ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน ๒๕๕๖
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
http://www.nakhonforum.com
ราคา ๒๐ บาท
รายงาน หน้า ๒๐
¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСÒญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒
กระทรวงวัฒนธรรม น�ำคณะทูตานุทูต ๒๗ ประเทศมา ชมพระบรมธาตุเจดีย์ และแหล่งวัฒนธรรมอื่นๆ ร่วมแลก เปลี่ยนความรู้เรื่องการดูแลมรดกโลกและมรดกวัฒนธรรม ให้ยั่งยืน คาดหวังให้น�ำเรื่องราวดีๆ ไปบอกต่อ ปธ.สภา วัฒนธรรม เปิดเผยความคืบหน้าการจัดท�ำเอกสารมรดกโลก
ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๖ กระทรวงวัฒนธรรม จัดโครงการวัฒนธรรมสัญจรแหล่งมรดกโลกส�ำหรับทูตานุทูต ณ จังหวัดนครฯ น�ำโดยนายอดิศักดิ์ เบญจศิริวรรณ ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจ�ำกระทรวงฯ และนางสาวจันทร์สุดา รักษ์พลเมือง รองปลัด กระทรวงฯ เอกอัครราชทูตกับภริยา >> อ่านต่อหน้า ๘
˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗
รายงาน บสย. หอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรมฯ และสภาการท่องเที่ยวลง นามความร่วมมือสนับสนุนผู้ประการธุรกิจ SMEs เข้าถึงแหล่ง ทุน ๔ โครงการ บสย.คาดว่าจะค�้ำให้ SMEs เมืองนครเพิ่มขึ้น ยุทธกิจ มานะจิตต์ เสรี ถนัดสอนสาร วาริน ชิณวงศ์ เอกพร นิโรจน์
เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่ อ ม (บสย.) ส� ำ นั ก งานสงขลา หอการค้ า จั ง หวั ด นครฯ สภา >> อ่านต่อหน้า ๘ อุตสาหกรรมจังหวัดนครฯ และสภาการท่องเที่ยว
หน้า ๒
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
รูปจาก : มติไทย
นั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด รายเดื อ นพิ ม พ์ แ จกจ่ า ย เป็นก�ำนัล (Free Copy) แก่ผู้อ่านชาวนครและ ชาวต่างจังหวัดครบ ๒ ปี นอกจากนี้ยังจัดท�ำในรูปหนังสือ พิมพ์อิเลคทรอนิกส์ (E-book) ให้ชาวไทยและชาวต่าง ชาติที่รู้ภาษาไทยทั่วทุกมุมโลกได้อ่าน รักบ้านเกิดฉบับ ภาษาไทยจัดพิมพ์เดือนละ ๒,๐๐๐ ฉบับ E-book มีผู้อ่าน ไม่น้อยกว่า ๑,๔๐๐ คน จึงเป็นช่องทางที่ดีส�ำหรับเจ้าของ สินค้าและบริการต่างๆ ในการน�ำเสนอสินค้าและบริการ แก่ลูกค้า ในยุคดิจิตัลและอินเตอร์เน็ตไร้สาย ผู้อ่านสามารถ ติ ด ตามข้ อ มู ล ข่ า วสารออนไลน์ โ ดยตรง จากหนั ง สื อ พิมพ์ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ ทั้งในส่วนกลางและ ต่างประเทศ ซึ่งข้อมูลข่าวสารอัพเดทให้ทันเหตุการณ์ ตลอดเวลา ไม่ ว ่ า จะนั่ ง อยู ่ ห น้ า จอคอมพิ ว เตอร์ ที่ บ ้ า น ส� ำ นั ก งานหรื อ นั่ ง ในร้ า นกาแฟ ที่ แ ท็ บ เล็ ต กั บ มื อ ถื อ รุ ่ น ใหม่เปิดโอกาสให้เข้าสู่สังคมออนไลน์ ไม่ว่า ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ค หรือไลน์ ที่สามารถพูดคุยหรือแสดงความคิดเห็น เจ้ า ของสิ น ค้ า และบริ ก ารใช้ สื่ อ ออนไลน์ โดย เปิ ด เว็ บ ไซด์ แ ละเฟซบุ ๊ ค น� ำ เสนอสิ น ค้ า ของตนเอง ทั้ ง รูปภาพ เนื้อหา และราคา ลูกค้าจะตัดสินใจสั่งจองหรือ ซื้อโดยตรงก็ได้ ซึ่งสินค้าบางอย่างเจ้าของสามารถลด ราคาจากค่าการตลาดหรือค่าจ�ำหน่ายที่เสียให้บริษัทจัด จ�ำหน่าย การซื้อขายผ่านสื่อออนไลน์จึงเติบโตขึ้นเรื่อยๆ แต่มูลค่าการฉ้อโกงก็สูงขึ้นเช่นกัน ปัจจุบัน หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ ไม่ว่า มติชน สุ ด สั ป ดาห์ , เนชั่ น สุ ด สั ป ดาห์ หรื อ สยามรั ฐ สั ป ดาหวิจารณ์ หมดโอกาสแข่งขันด้านความรวดเร็วในการน�ำ เสนอข่าวสาร กระนั้น เรื่องพิเศษหรือเรื่องจากปกที่กอง บรรณธิ ก ารจั ด ท� ำ ขึ้ น หลั ง สุ ด เจาะลึ ก จากสถานการณ์ ล่าสุด ถือเป็นส่วนแข็งที่ต้องอ่านและขายได้ นอกจากข้อ เขียนจากนักเขียนเจ้าประจ�ำที่ต้องปรับตัวและตามให้ทัน สถานการณ์ แม้ข้อมูลความรู้แห้งๆ ก็ต้องน�ำมาเชื่อมโยง ให้ทันสมัย รั ก บ้ า นเกิ ด รายเดื อ นเป็ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ท ้ อ งถิ่ น เลือกสรรเฉพาะเรื่องราวข่าวสารและเหตุการณ์ในท้อง ถิ่น โดยช่องทางสื่อสารที่แจกอ่านฟรีๆ ในรูปหนังสือพิมพ์ กระดาษที่สัมผัสได้ว่ามีตัวตน ถือติดตัว เก็บในรถยนต์ หรือวางบนโต๊ะพร้อมอ่าน หรือยื่นให้ลูกน้อง และคนใน ครอบครัว ในรูป E-book เรื่องราวข่าวสารในรักบ้านเกิดก็ ไปได้ไกลสุดขอบโลกเหมือนหนังสือพิมพ์ในยุคดิจิตัลและ อินเตอร์เน็ตไร้สายที่ข่าวสารเคลื่อนไหวรวดเร็วกว่างูแลบ ลิ้น รักบ้านเกิดจะขยับตัวก้าวเดินด้วยสติ ด้วยความรัก ห่วงใยบ้านเกิดอันน่าภาคภูมิใจ
-
เ
มื่อวันที่ ๑๖ - ๑๗ สิงหาคม ที่ผ่านมา กระทรวงวัฒนธรรม น�ำ โดยผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการ กับ รองปลัดกระทรวง ได้น�ำคณะ ทูตานุทูต จาก ๒๔ ประเทศทั่วโลก รวม ๓๕ คน มาร่วมกิจกรรม วัฒนธรรมสัญจรแหล่งมรดกโลก ณ จังหวัดนครศรีธรรมราช เท่าที่ทราบทางจังหวัดจัดหนัก น�ำไปใน ๔ แหล่งส�ำคัญประกอบ ด้วยพิพิธภัณฑ์เมือง คีรีวง วัดพระธาตุ และ พิพิธภัณฑ์หนัง สุชาติ ทรัพย์สิน ซึ่งผมนั้นไม่ได้รู้เรื่องอะไรด้วย แต่บังเอิญโทร. ไปหาท่านอาจารย์ฉัตรชัยเพื่อประสานเตรียมงาน งานรับอังคาร กลับบ้านเกิด ในวันที่ ๒๕ จึงถูกขอให้ไปช่วยต้อนรับและน�ำคณะ ทูตานุทูตเรียนรู้ดูชมในวัดพระธาตุอย่างไม่สามารถจะขัดได้ ๒ ชั่วโมงที่วัดพระธาตุกับคณะทูตานุทูตทั้ง ๓๕ คนจาก ๔ ประเทศ ที่ท่านจัดเป็น ๔ ช่วง คือ ๑ ชั่วโมงแรกเป็นการต้อนรับ บรรยาย อธิบายในพระวิหารหลวง ต่อด้วยชมการระบ�ำร�ำเต้นที่ ลานทรายหน้าพระบรมธาตุ ๑๐ กว่านาที แล้วใช้เวลาในการชม วัดประมาณ ๓ - ๔๐ นาที ก่อนที่จะจบด้วยขบวนแห่ผ้าห่มองค์ พระบรมธาตุที่ลานประทักษิณ โดย ๑ ชั่วโมงแรกนั้น หลังท่าน เจ้าคุณเจ้าอาวาส พระเทพวินยาภรณ์ มีสัมโมทนียกถาต้อนรับ แบบกระชับแล้ว ดร.วัณสานต์ นุ่นสุข จากมหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ บรรยายน�ำเสนอเชิงประวัติศาสตร์โบราณคดีของภาคใต้ ไล่มาถึงเมืองนครและองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ต่อด้วย คุณชาย ม.ร.ว.จักรถ จิตรพงษ์ และ ดร.สาวิตรี สุวรรณสถิตย์ ที่ปรึกษาของ กระทรวงวัฒนธรรม ได้ชี้บางประเด็น เช่นตอบว่าพระวิหารนี้ที่มี ผนังและเสาเอนลู่เข้าหากันนี้ เป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรม ไทยแต่เดิมที่เป็นเรือนไม้ ที่ให้ทุกส่วนล้วนอิงอาศัยกันตามหลัก การค�ำสอนในพระพุทธศาสนาที่ว่าด้วยอิทัปปัจจยตาเลยทีเดียว ผมเองได้ รั บ มอบหมายให้ น� ำ คณะจากรถคั น ที่ ๒ ใน เส้นทางวิหารพระทรงม้า - ลานประทักษิณ - วิหารเขียน และ โพธิลังกา ได้พยายามน�ำเสนอสิ่งหลักๆ ซึ่งพบว่าคณะทูตานุทูต ให้ความสนใจและซักถามแลกเปลี่ยนอย่างสนุกสนานในหลาย ประเด็นดังนี้ ๑) สรรพสัตว์สองข้างบันไดขึ้นพระบรมธาตุ ที่ผมบอก ว่าท่านตั้งใจสร้างไว้เตือนคนขึ้นสู่ลานประทักษิณให้ส�ำรวมสติ ระมัดระวังอยู่ในความดีงาม เพราะเราถือว่าเป็นแดนที่สูงขึ้นไป จากชีวิตธรรมดาแบบโลกๆ ที่ชาวพุทธปราถนาจะไปให้ถึง เป็น ชีวิตที่สะอาด สงบ สันติ ดีงาม ตามค�ำสอนในพระพุทธศาสนาว่า ด้วยสวรรค์ชั้นต่างๆ จนถึงที่สุดคือนิพพาน ไม่ว่าจะเป็นพญานาค
ผู้ดูแลบาดาล พญาครุฑผู้ดูแลเวหา จตุโลกบาลที่เฝ้าอยู่ตีน สวรรค์ โดยเฉพาะสิงห์สามคู่ที่จังก้าคอยเตือนที่ทูตทุกท่านถูกใจ ในท่วงท่าของทั้งสิงห์แดง สิงห์ทอง และ สิงห์ด�ำ โดยผมมิได้ ขยายถึงธรรมศาสตร์ ราม และ จุฬาแต่อย่างใด ด้วยเรื่องนี้น่าจะ รู้แต่ในหมู่นักปกครองเมืองไทย รู้แต่ว่านานาทูตที่เดินขึ้นพระธาตุ ต่างตั้งจิตเป็นกุศล สงบและส�ำรวมกันอย่างยิ่ง ๒) ๔ เทพที่บานประตูทางเข้าสู่ลานประทักษิณและที่นั่ง ชันเข่าอยู่ ตรงนี้มีแต่อุปทูตศรีลังกาและภริยา ที่เดินอยู่กับผม จึงได้อธิบายถึงเทพทั้ง ๔ ที่เรารับมาจากลังกาเพื่อช่วยพิทักษ์ พระธาตุเขี้ยวแก้วที่ได้รับแบ่งมา โดยท่านเข้าผสมโรงทันทีว่าใช่ แล้ว สุมนเทพ ขันธกุมาร ลักขณเทพ และ รามเทพ ที่คลี่คลาย จนกลายเป็นขัตตุคามรามเทพ และ จตุคามรามเทพในทุกวันนี้ ๓) รหัสธรรมที่องค์พระบรมธาตุเจดีย์ บนนี้ ผมพบว่า อย่างน้อย ๕ - ๖ ชาติที่แสดงท่วงท่าศรัทธาอย่างสูงยิ่ง มีทั้งเดิน ส�ำรวมจิตภาวนา น้อมศรีษะลงกราบแนบเชิงบัวลูกแก้วที่ตีนธาตุ มีเกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม ลังกา เขมร ลาว รวมทั้งภริยาท่านทูต เนเธอร์แลนด์ด้วย ผมได้บอกคร่าวๆ เพียงรหัสน้อยๆ ๔ อย่าง ตั้งแต่บัวลูกแก้ว ๓ ชั้นที่ตีนธาตุ พระธาตุน้อยทั้ง ๔ องค์ กับบัลลังค์ ๔ เหลี่ยม พระเวียนทั้ง ๘ รูป และ ปลียอดสูงตระหง่านหนึ่ง เดียว ที่เรียงได้ว่าคือ พระรัตนตรัย (พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) และ ปริวัตร ๓ (ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ) อริยสัจจ์สี่ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) อริยมรรคมีองค์ ๘ และ นิพพานอันเป็นที่สุด โดย เมื่อเดินไปหลังองค์พระธาตุทางตะวันตก เมื่ออยู่ในเงาองค์พระ ผมได้บอกว่าชาวนครเราเล่ากันว่าพระธาตุไม่มีเงาทั้งๆ ที่เราก�ำลัง อยู่ในเงา ท่านทูตเห็นเป็นอย่างไร ? ทุกท่านท�ำหน้างุนงง จนเมื่อ ผมเฉลยว่า ที่ว่าไม่มีเงานั้น เพราะบรรพชนเขาสร้างเจดีย์รายไว้ รอบจนเงายอดพระธาตุไม่เคยทอดถึงดินเบื้องล่างให้คนข้ามผ่าน ต่างหาก บางท่านถึงกับยิ้มนิยมออกมา ๔) พระห้ามพยาธิองค์ใหญ่ที่เชิงบันได ในขณะเดินกลับลง มาจากลานประทักษิณนั้น ดูเหมือนจะเป็นอุปทูตออสเตรีย ถาม ผมว่าท�ำไมบางองค์ยกมือเดียว บางองค์ในบางแห่งยก ๒ มือ พอผมอธิบายเรื่องห้ามพระญาติวงศ์ทะเลาะแย่งน�้ำ รวมทั้งการ ห้ามโรคาพยาธิ จนถึงการห้ามสมุทร ท่านก็เปรยออกมาเองว่า อ๋อ ต้องสองมือเพราะห้ามมือเดียวเอาไม่อยู่แน่ๆ เลย ๕) ปูนปั้น The Great Departure จุดนี้อยู่ในซอกข้าง บันไดที่มีไม่กี่ท่านตามเข้าไปดู >> อ่านต่อหน้า ๙
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๓ เครดิตภาพ ณรงค์ ธีระกุล
จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร
แ
รกทีเดียว ผมตั้งใจว่าจะเขียนเรื่อง ดี ดี ‘แท็ ก ซี่ เ มื อ งนคร’ แต่ เ กิ ด เปลี่ยนใจเสียเฉยๆ เรื่องธุรกิจขนส่งคง ต้องใช้เวลาพิสูจน์ หลังแท็กซี่เปิดบริการ สักระยะ ให้เรื่องดี ไม่ดีปรากฏเสียก่อน แท็กซี่บริการมีองค์ประกอบหลาย อย่ า งที่ ท�ำ ให้ ผู ้ ไ ด้ รับบริ ก ารชื่ น ชมหรื อ ยอมรับว่า ‘ดี’ และมี ‘คุณภาพ’ บริษัทที่จดทะเบียนกับขนส่งมีทุน ประกอบการเท่าไรและมีความรับผิดชอบเพี ย งไร กรณี ผู ้ โ ดยสารประสบ อุบัติเหตุ ทั้งนี้บริษัทจะต้องท�ำประกัน ชั้น ๒ และชั้น ๓ การจั ด หารถเก๋ ง มาจดทะเบี ย น แท็ ก ซี่ รั บ จ้ า ง-- เป็ น รถยนต์ ใ หม่ หรือเก่า รถเก่าถ้าผ่านการใช้งานเกิน ๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร ถือว่าใช้ไม่ได้ แต่ เรื่ อ งนี้ ข นส่ ง เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ถ้ า รถ สภาพนี้ผ่านเข้ามาให้ถือว่าขนส่งผิด อาจเป็นรถเก๋งสองตอน สองตอน แวนหรือรถยนต์นั่งสามตอน เครื่องยนต์ ไม่ต�่ำกว่า ๑,๕๐๐ ซีซี. ผู ้ โ ดยสารและผู ้ พ บเห็ น ต้ อ งรู ้ ว ่ า แท็กซี่รับจ้างต้องไม่ติดฟิล์มกรองแสง หรือติดเซ็นทรัลล็อก เพื่อความปลอดภัย และความสบายใจของผู้โดยสาร ต้องมีมาตรก�ำหนดค่าโดยสารตาม ที่ขนส่งอนุญาต มีกรอบติดบัตรผู้ขับขี่ ชื่อ-นามสกุล และติดให้ผู้โดยสารเห็นชัดเจน ที่กล่าวมาย่อๆ ขนส่งต้องเข้มงวด ตั้งแต่ต้น เกี่ยวกับผู้ขับขี่ บริษัทต้องพิจารณา คุ ณ สมบั ติ แ ละประวั ติ อ ย่ า งเข้ ม งวด ไม่ว่าเป็นลูกจ้างของบริษัทหรือผู้เหมา เช่ า แท็ ก ซี่ ไ ปขั บ รั บ จ้ า งเป็ น กะๆ ถ้ า บริ ษั ท เห็ น แก่ ไ ด้ ก็ จ ะพิ จ ารณาเฉพาะ ประโยชน์ ต นเอง โดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง อุ ป -
