นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 44 พฤษภาคม 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง มุมมองท่องเที่ยว สาธิต รักกมล รักสุขภาพ นพ.ทฏะวัฎร์ พิลึกภควัต มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗

www.nakhonforum.com

รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี ม.ราชภัฏนครฯ เชิญรองฯ ศิริพัฒ แสดง ความยินดีในความส�ำเร็จของทีม NSTRU Eco-Racing ม.ราชภัฏ นครฯ ที่ชนะเลิศการแข่งขันรถต้นแบบใช้แบตเตอรี่ไฟฟ้า SHELL ECO-MARATHON ASIA ๒๐๑๕

www.facebook.com/rakbaankerd

เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ ณ โรง แรมทวินโลตัส นายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับเกียรติ จาก รศ.วิมล ด�ำศรี เรียนเชิญเป็นประธาน แถลงข่าวแสดงความยินดี

˹éÒ ๑๐ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

เกาะกระอยู่ห่างปากพนัง ๕๐ กม. เป็นแหล่งปะการังหายาก พื้นที่ ฟักไข่ของเต่าทะเล และสัตว์ใกล้ สู ญ พั น ธุ ์ ตกอยู ่ ใ นสภาพเสี่ ย ง เสื่อมโทรม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเตรียม ประกาศเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำคุ้มครอง (แรมซาร์ไซต์) เมื่ อ วั น ที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ กรมทรั พ ยากรทาง ทะเลและชายฝั ่ ง โดยส่ ว นจั ด การพื้ น ที่ คุ ้ ม ครองทรั พ ยากร พื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีความส�ำคัญระหว่างประเทศ เกาะกระ จังหวัด ทางทะเลและชายฝั่ง จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นเพื่อจัดท�ำ นครศรีธรรมราช โรงแรมเมืองลิกอร์ จ.นครศรีธรรมราช โดยมี >> อ่านต่อหน้า ๙ มาตรการและแผนบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและ นายพินิจ บุญเลิศ รองผู้ว่าราชการ


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ต้ ยุ ค โลกาภิ วั ต น์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารจ� ำ นวนมาก หลั่ ง ไหลทะลั ก ออกมาจากสื่ อ แขนงต่ า งๆ สู ่ ประชาชนในฐานะผู ้ บ ริ โ ภคกั น อย่ า งไร้ ขี ด จ� ำ กั ด ไร้ก�ำหนดเวลา ไร้พรมแดน และบางครั้งก็แทบ จะไร้การควบคุม เรียกว่าใครนึกจะสื่ออะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ก็ท�ำกันได้อย่างเต็มที่ บางครั้ง กว่าจะรู้ผิดรู้ถูก เรื่องราวก็แพร่กระจายแทบจะทั่ว ทั้งประเทศภายในระยะเวลาสั้นๆ โดยเฉพาะใน โลกสื่อสังคมออนไลน์ ข้ อ มู ล บางชุ ด อาจจะได้ รั บ การคั ด กรองอย่ า ง ถูกต้อง แต่บางข้อมูลบางเรื่องราวกลับมีความ จริงอยู่เพียงครึ่งเดียว ในขณะที่หลายๆ ข่าวถูก ก�ำหนดและชักใยจากบางคนเพื่อหวังผลโดยไม่ ค�ำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม ประชาชนธรรมดา ในฐานะผู้เสพข้อมูลเหล่านั้น ยากที่จะแยกแยะ อั น ไหนถู ก อั น ไหนผิ ด อั น ไหนจริ ง อั น ไหนลวง หรือแม้กระทั่งข่าวที่ถูกต้องจริงๆ แต่เป็นข่าวร้าย ข่าวสะเทือนใจ ท�ำให้เรารู้สึกหดหู่ ท้อแท้ ซึ่งใน สื่อกระแสหลักจะมีข่าวประเภทนี้อยู่เป็นจ�ำนวน มาก เรียกว่าข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดีเสียเงิน ซึ่งบาง ครั้งก็อาจจะตอบโจทย์ทางธุรกิจของผู้ประกอบ การสื่อ แต่ไม่ตอบโจทย์ทางสังคม กลับซ�้ำเติม เพิ่มความเครียด ความกังวล หรือความวุ่นวายใจ ให้กับผู้คนในสังคม ในขณะที่เศรษฐกิจโดยรวมซึ่งเราสามารถสัมผัส และรับรู้ได้ว่ามันชักจะตึงๆ ฝืดๆ รวมถึงปัญหา ส่วนตัวอื่นๆ ที่เกิดขึ้นรุมเร้าเฉพาะบุคคลเข้าไป ด้ ว ยแล้ ว จึ ง ท� ำ ให้ ย ากที่ เ ราจะหลี ก พ้ น ภาวะ ความเครียดไปได้ ได้แต่ย�้ำเตือนให้ทุกท่านหา ทางรับมือเพื่อลดความเครียดและความกดดันกัน อย่างมีสติ.

นเดือนหน้า (มิถุนายน ๒๕๕๘) ก็จะวิสาขบูชาแล้ว แต่ ยังไม่เห็นหรือได้รับรู้ว่าคราบสนิมบนยอดพระธาตุจะ ได้รับการแก้ไขอย่างไร ท่านอาจารย์ฉัตรชัยบอกผมว่าทาง จังหวัดมอบเป็นหน้าที่ของกรมศิลปากร ผมเองก็ไม่ได้กราบ เรียนถามท่านเจ้าคุณเทพฯ ว่าจะอย่างไรหลังจากที่ท่านบอก ว่ า หลั ง มาฆบู ช า ทางวั ด รอไม่ ไ หวจะต้ อ งท� ำ อะไรสั ก อย่ า ง แล้ว เห็นแต่ความคืบหน้าของการปรับปรุงอาณาบริเวณวัด ตามโครงการมรดกโลก รวมทั้งเริ่มมีการบูรณะพระวิหารคด เป็นการใหญ่เข้ามาอีก โดยคราบสนิมบนยอดพระธาตุก็ไหล ผ่านปล้องไฉนทั้ง ๕๒ ปล้องลงมาจะถึงองค์สถูปแล้ว ในขณะ ที่เมืองนครที่อาศัยองค์พระบรมธาตุเป็น “จุดขาย” ที่ผมไม่ อยากให้ใช้เพราะฐานะท่านยิ่งใหญ่กว่ามากนักนั้น ก็ด� ำเนิน ต่อไปถึงขนาด ททท. ท�ำการแปลหนังสือ “ตามรอยธรรมที่ เมืองนคร” ที่ผมเรียบเรียงให้ เป็นภาษาจีนเอาไปเผยแพร่ถึง เมืองจีนและก�ำลังด�ำริจะท�ำฉบับภาษาอังกฤษอยู่ โดยหนังสือ นี้ คุณดู๋ สัญญา คุณากร ได้เคยน�ำไปท�ำเป็นสารคดีออกมา เป็ น ที่ ฮื อ ฮาทั่ ว ประเทศ เน้ น รอยธรรมทั่ ว เมื อ งนคร ไม่ ไ ด้ เฉพาะแต่ที่องค์พระบรมธาตุเท่านั้น เดื อ นนี้ “นครดอนพระ” จึ ง ขอชวนท่ า นไปตามรอย ธรรมใหม่ๆ ในเมืองนครที่น่าจับตามอง ด้วยกันนะครับ ที่เป็นที่สนใจและจับตามองกันมากที่สุด ณ ขณะนี้ น่า จะเป็น “ธุดงคสถานนครธรรม” บนถนนวงแหวนสายตัดใหม่ นาพรุ-บ่อล้อที่มีคุณประกอบ มานะจิตต์ มหาอุบาสกที่ท�ำบุญ

ใหญ่ๆ ไว้เยอะ อุทิศที่ดิน ๒๔ ไร่พร้อมถมและขยายไฟฟ้า พร้อมกับเงินและอาคารแรกถวายแก่คณะธรรมกายเพื่อจัด ตั้งเป็นธุดงคสถานโดยใช้ชื่อว่า “นครธรรม” ที่ขณะนี้ไม่เพียง การก่ อ สร้ า งขยายอาคารกั น แบบที่ เ รี ย กว่ า เป็ น ที่ ฮื อ ฮาว่ า ใหญ่โต แต่ยังมีนานากิจกรรมอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ เฉพาะที่ ผ ่ า นไปก็ เ ห็ น ป้ า ยโครงการสามเณรมั ธ ยมต้ น แบบ สู่ AEC รุ่นที่ ๒ กับ ทอดกฐินสามัคคีสถาปนาหอฉันคุณยาย อาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง โดยมีเหรียญรูป หลวงพ่อสดขนาดยักษ์ประดับ (สมมุติว่าเป็น) เพชรติดตั้งอยู่ ด้านหน้า ขณะที่ก�ำลังมีการถมที่ดินด้านหลังออกไปอีก ไม่ ทราบเช่นกันว่าจะเป็นอย่างไรและขนาดไหนในที่สุด งาน นี้ที่ป้ายด้านหน้าระบุว่าท่านสมชาย ฐานะวุโฒ ผู้ช่วยเจ้า อาวาสวัดพระธรรมกายรูปส�ำคัญเป็นโต้โผใหญ่ซึ่งไม่ธรรมดา แน่นอน บนถนนกลั บ เข้ า เมื อ งนครไม่ ไ กลจากธุ ด งคสถาน นครธรรม หากเลี้ ย วซ้ า ยที่ ศู น ย์ ร าชการนาสารเข้ า ไปที่ วั ด ป่าห้วยพระ จะพบอีกฐานธรรมส�ำคัญที่พระท่านเริ่มกันมา เป็นสิบๆ ปี หลังจากย้ายวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ของ มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฎ ราชวิ ท ยาลั ย ออกจากวั ด พระธาตุ

>> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

ปปัตตานี เลยไปด่านบ้านประกอบที่ สงขลา กลับมาถึงบ้านเมืองนคร อ่าน พบข่ า วชาวพุ ท ธจากมาเลเซี ย ๑,๐๐๐ กว่าคน น�ำผ้าพระบฏมาห่มพระบรมธาตุ เจดีย์แล้วขนลุกซู่ ตอนนั่งรถจากชายแดนไทย-มาเลเซียเข้าหาดใหญ่ สมศักดิ์ ทองค�ำ ปรารภ ขึ้นลอยๆ ว่าบ้านเรามีพระบรมธาตุเจดีย์ เขากล่าวว่า ‘บ้านเรา’ เพราะเป็นชาว ต� ำ บลแหลม อ� ำ เภอหั ว ไทร เขาอาศั ย ผ้ า เหลื อ งบวชเรี ย น แล้ ว ลาสิ ก ขาออก มาเรียนต่อ จนมีงาน มีร้านท�ำกระจกอลูมิเนียมของตนเอง และตั้งหลักปักฐาน มีครอบครัวอยู่หาดใหญ่ สมศั ก ดิ์ กั บ ผมกลั บ จากด่ า นศุ ล กากรบ้านประกอบ ต�ำบลสะท้อน อ�ำเภอ นาทวี จังหวัดสงขลา หลังไปร่วมพิธีวาง ศิลาฤกษ์เจดีย์หลวงปู่ทวด ที่คุณกฤษณ์ ประชาราษฎร์นิกร คหบดีเมืองหาดใหญ่ มีเจตนาแน่วแน่ที่จะสร้างให้ส�ำเร็จ สมศักดิ์เปรยกับผมว่าที่ไหนมีพระ บรมธาตุเจดีย์ที่นั่นจะดูดพลังจักรวาลมา ไว้มากกว่าที่อื่นๆ นอกจากเมืองนคร ยัง มี น ครปฐม และนครพนม เป็ น ต้ น ผม บอกเล่าไปตามที่ได้ยินได้ฟังมาว่า สถาน ที่แห่งใดผู้คนกราบไหว้สักการะ สถาน ที่ แ ห่ ง นั้ น เทวดาจะเข้ า ไปสิ ง สถิ ต และ อ�ำนวยอวยชัยแก่ผู้กราบไหว้สักการะ

ชาวพุ ท ธจากมาเลเซี ย เชื่ อ ว่ า ถ้ า ได้ กราบพระบรมธาตุเมืองนครฯ ๙ ครั้ง ชีวิต จะรุ่งเรืองทั้งหน้าที่การงานและครอบครัว นี่ก็อาจเชื่อมโยงได้ด้วยความศรัทธา ชาวมาเลเซี ย จากรั ฐ ปี นั ง เคดะห์ และเปอร์ลิส เดินทางด้วยรถบัสจ�ำนวน ๓๐ คัน หรือประมาณ ๑,๒๐๐ คนมายัง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อสักการะ พระบรมธาตุเจดีย์ โดยน�ำผ้าพระบฏผืน ยาวสีจีวรเดินเป็นขบวนแห่รอบองค์พระ

บรมธาตุ ฯ และภายในวิ ห ารทั บ เกษตร ถวายเป็นพุทธบูชาและสิริมงคล ย้อนกลับไปยังด่านบ้านประกอบที่ เพิ่ ง เปิ ด ด่ า นติ ด ต่ อ ค้ า ขายกั บ เพื่ อ นบ้ า น ต่ อ ไปเส้ น ทางนี้ จ ะเป็ น ทางผ่ า นที่ ส� ำ คั ญ ตามประวัติเราทราบว่าหลวงปู่ทวดเดิน ทางจากวัดช้างให้ จังหวัดปัตตานี ผ่าน ช่องทางบ้านประกอบไปมาเลเซีย นาน ร่วมๆ ๓๐ ปี มีผู้พบหลักฐานหลวงปู่ทวด มรณภาพในมาเลเซี ย ปั จ จุ บั น ชาวไทย

เหล่ า นี้ นั บ ถื อ และศรั ท ธาหลวงปู ่ ท วด มาก ผมคิดว่าเจดีย์หลวงปู่ทวดที่สร้าง บริเวณชายแดนจะเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ตรงประตู ท างเข้ า ประเทศไทยก่ อ นมา สักการะพระบรมธาตุเจดีย์ หรือน�ำบุตร มาบรรพชาอุปสมบทที่เมืองนคร ข่ า วรายงานว่ า หลั ง น� ำ ผ้ า พระบฏ ห่ ม พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ แ ล้ ว คณะจะ เดินทางต่อไปยังวัดพะโคะ อ.สทิงพระ จ.สงขลา เพื่ อ สั ก การะหลวงปู ่ ท วด แล้ ว เดิ น ทางกลั บ ประเทศ มาเลเซี ย นี่ จึ ง เป็ น เครื่ อ ง ยื น ยั น ว่ า เจดี ย ์ ห ลวงปู ่ ท วด ที่ด่านบ้านประกอบจะเป็น หมุดหมายส�ำคัญในยุคเปิด บ้ า นเปิ ด เมื อ ง หรื อ AEC ปลายปี ๒๕๕๘ นี้


หน้า ๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๘ เรื่องโบราณสถานคู่บ้านคู่ เมืองที่ก�ำลังจะน�ำเสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเกิดสนิมไม่ งดงามจับตา บัดนี้ บวรเวท รุ่งรุจี อธิบดีกรมศิลปากร อนุมัติให้ตั้งนั่งร้านขึ้นไปส�ำรวจหาสาเหตุการเกิดสนิมที่ ปล้องไฉนแล้ว ใช้งบประมาณ ๑,๐๓๐,๐๐๐ บาท จาก จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช, วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร และกรมศิลปากรจ�ำนวน ๓๔๓,๐๐๐ บาท ก่อนนั่งร้าน จะขึ้นมีผู้ตั้งข้อสงสัยว่าทองค�ำที่ใช้หุ้มองค์พระบรมธาตุฯ คราวบูรณะครั้งล่าสุดเป็นทองค�ำแท้หรือเปล่า...

