นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 41 กุมภาพันธ์ 58

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

อาจารย์สาขาประมง (ไสใหญ่) น�ำศิษย์ลงพื้นที่ อนุรักษ์สายคลองและปลาพันธุ์พื้นถิ่น หวั่นเมือง ขยายตัวคลองเน่าปลาสูญพันธุ์ หนุ่มสาวลงมือ ท�ำเครื่องมือจับปลาแบบไม่ท�ำลายล้าง อาจารย์ เตรียมขอทุนศึกษาวิจัยคลอง-ปลา เขตลุ่มน�้ำตรัง

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ชุมชนคนนคร นครา ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง มุมมองท่องเที่ยว สาธิต รักกมล รักสุขภาพ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล เพื่อนเรียนรู้ ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม เทคโนโลยีอัพเดท อาจารย์แก้ว ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์ โอ ลั่ลล้า..พาเที่ยว นภสร มีบุญ

เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๘ ‘รักบ้านเกิด’ พบ กับ อ.จิรวิทย์ จ�ำปา กับ อ.อัมพร รัตนมูสิก อาจารย์ สาขาวิ ช าประมง คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ม.เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (ไสใหญ่) ขณะ น�ำนักศึกษาชายหญิงประมาณ ๑๕ คน เข้าไปฝึกท�ำไซดักปลาน�้ำ ณ ที่ท�ำการ ธนาคารต้นไม้ สาขาทุ่งสง ต.กะปาง อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๕ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ๑๐ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๔ ˹éÒ ñ๕ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗ ˹éÒ ñ๘

นครฯ พร้ อ มจั ด งานมาฆบู ช า แห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติ ๒๕๕๘ อย่างยิ่งใหญ่ ด้วยกิจกรรมส่ง เสริมพระพุทธศาสนา เชิญชม ขบวนแห่ ผ ้ า พระบฏพระราชทาน และผ้าพระบฏจากนานา ชาติ ๑ - ๔ มีนาคม

ประธานการประชุ ม ร่ ว ม กับพระเทพวินยาภรณ์ เจ้า อาวาสวั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร และรองเจ้ า คณะภาค ๑๖, ๑๗, ๑๘ ฝ่ายธรรมยุติ, พระศรีธรรมประสาธน์ เจ้าคณะจังหวัด นครศรีธรรมราช (ธ), พระ เทพสิริโสภณ เจ้าอาวาสวัด วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมศรีปราชญ์ วังตะวันตก ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช เจ้าคณะจังหวัด ชั้ น 3 ศาลากลางจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช นายพี ร ะศั ก ดิ์ นครศรีธรรมราช (มหานิกาย) และ หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ หิ น เมื อ งเก่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น เพื่อหารือเรื่องเตรียมพร้อม >> อ่านต่อหน้า ๙


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

กรณีแก๊งนักเลงยิงนักธุรกิจหนุ่มทายาทเจ้าของ รีสอร์ท ‘หน�ำไพรวัลย์’ เสียชีวิตหน้าตลาดคูขวาง เมื่อต้นเดือนมกราคม ๒๕๕๘ คือภาพฟ้องว่าตัว เมืองนครศรีธรรมราชมีแก๊งนักเลงแก๊งใหญ่อยู่จริง และพกพาอาวุธปืนไปในที่สาธารณะโดยไม่เกรง กลัวกฎหมาย จนสามารถก่ออาชญากรรมสะเทือน ขวัญ หลังจากรัฐมนตรีว่าการการท่องเที่ยวและ กี ฬ าเดิ น ทางมาปาฐกถาเปิ ด ประตู เ มื อ งนครใน ฐานะ ‘เมืองต้องห้าม...พลาด’ สร้างภาพสวยงาม ชักชวนผู้คนมาเยือนเมืองนครยังไม่ทันครบหนึ่ง เดือน อาชญากรรมอุกอาจเกิดขึ้นในย่านชุมชนสะท้อน ให้เห็นความย่อหย่อนของผู้รักษากฎหมายอย่าง ไม่อาจหลีกเลี่ยง ขณะชาวบ้านชาวเมืองรับรู้ว่าแม้ ในตัวเมืองก็ไม่มีความปลอดภัย ไม่มีหลักประกัน ว่าเหตุการณ์เช่นนี้จะไม่เกิดขึ้นอีก ประชาชนต่าง เฝ้ารอว่าผู้รักษากฎหมายจะสามารถน�ำคนผิดจริง มาลงโทษได้หรือไม่ หรือปล่อยให้เรื่องราวค่อยๆ จางหายไปกับวันเวลาโดยไม่ได้พิสูจน์ฝีมือให้คุ้ม กับภาษีที่ประชาชนเป็นผู้จ่าย เราเชื่อว่าผู้รักษากฎหมายจะไม่ปล่อยให้อาชญากรรมครั้ ง นี้ เ ป็ น โมฆะ หรื อ เงี ย บหายไปโดยไม่ ส่ ง ผลใดๆ ต่ อ สั ง คมเลย โดยเฉพาะการเข้ ม งวดกวดขันกลุ่มนักเลง ไม่ว่ามีเจ้าของหรือเลว อย่างเอกเทศ กวดขันให้พวกเขาไม่เป็นอันตราย ต่ อ สุ จ ริ ต ชน ซึ่ ง เป็ น หน้ า ที่ โ ดยตรงของผู ้ รั ก ษา กฎหมายอยู่แล้ว ผู้รักษากฎหมายเป็นแกนหลัก ในการสร้างหลักประกันและคอยปัดกวาดสังคมให้ ปลอดภัย แสดงฝีมือให้ประชาชนเชื่อมั่นว่าพวก เขาสามารถใช้ชีวิตตามปกติโดยไม่ถูกคุกคาม ทั้ง ชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน

มื่อต้นเดือนมกราคม ผมได้ร่วมต้อนรับคณะสถาปนิกและ ภูมิสถาปนิกจากอาศรมศิลป์ ผู้ออกแบบรัฐสภาหลังใหม่ “สัปปายะสภาสถาน” ที่ก�ำลังก่อสร้างอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา มาที่วัดพระธาตุและวัดศรีทวีเมืองนคร เพื่อพิจารณาการถวาย งานการช่วยออกแบบให้เป็นสัปปายะสถานยิ่งขึ้น โดยมีท่าน อดีตผู้ว่าวิชม ทองสงค์ อดีตอธิการบดีฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ และ อาจารย์บัณฑิต สุทธิมุสิก และคณะศรัทธากลุ่มหนึ่งเข้า ร่วม และในวาระดังกล่าว ท่านเจ้าคุณวัดพระธาตุได้ปรารภถึง ข้อวิตกเรื่องคราบสนิมบนปล้องไฉนและการประสานเตรียม การเรื่องมรดกโลก โดยเฉพาะเรื่องคราบสนิมซึ่งถึงขณะนั้น ยั ง ไม่ มี ค วามชั ด เจนว่ า กรมศิ ล ปากร ในฐานะผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ตามกฎหมายและหน้าที่ รวมทั้งผู้บูรณะมากับมือตลอดมา ว่าอย่างไร ผมได้แต่ฝากความเป็นทอดๆ ไปยังท่านรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรมว่าเรื่องนี้ ชาวนครเป็นห่วงอย่างยิ่ง ขอช่วยเร่งรัดและมีความชัดเจนด้วย ก่อนที่จะเกิดอะไรที่ไม่ คาดคิดขึ้นได้ เข้าใจว่าถึงขณะนี้ คงมีความชัดเจนและคลาย วิตกลงแล้ว ท่านเจ้าคุณบอกว่า ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม หลัง มาฆบูชานี้ ทางวัดจะต้องท�ำอะไรแล้ว ผู้คนพากันไถ่ถามด้วย ความห่วงใย...เหมือนไม่ไหวกันแล้ว แต่ที่จั่วหัวเรื่องว่า “สวัสดี ตามพรลิงค์ และ นครศรีธรรมราชมหานคร” เพื่อต้อนรับปี ๒๕๕๘ นี้ ผมน�ำมาจาก ชื่อหนังสือ ๒ เล่ม ที่เพิ่งได้มาจากศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และเห็นว่าคนนคร และผู ้ ที่ ส นใจในเมื อ งนครควร อ่านอย่างยิ่ง เพิ่งพิมพ์ออกมาเมื่อ ปี ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๗ นี้ เขียน โดยคุ ณ ประทุ ม ชุ ่ ม เพ็ ง พั น ธุ ์ นั ก ประวั ติ ศ าตร์ โ บราณคดี ที่ ม า บุกเบิกงานโบราณคดีที่เมืองนคร จนออกมาเป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แห่งชาติ นครศรีธรรมราช รวม ทั้งการริเริ่มสารนครศรีธรรมราช

เมื่อปี ๒๕๑๓ เขียนหนังสือว่าด้วย “นครศรีธรรมราช” เล่ม แรก พิ ม พ์ แ จกในงานพระราชทานเพลิ ง ศพขุ น บวรรั ต นา รั ก ษ์ เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๑๕ และการริ เ ริ่ ม จั ด ประชุ ม สั ม มนา ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ.๒๕๒๑ เฉพาะเล่มแรก “สวัสดี ตามพรลิงค์” นั้น นอกจากชี้ให้ เห็นถึงภูมิศาสตร์ ลม ฟ้า อากาศ ผู้คนพลเมือง จนก่อก�ำเนิด เป็นรัฐและแคว้นขึ้นในท้องถิ่นสุวรรณภูมิและคาบสมุทร ทะเลใต้แรก ๆ ที่ส�ำคัญบนประวัติศาสตร์โลกยุคแรกเริ่ม ๓ อาณาจั ก ร คื อ อาณาจั ก รตามพรลิ ง ค์ บ นแหลมมลายู อาณาจั ก รศรี วิ ชั ย บนเกาะสุ ม าตรา และอาณาจั ก รตารุ ม า บนเกาะชวา เฉพาะตามพรลิงค์บนคาบสมุทรเอเซียอาคเนย์ หนังสือได้ชี้ที่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยช่วงจังหวัดนครถึงสงขลา ระยะทางประมาณ ๒๐๐ กิโลเมตร ตั้งแต่สิชลถึงหัวเขาแดง ซึ่งเป็นสันทรายขนาดใหญ่เกิดจากการพัดพาตะกอนทราย มาทับถมเป็นพันปี ประกอบกับเกิดการถดถอยของน�้ำทะเล อ่าวไทยจนปิดกั้นที่ราบลุ่มตอนในจนค่อยๆ กลายเป็นลากูน (lagoon) ทะเลสาบ ร่องน�้ำ พรุ ควน และท้องนาต่างๆ ตลอด ระยะเมื่อ ๖,๐๐๐ ปีที่ทะเลเคยเว้าลึกเข้าไปกว่าที่เป็นในทุก วันนี้ และได้ล�ำดับยุคสมัยของ “ตามพรลิงค์” ก่อนที่จะมาเป็น “นครศรีธรรมราช มหานคร” ไว้ ๔ ยุค ดังนี้ ยุ ค แรก “ยุ ค ตั้ ง ฟ้ า ดิ น ” เมื่อประมาณพุทธศตวรรษ ที่ ๗-๑๐ มีคนพูดภาษาออสโตรนีเซียนและออสโตรเอเซียติก (ชาวเล เงาะป่า ซาไก มอญและ มลายู) ใช้เครื่องมือหินขัด เหล็ก และเครื่องปั้นดินเผา มีการใช้เรือ ชายฝั่ง ตั้งเป็นชุมชนเกษตรกรรม ขนาดเล็กตามที่ราบเชิงเขาเทือก เขานครศรีธรรมราช กระจายตัว ตลอดแนวเขตท่าศาลา เมือง ลาน สกา ร่อนพิบูลย์ ยุ ค สอง ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ >> อ่านต่อหน้า ๑๘


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

ม่เข้าไปเที่ยวคีรีวงร่วม ๑๐ ปี ทั้งที่แหล่งพักผ่อน อย่ า งดี อ ยู ่ ใ กล้ บ ้ า น ใกล้ เ มื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ คน จังหวัดอื่นๆ ไม่ไปเพราะใจตั้งแง่ ว่าคีรีวงเป็นพื้นที่เบียดบังงบ ประมาณของคนรัฐที่รับผิดชอบด้านการท่องเที่ยว สูงขึ้น ไปตามล�ำธารมีข้าราชการระดับสูงเอาเงินไปซื้อที่ดินเก็บ ไว้- ก่อนนี้ไม่เห็นด้วยที่มีกลุ่มนักอนุรักษ์เพืี้ยนๆ ตัดไม้ไผ่ มาปักขวางคลองเหนือสะพานไปราว ๒๐ เมตร ทั้งขน ทรายหลายร้อยกระสอบไปท�ำฝายชะลอน�้ำ โดยไม่สนใจ นิยามของ ‘ฝาย’ ว่าคืออะไร ล�ำคลองกว้าง ๓๐ เมตร อยู่ใกล้ต้นน�้ำ ๒ กิโลเมตร แม้หมู่บ้านคีรีวงยังเคยถูกน�้ำ กวาดเสียเรียบเมื่อปี ๒๕๓๑ ฝายเพื้ยนๆ ที่ชาวคีรีวงไม่ ปริปากค้านจะยืนอยู่ได้สักกี่น�้ำ สัปดาห์สุดท้ายของเดือนมกราคม ๒๕๕๘ ผมจ�ำ ใจเข้าคีรีวงอีกครั้ง ภรรยารบเร้าให้เป็นเพื่อนลูกสาวกับ เพื่อนคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ รวม ๔ คน เด็กๆ อยากเห็น คีรีวงกับตาสักครั้ง บางคนเคยไปอยู่ฝรั่งเศส นิวยอร์ค และญี่ปุ่นมาแล้ว แต่ยังอยากเห็นคีรีวงสักครั้งเพราะเป็น คนกรุงเทพฯ คนชลบุรี คนสุรินทร์ หลังจากนี้จะได้กลับ ไปคุยกับเพื่อนๆ ว่า ‘คีรีวง ไปมาแล้ว’ เด็กๆ ๔ คนเป็นผู้รับผิดชอบโครงการของคณะ รั ฐ ศาสตร์ จุ ฬ าฯ (ศู น ย์ น ครศรี ธ รรมราช เชี ย งใหม่ ขอนแก่น และอีกที่จ�ำไม่ได้) เนื้อหาของโครงการ คือเปิด ทดสอบทักษะทางด้านรัฐศาสตร์แก่นักเรียนชั้น ม.๖ ทั่ว ภาคใต้ (หรือแข่งขันตอบปัญหารัฐศาตร์ครั้งที่ ๓) โดย โรงเรียนต่างๆ ส่งทีมเข้าร่วม ๓๐ ทีม ทีมละ ๒ คน เด็ก นักเรียนมาจากทุกจังหวัด นิสิตรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ๔ คน มาพร้อมข้อสอบที่อาจารย์ในคณะเป็นผู้ออกและถูกปิด ไว้อย่างมิดชิด ศูนย์นครฯสอบที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นักเรียนท�ำข้อสอบเสร็จ พี่ๆ เป็นคนตรวจ ผลคะแนน

ออกมาน่าชื่นใจ ศูนย์นครฯ ท�ำคะแนนได้สูงสุด เสร็จงาน ยังมีเวลาเลยอยากไปเที่ยวคีรีวง คี รี ว งโฉมใหม่ โดยเฉพาะวั น หยุ ด เสาร์ อ าทิ ต ย์ มี รถยนต์ รถกระบะเข้าออกมากมาย ไม่นับจักรยานยนต์ ของหนุ่มสาวที่ขึ้นไปอาบน�้ำเล่นน�้ำ แค่ข้ามสะพานเข้า พื้นที่คีรีวงพบว่ามีสภาพเป็น ‘ตลาด’ ชัดเจนยิ่งขึ้น มี ข้าวแกง ขนมจีน ลูกชิ้นเสียบไม้ ฯลฯ รอคนซื้อคนกิน เหนือที่ท�ำการอนามัยรถตักก�ำลังขุดดินฝังท่อพีวิซีขนาด ยักษ์เข้าใจว่าเป็นท่อประปา น�้ำจากต้นน�้ำคีรีวงจะไหลไป บริการคนปลายน�้ำ หนานท่าหาผมเคยลงเล่นน�้ำตอนนี้ลาดปูนข้าม คลองถาวร รถยนต์ ขึ้ น ลงสะดวก ขึ้ น ไปจอด ตามสวนมังคุดข้างๆ ร้านขายของกิน ขายส้มต�ำ ไก่ย่าง ตรงท่าหามีร้านอาหารขนาดใหญ่หรูหรา เปิดบริการนักท่องเที่ยว ผมยังไม่ได้ขึ้นไป ชวน เด็กๆ เดินเลาะขึ้นไปเดินข้ามสะพานแขวนข้าม คลองซึ่งเป็น ‘จุดสะดุดตา’ เป็นแลนด์มาร์คหรือ อะไรก็ตามใจ พอเป็นที่ยืนถ่ายรูปหรือเซลฟี่ให้ติด ล�ำคลองน�้ำใสแจ๋วไหลเลาะก้อนหินแตกเป็นมวล น�้ำขาวๆ สูงขึ้นไปเป็นภูเขาเขียวครึ้ม ลัดลงตลิ่งไปนั่งบนเสื่อเจ้าร้านปูไว้ริมคลอง

สั่ ง ส้ ม ต� ำ ๒ จาน กั บ อื่ น อีก ๒ จาน ไม่ให้น่าเกลียด เกิ น ไป ท่ า น�้ ำ ล� ำ ธารเป็ น ทรัพยากรของท้องถิ่นคีรีวง ของต� ำ บลก� ำ โลน อ� ำ เภอ ลานสกา เจ้าของทรัพยากร ต้องได้ประโยชน์ ควบคู่ไป กับการท�ำนุบ�ำรุงรักษาให้สะอาดตลอดไป วันอาทิตย์ นักท่องเที่ยวลงไปอาบน�้ำตลอดสายธารเย็นใส บ้างก็นั่ง กิน เฝ้ารอลูกหลานลงเล่นน�้ำ เป็นรูปแบบการท่องเที่ยว ง่ายๆ ไม่พิสดารอะไร แต่ได้ความสุข ความเย็นชื้นชุ่มฉ�่ำ จากสายธาร หัวจิตหัวใจพลอยเบิกบานไปด้วย เด็กๆ ถอดรองเท้า เอาเท้าแช่น�้ำเย็นๆ แกว่งเล่น พู ด คุ ย หยอกล้ อ อย่ า งมี ค วามสุ ข กิ น อาหารที่ เ ตรี ย ม ไปบ้าง ถ่ายรูปกันบ้าง แล้วส่งทางสมาร์ทโฟนไปอวด เพื่อนๆ ที่ศูนย์เชียงใหม่-ขอนแก่น ทางโน้นตอบกลับมา ทันทีว่า ‘อิจฉา’ ผมถอดรองเท้าถุงเท้าลงแช่บ้าง นาน แล้วไม่ได้ท�ำอย่างนี้ ท�ำแล้วรู้สึกดี เย็นเท้าเย็นใจ ยิ่ง เห็นเด็กๆ อายุ ๖-๗ ขวบหรือหนุ่มสาวลงอาบน�้ำอย่าง สนุกสนาน มุมคิดติดค้างในใจกลับเปลี่ยนไป ใครจะ คดโกงเอากับคีรีวงก็ช่างเขา บาปกรรมของเขาๆ ต้อง รับไปไม่วันนี้ก็วันหน้า แต่สายธารฉ�่ำเย็นเป็นที่ต้องการ จริงๆ ของคนที่ก�ำลังอาบ-ว่าย-ด�ำอยู่ขณะนี้ คี รี ว งยั ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ข้ า ออกง่ า ย ถ้ า ต้องการพักค้างคืน มีรีสอร์ตชาวบ้าน มีร้านเช่าจักรยาน ปั่นเที่ยวและมีข้าวแกงและขนมจีนอร่อยราคาย่อมเยา ไปเที่ยววันเดียวหรือไปเช้ากลับบ่าย มีสองแถวคีรีวงนครฯ บริการ