นิ สั ย และความประพฤติ ซึ่ ง เป็ น ที่ ม า ของปั ญหาต่างๆ เช่น พูด จาหยาบคาย แทะโลม ขั บ ขี่ อั น ตราย หรื อ กลายเป็ น อาชญากรเมื่อมีโอกาส บริ ษั ท ต้ อ งเลื อ กสรรคนขั บ หรื อ ผู ้ เ ช่ า ที่ ย อมรั บ เงื่ อ นไขที่ ข นส่ ง ก� ำ หนด ได้แก่ แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย สะอาด และรั ด กุ ม คุ ณ สมบั ติ โ ดยรวมคื อ เป็ น สุภาพชน ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด เจ้ า ของบริ ษั ท หรื อ ผู ้ ประกอบการต้ อ งเป็ น สุ ภ าพชน และมี ความรับผิดชอบสูง กฎกติกามารยาทก�ำหนดไว้ดีวิเศษ เช่นไร ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในกระดาษ ใน โลกจริ ง ผู ้ โ ดยสารกั บ คนขั บ ไม่ ส ามารถ เลือกกันและกันได้ ผู้โดยสารไม่รู้ว่าคน ขั บ เป็ น ใคร พื้ น อารมณ์ ต อนจอดรถรั บ ผู ้ โ ดยสารเป็ น อย่ า งไร คนขั บ ก็ ไ ม่ รู ้ ว ่ า พื้นอารมณ์ หน้าตาและสภาพทั่วไปของ ผู้โดยสาร ณ นาทีนั้นเป็นอย่างไร คนขั บ อาจพกอาวุ ธ ไว้ ป ้ อ งกั น ตน เอง ผู ้ โ ดยสารอาจเมาออกจากสถาน บันเทิงและพกอาวุธ เราไม่มีวันรู้ว่าสอง ฝ่ายจะตกลงว่าจ้างอย่างสุภาพชน คนขับ
อาจปฏิเสธเพราะไม่อ าจรั บ สภาพ หรื อ ฝ่ายผู้โดยสารต่อรองข่มเหงน�้ำใจ ความขั ด แย้ ง ระหว่ า งผู ้ โ ดยสารกั บ คนขับเกิดได้ตลอดเวลา บทเรียนดังกล่าว รับรู้ได้จากหนังสือพิมพ์รายวัน ผมอยู ่ ก รุ ง เทพฯ กว่ า ๒๕ ปี ใช้ บริ ก ารรถเมล์ กั บ แท็ ก ซี่ เ ป็ น หลั ก เลิ ก งานเย็ น กลั บ บ้ า นดึ ก หั ว ค�่ ำ ถึ ง ตี ส องวน เวียนตามผับหรูๆ ฟังดนตรี เหล่สาวหรือ พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด กั บ เพื่ อ นๆ อาศัยโบกแท็กซี่กลับบ้าน สอบถามอย่าง สุ ภ าพ ระหว่ า งทางพู ด คุ ย อย่ า งสุ ภ าพ หรือตอนลงจ่ายค่าบริการเท่ามิเตอร์หรือ มากกว่าเล็กน้อย แล้วกล่าวขอบใจ บางคื น ต� ำ รวจตั้ ง ด่ า นก็ บ อกแท็ ก ซี่ ให้จอด คืนหนึ่งระดับสารวัตรถามว่าท�ำ อาชีพอะไร ก็ตอบอย่างสุภาพว่าท�ำนิตยสาร ที่ ก ลั บ ดึ ก เพราะนั่ ง ดื่ ม กั บ เพื่ อ นๆ สารวัตรขอตรวจกระเป๋าใส่หนังสืออย่าง สุภาพ ผมบอกไปว่ามีหนังสือเพลย์บอย ต่างประเทศเล่มหนึ่ง นอกนั้นเป็นหนังสือ นิยาย เรื่องสั้นทั้งเขียนเองและคนอื่นเขียน สารวัตรหนุ่มรูดซิปกระเป๋าส่องไฟฉายพบ ว่าเป็นความจริงก็กล่าวขอบคุณในความ
ร่ ว มมื อ ท� ำ ความเคารพและอนุ ญ าต ให้ไปได้ ชี วิ ต กลางคื น หลี ก เลี่ ย งต� ำ รวจไม่ พ้ น พี่ ช ายผม-- พลต� ำ รวจเอกมี ชั ย นุ กู ล กิ จ อดี ต รองอธิ บ ดี ก รมต� ำ รวจ สอนว่า -- กับต�ำรวจขอให้พูดจาสุภาพ เข้ า ไว้ ไม่ ว ่ า เขาจะยศอะไร ผมไม่ ขึ้ น เสียงใส่ใครและพูดเสียงดังไม่เป็น ผม จึ ง ไม่ มี ป ั ญ หากั บ ใคร ไม่ ว ่ า ชาวบ้ า น ข้าราชการทั่วไป หรือต�ำรวจ ความสุภาพต่อกันจะท�ำให้เรานั่ง แท็กซี่อย่างมีความสุข และเข้าใจถึง ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย กลับมาสู่เรื่องแท็กซี่เมืองนคร ซึ่ง ผมพอจะรู ้ ว ่ า เกิ ด ได้ อ ย่ า งไร เจ้ า ของ บริ ษั ท ผู ้ จ ดทะเบี ย นซึ่ ง แทบไม่ มี ใ คร รู ้ จั ก เป็ น ลู ก เต้ า เหล่ า ใคร เพี ย งแต่ ใ ห้ ตระหนักว่ าบริ ก ารขนส่งสั มผั สใกล้ ชิ ด กั บ อารมณ์ สั ง คม และส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ต่อความเจริญเติบโตของเมืองนคร ธุ ร กิ จ แท็ ก ซี่ แ ตกต่ า งจากธุ ร กิ จ บ้านจัดสรร และธุรกิจค้าไม้อย่างสิ้นเชิง เพราะเป็นบริการที่เลือกผู้โดยสารไม่ได้ ผู้โดยสารเป็นใครบ้างก็ไม่รู้
หน้า ๔
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ
พ
วกเรานั่งรถลอดใต้สะพานลอยบนถนนราชด�ำเนิน กันบ่อยๆ คงจะเห็นบทกลอนต่างๆ มากมาย เช่น “คนดีอยู่ในชนเหล่าใด ผลดีจักเกิดขึ้นแก่ชุมชนเหล่า นั้น” จากศิลาจารึก หุบเขาช่องคอย “หลวกกว่าปู่ครู ในเมืองนี้ทุกคนลุกแต่เมืองนครศรีธรรมราชมา” จาก ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหง และ กินน�้ำสะอาด คนจึง ฉลาดไม่โง่งมเถร ว่องไวไหวพริบการงานชัดเจน ท�ำใด ไม่เถร การช่างแปลกตา ผมก็ ล องถามเพื่ อ นฝู ง ทั่ ว ไป พวกนั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาดู ทั้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องเทศบาล รวมทั้ ง นั ก การ เมื องท้ องถิ่ น หลายคน เกือบทุก คนแทบไม่รู้ที่มาที่ไป ของบทกลอนที่เขียนติดเอาไว้ ซึ่งเป็นบทกลอนที่ดี มี ความหมาย แสดงถึงความมีตัวตนของคนนครเรา และ ล้วนแล้วแต่เป็นบทที่คนคิดเขียนขึ้นมามีภูมิรู้ เขียนขึ้นมา เพื่อคนนคร เราได้มีความภาคภูมิใจ ดังนั้นผมจึงต้องรีบ ไปค้นคว้าหาดูที่มาที่ไปของบทกลอนเหล่านี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๗ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ได้เสด็จมานมัสการพระบรมธาตุ ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่านก็ได้ทรงนิพนธ์ร้อย กรองเป็นกาพย์สุรางคนาง ๒๘ และได้กล่าวถึงบทที่ว่า “กินน�้ำสะอาด คนจึงฉลาดฯ” ตามที่จริงท่านได้เขียน ถึงสภาพเมืองนครด้านอื่นๆ เอาไว้มากมายจนมองเห็น ภาพเมืองนครในยุคก่อนค่อนข้างชัดเจน เช่น ท่านกล่าว ถึงชื่อเมืองว่า “ค�่ำหนึ่งเพลทอด ปากน�้ำละคร เขาเรียก นคร ศรีธรรมราชา” ได้เรียกขานชื่อเมืองนคร เรียกเมือง ละคร เรียกนครศรีธรรมราชา เมื่อท่านเสด็จถึงวัดท่าโพธิ์ ก็เล่าถึงการต้อนรับของวัดไว้ดังนี้ จนถึงท่าโพธิ์ มีวัดกว้างโต ปลูกโพธิ์ลังกา วอรถคอยรับ ช้างม้าส�ำหรับ ขุนนางเตรียมมา กรมการทนาย มากมายแน่นหนา
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๒ ฉบั บ ที่ ๒๔ เดือนกันยายน ๒๕๕๖ รักบ้านเกิด ฉบับครบ วาระ ๒ ปี ยั ง ยื น หยั ด น� ำ เสนอข่ า วบุ ค คลและข่ า ว บริการในหน้าพิเศษพิมพ์ ๔ สีสวยงาม
พระครูฐานา มาคอยต้อนรับ สี่โมงเสร็จการ
ปาโมกข์สมภาร เช่นกับบริวาร รับเข้าเมืองไป
การเดินทางจากวัดท่าโพธิ์ ผ่านตลาดท่าวัง ถึงสนาม หน้าเมือง เข้าไปในก�ำแพงเมือง เข้าสู่พระบรมธาตุเจดีย์ ก็เล่าไว้ดังนี้ ตามทางแรกไป มีโรงจีนไทย ขายเหล็กทองเหลือง ห่างทางออกไป มีวัดน้อยใหญ่ แต่ไม่รุ่งเรือง สักครู่ถึงคู ก�ำแพงรอบเมือง บ้านชิดติดเนื่อง วัดสองข้างทาง บทนี้ท�ำให้เราได้เห็นภาพของคนท่าวังว่า เป็นคน จีนค้าขายไม่หนาแน่น แม้แต่วัดก็ไม่รุ่งเรือง เป็นชุมชนไม่ หนาแน่น ผิดกับปัจจุบัน ก่อนเข้าเมือง ก�ำแพงเมืองคงยัง อยู่ในสภาพพอจะเห็นเป็นภาพก�ำแพงเมืองด้านทิศเหนือ ยังสมบูรณ์ ก่อนที่ยุคผู้มีอ�ำนาจมากินเมือง รื้อเอาไปถม เป็นถนนเสียแทบหมด ปัจจุบันก็ได้มีการรื้อฟื้นสร้างโดย กรมศิลป์และเทศบาลในยุคหนึ่งร่วมกันกับภาคประชาชน ท�ำให้ดูเป็นภาพที่ใกล้เคียงกับในยุคนั้นขึ้นมาหน่อย เมื่อ เข้ามาในประตูเมืองก็พบบ้านเรือนชิดติดเนื่องกัน นั่น แสดงว่าสมัยก่อน เมืองคือ ผู้อาศัยอยู่ในกรอบก�ำแพง เมืองอยู่กันอย่างหนาแน่น ส่วนสมัยเดียวกันท่าวัง ก็ยัง มีผู้คนน้อยอยู่วัดวาอารามก็มีตลอดสองข้างทางในเมือง หลังจากนั้นท่านก็เขียนถึงพระบรมธาตุเจดีย์ว่า ห้าสิบนาที ถึงพระเจดีย์ ใหญ่โตมหึมา ยอดหุ้มทองค�ำ สูงสามสิบเจ็ดวา สามสิบเขาว่า กลมรอบปากระฆัง ซึ่งว่ากันว่าเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๒
>> อ่านต่อหน้า ๙
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญา บัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๖
วันที่ ๑๒ สิงหาคม ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ น� ำ ข้ า ราชการ ร่ ว มถวายผ้ า พระบฏพระราชทานของ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งพระราชทาน ให้ น� ำ ห่ ม องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เนื่ อ งในวาระมหามงคลเฉลิ ม พระชนมายุ ๘๑ พรรษา เพื่ อ ถวายเป็ น พุทธบูชา และความเป็นสิริมงคลของชาวนคร วันที่ ๒๖ สิงหาคม รศ.วิมล ด�ำศรี อธิการบดี มรภ.นครฯ ทอดผ้าป่าสมทบทุนสร้าง ‘พระพุทธสิหิงค์ ราชภัฏนครศรีธรรมราช’ หน้าตักกว้าง ๙.๘๔ เมตร สูง ๒๖ เมตร ใช้งบฯ ๒๐ ล้านบาท เพื่อเฉลิมฉลองปีมหา มงคลพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระชนมายุ ๗ รอบ และปีพุทธชยันตี สนใจร่วมบริจาคโดยโอนเงิน ผ่านบัญชี ธ.ทหารไทยฯ (มหาชน) สาขาย่อย มรภ.นครฯ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ ๕๒๐-๒-๐๕๕๗๕-๑
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เมื่อนาข้าวกลายเป็นสวนยางกับสวนปาล์ม นับ แต่ อ ดี ต ที่ เ คยเป็ น ผู ้ ส ่ ง ข้ า วไปขายมาเลเซี ย - สิ ง คโปร์ เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เป็น ประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงทางการค้าและการ เจรจาทางการค้าข้าวหอมมะลิระหว่างสหกรณ์การเกษตร วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผู้ผลิต และองค์กรธุรกิจภาคเอกชน ของจังหวัดมหาสารคามกับจังหวัดนครฯ ซึ่งประกอบด้วย หน่วยงานรัฐและเอกชน ๒๙ องค์กร
นครศรีธรรมราช
หน้า ๕
การตรวจเลือดครั้ง ล่ า สุ ด ของ จิ ม มี่ ชวาลา (ร้ า นจิ ม มี่ ) แพทย์ บ อกว่ า ผลเลือดดีขึ้นมากๆ ‘มะเร็ง’ ต่ อ มลู ก หมากหยุ ด เติ บ โต ชั่วคราว นอกจากรักษาโดย แพทย์แผนปัจจุบัน การออก ก� ำ ลั ง กายอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เลิ ก รั บ ประทานอาหารที่ มะเร็งชอบจ�ำพวกเนื้อสัตว์กับนมสด ก่อนนอนสวดมนต์ สื่ อ มวลชนในเมื อ งนครร่ ว มแสดงมุ ทิ ต าจิ ต ไหว้พระ โดยเฉพาะบท ‘โพชฌังคปริตร’ ตื่นเช้าใส่บาตร และมอบช่อดอกไม้ แด่ รศ.วิมล ด�ำศรี หลังได้รับพระ และท�ำบุญอยู่เสมอ ล่าสุดเพิ่งซื้อนมผงแอนฟาแล็ค ๖๐๐ บรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่ง อธิการบดี ให้เด็กอ่อนบ้านศรีธรรมราชมูลค่ากว่า ๑๐,๐๐๐ บาท ซึ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรีธรรมราช คนที่ ๑๓ ‘จิมมี่’ ให้ความช่วยเหลือมายาวนาน
มองหาท� ำ เลที่ ตั้ ง ที่ เ หมาะสมอยู ่ น าน ในที่ สุ ด พงษ์ภักดี พัฒนกุล (แมว ทุ่งสง) ตัดสินใจเลือกห้อง คณะผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานโรงแรมทวิ น โลตั ส แถวหมู่บ้านราชพฤกษ์ ๒ (ตรงข้ามห้างโรบินสันโอเชี่ยน) ให้การต้อนรับคณะทูตานุทูตที่เดินทางเยี่ยมชมเมืองนคร เป็นที่ท�ำการสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย สาขา และสักการะพระบรมธาตุเจดีย์ ภาคใต้ นครศรีธรรมราช เขต ๒ ซึ่งจะเปิดเป็นแหล่ง วั น ที่ ๒๑ สิ ง หาคม ณ ห้ อ งประชุ ม ศาลากลาง พบปะพูดคุยของนักเลงพระเร็วๆ นี้ จังหวัด อิหม่ามประจ�ำมัสยิดต่างๆ เสนอชื่อ จ�ำนง ชัยคีรี อิหม่ามมัสยิดยามาอาตุลมุสลิมีน อ.บางขัน เป็นกรรมการ อิสลามประจ�ำจังหวัดนครฯ แทน สุกรี ชัยคีรี ที่เสียชีวิต
เปิดร้านฮอนด้าศรีนคร (ตลาดแม่สมจิตร) จัด ธนวั ฒ น์ ลี ล ะพั น ธุ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กิจกรรมรับบริจาคโลหิตร่วมกับเหล่ากาชาดจังหวัดนครฯ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ในเครือนครดีซี ถือฤกษ์ ‘วันแม่’ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ราชิ นี น าถ อารยา สารคุ ณ ผู ้ บ ริ ห ารรุ ่ น ลู ก เลยยื่ น แขน เปิดโชว์รูมมาสด้า นครดีซี สาขาอ�ำเภอทุ่งใหญ่ เพื่อให้ บริการลูกค้าในละแวกใกล้เคียง บริจาคพร้อมคนอื่นๆ เด็กชายพรภวิช ทองเกลี้ยง นักเรียนชั้น ป.๓ โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา ผู้โชคดีได้รับรางวัลเงินสด ฯพณฯ พลเอก เปรม ติ ณ สู ล านนท์ ประธาน ๑ ล้านบาท จากการร่วมกิจกรรมลุ้นเงินล้าน กับ ร้านนคร องคมนตรีและรัฐบุรุษ เปิดบ้านสี่เสาเทเวศร์ให้ ธีรภัทร์ ดีซีอินเดอะปาร์ค มีเดช ผู้จัดการชมรมดุริยางค์เยาวชนนครฯ เข้าพบและ หารือเรื่องผลักดันดนตรีเยาวชนเมืองนคร และขออนุญาต แจ้งข่าวลูกหลานชาวนครที่จากบ้านไปท�ำงาน ใช้นามจัดท�ำถ้วยรางวัลส�ำหรับการประกวดวงโยธวาทิต หรือรับราชการในต่างจังหวัดทราบทั่วกัน งานบุญสารท นครศรีธรรมราช ประจ�ำปี ๒๕๕๖ (Marching Band festiเดือนสิบประจ�ำปี ๒๕๕๖ เริ่มตั้งแต่วันที่ ๒๘ กันยายน val for Education and Competition ๒๐๑๓) – ๗ ตุลาคม Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.