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

พื่ อ นๆ มั ก สอบถามผมเรื่ อ งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรม ชื่ อ “ธรรมโปราโณ” บ่อยครั้ง วันนี้ถึงขอถือโอกาสเล่า ที่มาที่ไปใน “ชวนคิดชวนคุย” ให้ได้ทราบกันบางแง่มุม ว่าท�ำไมคนอย่างผม จึงมาสนใจในเรื่องอย่างนี้ สมัยเด็กผมอาศัยอยู่กับคุณยาย (แม่เฒ่า) ที่อ�ำเภอ ร่ อ นพิ บู ล ย์ กิ จ วั ต ประจ� ำ วั น ของแม่ เ ฒ่ า คื อ ตั ก บาตร ทุ ก เช้ า ผมจึ ง คุ ้ น ชิ น กั บ ผ้ า เหลื อ ง สนิ ท สนมกั บ พระ และสามเณรของวัดต่างๆ รอบบ้าน ทุกวันพระก็ต้อง กุลีกุจอช่วยเตรียมตัวไปวัด ตั้งแต่ล้างชั้น (ปิ่นโต) เก็บ ดอกไม้ไปบูชาพระ เป็นหน้าที่ของผม เหตุที่ผมชอบไป วัดตั้งแต่เด็กๆ อาจเป็นเพราะกุศโลบายของพระในยุค นั้น วันพระผมจะพบเพื่อน พบญาติทางฝ่ายแม่ ซึ่งอยู่ ในชนบท จะเจอญาติพี่น้องมากหน้าหลายตา ล้วนใจดีมี เมตตา มีเพื่อนรุ่นเดียวกันหลายคน มีขนมหวาน อาหาร รสแปลกที่ “พ่อท่าน” แบ่งเอาไว้ให้ การไปวัดก็เหมือน กับการได้ขึ้นสวรรค์กลายๆ ของผม วัดที่อยู่ใกล้บ้าน เช่น วัดพิศาล วัดเทพพนมเชือด วัดถ�้ำเขาแดง วัดเถลิง แม่เฒ่าจะวนเวียนสลับกันไปทุก วัด เพราะเจ้าอาวาสล้วนเป็นญาติของเราทุกรูป เมื่อเข้ามาอยู่กับแม่ที่ในเมือง แม้คุณแม่จะไปวัด ไม่บ่อย แต่ทุกเช้าได้ตักบาตรด้วย “อิ่วจาก๊วย” ทุกเช้า อีกเหมือนกัน ช่วงเป็นหนุ่มเก็บเงินได้สักก้อนหนึ่งก็จะ นั่งรถไฟเข้ากรุงเทพฯ อาศัยบ้านเพื่อนข้างวัดราชาฯ หา ซื้อหนังสือการเมืองมาอ่านที่สนามหลวง ไปดูนักศึกษา เขาถกปัญหาบ้านเมืองกันในธรรมศาสตร์ เจอคุณยาย ใจดีขายหนังสือธรรมะเล่มละ ๒ บาท จากสวนโมกข์มา

วางแผงเล็กๆ ขายอยู่ พลิกดูมีค�ำแปลกๆ ไม่เคยได้ยิน ในวัดมาก่อน เช่น ตัวกูของกู และมีหนังสือธรรมะที่ไม่มี รูปพระบนหน้าปก กลับเป็นรูปหมึกจีน หนังสือธรรมะ ที่ผมซื้อหามาอ่านชุดแรกคือหนังสือของท่าน “อาจารย์ พุทธทาส” แต่ทุกเล่มกลับอ่านไม่รู้เรื่อง จึงเก็บไว้ในลัง กระดาษ ซุกเอาไว้ มาหยิบอ่านอีกครั้งเมื่อคราวหลีกภัย การเมืองยุค ๑๔ ตุลา ๑๖ หนังสือที่อ่านแล้วชอบและ เข้าใจบ้างก็คือเรื่อง “เซ็น” เพราะไม่มีภาษาบาลี จึง เข้าใจมากกว่าที่เป็นค�ำบาลี เมื่อช่วงอายุ ๓๕ ปี เข้ามาอยู่ในเมืองอีกครั้ง ได้ ชักชวนเพื่อนฝูงจัดตั้ง “ชมรมผู้สนใจธรรม” นับว่ายัง เป็นแค่ผู้สนใจ ปฏิบัติยังไม่เป็น ปฏิบัติไม่ได้ มันยาก การ ปฏิบัติธรรมนั้น ความรู้สึกว่ามันมีระบบระเบียบขั้นตอน มากมาย มันไม่ง่ายเหมือน “เซ็น” เพราะเซ็นมัน “รู้ ตรงสู่จิต” ไม่ต้องท่องบาลี จึงขยาดการปฏิบัติ โดยที่เรา เข้าใจผิดไปเอง กิ จ กรรมของชมรมคื อ ไป “สนทนาธรรม” กั บ พระคุณเจ้าในวัดต่างๆ “จัดเสวนาธรรม” ในหมู่ที่สนใจ ในธรรม จัดอบรมธรรมะในสถานศึกษาต่างๆ เพราะมี “อดีตมหา” หลายคน รวมเปรียญธรรมก็หลายประโยค อยู่ ผมเองท�ำหน้าที่เล่านิทานธรรม เอานิทานเซ็นมาเล่า ให้เด็กๆ ฟังก็สนุกไม่เบื่อ ได้แง่คิดแปลกออกไป พอท�ำ ไประยะหนึ่ง ก็แยกย้ายกันไปบวช ไปปลีกวิเวก หรือล้ม หายตายจากกันไป คงเหลือเกาะกลุ่มกันอยู่ไม่กี่คน ก็ เลยจัด “ยกชั้นไปวัดทุกวันพระ” แบ่งไม่ซ�้ำวัดกัน ท�ำมาได้ ๗ ปี เที่ยวมาเกือบ >> อ่านต่อหน้า ๑๔

วั น ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๘ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เชิญ เครื่องราชสักการะที่พระราชทานอุทิศถวายเป็นพุทธบูชา เนื่องในพระราชพิธีสงกรานต์ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ ณ พระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ซึ่ง ประกอบด้วย ต้นไม้ทอง ๑ ต้น ต้นไม้เงิน ๑ ต้น เทียน ๑๘๐ แกรม ๒ เล่ม ธูปไม้ระก�ำ ๒ ดอก แพรแดงติดขลิบ ๑ ผืน และน�้ำหอม ๑ คณโฑ โดยมีพระเทพวินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นประธานสงฆ์ ข้าวยากหมากแพงต้องกระตุ้น...ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า แจ้งว่าจังหวัดจะจัดงาน ‘พลังชุมชนกระตุ้น เศรษฐกิจ นครศรีธรรมราช ประจ�ำปี ๒๕๕๘’ ๙ วัน ๙ คืน ระหว่าง ๙-๑๗ พฤษภาคม ณ บริเวณสนามหน้าศาลา กลางเพื่อส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ ลดค่าครองชีพ ส่ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว และกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ มี กิ จ กรรม ออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์ OTOP และ การประกวดพืชผลทางการเกษตร กลางคืนมีแสดงศิลป วัฒนธรรมบนเวทีกลาง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ศู น ย์ บ ริ ก ารจดทะเบี ย นแรงงานต่ า งด้ า วแบบ เบ็ดเสร็จ หรือศูนย์ One Stop Service ที่จังหวัดออกแบบ บริการประสบความส�ำเร็จถึงวันที่ ๒ เมษายน มีแรงงาน ต่างด้าวมาท�ำทะเบียนประวัติ ๒,๔๐๒ คน ระหว่าง ๒๑๒๒ พฤษภาคมนี้ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า สั่งออก หน่วยเคลื่อนที่ไปขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวที่ อ.ขนอม นายจ้างรับทราบแต่เนิ่นๆ ข่ า วจั ง หวั ด ต่ อ เนื่ อ ง...วั น ที่ ๑๒-๑๕ เมษายน ฝนตกตลอดช่ ว งสงกรานต์ ประชาชนในเขตเทศบาลที่ เดือดร้อนเรื่องน�้ำก่อนหน้าพอมีน�้ำใช้สอย แต่นครศรีฯ ยัง ประสบภัยแล้งใน ๖ อ�ำเภอ ๓๓ ต�ำบล ๒๗๔ หมู่บ้าน และ บางพื้นที่อาจเกิดไฟป่า ‘ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์’ ตามดูหน่วยงาน รับผิดชอบอย่าให้คลาดสายตา

นครศรีธรรมราช

กิตติพันธ์ เพชรชู นายอ�ำเภอลานสกา เชิญชวน ไปชมแปลงสาธิ ต การปลู ก ทานตะวั น เฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เนื่ อ งในโอกาสเฉลิ ม พระชนมายุ ๕ รอบ บนเนื้ อ ที่ ๕ ไร่ บริ เ วณศู น ย์ เ รี ย นรู ้ โ ครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริ ม.๙ ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีฯ

ขอแสดงความยิ น ดี กั บ ม.ราชภั ฏ นครศรี ฯ ที่ นักศึกษาทีม NSTRU Eco-Racing คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับรางวัลชนะเลิศในการเข้าร่วมแข่งขันรถต้นแบบ ประหยัดพลังงาน SHELL ECO-MARATHON ASIA ๒๐๑๕ ณ สนามลูเนต้า พาร์ค กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ (อ่านข่าวปก) รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี จัดงานแสดง ความชื่นชมยินดี ‘รักบ้านเกิด’ ฝากมหาวิทยาลัยสนับสนุน เม็ ด เงิ น พั ฒ นารถยนต์ ต ้ น แบบนี้ ใ ห้ ส� ำ เร็ จ และอย่ า ปล่อยให้องค์กรธุรกิจใดเข้ามาฉกฉวยเอาภูมิปัญญาของ นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาไปจดลิขสิทธิ์เป็นอันขาด ห่วงใยสังคมสงฆ์เพราะนครศรีฯ เป็น ‘เมืองพระ’ หลัง พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ จินดาเงิน ผบ.มทบ.๔๑ ส่งทหาร เข้าไปตรวจสอบและสืบหาเรื่องสตรีผู้หนึ่งเข้าไปบงการ และจั ด การผลประโยชน์ ภ ายในวั ด วั ง ตะวั น ตก ขณะนี้ เหตุการณ์สงบดี ‘รักบ้านเกิด’ ถามคนใกล้ชิด ผบ.มทบ. ๔๑ ทราบว่ า สตรี ผู ้ นั้ น หลบหนี ไ ม่ ย อมไปรายงานตั ว ...

๑ ๓

๒ ๔

หน้า ๕

คิดดี ธีรยุทธ ถาวรพรามหมณ์ ‘สท.แป๋ม’ จัดงาน ประกวดไก่แจ้ที่ศาลาอเนกประสงค์เทศบาลต�ำบลท่าแพ มีผู้เลี้ยงไก่จากทั่วประเทศน�ำไก่สวยๆ มาประกวด ผู้จัด หวังกระตุ้นให้ผู้คนหันมาเลี้ยงไก่แจ้เป็นรายได้เสริม พระครูวรธรรมวิภัช (เสฎฐี สุธมโม) เจ้าอาวาส วั ด ก้ า งปลา ต.ที่ วั ง อ.ทุ ่ ง สง ขึ้ น ป้ า ยประกาศ “ปิ ด วั ด ชั่วคราว จนกว่าทุกเรื่องราวจะคลี่คลายชัดเจน” เพราะ เกิดโมหะที่ชาวบ้านยกปลัดขิกอันใหญ่สูงกว่า ๓ เมตร ติ ด ตั้ ง ในบริ เ วณวั ด ทิ้ ง ล้ ม กั บ พื้ น ชาวบ้ า นที่ เ ป็ น อุ บ าสก อุบาสิกาคงรู้สึกอับอายและปฏิเสธด้วยการรื้อทิ้ง พระครู จะเอาชาวบ้ า นหรื อ หุ ง ข้ า วปรุ ง แกงฉั น เองก็ ต ้ อ งตรอง ด้วยสติปัญญา บริษัท ฮอนด้าศรีนคร จ�ำกัด โดย อารยา สารคุณ ได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ อ อกบู ธ ในงาน “ไปช้ อ ป ไปแบ้ ง ค์ KTB Growing Together กรุงไทย ก้าวไกล ไปกับคุณ” โดยมี วาริณ ชิณวงศ์ เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ในงานนี้บริษัท ฮอนด้าศรีนคร จัดโปรโมชั่นสุดคุ้ม ออกรถจักรยานยนต์ ดอกเบี้ยเพียง ๑.๔๙% เท่านั้น ฟรีดาวน์ + พรบ. + ทบ. + ของแถม ผ่อนแบบสบายๆ ยาวๆ นานสูงสุด ๔๘ เดือน ณ ธนาคารกรุ ง ไทย สาขาเมื อ งทอง นครศรี ธ รรมราช หรื อ ติ ด ต่ อ สอบถามได้ ที่ บริ ษั ท ฮอนด้ า ศรี น คร จ� ำ กั ด ส�ำนักงานใหญ่ สาขาตลาดหัวอิฐ ขอบคุ ณ คุ ณ ผู ้ อ ่ า น ผู ้ มี อุ ป การคุ ณ ต้ น เดื อ น มิถุนายน พบกันอีกครั้ง สมาชิ ก สหกรณ์ แ ละกลุ ่ ม เกษตรกร ประชาชนทั่ ว ไป น� ำ คู ป องส่ ว นลด ๑๐% จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ใช้ซื้อสินค้าสหกรณ์ จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ดั ง นี้ ๑.สหกรณ์ ก ารเกษตร พรหมคีรี จ�ำกัด อ.พรหมคีรี ใช้คูปองส่วนลด ๑๐% ได้แก่ ข้าวสาร น�้ำตาล อื่นๆ ๒. สหกรณ์การเกษตร พระพรหม จ� ำ กั ด อ.พระพรหม ใช้ คู ป องส่ ว นลด ๑๐% ได้แก่ น�้ำมันพืช น�้ำปลา กาแฟ ๓. สหกรณ์ กองทุ น สวนยางบ้ า นเสม็ ด จวนพั ฒ นา จ� ำ กั ด อ.ทุ่งใหญ่ ใช้คูปองส่วนลด ๑๐% ได้แก่ ข้าวสาร ๔. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. นครศรีธรรมราช จ�ำกัด อ.เมือง ใช้คูปองส่วนลด ๑๐% ได้แก่ ชุดน�้ำยาเอนกประสงค์ แชมพู ครีม อาบน�้ำเนื้อมุก สบู่ก้อนใส สบู่เหลว น�้ำยาปรับผ้า นุ่ม น�้ำยาล้างจาน-น�้ำยาซักผ้ากึ่งส�ำเร็จรูป กาแฟ ST ชุมพร ดับเบิ้ลช็อต กาแฟ ST ชุมพร ออริจินัล

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

ถนนเนรมิต ท่าวัง

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

โรบินสัน

สหไทยพลาซ่า

แยกคูขวาง (ติดปั๊มเชลล์)

ตลาดเสาร์อาทิตย์

หัวอิฐ

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai

ท่าม้า


หน้า ๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ผ่ น ดิ น ไหวที่ ป ระเทศเนปาลขนาด ๗.๘ ริกเตอร์ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘ และอาฟเตอร์ช็อค มีผู้เสียชีวิต ในเนปาล อินเดีย ทิเบตและบังกลาเทศ จนถึงวันที่ ๒๗ เมษายน มีผู้เสียชีวิตกว่า ๒,๒๖๓ คน บาดเจ็บ ๔,๖๔๗ คน นับเป็น แผ่ น ดิ น ไหวขนาดใหญ่ ที่ ส ร้ า งความสู ญ เสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างยากประเมิน แผ่ น ดิ น ไหวขนาดใหญ่ ค รั้ ง นี้ ไ ม่ มี การเตื อ นภั ย ล่ ว งหน้ า และไม่ ไ ด้ เ ตรี ย ม ตั ว รั บ มื อ ความสู ญ จึ ง เกิ ด ขึ้ น อย่ า งยาก ประเมินดังกล่าวแล้ว โลกธรรมชาติ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป สะสมภั ย พิ บั ติ ไ ว้ ร อบตั ว เรา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชของเราก็ เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ครั้ ง แล้ ว เล่ า ตามฤดู ก าล ขณะนี้ ห ลาย พื้ น ที่ ป ระสบภั ย แล้ ง และอาจเกิ ด ภั ย พิบัติบางอย่างขึ้นมา ‘รักบ้านเกิด’ จึงน�ำ ข้อมูลภัยพิบัติและการรับมือมาเสนอเผื่อ เกิดประโยชน์ ไฟป่ า : เพลิ ง ในบริ เ วณป่ า ที่ เ กิ ด จากธรรมชาติหรือจากมนุษย์ โดยมีวัสดุ กิ่งไม้ ต้นไม้ หญ้าแห้ง เป็นเชื้อเพลิง เพลิง จะลุ ก ลามกว้ า งขวางอย่ า งรวดเร็ ว เมื่ อ มีความแห้งแล้ง และลมแรง ข้ อ ควรจ� ำ : ไฟป่ า หากรี บ ดับ โดย เร็ ว จะไม่ รุ ก ลามอย่ า งกว้ า งขวาง ไฟป่ า จะลุกลามตามทิศทางลม ไฟป่าสามารถ ลุกลามข้ามแนวกันไฟ หรือข้ามถนน เมื่อ มีเชื้อเพลิงจ�ำนวนมาก และมีลมแรง การ ดั บ ไฟป่ า จะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ ว ยการตั ด เชื้อเพลิง

ดินถล่ม หรือบริเวณหุบเขา พื้นที่มีความ ลาดชันสูง พื้นที่ลาบลุ่มแอ่งกระทะ พื้นที่ ร่องน�้ำ พื้นที่ถมดินใหม่ที่มีความลาดชัน ข้อควรจ�ำ : ๑. หากท่ า นอยู ่ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณ อั น ตราย ให้ ส� ำ รวจพื้ น ที่ โ ดยรอบ เพื่ อ เตรียมการหนีภัย ๒. ควรปลู ก พื ช ยึ ด หน้ า ดิ น บริ เ วณ เชิ ง เขา และพื้ น ที่ ล าดชั น เพื่ อ ลดความ เสี่ยงของแผ่นดินถล่ม ๓. สั ง เกตอากาศหากฝนตกหนั ก ควรอพยพไปสู่พื้นที่ปลอดภัยโดยเร็ว เจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการพิเศษดับไฟป่า (หน่วยเสือไฟ จ.ตาก) ลาดตระเวนท�ำการดับไฟที่ยังครุอยู่ใต้ดิน ๔. สังเกตพื้นที่รอบที่อยู่อาศัยหาก เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการไหม้ซ�้ำอีก ในพื้นที่ป่าพรุท่าช้างข้าม อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช หลังจาก สถานการณ์ไฟป่าเริ่มดีขึ้น ภาพ : bangkokbiznews.com/gallery/20120823 พบสิ่งบอกเหตุที่มีโอกาสเกิดดินถล่มให้ แจ้งหน่วยงานรับผิดชอบด�ำเนินการแก้ไข ข้อควรปฏิบัติ : ทราย โคลน ซึ่งอยู่บนที่ลาดชันสูงเลื่อน โดยเร็ว ๑. หากไม่จ�ำเป็นไม่ควรจุดไฟในป่า ไถลมายังที่ต�่ำ ภัยแล้ง : สภาวะความแห้งแล้งผิด หากจุดไฟต้องควบคุมให้ไฟดับโดยสนิท ข้ อ ควรจ� ำ : เมื่ อ เกิ ด ฝนตกหนั ก ๒. สร้างแนวกันไฟขนาดกว้างรอบ หรือเกิดแผ่นดินไหว มักเกิดดินถล่มตาม ปกติ ข องอากาศเป็ น เหตุ ใ ห้ ค วามชื้ น ใน ที่พักอาศัยด้วยการก�ำจัดวัสดุเชื้อเพลิง มา ให้สังเกตสีของน�้ำที่ไหลผ่าน หากมีสี อากาศ และในดินน้อยลง มีผลต่อปริมาณ ๓. การดับเพลิงต้องอยู่เหนือลม ขุ่นข้นอาจเกิดภัยดินโคลนถล่ม เมื่อเกิด น�้ ำ เพื่ อ อุ ป โภค บริ โ ภค และการเกษตร ๔. เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน ดินถล่ม จะเป็นอันตรายต่ออาคารสิ่งปลูก ขาดแคลน มีโอกาสเกิดไฟป่า ข้อควรจ�ำ : น�้ำสะอาดเป็นปัจจัย เพื่ อ ขอความช่ ว ยเหลื อ การดั บ ไฟป่ า ฝึ ก สร้ า ง เส้ น ทางคมนาคมถู ก ตั ด ขาด เสา ส� ำ คั ญ ในการด� ำ รงชี วิ ต น�้ ำ เป็ น ปั จ จั ย ซ้อมอาสาสมัครในการดับไฟป่า ไฟฟ้า และต้นไม้ล้ม ข้อควรปฏิบัติ : หลีกเลี่ยงการสร้าง ส�ำคัญส�ำหรับผลผลิตทางการเกษตร ข้อควรปฏิบัติ : เตรียมกักเก็บน�้ำ แผ่นดินถล่ม : ลักษณะคือ หิน ดิน บ้านอาศัยอยู่ในบริเวณที่เคยมีเหตุการณ์ สะอาดเพื่ อ การบริ โ ภคให้ เ พี ย งพออย่ า รีรอมิฉะนั้นจะไม่มีน�้ำให้กักเก็บ ๑. ขุ ด ลอกคู คลอง และบ่ อ น�้ ำ บาดาล เพื่อเพิ่มปริมาณกักเก็บน�้ำ ๒. วางแผนใช้ น�้ ำ อย่ า งประหยั ด เพื่อให้มีน�้ำใช้ตลอดห้วงภัยแล้ง ๓. การใช้ น�้ ำ เพื่ อ การเกษตร ควร ใช้ในช่วงเช้า และเย็นเพื่อลดอัตราการ ระเหยน�้ำ ๔. การใช้ น�้ ำ จากฝั ก บั ว เพื่ อ ช� ำ ระ ร่ า งกายจะประหยั ด น�้ ำ มากกว่ า การตั ก อาบ ไฟไหม้ ป ่ า พรุ บ้ า นกุ มแป ถนนหมายเลข ๔๑๕๑ ๕. ก� ำ จั ด วั ส ดุ เ ชื้ อ เพลิ ง รอบที่ พั ก ต.บ้านตูล อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่า และการลุกลาม ๖. เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน เพื่อการขอน�้ำบริโภค และการดับไฟป่า

