นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 33 เดือนมิถุนายน 2557

Page 1

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ว่ า ที่ ร.ต.สมพู น ทรั พ ย์ กล้ า วิ ก รณ์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก บริ ห าร กองทุนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องร้องเรียน (สกร.) ชี้ช่อง เกษตรกรแก้ปัญหาหนี้สินซึ่งเกษตรกรยังไม่ค่อยรู้ ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี

˹éÒ ò ˹éÒ ó เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ส� ำ นั ก งานกองทุ น ฟื ้ น ฟู ฯ จั ด ประชุ ม เกษตรกรที่เป็นหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ที่ห้องบงกชรัตน์โรงแรมทวินโลตัส จังหวัด นครศรีธรรมราช >> อ่านต่อหน้า ๘

˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒

มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ร.ต.สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์

˹éÒ ๔

˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

รายงาน เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวงพลังงาน มอบหมายให้กรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติ (ชธ.) ประสานกับบริษทั ปตท.จ�ำกัด (มหาชน) ก�ำหนด แผนการซ่ อ มบ� ำ รุ ง ท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ทั้ ง จากแหล่ ง ภายใน ประเทศและประเทศเพื่อนบ้านในระยะยาว ๕ ปี เพื่อวางแผน รับมือสถานการณ์ดา้ นไฟฟ้า ไม่ให้เกิดกรณีไฟดับ ๑๔ จังหวัดภาค ใต้กลางปี ๒๕๕๖ ระหว่างที่ ๑๓ มิถนุ ายน - ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ >> อ่านต่อหน้า ๙


หน้า ๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ผ้าห่มองค์พระบรมธาตุ เมืองนครกับการจัดงานวัด ลอยฟ้าที่ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพมหานคร

ณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) น�ำโดย พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา กระท� ำ การ รั ฐ ประหาร เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ด้ า นหนึ่ ง สามารถยุ ติ ก ารเผชิ ญ หน้ า และความ เสี่ยงที่ประชาชนไทยจะยกก�ำลังเข้าเข่นฆ่าประหัต ประหารกันเอง ซึ่งไม่อาจประเมินความสูญเสียที่จะ เกิดขึ้น แต่อีกด้านหนึ่ง คสช. ย่อมถูกต่อต้านโดย ประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร ก่ อ นรั ฐ ประหารกระแสเรี ย กร้ อ งให้ ป ฏิ รู ป การบริหารประเทศสูงมาก แต่แนวทางปฏิรูปหรือ องค์กรน�ำการปฏิรูปไม่มี ถึงมีก็ไม่ได้รับการยอมรับ จากประชาชนทั้งรัฐบาล และ กปปส. ภายใต้การน�ำ ของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ การเลือกตั้งถูกต่อ ต้านจากหลายฝ่าย จนไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลขึ้น มาบริ ห ารประเทศ รั ฐ บาลรั ก ษาการถู ก ขั บ ไล่ แ ละ ก�ำลังจะกลายเป็นรัฐล้มเหลว ปัญหาคอรัปชั่นที่ฝังรากลึกในสังคมไทยเป็น บ่อเกิดความอยุติธรรมและความเสื่อมทรามนานา ประการ ถ้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ใช้ อ� ำ นาจที่ ไ ด้ จ ากการรั ฐ ประหารเป็ น เจ้ า ภาพน� ำ ปฏิ รู ป ประเทศและท� ำ ทุ ก อย่ า งเพื่ อ ประโยชน์ ข อง ประเทศ ไม่แสวงหาอ�ำนาจหรือผลประโยชน์ใส่ตัว หลังก�ำหนดกฎกติกาอันเป็นเครื่องมือสู่การปฏิรูป แล้ ว คสช. ต้ อ งเป็ น เจ้ า ภาพจั ด การเลื อ กตั้ ง ให้ ยุติธรรม และสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น มาบริหารประเทศ คสช. จึงจะออกจากอ�ำนาจอย่าง มีเกียรติภูมิ

มี

ที่เน้นเรื่องแผนที่ดาวเทียม (๒๐ พ.ค.) กลั บ มานครแล้ ว วกไป สวนโมกข์ ก รุ ง เทพเพื่ อ เสวนา ล้ อ อายุ ท ่ า นอาจารย์ พุ ท ธทาส ร่วมกับ คณะศิษย์ท่านปัญญานั น ทะ และ เจ้ า ชื่ น เชี ย งใหม่ (๒๔ พ.ค.) ก่ อ นที่ จ ะน� ำ คณะ ครึ่งร้อย นั่งรถไฟไปไชยา เพื่อ ตามรอยท่านอาจารย์พุทธทาส และร่ ว มงานล้ อ อายุ ๑๐๘ ปี ท่านอาจารย์พุทธทาสโดยมีการ ภาวนากันต่อที่นานาชาติ จะเห็นว่ายังไงๆ ผมก็แวะ เวียนมาอยู่เมืองนครเสมอๆ ใน ฐานะบ้ า นเกิ ด บ้ า นเอง บ้ า น อยู ่ ฯลฯ เพี ย งแต่ มี เ วลาไม่ มากนั ก ประกอบกั บ ไม่ ค ่ อ ยมี อะไรให้ท�ำสักเท่าไรเมื่อเทียบกับที่อื่นเขามีมาชวนและช่วยกัน ท�ำ แถมที่พอท�ำได้ก็ท�ำที่ไหนก็ได้ ดังเช่นหนังสือเล่มล่ าสุด ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชขอให้ช่วยท�ำและออก มาอย่ า งสวยสดงดงาม ได้ รั บ การกล่ า วขานว่ า มี ม าตรฐาน เข้ า ขั้ น สากล ว่ า ด้ ว ย “ปฐมบทพระพุ ท ธศาสนา ในภาคใต้ ประเทศไทย : หลักธรรมและหลักฐานโบราณคดี” และป้าย ข้อมูลความรู้เพื่อบูชาพระบรมธาตุเมืองนครอย่างสมคุณค่า ที่ ททท.นศ.ขอให้ท�ำ และก�ำลังเร่งมือท�ำกันอยู่

หลายท่านถามว่าทุกวันนี้ผมอยู่ไหน ท�ำอะไรบ้าง แล้วยัง ท�ำอะไรที่เมืองนครบ้าง ? ค�ำตอบของผมคือ ยังอยู่เมืองนคร แต่เดินทางไปท�ำ โน่นนี่ทั่วไปหมด ส่วนใหญ่ก็ท�ำเรื่องสาธารณประโยชน์ โดย เฉพาะเรื่ อ งการพระพุ ท ธศาสนา ประวั ติ ศ าสตร์ วั ฒ นธรรม ชุมชนท้องถิ่นของประเทศไทยและเมืองนคร เช่นสองสามเดือนนี้ก็ท�ำหลายงาน เช่น “งานวัดลอยฟ้า ญาณสังวร ๑๐๑ จิตตนคร The Hidden Capital” ถวายเจ้า พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ที่ศูนย์การค้าสยามพารากอน (๓-๘ เม.ย.) เสร็จแล้วแว่บไปขับรถเรียนรู้หลายงานรอบเขา ฟูจิที่ญี่ปุ่น (๑๗ - ๒๔ เม.ย.) กลับมาร่วมประชุมแผนงาน สสส. (๒๕-๒๖ เม.ย.) มานครดูเรื่องระบบป้ายในวัดพระธาตุ และนานาเรื่องแล้วไปงานลูกปัดที่สุราษฎร์ (๓ พ.ค.) ร่วม สังฆเสวนาว่าด้วยพระภิกษุกับการพัฒนาสังคมกับคณะพระ ธรรมทายาทที่ท่านอาจารย์ปัญญานันทะท�ำไว้ที่มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย อยุธยา (๖-๗ พ.ค.) บินไปหารือ และร่วมงานร�ำลึกท่านอาจารย์พุทธทาสที่วัดป่าโนนกุดหล่ม ซึ่งพระอาจารย์และชาวบ้านที่นั่นตั้งเป็นสวนโมกข์ศรีสะเกษ (๑๐-๑๑ พ.ค.) กลับมางานศพญาติที่วัดท่าโพธิ์ (๑๑ พ.ค.) แล้ ว กลั บ ไปจั ด วิ ส าขบู ช า เพ็ ญ ภาวนา ชาคริ ย านุ โ ยคแบบ ภาวนาข้ามคืนที่สวนโมกข์กรุงเทพ (๑๓ พ.ค.) ประชุมหารือ เรื่องการพัฒนาระบบการเดินทางท่องเที่ยวแบบธรรมจาริกทั่ว ประเทศไทย กับ ททท. (๑๖ พ.ค.) แล้วจัดกิจกรรมน�ำชมพิเศษ แก่คณะ InstaDham (๑๗ พ.ค.) ต่อด้วยการถูกตามไปดู หลักฐานประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่วัดธิเบต นครนายก (๑๘ พ.ค.) แล้วไปประชุมโครงการศึกษาว่าด้วยรอยพระพุทธศาสนาจาก อินเดียถึงไทยและอาเซียน ผ่านแผนที่ดาวเทียม ของ GISTDA หมู่บ้านมรดกโลก ชิรากาว่า โกะ

>> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

มมีน้องๆ เป็นช่างภาพชาวพัทลุง ๒ - ๓ คน เกียรติศักดิ์ รักนะ, ชวิน ถวัลย์ภิยโย และปรเมศวร์ กาแก้ว เกี ย รติ ศั ก ดิ์ เ คยท� ำ งานในกรุ ง เทพฯ เขาตระเวนบั น ทึ ก ภาพชี วิ ต ธรรมชาติและวัฒนธรรม ในลุ่มทะเลสาบสงขลา โดยเฉพาะทะเลน้อย จัด พิ ม พ์ เ ป็ น เล่ ม ออกจ� ำ หน่ า ย ๒-๓ ชุ ด สมุ ด ภาพฉี ก เป็ น แผ่ น โปสการ์ ด ส่ ง ข้อความไปยังผองเพื่อนที่อยู่ไกลๆ ช่วย แพร่ ค วามงามของแผ่ น ดิ น ถิ่ น เกิ ด ได้ อย่างน่าชื่นชม เกียรติศักดิ์กลับมาอยู่บ้านเกิด ท�ำ ร้านกาแฟในปั๊มน�้ำมันเชลล์ใกล้สี่แยก ท่ามิหร�ำ ๒-๓ ปี แล้วย้ายไปเปิดร้าน ใหม่ ใ นตั ว เมื อ ง แต่ ยั ง ตระเวนบั น ทึ ก ภาพอยู่เสมอ นับแต่สมัยใช้ฟิล์ม สไลด์ จนสู่ดิจิตัล งานร้านกาแฟกับงานเลี้ยง ลูก ๒ คน อาจจะยุ่งมือสักหน่อย จึงไม่ ค่อยเห็นภาพปรากฏในเฟซบุ๊กบ่อยนัก แตกต่างจาก ชวิน ถวัลย์ภิยโย ชื่อ เฟซฯ ‘อนุมานชาญสมร ชวิน ถวัลย์ภิยโย’ ปริญญาตรี ม.รามค�ำแหง สาขา ภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ที่ผ่านงานถ่าย ภาพในเมืองกรุง แล้วลงมาท�ำกิจกรรม ถ่ า ยภาพใน ๓ จั ง หวั ด จนประสบ อุ บั ติ เ หตุ ข าหั ก หลั ง รั ก ษาขาพอก้ า ว ย่ า งสะดวก เขาคว้ า กล้ อ งท่ อ งเที่ ย ว บั น ทึ ก ภาพเมื อ งพั ท ลุ ง ทุ ก ซอกทุ ก มุ ม ในนาม ‘ชุมทางเขียนด้วยแสง’ ซึ่งมี ปรเมศวร์ กาแก้ว ข้าราชการ ม.ทักษิณ เป็นสมาชิกชมรมอีกคน ชวินโพสต์ภาพลงเฟซบุ๊กมา ๔-๕ ปี ตอนนี้ เ ขาชวนลู ก ชายกั น ต์ ร ะพี (แพน) สะพายกล้องออกไปเก็บภาพ ทะเล ฝู ง วั ว ควาย คนยกยอ ดอกบั ว นกนานาชนิด วัดวาอาราม ภาพท้อง ทุ ่ ง นา ด้ ว ยหมายถ่ า ยทอดเรื่ อ งราว

ชวิน ถวัลย์ภิยโย

ของบ้านเกิดผ่านเลนส์ เขาโพสต์ภาพ สวยๆ ลงเฟซบุ ๊ ก พร้ อ มค� ำ บรรยาย อย่างไม่หวงแหน บางครั้งได้รับเชิญไป ถ่ายทอดเทคนิคการถ่ายภาพแก่เยาวชน หรื อ ชั ก ชวนเยาวชนมาท� ำ กิ จ กรรมลง พื้นที่บันทึกภาพมาวิจารณ์และเรียนรู้ ศิลปะการถ่ายรูป ผมเคยเป็นวิทยากรร่วมค่ายเขียน สารคดี กั บ เขา สิ่ ง ที่ พ บคื อ การเตรี ย ม ข้ อ มู ล ภาพและค� ำ บรรยายที่ ส มบู ร ณ์ มาก นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาสามารถรั บ รู ้ เทคนิคเบื้องต้นได้ทันที

กิจกรรมบันทึกภาพเมืองพัทลุง ผ่านทางรถไฟ

ช่วงมีงานไหว้ครูโนรา (โนราโรง ครู ) ที่ วั ด ท่ า แค เมื อ งพั ท ลุ ง เมื่ อ ต้ น เดือนพฤษภาคม ที่ผ่านมา ชวินชักชวน เพื่อนช่างภาพมากประสบการณ์ ๕-๖ คน จากกรุงเทพฯ มาบันทึกพิธีไหว้ครู โนรา โดยไม่กลัวว่าช่างภาพคนอื่นจะ ถ่ายสวยกว่า แต่ยังอ�ำนวยความสะดวก ให้เพื่อนได้เก็บภาพมุมมองใหม่ๆ จาก สายตาของคนนอกด้วยใจที่เปิดกว้าง ภาพถ่ า ยพิ ธี ไ หว้ ค รู โ นราคงมี โ อกาส ติ ด ตามช่ า งภาพที่ เ ป็ น ศิ ล ปิ น เพอร์ ฟอร์มานซ์ และจิตรกรช่างภาพออกไป เผยแพร่ทั้งในและต่างประเทศ เ มื อ ง พั ท ลุ ง แ ม ้ พื้ น ที่ จ ะ เ ล็ ก กว่ า เมื อ งนคร แต่ ก ารบั น ทึ ก ภาพให้ ละเอียดครบถ้วน ชั่วชีวิตของชวินคง ท�ำไม่เสร็จ แต่น่าดีใจที่ชาวเมืองลุงจะ ได้เห็นภาพบ้านเกิดมุมมองใหม่ๆ จาก ช่างภาพคนนอก


หน้า ๔

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

มี

หนุ ่ ม สาวหลายคน ได้ ม าถามผมเรื่ อ งที่ ม าที่ ไ ปของค� ำ กลอนที่ว่า “ถ้าอยากเป็นปราชญ์ ให้ไปอยู่วัดท่าโพธิ์ ถ้า อยากกินหนมโค ให้ไปอยู่วัดวัง” ผมจึงไปค้นหาจากหนังสือเก่า มาคุยให้ผู้ที่สอบถามหลายท่านฟัง รวมทั้งเพื่อนฝูงที่ติดตาม “ชวนคิด ชวนคุย” เป็นประจ�ำด้วย บทกวี ที่ ว ่ า นี้ มี ที่ ม าที่ ไ ปที่ น ่ า สนใจมากอยู ่ “พระเดช พระคุ ณ พระรั ต นธั ช มุ นี ” หรื อ คนนครเราจะรู ้ จั ก ในนาม “ท่ า นม่ ว ง” นับว่าท่านเป็นกวีเอกของเมืองนครท่านหนึ่ง นักเลงเพลงบอก หนังตะลุง มโนราห์ ต่างทราบกิตติศัพท์ของ ท่านดี ซึ่งท่านเป็นผู้แต่งบทกวีที่ว่านี้ สมัยที่พระเดชพระคุณท่านยังมีชีวิตอยู่ ท่านได้ด�ำรง ต�ำแหน่งสูงสุดในสังฆมณฑลปักษ์ใต้ ซึ่งท่านได้เดินทางไปตาม วัดวาอารามต่างๆ เพื่อเยี่ยมเยือนและตรวจตรา และมักจะมี อุบาสกอุบาสิการวมทั้งภิกษุสามเณรเข้าไปนมัสการขอโอวาท แนะน�ำในการมอบตัวบุตรหลานเข้าเป็นศิษย์ และบวชเรียน จ�ำพรรษาตามวัดต่างๆ ว่าวัดไหนดีหรือไม่ดีอย่างไร ทุกครั้ง ที่ถูกถามท�ำให้ท่านหนักใจ จะบอกให้แน่ชัดลงไปตามตรงก็ เท่ากับเป็นการประณามเจ้าอาวาสวัดนั้นๆ ไป ไม่เป็นการดี ด้วยประการทั้งปวง แต่เมื่อท่านถูกถามเร้าหนักเข้า ท่านก็หา ทางออกด้วยการแต่งเป็นท�ำนองกลอน ร่ายเป็นความกลางๆ ไว้ เมื่อถูกถาม ท่านตอบเป็นบทกลอนในทันทีว่า ใครอยากเป็นนาย ให้ไปอยู่วัดท่าโพธิ์ ใครอยากกินหนมโค ให้อยู่วัดวัง ใครอยากเป็นช่าง ให้ไปอยู่วัดจัน ใครอยากขึ้นหวัน ไปอยู่วัดพระคอน ใครอยากกินบอน ไปอยู่วัดชายนา ใครอยากกินปลา ให้ไปอยู่วัดท่าซัก ใครอยากกินผัก ไปอยู่วัดไอ้เขียว ใครอยากกินเหนียว ไปอยู่วัดจันพอ ใครอยากกินลอกอ ไปอยู่วัดหัวทุ่ง ใครอยากยุ่ง ให้ไปอยู่วัดเขาปูน—ฯ บางท่านบอกว่ากลอนบทนี้ ยังมีต่ออีกหลายบท แต่จน ด้วยเกล้ายังหาไม่พบ กลอนบทนี้ยังได้สะท้อนสภาพสังคมชาว บ้านชาววัดได้เป็นอย่างดี เนื้อความในบทกลอนนี้ พอจะสรุป ได้คือ วัดท่าโพธิ์ เป็นวัดที่มีเชื้อสายเจ้าเมืองนครเป็นผู้ก่อตั้ง พระภิกษุสมัยนั้นล้วนมีเชื้อสายเจ้า มีการศึกษาสูง ใครบวช

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

เรียนวัดนี้จะได้รับการอบรมดี ถึงพร้อมด้วยความรู้ เมื่อลา สิกขาออกมามักจะได้เป็นขุนนาง ข้าราชการเสมอ วัดวัง เป็นวัดที่อยู่ในชุมชนชาวจีนย่านท่าวัง มักจะมี กิจกรรมการงานในวัดอยู่เสมอ งานในวัดที่ขาดเสียมิได้ คือ การท�ำขนมเลี้ยงพระเลี้ยงเณรอยู่เป็นประจ�ำ โดยเฉพาะขนม โค เป็นของยอดนิยม วัดจัน (วัดจันทาราม) วัดนี้มีเจ้าอาวาส คือท่านพระครู กาเดิม ท่านมีความรู้และฝีมือในทางงานช่างไม้ โดยเฉพาะการ แกะสลัก งานฉลุไม้ ถือว่าฝีมือเป็นหนึ่งของเมืองนคร ดังนั้น บรรดาศิษย์ หรือพระสงฆ์สามเณรจึงได้รับการอบรมเชิงช่าง กันถ้วนทั่วทุกตัวคน วั ด พระคอน (วั ด พระนคร) มี อ าจารย์ แ ก้ ว เป็ น เจ้ า อาวาส ท่านเคร่งครัดในเรื่องธรรมวินัย ภิกษุสามเณรวัดนี้จึงมี การปฏิบัติธรรมจนมีคนกล่าวว่า โอกาสที่จะไต่เต้าขึ้นสวรรค์ ชั้นนิพพานย่อมอยู่แค่เอื้อม วัดชายนา ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมนา ข้างวัดเป็นที่ลุ่มลึก มี ล�ำคลองไหลผ่าน มีต้นบอนขึ้นหนาแน่น จึงอุดมสมบูรณ์ด้วย กับข้าว แกงบอน ต้นบอน ทั้งชาวบ้านชาววัดถึงเด็กวัดใช้เป็น อาหารประจ�ำวัน วัดท่าซัก ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้ำปากพญา หรือท่าซักแหล่ง ประมงมีปลานานาชนิดให้กินจนเบื่อ วัดจันพอ ตั้งอยู่บนดอน ล้อมรอบด้วยผืนนากว้างใหญ่ เจ้าของผืนนาปลูกข้าวเหนียวเป็นหลัก ภิกษุสงฆ์ของวัดนี้จึง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยจังหันประเภทข้าวเหนียวมากกว่าวัดใดๆ วัดหัวทุ่ง อยู่ปากทางเข้าน�้ำตกพรหมโลก สมัยนั้นอุดม สมบูรณ์ด้วยมะละกอนานาชนิด เป็นได้ทั้งอาหารและขนมไม่ ขาดแคลน วัดเขาปูน สมัยนั้นวัดนี้มีเรื่องยุ่งอยู่เสมอ สมภารมักจะ มีเรื่องทะเลาะกับชาวบ้านทุกรุ่น ชาววัดลูกวัดจึงมีเรื่องยุ่งๆ ตลอดเวลา ที่ เ ขี ย นมานี้ แ สดงถึ ง ปฏิ ภ าณในการแก้ ป ั ญ หาของ พระเดชพระคุณท่าน พระรัตนธัชมุนี โดยผูกเป็นบทกลอน ให้ผู้คนในยุคนั้นได้รู้ เพื่อไม่รบกวนท่านในการตัดสินใจได้ อย่างชะงัดทีเดียว แต่บทกวีที่ท่านแต่งเพื่อแก้ปัญหาเมื่อ ๑๐๐ ปี ก ่ อ น ยั ง มี ค นจดจ� ำ ค� ำ ของท่ า น ท่ อ งบทกลอนได้ จ วบจน ปัจจุบัน

หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๓ ฉบั บ ที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ คณะรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย (คสช.) ที่ มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผบ.ทบ. เป็นหัวหน้าประกาศ ยึ ด อ� ำ นาจจากรั ฐ บาลรั ก ษาการของ นายนิ วั ฒ น์ ธ� ำ รง บุญทรงไพศาล เป็นที่เรียบร้อย หลังประกาศยึดอ�ำนาจ คสช. ควบคุมนักการเมือง แกนน�ำ กปปส. และนปช. ไป เก็บตัวแล้วปล่อยตัวออกมา คนที่มีหมายจับก็ส่งขึ้นศาล วั น ที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ พล.ท.วลิ ต โรจนภั ก ดี แม่ ทั พ ภาคที่ ๔ เรี ย กหั ว หน้ า ส่ ว นราชการ ทุกสังกัดใน ๙ จังหวัดภาคใต้เข้ารับฟังค�ำชี้แจงเกี่ยวกับ การที่ ก องทั พ บกประกาศใช้ ก ฎอั ย การศึ ก และขอความ ร่วมมือกับทางหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เพื่อให้เกิดความ สงบสุข พล.ต.ท.ปัญญา มาเม่น ผู้บัญชาการ ต�ำรวจภูธรภาค ๘ ประกาศจะใช้สถานการณ์รัฐประหาร ขจัดซุ้มมือปืน อาวุธปืน ผู้ค้ายาเสพติด และเครือข่าย อาชญากรรม หวังว่าจะใช้สถานการณ์นี้ก�ำจัดคนชั่วของ จริงได้บ้าง วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ที่ผ่านมา วัชระพันธุ์ จันทรขจร เลขาธิ ก ารส� ำ นั ก งาน กองทุ น ฟื ้ น ฟู และพั ฒ นา เกษตรกร มาร่วมประชุมใหญ่ เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาหนี้ สิ น ของ เกษตรกรที่ ห ้ อ งบงกชรั ต น์ โรงแรมทวิ น โลตั ส และออก

ไปเยี่ ย มชมเกษตรกรกลุ ่ ม เลี้ ย งปลากระพงในบ่ อ ดิ น ที่บ้านปากพญา ต.ท่าซัก อ.เมือง จ.นครฯ ที่ได้รับการ สนับสนุนเงินกู้ ๔๔๘,๕๐๐ บาท ว่าที่ร้อยตรีฐิตวัฒน เชาวลิต รองผู้ว่าฯนครฯ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการและผู้เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อน วาระแห่งชาติด้านสหกรณ์ระดับจังหวัด ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ วาระที่ก�ำหนดไว้ คือ การสร้างและพัฒนาการ เรี ย นรู ้ แ ละทั ก ษะการสหกรณ์ สู ่ วิ ถี ชี วิ ต ในชาติ มี ก าร


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ก�ำหนดการเรียนรู้สหกรณ์เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยการ สร้างและพัฒนาเครือข่ายครูผู้สอนวิชาสหกรณ์ ประกวด สถานศึ ก ษาต้ น แบบการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมสหกรณ์ ฯ ลฯ วันที่ ๗ มิถุนายน ได้จัดงาน ‘๗ มิถุนายน วันกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน ปี ๒๕๕๗’ ตามรอยพระยุคลบาท สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โรงเรียน ตชด. บ้ า นยู ง งาม อ.บางขั น จ.นครฯ สนใจเชิ ญ ไปชม

โครงการสร้ า งฝายชะลอน�้ ำ ๑๓๓ แห่ ง ใน ๑๐ อ� ำ เภอของจั ง หวั ด นครฯ ที่ ผู ้ ว ่ า ฯ อภิ นั น ท์ ซื่ อ ธานุ ว งศ์ อนุ มั ติ ใ ห้ อ� ำ เภอต่ า งๆ จั ด ท� ำ เพื่ อ กั ก เก็ บ น�้ ำ ไว้ ใ ช้ ใ นช่ ว ง ฤดูแล้ง ตอนนี้ฝนฟ้าเริ่มตกแล้ว ผู้เกี่ยวข้องกรุณารายงาน ความจริ ง แก่ ศ าลากลางด้ ว ยว่ า มั น ล้ ม เหลวหรื อ ได้ ผ ล คลองไหนพังไปแล้ว คลองไหนยังเหลือซาก ปีหน้างบฯ จะได้ ไ ม่ สิ้ น เปลื อ ง ทราบข่ า วว่ า ฝายยาวเหยี ย ดที่ กั้ น คลองคี รี ว ง ชาวบ้ า นเขาไม่ ช อบใจ แต่ ไ ม่ อ าจปฏิ เ สธ เฟซบุ ๊ ก ของ สั ม พั น ธ์ กุ ้ ย เส้ ง ลู ก ปากพนั ง ถ่ า ย ภาพอาคาร รพ.ปากพนัง ที่ก่อสร้างอาคารผู้ป่วยใน ๔ ชั้น พื้นที่ ๒,๙๔๐ ตร.ม. งบฯ ๔๐,๔๐๐,๐๐๐ บาท ก�ำหนด แล้ ว เสร็ จ วั น ที่ ๖ ธั น วาคม ๒๕๕๖ ตรวจสอบและส่ ง มอบวั น ที่ ๗ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๗ ถามใครก็ ไ ม่ มี ข ้ อ มู ล เกิดอะไรขึ้น เรื่องนี้ชาวปากพนังต้องย้อนถามตัวเองว่าได้

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

มอบความไว้วางใจให้แก่ใครไปท�ำหน้าที่แทน เขาเห็น ปัจจุบันเขามีแฟนนักอ่านมากมาย รวมถึงนักวิ่งที่หันมา ค่ า หรื อ ไม่ เ ห็ น ค่ า ชาวปากพนั ง หรื อ ไร จึ ง ไม่ เ ร่ ง ด� ำ เนิ น อ่านหนังสือของเขาด้วย การให้เสร็จ เดือนที่แล้วมีโอกาสพบนักปกครองอาวุโส ชาวปากพนั ง ท่ า นส่ า ยหน้ า บอกบ้ า นเกิ ด ก� ำ ลั ง ร่ อ แร่ พญ.อุ ทุ ม พร ก� ำ ภู ณ อยุ ธ ยา นายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) นครฯ แจ้งว่าเพิ่งลงนามใน หนังสือยกเลิกสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคารผู้ป่วยนอก ของ รพ.ปากพนัง กับบริษัท วงศ์พรหม วิศวกรรม จ�ำกัด ทั้ ง นี้ โ รงพยาบาลใน อ.ฉวาง อ.ร่ อ นพิ บู ล ย์ อ.นบพิ ต� ำ อ.ท่าศาลาก็ถูกทิ้งงานเช่นกัน... เรื่องทิ้งงานน่าจะเกี่ยว กับงบฯ เหมือนกับเรื่องโรงพัก ไปหาความรู้ไว้ ป้องกันตนเอง วันที่ ๒๕ กรกฎาคมนี้ รพ.มหาราชนครฯ จัดงาน ‘คิดถึง รูมาตอยด์ ตามแบบ คิดถึงวิทยา’ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ฮอนด้าศรีนคร ร่วมกับเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ (นครฯ) แจ่มไพบูลย์ เพียงชมภาพยนตร์ทุก ๒ ที่นั่ง รับคูปองชิงรางวัล ๑ ใบ ลุ้นรับ จยย.ฮอนด้าสกู๊ปปี้ไอ จากฮอนด้าศรีนคร ๑ คัน และบัตรชมภาพยนตร์ฟรี ๑๐ ที่นั่ง ๑๐ รางวัล บัตรชม ภาพยนตร์ฟรี ๑ ที่นั่ง ๑๐๐ รางวัล พิเศษสุดๆ ซื้อ จยย.ฮอนด้าทุกรุ่นทุกแบบ ทั้งสดและผ่อน รับบัตรชม ภาพยนตร์ฟรี ๑ ที่นั่ง ๒ ใบ หรือ จยย.ฮอนด้าเข้าศูนย์ บริการฮอนด้าศรีนครทุกสาขารับทันทีคูปอง Movie Lover รับส่วนลด ๔๐-๖๐ บาท เมื่อซื้อบัตรชมภาพยนตร์ ๒ ที่นั่ง หรือน�ำไปแลกป็อบคอร์นฟรี ๑ ถุง จนถึง ๓๑ กรกฎาคมนี้ ไม่ได้หลบหนีรัฐประหาร กัตตพงศ์ บุหลันพฤกษ์ ชวนมาดามวรรณดี ไปท่ อ งเที่ ย วญี่ ป ุ่ น ตามสั ญ ญาใจ เที่ยวให้สนุกทุกๆ ที่ เดินทางปลอดภัย

นักเขียนเมืองนครที่ได้รับความสนใจมากที่สุด เวลานี้ ไม่มีใครเกิน คามิน คมนีย์ ลูกหลานชาวบางขัน นิติศาสตรบัณทิต ม.รามค�ำแหง ปริญญาโทด้านกฎหมาย จาก ม.คอร์แนล สหรัฐฯ นักตะกร้อที่ทุ่มเทฝึกตะกร้อ พื้นเมืองของพม่า ‘ชินลง’ แล้วน�ำมาเขียนสารคดี ‘ไป เป็นเจ้าชาย ในแคว้นศัตรู’ จนได้รับรางวัลนายอินทร์ อะวอร์ด ปี ๒๕๕๓ เป็นผู้น�ำคณะชินลงจากพม่ามาแสดง สาธิตในเมืองไทยหลายหนหลายครั้ง พร้อมๆ กับเป็น นั ก วิ่ ง มาราธอนแข่ ง ขั น ในสหรั ฐ ฯ และหลายสนามใน เมืองไทย มีผลงานเขียนนิยาย ‘ลูกยางกลางห้วย’ ล�ำดับ ๒ รางวั ล เซเว่ น บุ ๊ ค ส์ อ ะวอร์ ด ปี ๒๕๕๖ และหนั ง สื อ ถ่ า ยทอดประสบการณ์ ก ารวิ่ ง เล่ ม ล่ า สุ ด ‘หั ว ใจ เท้ า ’

ปาลิกา จึงไพศาล - ธิติ ตระกูลเมฆี ร่วมแสดง ความยิ น ดี พิ ธี ฉ ลองสมรสริ ม ทะเลขนอม มนั ญ ญา ก๋งอุบล และ สิทธิโชค ตันติพิสิทธิ์ เมื่อวันที่ ๘ พ.ค. ๕๗ Love Celebration ร่ ว มแสดงความยิ น ดี กั บ บุญเลิศ แซ่เตื้อง และ สุภาภรณ์ เพชรแก้ว ณ โรงแรม ทวินโลตัส นครศรีฯ เมื่อวันที่ ๑๘ พ.ค. ๕๗ ที่ผ่านมา


หน้า ๖

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

โมสรเยาวชน ส� ำ นั ก ข่ า ว เสี ย งเด็ ก อ� ำ เภอขนอม จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น ส� ำ นั ก กิ จ กรรมเยาวชนที่ มี บ ทบาทด้านการเสริมสร้างทัศนคติ ให้มีความรู้รักโลก รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและรักวิถีชีวิตชุมชน สโมสรจั ด กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า ง ความรู้แก่เยาวชนมาร่วม ๑๐๐ ครั้ง จั ดกิจกรรม ‘คาร์ฟรี เดย์’ ที่ ข นอม ๖ ปี ติ ด ต่ อ กั น เพิ่ ง จั ด กิจกรรมศึกษาชีวิตเต่าทะเลและ ชวนเยาวชนนอนกลางดิ น กิ น กลางทราย ระหว่าง ๒๓-๒๕ พฤษภาคม ที่ผ่านมา กิจกรรม ต่างๆ มีจุดมุ่งหมายดังกล่าวมาแล้ว ผู้ก่อตั้งและขับเคลื่อน สโมสร คือ ๒ สามีภรรยา ยุทธนา กับ สุพินดา ไกรเสม สุพินดาเปิดแนวคิดในการก่อตั้งสโมสรเยาวชน ส�ำนัก ข่าวเสียงเด็กกับ ‘รักบ้านเกิด’ “หวังใจว่าจะสร้างเมล็ดพันธุ์ ดีๆ ใหม่ๆ ไว้บ้าง ไม่อยากให้เด็กรุ่นใหม่ยึดแนวคิดสุดโต่ง แบบเอ็นจีโอค่ะ เพราะพบว่าแนวคิดอาจจะดี แต่วิธีปฏิบัติ บางอย่างยังไม่ใช่ ก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๔๐ ค่ะ เริ่มจากกลุ่มเด็ก รักษ์นกเมืองขนอม กิจกรรมแรกคือสอนเด็กๆ ดูนกรอบบ้าน ตัวเอง โดยมี อ.มงคล วงศ์กาฬสินธุ์ เกจินก ซึ่งเป็นศิลปิน คนแรกๆ ในวงการอนุรักษ์ที่วาดภาพนกประกอบในหนังสือ A Guide to The Birds of Thailand เป็นผู้ถ่ายทอดและ สอนแนวคิดดีๆ ให้ค่ะ อ.มงคล บอกว่าให้วิชา เพื่อจะได้เปิด ประตูและปลูกฝังแนวคิดด้านธรรมชาติที่จะเป็นประโยชน์กับ เด็ก เพราะเด็กคืออนาคตของชาติ สังคมจะดีหรือไม่ดี ก็อยู่ ที่ผู้ใหญ่สอนอะไรให้เด็กค่ะ ถ้าเด็กรู้จักธรรมชาติเป็นอย่างดี อย่างอื่นก็จะตามมาเอง” ถามว่าช่วงแรกหาเด็กๆ มาจากไหน

สุพินดา – ยุทธนา ไกรเสม

“ส่วนใหญ่เป็นเด็กๆ ในขนอม แค่ปิดประกาศ หรือชวน เด็กๆ ละแวกใกล้บ้านมาค่ะ พอดีเด็กเค้าเป็นลูกศิษย์แม่พี่แกะ (ยุทธนา ไกรเสม) อยู่แล้ว พี่แกะก็เลยขอเวลาหนึ่งชั่วโมงทุกวัน พาเด็กมาดูนก โดยใช้กล้องส่วนตัวที่เรามีมาให้เด็กได้หยิบจับ ลูบคล�ำสร้างความคุ้นเคย พอเด็กได้ดูนก ได้เรียนรู้พฤติกรรม ของนก นานๆ เข้า เราก็เริ่มค่อยๆ เพิ่มการดูธรรมชาติอย่างอื่น รอบตัวไปด้วยโดยมีกฎว่าใครที่ชอบยิงนก ให้เอาหนังสติ๊กของ ตัวเองมาสมัครเป็นสมาชิกกลุ่ม แล้วท�ำสัญญาใจกันว่าต่อไป จะไม่ยิงนก แต่จะมาดูนกแทน กติกาอย่างนี้เด็กยอมรับได้ เราเอาทุนส่วนตัวท�ำกันเอง ท�ำกิจกรรมได้เกือบ ๒ ปี เปิ้ล (สุพินดา) ก็มีลูก กิจกรรมก็เลย

ต้องซาๆ ไป พอหมิงกับมิลล์เริ่มเดินคล่องที่ขนอมมีสถานีวิทยุ ชุมชนเกิดขึ้น ขอเล่าย้อนกลับไปสักนิดนะคะ ก่อนกลับมาอยู่ ขนอมเราก็ท�ำเอาท์ดอร์คลับอยู่ก่อนแล้ว คือรับท�ำกิจกรรม งานค่ายเยาวชนให้กับองค์กรและหน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่เมื่อ ปี ๒๕๓๗ รับจัดอีเวนท์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และ ออกแบบกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้กับ ททท. ด้วยค่ะ ยุคนั้นยังไม่มีใครท�ำเลย เราท�ำเป็นเจ้าแรกๆ ค่ะ” กิจกรรมดูนกแกะกับเปิ้ลให้เด็กคดข้าวห่อมาเอง ดู นกนานๆ ไปเกรงเด็กจะเบื่อเลยเปิดร้านสอนคอมพิวเตอร์ เพราะเล็งเห็นว่าคอมพิวเตอร์จะมีบทบาทในชีวิตประจ�ำวัน “เราคิดค่าสอนชั่วโมงละ ๒๐ บาท ถ้าใครไม่มีตังค์ ก็สอนฟรีบ้าง เก็บ ๕ บาทบ้าง บาทเดียวบ้าง ตามก�ำลัง ของทางบ้านเด็กค่ะ บอกว่าคนมีตังค์ก็ได้ช่วยค่าไฟ ส่วนคน ไม่มีตังค์ก็ดูเป็นรายๆ ไป เด็กใฝ่เรียนรู้ ทางบ้านล�ำบากไม่มี ก�ำลังก็ไม่เก็บ บางคนพ่อแม่พอมีบ้าง เด็กอยากมาทดลองใช้ คอมพิวเตอร์ดู แต่ที่บ้านไม่อนุญาต ก็คุยกันก่อน ถามเหตุผล แล้วบอกว่าให้ช่วยค่าไฟตามก�ำลัง เช่นวันนี้กินขนมโรงเรียน เหลือตังค์มา ๕ บาท ก็เก็บบาทเดียว ถ้าเหลือมากกว่านั้นก็ เก็บ ๕ บาทค่ะ แล้วอธิบายให้ฟังว่า ไม่ได้เก็บตังค์ค่าสอน แต่ เก็บเพราะเค้าต้องเรียนรู้ว่าทุกอย่างในชีวิตมีต้นทุน อาจจะ จ่ายมากน้อยแตกต่างกัน แต่ความมีหรือไม่มีตังค์ไม่ใช่ปัญหา หรืออุปสรรคของการเรียนรู้ แต่ถ้าไม่เก็บบ้างเลย เด็กก็จะ คิดว่าของฟรี แวะมาเมื่อไหร่ก็ได้ คุณค่าในสิ่งที่อยากเรียนรู้ก็ จะลดลง เลยต้องให้รู้สึกว่าฉันก็จ่ายค่าเรียนนะ ไม่ได้มาเรียน ฟรี อยู่กับเด็กก็ต้องเข้าใจและเรียนรู้พฤติกรรมของแต่ละคน ที่แตกต่างกัน” มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ เปิ้ลกับแกะหันมาเปิดร้านขายมือถือ ในขนอมเลยว่างเว้นจากกิจกรรมไประยะหนึ่ง หลังเกิดสถานี วิทยุชุมชนในขนอมสองคนหันไปซื้อเวลาท�ำรายการวิทยุ “คนในขนอมก็คึกคัก แรกๆ พี่แกะก็ไปช่วยเสนอข่าว วางผังออกแบบรูปแบบรายการให้สถานี ส่วนเวลาที่ซื้อเปิ้ล

