หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดนครศรีธรรมราช

Page 1

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

˹éÒ ò ˹éÒ ó

นายสุทัศน์ พูลเสน

นายสมบูรณ์ ขลุกเอียด

นายก อบต. หัวไทร สมบูรณ์ ขลุกเอียด อดีตนายก สุทัศน์ พูลเสน พร้อมชาวบ้าน ต.หัวไทร อ.หัวไทร จ.นครศรีฯ สืบทอด ประเพณี ‘สมโภชขวัญข้าว’ ของชาวนา ต.หัวไทรอย่างยิ่งใหญ่ พิชัย บุณยเกียรติ นายก อบจ. ควักกระเป๋าร่วมบุญ ๑๐,๐๐๐ บาท

˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ

เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวไทร อ.หัวไทร จ.นครศรีฯ น�ำโดยนายสมบูรณ์ ขลุกเอียด นายก อบต.หัวไทร นายสุ ทั ศ น์ พู ล เสน อดี ต นายก อบต.หั ว ไทร คณะกรรมการวั ด ออก (บ้านศาลาแก้ว) ร่วมกับชาวบ้าน ต.หัวไทร >> อ่านต่อหน้า ๘

˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓

รายงาน ปธ.ธนาคารต้นไม้เมืองนครบอก ปีนี้เกษตรกรปลูกพริกขี้หนูได้ ราคา ไม่ต้องขนไปเทหน้าศาลากลางเหมือนปี ๒๕๕๕ ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗ นายจารึก ชูเพ็ชร

เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ นายจารึก ชูเพ็ชร ประธาน ธนาคารต้นไม้จังหวัดนครศรีธรรมราช เกษตรกรชาว ต.แหลม อ.หัวไทร จ.นครศรีฯ กล่าวกับ ‘รักบ้านเกิด’ ที่ไปเยี่ยมชมการเก็บ >> อ่านต่อหน้า ๙ พริกขี้หนู ว่าปีนี้ตนปลูกพริกขี้หนูพันธุ์


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

เวลานี้ ชาวนครยังไม่ทราบแน่ชัดว่าจะมีผู้สมัคร รับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวนกี่คน แต่ที่ขึ้นป้ายเปิดเผยตัวชัดเจนมีเพียง ๓ คน ได้แก่ นายพิชัย บุณยเกียรติ นายก อบจ. คนปัจจุบัน นาย นนทิวรรธน์ นนทภักดิ์ ทีมเพื่อนครฯ ทันสมัย นายมาโนช เสนพงศ์ ทีมพลังเมืองนคร ที่เคยส่งนายตรีพล เจาะจิตต์ ยังไม่เคลื่อนไหว กลุ่มนครภิวัฒน์ ก�ำลังออกพบล้อมวงคุย ประชาชน แต่ยังไม่เปิดเผยว่าจะส่งใครลงสมัคร ขณะนี้ นายพิชัย บุณยเกียรติ อยู่ในฐานะได้เปรียบ เพราะอาศัยกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่นายก อบจ. สร้าง ความนิยมไปในตัว เช่น จัดคอนเสิร์ตต่อต้านยาเสพติด, การ ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาในสังกัด หรือเป็นประธานเปิดงาน ต่างๆ ที่ อบจ.สนับสนุน เพียงระมัดระวังการใช้งบประมาณ ซึ่งเป็นภาษีของประชาชนให้ชอบธรรมเท่านั้น นายนนทิ ว รรธน์ นนทภั ก ดิ์ ขึ้ น ป้ า ยเสนอตั ว เข้ า ไป บริ ห าร อบจ. ตามสี่ แ ยกส�ำคัญ ๆ และย่านชุม ชนตอกย�้ำ เจตนารมณ์ ดั้ ง เดิ ม ตลอดจนเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทางสั ง คม อาสาแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน และสร้าง กระแสให้เกิดการจดจ�ำในสื่อสังคมออนไลน์ภายในท้องถิ่น นายมาโนช เสนพงศ์ รองนายกเทศมนตรี น คร นครศรี ธ รรมราช ใช้ บ ทบาทหน้ า ที่ เ สนอตั ว ต่ อ ประชาชน พร้อมขึ้นป้ายขนาดใหญ่ตามสี่แยกส�ำคัญๆ และย่านชุมชน อาศัยเครือข่ายที่เหนียวแน่นของนายเทพไท เสนพงศ์ ส.ส. นครศรีฯ เขต ๖ และนายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรี นครนครศรีฯ เป็นฐานคะแนน กลุ ่ ม นครภิ วั ฒ น์ ที่ มี น ายสิ ริ วั ฒ น์ ไกรสิ น ธุ ์ สมาชิ ก วุฒิสภาเป็นผู้น�ำ เดินสายล้อมวงคุยกับชาวบ้านเพื่อรับฟัง ปัญหาและความต้องการของชาวบ้านทั้ง ๒๓ อ�ำเภอ มา ประมวลเพื่อก�ำหนดวิสัยทัศน์ การล้อมวงคุยบางพื้นที่อาศัย กลุ่มเยาวชนที่ มูลนิธิพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนฯ จังหวัด นครศรีธรรมราช ที่นายสิริวัฒน์ ไกรสินธุ์ บ่มเพาะมาตลอด ๖-๗ ปี เป็นแกนสนับสนุน การล้อมวงคุยค่อยๆ สะสมฐาน คะแนน แต่ยังไม่ระบุว่าจะส่งใครลงสมัคร นพ.อิสระ หัสดินทร์ ปธ.กรรมการบริหาร รพ.นครพัฒน์ อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคไทยรักไทย, นายเกรียงศักดิ์ ภู่พันธ์ตระกูล (โกก้าว) ทีมพัฒนานคร อดีตผู้สมัครปี ๒๕๕๓ นพ.สุทิน จริตงาม อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคไทยรักไทย และ อีกหลายคนยังไม่ประกาศตัว ชาวนครคาดหวังว่าจะได้นายก อบจ.ที่เป็นคนดีและมีความสามารถเข้ามาบริหารท้องถิ่นให้ เจริญก้าวหน้า

มื่อ ๔ - ๕๐ ปีก่อน หากใครผ่านไปที่พระธาตุ เป็นต้อง โดยได้ แ สดงทั ศ นะทางธรรมอย่ า งลุ ่ ม ลึ ก ที่ เ ชื่ อ ว่ า พบกับ “ลุงเหรก” หรือ “ดิเรก พรตตะเสน” ปู่ครูคน ส� ำ คั ญ ของพระธาตุ แ ละเมื อ งนคร เหมื อ นกั บ ทุ ก วั น นี้ ที่ ขณะนี้ท่านรองฯ ได้ตาม “ย่า” “ถึงความวิมุติ” และ “สู่ มี “น้าเหลิม” ที่ถือไมค์ท�ำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้วัดอยู่ ทางสงบ” สมตามที่ท่านเขียนไว้ตอนหนึ่งว่า อย่างคงเส้นคงวามานับสิบปี “จึงว่าวัฏฏะแห่งสงสาร บันดาลคนให้วนว่ายไม่สิ้นสุด มี ลู ก หลานลุ ง เหรกอยู ่ ค น ปล่อยกายใจให้หลุดจากบ่วงกรรม หนึ่ ง ที่ มี ร กรากอยู ่ ย ่ า นหน้ า วั ด กี่คนหนอที่จะถึงความวิมุติ คือการปล่อยใจว่างสู่ทางสงบ คือการมุ่งนอบนบพระศาสนา และเติ บ โตวิ่ ง เล่ น อยู ่ เ พี ย งเดิ น คือการย่าที่ได้ท�ำประจ�ำแล้ว” ข้ามถนนด�ำ จนเกือบจะได้เป็น คือการบุญสุนทานที่ผ่านมา เจ้าเมือง แต่ได้วางชีวิตไว้ที่ ๕๖ ปี เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ที่ผ่านมา เมื่อไปปฏิบัติหน้าที่รอง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา แล้วถูกวางระเบิด เพิ่งจะผ่าน การพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายนที่ผ่านมา ในหนั ง สื อ ที่ ร ะลึ ก ที่ ห มดทั น ที ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม แจก แล้วมีผู้ปรารถนาดีช่วยเสาะหามาให้นั้น มีกลอนสุภาพ “บ้านคุณย่า” ขนาด ๑๐๓ บท ที่ “โต” หรือ “รองฯ อิศรา ทองธวัช” เริ่มเขียนตั้งแต่เดือนกันยายน ๒๕๓๒ กว่า จะเสร็จใน ๑๓ ปีต่อมา เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๔๕ ซึ่ง นอกจากคุ ณ ค่ า สารพั ด ในบทประพั น ธ์ นี้ ทั้ งเรื่ อ งแง่ คิ ด วิถีชีวิต สายสัมพันธ์เครือญาติ แต่ที่ผมอยากชวนซึมซับ “ความเป็นพระธาตุเมืองนคร” เมื่อหลายสิบปีก่อน จาก มุมมองของเด็กหน้าวัดคนนี้ที่มีค่าไม่น้อย ขอคัดมาให้ อ่านในนครดอนพระฉบับนี้ เพื่อระลึกถึงพระธาตุเมื่อก่อน และ รองอิศรา เด็กหน้าพระคนหนึ่ง ซึ่งแสดงถึงวิถีของ คนนครที่หน้าพระธาตุยามเช้าว่า “เมื่อฟ้ารุ่ง รุ้งแสงอโณทัย เรืองเรื่อยอดสีทองผ่องตระการ ที่บ้านย่า ที่”บ้านหน้าพระธาตุ” หวังสุข อิ่มเอิบจีรัง ย่าลุกขึ้นหุงข้าวแต่ตีสี่ บางวันมีกับข้าวใส่พร้อมกัน

นกกาบินขวักไขว่ขับประสาน ภิกขุภิกขาจารละลานตา ย่าตักบาตรสืบมาแต่หนหลัง หวังยัง รั้งไว้ประเพณี เมื่อข้าวสุกได้ที่ ก็ใส่ขัน บางวันนั้นผลไม้หลากหลายไป”

ในคืนวันนั้น ผมได้แวะไปอ�ำลา “โต” ที่ถือว่าเป็นสหชาติกัน เกิดเดือน ปี เ ดี ย วกั น ห่ า งกั น เพี ย งไม่ กี่ วั น คุ ้ น เคยกันตั้งแต่รุ่นพ่อแม่ เพื่อพิจารณา เป็ น มรณอนุ ส ติ ที่ พ ระพุ ท ธองค์ >> อ่านต่อหน้า ๙ ทรงย�้ำเตือน


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร มเป็ น พิ ธี ก รรายการ ‘รู ้ ร อบเรื่ อ ง ไฟฟ้ า ’ แพร่ ภ าพทาง สทท. ๑๑ นครศรี ธ รรมราช มาตั้ ง แต่ เ ดื อ นเมษายน ๒๕๕๖ เนื้ อ หาสาระบางตอนก็ พ อดู ไ ด้ เรื่องนี้ผมไม่กล้าบอกใคร และไม่น�ำมากล่าว ณ ที่นี้ เกรงว่าหนังสือพิมพ์จะถูกรังเกียจ กระทั่งวันหนึ่ง ขณะเดินในร้านหนังสือ ที่กรุงเทพฯ ผู้ใหญ่ที่เคารพท่านหนึ่งโทร.หา “ผมเห็นคุณในโทรทัศน์ รายการที่คุณท�ำ น่าสนใจมาก” ผมตอบไปว่า “ผมเพิ่งกลับ จากญี่ปุ่นไม่ได้อยู่บ้าน... กฟผ. เชิญไปดู โรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น กั บ คณะของรั ฐ มนตรี กระทรวงพลังงาน” ผมไม่ได้เล่าเรียนทางด้านไฟฟ้า และ ไม่ จ บสาขาอะไรเลย แค่ อ ่ า นหนั ง สื อ และ ฝึ ก เขี ย นหนั ง สื อ มาตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๑๗-๑๘ เป็ น ผู ้ สื่ อ ข่ า วหนั ง สื อ พิ ม พ์ ประจ� ำ กองบรรณาธิการนิตยสารหลายฉบับ จัดรายการ วิทยุทางคลื่นผู้จัดการปี ๒๕๓๘ เขียนเรื่อง สั้นราวๆ ๒๓๐ เรื่อง นิยายพออ่านได้ ๓ - ๔ เรื่อง ผมเรียนรู้และรับฟัง สนใจสิ่งไหนก็ ถามและหาโอกาสไปดู นั บ แต่ ป ี ๒๕๕๓ จนถึ ง ๑๓ - ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ผมตระเวนดูโรงไฟฟ้า

รมว.กระทรวงพลังงาน พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ให้สัมภาษณ์ที่โรงไฟฟ้าอิโซโกะ

ผมตอบ “ใช่ครับ” แต่เกรงใจ เลยไม่ได้ ต่อท้ายด้วยประโยค “ถ้าไปดูของเลวๆ ไปดู ให้เสียเงินภาษีประชาชนท�ำไม” ผมเชื่อว่า--เวลาข้าราชการไปดูงานต่าง ประเทศ ร้อยละเก้าสิบเก้าเขาก็ไปดูของดีๆ ตัวอย่างดีๆ กันทั้งนั้น ดูเป็นแบบอย่าง ดูเพื่อ เรียนรู้ เพื่อน�ำมาปรับใช้ ดูเพื่อตัดสินใจว่าจะ ยอมรับหรือปฏิเสธ ยกเว้น พวกย้ายที่เล่นไพ่ ซึ่งมีของดีก็ไม่สนใจดู คณะที่ ไ ปญี่ ปุ ่ น พร้ อ มผมเที่ ย วนี้ ประกอบด้วย กรรณิกา วิริยะกุล บก.ข่าว ไทย โพสต์, ณ กาฬ เลาหวิไลย รอง บก.บห. กลุ่ม โพสต์ทูเดย์, ชุติมา นิ่มสุวรรณสิน บก.อาวุโส

คณะจากประเทศไทยรับฟังข้อมูลโรงไฟฟ้าเฮกินัน ณ ห้องรับรอง เทศบาลเฮกินันเทศบาลเฮกินัน

ไม่ต�่ำกว่า ๓๐ โรง ดูทุกประเภท ยกเว้น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ดูในประเทศ และต่าง ประเทศที่มาเลเซีย เยอรมัน ฝรั่งเศส และ ญี่ปุ่น ๒ ครั้ง ได้รู้ได้เห็นพอสมควร คนดีๆ กัน มักพูดประชดคล้ายๆ กันว่า “เขาก็ให้ ดูแต่ของดีๆ”

ช่างภาพกรุงเทพธุรกิจ, ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล ผู้จัดรายการข่าว Voice TV, ชลิต กิติญาณทรัพย์ ผอ.การตลาด มติชน, โอฬาร สุขเกษม คอลัมนิสต์ฐานเศรษฐกิจ, เล็ก เกตุกาญจน์ โมเดิร์นไนน์ทีวี, อมรกาญจน์ กองกล้า ช่างภาพโมเดิ ร ์ น ไนน์ ที วี , สุ ริ ส า ศรี กุ ล ทรั พ ย์ บก.ข่าวเศรษฐกิจ TPBS, ธวัชชัย ขจรวานิชไพบูลย์ ผู้สื่อข่าวไทยรัฐ, ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม เลขาธิ ก ารส� ำ นั ก งานศาลปกครอง, ชาชิ วั ฒ น์ ศรี แ ก้ ว ตุ ล าการศาลปกครอง, ผศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา อาจารย์คณะสิ่งแวดล้อม ม.มหิดล, ผศ.ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ รองคณะบดีคณะประมง ม.เกษตรศาสตร์,

อัญชลี ชวนิชย์ ปธ.คณะกรรมการ กฟผ.มอบของที่ระลึก แก่มาซาโนบุ เนกิตะ นายกเทศมนตรีเมืองเฮกินัน

เดลินิวส์, พัชระ สารพิมพา ผอ.สถานีวิทยุ FM 100.5 MHz., ประภัทร์ ศรลัมพ์ ผู้จัดการ รายการทางสถานี วิ ท ยุ FM 102.0 MHz. , สั น ติ วิ ริ ย ะรั ง สฤษฏ์ คอลั ม นิ ส ต์ ไทยรั ฐ , เฉลา กาญจนา บก.บห.กรุ ง เทพธุ ร กิ จ , คเชนทร์ คัมภีร์ ช่างภาพ TPBS, ฐาน พึ่งโพธิ์

ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน พลังงาน, ศรีสุวรรณ จรรยา นายกสมาคม ต่อต้านสภาวะโลกร้อน, ปริญญา ศิริสารการ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, อเนก นา คะบุตร ประธานมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา ฯลฯ ไม่นับผู้ติดตามของรัฐมนตรี ผู้บริหาร

หน้า ๓

และเจ้าหน้าที่จาก กฟผ. ซึ่งนับว่าหลาก หลายมาก แล้วไม่มีใครมาก�ำกับว่าเราต้อง เห็นเหมือนกันทุกประการ รายการ ‘รู้รอบเรื่องไฟฟ้า’ แพร่ภาพ ตอนแรกพู ด เรื่ อ งการเล่ า เรี ย นวิ ช าช่ า ง ไฟฟ้าในสถาบันอาชีวะ ซึ่งตลาดงานจะอยู่ ในหน่วยงานราชการ เช่น การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตฯ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, การไฟฟ้า นครหลวง, โรงงานอุตสาหกรรม, บริษัท ก่อสร้าง, เหมืองแร่ และช่างไฟฟ้าประจ�ำ โรงแรมหรือคอนโดฯ ขนาดใหญ่ หรือลงทุน ตั้ ง ร้ า นไดนาโม คงมี ไ ม่ กี่ ค นที่ อ อกมาท� ำ เกษตรอินทรีย์ ผมอยากบอกว่า รัฐ จ�ำเป็นต้อ งผลิต ผู้มีความรู้ความสามารถทุกประเภท เพื่อ ดูแลประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัย ผม เชื่อว่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรมจะช่วย พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเกิดการ สร้างงานต�ำแหน่งต่างๆ ให้เยาวชนที่จบ จากวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยปีละหลาย แสนคน ผมยอมรับอุตสาหกรรม แต่ชิงชัง อุตสาหกรรมที่เอาเปรียบสังคมและชุมชน ผมไปเยี่ยมชมกังหนลมผลิตกระแส ไฟฟ้ า ที่ ส ทิ ง พระ เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ปั จ จั ย หลักๆ ในการก่อสร้างกังหันลม ทั้งความ เร็วลม ผลกระทบ เทคนิคการก่อสร้าง การ ควบคุมดูแลการผลิตกระแสไฟ อุปสรรค ข้อจ�ำกัดต่างๆ และการจัดสรรประโยชน์ แก่ ชุ ม ชนที่ กั ง หั น ลมตั้ ง อยู ่ ต่ อ มาพาไปดู โรงไฟฟ้าพลังน�้ำคลองล�ำปลอก ที่ย่านตาขาว เพื่อเรียนรู้ประโยชน์ของล�ำธารและ น�้ ำ ตก บอกกล่ า วแก่ ผู ้ ช มว่ า ถ้ า ยั ง มี ก าร ลักลอบตัดไม้ท�ำลายป่าก็ไม่ต้องฝันถึงโรง ไฟฟ้าพลังน�้ำอีกต่อไป การสร้างสายส่งผ่าน บ้านเรือนและเรือกสวนของประชาชน ถ้า ปราศจากความเข้าใจและการเสียสละเพื่อ ส่วนรวมก็อย่าหวังว่ากระแสไฟฟ้าจะเดิน ออกไปสู่บ้านเรือนได้ ถึงแม้ไฟฟ้าพลังน�้ำจะ สะอาดเพียงไรก็ตาม ไฟฟ้ า ดั บ ทั่ ว ภาคใต้ เมื่ อ คื น วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ถ้าความโกรธเกรี้ยว ทุเลาเบาบาง ขอให้กลับไปทบทวนความ รู้สึกที่แท้จริง ณ เวลานั้น แล้วบวกลบดู ว่ า ชี วิ ต ท่ า นต้ อ งการไฟฟ้ า มากหรื อ น้ อ ย เพียงไร ชมรายการ ‘รู้รอบเรื่องไฟฟ้า’ ทุกวัน เสาร์ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.