Jewels Of Nakhon Si Thammarat
Diamond@ • Tawang • Robinson • Twin Lotus Gold@ • Tama • Hau It • Kukwang • Weekend Market
หน้า ๖
ป่
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
าพรุ คือ ป่าที่มีน�้ำขังตลอดปี มี ๓ รูปแบบ คือ ป่าชาย เลน ป่าบึงน�้ำจืด และ ป่าพรุดินพีท ซึ่งซากใบไม้และเศษ พืชทับถมหนา ๐.๕-๕ เมตร โดยไม่สลายตัวหรือสลายตัวน้อย เรียกว่า ดินพีท (peat) ประเทศไทยมีป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด คือป่าพรุโต๊ะแดง (นราธิวาส) และที่จังหวัดนครฯ พัทลุง และ สงขลา ป่าพรุเป็นแหล่งดูดซับคาร์บอนและเก็บกักคาร์บอน ป่าพรุถูกท�ำลายโดยการบุกรุกน�ำมาใช้และการเกิดไฟป่า ป่าพรุควนเคร็ง จ.นครฯเชื่อมต่อกับทะเลน้อยจังหวัด พัทลุง และทะเลสาบสงขลา ปี ๒๕๓๙ ถู ก ประกาศเป็ น ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป ่ า พรุ ควนเคร็ง และแบ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ๔ ป่า คือ ป่าสงวน แห่ ง ชาติ ป่ า บ้ า นในลุ ่ ม -ป่ า บ้ า นกุ ม แป ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป่าคลองค๊อง ป่าสงวนแห่งชาติป่าท่าช้างข้าม และป่าสงวน แห่งชาติป่าดอนทรายและป่ากลอง ป่าพรุควนเคร็งอยู่ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำ ปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีอาณาเขตครอบคลุม ๕ อ� ำ เภอ ของจั ง หวั ด นครฯ ได้ แ ก่ เชี ย รใหญ่ ชะอวด เฉลิมพระเกียรติ ร่อนพิบูลย์ และหัวไทร ปี ๒๕๑๘ มีประกาศ เป็ น เขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า ทะเลน้ อ ย ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ช ะอวด และหัวไทร ๑๕๐,๐๐๐ ไร่ และเตรียมการที่จะประกาศเป็น เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ ในพื้นที่ชะอวด เชียรใหญ่ และ เฉลิมพระเกียรติ ๖๔,๔๙๔ สปก. ส่งคืน ๗๘,๐๐๐ ไร่ มูลนิธิ ชัยพัฒนา ๒,๐๐๐ ไร่ ป่าสงวน ๑๒,๐๐๐ ไร่ ป่าพรุควนเคร็งเป็นแหล่งไม้ยืนต้นได้แก่ หว้า เตียว ตะเคียน จิก เสม็ด ไม้พื้นล่าง ได้แก่กระจูด กก ย่านลิเภา หลัง ไฟไหม้หลายครั้งพรรณไม้ดั้งเดิมถูกทดแทนด้วยไม้เสม็ด พรรณไม้ อื่ น ๆ ได้ แ ก่ กกกลม กกกอ กกทราย กก สามเหลี่ยม กระจูด กระทุ่มน�้ำ กระท่อมหมู กระพ้อ ครี้ จิก นา ชุมเห็น ตาตุ่มทะเล เตย เทียนนา บัวเผื่อน บัวสาย บอน ปอเทือง ผักบุ้ง ผักเป็ดแดง ผักตบไทย โพธิ์ทะเล แพงพวย น�้ำ เถาคัน เม่าเหล็ก มังเคร่ช้าง ล�ำเท็ง หวายต่างๆ ฯลฯ มี กล้าไม้ขึ้นหนาแน่นเฉลี่ย ๒๘,๐๐๐ ต้นต่อไร่ พื้นที่ไฟไหม้การ สืบพันธุ์ตามธรรมชาติต�่ำ ความหนาแน่นเฉลี่ย ๙๐๐ ต้นต่อไร่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยนกป่า ๑๗๔ ชนิด เช่น นก เป็ดผี นกกระทุง นกกาน�้ำเล็ก นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยาง กรอกพันธุ์ชวา นกยางควาย นกยางทะเล ฯลฯ สัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนมที่ห้ามล่า ๓ ชนิด ได้แก่ นากใหญ่จมูกขน นากเล็ก เล็บสั้น และกระจง สัตว์เลื้อยคลานห้ามล่า ๖ ชนิด ได้แก่ เห่าช้าง เต่านา เต่าหับ เต่าหวาย เต่าหม้อ และ เต่ากระอาน บริเวณป่าพรุควนเคร็งในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย มี สั ต ว์ ป ่ า อย่ า งน้ อ ย ๓๐๑ ชนิ ด เป็ น สั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม ๖๕ ชนิด นกป่า ๑๘๕ ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน ๔๒ ชนิด สัตว์ สะเทิ น น�้ ำ สะเทิ น บก ๑๗ ชนิ ด และสิ่ ง มี ชี วิ ต เล็ ก ๆ เช่ น แพลงตอนอีกมาก ป่ า พรุ ค วนเคร็ ง เป็ น แหล่ ง เพาะพั น ธุ ์ แ ละอนุ บ าลปลา เป็นแก้มลิงธรรมชาติสามารถกักเก็บน�้ำเพื่อบรรเทาน�้ำท่วม ได้ประมาณ ๓๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นฉนวนกั้นน�้ำเค็ม จากทะเล เป็นโรงงานบัดน�้ำเสียและปรับสภาพกรดแก่สัตว์น�้ำ และพื้นที่เกษตรกรรม ๓ จังหวัด ป่าพรุถูกบุกรุกแผ้วถางให้เป็นป่าเสื่อมโทรมโดยการเผา แล้วขายพื้นที่ต่อให้กับนายทุนในราคาไร่ละประมาณ ๑,๕๐๐ ซึ่งกลุ่มนายทุนจะรวบรวมเป็นผืนใหญ่เพื่อน�ำไปขายให้กับผู้มี อิทธิพลรวมถึงนักการเมืองในราคาไร่ละ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท น�ำไปปลูกปาล์มน�้ำมัน การบุกรุกพื้นที่ยังเกิดขึ้นในลักษณะของ การน�ำเอกสาร สค.๑ จากพื้นที่อื่นรวมทั้งการท�ำเอกสาร สค. ๑ ปลอม มายื่นขอออกเป็นเอกสารสิทธิ นส.๓ ก. เป็นต้น เจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สนธิ ก�ำลังประสานหน่วยงานกรมป่าไม้ ฝ่ายปกครอง และกองทัพ ภาคที่ ๔ จัดชุดลาดตระเวนป้องกันและปราบปรามป้องกัน การบุกรุกและการลักลอบจุดไฟเผาป่าและให้ประสานหน่วย งานภายในจังหวัดนครฯ จัดชุดปั๊มน�้ำและสายส่งน�้ำให้กระจาย ทั่วพื้นที่ป่าพรุโดยรอบ และให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ สนับสนุนเฮลิคอปเตอร์ทิ้งน�้ำเพื่อดับไฟป่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครฯ เป็นประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบแก้ไขปัญหาไฟป่าและการบุกรุกพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง โดยให้ด�ำเนินการตรวจสอบการถือครองพื้นที่ป่าพรุของ ราษฎรที่มีการอ้าง สค.๑ สปก.๔-๐๑ นส.๓ นส.๓ ก และโฉนด ที่ดิน หากพิสูจน์ด้วยภาพถ่ายทางอากาศแล้วพบว่า ไม่มีการ ท�ำประโยชน์มาก่อนให้ยกเลิกหรือเพิกถอนเสียทั้งหมด ในกรณี บุกรุกปลูกต้นปาล์มน�้ำมัน ยางพารา ถ้าพิสูจน์ได้ว่าเป็นการ ครอบครองโดยมิชอบด้วยกฎหมายให้ด�ำเนินคดีทั้งทางแพ่ง และทางอาญาทั้งผู้บุกรุกและ ผู้ว่าจ้าง พร้อมให้ด�ำเนินการรื้อ
ถอนสิ่งปลูกสร้าง เพื่อฟื้นฟูสภาพ การด�ำเนินคดีในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็งนั้น ผู้ว่าราชการ จังหวัดสั่งให้อัยการร้องขอต่อศาลให้ริบของกลางในคดีการ กระท�ำผิดบุกรุกพื้นที่ป่าพรุและคดีเกี่ยวกับการป่าไม้ทุกคดี โดยให้เป็นดุลยพินิจและอ�ำนาจของศาลในการพิจารณาคืน ของกลาง กรมอุทยานแห่งชาติฯ ประสานกับกรมชลประทาน รื้อฟื้นโครงการพัฒนาระบบชลประทานในพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง เพื่อแก้ไขปัญหาไฟป่าอย่างยั่งยืน ปี ๒๕๕๕ ไฟไหม้ป่าพรุควนเคร็งมากที่สุดถึง ๑๙,๐๙๕ ไร่ โดยการเผาเพื่อการบุกรุกท�ำการเกษตร แล้วลุกลามเข้า สู่พื้นที่และการจุดไฟเพื่อหาปลาและสัตว์น�้ำ รายงานการควบคุมไฟป่าของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ปรากฏว่า ป่าพรุควนเคร็งในความรับผิดชอบของเขตห้าม ล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยถูกไฟไหม้เสียหายมากที่สุด ๗,๓๓๖ ไร่ พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ ๓,๔๕๙ ไร่ ส่วนที่เป็นป่าสงวน แห่งชาติเสียหายไปประมาณ ๑,๓๔๗ ไร่ และไฟที่ไหม้ใน พื้นที่ สปก. ประมาณ ๓๗ ไร่ พื้นที่ที่มูลนิธิชัยพัฒนาขอใช้ ประโยชน์ ๑,๙๙๗ ไร่ ในบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าท่าช้าง ข้าม ต.การะเกด อ.เชียรใหญ่ เสียหายประมาณ ๗๐๐ กว่าไร่ กรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้ด�ำเนินการเพื่อรับมือกับปัญหาโดย การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ๑. จัดตั้งกองอ�ำนวยการควบคุมไฟป่าป่าพรุควนเคร็ง (เฉพาะกิจ) จังหวัดนครฯ โดยในวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๕ อธิ บ ดี ก รมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ฯ อนุ มั ติ จั ด ตั้ ง กองอ� ำ นวยการ ควบคุมไฟป่าป่าพรุควนเคร็ง (เฉพาะกิจ) ณ บริเวณศาลหลวง ต้นไทร หมู่ที่ ๑๑ ต.การะเกด อ.เชียรใหญ่ โดยน�ำก�ำลังพล จากชุดปฏิบัติการพิเศษดับไฟป่า (หน่วยเสือไฟ) จากศูนย์ ปฏิบัติการไฟป่า ๑๕ ศูนย์ฯ ทั่วประเทศเข้าสนับสนุนร่วมกับ สถานีควบคุมไฟป่าพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ และสถานีควบคุมไฟป่าอีก ๕ สถานีในสังกัดส�ำนัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๕ (นครฯ) และได้รับการสนับสนุนจาก กองอ�ำนวยการควบคุมไฟป่าพระราชวังไกลกังวลโดยได้จัด ส่งรถบรรทุกน�้ำ ๑ คัน และเจ้าหน้าที่ ๓ นาย ด�ำเนินการถึง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ โดยที่ศูนย์ปฏิบัติการไฟป่าแต่ ละแห่งได้ผลัดเปลี่ยนก�ำลังเพื่อเข้าด�ำเนินการปฏิบัติภารกิจ ควบคุมไฟป่า ๒. จั ด ระดมก� ำ ลั ง เจ้ า หน้ า ที่ ค วบคุ ม ไฟป่ า ของส� ำ นั ก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ ในสถานการณ์ไฟป่ารุนแรงมากจนถึงขั้น วิกฤติ ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ อธิบดีกรมอุทยานแห่ง ชาติฯ สั่งการให้ระดมก�ำลังเจ้าหน้าที่ ๑,๑๒๐ นาย พร้อม อุปกรณ์ดับไฟป่า รถบรรทุกน�้ำ ๑๘ คัน เครื่องสูบน�้ำพร้อม สายส่งน�้ำ ๘๓ เครื่อง เข้าด�ำเนินงานควบคุมไฟป่าในพื้นที่ ป่าพรุควนเคร็ง ร่วมกับเจ้าหน้าจากกรมป่าไม้ และทหาร จากกองทัพภาคที่ ๔ อีก ๓๖๐ นาย พร้อมรถบรรทุกน�้ำ ๒๒ คัน มีการจัดหน่วยตรวจตราลาดตระเวนประชาสัมพันธ์และ ป้องปรามการเผาป่า ตรวจตราลาดตระเวนป้องกันการบุกรุก พื้นที่ และด�ำเนินการควบคุมไฟป่า จนถึงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๕ เมื่ อ หน่ ว ยงานในพื้ น ที่ เ ข้ า ควบคุ ม ไฟป่ า ได้ จึ ง ได้ ถอนก�ำลังเจ้าหน้าที่ ยานพาหนะ และอุปกรณ์ของทุกส�ำนัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ทั่วประเทศออกจากพื้นที่กลับสังกัดเดิม ปี ๒๕๕๕ กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ฯ ใช้ ง บฯ ในการ ป้องกันไฟป่าและการบุกรุก ๘,๓๒๐,๐๐๐ บาท
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ก
ารเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ ที่ นั บ วั น จะมี ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น (อายุ ๖๕ ปีขึ้นไป) บวก กับการเคลื่อนย้ายของผู้คนเข้ามาอยู่ใน เมืองใหญ่เพิ่มมากขึ้น ชุมชนเมืองขยาย ตัวก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของที่พักอาศัย สร้างความแออัด และปัญหามลพิษ การ จราจรในเขตเมือง (เขตเทศบาล) ท�ำให้เกิดค�ำถามว่า แล้วผู้สูงอายุ ที่ เ กษี ย ณแล้ ว พวกเขาจะไปใช้ ชี วิ ต อย่างมีความสุขในปั้นปลายของชีวิตได้ อย่างไร? เรามาดูข้อมูล
เสียงเดียวกันเรื่องความสุข ๑. มีรายได้แน่นอน-มีเงินออม ไม่มี หนี้ คือความสุขสูงสุด ๒๕% ๒. มีบ้านอยู่อาศัย เป็นของตนเอง ท่ามกลางเรือก สวน ไร่ นา ที่ของตนเอง ๒๐% ๓. ความสุขจากการมีหลักประกัน สุขภาพได้มาตรฐาน เทียบเท่าโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ ๑๙.๘% ๔. ความสุ ข จากสิ น ค้ า เกษตร
เสียชีวิตแล้ว มีชีวิตอยู่โดยได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลหรือครอบครัว ยังคงท�ำงานอยู่เพราะจ�ำเป็นต้องท�ำ มีชีวิตการเป็นอยู่ที่ดี เป็นเศรษฐี
ค� ำ ถามคื อ เราวางแผนจะมี เ งิ น เท่าไร? ตอนหยุดท�ำงาน จึงเป็นค�ำถาม ที่ต้องมีตั้งแต่เริ่มท�ำงานตามรูปแบบการ ด�ำเนินชีวิตของผู้คน เส้นทางชีวิต ๐ - ๒๐ ปี พึ่งพา, ๒๐ - ๔๐ ปี พากเพียร, ๔๐ - ๖๐ ปี เพิ่มพูน, ๖๐ ปีขึ้นไปพักผ่อน ในช่วงเวลา ๔๐ ปี ของการท�ำงานหนักในเกือบทุกอาชีพ จึง มี ค วามส� ำ คั ญ มากในการวางแผนชี วิ ต ค�ำถามใหญ่ก็คือวันนี้คุณออกแบบชีวิต ไว้อย่างไร? จากข้อมูลข้างต้นหากเรากลับมาดู ประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศรายได้ปาน กลางมาเป็ น เวลานานเกื อ บ ๓๗ ปี ก็ ย่อมจะเห็นว่า ผู้สูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป เกิน ครึ่งหนึ่งประมาณ ๖๐% หรือประมาณ ๖ ล้านคน ในเวลานี้ยังมีชีวิตอยู่ แต่ก็ไม่ สามารถใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข ได้ ม าก นัก มีส่วนหนึ่งที่ต้องอยู่อย่างยากล�ำบาก ผลลัพธ์ที่เป็นเช่นนี้เพราะอะไร? กลั บ ไปดู ผู ้ ค นในภาคเกษตรซึ่ ง เป็นกลุ่มใหญ่ของคนไทย พวกเขาต้อง การความสุ ข ในชี วิ ต เช่ น กั น แล้ ว จริ ง ๆ มันเป็นเช่นนั้นหรือไม่? จากการส�ำรวจ ของ ธ.ก.ส. (ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ ) เผยว่ า คนไทยส่ ว นใหญ่ บ อก