หน้า ๔

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

มื่อต้นเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว (๒๕๕๗) ผมผ่านแถว หอพระอิศวร เห็นมีการขุดแต่งอะไรอยู่ในบริเวณนั้น จึงแวะเข้าไปดู ทราบว่าทางกรมศิลปากรโดยเจ้าหน้าที่ ที่เชี่ยวชาญทางโบราณคดี ได้ท�ำการขุดหาต�ำแหน่งของ ‘โบสถ์ พ ราหมณ์ ’ ที่ ถู ก รื้ อ ถอนและฝั ง ดิ น กลบเอาไว้ ตั้งแต่ช่วงปี ๒๕๐๐ กว่าๆ จนถึงวันนี้มีการขุดค้นพบอิฐ ฐานรากต�ำแหน่งของโบสถ์พราหมณ์เดิมเรียบร้อยแล้ว มีขนาดใหญ่กว่านักวิชาการเขาคาดเอาไว้ ผมได้พูดคุย กับทางเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจึงทราบว่า โบสถ์พราหมณ์ นั้นมีเฉพาะขุดหาต�ำแหน่งเท่านั้น งบบูรณะก่อสร้างยัง ไม่มี ส่วนหอพระอิศวรและหอพระนารายณ์ก็คงทั้งขุดดู ฐานรากเดิมและบูรณะทั้งตัวอาคารไปด้วย เป็นอันว่ามีอยู่สองส่วนที่ยังไม่ชัด คืองบสร้างโบสถ์ พราหมณ์ขึ้นมาใหม่ กับย้ายเสาชิงช้ากลับมาอยู่ต�ำแหน่ง เดิมซึ่งมีการขุดค้นพบแล้ว กลุ่มชมรมรักบ้านเกิด ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจ ในเทวสถานแห่งนี้มาหลายปีแล้ว จนมีการจัดกิจกรรม แสดงเรื่องพิธีโล้ชิงช้า พิธีตรียัมปวาย ซึ่งชาวนครเรียก พิธีนี้ว่า ‘แห่นางดาน’ ทางกลุ่มได้เสนอตัวเพื่อสนับสนุน โครงการบูรณะครั้งนี้เช่น เรื่องหอพระอิศวรทราบว่าเขา มีการประมูลว่าจ้างกันแล้ว และบูรณะแบบเดียวกับยุค ปัจจุบัน ผมจึงเสนอว่าขอให้มีการบูรณะเป็นแบบอย่าง โบราณ คือยึดเอาแบบหอพระอิศวรในช่วง พ.ศ.๒๔๗๐ ซึ่งมีภาพถ่ายของเก่าอยู่ หากมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมอีกเท่าไร ทางชมรมรักบ้านเกิดจะจัดหามาให้ผู้รับเหมาเพิ่มเติมก็ ยังเงียบอยู่ ส่วน ‘โบสถ์พราหมณ์’ ยังไม่มีการบูรณะขึ้นมา ใหม่ ใ นคราวนี้ ทางชมรมรั ก บ้ า นเกิ ด อาสาเข้ า ไปช่ ว ย

เหลือ ในส่วนของรูปแบบโบสถ์พราหมณ์ ผมขอความช่วย เหลือไปยังอาจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ให้ท่านช่วย เสาะหาแบบจากเมือง ‘รามนคร’ ในอินเดีย ต้นก�ำเนิด ของเหล่าพราหมณ์ที่มาสร้างเทวสถานแห่งนี้เมื่อยุคโน้น ต�ำแหน่งโบสถ์พราหมณ์เดิมก็มีการย้ายเสาชิงช้าไปสร้าง ทับลงไปที่เราเห็นอยู่ปัจจุบัน ต�ำแหน่งเดิมนั้นอยู่หน้าหอ พระอิศวร ทางเจ้าหน้าที่ก็ขุดพบเรียบร้อยแล้วถ้าย้ายมา ที่เดิม ทราบว่าทางเจ้าหน้าที่จะปรับเปลี่ยนเสาเหล็กกลับ มาเป็นเสาไม้ตะเคียนเหมือนเดิม ทางรักบ้านเกิดก็ติดตาม เสาะหาต้นตะเคียนที่ได้ขนาดเอาไว้แล้ว หากทางกรม ศิลปากรต้องการก็ยินดีที่จะสนับสนุนด้วย เทวสถานทั้งสาม รวมเสาชิงช้าด้วยเป็นสี่ ก�ำลังได้ รับการบูรณะขึ้นอีกครั้ง เป็นโบราณสถานของศาสนา พราหมณ์ฮินดูอีกที่หนึ่ง คงจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มี กิ จ กรรมอะเมซิ่ ง อั น หนึ่ ง ของเมื อ งนคร สอดคล้ อ งกั บ กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของ ททท. เรื่อง ‘เมืองต้อง ห้าม...พลาด’ ที่นครเราติดเป็นหนึ่งในสิบสองเมือง และ พระบรมธาตุก็ก�ำลังอยู่ในระหว่างด�ำเนินการท�ำเอกสาร เพื่อลุ้นเป็นมรดกโลกกับเขาอยู่พอดี พูดถึงเลข ๑๒ จะถูกโฉลกกับเมืองนครมาก มักจะมี อะไรดีๆ ที่มีเลข ๑๒ อยู่ด้วยเสมอ เช่นมโนราห์ ๑๒ ท่าน เมือง ๑๒ นักษัตร กวนข้าวยาคู ๑๒ กระทะก็โด่งดัง นี่ เป็น ๑ ใน ๑๒ เมืองต้องห้าม..พลาดกับเขาด้วย เหล่าพราหมณ์ทั้งหลายได้เดินทางเข้ามาในเมือง นครตั้งแต่ยุคโบราณนับพันปีมาแล้ว ยุคแรกๆ กลุ่มพ่อค้า ชาวอินเดียเดินทางเข้ามาท�ำมาค้าขายก็น�ำเอาศาสนาเขา เข้ามาด้วย ตั้งแต่พังงา ตะกั่วป่า ไชยา ตามพรลิงค์นคร แล้วออกฝั่งทะเลตะวันออกมาทางแปซิฟิกเพื่อค้าขายกับ ชาติอื่นต่อไป กลุ่มพราหมณ์ที่มาสร้างหอพระอิศวร หอ พระนารายณ์ที่ต�ำบลในเมืองนี้ เพิ่งเข้ามาในยุคหลังใน ช่วง พ.ศ. ๑,๘๐๐ – ๑,๙๐๐ ห่างกันหลายร้อยปี เรื่ อ งราวการเดิ น ทางเข้ า มาของเทวสถานชุ ด นี้ น่าสนใจมาก มีเรื่องเล่าเป็นต�ำนานในหนังสือเก่าเรื่อง ‘ต�ำนานพราหมณ์เมืองนคร’ ผมมีความรู้เรื่องภาษาเก่า ไม่ดีพอ อยากจะให้ผู้รู้ช่วยแปลอีกสักรอบ แล้วหานัก เขียนเก่งๆ เขียนเรื่องต�ำนานพราหมณ์เมืองนคร มันคือ ‘เทพนิยาย’ของเมืองนคร เป็นจุดขายการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม จนถึงยังมีประเพณีสืบทอดมา จนถึงปัจจุบันเหมือนการ ‘แห่ผ้าขึ้นธาตุ’ ของเรา ทางด้านโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ชาติต่างๆ ก็ จะเข้ามาสืบค้นน�ำไปเผยแพร่ นักท่องเที่ยวก็จะมาเที่ยว ชมแล้วเผยแพร่ให้คนทั่วโลกได้รู้จัก ทางเราก็จะจัดแสดง เรื่องราวพิสดารที่เกิดขึ้นในยุคนั้นตามต�ำนานพราหมณ์ เมืองนคร ส่วนนักแสวงบุญของศาสนิกของเขาก็จะเดิน ทางมาแสวงบุญในบ้านเรา การท่องเที่ยวที่เราไม่เปลืองตัว โอกาสได้มากกว่าเสีย หากชาวนครร่วมมือช่วยกัน ภาค ราชการ เทศบาล อบจ. ก็ให้ส่งเสริมสนับสนุน รายได้จาก การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนก็จะเกิดขึ้นกับบ้านเกิดของเรา

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือน กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ ฉบั บ นี้ ข อแนะน� ำ คอลั ม น์ ใหม่ ‘มุ ม มองท่ อ งเที่ ย ว’ โดยผู ้ มี ป ระสบการณ์ เ รื่ อ ง การท่องเที่ยวเมืองนครมายาวนาน

คนรักพระบรมธาตุฯ ต�ำหนิในโลกออนไลน์นับ เดือน...อาณัติ บ�ำรุงวงศ์ ผอ.ส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ นครฯ จุมพต ตระลนุช วัฒนธรรมจังหวัดนครฯ ธีระชัย จันทรังษี นักวิชาการช่างศิลป์ช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักช่างสิบหมู่ และเสน่ห์ มหาผล นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ กรมศิลปากร ช่วยกันส่องกล้องทางไกลดูบัวคว�่ำบัวหงายฐานปลียอด ทองค�ำตรวจหาสาเหตุของคราบสนิม และหาแนวทาง เก็บตัวอย่างมาทดสอบเพื่อการบูรณะให้ตรงจุด ธีระชัย จันทรังษี กับเสน่ห์ มหาผล ไม่ยืนยันว่าคราบสนิม เกิดจากอะไร ต้องรอการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ให้ ชัดเจน แล้วค่อยวางแผนบูรณะซ่อมแซม หากคราบเกิด จากสนิมเหล็กต้องเอาเหล็กออก แล้วใช้แพ็ลเลเดียม (Palladium) หรือเงินยวงแทน ซึ่งจังหวัดเสนอของบฯ ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยตอนบน ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จ�ำนวน ๓๐ ล้านบาทเพื่อบูรณะ การตรวจสอบเก็บ คราบสนิ ม บนยอดเจดี ย ์ น ่ า จะด� ำ เนิ น การได้ ภ ายในปี นี้ ‘รักบ้านเกิด’ ยังติดตามความคืบหน้าเรื่องการ เสนอพระบรมธาตุฯเป็นมรดกโลก ล่าสุด ผู ้ ว ่ า ฯ พี ร ะ ศักดิ์ หินเมืองเก่า เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้องขอทราบความคืบหน้า ผศ.ฉั ต รชั ย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ รายงานว่า กองทุนมรดกโลกซึ่งมีเงินอยู่จ�ำนวน ๕.๒ ล้านบาทเศษ ได้เตรียมระดมทุนโดยการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์จ�ำลอง การออกแบบแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ส่วนการ จัดการพื้นที่แหล่งมรดกโลกส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด กับส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองรับผิดชอบ การปรับปรุงภูมิทัศน์เป็นไปด้วยความเรียบร้อย การติด ตั้งไฟฟ้าประดับ และไฟฟ้าส่องสว่าง เสร็จเรียบร้อยและ เบิกจ่ายเงินแล้ว ส่วนเรื่องน�ำสายไฟฟ้าโดยลงดินตั้งแต่


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน้ า วั ด พระมหาธาตุ ถึ ง วงเวี ย นน�้ ำ พุ ส นามหน้ า เมื อ งคื บ หน้ า ราวๆ ๔๐% เอกสารน� ำ เสนอพระบรมธาตุ เจดีย์เพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เฉพาะบทที่ ๕ ซึ่ง มีรายละเอียดที่ต้องมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม เพราะเป็นเรื่องการบริหารจัดการเชิงศิลปะ การท่องเที่ยว การอนุ รั ก ษ์ การวางผั ง เมื อ งไม่ ใ ห้ ก ระทบต่ อ วั ด เดื อ น กุมภาพันธ์นี้จะจัดสัมมนานักวิชาการเพื่อทบทวนเอกสาร ให้ถูกต้องสมบูรณ์อีกครั้ง หลังจากนั้นรองผู้ว่าฯ ท�ำให้เป็นปกติให้ต่อเนื่องจนกลายเป็นประเพณี ศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล จะเป็ น แม่ ง านจั ด ท� ำ หนั ง สื อ ประชา สัมพันธ์เกี่ยวกับวัดพระมหาธาตุฯ แจกจ่ายท�ำความเข้าใจ กิ จ กรรมตั ก บาตรเช้ า ทุ ก วั น อาทิ ต ย์ ‘บนถนนสาย ธรรมสู ่ ม รดกโลก’ หน้ า วั ด พระมหาธาตุ แ ละฟั ง ธรรม กับประชาชนในวันวิสาขบูชา จาก ‘พระเทพวิ น ยาภรณ์ ’ เป็ น อนุ ส ติ วั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารร่ ว มกั บ สถาบั น พลั ง จิ ต ตานุ ภ าพ วั ด ธรรมมงคล กรุ ง เทพฯ (หลวงพ่ อ วิ ริ ยั ง ค์ สิ ริ นฺ ธ โร) ประธานผู้ก่อตั้งสถาบันพลังจิตตานุภาพ ได้จัดตั้งสถาบัน พลังจิตตานุภาพ สาขาที่ ๗๖ ขึ้น ณ ส�ำนักปฏิบัติธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อ.เมือง จ.นครฯ จะเปิดสอน หลักสูตรครูสมาธิแก่ประชาชนทั่วไปทั้งภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิ บั ติ ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ ณ อาคารปฏิ บั ติ ธ รรม ชั้ น ๓ หลั ง ศาลา ๑๐๐ ปี เปิ ด เรี ย นและปฐมนิ เ ทศ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ให้การต้อนรับนาย นักศึกษาครูสมาธิ รุ่นที่ ๓๖ วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์นี้ ผู้ จาง จิ้น สง กงสุลใหญ่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจ�ำ สนใจสมัครอบรมต้องมีอายุไม่ต�่ำกว่า ๒๐ ปี ไม่เกิน ๖๐ จังหวัดสงขลา ที่เดินทางมาเข้าเยี่ยมคารวะและอวยพร ปี วุฒิการศึกษา ม.๓ รายละเอียดโทร.ถาม ดร.พระครู ปีใหม่ กงสุลใหญ่จะพยายามผลักดันความร่วมมือระหว่าง สิริธรรมาภิรัต ๐๘๒-๘๐๒๒๕๕๓ และ ทิพวัลย์ ตรีตรง จังหวัดนครฯ และมณฑลหนานหนิง ให้คืบหน้าทั้งด้าน ๐๘๗-๒๘๓๕๘๐๐ การค้า การลงทุน การศึกษา และการท่องเที่ยว ‘ผู้ว่าฯ ท�ำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก พี ร ะศั ก ดิ์ ’ มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ OTOP จากโครงการในพระ เรื่อง ‘โนรา มะโย่ง บาร็อง’ กณิ ศ ศรี เ ปารยะ ยั ง ตะราชด�ำริเป็นที่ระลึก ลอนๆ ไปร่ า ยร� ำ บ้ า งเก็ บ ข้อมูลบ้างงานนี้ไปร่วม พิธี สอดเครื่องสอดก�ำไล...น้อม จิ ต คารวะขอเรี ย นรู ้ จ ากครู โนราในงานมหกรรมโนรา โรงครู : อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี ‘โนราเติ ม เมื อ งตรั ง ’ บุ ๋ ม -รั ช นี พิ ณ ทอง (ผู ้ จั ด การหอการค้ า นครฯ) สมพาศ นิ ล พั น ธุ ์ ผู ้ ต รวจราชการประจ� ำ ส� ำ นั ก เสร็จจากงานประจ�ำยังขยัน นายกรัฐมนตรีเขต ๖ เป็นประธานคณะกรรมการธรรมาท�ำมาหากิน งานนี้ไปยืนปิ้ง ภิบาลจังหวัดนครฯ โดยได้หารือแนวทางการสอดส่องแผน ข้ า วเหนี ย วห่ อ แบนๆ สู ต ร งานโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ได้รับ ดั้ ง เ ดิ ม จ น ข า ย ดิ บ ข า ย ดี การจั ด สรรงบประมาณ ตามแผนปฏิ บั ติ ร าชการประจ� ำ ตรงข้ า มโรบิ น สั น โอเชี่ ย น ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ผู้ตรวจราชการฯ เน้นย�้ำให้คณะ กรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดลงพื้นที่สอดส่องทุกโครงการ ที่ได้รับงบประมาณ การจัดท�ำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ และให้เอาใจใส่ปัญหาความ เดือดที่ประชาชนร้องเรียนให้มาก ขณะนี้รัฐบาลได้เร่งรัด ศูนย์ด�ำรงธรรมให้ความส�ำคัญในเรื่องของศูนย์ด�ำรงธรรม สุรพล โชติธรรมโม ผอ.วิทยาลัยอาชีวศึกษานครในการเชื่อมโยงกับการแก้ไขปัญหาช่วยเหลือความเดือด ศรีธรรมราช จัดงาน‘อาชีวปริทรรศน์’ ครั้งที่ ๒๗ เพื่อยืนยัน ร้อนของประชาชนเป็นส�ำคัญ ว่าสถาบันเป็นแหล่งผลิตบุคลากรคุณภาพสู่สังคมตลอดมา

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

เปิ ด ศั ก ราชใหม่ นพ. โสรัตน์ สมุทวานิช เดินตรงมา ที่ ฮ อนด้ า ศรี น ครล้ ว งกระเป๋ า ดาวน์รถ ‘HONDA FORZA 300’ สีแดงสวยหรู เครื่องยนต์ ๓๐๐ ซีซี ระบบเกียร์ ออโต้ ไปใช้--ใช้ ดีแล้วบอกต่อด้วยยยย ขอขอบคุ ณ ชาวนครสนั บ สนุ น กิ จ การคนนคร ฮอนด้ า ศรีนคร สาขาหัวอิฐ สาขาตลาดแม่สมจิตร สาขาหัวถนน สาขาพระพรหม และ สาขาหัวไทร ๐๗๕-๓๑๖๓๒๔-๕