อ.มงคล วงศ์กาฬสินธุ์

ก็ไปช่วยจัดรายการให้ ก็หยิบข่าว ที่คิดว่าน่าสนใจ แต่คนใน พื้นที่ไม่เคยรู้มาเล่าให้ฟัง เป็นเรื่องส�ำหรับครอบครัว ส่วนช่วงเช้าวันเสาร์ - อาทิตย์เปิ้ลก็เลยให้ นัทธี มะลิทิพย์ (ท้อป) ซึ่งเป็นเด็กกิจกรรมรุ่นแรกๆ ท้อปพาเพื่อนมา หัดจัดรายการวิทยุ ซักซ้อม เขียนสคริปท์ให้ดูเป็นตัวอย่างให้ เค้ากับเพื่อน และเด็กๆ ลูกหลานเพื่อนบ้านพาลูกมาฝึกหัด จัดรายการวิทยุ ให้เด็กไปหาข่าวที่น่าสนใจจากหนังสือพิมพ์ หรือนิตยสารมาคนละหนึ่งชิ้น แต่ไม่เอาข่าวอาชญากรรมสั่ง เป็นเด็ดขาด เอาข่าวเยาวชน วิทยาศาสตร์ เกร็ดความรู้ เรื่อง ไอทีซึ่งตอนนั้นยังเป็นเรื่องใหม่มากเด็กๆ ยังไม่รู้ พอได้ข่าวก็ สอนให้อ่านออกเสียงชัดๆ แล้วสอนให้เขียนข่าวออกมาเป็น ภาษาพูดแบบเชิงเล่าข่าว แล้วฝึกให้อ่านแบบเล่าข่าวที่ตัวเอง เขียนขึ้นมาเป็นภาษาพูดที่ตัวเองคล่องปาก อ่านให้ถูกต้อง ตามอักขระ ให้คะแนนทุกครั้งที่มาฝึก วนเวียนฝึกอย่างนั้น ทุกวัน-- รายการเสียงเด็ก ให้เด็กๆ ผลัดกันจัด เปิ้ลชอบชื่อ นี้เพราะเคยท�ำงานที่หนังสือพิมพ์เสียงเด็กเมื่อ ๒๐ กว่าปีที่ แล้ว หนังสือหัวนี้ปิดไปแต่ก็โทรไปขออนุญาตผู้ใหญ่ว่าขอใช้ ชื่อนี้ท�ำกิจกรรมกับเด็กๆ ที่นี่ได้มั้ย ผู้ใหญ่ที่เคยเป็นผู้บริหาร ก็อนุญาตบอกว่าเอาสิ เอาไปท�ำดีๆ นะ แต่ก็มาคิดว่าถ้าใช้ว่า เสียงเด็กเฉยๆ ก็ยังเกรงใจ เลยเพิ่มค�ำว่าส�ำนักข่าวลงไปค่ะ เพราะตั้งใจว่าเรามีฐานความรู้ด้านนี้แบบแน่นมาก ฝึกเด็กหัด ท�ำข่าวอ่านข่าวซะเลย ตั้งแต่นั้นมาเปิ้ล (อ่านต่อหน้า ๙)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

การบริหารจัดการ ในภาวะวิกฤติการเมือง จ

วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๗

.nu

๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๗

ไพโรจน์ เพชรคง ๒๐ พ.ค. ๕๗

bta

วันศุกร์ที

ต้องการผลลัพธ์ใหม่ๆ ที่บรรลุเป้าหมาย และดีกว่าเดิม ย่อมมาจากค�ำตอบของตัว ท่านเองว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้นั้นมันดีพอคู่ควร และต้องได้เท่านั้น ไม่ได้-ไม่ได้ ถ้า ระดับความต้องการเช่นนี้ความมุ่งมั่นที่จะ เปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อจึงไม่เป็น เรื่องยากเกินกว่าจะท�ำไม่ได้ ปกติแล้วคน เราก็ขึ้นอยู่กับการเลือกบางสิ่งบางอย่าง ในโซนสบายของตัวเองเสมอ ซึ่งมันก็มีแค่ สองทางเลือก คือ เลือกที่จะอยู่แบบเดิมๆ กับเลือกที่จะไปให้ถึงที่ต้องการจะไป ไม่มี ใครมาให้เราได้นอกจากการตัดสินใจหยุด ความกลัว แล้วกล้าที่จะท�ำในสิ่งที่ต้องท�ำ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย แต่แน่นอนคนส่วน ใหญ่อาจอยู่ด้วยความกลัวต่างๆ นานา กลัวจะไม่ได้อย่างหวัง กลัวไม่ส�ำเร็จ ผมมั ก ถามที ม งานที่ บ ริ ห ารธุ ร กิ จ หลายองค์กรในฐานะโค้ช หากวันนี้ความ จริงแล้วเรายังท�ำไม่ได้ตามเป้าหมาย ก็ ย่ อ มแสดงว่ า สิ่ ง ที่ เ ราท� ำ มายั ง ไม่ ต อบ โจทย์ธุรกิจ วันนี้ขึ้นอยู่กับการเลือกของ คุณว่า “คุณจะยอมแพ้ดีมั้ย หรือคุณเลือก ที่จะเป็นผู้ชนะมั้ยครับ?

g.e

วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๗

blo

วันพฤหัสบดีที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๗

ภาพ

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗

ไม่ให้เกินเป้าหมายหรือให้ลดลงแต่ยังคง รักษาประสิทธิภาพเท่าเดิมหรือดีกว่าเดิม จึงต้องอาศัยทั้ง วิธีคิด-วิธีการ-การลงมือ ท�ำอย่างสม�่ำเสมอ ค� ำ ถามที่ ส าม จะท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ สามารถมี ก� ำ ไรตอบแทนผู ้ ถื อ หุ ้ น หรื อ เจ้าของกิจการได้ตามเป้าหมายหรือไม่? เมื่อสามารถท�ำข้อ ๑ และข้อ ๒ ได้ ก็จะ เท่ากับเป็นผลลัพธ์ของข้อที่ ๓ นั่นเอง ค�ำถามที่สี่ จะท�ำให้ธุรกิจมีสภาพ คล่ อ งของเงิ น สดเป็ น ไปตามเป้ า หมาย และดีกว่าเดิมได้หรือไม่? จากค�ำถามทั้ง ๔ ค�ำถามเราจะพบ ความจริ ง อยู ่ ว ่ า หากธุ ร กิ จ มี ก ารก� ำ หนด เป้ า หมายทางธุ ร กิ จ ไว้ อ ย่ า งชั ด เจน เพื่ อ การบริ ห ารกิ จ การในแต่ ล ะปี จ ะมี ประโยชน์ในการลุกขึ้นมาใช้วิกฤติต่างๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ เ ป็ น โอกาสที่ จ ะปรั บ ปรุ ง พัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของ ตนเองได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พู ด ให้ ง่ า ยขึ้ น ก็ คื อ ต้ อ งขอบคุ ณ ทุ ก วิ ก ฤติ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด โอกาสใหม่ ๆ เสมอ แต่ จุ ด ตัดที่ส�ำคัญของผู้บริหารหรือเจ้าของผู้ ประกอบการก็คือ กรอบความคิด ความ เชื่อ ในการเลือกตัดสินใจเปลี่ยนแปลง บางสิ่งบางอย่างที่ไม่เหมือนเดิม เพื่อ

ดิต

อยากได้ ผ่านไป ๑ วันก็เสียเวลาไปอีก ๑ วัน ที่จะได้ใช้กับการจัดการเรื่องดีๆ ไป” มาถึ ง ตรงนี้ ใ นแวดวงคนท� ำ ธุ ร กิ จ จึงไม่สามารถที่จะตกอยู่ในฝ่ายตั้งรับ รอ คอย และภาวนาให้เหตุการณ์ต่างๆ มันดี ขึ้น จ�ำเป็นต้องลุกขึ้นมาแก้ปัญหาองค์กร ของตนเองแบบมื อ อาชี พ นั่ น คื อ การมี กรอบความคิดที่มองเห็นโอกาสในวิกฤติ นั่นเอง ใครที่จัดการกับความคิดตนเอง ที่มองหาทางออก (Solution) แทนที่จะ มองมาที่เงื่อนไข (Condition) จึงต้อง อาศัยความคิดเชิงบวกที่ต้องกลับมาตั้ง โจทย์กับธุรกิจของตนเองจากสภาพความ เป็ น จริ ง ที่ ด� ำ รงอยู ่ โดย Focus ที่ เ ป้ า หมายทางธุรกิจเป็นส�ำคัญ ค� ำ ถามแรก สามารถท� ำ ยอดขาย ให้ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ได้อย่างไร? แน่นอนคงต้องมาลงรายละเอียดในเรื่อง ส� ำ คั ญ อยู ่ ๓ เรื่ อ ง วิ ธี คิ ด ของที ม งาน ขายเป็นอย่างไร? พวกเขาเชื่อหรือไม่ว่า สามารถท�ำยอดขายได้บรรลุเป้าหมายได้ ต่อมาก็คือ วิธีการในการขายสินค้าหรือ บริการต้องท�ำอย่างไรบ้าง? สุดท้ายก็คือ การลงมือท�ำอย่างสม�่ำเสมอและมากพอ ค� ำ ถามที่ ส อง เมื่ อ ขายได้ แ ล้ ว จะ ต้ อ งดู แ ลต้ น ทุ น และค่ า ใช้ จ ่ า ยอย่ า งไร?

เคร

ากการติ ด ตามข่ า วสารในสื่ อ ต่ า งๆ เราจะพบว่ า ปั ญ หาทางการเมื อ งที่ ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานนั้น ท�ำให้ส่งผล กระทบต่ อ ภาคธุ ร กิ จ ในวงกว้ า งและยั ง ไม่อาจคาดการณ์ได้ว่าวิกฤติครั้งนี้จะยุติ ลงอย่างไร และเมื่อใด ดังนั้นความยาก ล�ำบากทั้งในแง่การด�ำเนินการงานและ การบริหารเพื่อให้ธุรกิจมีก�ำไรจึงเป็นเรื่อง ท้าทายความสามารถของผู้ประกอบการ เป็นอย่างมาก คุณวีรพงษ์ รามางกูล อดีต รองนายกรั ฐ มนตรี ก ล่ า วปาฐกถาพิ เ ศษ หัวข้อ “ทางเลือกทางรอดเศรษฐกิจไทย ปี ๕๗” (๑๔ พ.ค.๕๗) ว่า “เศรษฐกิจ ที่ ช ะลอตั ว เป็ น ผลจากปั ญ หาทางการ เมื อ งและความแตกแยกของประชาชน ทั้ ง ๒ ฝ่ า ย ปั ญ หาการปฏิ รู ป ระบอบ ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ ท�ำให้มอง ไม่เห็นทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเมืองไทย ขณะนี้ แต่ต้องการชี้ให้เห็น ถ้ายังตีกัน แบบนี้ก็ไม่สามารถด� ำเนินการทางเมือง ไปสู ่ ร ะบอบปกติ อ ย่ า งมี เ สถี ย รภาพได้ และเศรษฐกิจจะซึมลงและพังในที่สุด” ในขณะที่ น ายบั ณ ฑู ร ล�่ ำ ซ� ำ ประธาน กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย กล่าวว่า “ทางออก ของประเทศไทยขณะนี้อยู่ที่การท�ำใจที่ จะยอมเพราะต่ า งฝ่ า ยต่ า งยึ ด แนวทาง ของตัวเอง ท�ำให้ไม่มีผู้มีอ�ำนาจมาจัดการ ปัญหาประเทศได้” และยังกล่าวเพิ่มเติม อีกว่า “ในขณะนี้ประเทศไทยถือว่าไม่ได้ ไกลจากหน้าผาหรือวิกฤติมากนัก แต่ไม่มี ใครที่จะแก้เพราะต่างคนจะเอาอย่างที่

ปกติแล้วคนเราก็ขึ้นอยู่กับ การเลือกบางสิ่งบางอย่างในโซนสบายของตัวเองเสมอ ซึ่งมันก็มีแค่สองทางเลือก คือ เลือกที่จะอยู่แบบเดิมๆ กับเลือกที่จะไปให้ถึงที่ต้องการจะไป ไม่มีใครมาให้เราได้นอกจากการตัดสินใจหยุดความกลัว


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและหาทางแก้ปัญหาหนี้ โดยนายวัชระพันธุ์ จันทรขจร เลขาธิการส�ำนักงาน กองทุนฟื้นฟูฯ เป็นประธานการประชุม, ว่าที่ร้อยตรี สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหาร กองทุ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและรั บ เรื่ อ งร้ อ ง เรียน (สกร.), ตัวแทน ธนาคารพาณิ ช ย์ , ตั ว แทนธนาคารของรั ฐ , หัวหน้าส�ำนักงานกองทุนจังหวัดภาคใต้ และ เ ก ษ ต ร ก ร ที่ เ ป ็ น ห นี้ ประมาณ ๒๕๐ คนเข้า ร่วม ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี ส มพู น ทรั พ ย์ (ผอ.สกร.) กล่าวว่าเกษตรกร จ�ำนวนมากไม่ทราบว่า มี ห น่ ว ยงานศู น ย์ ก ลาง แก้ไขปัญหาหนี้สินของ เกษตรกรและผู ้ ย ากจน (ซึ่ ง ไม่ ต ้ อ งเป็ น เกษตกรก็ ได้ ) โดยให้ เ งิ น กู ้ ๒ ประเภท ได้ แ ก่ ให้ เ งิ น กู ้ เ พื่ อ ปลดเปลื้องหนี้สินนอกระบบที่อัตราดอกเบี้ยสูงกว่า กฎหมายก�ำหนด ซึ่งไม่อาจช�ำระหนี้อีกต่อไป และ เกษตรกรที่เป็นหนี้ไม่สามารถช�ำระได้เป็นรายบุคคล เพื่อให้ด�ำรงชีวิตอยู่ได้ตามปกติ และช่วยเหลือปัญหา หนี้ในระบบที่เป็นหนี้กับธนาคารนอกสังกัดสมาคม ธนาคาร เช่น ธ.ก.ส., ธ.ออมสิน, ธ.เอสเอ็มอี และ ธ.อาคารสงเคราะห์ กล่าวส�ำหรับ สกร. มีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ ๒ ประการ คื อ ต้ อ งถู ก ธนาคารฟ้ อ งร้ อ งและศาล พิพากษาแล้วเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อสงวนรักษาที่ดินไว้ให้ กับเกษตรกร โดยเกษตรกรจะต้องน�ำหลักฐาน เช่น สั ญ ญาจ� ำ นอง สั ญ ญาขายฝาก สั ญ ญากู ้ ยื ม ที่ ม อบ โฉนดไว้เป็นหลักประกัน ซึ่งจะได้รับการช่วยเหลือ สูงสุดไม่เกิน ๒.๕ ล้านบาทตามหนี้จริง เกษตรกรผู ้ เ ป็ น หนี้ ที่ ถู ก ฟ้ อ งร้ อ งและศาล

พิพากษาแล้วสามารถน�ำหลักฐานการเป็นหนี้ หลัก ฐานที่ดิน (ถ่ายส�ำเนาทุกหน้า) ทะเบียนบ้าน และ ค�ำพิพากษา ไปยื่นที่ส�ำนักงานปลักกระทรวงเกษตรฯ ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอ หรือส�ำนักงานเกษตรและ สหกรณ์ที่ศาลากลางจังหวัดตามภูมิล�ำเนา ถ้าเป็นหนี้ ธ.ก.ส. ให้ยื่นที่ ธ.ก.ส. ทางธนาคาร จะวิเคราะห์รายได้ แล้วช่วยให้เกษตรกรที่เป็นสมาชิก กองทุนฟื้นฟูฯ ได้เป็นหนี้ต่อหรือปรับโครงสร้างหนี้ ใหม่ แต่ดอกเบี้ยจะถูกลงและระยะเวลากู้ยาวขึ้น ซึ่งจะดูตามรายได้ของตัวเกษตรกรผู้กู้ ในกรณีต้องการซื้อที่ดินของตัวที่หลุดไปแล้วก็ ไปขอค�ำปรึกษา เกษตรกรที่เช่านาจากเจ้าของที่ดิน ท�ำเป็นเวลานาน เวลาเจ้าของจะขายกฎกระทรวง ก� ำ หนดว่ า จะต้ อ งขายให้ แ ก่ ผู ้ เ ช่ า ก่ อ น (เช่ า เฉพาะ ท�ำนาท�ำไร่เท่านั้น) และผู้เช่าจะต้องมีสัญญาเช่ามา แสดงเป็นหลักฐาน ว่าที่ร้อยตรีสมพูนทรัพย์ เปิดเผยกับเกษตรกรว่า ปัจจุบัน ส�ำนักงานกองทุน เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรฯ มี ผู้กู้ประมาณ ๒๕,๐๐๐ ราย เงินกู้กว่า ๔,๐๐๐ ล้านบาท ช�ำระแล้วประมาณ ๒,๐๐๐ ล้ า นบาท “ถ้ า กู ้ ดี ช� ำ ระดี ลดดอกเบี้ยให้ ปีที่ ๓ ถ้า ยั ง ช� ำ ระดี ดอกเบี้ ย จะลด จาก ๔ เหลือ ๓ เปอร์เซ็นต์ ปีหลังๆ ถ้ายังช�ำระดีจะลด เหลื อ ๒ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ราย ไหนติดขัดก็ปรับโครงสร้าง หนี้กันใหม่ รายไหนไม่ไหว

ก็เอาลูกมารับแทน หรือแบ่งที่ดินขายใช้หนี้ ถ้าหาย ไปก็ยึดที่ดินขายเอาเงินคืนหลวง” ตั ว แทนจากธนาคารออมสิ น และธนาคาร กสิกร (ในสังกัดสมาคมธนาคาร) กล่าวคล้ายๆ กัน ว่า ลูกหนี้ผิดช�ำระสามารถเจรจาหารือกับธนาคาร ได้ทุกขั้นตอน ไม่ว่าก่อนได้รับหนังสือจากส�ำนักงาน ทนายความ หลังรับหมายศาล ช่วงด� ำเนินคดี หรือ ก�ำลังรอการพิพากษาจะสามารถเจรจาให้มีการยอม ความ หลังศาลมีค�ำพิพากษาก็เจรจากันได้ ช่วงบังคับ คดีหรือยึดทรัพย์ขายทอดตลาดก็ยังพูดคุยกันได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ด�ำเนินการต่อไปได้ “เราไม่อยากฟ้อง ไม่อยากด�ำเนินคดี เกษตรกร ที่ ป ระสบปั ญ หาอุ ท กภั ย หรื อ อื่ น ๆ เราพู ด คุ ย กั น ได้ เราช่ ว ยตามกฎที่ เ ราไม่ ผิ ด ไม่ ขั ด ข้ อ กฎหมาย เรา ไม่อยากให้ทิ้ง ธนาคารไม่อยากยึดทรัพย์” ตัวแทน ธนาคารกสิกรสรุป การประชุ ม ครั้ ง นี้ สื บ เนื่ อ งมาจากสมาคม ธนาคารไทยกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส) ท�ำหนังสือถึงเลขาธิการส�ำนักงาน กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร (กฟก.) เรื่องการ แก้ไขหนี้สินของเกษตรกร เมื่อปี ๒๕๕๕ เนื่องจาก เกษตรกรเป็ น หนี้ NPL กั บ ธ.ก.ส.และธนาคาร พาณิ ช ย์ ที่ เ ป็ น สมาชิ ก สมาคมธนาคารไทยนั บ พั น ราย จึงเร่งให้กองทุนฟื้นฟูฯ ช�ำระหนี้แทนในฐานะ ผู้ค�้ำประกันให้เกษตรกรผู้เป็นสมาชิกกองทุน ดังนั้น กฟก. จึงจัดประชุมเพื่อหาแนวทางให้เกษตรกรที่เป็น สมาชิ ก สามารถช� ำ ระหนี้ และสร้ า งความเข้ า ใจแก่ เกษตรกรที่ไม่กล้าเข้าไปประนีประนอมกับธนาคาร เจ้าหนี้


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

รายงาน จะมีการหยุดซ่อมท่อก๊าซธรรมชาติพื้นที่ พั ฒ นาร่ ว มไทย-มาเลเซี ย (เจดี เ อ/JDA) เพิ่มความสามารถจ่ายก๊าซ ๒๘ วัน ส่งผล กระทบต่อปริมาณก๊าซที่จ่ายให้ระบบราว ๔๒๐ ล้านล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ส่งผลให้ โรงไฟฟ้าจะนะก�ำลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ หายไปทันที ขณะความต้องการใช้ไฟฟ้า ในภาคใต้อยู่ที่ประมาณ ๒,๕๔๓ เมกะวัตต์ แต่ก�ำลังการผลิตรวมกับการดึงไฟฟ้าจาก ภาคกลางจะอยู่ที่ ๒,๓๐๐ เมกะวัตต์ ท�ำให้ ไฟฟ้าขาดแคลนในช่วงพีคซึ่งอยู่ระหว่าง ๑๓.๐๐ - ๑๕.๓๐ น. กับ ๑๘.๓๐ - ๒๑.๓๐ น. ๒๐๐ เมกะวัตต์ ปลัดกระพลังงานยอมรับว่าถ้าแผน ไม่ดีภาคใต้มีความเสี่ยงมาก แผนส�ำรอง คือ รณรงค์ประหยัดการใช้ไฟฟ้าลงให้ได้ ๒๐๐ เมกะวัตต์ หากไม่ได้ผลการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตฯ (กฟผ.) ต้องจัดหาไฟจากส่วนกลาง เพิ่มจาก ๕๐๐ เป็น ๗๐๐ เมกะวัตต์ ถ้ายัง ไม่พอ กฟผ.ประสานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ดั บ ไฟบางพื้ น ที่ ใ นที่ ๆ ไม่ ก ระทบ เศรษฐกิจ นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการก� ำ กั บ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) ได้ ประสานทุกภาคส่วน โดยเฉพาะสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ให้ ร่ ว มลดใช้ ไ ฟฟ้ า รองรั บ กรณี พื้ น ที่ พั ฒ นา ร่วมไทย-มาเลเซีย แหล่ง JDA-A ๑๘ ปิด