หน้า ๗
การวางแผนเกษียณ เพื่อไปใช้ชีวิตอย่างมีความสุข เริ่มได้ทุกวัย
ผลส�ำรวจประชากรช่วงอายุ ๒๐-๖๕ ปี ในอเมริกาพบว่า คนที่มีอายุ ๖๕ ปี ของทุก ๑๐๐ คน
๓ ๖ คน ๕๔ คน ๕ คน ๔ คน ๑ คน
นครศรีธรรมราช
จ�ำหน่ายในราคาสูง ๑๗.๗% ๕. พื ช ผลเกษตรเจริ ญ งอกงาม พร้ อ มมี ก ารประกั น ภั ย พื ช ผลทางการ เกษตรจากความเสี่ยงสภาพอากาศ และ ภัยธรรมชาติ ๑๗.๔% เมื่ อ ดู อ ย่ า งนี้ แ ล้ ว ท� ำ ให้ เ ราเห็ น คื อ ผู ้ สู ง อายุ ใ นชนบทว่ า พวกเขาจะ สามารถเกษียณใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ได้ อ ย่ า งไร? ผลการส� ำ รวจหนี้ สิ น ครั ว เรือนเป็นค�ำตอบที่ชัดเจนว่านับวันหนี้สิน ครัวเรือนจะเพิ่มสูงขึ้นแตะระดับ ๘๐% ของ GDP ประเทศไปแล้ว แล้วเราจะ หาทางออกกับปัญหานี้อย่างไร? ก่อนตั้ง ค�ำถามนี้ ผมอยากให้ผู้สูงอายุหรือคนที่ ใกล้เข้าวัยเกษียณตั้งค�ำถามใหม่กับตัว เองว่า ท�ำไมฉันต้องวางแผนเกษียณตัว เอง มันส�ำคัญกับชีวิตของฉันในอนาคต อย่างไร? ให้มองเห็นภาพไปในอีก ๑๐ ปีข้างหน้า ถ้าฉันยังมีชีวิตอยู่ จะใช้ชีวิต อย่างไร? สุขภาพเป็นอย่างไร? การเงิน มีรายได้เดือนละเท่าไร? มีเงินเก็บได้ไว้ เดือนละเท่าไร? มีเวลาได้พักผ่อน-ท่อง เที่ยว-อยู่กับลูกหลาน ท�ำในสิ่งที่ชอบที่ อยากท�ำ คือท�ำอะไรแล้วมองเห็นภาพ นั้นในอนาคตมันคือชีวิตของฉันใช่หรือ ไม่? นี่แหละคือสิ่งที่ต้องการ สิ่งส�ำคัญใน
เวลานี้ คือ การท�ำให้สุขภาพแข็งแรง-มี เงินที่มากพอ-มีเวลาที่จะใช้ ท�ำ ในสิ่งที่ ชอบมี อิ ส ระ เพื่ อ ใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี ค วาม สุ ข ให้ ส มดุ ล ทั้ ง ๓ ด้ า น ไม่ ใ ช่ มี เ งิ น มี เวลา แต่สุขภาพไม่ดี-มีเวลา แต่ไม่มีเงิน การวางแผนชีวิตคือรักษาทรัพย์สินของ ตนเองให้มีการเพิ่มมูลค่า เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ อยู่บน หลักการที่ว่า “ทุกสิ่งเกิดจากการสร้าง สองครั้ง” การสร้างครั้งแรกเกิดขึ้นใน จิตใจ การท�ำให้เกิดขึ้นจริงๆ เป็นการ สร้ า งครั้ ง ที่ ส อง ถ้ า เราใช้ ห ลั ก การนี้ กลั บ มาที่ เ รื่ อ งความสุ ข ของเกษตรกร ส่วนใหญ่ การสร้ า งครั้ ง แรกในใจของ เกษตรกรต้องชัดเจน - และมีการสร้าง ครั้งที่สองเริ่มจากตัวเอง ๑. มี ร ายได้ ที่ แ น่ น อนท� ำ อย่ า งไร? มีเงินออมเท่าไร? จึงจะใช้พอเพียง-ไม่มี หนี้สิน ๒. มีบ้านอยู่อาศัยเป็นของตนเอง เมื่อไร? ราคาเท่าไร? มีพื้นที่การเกษตร ของตนเองเท่าไร? ๓. จะท�ำประกันสุขภาพแบบไหน จึงจะมั่นใจได้ในยามเจ็บป่วยจะได้รักษา อย่างดี ๔. จะท�ำให้สินค้าเกษตรของตนเอง ราคาสูงได้อย่างไร? ๕. จะดู แ ลบ� ำ รุ ง พื ช ผลให้ เ จริ ญ งอกงามได้ อ ย่ า งไร? มี ก ารประกั น ภั ย
พิบัติจากภัยธรรมชาติได้อย่างไร? นั่นหมายความว่าการสร้างครั้งแรก ในใจก็ต้องเห็นภาพที่ชัดเจนก่อน เพื่อจะ ได้ท�ำให้มองเห็นวิธีการสร้างในครั้งที่สอง คือการลงมือท�ำมันอย่างจริงจังต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างที่ต้องการในครั้ง แรกนั่นเอง ท�ำให้ผมนึกถึงการท�ำธุรกิจ ถ้าต้องการประสบความส�ำเร็จ ผู้บริหาร ต้ อ งรู ้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า ต้ อ งการท� ำ อะไร บ้าง ต้องคิดอย่างรอบคอบ เกี่ยวกับเรื่อง ผลิตภัณฑ์ บริการ แผนการตลาด และ การบริหารกิจการด้านต่างๆ เช่นด้าน การเงิน การวิจัยพัฒนาสินค้า การพัฒนา บุคลากร และงานด้านอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การเริ่มต้นด้วย จุดมุ่งหมายในใจคือได้เป็นปัจจัยหนึ่ง ที่จะท�ำให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็จได้ หรือไม่? เฉกเช่นเดียวกับการสร้างบ้าน ที่มีการออกแบบในใจก่อนแล้วลงมือ สร้ า งตามแบบที่ ต ้ อ งการก็ จ ะได้ บ ้ า น อย่างที่เราอยากได้ การวางแผนเกษี ย ณ เพื่ อ ใช้ ชี วิ ต อย่างมีความสุข จึงไม่เพียงจ�ำกัดวงอยู่ที่ คนอายุ ๔๐ - ๕๐ ปีขึ้นไป แต่ใช้ได้กับ คนกลุ่มวัยท�ำงาน อายุ ๒๐ - ๔๐ ปีก็ได้ หากพวกเขาต้องการเกษียณเพื่อให้มีช่วง ใช้ของชีวิตยาวนานกว่าหรือต้องการมี อิสรภาพที่จะได้ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ตามที่ตนเองต้องการได้ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๖
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
<< ต่อจากหน้า ๑
เลขานุ ก ารเอกอั ค รราชทู ต จาก ๒๗ ประเทศ เจ้ า หน้ า กระทรวงฯ และ สื่ อ มวลชนรวม ๖๕ คน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เผย แพร่ แ หล่ ง มรดกทางวั ฒ นธรรมที่ ไ ด้ ขึ้ น บั ญ ชี เ บื้ อ งต้ น (Tentative List) แห่ ง ใหม่ในประเทศไทย คือ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จ.นครฯ ซึ่งอยู่ระหว่างการ จัดท�ำเอกสารประกอบการเสนอเป็นแหล่ง มรดกโลก และไปชมกลุ ่ ม หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นคี รี วง อ.ลานสกา ซึ่ง ทูตานุทูตจะได้ ชื่ น ชมและเกิ ด การแลกเปลี่ ย นองค์ ค วาม รู้ในการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่ ยั่งยืน ภาคเช้าวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ คณะเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เมือง หลังฟัง การบรรยายสรุปประวัติของจังหวัดฯ ภาค บ่ า ยออกเดิ น ทางไปเยี่ ย มชมกลุ ่ ม หั ต ถกรรมพื้นบ้านคีรีวง อ.ลานสกา แล้วกลับ มาร่วมงานเลี้ยงรับรอง ณ ห้องบงกชรัตน์ โรงแรมทวินโลตัส โดยนายสนธยา คุณปลื้ม รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวั ฒ นธรรมเป็ น ประธาน ภาคเช้าวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๖ คณะทู ต านุ ทู ต เข้ า เยี่ ย มชมพระบรมธาตุ เจดี ย ์ แ ละร่ ว มฟั ง บรรยายสรุ ป ความคื บ หน้ า ในการจั ด ท� ำ เอกสารประกอบการ เสนอเป็นแหล่งมรดกโลก ทั้งแลกเปลี่ยน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการเสนอแหล่งมรดก ทางวัฒนธรรมเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดก โลก และการพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน ต่อจากนั้นคณะร่วม ขบวนแห่ ผ ้ า พระบฏไปห่ ม องค์ พ ระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น พุ ท ธบู ช า แล้ ว ไปเยี่ ย มชม ศู น ย์ หั ต ถกรรมและสิ น ค้ า พื้ น เมื อ ง (ร้ า น ศรีนคร) เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านหนัง ตะลุงสุชาติ ทรัพย์สิน จากนั้นจึงเดินทาง กลับกรุงเทพมหานคร นายวิ โ รจน์ จิ ว ะรั ง สรรค์ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครฯ ที่ ร ่ ว มให้ ก ารต้ อ น รับคณะฯ กล่าวว่าโครงการนี้เปิดโอกาส ให้ จั ง หวั ด น� ำ เสนอข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของวั ด
พระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อเป็นมรดก โลกทางวั ฒ นธรรมแห่ ง แรกของภาคใต้ ที่ ศู น ย์ ม รดกโลกขึ้ น บั ญ ชี เ บื้ อ งต้ น ไว้ แ ล้ ว โครงการนี้คณะฯ ได้รับทราบว่าหลักเกณฑ์ การขึ้ น มรดกโลกของวั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร อย่ า งละเอี ย ด ได้ แ ก่ การ เป็ น ตั ว แทนในการแสดงผลงานชิ้ น เอก ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น ด้ ว ยการสร้ า งสรรค์ อั น ชาญฉลาดของมนุ ษ ย์ และมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้าน การออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์ สถาน ประติมากรรม สวน และภู มิ ทัศ น์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรื อ การพั ฒ นาการตั้ ง ถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย์
เสียค่าธรรมเนียม ๑.๗๕ เปอร์เซ็นต์ต่อปี ซึ่งสามารถยื่นค�ำขอได้ภายใน ๓ ปี ตั้งแต่ บัดนี้จนถึงปี ๒๕๕๘ ผู้ประกอบการสามารถ น�ำสินเชื่อไปลงทุนในต่างประเทศ และกู้ ได้ทุกธนาคาร ยกเว้น ธกส. กับธนาคาร อาคารสงเคราะห์ ๒.โครงการค�้ำประกันผู้ประกอบการ หน้าใหม่ บสย.มีวงเงิน ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท บสย.ค�้ำได้ ๒ ล้านบาท ค่าธรรมเนียม ๒.๕๐ เปอร์เซ็นต์ต่อปี ยื่นค�ำขอถึงปี ๒๕๕๘ ฟรีค่า ธรรมเนียมปีแรก ๓.โครงการ PIL วงเงิ น ค�้ ำ ประกั น ๒๐,๐๐๐ ล้านบาท บสย.ค�้ำประกันสูงสุด ๕ ล้านบาทต่อราย ค่าธรรมเนียม ๑.๗๕ เปอร์เซ็นต์ต่อปี ยื่นขอจนถึงปี ๒๕๕๘ ฟรี ค่ า ธรรมเนี ย มปี แ รก บสย.ก� ำ หนดให้ กู ้ เฉพาะ SMEs Bank เท่านั้น ๔.โครงการค�้ ำ ประกั น สิ น เชื่ อ เพื่ อ ผู ้ ประกอบการ บสย.ค�้ำได้สูงสุด ๑ ล้านบาท ต่ อ ราย กู ้ ไ ด้ ภ ายใน ๑ ปี ค่ า ธรรมเนี ย ม ๑.๕๐ เปอร์เซ็นต์ต่อปีกู้ได้เฉพาะธนาคาร
ออมสินเท่านั้น นางสาววาริ น ชิณวงศ์ ประธานหอการค้าจังหวัดนครฯ กล่าวว่า โครงการนี้ จะช่ว ยให้ SMEs นครฯ เข้ ม แข็ ง ซึ่ ง หอ การค้าพยายามผลักดัน SMEs ที่ มี ค วาม สามารถและมีงานอยู่แล้วให้มีเงินทุนท�ำงาน ที่ใหญ่ขึ้นเป็นนักธุรกิจรุ่นที่ ๒ ซึ่งหอการค้า พยายามค้นหาคนที่มีความสามารถน�ำเสนอ ต่อ บสย. และจะเป็นพี่เลี้ยงสนับสนุนให้ เกิดนักธุรกิจรุ่นที่ ๒ และรุ่นที่ ๓ นายยุทธกิจ มานะจิตต์ ประธานสภา อุตสาหกรรมจังหวัดนครฯ กล่าวว่า สมัย ก่ อ นครอบครั ว ของตนขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ด้ ว ยเงิ น สด แต่ ป ั จ จุ บั น ต้ อ งใช้ ทั้ ง เงิ น สด เครดิตและเงินกู้จากธนาคาร แต่เมื่อ บสย. เข้ า มาช่ ว ยค�้ ำ ประกั น ซึ่ ง มี ป ระโยชน์ ต ่ อ ผู ้ ประกอบการ SMEs โครงการนี้ต้องการการ ประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง จากประสบการณ์ ของตนเองเมื่อปี ๒๕๔๐ ตอนเศรษฐกิจล่ม
เป็นต้น คณะฯ ได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อน� ำ มาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องครบถ้วนก่อน น�ำเสนอเป็นมรดกโลก ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธาน สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครฯ เปิดเผยความ คื บ หน้ า ว่ า ขณะนี้ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ เอกสารฉบั บ สมบู รณ์ เ พื่ อ น� ำ เสนอวั ด พระ มหาธาตุฯเป็นมรดกโลก ภายใน ๒-๓ ปี ซึ่ ง เป็ น ขั้ น ตอนที่ ย ากมาก เพราะเนื้ อ หา ของเอกสารมีสาระส�ำคัญ ๘ บท ความยาว ๓๐๐-๔๐๐ หน้า ที่เป็นภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาฝรั่ ง เศส ขณะนี้ ก รมศิ ล ปากรกั บ จังหวัดนครฯ ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ เนื้อหาที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ บทที่ ว ่ า ด้ ว ยเรื่ อ งความ โดดเด่นอันทรงคุณค่าและเป็นสากล และ เรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การในการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง รั ก ษาแหล่ ง มรดกนี้ ไ ว้ ใ ห้ เ ป็ น มรดกของ มนุ ษยชาติ ใ นรุ ่ น หลั ง ประมาณเดื อ นกั น ยายน ๒๕๕๖ เนื้อหาจะชัดเจนมากขึ้น และ ฝ่ายเราต้องส่งเอกสารภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๘ ไปยังศูนย์มรดกโลกที่กรุงปารีส “ผู้ท�ำเอกสารตั้งใจไว้แล้วว่าจะถวาย เป็นพุทธบูชา และหวังว่าคณะทูตานุทูตจะ น� ำ เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิหารไปเผยแพร่สู่สากลง่ายขึ้น และช่วย ขยายชื่อเสียงของวัดพระมหาธาตุฯ อีกทาง หนึ่งด้วย” ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด นครฯ สรุป (อ่านเพิ่มเติมจากคอลัมน์ นครดอนพระ โดย นพ.บัญชา พงษ์พานิช)