ร้านนครดีซี In THe Park ร่วมกับบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จ�ำกัด จัดกิจกรรมให้ความรู้ จุดเปลี่ยนทีวี ธรรมดาให้เป็นดิจิตอลทีวี และแอนดรอยด์ ทีวีโตชิบาใน เครื่องเดียว ที่สามารถเข้าสู่ play store ได้โดยตรง รองรับ แอพลิเคชั่นจาก google กว่า ๓,๐๐๐ app. มีผู้สนใจเข้า ร่วมกิจกรรมทั้งนักเรียน นักศึกษาและประชาชน เมื​ื่อวันที่ ๑๗-๑๘ มกราคม ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา

ห้างทองซีกวง By Boon&Jo ถนนเนรมิต ท่าวัง ท่าม้า หัวอิฐ สี่แยกคูขวางใกล้ปั๊มเชลล์ และตลาดเสาร์อาทิตย์ จัดโปรโมชั่นพิเศษสมนาคุณลูกค้า ซื้อหรือ ฝากทองค�ำรูปพรรณ มีสิทธิ์ลุ้นทองค�ำรูปพรรณ ๑ สลึง ทุ ก เดื อ น ซื้ อ หรื อ ฝากมาก มี สิ ท ธิ์ ลุ ้ น มาก แสดง วันเกิดตามบัตรประชาชน หรือแสดงการ์ดอวยพรวันเกิด จากทางร้ า น ลดค่ า ก� ำ เหน็ จ ทั น ที ๕๐% ในวั น เกิ ด นั้ น ผ่ อ นทองดอกเบี้ ย ถู ก ติ ด ต่ อ เพชรซี ก วง โทร. ๐๘๘-๗๖๑ ๒๔๕๑, ๐๘๔-๐๖๑ ๔๗๘๘ • พิเศษสุดเพียง แสดงรักบ้านเกิดฉบับนี้ ที่ร้าน ๕ ท�ำเลดังกล่าว รับทันที ๓๐% ค่าก�ำเหน็จทองซีกวงรูปพรรณ

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า แสดงปาฐกถาพิเศษหัวข้อ ‘Social Concern : Engaging Mind for a Sastainable Future’ ใน งานเทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ ๕ ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT) อ.ทุ่งสง ที่มีนักวิชาการ นักวิจัยจาก ๒๕ สถาบันทั่วประเทศมาน�ำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ เนื้อของปาฐกถามีคุณค่ายิ่ง ‘รักบ้านเกิด’ จึงน�ำมา ถ่ายทอดแก่ผู้อ่านโดยจับประเด็นส�ำคัญๆ เรียบเรียงเป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้

๑. ทัศนคติเรื่องตรงต่อเวลากับความ สัมพันธ์ในสังคมไทย ผมได้ รั บ เชิ ญ จากท่ า นอธิ ก ารบดี เ มื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว สถานที่ แ ห่ ง นี้ ผ มมาบ่ อ ย ใน กิ จ กรรมของการบริ ห ารราชการ กิ จ กรรม ด้ า นสั ง คม ที่ มั ก มาใช้ ส ถานที่ แ ห่ ง นี้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อทุ่งสงอย่างแท้จริง ผมขอแสดง ความชื่นชมต่อคุณเอกกร ตันติอุโฆษกุล ที่มี วิสัยทัศน์ที่จะสร้างทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ประเทศชาติ มี ส ่ ว น ช่วยเหลือสังคมให้มีความเจริญ ให้มีความ สะดวกสบายในการด� ำ เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ภาษาสมัยนี้เขาเรียกว่าการยกระดับคุณภาพ ชีวิตและสังคมของเรา ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขอต้ อ นรั บ ท่ า นนั ก วิ ช า การจากสถาบั น ต่ า งๆ คาดว่ า คงจะมาจาก ทั่วประเทศ ดังนั้นจังหวัดนครศรีธรรมราช ในฐานะผู้บริหารงานการปกครองของจังหวัด ผมขอต้ อ นรั บ ท่ า นที่ ม าจากต่ า งจั ง หวั ด ทุ ก ท่านด้วยความยินดียิ่ง แล้วต้องขออภัยที่ผม มาผิดเวลาที่ก�ำหนดนัดหมายไปบ้าง วั น นี้ ตั้ ง แต่ เ ช้ า ก� ำ ลั ง จะออกจากจวน ผู้ว่าราชการจังหวัดก็มีแขกมาพบ คนไทยเรา ความสั ม พั น ธ์ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ คั ญ กว่ า อะไรก็แล้วแต่ --คือ ‘ความคุ้นเคยเป็นญาติ อย่างยิ่ง’ อันนี้เป็นพุทธสุภาษิต คนไทยเรา อยู่กันด้วยความคุ้นเคย สัมพันธ์กัน ถ้ารู้จัก กันเรื่องที่มันยุ่งยากก็ง่าย ถ้าไม่รู้จักกัน ไม่ ถู ก ใจกั น เรื่ อ งที่ มั น ถู ก ต้ อ งมั น ก็ ก ลายเป็ น ว่ า ไม่ ถู ก ใจ พอไม่ ถู ก ใจก็ ท� ำ ได้ ย าก เพราะ ฉะนั้นบ้านเมืองเรานอกจากท�ำสิ่งที่ถูกต้อง แล้วยังต้องพยายามท�ำสิ่งที่ถูกใจด้วย อันนี้ก็

เหมือนกัน--พอจะออกมาเราก็มีนัดหมาย ถ้า เป็นฝรั่งก็บอกว่าโอ้..ไม่ได้ ไอมีนัด เราต้อง ไป นายต้องนัดล่วงหน้า—ค่อยมาใหม่ แต่ คนไทยถ้าขืนพูดอย่างนั้น มันจะถูกแปลเป็น อีกแบบหนึ่ง เพราะฉะนั้นการอะลุ่มอล่วยกับ บ้านเมืองเราก็ยังเป็นสิ่งจ�ำเป็นอยู่มาก หลาย ท่านก็ไปเรียนต่างประทศมาบอกว่าบ้านเมือง เรายังพัฒนาไม่ได้เหมือนเขาเพราะว่าคนเรา ยังขาดระเบียบวินัย ขาดความตรงต่อเวลา มันมีส่วนจริงบ้าง แต่ถ้ามาใช้ในสังคมไทย สังคมไทยความตรงต่อเวลามันมาทีหลังกับ การที่เราจะได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เพราะว่า สังคมเรามันมาอย่างนั้น มันเป็นอย่างนั้น มี บริบทของสังคมอย่างนั้น ความส�ำเร็จของงาน ของประเทศไทยเราไม่ได้อยู่ที่ความตรงต่อ เวลา แต่ มั น อยู ่ ที่ ค วามผู ก พั น ความเข้ า ใจ ความรั ก ซึ่ ง จะน� ำ มาสู ่ ค วามสามั ค คี ที่ พู ด นี่ ไม่ได้หมายความว่าอย่างนั้นเราไม่ต้องตรง ต่อเวลากันมั้ย-- ก็คงไม่ถูก แต่ก�ำลังพูดว่า มันมี priority หรือ มีระดับความส�ำคัญว่า อันไหนมันมาก่อนมาหลัง เพราะฉะนั้นผมขอ เรียนต่อนักวิชาการว่าผมนี่เป็นนักวิชาเกิน ก็คือใช้ประสบการณ์ซึ่งในภาคราชการก็ไม่ น้อยหน้าใคร ประสบการณ์เป็นสิ่งที่เราได้ เรียนรู้มา ทั้งประสบการณ์ตรงและประสบการณ์อ้อม ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเทียบได้กับ

วิชาการทั้งหลายที่ท่านก�ำลังด�ำเนินการอยู่ ไม่เช่นนั้นก็คงไม่มีมหาบัณฑิต บัณฑิตหรือ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ซึ่ ง ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ดุ ษ ฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ก็คือผู้ได้รับการยกย่องว่า มีประสบการณ์เทียบชั้นได้กับระดับปริญญา เอกดังที่ได้เรียนไปแล้ว

ความยั่งยืนของสังคม ของบ้านของเมือง คือ ท�ำอย่างไรจึงให้การเมืองมันเสถียรหรือมั่นคง ยั่งยืน ไม่กลับไปกลับมา ผมก็ไม่ได้คิดว่ามี ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่ผิด ไม่กล่าวโทษใคร ท�ำไม พูดอย่างนั้น ถ้าเราโทษ นักการเมือง ถาม ว่ า นั ก การเมื อ งมาจากไหน นั ก การเมื อ งก็ มาจากที่พวกเรา คือประชาชนเลือกเข้าไป เพราะฉะนั้นก็ต้องโทษประชาชนว่าท�ำไมคุณ ถึงเลือกคนไม่ดี เลือกคนไม่มีอุดมการณ์ หรือ เลือกอะไรก็แล้วแต่ที่ท�ำให้เกิดนักการเมือง ไม่ดีขึ้นมา ต้องโทษประชาชนด้วย ที่เราว่า ประชาชนกับนักการเมืองก็อยู่ด้วยกัน ท�ำไม ทหารต้องมาแทรกแซง อันนี้ก็คงไปโทษทหาร ไม่ได้ เพราะว่าถ้าไม่แทรกแซงบ้านเมืองก็ ล่มจม เพราะดูท่าว่าบ้านเมืองจะไปไม่ไรอด ถ้าเราพูดถึงอะไรที่ยั่งยืน ที่เราต้องการ เรา ต้องกลับไปคิดถึงประวัติศาสตร์ ว่าสาเหตุเกิด จากอะไร มันก็เกิดจากคนแต่ละคน คนแต่ละ กลุ่มมองแต่ด้านเดียว มองแต่ตัวเอง ไม่ได้ มองจากข้างนอก หรือมองจากข้างนอกเข้ามา

๒. สร้างสังคมยั่งยืนต้องมองทั้งสองด้าน ๓. คนไทยหวงแหนสิทธิ แต่ละเลยหน้าที่ หัวข้อวันนี้คือ การมีส่วนร่วมทางความ คิดที่จะสร้างอนาคตให้บ้านเมืองเพื่อความ ยั่ ง ยื น ของสั ง คม ฟั ง ดู ค ล้ า ยให้ พู ด เรื่ อ งการ จัดการสิ่งแวดล้อม สภาพสังคมบ้านเมืองที่ เปลี่ ยนแปลงไป โดยมลภาวะที่ เกิ ด ขึ้ น จาก ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เราเรียกว่า polution โดยเฉพาะปั ญ หาขยะ ปั ญ หาน�้ ำ เสี ย อากาศเสี ย ...ผมจะพู ด ไปเรื่ อ ยๆ วั น นี้ ชื่ น ใจที่ได้มาอยู่ต่อหน้านักวิชาการ อยู่ต่อหน้า นั ก ศึ ก ษา จากข้ า งบนที่ ผ มมองลงไป ผม มองเห็นอนาคตของบ้านเมือง อนาคตของ ประเทศไทย จากการประเมินด้วยสายตาของ ผมก็คงประมาณครึ่งพันหรือมากกว่าเล็กน้อย เรามีมันสมองของชาติที่มารวมกันอยู่ ณ ที่นี้ และผู้มีประสบการณ์ที่นั่งอยู่ข้างหน้า นี่คือ ความส�ำคัญของบ้านของเมือง ความส�ำคัญที่ ว่าถ้าเราท้อแท้ต่ออนาคตของบ้านของเมือง เราไม่ยอมนึกในมุมบวก..ท่านนั่งอยู่ข้างล่าง ผมนั่ ง ข้ า งบน ผมอยากบอกว่ า มั น มี ค วาม แตกต่าง...ปัญหาของบ้านของเมืองที่ไม่มีการ พัฒนาที่ยั่งยืนเพราะคนไทยมองมุมเดียว ทาง พุ ท ธศาสนาเรี ย กว่ า โอ้ โ ลมปฏิ โ ลม แปลว่ า ต้องดูสองด้าน เพราะฉะนั้นความยั่งยืนหรือ ความส�ำเร็จจะเกิดขึ้นได้ เราต้องมองสองด้าน โดยเสมอ....วันนี้มันเกิดปัญหายาวนานมากับ บ้านกับเมืองคือการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน มันเป็น กงล้อประวัติศาสตร์ที่หมุนกลับไปกลับมาอยู่ อย่างนี้..มีรัฐธรรมนูญ ล้มรัฐธรรมนูญ สร้าง รัฐธรรมนูญ มีการเลือกตั้ง มีการด�ำเนินงาน ที่เราเรียกว่าประชาธิปไตย แล้วมีการปฏิวัติ รัฐประหารวนเวียนอยู่อย่างนี้ มันไม่ยั่งยืน

สังคมไทยเกิดกรณีว่าเราหวงแหนแต่ สิ ท ธิ เราต้ อ งการมี สิ ท ธิ แล้ ว ไม่ ใ ห้ ใ ครมา ก้าวก่ายสิทธิของเรา ในขณะเดียวเราลืมไปว่า เราไปก้าวก่ายสิทธิของใครหรือไม่ ไปเหยียบย�ำ่ ท�ำลายสิทธิของใครหรือไม่ มันจึงเกิดกรณี การชุ ม นุ ม ประท้ ว งอะไรต่ า งๆ โดยอาศั ย ประชาธิปไตย บอกว่านี่คือประชาธิปไตย แต่ ไปก้าวก่ายสิทธิของประชาชนคนอื่นเขา ที่ ไม่ใช่พวกเรา เช่นนึกจะไปปิดถนนที่ไหนก็ ปิด นึกจะท�ำอะไรที่คนอื่นเดือดร้อนอย่างไร ก็ไม่เป็นไร นี่แหละครับที่มันก่อให้เกิดปัญหา พอพูดไปถึงหน้าที่ เราจะนึกได้แต่สิทธิของ เรา เราลืมสิทธิของคนอื่น พอพูดถึงหน้าที่ เราจะมองเห็นแต่หน้าที่ของคนอื่น เราจะไม่ ค่อยได้ดูหน้าที่ของตัวเอง เราจะชี้ว่าท�ำไมคน นี้ท�ำอย่างนี้ คนนี้ท�ำอย่างนั้น ท�ำไมคนนี้ไป ท�ำอย่างนี้ แล้วเราท�ำอย่างไร เราลืม..เราเป็น อย่างไร---ลืม มันเลยกลับทางกัน เวลาสิทธิ เรามองตัวเอง จะไม่มองคนอื่น เวลาหน้าที่ เรามองคนอื่น แต่ไม่มองตัวเอง

๔. ความรับผิดชอบต่อสังคม ความรั บ ผิ ด ชอบก็ เ ช่ น เดี ย วกั น วั น นี้ ปัญหาของบ้านของเมือง เอาเฉพาะปัญหา สั ง คมนะ ปั ญ หาอื่ น มี ม ากมายเหลื อ เกิ น ปัญหายาเสพติด ปัญหายาบ้า ถามว่าวันนี้ ใครควรจะรับผิดชอบ ทุกคนก็ชี้ออกจากตัว เองทั้งหมด ไม่มีใครชี้เข้าตัวเองสักคนเดียว หน้าที่ต�ำรวจ หน้าที่ทหาร หน้าที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดต้องรับผิดชอบ มันท�ำให้เกิดปัญหา (อ่านต่อหน้า ๙) ท่าน ผบ.เรือนจ�ำทุ่ง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

นบทบาทของที่ปรึกษาธุรกิจท้องถิ่น มาสิบกว่าปี สิ่งที่ผมต้องเข้าไปมีส่วน ร่วมวางแผนการหาผู้สืบทอดกิจการ ท�ำให้ เห็นภาพเส้นทางของธุรกิจครอบครัวได้ว่า เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นช่วงการ เปลี่ยนผ่านจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง กรณีของ ผมเป็นธุรกิจที่รุ่นที่ ๑ ส่งต่อรุ่นที่ ๒ แต่ ก็มีหลายกิจการที่ส่งต่อจากรุ่นที่ ๒ ไปสู่ รุ่นที่ ๓ สิ่งที่เหมือนกันและเป็นข้อกังวล ใจ คือ ๑. จะขยายกิจการของครอบครัว ต่อไปหรือไม่? ๒. จะพัฒนาทักษะในการ บริ ห ารจั ด การกิ จ การให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย่ า งไร? ๓. การส่ ง ต่ อ ให้ กั บ ผู ้ สื บ ทอด กิจการต่อไปจะท�ำอย่างไร? จากสถิติพบ ว่าโอกาสที่กิจการจะตกทอดไปถึงรุ่นที่ สามมีเพียง ๑๒% เท่านั้น เราจะพบเห็น ธุรกิจครอบครัวขนาดเล็กเลิกราไปเพราะ ไม่มีใครสามารถรับช่วงต่อได้ หรือไม่คน รุ่นที่ ๒ - รุ่นที่ ๓ ก็เลือกไปท�ำอาชีพอื่นๆ ที่ตนชอบและถนัด แต่จากการได้พูดคุย กับเจ้าของกิจการส่วนใหญ่พวกเขามีความ ตั้ ง ใจจะส่ ง ต่ อ ให้ กั บ ทายาท โดยเฉพาะ ธุรกิจที่มีการขยายกิจการขึ้นสู่ระดับกลาง มีรายได้มากกว่า ๑๕๐ ล้านบาท/ปี มีชื่อ เสียงเป็นที่รู้จัก (Brand ติดตลาด) กิจการ ก�ำลังเติบโตมีพนักงานและลูกจ้างมากกว่า ๑๐๐ คน ท� ำ ให้ ก ารจะไม่ ไ ปต่ อ จึ ง เป็ น เรื่องที่ท�ำใจได้ยาก ส�ำหรับผู้ที่สร้างธุรกิจ มาด้วยความยากล�ำบากตลอดระยะเวลา เกือบ ๓๐ ปี แต่ ป ระเด็ น ใหญ่ ก็ คื อ จะส่ ง ต่ อ กั บ ใคร? พี่คนโต - น้องคนกลาง - น้องคน เล็ก และเมื่อลูกๆ มีครอบครัวกันไปมีลูก