ส�ำนักธรณีวิทยาพิบัติภัย ดินถล่ม ภาคใต้ ภาพ : update66.com

(ข้อมูล : ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ :http://www.ndwc.go.th/web/ )


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ตอน “มือสมัครเล่นเสียเงิน มืออาชีพได้เงิน”

บับที่แล้ว ผมเขียนถึงความไม่สมดุลของ การขยายเขตธุรกิจในเมืองใหญ่ จนอาจ จะท� ำ ให้ ผู ้ เ ล่ น มื อ สมั ค รเล่ น ต้ อ งจ่ า ยเงิ น ใน โครงการมีแต่ความเป็นไปได้ เวลาผ่านไป ปี ก่อให้เกิดผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ ราคาแพงมากกว่าเดิมอย่างน่าตกใจ ท�ำไมจึง ที่ ๑ - ปีที่ ๒ ก็เริ่มเห็นภาพที่ไม่สวยงามเกิด ทรัพยากรน�้ำ ไฟฟ้า ถนนหนทาง รวมถึงความ เป็นเช่นนั้น เรามาตามดูกันต่อนะครับ จาก ขึ้ น ส่ ง ผลกระทบกั บ ผู ้ ล งทุ น โดยเฉพาะมื อ แออัดของชุมชนเมือง เกิดกลุ่มคนจนเมือง การสอบถามผู้ลงทุนหน้าเก่า หน้าใหม่ ก็ได้ ใหม่-สมัครเล่น จากที่เคยคาดหวังจะมีก�ำไร เพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อการดูแลเรื่องสุขภาพ ค�ำตอบคล้ายๆ กัน “ได้มีการวิจัยกลุ่มลูกค้า ทุกอย่างเริ่มเปลี่ยนไป เริ่มกินทุนจนหลาย อนามัย และปัญหาอื่นทางสังคม วัฒนธรรม ไว้ชัดเจนแล้ว การแข่งขันยังไม่สูงมาก เมือง โครงการต้องหยุดชั่วคราว “เกมธุรกิจในยุค ตามมาอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ หากไม่ มี ก าร ก� ำ ลั ง เติ บ โต รองรั บ AEC” บ้ า งก็ บ อกว่ า นี้ ห ากต้ อ งการรายได้ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก็ ต ้ อ งลงทุ น ออกแบบวางผังเมืองไว้อย่างมีคุณภาพ ความ “เป็นโครงการเล็กๆ ไม่ใหญ่มากนัก ต้นทุน ให้มากขึ้น ใครมีทุนมากจึงมีโอกาสได้มาก จริงวันนี้ก็ต้องยอมรับถึงการไม่ให้ความสนใจ ที่ดินต�่ำ หรือไม่ก็ที่ดินของตนเองซื้อไว้นาน ใครมี ทุ น น้ อ ยก็ จ ะได้ น ้ อ ย - ไม่ ไ ด้ แ ละอาจ ต่ อ เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง ของทุ ก ภาคส่ ว น แต่ แล้ว ท�ำไม่มาก หาผู้ซื้อไม่ยากท�ำเลดี เปิดแล้ว ติดลบ” มายังกลุ่มผู้ซื้อหวังเก็งก�ำไรจากอดีต ที่ จ ะกล่ า วถึ ง ในตอนนี้ คื อ แนวโน้ ม ที่ จ ะเกิ ด มีคนจองใกล้หมดสบายมาก สร้างเสร็จแล้วก็ ที่เคยได้เป็นกอบเป็นก�ำ วันนี้ทั้งหน้าเก่า หน้า ฟองสบู่เล็กในกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ใน ไม่ต้องยุ่งยากในการบริหาร แหล่งสนับสนุน ใหม่ มืออาชีพ มือสมัครเล่น นักลงทุนด้าน เขตเมืองใหญ่ตามต่างจังหวัด ไม่ว่าจะเป็น ทางการเงินก็มีอยู่แล้ว” ฟังไปฟังมาเกือบทุก อสังหาริมทรัพย์ อยู่ในภาวะเริ่มขายไม่ออก หมู่บ้านจัดสรร อาคารพาณิชย์ไม่ได้ราคา ที่ซื้อเก็บไว้จะให้ ๑๐ ธุ ร กิ จ ดาวเด่ น ในช่ ว งครึ ่ ง หลั ง ปี ๒๕๕๘ คอนโดมิเนียม- อพาร์ทเมนท์เช่าต่อราคาก็ไม่ดีอย่างที่คิด ล�ำดับ ธุรกิจ คะแนน โรงแรม- ศูนย์การค้าขนาดกลาง ๑. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ สุขภาพ และความงาม หาผู ้ เ ช่ า ก็ ย ากมากขึ้ น โดย ๙๔.๕ ขนาดใหญ่ และคอมมูนิตี้มอลล์ ๒. ธุรกิจน�ำเที่ยวในประเทศ (Inbound) เฉพาะอาคารพาณิ ช ย์ วั น นี้ ๙๓.๘ ๙๓.๐ จากความเชื่ อ ของนั ก ลงทุ น มื อ ๓. ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร ยิ่งมีการเปิดศูนย์การค้าขนาด ๔. ธุ ร กิ จ บริ ห ารการศึ ก ษา ๙๒.๔ อาชีพ มือสมัครเล่น และผู้ซื้อ ผู้ ใหญ่มากขึ้นเท่าใด ผู้ประกอบ ๕. ธุรกิจประกันชีวิต/ประกันภัย ๘๙.๑ เช่ า พื้ น ที่ ที่ ม องเห็ น การเติ บ โต ๖. ธุรกิจก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การรายย่ อ ยที่ เ คยคิ ด ว่ า เช่ า ๘๗.๖ ของธุรกิจในแนวนี้มาตั้งแต่หลัง ๗. ธุรกิจบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อาคารพาณิชย์แล้วพักอาศัย ๘๑.๒ ปี ๒๕๔๐ (วิกฤติต้มย�ำกุ้ง) ใคร ๘. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์/บ.หลักทรัพย์/บ.จัดการกองทุน บวกท�ำการค้าชั้นล่าง เริ่มมี ๘๐.๕ ๙. ธุ ร กิ จ ขนส่ ง และโลจิ ส ติ ก ส์ ๗๙.๘ ที่มีสินทรัพย์เหล่านี้ต่างได้ก�ำไร ทางเลื อ กใหม่ คื อ เข้ า ไปเปิ ด ๑๐. ธุ ร กิ จ การผลิ ต สื ่ อ ออนไลน์ (ดิ จ ิ ต อลคอนเท็ น ต์ ) ๗๖.๔ จากการขาย ให้เช่า มาอย่างต่อ ในศูนย์การค้า แต่ความจริง ที่มา : ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เนื่อง และนี่คือความจริงที่ไม่อาจ อาจไม่สวยงามอย่างที่คิดก็ได้ ปฏิเสธได้ แต่ในอีกด้านหนึ่งนั้น การจ่ายค่าเช่าสูงเกินไปก็ย่อม ๑๐ ธุรกิจดาวร่วง ในช่วงครึ่งหลังปี ๒๕๕๘ ในทุกธุรกิจ ย่อมมีผู้เล่นที่เป็นมือ ล�ำดับ ท� ำ ให้ ผู ้ เ ช่ า รายย่ อ ยมี แ ต่ จ ะ ธุรกิจ คะแนน อาชีพ กับมือสมัครเล่น กฎกติกา ๑. ธุรกิจเครื่องจักรกลทางการเกษตรและจ�ำหน่ายปัจจัยการผลิต ๑๑.๔๕ ขนเงิ น ไปส่ ง ให้ กั บ เจ้ า ของ ๑๒.๐๓ ก็คือ “มือสมัครเล่นเสียเงิน มือ ๒. ธุรกิจขายปลีก/ให้เช่าสื่อบันเทิงประเภท CD/DVD ศูนย์การค้า ได้มาก็เพียงภาพ ๓. ธุรกิจแปรรูปยางพารา ๑๔.๑๗ อาชีพได้เงิน” และเวลานี้ก�ำลัง ๔. ธุรกิจขายรถมือ 1 และเต๊นท์รถมือ 2 ที่ดูดี ใครถามก็บอกว่า “ท�ำ ๑๕.๘๖ เป็นบทพิสูจน์ว่าความเชื่อเดิมๆ ๕. ธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์/จักรยานยนต์ (Leasing) ธุรกิจอยู่ในห้างชื่อดัง” ข้อคิด ๑๖.๓๘ ๑๘.๐๑ ประสบการณ์เดิมจะถูกท้าทาย ๖. ธุรกิจติดตั้งแก๊ส LPG ครับ...อย่าลืมว่า..การแค่ดูดี ๗. ธุ ร กิ จ ปั ้ ม LPG ๑๘.๔๓ มากยิ่ ง ขึ้ น ในยุ ค ของการ “ตก แต่ ข าดทุ น สุ ด ท้ า ยก็ ดู ไ ม่ จื ด ๘. ธุรกิจสายการบินแบบเช่าเหมาล�ำ (Charter Flight) ๒๐.๕๖ รุ ่ น อย่ า ง เฉี ย บพลั น ” เมื่ อ โลก ๙. ธุรกิจอาหารทะเลแช่แข็ง อยู่ดี ๒๑.๗๒ เข้ า สู ่ ยุ ค อุ ต สาหกรรมใหม่ ก าร ๑๐. ธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ค� ำ เตื อ น! ส� ำ หรั บ นั ก ๒๓.๙๕ เปลี่ ย นแปลงแบบก้ า วกระโดด ที่มา : ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย ลงทุ น ท้ อ งถิ่ น มี ที่ ดิ น ของ

เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ วันเสาร์ที่ ๒ พฤษภาคม วันอาทิตย์ที่ ๑๐ พฤษภาคม วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤษภาคม วันจันทร์ที่ ๒๕ พฤษภาคม

๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘

เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนหก ปีมะแม เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือนหก ปีมะแม เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือนหก ปีมะแม เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนเจ็ด ปีมะแม

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

ตนเองต้องการพัฒนาเปิดศูนย์การค้าแบบ คอมมูนิตี้มอลล์ (Community Mall) ขอ แนะน�ำว่าโอกาสประสบความส�ำเร็จมีน้อย มาก อย่าเพียงคิดว่าท�ำเลดี ต้นทุนที่ดินไม่มี เพราะท�ำธุรกิจแนวนี้คอนเซ็ปท์ (Concept) ต้องมาก่อน คือมีภาพชัดเจนว่าตรงนี้จะเป็น อะไร? ท�ำเพื่อใคร? (ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย) ส� ำ คั ญ มากนะครั บ อย่ า งกรณี ก ารเปิ ด ห้ า ง ชื่อดังอย่าง Central, Robinson, Tesco Lotus หรือแม้แต่ 7-11 แต่ละ Brand มี Concept ชัดเจนลูกค้าต้องการให้เปิดเพื่อ เขาจะมาใช้บริการ ค�ำถามคือของเราเปิดแล้ว เขาอยากมามั้ย? ไม่ใช่มีพื้นที่อยู่แล้วก็คิดท�ำ โดยหวังค่าเช่าจากผู้เช่ารายย่อย เมื่อก�ำหนด “Concept” ชัดเจนก็มาพิจารณาเรื่องสถาน ที่ และกลุ ่ ม ลู ก ค้ า ในรั ศ มี ก ารค้ า ของเราที่ จะมาใช้บริการ จากนั้นพิจารณาการให้สิ่ง อ�ำนวยความสะดวกในการเข้าออก ที่จอด รถ การจราจร บรรยากาศโดยรวม คู่แข่งขัน ในบริเวณใกล้เคียงและปัจจัยอื่นๆ ประกอบ ไปด้วย ค� ำ เตื อ น! ส� ำ หรั บ นั ก ลงทุ น หน้ า ใหม่ การซื้อเฟรนไชส์มาเปิดบริการก็ต้องพิจารณา โครงการต่างๆ ให้รอบคอบไม่ใช่มีอาคารพาณิชย์ของตนเองแล้วไปซือ้ มาเพือ่ ท�ำธุรกิจหรือ มีที่ดินของตนเอง แล้วคิดว่าต้นทุนต�่ำ อย่า ท�ำธุรกิจเพราะแค่อยากท�ำ แต่จงท�ำด้วยการ เป็นนักธุรกิจมืออาชีพ คือต้องมีก�ำไร เติบโต ยั่ ง ยื น ธุ ร กิ จ วั น นี้ ล งทุ น สู ง แต่ ผ ลตอบแทน ต�ำ่ มาก อยากรูค้ วามจริงลองถามคนซือ้ เฟรนไชส์ดูก็ได้ครับลงทุน ๓-๕ ล้านบาท ได้คืน กลับเดือนละกี่หมื่นบาท ใช้เวลาคืนทุนกี่ปี ? ค� ำ เตื อ น! การไปท� ำ ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั บ ทุ น ขนาดใหญ่ในโครงการต่างๆ เช่นการเข้าไป เปิดร้านค้าในศูนย์การค้า การเป็นตัวแทนจ�ำ หน่ายฯ อาจตกหลุมพราง ความดูดีแต่ต้อง จ่ายด้วยราคาแพง ซึ่งไม่คุ้มกับการลงทุนนะ ครับ ทั้งหมดที่กล่าวมาไม่มีใครผิด ใครถูก หรอกครับ และไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อผมเพราะอยู่ ที่การเลือกว่าจะเป็นแบบไหนต่างหาก นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๘ เมษายน ๒๕๕๘


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

กั บ ความส� ำ เร็ จ ของที ม NSTRU Eco-Racing คณะ เทคโนโลยี อุต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลัย ราชภัฎ นครศรีธรรมราชที่ได้รับรางวัลชนะเลิศในการเข้าร่วมแข่งขัน รถต้นแบบประหยัดพลังงาน SHELL ECO-MARATHON ASIA ๒๐๑๕ ณ สนามลูเนต้า พาร์ค กรุงมะนิลา ประเทศ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ระหว่างวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ - ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ที่มีเยาวชนไทยเข้าร่วมแข่งขัน ๑๐ ทีม ซึ่ ง ที ม NSTRU Eco-Racing จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรีธรรมราชสามารถสร้างสถิติใหม่ประเภทรถยนต์ ต้นแบบแห่งอนาคต ที่ใช้เชื้อเพลิงแบตเตอรี่ไฟฟ้า ด้วย ระยะทาง ๔๕๑ กิโลเมตร/กิโลวัตต์/ชั่วโมง ได้รับรางวัล ชนะเลิศ NSTRU Eco-Racing ประกอบด้วยทีมประดิษฐ์

รถต้นแบบได้แก่ นายวุฒิพงษ์ ลู่วัฒนาพาณิชย์, นาย ภานุวัฒน์ ไชยสงค์, นายฐาปกรณ์ ด�ำอ่อน, นายมาโนช เรื อ นตระกู ล และนายภานุ วั ฒ น์ จั น ทร์ ท อง โดยนาย นิวัฒน์ ชุมพล เป็นคนขับและอาจารย์วิทยา วงษ์กลาง เป็นผู้ควบคุมการจัดสร้างรถต้นแบบประหยัดพลังงาน การแข่ ง ขั น ครั้ ง นี้ มี นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษากว่ า ๑๔๐ ที ม จาก ๑๗ ประเทศ ทั่วภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก รวมทั้ง ตะวันออกกลางและออสเตรเลีย นอกจากทีมจาก ม.ราชภัฏนครศรีธรรมราช ทีม เยาวไทยอีกหลายทีมที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขั้นครั้งนี้ เช่น ทีม ATE ๑ จากโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ ช่างกล ขส.ทบ. ชนะเลิศประเภทรถต้นแบบแห่งอนาคต ประเภท ใช้เชื้อเพลิงเบนซิน ด้วยระยะทาง ๑,๔๙๐ กิโลเมตร/ลิตร, ทีม VIRGIN จากวิทยาลัยเทคนิคสกลนคร ได้รับรางวัล ชนะเลิ ศ ประเภทรถต้ น แบบแห่ ง อนาคตใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง เอทานอลสามารถท�ำสถิติวิ่งได้ในระยะทางไกลที่สุดใน การแข่งขัน ๑,๕๗๒ กิโลเมตร/ลิตร ซึ่งเป็นสถิติสูงสุดในการ แข่งขันปีนี้ (ระยะเทียบเท่ากรุงมะนิลา-กรุงโฮจิมินท์ ซิตี้)