รายงาน จังหวัดนครฯ ร่วมแถลงข่าวความร่วมมือ สนันสนุนผู้ประกอบการ ณ ห้องบัวชมพู โรงแรมทวินโลตัส จ.นครศรีธรรมราช นายเอกพร นิโรจน์ ผู้จัดการ บสย. จังหวัดสงขลา กล่าวว่า สืบเนื่องมาจาก การลงนามความร่วมมือของ บสย. กับ สภาหอการค้ า ไทยฯ สภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย และสภาการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย เมื่อปี ๒๕๕๕ ทาง บสย. จึงหาช่องทางประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบ การ SMEs รับทราบ เพื่อให้เกิดการแลก เปลี่ ย นข่ า วสาร ซึ่ ง ท� ำ ให้ บสย.ทราบ ปั ญ หาของสมาชิก วิธีก ารคือให้สมาชิก ตอบแบบสอบถามเพื่ อ บสย. จะน� ำ มา ปรับการบริการเพื่อให้สมาชิกเข้าถึงแหล่ง ทุน โดยมี ๓ สภาช่วยประชาสัมพันธ์ ขณะนี้ บสย.พร้อมค�้ำประกันเงินกู้ ในรูปคลินิกให้ค�ำปรึกษาเป็นรายบุคคล ๔ โครงการ ดังนี้ ๑. โครงการ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ซึ่ ง บสย. มี ว งเงิ น ค�้ ำ ประกัน ๒๔๐,๐๐๐ ล้านบาท และสามารถ ค�้ำประกันสูงสุด ๔๐ ล้านบาท โดยสมาชิก
ธนาคารไม่เคยให้ค�ำปรึกษา มีแต่ทวงเงิน คืน ตนคิดว่าเมื่อ ๓ สภาจับมือร่วมกันจึง เป็นสัญญาณที่ดี นายเสรี ถนั ด สอนสาร รั ก ษาการ ประธานสภาการท่องเที่ยวจังหวัดนครฯ กล่ า วว่ า ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วหาเงิ น ทุ น ยาก ขาดเงินหมุนเวียน เงินปรุบปรุงซ่อมแซม หรือจ้างลูกจ้างที่มีคุณภาพ เมื่อ บสย.เข้า มาเราน่าจะมีโอกาสดี ถ้าสามารถช่วยให้ เข้าถึงแหล่งทุน ซึ่งกลุ่มธุรกิจท่องเที่ยวน่า จะได้ใช้บริการ นายเอกพร กล่าวเพิ่มเติมว่าจังหวัด นครฯ บสย. ค�้ ำ ประกั น เงิ น กู ้ ป ระมาณ ๑,๔๐๐ ราย วงเงิน ๔,๐๐๐ ล้านบาท หลัง จากนี้ บสย. น่าจะมีโอกาสค�้ำประกันให้ SMEs ในจังหวัดนครฯ มากกว่าเดิม
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๙
<< ต่อจากหน้า ๒ พออธิบายจบฉากที่ว่าด้วยเจ้าชายสิทธัตถะทรงเบื่อหน่ายโลก ละจากราชวังมาออกบวชบนหลังม้ากัณฑกะ แม้มีเทวดามาเชียร์ มากมาย สุดท้ายก็มาชะงักที่พญามาร ซึ่งผมอธิบายเล่นๆ ว่า เช่นพวกเราจะท�ำอะไรสักอย่างที่ดีงาม ตามเหตุและผล ก็มักมี คนทัก หรือไม่ก็ฝ่ายต�่ำมากระตุกว่าอย่าท�ำ ท�ำอื่นที่สนุกสนาน และได้ประโยชน์ดีกว่า อย่างเช่นเมื่อครั้งทรงออกบวชที่ทรง มุ่งมั่นตั้งใจจึงส�ำเร็จบรรลุผลเกิดเป็นพระพุทธศาสนามาถึง ทุกวันนี้ ภาพนี้จ�ำไม่ได้ว่าท่านทูตชาติอะไร ถามผมซ�้ำว่า ตัวที่ คอยห้ามท�ำดีนั้นชื่ออะไร พอผมตอบ ท่านก็ท่องเหมือนกับจะจ�ำ ใส่ใจไปเลยว่า มารา มารา ณ ภาพนี้ ผมได้ย�้ำแสดงว่านี่คือภาพปูนปั้นนูนต�่ำที่เก่า แก่และใหญ่สมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย เพราะที่สุโขทัย อยุธยา พังหมดแล้ว สร้างครั้งอยุธยาโดยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ผู้ส่ง สมณทูตไปสถาปนาสยามวงศ์ที่ลังกาโน่น ที่ส�ำคัญคือยังไม่เคย ร้างรา เรียกว่าเป็น Living Monument ต่างจากมรดกโลกที่ สุโขทัย ศรีสัชชนาลัย ก�ำแพงเพชร และ อยุธยา ซึ่งล้วนแล้ว แต่ซากปรัหักพังโบราณสถาน ที่เรียกกันว่า Dying Monument ๖) แก้วแหวนเงินทอง ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง และ เข็ม ทองค�ำ ในพระวิหารเขียนเป็นอีกจุดที่ดูท่าทางคณะทูตจะงงๆ ว่าเป็นมาอย่างไร ท�ำไมจึงมากขนาดนี้ พอผมเฉลยว่าเป็นของ ที่ใครต่อใครเอามาถวายไว้ด้วยศรัทธา มีทั้งที่เตรียมมาอย่าง ดี และที่มาถึงแล้วเกิดศรัทธาถอดถวายไว้เลย ทั้งก�ำไล แหวน ต่างหู เข็มขัด สารพัดของมีค่าโดยเฉพาะที่เป็นทองค�ำ จน
กระทั่งต้นไม้เงินทอง และนานาพระพุทธรูป ผมลองถามที่พวง เข็มทองว่าท่านจะตีความว่าอย่างไร ภริยาทูตเนเธอร์แลนด์ที่ดู ว่าจะเกาะติดผมตลอดคิดอยู่เป็นนาน ผมชวนท่านคิดถึงที่ทาง เนเธอร์แลนด์ก็นิยมเย็บปัก มีแม้กระทั่งปลอกนิ้วป้องกันเข็มต�ำ ท่านอ่านใจเรื่องเข็มทองค�ำวัดพระธาตุของคนไทยว่าอย่างไร ? จนผมแย้มว่าเข็มนี้เป็นทองค�ำมีค่าแถมแหลมคม คนเราต้องการ อะไร ท่านก็เปรยออกมาเลย ประมาณว่า Clever & Wisdom ๗) ตู้ธนบัตรนานาชาติ และ การถวายพระธาตุต่อเนื่อง ที่ ตรงประตูทางออกซึ่งผมไม่ค่อยสนใจเท่าไหร่กลายเป็นอีกตู้ที่ทุก ทูตต่างแวะดูหาธนบัตรจากประเทศของท่าน เมื่อพบก็ยิ้มแย้มว่า ประชาชนของท่านมาถึงพระธาตุแล้ว ได้ความว่าล้วนเป็นธนบัตร รุ่นเก่าที่เลิกใช้แล้ว พลเมืองของชาติท่านมาถึงเมืองนครตั้งนาน มากแล้ว
๘) ที่วิหารโพธิ์ลังกา ท่านอุปทูตลังกาและภริยาอาสา อธิบายเองว่าเป็นพระศรีมหาโพธิ์เก่าแก่ลูกสาวพระเจ้าอโศก เอาไปลังกาเมื่อ ๒,๐๐๐ กว่าปีก่อนโน้น เป็นต้นไม้ที่มีบันทึก ว่าอายุยืนนานที่สุดในโลก พอผ่านประตูพบต้นหมากพลูคีรีวง แล้วผมลองเล่าให้เห็นประวัติการเมืองที่ชาวคีรีวงท�ำเสร็จจะ มาถวายพระธาตุแล้วรัฐบาลจอมพล ป.ประกาศห้ามกินหมาก จนเสียศูนย์ แต่ชาวบ้านก็ไม่เสียศรัทธา รอจนจอมพล ป.ตก กระป๋อง ก็เอาต้นหมากพลูนี้มาถวายพระธาตุจนได้ ตอนนี้ทั้ง คณะน่าจะโดนเพราะเห็นหัวเราะกันทั่วหน้า ถึงตอนนี้เวลาหมด ผมได้แต่น�ำเดินผ่านเร็วๆ ชี้ชวนดู มงคล ๑๐๘ บนฝ่าพระบาทพระพุทธไสยาสน์ กับพระพุทธสิหิงค์ ที่ว่ามาจากศรีลังกาแต่จริงๆ แล้วไม่มีที่ศรีลังกา โดยที่หีบศพ เจ้าพระยานครนั้น ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ โดยท่านภริยาทูต เนเธอร์แลนด์บอกว่าอยากไปดูถ้วยชามเนเธอร์แลนด์ในวิหาร คดด้านนอกแต่ไม่มีเวลาพอ ผมได้แต่ส่งเข้าขบวนแห่ผ้าขึ้นธาตุ แล้วรีบปลีกตัวไปงานแต่งงานลูกศิษย์โดยไม่คิดน�ำไปดูปืนใหญ่ ของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ที่หลังวิหารพระ แอด เพราะไม่อยากเห็นรอยประวัติบาดแผล ผมรับรู้เพียงเท่านี้ และได้ท�ำหน้าที่ของคนนครอย่างนี้ ครับ หากใครอยากจะไปพระธาตุแล้วตามรอยคณะทูตไม่ได้ครบ บอกผมได้นะครับ. ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๖
<< (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค น ชว ชวนคยุ ได้มีการก่อเจดีย์นครปฐม ครอบองค์เก่าเมื่อก่อได้ ๑๐ วา ก็พังครืนลงมา จึงได้ส่ง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ ยาปวเรศวริยาลงกรณ์ มาดูแบบอย่างการสร้างเจดีย์ทรง ลังกาของนครท่านได้เขียนรายละเอียดในการเยี่ยมชม พระบรมธาตุเอาไว้มากมาย แต่จะไม่ขอเล่า ขอพูดถึง เรื่องอาหารการกิน มีตอนหนึ่งพูดถึงผลไม้ของเมืองนคร อนึ่งเหล่าผลไม้ แตงอุลิตไซ้ หวานดีหนักหนา แปลกกว่าแตงที่ ได้เคยพบมา แดงเหลืองไม่ว่า ดีทุกอย่างไป ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด คุณทรงพล น�ำค�ำว่า “นครศรีดี๊ดี” มาประชาสัมพันธ์เมือง ท่าจะหยิบกาพย์ บทนี้ของท่านมาเล่นด้วยน่าจะดี ทีนี้มาถึงบทส�ำคัญ ท่านเขียนถึงเรื่องน�้ ำกินน�้ำใช้ ของคนนครเอาไว้ อีกอย่างหนึ่งนั้น เหมือนน�้ำธารเขา ไม่เหมือนบ้านเรา ไม่เปื้อนโคลนเลน กินน�้ำสะอาด ไม่โง่งมเถร งานการชัดเจน การช่างแปลกตา
น�้ำใช้น�้ำฉัน ใสเย็นดีนัก บ่อน�้ำของเขา คนจึงฉลาด ว่องไวไหวพริบ ท�ำใดไม่เถร
นี่คือที่มาของกาพย์กลอนที่เขียนติดบนสะพานเดิน
เท้าข้ามถนนของเมืองนคร ผู้น�ำบทกาพย์กลอนเหล่านี้ ขึ้นไป คงจะต้องมีการสื่อออกไปเพื่อให้คนท้องถิ่นได้เห็น ถึงสภาพที่ดีของบ้านเมืองเมื่ออดีตไม่ว่าจะเป็นจารึกจาก หุบเขาช่องคอย ที่พูดถึงคนดีที่มีคุณค่าในยุคนั้น หรือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามค�ำแหง ที่กล่าวถึงครูบาอาจารย์ ว่ า หลวกปู ่ ค รู ใ ดในเมื อ งนี้ (เมื อ งสุ โ ขทั ย ) ล้ ว นลุ ก แต่ ศรีธรรมราชมา จนถึงบทที่ผมกล่าวถึง แสดงให้เห็นถึง น�้ำท่าอันอุดมสมบูรณ์ ใสสะอาดจนคนกินแล้วสุขภาพ ดี ฉลาด เลยท�ำให้นึกถึง เขตเทศบาลเรา ถึงได้มีบ่อน�้ำ ศักดิ์สิทธิ์ถึง ๔ บ่อทีเดียว โอกาสต่อไปจะคุยเรื่องบ่อน�้ำ ทั้งสี่ให้ฟัง ๑๕ ส.ค.๕๖
เดือนกันยายน ๒๕๕๖ วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๙ วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๖ เป็นวันวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๑๐ วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐ วันศุกร์ที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๑๐
หน้า ๑๐
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ๒.๒) ความเชื่อ ความเชื่ อ เป็ น เรื่ อ งชาติ ภ พ เชื่ อ ว่ า เมื่ อ คนเราตาย แล้วจะได้ไปเกิดใหม่ ในชาติหน้าและมีผลกรรมต่างๆ ที่ท�ำ ไว้ในชาตินี้ จะส่งผลไปถึงชาติหน้าด้วย ซึ่งเป็นความเชื่อที่มี อิทธิพลมาจากพุทธศาสนา ความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยเชื่อว่า จะคุ้มครองป้องกันอันตรายต่างๆ หรือช่วยเหลือบันดาลให้ตน ได้ในสิ่งที่พึงปรารถนา ความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจและวิญญาณ เชื่อกันว่าถ้าถึง เทศกาลท�ำบุญ อุทิศส่วนกุศล ให้กับญาติที่ล่วงลับไปแล้ว ถ้า ท�ำบุญไปให้ พวกผีและวิญญาณเหล่านั้น ก็จะอิ่มอุดมสมบูรณ์ ไม่ทุกขเวทนา แต่ถ้าไม่ท�ำ พวกผีและวิญญาณเหล่านั้นจะ อดอยาก เวทนา หิวโหย ๒.๓) ประเพณี ประเพณีที่ส�ำคัญ เช่น ประเพณีท�ำบุญวันสารทเดือน สิบ และประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ เป็นต้น ๒.๔) คติสอนใจ สอนให้คนมีสติ ไม่เกิดความโลภ โกรธ หลง มีความ กตัญญู และ สัมมาคารวะ สอนในเรื่องของการเลี้ยงดูลูก และความรักของพ่อแม่ ที่มีต่อลูก สอนในเรื่องการประกอบอาชีพ เพราะคนหนุ่มสาวใน ภาคใต้ ปัจจุบันนิยมไปท�ำงานนอกท้องถิ่นของตน ไปท�ำงาน ที่ไหน อาชีพอะไรก็ได้ แต่ต้องเป็นอาชีพที่สุจริต และสังคม ยอมรับ ไม่ไปประพฤติตัวให้เป็นที่เสื่อมเสียของวงศ์ตระกูล สอนในเรื่องการรู้จักสถานภาพของตนเอง เช่น การ
ตอนที่ ๑๓ เลือกคู่ครอง เลือกให้เหมาะกับตน โดยยึดค�ำสุภาษิตที่ว่า “ตัก น�้ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงา” สอนให้คนเป็นทีร่ กั หวงแหนและช่วยกันส่งเสริมศิลปะพืน้ เมืองภาคใต้แขนงต่างๆ ให้ดำ� รงอยูค่ กู่ บั ท้องถิน่ ภาคใต้ตลอดไป สอนเรื่องเพศศึกษาว่าโรงเรียนไม่ควรจัดการเรียนการ สอน เรื่องเพศศึกษาในโรงเรียน เพราะเด็กอาจอยากลองและ แอบไปประพฤติไม่ดีได้ สอนเรื่ อ งอั น ตรายของอบายมุ ข ชี้ ใ ห้ เ ห็ น โทษของ อบายมุขชนิดต่างๆ และขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ช่วยกันปราบปราม และละเลิกอบายมุขเหล่านี้ให้หมดไป ฯลฯ คุ ณ ค่ า ทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม จากผลงานการ สร้างสรรค์กาพย์กลอนของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ เท่า ที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นคุณค่าที่ใกล้ตัวของผู้ฟัง กาพย์กลอน ผลงานของท่านจึงมีทั้งคุณค่าภายใน และคุณค่าภายนอก จน กระทั่งปัจจุบันนี้ ๒.๒ ผลงานการส่งเสริมสืบทอดศิลปะการว่าเพลงบอก เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ท่านยังได้อุทิศเวลาส่วนหนึ่ง เพื่อการส่งเสริม สืบทอดศิลปะการว่าเพลงบอก ให้แก่ผู้สนใจ ในรูปลักษณ์ต่างๆ อีกด้วย เช่น ให้การศึกษาสืบทอดศิลปะ การว่าเพลงบอกแก่ศิษย์โดยตรง ให้การศึกษาสืบทอดศิลปะ การว่าเพลงบอกแก่นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจ
รายงาน
อุ่
นเรือน--ภรรยาของอังคาร กัลยาณพงศ์ แจ้งญาติๆ และผู้ใกล้ชิดว่า หลังจากโลก นี้ท่านบอกว่าจะกลับไปอยู่กับบิดามารดาและ พี่สาว ที่ซุ้มใบเสมา วัดท่าโพธิ์วรวิหาร ดังนั้น วั นที่ ๒๕ สิง หาคม ๒๕๕๖ ซึ่งเป็น วัน ครบ รอบ ๑ ปีมรณกรรมของกวีเอก--ศิลปินแห่ง ชาติ ญาติๆ และผู้ใกล้ชิดจึงน�ำ ‘อังคาร’ กลับ บ้านตามเจตนารมณ์ โดย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ปธ.สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครฯ เป็น ประธานจัดงาน ก่ อ นพิ ธี ท างศาสนา รศ.ดร.สื บ พงษ์ ธรรมชาติ, นพ.บัญชา พงษ์พานิช, สุธรรม ชยันต์เกียรติ และหนังตะลุงบุญธรรม เทอดเกียรติชาติ ร่วมกันเสวนาหัวข้อ ‘คนนครฯ คิดถึงอังคาร’ ผศ.ฉัตรชัย กล่าวแก่ผู้มีเกียรติว่า ท่าน อังคารเป็นชาวนครที่มีชื่อเสียงไปทั่วทั้งเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ จากกวี นิ พ นธ์ แ ละงาน จิตรกรรม ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้นน�ำหลายสถาบัน ได้มอบปริญญาดุษฎีแก่ท่าน ท่านเป็นกวีผู้ได้ รับรางวัลซีไรต์ และเป็นศิลปินแห่งชาติ