หน้า ๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๖ วาริน ชิณวงศ์ ได้รับความไว้ วางใจจากสมาชิกให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีฯ ต่อจาก บุญทวี ริเริ่มสุนทร ที่ขึ้นแท่นเป็นประธาน กิ ต ติ มศั กดิ์ วาริ น ชิ ณ วงศ์ กุ มวิ สั ย ทั ศ น์ พัฒ นา การค้ า ท้ องถิ่ น ให้ เข้ มแข็ งสามารถรั บ มื อกั บ ทุ น ส่ ว นกลาง และทุนต่างชาติที่ทะลักเข้าสู่เมืองนคร งานส�ำคัญหลังรับ ต�ำแหน่งคือหาแนวทางฟื้นฟูศักยภาพของปากพนังให้คลัง น�้ำมัน ปตท. กลับมาด�ำเนินการได้ ซึ่งท�ำให้การขนส่งน�้ำมัน ไปยังสถานีบริการสะดวกรวดเร็วและประหยัด ร่วม มือกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ ๑๐) และสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีฯ จัดอบรม เชิงปฎิบัติการ หลักสูตร ‘Business Roadmap : เปิดแนว รุกบุก AEC’ ระหว่าง ๒๓-๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เพื่อ สร้ า งความตระหนั ก และความรู ้ ค วามเข้ า ใจถึ ง ผลกระทบ จากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการจัดท�ำ แผนธุรกิจทั้งเชิงรุกและเชิงรับ มีสมาชิกและผู้ประกอบการ SMEs กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมอบรมประมาณ ๒๐๐ คน

ดือนมิถุนายนนี้ จะมีกิจกรรมกีฬาวิ่งมาราธอน ระดับ ประเทศเกิ ด ขึ้ น ที่ นครศรี ธ รรมราช คื อ “ลานสกา มาราธอน” ผมเป็นแฟนพันธุแ์ ท้ของสนามนี้ จะเข้าร่วมวิง่ ทุกครัง้ ทีจ่ ดั มาทัง้ ๘ ครัง้ “ลานสกามาราธอน” เคยได้รบั การโหวตจากบรรดานักวิ่งทั่วประเทศสมัยที่รองผู้ว่าอิศรา ทองธวัช ท่านเป็นนายอ�ำเภอทีน่ นั่ การออกก�ำลังกายเป็นสิ่งส�ำคัญล�ำดับต้นๆ ของการ ดูแลสุขภาพ หลังจากโดนไวรัสเล่นงานจนเจียนอยูเ่ จียนไป ผมจะถูกเพื่อนฝูงสอบถามเรื่องสุขภาพมากที่สุด พักหลัง นี้จึงถูกจัดตารางการปฏิบัติตัว การอยู่ การกิน ค่อนข้าง เข้มงวดจากคนรอบข้าง ดีหน่อยทีส่ มัยหนุม่ ๆ เป็นนักกีฬา มาก่อน เคยถูกจัดระเบียบการกินอยูอ่ ย่างเคร่งครัด จึงถือ เป็นเรือ่ งปกติไป ช่วงนีผ้ มต้องปฏิบตั ติ วั ให้เข้ากับสูตรยอด ฮิตคือ ๕ อ. คือ ๑. อาหาร ต้องลดเนื้อสัตว์ใหญ่ทั้งไก่ทั้งหมู คง เหลือแต่พวกปลา ผัก ผลไม้ตา่ งๆ ก็ตอ้ งเลือกปลอดสารพิษ โชคดีที่บ้านผมปลูกผักพื้นบ้าน ผักริมรั้วไว้กินเองมากมาย อยู่ ส่วนทีเ่ หลือก็มาใช้ในร้านค้าในเครือกันต่อ ๒. อากาศ สังคมเมืองดูจะล�ำบากหน่อย เมืองนคร เราตัง้ อยูบ่ นสันทราย มีแนวยาวขนานไปกับทะเลและภูเขา จึงมีผลกระทบไม่มากนัก ผิดกับบางเมือง ฝุ่นละอองและ มลพิษยากที่จะหลีก อยู่ในห้องแอร์ก็คืออยู่ในห้องอากาศ เป็นพิษแช่เย็น ผมอยู่อ�ำเภอลานสกา ถือว่าเป็นเมืองที่ อากาศดีทสี่ ดุ ของประเทศ ๓. ออกก�ำลังกาย ข้อนี้คนสอบตกกันมาก บ้าน เราจะขี่จักรยานไปท�ำงานอย่างฝรั่งไม่ได้ อากาศก็ร้อน อันตรายจากรถก็มมี าก ทางเดินเท้า ผูค้ นก็ขายของเต็มไป หมด ต้องเดินบนถนนคู่ไปกับรถ สถานที่ออกก�ำลังกาย

แม้มีอยู่ เมื่อเทียบกับจ�ำนวนประชากร ถือว่าน้อยมาก และรัฐหรือท้องถิ่นให้ความส�ำคัญต�่ำเกินไป ให้ดูพุงของ เหล่าผู้บริหารและพุงของประชาชนส่วนใหญ่ว่าจะผ่าน มาตรฐานสุขภาพดีหรือไม่ ๔. อารมณ์ ชีวิตที่ต้องแข่งขัน ต้องรีบเร่ง ก่อให้ เกิดความเคร่งเครียดได้ตลอดเวลา วิทยุมีแต่โฆษณา รถ แห่โฆษณาเต็มเมือง โหมกระหน�่ำ ป้ายโฆษณาเต็มเมือง ภาพผู้น�ำท้องถิ่นติดหรายิ้มแฉ่งอยู่ทุกโรงเรียน ทุกสถาน ที่ราชการ กวนอารมณ์พิลึก สื่อโทรทัศน์ทุกช่อง โทรศัพท์ มือถือ และเครื่องมืออิเลคโทรนิคทุกอย่างไม่ยอมให้เราได้ สงบจิต สงบใจกันเลย ไม่ได้พกั ผ่อนจริง วัดวาอารามทีจ่ ะ มีการฝึกสมาธิ ฝึกวิปสั สนาก็มนี อ้ ย เรีย่ ไรหาเงินสร้างวัตถุ มีมากกว่า ทีส่ งบจริงมีนอ้ ย ๕. เอาออก การขับถ่ายดีไม่มตี วั อ. ใช้เอาออกแทน หากระบบการขับถ่ายดีก็ต้องกินอาหารดี ออกก�ำลังกายดี มันถึงจะดีได้ เดีย๋ วนีต้ อ้ งใช้ยาสมุนไพรต่างๆ มากมายแทน การกินอาหาร มีการท�ำสปา สวนล้างสารพิษ ล้วนแต่ต้อง เสียเงินเสียทองกันทัง้ นัน้ วั น นี้ ผ มจึ ง ชั ก ชวนให้ ล องมาปรั บ ปรุ ง สุ ข ภาพกั น หน่อย ในช่วงทีเ่ ขาจะจัดให้มกี จิ กรรม >> อ่านต่อหน้า ๑๐

อารยา สารคุณ (รองเลขาธิการ), ยุทธกิจ มานะจิตต์ (ประธาน สภาอุ ต สาหกรรมนครศรี ฯ ), สนธยา สกุ ล ลาวั ณ ย์ (ศภ.๑๐ กสอ.), วาริน ชิณวงศ์ (ประธานหอการค้านครศรีฯ), อภิชาติ แก้วสุวรรณ (ปฎิคมหอการค้านครศรีฯ), บุญทวี ริเริ่มสุนทร (ประธานกิตติมศักดิ์หอการค้านครศรีฯ)

ค�่ ำ วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เกิ ด ไฟฟ้ า ดั บ ทั้ ง ๑๔ จั ง หวั ด ภาคใต้ สื่ อ ออนไลน์ แ สดงความเห็ น กั น ทะลั ก รมว.พลั ง งาน พงษ์ ศั ก ดิ์ รั ก ตพงศ์ ไ พศาล ถู ก สาปแช่ ง อย่ า งหนั ก เพราะเคยพู ด ด้ ว ยอารมณ์ ว ่ า ถ้ า สร้ า งโรงไฟฟ้ า ในภาคใต้ ไ ม่ ไ ด้ ก็ ใ ห้ รั บ ผิ ด ชอบกั น เอง... ๑๓-๑๗ พฤษภาคม จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร บก.ที่ปรึกษา ‘รักบ้านเกิด’ ได้รับเชิญให้ร่วมคณะ รมว.พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ไปดูโรงไฟฟ้าถ่านหินเฮกินันที่เมืองนาโงย่ากับโรงไฟ ฟ้าอิโซโกะที่โยโกฮามา รมว.พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล กล่าว ในที่ประชุมว่ามีนโยบายให้ กฟผ. น�ำคณะบุคคลไปดูโรงไฟฟ้า ให้ได้ ๑,๐๐๐ คน ดูในประเทศ ๕๐๐ คน ต่างประเทศ ๕๐๐ คน


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ห น ้ า ที่ โดยตรงในการ เสนอชื่ อ และผล งานของศิ ล ปิ น เ พื่ อ พิ จ า ร ณ า เป็ น ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ เป็ น ของ อาจารย์แนบ ทิชินพงศ์ รศ.วิมล ด�ำศรี ส� ำ นั ก งานวั ฒ นด้วยเรือขนาดเล็ก ท่าเรือจะมีเครื่องดูดถ่านหินจากเรือผ่าน ธรรมจั ง หวั ด แต่ เ มื่ อ หน่ ว ยงานที่ มี ห น้ า ที่ โ ดยตรงไม่ ข ยั บ ท่ อ ไปเก็ บ ไว้ ใ นไซโลที่ โ รงไฟฟ้ า อี ก ทอด ไปดู ม าแล้ ว ก็ ต ้ อ ง สถาบั น อุ ด มศึ กษาในท้ องถิ่ น ซึ่ งมี สิ ท ธิ ใ นการเสนอรายชื่ อ ยอมรั บ ว่ า เป็ น โรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ที่ ส ะอาดจริ ง ๆ ไม่ มี ก ลิ่ น และผลงานของศิลปินได้เช่นกัน รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี​ี และฝุ่นกระทบจมูกเลย ไม่เหมือนโรงแรก (เฮกินัน) ไม่ว่า ม.ราชภัฏนครศรีฯ จึงรับเป็นธุระจัดท�ำข้อมูลของ อาจารย์ ประเทศไทยจะมีโอกาสได้สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือไม่ก็ตาม แนบ ทิชินพงศ์ เพื่อส่งเข้าพิจารณาเป็นศิลปินแห่งชาติ กลุ่ม แต่โรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาดอิโซโกะ จะเป็นต้นแบบของโรง วิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม สิ่งแรกที่ ‘อาจารย์แนบ’ อายุ ไฟฟ้าถ่านหินทวายในพม่า และโรงไฟฟ้าถ่านหินเกาะกงใน ๙๐ ปี ต้องท�ำคือย้อนระลึกถึงผลงานชิ้นโดดเด่น ๓๐ ชิ้น กัมพูชาแน่นอน ในอนาคตอันไม่ไกล” พร้อมอธิบายแนวความคิดในการสร้างสรรค์กับเทคนิคเพื่อ แสดงให้ เ ห็ น พั ฒ นาการ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ วัด แล้ ว ท� ำ เป็ น สื่ อ โดยเข้ า ทุ่งเฟื้อ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลสวนหลวง อรุณ แก้วเล่ ม ๑ ชุ ด , วี ซี ดี ห รื อ ช่ ว ย รองนายก อบต.สวนหลวง สุ ภ าพั น ธ์ ดีวิดี ๑ แผ่น, เพาเวอร์นาคแป้ น ปลัด อบต. พร้อมเจ้าหน้าที่ร่วม พ้ อ ยท์ หรื อ วี ดิ ทั ศ น์ ๑ กิจกรรมโครงการเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม เพื่อ แผ่ น , วี ซี ดี หรื อ ดี วี ดี เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับประชาชนในการเข้าไป ประกอบท�ำเป็นไฟล์ jpg ท�ำบุญในวัดทุกวันพระ เกิดความสงบสุข ความ ๑ แผ่ น ไม่ ใ ช่ ง านง่ า ยๆ ร่มเย็นทั้งในด้านสุขภาพและจิตใจ หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบจึ ง บ่ า ยเบี่ ย งเหมื อ นไม่ ใ ช่ ธุระ โรงไฟฟ้าอิโซโกะ

บน : รมว.พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล กับคณะบนดาดฟ้าของโรง ไฟฟ้าอิโฃโกะ, ล่าง : ที่โรงไฟฟ้าเฮกินัน

อุทัย ภูริพงศธร พลังงานจังหวัดนครศรีฯ เล่าว่าหลัง เหตุการณ์ไฟฟ้าดับ ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ให้ความสนใจ เรื่องความมั่นคงของพลังงานไฟฟ้าและความจ�ำเป็นในการ สร้างโรงไฟฟ้าเพิ่ม เชื่อว่าอีกไม่นานจะมีคณะจากบ้านเราเดิน ทางไปเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าอิโซโกะที่โยโกฮามา ‘ลม เปลี่ยนทิศ’ คอลัมนิสต์ของไทยรัฐที่ร่วมคณะ ไปดูโรงไฟฟ้าเขียนไว้เมื่อ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ “โรงไฟฟ้า อิโซโกะเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินที่อยู่ในเมืองโยโกฮามา เครื่อง ผลิตไฟฟ้าเครื่องที่ ๒ เพิ่งเปิดการผลิตเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๒ เขาคุ ย ว่ า เป็ น โรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ที่ ส ะอาดและทั น สมัยที่สุด เพราะเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินแบบปิด มีอาคารปิด โรงไฟฟ้าทั้งหมดจนดูเหมือนตึกสูงทั่วไป แม้แต่ปล่องไฟก็ สร้างอาคารปิดไว้เหมือนทาวเวอร์ ตัวตึกทาสีฟ้าเขียวสดใส สะอาดตา ดูไม่ออกว่าเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหิน มีระบบก�ำจัด เขม่า ฝุ่น ก�ำมะถัน และจุดตรวจควันพิษในปล่องไฟ ส่วนที่ เก็บถ่านหินก็มี ‘ไซโลถ่านหิน’ เหมือนไซโลข้าวเปลือก เพื่อ เก็บถ่านหินแบบปิดไม่ให้คนเห็นแยกจากโรงไฟฟ้า ที่โรงไฟฟ้า จะมีท่าเรือเล็กๆ เพื่อขนถ่านหินจากไซโลไปป้อนโรงไฟฟ้า

ห้ า งเพชรทอง ซี กวง โดย ธิ ติ - ปาลิ ก า ตระกู ล เมฆี ร่ ว มแสดงความยิ น ดี กั บ คู ่ วิ ว าห์ แ สนหวาน ระหว่าง คุณอทิตยา ทองชัย และ คุณนพดล ชั ย ทอง เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ที่ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค นครศรีธรรมราช วั น ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ นครดี ซี จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ณ ร้านนครดีซี In the park ถนนพัฒนาการ คู ข วาง มี ผู ้ ใ จบุ ญ เข้ า ร่ ว มบริ จ าคคั บ คั่ ง ได้ รั บ ความสุขและความภาคภูมิใจกันถ้วนหน้า

วัน ที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ บรรจง ชี ว ะพั น ธ ศักดิ์ (โกจ้อง) กรรมการบริหาร บริษัทฮอนด้าศรีนครจ�ำกัด จัดกิจกรรมคาราวานเติมน�้ำมันฟรี ณ ฮอนด้าศรีนคร (ท่า เรียน) เพื่อคืนก�ำไรให้แก่ชาวฮอนด้าเวฟ พร้อมกับเปิดตัว รถจักรยานยนต์ฮอนด้าเวฟสีใหม่ รับโปรโมชั่นพิเศษ ซื้อ ฮอนด้าเวฟ ๑๑๐ ดาวน์ ๐ บาท ออกรถเพียง ๔๙๙ บาท จนถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคมนี้ เท่านั้น พิเศษ ลูกค้าเก่าชวนเพื่อน มาออกรถรับทันทีของที่ระลึกหรือเงินสมนาคุณ ๕๐๐ บาท... ฮอนด้าเวฟ ทนทาน ประหยัดคุ้ม กว่า ๑๐ ล้านผู้ใช้ยืนยัน


หน้า ๖

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นนสะพานยาวอยู่ฟากตะวันตกของตลาดท่าวัง นับ เอาสุดปลายรางรถไฟหรือวัดศรีทวีเป็นหมุดหมาย จากสะพานข้ามคลองเป็นต้นไป ก่อนนี้เป็นทุ่งนากว้าง ใหญ่ปลูกข้าวเลี้ยงเมืองนครสมัยโบราณ ชื่อ ‘ทุ่งปรัง’ เมื่อเมืองขยายตัวเติบโต ที่นาถูกถมสร้างหมู่บ้านและ อาคารพาณิชย์ ปัจจุบันนาลึกตรงคุ้งคลองคอนโดมิเนียม หรูชื่อ ‘ภัสสรสิริ’ ก�ำลังก่อสร้างอย่างรีบเร่ง นาลึกและ

ป่ า ละเมาะปลายสะพานฝั ่ ง ‘บ้านนอกไร่’ ถูกถมสูง แทนที่ ด้วยอาคารพาณิชย์สีส้มจับตา ด้ า นหลั ง มี โ รงแรมขนาด ๖๖

