามาใช้ แต่กองทุน มรดกโลกมันไม่พอ จะท�ำอย่างไรกัน ก็ประชุมเรื่องท�ำ ของที่ระลึกระดมทุน" นายพีระศักดิ์ เล่าว่าเรื่องท�ำของ ที่ระลึกมีผู้แนะน�ำว่าต้องปรึกษาหารือนายทวี พลายด้วง อดีตอาจารย์วิทยาลัยศิลปหัตถกรรม ที่มีผลงาน ออกแบบวัตถุมงคลและงานศิลปกรรมทางศาสนา "ผมเลยให้ติดต่ออาจารย์ทวี พลายด้วง มาปรึกษา หารือว่าจะท�ำอะไร ในที่สุดก็มีแนวคิดว่าจะท�ำองค์พระ บรมธาตุฯ เป็นของที่ระลึก อาจารย์ทวีออกแบบอย่าง สวยมาก ท�ำจากวัสดุอย่างดี ข้างบนยอดหมุนออกได้ เพื่อใส่พระสารีริกธาตุฯ ซึ่งผมจะไปขอวัดบวรนิเวศราขวรวิหารมา ส่วนใต้ฐานใส่จตุคามรามเทพเป็นแว่น เขาท� ำ มื อ ท� ำ สวยสุ ด ยอด เราท� ำ แค่ ๑,๐๐๐ องค์ เท่านั้น" นายพีระศักดิ์ กล่าว ต่อมา 'รักบ้านเกิด' ได้สอบถามนายทวี พลายด้วง ผู ้ อ อกแบบและหล่ อ องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ที่ ร ะลึ ก นายทวีเปิดเผยว่า "ตอนท่านพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า มา รับต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดใหม่ๆ ท่านได้ไปกราบ

พระเทพวิ น ยาภรณ์ เจ้ า อาวาสวั ด พระมหาธาตุ ว รวิ ห าร และมี ก าร ปรารภเรื่อง 'พระบรมธาตุฯ สู่มรดก โลก' โดยเฉพาะเรื่ อ งงบประมาณ สนับสนุนจากรัฐ แต่อย่างไรก็ตาม จะต้ อ งมี ก องทุ น ส� ำ รองสนั บ สนุ น อยู่บ้าง ถ้าหากต้องการของอย่างนี้ ให้ลองหารือกับอาจารย์ทวี พลายด้ ว ง นายราชิ ต สุ ด พุ ่ ม อดี ต ปลั ด จั ง หวั ด ได้ ติ ด ต่ อ ชวนผมไปหารื อ เรื่องแนวความคิดในการจัดท�ำของ ที่ระลึกไว้ระดมทุน ผมได้ออกแบบ บรมธาตุเจดีย์จ�ำลองขึ้นมา แล้วเอา มาประชุ ม วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ป รั บ แก้ กัน ๖-๗ ครั้ง โดยออกแบบให้ส่วน บนเป็นเกลียวบิดเปิดออกได้ ข้างใน

บรรจุพระสารีริกธาตุที่ได้รับ จากวัดพระมหาธาตุฯ และวัด บวรนิเวศราชวรวิหาร ตั้งแต่ กลีบบัวขึ้นไปถึงยอดจะลงรัก ปิดทอง ใต้ฐานพระเจดีย์ทรง สี่ เ หลี่ ย มบรรจุ วั ต ถุ ม งคลจตุ คามรามเทพ ๑ แว่ น รอบ ฐานมี ผ ้ า พระบฏพร้ อ มเรื่ อ ง ราวต่างๆ ที่ส�ำคัญมีโค้ดนอโม ระบุหมายเลขทุกองค์ พร้อม ชื่อรุ่นก�ำกับไว้ "เรื่องพระธาตุ สู ่ ม รดกโลกผมต้ อ งขอบคุ ณ คุ ณ สุ ร โรจน์ มวลมั ง สอ กั บ คณะสี่ ห ้ า คนที่ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ นครโพสต์ ที่จุดประกายและ รณรงค์เรื่องการน�ำเสนอพระ บรมธาตุเจดีย์เป็นมรดกโลก การออกแบบหล่อเรซิ่นงานนี้ นายทวี พลายด้วง ผมท�ำเต็มที่เพื่อบ้านเมืองของ เรา" นายทวี พลายด้วงกล่าว นายทวี กล่าวเพิ่มเติมว่า พระบรมธาตุเจดีย์จ�ำลอง หล่อด้วยเรซิ่นใกล้จะเสร็จครบ ๑,๐๐๐ องค์ ขณะนี้ ก�ำลังอยู่ระหว่างจัดท�ำบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามซึ่งตนเชื่อ ว่าหลังพิธีพุทธาภิเษกจ�ำนวน ๑,๐๐๐ องค์ไม่น่าเพียง พอต่อความต้องการ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรี ธ รรมราช กล่ า วถึ ง ความคื บ หน้ า ว่ า "ขณะนี้ อยู ่ ร ะหว่ า งท� ำ โบรชั ว ร์ วั น ที่ ๑๙ ธั น วาคม ๒๕๕๘ ประกอบพิธีปลุกเสก พระศรีธรรมประสาธน์ (ไมตรี ปภารตโน) เป็นเจ้าภาพ แล้วนิมนต์พระเกจิอาจารย์ มาร่วมอธิษฐานจิต อยากเรียนว่าที่ฐานองค์พระธาตุ เจดี ย ์ ที่ ร ะลึ ก จะบุ ผ ้ า พระบฏจารึ ก ว่ า 'พระมหาธาตุ เจดีย์จังหวัดนครศรีธรรมราช รุ่น มรดกโลก' ผมคิดว่า ผู้ศรัทธาน่าจะมีไว้บูชาภายในบ้านเรือนหรือส�ำนักงาน ค่ า เช่ า บู ช าองค์ ล ะ ๑๔,๙๙๙ บาท" นายพี ร ะศั ก ดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวเชิญชวน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๙

รายงาน จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ านั ก เรี ย นนั ก ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๗ 'นครศรีธรรมราชเกมส์' ระหว่างวันที่ ๒๓๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ นายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า กล่าวว่า การแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาครั้งที่ ๓๗ 'นครศรีธรรมราชเกมส์ ' ระหว่ า งวั น ที่ ๒๓-๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ มีการแข่งขัน ๓๗ ชนิ ด กี ฬ า คาดว่ า มี ค ณะนั ก กี ฬ า และเจ้ า หน้ า ที่ เ ดิ น ทางมาเข้ า ร่ ว ม ประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน จึ ง ต้ อ ง ขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้จัดการ แข่งขันประสบความส�ำเร็จ ทั้งด้านการประชาสัมพันธ์ และการเชียร์ โดยติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์หน้าหน่วย งานและสถานศึ ก ษาทุ ก แห่ ง ส่ ว นการเชี ย ร์ อ ยากให้ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาร่ ว มชมและเชี ย ร์ ก ารแข่ ง ขั น กี ฬ า ทุกสนาม นายพี ร ะศั ก ดิ์ กล่ า วว่ า ขณะนี้ จั ง หวั ด ได้ จั ด ประกวดค� ำ ขวั ญ เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม โดยแบ่ ง เป็ น ๓ ระดั บ คื อ ระดั บ ประถม

ศึกษา มัธยมศึกษา และ อาชี ว ศึ ก ษาและอุ ด มศึกษา ก� ำ หนดเงิ น รางวั ล ประเภทละ ๔ รางวั ล รวมทั้ ง สิ้ น ๔๕,๐๐๐ บาท คณะกรรมการจะ พิ จ ารณาน� ำ ค� ำ ขวั ญ ที่ ช นะเลิ ศ ค� ำ ขวั ญ ใดค� ำ ขวั ญ หนึ่ ง มาเป็นค�ำขวัญประจ�ำการแข่งขัน (ขณะนี้ปิดก�ำหนด การประกวดแล้ว) นายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมืองเก่า กล่าวกับ 'รักบ้าน เกิด' ว่า การแข่งขันกีฬา นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๒๗ จังหวัดนครศรีธรรมราชรั บ ต่ อ มาจากจั ง หวั ด เชียงราย ครั้งต่อไปจังหวัด นครราชสี ม าจะเป็ น เจ้ า ภาพ จั ง หวั ด เชี ย งรายใช้ งบ ๓๖ ล้านบาท จังหวัด นครศรีธรรมราชกรมพล-

ศึกษาจัดงบประมาณมาให้ ๑๖ ล้านบาท "เราต้องหา อีก แต่เราเอาแค่ ๒๑ ล้าน เราจะเอาเงินมาจากไหน เราประชุมท�ำเสื้อขาย เน้นนักเรียนนักกีฬา เราท�ำเสื้อ ยืดคอกลมที่ระลึก ๕๐,๐๐๐ ตัว สีด�ำกับสีขาว ต้นทุน ๑๔๐ บาท จ�ำหน่ายตัวละ ๑๙๐ บาท เราสั่งตัดเอง ไม่ได้ซื้อปลีก แล้วใช้ผ้าอย่างดี ออกแบบสวย ไม่มีส่วน ต่างเปอร์เซ็นต์อะไร เราท�ำให้บ้านให้เมือง ผมอยากขอ ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาน ศึกษา และประชาชนร่วมสนับสนุนด้วย" นายพีระศักดิ์ กล่าว ผู ้ ส นใจสั่ ง จองหรื อ ซื้ อ ได้ ที่ ที่ ท� ำ การปกครอง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัด นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๔