เป็นหลานรุ่นที่ ๓ เพิ่มเข้ามาในตระกูล ด้วยแล้ว ความยุ่งยากในการตัดสินใจจะ ให้ใครดูแลกิจการทั้งหมดหรือจะแบ่งผล ประโยชน์กันอย่างไร? บางธุรกิจก็เริ่มแบ่ง ให้ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลเป็ น กิ จ การไปและมี การถ่ายโอนอ�ำนาจให้บ้างแล้ว แต่อ�ำนาจ การตั ด สิ น ใจทั้ ง หมดก็ ยั ง อยู ่ กั บ รุ ่ น ที่ ๑ (พ่ อ -แม่ ) ผมเคยตั้ ง ค� ำ ถามกั บ พวกเขา ว่าหากไม่สามารถส่งต่อให้กับทายาทได้ เมื่อกิจการต้องขยายและเติบโตต่อไปได้ คิดจะใช้มืออาชีพเข้ามาบริหารให้คนใน ตระกูลเป็นเพียงผู้ถือหุ้น (ผู้ลงทุน) แบบ เดียวกับธุรกิจที่เขาปรับตัวได้เปลี่ยนจาก เจ้ า ของกิ จ การส่ ว นตั ว เป็ น ผู ้ ป ระกอบ การธุรกิจ โดยการใช้ระบบในการบริหาร จัดการที่แยกส่วนผู้บริหารกับผู้ถือหุ้นออก อย่ า งชั ด เจน ค� ำ ตอบส่ ว นใหญ่ ก็ คื อ แล้ ว จะหาใครที่ไว้ใจมาท�ำ? คือจะหามืออาชีพ ที่ ไ หน? เป็ น ใคร? มั่ น ใจได้ แ ค่ ไ หน? ว่ า จะท�ำได้ดีกว่าส่งให้ลูกๆ ของตัวเองเป็น ค�ำถามที่ยังหาค�ำตอบไม่ได้สักที ผมถาม ใหม่ แล้วตอนนี้เลือกใครไว้แล้วยังว่าจะ ให้ลูกคนไหนขึ้นมารับช่วงต่อ? พวกเขา ก็ได้แต่พูดว่า “น่าจะเป็นคนนี้นะ แต่ก็ ยั ง ไม่ ค ่ อ ยมั่ น ใจว่ า จะมี ทั ก ษะและความ

วันอังคารที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันพระขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสาม ปีมะเมีย วันพุธที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันพระแรม ๘ ค�่ำ เดือนสาม ปีมะเมีย วันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันพระแรม ๑๔ ค�่ำ เดือนสาม ปีมะเมีย วันพุธที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันพระขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสี่ ปีมะเมีย

กระตือรือร้นที่จะรับช่วงได้หรือไม่?” กลั บ มาที่ รุ ่ น ที่ ๓ ที่ จ ะรั บ ช่ ว งต่ อ พวกเขาก็มีแรงกดดันพอสมควร ปัญหา ความแตกต่างทางความคิดของคนสองยุค ระหว่างรุ่นพ่อ-แม่-กับรุ่นลูกที่เป็น Gen y (อายุ ๒๕ - ๓๕ ปี) หรือ Gen x (อายุ ๓๕ - ๔๕ ปี) โดยเฉพาะถ้ามีครอบครัวของตัว เองด้วยการตัดสินใจที่จะท�ำอย่างไรต่อก็ ต้องไปปรึกษากันในครอบครัวของตัวเอง แต่ถ้ายังโสดส่วนใหญ่ก็แล้วแต่ พ่อ-แม่ จะ ให้ใครรับช่วงต่อ มีบางคนปฏิเสธที่จะรับ เพราะไม่อยากรับผิดชอบและคิดว่าอยาก ท�ำงานอื่นที่ตนชอบและถนัดมากกว่า แต่ ก็ ยั ง ต้ อ งการผลประโยชน์ จ ากธุ ร กิ จ อยู ่ เหมือนกัน จากสภาพที่กล่าวมาข้างต้น ผมก็ตั้ง ค�ำถามกับเจ้าของกิจการเตรียมตัวหาค�ำ ตอบร่วมกันไว้แล้วหรือยัง? ๑. ได้ ว างแผนที่ ใ ห้ ท ายาทสื บ ทอด กิจการไว้อย่างไร? ลูกๆ ของท่านทราบ หรือไม่? ๒. เชื่อหรือไม่ว่าลูกๆ ของท่านพร้อม และสามารถสืบทอดกิจการได้และได้คุย กับพวกเขาไว้อย่างไร? ๓. เคยคุยกันในครอบครัวแบบเปิด

หน้า ๗

อกว่าท่านจะวางมือเมื่อไร? และใครจะขึ้น มาดูแลกิจการแทน ๔. ได้ มี ก ารมอบอ� ำ นาจให้ ด� ำ เนิ น การในกิจการเรื่องใดบ้าง? ๕. ถ้ า ไม่ ส ามารถส่ ง ต่ อ ให้ ค นใน ครอบครัวได้ จะท�ำอย่างไร? ส�ำหรับผู้สืบทอดรุ่นที่ ๓ ก็มีค�ำถาม กับพวกเขาเช่นกัน ๑. คุณสามารถบอกได้ถึงความมั่นใจ ที่จะรับช่วงต่อกิจการได้หรือไม่? คุณพร้อม หรือยัง? ๒. คุณวางแผนพัฒนาตนเอง เพื่อให้ มีคุณสมบัติที่รับช่วงต่อไว้อย่างไร? ๓. คุ ณ ได้ คุ ย กั บ พ่ อ -แม่ ของคุ ณ หรือไม่? ว่าใครสมควรเป็นผู้รับช่วงต่อและ เมื่อไร? ๔. คุณได้น�ำเสนอแผนงานในอนาคต ของกิจการให้กับพ่อ-แม่ และคนในครอบครัวได้รับรู้ถึงทิศทางของธุรกิจไว้อย่างไร? ๕. คุณไม่ต้องการรับช่วงต่อ แต่อยาก ให้คนนอก (มืออาชีพ) เข้ามาบริหารแทน คิดเรื่องนี้หรือไม่? มาดูค�ำตอบกันนะครับ รุ่นพ่อ-แม่ ใจอยากส่งต่อ แต่ยังไม่แน่ใจว่าใคร? เมื่อไร? และยังไม่ได้เปิดอกคุยกันจริงๆ จังๆ ได้แต่ ขอเวลาสักระยะหนึ่ง ส�ำหรับลูกๆ ก็เกรงใจไม่กล้าบอกว่า จะเป็นใคร แล้วแต่พ่อ-แม่ แต่บางคนก็ ชัดเจนคือไม่รับ-อยากไปมีธุรกิจของตัวเอง บ้างก็กังวลว่าต่อไปเขารับผิดชอบได้มั้ย? ค� ำ ถามที่ ผ มถามกลั บ ก็ คื อ หากวั น หนึ่งที่เกิดเหตุสุดวิสัยที่ใครคนใดคนหนึ่ง หรือรุ่นที่ ๑ ไม่สามารถบริหารงานได้ จะ ท�ำอย่างไร? เคยเตรียมการเรื่องนี้ไว้หรือ ไม่? พวกเขาก็ได้แต่อึ้งและบอกว่า “หวัง ว่าคงไม่เป็นอย่างนั้นหรอกนะ”…… นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๕ ม.ค. ๕๘


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

<< ต่อจากหน้า ๑

มี น ายสั จ จา พิ พั ฒ น์ ผ ล เป็ น ผู ้ จั ด การสาขา ซึ่ ง ได้ จั ด เตรียมไม้ไผ่ตัดท่อนกับหวายให้นักศึกษาเรียนรู้การท�ำ เครื่องมือจับสัตว์น�้ำที่ไม่ท�ำลายล้างสร้างจิตส�ำนึกอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ อ.จิ ร วิ ท ย์ จ บปริ ญ ญาตรี จ ากคณะเกษตรศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ เกษี ย ณราชการไป ๕-๖ ปี แต่ ยิ น ดี ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์แก่นักศึกษา อาจารย์ ยังมีความสุขที่ได้ออกพื้นที่และร่วมกิจกรรมกับนักศึกษา อ.อั ม พรจบปริ ญ ญาตรี จ ากคณะเทคโนโลยี ก ารประมง และทรัพยากรทางน�้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสาขาวาริชสัจจา พิพัฒน์ผล ศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ (หาดใหญ่) ร่วมท�ำวิจัยเพื่อ อนุรักษ์พันธุ์ปลาท้องถิ่นในคลองท่าแพ ต.ถ�้ำใหญ่ อ.ทุ่งสง ที่ อ ยู ่ ใ กล้ ส ถาบั น เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาวิ จั ย และท� ำ กิ จ กรรม อนุรักษ์ คลองท่าแพต้นน�้ำมาจากอุทยานแห่งชาติน�้ำตก โยง อ.ทุ่งสง อ.จิรวิทย์เปิดเผยว่า ก่อนนี้คลองท่าแพถูกคุกคาม อย่างหนัก เพราะเมืองทุ่งสงขยายตัว บุคคลและแรงงาน ต่างถิ่นเข้ามาอาศัยมากขึ้น ความรู้สึกรักหวงท้องถิ่นแตก ต่างจากคนดั้งเดิม ธุรกิจบ้านเช่าเพิ่มขึ้น ขยะและน�้ำเสีย ถูกปล่อยลงล�ำคลอง บางช่วงล�ำคลองตื้นเขิน น�้ำในคลอง สกปรกไม่สามารถใช้อุปโภคบริโภค ปลาพันธุ์พื้นถิ่นลด อ.อัมพรเล่าย้อนว่า สมัยเรียนที่แม่โจ้เคยลงพื้นที่ จ�ำนวนลง ที่ ก ว๊ า นพะเยา ขณะนั้ น ปลาน�้ ำ จื ด ชุ ก ชุ ม มาก หลายปี ต่อมามีโอกาสกลับไปอีกครั้ง พบว่ากว๊านพะเยาตื้นเขิน และเป็นแหล่งปล่อยทิ้งปลาที่ไม่ต้องการ นี่เป็นเหตุให้ สนใจศึกษาคลองท่าแพที่มีปลาพันธุ์พื้นถิ่นมากกว่า ๔๐ ชนิด เช่น ปลาพลวง ปลาหุด ปลาลิ้นแมว ฯลฯ ถ้าหาก กอบกู้สายน�้ำให้สะอาดเป็นแหล่งก�ำเนิดและเติบโตของ ปลาท้องถิ่นเพื่อเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ยั่งยืนของชาว บ้าน โครงการเรียนรู้และร่วมมือกอบกู้ชีวิตคลองท่าแพ ได้รับการสนับสนุนจากทรงชัย วงษ์วัชระด�ำรง นายก นายภราเดช พยัฆวิเชียร เทศมนตรีเทศบาลเมืองทุ่งสง นักเรียนโรงเรียนเทศบาล

วัดท่าแพกว่า ๑๐๐ คนเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้และเสริม สร้างจิตส�ำนึกรักล�ำคลอง อาจารย์น�ำลูกศิษย์สาขาประมง ลงศึกษาปลาท้องถิ่น พบว่านอกจากถูกรบกวนโดยคน แล้ว ปลายังถูกรบกวนจากปลาด้วยกัน โดยเฉพาะปลา ซักเกอร์จากตู้ปลาสวยงามถูกปล่อยลงคลอง ซักเกอร์จะ ดูดกินไข่ปลาพื้นถิ่นในคลองจนไม่อาจขยายพันธุ์ ที่น่า เป็นห่วงก็คือปลาเปคูหรือจาระเม็ดน�้ำจืดสายญาติปิรัน ญ่าจากอเมริกาใต้ที่เข้าเมืองไทยในนามปลาสวยงาม ภาย หลังกลายเป็นปลาเชิงพาณิชย์ที่เลี้ยงกันในบ่อ ถ้าหาก หลุดออกไปในสายน�้ำธรรมชาติจะเป็นอันตรายอย่างมาก เพราะเป็นปลากินเนื้อ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลท่าแพ นักศึกษา ม.เทคโนโลยีราชมงคลฯ และเทศบาลเมือง ทุ่งสงร่วมกันฟื้นฟูคลองท่าแพจนสายน�้ำกลับมาใสสะอาด เป็นแหล่งอาศัยของปลาและแหล่งสันทนาการของชาว บ้าน อ.อัมพรกล่าวถึงการน�ำนักศึกษามาฝึกท�ำไซ ก็เพื่อ ให้ลูกศิษย์ได้ศึกษาวงจรชีวิตปลาในคลองโสม ต.กะปาง และเรียนรู้ว่าการท�ำเครื่องมือจับสัตว์ที่ไม่เอาเปรียบ และ ไม่จับแบบผลาญทรัพยากร ขณะนี้อาจารย์ก�ำลังเตรียม โครงการขอทุนศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปลาและสัตว์น�้ำในสาย คลองเขตลุ่มน�้ำตรัง ซึ่งคลองใหญ่คลองเล็กใน อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช คลองใน อ.รัษฎา อ.ห้วยยอด อ.วังวิเศษ และ อ.เมือง จ.ตรัง จะรวมตัวไหลไปลงแม่น�้ำตรัง ดังนั้นเขตลุ่มน�้ำตรังจึงเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้เกี่ยวชีวิต ปลาพันธุ์พื้นถิ่นและสัตว์น�้ำชนิดต่างๆ รวมถึงการดูแล รักษาทรัพยากรน�้ำให้ใช้ประโยชน์ได้ทั้งอุปโภคบริโภคที่ จะเกิดคุณค่าอย่างมาก ‘รักบ้านเกิด’ ขอให้โครงการนี้ได้ รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเร็ว


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

รายงาน การจัดงานมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานา ชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ระหว่างวันที่ ๑ ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ปี นี้ มี กิ จ กรรมต่ า งๆ ทั้ ง กิ จ กรรมทาง ศาสนา เช่นการสวดมนต์ ฟังธรรม เจริญ จิตภาวนาเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา การ จั ด นิ ท รรศการ เรื่ อ ง ‘ต้ น ธารสยาม – ลังกาวงศ์’ การสาธิตการผลิต การทอ และการแสดงผ้าพระบฏ ๔ ภาค การ เขียนผ้าพระบฏ พิธีกวนข้าวมธุปายาส ๑๒ กระทะ ๑๒ นั ก ษั ต ร พิ ธี ส มโภช และอั ญ เชิ ญ ผ้ า พระบฏพระราชทาน ผ้ า พระบฏนานาชาติ แ ละผ้ า พระบฏ จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน การ ประกวดสวดมนต์หมู่ท�ำนองสรภัญญะ การประกวดบรรยายธรรมระดับจังหวัด การประกวดสวดมนต์อาราธนาในศาสน-

ส่ ว นวั น มาฆบู ช า ซึ่ ง ตรงกั บ วั น พุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ กิจกรรมภาค เช้ า เวลา ๐๖.๓๐ น. ขอเชิ ญ ร่ ว มพิ ธี ท�ำบุญตักบาตร บริเวณลานโพธิ์ วัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหาร เวลา ๑๕.๐๐ น. พิธีอัญเชิญผ้าพระบฏพระราชทาน และ แห่ผ้าพระบฏ จากศาลาประดู่หกอย่าง สวยงามยิ่ ง ใหญ่ ไ ปยั ง วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหาร ภาคค�่ำ เวลา ๑๘.๐๐ น. ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนร่ ว มเวี ย นเที ย น ณ บริ เ วณลานโพธิ์ วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร ขอเชิ ญ ร่ ว มกิ จ กรรม แต่ ง กายด้ ว ยเสื้ อ ผ้ า ขาวในสั ป ดาห์ ส ่ ง พระศรีธรรมประสาธน์, พระเทพวินยาภรณ์ และ พระเทพสิริโสภณ เสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาล พิธี ประกวดตอบปัญหาเมืองลิกอร์ การ จ�ำหน่ายสินค้าได้จัดให้มีตลาดนัดโบราณ มาฆบูชา ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ระหว่างวันที่ ประกวดร้ อ งเพลงส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม ขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง การสาธิต ๒๖ กุมภาพันธ์ – ๔ มีนาคม ๒๕๕๘ โดย กิ จ กรรมแสดงผลงานภาพวาดระบายสี การผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พร้อมเพรียงกัน ‘แห่ผ้าขึ้นธาตุที่ฉันรู้จัก’ ส่วนการออกร้าน ชุมชน (OTOP)

<< ต่อจากหน้า ๖ ก็มานั่งอยู่ที่นี้ด้วย ในคุกตอนนี้เต็มไปด้วย นักโทษยาเสพติด ท่าน ผอ. ที่ทุ่งสงกี่เปอร์เซ็นต์ครับ (ผอ.เรือนจ�ำทุ่งสงลุกตอบว่าแปด สิบ) ที่ทุ่งสงแปดสิบ ถ้าเราแก้ไม่ได้ก็อย่าไป ฝันหาความยั่งยืนเลย เราก็มากี่ปีแล้วล่ะ … การบรรยายวันนี้ท่านเป็นนักวิชาการท่าน รู ้ ดี ท่ า นสรุ ป เองได้ ว่ า มั น จะจั บ ประเด็ น พนักงาน เอาผู้บริหารสมาชิกสภาท้องถิ่นมา อย่างไร ผู้พูดมีประเด็นส�ำคัญอย่าง อันนี้ เรียน มาเรียนเสร็จ—ปกติการชี้วัดผลการ เป็นประเด็นที่ผมอยากท้าทายท่าน ศึกษาอยู่ที่การมีงานท�ำ ทีนี้มีงานท�ำอยู่แล้ว มาชี้วัดท�ำไม วัดที่คุณภาพการศึกษา-- คนไม่ ๕. ปริญญากับคุณวุฒิ ตกงานเลยมันดี มีงานท�ำทั้งหมด วั น นี้ ค นใกล้ ตั ว เพิ่ ง จะจบดอกเตอร์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แห่ ง หนึ่ ง และก� ำ ลั ง จะ ๖. คุณค่าของงานวิจัย รั บ ปริ ญ ญา ผมบอกว่ า ระบบการศึ ก ษา การวิ จั ย ก็ เ หมื อ นกั น เราชอบท� ำ วิ จั ย ประเทศไทยเรานี่ มั น มี แ ต่ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา เรื่องการมีส่วนร่วม แต่มันจะน�ำไปใช้ได้จริง โดยส่วนใหญ่ มันไม่มีคุณวุฒิ-- สองอย่างนี้ หรื​ือเปล่าก็ไม่แน่ใจ มีงานวิจัยทางด้านภาค ต่างกัน เมื่อไม่มีคุณวุฒิมันก็ไม่มีวุฒิภาวะ เหนือ..ท�ำวิจัยเสร็จ...ก็จังหวัดติดกัน จังหวัด ดอกเตอร์วันนี้เต็มบ้านเต็มเมือง ผมอยาก แพร่ กั บ จั ง หวั ด น่ า น ที นี้ ร ะบบสมั ย ใหม่ ไ ม่ บอกว่าหลายๆ สถาบันผลิตดอกเตอร์ออก เห็นยากเลย ที่น่านท�ำก็เอาที่แพร่มาลอกสิ มานี่ . .แหม..น่ า หนั ก ใจ ผมอยากบอกว่ า อันไหนมีค�ำว่า ‘แพร่’ ให้เปลี่ยนเป็น ‘น่าน’ ดอกเตอร์ไม่ต้องพูดภาษาอังกฤษเก่งหรอก ทั้ ง หมด ที นี้ มี ค� ำ ว่ า ‘เผยแพร่ ’ ก็ ก ลาย แต่ให้มีคุณวุฒิ มีวุฒิภาวะในการด� ำรงตน เป็น ‘เผยน่าน’ องค์ความรู้หรือ knowledge น�ำสังคมให้ไปได้ดี แต่วันนี้มันไม่ใช่ เหมือน เราต้องท�ำให้เป็น wisdom (ภูมิปัญญา) ไป ปริญญาตรี ปริญญาโทที่ผลิตมาทุกวันนี้ มัน เผยแพร่ ผมจึงบอกว่ามีความยินดีที่มาเปิด ไม่ ยั่ ง ยื น เพราะหลายสถาบั น ไม่ มี ตั ว ชี้ วั ด งานการน�ำเสนอผลงานวิจัย มันต้องมีดีแหละ หรื อ เป็ น ตั ว ชี้ วั ด แอบแฝง ยกตั ว อย่ า งเอา ไม่งั้นจะกล้าน�ำเสนอรึ