การจั ด งาน ‘รั บ อั ง คารกลั บ บ้ า น’ ได้ ประชุมหารือมาตั้งแต่เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ใน ฐานะท่านเป็นผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่เมืองนคร โดยเฉพาะ ธนกร ชัยมุสิก ซึ่งเป็นหลาน วรา จันทร์มณี เลขาฯ นพ.บัญชา พงษ์พานิช ได้ รวบรวมข้ อ เขี ย นไม่ เ คยเผยแพร่ ม าพิ ม พ์ ใ น หนังสืออนุสรณ์ รศ.ดร.สื บ พงษ์ เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การอภิ ปรายกล่าวเกริ่นว่าท่านอังคารภาคภูมิใจที่เกิด เป็นชาวนครมาก กวีนิพนธ์ของท่านเขียนว่า ‘กรุงศรีธรรมราช’ นพ.บัญชา ทราบข่าวมรณะขณะอยู่ใน อิ น เดี ย ได้ แ ต่ คิ ด ว่ า ตายแล้ ว ท่ า นจะไปไหน นิ พ พานหรื อ สุ ค ติ ภ พ คุ ณ หมอพบท่ า นราว ปี ๒๕๒๖ - ๒๗ คุณแม่บอกว่าเป็นญาติกัน ท่านอังคารก็บอกว่าคุณหมอกับท่านเป็นญาติ เพราะอยู่แถววัดจันทารามด้วยกัน “ท่านได้ รับรางวัลซีไรต์ปี ๒๕๒๙ เราจัดงานให้ ท่าน ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ เราแห่ในเมืองนคร ผม คิดว่าท่านไม่ใช่กวีหรือศิลปิน ท่านเป็นอะไรก็ ไม่รู้ ท่านอยากไปหุบเขาช่องคอย ท่านผูกพัน
เมื่อครั้งได้รับเกียรติให้เป็นพ่อตัวอย่างในวันพ่อแห่งชาติ
ใฝ่รู้ เป็นที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมสืบทอดวัฒนธรรม ให้แก่ สถาบันการศึกษา สภาวัฒนธรรม ชมรม สมาคม สโมสรต่างๆ เป็นต้น โดยเฉพาะโครงการประกวดแข่งขันกลอนสด โนรา และเพลงบอก ในงานประเพณีเทศกาลเดือนสิบ จังหวัด นครศรีธรรมราช ซึ่งศูนย์วัฒนธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช (ปัจจุบัน คือมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช) เป็นผู้ประสานงานจัดกิจกรรมนี้ ต่อ เนื่องมานานนับสิบๆ ปี ปีละ ๑๐ คืน เพลงบอกสร้อย เสียง เสนาะ ก็ให้เกียรติเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การส่งเสริมสืบทอดศิลปะการว่าเพลงบอก ของเพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ จึงมีทั้งการลงมือปฏิบัติเอง การสอน ศิษย์ให้ปฏิบัติ และเป็นก�ำลังใจให้ผู้อื่นปฏิบัติ การส่งเสริม สืบทอดศิลปะการว่าเพลงบอกทั้งสามรูปลักษณ์ เพลงบอก สร้อย เสียงเสนาะ ได้ปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอกระทั่ง ถึงแก่กรรม ก. การลงมือปฏิบัติเอง เพลงบอกสร้ อ ย เสี ย งเสนาะ ได้ ป ฏิ บั ติ ก ารส่ ง เสริ ม สืบทอดศิลปะการว่าเพลงบอกด้วยตนเอง โดยการรับงานใน รูปลักษณ์ต่างๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วใน เรื่องชีวิตศิลปินเพลง บอกอาชีพ แต่ในช่วงเวลาวัยชรา การรับงานว่าเพลงบอก ณ สถานประกอบการต่างๆ มีปริมาณน้อยลง เพราะเหตุปัจจัย ของสังขารเป็นส�ำคัญ (อ่านต่อฉบับหน้า)
กับคีรีวงมาก” ท่านอังคารมีความพิเศษ คือเป็นคนดี เป็นปราชญ์ ใฝ่รู้ รู้มาก คุยทุกเรื่องแบบไม่ คิดเอาเอง เป็นกวีและศิลปินเอกที่ละเอียด อ่อน “ในใจของผมคือกรุงศรีธรรมราช ที่ปลุก จิตส�ำนึกรักบ้านรักเมืองให้กับผม ท่านไม่เคย ลืมบ้านเกิด วาระสุดท้ายยังขอกลับไปอยู่กับ พ่อกับแม่ ไม่ลืมราก--ท่านเป็นปราชญ์ คนดี ท่านดีอย่างหมดจด รักถิ่น แต่มีความสากล บรรลุธรรมในระดับไม่น้อย” สุธรรมเล่าว่า รู้จักท่านช่วงก่อน ๑๔ ตุลา เพราะไปหาซื้อหนังสือก้าวหน้าที่ธรรมศาสตร์ ตั ว เองไม่ ช อบกลอน แต่ ช อบเขี ย นรู ป ปี ๒๕๑๗ ได้อ่านบทวักทะเลที่พูดถึงธรรมชาติ ดวงดาว กิ้งกือบิน รู้สึกทึ่งมาก แต่ไม่รู้ว่าเป็น คนนคร เพิ่งมารู้จาก สมพร ชัยสุนทร (โก หนอน) “ผมชอบวาดรูป..เห็นรูปที่ท่านเขียน ด้วยดินสอ...ท�ำได้ไง...เป็นรูปได้ไง ทึ่งมาก ยิ่ง เป็นคนวัดจันทน์ด้วย รู้สึกคลั่ง อ่านไม่ค่อยรู้ เรื่อง..แต่ชอบร้อยกรองบทสุนัขเน่ามาก” สุธรรมชอบเรื่องเสียดสีของท่านอังคาร เลยหันมาสนใจทั้งกวี ศิลปะ ภาพเขียนที่ชอบ มากๆ คือ ภาพเรือนแก้ว ภาพดอกลั่นทมที่ดู นานๆ รู้สึกได้กลิ่น กับภาพลายกนก สุธรรม พบท่านครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๓๐ ตอนคุณหมอ บัญชาเชิญมา จึงรู้ว่าพูดจาประหลาดๆ หาค�ำ
แบบโบราณที่เราแทบไม่ได้ยินมาใช้ และช่าง เปรียบเปรย และรู้สึกประทับใจที่ท่านไม่เป็น คนดัดจริต “ท่านมองธรรมชาติลึกซึ้ง..น่าเสียดาย ที่ผมติดหนี้ท่านเอาไว้..ต้องท�ำบุญส่งไป..ตอน ป่วยวราโทรบอกว่าท่านบ่นอยากกินมันกุ้ง.. ส่งให้ไม่ทัน ไปซื้อเอาจากสิชลมาให้ไม่ทัน.. ไม่ได้สนองค�ำเรียกร้อง..หมอบัญชาพูดว่าท่าน อังคารไปอยู่ที่ไหน..ผมว่าท่านเป็นเทพ” บุ ญ ธรรม เล่ า ว่ า ตนผู ก พั น กั บ ท่ า น อังคารหลายประเด็น “เดิมผมชื่ออังคาร” ตอน คุณหมอจัดงานให้ท่านอังคารที่ศาลา ๑๐๐ ปี วัดพระมหาธาตุฯ ตนได้พูดคุยเรื่องหนังตะลุง กับท่าน และได้ทราบว่าท่านมีหนังตะลุงอยู่ หนึ่งแผง “ท่านตัดเองด้วย ญาติๆ คงเคยเห็น บ้าง ผมคิดว่าท่านคนที่มีจินตนาการไม่ธรรมดา..เป็นศิลปินนักวิทยาศาสตร์และบัณฑิต” ตอนเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ อายุครบ ๗๒ ปี ท่านอังคารเขียนกวีให้ตนอ่าน “ผมท�ำ เป็นกลอนหนังตะลุง อ่านเป็นร้อยเที่ยวกลัว ท่านจะผิดหวัง..อาหารที่ท่านชอบให้ส่งไปให้ คือหัวกะทือท่านเอาไปท�ำน�้ำชุบ ค�ำกวีของ ท่านยังหาคนที่ใกล้เคียงไม่ได้... รู้สึกเศร้าๆ” บุ ญ ธรรมกล่ า วถึ ง พิ ธี ร ดน�้ ำ ศพอั ง คาร ที่กรุงเทพฯ ว่า “คนรดน�ำ้ศพคนแรกคือผม”
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๑
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์
ฉ
บับที่ผ่านมาได้เล่าเรื่องเมืองเก่าที่มีชื่อว่า “เมือง ตานี” ซึ่งปัจจุบันคือจังหวัดปัตตานี อันถือได้ว่า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ศาสนาอิสลามที่มีประชากร ผู้นับถือศาสนาดังกล่าวหนาแน่นที่สุดในประเทศไทย เวลานี้ ฉบับนี้จะขอเล่าขานถึงเมืองเก่าอีกเมืองหนึ่ง ที่ยังมีชีวิตหรือลมหายใจอยู่ และนับวันก็จะเติบโตขึ้น
เช้าชุ่มในนุ่มฝัน แสงตะวันยังสดฉาย เรืองรุ้งในรุ่งพราย กะพริบพร่างอย่างเคยเป็น ฝูงนกยังร้องร่าย และผินผายให้แลเห็น ครึกครื้นแต่ชื่นเย็น ทั้งมวลไม้ยังเบิกบาน และใจก็เต็มตื่น เพื่อเริงรื่นในการงาน เพื่อโลกอันโอฬาร จะศักดิ์สิทธิ์นิรันดร์ไป เพื่อรักในเรือนอุ่น อ่อนละมุนเข้มละไม ปรุงฝันและแรงใจ ให้ก่อกล้าก่อนเดินทาง ออกเดินเผชิญฝัน เมื่อเยาว์วันยังวัยวาง โลกซึ่งแสนไกลกว้าง ก็รุ่งรางอยู่ภายใน หัวใจของคนจร จึงแรมรอนเส้นทางไป เก็บฝันวิสุทธิ์สมัย เติมแรงใจเติมพลัง. รมณา โรชา
จนอาจกลายเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ ก็ได้ นั่นคือ “หาดทรายแก้ว” ค�ำว่า “หาดทรายแก้ว” เป็นชื่อเรียกพื้นที่ริมฝั่ง ทะเลของเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยโบราณ (โดย เฉพาะในช่วงที่เป็นเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ปั จ จุ บั น ) พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ มี ลั ก ษณะเป็ น สั น ดอนทราย ขนาดใหญ่ ที่ เ กิ ด จากตะกอนดิ น ทรายและทรายที่ ถู ก น�้ ำ ฝนพั ด พามาจากพื ด เขานครศรี ธ รรมราช ซึ่ ง อยู ่ ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองนครศรีธรรมราชปัจจุบัน ขณะเดี ย วกั น ก็ ผ สมกั บ ทรายที่ ถู ก คลื่ น ในทะเลอ่ า ว ไทยซั ด ขึ้ น มา เป็ น เหตุ ใ ห้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ ก ลายเป็ น “สันทราย” ขนาดใหญ่ ทอดตัวลงมาตั้งแต่ตอนเหนือ ของจังหวัด (คืออ�ำเภอสิชล อ�ำเภอท่าศาลา) ผ่านพื้นที่ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอหัวไทร จังหวัด นครศรีธรรมราช เรื่อยลงไปจนถึง อ�ำเภอระโนด อ�ำเภอ สทิงพระ และอ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาในปัจจุบัน พื้นที่ซึ่งเรียกกันว่า “หาดทรายแก้ว” นั้นอยู่ในช่วงที่ เป็นเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราชปัจจุบัน เข้าใจว่า แต่เดิม คงเป็นหาดทรายแก้วที่สวยสะอาด เมื่อต้อง กับแสงแดดก็อาจเป็นประกายระยิบระยับประดุจแก้ว จึงได้รับการขนานนามว่า “หาดทรายแก้ว” “หาดทรายแก้ ว ” ถื อ เป็ น ชุ ม ขนเก่ า แก่ แ ห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช โดยหลั ก ฐานทาง โบราณคดี สั น นิ ษ ฐานว่ า เริ่ ม มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานของ ผู้คน ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ ก่อนหน้านี้ บริเวณชายฝั่งทะเลของภาคใต้ โดยเฉพาะในช่วงที่เป็น ตัวเมืองนครศรีธรรมราชปัจจุบัน เคยมีชุมชนใหญ่อยู่ อีกสองชุมชน (ซึ่งน่าจะเรียกได้ว่าเป็น “เมือง”) คือ ชุ ม ชนท่ า เรื อ และชุ ม ชนพระเวี ย ง ทั้ ง สองชุ ม ชนมี อายุความเป็นชุมชนมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๐ เป็น อย่างน้อย หาดทรายแก้ ว เป็ น ชื่ อ ที่ ป รากฏอยู ่ ใ น “ต� ำ นาน เมืองนครศรีธรรมราช” และใน “ต�ำนานพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช” ในต�ำนานทั้งสองได้บอกกล่าวเรื่อง
ส� ำ คั ญ อยู ่ ป ระการหนึ่ ง คื อ การเป็ น สถานที่ ตั้ ง หรื อ ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ (คื อ พระบรมธาตุ เจดีย์นครศรีธรรมราชปัจจุบัน) ว่า พี่น้องสององค์จาก เมืองทนทบุรี ประเทศอินเดีย พระนามว่า “พระนาง เหมชลา และพระทนทกุมาร” ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาประดิษฐาน บนหาดทรายแก้วแห่งนี้ ซึ่งต่อมาพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชผู้ครองนครศรีธรรมราชได้ก่อสถูปใหญ่เป็น ทรงระฆังคว�่ำ อันเป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพล จากศรีลังกา ซึ่งถือเป็นการประกาศพระพุทธศาสนา เถรวาทลังกาวงศ์ เป็นครั้งแรกบนดินแดนหาดทราย แก้ว ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เป็นต้นมา การสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ในครั้งนั้น เชื่อกันว่า เป็นการสร้างไว้นอกเมือง เพื่อให้เป็น “ปูชนียสถาน” อันเป็นสมบัติส่วนกลางหรือสาธารณะของแผ่นดินนี้ โดยไม่สงวนสิทธิ์ว่าจะต้องเป็นของเมืองใดเมืองหนึ่ง โดยเฉพาะ ดังนั้นการที่ผู้คนจากชุมชนใดหรือเมืองใด จะมาสักการะบูชาในวันใด ฤดูกาลใด ย่อมกระท�ำได้ ทุกเวลาตามศรัทธาของตน กรณีเช่นนี้เป็นคตินิยม ที่ได้รับอิทธิพลจากศรีลังกา ที่มาควบคู่กับการสร้าง ปูชนียสถานไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้บูชา อย่ า งไรก็ ดี ในช่ ว งต้ น กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เมื อ ง นครศรีธรรมราช ได้เกิดโรคระบาดที่เรียกว่า “ไข้ห่า” หรือ “ไข้ยมบน” ท�ำให้ผู้คนล้มตายมาก ที่เหลือรอด ชีวิตก็อพยพไปอยู่ “ซอกห้วยซอกเขา” ทางทิศตะวัน ตกของหาดทรายแก้ว (คือละแวกอ�ำเภอลานสกาใน ปัจจุบัน) ครั้นโรคระบาดทุเลาหรือหยุดลง ผู้คนก็เริ่ม เข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ร ายรอบพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น ล� ำ ดั บ จนกระทั่ ง หาดทรายแก้ ว กลายเป็ น “ชุ ม ชน เมือง” และมีการสร้างก�ำแพงเมืองพร้อมขุดคูเมือง ทั้งทางด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก กลาย เป็น “เมื อ งนครศรี ธ รรมราช” บนหาดทรายแก้วที่ พัฒนาสืบมาจนถึงปัจจุบัน
หน้า ๑๒
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com
ถ้