ซ่ อ มบ� ำ รุ ง ครั้ ง ใหญ่ หากความต้ อ งการ ใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) ภาคใต้เกิน ๒,๕๔๓ เมกะวัตต์ จะมีความเสี่ยงต้องดับไฟ (ลด โหลด) บางพื้นที่ แต่จะพยายามไม่ให้เกิด เหตุการณ์ดังกล่าว กระทรวงพลั ง งานขอความร่ ว มมื อ เอกชนภาคใต้ให้ลดใช้ไฟฟ้า ๒๕๐ เมกะ วัตต์ และขอความร่วมมือให้ผลิตไฟฟ้าจาก เครื่องผลิตของตัวเอง ๑๗๐ เมกะวัตต์ ให้ ทาง บมจ.ปตท และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) ส�ำรองน�้ำมันให้เพียง พอ ขณะที่ กฟภ.ท�ำแผนดับไฟในพื้นที่ที่ ได้รับผลกระทบน้อยสุดพื้นที่ละไม่เกิน ๑ ชั่วโมง ยกเว้น ๓ จังหวัดชายแดนใต้ และ ๔ อ�ำเภอในสงขลา โรงพยาบาล สถานที่ ราชการ สถานที่หน่วยงานความมั่นคง โดย ช่วงความต้องการไฟฟ้าพีกของภาคใต้ซึ่ง อาจจะสูงถึง ๒,๔๕๐ เมกะวัตต์ ขณะภาค ใต้มีก�ำลังผลิตรวม ๒,๓๐๐ เมกะวัตต์ เมื่อเจ ดีเอหยุดก�ำลังผลิตอาจลดเหลือราว ๑,๖๐๐ เมกะวั ต ต์ จะส่ ง ไฟฟ้ า จากภาคกลางราว ๗๐๐ เมกะวัตต์ ช่ ว งแหล่ ง ก๊ า ซเจดี เ อปิ ด ซ่ อ มจะส่ ง ผลกระทบต่อการให้บริการปั๊มก๊าซธรรมชาติ NGV ในสงขลา สุราษฎร์ธานี และ นครศรีธรรมราช รวม ๑๔ แห่ง ด้วยโดย เฉพาะในช่วง ๑๐ วันแรกของการหยุดจ่าย ก๊าซจะไม่มีก๊าซส่ง ปัจจุบันความต้องการใช้ ก๊าซ NGV ทางภาคใต้อยู่ที่วันละ ๑๙๐ ตัน

อย่างไรก็ตาม ซึ่งช่วงวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ทางบริษัท ทรานซ์ ไทย-มาเลเซีย จะเริ่มส่งก๊าซค้างท่อป้อนให้ ปั๊ม NGV ได้ ๑๑๐ ล้านตันต่อวัน ในการซ่อมแซมระบบท่อก๊าซแหล่ง เจดี เ อ ปตท. วางแผนร่ ว มกั บ กฟผ. เพื่ อ บริหารจัดการการจ่ายก๊าซให้แก่โรงไฟฟ้า อย่างต่อเนื่อง และจัดเตรียมปริมาณเชื้อ เพลิ ง ส� ำ รอง (น�้ ำ มั น เตา, น�้ ำ มั น ดี เ ซล) ส�ำหรับโรงไฟฟ้ากระบี่ (๒๗ ล้านลิตร) และ โรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี (๑๔ ล้านลิตร) ให้ เต็ ม ก่ อ นเริ่ ม การซ่ อ มบ� ำ รุ ง แหล่ ง เจดี เ อ กฟผ. ส� ำ รองน�้ ำ มั น เตาให้ กั บ โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี แ ละโรงไฟฟ้ า บางปะกงป้ อ งกั น ผลกระทบ และเจรจาซื้อกระแสไฟฟ้าจาก ประเทศมาเลเซีย ๑๐๐ - ๓๐๐ เมกะวัตต์ แต่ ก ารไฟฟ้ า มาเลเซี ย (TNB) แจ้ ง ว่ า ไม่ พร้อมขายเพราะได้รับผลกระทบเช่นกัน กฟภ. เตรียมความพร้อม และด้าน การประชาสัมพันธ์ เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า ใน เขต ๑๔ จังหวัดภาคใต้ และตรวจสอบและ บ�ำรุงรักษาระบบจ�ำหน่าย สายส่ง สถานี ไฟฟ้าตลอดจนอุปกรณ์ในระบบควบคุมและ ป้ อ งกั น ต่ า งๆ จั ด เตรี ย มความพร้ อ มของ บุคลากร และเครื่องมือในการสนับสนุนงาน ด้านบริการ มีการซักซ้อม และจัดเตรียม แผนด้ า นการบริ ห ารจั ด การสภาวะวิ ก ฤต ระหว่างศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า (ศูนย์ ควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้าแห่งชาติ, ศูนย์สั่ง

การระบบไฟฟ้า, ศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้า ภาคใต้, ศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า) และเร่ ง รณรงค์ ป ระหยั ด พลั ง งาน ไฟฟ้าให้ได้ ๒๐๐ เมกะวัตต์ และได้ศึกษา บริ เ วณที่ จ ะดั บ ไฟฟ้ า เรี ย งตามล� ำ ดั บ ความส�ำคัญก่อนหลังโดยจะพิจารณาให้ ประชาชนเดือดร้อนน้อยที่สุด นายกณพ เกตุ ช าติ ผู ้ จั ด การโรง ไฟฟ้าชีวมวล บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ผลิตกระแสด้วยก๊าซที่ได้จากการหมักกาก ปาล์มน�้ำมันก�ำลังผลิต ๑ เมกะวัตต์ กล่าว ว่า ตนเองได้รับหนังสือจาก กฟภ. ให้ผลิต กระแสไฟฟ้าป้อนเข้าระบบตลอดช่วงหยุด ซ่อมท่อก๊าซเจดีเอ เพื่อสนับสนุนกระแส ไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการ นายกณพเปิดเผยเพิ่มเติมว่า ขณะนี้ โรงไฟฟ้าชีวภาพในภาคใต้มีประมาณ ๖๐ โรง ก�ำลังผลิตประมาณ ๑๐๐ เมกะวัตต์ ถ้าทุกโรงมีศักยภาพในการผลิตเต็มที่จะ ช่วยสนับสนุนได้มาก ขณะนี้บริษัท เกษตร ลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ก�ำลังเริ่งก่อสร้างโรงไฟฟ้า ชีวภาพโรงที่ ๒ ก�ำลังผลิต ๒ เมกะวัตต์ ให้เสร็จโดยเร็วหลังจากโรงแรกเดินเครื่อง ผลิตกระแสไฟฟ้าไปแล้วเกือบ ๓ เดือนโดย ไม่ประสบปัญหาใด ๆ ขอบคุณข้อมูลจากมติชนรายวัน, ส�ำนัก ข่าวไทย และ http://www.tcijthai.com/ tcijthai/view.php?ids=4103

<< ต่อจากหน้า ๖

ก็เลยใช้ชื่อส�ำนักข่าวเสียงเด็ก อยู่ๆ ไปก็มีกิจกรรมเพิ่มขึ้น หลากหลาย เด็กอยากท�ำค่ายก็ให้คิดมาว่าจะท�ำค่ายอะไร แล้วก็ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ จากนั้นก็พัฒนามาเรื่อยๆ” ปี ๒๕๔๘ - ๔๙ เด็กๆ มาสมัครเป็นสมาชิกเพิ่มมาก ขึ้น ขณะเดียวกันยุทธนาก็ก�ำลังสร้างอาคารเล็กๆ ให้เป็น สโมสรพบปะท�ำกิจกรรม พออาคารเสร็จก็เปิดเป็นที่ท�ำการ เมื่อเพื่อนๆ ในสื่อสังคมออนไลน์ทราบข่าวก็ช่วยกันบริจาค หนังสือเข้ามา เมื่อสมาชิกเติบโตกิจกรรมก็ปรับขึ้นไปตามวัย “เรื่องที่ ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้และฝึกฝน คือ ฝึกให้เค้าเป็นนักท�ำกิจกรรม ด้านสิ่งแวดล้อมให้ชุมชน อย่างกิจกรรมพายเรือล่องคลอง ชวนพี่ชวนน้องเก็บขยะ จัดกิจกรรมขี่จักรยานรณรงค์ลดการ ใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย จัดกิจกรรมรณรงค์วันคาร์ฟรีเดย์ มา ๖ ปี มีกลุ่มและองค์กรต่างๆ ในขนอมเข้าร่วมปีละหลาย ร้อยคน จนที่ขนอมนี่ ถ้าพูดถึงเสียงเด็กทุกคนก็ร้องอ๋อน่ะค่ะ นั่งรถตู้จากนครฯหรือสุราษฎร์ฯ มาลงขนอม คิวรถตู้ก็รู้จัก กันหมด ไปรษณีย์ก็รู้จัก พ่อค้าแม่ค้าในตลาดก็รู้จัก เด็กๆ ใน ขนอมรู้จักส�ำนักข่าวเสียงเด็กกันทั้งนั้นค่ะ ครู โรงเรียน ก็รู้จัก ค่ะ เพราะร่วมท�ำกิจกรรมกับโรงเรียนด้วย” ตามปกติสโมสรไม่เข้าไปท�ำกิจกรรมในโรงเรียน แต่ ยืนยันท�ำกับชุมชน ในชุมชน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับราชการมากนัก “แต่มีเด็กๆ เป็นผู้ขับเคลื่อน เด็กที่เป็นแกนน�ำเค้าก็อยู่ตาม โรงเรียนต่างๆ อยู่แล้ว เวลามีกิจกรรมอะไร ก็จะมีหนังสือ เชิ ญ ชวนเด็ ก ที่ ส นใจให้ ม าร่ ว มกิ จ กรรม โดยแกนน� ำ ก็ จ ะ

ไปประสานกับโรงเรียนของเค้าเอง เอาป้ายประกาศไปติด เชิญชวน แต่เรามีข้อแม้ว่าไม่เอาเด็กเกณฑ์มา เอาตามความ สมัครใจ ได้แค่ไหนเอาแค่นั้น น้อยก็ไม่เป็นไร เรียกว่ายอมรับ ในสิ่งที่เป็นและเกิดขึ้นค่ะ” ต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมาสโมสรท�ำกิจกรรมเรียนรู้และ อนุรักษ์เต่าทะเล ‘บ้านเรา...ก็บ้านเขา (ด้วย)’ เด็กๆ ร่วม ๑๐๐ คน ได้เรียนรู้ชีวิตเต่าตะนุที่ศูนย์เรียนรู้เต่าทะเลที่ขนอม และ ได้ร่วมท�ำกิจกรรมแพร่ภาพในรายการ ‘ทุ่งแสงตะวัน’ ทาง สถานีโทรทัศน์ช่อง ๓ ระหว่ า ง ๒๓ - ๒๕ พฤษภาคม สโมสรจั ด กิ จ กรรม ‘มานอนกลางดิน มากินกลางทราย มาถ่ายหนังสั้น’ มีเยาวชน จากตัวจังหวัดและต่างอ�ำเภอเข้าร่วมประมาณ ๖๐ คน ยุทธนา ไกรเสม ตั้งใจว่าให้เด็กๆ ที่มีความกล้าท้าทายมาเรียนรู้ชีวิต จริ ง ๆ วั น แรกจะแบ่ ง เด็ ก ๆ ออกเป็ น กลุ ่ ม บางกลุ ่ ม ให้ นั่ ง มอเตอร์ไซค์รับจ้างไปชมสถานที่ส�ำคัญๆ ในขนอม บางกลุ่ม นั่ ง เรื อ เข้ า ไปตามล� ำ คลองเพื่ อ เรี ย นรู ้ ก ารท� ำ มาหากิ น และ อาชี พ สถานที่ พั ก คื น แรกเป็ น หาดทรายตรงข้ า มโรงไฟฟ้ า ขนอม หุงข้าวปลากินกันเอง โดยสโมสรให้เรือประมงชายฝั่ง วางกัดนอกชายหาด เมื่อเอากัดขึ้นเด็กๆ จะช่วยกันไปปลด

ปลามาท�ำอาหาร เด็กๆ จะได้เรียนรู้ความอุดมสมบูรณ์ของ ทะเลปากน�้ำขนอมที่มีโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ว่ายังสมบูรณ์เพียงไร และได้เรียนรู้เพิ่มอีกว่าชาวประมงที่อ่าวขนอมส่วนใหญ่มา จากหัวไทร ปากพนัง ท่าศาลา “วั น แรกเด็ ก ๆ แบตฯมื อ ถื อ ยั ง เต็ ม เด็ ก ๆ สามารถ สื่อสารกับเพื่อนๆ กับครอบครัวได้ คืนแรกได้มองแสงสีของ โรงไฟฟ้า แต่พอวันต่อมาเราจะเดินข้ามภูเขาย่อมๆ ย้ายที่มา อีกหาดซึ่งไม่เห็นโรงไฟฟ้า แบตฯก็เริ่มหมด ผมเชิญ อ.มงคล มาสอนให้ดูนกที่นี่มีนกออกกับนกอื่นๆ มากมายให้เรียนรู้ เด็กๆ จะได้ทดลองอยู่ในที่ๆ ไม่มีไฟฟ้าใช้ หุงข้าวกินเอง เรา ก็ปล่อยให้ใช้ชีวิตกันเอง ช่วยเหลือกันเอง เพราะวิชาที่จะได้ อันดับแรก คือได้เรียนรู้คนจากกิจกรรมนี้” สรุ ป ว่ า เด็ ก ๆ มี ค วามสุ ข สนุ ก สนานกั บ การใช้ ชี วิ ต ในธรรมชาติ แม้บางคนจะขาดการติดต่อสื่อสารทางมือถือ แต่ได้เรียนรู้ว่าการขาดกระแสไฟฟ้าชีวิตจะขาดอะไรบ้าง ไฟฟ้ามีความจ�ำเป็นอย่างไรและควรใช้อย่างไรให้เกิดคุณค่า สู ง สุ ด ปรากฏว่ า เด็ ก ๆ เรี ย กร้ อ งให้ จั ด ค่ า ยที่ มี กิ จ กรรม ลักษณะนีอ้ กี


หน้า ๑๐

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ตอนที่ ๔

๓. เมื่อคณะหนังตะลุงได้แต่เรื่องท�ำการแสดงเอง ในสมั ย จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม เป็ น นายก รัฐมนตรี ประเพณีต่างๆ ตลอดจนถึงศิลปินในจังหวัด นครศรีธรรมราช ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย หนังตะลุงก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงด้วยในสมัยนั้น ทั้งเรื่อง ที่แสดงและภาพที่ใช้แสดง คณะหนังตะลุงในสมัยจอมพล ป. เลิกแสดงเรื่อง รามเกียรติ์และวรรณคดีต่างๆ โดยเขียนเรื่องใช้แสดงเอง ในการแสดงหนังตะลุงบางคณะแสดงแบบ นามธรรม บางคณะแสดงแบบรูปธรรม และบางคณะก็แสดงผสม ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรม ดังมีรายชื่อของหนังตะลุง ต่างๆ ดังต่อไปนี้ ๑. หนั ง ทองทหาร แสดงเรื่ อ ง ตุ ๊ ก ตาศี ล ห้ า โจราศีลสี่ ๒. หนังชูพาชี แสดงเรื่อง กรีอ�ำภัย มาลัยลอย ๓. หนังพลอยหญิง แสดงเรื่อง จันทร์แจ่มฟ้า หน้าผี ๔. หนังด�ำวิน แสดงเรื่อง พลายพะเนิน ๕. หนังหนูจวน แสดงเรื่อง แม่นาคพระโขนง ส่วนหนังตะลุงสมัยจอมพล ป. ก็มีการเปลี่ยนแปลง คือ รูปหนังตะลุงจะไม่แต่งเครื่องทรงแบบโบราณ แต่ หันมาใช้รูปหนังตะลุงที่นุ่งกางเกงขาสั้น, ขายาว และชุด สากล ส่วนรูปผู้หญิงก็นุ่งกางเกงหรือสวมกระโปรง (ใน สมัยนั้นเรียกว่ากระโปรงสะเขิด) ในสมัยจอมพล ป. หนังตะลุงในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความเจริญมาก ทุกๆ คืนจะมีหนังตะลุงแสดง กั น เกื อ บทุ ก หมู ่ บ ้ า นในงานประเพณี ต ่ า งๆ ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชก็ จ ะมี ห นั ง ตะลุ ง แสดงทุ ก งานด้ ว ย ไม่ว่าจะเป็นงานบ้านหรืองานวัดและยังมีการประชันกัน เป็นประจ�ำด้วย นอกจากจะประชันกันเองกับพวกหนัง ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชแล้ ว ยั ง ได้ ป ระชั น กั บ พวก หนั ง ต่ า งจั ง หวั ด เช่ น คณะหนั ง จากจั ง หวั ด พั ท ลุ ง หรื อ คณะหนั ง จากจั ง หวั ด สงขลา ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว หนั ง ตะลุ ง ของจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชจะเป็ น ฝ่ า ย

ชนะ เพราะหนั ง ตะลุ ง ใน จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เสี ย งดี กลอนดี และกลอน สี่ที่มีความไพเราะ โดยคณะ หนั ง ตะลุ ง นิ ย มใช้ ขั บ ร้ อ ง เวลาพระเอกนางเอกจี บ กั น มี ขึ้ น ครั้ ง แรกในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชนี่ เ อง โดย หนั ง เอี่ ย มทองค� ำ และหนั ง ร่าน ค�ำหวาน เป็นผู้ขับร้อง ขึ้นเป็นครั้งแรก ๓.๑ กลอนหนังตะลุง สมั ย ปั จ จุ บั น ถึงแม้ว่าหนัง ตะลุงในสมัยปัจจุบันไม่นิยม

เล่นส�ำนวนกลอนแบบสมัยโบราณ แต่ค�ำกลอนก็ยังมี ความไพเราะและมีความหมายเช่นเดิม ตัวอย่างเช่น ยักษ์ พบเจ้าฟ้าชายในป่า (กลอน) เจอมะนบพบมนุษย์บุตรกษัตริย์ หมายสังกัดเครื่องทรงมารไม่สงสัยฯ ๓.๒ นางเอกรอพระเอกอยู่ที่บ้าน โดยพระเอกจาก ไปแล้วสัญญาว่าจะมารับนางเอกกลับเมือง นางเอกรอ คอยเป็นปีพระเอกก็ยังไม่กลับมา (กลอน) เราได้กันไม่ทันจะถึงปี ผ้าขนสีผืนเขียวลูกไม่ทันจะเยี่ยวใส่ฯ ๓.๓ เมื่ อ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ต น์ เป็ น นายก รัฐมนตรี รัฐบาลมีค�ำขวัญให้ประชาชนประหยัด หนัง ตะลุ ง ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชก็ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ รัฐบาล ในการเผยแพร่ค�ำขวัญของรัฐบาล ดังบทกลอน บางตอนดังต่อไปนี้ ตามนโยบายของคณะปฎิวัติ ทรัพย์สมบัติเงินทองต้องตระหนี่ มีน้อยประหยัดน้อยค่อยมั่งมี เป็นวิธีในด้านการสร้างอนาคต มีมากประหยัดมากเชิญไปฝากออมสิน ถึงจะกินใช้จ่ายอย่าให้หมดฯ ค�ำกลอนของหนังตะลุงในจังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งสามยุค ตั้งแต่ยุคแรกเรื่องรามเกียรติ์ ยุคกลางเรื่อง วรรณคดี และยุคปัจจุบันล้วนแต่มีสิ่งที่ดีที่น่ารู้มากมาย ซึ่งแฝงอยู่ในบทกลอนและเกร็ดของเนื้อเรื่องที่หนังตะลุง ใช้ท�ำการแสดง (อ่านต่อฉบับหน้า)