และยังมีอีก 3 ทีมของประเทศไทยที่ได้รับรางวัลรองชนะ เลิศในรถยนต์ประเภทต้นแบบแห่งอนาคตใช้เชื้อเพลิง ดีเซล ได้แก่ ๑. ที ม ปั ญ จะ จากวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ช ่ า งฝี มื อ ปัญจวิทยา ด้วยระยะทาง ๕๓๐.๗ กิโลเมตร/ลิตร ๒. ที มลูก เจ้า แม่ คลองประปา จากมหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ เชื้ อ เพลิ ง เอทานอล ด้ ว ยระยะทาง ๔๕๘.๘ กิโลเมตร/ลิตร และ ๓. ทีมวิทยาลัยเทคโนโลยี รัตนโกสินทร์ ใช้เชื้อเพลิงประเภทแบตเตอรี่ไฟฟ้า ด้วย ระยะทาง ๓๖๘.๗ กิโลเมตร/กิโลวัตต์-ชั่วโมง การแข่งขันเชลล์ อีโค-มาราธอน เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ที่ห้องทดลองของเชลล์ในสหรัฐอเมริกา ในการแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ให้กับนักวิทยาศาสตร์ และเป็นการท้ายทายว่าใครเป็น ผู้ที่ขับเคลื่อนยานยนต์ของตนเองได้ไกลสุดด้วยการใช้ น�้ำมันเพียงหนึ่งแกลลอน ผลการแข่งขันในครั้งนั้น ผู้ชนะ สามารถขับเคลื่อนไปได้เพียง ๕๐ ไมล์/แกลลอน หรือ ประมาณ ๒๑ กิโลเมตร/ลิตร จากวันนั้นการแข่งขันก็มี วิวัฒนาการขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้ประชาชนให้ความส�ำคัญ กับการประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง กระตุ้นให้สถาบันการ ศึกษาในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกกลาง และออสเตรเลีย สร้างนักประดิษฐ์ ออกแบบและสร้างยานยนต์ ประหยัด พลังงานเชื้อเพลิงส�ำหรับอนาคต รวมทั้งการรณรงค์ให้ เกิดการใช้พลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดมากขึ้น นายศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล กล่ า วแสดงความยิ น ดี และ ชื่นชมกับนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุสาหกรรม ม.ราชภัฎ นครศรีธรรมราช ที่ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษา ได้ประดิษฐ์ คิดค้นนวัตกรรมเทคโนโลยียานยนต์ต้นแบบ แห่งอนาคตที่ประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม จน สามารถคว้าแชมป์ในระดับเอเชีย และยังสร้างสถิติใหม่ ประเภทรถต้นแบบแห่งอนาคต โดยใช้เชื้อเพลิงแบตเตอรี่ ไฟฟ้ า นั บ เป็ น ความภาคภู มิ ใ จเป็ น อย่ า งยิ่ ง แก่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช และประเทศไทย การแถลงข่ า วครั้ ง นี้ มี ค ณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยศิษย์เก่า และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมแสดงความ ยินดีกว่า ๑๐๐ คน


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

มื่ อ สหกรณ์ ต ้ อ งเลิ ก ตาม พรบ.สหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๗๐ และ ๗๑ และ กลุ่มเกษตรต้องเลิกตามพระราชกฤษฎีกา ว่ า ด้ ว ยกลุ ่ ม เกษตรกร พ.ศ.๒๕๔๗ ต้ อ ง เข้ า กระบวนการช� ำ ระบั ญ ชี ทั้ ง สิ้ น จาก ประสบการณ์ ข องนั ก วิ ช าการสหกรณ์ ผู ้ อ�ำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ เมื่ อ มี ก ารเลิ ก สหกรณ์ แ ละกลุ ่ ม เกษตรกร แล้วจะต้องเข้าสู่กระบวนการช�ำระบัญชี แต่ ผลการช�ำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แล้ ว เสร็ จ น้ อ ยมาก และยั ง มี ส หกรณ์ แ ละ กลุ่มเกษตรกรอยู่ระหว่างการช�ำระบัญชีไม่ สามารถถอนชื่อออกจากทะเบียนอีกจ�ำนวน มาก ในส่ ว นที่ เ ป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของ ข้าพเจ้า ก็ได้พยายามด�ำเนินการต่างๆ เพื่อ ให้งานช�ำระบัญชี โดยพยายามหาแนวทาง น�ำมาใช้สลับปรับปรุงพัฒนาต่อยอดเรื่อยมา จนเห็นว่าน�ำไปเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะ จากประสบการณ์กว่า ๑๐ ปี ข้าพเจ้าพบปัญหางานช�ำระบัญชีไม่ประสบ ความส�ำเร็จ ดังนี้ ๑. ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู ้ ช� ำ ระ บัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการและขั้นตอนการ ช�ำระบัญชี ๒. การขาดการเอาใจใส่การติดตาม อย่างจริงจังจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง

และสหกรณ์จังหวัด ขาดการกระตุ้น การช่วย เหลืออ�ำนวยความสะดวก ๓. ขาดงบประมาณในการด� ำ เนิน การ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท� ำ ให้ ก ารช� ำ ระบั ญ ชี ถู ก มอง ข้าม ๔. ขาดความร่ ว มมื อ จากส� ำ นั ก งาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ ในฐานะผู้มีหน้าที่ ตรวจ สอบรั บ รองงบการเงิ น ในกระบวนการช� ำ ระ บัญชี ข้าพเจ้าได้ก�ำหนดแนวทาง และวิธีการ ในการช�ำระบัญชี ที่น่าจะได้ผลดีและน�ำเสนอ ดังนี้ ๑. จากสาเหตุข้อที่ ๑ ๑.๑ จัดอบรมผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นผู้ช�ำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมในฐานะผู้ช�ำระบัญชี ๑.๒ ก� ำ หนดให้ ผู ้ ช� ำ ระบั ญ ชี จั ด ท� ำ Action Plan การช�ำระบัญชีตั้งแต่ครั้งแรก โดยให้เริ่มต้นพร้อม ๆ กัน ๑.๓ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ ช�ำระบัญชีเพื่อติดตามผลการปฏิบัติงาน ทั้งรับ ทราบปัญหาและชี้แจงแนวทางการแก้ปัญหา ๑.๔ แต่ ง ตั้ ง ผู ้ ช� ำ ระบั ญ ชี เ ป็ น คู ่ ๆ ระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่กับ

พนักงานราชการที่มีความรู้ในการจัดท�ำบัญชี เพื่อเสริมจุดอ่อนจุดแข็งระหว่างกัน ๒. จากสาเหตุข้อที่ ๒ ๒.๑ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อ รับทราบปัญหาติดตามผลการปฏิบัติงานและ ให้จัดท�ำ Action Plan ๒.๒ มอบหมายให้ ก ลุ ่ ม งานหรื อ คณะท�ำงาน (Warroom) รับผิดชอบโดยตรง ในการติดตาม อ�ำนวยความสะดวก รับทราบ ปัญหาและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ๒.๓ น�ำเรื่องผลส�ำเร็จของการช�ำระ บัญชี มาก�ำหนดเป็นตัวชี้วัด เพื่อน�ำมาท�ำเป็น บันทึกข้อตกลง พิจารณาความดีความชอบ ในการเลื่อนขั้นเงินเดือน ๓. จากสาเหตุข้อที่ ๓ ๓.๑ สหกรณ์ที่ไม่ได้รับงบประมาณ ให้ผู้ช�ำระบัญชีจัดท�ำ Action Plan แล้วเสนอ งบประมาณ ๓.๒ ส�ำนักงานสหกรณ์จังหวัด น�ำ งบอ�ำนวยการ งบด�ำเนินงาน ฯลฯ มาจัดสรร ให้ เ ป็ น จ� ำ นวนเงิ น ที่ ชั ด เจน มอบแก่ ผู ้ ช� ำ ระ บัญชี ตาม Action Plan ที่เสนอ ๔. จากสาเหตุข้อที่ ๔ สาเหตุที่เป็นปัจจัยภายนอกต้องใช้การ

นายเทวกฤต เข็มขาว

ประสานงาน/ขอความร่วมมือกับส�ำนักงาน ตรวจบัญชีให้มีข้อตกลงระหว่างกันถึงระยะ เวลาของการตรวจสอบและรับรองงบการเงิน แนวทางการบริ ห ารการช� ำ ระบั ญ ชี สหกรณ์ แ ละกลุ ่ ม เกษตรกร ที่ เ สนอเป็ น แนวทางที่น�ำมาจากประสบการณ์และน�ำมา ใช้จนตกผลึกในระดับหนึ่ง ท�ำให้ผลการช�ำระ บั ญ ชี ส ามารถถอนชื่ อ ออกจากทะเบี ย นได้ เพิ่มขึ้น แม้บางส่วนยังไม่สามารถถอนชื่อได้ แต่ท�ำให้มีแนวทางที่ชัดเจนขึ้น จนสามารถ ก�ำหนดเป้าหมายในการท�ำงานได้ เช่น ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช ก�ำหนดเป้าหมายที่ จะด�ำเนินการช�ำระบัญชีจ�ำนวน ๙๔ แห่ง ให้ แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ๔ ปี ซึ่งข้าพเจ้า มี ค วามมั่ น ใจว่ า จะสามารถด� ำ เนิ น การได้ ตามเป้าหมายที่ก�ำหนด นายเทวกฤต เข็มขาว สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงาน

จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานเปิด การประชุ ม และร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น นายบ�ำรุงศักดิ์ ฉัตรอนันทเวช ผู้อ�ำนวย การส่วนจัดการพื้นที่คุ้มครองทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง กล่าวรายงาน มีผู้ เข้าร่วมประชุมประมาณ ๖๐ คน นายบ� ำ รุ ง ศั ก ดิ์ ฉั ต รอนั น ทเวช ผู ้ อ� ำ นวยการส่ ว นจั ด การพื้ น ที่ คุ ้ ม ครอง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กล่าวว่า สืบเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ส� ำ นั ก อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรทางทะเลและ ชายฝั ่ ง มี แ ผนจั ด ประชุ ม รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ในการจั ด ท� ำ มาตรการและแผน บริหารจัดการ พื้นที่ชุ่มน�้ำหมู่เกาะกระ เพื่อ จัดท�ำแผนและมาตรการในการประกาศ เขตพื้นที่คุ้มครอง เนื่องจากปัจจุบันนี้หมู่

เกาะกระยังไม่มีกฎหมายใดมาเป็นเครื่อง มื อ ในการคุ ้ ม ครองทรั พ ยากรทางทะเล และชายฝั ่ ง มี เ พี ย งแต่ ม ติ ค ณะรั ฐ มนตรี เท่ า นั้ น และเพื่ อ เป็ น การด� ำ เนิ น การให้ สอดคล้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ส ่ ง เสริ ม การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรทางทะเล และชายฝั ่ ง พ.ศ. ๒๕๕๘ กรมฯจึ ง ได้ คั ด เลื อ กพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ เตรี ย ม ประกาศเป็นพื้นที่คุ้มครอง ทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง ซึ่งการประชุมในครั้งนี้ ได้น�ำเสนอความเป็นมาของพื้นที่ชุ่มน�้ำหมู่ เกาะกระ การด�ำเนินการในพื้นที่ แนวทาง การจัดท�ำประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองทาง ทะเลและชายฝั่ง และให้ที่ประชุมได้ร่วม กันพิจารณาให้ความคิดเห็นในการจัดท�ำ มาตรการในพื้นที่ คุ้มครองทรัพยากรทาง

ทะเลและชายฝั่ง นายพินิจ บุญเลิศ กล่าวว่า หมู่เกาะ กระ ได้รับการประกาศเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำที่มี ความส�ำคัญระหว่างประเทศ หรือแรมซาร์ ไซต์ เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ แต่ยัง ไม่ได้มีการด�ำเนินการใดๆ จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เกาะกระมีชื่อเสียงระดับโลก อยู ่ ห างจากชายฝั ่ ง ทะเลอ� ำ เภอปากพนั ง ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร การวางแผนหรือ มาตรการต่างๆ ต้องด�ำเนินการให้ดีว่าจะ บริหารจัดการอย่างไร เพื่อรับมือกับการ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง จะมี ป ั ญ หาต่ า งๆ ตามมาอีกมากหมาย หมู่เกาะกระ มีเนื้อที่ ๒๓๓๗.๕ ไร่ ประกอบด้วยเกาะขนาดเล็ก ๓ เกาะ ได้แก่ เกาะกระใหญ่ เกาะกระกลาง และเกาะ

กระเล็ก และหินกองเรืออีก ๑ กอง เรียก ว่า หินเรือ หมู่เกาะกระมีแนวปะการังที่ สวยงามและสมบูรณ์ ๔๒๑ ไร่ ปะการัง แข็ง ๕๗ ชนิด และเป็นแหล่งวางไข่ของ เต่าตนุและเต่ากระปีละกว่า ๓๐ รัง ทั้ง ยั ง เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของชนิ ด พั น ธุ ์ ที่ อ ยู ่ ใ น สภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง เช่น เต่ากระแส และนกโจรสลัดเกาะคริสต์มาส ส่วน ชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ได้แก่เต่าตนุ นก ยางจีน จากการส�ำรวจได้พบปลาผีเสื้อ มากถึง ๑๐ ชนิด ในแนวปะการังเดียว ปั ญ หาและภั ย คุ ก คามบริ เ วณเกาะกระ ได้แก่ การท�ำลายแนวปะการังจากการ ทิ้งสมอ การทิ้งเศษอวน การท�ำประมง โดยการใช้ระเบิด ยาเบื่อ การลักลอบท�ำ ประมงอวนลากใกล้ฝั่ง การลักลอบเก็บไข่ เต่าทะเล และการควบคุมดูแลพื้นที่ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ ส� ำ คั ญ คื อ ก� ำ หนดกรอบยุ ท ธศาสตร์ ใ นการ ปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ บริ ห ารจั ด การ การแบ่ ง เขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ และ การประกาศพื้นที่คุ้มครองทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง (ข้อมูลข่าว สนง.ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครฯ)


หน้า ๑๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ผ ต รั ก ก ม

า ธิ

มเข้ า มาสั ม ผั ส กั บ วงการธุ ร กิ จ การ ท่ อ งเที่ ย วเมื อ งนครศรี ธ รรมราช ครั้ ง แรก เมื่ อ ปลายปี ๒๕๔๑ ในฐานะ กรรมการสมาคมธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย ว จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ซึ่ ง ในขณะนั้ น ภาครั ฐ พยายามเข้ า มาส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ส มาคมฯ กลั บ มามี บ ทบาทอี ก ครั้ ง หนึ่ง โดยมีผู้ประกอบการจากหลากหลาย สาขาอาชีพซึ่งเกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่อง เที่ ย วทั้ ง โดยตรงและโดยอ้ อ มเข้ า มาร่ ว ม กันท�ำงาน ซึ่งก็พยายามผลักดันงานการ ท่องเที่ยวกันได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็พบกับ อุ ป สรรคหลายประการท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถ บรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้ สภาพปั ญ หาโดยรวมของการท่ อ ง เที่ยวเมืองนคร ไม่แตกต่างกับปัญหาของ

เมืองอื่นๆ หรือแม้กระทั่งของประเทศไทย โดยรวมเอง เหมื อ นกั บ ที่ เ คยมี ก ารสรุ ป ในสมุดปกขาวการท่องเที่ยว สมัยที่ นาย ปองพล อดิเรกสาร เป็น รมต.ท่องเที่ยว ซึ่งสรุปปัญหาหลักทางการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยไว้คือ ๑. ขาดการจัดท�ำแผน แม่บทที่ชัดเจน ๒. ขาดการประสานงาน ที่ดีระหว่างภาครัฐกับภาครัฐ ภาคเอกชน กับภาครัฐ และภาคเอกชนกับภาคเอกชน ๓. ผู้เกี่ยวข้องทั้งโดยตรงและโดยอ้อมใน วงการท่องเที่ยวยังขาดความรู้และความ เข้าใจในธุรกิจการท่องเที่ยว จากการได้ท�ำงานกับสมาคมฯ และ ได้มีโอกาสคลุกคลีร่วมงานกับผู้เกี่ยวข้อง ในวงการท่องเที่ยวของเมืองนครหลายๆ ท่ า นทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน ท� ำ ให้ ทราบว่านอกเหนือจากปัญหาพื้นฐาน ๒-๓ ประเด็นดังที่กล่าวมาแล้ว เมืองนครของ เรายังมีปัญหาเฉพาะตัวที่ท�ำให้การด�ำเนิน การยุ ่ ง ยากและซั บ ซ้ อ นเพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง ผมค่อยหาโอกาสพูดคุยในรายละเอียดใน ตอนต่อๆ ไปครับ เราไม่ควรผิดหวังและไม่ควรเสียดาย ที่ เ มื อ งนครไม่ ส ามารถก้ า วขึ้ น เป็ น เมื อ ง ท่องเที่ยวหลัก เพราะถ้าเราโตกันโดยไม่ สนใจองค์ประกอบด้านอื่นๆ แบบนั้น ถึง วั น นี้ เ ราก็ ค งประสบกั บ ปั ญ หาเหมื อ นกั บ เมื อ งท่ อ งเที่ ย วหลั ก อื่ น ๆ ที่ พ บกั บ วิ ก ฤติ ด้านต่างๆ จนเกินจะเยียวยากันจริงๆ ใน ทางตรงกันข้าม ทรัพยากรทางการท่องเที่ ย วของเมื อ งนครยั ง มี ค วามสมบู ร ณ์ ใ น ระดั บ ที่ น ่ า พอใจ ยั ง ไม่ บ อบช�้ ำ อะไรมาก

นัก หากเราได้มีโอกาสมาร่วมนั่งคุยนั่ง คิ ด ระดมสมอง โดยเอาผลประโยชน์ ของเมื อ งเป็ น ตั ว ตั้ ง บนพื้ น ฐานของ ความสุ จ ริ ต คิ ด ท� ำ ให้ บ ้ า นเกิ ด ภายใต้ กระบวนการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เราน่ า จะมี โ อกาสแจ้ ง เกิ ด บ้ า งก็ ไ ด้ ใ น ระดับหนึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ตั้งแต่เริ่มมีการมอบรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thialand Tourism Awards) หรื อ ที่ นิ ย มเรี ย กสั้ น ๆ กั น ว่ า “รางวัลกินรี” ครั้งแรกในปี ๒๕๓๙ จนถึง ปัจจุบัน เมืองนครบ้านเราคว้ารางวัลกินรี มาครองแล้วมากกว่า ๑๕ รางวัล ซึ่งน่าจะ มากกว่าจังหวัดอื่นๆ เกือบทุกจังหวัด แต่ เราก็ ยั ง ไม่ ส ามารถหยิ บ ฉวยหรื อ แปรรู ป รางวัลต่างๆ ดังกล่าวมาเป็นผลลัพท์ทาง เศรษฐกิจ เพื่อสร้างความมั่นคงและความ มั่งคั่งให้กับบ้านเมืองได้ ผมไม่ได้หวังว่า เมื อ งเราจะต้ อ งเฟื ่ อ งฟู ถึ ง ขั้ น เป็ น เมื อ ง ท่องเที่ยวใหญ่โตจนวุ่นวาย แต่ก็ไม่อยาก ให้โอกาสดีๆ ของเราถูกปล่อยปละละเลย นานเกินไป.