ห้อง รูปทรงสวยงามทาสีส้ม ชื่อ ‘ช่อลดา’ เพิ่งก่อสร้าง แล้วเสร็จและประกอบพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ คณิต ลีลาอุดม ผู้จัดการโรงแรมช่อลดา ทายาท ของตั้งช่อ - ลัดดาวรรณ แซ่ลี้ เจ้าของโรงแรมอุดม เยื้องๆ สถานีรถไฟ เปิดเผยกับ ‘รักบ้านเกิด’ ว่าเขาน�ำ พยางค์ท้ายชื่อพ่อ แล้วลดรูปชื่อแม่ น�ำมารวมกันเป็น ‘ช่อลดา’ ฟังแล้วรู้สึกถึงความงดงาม อ่อนหวาน เต็มไป ด้วยสีสัน คณิตเกิดที่ร้านอุดมภัณฑ์ ร้านขายเสื้อผ้า รองเท้า และของช�ำเยื้องๆ สถานีรถไฟ เมื่อคู่แข่งมากร้านเลิก กิจการหันมาสร้างโรงแรมอุดม คณิตเรียนชั้นประถมที่ โรงเรียนชูศิลป์วิทยา (ภายในวัดบูรณาราม) เข้ามัธยมต้น ที่ เ บญจมราชู ทิ ศ ปวช.สาขาสถาปั ตยกรรมที่ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ภาคใต้ (สงขลา) แล้ ว ไปต่ อ ปวส.สาขาเดิ ม ที่ วิ ท ยาลั ย อุ เ ทนถวาย บิ น ไปเรี ย นต่ อ สาขาเดิ ม ที่ San Carlos บนเกาะชิ บู ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ แต่ ย ้ า ยตาม เพื่อนๆ ไปจบปริญญาตรี สาขาสถาปัตยกรรมที่ University Northern of Philippines กลั บ เมื อ งไทยมาเป็ น ลู ก จ้ า งของบริ ษั ท Design Phase ย้ายไป Uthoplan บริษัทรับก่อสร้างบ้าน จาก นั้ น จึ ง ย้ า ยมาอยู ่ กั บ บริ ษั ท พั ฒ นาอสั ง หาริ มทรั พ ย์ ใ หญ่ ชื่ อ ‘แสนสิ ริ ’ ได้ ค วบคุ ม งาน โครงการแสนสราญที่หัวหิน คณิ ต กลั บ บ้ า นเกิ ด ปี ๒๕๔๖ “พ่อซื้อที่ดินที่สะพาน ยาวไว้ก่อนแล้ว ผมไม่รู้ว่าซื้อ เมื่อไหร่ แปลงหนึ่ง ๔ ไร่ อีก แปลงที่อยู่ด้านหลัง ๖ ไร่ ราคา ตอนนั้ น ตกไร่ ล ะเกื อ บล้ า น บาท” คณิ ต ถมดิ น แล้ ว สร้ า ง อาคารพาณิชย์ด้านติดถนนขายหมดอย่างรวดเร็ว จาก นั้นจึงลงมือสร้างโรงแรมบนเนื้อที่ประมาณ ๓.๕ ไร่ “ผม ออกแบบเองทั้ ง หมด อาศั ย ประสบการณ์ ที่ เ คยอยู ่ กั บ แสนสิริและที่ที่เคยอยู่มาก่อน ผมอยากให้แตกต่างออกไป เลือกสีที่สดใส...ผมชอบสีส้ม..โรงแรมมี ๖๖ ห้อง ตกแต่ง เหมือนกันหมดทั้งเตียงเดี่ยวเตียงคู่ ผมใช้ทุนราว ๖๐ ล้าน บาท” ช่อลดามีมุมรับประทานอาหาร แต่ยังไม่มีห้องจัด เลี้ยง คณิตก�ำลังคิดและตัดสินใจว่าจะสร้างห้องจัดเลี้ยง บนที่ดิน ๖ ไร่แปลงถัดไปดีหรือไม่ “ผมก�ำลังคิดครับ มีคน ถามว่าท�ำไมไม่สร้างห้องอาหารขนาดใหญ่ เพราะที่ตั้งอยู่ ชานเมืองมีทางเข้าออกสามทาง” คณิตตั้งใจให้ช่อลดาเป็นโรงแรมปลอดบุหรี่ ถึงแม้ จะติดป้ายเตือน แต่ลูกค้าก็ยังสูบ เพื่อลดทอนความขุ่น ข้ อ งหมองใจ เขาก� ำ ลั ง ออกแบบมุ ม สู บ บุ ห รี่ ที่ ส วยงาม เหมาะส�ำหรับผู้นิยมควันบุหรี่ แม้เพิ่งเปิดบริการโรงแรมช่อลดาก็มีลูกค้าใช้บริการ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะเชลส์แมน และซูเปอร์ไวเซอร์ ของบริษัทต่างๆ ลูกค้าขาจรก็เพิ่มขึ้น


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

บทเรียนจากความล้มเหลว

สอนให้ผมรู้จักการมองตัวเองมากขึ้น (๒)

บั บ ที่ แ ล้ ว ผมเขี ย นถึ ง ทั ศ นคติ เ ชิ ง บวกกั บ ความเชื่ อ ว่ า เราไม่ มี ท าง เปลี่ยนอนาคตให้ดีขึ้น ถ้าเราไม่เต็มใจที่ จะท�ำบางสิ่งบางอย่างใหม่ๆ และเสี่ยงที่ จะท�ำความผิดจากการเรียนรู้สิ่งนั้น ผม สรุปสั้นๆ ให้เห็นจากฉบับที่แล้วคือ ๑. พาตัวเองเข้าไปอยู่ในกลุ่มคนที่ คิดบวก ๒. ฝึ ก ฝนตนเองด้ ว ยการเรี ย นรู ้ อย่างต่อเนื่องและมีวินัยในการลงมือท�ำ ๓. ฝึกให้มองกลับมาที่ตนเอง ด้วย ความเชื่อตนเป็นต้นเหตุของความส�ำเร็จ ๔. มี ค วามเชื่ อ ว่ า คนส� ำ เร็ จ กั บ คน ล้มเหลวต่างกันตรงที่ “ความล้มเหลว ไม่มี มีแต่ล้มเลิก” ๕. คนส�ำเร็จมีความเชื่อว่าตนเป็น ส่วนหนึ่งขององค์กร-ของทีม มีค�ำพูดหนึ่งที่ดีมาก “ค� ำ ถามที่ ดี น�ำ ไปสู่ค� ำ ตอบแห่ ง ความส�ำเร็จ” ผม จ�ำไม่ได้ว่าใครพูดแต่พออ่านหลายเที่ยว แล้ ว กลั บ มาตั้ ง ค� ำ ถามกั บ ตั ว เองตลอด เวลา ตื่ น ขึ้ น มาก็ มี ค� ำ ถามจะท� ำ อะไร ดี-ใส่เสื้อผ้าสีอะไร? ไปท�ำงานหรือไปกิน น�้ำชาก่อน แต่ละวันเราจะมีค�ำถามและ ค� ำ ตอบให้ ตั ว เองทุ ก วั น แต่ สิ่ ง ส� ำ คั ญ ในชี วิ ต ของเราคื อ ค� ำ ถามที่ ว ่ า “เรา ออกแบบชีวิตตัวเองไว้อย่างไร” แต่เรา ไม่เคยตั้งค�ำถามว่าวันนี้เราได้ออกแบบ ชี วิ ต แล้ ว หรื อ ยั ง มั น ดี พ อกั บ ชี วิ ต เรา หรือไม่? เป้า-หมายความฝันในชีวิตเรา เป็นอย่างที่เราอยากได้ อยากมี หรือ แค่ต้องได้ก็พอแล้ว ผมมาส�ำรวจตัวเอง พบว่าวันนี้ผมอายุ ๖๐ ปี ท�ำงานหนักมา ทั้งชีวิตกับเวลาที่เหลืออยู่ ตอบได้อย่าง เต็มภาคภูมิว่าผมมัวแต่ไปออกแบบให้กับ ธุรกิจคนอื่นๆ รับจ้างออกแบบชีวิตธุรกิจ ให้กับนายจ้าง ท�ำงานหนักรับค่าจ้างที่ สู ง พอประมาณและคิ ด ว่ า นี่ คื อ ความ ส�ำเร็จ แต่พอถึงวันที่ต้องเกษียณหรือจะ ได้หยุดพักผ่อนกลับเจอวิกฤติครั้งใหญ่ที่ ไม่เคยคาดไว้ต้องแบกรับภาระหนี้สินที่ ไปค�้ำประกันธุรกิจคนอื่นๆ ไว้ในจ�ำนวนที่ มากมาย เกือบ ๕๐๐ ล้าน เจอวิกฤติครั้ง นี้ท�ำให้สุขภาพก็ย�่ำแย่เพราะต้องเดินทาง เดือนหนึ่งไม่ต�่ำกว่า ๑ หมื่นกิโลเมตร ไป

“การตั้งค�ำถามที่ดี น�ำไปสู่ค�ำตอบแห่งความส�ำเร็จ” ผมพบความจริงว่าในอดีตที่ผ่านมา ผมไม่ได้ตั้งค�ำถามที่ดีในการออกแบบชีวิตตัวเอง ผลลัพธ์มันจึงต้องเป็นเช่นนี้ คือผมล้มเหลว มีทางเลือกเหลืออยู่ไม่มากกับเวลาที่เหลืออยู่ รับจ้างเป็นที่ปรึกษาธุรกิจต่างๆ ในภาค ใต้ หลายบริษัทฯ แม้นวันนี้ผมได้จ่ายหนี้ ทั้งหมดไปเรียบร้อยแล้ว แต่ในช่วง ๓-๔ ปีที่ผ่านมานี้ท�ำให้ผมหันกลับมามองตัว เองมากขึ้น เรียนรู้ที่จะน�ำความล้มเหลว ผิ ด พลาดของตนเองมาปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี คิด วิธีท�ำใหม่ๆ ผมมีความสุขที่ไม่เคย คิดว่าเป็นความผิดของใคร แต่เป็นบท เรียนครั้งใหญ่ในชีวิตที่ท�ำให้ผมกลับมา เรียนรู้วางแผน แก้ปัญหาชีวิตตัวเอง ทั้ง ที่ในอดีตผมไม่เคยคิดเรื่องนี้มาก่อน และ เฉกเช่นเดียวกันก็มีคนส่วนใหญ่ในอาชีพ ลูกจ้างทั่วไปที่พวกเขาก็ไม่ได้ออกแบบ ชีวิตไว้เหมือนกัน สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ ตลาดทุ น ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ร่ ว มกั บ สถาบันวิจัย เพื่ อ การประเมิ นและออกแบบนโยบาย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้ส�ำรวจการเตรียมความพร้อมส�ำหรับ วางแผนทางการเงินเพื่อวัยเกษียนของ กลุ่มแรงงานในระบบช่วงอายุ ๔๐-๖๐ ปี ใน กทม. และปริมณฑล พบว่าคนวัยนี้ วางแผนออมเงินใช้ในวัยเกษียณผิดพลาด ๑. เริ่มวางแผนช้าเกินควร มีเพียง ๓๘% ที่วางแผนและได้ท�ำตามแผน ๒. มั่นใจมากเกินควร ๗๑% ไม่เคย วางแผน คิดว่าหลังเกษียนคงเหมือนเดิม หรือดีกว่า ๓. วางแผนโดยขาดความรู้-ความ เข้าใจในเรื่องการเงิน ๔. การประมาณค่ า ใช้ จ ่ า ยหลั ง เกษียณต�่ำเกินไป ๕. ประมาณอายุขัยเฉลี่ยน้อยเกิน ไป

๖. ออมเงินไว้น้อยเกินไป ๗. ผู้ที่ต้องเกษียณก่อนก�ำหนด มี เงินไม่เพียงพอส�ำหรับวัยเกษียณ แม้นจะไม่มีการส�ำรวจในขอบเขต ทั่วประเทศ แต่ก็น่าจะเป็นสัญญาณเตือน ให้กับผู้ที่อยู่ในอาชีพลูกจ้างได้ว่าอนาคต ในวัยเกษียณจะเป็นเช่นไร? กลับมาที่ “การตั้งค�ำถามที่ดี น�ำ ไปสู่ค�ำตอบแห่งความส�ำเร็จ” ผมพบ ความจริงว่าในอดีตที่ผ่านมาผมไม่ได้ตั้ง ค� ำ ถามที่ ดี ใ นการออกแบบชี วิ ต ตั ว เอง ผลลัพธ์มันจึงต้องเป็นเช่นนี้ คือผมล้ม เหลว มีทางเลือกเหลืออยู่ไม่มากกับเวลา ที่เหลืออยู่ ผมกลับมาตั้งค�ำถามกับตัว เองใหม่ ว่าผมอยากมี อยากได้อะไร? กับชีวิตที่เหลืออยู่ ผมจะเอาเป้าหมาย เป็นตัวตั้งแล้วลากเส้นมาสู่วิธีการคิด การกระท� ำ ว่ า ต้ อ งท� ำ อย่ า งไร? ผมไป หาคนส� ำ เร็ จ ศึ ก ษาเรี ย นรู ้ แ ละเปลี่ ย น

ความคิดตัวเองอย่างเขา ท�ำอย่างพวก เขาท�ำ ต่อสู้กับความคิดเดิมๆ ความเคย ชิ น เดิ ม ๆ ผมต้ อ งแยกแยะสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง กับสิ่งที่ถูกใจ จะท�ำในสิ่งที่ถูกต้องและ ไปสู่ผลลัพธ์แม้นจะไม่ถูกใจและไม่ชอบ ที่จะท�ำก็ต้องฝึกฝนท�ำซ�้ำๆ จนคุ้นชินกับ มัน เพราะผมเชื่อว่าเราไม่อาจจะไปโทษ ใครได้ ไม่ว่าจะเป็นระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมที่เป็นไปไม่ได้เลยกับลูกจ้างที่จะ ร�่ำรวยมากกว่านายจ้าง เป็นไปไม่ได้เลย ที่ ผู ้ ป ระกอบการขนาดเล็ ก จะสามารถ สร้างรายได้ให้มั่งคั่งอย่างผู้ประกอบการ ขนาดใหญ่ แต่ถ้าเราอยู่ในโลกของเกม แลกเปลี่ยน เราต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับมัน ให้ได้ต่างหาก โทษคนอื่นๆ โทษปัจจัย ภายนอกก็ไม่ได้ท�ำให้เป้าหมายชีวิตเราดี ขึ้น ขอแต่เรา FOCUS ที่เป้าหมายแล้ว ลงมือท�ำอย่างที่คนส�ำเร็จเขาท�ำ เราก็ จะบรรลุเป้าหมายที่เราต้องการ จริงอยู่ เป้าหมายแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน แต่ ถ้าเราสามารถท�ำได้และส�ำเร็จตามเป้า หมายคือการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ก็น่า จะเพียงพอต่อการเกิดมาบนโลกใบนี้ นายไพโรจน์ เพชรคง PAIROTPETKONG784@GMAIL.COM

๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

พร้ อ มใจกั น จั ด งานสื บ ทอดประเพณี สมโภชขวัญข้าว ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ที่วัด ออก ม.๓ ต.หัวไทร จ.นครศรีฯ ชาวบ้าน ไปร่วมงานไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ คน ก่ อ นงานประเพณี จ ะเริ่ ม คณะ กรรมการวัดออกได้ถมที่ดินเตรียมจัดงาน เตรี ย มสถานที่ จ อดรถมี อพปร. ประจ� ำ ต�ำบลอ�ำนวยความสะดวก ฝ่ายกิจกรรม ซ่อมแซมสังเวียนชนวัวชนประจ�ำหมู่บ้าน ให้แข็งแรงมั่นคง ตอนเช้าชาวบ้านจะน�ำ (กระ) ‘เฌอ ข้ า ว’ สานด้ ว ยไม้ ไ ผ่ ห รื อ กะละมั ง มาลง

พระประธานประจ�ำวัดดอก

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

ทะเบี ย นกั บ คณะกรรมการ ภายในเฌอ ประกอบด้วย ข้าวเปลือก ๓ เลียง เขา วัว ข้าวสุก ของหวาน ของคาว ดอกไม้ ธูปเทียน ปลาสลาดมีหัวมีหาง ด้าย เข็ม และธนบัตรติดปลายธงทิว เวลาประมาณ ๙.๐๐ น. ชาวบ้านจ�ำนวนหนึ่งจะทูนเฌอ ข้าวที่ลงทะเบียนไปเข้าขบวนแห่น�ำขบวน ด้วยกลองยาว ขบวนแห่เริ่มต้นบนถนน คอนกรีตห่างจากประตูวัดประมาณ ๒๐๐ เมตร ชาวบ้ า นฟ้ อ นร� ำ น� ำ หน้ า เมื่ อ เข้ า ประตูวัดขบวนแห่รอบโรงธรรม ๓ รอบ แล้วน�ำเฌอมาวางบนโต๊ะที่จัดให้ ต่อจาก นั้นพราหมณ์เอื้อน เพ็ชรศรี จึงประกอบ พิ ธี เ ชิ ญ เทวดาและเชิ ญ แม่ โ พสพเทวี

นายชอบ เกลี้ยงเมือง

พราหมณ์เอื้อน เพ็ชรศรี

นายพิชัย บุณยเกียรติ ถ่ายรูปร่วมกับชาวบ้าน

แห่งข้าว ตามด้วยประเพณีสงฆ์ นายชอบ เกลี้ยงเมือง กล่าวกับ ‘รัก บ้านเกิด’ ว่า “ประเพณีสมโภชขวัญข้าวนี้ ท�ำมาตั้งแต่ปู่ย่าตาทวด ท�ำบุญให้ชาวบ้าน ได้มาชุมนุมพบปะกัน แล้วสิ่งที่ท�ำมาต่อ เนื่องหลังเสร็จพิธี คือ การชนวัว”