เรียกว่า 'ให้ทานไฟ' เสร็จแล้วก็ถวายอาหารและขนม ที่ยังร้อนๆ อยู่แก่พระภิกษุสามเณร หลังจากนั้นก็ชวน กันรับประทานอาหารร่วมกัน บ้างก็น�ำขนมไปฝากผู้เฒ่า ผู้แก่ที่อยู่กับบ้าน ฝากเด็กเล็กเด็กน้อย หรือไม่ก็น� ำไป ฝากเพื่อนฝูงหรือผู้ยากไร้ ได้ทั้งบุญได้ทั้งทาน ปีนี้ก็จัดขึ้นเป็นปีที่ ๘ แล้ว ขอเชิญชวนทุกท่านไป ร่วมบุญกัน ท�ำอาหารขนมใหม่ๆ ร้อนๆ ถวายพระท่าน และให้ทานกับผู้ยากไร้ เป็นบุญแรกของปี องค์กรต่างๆ ที่มาช่วยเหลือกันมากมาย ทางจังหวัดและเทศบาลก็ จัดแคร่ไม้ไผ่มุงจาก โต๊ะเก้าอี้เต็นท์ในโรงทาน ทางวัดก็ เอื้อเฟื้อสถานที่ ไฟฟ้าสะดวก แม่งานอย่างชมรมรักบ้าน เกิดและพุทธสมาคมก็จัดการเรื่องนิมนต์พระสงฆ์และ จัดพิธีกรรมให้เสร็จ

พระสงฆ์ที่ได้รับนิมนต์มาบิณฑบาตนั้นจะได้ฉันเช้า กันเสียก่อน ก่อนที่จะไปบิณฑบาต เพราะที่แล้วๆ มาคน ตักบาตรเป็นของแห้งเสียหมด พระคุณเจ้าไม่สะดวกที่ จะตั้งหม้อต้มมาม่าฉันกัน จึงได้ข่าวว่าพระบางรูปก็ต้อง อดข้าว ไม่ได้ฉันเช้าในวันขึ้นปีใหม่ การจัดงานบุญลักษณะ นี้ของเมืองนคร ถือได้ว่าเป็นต้นแบบของเมืองอื่นๆ ใน

ประเทศก็ได้ งานปีใหม่สากลเขาก็จัดกันไป งานบุญ ปีใหม่ของเราควรจัดอย่างดีมีสาระ รื่นเริงในบุญแบบ ชาวพุ ท ธบุ ญ แรกของปี ทานแรกของปี แ บบชาวนคร เผื่อคนบ้านอื่นเมืองอื่นเห็นงามด้วย เขาอาจน�ำประเพณี ให้ทานไฟไปจัดเป็นงานบุญในช่วงหน้าหนาวของเขา บ้างก็ได้


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๐

“ก็

สาวกของพระโคดมผู้เจริญ เมื่อพระโคดมได้ กล่าวสอน พร�่ำสอนอยู่อย่างนี้ ทุกๆ องค์ได้ บรรลุนิพพาน อันเป็นผลส�ำเร็จ ถึงที่สุดอย่างยิ่ง หรือว่า บางองค์ ไ ม่ ไ ด้ บ รรลุ ? ” พราหมณ์ คณกโมคคั ล ลานะ ทูลถาม. พราหมณ์ ! สาวกของเรา แม้เรากล่าวสอน พร�่ำ สอน อยู่อย่างนี้ น้อยพวกที่ได้บรรลุนิพพาน อันเป็น ผลส�ำเร็จถึงที่สุดอย่างยิ่ง, บางพวกไม่ได้บรรลุ. “พระโคดมผู้เจริญ ! อะไรเล่าเป็นเหตุ อะไรเล่า เป็นปัจจัย, ที่พระนิพพานก็ยังตั้งอยู่, หนทางเป็นที่ยัง สัตว์ให้ถึงนิพพาน ก็ยังตั้งอยู่, พระโคดมผู้ชักชวน (เพื่อ การด�ำเนินไป) ก็ยังตั้งอยู่, ท�ำไมน้อยพวกที่บรรลุ และ บางพวกไม่บรรลุ ?”. พราหมณ์ ! เราจักย้อนถามท่านในเรื่องนี้ ท่าน จง ตอบตามควร, ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในหนทางไป

มื่อต้นเดือนที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสไป เที่ยว 'หลวงพระบาง' อีกครั้ง เวลาห่าง กัน ๕ ปี เห็นการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิด ขึ้นมากมายในเมืองหลวงพระบาง มีคน ไปเที่ยวมากขึ้นทั้งไทยและฝรั่ง เมื่อ ๕ ปี ก่อนจะมีกรุ๊ปทัวร์เล็กๆ จ�ำนวนไม่มาก คน เดินเที่ยวเตร็ดเตร่หาซื้อของพื้นเมืองลาว ได้อย่างสบาย ฝรั่งก็มานั่งดื่มกินในเมือง ที่ ค ่ อ นข้ า งสงบ มาเที่ ย วนี้ ก รุ ๊ ป ทั ว ร์ ม าก ขึ้น นักท่องเที่ยวหน้าตา รถราขวักไขว่ จอแจกว่าแต่ก่อนมาก สินค้าพื้นเมืองท้อง ถิ่นลาวลดน้อยลง สินค้าไทยสินค้าจีนยึด ครองตลาดแทน มีขนมกรุบกรอบจากไทย แทนที่ขนมพื้นเมือง บรรยากาศแบบพื้น บ้านลาวหาดูได้ยากขึ้น หมดเสน่ห์ลงไป เยอะ

สู่เมืองราชคฤห์มิใช่หรือ, มีบุรุษผู้จะไปเมืองราชคฤห์ เข้ามาหา และกล่าวกับท่านว่า “ท่านผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าปรารถนาจะไปเมืองราชคฤห์ ขอท่านจงบอกทางไปเมืองราชคฤห์แก่ข้าพเจ้าเถิด”. ท่านก็จะกล่าวกะบุรุษนั้นว่า “มาซิท่าน, ทางนี้ไปเมืองราชคฤห์ ไปได้ครู่หนึ่ง จักพบบ้าน ชื่อโน้น แล้วจักเห็นนิคมชื่อโน้น จักเห็นสวน และป่าอันน่ารื่นรมย์ จักเห็นภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ สระ โบกขรณีอันน่ารื่นรมย์ของเมืองราชคฤห์” ดังนี้. บุ รุ ษ นั้ น อั น ท่ า นพร�่ ำ บอก พร�่ ำ ชี้ ใ ห้ อ ย่ า งนี้ ก็ ยั ง

ที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีและอนุรักษ์ไว้ได้ก็คือ บ้านเรือนในเขตมรดกโลก ก็ยังคงเอกลักษณ์งานสถาปัตย์ 'ฝรั่งเศส +ลาว' อยู่ ความสูงของอาคารก็ถูกบังคับ ให้ไม่เกิน ๒ ชั้น สีสันก็ดูดี วัดวาอาราม ก็ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง บู ร ณะใหม่ ห ลายวั ด ทั้งสะอาดและสวยงามแบบดั้งเดิม รื้อถอน สิ่งแปลกปลอมออกไปได้มาก ที่สร้างใหม่ ก็ ก ลมกลื น ดู ดี ขึ้ น หลายวั ด ห้ อ งน�้ ำ ห้ อ ง ท่ า ก็ ส ะอาดเรี ย บร้ อ ยถู ก สุ ข ลั ก ษณะและ อารยสถาปั ต ย์ ฯ สากล ระเบี ย บการถอด รองเท้าเข้าวัด และการแต่งกายของชาว ฝรั่งก็ถูกควบคุมให้อยู่ในแบบที่ควรจะเป็น ในพุทธสถาน การไปเที่ ย วลาวจะมี ค นไทยเป็ น กรุ ๊ ป ทั ว ร์ เ สี ย ส่ ว นใหญ่ ถึ ง แม้ ไ ม่ มี เ อะอะ

ถือเอาทางผิด กลับหลังตรงข้ามไป, ส่วนบุรุษอีกคน หนึ่ง (อันท่านพร�่ำ บอกพร�่ำชี้อย่างเดียวกัน) ไปถึงเมือง ราชคฤห์ได้ โดยสวัสดี. พราหมณ์ ! อะไรเล่ า เป็ น เหตุ อะไรเล่ า เป็ น ปัจจัย, ที่เมืองราชคฤห์ก็ยังตั้งอยู่, หนทางส�ำหรับไป เมืองราชคฤห์ก็ยังตั้งอยู่, ท่านผู้ชี้บอกก็ยังตั้งอยู่, แต่ ท�ำไม บุรุษผู้หนึ่งกลับหลงไปผิดทาง, ส่วนบุรุษผู้หนึ่ง ไปถึงเมืองราชคฤห์โดยสวัสดี. “พระโคดมผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ข้าพเจ้าจักท�ำอย่าง ไรได้เล่า, เพราะข้าพเจ้าเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้น”. พราหมณ์ ! ฉันใดก็ฉันนั้น, ที่พระนิพพาน ก็ยังตั้ง อยู่, ทางเป็นเครื่องถึงพระนิพพาน ก็ยังตั้งอยู่, เราผู้ ชักชวน ก็ยังตั้งอยู่, แต่สาวกของเรา แม้เรากล่าวสอน พร�่ำสอนอยู่ อย่างนี้ น้อยพวกได้บรรลุนิพพาน อันเป็นผลส�ำเร็จ ถึงที่สุดอย่างยิ่ง, บางพวกไม่ได้บรรลุ. พราหมณ์ ! ในเรื่องนี้เราจักท�ำ อย่างไรได้เล่า, เพราะเราเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้น. อุปริ. ม. ๑๔/๘๕/๑๐๑.