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็ไม่น�ำเอาปัญหาไปหาทางท�ำ ให้ลดหย่อนบิดพลิ้ว แต่กล่าวความไม่ดีของตนโดยพิสดาร เต็มที่. ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ข้ อ นี้ พึ ง รู ้ กั น เถิ ด ว่ า คนคนนี้ เป็ น สัตบุรุษ.

วาจาของสัตบุรุษ ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นที่รู้กันว่าเป็นสัตบุรุษ. ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คือ :ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษในกรณีนี้ แม้มีใครถามถึง ความไม่ดีของบุคคลอื่น ก็ไม่เปิดเผยให้ปรากฏ จะกล่าว ท�ำไมถึงเมื่อไม่ถูกใครถาม; ก็เมื่อถูกใครถามถึงความไม่ดี ของบุคคลอื่น ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้หลีกเลี้ยวลดหย่อน ลง กล่าวความไม่ดีของผู้อื่นอย่างไม่พิสดารเต็มที่. ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กัน เถิดว่าคนคนนี้ เป็น สัตบุรุษ. ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ไม่ ถูกใครถามอยู่ถึงความดีของบุคคลอื่น ก็ยังน�ำมาเปิดเผย ให้ปรากฏ จะต้องกล่าวท�ำไมถึงเมื่อถูกใครถาม; ก็เมื่อถูก ใครถามถึงความดีของบุคคลอื่น ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้ ไม่หลีกเลี้ยวลดหย่อน กล่าวความดีของผู้อื่นโดยพิสดาร บริบูรณ์. ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น สัตบุรุษ.

ภิกษุทั้งหลาย ! อสัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ ถูกใครถามอยู่ถึงความดีของบุคคลอื่น ก็ไม่เปิดเผยให้ ปรากฏ ไม่ ต ้ อ งกล่ า วถึ ง เมื่ อ ไม่ ถู ก ใครถาม; ก็ เ มื่ อ ถู ก ใครถามถึงความดีของบุคคลอื่น ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้ ลดหย่อน ไขว้เขวแล้ว กล่าวความดีข องผู้อื่นอย่างไม่ พิศดารเต็มที่. ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้มีใคร ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น ถามถึงความดีของตน ก็ไม่เปิดเผยให้ปรากฏท�ำไมจะต้อง อสัตบุรุษ. กล่าวถึงเมื่อไม่ถูกใครถามเล่า; ก็เมื่อถูกใครถามถึงความดี ของตน ก็น�ำเอาปัญหาไปกระท�ำให้ลดหย่อนหลีกเลี้ยวเสีย ภิกษุทั้งหลาย ! อสัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ กล่าวความดีของตนโดยไม่พิสดารเต็มที่. ถูกใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็ปกปิดไม่เปิดเผยให้ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ข้ อ นี้ พึ ง รู ้ กั น เถิ ด ว่ า คนคนนี้ เป็ น ปรากฏ ไม่ ต ้ อ งกล่ า วถึ ง เมื่ อ ไม่ ถู ก ใครถาม; ก็ เ มื่ อ ถู ก สัตบุรุษ. ใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้ลด ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ หย่อนไขว้เขว แล้วกล่าวความไม่ดีของตนอย่างไม่พิสดาร เหล่านี้แล เป็นที่รู้กันว่าเป็นสัตบุรุษ. เต็มที่. จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓. ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น อสัตบุรุษ.

วาจาของอสัตบุรุษ

ภิกษุทั้งหลาย ! อสัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ ไม่มีใครถามถึงความดีของตน ก็น�ำมาโอ้อวด เปิดเผยจะ กล่าวท�ำไมถึงเมื่อถูกใครถาม; ก็เมื่อถูกใครถามถึงความ ดีของตน ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้ไม่ลดหย่อนหลีกเลี้ยว กล่าวความดีของตนอย่างเต็มที่โดยพิสดาร. ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น อสัตบุรุษ.

ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นที่รู้กันว่าเป็น อสัตบุรุษ. ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คือ :ภิกษุทั้งหลาย ! อสัตบุรุษในกรณีนี้ แม้ไม่มีใครถาม ถึงความไม่ดีของบุคคลอื่น ก็น�ำมาเปิดเผยให้ปรากฏ ไม่ ต้องกล่าวถึงเมื่อถูกใครถาม; ก็เมื่อถูกใครถามถึงความไม่ ดีของบุคคลอื่น ก็น�ำเอาปัญหาไปท�ำให้ไม่มีทางหลีกเลี้ยว ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! บุ ค คลผู ้ ป ระกอบด้ ว ยธรรม ๔ ลดหย่อน แล้วกล่าวความไม่ดีของผู้อื่นอย่างเต็มที่โดย ประการเหล่านี้แล เป็นที่รู้กันว่าเป็นอสัตบุรุษ. ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ พิสดาร. ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ข้ อ นี้ พึ ง รู ้ กั น เถิ ด ว่ า คนคนนี้ เป็ น ไม่มีใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็ยังน�ำมาเปิดเผยท�ำให้ จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓. ปรากฏ ท�ำไมจะต้องกล่าวถึงเมื่อถูกถามเล่า; ก็เมื่อถูก อสัตบุรุษ.

“พุทธคยา” เป็นอ�ำเภอหนึ่งในรัฐพิหาร ในประเทศอินเดียปัจจุบัน สมัยพุทธกาล อยู่ในแคว้นมคธ ในชมพูทวีป สถานที่นี้ เป็นหนึ่งในสี่ “สังเวชนียสถาน” ที่ส�ำคัญ คื อ เป็ น สถานที่ ต รั ส รู ้ ข องพระพุ ท ธเจ้ า พระพุ ท ธองค์ ไ ด้ ต รั ส รู ้ ใ กล้ กั บ “แม่ น�้ ำ เนรัญชลา” แต่ปัจจุบันแม่น�้ำเปลี่ยนเส้น ทางเดิ น ถอยห่ า งจากต� ำ แหน่ ง ที่ พ ระองค์ ไ ด้ ต รั ส รู ้ อ อกไปหลายร้ อ ยเมตร เป็ น ที่ ช าวพุ ท ธแสวงบุ ญ เพื่ อ สั ก การะ เหล่ า อนุ ส รณ์ ส ถานที่ “พระเจ้ า อโศก มหาราช” ได้ ส ร้ า งขึ้ น หลั ง จากที่ พ ระ พุทธเจ้าได้เสด็จดับขันธปรินิพพาน ไป แล้ว ๒๐๐ ปี ในพุทธคยาสถานมีความ ส�ำคัญคือ ต้นศรีมหาโพธิ์ ที่พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ เป็นหน่อที่แตกงอกขึ้นมาจากต้น เดิม เมื่อ ๒๕๐๐ กว่าปีก่อน มี “พระแท่น วัชรอาสน์” สถานที่นั่งตรัสรู้ “สร้างอนิมิสสเจดีย์” สูงใหญ่ไว้ การก่ อ สร้ า งพุ ท ธสถานแห่ ง นี้

เหล่านี้คืนมาจากรัฐบาลอินเดีย ยืดเยื้อ กั น มาหลายสิ บ ปี จ นมี ก ฎหมายออกมา ให้ ช าวพุ ท ธและฮิ น ดู ตั้ ง คณะกรรมการ ดู แ ลร่ ว มกั น จึ ง ท� ำ ให้ ช าวพุ ท ธมี ค วาม สะดวกในการไปแสวงบุญขึ้นมากกว่าแต่ ก่ อ น ซึ่ ง เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของฮิ น ดู แต่ฝ่ายเดียว พุ ท ธสถานคยาปั จ จุ บั น มี วั ด พุ ท ธ ของชาติต่างๆ ไปสร้างขึ้นมากมายเพื่อ อ�ำนวยความสะดวก และเผยแผ่ศาสนา ด� ำ เ นิ น ต ่ อ ม า โ ด ย คื น กลั บ แผ่ น ดิ น แม่ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง แม้ จ ะ ก ษั ต ริ ย ์ อี ก ห ล า ย ต่ า งนิ ก ายต่ า งวั ฒ นธรรมก็ ต าม แต่ ก็ พระองค์ จนมี ข นาด คือพระพุทธเจ้าองค์เดียวกัน และในปี ใหญ่มหึมา แต่เมื่อล่วง ๒๕๔๓ พุ ท ธคยาแห่ ง นี้ ก็ ไ ด้ รั บ การขึ้ น เข้ า พ.ศ. ๑๗๐๐ ปี ทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ประเภทมรดก พุทธศาสนาในอินเดีย ทางวัฒนธรรมขององค์การยูเนสโก ถึ ง ยุ ค เสื่ อ มสลายลง พระบรมธาตุเจดีย์ของเราก็เช่นกัน ศาสนสถานเหล่ า นี้ อย่ า ให้ ค ณะใดคณะหนึ่ ง หรื อ คนเดี ย ว ถูกทิ้งร้างหลายร้อยปี ครอบครองเป็นของตัว เป็นสมบัติของ จนมี ช าวฮิ น ดู นิ ก าย ชาวพุทธ ช่วยกันส่งเสริมรักษา ให้เป็น มหัน ได้เข้าไปยึดครอง และก่อสร้างศาสนสถานของตนขึ้นซ้อน ตนมาร่ ว มร้ อ ยกว่ า ปี จวบจนเมื่ อ หลาย มรดกคู่โลกต่อไป. ทับ สร้างเทวรูปและสิ่งบูชาของตนอยู่ใน ปีก่อน “ท่านอนาคาลิกะ ธรรมาปาละ” พุทธสถาน ใช้เป็นเทวสถานบูชาเทพของ ชาวลังกา ได้มาเรียกร้องพุทธคยาสถาน


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

เรียบเรียงโดย นพ.ทฎะวัฏร์ พิลึกภควัต จิ ต แพทย์ เ ด็ ก และวั ย รุ ่ น

ภาพอากาศในฤดู ร ้ อ น นอกจากจะ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพกาย เช่ น เสี่ ย งต่ อ โรคลมแดด หรื อ ฮี ต สโตรก (Heat stroke) โรคท้องร่วง อาหารเป็น พิษแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ด้วย เช่น ท�ำให้หงุดหงิดง่ายขึ้น ทนต่อ ความเครียดน้อยลง เครียดง่ายกว่าปกติ และอาจตัดสินใจโดยไม่ยั้งคิด ท�ำให้เกิด การ ทะเลาะเบาะแว้ง และใช้ความรุนแรง การดูแลสุขภาพในช่วงหน้าร้อน จึง เป็นเรื่องส�ำคัญที่จะป้องกันการเจ็บป่วย และปัญหาทางสุขภาพจิตได้ ดังนี้ ๑. ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภคให้เข้ากับสภาวะอากาศร้อน โดย ต้ อ งพิ ถี พิ ถั น ความสดใหม่ สะอาดของ อาหาร หมั่นสังเกตสินค้าหมดอายุ ที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ และแหล่งท่องเที่ยว ที่ผู้คนเที่ยวกันมากๆ เช่น ตามชายทะเล มีการขายอาหารสด ทั้งส้มต�ำ ลาบ-น�้ำตก อาหารทะเลสดแช่น�้ำยาฟอร์มาลีน ฯลฯ ยิ่ ง ต้ อ งระวั ง ให้ ม าก อาจท� ำ ให้ ท ้ อ งร่ ว ง ท้องเสีย-อาหารเป็นพิษ ถึงขั้นหามส่งโรง พยาบาลกันได้ ๒. หมั่ น ออกก� ำ ลั ง กายสม�่ ำ เสมอ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงอย่างน้อยสัปดาห์ ละ ๒-๓ ครั้งๆ ละ ๓๐ นาที ซึ่งการออก ก�ำลังกายช่วงนี้ ต้องมีวิธีปฏิบัติสอดคล้อง กั บ สภาวะอากาศร้ อ น คื อ ต้ อ งไม่ ส วม เสื้ อ ผ้ า หนา และสี ทึ บ ควรเลื อ กเสื้ อ ผ้ า บางเบา ระบายความร้อนอากาศดี สีอ่อน ไม่อมความร้อน ไม่ควรหักโหม และควร พักเหนื่อยบ่อยๆ เป็นระยะๆ ควรดื่มน�้ำ สะอาดอย่างน้อย ๔-๖ แก้ว เพื่อทดแทน สูญเสียเหงื่อ

แอลกอฮอล์จะซึมผ่าน เข้าสู่กระแสโลหิตเร็ว และเพิ่มแรงดันโลหิตสูงขึ้น มากกว่าช่วงอากาศหนาวเย็น หรือช่วงปกติ ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะท�ำให้ เส้นเลือดขยายตัว ท�ำให้ ร่างกายสูญเสียน�้ำมากขึ้น อาจท�ำให้มีปัญหาขาดน�้ำ ถึงขั้นช็อค และเสียชีวิตได้

๓. ปรั บ สภาพแวดล้ อ มในที่ พั ก อาศั ย ให้ เ หมาะสม เช่ น ที่ พั ก อาศั ย ที่ ไม่ มี เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ ใช้ วิ ธี เ ปิ ด ประตู หน้ า ต่ า งมากที่ สุ ด เพื่ อ ให้ อ ากาศร้ อ น ระบายถ่ายเทดี แต่ต้องค�ำนึงความปลอดภัยด้วย โดยเฉพาะยามค�่ำคืน ๔. ควรหลี ก เลี่ ย งออกนอกบ้ า น หรื อ อยู ่ ก ลางแดด วั น ที่ อ ากาศร้ อ นจั ด โดยเฉพาะช่ ว งเวลา ๑๑.๐๐-๑๕.๐๐ น.จะดีที่สุด แต่หากจ�ำเป็นต้องออกจาก บ้านในภาวะอากาศร้อนมากๆ ควรดื่มน�้ำ สะอาดเย็นๆ สัก ๑-๒ แก้ว ก่อนออกจาก บ้าน อีกทั้ง ควรหาจังหวะ และโอกาส ดื่ม น�้ำสะอาด เพื่อทดแทนน�้ำในร่างกาย ที่ สูญเสียกับเหงื่อที่ไหลออกมากช่วงนี้ สวม หมวก/กางร่ ม ใช้ ค รี ม กั น แดด เมื่ อ ออก สู่ที่แจ้ง เพื่อลดการเผาไหม้ของแสงแดด สู่ผิวหนัง ๕.หลี ก เลี่ ย งดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ทุกประเภท เพราะแอลกอฮอล์จะซึม ผ่านเข้าสู่กระแสโลหิตเร็ว และเพิ่มแรง ดันโลหิตสูงขึ้น มากกว่าช่วงอากาศหนาว เย็น หรือช่วงปกติ ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ จะท�ำให้เส้นเลือดขยายตัว ท�ำให้ร่างกาย สู ญ เสี ย น�้ ำ มากขึ้ น อาจท� ำ ให้ มี ป ั ญ หา ขาดน�้ำถึงขั้นช็อคและเสียชีวิตได้ ส�ำหรับ ผู ้ มี โ รคประจ� ำ ตั ว ก่ อ นแล้ ว เช่ น เป็ น โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคหัวใจ ยิ่ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งระมั ด ระวั ง การดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ เ ป็ น พิ เ ศษ ควรหั น มาดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม สมุ น ไพรหรื อ อาหารรสขมเย็ น เช่น มะระ สะเดา แฟง ซึ่งจะช่วยลดความ ร้ อ นในร่ า งกายลง ลดอาการอ่ อ นเพลี ย เนื่องจากเหงื่อออกมากได้