วัฒนธรรมให้ ๘๐,๐๐๐ บาท พร้อมจัด อาหารเลี้ยงผู้มาร่วมงาน ปีนี้เป็นขนมจีน กับน�้ำดื่มให้เพียงพอแก่คนที่มาร่วม” เวลาประมาณ ๑๐.๑๐ น. นายพิชัย บุ ณ ยเกี ย รติ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัดนครศรีฯ และคณะผู้ติดตามเดิน ทางไปถึ ง สมาชิ ก องค์ ก าร บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลและคณะ ผู้จัดงานให้การต้อนรับ เสร็จ พิ ธี ส งฆ์ น ายพิ ชั ย กล่ า วกั บ ชาวบ้ า นถึ ง การสนั บ สนุ น ชาวนาในพื้ น ที่ จากนั้ น จึ ง มอบเงิ น ส่ ว นตั ว ๑๐,๐๐๐ บ า ท ส ม ท บ ทุ น สื บ ท อ ด สนามชนวัว ประเพณี ส มโภชขวั ญ ข้ า ว ปั จ จุ บั น ต� ำ บลหั ว ไทรมี น าข้ า ว และถ่ายภาพร่วมกับชาวบ้าน ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ไร่ ชาวนารวมกลุ่ม นายสุทัศน์ พูลเสน กล่าวว่า ปัจจุบัน ท� ำ นา ๑๕ กลุ ่ ม ท� ำ นาน�้ ำ ตมปี ล ะ ๒-๔ กระบวนการท�ำนาเปลี่ยนไปจากสมัยก่อน ครั้ง ประเพณีสมโภชขวัญข้าวจะจัดหลัง มาก นาน�้ำตมใช้รถไถ หว่านเข้าก็ใช้เครื่อง เก็บเกี่ยว จักร เก็บข้าวก็ใช้รถเก็บ “ใช้รถเก็บได้ข้าว นายสุทัศน์ พูลเสน เล่าว่า ในพื้นที่ เป็นเมล็ด ไม่ได้ผูกเลียง ได้ข้าวแล้วน�ำไป ลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง สมั ย โบราณ ประเพณี ขายโรงสี ไม่ได้เก็บขึ้นยุ้งฉางหรือห้องข้าว สมโภชขวัญข้าวจัดกันแทบทุกวัด เพราะ เหมือนก่อน ชาวบ้านที่น�ำข้าวมาสมโภช ลุ่มน�้ำปากพนังมีความอุดมสมบูรณ์ เป็น คื อ คนที่ ไ ปเก็ บ ข้ า วด้ ว ยแกะ ชาวบ้ า น อู่ข้าวอู่น�้ำของภาคใต้ “อบต.หัวไทร เห็น เหล่ า นี้ จึ ง มี ข ้ า วเปลื อ กในรวงไว้ สื บ ทอด ความส�ำคัญของประเพณีนี้จึงจัดงานสืบ- ประเพณีและใช้เป็นข้าวปลูกปีต่อไป” สานอย่างจริงจังมาเป็นปีที่ ๑๓ จัดเพื่อ ในสนามชนวั ว เก่ า แก่ ห ่ า งจากวั ด ร� ำ ลึ ก พระคุ ณ ของแม่ โ พสพ ของข้ า วที่ ประมาณ ๕๐ เมตร มีนักเลงวัวชนไม่ต�่ำ หล่อเลี้ยงเรามา วันที่ก�ำหนดไว้แน่นอนตั้ง กว่า ๗๐๐-๘๐๐ คน ยืนเกาะสังเวียนและ แต่สมัยโบราณ คือ แรม ๑ ค�่ำ เดือน ๖” ยืนบนเก้าอี้ดูวัวต่อสู้กัน ซึ่งวันนี้มีวัวชนให้ เลียงข้าวห่อผ้าขาวในเฌอจะน�ำไป ดูและเล่นได้เสีย ๑๑ คู่ วางไว้บนเพิงหรือเรือนเก็บข้าวเพื่อเป็นสิริ ส�ำหรับวัดออก เป็นวัดเก่าแก่อายุไม่ มงคล เขาวัวในเฌอเป็นเครื่องร�ำลึกถึงวัว ต�่ำกว่า ๑๐๐ ปีและร้างมานาน หลวงพ่อ ที่เทียมไถ ปลาสลาดมีหัวหางครบแสดง วั ด ออกซึ่ ง เป็ น พระประธานประจ� ำ วั ด ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ตามต� ำ นานข้ า ว ก่ อ นนี้ ช าวบ้ า นประกอบพิ ธี ส วดมนต์ ข อ กล่าวว่า ปลาสลาดเป็นผู้ตามไปอ้อนวอน ขมาเพื่อน�ำไปประดิษฐาน ณ วัดอื่น ปรากฏ แม่โพสพที่หนีเพราะความโลภของมนุษย์ ว่ า แม้ จ ะเอารถมาลากก็ ไ ม่ ส ามารถโยก ไปให้กลับคืนสู่โลก ย้ายไปได้ ชาวบ้านเกิดความศรัทธาและ นายนายสมบูรณ์ ขลุกเอียด นายก เชื่อว่าศักดิ์สิทธิ์ ท่านคงต้องการอยู่ดูแล อบต.หัวไทร กล่าวยกย่องนายสุทัศน์ ว่า วัด วัดร้างจึงได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ เป็ น ผู ้ น� ำ สื บ ทอดประเพณี จ นมาถึ ง ตน มีพระภิกษุจ�ำพรรษา จนเป็นสถานที่พึ่ง “ผมจึงรับหน้าที่สืบต่อมาครับ ปีนี้ อบต. ทางจิ ต ใจ และประกอบพิ ธี ก รรมทาง จั ด งบประมาณส� ำ หรั บ สนั บ สนุ น ด้ า น ศาสนาจนถึงปัจจุบัน


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

รายงาน

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

<< ต่อจากหน้า ๑

ดวงมณีบนคันดินรวมพื้นที่ ๒ ไร่ โดยเช่าที่ดินของ น้า ค่าเช่าปีละ ๖๐๐ บาท โดยปลูกติดต่อกันเป็นปี ที่ ๖ ระหว่ า งร่ อ งพริ ก ตนปลู ก แตงกวาผสมผสาน กับพืชอื่นๆ ใช้ปุ๋ยเคมี ๑ ส่วน ปุ๋ยหมักกับปุ๋ยคอก ๒ ส่วน และสารละลายโปรตีนไหมไคโตซานเพื่อปรับ สภาพดิน ใช้เวลา ๒.๕ เดือน จึงสามารถเก็บพริก ขี้หนูครั้งแรกได้ต้นละประมาณ ๔๐๐ กรัม อีก ๑๕ วันต่อมาจึงเก็บครั้งที่ ๒ ได้ต้นละประมาณ ๖๐๐ ๗๐๐ กรัม โรคที่สร้างความเสียหายแก่พริกขี้หนูมาก ที่สุดคือโรคกุ้งแห้ง ซึ่งจะเกิดเป็นจุดไหม้ที่ดอก และ ต้นแห้งตายไปในทีสุด อีกโรคหนึ่งก็คือยอดเน่า ช่วง แรกเก็บพริกขี้หนูราคากิโลกรัมละ ๕๕ บาท ปัจจุบัน ลดลงเหลือ ๔๐ บาท ตนใช้ทุนประมาณ ๑๘,๐๐๐ บาท ชาวบ้าน ต.แหลมส่วนมากเป็นเกตรกรปลูกพริก ขี้หนู หลังเก็บในสวนของตัวเองก็วนเวียนไปเก็บสวน คนอื่นๆ วันนี้ตนจ่ายค่าจ้างกิโลกรัมละ ๑๐ บาท บาง คนเก็บได้วันละ ๓๐ กิโลกรัม นายจารึ ก เปิ ด เผยว่ า ใน อ.หั ว ไทร ที่ ดิ น ใน ต.แหลม ประมาณ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ใช้ปลูกพริกขี้หนู นอกจากนี้ ต.ควนชะลิก ต.บ้านท่าเตียน ต.ท่าซอม

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ วันเสาร์ที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๖ วันเสาร์ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ วันอาทิตย์ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๗ วันอาทิตย์ที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๗

ต.เขาพังไกร ต.ทรายขาว และ ต.บ้านท้ายโนด ก็เป็น แหล่งปลูกที่ส�ำคัญ พ่อค้ารับซื้อส่งไปยังตลาดหัวอิฐ มีเจ้าใหญ่อยู่ ๓ - ๔ ราย รับซื้อได้ทั้งหมดวันละ ๑๓ ๒๐ ตัน โดยไม่มีการผูกขาด ปี ๒๕๕๖ เกษตรกรปลู ก พริ ก ขี้ ห นู ล ดเหลื อ ประมาณ ๗๕ เปอร์เซ็นต์ สืบเนื่องมาจากปี ๒๕๕๕ พริ ก ราคาตกเหลื อ เพี ย ง ๘ บาท เกษตรกรที่ ป ลู ก พริกขี้หนู ๖ อ�ำเภอในเขตลุ่มน�้ำปากพนังประมาณ ๒,๕๐๐ คน ต้ อ งขนพริ ก ไปเททิ้ ง หน้ า ศาลากลาง จังหวัด เรียกร้องให้ทางราชการช่วยเหลือ “ปีนี้ถ้า ราคาอยู่ที่ ๔๐ บาทก็พออยู่กันได้ แต่ถ้าหล่นมาอยู่ ที่ ๓๐ - ๓๕ บาทก็อยู่ยาก” นายจารึก กล่าวเพิ่มเติมว่า ในฐานะประธาน ธนาคารต้ น ไม้ จั ง หวั ด นครศรี ฯ ตนพยายามจั ด หา พันธุ์ไม้ยืนต้นมาปลูกในสวนพริกเพื่อความร่มรื่นและ รักษาระบบนิเวศ เช่น ไม้ต�ำเสา สะตอใหญ่ และต้น เขลียง ทั้งชักชวนให้ชาวบ้านช่วยกันปลูก

<< ต่อจากหน้า ๒ เหล่าศิษย์เสมอๆ ได้ร่วมส่งโตที่เชิงตะกอนพร้อมกับ แหงนมองกลุ่มเถ้าละอองของ “ร่างโต” ที่ลอยล่องไป ทางพระธาตุ ชวนนึ ก ถึงกลอนอีกตอนของ “โต” ที่ชี้ ชวนชมนกเช้า “ชอบบินวนขอพรก่อนหากิน...เฉกเช่น คนเมืองคอน ไม่ว่ามา ว่าจร ต้องสักการ” “นกทั้งหลายชอบบินวนรอบองค์พระธาตุ บ้างบินสูงฉวัดเฉวียนวนเวียนไป เฉกเช่นคนที่ผ่านมาหน้าวัดนี้ เป็นศูนย์รวมจิตใจ “คนเมืองคอน”

นภากาศมากมายทั้งเล็กใหญ่ แลดูคล้ายมาขอพรก่อนหากิน ยกมือไหว้หนึ่งทีขอพรก่อน ไม่ว่ามา ว่าจร ต้องสักการ”

ลาพระแล้วไปดีนะครับ “รองอิศรา - โต” ของคน เมืองนคร. ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ข. ประเภทแนวคิด จ�ำแนกเป็น ๘ ประเด็น ดังนี้ ๑) แนวคิดที่ว่า “เงินมีความส�ำคัญในการด�ำรงชีวิต” ตามความหมายนี้ สังคมคนทั่วไปจะให้ความนับถือผู้ที่มีเงิน ทอง ๒) แนวคิดที่ว่า “การประกอบอาชีพของเกษตรกร ชาวไร่ชาวนา ที่ต้องถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง ไม่มีอ�ำนาจในการต่อรอง” ๓)แนวคิดที่ว่า “การรักษาความสมดุลของธรรมชาติ การรักษาป่าไม้ ต้นน�้ำ ล�ำธาร เป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องดูแลรักษา สืบไป” ๔) แนวคิดที่ว่า “ชีวิตมนุษย์ขึ้นอยู่กับผลแห่งกรรม” ตามความเชื่ อ ทางพระพุ ท ธศาสนากรรม คื อ ผลของการ กระท�ำ

เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ กับการส่งเสริมสืบสานศิลปะ การว่าเพลงบอกแก่เยาวชน

ชวนคชวดิ นคยุ << (ต่อจากหน้า ๔) การแข่งขันวิ่ง “ลานสกามาราธอน” เราก็ เข้าไปร่วมเป็นการเริ่มต้น ลองไปสมัครเดิน วิ่งฟันรันดู เพราะเดินก็ได้ วิ่งก็ดีระยะทาง เพียง ๓.๕ ก.ม. ส่วนผมฝึกซ้อมมาหลายวัน ร่างกายก็ดขี นึ้ กะว่าจะลงวิง่ “มินมิ าราธอน” ระยะทาง ๑๐.๕ ก.ม. ใช้เวลาสักชัว่ โมงกว่าๆ น่าจะวิ่งได้ ส่วนระยะทาง ๔๒.๑๙๕ ก.ม. เอาไว้ปีหน้า ปล่อยให้จอมอึดทั้งหลายเขาได้ ทดสอบความแข็งแกร่งกัน ลานสกาเป็นสนามวิ่งมาราธอนระดับ ประเทศ ได้รับการโหวตจากบรรดานักวิ่ง

ตอนที่ ๑๑ โปรดพิจารณาศึกษาตัวอย่างบางส�ำนวนดังนี้ หัวอกชาวนา นึกถึงหัวอกชาวนา นึกแล้วมันน่าสงสาร ทุกหมู่บ้านทุกชนบท ไม่มีความสดใส เช่นฤดูฝนต้องทนเย็น ทนกันน่าเห็นใจ เมื่อไปปักด�ำ ฤดูกาลท�ำนา ถึงแม้ปวดเอวเราก็ไม่คิด หวังจะได้ผลิตผล จะต้องเอาหลังต้านฝนอย่างทุเรศ เราทนความเสดสา เมื่อกินอาหารกันกลางวัน ก็ต้องกินบนคันนา หยุดกินข้าวปลาน้อยนิด กินทั้งตัวติดตม ถ้าถูกปีใดมีฝนน้อย รายได้เราพลอยร่อยหรอ จิตใจทดท้อทุกค�่ำคืน ชาวนาสุดขื่นขม แต่ถ้าฝนดีขึ้นปีใด ชาวนาใจหายตรม ได้เที่ยวเดินชมข้าวรวงรี ชาวนาเราดีใจ พอถึงคราวข้าวมันสุก ออกไปเดินบุกน�้ำค้าง ถึงจะเปียกทั่วร่างก็ไม่มีเบื่อ เปียกจนไม่เหลือไหร ถึงจะร้อนแดดแผดเปรี้ยง สักเพียงไหน ชาวนาเหงื่อไหลอาบคาง เหงื่อเพรื่อทั้งร่างกาย ทีหลังนึกมาน่าใจหาย ก�ำไรมันได้กับพ่อค้า เราขาดทุนเสียท่า ในตอนเวลาขาย เพราะว่าเราคนจนจะทนกัน มันไม่ทันลูกจ่าย จะทนไว้ขายรัฐบาล ต้องรอกันนานนิน เพราะพ่อค้าเป็นเจ้าของ ทั่วไปทุกท้องถิ่น ถ้าหันมาพูดเรื่องอาหาร ที่เราจะท�ำการซื้อไปกิน ข้าวของทุกชิ้นตามใจมัน มันจะปั่นเอาราคา เราเลี้ยงหมูหรือเป็ดไก่ ตอนเอาไปบอกขาย พ่อค้าคิดแล้วมันหัก ไม่หลุดค่าเรารักษา เราจะขายหมูขายเป็ดขายไก่ คุณให้เท่าใดราคา โอ้ชาวนาเราทุกคน ยังต้องจนนาน ฯลฯ

เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ (คนซ้ายสุด) กับลีลาการว่าเพลง บอกทอกช่วยการ

๕) แนวคิดที่ว่า “การศึกษาเป็นรากฐานส�ำคัญของ ชีวิต” วรรณกรรมเพลงบอก ของเพลงบอกสร้อย เสียง เสนาะ แสดงให้เห็นถึง ความส�ำคัญของการศึกษาว่า คนเรา ถ้ามีความรู้ มีการศึกษา ก็สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเอง ได้ และจะประสบความส�ำเร็จในการด�ำรงชีวิต ๖) แนวคิดที่ว่า “สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบัน สูงสุด ที่ยึดเหนี่ยวคนไทยให้มีความเป็นน�้ำหนึ่งเดียวกัน” ชาวไทยยกย่องเทิดทูนสถาบันกษัตริย์ ตั้งแต่โบราณกาลว่า เป็นสถาบันที่ส�ำคัญ ที่ท�ำให้มีความเป็นชาติมาจนทุกวันนี้ ๗) แนวคิดที่ว่า “การพัฒนาคนต้องพัฒนาจิตใจเป็น ส�ำคัญ ควบคู่ไปกับการพัฒนาวัตถุ” วรรณกรรมของเพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ แสดงให้เห็นว่าปัจจุบันมีการพัฒนา ด้านวัตถุ โดยไม่ได้มองเห็นความส�ำคัญในการพัฒนาด้าน จิตใจ ซึ่งเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ได้แสดงความเห็นให้ ทุกฝ่ายหันมาพัฒนาด้านจิตใจของคน ๘) แนวคิดที่ว่า “ความกตัญญู กตเวทีเป็นคุณสมบัติ ของวิญญูชน” ผู้ที่มีความกตัญญูกตเวที จะได้รับการยกย่อง จากสังคม ขณะเดียวกันผลจากความกตัญญูกตเวที จะท�ำให้ ผู้ประพฤติปฏิบัตินั้นประสบความสุขความเจริญด้วยดี แนวคิดเหล่านี้นอกจากจะเป็นแนวคิด ที่ไม่แปลกแยก ไปจากพื้นฐานความคิดของผู้คนในสังคมโดยทั่วไปแล้ว ยังมี ตัวอย่างพฤติกรรมที่ปรากฏอยู่จริงในวิถีชีวิตของผู้ฟังเพลง บอก ช่วยเสริมภาพลักษณ์ตามแนวคิดที่เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ น�ำมาเสนออย่างสอดคล้องต้องตามกับกาละ และเทศะ ด้วยลีลาที่หลากหลายอีกด้วย แนวคิดเหล่านี้ จึงเป็นปัจจัย และโอกาสที่ช่วยเกื้อกูลให้ผลงานของเพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ เป็นที่ “เจริญตา เจริญหูและจริญ จิตใจ” ของผู้ฟังทุกสังคมตลอดมา (อ่านต่อฉบับหน้า)

ทัว่ ไปในประเทศให้เป็นสนามวิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ อากาศดี อาหาร ที่เลี้ยงนักกีฬาดี สนามวิ่งในหุบเขาช้างสีก็สวยงาม ผู้คน ตลอดเส้นทางวิง่ ก็มอี ธั ยาศัยดีตอ้ นรับผูค้ นด้วยไมตรี หากสนใจเรื่องการดูแลสุขภาพ ไม่ต้องรอถึงปีใหม่ กลางปีกเ็ ริม่ ได้ คงครบทัง้ ๕ อ.นัน่ แหละ เริม่ ตัง้ แต่ ออก ก�ำลังกาย เดินวิ่งสัก ๓.๕ ก.ม.ก่อน แล้วกินอาหาร เขา จัดเลี้ยงผักกูด ผักเหลียง มันปู แกงส้ม คั่วกลิ้ง อุดมด้วย สมุนไพรพื้นบ้าน ชวนเพื่อนฝูงไปเดินร่วมกัน ได้เฮฮา อารมณ์กจ็ ะดี อากาศของลานสกาก็ไม่ตอ้ งห่วง เยีย่ มสุด ระดับประเทศ ยังแต่ข้อสุดท้ายนี่แหละ เลือกกินอาหาร ผัก ผลไม้ อาหารย่อยง่าย ดืม่ น�ำ้ เยอะๆ ๕ อ. ผ่านได้สบาย ผมจึ ง ขอเชิ ญ ชวน และช่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ เขาหน่อย เขาจัดกันในเดือนนี้ คือวันอาทิตย์ที่ ๒๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ตัง้ แต่เวลา ๐๖.๐๐ เช้าหน่อยอากาศ เย็นดี ที่ว่าการอ�ำเภอลานสกา นครศรีธรรมราช เพื่อ สุขภาพทีด่ ขี องเราทุกคนครับ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