มะเทิ่งแบบทัวร์จีน แต่ก็มีอิทธิพลที่เข้าไป เปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรมของเขา มาก ดู แ ต่ เ รื่ อ งการตั ก บาตรข้ า วเหนี ย ว อั น ลื อ ชื่ อ ของคนหลวงพระบาง ฝรั่ ง เขา ได้แต่ไปยืนดูถ่ายรูปชื่นชมในวัตรปฎิบัติ ของชาวเมืองเขา ส่วนคนไทยถือพุทธด้วย กันก็ได้น�ำรูปแบบการตักบาตรแบบของ เราไปใช้กับเขา เขาปั้นข้าวเหยียวหย่อน ใส่ลงในบาตร ของเราอวดเอาบุญหนักใส่ ทั้งมาม่า นมกล่อง ปลากระป๋อง น�้ำขวด น�้ำหวานใส่สี ดอกไม้ธูปเทียน ขนมกรุบ กรอบสารพัดที่จัดหามา หย่อนลงในบาตร พระสงฆ์ลาวจึงต้องมีคนลากเข่งตามหลัง มาใส่ของเหล่านี้ลงในรถ แต่ละคนแสดง แสนยานุภาพได้ไม่กี่องค์ เพราะมีพระเดิน แถวมาสองสามร้อยรูป พระแถวหลังจึง

ไม่มีอะไรจะมาใส่บาตร ต้องกลับไปฉัน ข้าวเหนียวและอาหารที่คนของเขาเตรียม ไว้ที่วัด สินค้าเหล่านี้ก็ตกถึงมือแม่ค้าแม่ ขายท�ำมาหากินกันเหมือนเมืองไทย ภาพ การตั ก บาตรข้ า วเหนี ย วของเมื อ งหลวง พระบางก็คงจะหมดไปอีกไม่ช้า น่าเสีย ดายจริงๆ ภาพแม่ค้าเที่ยววิ่งไล่ตื้อขาย ขนมกรุ บ กรอบเพื่ อ ใส่ บ าตรพระเกิ ด ขึ้ น มาแทนภาพประเพณี เ ก่ า แก่ ข องเขา นี่ คื อ การรุ ก เข้ า ไปท� ำ ลายวั ฒ นธรรมของ เพื่อนบ้านเขา อย่างเช่นในแถบประเทศ ศรีลังกาอินเดีย เราก็ขนธูปเทียนไปจาก เมืองไทย จุดกันควันโขมงวัด จนเขาต้อง เอาอ่างเอาไหมาวางให้เราไปปักห่างศาสน สถานของเขา เพราะคนพุ ท ธเมื อ งโน้ น เขาบูชาพระพุทธเจ้าด้วยดอกไม้ เราได้ รับวัฒนธรรมการใช้ธูปมาจากจีน ก็น�ำไป ส่งออกให้เมืองอื่นเขาอีก อีกหน่อยถ้าเขา ไม่ห้ามก็คงจะมีการจุดประทัด ถวายไก่ ถวายวัวรูปปั้นกันเต็มวัดเขาด้วย พระบรมธาตุของเราจะได้เป็นมรดก โลกหรื อ ไม่ เ ป็ น ก็ ค วรระมั ด ระวั ง ขนบธรรมเนียมประเพณีของที่อื่นจะมาแปด เปื้อนหรือท�ำมาเป็นแบบอย่างในบ้านเรา นี่ก็เห็นถวายไก่ ถวายประทัดกันในพระ บรมธาตุกันแล้ว สร้างถวายสิ่งแปลกปลอม ใหม่ๆ ลงในวัดอย่าสร้างตามกิเลสของตัว เพียงอย่างเดียว พระท่านอาจไม่ต้องการ ก็ได้ แต่ทัดทานไม่ได้เกรงจะขัดศรัทธา มี วิธีสร้างบุญบารมีที่ดีๆ เพื่อจรรโลงพระ ศาสนาอีกเยอะแยะ ลองตรองดู


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๑

รายงาน

เกรงๆ ว่ า จะไม่ เ สร็ จ ถ้ า ไม่ เ สร็ จ ก็ ต ้ อ ง เลื่อนไปเสนอในรอบต่อไป ซึ่งอาจเป็นปี หน้าหรือปีหน้าโน้น เราไม่ทราบว่าการ จั ด ท� ำ เอกสารฉบั บ ภาษาอั ง กฤษช้ า ที่ เอกสารต้นแบบฉบับภาษาไทยหรือการ

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร (แทน)

นั

บว่าดีอยู่นะครับ... กรณีจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ของประชาชน ๑๙ ชุ ม ชนรอบวั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารเกี่ ย วกั บ การน� ำ เสนอวัดพระมหาธาตุฯ จังหวัดนครฯ ขึ้น บัญชีเป็นมรดกโลก งานนี้รองผู้ว่าฯ ดนัย เจียมวิเศษสุข เพิ่งเดินทางมารับงานคงได้ รู้เรื่องใหม่ๆ ไว้ประชุมคราวต่อไป เรื่องประเทศไทยได้น�ำเสนอวัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหารขึ้นบัญชีเป็นมรดก โลก ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ ซึ่ง คณะกรรมการมรดกโลกของยู เ นสโก้ มี สมบู ร ณ์ ว ่ า ด้ ว ยคุ ณ ค่ า ที่ โ ดดเด่ น ของวั ด พระมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นฉบับภาษา อังกฤษ ขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการคาดว่าจะ แล้วเสร็จประมาณเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ เรื่องเอกสารฉบับภาษาอังกฤษทราบ กันมาหลายหนแล้วว่าจะเสร็จปลายเดือน ธันวาคม ๒๕๕๘ คนที่ติดตามข่าวเอกสาร ต่ า งเอาใจช่ ว ยให้ เ สร็ จ ทั น เวลา แต่ ก็ ยั ง

มติรับขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกในเบื้องต้น ตั้งแต่วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ ขอ ย�้ำว่า 'ในเบื้องต้น' เท่านั้น ชาวนครศรีธรรมราชบางส่วนภาคภูมิใจ แต่บางส่วน ยังไม่เห็นส�ำคัญและค�ำถามคาใจคือตน จะได้เสียอะไรบ้างกับขึ้นบัญชีเป็นมรดก โลก โดยเฉพาะคนในชุมชน ๑๙ ชุมชน ต้องขยับปรับตัวอย่างไร กระมีผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตเดิมๆ อย่างไรบ้าง เอาเข้ า จริ ง ๆ การขึ้ น ทะเบี ย นวั ด พระมหาธาตุฯ เป็นมรดกโลกก็ยังคาราคาซังอยู่ แม้ว่าคณะกรรมการด�ำเนินการ ได้ ๓ โครงการส�ำเร็จไปตามล�ำดับแล้ว ก็ตาม แต่ในสายตาประชาชน ๓ โครงการ ดังกล่าวไม่ได้เรี่ยมเร้นัก ไม่ว่า (๑.) การ ปรับปรุงพื้นที่ภายในวัด ได้แก่ การปรับ แต่งภูมิทัศน์ การปรับย้ายสิ่งก่อสร้างให้ ถูกต้องตามหลักทางประวัติศาสตร์ และ การสร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้มา บูชาสักการะ กรณีการปรับปรุงภูมิทัศน์ที่ก่อให้

เกิดน�้ำท่วมขังหลังฝนตกบริเวณหาดทราย แก้วหน้าวิหารหลวง สื่อสังคมออนไลน์ถ่าย รูปวิพากษ์วิจารณ์ว่าน�้ำที่ไม่เคยท่วมนองก็ เจิ่งนองหาทางไหลลงร่องคูไม่ได้ หวั่นเกรง ผลกระทบต่อฐานรากพระบรมธาตุเจดีย์ บางคนว่าดีเพราะเป็น 'มุมถ่ายรูป' มุมใหม่ ที่ไม่เคยมีมาก่อน (๒.) การปรับปรุงพื้นที่รอบวัด ได้แก่ การปรั บ ปรุ ง ผิ ว การจราจรถนนรอบวั ด การน�ำสายไฟฟ้า โทรศัพท์ ลงดิน การปรับ แต่งทางเท้าริมถนนราชด�ำเนิน การสร้าง ถนนพุทธภูมิ ข้อนี้ชาวบ้านได้ถ่ายรูปทางเท้าปูอิฐ เหลี่ยมประจานออกสื่อกันเอิกเกริก เรื่อง การยุบของพื้นปูใหม่ๆ ใช้ได้ไม่เกินเดือนก็ พังแล้ว บัดนี้ยังไม่มีการซ่อมเสริม หน่วย งานรับผิดชอบก็เฉยเมยไม่ได้ยิน ชาวบ้าน ชักไม่มั่นใจว่าถ้าพื้นถนนราชด�ำเนินสวยๆ พังยุบหรืออิฐแตกหลังเปิดให้รถยนต์วิ่งไม่ กี่วัน--เป็นได้ขายหน้าออกสื่อไปทั่วโลก (๓.) การจัดท�ำเอกสารน�ำเสนอฉบับ

แปลไทยเป็นอังกฤษ เราต้องเฝ้าดูต่อไป ว่าพระบรมธาตุเจดีย์จะได้ประกาศเป็น 'มรดกธรรม มรดกโลก' จริ ง ๆ เมื่ อ ไร เรื่ อ งผลประโยชน์ จ ากการท่ อ งเที่ ย ว หลั ง วั ด พระมหาธาตุ ฯ ได้ ขึ้ น ทะเบี ย น ประกาศเป็ น มรดกโลก--- ค่ อ ยว่ า กั น ดีกว่า


หน้า ๑๒

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ • เกรด ๔ ผู้ป่วยช็อกรุนแรง วัดความ ดันโลหิตไม่ได้