าพู ด ถึ ง สุ ข ภาพ คงต้ อ งหมายรวมทั้ ง สุขภาพกาย และสุขภาพจิตนะครับ สุขภาพกาย หมายถึง สภาวะของร่างกายที่มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เจริญเติบโตอย่าง ปกติ ระบบต่างๆของร่างกายสามารถท�ำงานได้เป็นปกติ มีประสิทธิภาพ มีความต้านทาน โรคได้ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและความทุพพลภาพ สุขภาพจิต หมายถึง สภาวะของจิตใจที่มีความสดชื่น แจ่มใส สามารถควบคุม อารมณ์ให้มั่นคงเป็นปกติ สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่ง แวดล้อมต่างๆได้ดี สามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี และปราศจากความขัด แย้งหรือความสับสน ภายในจิตใจ สุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับทุกชีวิตการที่จะด�ำรง ชีวิตอยู่อย่างปกติก็คือการท�ำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ จิตใจมีความสุข ผู้ที่มีสุขภาพ กายและสุขภาพจิตที่ดีจะปฏิบัติหน้าที่ประจ�ำวันไม่ว่าเป็นการเรียนหรือการท�ำงานเป็นไป ๑. ท้อแท้ ก. ท้อแท้ใจมาก หมดหวังในอนาคต ข. ท้อแท้ใจ มองอนาคตในแง่ร้าย ค. ท้อแท้ใจบ้างบางครั้ง ง. ไม่หมดหวัง ๒. คิดฆ่าตัวตาย ก. คิดวางแผนฆ่าตัวตาย ข. คิดอยากตาย ค. ชีวิตนี้ไม่น่าอยู่ คิดถึงความตาย บ่อยๆ แต่ไม่ถึงกับอยากตาย ง. ไม่ได้คิดถึงเรื่องการตาย ๓. รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ก. รู้สึกอย่างมากว่าตัวเองเป็นคนไม่ ดี หรือไม่มีค่าเลย ข. รู้สึกผิด คิดแต่เรื่องความผิดของ ตัวเองในอดีต ค. รู้สึกตัวเองเป็นคนไม่ดีอยู่บ่อย ๆ ง. ไม่รู้สึกผิด หรือคิดว่าตัวเองไม่ดี ๔. เฉยชา ก. อยู่เฉยๆ ไม่ท�ำอะไร ข. คิดอะไร ท�ำอะไรเชื่องช้าลงมาก ค. คิดอะไร ท�ำอะไรเชื่องช้าลงกว่า เดิมบ้าง ง. ความคิด การกระท�ำยังเหมือนเดิม ๕. กระวนกระวาย ก. งุ่นง่าน เดินไปมา อยู่ไม่ติดที่ เป็น บ่อย ข. กระสับกระส่าย อยู่นิ่งไม่ค่อยได้ ค. ร้อนใจ กระวนกระวาย ง. ไม่ร้อนใจ หรือกระสับกระส่าย ๖. ซึมเศร้า ก. ซึมเศร้ามาก ร้องไห้บ่อย ข. หดหู่ ซึมเศร้าอยู่ตลอด ท�ำใจให้ สบายไม่ได้เลย ค. รู้สึกซึมเซา ไม่แจ่มใสเหมือนเคย ง. จิตใจสบายดี ๗. คิดมาก ก. คิดมาก กังวลใจไปหมดทุกเรื่อง
ข. คิดมาก กังวลใจบ่อย ค. คิดมาก กังวลใจง่ายกว่าแต่ก่อน ง. ไม่วิตกกังวล ๘. เบื่อ ก. เบื่ อ ไปหมดทุ ก อย่ า ง ไม่ อ ยากท� ำ อะไรเลย ข. รู้สึกเบื่อ ไม่มีความเพลินใจ ค. เบื่อง่าย แต่ยังพอมีความเพลินใจ อยู่บ้าง ง. มีความสนใจในเรื่องต่างๆ เหมือน เดิม ๙. หงุดหงิด ก. หงุ ด หงิ ด มาก มี ก ารทะเลาะกั น ท�ำลายข้าวของ ข. หงุดหงิด ฉุนเฉียวบ่อย ค. หงุดหงิดง่ายกว่าเดิม แต่พอคุมได้ ง. ไม่มีอารมณ์หงุดหงิด ๑๐. หลับยาก ก. หลั บ ยากทุ ก คื น หรื อ ต้ อ งกิ น ยา ให้หลับ ข. หลับยากค่อนข้างบ่อย ค. หลับยากบางครั้ง ง. นอนหลับปกติดี ๑๑. ตื่นกลางดึก ก. ตื่ น กลางดึ ก แทบทุ ก คื น หลั บ ไม่ ได้เลย ข. ตื่นค่อนข้างบ่อย หลับต่อยาก ค. นอนหลับไม่สนิท กระสับกระส่าย ง. หลับปกติดี ๑๒. เบื่ออาหาร ก. เบื่ออาหารมาก กินแทบไม่ได้เลย ข. เบื่ออาหารแต่พอฝืนกินได้ ค. ไม่เจริญอาหารเหมือนเดิม ง. กินอาหารได้ตามปกติ ๑๓. อ่อนเพลีย ก. เหนื่อยหรืออ่อนเพลียมาก จนท�ำ อะไรไม่ได้เลย ข. เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ท�ำอะไรก็
ด้วยดี มีประสิทธิภาพ การที่เรารู้สึกว่า ทั้งสุขภาพกายและ สุ ข ภาพจิ ต ของเรามี ค วามปกติ แ ละสมบู ร ณ์ ดี เราก็ จ ะมี ความสุข ในทางตรงข้าม ถ้าสุขภาพกายและสุขภาพจิตของ เราผิดปกติหรือไม่สมบูรณ์ เราก็จะมีความทุกข์ การรู้จัก บ�ำรุงรักษาและส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งที่ จ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตของทุกคนในปัจจุบัน ที่ผ่านมา หมอพูดถึงเรื่องสุขภาพกายบ่อยมาก วันนี้อยากน�ำเสนอเรื่องของสุขภาพ จิตบ้างครับ มีอยู่หลายเรื่อง หรืออาจจะเรียกว่าหลายโรค แตกต่างกันออกไป นอกจาก เรื่องของสุขภาพจิตโดยรวม หรือโดยทั่วไปแล้ว ยังมีเรื่องความวิตกกังวล ย�้ำคิดย�้ำท�ำ จิ ต เภท ฯลฯ แต่ วั น นี้ จ ะพู ด เรื่ อ งที่ น ่ า สนใจ พบได้ บ ่ อ ย มี ผ ลกระทบต่ อ การใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวันค่อนข้างสูงมาก คือ โรคประสาทซึมเศร้า ครับ เป็นโรคที่พบบ่อย หรืออาจ จะเกิดกับตัวท่านโดยไม่รู้ตัว ลองเริ่มจากแบบทดสอบโรคซึมเศร้า ต่อไปนี้ เป็นแบบ ทดสอบภาวะอารมณ์เศร้าอย่างง่าย จากอาการที่พบบ่อยของโรคซึมเศร้า โดยมีค�ำถามให้ ๒๐ ค� ำ ถาม ในแต่ ล ะค� ำ ถามจะมี ๔ ตั ว เลื อ ก ให้ ท ่ า นเลื อ กข้ อ ที่ เ ป็ น ท่ า นมากที่ สุ ด (อย่าหลอกตัวเองนะครับ) แล้วรวมคะแนนเพื่อประเมินภาวะอารมณ์เศร้าของท่านได้
เหนื่อยไปหมด ค. เหนื่อย อ่อนเพลียง่ายกว่าที่เคย ง. ไม่มีอาการอ่อนเพลีย ๑๔. ความสนใจทางเพศ ก. ไม่สนใจทางเพศอีกเลย ข. สนใจทางเพศลดลงมาก ค. สนใจทางเพศลดลงบ้างจากเคย ง. ความสนใจทางเพศคงเดิม ๑๕. ขาดความมั่นใจ ก. ตัดสินใจอะไรไม่ได้เลย ข. ลังเลใจ ตัดสินใจไม่ ค ่ อ ยได้ แ ม้ แ ต่ เรื่องเล็กๆ ค. ลังเลใจบ้าง ไม่อยากตัดสินใจ ง. ไม่มีลังเลใจ ๑๖. กังวล ก. เชื่อว่าตัวเองมีโรคทางร่างกายแน่ ข. กั ง วลใจ คิ ด ว่ า ตั ว เองน่ า จะมี โ รค ทางร่างกาย ค. ห่วงสุขภาพของตัวเองกว่าแต่ก่อน ง. ไม่กังวลโรคทางร่างกาย ๑๗. ไม่มีสมาธิ ก. ใจลอยมาก ไม่มีสมาธิเลย ข. ใจลอย สมาธิ ไ ม่ ดี ต้ อ งตั้ ง ใจมาก เวลาจะท�ำอะไร ค. ใจลอย สมาธิไม่ค่อยดีเหมือนก่อน ง. สมาธิปกติ ๑๘. ประสิทธิภาพการท�ำงานลดลง ก. ท�ำงานไม่ได้เลย ข. ท�ำงานแย่ลงกว่าเดิม ต้องบังคับตัว เองมากให้ท�ำงาน ค. ต้องฝืนใจ เวลาจะท�ำงาน หรือเริ่ม ท�ำอะไรบางอย่าง ง. ท�ำงานได้ตามปกติ ๑๙. อาการทางร่างกาย เช่น ใจสั่น หายใจ ไม่อิ่มแน่นท้อง มือชา ปวดศีรษะ ก. มีอาการเหล่านี้บ่อยมาก ข. มีอาการเหล่านี้ค่อนข้างบ่อย ค. มีอาการเหล่านี้บ้างบางครั้ง
ง. ไม่มีอาการทางร่างกายอะไร ๒๐. ความสนใจคนรอบข้าง ก. ไม่ ส นใจใครเลย ใครจะเป็ น อย่างไรก็ช่าง ข. ไม่ค่อยสนใจใคร ไม่คิดอยากพูด คุยกับใคร ค. สนใจคนอืน่ ๆ รอบข้างน้อยกว่าเดิม ง. ความสนใจต่อคนอื่นเหมือนเดิม การคิดคะแนน * ก = ๓ คะแนน * ข = ๒ คะแนน * ค = ๑ คะแนน * ง = ๐ คะแนน แล้วน�ำคะแนนทุกข้อมารวมกัน เทียบ ความรุนแรงดังนี้ * น้อยกว่า ๒๑ = ไม่มีภาวะซึมเศร้า * ๒๑-๒๕ = ภาวะซึมเศร้าขั้นอ่อน * ๒๖-๓๔ = ภาวะซึมเศร้า ขั้นปานกลาง * ๓๕-๔๐ = ภาวะซึมเศร้า ขั้นรุนแรง * มากกว่า ๔๐ = ภาวะซึมเศร้า ขั้นรุนแรงมาก ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้มีภาวะซึมเศร้า * ผู้ที่มีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง ๒๐ ถึง ๓๔ ควรท�ำซ�้ำอีกใน ๒ สัปดาห์ต่อมา หาก ค่าคะแนนยังอยู่ระดับนี้หรือเพิ่มขึ้น ควร พบแพทย์เพื่อประเมินปัญหา * ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ มี ค ะแนนรวมมากกว่ า ๓๕ ควรพบแพทย์ทันที แม้ว่าการรักษาโรคทางจิตประสาท จะยุ ่ ง ยากพอสมควร โดยเฉพาะโรคซึ ม เศร้า อาจจะรุนแรงถึงขั้นผู้ป่วยฆ่าตัวตาย ได้ก็จริง แต่ยังโชคดีที่หากได้รับการรักษา ทันท่วงทีก็สามารถหายได้ไม่ยากเช่นกัน ครับ
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
สุเมธ รุจิวณิชย์กุล
sumet_arch@hotmail.com
ค�ำ
ว่ า “นครศรี ดี๊ ดี ” ผมเชื่ อ ว่ า คง ติ ด หู ติ ด ตาชาวเมื อ งนครแล้ ว ละ เพราะปรากฏในสื่อต่ างๆ ให้เห็นทั้ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ นิ ต ยสาร วิ ท ยุ รวมทั้ ง สื่ อ social media ทั้งหลาย ใครที่เป็นแฟน คลั บ ของท่ า นรองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ฯ ทรงพล สวาสดิ์ธรรม ทาง facebook ก็ คงได้อ่านค�ำเชิญชวนของท่านให้มาเที่ยว เมื อ งนครที่ มี ดี ใ นด้ า นต่ า งๆ มี ค นเขี ย น เชี ย ร์ ท ่ า นมาก (รวมทั้ ง ผมด้ ว ย) และก็ เกิดอาการที่เรียกว่า “ท่องเที่ยวบูม” ขึ้น มาผู้คนแห่กันมาจังหวัดนครศรีธรรมราช จน สายการบินเต็มกันทุกเที่ยวทั้งนักท่อง เที่ ย วทั้ ง นั ก ลงทุ น ไทยและต่ า งประเทศ เราก็ฝันที่อยากให้เป็นสนามบินนานาชาติ โรงแรมต่างๆ สร้างเพิ่มขึ้นมากมาย ห้าง ใหญ่ๆ ก็มีการปรับปรุงหรือสร้างขึ้นใหม่ ก็หลายแห่ง บ้านจัดสรรก็มีมากจนจ�ำชื่อ โครงการไม่หวาดไม่ไหว ซึ่งผมก็เห็นด้วย ที่เราจุดกระแสจนติดให้คนต่างถิ่นได้รู้จัก นครอย่ า งกว้ า งขวางในขณะนี้ แต่ ผ มไม่ อยากเห็นภาพฉาบฉวยที่ตั้งขึ้นเฉพาะยุค ของผู้บริหารบ้านเมือง พอหมดยุคหมด วาระก็ฝ่อกันไปขาดความยั่งยืนเป็นภาระ ให้ชาวเมืองที่จ�ำเป็นต้องอาศัยอยู่ในเมือง นี้ตลอดไป ผมได้เคยวิเคราะห์จุดเด่นของเมือง นครที่เป็นแรงจูงใจให้คนมาเมืองนครไม่ ว่าจะมาเที่ยวหรือมาท�ำอะไรก็ตามในด้าน ต่างๆ คือ ๑. ความเป็นเมืองประวัติศาสตร์ มี พระบรมธาตุที่ก�ำลังจะได้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลกและเรื่องราวความเป็นเมืองอัน เก่าแก่นับพันปีเป็นตัวชูโรง ๒. ความเป็นเมืองที่มีธรรมชาติที่ยัง สมบูรณ์ ทั้งทะเลและภูเขา มีอากาศดีที่สุด ในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีเทือกเขา หลวงที่มีน�้ำตกสวยงามมากมายและมีการ อนุรักษ์จนได้รางวัลกินรีมาแล้ว ๓. ความเป็นเมืองที่มีวิถีชีวิตที่มีการ สื บ ทอดกั น มาทั้ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม
www.nakhonforum.com
นครศรีธรรมราช
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งปรากฏในการ แสดงมโนราห์ หนังตะลุง และประเพณี ต่างๆ เช่น การท�ำบุญเดือนสิบ การแห่ผ้า ขึ้นธาตุ เป็นต้น ๔. ความเป็ น เมื อ งที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยพื ช ผั ก ผลไม้ แ ละแร่ ธ าตุ ต ่ า งๆ มี พ่อค้าต่างถิ่นเข้ามาซื้อขายจนกลายเป็น ศู น ย์ ก ลางหลายเรื่ อ ง เช่ น ตลาดพื ช ผั ก หั ว อิ ฐ ตลาดรั บ ซื้ อ มั ง คุ ด เพื่ อ ส่ ง ออก ตลาดกลางยางพารา ฯลฯ ๕. ความเป็ น เมื อ งที่ มี พ ลเมื อ งมาก ที่สุดในภาคใต้ จึงเกิดธุรกิจด้านการศึกษา ด้ า นบ้ า นจั ด สรร ด้ า นสิ น ค้ า บริ โ ภคหรื อ ด้านแหล่งบันเทิง เกิดขึ้นมากมาย
๖. ความเป็นเมืองที่มีศักยภาพเป็น ศูนย์กลางด้านการคมนาคมขนส่ง ( Logistics Hub ) ความเด่ น ชั ด ดั ง กล่ า วนี้ ที่ เ ราน� ำ มา เป็ น จุ ด ประชาสั ม พั น ธ์ ห รื อ จุ ด ขายให้ แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและนั ก ลงทุ น ซึ่ ง ต้ อ ง แยกแยะประเภทให้ อ อกว่ า เรามี ต ้ น ทุ น อะไร และต้องปรับปรุงหรือต้องเพิ่มอะไร เข้ า ไป เช่ น ในด้ า นการท่ อ งเที่ ย วก็ ต ้ อ ง ทราบว่าเขาต้องการมาเที่ยวชมเรื่องราว ด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ หรื อ เขาต้ อ งการมา เที่ ย วชมธรรมชาติ ซึ่ ง มี ทั้ ง ประเภทผจญภั ย หรื อ ประเภทพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ ซึ่ ง ประเภทเหล่ า นี้ จ ะต้ อ งมี สิ่ ง อ� ำ นวยความ สะดวกและการให้บริการที่แตกต่างกันไป ทั้งการเดินทาง สถานที่พัก ไกด์ที่มีความ รู้ที่ถูกต้อง เราได้ เ ตรี ย มพร้ อ มรั บ มื อ ไว้ เพียงพอหรือยัง และควรเป็นหน้าที่ของ ใครที่ต้องดูแลเรื่องเหล่านี้ เพราะการที่ เขาเดิ น ทางมาจากการโฆษณา แต่ ห าก ผิดจากความคาดหวังไว้กลับเป็นภาพลบ ส� ำ หรั บ ในด้ า นการเดิ น ทางเข้ า มาลงทุ น ของคนต่ า งถิ่ น นั้ น ก็ เ ป็ น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ เราไม่สามารถปิดกั้นได้ตามระบบการค้า สากลซึ่งอีกไม่กี่ปีก็จะเข้าสู่ AEC กันแล้ว แต่เราต้องรับมือและเตรียมพร้อมให้เกิด ความเสมอภาคกั น ทั้ ง ผลประโยชน์ ที่ ไ ม่
เอารัดเอาเปรียบกัน และไม่เข้ามาท�ำลาย ความเป็นเมืองนครที่เราอุตส่าห์สืบทอด กั น มาช้ า นาน แล้ ว เรื่ อ งนี้ ใ ครจะเป็ น คน เล่ น ทางจั ง หวั ด หรื อ หอการค้ า หรื อ องค์กรใดเป็นผู้รับผิดชอบครับท่าน ผมมี มุ ม มองเฉพาะเรื่ อ งที่ อ ยาก เติมเต็มในโครงการ “นครศรีดี๊ดี” ที่เน้น เฉพาะไปยั ง ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเท่ า นั้ น ว่ า เราประสบความส� ำ เร็ จ ในด้ า นการ ประชาสั ม พั น ธ์ เ รื่ อ งเดี ย วไม่ ไ ด้ เราต้ อ ง ประสบความส�ำเร็จในด้านการสร้างความ ประทับใจให้ได้ด้วย ผมก็เชื่อว่าทุกฝ่ายก็ พยายามท�ำอยู่แต่ก็ต้องทันการด้วย เพราะ ผมเองไปยังพื้นที่ได้รับรางวัลกินรีที่เปรียบ เสมือนใบรับรองจากการท่องเที่ยวฯ ผม ยั ง เห็ น อาคารบริ ก ารนั ก ท่ อ งเที่ ย วบาง แห่งทิ้งร้างไว้ การก�ำหนดที่ตั้งห้องน�้ำไม่ เหมาะสมเป็ น ทั ศ นะอุ จ าดและส่ ง กลิ่ น เหม็น เป็นต้น คนที่เคยไปเที่ยวเมืองจีน