บั บ ที่ แ ล้ ว ได้ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ งเมื อ งเก่ า ที่ เ ล่ า ขานกั น ว่าเป็นเมืองบริวารอาณาจักรของนครศรีธรรมราช ในช่ว งพุท ธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ (ราว พ.ศ. ๑๗๐๐๑๘๐๐) คื อ “เมื อ งบั น ไทยสมอ” (หรื อ บั น ทายสมอ) ซึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเป็ น เมื อ งกระบี่ บ ้ า ง สงขลาบ้ า ง ท่าชนะบ้าง และไชยาบ้าง ยังไม่สามารถสรุปได้ชัดเจน ด้ ว ยหลั ก ฐานทางโบราณคดี ที่ แ น่ น อน ส� ำ หรั บ ฉบั บ นี้ ใคร่ขอส�ำเนาเสนอเมืองเก่าที่เล่าขานอีกเมืองหนึ่ง คือ “เมืองสะอุเลา” “เมืองสะอุเลา” เป็นชื่อที่มีปรากฏอยู่ใน “ต�ำนาน เมื อ งนครศรี ธ รรมราช” และ “ต� ำ นานพระบรมธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช” เคยมีฐานะเป็นเมืองบริวารของ อาณาจักรนครศรีธรรมราชคู่กับเมืองบันไทยสมอ แต่เรา ก็ยังไม่สามารถชี้ชัดลงไปได้เช่นกันว่าปัจจุบันคือเมืองใด ท�ำได้ก็แต่เพียงสันนิษฐานเท่านั้น ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมือง “ท่ า ทองอุ แ ท” (หรื อ เมื อ งกาญจนดิ ษ ฐ์ ) ใน บทความ เรื่ อ ง “ท่ า ทองกาญจนดิ ษ ฐ์ ” ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารศรี วิ ชั ย ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ ประจ�ำเดือนมกราคม ๒๕๒๕ ใจความว่า “เมืองสะอุเลา คือเมืองท่าทองอุแทหรือเมืองกาญจนดิษฐ์ นั่นเอง และแสดงให้เราทราบว่าเมือสะอุเลาเป็นเมือง ท่ า ทองเก่ า หรื อ เป็ น ชื่ อ ดั้ ง เดิ ม เมื่ อ ยั ง ตั้ ง เมื อ งอยู ่ ท าง ตอนบนแม่น�้ำท่าทอง หรือบริเวณลุ่มน�้ำกะแดะ” ส่วนศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ สันนิษฐาน ว่ า น่ า จะเป็ น เมื อ ง “ลานสกา” ซึ่ ง ปรากฏในบทความ เรื่องเมือง “สิบสองนักษัตร” ในสารานุกรมวัฒนธรรม ภาคใต้ เล่ม ๗ หน้า ๒๘๕๗ - ๒๘๕๘ โดยให้เหตุผลว่า

ในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราชได้กล่าวว่า “แลในเมือง นครดอนพระนั้นผีร้ายไข้ห่าลง คนตายมากนักหนา และ คนทั้ ง หลายก็ ห นี อ อกจากเมื อ งดอนพระเข้ า ในเขา แล กล่าวโดยสรุป “เมืองสะอุเลา” ตามทางสันนิษฐาน พระพนมวังแลนางสะเดียงทองมีลูก ๓ คน เจ้าศรีราชา ๑ ก็น ่ า จะเป็ น “เมื อ งท่ า ทองอุ แ ท” หรื อ “กาญจนดิ ษ ฐ์ ” เจ้าสนตรา ๑ เจ้ากุมาร ๑ แลเจ้าศรีราชาเอานางหลาน หรือ “ลานสกา” ช่วงที่ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชปกครอง พระพนมวังเป็นเมีย ขึ้นไปสร้างนาในเมืองสะอุเลา แล นครศรีธรรมราชในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ได้รวมเอาเมือง เจ้ากุมารเอานางจันทร์หลานพระพนมวังขอเป็นเมีย อยู่ สะอุ เ ลาเข้ า เป็ น เมื อ งบริ ว ารด้ ว ย โดยจั ด เป็ น หั ว เมื อ ง ต�ำบลด�ำถะหมอท่าทอง สร้างนาทุ่งเอน และเจ้าสนตรา ล� ำ ดั บ ที่ ๑๐ ในท� ำ เนี ย บเมื อ งสิ บ สองนั ก ษั ต ร โดยถื อ ไสอินทราชขอมาเป็นเมีย ตั้งบ้านแถบทะเลตระหนอม ตราไก่ (ระกา) เป็นตราประจ�ำเมือง สร้างนาศรีชน สร้างนาสะเพียง แลกระนอม แลสร้าง ทั้งนั้น” ข้อความที่ยกมานี้บ่งว่าเจ้าศรีราชาไปสร้างเมือง ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ สะอุเลา ต� ำ นานเมื อ งนครศรี ธ รรมราชอี ก ตอนหนึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง เมื อ งสะอุ เ ลาไว้ ว่ า “หนั ง สื อ ออกหลวงไชยปรญาบดี ศ รี ส มุ ห พ ร ะ สั ต ษ ดี ม า เ ถิ ง อ อ ก พ ร ะ เวี ย ดสงครามรามภั ก ดี พระทาทองด้ ว ย พณหั ว เจ้ า ทานออกญากลาโหมผู ้ รั้ ง เมื อ งนครศรี ท รั ม มราช แลพระนนทเสน ผู ้ ช ่ ว ยราชการสั่ ง ทานพระหลวงกรม การคดี ด ้ ว ยกั น ว่ า มี ใ นยต� ำ มราสิ ป สอง ฉันเจอตาข้างหนึ่งของฉันบนดวงจันทร์ เดื อ นส� ำ มรั บ เมื อ งนคร ตกก� ำ แพงมุ ม ฉันเจอตาอีกข้างบนดวงอาทิตย์ เมืองสะอุเลาเมืองทาทอง” ฉันเจอจมูกของฉันในถ�้ำที่มืดมิด ข้ อ ความในต� ำ นานพระธาตุ เ มื อ ง ฉันเจอหูของฉันกลางเมืองหลวง นครศรีธรรมราชมีว่า “จึงพระสงฆ์ทั้งหลาย ฉันเจอปากของฉันที่เกาะกลางทะเล กั บ พระศรี ม หาราชเจ้ า เมื อ งลานตกา ก็ ชั ก ชวนคนช่ อ งห้ ว ยช่ อ งเขาออกมาแต่ ง ฉันเจอหัวใจของฉันในกลางป่าลึก พระธาตุ แต่ ย อดลงมาถึ ง บรรลั ง ก์ แล้ ว ฉันเจอขาข้างหนึ่งของฉันบนทางรถไฟ ท� ำ การฉลองพระธาตุ ” ข้ อ ความตอนนี้ ฉันเจอขาของฉันอีกข้างบนถนนหลวง ศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ให้ความ ฉันเจอแขนของฉันข้างหนึ่งลอยมาในล�ำธาร เห็นว่าหาก “เจ้าศรีราชา” กับ “ศรีมหาราช” ฉันเจอแขนอีกข้างของฉันลอยคู่ไปกับเครื่องบินที่ฉันก�ำลังนั่ง เป็ น คนเดี ย วกั น แต่ ผู ้ เ ขี ย นต� ำ นานเป็ น ฉันเจอชิ้นส่วนอื่นอีกในทางเดิน คนละคนกัน ใช้แนวนิยมที่ต่างกันเสริมชื่อ เดินทางเพื่อค้นหา บิดามารดาให้ต่างกัน ถ้าเป็นได้ตามนี้เมือง เดินทางเพื่อตามหาส่วนต่างต่างของชีวิต สะอุเลากับเมืองลานตกา (หรือลานสกา) ก็ อ าจเป็ น เมื อ งเดี ย วกั น และถ้ า เช่ น นั้ น เทียน คชานนท์ เมืองสะอุเลาอาจตั้งอยู่บริเวณอ�ำเภอลาน ๒๙ เม.ย. ๕๖ สกาปัจจุบันก็ได้

ตามหาส่วนที่หายไป


หน้า ๑๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

ปั

จจุ บั น พบว่ า คู ่ ส ามี ภ รรยาที่ ป ระสบปั ญ หามี บุ ต ร ยากมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น สาเหตุหนึ่งอาจมาจาก รูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป การแต่งงานช้า ภาวะ เครียด ฯลฯ ดังนั้น เทคโนโลยีเกี่ยวกับเวชศาสตร์การ เจริญพันธุ์ต่างๆ จึงถูกน�ำเข้ามาช่วยในการรักษาภาวะ มีบุตรยาก และวิธีการฉีดเชื้อผสมเทียมในโพรงมดลูก (Intrauterine Insemination-IUI) หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า “IUI” เป็นวิธีช่วยการเจริญพันธุ์วิธีหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่ หลายได้ผลดีในระดับหนึ่ง ปลอดภัย และเสียค่าใช้จ่าย ไม่มาก วันนี้หมอจึงขออนุญาตให้คุณหมอนิพนธ์ ส่องสุข สูติ-นรีแพทย์ประจ�ำโรงพยาบาลนครพัฒน์รวบรวมมาน�ำ เสนอดังนี้ครับ ภาวะมีบุตรยาก คือการที่สามีภรรยาอยู่ด้วยกันโดย มีเพศสัมพันธ์สม�่ำเสมอ และไม่ได้คุมก�ำเนิดเป็นเวลาผ่าน ไป ๑ ปีแล้วยังไม่มีการตั้งครรภ์ก็จะถือว่ามี “ภาวะมีบุตร ยาก” เกิดขึ้นโดยทั่วไปแล้วสาเหตุของภาวะนี้อาจเกิด ได้จากทั้งฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิง หรืออาจเกิดจากทั้งสอง ฝ่ายร่วมกันโดยปกติคู่สมรส ๑๐๐ คู่ จะมีภาวะมีบุตรยาก ๑๐ - ๑๕ คู่ ดังนั้นเมื่อคู่สมรสทราบว่าตนเองมีภาวะนี้ เกิดขึ้นแล้ว ควรเข้ามาพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและ รักษาภาวะนี้ต่อไป การฉี ด เชื้ อ ผสมเที ย มในโพรงมดลู ก (IUI) คื อ การฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในโพรงมดลูกโดยตรงโดยใช้ท่อ พลาสติกเล็กๆสอดผ่านปากมดลูกแล้วฉีดเชื้ออสุจิเข้าไป ในช่ ว งที่ มี ห รื อ ใกล้ กั บ เวลาที่ มี ไ ข่ ต ก ทั้ ง นี้ ต้องมีการเตรียมน�้ำอสุจิ โดยคัดเอาเฉพาะ ตัวอสุจิที่ยังมีชีวิตและเคลื่อนที่ได้ดี แล้วน�ำ ไปฉีดในโพรงมดลูก โดยที่ตัวอสุจิไม่ต้องว่าย ผ่านปากมดลูก ท�ำให้มีตัวอสุจิจ�ำนวนมาก เข้าไปในโพรงมดลูก และพร้อมที่จะผสมกับ ไข่ ดังนั้นการท�ำ IUI จึงมักท�ำกับคู่สมรสที่หา สาเหตุของภาวะมีบุตรยากไม่พบ ฝ่ายชายมี เชื้ออสุจิต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานหรือมีปัญหา เกี่ยวกับการหลั่งอสุจิในช่องคลอด หรือกรณีฝ่ายหญิงที่มี ปัญหาเรื่องภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis) มีปัญหาเรื่องการตกไข่ เป็นต้น ยกเว้นในกรณีมี การอุดตันของปีกมดลูกทั้งสองข้างหรือเชื้ออสุจิมีคุณภาพ ต�่ำมาก

ขั้นตอนการรักษา การปฏิบัติตัวระหว่างและหลัง การท�ำ IUI และ โอกาสที่จะประสบผลส�ำเร็จมากน้อย เพียงใด • ขั้นตอนในการเตรียมฝ่ายหญิง • ขั้นแรกแพทย์จะท�ำการกระตุ้นรังไข่ให้มีการเจริญ เติบโตของฟองไข่ในรอบเดือนนั้นๆ หลายๆ ใบ โดยใช้ ยาฉีดหรือยารับประทานซึ่งมักจะเริ่มในวันที่ ๓ ของรอบ เดื อ นหลั ง จากนั้ น จะมี ก ารนั ด ตรวจอั ล ตร้ า ซาวด์ เพื่ อ ติดตามดูขนาด จ�ำนวนของฟองไข่ และความหนาของ เยื่อบุโพรงมดลูกเมื่อฟองไข่มีขนาดพอเหมาะ แพทย์จะ ท�ำการฉีดยากระตุ้นให้มีการตกไข่ หลังจากนั้นประมาณ ๓๖ – ๔๐ ชั่วโมงจะเป็นเวลาที่มีการตกไข่ แพทย์จะ ท�ำการนัดอีกครั้งเพื่อท�ำการฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูกใน วันที่ไข่ตก • ขั้นตอนในการเตรียมอสุจิของฝ่ายชาย • โดยที่ฝ่ายชายต้องมาพบแพทย์ในวันที่นัดท�ำ IUI และจะต้องงดเพศสัมพันธ์ ๒ - ๗ วัน เพื่อรอเก็บน�้ำอสุจิ ได้แล้วรีบน�ำมาส่งภายในระยะเวลา ๑ ชั่วโมง จากนั้นผู้ เชี่ยวชาญจะน�ำอสุจิที่ได้มาท�ำการคัดกรองเลือกเฉพาะ ตัวอสุจิที่ยังมีชีวิตและเคลื่อนไหวดี เพื่อให้แพทย์น�ำมาฉีด กลับเข้าไปในโพรงมดลูก ในขั้นตอนนี้จะใช้เวลาเตรียม ประมาณ ๑ – ๒ ชั่วโมง • ขั้นตอนการฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก • เมื่อเตรียมอสุจิเรียบร้อยก็จะน�ำเอาน�้ำเชื้ออสุจิ

บรรจุลงในท่อพลาสติกปราศจากเชื้อขนาดเล็กๆ แล้ว แพทย์จะท�ำการสอดท่อขนาดเล็กนี้ผ่านปากมดลูกอย่าง นุ่มนวล จากนั้นจึงท�ำการฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในโพรงมดลูก ดังรูป โดยใช้เวลาในการท�ำไม่กี่นาที ไม่เจ็บ และหลัง ท�ำ IUI แล้วท่านสามารถปฏิบัติตัวได้ตามปกติไม่ต้องนอน

โรงพยาบาล การปฏิบัติตัวหลังท�ำ IUI หลังฉีดเชื้ออสุจิจะให้ นอนพักประมาณ ๓๐ นาทีก่อนกลับบ้าน งดเพศสัมพันธ์ ในวันที่ท�ำ IUI และหลังจากนั้นสามารถมีเพศสัมพันธ์ ได้ตามปกติ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์พักผ่อนให้ เพียงพอ และสามารถออกก�ำลังกายได้ตามปกติ แล้วจะมี การนัดหมายเพื่อมาตรวจการตั้งครรภ์ภายหลังท�ำการฉีด อสุจิในระยะ ๒ สัปดาห์ อัตราการตั้งครรภ์ภายหลังการฉีดเชื้อผสมเทียม ในโพรงมดลูก อัตราความส�ำเร็จของการกระตุ้นให้มีการ ตกไข่และการท�ำ IUI อยู่ระหว่าง ๑๐ - ๒๐ % ต่อรอบ การรักษา ซึ่งมีข้อมูลจากการศึกษาในผู้ที่มีภาวะมีบุตร ยากที่ไม่ทราบสาเหตุ พบว่าในการท�ำ IUI จะมีโอกาสตั้ง ครรภ์มากกว่าโอกาสตั้งครรภ์โดยรอบธรรมชาติประมาณ ๒ เท่า แต่ถ้าท�ำการ IUI ร่วมกับกระตุ้นรังไข่ด้วยยารับ ประทานจะโอกาสมากขึ้นประมาณ ๓ เท่า และถ้ากระตุ้น รังไข่ด้วยยาฉีดจะโอกาสมากขึ้นเป็น ๔ - ๖ เท่า โดยที่ อัตราการประสบความส�ำเร็จของการฉีดเชื้อผสมเทียมใน โพรงมดลูกจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างคืออายุของฝ่าย หญิง จ�ำนวนไข่ที่สมบูรณ์พอที่จะท�ำให้เกิดการปฏิสนธิได้ ความเข้มข้นของจ�ำนวนอสุจิที่ใช้ฉีดเข้าไปในโพรงมดลูก และความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูกในวันที่ฉีดอสุจิ ทั้งนี้ แพทย์จะท�ำการควบคุมปัจจัยดังกล่าวให้เหมาะสมที่สุด เพื่อจะได้มีโอกาสตั้งครรภ์สูงสุด โดยสรุป การท�ำ IUI เป็น วิ ธี ช ่ ว ยการเจริ ญ พั น ธุ ์ ที่ ใ ช้ กั น อย่างแพร่หลาย มีอัตราความ ส� ำ เร็ จ พอสมควร ปลอดภั ย และเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ยน้ อ ย แต่ หากท� ำ IUI แล้ ว ฝ่ า ยหญิ ง ยั ง ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ แพทย์ จะน�ำเทคโนโลยีช่วยการเจริญ พันธุ์วิธีอื่นมาใช้ในการรักษาต่อ ไป เช่นการท�ำเด็กหลอดแก้ว การท�ำอิ๊กซี่ และโดยเฉพาะ การท�ำบลาสโตซีสท์คัลเจอร์ ที่จะมาน�ำเรียนต่อไป หากมี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ต้ อ งการทราบรายละเอี ย ด ติดต่อได้ที่โรงพยาบาลนครพัฒน์ ที่หมายเลข ๐๗๕๓๐๕๙๙๙ ต่อ แผนกสูตินรีเวช

เปิดรับสมัครพนักงานประจ�ำสาขาทั่วภาคใต้

สวัสดิการดี มีที่พักสะดวกสบาย เบี้ยเลี้ยงและเบี้ยขยัน ประกันสังคม ฯลฯ จัดอบรมให้ บรรจุแล้วมีรายได้ขั้นต�่ำ ๑๒,๐๐๐ บาท/เดือน