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

รคไข้ เ ลื อ ดออกเป็ น โรคติ ด ต่ อ ที่ เ กิ ด จากยุงลายตัวเมียบินไปกัดคนที่ป่วย เป็นไข้เลือดออก โดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูง เมื่อยุงกัดคนก็จะแพร่เชื้อสู่คน เชื้อจะอยู่ ในร่างกายคนประมาณ ๒-๗ วัน ในช่วงที่ มีไข้ หากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัส มาแพร่ให้กับคนอื่นอีกต่อกันไป ซึ่งส่วน ใหญ่มักจะเป็นเด็ก โรคนี้ระบาดในฤดูฝน ยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวันตาม หมดสติ และอาจจะเสียชีวิตถ้าไม่ได้รับ บ้านเรือน และโรงเรียน ชอบวางไข่ตาม การรักษาในระยะเวลาที่รวดเร็ว ภาชนะที่มีน�้ำขัง เช่นยางรถยนต์ กะลา กระป๋อง จานรองขาตู้กับข้าว ฯลฯ แต่ไม่ ข้อส�ำคัญของไข้เลือดออก • ให้สงสัยว่าจะเป็นไข้เลือดออกใน ชอบวางไข่ในท่อน�้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง ผู้ที่มีไข้เฉียบพลัน ไข้สูง โดยที่ไม่มีอาการ ของไข้หวัดร่วมกับ มีจุดเลือดออกหรือท�ำ เมื่อไรจึงจะสงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก อาการของไข้ เ ลื อ ดออกไม่ จ� ำ เพาะ tourniquet test • หากตับโตจะช่วยสนับสนุนว่าเป็นไข้ อาการมี ไ ด้ ห ลายอย่ า ง ในเด็ ก อาจจะมี เพียงอาการไข้และผื่น ผู้ใหญ่อาจจะมีไข้ เลือดออก • ช่วงที่วิกฤตคือช่วงที่ไข้เริ่มลง หาก สูง ปวดศีรษะ ปวดตามตัว ปวดกระบอก ตา ปวดกล้ามเนื้อ หากไม่คิดโรคนี้อาจจะ เกล็ดเลือดต�่ำลง ร่วมกับความเข้มข้นของ ท�ำให้การรักษาช้า ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิต เลือดเพิ่มขึ้นก่อนไข้ลง ให้สงสัยว่าจะเกิด ช็อก • ยาลดไข้ไม่ได้ท�ำให้ระยะเวลาที่เป็น ลักษณะที่ส�ำคัญของไข้เลือดออกคือ • ไข้สูงเฉียบพลันประมาณ ๒-๗ วัน ไข้ลดลง การให้ยาไม่ถูกต้องอาจจะท�ำให้ • เบื่ออาหาร หน้าแดง ปวดศีรษะ เกิดโรคแทรกซ้อน • หากเลื อ ดมี ค วามเข้ ม ข้ น มากขึ้ น ร่ ว มกั บ อาการคลื่ น ไส้ อ าเจี ย น และมี อาการปวดท้องร่วมด้วย • บางรายอาจจะมีจุดเลือดสีแดงออก ตามล�ำตัว แขนขา อาจจะเลือดก�ำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน และถ่ายอุจจาระด�ำ เนื่องจากเลือดออกในทางเดินอาหาร และ อาจจะช็อก • ในรายที่ช็อคจะสังเกตเมื่อไข้ลงผู้ ป่วยกลับแย่ลง ซึม มือเท้าเย็น เหงื่อออก

การดูแลผู้ป่วยเมื่อไรจะให้กลับบ้าน • ไม่มีไข้ ๒๔ ชั่วโมงโดยที่ไม่ได้รับยา ลดไข้ ผู้ป่วยอยากอาหาร • ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างชัดเจน • ความเข้มของเลือดคงที่ • ๓ วันหลังจากรักษาภาวะช็อก • เกล็ดเลือดมากกว่า ๕๐๐๐๐ • ไม่มีอาการแน่นท้องหรือแน่นหน้า อกจากน�้ำในท้องหรือช่องเยื่อหุ้มปอด ภาวะโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ๒๐% แสดงว่ามีการรั่วของพลาสม่า จ�ำเป็น • ตับวาย ต้องได้รับน�้ำเกลืออย่างเหมาะสม แต่การให้ • ไตวาย น�้ำเกลือก่อนที่ จะมีการรั่วของพลาสม่าไม่ • สมองท�ำงานผิดปกติ เกิดประโยชน์ • ภาวะ DSS เกิ ด จากการรั่ ว ของ การป้องกันไข้เลือดออก พลาสม่า ท�ำให้ร่างกายขาดน�้ำ ต้องรีบให้ วิ ธี ที่ จ ะป้ อ งกั น และควบคุ ม ไข้ เ ลื อ ด น�้ำเกลืออย่างรวดเร็ว และอาจจะจ�ำเป็น ออกทีด่ ที สี่ ดุ คือการควบคุมการแพร่กระจาย ต้องให้ Dextran 40 ของยุงลาย • การให้น�้ำเกลือจะให้เท่ากับพลาสม่า • ก�ำจัดแหล่งเพราะพันธุ์ยุง เช่น กะลา ที่ รั่ ว โดยดู จ ากความเข้ ม ของเลื อ ดและ ยาง กระป๋อง ปริมาณปัสสาวะที่ออก • หาฝาปิดภาชนะ เช่น โอ่ง ถังน�้ำ • การได้รับน�้ำเกลือมากเกินไปอาจจะ • ในแหล่งน�้ำสาธารณะอาจจะเลี้ยง เกิดน�้ำท่วมปอด ปลาเพื่อกินลูกน�้ำ หรือใส่สารเคมีเพื่อฆ่า • การเกิ ด ภาวะเป็ น กรดจะเกิ ด โรค ลูกน�้ำ แทรกซ้อนต่างๆตามมา • ภาคครัวเรือนต้องป้องกันโดยการ ก� ำ จั ด แหล่ ง น�้ ำ ที่ เ พาะพั น ธุ ์ ยุ ง และการ ความรุนแรงของโรค ป้องกันส่วนบุคคล • เกรด ๑ ผู้ป่วยไม่ช็อก เป็นไข้เลือด • ภาคชุมชนจะต้องมีการรณรงค์ให้ ออกโดยที่ ไ ม่ มี จุ ด เลื อ ดออก ท� ำ tourni- มีการก�ำจัดแหล่งลูกน�้ำในชุมชนอย่างน้อย quet test ให้ผลบวก ปีละ ๒-๓ ครั้ง และจะต้องท�ำพร้อมกันทั่ว • เกรด ๒ ผู้ป่วยไม่ช็อก มีจุดเลือด ประเทศโดยการโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ ออกตามผิ ว หนั ง มี เ ลื อ ดก� ำ เดาไหล หรื อ อาเจียนเป็นเลือด ขอบคุ ณ ที่ ม า http://www.siam• เกรด ๓ ผู้ป่วยช็อก มีความดันโลหิต health.net/public_html/Disease/infecต�่ำ ชีพจรเร็ว pulse pressure แคบ เหงื่อ tious/dhf.htm#.VlKVztLhDDc ออก กระสับกระส่าย


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา “๕ ธันวามหาราช” ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายสัตย์ปฏิญาณ ทีจ่ ะกระท�ำความดีทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อแผ่นดิน ตราบเท่าวันสุดท้าย ของข้าพระพุทธเจ้า

นังสือพิมพ์รักบ้านเกิดได้ผลิตออกมา ทุ ก เดื อ นยาวนานถึ ง ๔ ปี โดยมิ ไ ด้ จ� ำ หน่ า ยแต่ ว างแจกฟรี ต ามร้ า นอาหาร และหน่วยงานต่างๆ ผมได้เขียนบทความ ฉบั บ ปฐมฤกษ์ ข องหนั ง สื อ พิ ม พ์ นี้ ที่ ท าง บรรณาธิการได้มอบหมายลงหน้า ๑๓ เมื่อ เดือนกันยายน ๒๕๕๔ เรื่อง “ย่านสะพาน ราเมศวร์ . .อี ก มุ ม หนึ่ ง ของประวั ติ ศ าสตร์ เมืองนคร” จนมาถึงทุกวันนี้ก็ยังเขียนโดย ไม่เคยขาดหายไปแม้แต่ฉบับเดียว นับรวม กันได้ถึง ๕๒ เรื่อง ซึ่งล้วนแล้วเป็นทัศนะ ของผมในการพัฒนาเมืองแง่มุมต่างๆ ผม ต้องมาทบทวนว่าข้อเขียนของผมเป็นเรื่อง ที่เป็นประโยชน์หรือไม่ หรือว่าเป็นแค่ความ ฝั น ของสถาปนิ ก คนหนึ่ ง ที่ อ ยากให้ บ ้ า น เมื องเป็นอย่า งโน้ นเป็ นอย่างนี้ และหาก ไร้สาระก็ควรยุติไปเพราะมิได้เป็นอาชีพที่ มีค่าจ้างเลี้ยงชีพ ส่วนตัวเองก็ได้ปวารณา ไว้แล้วที่จะใช้วิชาชีพและประสบการณ์ตอบแทนคุณแผ่น ดินในอีกหลายด้านเท่าที่ยังมีก�ำลังวังชา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง ในกิ จ กรรมที่ ผ มได้ มี ส ่ ว นร่ ว มใน “ชมรมรั ก บ้ า นเกิ ด นครศรีธรรมราช” ทีเ่ รายังรวมตัวกันอยูก่ บั กลุม่ ประชาคมที่ มีความปรารถนาดีตอ่ ชาติบา้ นเมือง มุ ม มองของผมต่ อ บ้ า นเมื อ งผ่ า นบทความนี้ ขึ้ น อยู ่ กับเหตุการณ์หรือสถาน-การณ์ที่ก�ำลังด�ำรงอยู่ในขณะที่ เขียน จึงยากที่เขียนล่วงหน้าทิ้งไว้รอพิมพ์ บางช่วงก็เตือน ให้ตระหนักกับภัยธรรมชาติ บางจังหวะก็พยายามให้ความรู้ ท�ำความเข้าใจต่อภาครัฐทีม่ โี ครงการต่างๆ ทีอ่ าจหลงลืมบาง มิตไิ ป ผมก็อยากให้ทกุ ท่านได้เข้ามาช่วยคิดผ่านคอลัมน์ของ ผมบ้าง บทความทีผ่ มได้นำ� เสนอไปแล้ว หากมาทบทวนก็พอ จ�ำแนกแยกเป็นประเภทได้ ซึ่งผมจะให้ชื่อหัวเรื่องบางส่วน และลงก�ำกับฉบับที่เขียนไว้เผื่อท่านสนใจก็สามารถขออ่าน ย้อนหลังได้จากผมโดยตรงหรือส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์นี้ การพัฒนาเมือง ผมมองว่าคนบางส่วนยังไม่ทราบถึงความส�ำคัญของ ผังเมือง หรือคิดว่าการวางผังจะต้องคล้อยตามกลุม่ ต่างๆ และ เราต้องรู้ถึงศักยภาพของบ้านเมืองตนเองว่าควรก้าวไปใน ทิศทางใด คนหนุ่มสาวหรือคนรุ่นใหม่ต้องเข้ามามีบทบาท มากขึ้นในการช่วยคิดพัฒนาในองค์รวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตัว และแน่นอนว่าจะพัฒนายากถ้าผู้คนขาดวินัย