๖.นอนหลั บ พั ก ผ่ อ นให้ เ พี ย งพอ เนื่ อ งจากสภาพอากาศในตอนกลางวั น จะท� ำ ให้ เ หนื่ อ ยง่ า ย เสี ย เหงื่ อ และเสี ย พลั ง งาน ท� ำ ให้ ไ ม่ ค ่ อ ยสดชื่ น สมองไม่ ปลอดโปร่ง ๗. ส�ำรวจและรู้เท่าทันความเครียด ของตนเอง โดยสังเกตได้จากผลกระทบที่ เกิดขึ้นออกมา ๓ ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ และสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น โดยอาการ ทางร่ า งกาย ได้ แ ก่ ปวดศี ร ษะ นอนไม่ หลั บ อ่ อ นเพลี ย เบื่ อ อาหาร หายใจไม่ ค่อยอิ่ม ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจ ได้แก่ โมโหง่ า ย หงุ ด หงิ ด ง่ า ย ว้ า วุ ้ น สมาธิ ไ ม่ ค่อยดี หงุดหงิด สับสน คิดอะไรไม่ออก ๘. หาวิธีลดความเครียด ซึ่งปฏิบัติ ได้ด้วยวิธีง่ายๆ เช่น การออกก�ำลังกาย ท�ำ สมาธิ โยคะ ท�ำงานอดิเรกหรือปลูกต้นไม้ หรือท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่เพลิดเพลิน เพื่อ พักสมองจากความเครียดต่างๆ เป็นต้น ซึ่ ง มี ห ลั ก ฐานว่ า ช่ ว ยลดความเครี ย ดได้ นอกจากนี้ ยังสามารถฝึกคลายเครียดด้วย วิธีที่กรมสุขภาพจิตแนะน�ำ ได้แก่การฝึก ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การฝึกหายใจคลาย เครียด เป็นต้น ๙. หาวิธีป้องกันความเครียด เช่น การบริ ห ารเวลาให้ ดี โดยการออกจาก บ้ า นให้ เ ช้ า ขึ้ น จะได้ ไ ม่ ต ้ อ งเครี ย ดกั บ รถ ติดบนท้องถนน หรือการเรียงล�ำดับความ ส�ำคัญของงาน ไม่เก็บไว้จนกลับมาเป็น ปัญหาทีหลัง นอกจากนี้ ก็ต้องบริหารการ เงินให้ดีด้วย เช่น หาแนวทางเพิ่มรายได้ และลดค่าใช้จ่ายซึ่งจะช่วยให้ความเครียด ลดน้ อ ยลงได้ เ พราะปั ญ หาการเงิ น เป็ น ปัญหาใหญ่ที่ท�ำให้เกิดความเครียด รวม ทั้งฝึกคิดทางบวก เช่น มองว่า อากาศร้อน ท�ำให้ครอบครัวมีความสุข เนื่องจาก ไม่มี ใครอยากออกไปรั บ สภาพอากาศที่ ร ้ อ น นอกบ้านโดยไม่จ�ำเป็น ท�ำให้มีเวลาอยู่กับ บ้านมากขึ้น ได้พบปะพูดคุย ท�ำกิจกรรม ร่ ว มกั บ สมาชิ ก ในครอบครั ว มากขึ้ น กว่ า ปกติ ฯลฯ ขอบคุณข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข และกรมสุขภาพจิต ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.jobsite.co.uk/worklife/ tag/hot-weather


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

- ผนังอาคารภายนอกรวมทั้งพื้นที่ ว่างหน้าอาคารที่จะปูวัสดุพื้นที่เป็นส่วน หนึ่งของอาคาร จะต้องเป็นสีน�้ำตาล ครีม ขาว ขาวนวล สีของวัสดุธรรมชาติ และ มีค่าการสะท้อนแสงไม่เกินร้อยละ ๓๐ ตั ว อย่ า งเทศบั ญ ญั ติ บ างประการที่ ยกมาแสดงนี้ เพื่อชี้ให้เห็นว่าทุกท้องถิ่น สามารถจะออกกฎเทศบั ญ ญั ติ เ พิ่ ม เติ ม เองได้ ที่ ไ ม่ ขั ด ต่ อ เทศบั ญ ญั ติ ส ่ ว นกลาง ที่ มี เ จตนารมณ์ ใ นการดู แ ลเรื่ อ งความ ปลอดภั ย และระบบสาธารณู ป โภคโดย รวม ส� ำ หรั บ เมื อ งนครเราความจริ ง มี เทศบั ญ ญั ติ เ รื่ อ งความสู ง อาคารในเขต เมื อ งเก่ า ซึ่ ง มี วั ด พระบรมธาตุ เ ป็ น แกน กลาง และคลุมพื้นที่ออกมาโดยรอบ แต่ เราก็ ไ ม่ ไ ด้ ล งลึ ก ไปถึ ง ลั ก ษณะอาคารที่

คุ

ยกันเรื่องเมืองเก่าต่อเนื่องมาหลาย ฉบับเพื่อให้เห็นความจ�ำเป็นในการ สร้ า งบรรยากาศที่ ส อดคล้ อ งกั บ เรื่ อ ง ราวที่ เ ราอยากเล่ น ในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ แน่นอนครับที่อาคารบ้าน เรื อ นเป็ น องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ดู เป็นเช่นนั้น ในต่างประเทศจะมีการออก กฎเกณฑ์ในการสร้างหรือปรับปรุงอาคาร ที่ต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกัน เช่น ที่ เกาะบาหลี ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย จะมี กฎเทศบั ญ ญั ติ ห้ า มสร้ า งอาคารสู ง เกิ น ยอดมะพร้าวในบางพื้นที่ของเกาะ และ ให้ มี ลั ก ษณะอาคารรวมทั้ ง สี ผ นั ง อาคาร มี ค วามกลมกลื น หมด ตั ว อย่ า งอี ก เมื อ ง คือ ซาโตรินี (Santorini) ประเทศกรีซ ที่ ก� ำ หนดให้ มี ห ลั ง คาสี ฟ ้ า และผนั ง สี ข าว ทุกหลัง ยกเว้นส่วนตกแต่งอื่นๆ เช่น บาน ประตู-หน้าต่างมีสีสันได้อย่างสนุกสนาน ลั ก ษณะเด่ น และชั ด เจนนี้ ก ลายเป็ น สิ่ ง ดึ ง ดู ด ใจนั ก ท่ อ งท่ อ งมาเที่ ย วชมกั น ปี ล ะ นั บ หมื่ น คน ประเทศไทยเราความจริ ง ก็ ไ ด้ มี ก ฎเกณฑ์ เ ช่ น นี้ ใ นบริ เ วณเขตพระ ราชฐาน กรุ ง เทพมหานคร ส่ ว นเมื อ ง อื่ น ๆ ผมไม่ แ น่ ใ จนั ก ว่ า เป็ น ข้ อ บั ง คั บ เทศบั ญ ญั ติ ท ้ อ งถิ่ น หรื อ เป็ น เพี ย งข้ อ ตกลงกั น ของเทศบาลกั บ ชุ ม ชน เช่ น ที่ เมื อ งภู เ ก็ ต ที่ พ ยายามรั ก ษาสภาพของ อาคารชิ โ นโปรตุ กี ส ซึ่ ง ผมได้ ก ล่ า วถึ ง ใน ฉบั บ เดื อ นที่ แ ล้ ว แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม มี เมืองเก่าบางเมืองได้ออกกฎเทศบัญญัติ ท้องถิ่นเพื่อรักษาภาพรวมในอดีตไว้ เช่น เมื อ งเชี ย งใหม่ ที่ ไ ด้ พ ยายามอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งเก่ า และสร้ า งเสริ ม สิ่ ง ก่ อ สร้ า ง ใหม่ ใ ห้ ก ลมกลื น กั น นั บ เป็ น แบบอย่ า ง ที่ เ ราอาจศึ ก ษาและเริ่ ม ที่ จ ะก� ำ หนด เทศบั ญ ญั ติ ท ้ อ งถิ่ น ให้ ส ามารถมี ผ ลการ ปฏิบัติอย่างจริงจริง ทั้งนี้ในเชิงกฎหมาย ถ้าไม่บัญญัติ เจ้าพนักงานก็ไม่สามารถที่ ห้ามการก่อสร้างที่ไม่ระบุไว้ ผมจึงขอเอา กรณีตัวอย่างจากเทศบาลนครเชียงใหม่ บางส่ ว นที่ ผ ่ า นความเห็ น ชอบของสภา เทศบาลนครเชียงใหม่ และผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ออกเทศบั ญ ญั ติ บั ง คั บ ใช้ กั บ บางพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น เขตเมื อ งเก่ า แต่ ผมเข้าใจว่ากว่าจะออกมาได้จะต้องผ่าน กระบวนการศึ ก ษาและความเห็ น ชอบ

หน้า ๑๓

จากชาวเมืองมาก่อน (ภาพก�ำแพงเมือง เก่าที่น�ำมาลงให้ชม เป็นตัวอย่างอาคาร สูงอยู่เบื้องหลังที่ดูขัดตากับก�ำแพงเมืองที่ บูรณะขึ้นมาใหม่ และอาจสร้างขึ้นมาก่อน ออกเทศบัญญัติ) เทศบั ญ ญั ติ ใ หม่ ฉ บั บ นี้ อ อกในปี ๒๕๕๗ แทนฉบับเดิมที่ใช้บังคับตั้งแต่ปี ๒๕๓๑ และแก้ไขเพิ่มเติมในปี ๒๕๓๓ ที่ ครอบคลุมต�ำบลต่างๆ ที่มีประวัติศาสตร์ มายาวนานในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ได้แก่ ต�ำบลศรีภูมิ ต�ำบลสุเทพ ต�ำบลช้าง ม่อย ต�ำบลพระสิงห์ ต�ำบลช้างคลาน และ ต�ำบลหายยา ที่มีวัดวาอาราม และบ้าน เรือนที่มีสถาปัตยกรรมทางเหนือที่งดงาม ผมอยากน� ำ บางตั ว อย่ า งของข้ อ ก� ำ หนด เทศบัญญัติที่ว่าด้วยเรื่องลักษณะอาคาร ที่ ต ้ อ งได้ รั บ ความร่ ว มมื อ ของชาวเมื อ ง โดยตรง นอกเหนือจากการต้องเว้นระยะ ถอยห่างจากคูเมืองและสิ่งก่อสร้างโบราณ ในบางบริเวณโดยย่อ (และมีมุมมองของ ผมประกอบด้วยครับ) ดังนี้ครับ... - อาคารที่อยู่ริมคูเมืองด้านนอกจะ ต้ อ งเป็ น แบบล้ า นนาหรื อ แบบพื้ น เมื อ ง ภาคเหนือ - ห้ามก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารที่ มีรูปทรงสามเหลี่ยม รูปทรงกลม หรือรูป ทรงอิสระ (คงหมายถึงแบบสถาปัตยกรรม สมัยใหม่ที่นิยมกันในปัจจุบัน) - ห้ามก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร ที่สูงเกิน ๑๒ เมตร ยกเว้นโครงสร้างที่ใช้ ในการส่งกระแสไฟฟ้า การรับส่งสัญญาณ สื่อสารทุกชนิด (ข้อนี้มุมมองผมเห็นว่าคง ต้องก�ำหนดพื้นที่ยกเว้นที่ชัดเจนครับ) - ห้ามสร้างรั้วสูงเกิน ๓ เมตร และ

ภาพก�ำแพงเมืองเก่าที่น�ำมาลงให้ชม เป็นตัวอย่างอาคารสูงอยู่เบื้องหลังที่ดูขัดตา กับก�ำแพงเมืองที่บูรณะขึ้นมาใหม่ และอาจสร้างขึ้นมาก่อนออกเทศบัญญัติ

ต้องมีส่วนโปร่งเกินร้อยละ ๓๐ เว้นแต่จะ มีสีที่ก�ำหนดเป็นสีน�้ำตาล ครีม ขาว ขาวนวล สีของวัสดุธรรมชาติ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๘๐ และมีค่าการสะท้อนแสงไม่เกิน ร้อยละ ๓๐ (ข้อนี้คงต้องตีความกันครับ ว่าลักษณะโปร่งเป็นอย่างไร เป็นรั้วโปร่ง สเตนเลสได้ไหม) - พื้นที่หลังคารวมไม่น้อยกว่ าร้อย ละ ๘๐ ต้องเป็นหลังคาทรงจั่ว ทรงปั้น หยา หรือทรงปั้นหยาผสมจั่ว โดยมีความ ลาดชันระหว่าง ๒๕-๖๐ องศา ยื่นชายคา ไม่น้อยกว่า ๐.๖๐ เมตร สีของหลังคาต้อง เป็นสีน�้ำตาล น�้ำตาลแดง น�้ำตาลส้ม เทา สีของวัสดุธรรมชาติ และมีค่าการสะท้อน แสงไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ ๓๐ และห้ า มการใช้ พื้นที่บนหลังคาทุกประเภทเพื่อวางระบบ อาคาร (เช่นแท็งก์น�้ำ เครื่องปรับอากาศ) เว้นแต่จะมีการออกแบบเพื่อป้องกันการ ท�ำลายทัศนียภาพของเมืองเก่าแล้ว

ควรจะเป็น และอาคารของทางราชการ ก็จะไม่ถือกฎระเบียบนี้ให้เป็นมาตรฐาน เดี ย วกั น ท� ำ ให้ ภ าพที่ อ ยากเห็ น จึ ง ไม่ สามารถท� ำ ให้ ก ลมกลื น กั น ได้ ผมจึ ง ได้ พูดถึงการที่ชาวนครควรจะมาจริงจังต่อ การสร้างกฎเกณฑ์กันเองเสียที แต่ต้อง มี ก ารศึ ก ษาลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมของ เมืองนครหรือสถาปัตยกรรมทางใต้ว่าเป็น อย่างไร มีข้อยืดหยุ่นอะไรบ้างที่ให้อยู่กัน ได้ และก็ไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนเมืองอื่นซึ่ง มี ที่ ม าของลั ก ษณะอาคารที่ แ ตกต่ า งกั น การปล่ อ ยให้ ส ร้ า งหรื อ ดั ด แปลงอาคาร ในเขตที่ มี ก ารส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมอย่ า งไร้ ทิศทาง แม้กระทั่งวัดวาอารามและอาคาร ราชการก็ อ าจเป็ น การสร้ า งปั ญ หาที่ แ ก้ ยากในอนาคตได้ แล้วเราจะตอบเยาวชน คนรุ่นหลังอย่างไร


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

บับนี้จะพาลัดเลาะไปที่ด้านหลังศูนย์ วิทย์เมืองคอนกันนะคะ ถ้าเราเดิน ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติจะสังเกตเห็น ต้นไม้ออกลูกที่ล�ำต้นห้อยระย้า ชวนให้ น�้ำลายสอ...ต้นตะลิงปลิง นั่นเองค่ะ ตะลิ ง ปลิ ง Bilimbi, Bilimbing, Cucumber Tree, Tree Sorrel ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa bilimbi L. จั ด อยู ่ ในวงศ์ OXALIDACEAE มี ชื่ อ ท้ อ งถิ่ น ใต้ ว่า หลิงปลิง มีถิ่นก�ำเนิดในแถบชายฝั่ง ทะเลของบราซิ ล เป็ น พื ช ร่ ว มวงศ์ เ ดี ย ว กั บ มะเฟื อ ง แต่ ผ ลมะเฟื อ งจะมี ข นาด ใหญ่ ก ว่ า ผลตะลิ ง ปลิ ง ต้ น ตะลิ ง ปลิ ง จั ด เป็ น พื ช ในเขตร้ อ นและเป็ น ไม้ ผ ลยื น ต้ น ขนาดเล็ก สูงประมาณ ๕-๑๕ เมตร แตก กิ่ ง ก้ า นสาขามาก เปลื อ กต้ น สี ช มพู ผิ ว เรี ย บมี ข นนุ ่ ม ปกคลุ ม อยู ่ ต ามกิ่ ง ใบเป็ น ใบประกอบแบบขนนก ใบคล้ายรูปหอก ปลายใบแหลม โคนใบมน ในหนึ่ ง ก้ า น

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

กระเพาะอาหาร บรรเทาอาการของโรค ริดสีดวงทวาร เป็นยาบ�ำรุงแก้อาการปวด มดลูก ช่วยฝาดสมาน ราก ช่ ว ยแก้ พิ ษ ร้ อ นในดั บ พิ ษ ร้ อ นของไข้ แก้ ก ระหายน�้ ำ แก้ อ าการ เลือดออกตามกระเพาะอาหารและล�ำไส้ บรรเทาอาการของโรคเก๊าท์ ใบ พอกรักษาคางทูม รักษาซิฟิลิส โรครูมาตอยด์ แก้ไขข้ออักเสบ ใช้พอกแก้ อาการคั น ลดอาการบวมแดงให้ ห ายเร็ ว ขึ้น หรือใช้ต้มอาบก็ได้ พอกใช้รักษาสิว คุณค่าทางโภชนาการของตะลิงปลิง (เฉพาะส่วนที่กินได้) ต่อ ๑๐๐ กรัม จะมี ใ บย่ อ ยประมาณ ๑๑-๓๗ • โปรตีน ๐.๖๑ กรัม ใบ ขนาดใบกว้ า งประมาณ ๑ • แคโรทีน ๐.๐๓๕ มิลลิกรัม เซนติ เ มตร ยาว ๒-๕ เซนติ • วิตามินบี ๑ ๐.๐๑๐ มิลลิกรัม เมตร จะออกดอกเป็นช่อหลาย • วิตามินบี ๒ ๐.๐๒๖ มิลลิกรัม ช่ อ ตามกิ่ ง และล� ำ ต้ น โดยใน • วิตามินบี ๓ ๐.๓๐๒ มิลลิกรัม แต่ละช่อจะมีความยาวไม่เกิน ๖ • วิตามินซี ๑๕.๕ มิลลิกรัม นิ้ว ดอกมีกลีบ ๕ กลีบ สีแดงเข้ม มีกลีบ มี เ มล็ ด แบนยาวมี สี ข าว รั บ ประทานผล • ธาตุแคลเซียม ๓.๔ มิลลิกรัม เลี้ยง ๕ กลีบสีเขียวอมชมพู มีเกสรกลาง ร่วมกับพริกเกลือ น�ำไปใส่แกงก็ได้ ท�ำเป็น • ธาตุเหล็ก ๑.๐๑ มิลลิกรัม ตะลิงปลิงตากแห้ง หรือท�ำเป็นเครื่องดื่ม ดอกสีขาว • ธาตุฟอสฟอรัส ๑๑.๑ มิลลิกรัม ผลตะลิ ง ปลิ ง กลมยาวปลายมน นํ้าตะลิงปลิง ผลยาวประมาณ ๔-๖ เซนติเมตร กว้าง ฉบั บ นี้ พิ ม พ์ ไ ปแบบเปรี้ ย วปากเอา ประมาณ ๒ เซนติเมตร เป็นพูตามยาว สรรพคุณของตะลิงปลิง ผล ท�ำให้เจริญอาหาร ช่วยขับเหงื่อ มากๆ เลยค่ ะ ติ ด ตามกั น นะคะว่ า ฉบั บ ออกผลเป็ น ช่ อ ห้ อ ย ผิ ว ของผลเรี ย บสี เขี ย ว เมื่ อ สุ ก แล้ ว จะกลายเป็ น สี เ หลื อ ง ลดไข้ ฟอกโลหิต รักษาโรคเลือดออกตาม หน้าจะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้เรื่องอะไรกัน เนื้อข้างในเป็นเนื้อเหลว มีรสเปรี้ยว และ ไรฟัน แก้อาการไอ ละลายเสมหะ บ�ำรุง