๗. เรียนให้ได้ความรู้ สรุปว่าหัวข้อที่ให้มาปาฐกถาวันนี้...เรา จะเอื้ออาทรต่อสังคม ห่วงใยสังคม แล้วเรา จะได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างไรให้มันยั่งยืน.. อันดับแรกเราต้องเข้าใจสภาพสังคมให้ถ่องแท้ แล้วก็มองทุกอย่างให้มันเป็นสองทางโดย เสมอ ระดมสรรพก�ำลังความรู้ต่างๆ แล้วให้ เผยแพร่ความรู้ที่เรามีไปให้กว้างขวาง และที่ ส�ำคัญอยากให้ท่านนักวิชาการอย่าได้ดูหมิ่น ดูแคลนประชาชนที่ไม่มีคุณวุฒิ ไม่มีวุฒิบัตร เพราะบุคคลเหล่านั้นประสบการณ์ตรงที่เขา รับมามีความส�ำคัญกว่าวุฒิบัตรหรือคุณวุฒิ หรื อ อะไรต่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ ไปมากมาย เราใน ฐานะนักศึกษาเจตนารมณ์ของวิทยาลัยแห่ง นี้น่าเป็นมหาวิทยาลัยได้ เพราะความพร้อม มีสูงมาก แต่นักศึกษาอย่าเรียนเอาเพียงวุฒิบัตรหรือปริญญาบัตร ขอให้เรียนเอาความรู้ และเอาความรู้ที่ได้จากการเรียนมาท�ำให้เกิด ปัญญาจะเป็นการต่อยอดความรุ่งเรืองของ บ้านเมืองและของตัวเราเองต่อไป..

๘. น�ำความรู้ไปรับใช้ประชาชน เราเองมี โ อกาสดี อ ยู ่ แ ล้ ว ใช้ โ อกาส ให้เป็นประโยชน์ ตัวเราเองมีโอกาส ประชาชนไม่ มี โ อกาส สมั ย ผมเป็ น นั ก ศึ ก ษาเกิ ด เหตุการณ์ ๑๔ ตุลา ๒๕๑๖ และ ๖ ตุลา ๒๕๑๙ มีบทกวีบทหนึ่ง เพียงหวังจะเฟื่องฟุ้ง หรือจึงมุ่งมาศึกษา เพียงเพื่อปริญญา เอาตัวรอดเท่านั้นฤา แท้ควรสหายคิด และตั้งจิตร่วมยึดถือ รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราทีเ่ ล่าเรียน อันนี้คือการท�ำหน้าที่ของบัณฑิตหรือ มหาบั ณ ฑิ ต ที่ ถู ก ต้ อ งคื อ การเอาความรู ้ ไ ป รับใช้สังคม รับใช้ประเทศชาติในทางที่ถูกที่ ควร ปัญหาคอร์รัปชั่นปัญหาอื่นๆ ในบ้าน เมืองก็จะลดน้อยถอยลง หรือหมดไปในที่สุด โดยเฉพาะปัญหาสังคมต่างๆ ซึ่งเกิดจากผู้มี ความรู้ ผู้ที่มีปัญญาไม่พยายามแสดงอาการ ต่อต้าน ในทางกลับกันกลับไปมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติเสียเอง


หน้า ๑๐

นครศรีธรรมราช

ต รั ก ก ม

า ธิ

วั ส ดี ท ่ า นผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า นครั บ นสพ. รักบ้านเกิดฯ ฉบับนี้ขอเพิ่มคอลัมน์ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว เพื่อสนองตอบและ ต้อนรับความคึกคักของวงการท่องเที่ยวที่ บังเกิดขึ้นอีกครั้งในเมืองนครบ้านเรา หลัง จากมี ค วามพยายามผลั ก ดั น กั น มาหลาย ครั้งหลายคราวในช่วง ๒-๓ ทศวรรษที่ผ่าน มา จากหลายๆ ภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอด ถึงผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจท่องเที่ยวทั้งโดยทาง ตรงและทางอ้อมมากหน้าหลายตา แม้ ว ่ า บางครั้ ง การท่ อ งเที่ ย วบ้ า น เราท� ำ ท่ า จะบู ม ขึ้ น มาเป็ น ที่ รู ้ จั ก ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยและชาวต่ า งชาติ แต่ สุ ด ท้ า ยก็ เ งี ย บงั น กั น ไปทุ ก ครั้ ง ทุ ก คราว แถมท้ายด้วยความบาดหมางใจของคนใน วงการท่องเที่ยวด้วยกัน หรือไม่ก็มีความ คลางแคลง ซุบซิบนินทากันเรื่องการใช้งบ ประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมาจากภาค รัฐ ในท�ำนองว่าไม่ถูกไม่ควร หรือบางโอกาส หนั ก ๆ เข้ า ก็ ถึ ง ขั้ น ประท้ ว งขอให้ ย กเลิ ก โครงการทางการท่องเที่ยวบางโครงการ หรือท�ำเรื่องขอให้ย้ายผู้บริหารหน่วยงาน ด้านการท่องเที่ยวออกไปก็เคยมีครับ ท�ำ ให้หลายๆ คนเข็ดขยาด ไม่อยากเข้ามายุ่ง เกี่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวแบบตัดญาติ ขาดมิตรกันไปเลย ท่านผู้อ่านหลายท่านคงจ�ำได้นะครับ ว่า เมื่อประมาณ ๒๐ กว่าปีที่แล้ว หาด ในเพลา ชายหาดแสนสวยของเมืองขนอม เริ่ ม เป็ น ที่ รู ้ จั ก ของคนกรุ ง เทพฯ และนั ก ท่องเที่ยว เนื่องด้วยมีนักธุรกิจที่มีชื่อเสียง มาลงทุ น ท� ำ รี ส อร์ ท ซึ่ ง นั บ ว่ า สวยหรู ทั น สมั ย มากในยุ ค นั้ น ทั้ ง รู ป แบบและท� ำ เล ที่ตั้ง ประกอบกับความสงบ สด สะอาด ของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วด้ ว ย แต่ สุ ด ท้ า ยชื่ อ เสียงก็ดับวูบลงไปหลังเกิดเหตุการณ์ที่ท�ำ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วรู ้ สึ ก ว่ า ไม่ ป ลอดภั ย ที่ จ ะ เดินทางมาท่องเที่ยว แม้ว่าต่อมาจะมีความ พยายามปลุกปั้นกันหลายครั้งหลายวาระ แต่ ชื่ อ ของหาดในเพลาก็ ล บเลื อ นไปจาก ความทรงจ�ำของนักท่องเที่ยวในเวลาต่อมา หลั ง จากนั้ น หลายท่านหลายหน่วย งานในเมืองนครก็ยังคงดิ้นรนหาทางพัฒนา

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

“อะไรที่เป็นอุปสรรคมาท้าทายเรา ขอให้อย่าท้อ ต้องลุกขึ้นสู้อย่าท้อถอยค่ะ ที่นี่มีอะไรดีๆ เยอะมาก ทั้งศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติ รู้สึกหลงรักนครศรีธรรมราชจริงๆ ค่ะ ตั้งแต่นี้ต่อไปจังหวัดนครศรีธรรมราชไม่ใช่อยู่แค่ใน List ที่จะไปเที่ยว แต่จะต้องอยู่ใน Destination ค่ะ”

กั น ต่ อ เป็ น ระยะๆ ด้ ว ยความเชื่ อ ว่ า เมื อ ง นครเรามี ท รั พ ยากรทางการท่ อ งเที่ ย วอยู ่ มากมาย น่าจะพัฒนาได้ น่าจะขายได้ แต่ สถานการณ์ก็ยังคงเป็นไปแบบเรื่อยเฉื่อย เมืองนครยังไม่ได้อยู่ในอันดับความต้องการ ของนักท่องเที่ยวอย่างที่เราต้องการจะให้ เป็น จนมาถึงยุคที่การท่องเที่ยวเมืองนคร บูมสุดๆ กับกระแสองค์จตุคามฟีเว่อร์ ที่ผู้คน ในแทบทุ ก วงการต้ อ งเดิ น ทางหลั่ ง ไหลมา เข้าร่วมพิธีที่วัดพระมหาธาตุฯ เมืองนคร มี เที่ยวบินเข้าออกบ้านเรากันวันละหลายสิบ ไฟลท์ แต่ในกรอบคิดเรื่องการท่องเที่ยวทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน ต่างก็ไม่มีความคิดเห็น ไม่มีมาตรการอะไรออกมาจัดการ หรือกฎ กติกาออกมาควบคุมบังคับใช้เลย ใครนึกจะ ท�ำอะไรก็ท�ำ เรียกภาษาบ้านเราก็ว่า “ท�ำได้ ท�ำเอา” หรืออาจจะเป็นเพราะต่างฝ่ายต่าง งง คิ ด ไม่ ถึ ง ว่ า กระแสจะดั ง ตู ม ตามกั น ทั้ ง ประเทศขนาดนี้ แต่สุดท้ายกระแสดังกล่าว ก็ลดลงแบบรวดเร็วจนหลายคนตั้งตัวไม่ทัน ไม่คิดว่ากระแสจะวูบเร็วขนาดนั้น จนกระทั่ ง ล่ า สุ ด เมื่ อ สองสามปี ที่ ผ่ า นมา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชได้ ผุ ด โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อการท่องเที่ยว ชื่อโครงการ “นครศรีดี๊ดี” ที่ประชาสัมพันธ์ กั น สนั่ น เมื อ ง โดยเฉพาะในกรุ ง เทพฯ มี สปอตโฆษณาเชิญชวนท่องเที่ยวเมืองนคร

ยิงกันแบบถี่ยิบ ผ่านสถานีวิทยุและทีวีหลาย สถานี ป้ายบิลบอร์ดใหญ่ๆ ริมทางด่วน รวม ถึ ง กิ จ กรรมอี เ วนท์ ต ่ า งๆ ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น เพื่ อ ดึงดูดเชิญชวนนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยือน เมืองนคร เรียกว่าเป็นการท�ำการตลาดครั้ง ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและใช้งบประมาณก้อนใหญ่ ที่สุดของประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเมือง นครก็ว่าได้ แต่สุดท้ายก็ค่อยๆ แผ่วลงไป หลังจากหมดงบโฆษณา จนถึงทุกวันนี้ผม ยังไม่ได้มีโอกาสได้อ่านรายงานผลสรุปอย่าง เป็นทางการจากหน่วยงานเจ้าของโครงการ “นครศรีดี๊ดี” เลยครับว่าประสบผลส�ำเร็จ หรือคุ้มค่าทางธุรกิจมากน้อยแค่ไหน ได้แต่ สอบถามจากบรรดาผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง ได้ รั บ ค� ำ ตอบเหมื อ นๆ กั น ว่าการท่องเที่ยวดีขึ้น มีนักท่องเที่ยวมากขึ้น จนถึงปัจจุบันผมคิดว่า ภาพรวมของ การท่องเที่ยวเมืองนครเปลี่ยนไปในทิศทาง ที่เป็นเชิงบวกมากขึ้น ปัจจัยภายในดูมีความ พร้อมมากขึ้น มีที่พัก โรงแรม รีสอร์ทระดับ ดี ๆ เพิ่ ม ขึ้ น มากมายที่ เ มื อ งขนอม ในเขต อ�ำเภอเมืองมีที่พักหลายระดับเพิ่มขึ้นอย่าง ผิดหูผิดตา ร้านอาหาร การเดินทาง-ขนส่ง ถนนหนทางมีความพร้อมและสะดวกมาก ขึ้น และที่ส�ำคัญคือบุคลากรในภาคธุรกิจ มีคนวัยหนุ่มสาวที่มีความพร้อมในหลายๆ ด้ า น อาสาเข้ า มาท� ำ งานเพื่ อ ส่ ว นรวมมี มากขึ้น แถมท้ายด้วยกระแสพระบรมธาตุ สู ่ ม รดกโลก เลยท� ำ ให้ ทิ ศ ทางและโอกาส ทางการท่ อ งเที่ ย วดู จ ะสดใสคมชั ด มาก ขึ้ น และโดยเฉพาะสถิ ติ ผู ้ เ ยี่ ย มเยื อ นชาว ไทยเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากตั้งแต่ปี ๒๕๕๒๒๕๕๔ คือ ๑,๘๘๘,๔๗๗, ๑๘๕๗๒๔๖ และ

๒,๓๖๒,๔๓๙ ตามล�ำดับ เพียงแต่ชวนให้ สงสัยกับสถิติของผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ ที่ลดลงทุกปีตั้งแต่ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ คือ ๒๕,๙๓๙, ๑๘,๙๗๙ และ ๑๕,๓๔๘ ตาม ล�ำดับครับ (ข้อมูล : ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงเมื่อ มิ.ย. ๒๕๕๖) ช่วงนี้เรามีแต่ข่าวดีทางการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นทุกวัน ล่าสุด รมต.กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา คุณกอบกาญจน์ วัฒนวรางกู ล ได้ เ ดิ น ทางมาแสดงปาฐกถา พิเศษ “เปิดมุมมองการท่องเที่ยวเมืองนคร ปี ๕๘” สนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วภายใต้ “โครงการ ๑๒ เมืองต้องห้าม…พลาด” จัด โดยหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราชเมื่อ ปลายปีที่ผ่านมา พร้อมทั้งฝากข้อคิดดีๆ ให้คนนครในฐานะเจ้าบ้านอย่างน่าสนใจ ตามที่ท่านได้ให้สัมภาษณ์ในวารสาร Freedom Travel “ส�ำหรับนครศรีธรรมราช “นครสองธรรม” หมายถึง ธรรมะและ ธรรมชาติค่ะ ในแง่การตลาดไม่น่าเป็น ห่ ว ง เพราะคนจะมาท่ อ งเที่ ย วแน่ น อน แต่สิ่งที่ต้องห่วงมากกว่าคือการพัฒนา ให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่าง ยั่งยืน ให้มีคุณภาพ สามารถรักษาสิ่งดีๆ ให้อยู่ได้นาน คนที่จะมาดูแลรักษาตรงนี้ ได้คือคนนครเองที่ต้องรวมตัวกันให้เข้ม แข็ง เพราะตัวรัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการ จังหวัดเปลี่ยนได้ แต่คนในพื้นที่คือคนที่ อยู่ตลอดค่ะ” และ “อะไรที่เป็นอุปสรรค มาท้าทายเรา ขอให้อย่าท้อ ต้องลุกขึ้นสู้ อย่าท้อถอยค่ะ ที่นี่มีอะไรดีๆ เยอะมาก ทั้งศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติ รู้สึกหลงรัก นครศรีธรรมราชจริงๆ ค่ะ ตั้งแต่นี้ต่อไป จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชไม่ ใ ช่ อ ยู ่ แ ค่ ใ น List ที่จะไปเที่ยว แต่จะต้องอยู่ใน Destination ค่ะ” สุ ด ท้ า ยต้ อ งขอชื่ น ชม ททท. กั บ แนวคิด “โครงการ ๑๒ เมืองต้องห้าม… พลาด” และสุดยอดสโลแกน “นครสอง ธรรม” ซึ่ ง เมื อ งนครน่ า จะหยิ บ ยกน� ำ มา เป็นวิชั่นของเมืองไปเสียเลยด้วยซ�้ำ ไม่ใช่ เป็ น เฉพาะสโลแกนทางการท่ อ งเที่ ย ว ครับ เพื่อให้เมืองนครของเรา เป็นเมืองที่ รักษาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติได้อย่างดี เยี่ยม และเป็นเมืองธรรมะ ผู้คนมีจิตใจดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ตั้งมั่นอยู่ในธรรม


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

กระทรวงพาณิชย์-จังหวัดนครฯจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการสร้างผูป้ ระกอบการให้เป็นนักการตลาดมืออาชีพเตรียม ค้าขายกับจีน, ลาว และกัมพูชา เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้ อ งประชุ ม โรงแรมทวิ น โลตั ส อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช นายบริ รั ก ษ์ ชู สิ ท ธิ์ พาณิ ช ย์ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เป็นประธานเปิดการ จั ด สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารหลั ก สู ต รการ พัฒนาผู้ประกอบการเป็นนักการตลาด มืออาชีพ หรือ Smart Trader โครงการ ความร่วมมือระหว่างกระทรวงพาณิชย์ กับจังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งนี้เพื่อเร่ง สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ประกอบ การในพื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ให้เป็น นั ก การตลาดมื อ อาชี พ รู ้ จั ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของตัวเอง ความรู้ความเข้าใจด้านภาษี มาตรการด้านการค้าการลงทุน และการ

หน้า ๑๑

ส่งออก พร้อมท�ำการค้าในต่างประเทศ โดยเฉพาะกับ ๓ ประเทศ คือ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น , ลาว และกั ม พู ช า รองรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นปลายปี ๒๕๕๘ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาด้ า นการพาณิ ช ย์ , การขยายโอกาสการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ ไทย, เพิ่มความสามารถในเชิงธุรกิจแก่ ผู ้ ป ระกอบการ สร้ า งคุ ณ ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไทยให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ จากผู ้ บ ริ โ ภคและ ผู้ซื้อทั้งในประเทศและระดับสากล ทั้ง ขยายโอกาสทางการแข่ ง ขั น กั บ กลุ ่ ม ประเทศอาเซียน+๓ และอาเซียน+๖ ซึ่ง เป็นกลุ่มตลาดที่มีขนาดใหญ่ในอนาคต การประชุมครั้งนี้ได้คัดเลือกผู้ประกอบ การสาขาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ ๑๒๐ กลุ ่ ม อาชีพจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ วิทยากร ประกอบด้วย นายธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย และ นายปริญญา ชุมรุม เป็นต้น