หน้า ๑๓

กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ จับเข่าคุยกัน ผลักดันไป ในทิศทางเดียวกัน พฤษภาคม-กรกฎาคม ๒๕๕๕ ถนนราชด�ำเนิน.. ถนนสายนี้ มีเรือ่ งมีราว (๓ ตอน) เมษายน ๒๕๕๖ เสน่หป์ ากนคร บางมุมทีช่ าวเมือง ไม่เคยสัมผัส กรกฎาคม ๒๕๕๗ จิ น ตภาพเมื อ งนคร กันยายน-พฤศจิกายน ๒๕๕๗ นครศรีดดี๊ .ี ..ยังต้อง เติมอีกหลายเรือ่ ง (๓ ตอน) พฤศจิกายน ๒๕๕๘ มุมมองในมิตติ า่ งๆ ของโครงการจัด สร้างอนุสาวรีย ์ สมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราช พระบรมธาตุสมู่ รดกโลก โครงการที่น�ำเรื่องราวประวัติศาสตร์ การเป็ น ศู น ย์ ก ลางพระพุ ท ธศาสนาใน ภูมิภาคนี้กับอัจฉริยภาพของบรรพชนของ มีนาคม ๒๕๕๖ ราชภัฏนครโมเดล...ผังแม่บท เมืองนครสู่สายตาชาวโลก อย่างน้อยสร้างความรู้ความ ทีเ่ ป็นจริง เข้าใจทั้งในด้านรูปธรรมและนามธรรมให้ชาวนครร่วมมือ สิงหาคม-พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ช่วยกันรักษามรดกนีไ้ ว้สบื ไป และลดความเข้าใจผิดในงาน เดินไปด้วยกันกับการพัฒนาเมืองคู่ สถาปัตยกรรมทีน่ ำ� ไปสูค่ วามขัดแย้ง การอนุรกั ษ์ของเมืองนคร (๔ ตอน) พฤศจิกายน ๒๕๕๗ บ้านเมืองน่าอยู่ ชาวเมืองต้องมีวนิ ยั กรกฎาคม ๒๕๕๖ ถนนพุทธภูม.ิ ..เส้นทางสูม่ รดกโลก กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ อนาคตบ้านเมือง ธันวาคม ๒๕๕๖ คืนหาดทรายแก้วให้วดั พระบรมธาตุ อยูใ่ นก�ำมือคนรุน่ ใหม่ มกราคม ๒๕๕๗ อัจฉริยภาพสถาปนิกบรรพชน ในการสร้างองค์พระธาตุ สิง่ แวดล้อม นครศรีธรรมราช ภัยพิบัติทางธรรมชาติส่วนหนึ่งมาจากฝีมือมนุษย์ที่ไป สิงหาคม-กันยายน ๒๕๕๗ เสนอพระบรมธาตุเป็นมรดก เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ และการที่ต้องเตรียมตัวรับมือจาก โลก ใครได้ประโยชน์จากเรือ่ งนี้ ภัยธรรมชาติไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่มาแก้ปัญหาเมื่อเกิดขึ้นแล้ว (๒ ตอน) ส่วนเรือ่ งขยะล้นเมืองก็เสนอแนวทางแก้ไขไว้บางส่วน เมษายน ๒๕๕๘ เรือ่ งราวจากสถาปัตยกรรม กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ขยะเมืองนคร... ชิโนโปรตุกสี ในบ้านเรา เรือ่ งทีต่ อ้ งปฏิรปู ก่อนสายเกินแก้ สิงหาคม ๒๕๕๘ บทเรียนจากใต้ถนุ บ้านท่านขุน มีนาคม ๒๕๕๗ ภัยแล้งเมืองนคร... ตุลาคม ๒๕๕๘ เรียนรูง้ านสถาปัตยกรรมด้วยปัญญา เตรียมตัวตัง้ รับกันหรือยัง ? เมษายน ๒๕๕๗ เคลือ่ นย้ายหินหนึง่ ก้อน หนั ง สื อ พิ ม พ์ นี้ ข อยื น หยั ด ที่ จ ะเป็ น ส่ ว นร่ ว มของ สะท้อนสะเทือนทัง้ ปฐพี ประชาคมในการพัฒนาเมืองนคร เรามิได้มีนายทุนหนุน หลัง แต่อยู่ได้กับผู้ให้การสนับสนุนเรา หากท่านอยากให้ การท่องเทีย่ ว เราอยูต่ อ่ ไปได้กข็ อให้ตดิ ต่อกับทางส�ำนักพิมพ์โดยตรงครับ ความเป็นเมืองเก่าที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานของ ผมขออ�ำนวยพรให้ทุกท่านมีความสุขกับการส่งท้ายปีเก่า เมืองนคร จึงเป็นจุดขายทีต่ อ้ งพัฒนาให้ถกู ทาง และต้อนรับปีใหม่ทกี่ ำ� ลังจะมาถึง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๔

ะหว่างการประชุมครั้งที่ ๖๘ วันที่ ๒๐ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ สมั ช ชาใหญ่ แห่งสหประชาชาติได้ประกาศให้ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีสากลแห่งแสงและเทคโนโลยีแสง [ IYL2015 ] ค� ำ ว่ า “แสง” มี ค วามหมายกว้ า ง มาก อาจหมายถึงแสงที่เรามองเห็น แสง ในศิ ล ปะ ไปจนถึ ง แสงสว่ า งแห่ ง ปั ญ ญา “เทคโนโลยี แ สง” เป็ น ศั พ ท์ เ ฉพาะด้ า น เทคนิคซึ่งหมายถึง “โฟโตนิกส์” เป็นค�ำ เรี ย กรวมส� ำ หรั บ การใช้ ง านเทคโนโลยี ออพติกหลายอย่าง ตั้งแต่เลเซอร์ไปจนถึง การวินิจฉัยและการรักษาทางการแพทย์ที่ ใช้แสงประหยัดพลังงานและมีระบบแสง อัจฉริยะ หนึ่งในเป้าหมายหลักของปีสากล แห่งแสง ๒๕๕๘ เพื่อสร้างความตระหนัก รู ้ ต ่ อ การใช้ เ ทคโนโลยี แ สงที่ มี อ ยู ่ แ ละมี ราคาไม่แพงนักในการแก้ปัญหาของโลก ด้านสาธารณสุข พลังงาน การให้แสงสว่าง และการสื่อสาร นอกจากนี้ยังมีเป้าหมาย สูงกว่านั้น นั่นคือ การยกระดับคุณภาพ ชีวิตแก่ผู้คนทั่วโลก