โทร.๐๘๑-๑๒๓-๒๘๒๒


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

ฟิ น แลนด์ ใช้ ชื่ อ ว่ า งาน VERNADOC (VERNACULAR DOCUMENTATION) ในประเทศไทยมี ค นเล่ น เรื่ อ งนี้ ม าหลาย ปี โดยการน� ำ ของ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ สุดจิต สนั่นไหว จากมหาวิทยาลัยรังสิต ที่ได้ให้ลูกศิษย์และอาสาสมัครมาท�ำเรื่อง นี้ แ สดงในงานสถาปนิ ก ทุ ก ปี ฉบั บ นี้ ผ ม ก็ ข อน� ำ ภาพตั ว อย่ า ง VERNADOC ของ อาคารห้องแถวแห่งหนึ่งที่จังหวัดสงขลา มาแสดง (ไม่ ไ ด้ ข ออนุ ญ าตเจ้ า ของภาพ หรอกครับ ถือเป็นการยกย่องท่านก็แล้ว กันนะครับ) ที่ผมน�ำเรื่องนี้มาเล่าให้ท่าน ฟังเพราะเห็นว่าเมืองนครของเรามีอาคาร เก่ า แก่ ที่ มี คุ ณ ค่ า แต่ ห มิ่ น เหม่ ต ่ อ การถู ก รื้อมากมาย โดยผมเห็นว่าควรใช้วิธีการ

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

า น แ ส ด ง นิ ท ร ร ศ ก า ร ใ ห ญ ่ ร ะ ดั บ อาเซียนที่ผมไม่ค่อยพลาดไปชมทุกปี ที่ ก รุ ง เทพฯ คื อ “งานสถาปนิ ก ” ซึ่ ง จั ด โดยสมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรม ราชูปถัมภ์ โดยปีนี้เพิ่งผ่านพ้นไปเมื่อต้น เดือนพฤษภาคมนี้เอง ต้องบอกข่าวดีให้ ชาวนครทราบก่ อ นว่ า “บ้ า นท่ า นขุ น รั ฐ วุฒิวิจารณ์” บ้านโบราณอายุกว่า ๑๐๐ ปี ที่ อ ยู ่ ต รงข้ า มเยื้ อ งวั ด พระบรมธาตุ ได้ รั บ การเสนอชื่ อ ต่ อ กรรมาธิ ก ารอนุ รั ก ษ์ ศิลปะสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิก สยามฯ เพื่อพิจารณาเข้ารับรางวัลอนุรักษ์ ดีเด่นประจ�ำปีนี้ (ซึ่งทั่วประเทศเสนอชื่อ มากกว่ า ๔๐ แห่ ง แต่ ค ณะกรรมการฯ จะคัดเลือกเพียงไม่กี่หลังที่เข้าหลักเกณฑ์ เท่านั้น) ปรากฏว่าได้รับรางวัลประเภท อาคารเคหสถานและบ้ า นเรื อ นเอกชน และได้มีการจัดแสดงในงานนี้ด้วย นับว่า เป็นเกียรติประวัติต่อเจ้าของบ้านคือ คุณ ณัฏฐสุต ตรีสัตยพันธุ์ ที่ได้ดูแลซ่อมแซม เป็ น อย่ า งดี และเป็ น เกี ย รติ ย ศแก่ เ มื อ ง นคร เพราะรางวัลนี้จะได้รับพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ส�ำหรับเมืองนครได้รับมา แล้ว ๒ อาคารต่างวาระกัน คือ อาคารของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน นครศรีธรรมราช (ปี ๒๕๓๗) และอาคาร สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง (ปี ๒๕๕๕) ซึ่งควรแนะน�ำให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์เพิ่มขึ้น ส่วนอาคารอื่นๆ ที่เก่าแก่ และเจ้ า ของได้ ดู แ ลเป็ น อย่ า งดี ก็ มี ห ลาย ตระกู ล ผมจะติ ด ต่ อ น� ำ เสนอต่ อ สมาคม สถาปนิกสยามฯ ในโอกาสต่อไป จุ ด เด่ น ที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ ของการ จัด “งานสถาปนิก” ที่นอกเหนือจากการ แสดงผลงานวิ ช าชี พ ของ สถาปนิ ก การ บรรยายวิชาการ และการแสดงสินค้าวัสดุ ก่ อ สร้ า งแล้ ว ก็ คื อ การน� ำ เสนอแนวคิ ด ในการพั ฒ นาบ้ า นเมื อ งที่ แ ต่ ล ะปี จ ะมี หั ว ข้ อ ไม่ เ หมื อ นกั น เช่ น ปี ที่ แ ล้ ว น�้ ำ ท่ ว ม ใหญ่ทั้งประเทศ ก็ได้เชิญชวนสถาปนิก ให้ช่วยกันคิดออกแบบสร้างบ้าน “อยู่กับ

www.nakhonforum.com

หน้า ๑๓

น�้ำ” ซึ่งมีผู้เสนอแบบจากอาเซียนหลาย ประเทศ เป็นต้น ส� ำหรับปีนี้ตั้งหัวข้อ ชื่อ “BORDERLESS” (แข่งขัน..แบ่งปัน) หมายความถึ ง การแข่ ง ขั น และแบ่ ง ปั น ความคิดงานสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวพันกับ มิติต่างๆ อย่างไร้ขอบเขต ซึ่งตรงกับเรื่อง ที่ ผ มได้ ก ล่ า วถึ ง ในคอลั ม น์ ฉ บั บ ที่ แ ล้ ว มี หลายหัวข้อที่มีการน�ำเสนอเรื่องที่จ�ำลอง ขึ้น (Model) เพื่อเป็นข้อคิดหรือข้อเสนอ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นน�ำไปพิจารณาต่อ เช่น การพัฒนาพื้นที่ของการรถไฟที่มักกะสัน ให้เป็นนวัตกรรมเมือง เป็นต้น ซึ่งความคิด ดีๆ เหล่านี้ถ้าผู้บริหารท้องถิ่นบ้านเราได้มี โอกาสไปสัมผัส จะมีมุมมองกว้างไกลที่น�ำ มาเป็นแบบอย่างพัฒนาเมืองเราได้ ผมเอง ที่มีมุมมองทุกเดือนก็เป็นคนประเภท “ไป ดูเขามาท�ำ ไปจ�ำเขามาคิด” เช่นกัน แต่ ต้องให้สอดคล้องกับบริบทของเมืองเราที่มี ความแตกต่างกันบางเรื่อง มีนิทรรศการที่น่าสนใจมากอีกเรื่อง หนึ่งคือ การน�ำเสนอเกี่ยวกับการอนุรักษ์ งานสถาปั ต ยกรรมเก่ า แก่ ที่ มี คุ ณ ค่ า ซึ่ ง เป็ น การสร้ า งความเข้ า ใจให้ ป ระชาชน ทราบว่าท�ำไมเราต้องมีการอนุรักษ์ และ การอนุ รั ก ษ์ ก็ มี ห ลายแนวทาง เช่ น การ ขึ้ น ทะเบี ย นโดยกรมศิ ล ปากร (ถ้ า เป็ น อาคารเอกชนอาจไม่ ค ่ อ ยจะมี เ จ้ า ของที่ ยินยอม) การเชิญชวนให้เจ้าของอนุรักษ์ เองโดยการแนะน� ำ ของผู ้ ช� ำ นาญการ การมอบรางวัลให้ก�ำลังใจ เป็นต้น มีอีก

แนวทางหนึ่ ง ใช้ ง านทางศิ ล ปะการเขี ย น แบบด้วยมือเข้าช่วย โดยการไปวัดสัดส่วน อาคารที่ ถู ก ต้ อ ง แล้ ว เขี ย นรายละเอี ย ด อย่ า งประณี ต สวยงามจนกลายเป็ น งาน ศิลปะ ท�ำให้เจ้าของหรือหน่วยงานที่ดูแล เกิดความพึงพอใจที่จะอนุรักษ์ไว้เป็นมรดก สถาปัตยกรรม หรืออย่างแย่ที่สุดที่อาคาร นั้ น อาจต้ อ งถู ก รื้ อ ถอนไปด้ ว ยสาเหตุ ใ ด ก็ตาม ก็ยังมีหลักฐานเรื่องราวของอาคาร นั้นเก็บไว้ศึกษาต่อ วิธีการนี้เป็นเทคนิคที่ ท�ำกันมาในต่างประเทศกว่า ๑๐๐ ปีแล้ว โดยเริ่มจากมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ประเทศ

นี้เข้ามาเก็บรายละเอียดให้เป็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม แน่นอน ผมมองไปที่สถาบันทางการศึกษาที่มีการ สอนทางสถาปัตยกรรมหรือสอนการเขียน แบบก็สามารถท�ำได้ทั้งนั้น ส�ำหรับผมเอง ถ้ามีเวลาพอก็ตั้งใจจะท�ำเหมือนกัน ก่อน จบฉบับนี้ผมขอฝากภาพสเก็ตช์ประกอบ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ที่ ก ล่ า วถึ ง การออกแบบงาน ทางธุรกิจของ “นครดีซี in the Park” ที่ เจ้าของได้ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมก็สามารถ สร้างความน่าอยู่ให้เมืองได้อีกทางหนึ่ง


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

การประชุมผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู และ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ ๑ มีนายสมเกียรติ ฉิมแก้ว รองผู้อ�ำนวย การเขตพื้นที่การศึกษาเป็นประธาน สรุป ว่า มติที่ประชุมไม่ต้องการให้ยุบเลิก แต่ให้ โรงเรียนได้พัฒนาการเรียนการสอน ครั้งที่ ๒ มีนายวิรัส จันทร์ทอง รองผู้อ�ำนวยการ เขตพื้นที่การศึกษาเป็นประธาน สรุปว่า มติที่ประชุมแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ก�้ำกึ่งกัน ครั้ง ที่ ๓ มีนายปรีชา รักษ์ทอง รองผู้อ�ำนวยการ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเป็ น ประธาน สรุ ป ว่ า มติที่ประชุมให้นักเรียนโรงเรียนวัดหัวล�ำภู ไปเรี ย นรวมกั บ โรงเรี ย นบ้ า นศาลาแก้ ว เป็ น การชั่ ว คราว เอกสารหลั ก ฐานต่ า งๆ ให้โรงเรียนวัดหัวล�ำภูบริหารจัดการดังเดิม ในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ หรือให้มีรถ

ป็ น แนวคิ ด ในกลุ ่ ม ที่ ส องของค่ า ยกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธรรมราช ประกอบด้วย ๕ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรม Inquiry, กิจกรรม Discovery, กิจกรรม Walk Rally กิจกรรมจ�ำน�ำฝัน และกิจกรรมล่าฆาตกร เริ่มต้นกันที่กิจกรรมแรกของกลุ่ม พลังคนพลังคิดกันค่ะ... “Inquiry” เน้น ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตั้งค�ำถามหรือศึกษา ค้ น คว้ า สิ่ ง ที่ ส นใจจากธรรมชาติ ห รื อ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบๆ ตั ว น� ำ มาดั ด แปลงเป็ น ถามเปรียบเทียบปลายเปิด ตั้งสมมติฐาน

รับส่งทุกวัน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รับผิดชอบค่าพาหนะรับ-ส่ง ๔. ยุบ รวมโรงเรียนบ้านศาลาแก้ว - วัดหัวล�ำภู ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ตาม เป้ า หมายของส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ เมื่อศึกษาสมุดหมายเหตุประจ�ำวันของ โรงเรี ย นวั ด หั ว ล� ำ ภู พบว่ า เปิ ด สอนเมื่ อ วั น ที่ ๔ มิ ถุ น ายน ๒๔๘๑ มี พ ระอธิ ก าร พวย องคมุ ณี เจ้ า อาวาสวั ด หั ว ล� ำ ภู ใ ห้ ศาลาการเปรียญเป็นสถานที่ศึกษา มีนาย จาบ เสถี ย ร เป็ น ครู ใ หญ่ ส่ ว นโรงเรี ย น บ้านศาลาแก้ว เปิดท�ำการสอนโดยพระ ภิกษุ สามเณรมาก่อน จนได้เป็นโรงเรียน ประชาบาลหั ว ไทร ๒ เปิ ด สอนเมื่ อ วั น ที่

๑ พฤษภาคม ๒๔๘๑ มีนายละม้าย จานุ พงศ์ เป็นครูใหญ่ เรียนที่ศาลาการเปรียญ วั ด ศาลาแก้ ว ต่ อ มาทางวั ด รื้ อ ศาลาการ เปรียญ โรงเรียนจึงต้องย้ายไปเรียนในที่ดิน ของนายชู นางลาภ เต็มสงสัย ต่อมาย้าย มาอยู่ในที่ดินของนายไข่ คงเชื้อจีน และ ย้ายอีกครั้งไปสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ ข ในที่ดินธรณีสงฆ์จนถึงปัจจุบัน ผมได้ไปนิเทศโรงเรียนบ้านศาลาแก้ว และสัมภาษณ์นักเรียนโรงเรียนวัดหัวล� ำภู ที่มาเรียนที่โรงเรียนบ้านศาลาแก้ว เด็ก ชายธีระภัทร เสนเดช นักเรียน ชั้น ป. ๖ เล่าว่า “ที่นี่สนุก ครูสอนเข้าใจดี เรียน ง่าย เพราะครูอธิบายด้วย มาอยู่ ๔ เดือน รู้จักเพื่อนๆ น้องๆ เพิ่มขึ้น ผมยังคิดถึง

น้องๆ ศูนย์เด็กเล็กปฐมวัย ของวัดหัวล�ำภู ที่เคยไปหยอกเล่นทุกวันนะครับ” เด็กชาย ชัยรัตน์ เอียดแก้ว เล่าว่า “ ผมคอยรถ ที่หน้าโรงเรียนทั้ง ๑๑ คน ประมาณ ๓๐ นาที โรงเรียนบ้านศาลาแก้วมีบรรยากาศ สบายดี มีสนามฟุตบอล ครูวิชาญ ดิษฐนวล สอนวอลเลย์ บ อลและฟุ ต บอลทุ ก วั น พุ ธ ผมแต่ ง ชุ ด พลศึ ก ษาของโรงเรี ย น วัดหัวล�ำภู ได้เล่น ๑ ชั่วโมง เรื่องอาหาร กลางวันมีหลายอย่าง โรงเรียนปรุงอาหาร เอง อร่อยขอเพิ่มได้ด้วยครับ จากแปรง ฟันเสร็จแล้ว ได้เข้าห้องสมุดหยิบหนังสือ มาอ่านให้ได้อย่างน้อย ๕ บรรทัดทุกวัน” ปิยมาศ รัตนบุรี ชั้น ป.๓ บอกว่า “เมื่อ ก่ อ นมาโรงเรี ย นใช้ ร ถจั ก รยาน ตอนนี้ นั่ ง รถยนต์ ก็ดีค่ะ จะขี่รถจักรยานไม่ไหวไกล เกิน ที่หัวล�ำภู เวลาครูไม่อยู่ ครูให้ท�ำแบบ ฝึกหัดเสร็จแล้วไปเล่นได้นานๆ ครูกลับมา ก็เรียนต่อที่นี่ไม่ค่อยได้เล่น ครูให้งานเยอะ เดี่ยวครูก็กลับมาแล้วเรียนต่ออีก ศาลาแก้ว + หัวล�ำภู เป็นกรณีศึกษา ในการยุบรวมโรงเรียน ซึ่งเราต้องให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ ลู ก หลานของเรา ซึ่ ง เป็ น วั ย ที่ ก�ำลังพัฒนา ต้องได้รับการพึ่งพาจากผู้ใหญ่ ในการสั่งสอน อบรมบ่มเพาะ เพื่อให้เขา เป็ น เยาวชนที่ ดี ข องชาติ สื บ ไป ดี ก ว่ า มา กั ง วลเรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ์ โ รงเรี ย น อาคาร เรี ย น ซึ่ ง ย่ อ มทรุ ด โทรมไปตามกาลเวลา และหากวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งก่อสร้างที่ยังใช้ การได้ก็ให้โรงเรียนหลัก เป็นผู้ดูแล หรือ มอบให้ชุมชนใช้ประโยชน์ต่อไป นะครับ ส่วนคุณครูก็ไม่มีปัญหา จะสอนที่โรงเรียน หลักต่อไปหรือย้ายทางเขตพื้นที่การศึกษา ก็ให้โอกาสและสนับสนุนนะครับ ถือได้ว่า ท�ำงานแบบ Win Win นะครับ

เลื อ กค� ำ ถามที่ ดี ที่ สุ ด น่ า สนใจที่ สุ ด ของ ตัวเอง ๑ ค�ำถาม ๒. ด.ดั ด แปลงเป็ น ค� ำ ถามเปรี ย บ เทียบปลายเปิด ผู้เข้าร่วมกิจกรรมช่วยกัน ที่ ส ามารถตรวจสอบ ได้ เลือกค�ำถามของกลุ่มมา ๑ ค�ำถาม แล้วน�ำ ว า ง แ ผ น ก า ร ส� ำ ร ว จ ไ ด ้ ไปดัดแปลงเป็นค�ำถามเปรียบเทียบปลาย หลายๆ วิธี น�ำไปออกแบบ เปิด การทดลอง น�ำเสนอผลงาน ๓. ล.ลองคาดเดาค�ำตอบ ผู้เข้าร่วม หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กิจกรรมแต่ละกลุ่มช่วยกันคาดเดาค�ำตอบ กระบวนการ หรือชิ้นงานให้ จากค�ำถามที่ตั้งไว้ และน�ำเสนอ ผู้อื่นเข้าใจ ๔. อ.ออกแบบการทดลอง ผู ้ เ ข้ า กิ จ กรรม Inquiry ร่วมกิจกรรมช่วยกันออกแบบการทดลอง เน้นให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตั้ง โดยเลื อ กค� ำ ตอบที่ ค าดเดาไว้ ม าท� ำ การ ค� ำ ถามจากธรรมชาติ ที่ อ ยู ่ ออกแบบการทดลอง เพื่อพิสูจน์ค�ำตอบที่ รอบๆ ตัว ตั้งค�ำถามจากสิ่ง คาดเดาไว้ ว่าเป็นจริงหรือไม่ ที่อยากรู้ ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่ม ๕. ง.ง่ายและงดงามเมื่อสรุปและน�ำ ต้นของการท�ำโครงงานหรือ เสนอ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสรุปและน�ำเสนอ วิจัย โดยกิจกรรมแบ่งออก ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้น่าสนใจ กิจกรรม Inquiry เป็นกระบวนการ เป็น ๕ ขั้นตอนย่อยคือ ค� ำ ถามจากธรรมชาติ ห รื อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ๑. ท.ท้าทายให้สังเกตและตั้งค�ำถาม บริเวณเขาขุนพนมมาอย่างน้อยคนละ ๑๐ หาค�ำตอบด้วยทักษะทางวิทยาศาสตร์โดย ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะต้ อ งสั ง เกตและตั้ ง ค�ำถาม วิทยากรก็จะให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้ตั้งค�ำถาม นับว่า