มเคยเขี ย นถึ ง เมื อ งมรดกโลกของ สวิตเซอร์แลนด์มาแล้วครั้งหนึ่ง แต่ เขียนได้ไม่ครบถ้วน เนื่องจากความจ�ำกัด ของหน้ากระดาษ วันนี้จึงขอเขียนต่อเรื่อง เมือง ‘เซอร์เมท’ หรือเมือง ‘แซร์มัตต์’ แล้ ว แต่ ส� ำ เนี ย ง เซอร์ เ มทเป็ น หมู ่ บ ้ า น เล็กๆ ในเมืองวาเลย์ เป็นหมู่บ้านปลอด ควันพิษ เดิมชาวเมืองท�ำการเกษตร มี ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เมืองตั้งอยู่สูงกว่าระดับ น�้ำทะเล ๑,๖๑๖ เมตร ก่อตั้งเป็นชุมชน เมืองมาประมาณ ๗๐๐ กว่าปี พอๆ กับ เมืองนครสร้างพระธาตุ หมู่บ้านแห่งนี้มี ‘จุดขาย’ มากมาย อย่างแรกคือการห้ามไม่ให้รถยนต์หรือ จั ก รยานยนต์ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยน�้ ำ มั น เข้าไปในตัวเมือง อนุญาตให้รถใช้แบตเตอรี่ รถไฟฟ้า รถจักรยาน รถม้า มีกระทั่ง วัวเทียมเกวียนลากบรรทุกของก็ยังมี แต่ มูลสัตว์ไม่ตกลงบนถนนเด็ดขาด ผู้ที่น�ำ รถยนต์มาก็มีลานจอดรถฟรีปากทางเข้า หมู่บ้าน แล้วมีรถโดยสารของคนท้องถิ่น เป็นรถสองแถวขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า ไว้บริการ แต่ก็ไม่ได้วิ่งทั่วทั้งเมือง จอด ในที่จัดไว้ คนต้องเดินเที่ยวในเมือง หรือ เช่าจักรยานขี่เที่ยวในเมือง ต่อมาแม่น�้ำ ล�ำคลองทุกสายน�้ำใสไหลแรง ปราศจาก มลพิษเช่นกัน ทุกบ้านเรือนจะไม่ปล่อย น�้ำเสียลงในล�ำคลอง ก่อนปล่อยน�้ำเสีย

ออกจากบ้ า น เรือนต้องบ�ำบัดเสีย ก่อน แล้วปล่อยลงท่อน�้ำ ทิ้ ง ไปยั ง บ่ อ บ� ำ บั ด แม้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะเข้ า ไปเที่ ย ว มากกว่ า คนอยู ่ ใ นหมู ่ บ ้ า น หลายเท่า เขาก็จัดการกับ ของเสียได้อย่างวิเศษมาก น�้ำ ในล� ำ คลองของเขาจึ ง ใสสะอาด และเมืองเขาก็เป็นแหล่งต้นน�้ำที่จะ ไปหล่อเลี้ยงเมืองใหญ่ๆ ในพื้นราบอีกด้วย ถนนหนทางแม้ เ ป็ น ภู เ ขามี เ นิ น ทั่ ว เมืองจนไม่สามารถหาถนนที่เป็นทางราบ สั ก ๑๐๐ เมตรได้ ถนนทุ ก สายไม่ เ ห็ น ร่องรอยการซ่อมปะผุอย่างบ้านเรา คุณภาพถนนมาตรฐานยุโรป มีทางจักรยาน กว้างขวางกว่าถนนรถยนต์ ถนนเยี่ยมทุก ซอกทุกซอย ซอยเล็กซอยน้อยถึงทุกครัว เรือน บ้านเรือนรุ่นเก่าซึ่งเป็นบ้านเรือน ท้องถิ่นก็มีอยู่จ�ำนวนมาก สร้างด้วยหิน ภู เ ขาก้ อ นใหญ่ หรื อ ไม่ ก็ ไ ม้ ซุ ง ผ่ า ซี ก มา

สร้างเป็นฝาเรือน หลังคามุงด้วยหินกาบ เป็นแผ่น โครงสร้างตั้งแต่เสาจนถึงคาน และแป ล้ ว นมี ข นาดใหญ่ ทั้ ง นั้ น และ บ้านเรือนเหล่านี้เขาท�ำเป็นบ้านพักเป็น เกสต์เฮาส์ ราคาแพงกว่าโรงแรมหรูกลาง เมืองอีก จุดขายของเมืองนี้อีกอย่างคือมียอด เขาอยู่ใกล้เมืองอยู่ยอดหนึ่ง ชื่อ ‘แมตเธอร์ฮอร์น’ เป็นยอดเขาที่สวยงามของ สวิ ส อี ก เขาหนึ่ ง และมี ชื่ อ เสี ย งมาก มี รู ป ทรงสวยงามอยู่ใกล้เมือง มีหิมะปกคลุม

ยอดเขาทั้งปี แม้ว่าความสูงจะไม่มากเท่า ยอดเขาอื่นๆ แต่ก็สูงจากระดับน�้ำทะเล ถึง ๔,๔๗๘ เมตรทีเดียว เป็นที่เล่นสกี ด้านล่าง นักปีนเขาก็ขึ้นยอดสูง ผู้คนจึง มาท่องเที่ยวเล่นกีฬาเหล่านี้กันมาก บ้านเราก�ำลังลุ้นพระธาตุเป็นมรดก โลกกันอยู่ สนิมบนยอดปล้องไฉนผู้รับ ผิ ด ชอบก็ รี บ เร่ ง มื อ กั น หน่ อ ย ชาวบ้ า น ชาวเมืองจะได้มีความสุขกัน เมื่อแหงน มององค์พระบรมธาตุเจดีย์


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มี ใ นผั ก พื้ น บ้ า นภาคใต้ เช่ น มั น ปู ยอด มะม่วงหิมพานต์ ผักเลียงน�้ำ หรือ ผักเหลียง ผักหนาม ฯลฯ สารพวก ฟลาโวนอยด์ สารต้ า น อนุมูลอิสระส่วนใหญ่ที่อยู่ในรูปของฟลา โวนอยด์ กลุ่มนี้จะมีฤทธิ์ช่วยยับยั้งท�ำให้ อนุมูลอิสระเหล่านั้นสลายไป ไม่สามารถ ท�ำลายเซลล์ต่างๆ ในร่างกายได้ มีมากใน พวกผักใบ เช่น เลียงน�้ำ มะม่วงหิมพานต์ สารแอนโทไซยานิน ถ้าได้รับในปริมาณที่เพียงพอ จะท�ำให้สามารถยับยั้งการ เกิดเซลล์มะเร็ง ช่วยชะลอริ้วรอยได้ ผัก ทั่วไป มักพบได้ในกะหล�่ำปลีสีม่วง แต่ถ้า ผักพื้นบ้านก็จะมี ผักเหลียง มันปู ใบเม็ด มะม่วงหิมพานต์ ใบชะมวง ผักหนาม การใช้ ส ารต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ และ สารผั ก จากธรรมชาติ ม าชะลอและรั ก ษา โรคเสื่อมนั้นสามารถท�ำได้ โดยการหันมา บริ โ ภคผั ก สดและผลไม้ ส ดปริ ม าณมาก ขึ้น ส�ำหรับคนทั่วไปที่ไม่อยากแก่เร็ว ไม่ อยากเป็นโรคร้ายแรง แนะน�ำให้กินผักสด วันละ ๒ จาน จานละประมาณ ๑๐ - ๑๕๐ กรัม (ขนาดเท่ากับจานส้มต�ำ) กินผลไม้สด อะไรก็ได้ (ขนาดเท่ากับแอปเปิล) วันละ ๒ ลูก และดื่มน�้ำส้มคั้นสดจากผลไม้วันละ ๑ แก้ว (๒๐๐ ซี.ซี)

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

นภาคใต้มีความหลากหลายทางพันธุ์ พื ช มาก คนไทยในอดี ต จึ ง มี ก ารใช้ ประโยชน์ จ ากพื ช พั น ธุ ์ ที่ อ ยู ่ ร อบตั ว ทั้ ง น� ำ มาเป็ น อาหาร และเป็ น ยารั ก ษาโรค ความรู ้ ไ ด้ มี ก ารสั่ ง สม ถ่ า ยทอดมายั ง ชน รุ่นหลัง อาหารปักษ์ใต้เอง ก็ได้น�ำผักพื้น บ้านมาประกอบอาหาร รวมทั้งเป็น “ผัก เหนาะ” ผั ก พื้ น บ้ า นจึ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ถี การกิ น อาหารของคนปั ก ษ์ ใ ต้ ม าช้ า นาน เพราะส่วนใหญ่เป็นผักที่หาได้ง่าย อยู่ตาม ธรรมชาติ ปลอดสารพิษ และมีคุณค่าทาง โภชนาการซ่อนไว้โดยที่เราไม่รู้จักมากนัก แต่นับวันค่อยๆ ที่จะหายไปจากคนยุคใหม่ เพราะอาจจะหาซื้ อ ผั ก ทั่ ว ไปได้ ง ่ า ยกว่ า เดินตามตลาดก็จะเห็นผักทั่วไปซื้อขายกัน ทั่ว วันนี้เรามาทราบข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยว กับผักพื้นบ้านของปักษ์ใต้บ้านเรากัน ผักพื้นบ้านแต่ละชนิดมีความส�ำคัญ แตกต่างกันไป ได้แก่ คุณค่าทางอาหาร และยา ผั ก พื้ น บ้ า นมี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการสูง ให้วิตามิน เกลือแร่ น�้ำตาล และ กากอาหาร, ปลอดสารพิ ษ และยาฆ่ า แมลง เพราะผักพื้นบ้านเป็นผักที่ขึ้นตาม ธรรมชาติ, ราคาประหยัด ผักพื้นบ้านหามา ประกอบอาหารได้ง่ายตามสภาพท้องถิ่น นอกจากนี้ ในทางวิทยาศาสตร์ ผัก พื้ น บ้ า นมี ส ารอาหารสู ง กว่ า ผั ก ตามท้ อ ง ตลาดมาก บางชนิ ด มากถึ ง สิ บ เท่ า โดย เฉพาะ ‘สารพฤกษเคมี หรือ ไฟโตนิว-

เทรียนท์’ (เป็นสารที่ไม่ได้เข้าไปท�ำหน้าที่ แบบอาหาร ๕ หมู่ แต่เข้าไปท�ำหน้าที่เป็น สารต้านอนุมูลอิสระตัวเก่งบ้าง เป็นสาร กระตุ้นภูมิต้านทานบ้าง เป็นสารป้องกันไม่ ให้เซลล์กลายพันธุ์เป็นมะเร็งบ้าง เป็นสาร ที่เข้าไปสื่อความหมายกับเซลล์ร่างกายให้ ท�ำหน้าที่ต่างๆ เช่น ฮอร์โมน หรือเอนไซม์ เป็นต้น สารต่างๆ เหล่านี้มีนับได้เป็นพันๆ ชนิด เช่น คาโรทีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ โปรแอนโทรไซยานิ ดิ น คาเตซิ น เทอร์ ป ี น เป็ น ต้ น ) สารชนิ ด นี้ มี บ ทบาทอย่ า งมาก ในการยับยั้งโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างเช่น โรคมะเร็ง หัวใจ ความดัน เป็นต้น และ ช่ ว ยต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก

สิ่งแวดล้อม และกระบวนการเผาผลาญ ภายในร่างกายที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอด เวลา จะมีในผักพื้นบ้านค่อนข้างเยอะ โดย เฉพาะผักที่มีรสขม ผักทั่วไปหาไม่ค่อยพบ

การกินผัก ควรกินให้พอควร กินให้ หลากหลาย และจุดประสงค์การกิน ควร กินเพื่อป้องกันโรค ไม่ใช่เพื่อรักษาโรค เพี ย งเท่ า นี้ ก็ เ ป็ น การกิ น เพื่ อ เป็ น ยาอายุ วัฒนะ ให้กับร่างกายแล้ว ยังได้รับคุณค่า ทางโภชนาการ ปลอดภัย ไร้สารพิษ และ เป็ น การน� ำ วิ ถี ก ารกิ น อาหารของคนไทย กลับคืนมา

เรียบเรียงโดย : อรรถกร วุฒิมานพ อ้างอิงที่มา ข้อมูล credit : คุณอ้อมใจ วงษ์มณฑา นักวิชาการอุดมศึกษาสถาบันวัฒนธรรมศึกษาฯ รศ. ดร.รัชนี คงคาฉุยฉาย อาจารย์ประจ�ำสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

ทความเดือนที่แล้วของคอลัมน์นี้ผม ได้กล่าวถึงคนรุ่นใหม่ของเมืองนคร ที่ เ ป็ น หนุ ่ ม สาวซึ่ ง มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ด้ า น ความรู้ ความสามารถ และความมุ่งมั่น ที่กลับมาร่วมสร้างอนาคตของบ้านเมือง แทนรุ่นเก่าที่จะต้องถอยห่างออกมา ผม ไม่ ไ ด้ พู ด เกิ น เลยความจริ ง ครั บ เพราะ ผมเห็นเช่นนั้นจริงๆ อาจเป็นเพราะผมมี อาชีพที่ต้องสร้างภาพความฝันของเจ้าของ โครงการต่างๆ ให้เป็นจริง ก็จะมีลูกหลาน ของเจ้าของเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น มากขึ้น และผมทิ้งท้ายว่าอยากให้คนรุ่น นี้มาแสดงมุมมอง “รักษ์บ้านรักษ์เมือง” ในคอลัมน์นี้บ้าง และก็ไม่ผิดหวังเมื่อผม ได้ ท าบทามประธานหอการค้ า จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช คุณวาริน ชิณวงศ์ ที่อาจ เป็นผู้ที่อยู่ในต�ำแหน่งนี้อายุน้อยที่สุดใน ประเทศไทยในขณะนี้ก็ได้ และมีทีมงาน คนรุ ่ น ใหม่ ที่ จั บ กลุ ่ ม กั น เหนี ย วแน่ น เสี ย สละเวลาให้สังคมส่วนรวม ได้ตอบรับใน การแสดงความคิดเห็นลงฉบับนี้ และไม่ ได้มองภาพเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช เท่ า นั้ น กลั บ มองไกลไปถึ ง การท� ำ ธุ ร กิ จ ระหว่ า งชาติ ที่ ยุ ค ก่ อ นๆ ก็ มั ก จะสงวน ส� ำ หรั บ นั ก ลงทุ น ใหญ่ ที่ มี เ พี ย งน้ อ ยราย แต่โดยการเปิดโลกกว้างของระบบการค้า เสรีปัจจุบัน นักธุรกิจทุนเล็กๆ ก็สามารถ ก้ า วไปถึ ง จุ ด นั้ น ได้ เ ช่ น กั น คุ ณ วาริ น ได้ เริ่มต้นในการให้ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจ ปี ๒๕๕๘ และแนวทางการเพิ่มขีดความ สามารถของผู้ประกอบการ SMEs ดังนี้ ครับ เศรษฐกิจไทยปี ๒๕๕๘ มีแนวโน้ม ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น แต่ ยั ง มี ป ั จ จั ย เสี่ ย ง ซึ่ ง การ เติบโตในครั้งนี้ ภาคใต้มีอัตราการเจริญ เติบโตรั้งท้ายคือประมาณการที่ ๓.๒% ต�่ำ กว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ตั้งข้อสังเกตจาก ราคายางพาราซึ่งยังเป็นปัญหาใหญ่ของ บ้านเรา ส�ำหรับการปรับตัวของผู้ประกอบ การมี ๔ ทางได้แก่ มาตรฐาน เพิ่มผลผลิต สร้ า งความเข้ ม แข็ ง Value Chain และ ตราสินค้า ส� ำ หรั บ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ของผู้ประกอบการ SMEs ได้มุ่งเน้นใน ๓ แนวทางคือ ๑. อาเชียน : โอกาสที่ไร้พรมแดน (ASEAN : Borderless Opportunities)

วาริน ชิณวงศ์

ผู้ประกอบการควรมีมุมมองที่หลากหลาย รวมทั้ ง ข้ อ มู ล เชิ ง เทคนิ ค ส� ำ หรั บ เตรี ย ม ความพร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) ในด้านโอกาส ความท้าทาย และสิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งด� ำ เนิ น การ ผู ้ ป ระกอบ การไม่ควรละเลยปัจจัยในการเปิดตลาด สินค้า การบริการ และการลงทุน ดังนั้น เราควรศึกษาระบบการน�ำเข้าสินค้า เช่น มาตรฐานสินค้าที่แต่ละประเทศใช้ โดย เฉพาะสินค้าการเกษตรและอาหาร รวม ถึ ง การใช้ ป ระโยชน์ จ ากกฎระเบี ย บการ ค้าต่างๆ ทั้งกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า (Rules of Origin : RO) รวมถึงมาตรการ ที่ มิ ใ ช่ ภ าษี และกฎหมายการคุ ้ ม ครอง ทรัพย์สินทางปัญญา

๒. นวัตกรรม...เราต้องท�ำ !! (Innovation & hellip a Must !!) นวั ต กรรมเป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การเติ บ โตทางธุ ร กิ จ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งใกล้ ตั ว เนื่ อ งจากนวั ต รรมเป็ น การน� ำ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ( Creative ) หรื อ ความคิ ด ( Thinking ) ไปสร้ า งให้ เ กิ ด เป็ น รู ป ธรรม ( Making ) ผ่ า นกระบวนการผลิ ต สิ น ค้ า และบริการ ซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างมูลค่า เพิ่ ม และช่ อ งทางการตลาดที่ ก ว้ า งขวาง ขึ้น อย่างไรก็ตามการน�ำนวัตกรรมมาเป็น เครื่องมือเพื่อสร้างความโดดเด่นและความ แตกต่างนั้นจะท�ำให้ธุรกิจมีโอกาสเติบโต ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งไม่เพียงแต่ธุรกิจขนาด ใหญ่เท่านั้นแต่รวมไปถึงธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่ อ ม หากมี ค วามชั ด เจนก็ จ ะ สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วและมั่นคง ได้เช่นกัน ๓. ต้ อ งเป็ น เลิ ศ ตลอด !! ต้ น น�้ ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ (Being excellent the whole Value Chain) ปั จ จุ บั น ภาคธุ ร กิ จ เอกชนถู ก แรง กดดั น จากกระแสโลกาภิ วั ต น์ และการ แข่งขันทางด้านเศรษฐกิจทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ ดั ง นั้ น ภาคธุ ร กิ จ ควร ทบทวนจุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อสร้างความ มั่ น คงยั่ ง ยื น และก้ า วสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ทั้ ง ในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ และ นานาชาติ ในขณะเดียวกันควรมีเป้าหมาย ที่ชัดเจนและมุ่งพัฒนาธุรกิจเพื่อยกระดับ ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ตลอด Value Chain โดยจัดให้มีการสัมมนากลุ่ม เพื่อหยิบยกแนวทางปรับเปลี่ยนความคิด และการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ป ระสบความ