การศึกษาเป็นเสาหลักของปีสากล แห่ ง แสง ๒๕๕๘ ท� ำ ให้ ค รู ทั่ ว โลกให้ สามารถเข้ า ถึ ง วิ ธี ก ารสอนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจการเรียนได้ดี ยิ่งขึ้น และท�ำให้การสอนในห้องเรียนเป็น เรื่องสนุกน่าตื่นเต้น ซึ่งจะท�ำให้นักเรียนที่ มีความคิดสร้างสรรค์ในเรื่องวิทยาศาสตร์ ฟิ สิ ก ส์ นี่ คื อ เป้ า หมายของโปรแกรม Active Learning in Optics and Photonics [ALOP] ขององค์การยูเนสโก ซึ่ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากสมาคมออพติ ค และโฟโต้นิกส์นานาชาติ [The International Society for Optics and Photonics-SPIE] หนึ่งในองค์กรหลักผู้ร่วม ก่อตั้งปีสากลแห่งแสง ๒๕๕๘ หนึ่ ง ในการใช้ เ ทคโนโลยี แ สงที่ มี ศั ก ยภาพมหาศาลในการปรั บ ปรุ ง ความ เป็นอยู่และการผลิต ได้แก่ ระบบแสงที่มี มนุษย์เป็นศูนย์กลาง [human centric

lighting] การประดิษฐ์ หลอดอิ เ ล็ ก ตรอนที่ ป ล ่ อ ย แ ส ง สี น�้ ำ เ งิ น (บลู ไ ลท์ ) ท� ำ ให้ อิ ซ ามุ อากาซากิ ฮิโรชิ ฮามาโนะ และ ชูจิ นากามูระ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน ปี พ.ศ.๒๕๕๗ สิ่งประดิษฐ์นี้อาจให้แสง สี ข าว (ไวท์ ไ ลท์ ) ที่ ป ระหยั ด พลั ง งาน ด้วย และยัง “อัจฉริยะ” เพราะมีแถบสี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงได้ ห ลากหลาย หลอดไฟ อั จ ฉริ ย ะเช่ น นี้ จ ะต้ อ งเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ระบบในอนาคตที่เราจะใช้ในบ้าน ส�ำนักงานและโรงเรี ย นค่ อ นข้ า งแน่ น อน โดย จะให้ คุ ณ ภาพสเปกตรั ม ของแสงที่ ผ ลิ ต มากพอๆ กั บ ปริ ม าณที่ ไ ด้ หากเรายั ง คงใช้ เ วลาอยู ่ ใ นอาคารภายใต้ แ สงสว่ า ง สังเคราะห์มากขึ้น ความเป็นอยู่ของเรา จะดีขึ้นอย่างมากถ้าเราสามารถควบคุมสี ของแสงสังเคราะห์ที่เราผลิตได้ด้วยตนเอง อย่างปลอดภัย เมื่อแสงนั้นสามารถเลียน แบบแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ได้ใกล้เคียง มากขึ้ น โลกที่ ก� ำ ลั ง พั ฒ นามี ป ั ญ หาด้ า น แสงสว่างหลากหลาย ยังมีหลายหมู่บ้าน ที่ไม่มีไฟฟ้าและต้องใช้ตะเกียงน�้ำมันก๊าด ที่อันตรายเพื่อให้แสงสว่างในยามค�่ ำคืน ความก้าวหน้าในระบบแสงประหยัดพลังงานที่ เ อ่ ย ข้ า งต้ น จะช่ ว ยให้ เ ราสามารถ สร้ า งระบบไฟฟ้ า นอกเครื อ ข่ า ย โดยใช้ เครื่องเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดเล็ก ซึ่ ง ชาวบ้ า นมี ก� ำ ลั ง ซื้ อ ได้ ท� ำ ให้ นั ก เรี ย น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างปลอดภัยหลัง จากพระอาทิตย์ตกดิน ยังมีตัวอย่างการใช้งานที่มีประโยชน์ อีกมากมาย บัน คี มูน เลขาธิการองค์การ สหประชาชาติ ไ ด้ เ คยกล่ า วในพิ ธี เ ปิ ด ปี สากลแห่ ง แสง ๒๕๕๘ ในกรุ ง ปารี ส ว่ า “ขณะที่เราก�ำลังต่อสู่เพื่อขจัดความยาก จนและแบ่ ง ปั น ความมั่ ง คั่ ง เทคโนโลยี แสงจะเป็นทางออกที่มีประโยชน์ต่อความ ท้าทายต่างๆ ในโลก” นอกจากการมอง ไปข้างหน้าเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีแสงใหม่ๆ แล้ว ปีสากลแห่งแสง ๒๕๕๘ ยังมองย้อน กลับไปยังอดีตเพื่อฉลองครบรอบ ๑,๐๐๐ ปีแห่งการศึกษาด้านแสงอย่างจริงจังของ ศาสนาอิ ส ลาม เริ่ ม ตั้ ง แต่ ต� ำ ราเกี่ ย วกั บ แสง โดย Ibn Al Haytham ในยุคทอง แห่งวิทยาศาสตร์อิสลาม การสร้างความ ตระหนักรู้เกี่ยวกับอดีตจะช่วยสร้างความ หวังในอนาคต เราไม่จ�ำเป็นต้องมุ่งเน้นเฉพาะการ

หาทางแก้ไข “ปัญหา” เท่านั้น แต่เรายัง สามารถยกย่องและสนับสนุนความอุตสาหะอย่ า งแท้ จ ริ ง ของมนุ ษ ย์ ที่ ส ร้ า งความ สุขและแรงบันดาลใจให้แก่เรา เช่น ความ บั น เทิ ง ที่ เ ทคโนโลยี ช ่ ว ยให้ เ ราสามารถ เพลิ ด เพลิ น ได้ ง ่ า ยขึ้ น ภาพยนตร์ เ ป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ที่ แ สดงให้ เ ห็ น กิ จ กรรมของ มนุ ษ ย์ ที่ ผ สมผสานระหว่ า งศิ ล ปะและ เทคโนโลยีเข้าด้วยกัน สิ่งที่เราพูดกันเรื่อง คุณภาพของแสง สามารถน�ำมาใช้ในการ ผลิ ต ภาพยนตร์ แ ละการถ่ า ยภาพได้ โ ดย อัตโนมัติ ซึ่งอาจเรียกกระบวนเหล่านี้ว่า เป็นการ “จับ” แสง การสร้างสรรค์ภาพ อันทรงพลังที่สร้างแรงบันดาลใจท�ำให้เรา คิด ไตร่ตรอง ไม่ว่าจะเป็นภาพเคลื่อนไหว หรือภาพนิ่ง ได้เพิ่มเติมประสบการณ์ของ มนุ ษ ย์ แ ละเป็ น เหตุ ผ ลที่ เ ราเฉลิ ม ฉลอง แสงกั น ในปี นี้ ความอุ ต สาหะมากมาย ของเรา ตั้งแต่ศิลปะ เทคโนโลยี ปรัชญา สถาปั ต ยกรรม บทกวี ไ ปจนถึ ง การจ้ อ ง มองท้องฟ้าพร่างดาวโดยไร้แสงสว่างล้วน เกี่ยวข้องกับเป้าหมายในปีสากลแห่งแสง ๒๕๕๘ เพื่อส่องแสง รับแสงสว่าง และเพื่อ กระตุ้นให้สังคมของเรายังคงวิวัฒนาการ ต่อไปภายใต้แสง “ที่ดี” ต่อไป ด้ ว ยเหตุ เ หล่ า นี้ แ ละเหตุ ผ ลอื่ น ๆ อี ก มากมาย สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วม กับสถาบันเกอเธ และศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาทั่วประเทศ จึงได้ก�ำหนด จั ด งานเทศกาลภาพยนตร์ วิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ การเรี ย นรู ้ ครั้ ง ที่ ๑๑ ในวั น ที่ ๓ พฤศจิกายน – ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ โดย มีการจัดฉายภาพยนตร์ที่ผ่านการคัดเลือก จ�ำนวน ๒๓ เรื่อง จากทั้งหมด ๑๔๖ เรื่อง ของ ๓๒ ประเทศทั่วโลก ภายใต้แนวคิด International Year of Light 2015 หรือ “ปีแห่งแสง” พร้อมทั้งจัดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเป็นการสร้าง ความรู้ ความเข้าใจให้แก่เด็กและเยาวชน ในเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ตลอดจนสร้าง เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดย อาศัยสื่อภาพยนตร์ที่มีการส่งเข้าประกวด จากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก ติ ด ตามรายละเอี ย ด การจั ด ฉายภาพยนตร์ ไ ด้ ที่ www.nakhonsci.com แล้วมาดูกันค่ะว่า...แสงได้เปิดเผย ให้เราเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติของจักรวาล.. อย่างไร


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๕ • อาจจ�ำเป็นต้องใช้ผู้ช�ำนาญการใน

อาจารย์แก้ว

การตั้งค่าระบบ

สรุ ป ระบบ IP PBX เป็ น ระบบ โทรศัพท์ที่ใช้งานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดให้เข้าใจง่ายๆ คือ น�ำโทรศัพท์ มาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายเช่นเดียว กับคอมพิวเตอร์ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ในการโทร.ทางไกล เพราะสามารถโทร. ผ่านอินเตอร์เน็ตในรูปแบบ VoIP รองรับ

ารใช้ ง านโทรศั พ ท์ ใ นปั จ จุ บั น ไม่ ว่าจะเป็นบริษัทหรือห้างร้านทั่วไป ยั ง คงมี ก ารใช้ ง านโทรศั พ ท์ แ บบพื้ น ฐาน เพราะยั ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารส่ ง สาร ทาง FAX แต่หลายๆ องค์กรก็มีการใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น เพราะมือถือสามารถสื่อสารได้ทั้งเสียง และข้อความ อย่างไรก็ตาม สืบเนื่องจาก โทรศัพท์ภายในบริษัทยังมีความจ�ำเป็น ดั ง นั้ น การพั ฒ นาระบบโทรศั พ ท์ ใ ห้ ท�ำงานได้สะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น จึง เกิดขึ้นภายใต้ชื่อเทคโนโลยีว่า IP PBX ซึ่ ง ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทุ ก รายในตลาดเริ่ ม ให้ ความส�ำคัญและเพิ่มเป็นจุดขายควบคู่กับ ทั้งผ่านสมาร์ทโฟน อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง • Videophone โทรศัพท์ที่รองรับ การมองเห็นหน้า IP PBX คืออะไร • อุ ป กรณ์ ใ นการแปลงสั ญ ญาณ และมีความหมายอย่างไรบ้าง VoIP เป็น Analog • IP ย่อมาจาก Internet Protocol • PBX ย่อมาจาก Private Branch ประโยชน์หรือข้อดีระบบ IP PBX Exchange • รองรับการย้ายเบอร์ได้โดยย้าย IP PBX จึ ง เป็ น การรวมเอาเทค- เครื่องโทรศัพท์ไปห้องไหนก็ได้ โนโลยีของโทรศัพท์พื้นฐาน กับการโทร. • รองรับการใช้งานผ่านระบบไร้สาย ในระบบ VoIP (Voice over IP เป็น Wi-Fi เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านทางระบบเครือ • รองรั บ การใช้ งานระบบ Video ข่ า ย รองรั บ ทั้ ง Internet, Intranet) Call โทรแบบเห็นหน้า ท� ำ ให้ โ ทรศั พ ท์ มี ค วามสามารถมากขึ้ น • รองรับการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ ช่ ว ยประหยั ด ค่ า โทรศั พ ท์ ไ ด้ ม าก โดย VoIP อื่นๆ เฉพาะการโทร.ระหว่างประเทศ • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโทรผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสายในระบบโทรศัพท์พื้นฐาน • รองรับการพัฒนาในอนาคตเพราะ กับ IP PBX ระบบเป็นซอฟต์แวร์ • โทรศัพท์พื้นฐานใช้สายโทรศัพท์ และหัวต่อ RJ11 • โทรศัพท์ IP PBX ใช้สายแลน และหัวต่อ RJ45