เมื่อวันวัยย่างก้าวสู่เช้านี้ โลกคือสีแต่งสร้างทางบากบั่น ไม่ง่ายเลยก่อนผ่านช่วงวารวัน และที่ยากกว่านั้นคือหยัดยืน และนั่นเธอ... ห้วงชีวิตพบเจอการเติบตื่น ข้ามสายทางทุกข์สุขของวันคืน เพื่อเติบโตเริงรื่นขึ้นอีกครา เพราะชีวิต... เพียงดุ่มเดินถูกผิดแสวงหา ในบางคราวโลกง่าย...ธรรมดา แต่บางคราหนักเหลือเหนือประมาณ เมื่อวันวัยย่างก้าวสู่เช้านั้น บอกชีวิตถือมั่นในสังสารฯ ทางสายนั้นใครรู้ใครพบพาน รู้แก่นแท้แห่งกาลลุผ่านแล้ว และนี่เธอ... โลกเสนอทางสู่ประตูแก้ว วาระใจใส่ว่างให้สร้างแนว เพื่อล่วงแถวสู่ทิศชีวิตแท้ เมื่อมองเห็นความว่างในความว่าง เธอจึงรู้ความต่างที่คลุมแผ่ เมื่อเห็นเช้าสู่เช้าการผันแปร ย่อมเห็นแน่เนื้อใน...ใยชีวิต (ย่อมเห็นแน่เนื้อใส...ในชีวิต). ปรัชชา ทัศนา ขน�ำใบไม้, ทุ่งใหญ่ นครศรีธรรมราช ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

“น

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

ครดอนพระ” เป็ น ชื่ อ เก่ า แก่ อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ของ เมืองนครศรีธรรมราช เป็นชื่อที่เกิดขึ้นในช่วง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี รุ ่ น ราวคราวเดี ย วกั บ ชื่ อ “เมืองกระหม่อมโคก” ซึ่งปัจจุบันก�ำลังเลือนหายไปจาก ความทรงจ�ำของชาวนครในปัจจุบัน เช่นเดียวกับค�ำ “ตาม พรลิงค์” หรือ “ตั้งมาหลิ่ง” อันเป็นชื่อที่ชาวต่างชาติ เช่นอินเดีย และจีนโบราณเคยเรียกขานไว้ “เมืองนครศรีธรรมราช” ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทร ฝั่งตะวันออกไม่ไกลจากชายฝั่งอ่าวไทย ซึ่งเป็นชายฝั่งยก ตัว ท�ำให้เกิดเป็นแนวสันทรายตลอดแนว ตั้งแต่จังหวัด สุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงอ�ำเภอสทิงพระในจังหวัดสงขลา ทางตะวั น ออกของเมื อ งเป็ น อ่ า ว มี ล� ำ น�้ ำ ปากพนั ง ไหล มาบรรจบ ซึ่ ง มี เ ครื อ ข่ า ยล� ำ น�้ ำ ยั ง เชื่ อ มโยงไปยั ง ลุ ่ ม น�้ ำ ทะเลสาบสงขลา จึงท�ำหน้าที่เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่าง เมื อ งต่ า งๆ นอกจากนี้ แ ถบเมื อ งนครศรี ธ รรมราชยั ง มี พื้นที่ราบกว้างขวางและอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การท�ำนา จึ ง มี ชุ ม ชนเก่ า แก่ ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ม าก อี ก ทั้ ง ท� ำ เลที่ ตั้ ง ของเมืองยังมีความสัมพันธ์กับช่องเขา ซึ่งเป็นเส้นทาง ส�ำคัญที่เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ทั้งสองฝั่งคาบสมุทรเข้าหา กัน ด้วยสภาพภูมิประเทศดังกล่าวท�ำให้นครศรีธรรมราช มีความเจริญรุ่งเรือง จนสามารถพัฒนาขึ้นสู่เมืองระดับ รัฐได้ในที่สุด ก่ อ นจะมาเป็ น “นครศรี ธ รรมราช” ดั ง ปั จ จุ บั น หลั ก ฐานโบราณคดี ชี้ ว ่ า ที่ นี้ มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานมาตั้ ง แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ ๕ ดั ง หลั ก ฐานที่ “แหล่ ง โบราณคดี ท่าเรือ” ซึ่งเป็นชุมชนท่าการค้าขนาดเล็ก ต่อมาขยาย ตัวมาตั้งเมืองอยู่บนสันทรายที่อยู่ด้านเหนือเป็นเมืองที่มี คู น�้ ำ คั น ดิ น เรี ย ก “เมื อ งพระเวี ย ง” หรื อ “เมื อ ง กระหม่อมโคก” ซึ่งมีอายุเก่าแก่ตั้งแต่สมัยศรีวิชัย ต่อ มาเมื่ อ มี ก ารขยายตั ว ของชุ ม ชนเมื อ งถั ด ขึ้ น มาทางด้ า น ทิ ศ เหนื อ อี ก ซึ่ ง ก็ คื อ “เมื อ งนครศรี ธ รรมราช” หรื อ เรี ย กว่ า “เมื อ งนครดอนพระ” ซึ่ ง มี “พระบรมธาตุ นครศรี ธ รรมราช” เป็ น ศู น ย์ ก ลางทางกายภาพและ จิตวิญญาณของเมืองและมีการตั้งถิ่นฐานอย่างต่อเนื่อง มาจนกระทั่งปัจจุบัน บริเวณศูนย์กลางของ “นครดอน พระ” มีหาดทรายชายทะเลที่กล่าวกันว่าเป็นหาดสวย มี ทรายเมื่อยามต้องแสงแดดเกิดเป็นประกายระยิบระยับ ชาวบ้านสมัยโบราณเรียกขานว่า “หาดทรายแก้ว” ที่หาด ทรายนี่เอง ต่อมาได้กลายเป็นที่ตั้งพระเจดีย์ใหญ่ ซึ่งเรียก ว่า “พระบรมธาตุเจดีย์” ดังที่เราท่านทั้งหลายในเวลานี้ รู้จักกันดี จากการศึ ก ษาของคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ร่ ว มกั บ สภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ท�ำให้มองเห็นพัฒนาการของการสร้างพระเจดีย์ใหญ่ ขึ้นบนหาดทรายแก้วได้เป็น ๘ ระยะ ประกอบด้วย

ธรรมวินัย

คือ ศาสดาแทนพระสัมมาสัมพุทธะ อานนท์! ผังบริเวณระยะที่ ๒ หลัง พ.ศ. ๑๗๑๙ ถึงก่อน พ.ศ. ๑๙๑๙ : มีการสร้าง โพธิมณเฑียร, วิหารธรรมศาลาในลักษณะวิหารโถง และ อานนท์! ทับเกษตร อานนท์!

ผังบริเวณระยะที่ ๓ พ.ศ. ๑๙๑๙ สันนิษฐานว่ามีการก่อสร้างวิหาร มี ผนังแทนวิหารเดิมที่อยู่ทางทิศเหนือของพระบรมธาตุ เจดีย์ให้ชื่อว่า “วิหารเขียน”

ความคิ ด อาจมี แ ก่ พ วกเธออย่ า งนี้ ว ่ า : “ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดาล่วงลับ ไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา” ดังนี้ พวกเธออย่าคิดอย่างนั้น ธรรมก็ ดี วิ นั ย ก็ ดี ที่ เ ราแสดงแล้ ว บั ญ ญั ติ แล้ ว แก่ พ วกเธอทั้ ง หลาย ธรรมวิ นั ย นั้ น จั ก เป็ น ศาสดาของพวกเธอทั้ ง หลาย โดย การล่วงไปแล้วแห่งเรา

ผังบริเวณระยะที่ ๖ พ.ศ. ๒๑๗๑ : มีการก่อสร้างวิหารหลวงทรงมณฑป

ผังบริเวณระยะที่ ๔ พ.ศ. ๒๐๓๖ สันนิษฐานว่ามีการบูรณปฏิสังขรณ์ ผังบริเวณระยะที่ ๗ วิหารธรรมศาลาให้เป็นวิหารมีผนัง และสร้างระเบียงคด พ.ศ. ๒๓๕๔ ถึง พ.ศ. ๒๓๘๒ มีการสร้างวิหารหลัง ล้ อ มรอบผั ง บริ เ วณ ท� ำ ให้ ข อบเขตของพื้ น ที่ พุ ท ธาวาส ใหม่แทนที่วิหารทรงมณฑปเดิม เป็นพระวิหารหลวงดังที่ ชัดเจนมาขึ้น ปรากฏในปัจจุบัน

ผังบริเวณระยะที่ ๕ ผังบริเวณระยะที่ ๘ หลัง พ.ศ. ๒๐๓๖ ถึงก่อน พ.ศ. ๒๑๗๑ : มีการ พ.ศ. ๒๔๕๒ ถึงปัจจุบัน : มีการก่อสร้างซุ้มประตู ก่ อ สร้ า งวิ ห ารมหาภิ เ นษกรมณ์ หรื อ วิ ห ารพระทรงม้ า เยาวราช, ระเบียงคดทางด้านทิศเหนือ, วิหารพระศรีธรรม เชื่อมที่ท้ายจรณัมวิหารเขียน โศกราช วิหารพระกัจจายนะและเจดีย์รายอื่นๆ

ผังบริเวณระยะที่ ๑ จากผังบริเวณทั้ง ๘ ระยะข้างต้น ท�ำให้เรามองเห็นพัฒนาการของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารได้อย่าง พ.ศ. ๑๗๑๙ : สถาปนาพระบรมธาตุเจดีย์ และ ชัดเจน และช่วยให้พื้นที่หาดทรายแก้ว กลายเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาเถรวาทลังกาวงศ์ในคาบสมุทร สันนิษฐานว่ามีก่อสร้างเจดีย์ราย และวิหารหน้าเจดีย์ทาง ภาคใต้ โดยมีจุดที่ตั้งนครดอนพระอันศักดิ์สิทธิ์ในเวลาต่อมา ทิศเหนือเพื่อเป็นพื้นที่ส�ำหรับการประกอบพิธีกรรมด้วย


หน้า ๑๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี.

อายุ ร ศาสตร์ โ รคข้ อ และรู ม าติ ซั ่ ม รพ.มหาราช นครศรี ธ รรมราช

รคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคข้ออักเสบ ที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันท�ำลายข้อตัวเอง ท�ำให้เกิดการอักเสบของข้อ เนื้อเยื่อรอบข้อ อาการที่ส�ำคัญคือปวดข้อและอาการนอกข้อ ระบาดวิ ท ยา จากการศึ ก ษาในสหรั ฐ อเมริ ก าพบว่ า โรคนี้ พ บได้ ป ระมาณร้ อ ยละ ๐.๕-๑.๕ ของประชากร ส�ำหรับในประเทศไทย นั้นจากการศึกษาของพรชิตา ชัยอ�ำนวย และ คณะพบความชุกของโรคนี้ร้อยละ ๐.๑๒ ถึง แม้ว่าโรคนี้จะมีความชุกค่อนข้างต�่ำ แต่โรคนี้ก็เป็นโรค ข้ออักเสบที่พบได้บ่อยที่สุดในบรรดากลุ่มโรคข้ออักเสบ ชนิดไม่ทราบสาเหตุ อุบัติการณ์ของโรคนี้สูงขึ้นตามอายุ และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายในทุกช่วงอายุ โดยเฉพาะ ผู้ที่มีอายุน้อยกว่า ๗๕ ปี แต่อุบัติการณ์ในเพศชายจะ ใกล้เคียงกับเพศหญิงในผู้ป่วยที่เริ่มเป็นเมื่ออายุมากกว่า ๗๕ ปี สาเหตุ ยั ง ไม่ ท ราบแต่ เ ชื่ อ ว่ า เป็ น โรค จากระบบ ภู มิ คุ ้ ม กั น ท� ำ ลายตั ว เอง หมายถึ ง มี ค วามผิ ด ปรกติ ข อง ระบบภูมิคุ้มกันที่ท�ำลายข้อตัวเอง นอกจากนั้นยังพบว่า กรรมพันธุ์ ฮอร์โมน บุหรี่ การติดเชื้อเป็นตัวกระตุ้นท�ำให้ โรคก�ำเริบ อาการของข้ออักเสบรูมาตอยด์ ที่พบบ่อยได้แก่ ปวดข้อ ข้อบวม, ข้อติด, อ่อนเพลีย ซึมเศร้า, ซีด, อาการ เหมื อ นไข้ ห วั ด ไม่ ส บายตั ว อาการอื่ น ๆ ที่ พ บได้ แ ก่ น�้ำหนักลด, ตาอักเสบ, ปุ่มรูมาตอยด์, การอักเสบของ อวัยวะระบบอื่น เนื่องจากโรครูมาตอยด์ เป็นการอักเสบของข้อและ เป็นโรคที่มีการอักเสบของร่างกายทั้งระบบ ดังนั้น อาการ และอาการแสดงในผู้ป่วยโรคนี้จึงประกอบด้วย ๑. อาการทางข้อ ๒. อาการของอวัยวะอื่นนอกข้อ ๓. อาการอื่นที่เป็นผลจากภาวะแทรกซ้อนและโรค ร่วมอื่นๆ อาการทางข้ อ ข้ออักเสบ คือมีอาการปวด บวม แดง ร้อน และกดเจ็บบริเวณข้อที่ปวดที่ข้อ มักจะปวดข้อ และขยับข้อล�ำบากในตอนเช้าเป็นเวลานาน ๓๐ นาที อาการปวดอาจเป็นได้เป็นเวลาปีๆ อาการผู้ป่วยแต่ละคน มีความแตกต่างกันได้ มักจะมีอาการไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว ร่วมด้วย ลักษณะเด่นทางข้อในผู้ป่วยโรคนี้คือข้ออักเสบ เรื้อรังหลายข้อ มักจะเป็นสองข้างเหมือนกัน ส่วนมาก อาการตอนเริ่มเป็นมักจะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ข้อที่ พบการอักเสบเป็นได้ทั้งข้อขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ ข้อที่พบมีการอักเสบได้บ่อย ได้แก่ ข้อมือ ข้อ โคนนิ้วมือ ข้อนิ้วมือส่วนต้น ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อระหว่าง กระดูกเท้า ข้อโคนนิ้วเท้า ส่วนข้ออื่นๆ ที่อาจพบได้ ได้แก่ ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อสะโพก ข้อกระดูกสันหลังส่วนคอ ผู้ป่วยเหล่านี้มีอาการปวดข้อ ร่วมกับข้อฝืดขัดโดย เฉพาะตอนเช้าหลังตื่นนอน (morning stiffness) ซึ่ง เป็นลักษณะเฉพาะของกลุม่ โรคข้ออักเสบโดยทัว่ ไปผูป้ ว่ ย มักมีขอ้ ฝืดขัดตอนเช้านานกว่า ๓๐ นาทีถงึ ๑ ชัว่ โมง

อาการของ อวัยวะอื่นนอกข้อ โรค รู ม าตอยด์ เ ป็ น โรคที่ มี การอั ก เสบเรื้ อ รั ง ของ ร่างกายทั้งระบบ ดังนั้น นอกจากอาการทางข้อ ซึ่ ง เป็ น อาการเด่ น แล้ ว ผู ้ ป ่ ว ยที่ มี ก ารอั ก เสบ รุ น แรงก็ จ ะมี อ าการอื่ น ร่วมด้วย ได้แก่ ไข้ต�่ำๆ อ่ อ นเพลี ย เบื่ อ อาหาร น�้ ำ หนั ก ลด นอกจากนี้ ผู ้ ป ่ ว ย บางรายอาจมีลักษณะทางคลินิก ที่บ่งถึงการอักเสบของ อวั ย วะอื่ น ๆ อาการของอวั ย วะอื่ น นอกข้ อ พบได้ ร ้ อ ย ละ ๓๖-๔๐, อาการที่พบบ่อยที่สุดคือปุ่มรูมาตอยด์ พบ ร้อยละ ๑๗-๒๕, รองลงมา ได้แก่ ภาวะตา และปากแห้ง พบร้อยละ ๑๗-๑๘ อาการนอกข้อนั้นพบบ่อยในเพศชาย ผู้ที่ป่วยเป็น โรครู ม าตอยด์ ม านาน ผู ้ ป ่ ว ยที่ มี ข ้ อ ผิ ด รู ป หรื อ พิ ก าร การสูบบุหรี่ ผู้ป่วยที่ตรวจพบ rheumatoid factor หรือ anti-nuclear antibody (ANA) ในเลือด บางการศึกษา รายงานความสัมพันธ์ระหว่าง HLA DR4 และ HLA DRB1 กับอาการนอกข้ออีกด้วย

กล่าวคือ ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ข้อได้ตามปกติ และมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การตรวจหาสารรูมาตอยด์ในเลือด เป็น antibody โดย RF นั้นอาจเป็นได้ทั้ง lgG, lgM, LgE หรือ lgA แต่ส่วน ใหญ่มักเป็น lgM RF พบได้ร้อยละ ๗๕-๘๐ ในผู้ป่วยโรค ข้ออักเสบรูมาตอยด์ และเป็นหนึ่งในเกณฑ์การวินิจฉัยโรค ด้วยโดยมีความไว ร้อยละ ๖๙ และความจ�ำเพาะ ร้อย ละ ๘๕ อย่างไรก็ดี RF ยังพบได้ในโรคอื่นๆ รวมทั้งโรค เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และในประชากรทั่วไป RF พบได้ร้อยละ ๓ ในประชากรทั่วไป และความชุกนี้สูงขึ้นเมื่ออายุมาก ขึ้น คือพบร้อยละ ๙ ในเพศหญิงและร้อยละ ๑๔ ในเพศ ชายที่อายุมากกว่า ๗๐ ปี นอกจากนี้ RF ยังช่วยพยากรณ์ โรคได้อีกด้วย จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่มี RF ในเลือด มักมีลักษณะทางคลินิกที่รุนแรงกว่าผู้ป่วยที่ไม่มี RF ใน เลือดกล่าวคือผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีข้ออักเสบรุนแรงกว่า มี ข้อผุกร่อน และผิดรูปมากกว่ารวมทั้งมีอาการอื่นนอกข้อ มากกว่า ผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรคนี้วินิจฉัยค่อนข้างยากเนื่องจาก อาการของผู ้ ป ่ ว ยแต่ ล ะคนไม่ เ หมื อ นกั น ไม่ ส ามารถ วินิจฉัยได้จากการตรวจเลือดเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ อาการปวดข้อก็เหมือนกับอาการปวดข้อของโรคอื่นการ วินิจฉัยต้องประกอบด้วย ประวัติการเจ็บป่วย การให้ประวัติที่ดีจะช่วยให้ วินิจฉัยเร็วขึ้น เช่นประวัติเจ็บข้อ ประวัติข้อแข็งในตอน เช้า การเปลี่ยนแปลงการท�ำงานของข้อ การตรวจร่างกาย แพทย์จะตรวจดูว่ามีการอักเสบ ของข้อหรือไม่ ตรวจก�ำลังของกล้ามเนื้อ ตรวจผิวหนัง ตรวจเลือดแพทย์มักจะเจาะหา สารรูมาตอยด์ ในเลือด (RF), ค่าการอักเสบตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (ESR), CBC

โรคร่วมอื่นๆ นอกจากอาการทางข้อ และอาการ ของอวัยวะอื่นนอกข้อแล้วผู้ป่วยโรคนี้ยังมีอัตราการตาย สูงขึ้นเมื่อเทียบกับประชากรทั่วไปที่มีอายุเท่ากัน ผลจาก การศึกษาพบว่าผู้ที่ป่วยเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เพิ่ม ความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ และหลอด เลือดร้อยละ ๖๐ เมื่อเทียบกับประชากรทั่วไปที่มีอายุ เท่ากัน และเพศเดียวกัน ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ และ หลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายถึงร้อยละ ๒๓ ผู้ป่วยโรค ข้ออักเสบรูมาตอยด์มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะหลอด เลื อ ดหั ว ใจอุ ด ตั น สู ง ขึ้ น ใกล้ เ คี ย งกั บ ผู ้ ป ่ ว ยเบาหวาน ภาวะอั ก เสบเรื้ อ รั ง ในร่ า งกายจากโรครู ม าตอยด์ ท� ำ ให้ เกิดมีหลอดเลือดแข็ง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดภาวะ แทรกซ้อนในหัวใจ และหลอดเลือดในผู้ป่วยเหล่านี้ การวินิจฉัย การวินิจฉัยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์นั้น ต้องอาศัยทั้งการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้การวินิจฉัยที่ถูกต้อง นอกจากนี้การวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะแรกของโรคก่อนที่ ผู้ป่วยจะมีภาวะทุพพลภาพอย่างถาวรก็มีความจ�ำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากแพทย์จะได้ให้การรักษาตั้งแต่ระยะ แรกก่อนที่ผู้ป่วยจะพิการท�ำให้ผลลัพธ์ในการรักษาดีขึ้น