<< ต่อจากหน้า ๔

๓๐๐ วัด วัดที่มีกิจที่ถูกใจถูกกิเลสมีไม่ถึง ๑๐ วัด จึงยกเลิกมาปักหลัก “นั่งสมาธิ” ทุกวันอาทิตย์ ที่วัดศรีทวี จนปัจจุบัน นี่คือเส้นทางธรรมที่ขรุขระของผม การสร้างศูนย์ปฏิบัติธรรม “ธรรม โปราโณ” ขึ้นที่ริมน�้ำตกกะโรม เมืองที่ มีอากาศดีลานสกา เกิดขึ้นเพราะภรรยา ผมได้ไปเข้าคอร์สฝึกวิปัสนาที่ปราจีนบุรี กลับมาดูมีความสุขมาก อารมณ์ดีขึ้น ไม่ เครี ย ดเมื่ อ มี ง านยุ ่ ง จึ ง อยากจะมี ที่ ฝ ึ ก สมาธิ บ ้ า ง หารื อ กั บ คุ ณ วิ ภ า ฟู คุ ณ สาธิต รักกมล (บรรณาธิการ นสพ.รัก บ้านเกิด) ได้รับค�ำแนะน�ำว่า ถ้าจะฝึก ปฏิบัติภาวนากัน ก็น่าจะติดต่อ “มูลนิธิ ส่งเสริมวิปัสสนากรรมฐานในพระสังฆราชูปถัมภ์” โดยมีท่านอาจารย์โกเอ็นก้า เป็ น อาจารย์ ใ หญ่ อ ยู ่ เพราะที่ นี่ เ ขามุ ่ ง เน้นฝึก “ปฏิบัติภาวนา” โดยเฉพาะ จึง ติดต่อไป ได้รับค�ำตอบว่า ผู้ที่จะบริจาค ที่ ดิ น จั ด ท� ำ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ นั้ น จะต้ อ งผ่ า น การฝึกปฏิบัติมาก่อน ไม่ควรเป็นเศรษฐีมี

เงินแล้วบริจาคเพื่อการกุศล แล้วไม่เข้าใจ หลักธรรมเพียงพอ ให้ผ่านการฝึกปฏิบัติ ก่อนแล้วถึงจะตัดสินใจ สนับสนุนส่งเสริม ธรรมะกันต่อไป ผมจึงต้องเดินทางไปเข้าคอร์สปฏิบัติธรรม ๑๐ วัน จนผ่านเกณฑ์ข้อแรก แล้วถึงไปเสนอตัวขอมอบที่ดินจ�ำนวน ๑๔ ไร่ กว่ า จะผ่ า นการสั ม ภาษณ์ ดู ใ จกั น พอ สมควร จึงเริ่มขบวนการขั้นที่สาม คือคณะ กรรมการเดินทางมาดูสถานที่ที่เราบริจาค คณะที่เดินทางมาดูสถานที่ มาดูที่บริจาค แปลงอื่นๆ ด้วยในจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้ และที่ ข องเราเป็ น แปลงเล็ ก สุ ด ที่ มี ค น เสนอตัวบริจาค เฮ้อ! จะท�ำบุญ ก็ยังยาก นะ...ผลออกมา “ธรรมโปราโณ” ของเรา สัปปายะ พอที่จะท�ำเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรม

ของภาคใต้ได้ แนวทางของท่านอาจารย์โกเอ็นก้า ที่ น�ำมาสอน จะเน้น “ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า” “เน้นการปฏิบัติ” “ฝึกสมาธิภาวนา” ฝึกการท�ำ “อานาปานสติ และวิปัสสนา” ไม่ มี เ รื่ อ งพิ ธี ก รรมที่ ร กรุ ง รั ง เกิ น ความจ� ำ เป็น ไม่เน้นการแต่งชุดขาว แต่งที่สะดวก สบาย สุภาพเรียบร้อย ผู้เข้าฝึกครั้งแรก ต้องเข้าคอร์ส ๑๐ วัน คนที่บุญยังไม่ถึง อุปสรรค ความไม่พร้อม ความขี้เกียจ และ กิเลสจะเป็นตัวขวางกั้น ไม่ให้มีโอกาสเข้า ฝึกปฏิบัติธรรมได้ วิธีการฝึกปฏิบัติธรรมในคอร์ส ๑๐ วัน คือ ต้องถือศีล ๕ เขาไม่ให้เอาสมบัติ ติ ด ตั ว เข้ า ไป คงจะไม่ มี ใ ครจะลั ก ขโมย รอดจากการผิ ด ศี ล ไปแล้ ว ๑ ข้ อ ทุ ก คน

การเข้ า ไปอยู ่ ใ นศู น ย์ สิ บ วั น จะฝึ ก การ “ปิดวาจา” ไม่พูดอะไรทั้งสิ้น ศีลข้อที่ สอง การพูดจาเพ้อเจ้อโกหกพกลมก็ได้ อี ก ข้ อ อาหารการกิ น เขาจั ด ท� ำ อาหาร มั ง สวิ รั ติ อาหารเจให้ กิ น วั น ละ ๒ มื้ อ กลางวัน และน�้ำปานะรอบค�่ำอีกมื้อ ข้อนี้ ก็รอดจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตได้อีกข้อ การนั่งฝึกสมาธิ และห้องพักชายหญิง แบ่งขาดกันอย่างชัดเจน ห้องพัก ห้องเดี่ยว ห้องนอนห้องน�้ำพร้อม ศีลข้อ ๔ ก็ผ่าน ข้อสุรายาเมาบุหรี่ เหล้า เข้าไม่ ได้อยู่แล้ว ศีลทั้งห้าข้อถือได้สบายโดยไม่ ต้องเคร่งครัดเคร่งเครียดอะไร หากใคร รื้ อ ที่ น อนอั น สู ง ลงจากเตี ย งนอนพื้ น ได้ ก็ได้ศีล ๘ ไปเลย อาจารย์ ที่ จ ะมาช่ ว ยสอนเป็ น พี่ เลี้ยงแนะน�ำ มีทั้งพระภิกษุและฆราวาส ทั้ ง อาจารย์ ผู ้ ห ญิ ง และผู ้ ช าย ค� ำ สอน แนะน�ำวิธีการปฏิบัติจะใช้เทปแปลจาก ของอาจารย์โกเอ็นก้า อาจารย์ใหญ่ที่จะ น�ำ “พุทธวจน” มาเป็นแนวทางการสอน ส่วนการปฏิบัตินั้น “เราต้องปฏิบัติเอง” เพราะพุทธศาสนาไม่ได้เป็นศาสนาแห่ง การร้องขออ้อนวอนใดๆ ทั้งสิ้น ปฏิบัติ ด้วยความตั้งใจ ไม่ต้องเคร่งเครียด ผ่อน คลาย แล้วจะรู้ว่าสุขใจนั้นเป็นอย่างไร


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

อาจารย์แก้ว

ปั

ญหาการชาร์จแบตเตอรี่ไม่เข้าส�ำหรับ สมาร์ทโฟนนั้นถือเป็นเรื่องปกติ เพราะ เชื่อว่าปัญหาที่เกิดมีสาเหตุของมัน ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของอุปกรณ์หรือปัญหาของคนใช้ งานเอง ส่ ว นตั ว ก็ เ คยได้ ยิ น ค� ำ ถามเหล่ า นี้ มาบ่ อ ยพอสมควร และอยากจะเขี ย นเป็ น ค�ำแนะน�ำเพื่อให้คนที่มีปัญหาเหล่านี้ ได้มี แนวทางในการแก้ไข ตรวจสอบปัญหาด้วย ตัวเอง บางครั้งอาจพบว่ามันไม่ใช่ปัญหาของ อุ ป กรณ์ แ ต่ เ ป็ น ปั ญ หาของตั ว เราเอง ฉบั บ นี้ผมจึงได้รวบรวมเทคนิคในการตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาของแบตเตอรี่ ซึ่งอาจเป็น ประโยชน์กับหลายๆท่านนะครับ เทคนิ ค การตรวจสอบปั ญ หาชาร์ จ แบตเตอรี่ไม่เข้า และแนวทางแก้ไข ๑. หน้าจอมืดด�ำ ปั ญ หานี้ เกิ ด จากแบตเตอรี่ ใ กล้ ห มด หรือเหลือสัญญาณแบตเตอรี่ต�่ำมากๆ และ เราพยายามชาร์ จ แบตเตอรี่ แต่ ไ ม่ มี อ ะไร เกิดขึ้น หน้าจออาจมีสีด�ำ ค�ำแนะน�ำเบื้อง ต้น ให้ชาร์จไฟไปเรื่อยๆ อย่างน้อย ๑๐ นาที ส�ำหรับสมาร์ทโฟน และอย่างน้อย ๒๐ นาที ส�ำหรับแท็บเล็ต ๒. ขั้วต่อสกปรก ปั ญ หาอาจเกิ ด ขึ้ น ได้ โดยเฉพาะ เวลาเอามือสกปรกไปจับ หรืออาจเกิดจาก ความชื้นในอากาศที่สูงเกิน ลองตรวจสอบถ้า พบ ให้ลองท�ำความสะอาดและลองชาร์จไฟ ใหม่ดูอีกครั้ง ๓. อแดปเตอร์ ตรวจสอบสักนิดว่าอแดปเตอร์ที่ใช้ มี ไฟสัญญาณหรือไม่ หรือถ้าเป็นรุ่นที่ไม่มี ให้ ดูเรื่องสายที่เสียบด้วยว่าแน่นพอด้วยหรือไม่ ๔. ชาร์จไฟผ่านพอร์ต USB คอมพิวเตอร์ การชาร์ จ ไฟผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ สิ่ ง ส�ำคัญคือ คอมพิวเตอร์ต้องเปิด (ยกเว้นบาง รุ่นเท่านั้น ที่สามารถชาร์จไฟแบบไม่ต้องเปิด คอมพิวเตอร์ได้) ๕. ปัญหาที่สาย USB การใช้สาย USB ที่ไม่ได้มาตรฐาน อาจ ท�ำให้ชาร์จไฟไม่เข้าได้เช่นกัน แนะน�ำง่ายๆ ให้ลองหาสาย USB เส้นอื่นมาทดสอบดู ๖. รีสตาร์ทเครื่องใหม่ อี ก หนึ่ ง วิ ธี ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ การตรวจสอบ ปัญหาการชาร์จแบตเตอรี่ ไม่เข้า นั่นคือให้

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

ลอง รีสตาร์ทเครื่อง ขณะที่ก�ำลังเสียบสาย ชาร์จ ๗. รีเซตเครื่อง เป็ น วิ ธี สุ ด ท้ า ยที่ แ นะน� ำ กรณี ที่ ไ ม่ สามารถหาทางแก้ได้ ให้ลองรีเซตเครื่อง ซึ่งก็ ควรระวังเรื่องของข้อมูลต่างๆ ภายในเครื่อง ว่า สามารถลบหรือสูญหายได้หรือไม่ ถ้าคุณได้ทดสอบตามค�ำแนะน�ำข้างต้น เชื่อว่าน่าจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ในระดับ หนึ่ง ซึ่งถ้าไม่ใช่ปัญหาของแบตเตอรี่เสื่อม

กรณีที่เราไม่ได้มีการใช้ งานอุ ป กรณ์ เ หล่ า นั้ น และน� ำ กลั บ มาใช้ ง าน ใหม่ ก ่ อ นใช้ ใ ห้ ท� ำ การ ชาร์ จ ไฟสั ก 20 นาที ก่อน และที่ส�ำคัญมาก คื อ การชาร์ จ ต้ อ งใช้ อแดปเตอร์เท่านั้น ไม่ แนะน� ำ ให้ ช าร์ จ ผ่ า น

หรือไม่สามารถชาร์จแบตเตอรี่ ได้จริงๆ แล้ว พอร์ตคอมพิวเตอร์ หวังว่าคงจะเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการแก้ ๓. อุณหภูมิ ปัญหาให้ทุกท่านนะครับ คุณทราบหรือไม่ว่า อุณหภูมิที่เหมาะ สมในการใช้งาน หรือวางอุปกรณ์อันที่เป็น อายุของแบตเตอรี่ รักยิ่งของเรานั้นอยู่ที่เท่าไหร่ เชื่อว่า หลายๆ ปั ญ หาของการใช้ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอ- คนไม่ค่อยได้ใส่ใจสักเท่าไหร่ แต่มาดูกันสัก นิ ก ส์ ส ่ ว นใหญ่ ม าจากแบตเตอรี่ ที่ ค ่ อ นข้ า ง นิดว่า เท่าไหร่ดี ส�ำหรับค�ำตอบก็คือ ๑๖° C หมดเร็ว บางครั้งอาจใช้งานได้ไม่ถึงปี หรือ ถึง ๒๒° C นอกเหนือจากอุณหภูมิข้างต้นที่ ปี เ ศษๆ ก็ เ สื่ อ มแล้ ว การเปลี่ ย นแบตเตอรี่ เหมาะสมในการใช้งานแล้ว อุณหภูมิที่ควร อาจไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยากส� ำ หรั บ อุ ป กรณ์ บ างรุ ่ น หลี ก เลี่ ย งอย่ า งมากที่ จ ะท� ำ ให้ อุ ป กรณ์ ข อง แต่ส�ำหรับอุปกรณ์จากค่ายแอปเปิลเชื่อว่า เราไม่สามารถจ่ายไฟได้อย่างเหมาะสม นั่น หลายๆ ท่านคงเข้าใจดีว่า ไม่ใช่ง่ายเลยที คือ ๓๕° C เดี ย ว และอี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ราคา ๔. ถอดเคสในระหว่างการชาร์จ ของแบตเตอรี่ ก็ไม่ได้ถูกด้วยเช่นกัน เรามา อย่างที่ทราบกันดีว่าระหว่างการชาร์จ ดูเทคนิคการยืดอายุแบตเตอรี่กันเลยดีกว่า นั้ น ตั ว เครื่ อ งจะร้ อ นกว่ า ปกติ เคสบาง ประเภทอาจท�ำให้ความร้อนนั้นมากขึ้น ดัง วิธียืดอายุแบตเตอรี่ นั้ น ระหว่ า งการชาร์ จ แบตเตอรี่ แนะน� ำ ให้ ๑. เมื่อไม่ใช้นานๆ ควรท�ำอย่างไร ลองจับและทดสอบเรื่องความร้อนกันสักนิด ในกรณี ที่ เ ราเก็ บ อุ ป กรณ์ เ หล่ า นี้ ไ ว้ และไม่ใช้เป็นเวลานานๆ ข้อห้ามคือ ห้าม ชาร์จไฟจนเต็มหรือปล่อยให้แบตเตอรี่หมด เกลี้ ย ง ส� ำ หรั บ ค� ำ แนะน� ำ ที่ ถู ก ต้ อ งคื อ ให้ ชาร์จไฟที่ 50% เท่านั้น ๒. หลังจากเก็บไว้นาน และน�ำกลับมาใช้ ค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญได้แนะน�ำว่า

๕. ปรับความสว่างของหน้าจอแบบ อัตโนมัติ ความสว่ า งหน้ า จอมี ผ ลโดยตรงกั บ แบตเตอรี่ การปรับลดความสว่าง หรือตั้งค่า ความสว่างแบบอัตโนมัติ จะช่วยยืดอายุเวลา การใช้แบตเตอรี่ได้เช่นเดียวกัน ๖. แอพพลิเคชั่น มีการรีเฟรชตัวเอง มี แ อพพลิ เ คชั่ น จ� ำ นวนมากที่ มี ก าร รีเฟรชตัวเองเพื่อเป็นการอัพเดทข้อมูล ซึ่ง ส่ ง ผลให้ แ บตเตอรี่ มี อ ายุ เ วลาการใช้ ง าน น้อยลง ซึ่งเราสามารถปิดความสามารถนี้ได้ โดยเข้าไปตั้งค่าเพื่อเลือกแอพพลิเคชั่นที่ไม่ ต้องการให้รีเฟรชตัวเอง รับประกันประหยัด แบตเตอรี่ได้อีก ๗. อยู่ในสถานที่ที่สัญญาณไม่ดี กรณีที่เราอยู่ในสถานที่อับสัญญาณ จะ ส่งผลท�ำให้อุปกรณ์เหล่านั้น พยายามค้นหา สัญญาณที่ดีกว่าส่งผลให้แบตเตอรี่หมดเร็ว เช่ น เดี ย วกั น ดั ง นั้ น ถ้ า คุ ณ อยู ่ ใ นสถานที่ ที่ สัญญาณไม่ดี แนะน�ำให้ปรับไปใช้ Airplane mode เลยดีกว่า จะช่วยประหยัดแบตเตอรี่ ได้มาก หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า เทคนิ ค วิ ธี ก ารที่ ได้น�ำเสนอไปจะช่วยให้ท่านได้น�ำไปปรับใช้ และสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบตเตอรี่ได้ ในระดับหนึ่ง ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

“นั่นไง ไอ้ลูกชาย เห็นนั่นมั้ย เมฆก้อนใหญ่.....” “....เมื่ อ มี ค วามร้ อ นจากดวงอาทิ ต ย์ มี ค วามชื้ น จาก ทะเลใหญ่ จากป่าใหญ่ รวมกันก็จะเป็นก้อนใหญ่ เมฆตัวอ้วน ก็จะเดินทางโดยสายลมน�ำพา ดูซิ เจ้าเมฆอ้วนลอยมาติดอยู่ กับยอดไม้บนภูเขาสูง ทันใดนั้น ขณะที่เมฆสัมผัสต้นไม้ เกิด เป็นหยดน�้ำตามกิ่งก้านใบ และหยดน�้ำนั้นก็ค่อยๆ หล่นลงสู่ พื้น ...จากนั้นน�้ำนั้นก็ค่อยๆ ซึมลงในดิน ผ่านการกรองจาก รากไม้น้อยใหญ่ นั่นไง! เขาค่อยๆ ไหลออกมาเป็นตาน�้ำนับ ร้อยสาย และค่อยๆ ไหลรวมเป็นล�ำธารใหญ่ ไหลลงสู่ทะเล