• รองรับการเชื่อมต่อกับระบบฐาน การสื่อสารด้วยข้อความ วีดีโอและเสียง

ข้อมูลได้ • มีระบบความปลอดภัยสูงกว่า

สามารถปรั บ เปลี่ ย นหรื อ ย้ า ยต� ำ แหน่ ง ของเบอร์ โ ทร.ได้ ส ะดวก รวดเร็ ว กว่ า ส� ำ หรั บ ผู ้ อ ่ า นที่ ส นใจแนะน� ำ ให้ ติ ด ต่ อ ข้อเสียของระบบ IP PBX สอบถามกับทางผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต • ราคาอุ ป กรณ์ สู ง กว่ า ระบบโทร- ความเร็วสูงตามบ้านได้เลยครับ ศัพท์ทั่วไป สายแลนแพงกว่าสายโทรศัพท์ • ใช้ไฟในการท�ำงาน ท�ำให้มีปัญหา ด้วยความปรารถนาดี เวลาไฟดับ อาจารย์แก้ว • ต้องติดตั้งเป็นระบบเครือข่าย หรือ ระบบแลน

อุปกรณ์ที่รองรับการใช้งาน IP PBX

• IP Phone ต้องการโทรศัพท์ที่

รองรับการใช้งานแบบ IP • Softphone โปรแกรมที่ ใ ช้ ส�ำหรับโทรโดยตรงผ่านคอมพิวเตอร์ รวม

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๖ Tarzanboy

...เ

ดินเดี่ยว และชอบมุดซุ่มในพงรก สิ่ง ที่ดูเหมือนจะเป็นเอกลักษณ์อีกอย่าง คื อ เจ้ า ยั ก ษ์ แ ห่ ง สั น เย็ น ตั ว นี้ เขาชอบเดิ น หากินตามหน้าผาสูงชัน ขนาดที่อย่างเราๆ ต้องปีนต้องคลาน ส�ำหรับเขาแล้ว พ่อคุณเล่น เดินทอดน่องบนความลาดชันขนาด ๗๐-๘๐ องศากันเลยทีเดียว หลายคนอาจจะเคยได้ยิน เรื่องเล่าที่ว่า ช้างป่านั้น แค่มีที่ให้เหยียบเพียง หนึ่งฝ่ามือ เขาก็สามารถพาน�้ำหนักห้าหกตัน ผ่านไปได้อย่างสบาย ...ผมเห็นมากับตาแล้ว ครับ ขณะที่พวกเราค่อยๆ ก้าว ค่อยๆ ปีน ป่ายหน้าผาน�้ำตกแห่งหนึ่ง พลันไปเจอกับ รอยเท้าขนาดใหญ่ที่ลึกลงไปร่วมฝ่ามือ รอย นั้นไม่ได้รีบเร่ง แต่ดูเหมือนจะเดินก้าวย่าง อย่างสบายอารมณ์ มีหักยอดไม้อ่อนกินอย่าง เพลิ น ใจ บางช่ ว งของเส้ น ทาง ที่ มี พื้ น ที่ ใ ห้ เหยียบเพียงแต่ฝ่าเท้าของมนุษย์ ข้างล่างเป็น โตรกเหวลึก แต่เจ้ายักษ์ของเรา กลับเหยียบ

พื้นที่เดียวกันนั้น วางเท้าก้าวผ่านไปได้อย่าง เฉย ๆ มิหน�ำซ�้ำ ไปเจอรอยช้างโขลงอื่น ก็โชว์ ความสามารถเดียวกันนี้ให้เห็น ...อย่างที่เกริ่นไว้ในฉบับก่อน เจ้ายักษ์ แห่งป่าสันเย็น ดูเหมือนจะท�ำตัวเป็น “จ้าว” อยู่เหนือช้างป่าอื่นทั้งหลาย แม้เขาจะหากิน เดี่ยว แต่ทว่าวงพื้นที่หากินนั้น จะตีวงล้อมอยู่ รอบๆ โขลงช้างป่าตัวเมียในรัศมีไม่เกิน ๑-๒ กิโลเมตร ราวกับว่าเป็นการคุ้มครอง หรือเป็น ด่ า นหน้ า ในการป้ อ งกั น อั น ตรายจากสิ่ ง อื่ น ส�ำหรับที่นี่ ฤดูที่ช้างป่าจะรวมโขลงกันเพื่อ จับคู่หรือสืบพันธุ์นั้น จะอยู่ในช่วงฤดูฝน คือ

ปลายเดือนตุลาคม จนถึงปลายเดือนมกราคม จากนั้น ตัวผู้รวมถึงเจ้ายักษ์ ก็จะจากโขลง ออกไปหากิ น เดี่ ย วตามสั ญ ชาติ ญ าณปกติ และดูเหมือนตัวผู้แต่ละตัว จะมีอาณาเขตของ ตัวเอง จะเข้าโขลงเฉพาะฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น “เจ้ายักษ์” มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตรอยต่อ ของสันเย็น หุบกระทูน และเขตกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และมักจะอยู่เฉพาะบน พื้นที่ป่าสูงระดับ ๑,๐๐๐ เมตรจากระดับน�้ำ ทะเลเท่านั้น หลายต่ อ หลายครั้ ง ครั บ ที่ ผ มกั บ เจ้ า ยักษ์เกือบจะได้เจอกัน แต่ดูเหมือนเขาจะหวง ตัวอยู่มากไม่เคยได้พบสบตากันเลย บางครั้ง เหมือนผมจะตกอยู่ในวงล้อมของเขาหลาย ครั้งหลายครา ซ่อนแอบหลบมุม และทิ้งรอย

พอใจโดยการหักโค่นต้นไม้ทุกต้นที่เราไปยืน แอบ ยืนหลบที่อาจจะมีกลิ่นตัวมนุษย์สัมผัส อยู่อย่างชัดเจนนั้น เมื่อเราย้อนกลับไปตาม เสียงไม้ล้ม กลับเป็นว่า เจ้ายักษ์ของเรา เดิน อ้อมย้อนกลับไปท�ำแบบเดียวกันกับอีกด้าน หนึ่งที่เราไปซุ่มดูและย้อนกลับมา และที่ดูน่า ตื่นเต้นระทึกขวัญ ก็ตรงที่ไม้แดงใหญ่ขนาด สองถึงสามคนโอบบางต้น พ่อคุณกดล้มแบบ หักกลางล�ำต้นไม้ นี่ไม่ใช่ก�ำลังของช้างสาร ธรรมดาครับ... ผมเพียรพยายามตามหาเจ้ายักษ์ของ ผมอยู่นานมาก ๗-๘ ปีเห็นจะได้ กลับไม่เคย เจอหน้าเขาสักครั้งเดียว บางปีไม่ได้เห็นรอย เขาเลย ในใจยังนึกหวั่นใจว่า เขาอาจจะถูกล่า ถูกล้มไปซะแล้ว แต่ล่าสุดก็ใจชื้น เมื่อมีโอกาส

ให้เห็นกันสดๆ แต่ก็ไม่เคยถูกราวีหรือประจัน หน้ า กั น สั ก ครั้ ง เดี ย ว มี ข ่ า วลื อ หลายแขนง เกี่ยวกับช้างป่าตัวนี้ ...บ้างก็ว่า “งาเดี่ยว” หมายถึงมีงายาวข้างเดียว บ้างก็ว่าเป็นช้าง “กวม” หรือช้างสีดอ อันหมายถึงช้างกะเทย ที่มีพละก�ำลังมากกว่าช้างธรรมดาสามสี่เท่า ...ครั้งหนึ่ง ผมเดินน�ำนักท่องเที่ยวอยู่ ในกลางผืนป่าดิบ เจอเข้ากับรอยสดๆ ของ เจ้ายักษ์ ตัดสินใจออกตามทันที แต่ยิ่งสืบ เท้าเข้าใกล้ เขายิ่งถอยห่าง ทว่าอาการอัน แสดงถึงความเฉลียวฉลาดนั้น แสดงเจตนา ออกมาอย่ า งชั ด แจ้ ง ว่ า ไม่ ต ้ อ งการให้ ต าม นั่นคือ เขาหลอกล่อผมเข้าไปในดงทึบ ขณะ ที่ ตั ว ย้ อ นอ้ อ มไปตลบหลั ง แสดงอาการไม่