ภาพถ่ายทางรังสี ว่าข้อมีการท�ำลายข้อหรือยัง

การรักษา เพื่อระงับอาการเจ็บปวด, ลดการอักเสบ, ลดการท�ำลายข้อ, เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ผลระยะยาวของผู ้ ป ่ ว ยข้ อ อั ก เสบรู ม าตอยด์ เนื่องจากโรครูมาตอยด์จะมีความรุนแรงต่างกันในแต่ละ คน โรคแทรกซ้อนก็ต่างกันท�ำให้ไม่สามารถคาดการณ์ได้ แม่นย�ำ แต่จากการศึกษาพบว่า ผู้ป่วย ๗๕% ของผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บข้อ ข้อบวม เป็นๆหายๆ ผู้ป่วย ๒๐% จะมีการอักเสบของข้ออ่อนๆ ผู้ป่วย ๕% จะมีข้อผิดรูปอย่างมาก แพทย์จะประเมินความรุนแรงของโรคจากการตรวจ เลือดและภาพทางรังสีเพื่อวางแผนในการรักษา ดังนั้น การรับประทานยาตามแพทย์สั่งและการปฏิบัติตัวจะช่วย ลดการก�ำเริบของโรค ปัจจัยที่ส�ำคัญอีกข้อหนึ่ง คือ โรค รูมาตอยด์จะมีอัตราการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง กว่าคนทั่วไปซึ่งสามารถป้องกันได้ โดยการควบคุมโรค รูมาตอยด์ คุมปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น การคุมความดันโลหิต การคุมไขมัน เบาหวาน หยุด สูบบุหรี่


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

ดื อ นมิ ถุ น ายนนี้ ผมคงไม่ ส ามารถทราบ เหตุการณ์ของบ้านเมืองว่าจะไปในทิศทาง ใด หลายคนเลือกที่จะไปท่องเที่ยวต่างแดน ให้ จิ ต ใจสงบ ผมเองยั ง ไม่ มี โ อกาสไปไหน ไกลหรอกครั บ เพราะมี ภ ารกิ จ ต้ อ งท� ำ อี ก หลายเรื่องแล้วแม้จะอยู่ในวัยที่ควรพักผ่อน แล้ว โดยผมมีความตั้งใจที่จะใช้วิชาชีพและ ประสบการณ์ที่ผ่านมาช่วยงานบ้านเมืองของ เราให้น่าอยู่ เพราะไม่ว่าผมจะมีชีวิตอยู่ต่อไป นานหรือไม่ก็ตาม แต่ลูกหลานของผม(รวมทั้ง ของท่านด้วย)ก็ต้องอยู่ต่อไปอีกนาน ผมเจอหนั ง สื อ ท่ อ งเที่ ย วเล่ ม หนึ่ ง ชื่ อ “SLOVENIA รักแรกพบ” เขียนโดยคุณนวพร เรื อ งสกุ ล เขี ย นในแนวเบาๆ น� ำ เที่ ย วใน ประเทศแถบยุโรป มีภาพถ่ายประกอบสวย งามและให้ข้อคิดที่สามารถประยุกต์มาใช้กับ บ้านเราได้ อยากให้ท่านโดยเฉพาะผู้บริหาร ท้ อ งถิ่ น ได้ ซื้ อ มาอ่ า น (ผมขออนุ ญ าตจากผู ้ เขียน ณ ที่นี้ในการเรียบเรียงเนื้อหาบางส่วน และคั ด ลอกบางประโยคเพื่ อ ประโยชน์ ข อง สังคมไทยครับ) ผมขอแยกแยะประเด็นข้อคิด เท่านั้นว่าประเทศหรือเมืองที่มีคนนิยมไปท่อง เที่ยวนั้นมีอะไรเป็นเหตุจูงใจ แต่จะไม่ล้วงลึก ถึงรายละเอียดที่ท่านควรอ่านเองในหนังสือ ดังกล่าว ต้ น ทุ น เดิ ม ของเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว อาจ เป็ น ประวั ติ ศ าสตร์ อาคารสถานที่ หรื อ ธรรมชาติ ที่ ส วยงาม เมื อ งในยุ โ รปที่ คุ ณ นวพรพาไปเที่ยว เช่น กรุงเวียนนา (Vienna) เมืองกราซ (Graz) ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดก โลกมี ส ถาปั ต ยกรรมต่ า งๆ จากทุ ก สมั ย ใน อดีตทั้งโกธิค เรอเนสซองส์ และ บาร็อก ยังมี อาคารโบราณที่ชาวเมืองเห็นคุณค่า ก็ท�ำการ ปรับปรุงให้ใช้งานได้ เช่น เป็นพิพิธภัณฑ์ เป็น โรงแรม เป็นภัตตาคารหรือร้านค้า ฯลฯที่ ยังคงลักษณะภายนอกเหมือนเดิมมากที่สุด จึงเป็นเสน่ห์ให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามา นครศรี ธ รรมราชมี ลั ก ษณะความเป็ น เมื อ ง โบราณให้เห็นอยู่ มีพระบรมธาตุที่คนต่างถิ่น รู้จักก็นับว่ามีทุนเดิมอยู่ แต่ชาวนครเองจะรู้ซึ้ง ถึงคุณค่านี้มากน้อยเพียงใด ก็คงต้องพิสูจน์ใน การช่วยกันผลักดันไปสู่การเป็นมรดกโลกให้ ส�ำเร็จได้หรือไม่ สิ่งแวดล้อมที่ขายได้ ธรรมชาติที่สวย งามของประเทศออสเตรียทั้งทุ่งหญ้า ภูเขา ทะเลสาบล้วนเป็นจุดขายการท่องเที่ยวได้ทั้ง สิ้น มีภาพยนตร์อมตะระดับโลกใช้วิวทิวทัศน์

www.nakhonforum.com

นครศรีธรรมราช

เหล่านี้เป็นฉากก็ยิ่งเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น เช่น หนังเรื่อง The Sound of Music (หนังเรื่องนี้ผมดูซ�้ำแล้วซ�้ำอีกไม่ต�่ำ กว่า ๕ ครั้งในยุคนั้น บ้าไหมครับ) ที่อ�ำเภอ ลานสกา ผู ้ อ าวุ โ สของนครท่ า นหนึ่ ง ได้ เ คย ชวนผมไปนั่งรถชมต้นประที่ก�ำลังผลัดใบจน เป็นสีแดงบนภูเขาสวยงามมาก และบางช่วงก็ เห็นเป็นเนินเขาบรรยากาศคล้ายเมืองในต่าง ประเทศ และในขณะนี้ก็ประโคมข่าวการเป็น พื้นที่ที่มีอากาศที่ดีที่สุดในประเทศ ข้อเท็จจริง ประการใดไม่ทราบ แต่ต้องมีองค์ประกอบสิ่ง แวดล้อมอื่นๆ รองรับด้วย เช่น มีรถโดยสาร ที่สะดวกและปลอดภัย มีการจัดการอาคาร

สถานที่ ใ ห้ เ ป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อยสวยงาม ฯลฯ ผู้ที่ มาเที่ยวจะได้ไม่ผิดหวังกลับไปเล่าต่อ วิถีชีวิตขายท่องเที่ยวได้ คุณนวพรได้ ไปหาที่พักตามชนบท ประมาณว่าเป็นเรือน แรมในฟาร์ม (Home stay) ที่สามารถหาพืช ผักและของสดมาปรุงอาหารกินกันเองในครัว ของเจ้าของบ้านได้ ความเป็นอยู่ที่เป็นปกติ ของชาวบ้านนี่แหละกลับเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ของคนต่างถิ่น ผมเคยไปพักบ้านเรือนแรม ริมคลองที่อัมพวา เช้าตรู่ได้มีโอกาสตักบาตร ให้พระสงฆ์ที่แจวเรือมารับเป็นภาพวิถีชีวิต ที่ประทับใจมาก (แม้ว่าจะดูเป็น Drama ไป นิดก็ตาม) การจับจ่ายซื้อของทางเรือแจวก็ดูมี ชีวิตชีวาที่ชาวต่างประเทศชอบมาก ตัวอย่าง การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตนี้ท�ำให้ผมหวนนึกถึง เมืองปากพนังที่ยังคงมีเสน่ห์หลงเหลือจนถึง ทุ ก วั น นี้ เพราะมี ค ลองและแม่ น�้ ำ ใหญ่ ที่ ยั ง ใช้เป็นทางสัญจรทางน�้ำ มีบ้านเรือนและวัด เกาะติ ด ริ ม ฝั ่ ง ตลอดแนว ยั ง มองเห็ น ปล่ อ ง โรงสีไฟก่ออิฐที่ยังอยู่เล่าเรื่องอดีต ภายในตัว เมืองยังมีตลาดร้อยปีที่คงสภาพเดิมอยู่ ล้วน เป็นเรื่องราวที่นักท่องเที่ยวอยากมาสัมผัส แต่ ก็ไม่ทราบเหมือนกันว่าเจ้าถิ่นจะคิดอย่างไร กั บ เรื่ อ งเหล่ า นี้ ที่ ค งจะต้ อ งตกลงกั น เองใน การจัดการ เช่น การเลือกใช้ยานพาหนะที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเช่นรถจักรยานหรือ สามล้อถีบ อาจจะเหมาะสมกับถนนแคบๆ ดั้ ง เดิ ม มากกว่ า รื้ อ ตึ ก เก่ า แล้ ว ขยายถนนให้ รถยนต์วิ่งในเขตเมืองเก่า รวมทั้งการก�ำหนด ความสูงอาคารที่อาจท�ำให้ภาพที่มีเสน่ห์หาย ไป เรื่องเมืองปากพนังคงต้องเขียนถึงอีกยาว ครับ ผมชอบค�ำพูดคุณนวพรที่ว่า “สถานที่ เลือกนักท่องเที่ยว” กติกาก�ำหนดพฤติกรรม คุณนวพรตั้ง ข้อสังเกตเรื่องไม่เห็นขยะในตลาดนัดที่เห็น จากประเทศที่ไปเที่ยว เป็นเพราะเขารักษา กฎกติกากันว่า ใครขนอะไรมา ขากลับต้อง ขนกลับ ขยะจึงไม่มี ส่วนบ้านเราเทศบาลคิด

ค่าเก็บขยะ เจ้าของแผงเลยทิ้งขยะในตลาด ให้เทศบาลเก็บ (เพราะจ่ายเงินไปแล้ว) ผม อยากเสริ ม ว่ า เป็ น เรื่ อ งจิ ต ส� ำ นึ ก ที่ เ ขาสั่ ง สม กันมานานด้วยเหมือนกับเรื่องที่ผมเขียนถึง ประเทศสิงคโปร์ที่เขาสามารถสร้างจิตส�ำนึก สาธารณะให้ชาวเมืองได้ส�ำเร็จ แม้ว่าในช่วง แรกต้องใช้กฎหมายบังคับเข้มข้น ประเทศเขา จึงติดอันดับต้นๆ ที่คนนิยมไปเที่ยว คงไม่มีนัก ท่องเที่ยวคนใดที่อยากไปเมืองที่เต็มไปด้วย ขยะ ผู้เขียนยังเล่าถึงพฤติกรรมความเอื้อเฟื้อ ต่อคนแก่ คนพิการ คนท้อง ที่ชาวเมืองยกให้ “เป็นสิทธิ” บนรถโดยสาร และคนขับรถที่มี มารยาทดีมากจนผมอยากให้พฤติกรรมเหล่า นี้เกิดขึ้นที่เมืองนครจัง นอกจากนี้เรื่องหาบเร่ แผงลอยบนทางเท้าที่เมืองนอกเขาไม่มีเพราะ ไม่ไปล�้ำสิทธิคนเดินบนทางเท้า (เรื่องนี้ตรง ตามที่ผมเคยเขียนถึงแล้ว) ประเทศเรามอง เป็นเสน่ห์ของเมืองแต่ไปเบียดคนส่วนใหญ่ให้ ลงไปเดินบนถนนให้รถเฉี่ยวชนที่ควรทบทวน ถนนคนเดิน เมืองลูบลิยานา เมืองหลวง ของสโลวี เ นี ย มี ถ นนย่ า นเมื อ งเก่ า ที่ แ คบๆ เขาเลยจัดให้เป็นพื้นที่ปลอดรถทั้งย่าน เลย สามารถตั้ ง โต๊ ะ กิ น กาแฟนั่ ง ดู ค นเดิ น ไปมา และมีแผงลอยบ้างที่เป็นระเบียบและแต่งร้าน

หน้า ๑๓

ให้สวยงาม อาคารเป็นแบบ เก่ า ๆ ที่ มี ค วามกลมกลื น เป็นอารมณ์ของเมืองที่คน อยากนั่งเล่นทั้งวัน ตัวเมือง นครที่ เ ราอยากมี ถ นนคน เดิ น ก็ ค งเลื อ กเอาสั ก สาย ในช่ ว งเวลาที่ ร ถไม่ ค ่ อ ยได้ ผ่ า น (เช่ น ช่ ว งเย็ น จนถึ ง สี่ ทุ่ม) จะจัดทุกวันหรือจัดให้ เป็ น ตลาดนั ด วั น หยุ ด ก็ ไ ด้ เช่ น ถนนสายหลั ง วิ ก ดาว (ชื่อถนนอะไรจ�ำไม่ได้แล้ว) หรือถนนท่าช้างหลังอาคาร ททท.ที่เป็นแหล่งขายสินค้า ที่ ร ะลึ ก พื้ น เมื อ ง แต่ ช ่ ว ง กลางวั น ควรเปิ ด ให้ ร ถวิ่ ง ผ่านเต็มร้อยเพื่อการระบาย รถได้คล่องตัวขึ้น (หมายถึง ไม่ มี ร ถเข็ น จอดทิ้ ง เพื่ อ รอ ขายกลางคื น หรื อ ยึ ด เป็ น พื้นที่ขายของทั้งวัน) ยั ง มี เ รื่ อ งราวดี ๆ ที่ สนุกสนาน อ่านแล้วมีความ สุ ข และให้ ข ้ อ คิ ด ในการ พัฒนาเมืองมากมายในหนังสือเล่มนี้ แต่นัก เขียนก็ทิ้งท้ายว่า “ไม่มีที่ไหนน่าอยู่เท่าเมือง ไทยหรอก ที่ บ ่ น กั น ตลอดทางนั่ น ก็ เ พราะ กลัวสิ่งที่ดีๆ ของเมืองไทยมันหายไป กับขัด อกขัดใจว่าท�ำไมไม่ดีไปกว่าที่เป็นอยู่ ทั้งๆ ที่ศักยภาพมีเหลือเฟือ” ในมุมมองเดียวกัน นี้ถ้ามีนักท่องเที่ยวมาเมืองนคร เขาควรรับรู้ ได้ถึง “เที่ยวต่างแดน แสนสุขใจ” ผมขอฝาก ข้อคิดเห็นบางส่วนให้คุณสรวิศ จันทร์แท่น นายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยวนครศรีธรรมราช ได้น�ำไปพิจารณาต่อนะครับ ก่อนจบขอแจ้งข่าวเชิญชวนเที่ยว “งาน นครหั ต ถศิ ล ป์ ” ครั้ ง ที่ ๒ ณ สวนศรี ธ รรมโศกราช จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ ๕ - ๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ - ๒๓.๐๐ น. รายการนี้ดีมากๆ ครับ ผมประทับใจตั้งแต่ ครั้ ง แรกปี ที่ แ ล้ ว ส่ ว นอี ก รายการหนึ่ ง เชิ ญ ชวนให้ ท ่ า นร่ ว มบุ ญ ในการทอดผ้ า ป่ า สร้ า งองค์ พ ระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ อ งค์ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย (ในโลกด้วยกระมัง) องค์พระ หน้าตักกว้าง ๙.๘๔ เมตร สูง ๒๖.๐๐ เมตร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และถวายเป็นพุทธบูชาในวาระครบ ๒,๖๐๐ ปี ในวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ยั

งมีอีกสองกิจกรรมของค่ายกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่จัดกระบวน การเรียนรู้โดยใช้ธรรมชาติเป็นสื่อ ใช้พื้นที่ ธรรมชาติ เ ขาขุ น พนม ภู เ ขาลู ก โดดที่ ยั ง เป็นป่าดิบสมบูรณ์ด้านหลังของศูนย์วิทย์ เมื อ งคอน และใช้ ท ้ อ งฟ้ า ทุ ก ค�่ ำ คื น เป็ น กระดานดาว นั่ น คื อ กิ จ กรรมคนค้ น ป่ า และกิจกรรมเปิดเลนส์ส่องฟ้า

ทางชีวภาพของเขาขุนพนม กิจกรรมคนค้นป่า เป็นกิจกรรมการ ส�ำรวจความสัมพันธ์ของระบบนิเวศป่าดิบ ชื้น โดยวิทยากรพูดคุยให้ความรู้เกี่ยวกับ พันธุ์พืช ลักษณะทางธรณี และลักษณะ ทางชีวภาพของเขาขุนพนม หลังจากนั้น ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส�ำรวจพันธุ์พืชบริเวณ เขาขุ น พนม โดยบั น ทึ ก ลั ก ษณะที่ ส� ำ คั ญ ได้แก่ ชื่อพืช ลักษณะราก ใบ และล�ำต้น จ�ำนวนที่พบในแต่ละจุด และความสูง น�ำ ไปลงต� ำแหน่งว่าพืชแต่ละชนิดอยู่ในชั้น ใดของโครงสร้างป่าดิบชื้น (ชั้นเรือนยอด แบ่งเป็น ๕ ชั้น ได้แก่ ชั้นไม้คลุมดิน ชั้น พื้นป่า ชั้นใต้เรือนยอด ชั้นเรือนยอด และ ชั้นเหนือเรือนยอด) โดยการวาดภาพและ บันทึกรายละเอียด หลังจากนั้นจึงอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นพืชแต่ละชั้น เพื่อ ให้รู้ถึงเหตุผลการออกแบบตัวเองตามใน นิเวศธรรมชาติ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

เปิดเลนส์ส่องฟ้า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้เรื่อง เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะรวมถึง การบอกทิศ ทรงกลมท้องฟ้า เส้นสมมติ ศึกษาปรากฏการณ์การขึ้นตกของดวงดาว คนค้นป่า การสั ง เกตกลุ ่ ม ดาวบนท้ อ งฟ้ า การใช้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ส�ำรวจพันธุ์ แผนที่ดาว ตลอดจนการน�ำไปปรับใช้ พืช และอธิบายความสัมพันธ์ของพืชตาม กิ จ กรรมนี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพอากาศ โครงสร้างป่าดิบชื้น และความหลากหลาย ถ้าท้องฟ้าเปิดวิทยากรก็จะตั้งกล้องโทร-

ทรรศน์ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้สังเกตวัตถุ บนท้ อ งฟ้ า พื้ น ผิ ว ของดวงจั น ทร์ ดาว เคราะห์บางดวง เช่น ดาวเสาร์ ดาวพฤหัส ดาวอังคาร และดาวศุกร์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับช่วง เวลาการโคจรของดาวเคราะห์ แ ต่ ล ะดวง ด้วย และการสังเกตกลุ่มดาวบนท้องฟ้า โดย การชี้กลุ่มดาวเด่นๆ เช่น กลุ่มดาวหมีเล็ก กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวแมงป่อง กลุ่ม ดาวหงส์ กลุ่มดาวคนคู่ เป็นต้น นอกจาก นั้นวิทยากรก็จะแนะน�ำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ รู ้ ถึ ง ทรงกลมท้ อ งฟ้ า ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย เส้นสมมติ มุมอัลติจูด และมุมอะซิมุส แต่ ถ้าท้องฟ้าปิดวิทยากรจะบรรยายดาว โดย ใช้ โ ปรแกรม Stellarium หรื อ Stary Night และการฉายภาพยนตร์ ที่ เ กี่ ย วกั บ ดาราศาสตร์ การดู ก ลุ ่ ม ดาวบนท้ อ งฟ้ า ให้ ไ ด้ ดี ใ น

ภาคใต้ ควรจะดูในช่วงหน้าหนาว คือ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ถ้า ต้ อ งการดู พื้ น ผิ ว ดวงจั น ทร์ ใ ห้ ส วยงาม ชัดเจน และมองเห็นในช่วงค�่ำ ควรดูใน ช่วงข้างขึ้น ๖-๑๐ ค�่ำ นั บ เป็ น ข้ อ ดี ข องศู น ย์ วิ ท ย์ เ มื อ ง คอน ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ช นบท แสงจึ ง ไม่ ร บกวนมากเหมื อ นในเมื อ งใหญ่ ที่ ใช้ ไ ฟฟ้ า มากมายจนท� ำ ให้ โ อกาสเห็ น ประกายระยิบระยับของดาวแต่ละดวง มี ไ ม่ ม ากนั ก ... ถ้ า ใครอยากลองส่ อ ง กล้องดูดาว หรือฟังเรื่องเล่าบนท้องฟ้า สามารถเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ ทุ ก เดื อ น ในค�่ ำ คื น ที่ มี ค ่ า ยมานอนค้ า งคื น นะคะ ติดตามข่าวสารได้ในกลุ่มเฟสบุ๊ค “NSC Family” ค่ะ