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

อาจารย์แก้ว

บั บ นี้ จ ะพู ด ถึ ง สมาร์ ท โฟนอี ก ครั้ ง ครับ ร้านขายสินค้าไอทีหรือร้านขาย โทรศัพท์มือถือ ไม่ว่าจะเป็นห้างไหนตลาด ไหนจะเจอแต่ ร ้ า นขายสิ น ค้ า ประเภทนี้ มากมายเหลือเกิน หรือมันเป็นธุรกิจท�ำเงิน ไปเสียแล้ว นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ทั่วไปทุกสาขาอาชีพ ถ้าไม่พกอุปกรณ์เหล่า นี้มีอันเอาท์ (เชย) ไปเสียแล้วกระมัง บาง ท่านอาจจะยังใช้ไม่ค่อยจะเป็นแต่พกไว้เท่ๆ ก็มี เพราะมันหาซื้อง่ายแถมราคายังไม่สูง มากเหมือนยุคแรกๆ ที่ท�ำตลาดกันใหม่ๆ ปัจจุบันตลาดสมาร์ทโฟนมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง หลายค่ายทั้งยักษ์ใหญ่ ยั ก ษ์ เ ล็ ก พยายามที่ จ ะงั ด กลยุ ท ธ์ ต ่ า งๆ เพื่อแย่งส่วนแบ่งทางตลาดกันยกใหญ่ ซึ่ง ตลาดสมาร์ทโฟนในปัจจุบันนั้น แบรนด์ที่ ใช้ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ นั้น ได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมาก กระผมได้รวบรวม ข้อมูล ที่อาจจะช่วยหลายๆ ท่านที่สนใจ ได้ ท�ำความรู้จักกับ ระบบปฏิบัติการตัวนี้มาก ขึ้น ว่า แอนดรอยด์ คืออะไร และ ท�ำอะไร ได้บ้าง ติดตามกันเลยครับ

แอนดรอยด์ (Android) คืออะไร

วิ ธี ที่ จ ะเข้ า ใจว่ า Android (แอน ดรอยด์) คืออะไร อย่างง่ายๆ ให้เราลอง นึกถึง คอมพิวเตอร์ที่บ้านครับ ตอนนี้ใช้ Windows อะไรอยู่ครับ บางคนก็จะตอบว่า

เป็นการเปลี่ยนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจาก “ผู้ เสพมาเป็นผู้สร้าง” ด้วยเทคนิค ท.ด.ล.อ.ง. “Discovery” ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ ตั้ ง ค� ำ ถาม เกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนเขาขุ น พนม แล้ ว น� ำ ไปจั ด หมวดหมู่ค�ำถามและเขียนแผนผังความคิด เก็บข้อมูลตามประเด็นค�ำถามที่ตั้งขึ้น และ น�ำเสนอข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ วิ ท ยากรใช้ เ ทคนิ ค การระดมพลั ง สมอง (Brain storming) เพื่อระดมค�ำถาม

Windows XP, Windows ๗ บางคนก็ตอบ ว่า Windows ๘ หรือบางคนอาจจะไม่ใช้ Windows แต่ใช้ Linux แทน Windows หรือ Linux เราเรียกมันว่า ระบบปฏิบัติการ (OS) ถ้าคอมพิวเตอร์ไม่ลง Windows ก็จะเปิดเครื่องเพื่อท�ำงานไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน ก็เช่นเดียวกันครับ มันต้องการ OS ซึ่งใน iPhone นั้นบริษัทแอปเปิ้ลใช้ OS ที่ชื่อว่า iOS ในขณะที่บริษัทกูเกิ้ล (Google) บริษัท ยักษ์ใหญ่แห่งวงการไอทีได้พัฒนา OS ที่ มีชื่อว่า Android (แอนดรอยด์) OS ขึ้นมา ซึ่ง Android (แอนดรอยด์) เวอร์ชั่น ๑.๐ ได้ถูกปล่อยออกมาใช้งานอย่างเป็นทางการ ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ค.ศ ๒๐๐๘ ต้นก�ำเนิด แอนดรอยด์ (Android) ย้อนไปเมื่อประมาณ เดือน ตุลาคม ปี ๒๐๐๓ Andy Rubin ได้ก่อตั้งบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) พร้อมกับ เพื่อนร่วมงานที่ถือว่ามีความสามารถแตก ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเขา ขุ น พนม เพื่ อ น� ำ มาจั ด หมวดหมู ่ ข องค� ำ ถาม และท�ำ Mapping เพื่อ แบ่งหน้าที่ไปเก็บข้อมูล โดยการสั ม ภาษณ์ ช าว บ้ า นพร้ อ มบั น ทึ ก ราย ละเอียดลงในใบกิจกรรม หลั ง จากการเก็ บ ข้อมูล น�ำข้อมูลที่ได้จาก การสั ม ภาษณ์ ช าวบ้ า น มาบอกเล่าให้สมาชิกฟังเพื่อแลกเปลี่ยน ซักถาม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนจะต้อง เขียนเล่าเรื่องที่ได้รับจากชุมชน ในรูปแบบ ของหัวข้อข่าว เรียงความ ผังความรู้ หรือ เล่าเรื่องในรูปแบบอื่นๆ ตามที่ตนเองถนัด ฉบั บ หน้ า จะมาแนะน� ำ กิ จ กรรม Walk Rally ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมยอดฮิ ต ติ ด อั น ดั บ ต้ น ๆ ของกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์ค่ะ อย่าลืมติดตามนะคะ

ต่างกันออกไปในแต่ละด้าน ร่วมกันพัฒนา มาเรื่อยจนเมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๐๐๗ โทรศัพท์มือถือรุ่นแรก ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ก็ได้ออกวางจ�ำหน่าย ซึ่ง สมาร์ ท โฟนรุ ่ น แรกที่ ใ ช้ ร ะบบปฏิ บั ติ ก าร แอนดรอยด์ คือ HTC Dream

Android ๔.๐ หรือ Android ๔.๑ ตัวเลขข้างหลังคืออะไร เพื่ออะไร Android (แอนดรอยด์ ) ๔.๐ เป็ น หมายเลขเวอร์ ชั่ น ของระบบปฏิ บั ติ ก าร แอนดรอยด์ครับ เหมือนที่ Windows มี ทั้ง Windows ๙๕, Windows ๒๐๐๐, Windows XP, Windows Vista ซึ่ ง ทั้งหมดนี้เป็นเวอร์ชั่นที่พัฒนาต่อๆ กันมา ของ Windows ครับ ใน Android OS เอง ก็ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งท� ำ ให้ ต อนนี้ Android OS มีหลายเวอร์ชั่นแล้วครับและ มีชื่อเล่นส�ำหรับเรียกง่ายๆ ได้แก่ Apple Pie (Android ๑.๐), Banana Bread (Android ๑.๑), CupCake (Android ๑.๕), Donut (Android ๑.๖), Éclair (Android ๒.๑), Froyo (Android ๒.๒), Gingerbread (Android ๒.๓), Honeycomb (Android ๓.๐), Ice Cream Sandwich (Android ๔.๐), Jelly Bean (Android ๔.๑) จะสังเกตเห็นได้ว่า ชื่อรุ่นทุกรุ่น เป็นของหวานทั้งหมดเลยครับ

วิธีการเลือกซื้อมือถือ Android Phone

๑. เลือกเวอร์ชั่นของ Android OS เนื่ อ งจาก Android (แอนดรอยด์ ) Phone เป็นมือถือที่มีส่วนประกอบของ ระบบปฏิบัติการเป็นส่วนส�ำคัญ ดังนั้นการ เลือกซื้อ Android Phone จึงจ�ำเป็นต้อง พิจารณาถึง เวอร์ชั่นของ Android (แอน ดรอยด์ ) OS ที่ เ ราต้ อ งการด้ ว ยครั บ ซึ่ ง เมื่ อ ไปที่ ร ้ า นมื อ ถื อ ตั้ ง ใจจะซื้ อ Android Phone สั ก เครื่ อ ง แต่ แ ล้ ว เราก็ จ ะมึ น งง เพราะว่ามือถือ Android Phone แต่ละ ยี่ห้อใช้ Android คนละเวอร์ชั่น แล้วจะ เลือกยังไงดี ต้องใช้รุ่นไหน คุ้มไม่คุ้มยังไง มืดแปดด้านละซิครับ ดังนั้นเราต้องศึกษา

หน้า ๑๕

รายละเอียดว่า Android (แอนดรอยด์) OS แต่ละรุ่นมีความสามารถอะไรกันบ้าง เราจะ ได้รู้ว่า โทรศัพท์ Android Phone รุ่นที่เรา เล็งอยู่นั้น มันท�ำอะไรได้ ท�ำอะไรไม่ได้บ้าง ซึ่ ง รายละเอี ย ดในส่ ว นนี้ ท ่ า นต้ อ งท� ำ การ บ้านสืบค้นเพิ่มเติมจากสื่อต่างๆ นะครับ ผม ไม่สามารถน�ำรายละเอียดมาลงได้หมด ๒. พิจารณาคุณสมบัติด้านอุปกรณ์ ในตัวเครื่อง นอกจากจะต้องพิจารณา Android (แอนดรอยด์) OS แล้วเรายังต้องพิจารณา คุณสมบัติของอุปกรณ์ในเครื่องด้วยนะครับ ซึ่งประกอบไปด้วย • หน้าจอ ใช้วัสดุอะไรในการประกอบ ซึ่งมีตั้งแต่ LCD LED AMOLED หรือ Super AMOLED ตัวใหม่แบบอินเทรนด์ • หน้ า จอ รองรั บ การใช้ Touch screen และ multi touch screen หรือไม่ • CPU ที่ใช้เป็นยี่ห้ออะไร มีความเร็ว เท่าไหร่ โดยมีหน่วยวัดเป็น Hz นะครับ คล้ายการวัดใน cpu เครื่องคอมพิวเตอร์ และแน่นอนว่า ยิ่งมีความเร็วมาก ก็ยิ่งดี ครับ(ก็จะมีราคาสูงตามนะครับ) • หน่ ว ยความจ� ำ ภายใน เนื่ อ งจาก Android Phone ต้ อ งการหน่ ว ยความ จ�ำภายในตัวหลักในการลง Android OS และ App ส� ำ หรั บ การใช้ ง าน(ส� ำ หรั บ Android ๒.๒ จะสามารถลง App ใน sdcard ได้ ปัญหาเรื่องนี้จึงไม่มี แต่ถ้าเป็น Android(แอนดรอยด์)รุ่นต�่ำกว่านี้ ต้องคิด เรื่อง ความจุของหน่วยความจ�ำให้ดีครับ) • คุณภาพของเสียง ซึ่งผู้ผลิตแต่ละ รายก็ จ ะมี มาตรฐานการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ เสียงที่แตกต่างกันออกไป เป็นปัจจัยหนึ่งที่ ต้องให้ความส�ำคัญครับ • อุปกรณ์รับสัญญาณ GPS เป็นชิป ประมวลผลเล็กๆที่อยู่ใน Android Phone ซึ่งเจ้าตัวนี้มีผลต่อการใช้งาน Application หลายตัวเลยนะครับ Android Phone บาง รุ่นมีอุปกรณ์รับสัญญาณ GPS บางตัวก็ไม่มี ครับ • อุปกรณ์รับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ เข็มทิศดิจิตอล แบบที่เห็นใน iPhone นั่นเองครับ • คุ ณ ภาพของกล้ อ งที่ Android Phone แต่ละรุ่นก็จะมีความสามารถในการ ถ่ายรูปที่ไม่เท่ากันครับ ขึ้นอยู่กับคุณภาพ ของเลนส์และหน่วยประมวลภาพ อย่ า ลื ม นะครั บ Android Phone ประกอบด้ ว ยส่ ว นของ Android (แอนดรอยด์) OS และคุณสมบัติด้านฮาร์ดแวร์ ของตัวเครื่อง ก่อนซื้ออย่าลืมตรวจสอบว่า Android Phone ที่ซื้อนั้นเป็นไปตามความ ต้องการของเราจริงๆ หรือไม่ ไม่ใช่ตัดสิน ใจซื้อตามกระแสนิยมเพราะมันจะไม่คุ้มกับ เงินที่ลงทุนไปนะครับ ด้วยความปรารถนาดี


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

ทางด่านเข้าสู่ด่านดงชั้นใน หมอกที่คละคลุ้ง ก�ำลังจู่โจมเข้ายึดครองหมู่ไม้จากเรือนยอด และแผ่ ร ่ า งแทรกซึ ม ห่ ม คลุ ม จนถึ ง พื้ น ดิ น หยาดน�้ำค้างร่วงกราวดั่งห่าฝน แม้ภายนอก แสงยามสายก�ำลังส่องสว่าง แต่ภายในผืน

งอรุ ณ ปรากฏสั ญ ญาณจากขอบฟ้ า ตะวั น ออก เสี ย งจั๊ ก จั่ น บางชนิ ด ยื น ยั น ถึ ง การมาเยื อ นของวั น ใหม่ อาจด้ ว ย บรรยากาศตึ ง เครี ย ดของวั น วาน มี ส ่ ว น ท� ำ ให้ ผ มไม่ ส ามารถหลั บ ได้ ส นิ ท นั ก ผุ ด ลุ ก ผุ ด นั่ ง อยู ่ แ ทบทั้ ง คื น จริ ง อยู ่ เ รื่ อ งที่ ว ่ า ...ขณะนี้เราอาจจะอยู่ในฐานะของครูผู้สอน ผู้ถ่ายทอดบทเรียนที่ถอดจากป่า สู่นักเรียน น้ อ งใหม่ ที่ ม าพร้ อ มหั ว ใจเต็ ม ร้ อ ยในการ เรียนรู้ ทว่าสิ่งที่ต้องตระหนักให้มากก็คือ นี่ ไม่ใช่เรื่องสมมุติ ไม่มีเหตุการณ์จ�ำลอง และ ไม่มีสิทธิ์ผิดผลาดแล้วเริ่มใหม่เหมือนเกม คอมพิวเตอร์ เมื่อคณะผจญภัยในนามกลุ่ม รหัสป่า ก�ำลังก้าวเข้าสู่ความท้าท้ายและ อั น ตรายของจริ ง ทุ ก วิ น าที จึ ง ส� ำ คั ญ และ ต้องรอบคอบอย่างที่สุด “เป็นไงมั่งพี่บอย เมื่อคืนมีอะไรแวะ เวียนมามั่งมั้ย มิลล์นอนไม่ค่อยหลับเลย แต่ ก็ไม่ได้ยินเสียงอะไรมากนัก” มิลล์หนึ่งใน นักเรียนก็รู้สึกไม่ต่างจากผมเท่าไหร่

“ก็เงียบดีนะ..!! แต่วันนี้ก็ไม่รู้เหมือน กั น ว่ า เราจะเจอกั บ อะไรบ้ า ง ตอนนี้ เ รา อยู่หน้าประตูแห่งผืนป่าที่ถือว่า ลึกลับซับ ซ้อนที่สุด ทั้งความสวยงามและภัยอันตราย พรั่งพร้อมเชียวแหละ” ผมหยิบกาน�้ำร้อน และเติมน�้ำที่ได้จากต้นไม้ของเมื่อวานไปจน เต็ม เขี่ยเศษถ่านไฟเก่าที่ยังกรุ่นอยู่ตั้งแต่ เมื่อคืน เติมฟืนเข้าไปหน่อยเปลวไฟแดงๆ ก็ลุกโชนขึ้นมาอีกครั้ง “...เอาล่ะ ตื่นกันหมดก็ดีแล้ว ล้างหน้า กับกาแฟยามเช้ากันซะก่อน อย่าไปกังวล อะไรให้มากเกินการณ์ จะอะไรเราก็มาถึง ป่าอันอัศจรรย์นี้แล้ว จะถอยกลับก็ใช่ที่ ซด กาแฟนี่ ทานข้าวเคล้าระเบียงป่าให้สบายใจ

เถอะ เดี๋ยวเราก็ออกลุยกันเลย” ขวัญและ ก�ำลังใจเป็นเรื่องส�ำคัญ จะหวั่นหรือหวาด กลัวก็ไม่ควรละเลยความสวยงามที่อยู่ตรง หน้า ส�ำหรับนักเรียนรหัสป่า การก�ำหนดให้ ใจนิ่งในภาวะเช่นนี้นั้น ส�ำคัญยิ่ง ! “ป่าสันเย็นประมาณไหนพี่ เห็นเขียว พรึบราบเรียบไปหมด ต้นไม้พากันใส่เสื้อ หนาเตอะ” ใครบางคนพยายามชะเง้อมอง ให้พ้นขอบป่าอันกว้างไกล “สันเย็นคือ ส่วนหนึ่งของเทือกเขา นครศรีธรรมราชเนี่ยแหละ แต่ทว่าป่าผืน นี้น่าจะเป็นผืนป่าโบราณ หรือที่เราเรียก ว่า ป่าใส่เสื้อนั่นแหละ ..มันกว้างใหญ่มาก นับหมื่นไร่ เป็นลักษณะที่ราบบนยอดเขา

เป็นป่าต้นน�้ำชั้นหนึ่ง และด้วยความที่มัน ราบเรียบ ทึบ และหนาแน่นด้วยพรรณไม้ ดึกด�ำบรรพ์เนี่ยแหละ เรามีสิทธิ์หลงป่าได้ ง่ายที่สุด และที่ส�ำคัญ สัตว์ป่าทั้งหลายใน ป่ า นี้ มี กั น อยู ่ ค รบสรรพ เป็ น สวรรค์ ข อง เหล่าสัตว์ป่าทีเดียว ...เพราะฉะนั้น การที่เราเข้าไปเดิน เล่นในบ้านใครสักคน เราก็ต้องให้เจ้าของ บ้ า นยอมรั บ แขกอย่ า งเราให้ ไ ด้ ซ ะก่ อ น บุ่มบ่ามโดยไม่ดูอารมณ์ป่า อารมณ์เจ้าถิ่น ก็คงไม่ดีนัก !” “พี่บอยคิดว่า ช้าง เอ่อ ..ท่านขุนที่ส่ง เสียงอยู่เมื่อวานน่ะ เขาหนีเราไปรึยัง หรือ เรายังอยู่แถวนั้น” สาวน้อยหน้าใสของเรา ยังคงกังวลเรื่องนี้ ซึ่งก็ไม่ต่างจากพวกเรา ทั้งหมด “อื ม ...ก็ พู ด ยากนะ แต่ พี่ ว ่ า ไม่ น ่ า มี เหตุผลที่เขาจะหลบไปไหนไกลนะ ..แต่จะ อันตรายหรือเป็นมิตรก็ยังดูไม่ออก คงต้อง เข้าไปดูกันเอง...เอาล่ะ เดี๋ยวเตรียมตัวเก็บ ของกันเถอะ ยังไงเราก็ต้องเดินผ่านป่านี้ ทะลุไปออกอีกฟากหนึ่งให้ได้ อย่ า งน้ อ ย ก็ต้องใช้เวลาสองถึงสามวันแหละ พร้อม นะ !!” จริงๆ ค�ำตอบของประโยคสุดท้าย ไม่ได้มีความหมายอะไรนัก หมอกยามเช้าดูเหมือนจะเป็นใจให้ สันเย็นแห่งนี้ ด�ำดิ่งลงไปในจินตนาการของ ป่าแห่งนิยาย เพราะขณะเราค่อยๆ สาวรอย