ส� ำ เร็ จ ผ่ า น Best Practice ทั้ ง ในระดั บ ประเทศ และระดับโลก รวมทั้งการสร้าง กลไกความร่วมมือระหว่างหอการค้าไทย กับหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานเครือ ข่ายเพื่อสร้างความเข้มแข็ง แนวคิดของคุณวารินคนรุ่นใหม่นี้ผม ว่าไม่ธรรมดาครับ เพราะการมองโอกาส ที่ไร้พรมแดนในอาเซียน แล้วกลับมามอง ศักยภาพเรื่องใกล้ตัวที่มีอยู่มากมายเป็น ทุ น เดิ ม โดยอาศั ย ความรู ้ ข องการศึ กษา ยุคใหม่บวกกับพลังที่ยังสดของคนไฟแรง ท� ำ ให้ ม องเห็ น ทิ ศ ทางอนาคตบ้ า นเมื อ ง ชัดเจนและมั่นใจขึ้น ถ้าผมอยากเสริมใน ฐานะคนรุ ่ น เก่ า ก็ คื อ การที่ จ ะต้ อ งเรี ย น รู้ตัวตนมากขึ้นเพื่อรักษาเอกลักษณ์ความ เป็นเมืองนครในทุกมิติให้ได้ ไม่ว่าเรื่องของ ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา วิถีชีวิต ธรรมชาติ ที่ เ ป็ น ป่ า ไม้ แ ละทะเล และสร้ า งจุ ด ขาย อย่างเป็นเลิศที่แตกต่างกว่าที่อื่นแม้ว่าจะ ไม่ถึงขั้นเป็นนวัตกรรมก็ตาม และในภาค อุตสาหกรรม ควรค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมให้ มากเพราะมันไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ โดยง่าย คนรุ่นใหม่คงไม่เดินตามวังวนการ ท� ำ ธุ ร กิ จ ยุ ค ก่ อ นที่ ตั ว ใครตั ว มั น และแฝง ด้วยอิทธิพลต่างๆ ที่เป็นตัวบั่นทอนการ เกิดของนักธุรกิจรุ่นใหม่ๆ แม้ผมจะไม่มี สิ ท ธิ์ จ ะฝากอนาคตบ้ า นเมื อ งให้ กั บ ใคร แต่ ก็ ข อให้ ค นที่ อ ยู ่ ใ นยุ ค ที่ อ ะไรต่ อ อะไร เปลี่ยนแปลงมากมายนี้แหละ ร่วมกันตั้ง หลั ก ออกแบบการพั ฒ นาเมื อ งไปสู ่ ยุ ค ที่ รุ่งโรจน์ให้ได้ “อนาคตของบ้านเมือง อยู่ในก�ำมือ ของคนรุ่นใหม่”


หน้า ๑๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

วันเสาร์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ น. กล่าวต้อนรับ ปฐมนิเทศ ๐๙.๓๐ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์วันแรกพบ ๑๐.๓๐ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ น. กิจกรรมธรรมชาติ ๑๑.๔๕ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. กิจกรรมธรรมชาติ ๑๕.๐๐ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๖.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๘.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น ๑๙.๐๐ น. กิจกรรมเปิดเลนส์ส่องฟ้า ดูดาว ๒๐.๐๐ น. กิจกรรมธรรมชาติ ๒๑.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย

กิ

จกรรมธรรมชาติ หรื อ Nature Game เป็นกิจกรรมที่ Mr.Joseph B.Cornell นั ก อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ ช าว อเมริกันเป็นผู้คิดค้นและเผยแพร่ เมื่อปี ๒๕๒๒ ปัจจุบันมีสมาคม Nature Game ทั้งหมด ๑๑ ประเทศทั่วโลก ในประเทศ ญี่ปุ่นมีการท�ำงานสิ่งแวดล้อมศึกษา มีผู้น�ำ กิ จ กรรมทั้ ง ประเทศประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน ใช้ Nature Game เป็นสื่อให้กลุ่มเป้า หมายสัมผัสธรรมชาติ Nature game เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อสัมผัส และเรียนรู้ธรรมชาติ ที่เน้นให้เกิดความตระหนักถึงความ ส�ำคัญของธรรมชาติ โดยมีจุดประสงค์ที่ต้องการให้ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ ๑. ตื่ น ตั ว กั บ ธรรมชาติ หมายถึ ง การสั ม ผั ส กั บ ธรรมชาติ โดยใช้อวัยวะทั้ง หู ตา จมูก ลิ้น ผิวหนัง และ รู ้ ตั ว ว่ า ตนเองอยู ่ กั บ ธรรมชาติ แ ละเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ธรรมชาติ ๒. ร่วมมือและแลกเปลี่ยนกัน ร่วมเล่นเกม ร่วม สั ม ผั ส ธรรมชาติ แ ละร่ ว มแลกเปลี่ ย นความรู ้ สึ ก กั บ เด็ ก ไม่ใช่ว่าผู้ใหญ่เป็นผู้สอนและเด็กเป็นผู้เรียนเท่านั้น ๓. เข้าใจขั้นตอนการท�ำกิจกรรมธรรมชาติซึ่งเป็นทั้ง ศาสตร์และศิลป์ ให้เหมาะสมกับสภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมธรรมชาติ มีเกมมากมายและหลากหลาย เกมเหล่านั้นมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป แต่ก็สามารถ ใช้ได้กับทุกกลุ่มเป้าหมายทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งระดับของ การใช้งานกิจกรรมธรรมชาติเป็นทั้งเครื่องมือสื่อสารที่ ขึ้นอยู่กับการเชื่อมโยงของผู้น�ำกิจกรรม และใช้อธิบาย ธรรมชาติ ในเชิงวิทยาศาสตร์ กิจกรรมธรรมชาติเมื่อผู้เล่นได้เรียนรู้วิธีการแล้ว จะ สามารถน�ำไปท�ำกิจกรรมเองได้โดยไม่ต้องมีผู้น�ำอีกก็ได้ อยากให้ทุกคนได้น�ำไปใช้ในทุกที่ทุกเวลากันอย่างต่อเนื่อง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชจึงจัดค่าย ครอบครัว หรือ Family science camp #8 ตอน Nature game ขึ้น ในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ – ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ โดยมีก�ำหนดการ ดังนี้

วันอาทิตย์ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ๐๗.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๓๐ น. กิจกรรมธรรมชาติ ๑๐.๐๐ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๑.๑๕ น. สรุปกิจกรรม และ ปิดโครงการ ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ รับสมัคร สมาชิก ๕๐ ท่าน หรือ ๑๐ ครอบครัว ครอบครัวละไม่เกิน ๕ คน ที่มีเด็กอายุตั้งแต่ ๔ ปีขึ้นไป ที่พัก เขาขุนพนมโฮมสเตย์ (บ้านพักในสวนมังคุด) และเต็นท์ (สามารถน�ำเต็นท์มาเองได้) ค่าสมัคร คนละ ๕๐๐ บาท รวมค่าอาหาร ๔ มื้อ อาหารว่าง ๓ มื้อ ที่พักโฮมสเตย์ อุปกรณ์กิจกรรม สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.nakhonsci. com หรือ โทร. ๐๘๑-๘๒๔-๘๘๘๐ อ.ทานตะวัน

รองผู ้ ว ่ า ประชุ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยครอบครั ว ชุ ม ชนเพื่ อ ป้ อ งกั น การ กระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และครอบครัว เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ นายสมาน แสงสอาด รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นประธาน เปิดอบรมโครงการเสริมสร้างความรู้ แก่เครือข่ายครอบครัวและชุมชน เพื่อ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระท�ำ ความรุ น แรงต่ อ เด็ ก สตรี แ ละความ รุนแรงในครอบครัว เพื่อปลูกจิตส�ำนึก และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ และรับทราบแนวทางในการดูแลและ ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ถูกกระท�ำ ทั้งมี ปัญหาดังกล่าวในครอบครัวและชุมชน ส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และป้องกัน ของตนเอง เสริมสร้างครอบครัว ชุมชม

เข้ ม แข็ ง และสงบมั่ น คงต่ อ ไป โดยมี ตั ว แทนสตรี แ ละเยาวชนในชุ ม ชนเขต เทศบาลนครนครศรี ธ รรมราช จาก ๖๒ ชุ ม ชน และสมาชิ ก ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม และจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม ระดั บ ชุ ม ชน เข้าร่วม ๑๕๐ จากสถิติข้อมูลของศูนย์ พึ่ ง ได้ ก ระทรวงสาธารณสุ ข พบว่ า ใน ปี พ.ศ.๒๕๕๒ เด็กและสตรีถูกท�ำร้าย และเข้ า รั บ การรั ก ษาในโรงพยาบาล ๒๓,๕๑๑ ราย หรือประมาณ ๖๔ ราย ต่ อ วั น และในปี ๒๕๕๓ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น

ถึง ๒๕,๗๔๔ ราย หรือ ๗๑ รายต่อ วัน ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช สถิ ติ ค ดี ค วามรุ น แรงในครอบครั ว จากศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ป้ อ งกั น การ กระท�ำรุนแรงในครอบครัวจังหวัด ใน ปี ๒๕๕๓ มี ๑๐ คดี ปี ๒๕๕๔ มี ๑๓ คดี ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มี จ�ำนวน ๑๓ คดี ปี ๒๕๕๖ ได้จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC การอบรมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่ เ กิ ด ในพื้ น ที่ ตลอดจนการด� ำ เนิ น การช่ ว ยเหลื อ และลดจ� ำ นวนผู ้ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นจากการกระท� ำ รุนแรงให้น้อยลง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

P

ower Bank เป็นอุปกรณ์ช่วยชาร์จ มือถือ แท็บเล็ต เครื่องเล่น mp3 หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แบตเตอรี่ เพื่อ ชาร์จอุปกรณ์ต่างๆ กรณีออกท�ำงานนอก สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว หรื อ ไปยั ง สถานที่ ที่ ไม่มีที่ชาร์จแบตเตอรี่ ก็สามารถชาร์จผ่าน Power Bank ได้ น�้ำหนัก คุ ณ เชื่ อ หรื อ ไม่ ว ่ า คนส่ ว นใหญ่ ซื้ อ ยิ่งความจุมาก น�้ำหนักก็มักจะเพิ่ม Power Bank มักจะดูที่ความจุเป็นหลัก เป็นเงาตามตัวเพราะขนาดของแบตเตอรี่ เช่น ความจุ 7,800 mAh, 12,000 mAh, ก็จะโตขึ้น 20,000 mAh หรื อ แม้ ก ระทั่ ง 30,000 Output ระดับการจ่ายกระแสไฟ mAh เป็ น ต้ น แล้ ว ความเหมาะสมอยู ่ เราต้องเลือกขนาด Power Bank ตรงไหน ทราบหรือไม่ว่า อุปกรณ์โมบาย ให้ เ หมาะสมกั บ โหลดหรื อ อุ ป กรณ์ ที่ ของคุณมีความจุเท่าไหร่ และขนาดไหน จึงเหมาะสม และไม่สิ้นเปลืองโดยเปล่า ประโยชน์ ตั ว อย่ า งความจุ แ บตเตอรี่ ข อง อุปกรณ์ที่เราใช้งาน อุ ป กรณ์ โ มบายแต่ ล ะรุ ่ น มี ค วาม จุ แ บตเตอรี่ และความต้ อ งการพลั ง งาน ไฟฟ้าแตกต่างกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับ ขนาดของ Power Bank ที่มีขายอยู่ใน ปั จ จุ บั น แล้ ว เราสามารถค� ำ นวณจ� ำ นวน รอบในการชาร์จได้ตามตารางด้านล่าง ถ้า ความจุ Power Bank ยิ่งมาก ก็สามารถ ชาร์ จ ได้ ห ลายครั้ ง ทั้ ง นี้ ก็ ขึ้ น กั บ ความ ต้องการใช้งานของแต่ละบุคคล นอกเหนือ จากความจุของพลังงานไฟฟ้าแล้ว ยังมี อะไรที่ต้องวิเคราะห์ก่อนตัดสินใจซื้ออีก บ้างมาติดตามกัน วิธีการเลือกซื้อ POWER BANK ความจุของพลังงานไฟฟ้า เป็นหัวข้อแรกที่ใครๆ ก็น�ำมาเป็น หัวข้ออ้างอิงในการเลือกซื้อ ซึ่งต้องค�ำนึง ถึงความต้องการในการใช้งานด้วยว่ามาก น้อยขนาดไหน จ�ำนวนรอบในการชาร์จ ราคา ขึ้นอยู่กับความจุของพลังงานไฟฟ้า ยี่ห้อและประเทศที่ผลิต ถ้าผลิตในประเทศ ญี่ปุ่น ก็ค่อนข้างเชื่อถือได้ ราคาก็จะสูง หน่อย แต่ถ้าเป็นประเทศอื่นๆ ก็คงต้อง พิจารณาเป็นรายๆ ไป

เราต้องการชาร์จไฟจาก Power Bank อุปกรณ์โมบายแต่ละรุ่น แต่ละยี่ห้อมีความ ต้องการกระแสไฟฟ้าต่างกัน เช่น 1 A, 2.1 A เป็นต้น Input ระดั บ การชาร์ จ ไฟเข้ า

เวลานาน คงไม่ถูกใจหลายๆ คนแน่ ดังนั้น ถ้า Power Bank มีระดับ Input 1.0 A ย่อมจะชาร์จไฟเข้าได้ช้ากว่าระดับ Input 2.1A ซึ่งถือว่าดีมาก Power Bank ยี่ห้อ หรือ แบรนด์ ถ้าการชาร์จไฟเข้า Power Bank ใช้ อยากให้ค�ำนึงให้มากๆ เพราะยี่ห้อ จะเป็นการรับประกันได้ดีมากพอสมควร ว่า Power Bank ของเรามีคุณภาพ และ จ่ายกระแสไฟได้อย่างสม�่ำเสมอหรือไม่ ซึ่ง มีผลกับอายุการใช้งานของอุปกรณ์โมบาย ของเราด้วยเช่นกัน พอร์ ต USB และแจ็ ค ในการเชื่ อ ม ต่อเพื่อชาร์จไฟ บางรุ่นอาจแถมให้มาเพื่อ รองรับการชาร์จทุกๆ รุ่น สุ ด ท้ า ยฝากถึ ง ผู ้ ใ ช้ ง านทุ ก ท่ า น เนื่องจาก Power Bank เป็นอุปกรณ์ที่ มีแบตเตอรี่ในตัว ดังนั้น หลังจากที่เสื่อม สภาพและใช้งานไม่ได้แล้ว แนะน�ำให้ทิ้ง ให้ ถู ก ทาง เพราะอาจมี ป ั ญ หาเรื่ อ งของ การระเบิดเกิดเพลิงไหม้ได้ และที่ส�ำคัญ Power Bank ก็ ถื อ ว่ า เป็ น ขยะมี พิ ษ ประเภทหนึ่ ง ควรแยกทิ้ ง ให้ ถู ก ประเภท ของขยะนะครับ

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

คยพูดถึงไว้สองสามบท ส�ำหรับเรื่อง “น�้ำผึ้งป่า” และก่อน จะว่าเรื่องน�้ำผึ้งเป็นขวดๆ ก็ขอแชร์ประสบการณ์ วิธีหา รังผึ้งกันก่อน เมื่อถึงฤดูเดือนห้าหน้าร้อน พรานป่าจะรู้ได้ยังไงว่ามีรัง ผึ้งอยู่บริเวณไหน ค�ำตอบแรกๆ ที่จะได้ก่อนนั่นคือ ก็ต้นเดิม เมื่อปีที่แล้ว ผึ้งหลวงหรือผึ้งป่ามักจะวนกลับมาท�ำรัง ณ ที่ เดิม นั่นหมายถึงหากมันไม่ได้โดนเก็บน�้ำผึ้งกลางวันหรือแบบ ท�ำลายล้างผึ้งทั้งฝูง “ต้นยวนผึ้งหรือต้นสมพง” คือต้นไม้ เป้ า หมายที่ ผึ้ ง มั ก หาที่ ท� ำ รั ง นั่ น เพราะลั ก ษณะต้ น มั น ลื่ น เกลี้ยงเกลาซึ่งยากแก่การปีนป่าย...แต่หากเราไม่มีค�ำตอบ แรก พรานป่าก็เลือกใช้วิธีนี้ครับ นั่ น คื อ ออกเดิ น เข้ า ป่ า ไปตาม แหล่ ง ริ ม ล� ำ ธาร ริ ม โป่ ง ที่ ผี เ สื้ อ แมลงต่ า งๆ ชอบไปหาสารแห่ ง ความเค็ม แร่ธาตุที่จ�ำเป็นต่อสัตว์ ทั้งหลายไม่เว้นแมลง ...ผึ้งหลวง ก็ จ ะอยู ่ ที่ นั่ น ครั บ โปรดนั่ ง ลง อย่างใจเย็นๆ มวนยาเส้นสูบบุหรี่ หรือต้มกาแฟจิบไปพลางๆ ครับ สังเกตให้ดีที่ตัวผึ้งที่บินไปบินมา ผึ้งงานจะมีหน้าที่หาน�้ำและแร่ธาตุเหล่านี้กลับไปที่รัง มันจะบินไปบินกลับอยู่แบบนั้นทั้งวัน ..มองทิศทาง..ที่มันบิน ไปบินกลับให้ดีครับ ไปทางไหน ความถี่มากแค่ไหน ส่วนใหญ่ แล้วเราก็คาดคะเนจากสิ่งนี้ว่า รังของมันน่าจะอยู่ตรงไหน ทิศทางใด ใช้เวลาหานานสักเท่าไหร่ ..ความถี่เหล่านี้จะวัด ได้ ค รั บ และหากจะให้ แ น่ ใ จในทิ ศ ทางนั้ น ก็ ม องบนใบไม้ ก้อนหินให้ดีๆ ครับ ในเส้นทางถนนกลางอากาศของผึ้ง มักจะ ทิ้งร่องรอยให้เห็นเสมอ นั่นคือ “มูล” หรือขี้ของผึ้งนั่นเอง มัน จะเป็นจุดสีเหลืองๆ เล็กๆ ขนาด เลขศูนย์บนแฟ้นพิมพ์ ผึ้งจะถ่าย มูลของมันตลอดเส้นทางนั้น หรือ หากใครขับรถผ่านแนวป่า สังเกต หน้ากระจกดีๆ ครับ จุดเหลืองๆ นั่นแหละ ขี้ผึ้ง และหากสมมุติเรา ท� ำ กราฟฟิ ก และตั ด ภาพป่ า ออก ไป เราก็จะได้รันเวย์ถนนของผึ้งป่า อย่างชัดเจน และนั่นก็คือถนนไป สู่สรรพยาหรือน�้ำอมฤทธิ์สีเหลือง ทองที่ประเมินค่ามิได้ ส่ ว นกลวิ ธี เ ก็ บ น�้ ำ ผึ้ ง ป่ า