๑. การท�ำร่างกายให้สะอาด เราต้อง ท�ำความสะอาดร่างกาย โดยอาบน�้ำถูสบู่ให้ สะอาด โดยเฉพาะบริเวณซอกหลืบต่างๆ เช่น ขาหนีบ รักแร้ อาจจะใช้สบู่ที่มีสารดับกลิ่น ช่วยด้วยก็ได้ จากนั้นใช้โรลออนหรือโคโลญจน์ หรือน�้ำหอมอ่อนๆ ช่วยในการดับกลิ่นอีกที เพราะก่อนที่เราจะใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เราต้อง ช�ำระร่างกายให้สะอาดให้มากที่สุด ๒. การเลื อ กผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั บ กลิ่ น ตั ว ผลิตภัณฑ์ในช่วงหน้าร้อนอาจจะต้องพิเศษ กว่า ธรรมดา สบู ่ หรือ ครี มอาบน�้ ำ ต้อ งเลื อก ที่ระงับกลิ่นกาย ๒๔-๔๘ ชม. โรลออนหรือ สเปรย์ระงับกลิ่นกายควรเลือกกลิ่นที่เข้ากับ เราและเมื่อเหงื่อออกจะไม่ท�ำปฏิกิริยาที่เกิด กลิ่นไม่พึงประสงค์ น�้ำหอม จัดเป็นผลิตภัณฑ์ ที่นิยมใช้ในการกลบกลิ่นตัววิธีหนึ่ง แต่หาก ร่างกายมีเหงื่อมากและไม่ได้ช�ำระล้างก่อนใส่ น�้ำหอมก็จะส่งผลให้เกิดกลิ่นใหม่ที่ฉุนไม่ชวน เข้าใกล้ได้เช่นกัน ๓. ผลิตภัณฑ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ เป็น

ทางเลื อ กอี ก ทางหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้ ก ลิ่ น กาย เราหอมตลอดวันจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่จะใช้ทา บริเวณใต้วงแขนหรือรักแร้หรือบริเวณอับชื้น ส่วนอื่นๆ ของร่างกายเพื่อท�ำลายและป้องกัน การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งเป็นสาเหตุ หลักของการเกิดกลิ่นตัวร่วมผลิตภัณฑ์ดูดขับ กลิ่น องค์ประกอบหลักของผลิตภัณฑ์คือสาร ส� ำ คั ญ ที่ ส ามารถดู ด ซั บ กลิ่ น ฉุ น ไว้ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ระเหยออกสู่ภายนอก เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ฮอตฮิต มาก หาซื้อได้ตามร้านยาหรือมินิมาร์ททั่วไป ๔. เรื่ อ งอาหารการกิ น อาหารก็ เ ป็ น สาเหตุหนึ่งของการเกิดกลิ่นตัว อะไรที่เราควร หลีกเลี่ยง เครื่องเทศบางชนิด เช่น แกงกะหรี่ และกระเที ย ม จะมี ก ลิ่ น ปนอยู ่ กั บ กลิ่ น เหงื่ อ ของเรา ควรรับประทานผัก ผลไม้ที่ให้พลังงาน น้อย เช่น แตงโม สับปะรด ฝรั่ง หลีกเลี่ยงผักผล ไม้ และอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น มะม่วงสุก ทุเรียน เนื้อสัตว์ติดมัน ของหวาน อาหารขยะ ต่างๆ รวมทั้งช่วงหน้าร้อนควรเลี่ยงสมุนไพรที่มี กลิ่นฉุน เช่น ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด เพราะมีสาร กระตุ้นการระเหยของกลิ่นตัว รวมทั้งอาหาร รสจัด เผ็ดร้อนเกินไป และคุณหมอยังแนะน�ำ เพิ่มเติมด้วยว่า ควรมีผ้าขนหนูผืนเล็กๆ ไว้ซับ

เหงื่อเวลารู้สึกเหนียวตัว หรือใช้แป้งฝุ่น โรยตัวเพื่อช่วยลดปัญหาที่อาจก่อให้เกิด กลิ่นตัวได้ ๕. วิธีบ�ำบัดจากธรรมชาติ หากใคร ที่ใช้สารเคมีต่างๆ ไปแล้วไม่ได้ผลหรืออาจ ขัดกับตัวเรามาลองใช้สารส้มถูทาที่รักแร้ หลังจากอาบน�้ำทุกครั้ง ทาขณะที่รักแร้ยัง เปียกอยู่ หรือเอาสารส้มผสมพิมเสนอย่าง ละเท่าๆ กันบดให้ละเอียด ผสมแป้งฝุ่น หรือดินสอพองหยดน�้ำลงไปนิดหน่อย ทาที่ รักแร้ปล่อยให้แห้ง - ใบพลู ขยี้แล้วทารักแร้หลังอาบน�้ำ - ใบฝรั่ ง โขลกให้ ล ะเอี ย ดทารั ก แร้ หลังอาบน�้ำ - ปูนแดงผสมน�้ำทารักแร้หลังอาบน�้ำ - หยดน�้ ำ มั น ที่ ส กั ด จากสะระแหน่ ๒-๓ หยด ลงในอ่ า งอาบน�้ ำ เนื่ อ งจาก สะระแหน่มีคุณสมบัติเป็นยาดับกลิ่นตาม ธรรมชาติ

ร้

อนๆ แบบนี้เรื่องที่หนุ่มๆ สาวๆ ทั้งหลาย น่าจะรู้สึกกังวลก็คงหนีไม่พ้นเรื่องกลิ่น ตัว เพราะชีวิตประจ�ำวันของเราคงไม่ได้หยุด นิ่งอยู่กับที่เฉยๆ เราต้องท�ำงาน เดินทางไป ยังที่ต่างๆ ในแต่ละวันเราก็ต้องมั่นใจว่าเรา จะยกแขนหรือขยับตัวในทุกท่วงท่า จะไม่มี กลิ่ น อั น ไม่ พึ ง ประสงค์ ที่ ท� ำ ให้ ค นรอบข้ า ง รังเกียจ หรือนินทากันได้ มี 5 วิธีป้องกันไม่ ให้เรามีกลิ่นกลายในหน้าร้อนแบบนี้

ที่มา : เว็บไซด์ไทยรัฐออนไลน์ ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

นปั จ จุ บั น หลายท่ า นคงได้ สั ม ผั ส กั บ เทคโนโลยี 3G เพราะผู้ให้บริการหลักๆ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารครอบคลุ ม เกื อ บทุ ก พื้ น ที่ ข อง ประเทศ แต่หลายคนก็ยังติดปัญหาคาใจอยู่ ว่ามันเป็น 3G จริงหรือไม่ ท�ำไมเวลาเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตแล้วช้าจัง แถมยังหลุดบ่อย สาเหตุ ที่ เ กิ ด ปั ญ หาเหล่ า นั้ น เพราะว่ า มี ผู ้ ใ ช้ บริ ก ารเยอะแต่ แ บนด์ วิ ด ท์ ข องช่ ว งความถี่ บริการมีน้อย ความเร็วของการเชื่อมต่อจึงลด ลง เมื่อเกิดปัญหานี้ผู้ให้บริการก็พยายามหา เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาปรับปรุงแก้ไข หรือ เพิ่ ม ช่ อ งทางการให้ บ ริ ก ารเพื่ อ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าซึ่งมีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เทคโนโลยีใหม่ที่ว่าส�ำหรับบ้านเราก็คือ 4G เรามาติดตามกันเลยครับว่ามันคืออะไร ดีกว่า 3G อย่างไรบ้าง

เทคโนโลยี 4G เป็ น เครื อ ข่ า ยไร้ ส าย ความเร็วสูงชนิดพิเศษ หรือเป็นเส้นทางด่วน ส� ำ หรั บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ต ้ อ งอาศั ย การลากสาย เคเบิล โดยระบบเครือข่ายใหม่นี้ จะสามารถ ใช้ ง านได้ แ บบไร้ ส าย รวมถึ ง คุ ณ สมบั ติ ก าร เชื่อมต่อเสมือนจริงในรูปแบบสามมิติ (threedimensional) ระหว่ า งผู ้ ใ ช้ โ ทรศั พ ท์ ด ้ ว ย กันเอง นอกจากนั้น สถานีฐาน ซึ่งท�ำหน้าที่ ในการส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่จาก เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง และมีต้นทุน การติดตั้งที่แพงลิ่วในขณะนี้ จะมีให้เห็นกัน อย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับหลอดไฟฟ้าตาม บ้านเลยทีเดียว ส�ำหรับ 4G จะสามารถส่งผ่าน ข้อมูลแบบไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่ม ขึ้นถึง ๑๐๐ เมกะไบต์ต่อวินาที

หลายหลายรู ป แบบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต โดยจ�ำเป็นต้องอาศัยเครือข่ายที่มีความเร็ว สูง สามารถรับส่งข้อมูลได้ในปริมาณมากๆ ดังนั้น การผลักดันตัวเองให้เข้าสู่ยุค 4G ที่ใช้ เทคโนโลยีที่เหนือกว่า 3G ก่อนคู่แข่ง น่าจะ เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องที่สุด ความโดดเด่นของ 4G คือ ถูกออกแบบ มาเพื่อการใช้งานบนเครือข่ายที่กินพื้นที่กว้าง ก็ได้หรือจะท�ำเป็นเครือข่ายขนาดย่อมๆ แบบ WLAN ได้อีกด้วย นั่นจึงท�ำให้หลายคนมองว่า 4G จะมาเบียดเทคโนโลยีของ Wi-Fi หรือไม่ เพราะสามารถใช้งานได้ทั้งสองแบบ อย่างไร ก็ ต ามในประเทศไทยยั ง คงอิ ง กั บ มาตรฐาน ของ 3G อยู่ ซึ่งยังไม่มีทีท่าว่าจะขยับขยายไป สู่ยุค 4G เลย เพราะว่า Wimax ก�ำลังเข้ามา นั่นเอง ระบบสื่อสารแห่งอนาคตที่ให้ความ ยืดหยุ่นสูง สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้กว้าง ไกล ความเร็วในการสื่อสารสูงสุดในขณะนี้ ในเมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ท�ำไมไม่รวมเทคโนโลยี 3G กับ WiMAX เข้าด้วยกัน และพัฒนาให้ เป็น interim 4G หรือ 4G เฉพาะกิจ เพื่อ ไปเร่งพัฒนา 4G ตัวจริง (Real 4G) กันออก มาไม่ดีกว่าหรือ จึงเป็นเสียงที่คิดดังๆ จาก หลายกลุ่มในปัจจุบัน แน่นอนที่ว่า คงจะไม่ใช่ แนวคิดของ 4G ที่หลายฝ่ายตั้งความหวังไว้ เพราะอย่ า งน้ อ ยที่ เ ห็ น ได้ ชั ด เจนอย่ า งหนึ่ ง คื อ เทคโนโลยี ทั้ ง สองยั ง ไม่ ส ามารถรองรั บ ความเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่ดาวน์ลิงค์/อัพ ลิงค์ (downlink/uplink) ขณะก�ำลังเคลื่อนที่ ในกรณีของ GSM ที่ 100 mbps/50 mbps และกรณี CDMA ที่ต้องการให้เหนือกว่า GSM โดยจะให้มีความเร็วเป็น 129 mbps/75.6 mbps ท�ำไมจึงอยากได้ 4G เป็นค�ำถามที่น่า สนใจ มี เ หตุ ผ ลอะไร จึงอยากได้เทคโนโลยี โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่สี่ หรือ 4G กันมาก ถ้าจะสรุปเป็นค�ำตอบก็คงจะได้หลายประการ ด้วยกันดังนี้ ๑. สนับสนุนการให้บริการมัลติมีเดียใน ลักษณะที่สามารถโต้ตอบได้ เช่น อินเทอร์เน็ต ไร้สาย และ เทเลคอนเฟอเรนซ์ เป็นต้น ๒. มีแบนด์วิดท์กว้างกว่า สามารถรับส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว (bit rate) สูง กว่า 3G ๓. ใช้งานได้ทั่วโลก (global mobility) และ service portability ๔. ค่าใช้จ่ายถูกลง ๕. คุ้มค่าต่อการลงทุนด้านโครงข่าย

เทคโนโลยี 3G ที่ก�ำลัง ถูกเทคโนโลยีใหม่อย่าง ไวแมกซ์ (WiMAX) เข้ า มาตี เ สมอ และใน อนาคตมีแนวโน้มว่าจะ มีโอกาสมาเหนือกว่า 3G อีกด้วย นักวิเคราะห์และผู้เกี่ยวข้องในวงการ โทรคมนาคมหลายกลุ่ม กล่าวกันถึงขนาดที่ ว่า ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ของ หลายประเทศที่ปัจจุบันครองตลาดส่วนใหญ่ ของประเทศหรือมีอ�ำนาจเหนือตลาดคงจะ ไม่ยอมให้บริการไวแมกซ์เกิดขึ้นในตลาดได้ ง่ า ยๆ ประกอบกั บ บางประเทศยั ง มี ป ั ญ หา ต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการให้บริการไวแมกซ์ เช่ น แผนเลขหมายแห่ ง ชาติ ที่ มี ก ารจั ด สรร ความถี่ให้กับบริการไวแมกซ์ กฎ ระเบียบใน การก�ำกับดูแลเพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและ มีการแข่งขันที่เป็นธรรม และความพร้อมใน การลงทุ น ของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร เป็ น ต้ น หากจะ รวมกันจริงๆ แล้ว หลายฝ่ายยังมีความเชื่อ ว่า 3G คงจะไม่ถึงกับไปรวมอยู่ใต้เทคโนโลยี ที่เป็นหนึ่งเดียว เนื่องจาก 4G ควรจะเป็น เทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงได้ที่ระดับความเร็ว อินเทอร์เน็ต (เช่น 10 Mbps) และใช้งาน ร่ ว มกั น (integrated) ได้ ทั้ ง ในลั ก ษณะที่ เป็นเครือข่ายท้องถิ่นหรือแลน (LAN | local area network) กับแวน (WAN | wide area network) แบบไร้สาย ด้วยการรวมเทคโนโลยี 3G และ WiMAX เข้าด้วยกันในเครื่องเดียวกัน โดยมาตรฐานของ WiMax หรื อ 802.16 สามารถให้บริการด้านบรอดแบนด์ไร้สายได้ ไกลถึง ๓๐ ไมล์ด้วยความเร็วประมาณ 10 Mbps สิ่ ง ที่ ยั ง เป็ น ปั ญ หาอยู ่ ส� ำ หรั บ บริ ก าร WiMAX มีหลายประการที่ต้องมีการพัฒนา ต่ อ ไปจากที่ ส ามารถแก้ ป ั ญ หาบางอย่ า งได้ ในระดั บ หนึ่ ง แล้ ว เช่ น ตั ว มาตรฐานเองที่ ยังไม่ค่อยนิ่งเท่าใดนัก การพัฒนาอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องของโครงข่าย (ซึ่งรวมถึงตัวเครื่อง ลู ก ข่ า ยด้ ว ย) การเคลื่ อ นที่ ข องลู ก ข่ า ยจาก สถานี ฐ านหนึ่ ง ไปยั ง อี ก สถานี ฐ านหนึ่ ง โดย ไม่ มี ป ั ญ หาสายหลุ ด หรื อ อาการสั ญ ญาณ สะดุด เป็นต้น จึงเป็นที่เชื่อได้ว่าในขณะนี้คง ต้องรอให้มาตรฐานเทคโนโลยี WiMAX ผ่าน กระบวนการพัฒนาจนถึงขั้นเป็นมาตรฐานที่ สมบูรณ์ (mature) แล้ว อาจเป็นไปได้ที่จะมี ความพยายามน�ำเทคโนโลยี 3G และ WiMAX มาผสมผสานกันเป็น 4G หากกลุ่มที่พัฒนา 4G ไม่ รี บ ชิ ง พั ฒ นา 4G หนี ก ารรวมตั ว กั บ WiMAX ไปเสียก่อน

ลักษณะเด่นของ 4G 4G คื อ Forth Generation ซึ่งในบ้านเราเริ่มมีให้เห็นกันบ้าง เมื่อพูดถึงเทคโนโลยีสื่อสารในยุค 4G เรื่อง ความเร็วนั้นเหนือกว่า 3G มาก คือท�ำความ เร็วในการสื่อสารได้ถึงระดับ 20-40 Mbps เมื่อเทียบกับความเร็วที่ได้จาก 3G นั้นคนละ เรื่องกันเลย ที่ญี่ปุ่นนั้นเครือข่ายโทรศัพท์ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี 4G สามารถให้ บ ริ ก ารรั บ ชม รายการโทรทัศน์ผ่านมือถือได้แล้ว หรือจะ โหลดตัวอย่างภาพยนตร์มาชมบนโทรศัพท์มือ ถือก็มีให้เห็นเช่นกัน ท�ำไมญี่ปุ่นถึงรีบกระโดด ไปสู่ยุค 4G กันเร็วเหลือเกิน ค�ำตอบง่ายๆ ก็ หาก 4G จะเกิดจากการรวม WiMax เข้า คือ ดิจิตอลคอนเทนต์ เป็นตัวผลักดันให้เกิด กับ 3G การเปลี่ยนแปลงขึ้นนั่นเอง เมื่อผู้ให้บริการ ท่ า มกลางกระแสการแข่ ง ขั น ระหว่ า ง 4G ในบ้านเรา

4G ถือได้ว่าเป็นยุคปัจจุบันส�ำหรับทั่ว โลก (แต่ส�ำหรับประเทศไทยเรายังคงอยู่ใน ยุค 3G ที่ก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ยุค 4G) ซึ่งหลายๆ คนคงเคยได้ยินค�ำว่า 4G LTE และคงมีค�ำถาม ว่าแล้ว LTE คืออะไร เกี่ยวข้องกับ 4G อย่างไร ส� ำ หรั บ LTE นั้ น ย่ อ มาจาก Long Term Evolution เป็ น เทคโนโลยี ห นึ่ ง ที่ ถู ก น� ำ มา ทดลองใช้ในยุค 4G โดยเกิดจากความร่วมมือ ของ 3GPP (3rd Generation Partnership Project) ที่มีการพัฒนาให้ LTE มีความเร็ว มากกว่ า ยุ ค 3G ถึ ง ๑๐ เท่ า โดยมี ค วาม สามารถในการส่ ง ถ่ า ยข้ อ มู ล และมั ล ติ มี เ ดี ย สตรีมมิ่งที่มีความเร็วอย่างน้อย 100 Mbps และมีความเร็วสูงสุดถึง 1 Gbps นอกจาก เทคโนโลยี LTE แล้วยังมีอีก ๒ เทคโนโลยี ที่ ถู ก น� ำ มาทดลองใช้ เ หมื อ นกั น คื อ UMB (Ultra Mobile Broadbrand) ที่พัฒนามา จากมาตรฐาน CDMA2000 ซึ่งเป็นเทคโนโลยี หนึ่ ง ที่ ถู ก น� ำ มาใช้ ใ นยุ ค 3G นั่ น เองและ WiMax (Worldwide Interoperability for Microwave Access) เป็นเทคโนโลยี บรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูง โดยพัฒนามา จากมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งเป็นมาตรา ฐานเดียวกันกับ Wi-Fi แต่มาตรฐาน Wimax สามารถส่งสัญญาณได้ไกลถึง ๔๐ ไมล์ ด้วย ความเร็ ว 70 Mbps และมี ค วามเร็ ว สู ง สุ ด 100 Mbps โดยปัจจุบันนี้มีเพียง ๒ เทคโนยี ที่ถูกน�ำมาใช้ในยุค 4G คือ เทคโนโลยี LTE และ Wimax ซึ่งเกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ เทคโนโลยี 4G LTE แต่มีเพียงบางประเทศ เท่ า นั้ น ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี 4G Wimax เช่ น ประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน บังคลาเทศ เป็นต้น ซึ่งในยุค 4G นี้ถือว่าเป็นยุคที่ถูกพัฒนา ก้าวมาอีกขั้นโดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูล มากกว่ายุค 3G ที่ช่วยตอบสนองการใช้งาน ผ่านอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ท�ำให้สามารถ ส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม และสามารถ ใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่างเต็มที่ เช่น การ สนทนาผ่านโปรแกรม Video Conference ในระดั บ ความคมชั ด แบบ HD, โหลดหนั ง ฟั ง เพลง โดยไม่ ส ะดุ ด และยั ง สามารถอั พ โหลด - ดาวน์โหลดข้อมูลที่มีขนาดไฟล์ใหญ่ๆ ซึ่งใช้เวลาเพียงไม่นาน นอกจากนี้เทคโนโลยี 4G LTE ได้ ถู ก น� ำ มาใช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลาย มากกว่า ๑๓๐ ประเทศทั่วโลก ท�ำให้สามารถ ใช้งานบนมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ในส่วน ของประเทศไทยเริ่มมีบางค่ายที่น�ำเทคโนโลยี 4G LTE มาทดลองใช้บริการในเมืองใหญ่ๆ ซึ่งคาดว่าอีกไม่นานประเทศไทยคงจะก้าวเข้า สู่ยุค 4G เต็มรูปแบบและสามารถให้บริการ ลูกค้าได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เมื่อ 4G เป็นเทคโนโลยีใหม่ หมายความ ว่ า เราก็ ต ้ อ งหาอุ ป กรณ์ ใ หม่ แท็ บ เล็ ต ใหม่ มื อ ถื อ ใหม่ ที่ ส ามารถรองรั บ เทคโนโลยี นี้ ไ ด้ นั่ น หมายความว่ า เราต้ อ งหาเงิ น จ� ำ นวนไม่ น้อยเพื่อแลกกับการใช้งาน ดังนั้น โปรดใช้ วิ จ ารณญาณในการเสพเทคโนโลยีครับ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