ป่านี้ดุจดังต้องมนต์มืด ม่านหมอกปกคลุม ให้อับแสงด�ำสนิทราวกับราตรียังไม่คลาย “เอ๊กซ์ จ�ำได้มั้ยเมื่อวานต้นไม้เหล่านี้ หักล้มรึยัง ...ตอนเราผ่านขากลับน่ะ” ภาพ ตรงหน้าท�ำให้ผมฉงนสนเท่ห์ ไม้ใหญ่หลาย ต้นหักล้มโอนลู่ บางต้นราวกับถูกมือยักษ์ จับถอนรากถอนโคน “ยังพี่ ..ยัง โอโห ! มันล้มต้นไม้ที่เรา ไปจับหรือไปยืนอิงแทบทุกต้นเลย ..ผมจ�ำ ได้ต้นนี้ผมไปยืนพักเหนื่อย นี่มันใช้งางัดลง เลย” ความเข้าใจของพรานรุ่นน้องตรงกัน กั บ ผม มั น มี อ ะไรบางอย่ า งต้ อ งถอดรหั ส กันซะแล้ว นี่มันหมายความว่าอย่างไร มัน ล้มต้นไม้ที่ในเส้นทางที่เราเดินผ่านและไป สัมผัสท�ำไม ช้างป่าเหล่านี้ไม่พอใจอะไรผู้ มาเยือนกันแน่ เส้นทางเรายังคงลัดเลาะไปตามด่าน ท่านขุนหรือช้างป่า ผมเคยผ่านเส้นทางนี้มา บ้าง แต่ก็ไม่แน่ใจนักในบางจุด ต้องถอยเข้า ถอยออก ผิดๆ ถูกๆ อยู่หลายครั้ง ...ความ จริงหากไม่มีเรื่องเขย่าขวัญอันนี้ ป่าที่นี่ คือ ผืนป่ามรกตอันวิจิตรตระการตาทีเดียว ไม้ ใหญ่จ�ำพวกเสม็ดเขาต้นใหญ่น่าเกรงขาม แต่สูงไม่มากนัก มีรากและเถาวัลย์พันเกี่ยว ระโยงระยาง ตามคาคบหนาแน่นไปด้วย กล้วยไม้ป่านานาชนิด บางช่อขาวนวลยาว รวมครึ่งเมตร ส่งกลิ่นหอมอบอวลป่า บน พื้นดินก็เต็มไปด้วยดอกไม้เล็กๆ ม่วง ขาว เหลือง แซมดงดิบให้สวยงามเกินใครหวาด กลั ว ร่ อ งรอยเท้ า สิ ง สาราสั ต ว์ น านาชนิ ด ราวกั บ เดิ น สวนสนาม นั่ น รอยหมู ป ่ า ฝู ง ใหญ่สังเกตได้จากดินกระจุยกระจายไปเป็น ทาง เก้ง ฟานชนิดกลิ่นตัวหอมเหมือนใบ เตย ทิ้งกลิ่นไว้ตรงโคนไม้ใหญ่ สมเสร็จรอย ขนาดควายถึง ย�่ำรอยตามท่านขุนอยู่ไม่ห่าง ...ทว่ารอยจ้าวแห่งป่านี้ ที่ท�ำให้เราสะดุดใน ความรู้สึกบางอย่าง รอยเท้ากลมๆ ใหญ่ๆ หลายรอย ฟ้อง ว่า โขลงนี้มีไม่ต�่ำกว่า ๗-๘ ตัว แต่ที่สะดุด ตาเราก็เห็นจะเป็นรอยเล็กๆ กลมๆ ขนาด ๑ ฝ่ามือนั้น !! “พี่ บ อย ..ลู ก อ่ อ นน่ ะ เล็ ก มากด้ ว ย


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

มิน่าล่ะ” เอ็กซ์ก้มลงพิจารณารอยนั้น ซึ่งผมก็จับจ้อง อยู่พอดี “อะไรเหรอ” สาวน้อยนักเรียนรหัสป่าทั้งสอง ถามออกมาพร้อม ๆ กัน “...รอยลูกช้างในโขลงน่ะ พี่พอจะเข้าใจล่ะว่า ท�ำไม เขาถึงดูไม่เป็นมิตรกับเรานัก เขามีลูกอ่อนนี่เอง ถ้าเดาไม่ผิดนี่น่าจะอายุไม่กี่เดือนเองนะ เท้าเล็กมาก” ตอบเฉลยข้อสงสัย “อ้อ เค้าหวงลูกนะเหรอพี่ แล้วรอยใหญ่ๆ เมื่อ วานที่พี่บอกว่าเจอล่ะ นั่นจ่าโขลงเหรอ” “ช้าง จะมีผู้น�ำหรือจ่าโขลงเป็นช้างพังหรือตัว เมียนะ เว้นแต่ช่วงฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ตัวผู้จึงจะเข้า ร่วมโขลงได้ ..แต่เจ้ายักษ์ตัวนั้น พี่ไม่แน่ใจว่าท�ำไม มันถึงยังวนเวียนอยู่ใกล้โขลงนี้ เหมือนระวังหลัง หรือ คอยตามอยู่ห่างๆ ยังไงก็ไม่รู้” ปริศนาบางอย่างก็ยัง ไม่มีเหตุผลมาบ่งชี้ “งามันยาวมั้ย” ใครบางคนถาม “เอ พี่ ไ ม่ เ คยเห็ น ตั ว นะ...แต่ โ น่ น ดู ต รงโคน ต้นไม้โน่นซิ ดูดีๆ ..นั่นห่างโคนแค่ครึ่งฟุต เห็นอะไร มั้ย” สายตาผมเหลือบไปเห็นร่องรอยบางอย่าง ที่ สามารถถอดรหัสได้ชัดเจน “อืม ..เปลือกไม้แตกเป็นทาง เหมือนโดนอะไร งัด เขาสัตว์ หรือ...งาช้างเหรอพี่ ท�ำไมมีอะไรพิเศษ หรือพี่” “ช้างป่าน่ะ ตัวมันใหญ่ หัวมันก็ใหญ่ ลองสมมุติ ว่าเราเป็นมันดูซิ ถ้าจะเอางามางัดตรงโคนต้นไม้นั่น น่ะ เราต้องก้มลงมาต�่ำแค่ไหน .. นึกออกมั้ย ไม่มีช้าง ตัวไหนก้มต�่ำได้ขนาดนั้นหรอก มันต้องติดหัวกันอยู่ วันยังค�่ำ ...ที่มันสามารถท�ำรอยแบบนี้ได้น่ะ ...มันแค่ ยืนเฉยๆ ...ยืนเฉยๆ แล้วเอาปลายงาสะกิดเปลือกไม้นี่ น่ะ..!!” ผมพยายามบอกใบ้ “ยังไงพี่ ไม่เข้าใจ” “ก็งามันยาวถึงพื้นแค่ยืนเฉยๆ ไงล่ะ” เอ็กซ์ ตอบแทนมา “..ใช่ ตัวมันสูงขนาดหลังคาบ้านชัน้ เดียว ปลายงา ยามยืนเฉยๆ ก็สามารถลงมาแตะโคนต้นไม้ได้นะ่ เห็น ภาพรึยงั ...ทีถ่ ามว่างามันยาวมัย้ น่ะ ได้คำ� ตอบรึยงั ” “โอ้โห !!” ผมออกเดินทางต่อขณะที่สองสาวพา กันอุทานให้ลั่นป่า

ยามทะเลสงบ คือช่วงเวลาที่ดีที่สุดของ “คนเล” วิถีชีวิตเริ่มต้นง่ายๆ ตรงริมเล ตั้งแต่เย็นย�่ำ ค�่ำ เช้า ....รอยยิ้ม สมหวัง ผิดหวัง เสียงคลื่นเห่กล่อม ในมุมเล็กๆ เรายังมีพี่มีน้องมีสังคมที่อบอุ่นน่ารัก ยินเสียงทักทายอย่างเป็นมิตร เหมือนญาติ เหมือนคนสนิท ชีวิตคนเล ชีวิตคนคอน....ที่เรามักจะหลงลืม (หมอรังสิต)


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นภสร มีบุญ

านเล็ ก ๆ กั บ คอนเซ็ ป หวานๆ นั่ ง รั บ ประทานอาหารแบบสบายๆ สไตล์นั่งเล่น (ถ้าเป็นภาษายุคเด็กเฟสบุ๊ค คงจะตรงกับค�ำว่า ชิลล์ๆ ตามแบบฉบับ ที่เด็กวัยรุ่นรู้จัก) แต่ภาษาของแฟนคลับ โอ ลั่ ล ล้ า ขออนุ ญ าตใช้ ศั พ ท์ ป กติ ตาม แบบฉบับสาว (เหลือน้อย) อิอิ ว่าเป็นร้าน ที่ นั่ ง แล้ ว สบายในอารมณ์ จ ริ ง ๆ ค่ ะ กั บ บรรยากาศท่ามกลางความหวานไปด้วย สี ช มพู ที่ เ จ้ า ของร้ า นออกจะโปรดปราน (ก� ำ ลั ง พู ด ถึ ง น้ อ งกิ ฟ ท์ พิ ธี ก รคนสวย จาก NBT. นครศรีธรรมราชค่ะ เรียกว่า มองไปตรงไหนก็ ล ้ ว นแล้ ว แต่ มี สี ช มพู ทั้งนั้น ส่วนความลงตัว ของน้ อ งอรรณพ นาย หั ว ร อ ง ข อ ง ไ อ . ที . พลาซ่า น้องชายที่น่ารั ก ของคุ ณ น�้ ำ วาริ น ชิ ณ วงศ์ ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราชคนล่าสุด คือ การได้มีส่วนร่วมในการ ส่ ง บทเพลงไพเราะให้ กั บ ผู ้ ที่ ม าใช้ บ ริ ก ารนั่ ง ฟังกันแบบสบายๆ กับ เสียงดนตรี เบาๆ แล้ว ถ้ า ลู ก ค้ า หรื อ แขกท่ า นใดจะขึ้ น ไปโชว์ น�้ำเสียง หรือ ความสามารถในด้านดนตรี ให้ ค วามสุ ข กั บ คนที่ ก� ำ ลั ง ทานอาหาร รับทันทีค่ะส่วนลด ๑๐ % ส�ำหรับความ

สุ ข ที่ คุ ณ ได้ ม อบให้ กั บ ทางร้ า น และใน โอกาสถั ด ไปทางร้ า นก็ จ ะมี กิ จ กรรมดี ๆ เปิดเวทีให้เยาวชนได้ขนความสามารถมา ประชันกันอีกด้วยนะคะ ..ร้านนั่งเล่นเปิด

บริการเป็นทางการในวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๖ และเปิดบริการ จันทร์ – เสาร์ ตั้ ง แต่ เ วลา ๑๘.๐๐-๒๓.๐๐ น. หยุ ด ทุ ก วั น อาทิ ต ย์ ค ่ ะ แม้ จ ะยั ง คงถื อ ว่ า เป็ น

ร้ า นน้ อ งใหม่ ข องเมื อ งคอน แต่ สั ด ส่ ว น ของลูกค้าต้องยอมรับนะคะว่าไม่ใช่น้อย (ไม่ได้โม้ .. เจ้าของร้านฝากกระซิบค่ะ) เพราะจากที่ ตั้ ง ความหวั ง ว่ า จะขายแค่ สิบโต๊ะตอนนี้เพิ่มมาเป็นสามสิบกว่าโต๊ะ แล้ ว ด้ ว ยท� ำ เลและพื้ น ที่ โ ล่ ง โปร่ ง มอง เห็ น ง่ า ยดายจากการสั ญ จรไปมาของ ผู้คน เพราะติดถนนใหญ่ ถนนพัฒนาการคู ข วาง ถามกั น มากว่ า แล้ ว ถ้ า ฝนตกจะ ท� ำ อย่ า งไร ทางร้ า นเตรี ย มความพร้ อ ม ไว้เสมอค่ะ ทางร้านมีเต็นท์ส�ำรองพร้อม กางได้ทันที และพร้อมจะเก็บเมื่อท้องฟ้า เป็นใจได้ทันทีเช่นกัน ..ส� ำ หรั บ เมนู เ ครื่ อ งดื่ ม ของที่ นี่ น ะ คะ มีให้เลือกมากมายแต่ทุกเมนูเครื่องดื่ ม จะต้ อ งมี น มสดเป็ น ส่ ว นผสมทุ ก แก้ ว เพื่อสุขภาพที่คุณรัก และความรักที่ร้าน นั่ ง เล่ น มี ต ่ อ คุ ณ ค่ ะ .. น้ อ งกิ ฟ ท์ ก ะน้ อ ง อรรณพเล่าให้ฟังว่า ตอนแรกที่ตั้งใจเปิด ร้ า นอยากขายกาแฟ แต่ พ อมานั่ ง นึ ก ว่ า ร้านกาแฟที่เมืองคอนก็เยอะ จะท�ำยังไง ให้ ไ ด้ ใ จลู ก ค้ า การคิ ด ต่ า งและมองต่ า ง ท�ำให้จุดประกายการขายเครื่องดื่ม และ สูตรที่ต้องลงทุนไปเรียนมาเพื่อเปิดร้าน ด้วยความที่ชอบสีชมพูของน้องกิฟท์ ทั้งคู่ เลยลงความเห็นกันว่าควรน�ำรถโฟล์คคัน เก่งมาตกแต่งจากสีเดิม ..ให้ดูหวานตาม สไตล์ ที่ ชื่ น ชอบ รถคั น นี้ พ ร้ อ มทั้ ง เครื่ อ ง เสียง ทะเบียน สัญญาณ WI FI และรวม

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ไปถึ ง อุ ป กรณ์ ก ารขายเครื่ อ งดื่ ม ที่ ติ ด ตั้ ง เบ็ดเสร็จพร้อมที่จะขับไปจ�ำหน่ายได้ทุก ที่ ทุ ก ทิ ศ ทางแถมยั ง เป็ น รถที่ สี ส ดใสน่ า รักชวนมองอีกด้วย ..และวันนี้ที่มาเยือน ร้ า นนั่ ง เล่ น คงต้ อ งบอกว่ า จะติ ด อยู ่ ใ น

ความทรงจ� ำ อี ก นานเชี ย วค่ ะ เพราะมา ถึ ง นั่ ง คุ ย กั น ได้ ซั ก แป๊ บ อาหารจานแรก เต้าหู้ทอดมาเสิร์ฟ .. ถ่ายรูปได้หนึ่งเมนู พอจานที่ ส องเริ่ ม เสิ ร ์ ฟ ออร์ เ ดิ ร ์ ฟ รวม หยิบกล้องเตรียมพร้อมท�ำงาน ไฟฟ้าก็ดับ

นครศรีธรรมราช

ทั้ ง เมื อ งเลยค่ ะ ทั้ ง ๆ ที่ ช ่ ว งเย็ น อุ ต ส่ า ห์ อธิษฐานพัดฝนให้พ้น ผ่ า นเพราะฟ้ า ครึ้ ม มากเลย มาเยือนร้าน นั่ ง เล่ น ครั้ ง นี้ จึ ง ค่ อ น ข้างคุ้มตรงที่ ได้หลาย บรรยากาศแต่ ข นาด ไฟดั บ นะคะลู ก ค้ า ยั ง โทรมาถามว่าร้านเปิด หรื อ ปล่ า วจะมาทาน อาหาร แล้ ว ในที่ สุ ด เราก็ ไ ด้ เ พื่ อ นมานั่ ง ใต้ แ สงเที ย นกั น อี ก หลายโต๊ะเชียว ..มาถึงพระเอกของร้าน ค่ ะ เมนู อ าหารเพื่ อ สุ ข ภาพกั บ ผั ก สดๆ ที่ทางร้านน�ำมาใช้ทราบมาว่าเก็บกันวัน ต่อวันเลยนะคะ เพราะที่นี่ (ที่ชิณวงศ์เค้า

หน้า ๑๙

มี ชิณวงศ์ฟาร์มค่ะ ฟาร์มผักปลอดสาร พิษขนาดใหญ่ที่สามารถผลิตผักสดๆ ให้ ท่านได้ทานอย่างสบายใจ) ในทุกเมนูที่มี ผักปลอดภัยเพราะเราใส่ใจต่อสุขภาพที่ดี ของท่านเสมอ กับสูตรเด็ด : (รักการกิน นม + ชอบการกินผัก = รักสุขภาพ) ขอบคุณการต้อนรับที่น่ารักของทุก ท่านที่ร้านนั่งเล่นค่ะ มาลองนั่งกันนะคะ .. ที่ร้านนั่งเล่น @ เมืองคอน หน้า ไอ.ที พลาซ่าค่ะ ส�ำรองโต๊ะ โทร. ๐๘-๙๘๖๖-๖๐๐๖ รั บ สิ ท ธิ์ ส ่ ว นลด ๑๐% ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ผู ้ อ ่ า นนสพ.รั ก บ้ า นเกิ ด แจ้ ง กั บ พนักงานได้เลยค่ะ


หน้า ๒๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583

รางวัลการแข่งขัน ชายทั่วไป หญิงทั่วไป 35-39 ปี 40-49 ปี 40-44 ปี 50 ปีขึ้นไป 45-49 ปี 50-54 ปี 55-59 ปี 60-64 ปี 65 ปีขึ้นไป

ชาย ไม่เกิน 15 ปี ทั่วไป 45-59 ปี 60 ปีขึ้นไป

หญิง ไม่เกิน 18 ปี ทั่วไป 40 ปีขึ้นไป

ชาย ไม่เกิน 15 ปี ทั่วไป 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60-69 ปี 70 ปีขึ้นไป

หญิง ไม่เกิน 18 ปี ทั่วไป 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60 ปีขึ้นไป

ผู้สมัครทุกประเภทจะได้รับเสื้อวิ่งคนละ 1 ตัว ผู้เข้าเส้นชัย “มาราธอน” ทุกคน จะได้รับเสื้อ finisher 1 ตัว และเหรียญที่ระลึก ผู้เข้าเส้นชัย “มินิมาราธอน-ฟันรัน” ทุกคน จะได้รับเหรียญที่ระลึก ผู้ชนะการแข่งขันมาราธอน–มินิมาราธอน-ฟันรัน ชาย ล�ำดับที่ 1-10 จะได้รับถ้วยรางวัล ผู้ชนะการแข่งขันมาราธอน–มินิมาราธอน-ฟันรัน หญิง ล�ำดับที่ 1-10 จะได้รับถ้วยรางวัล

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

โกแอ๊ด ร้านโกปี้ 081-7372774 นอภ.กิตติพันธ์ เพชรชู 081-8672134 ปลัดสมยศ สุจริตธนารักษ์ 089-7317754 ปลัดพรรณี ชิ้นพงค์ 086-0266573 กุ้ง (จนท.กีฬา) 083-3922166 ที่ว่าการอ�ำเภอลานสกา 075-391-039, 075-391-049


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.