กั น ต่ อ เก็ บ อย่ า งไรที่ ไ ม่ ท� ำ ลายฝู ง ผึ้ ง ให้ สู ญ พั น ธุ ์ เชื่อว่าคนเดินป่าหลายคน น่าจะรู้จักเจ้าต้นนี้ “ช้าง ร้ อ ง” ส่ ว นทางปั ก ษ์ ใ ต้ บางที่ เ รี ย ก “สามแก้ ว ” หรือต�ำแยดงนั่นแหละครับ อันตรายหากผิวไปสัมผัส ปวด แสบปวดร้อนนาน ๒๔ ชม.ถึงจะหายไปเอง มันมีข้อดีอยู่ใน ตัวครับ เพราะมันคือ “ไม้มอดไฟ” หมายถึงไฟจะไม่ลุกติด เป็นเปลว ...แล้วมันเกี่ยวกับการตีผึ้งยังไง คืองี้ครับ พรานป่าจะตัดเอาล�ำต้นของไม้ชนิดนี้ ส�ำหรับ การท�ำ “คบไฟ” ตีผึ้ง โดยเลือกล�ำต้นของมันมาทุบให้แตก เป็ น ริ้ ว ๆ น� ำ ไปตากแดดให้ แ ห้ ง มั ด รวมกั น เป็ น คบเพลิ ง และเจ้ า สิ่ ง นี่ แ หละครั บ พลบค�่ ำ ก็ น� ำ ขึ้ น ปี น ลู ก ทอยขึ้ น ไป

ส�ำหรับจัดการกับผึ้ง โดยเขาจะปีนไปอยู่ใกล้ๆ รังผึ้งจุดคบนี้ “รมควัน” ใต้รัง ซึ่งด้วยคุณสมบัติการไม่มีเปลวไฟนี่แหละ มันจึงไม่ท�ำรายผึ้ง ขณะเดียวกันก็จะเคาะ “สะเก็ดไฟ” ให้ หล่นร่วงลง เจ้าสะเก็ดไฟจากไม้ชนิดนี้เป็นเหมือนพลุดาว กระจายครับ มันจะติดไฟแดงๆ ลอยอยู่นาน และลอยตามลม ไป คราวนี้ฝูงผึ้งซึ่งเห็นแสงจากสะเก็ดไฟก็จะพากันบินตาม ออกไป ด้วยเป็นเวลากลางคืน มันจึงหลงทางไม่สามารถบิน กลับเข้ารังได้อีก ส่ ว นกลุ ่ ม คนที่ อ ยู ่ ข ้ า งล่ า ง ก็ จ ะใช้ อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ส� ำ หรั บ กลยุ ท ธ์ “ล่ อ ผึ้ ง ออกจากรั ง ” นั่ น คื อ จะเอาไฟฉายหรื อ สปอตไลท์ไปวางไว้ไกลๆ เปิดแสงให้ผึ้งเห็น ฝูงผึ้งซึ่งโมโห โกรธาอยู่แล้วก็จะบินไปโจมตีแสงดังกล่าว มะรุมมะตุ้มอยู่ ตรงนั้น อาจจะมีผึ้งงานอยู่ที่รังบ้าง พรานก็จะใช้คบไฟนั้นปัด กวาดให้ออกจากรังหมด และใช้ลูกทอยตัดหรือปาดเอารังผึ้ง มาสบายแฮ !! วิธีนี้ผึ้งจะตายน้อยมาก เพราะเช้ามามันก็รวมตัวกันใหม่ และ ย้ายฝูงไปท�ำรังที่อื่นต่อ ปีถัดมามันก็จะ กลับมาต้นเดิมอีก หมุนเวียนอยู่แบบนี้ คนที่ไปร่วมตีผึ้งจะมีส่วนแบ่งจาก น�้ ำ ผึ้ ง ไม่ ม ากก็ น ้ อ ยทุ ก คน นี่ ถื อ เป็ น มารยาทที่ ท� ำ กั น คนที่ ไ ปจึ ง ต้ อ งรู ้ ก ฎ ระเบี ย บ เช่ น ไม่ พู ด ทั ก ไม่ พู ด หยาบ หมิ่น และไม่ท�ำเสียงดัง สูบบุหรี่ หรือ ฉายไฟขณะตีผึ้งเด็ดขาด ..เคยกินน�้ำผึ้ง จากรังผึ้งสดๆ มั้ยครับ นั่นน่ะ...ที่สุด !!


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

ทุกวันออกพรรษา ชักพระ ชาวบ้านในละแวกวัดพัทธสีมา หมู่ ๖ ต.ท่าดี ลานสกา จะร่วมแรงกายแรงใจชักเรือพระ แบบโบราณ ไม่มีล้อลงไปในน�้ำของคลองท่าดีที่ห่างไป จากวัดราว ๕๐๐ เมตร ลากย้อนน�้ำขึ้นไปทางหมู่บ้าน คีรีวง ก่อนจะลงแรงกายอีกรอบลากเรือพระกลับวัดใน เย็ น วั น เดี ย วกั น พร้ อ มมี กิ จ กรรมในลานวั ด อย่ า งสนุ ก สนานทุกๆ ปี ไม่ส�ำคัญว่านี่คือประเพณีชักพระแบบครึ่งบกครึ่งน�้ำที่มี เพียงแห่งเดียวในโลก สิ่งที่ส�ำคัญกว่านั้นคือ การหล่อ หลอมรวมใจชาวบ้านให้สืบทอดความเป็นพุทธศาสนาไว้ คู่พุทธแผ่นดินอย่างมั่นคงและยั่งยืน


หน้า ๑๘

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

นภสร มีบุญ

อ ลั่ลล้า พากิน พาเที่ยว ต้อนรับเดือน แห่งความรักฉบับนี้ ..ขอแทรกกิจกรรม พิเศษ พาไปสัมผัสธรรมชาติที่อยู่ใกล้แค่ เอื้อม แต่บางท่านอาจจะยังไม่เคยเดินทาง ไปสัมผัส และได้มีโอกาสพบเห็น ธรรมชาติ ความงดงามของขุนเขา แวดล้อมด้วยทะเล

หมอก กับความหนาวที่ไม่ต้องเสียเวลา เดิ น ทางไกลไปถึ ง เมื อ งเหนื อ ..กิ จ กรรม ดีๆ อีกหนึ่งกิจกรรมของการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่จัด ขึ้นโดยสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัด นครศรี ธ รรมราช ที่ ม าในอดี ต ตราบถึ ง ปัจจุบัน .. “วิวาห์ในม่านเมฆ” กิจกรรมที่ เคยโด่งดังในอดีต เคียงคู่กับ วิวาห์ใต้สมุทร ของจังหวัดตรัง ได้รับการตอบรับเป็นอย่าง ดีจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ หลังจาก ที่ห่างหายการจัดกิจกรรมดังกล่าวไป ..ปีนี้ ๒๕๕๘ ภายใต้ ก ารน� ำ ของ นางชนั น ธร ธนานราสิน นายกสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราชคนใหม่ ที่ เพิ่ ง จะได้ เ ข้ า มารั บ ต� ำ แหน่ ง แบบสดๆ ร้อนๆ ส่งท้ายปลายปี ร่วมกับสมาชิกสมาคมฯ และหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ช่วยกันน�ำกลับมาปัดฝุ่นเพื่อให้เกิดความ ต่อเนื่องกันอีกครั้ง เขาเหมนรี ส อร์ ท ..เปิ ด บริ ก ารมา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ตั้งอยู่ อ.ช้างกลาง จ.นครศรี ธ รรมราช การเดิ น ทางจากตั ว เมืองนครศรีธรรมราช ท่านสามารถใช้เส้น ทางถนนนครศรีธรรมราช - บ้านส้อง เข้าถึง อ�ำเภอช้างกลางขับตรงมาทางวัดมะนาวหวาน ก็จะเห็นทางเข้าเขาเหมนรีสอร์ท อย่างชัดเจน ขุนเขาตระหง่าน กับความ สู ง ๑,๓๐๗ เมตร จากระดั บ น�้ ำ ทะเล ท่ามกลางสายหมอก และต้นไม้ใหญ่น้อย บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสถานที่ท่อง เที่ยวทางธรรมชาติ ตามความชื่นชอบของ นักท่องเที่ยวที่ชอบป่าเขาล�ำเนาไพร หรือ นักท่องเที่ยวในเชิงอนุรักษ์ ส�ำหรับคู่วิวาห์ ในปี นี้ กั บ สโลแกน “หยิ บ หมอก บอก รัก” ที่จัดเต็มให้กับคู่บ่าวสาว ตั้งแต่วันที่ ๑๓-๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ รับรองได้ว่า ทั้งอิ่มบุญ อิ่มใจ และสุขสดชื่นในหัวใจกับ การจดทะเบียนบนยอดเขาสูงท่ามกลาง บรรยากาศพระอาทิตย์ตกดินซึ่งนอกจาก วันแรกคู่บ่าวสาว จะได้เดินทางไปกราบ สักการะ สรีระที่ไม่เน่าเปื่อยของพ่อท่าน คล้ายวาจาสิทธิ์ พระเกจิชื่อดังที่ชาวเมือง คอนเคารพนับถือ เพื่อความเป็นสิริมงคล

พิธีจดทะเบียนสมรส และพักค้างแรมบน ยอดเขาสูงเสียดฟ้ากับบรรยากาศ “หยิบ หมอก บอกรัก” ท่ามกลางแสงดาวระยิบ ระยั บ วั น ที่ ๑๕ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ คู ่ บ ่ า วสาวยั ง คงได้ ร ่ ว มกิ จ กรรมอั น เป็ น ประโยชน์ในการปลูกต้นไม้บนยอดเขาสูง อีกทั้งยังมีโอกาสได้เที่ยวชมบรรยากาศป่า โบราณ รวมถึงชมวิวทิวทัศน์อันสวยงาม ยากจะหาค�ำบรรยาย ส่วนอาหารรสเด็ด ของกิจกรรมนี้บอกได้เลยว่าต้องไม่พลาด นอกจากจะเป็ น อาหารพื้ น บ้ า นที่ แ สน อร่อย ผักสดสะอาดที่ปลูกเองโดยไม่ต้อง หวาดกลัวกับสารพิษที่ตกค้าง ข้าวห่อกาบ หมากที่หอมกรุ่นน่าลิ้มลอง เป็นอีกเมนู อาหารของภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนเขา เหมนต้นฉบับเลยจริงๆ กิ จ กรรม “วิ ว าห์ ใ นม่ า นเมฆ” กิจกรรมดีๆ เช่นนี้ หากคู่บ่าวสาวท่านใด สนใจ ยังคงสมัครกันได้ โดยสอบถามราย ละเอียดได้ที่ : กรรมการสมาคมธุรกิจการ ท่ อ งเที่ ย วจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช โทร. ๐๘-๑๒๗๑-๒๒๐๗, ๐๘-๙๗๗๗-๔๔๓๗ หรื อ ๐๘-๑๙๕๘-๗๑๘๑ ฝากอี ก หนึ่ ง กิจกรรมดีๆ เพื่อเชิญชวนทุกท่าน มาร่วม เป็นหนึ่งในคู่วิวาห์แห่งประวัติศาสตร์ของ คนเมื อ งคอน แล้ ว พบกั น ในโหมดปกติ ฉบับหน้านะคะ

แก่ ชี วิ ต คู ่ ที่ ก� ำ ลั ง จะเริ่ ม ต้ น ในวั น รุ ่ ง ขึ้ น วันแห่งความรักของคนทั้งโลก ขบวนเจ้า บ่าวก็จะออกเดินทางจากเรือนผักกูดผ่าน ทิวทัศน์อันสวยงามขึ้นสู่จุดชมวิวเขาเหมน และประกอบพิธีส�ำคัญทางศาสนา พอ แดดร่มลมตก พระอาทิตย์จะลับขอบฟ้า เจ้าบ่าวเจ้าสาวก็เตรียมความพร้อมเข้าสู่ นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

๑๑-๑๔ ที่ น�้ ำ ทะเลถดถอยลงไปมาก เกิ ด สั น ทรายชายทะเลและแผ่ น ดิ น ที่ ร าบกว้ า ง ขวาง มี ช าวอิ น เดี ย เข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานตาม สั น ดอนทรายเพื่ อ ความสะดวกในการเดิ น ทางติ ด ต่ อ ค้ า ขาย มี บ ทบาททางศาสนา วัฒนธรรมและการเมือง ร่วมสมัยทวารวดี ร่องรอยส�ำคัญอยู่ที่บ้านท่าเรือที่สมัยนั้นยัง เป็ น ลากู น ขนาดใหญ่ ต ่ อ เนื่ อ งถึ ง ลานสกา ทุ ก วั น นี้ เ ป็ น บริ เ วณที่ ตั้ ง วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป์ นครศรี ธ รรมราช สถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ แ ห่ ง ประเทศไทย พบหลักฐานโบราณวัตถุทั้งจาก ฝ่ายอินเดียและจีนเป็นจ�ำนวนมาก ยุ ค สาม “ยุ ค เมื อ งพระเวี ย ง” ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๕-๑๗ ร่ ว มสมั ย อารยธรรมละโว้-ลพบุรีและศรีวิชัย นับถือ พุทธศาสนามหายาน (และวัชรยาน-บัญชา) อยู ่ บ นสั น ทรายเดิ ม เหนื อ จากเมื อ งเดิ ม ที่ ท่าเรือประมาณ ๒ กิโลเมตร มีคูน�้ำคันดิน เพื่ อ ป้ อ งกั น เมื อ ง คื อ คลองคู พ ายที่ ขุ ด ตั ด

สั น ทรายด้ า นใต้ กั บ คลองสวนหลวงที่ ขุ ด ตั ด สันทรายด้านเหนือไปบรรจบคลองท่าเรือก่อน ออกทะเล ทุ ก วั น นี้ คื อ ที่ ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แห่งชาติ วัดสวนหลวง ที่พักต�ำรวจและบ้าน ศรี-ธรรมราช มีที่นาส�ำคัญของเมืองคือ ดอน นาแรก และ ทุ่งนาหลวง ยุ ค สี่ “นครศรี ธ รรมราช มหานคร”

ตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ หลังจากเกิดศึก สงครามและโรคระบาดจนเมื อ งที่ พ ระเวี ย ง ทรุ ด โทรม ประจวบกั บ พระเจ้ า นรปติ สิ ท ธุ แห่งพม่ามอญแผ่ขยายอ�ำนาจลงมาตั้งเมือง ใหม่ในปี พ.ศ.๑๗๑๙ บนสันทรายเดิมที่เป็น ดอนสู ง เหนื อ ขึ้ น มาเล็ ก น้ อ ย เรี ย กว่ า “กระหม่ อ มโคก” หรื อ “หาดทรายแก้ ว ”


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

โตชิบาอวดโฉมทีวีรุ่นใหม่

ยู กิ ฮ ารุ อาดาชิ ประธาน บริ ษั ท โตชิ บ า ไทย แลนด์ จ�ำกัด พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร แถลงข่าวเปิด ตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ Ultra HD 4K TV L9450 ซีรี่ส์ ครั้ง แรกของโลกที่ผสาน 3 เทคโนโลยีไว้ด้วยกัน ทั้งความ คมชั ด ระดั บ 4K, ระบบปฏิ บั ติ ก าร Android 4.4, ดิจิตอล ทีวี และ Digital + Android TV L5450 ซีรี่ส์ ที่พร้อมลุยตลาดทีวีในปลายปีนี้ สร้างประสบการณ์ ด้านความบันเทิงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน พร้อมแถลง กลยุท ธ์เ น้นไปที่การตอบสนองความต้ องการของผู ้ บริโภค อัดแน่นคุณภาพด้วยชิปประมวลผลรุ่นล่าสุด 3rd generation CEVO 4K Engine ที่ช่วยภาพที่ มีสีสันสมจริง ครบทุกรายละเอียด คมชัดทุกสภาพ แสง รวมถึงระบบเสียงที่ยอดเยี่ยม และการออกแบบ ที่ พิ ถี พิ ถั น เทคโนโลยี เ พื่ อ คุ ณ ภาพภาพและเสี ย งที่ ยอดเยี่ยม

พร้ อ มกั บ รั บ พระพุ ท ธศาสนาลั ง กาวงศ์ สถาปนามหาสถูปเป็นหลักเมือง เรียกอีกชื่อ ว่า “นครดอนพระ” ขุดคลองป่าเหล้าเป็น คู เ มื อ งด้ า นใต้ เพิ่ ง ขุ ด คลองหน้ า เมื อ งเป็ น คู เ มื อ งด้ า นเหนื อ ในสมั ย รั ช กาลที่ ๕ โดย เมืองนี้ต่อเนื่องมาถึงปัจจุบันซึ่งก�ำลังขยาย ใหญ่หลังจากเกาะอยู่บนสันทรายไล่ทางตอน เหนือมาหลายร้อยปี แล้วเริ่มขยายออกทั้ง สองข้าง รวมทั้งวกกลับลงไปทางใต้ด้วย ผมขอสรุ ป เสนอไว้ เ พี ย งเท่ า นี้ พ ร้ อ ม กับขอแนะน�ำให้รีบหามาอ่าน เพราะให้ราย ละเอี ย ดสนุ ก สนานมาก โดยเฉพาะที่ ร ะบุ ว่ า แต่ ล ะยุ ค นั้ น พบอะไรที่ ไ หนบ้ า ง เพราะ คุณประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ คือผู้รวบรวมมาไว้ ในพิพิธภัณฑ์คนส�ำคัญ รวมทั้งเกิดอะไรขึ้น บ้างในแต่ละยุค โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับ อินเดีย-ลังกา-พม่า-มอญ กับขอม-เขมร-จาม และ กับชวา-ศรีวิชัย หาหนังสือตามร้านไม่ ได้ โทรฯ ที่ดวงกมลบุ๊คส์ ๐๒ ๙๔๒ ๙๒๗๐-๒ ที่ส�ำคัญคือ เป็นการอธิบายที่มาของ ชื่อคอลัมน์ “นครดอนพระ” นี้ด้วย. ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘

พบกับสินค้าโตชิบา ได้ที่ร้านนครดีซี ทั้ง 2 สาขา นครดีซี สาขาท่าวัง โทร 075-356241 และ นครดีซี in the park โทร 075-311111

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.