และระเหยลอยขึ้นไปบนฟ้า เกิดเป็นเมฆใหญ่แบบนี้อีกไม่รู้ จบ...” “เมฆมากับลม พบกับป่าและกลายเป็นฝนเหรอครับ พ่อ” “...ใช่แล้ว ลมน�ำพาเมฆฝนมาสู่ที่แห่งนี้ และมีแต่ต้นไม้ ใหญ่เท่านั้นที่สามารถเรียกเมฆ เรียกลมฝนมาได้ ถ้าเรารักษา ป่าไว้ เราก็จะมีล�ำธารใหญ่ไว้ให้เล่นน�้ำ ไว้ดื่มกิน ไว้ท�ำอาหาร ลูกเห็นแล้วว่า น�้ำมาจากไหน ....เขามาจากบนฟ้า มาจากทุก สิ่ง ทุกอย่างช่วยกันท�ำให้น�้ำเกิดขึ้น เราจึงต้องรักษาป่า รักษา ต้นน�้ำล�ำธารไงลูก” “พ่อตั้งชื่อลมฝน ให้ลมฝนเป็นเจ้าของภูเขานี้ใช่มั้ยครับ พ่อ” เจ้าลูกชายของผมทึกทักจับจองและแสดงความเป็น เจ้าของผืนป่าของตัวเองอย่างดีใจ เมื่อได้รู้ความจริงจากที่มา ของชื่อของตัวเอง ได้รู้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการก�ำเนิดต้นน�้ำ ล�ำธาร และนี่เป็นการพิสูจน์ว่า “เมื่อได้มีโอกาสท�ำ พวกเขา ท�ำได้” อีกครั้งที่ผมได้มีโอกาสพาเด็กๆ ลูกๆ หลานๆ เข้าป่า ภายใต้โครงการ “ถอดรหัสป่าจูเนียร์” และแม้พวกเขาจะ เป็นเพียงเด็กอายุ ๘-๙ ขวบ ดูจะอ่อนเยาว์เกินไปส�ำหรับป่า ใหญ่ เมื่อได้ท�ำพวกเขาท�ำได้ ถึงแม้จะเป็นการดูแลอยู่ภายใน

สายตาผู้ปกครอง ทีมพี่เลี้ยง แต่เด็กๆ ก็สามารถเดินป่าพิชิต ยอดเขาสูงแห่งหลังคาแดนใต้ ได้ด้วยก�ำลังเท้าของเขาเอง ... ในรอบนี้เราใช้เวลา ๕ วัน ๔ คืน ส�ำหรับการไปสัมผัสป่า ของจริง ไปสัมผัสภูเขาหลังบ้าน ที่ซึ่งเป็นแหล่งก�ำเนิดต้นน�้ำ ล�ำธารส�ำคัญของภาคใต้ โดยมีโจทย์ที่เด็กๆ ตั้งค�ำถามขึ้นมา ว่า “น�้ำนั้นมาจากไหน” มหากาพย์แห่งการผจญภัยวัยเยาว์ก็ เริ่มขึ้น เด็กๆ ต้องแบกสัมภาระส่วนตัวเขาเอง โดยเริ่มต้นเดิน เท้าจากปลายทางของน�้ำตกสายหนึ่ง ค่อยๆ ผ่านผืนป่าใหญ่ สู่ต้นก�ำเนิดของน�้ำสายนั้น แต่ละย่างก้าวจึงสัมผัสอย่างที่สุด ไม้ใหญ่รายทางที่ให้ร่มเงา เมล็ดไม้เล็กๆ ที่เพิ่งเติบโต หรือแม้ เรียวหนามรายทาง ก็ล้วนแล้วแต่เป็นครูใหญ่ส�ำหรับพวกเขา แต่ละย่างก้าวจึงเหมือนกับการปลูกฝัง เรียนรู้ และสัมผัสของ จริงมากกว่าการเล่าให้ฟัง หรือให้ท่องจ�ำ เพราะอันตรายเหล่า นั้นเด็กๆ ของเราได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ทุกค�ำถามจึงได้ต�ำตอบ ที่ชัดแจ้งตรงหน้า นักเรียนรหัสป่ารุ่นเยาว์เหล่านี้ ต้องเรียน รู้การก่อไฟหุงข้าว การท�ำอาหาร การเตรียมข้าวของส�ำหรับ ตัวเอง รวมทั้งการรับภาระทั้งหมดนั้นไว้บนบ่าของเขาเอง แม้ จะมีพี่เลี้ยงคอยดูแลอย่างใกล้ชิด แต่ทั้งหมดก็อยู่ภายใต้การ อบรมสั่งสอนโดยป่าผืนใหญ่ เส้นทางตั้งแต่ก้าวแรกจนถึงปลายทางนั้น อาจจะมีถูก แทรกอยู่ด้วยอันตรายอย่างพองาม ทว่าหากเด็กๆ ได้เรียนรู้ ป้องกัน ท�ำความรู้จักอันตรายดังกล่าว ป่าทั้งผืนก็จะเป็นที่ ปลอดภัยอันกว้างใหญ่ และเมื่อเขาได้สัมผัสความงามของผืน ป่า เสียงนก เสียงแมลง ดอกไม้เล็กๆ ก้อนหินเล็กๆ รวมทั้ง ล�ำธารใหญ่ของภูเขาสูง ความใคร่รู้ใค่รเห็นเหล่านี้จะถูกปลูก ฝังอยู่ในตัวอย่างกลมกลืน และนี่เป็นความหวังเล็กๆ ของการ รักษาผืนป่าใหญ่ รักษาต้นน�้ำล�ำธารเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน.


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

วันเสาร์ที่ผ่านมา กลับไปเยี่ยมเยือนบ้านโกงกาง ปากพนังฝั่งตะวันตกอีกครั้ง จอมซนประจ�ำหมู่บ้านยังสนุกสนานและมีความสุข ความสุขของเด็กน้อย ท�ำให้เด็ก (อายุเหลือ) น้อยอย่างช่างภาพพลอยมีความสุขไปด้วย


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

อลั่ลล้า .. ต้อนรับช่วงปิดเทอม ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอกิจกรรมดี๊ดีกับความบันเทิง ริมชายหาดถึงสองรูปแบบ ..ที่พร้อมเปิดตัว ต้อนรับความสุขสนุกสนานตั้งแต่ต้นเดือน ในวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สนุกสนาน กั น ได้ แ บบสุ ด ๆ กั บ การตะโกนดั ง ๆ กั บ งานเพลงโดนๆ ของงานกิจกรรมงานแรก Retro Beach Party ครั้งที่ ๓ ปีนี้จัดกัน เต็มๆ ถึง ๔ เวที ๔ stage ๔ ความรู้สึก ด้วย การขนศิลปินระดับแนวหน้าพาบินลัดฟ้ามา เสิร์ฟความสุขกันถึงริมหาดหินงาม อ�ำเภอ สิ ช ล จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ถึ ง สองวั น เต็มๆ อาทิ T-Bone, Musketeers, Boom Boom cash, Lomosonic, Kid Insane, THE YELLOW BASKET, O One O, FORWARDMUCH, สิ ง ห์ ส ยาม, GAPI dub kitchen, The_Kid featuring Num T-Bone, DJ Pure ปาล์ ม โทร. ๐๘๙-๑๔๔-๔๔๔๗ หรื อ ฝ่ า ย หนึ่งงานที่พลาดไม่ได้เช่นกันกับกิจกรรมดีดี บัตรเข้าชมเพียงราคา ๘๐๐ บาท แต่นักร้อง Liquid, DJ Psymagic, DJ Psyam, DJ Jacky ประสานงาน ๐๘๑-๗๓๔-๖๘๙๘ บัตรราคา Khanom Festival 2015 ตอน Tropical Para- คุ ณ ภาพคั บ แก้ ว บอกได้ เ ลยว่ า งานนี้ คุ ้ ม Thaibal...and much much more... เชิญ ๕๐๐ บาท เข้างานได้ทั้ง ๒ วัน บ่ายสามโมง dise ณ หาดหน้าด่าน อ.ขนอม จ.นครศรี- เกิ น คุ ้ ม ค่ ะ นอกจากจะได้ สั ม ผั ส กั บ ความ

ชวนกันมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของความมันส์ เป็นต้นไป กั น ได้ น ะคะ ที่ พั ก ในอ� ำ เภอสิ ช ลตอนนี้ ติ ด ตามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www. ทราบข่าวมาว่าเต็มกันไปหมดแล้ว คงเหลือ facebook.com/retrobeachparty เฉพาะพื้นที่บริเวณรอบข้าง อย่าได้ตัดสินใจ ล่าช้าเชียวค่ะ ละทิ้งท้ายความสุขอีกครั้งในช่วงปลาย หากต้องการจะนอนเต๊นท์ก็สามารถ เดื อ นในวั น ที่ ๓๐ พฤษภาคม กั บ อี ก สั่ ง จองเต๊ น ท์ พ ร้ อ มเครื่ อ ง นอนโดยสอบถามราย ละเอี ย ดกั น ได้ ที่ คุ ณ เก๋ ๐๘๑-๒๗๑-๒๒๐๗ ส่ ว น ท่ า นที่ ต ้ อ งการซื้ อ บั ต ร และเสื้ อ ยื ด ที่ ร ะลึ ก หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม งาน Retro Beach Party สามารถติดต่อคุณ

ธรรมราช ..ตั้งแต่เวลา ๑๗.๐๐ น. เป็นต้น ไปกั บ ความสี สั น แห่ ง ความสุ ข ริ ม ทะเลกั บ ศิลปินคุณภาพ เช่น ดา เอ็นโดฟิน, ตู่ ภพธร, โมเดิร์นด็อก, นิวจิ๋ว, บุรินทร์ and The old school star , พี พี โปรเจ็ ค และ ดี เ จสาว สวยสุดเซ็กซี่ Roxy June ความสุขทั้งหมดนี้

สุ ข ท่ า มกลางเสี ย งคลื่ น และสายลมแล้ ว ภายในงานยั ง มี บู ธ กิ จ กรรมอาหาร และ เครื่ อ งดื่ ม สไตล์ ท รอปปิ ค อล อี ก มากมาย ที่ ร วบรวมมาให้ คุ ณ ได้ ร ่ ว มสนุ ก และแชร์ ภาพโดนๆ ให้โลกได้รับรู้..รีบๆ จองห้องพัก และจองบัตรกันนะคะจองก่อนได้รับสิทธิ์ ก่อนกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม และ ซื้อบัตรได้ที่ชมรมธุ รกิจท่อง เที่ ย วขนอม ๐๘๐-๒๓๓๓๓๒๒ และ ๐๘๑-๗๕๕๐๖๖๘ อย่าพลาดนะคะ กับ งานดี๊ ดี แ บบนี้ ที่ บ ้ า นเรา @ นครศรีธรรมราช แล้วพบกัน ใหม่ฉบับหน้าค่ะ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒ ก็ ม าสร้ า งวิ ท ยาเขตไว้ ที่ นี่ มี อ าคารเรี ย น ขนาดใหญ่พร้อมกับอาคารบริหารที่งดงาม ส่วนอาคารบริการวิชาการยังสร้างไม่เสร็จ ขณะนี้ ก� ำ ลั ง เตรี ย มการย้ า ยออกไปที่ น าพรุ ริ ม ถนนใหญ่ ส ายหั ว ถนน-ทุ ่ ง สง ใกล้ ๆ โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา เยื้ อ งๆ ศู น ย์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ที่นี่มีท่านเจ้าคุณพระเทพวินยาภรณ์ เป็นประธานในฐานะรองอธิการบดีฯ ท่าน เจ้าคุณศรีฯ วัดพระนคร แล้วก็ท่านพระครู สิริฯ วัดพระธาตุ เป็นหลักขับเคลื่อน ทราบ ว่าก�ำลังขยายตัว มีนิสิตร่วมพันคนจากทั่วทั้ง ภาคใต้ เป็นฆราวาสมากกว่าภิกษุสามเณร ส่ ว นใหญ่ ก� ำ ลั ง เรี ย นในหลั ก สู ต รทางโลก มากกว่ า ทางธรรม มี ค รู บ าอาจารย์ ข อง จังหวัดตลอดจนคนรุ่นใหม่เข้าไปช่วยกันอยู่ หลายคน

ข่ายสายงานท่านโคเอ็นก้าที่มีอยู่ทั่วประเทศ และโลก ขนาดก� ำ ลั ง ดี ตั้ ง อยู ่ ที่ ก ลางสวน สมรมเชิงเขาหลวง เกิดด้วยแรงศรัทธาของ โกแอ๊ดกับพี่แดงแห่งครัวนคร โกปี๊ ลิกอร์ฯ ที่ ไ ด้ รั บ ผลจากการเข้ า ปฏิ บั ติ แล้ ว อุ ทิ ศ ที่ พร้อมทั้งทุนและแรง สร้างเป็นสถานปฏิบัติ ธรรมขนาดก�ำลังดี ๕๐ คน เมื่อวันที่ผ่านไป ก� ำ ลั ง เป็ น หลั ก สู ต รพิ เ ศษของชาวเนปาลที่

ท�ำงานอยู่ในประเทศไทยมาขอจัดเป็นปีที่ ๒ โดยศูนย์กลางฯ ที่เมืองมุมไบในอินเดีย ส่ง ผู้น�ำภาวนาชาวเนปาลมาจากโน่น สอบถาม ธรรมบริกรที่นั่น ได้ความว่า ได้รับความนิยม และเต็มเกือบทุกเดือนทีเดียว วกกลั บ เข้ า มาในเมื อ งนคร หากท่ า น ใดยังไม่เคยไปวัดศรีทวีที่สุดทางรถไฟสายใต้ (ที่ต่อจากสถานีรถไฟนครศรีธรรมราช) ขอ แนะน� ำ ให้ แ วะไปเพราะถื อ เป็ น อี ก “สถาน ธรรม” ที่ ก� ำ ลั ง จะขยั บ ใหญ่ อี ก รอบ หลั ง จากท่านเจ้าคุณพุทธิสารเมธี กั บ คณะพุ ท ธ บริ ษั ท พั ฒ นามาตาม ล� ำ ดั บ จนกลายเป็ น ศู น ย์ ศ รั ท ธาและสั ป ปายสถานส� ำ คั ญ ของ เมือง ล่าสุดโครงการ หากไม่ ว กกลั บ ไปที่ หั ว สนั บ สนุ น เพื่ อ การยก ถนนหรื อ สี่ แ ยกเบญจมราชู ทิ ศ ระดับพัฒนาให้เป็น ๑ แต่ เ ลื อ กขั บ รถตรงไปอ� ำ เภอ ใน ๙ วั ด น� ำ ร่ อ งของ ลานสกาแล้วตรงไปเขาธง ที่ทาง ประเทศ โดยสถาบัน เข้าน�้ำตกกะโรมขึ้นไปประมาณครึ่งทาง มี อาศรมศิ ล ป์ ผู ้ อ อกแบบรั ฐ สภาหลั ง ใหม่ ที่ สถานปฏิบัติธรรมแห่งใหม่ล่าสุด ชื่อ “ธรรม ก� ำ ลั ง ก่ อ สร้ า งหวั ง จะให้ เ ป็ น สั ป ปายสถาน โปราโณ” ของแวดวงปฏิ บั ติ ธ รรมในเครื อ ด้วยการสนับสนุนของ สสส. ได้ลงมติเลือก

รั บ ใช้ ถ วายงานวั ด ศรี ท วี ใ นฐานะ ๑ ใน ๙ วั ด น� ำ ร่ อ งที่ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษคื อ วั ด เมื อ งที่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นพระพุ ท ธศาสนาของ ชุ ม ชนบนฐานคิ ด “บวร” ทราบมาว่ า จะมี สถาปนิ ก และนั ก ออกแบบอาสาภายใต้ ก าร น� ำ ของศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ม าช่ ว ยพั ฒ นา โดย ท่านเจ้าคุณฯ ก็ระดมมือดีเมืองนคร น�ำโดย ท่านอดีตผู้ว่าวิชม ทองสงค์ อดีตอธิการบดีฯ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ และ อ.บัณฑิต สุทธิมุสิก อดีตฯ ผอ.กองการศึกษาเทศบาลนคร รวมทั้งผมมาเข้าทีม ทั้งนี้คณะกรรมการสุธี รัตนามูลนิธิได้มีมติในการประชุมเมื่อปลาย เดือนมีนาคมในการเข้าร่วมโครงการนี้อย่าง จริ ง จั ง หวั ง จะเป็ น อี ก หนึ่ ง ฐานธรรมเพื่ อ “นครศรีธรรมราช” กันต่อไป ไหนๆ ก็ไปเกือบถึงเขาธงแล้ว แนะน�ำ ร่ ว มกั บ น� ำ พาให้ เ มื อ งนครของเราได้ ฟ ื ้ น คื น กลั บ มาเป็ น “เมื อ งธรรม” สมกั บ ที่ มี ชื่ อ ว่ า ให้ เ ลยไปไหว้ พ ่ อ ท่ า นคล้ า ยวาจาสิ ท ธิ์ ที่ สั น ปั น น�้ ำ ในศาลาวาจาสิ ท ธิ์ แ ล้ ว คิดมุ่งมั่นหรือเปล่งวาจาอะไรให้ ศักดิ์สิทธิ์ คือคิดพูดแล้วท�ำอย่าง จริ ง จั ง ให้ ส� ำ เร็ จ สมดั ง แบบอย่ า ง ของพ่อท่านที่สามารถน�ำพาผู้คน มาพั ฒ นาท� ำ ถนนสายนี้ ข ้ า มเขา จากวั ด ธาตุ น ้ อ ยมาเมื อ งนครได้ ส�ำเร็จด้วยแรงคนเมื่อ ๕-๖๐ ปี ที่ แ ล้ ว แล้ ว ก็ แ วะสู ด โอโซนที่ ว ่ า บริ สุ ท ธิ์ ที่ สุ ด ในประเทศตรงริ ม ทางเสียด้วยก็ได้ครับ. บ้านบวรรัตน์ นครศรีธรรมราช ๒๑ เมษายน ๒๕๕๘


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๔ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.