หน้า ๑๖

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

หัวไว้ว่า “ท่องเที่ยวเมืองนคร” แต่ก็หวังไว้ใน อนาคตว่า จะพยายามพัฒนามุมมองในด้านการ ท่องเที่ยวของบ้านเราให้เป็นสากลมากขึ้น การ จะช่วยเชียร์ ช่วยขาย ช่วยประชาสัมพันธ์ จึง จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้และเข้าใจความเป็นมา

าขออนุ ญ าตสวั ส ดี ผู ้ อ ่ า นคอลั ม น์ นี้ กั น อี ก สั ก ครั้ ง ครั บ พร้ อ มกั บ ขอ ออกตัวในเชิงเกรงอกเกรงใจท่านผู้อ่าน ด้วยว่า ผมนั้นไม่สามารถเขียนบทความ หรื อ วิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ใ ดๆ ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น หรื อ เกาะติ ด กระแสโลกได้ เ ลย โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว หรือจุดเด่นๆ ของแหล่งท่องเที่ยวในเมือง คอนบ้านเรา ทั้งๆ ที่ชื่อคอลัมน์นี้จะจั่ว เป็นไป หรือจุดเด่น จุดขายให้ดีซะก่อน ผมค้นพบตัวเองว่า แท้จริงผมไม่ได้ เป็นไกด์ ไม่ได้เป็นคนท�ำทัวร์ หรือไม่ได้ เป็นนักประชาสัมพันธ์ หากแต่ผมเป็น “พรานป่า” เป็นคนอยู่ป่า เป็นคนรัก ธรรมชาติ สิ่งที่ถนัดเลยกลายเป็นเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับป่าเขาล�ำเนาไพรมากกว่า การพูดถึงกิจกรรมหรือเทศกาลท่องเที่ยว ซึ่ ง ก็ เ ชื่ อ ว่ า เดี๋ ย วนี้ เ มื อ งคอนบ้ า นเรา มี คนรู้จักและเห็นคุณค่าในแหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ มากขึ้น การท่องเที่ยวมีตัวเลขที่ ดีขึ้น นี่ถือเป็นมิติที่ดีของเมืองคอนเลย ทีเดียว วกกลั บ เข้ า เรื่ อ งกั น เลยดี ก ว่ า ว่ า ผมถนัดเรื่องป่าเรื่องธรรมชาติมากกว่า หลายบทความจึ ง วนเวี ย นอยู ่ กั บ เรื่ อ ง นี้ และเรื่องที่จะน�ำเสนอต่อไปนี้ “แชร์ จากป่ามาแบ่งปัน” ก็เป็นบทความสั้นๆ ในหลากหลายความรู้เกี่ยวกับป่า หรือ ภูมิปัญญาของพรานป่า หรือเป็นอารมณ์ ของคนท่องป่าเดินไพร ที่อยากถ่ายทอด ประสบการณ์ แ ละความรู ้ สึ ก ที่ มี ต ่ อ ผื น ป่าบ้านเกิด ส�ำหรับผม “ป่า ได้สร้าง มิติของการด�ำเนินชีวิตที่มีคุณค่ามาก” แน่นอนมันมากกว่าการมองทรัพยากร เหล่านี้เพียงค่าในธุรกิจท่องเที่ยวอย่าง

เดี ย ว ในกรณี นี้ จึ ง ตั้ ง ใจน� ำ มาแบ่ ง ปั น สมาชิกประจ�ำของคอลัมน์นี้ครับ ............................................................... “ป่าและนัยยะแห่งความรัก” ผมมีความรักมาฝากครับ แต่อยาก ให้ฟังและซึมซับรับทราบให้ชัดซะก่อน ก่ อ นจะรั ก อะไร ใครหรื อ เพราะอะไร เพราะรักที่ผมว่า ทุกคนอาจไม่สามารถ เข้ า ใจและอาจจะเผลอไผลเอาตั ว เอง เป็ น ศู น ย์ ก ลางได้ ผมก็ มี ค วามรั ก แบบ มนุษย์ครับ แต่ทว่า..ป่า...ได้เปลี่ยนแปลง รักนี้ไปอย่างสิ้นเชิง เมื่ อ อยู ่ เ มื อ งใหญ่ สั ง คมใหญ่ รั ก เรานั้ น อาจจะถู ก จ� ำ กั ด อยู ่ ใ นวงแคบๆ ไม่ต่างอะไรจากนิยายหลังข่าว ทีวีและ สื่ อ ไฮเทคน� ำ เราสู ่ โ ลกแห่ ง ความรั ก ใน หลากรูปแบบ ดนตรี เพลงรัก นิยายรัก และสงครามของความรัก แต่ทว่ายาม อยู่ป่าใหญ่ ผมเห็นล�ำธารสายนั้นที่เกิด จากเมฆหมอกกระทบต้ น ไม้ รวมจาก สายน�้ำเล็กๆ สู่มหานที มันเป็นผลของ สรรพสิ่ ง รวมกั น ครั บ ไม่ เ อื้ อ นเอ่ ย หวง แหน ไม่งอนง้อทวงบุญคุณ และไม่แสดง ความเป็นเจ้าเข้าเจ้าของ ที่จะบอกคือ มันเป็นความรักที่พร้อมใจกันแชร์สู่กัน


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

และกั น มั น เป็ น โลกของความรั ก อี ก แบบที่ที่เราน่าจะตระหนัก และท�ำความ เข้าใจในความหมายของการด� ำรงชีวิต ..ทุกวันนี้เราอาจจะขัดแย้งกันในความ รัก ไม่ว่า คนรัก ทรัพย์สินที่รัก แผ่นดิน ที่รัก ..เหล่านี้ต่างน�ำมาซึ่งความขัดแย้ง อย่างตกต�่ำ ไร้ยางอาย และหยามเหยียด ซึ่งกันและกัน เปรียบเสมือนเราถูกกักขัง ให้ จ มอยู ่ กั บ กรอบของความรั ก ที่ ยึ ด เอาตั ว เองเป็ น ศู น ย์ ก ลาง เป็ น เจ้ า เข้ า เจ้าของ เราอาจจะไม่สามารถหลุดออกมา จากวงแหวนอันตกต�่ำนั่นหรอกครับ หาก เราไม่คิดท�ำความเข้าใจป่าและสรรพสิ่ง ยิ่งคิดอยู่แต่กรอบของมนุษย์นั้นยิ่งแล้ว ใหญ่ มองที่ป่าครับ คุณจะเห็นความรัก ที่สวยงามกว่า เป็นแบบอย่างความรักที่ นิรันดร์ เป็นความรักที่ธรรมชาติมอบให้ ไม่ทวงคืน ไม่ยึดครอง มีแต่แบ่งปันไม่รู้ จบ รั ก แท้ ต ่ อ สิ่ ง ใดเกิ ด ขึ้ น แล้ ว ย่ อ มไม่ เปลี่ยนไปครับ แต่หากวันนี้เรายังอ่อนไหว ในความรักของเรา ...นั่นไม่แท้ ! และเป็น ตั ณ หา ราคะ และตรรกะอย่ า งสามั ญ มนุษย์ หากเราเดินสู่ป่า สู่ธรรมชาติอันยิ่ง ใหญ่ แต่หัวใจเพียงสามัญแบบมนุษย์ ไม่ ได้คิดดัดแปลงเลียนแบบในด้านดีเหล่านี้ คืออุปสรรคของคนเดินป่าที่แท้จริง อย่ า งที่ เ กริ่ น ไว้ แม้ ผ มจะมี ค วาม รักมาฝากแต่ก็อาจจะยากที่จะเข้าใจได้ และก็อยู่ที่หลายท่านมองเห็นมันหรือไม่ สามัญเพียงมนุษย์อาจไม่ได้กลิ่น แต่ทว่า เมื่อใดที่ท่านสนใจในวิถีของป่า ความจริง ในเหล่านี้จะประจักษ์แจ้งต่อตัวเราเอง ........................................ ด้ ว ยเจตนาที่ อ ยากจะถ่ า ยทอด วิ ถี แ ห่ ง ป่ า และหลั ก การด� ำ รงชี วิ ต แบบ กลมกลืนกับธรรมชาติ จึงโปรดติดตาม มุ ม มองชี วิ ต ผ่ า นป่ า ดงพงไพร เรี ย นรู ้ ภูมิปัญญาแบบพราน แบ่งปันและแลก เปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันในบทความ “แชร์จากป่ามาแบ่งปัน” ในบท ต่อๆ ไปครับ ด้วยจิตคารวะ !

เป็นบ้านเป็นสวนเป็นป่าที่เพิ่งเปิดได้ไม่นาน มีการรวบรวมพันธ์ุไม้ผล ไม้ป่า ไม้ดอก ไม้พื้นเมือง ที่หายากมาไว้ในพื้นที่ บุคคลภายนอกสามารถไปเยี่ยมชม เพื่อศึกษาเป็นความรู้ความเพลิดเพลิน หรือไปบันทึกภาพมุมสวยได้ทุกวัน บ้านอุทยานฯ จะมีกิจกรรมครั้งแรกโดยจัดเปิดบ้าน มีการจัดนิทรรศการภาพถ่าย ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน นี้ ไปเยี่ยมชมกันได้ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไปครับ


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นภสร มีบุญ

ไม่ ท� ำ ลายต้ น ไม้ ไ ด้ ก็ ต ้ อ งช่ ว ยกั น ช่ ว ยกั น สร้างสมดุลทางธรรมชาติได้ก็ต้องช่วยกัน แบบเอาจริงเอาจัง เพื่อสังคมรุ่นลูกรุ่นหลาน ของพวกเราทุ ก คนนะคะ..อากาศร้ อ นๆ แบบนี้ เ ดิ น ทางกั น ไกลหน่ อ ย ล้ อ หมุ น ไป หาอ้อมอกของธรรมชาติเพื่อไปสูดอากาศ ริมทะเล ต้อนรับกิจกรรมดีดี ที่กลับมาให้ สัมผัสปีละครั้ง กับงาน “ขนอม เฟสติวัล ๒๐๑๔” ดนตรีดีดีริมหาดทรายขาวเนียน สวย สลับกับเสียงคลื่นระลอกแล้วระลอก เล่ า เคล้ า สายลมที่ พั ด ผ่ า น และหมู ่ ด าว ระยิบระยับสุดสายตา แหม..แค่หลับตาคิด ก็ พ าให้ ชื่ น ใจได้ ใ นทั น ที อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค วาม บันเทิงสนุกสนานบนเวทีใหญ่อลังการที่จัด ลั่ลล้า ฉบับนี้ขอกล่าวค�ำว่าสวัสดี.. เต็มในปีนี้ โดยศิลปินชื่อดังมากมาย เช่น รั บ ลมร้ อนกั บ พระอาทิตย์ดวงเดิม Mordern Dog, Srubb, Lula, Joe-Kong, ที่ยังคงขยันส่งแสงจ้ามาทักทายกันทุกวัน ..ไปไหนมาไหนก็ จ ะมี ค นส่ ง เสี ย งกระซิ บ ว่า ท�ำไมอากาศถึงได้ร้อนขนาดนี้ นั่นสินะ.. ปกติ ห น้ า ร้ อ นของคนใต้ ใ นอดี ต ที่ ผ ่ า นมา ก็ ยั ง ไม่ ร ้ อ นแบบนี้ ..ส่ ง ความปรารถนาดี บอกกล่าวกันด้วยความเป็นห่วงกับสภาพ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เรา คงต้องตระหนักกันให้มากๆ แล้วล่ะค่ะว่า ธรรมชาติ และความสมดุลที่ถูกเราท�ำลาย ด้วยความตั้งใจ หรือ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ .. ผลจากการกระท� ำ เหล่ า นั้ น ท� ำ ให้ เ ราต้ อ ง รับผลมาจนถึงทุกวันนี้กับความเปลี่ยนแปร ของธรรมชาติ ที่ ร� ำ พึ ง ร� ำ พั น กั น มาหลาย บรรทัด ก็แค่อยากจะบอกว่าถึงเวลาแล้ว ที่เราทุกคนต้องช่วยกันคนละไม้คนละมือ ช่วยกันปลูกต้นไม้ได้ก็ช่วยกันปลูก ช่วยกัน

โอ

Etc., Palmy, Lipta, A of Pongsak, PP Project ส่งตรงมาให้แบบเต็มรูปแบบถึง สองคืน ในระหว่างคืนวันศุกร์ที่ ๔ - วันเสาร์ ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ นี้ ราคาบัตร เพียงแค่ ๗๐๐ บาท ซื้อบัตรล่วงหน้าเข้าฟรี ได้เลยส�ำหรับสองคืน (บัตรมีจ�ำนวนจ�ำกัด ค่ะพลาดแล้วคุณจะเสียใจ) เหล่ า สาวกในวงการท่ อ งเที่ ย วแอบ กระซิบมาว่าตอนนี้เท่าที่ทราบมายอดจอง ห้องพักแต่ละที่ก็แทบจะไม่มีให้ซิกแซ็กกัน แล้ว..บอกได้เลยค่ะว่างานแบบนี้ต้องวาง แผนการท่องเที่ยวกันเอาไว้ล่วงหน้าจริงๆ เพราะ อ.ขนอม ดี๊ ดี ของเราชาว เมืองคอน ถ้าเดินทางมาแล้วไม่ว่าจะเป็น แหล่งท่องเที่ยว Unseen ที่คุณผู้อ่านบาง ท่านอาจจะยังไม่เคยได้มาเที่ยวชม โฆษณา ได้เลยว่าของดีเรามีเยอะ .. ส� ำ หรั บ ท่ า น ที่ชอบนั่งเรือชมธรรมชาติแ ละน�้ ำ ทะเล .. ทะเลขนอม สีสวย น�้ำใส เล่นได้ไม่รู้เบื่อ หากอยากนั่งเรือชมทิวทัศน์ และปลาโลมา สีชมพู สามารถซื้อทัวร์ท่องเที่ยวทางทะเล

ได้ ต ่ า งหาก สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละจุ ด ขายของ ทะเลขนอม ก็ ต ้ อ งไม่ พ ลาดสามารถจอง เรือน�ำชมได้ตั้งแต่เช้าจรดเย็นค่ะ แล้วก็ยัง สามารถเติ ม เต็ ม ด้ ว ยการเพิ่ ม สิ ริ ม งคลให้ กับชีวิต ด้วยการแวะกราบนมัสการหลวงปู่ ทวดองค์ใหญ่กลางทะเลขนอม แถมด้วย การนั่ ง เรื อ ชมเขาพั บ ผ้ า , แหลมประทั บ , บ่ อ น�้ ำ จื ด กลางทะเล และวิ ถี ชี วิ ต ชาวเล ของคนอ�ำเภอขนอมเอ่ยมาแค่นี้ก็คุ้มสุดคุ้ม ส�ำหรับการเดินทางครั้งนี้ อย่าลืมแว่นตา, หมวกใบสวย และครีมกันแดดด้วยนะคะ ด้วยรักและห่วงใย แล้วมา พบกันในงานนะคะ .. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

ทั้งโรงแรมที่พักและบัตรเข้าชมงานได้ที่ สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวนครศรีธรรมราช โทร. ๐๘-๐๒๓๓-๓๓๒๒ ชมรมธุรกิจท่องเที่ยวขนอม โทร. ๐๘-๑๐๘๗-๖๐๐๑ ฝ่ายการตลาด นสพ.รักบ้านเกิด โทร. ๐๘-๑๖๐๗-๔๓๕๗

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

เมื่อต้นเดือนนี้ พวกเราได้มีการหารือ เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ ไ ด้ ร ่ ว มกั น ท� ำ มาในเมื อ งนคร เมื่ อ ๒๙ ปี ที่ แ ล้ ว คื อ สวนสร้ า งสรรค์ นาคร-บวรรัตน์ ที่ท�ำในลักษณะคณะบุคคล ร่วมกันจัดตั้งเพื่อด�ำเนินกิจการเพื่อสังคม ในลั ก ษณะ Social Enterprise ตั้ ง แต่ ปราสาทมัตสึโมโต้ และ เมืองโบราณทากายาม่า ประเทศญี่ปุ่น

ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ โดยมีวัตถุประสงค์ หลักในด้านส่งเสริมการเรียนรู้ ริเริ่มสร้างสรรค์ ด้ า นการศึ ก ษา วรรณกรรม ศิ ล ปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ศาสนา ตลอด จนการพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น เป็ น ล� ำ ดั บ มา โดยมีสวนหนังสือ นาคร - บวรรัตน์ เป็น กิจหลักตั้งแต่ต้น ประสบความส�ำเร็จลุล่วง นานัปการ ก�ำลังจะครบรอบ ๓๐ ปี ในวัน ที่ ๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๘ ที่จะถึง แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่าง มากมายในระยะ ๒๙ ปี ที่ ผ ่ า นมา เฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ภาระหน้ า ที่ ข องคณะผู ้ ก ่ อ ตั้ ง และ ด� ำ เนิ น การ โดยเฉพาะผมเองที่ มี กิ จ ธุ ร ะ

ต่ า งๆ มากมาย ตั้ ง แต่ ก ารเข้ า รั บ ภาระการ จั ด ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ร ะหว่ า งปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๕ - ๒๕๔๕ ต่ อ ด้ ว ย การจั ด ตั้ ง และด� ำ เนิ น การหอจดหมายเหตุ พุ ท ธทาส อิ น ทปั ญ โญ ตั้ ง แต่ อ อกจาก วลั ย ลั ก ษณ์ ม าถึ ง ปั จ จุ บั น ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการอ่าน กลไก การตลาด และพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ ก� ำ ลั ง มี ก ารปรั บ ตั ว ด้ ว ยการพั ฒ นาใหม่ ๆ จนเห็ น ว่ า สมควรมี ก ารปรั บ ปรุ ง กิ จ การด้ ว ย การพักการด�ำเนินกิจการสวนหนังสือ นาคร - บวรรัตน์ไว้ระยะหนึ่งตั้งแต่เดือนมิถุนายน นี้เป็นต้นไป โดยจะเร่งพิจารณาในการด�ำเนิน

กิจการต่างๆ โดยเร็วต่อไป และได้ทยอยแจ้ง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นล�ำดับมา ส่วนจะขยับ ขยายอย่างไร เป็นอะไรนั้น หากท่านมีข้อคิด ค�ำแนะน�ำกรุณาแจ้งได้ทุกเมื่อนะครับ. ทั้งนี้อาจหมายรวมถึงการขยับปรับปรุง “บวรบาซาร์ ” ที่ ห ยุ ด อยู ่ กั บ ที่ ม าพอสมควร เช่นเดียวกับ “สวนธรรมรักษา ปันตวัน” ที่ ยวนแหล แม้กระทั่งที่ “บ้านบวรรัตน์” ข้าง วั ด ศรี ท วี โดยใคร่ ข อบอกให้ ท ราบอี ก อย่ า ง หนึ่งที่ผมได้มีส่วนร่วมการขับเคลื่อนพัฒนา เมื อ งนครอยู ่ บ ้ า ง คื อ การเชื้ อ เชิ ญ กลุ ่ ม เซ็ น ทรั ล มาลงทุ น พั ฒ นาสร้ า งศู น ย์ ก ารค้ า ที่ หัวถนนที่คาดว่าน่าจะน�ำพัฒนาการต่างๆ สู่

เมืองนครเป็นระลอกส�ำคัญ พร้อมกับการ เชื้ อเชิญอีก กิจการในนครลงทุน ที่ ถนนทาง ไปปากนคร ให้เมืองนครของเราขยับใหญ่ อย่างไม่กระจุกตัวจนเกินไป หลังจากถนน พัฒนาการคูขวางนั้นแน่นไปหมดแล้ว. ส�ำหรับที่ญี่ปุ่น ผมพบหลายสิ่งที่เกี่ยว เนื่ อ งถึ ง เมื อ งนคร เช่ น หมู ่ บ ้ า นและเมื อ ง ท่ อ งที่ ย วที่ น ่ า ท� ำ คี รี ว งและเมื อ งนครให้ เป็น กับแผนที่โบราณที่ระบุเมืองนครไว้ด้วย แล้วจะน�ำมาเล่าคราวต่อไปนะครับ. ๒๐ พค.๕๗


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.