พบเห็นรอยเขาอีกครั้ง และอีกหลายๆ จุดใน ถิ่นอาศัยบนป่าสูงนั้น จะว่าไปแล้วภาพรวม ซึ่งอาจจะไม่มีใครเคยน� ำออกมาบอกกล่าว หรือมีข้อมูลหลักฐานชี้ชัดว่า ช้างป่าในเมือง คอนบ้านเรานั้นมีอยู่จริงหรือเปล่า เป็นช้าง ป่าที่เกิดและโตที่นี่ หรือเป็นช้างปล่อยจาก ช้างเลี้ยงให้เป็นช้างป่า หรือเป็นช้างที่ข้ามเขต มาจากเทือกเขาด้านอุทยานแห่งชาติเขาสก เรามีช้างป่ากี่โขลงกี่ตัว และแต่ละตัวมีหน้าตา รูปพรรณเป็นอย่างไร เรื่องนี้อาจจะต้องลงทุน ลงแรงกันสืบค้นในรูปแบบงานวิจัยเพื่อค้นหา ความเป็นมา และ...“ความเป็นไป” ของช้าง ป่ากลุ่มสุดท้ายในเทือกเขานครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นต�ำนานที่มีอยู่จริง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

หนังตะลุงคืนถิ่นฝากศิลปะ คู่เมืองพระแดนใต้ให้สืบสาน ส่งพ่อครูสู่ทิพย์สรวงห้วงจักรวาล แว่วกังวานเพลงขับขยับเงา “หนังสุชาติ ทรัพย์สิน” คือสินทรัพย์ คณานับผลงานปานขุนเขา เลื่องลือชาจารึกไว้ในใจเรา รักษ์ล�ำเนาร่ายล�ำน�ำน้อมค�ำครู จิระนันท์ พิตรปรีชา ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

หน้า ๑๗


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๘

ครศรี ดี๊ ดี .. กับภารกิจการตะลอน ชิม ร้านอาหารแสนอร่อยในจังหวัด นครศรีธรรมราช ยังคงไม่เสร็จสิ้น หลัง จากที่ไปมาหลายอ�ำเภอ จนเกือบจะลืม ของดี ใ กล้ ตั ว โอ ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ จึ ง ขอ แนะน�ำร้านกลางใจเมือง ในซอยอินทนิล (พัฒนาการ-คูขวาง ๓๓) ที่หากพลาดการ มาเยือน ท่านผู้อ่านอาจจะแอบมาน้อยใจ กันภายหลังที่ได้เห็นท่านอื่นๆ ไปแวะชิม กันมาแล้ว .. ร้านที่จะบอกต่อวันนี้ ชื่อ ร้านเรือนวิสา ... เป็นบ้านไม้สักหลังใหญ่ กลางใจเมืองนครศรีธรรมราช บ้านสอง ชั้นที่สีแม้จะดูทึม ดูขรึมไปบ้าง แต่ก็แฝง ความรู้สึกอบอุ่น ท่ามกลางความร่มรื่น ของต้นไม้น้อยใหญ่ และความเป็นกันเอง ของเจ้าของร้าน เก้าอี้, โต๊ะไม้ ถูกน�ำมา ตกแต่ง ให้ดูเรียบ เก๋สบายตา นั่งสบาย เหมาะส�ำหรับการมารับประทานอาหาร บริเวณด้านข้างเรือนไทยสองชั้น มีห้อง พั ก ไม้ สั ก แสนสบาย เรี ย งรายเป็ น ส่ ว น

ตัวรวม ๕ ห้อง สนนราคาแบบมิตรภาพ ค่ะ นอกจากนี้ยังมีห้องพักชั้นสองของบ้าน เรือนไม้สัก สามารถเข้าพักได้เป็นหมู่คณะ พูดได้ว่า สังสรรค์ด้านล่างกันได้เต็มที่ พอ เริ่มหนังท้องตึงหนังตาหย่อน ก็เดินขึ้นไป อาบน�้ ำ นอนพั ก ผ่ อ นฝั น ดี กั น ชั้ น สองได้ อย่างลงตัว ส�ำหรับรสชาติของอาหารของ ร้านนี้ สามารถปรบมือเชียร์กันได้เลยค่ะ เพราะอร่อยลงตัว หน้าตาดี แทบทุกจาน ซึ่งหาได้ยากมากที่จะถูกปากของผู้เข้าใช้ บริการเป็นส่วนใหญ่ ร้านเรือนวิสาเป็นอีก หนึ่ ง ร้ า นที่ ส ามารถจะมานั่ ง รั บ ประทาน

อาหารกับคนรู้ใจ และคนส�ำคัญ ลูกค้าส่วน ใหญ่ของที่ร้าน มักจะเป็นกลุ่มครอบครัว กลุ่มเพื่อนฝูง เพื่อนสนิทมิตรสหายที่ล้วน มานั่งรับประทานโดยเน้นทั้งอาหารหลัก และกั บ แกล้ ม พร้ อ มการบริ ก ารอย่ า ง อบอุ่นจาก น้องเปิ้ล (คุณวันวิสา วีระประเสริฐศักดิ์) เจ้าของร้านคนสวยที่ลง มาดูแลการบริการให้กับลูกค้าด้วยตนเอง อย่างสนิทสนม ส�ำหรับท่านที่ชื่นชอบการ ร้องเพลงคาราโอเกะ ในบรรยากาศเป็น กันเอง สนุกสนานกับเมนูเพลงหลากหลาย ที่ ท างร้ า นได้ จั ด เตรี ย มไว้ ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า

ทุ ก วั ย นั บ เป็ น อี ก หนึ่ ง เสน่ ห ์ ที่ ส ามารถ ดึงดูดลูกค้าที่มาใช้บริการ ให้กลับมาเป็น ลูกค้าประจ�ำได้อย่างง่ายดาย ท่ามกลาง ความสนุกสนานครื้นเครงทุกครั้งที่ได้มา สัมผัส .. .. ร้ า นเรื อ นวิ ส า เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น ตั้งแต่เวลา ๑๑.๐๐ – ๒๓.๐๐ น. บริการ ทั้ ง อาหาร เครื่ อ งดื่ ม จั ด เลี้ ย งสั ง สรรค์ ส�ำรองที่นั่งเพื่อความสะดวกได้ที่ โทร. ๐๘๕-๗๙๗-๔๔๒๒ .. ขอบคุ ณ การบริ ก ารที่ ดี แ ละ การต้อนรับอย่างอบอุ่นค่ะ..


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

เลือกตัวหนัง เชิดหนังนับร้อยตัวอยู่หลังจอ พร้ อ มกั บ พากย์ เ รื่ อ งหลายท� ำ นองส� ำ เนี ย ง ลีลาสลับกันไปจนจบ ตั้งแต่ค�่ำจนเช้า นอก นั้นเป็นเพียงลูกมือ (หรือลูกคู่) เท่านั้น !!! แต่ ที่ยิ่งกว่าของ "พี่ชาติ" คือ การยกระดับขึ้น เป็น "ส�ำนัก" มีอาศรมแบบครบวงจร คือ มี สถานที่อยู่ ท�ำ สาธิตแสดงถึงขั้นพิพิธภัณฑ์ มี ชี วิ ต ในระดั บ ที่ ใ ครไม่ มี ท างท� ำ ได้ เ ท่ า มี ครอบครัว คณะศิษย์เข้ามาฝากตัวขออยู่ด้วย ร่วมเรียนรู้ยกระดับพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผม เองชอบแวะไปนั่ง ๆ นอน ๆ ปลีกวิเวก คุย กันแบบลูกหลานสบายๆ อยู่บ่อยๆ เคยคิด จะฝากตัวเป็นศิษย์แต่โอกาสไม่อ�ำนวยด้วย หลายงานการที่ประดังเข้ามา ทราบว่าพี่ชาติชราและสุขภาพไม่ใคร่ สมบูรณ์ พบใครๆ ก็บอกกันว่าคราวอายุ ๘๐ ปี พี่ชาติที่จะถึง เราน่าจะได้ร่วมกันจัดงาน ใหญ่พิเศษกันสักครั้ง เมื่อวานนี้ อดีต ผอ.ททท.นศ. สุเทพ เกื้อสังข์ โทร.บอกผมขณะอยู่ที่สวนพุทธธรรม

สวนโมกข์กรุงเทพ ตกเย็นเสร็จสารพัดงาน ทราบแน่ชัดจากเพจของคุณหมอรังสิต ทอง สมัคร์ และ ผอ.ททท.นภสร ค้าขาย ตะกี้นี้ ไทยรัฐลงว่าตั้งร่างพี่ท�ำบุญอยู่ที่ศาลา ๑๐๐ ปี วัดพระธาตุ แต่ผมต้องไป Turkmenistan บ่ายนี้ กลับมาวันที่ ๑๕ จะรีบลงไปกราบพี่ และน่าจะได้หารือกันครับว่า มีสิ่งใดให้มีส่วน ร่วมส่งพี่สู่สวรรค์ได้บ้าง ระลึกถึงและนับถือพี่เสมอครับผม หมอบัญชา ๘ พ.ย. ๕๘ ปล. แม้ตอนท�ำตัวหนังรูปคุณตา แม่ และน้า พี่ชาติยังฉายแสงปราชญ์ ท�ำเสื้อใส่ ให้ขุนบวรสีเหลือง น้าพาสีส้ม ของแม่นั้นท�ำ มาให้เลือกสองสี แดง กับ เขียว คล้ายกับ ทดสอบพวกเราว่ารู้ไหม แม่สีอะไร ? เราเอา เสื้อสีเขียวให้แม่ครับ พี่ชาติ.


หน้า ๒๐

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.