หน้า ๑๓
คงได้รับประสบการณ์ไม่พึงประสงค์เรื่อง ห้องส้วมจนเป็นที่กล่าวขานกันว่าจะไม่ไป อีกแล้วหากเขาไม่มีการแก้ไขเรื่องเหล่านี้ ถ้าหากว่าเรื่องที่ยกตัวอย่างมาเป็นสาระ ส�ำคัญก็ต้องหาคนรับผิดชอบรีบท�ำให้ทัน กับนักท่องเที่ยวที่เริ่มเข้ามามากขึ้นทุกวัน รางวั ล กิ น รี ที่ จั ด โดยการท่ อ งเที่ ย ว แห่ ง ประเทศไทย (ททท.) เป็ น รางวั ล อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วไทย (Thailand Tourism Awards) ที่จัดขึ้นทุก 2 ปี เพื่อยกย่องและส่งเสริมการท่องเที่ยวของ สถานที่ องค์กร หรือบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่ง มิใช่ได้มาโดยง่ายดายหรือซื้อหามา นคร เราได้มา ๑๒ หรือ ๑๕ รางวัล ผมเองก็ จ�ำไม่ได้ และผมเชื่อว่าชาวนครบางส่วน (ไม่ ท ราบว่ า เป็ น ส่ ว นมากหรื อ ส่ ว นน้ อ ย) ยั ง ไม่ รู ้ ด ้ ว ยซ�้ ำ ไปว่ า รางวั ล กิ น รี คื อ อะไร มี ค วามส� ำ คั ญ ที่ น ่ า ภู มิ ใ จอย่ า งไร ถ้ า คน นครทราบเรื่ อ งนี้ สั ก ๒๐% (ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คน) และไปเที่ยวกันเองก็จะมี รายได้ที่ไม่ต้องรอคนต่างถิ่น ผมขอวกกลับมายังตัวเมืองนครที่นัก ท่องเที่ยวจะต้องเดินทางมาเริ่มต้นที่จุดนี้ ไม่ว่าจะมาโดยทางไหน มีการอุปมาว่าเรา เป็นยักษ์หลับที่เพิ่งตื่นยังงัวเงียอยู่ที่เห็น อะไรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมแต่ยังงงๆ อยู่ เราควรปลุ ก ให้ หั น มามองธุ ร กิ จ การค้ า ที่ ต้องปรับตัวเองเพื่อให้สอดคล้องกับเรื่อง ที่ จั ง หวั ด ก� ำ ลั ง โหมโรงอยู ่ (อ่ า นคอลั ม น์ ทันโลกธุรกิจของคุณไพโรจน์ เพชรคง ใน หนังสือพิมพ์นี้ก็ได้ มีข้อคิดมากมาย) แต่ ในด้านที่ปรับปรุงพัฒนาโดยฝ่ายราชการ หรื อ องค์ ก รบริ ห ารท้ อ งถิ่ น ที่ ช าวเมื อ งไว้ วางใจมอบภารกิจให้ท�ำ ก็ต้องมองให้เห็น เข็นกันให้ตลอดจนหมดวาระที่อาสาเข้า มา ผมก็ขอเป็นเสียงเล็กๆ ของชาวเมือง คนหนึ่ ง ที่ อ ยากเติ ม เต็ ม บางเรื่ อ งให้ ภ าพ ลักษณ์ของ “นครศรีดี๊ดี” สมบูรณ์แบบยิ่ง ขึ้นในภาพกว้าง ซึ่งฉบับนี้มีพื้นที่ไม่พอที่ จะเขียนแล้วเพราะหน้ากระดาษจ�ำกัด ผม ก็ขอต่อเรื่องนี้ไปฉบับหน้านะครับ
หน้า ๑๔
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ขั้นตอนการขึงผ้าบนกรอบไม้ การร่างภาพ (ใช้ จิ น ตนาการ) การเขี ย นน�้ ำ เที ย น การ ลงสี หลังจากนั้นวิทยากรจะด�ำเนินการใน ขั้ น ตอนต่ อ ไป คื อ การหมั ก น�้ ำ ยาซิ ลิ เ กต การซัก และน�ำผลงานมาให้ในวันรุ่งขึ้น ผู้ เข้าร่วมกิจกรรมก็จะได้ผลงานผ้าบาติกของ ตัวเองกลับไป มัดเส้นเน้นลาย เมื่ อ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมท� ำ ขั้ น ตอน เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะ ต่ า งๆ เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว วิ ท ยากรศู น ย์ ได้เรียนรู้วิธีการสกัดสีจากธรรมชาติโดยการ วิทย์ฯ ร่วมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมอภิปราย ต้ม การทดสอบความเป็นกรด-เบสของน�้ำ
สีธรรมชาติ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำผ้ามัดย้อม รวม ไปถึงการออกแบบลายผ้ามัดย้อม วิ ท ยากรในการท� ำ ผ้ า มั ด ย้ อ ม จะ เป็ น ผู ้ ป ระกอบการในการท� ำ ผ้ า มั ด ย้ อ ม โดยวิทยากรบรรยายความรู้เบื้องต้นเรื่อง การท�ำผ้ามัดย้อม เช่น ความเป็นมา วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ สีและการสกัดสีจากพืช วิธี การมัดผ้ามัดย้อม หลังจากนั้นผู้เข้าร่วม กิ จ กรรมจะต้ อ งลงมื อ มั ด ผ้ า โดยใช้ วั สดุ ต่างๆ เพื่อท�ำให้เกิดลาย แล้วน�ำไปต้มใน น�้ำสี (วิทยากรเตรียมมาให้แล้ว) ซึ่งเป็นสี ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ใบมังคุด แก่นขนุน ใบสาบเสือ ใบขี้เหล็ก ขมิ้น เป็นต้น ต้มจน สีติดเนื้อผ้า (๓๐ นาที) น�ำไปแช่น�้ำขี้เถ้า ๑๐ นาที เพื่อความคงทนติดทนนานของ สี น� ำ ไปซั ก ตากให้ แ ห้ ง และผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิจกรรมจะได้ผลงานกลับไป เมื่ อ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมท� ำ ขั้ น ตอน ต่ า งๆ เสร็ จ แล้ ว วิ ท ยากรศู น ย์ วิ ท ย์ ฯ ร่ ว มกั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมอภิ ป รายและ ตอบค� ำ ถามหลั ก การทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เกี่ยวข้องกับการท�ำผ้ามัดย้อม เช่น การ สกัดสีจากพืช อุณหภูมิ ค่า pH ของน�้ำสี สารเคมี และสรุปกิจกรรม ยั ง มี อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมในกลุ ่ ม ฝี ไ ม้ ลายมื อ ค่ ะ ฉบั บ หน้ า เรามาติ ด ตามกั น นะคะ
๑,๔๕๓,๒๐๐ บาท ค่าซ่อมแซม/สิ่งก่อสร้าง ๑,๔๗๗,๒๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๓,๐๗๒,๙๐๐ บาท ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖ จั ด สรรให้ โรงเรี ย น รุ ่ น ที่ ๑, ๒, ๓, ๔ จ� ำ นวน ๑๕ โรงเรียน เป็นงบด�ำเนินการ ๑,๒๘๐,๐๐๐ บาท งบลงทุ น ค่ า ครุ ภั ณ ฑ์ ๒,๔๐๐,๐๐๐ บาท ค่าซ่อมแซม/สิ่งก่อสร้าง ๒,๔๘๘,๘๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๖,๑๖๘,๘๐๐ บาท ๓. ก�ำหนดการประเมินโรงเรียนดีศรี ต�ำบล ครั้งที่ ๑ ประเมินโรงเรียนรุ่นที่ ๑, ๒, ๓ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
๕. จัดหาป้ายรับรองโรงเรียนดีศรีต�ำบล ต้นแบบ และโล่เชิดชูเกียรติ ให้กับโรงเรียนที่ ผ่านการประเมิน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ ได้ด�ำเนิน การ ดังนี้ ๑. ประสานงาน สพฐ. หน่วยฝึกอบรม และโรงเรียนเพื่อให้ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ครู ผู้น�ำชุมชน และ พระสงฆ์ เข้ารับการอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติธรรม ๒. จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียน ตาม ที่โรงเรียนของบประมาณในแต่ละปี ๓. นิเทศ ติดตาม และประชุมผู้บริหาร โรงเรียนและครู เพื่อสร้างความเข้าใจ เกี่ยว กับการประเมิน ๔. ด� ำ เนิ น การประเมิ น ตามปฏิ ทิ น ที่ ก�ำหนดวันละ ๒ โรงเรียน ได้แบ่งหน้าที่เป็นผู้ ประเมินดังนี้ คือ ด้านปัจจัยให้รองฯ ผอ.เขต และผอ.โรงเรียน ด้านกระบวนการ (วิชาการ) และด้านผลผลิต ให้ศึกษานิเทศก์ ส่วนด้าน กระบวนการ (คุณธรรม) ให้คณะสงฆ์ และ
กิ
จกรรมกลุ ่ ม ที่ ส ามจะเป็ น การเรี ย น รู ้ แ บบผสมผสานระหว่ า งศิ ล ปะพื้ น บ้านแดนใต้และอธิบายด้วยหลักการทาง วิ ท ยาศาสตร์ เราเรี ย กกลุ ่ ม นี้ ว ่ า “ฝี ไ ม้ ลายมือ” ค่ะ ฉบับนี้แนะน�ำกันสองกิจกรรม ก่อนนะคะ เส้นสายลายเทียน เป็นกิจกรรมที่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องอธิบายถึงสมบัติ ของสารเกี่ยวกับจุดเดือด จุดหลอมเหลว รวมทั้ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งาน อุ ณ หภู มิ กั บ การเปลี่ ย นสถานะของสาร การละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารที่ ใช้ในการท�ำผ้าบาติก วิทยากรในการท�ำผ้าบาติก จะเป็น ผู ้ ป ระกอบการในการท� ำ ผ้ า บาติ ก (นโม บาติ ก ) โดยเป็ น ผู ้ บ รรยายความเป็ น มา ของผ้าบาติก ขั้นตอน วิธีการ ตลอดจน ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ เ รี ย นระหว่ า งการท� ำ ผ้ า บา ติก เมื่อวิทยากรบรรยายเสร็จ ผู้เข้าร่วม กิจกรรมจะได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเองใน
และตอบค�ำถามหลักการทางวิทยาศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท� ำ ผ้ า บาติ ก เช่ น การ เปลี่ ย นสถานะของเที ย น จุ ด เดื อ ด จุ ด หลอมเหลว อุ ณ หภู มิ สารเคมี และสรุ ป กิจกรรม
ณรงค์ หิตโกเมท
หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ได้ด�ำเนินการ ดังนี้ ๑. ได้จัดอบรม สัมมนา เชิงปฏิบัติ ธรรมแก่บุคลากรจาก บ้าน วัด โรงเรียน ทั้ง ๕๔ โรงเรียน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติเกี่ยวกับ การ ท�ำวัตรเช้า ท�ำวัตรเย็น ศาสตร์แห่งสมาธิ กฎแห่ ง กรรม ฐานกิ จ กรรม ๕ ห้ อ งชี วิ ต การปลูกฝังศีลธรรม กิจกรรมกลุ่ม และการ สร้างคน สร้างชาติ สร้างศีลธรรม เตรียม พร้ อ มสู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ใน ปลายปี ๒๕๕๘ ๒. จัดสรรงบประมาณในการพัฒนา บุ ค ลากร และพั ฒ นาโรงเรี ย นทุ ก ปี เช่ น ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ จัดสรรให้โรงเรียน บ้ า นปากเชี ย ร ๑๔ ล้ า น ปี ง บประมาณ ๒๕๕๕ จั ด สรรให้ โ รงเรี ย นรุ ่ น ที่ ๑, ๒, ๓ จ�ำนวน ๗ โรงเรียนเป็นงบด�ำเนินการ ๑๔๒,๕๐๐ บาท งบลงทุ น ค่ า ครุ ภั ณ ฑ์
ครั้งที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๗ มิถุนายน ถึง ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ พร้ อ มทั้ ง แต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการประเมิน ชุดที่ ๕๘ มี ๓ ฝ่าย คือ ฝ่ายคณะสงฆ์ ๒ รูป ฝ่าย สพฐ. ๔ คน และ ฝ่ายสนับสนุนภาคชุมชน ๒ คน โดย รองฯ ประเสริฐ คงช่วย เป็นประธาน ๔. ให้ แ นวทางการประเมิ น โรงเรี ย น ดีศรีต�ำบล ซึ่งประกอบด้วย ๔ ด้าน คือ ด้าน ปั จ จั ย ด้ า นกระบวนการ(วิ ช าการ) ด้ า น กระบวนการ(คุณธรรม) และด้านผลผลิต ซึ่ง แต่ละด้านมีตัวบ่งชี้ ๗ ตัว คือ ๗ : ๗ : ๗ : ๗
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช หน้า
อาจารย์แก้ว
ฉ
บั บ นี้ ผู ้ เ ขี ย นจะกล่ า วถึ ง เทคโนโลยี การติดต่อสื่อสารแบบไร้สายที่หลาย ท่ า นคุ ้ น เคยเป็ น อย่ า งดี แต่ ยั ง มี ข ้ อ ถก เถียงกันในหลายวงสนทนาว่าแท้จริงแล้ว เรียกแบบไหนถึงจะถูกต้องและไม่ตกยุค ไม่เอาท์ ไม่เชย ก็ว่ากันไปตามสมัยนิยม เทคโนโลยีที่จะกล่าวถึงในวันนี้คือ WIRELESS และ WI-FI ทั้งสองจะมีความหมาย และแตกต่างกันอย่างไร ติดตามอ่านกัน เลยครับ WIRELESS & WI-FI ระบบเครื อ ข่ า ยไร้ ส าย (WIRELESS LAN : WLAN) หมายถึงเทคโนโลยีที่ช่วย ให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ๒ เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่อง คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถสื่ อ สารกั น ได้ รวม ถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้ ว ยเช่ น กั น โดยปราศจากการใช้ ส าย สัญญาณในการเชื่อมต่อ แต่จะใช้คลื่นวิทยุ เป็ น ช่ อ งทางการสื่ อ สารแทน การรั บ ส่ ง
ข้อมูลระหว่างกันจะผ่านอากาศ ท�ำให้ไม่ ต้องเดินสายสัญญาณ และสามารถติดตั้ง ใช้งานได้สะดวกขึ้น ระบบเครื อ ข่ า ยไร้ ส าย ใช้ ค ลื่ น แม่ เหล็กไฟฟ้าผ่านอากาศ เพื่อรับส่งข้อมูล ข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ ระหว่ า งเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ กั บ อุ ป กรณ์ เครือข่าย โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้อาจ เป็นคลื่นวิทยุ (RADIO) หรืออินฟาเรด (INFRARED) ก็ได้ การสื่อสารผ่านเครือข่าย ไร้ ส ายมี ม าตราฐาน IEEE๘๐๒.๑๑ เป็ น มาตราฐานก�ำหนดรูปแบบการสื่อสาร ซึ่ง มาตราฐานแต่ ล ะตั ว จะบอกถึ ง ความเร็ ว และคลื่ น ความถี่ สั ญ ญาณที่ แ ตกต่ า งกั น ใน การสื่อสารข้อมูล เช่น ๘๐๒.๑๑B และ ๘๐๒.๑๑G ที่ ค วามเร็ ว ๑๑ MBPS และ ๕๔ MBPS ตามล�ำดับ และขอบเขตของ สัญญาณคลอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๑๐๐ เมตรในพื้นที่โล่งและประมาณ ๓๐ เมตร ในอาคาร ซึ่งระยะทางของสัญญาณมีผลก ระทบจากสิ่งรอบข้างหลายๆ อย่าง เช่น
ฝ่ายสนับสนุนในภาคชุมชนเป็นผู้ประเมิน วิธี การประเมิน โดยการสัมภาษณ์นักเรียน ครู กรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ดูสภาพ จริงของโรงเรียน การทดสอบ การปฏิบัติจริง และการศึกษาเอกสาร แล้วน�ำมาตัดสินผล ตามตัวบ่งชี้ ซึ่งในแต่ละตัวบ่งชี้มี ๖ รายการ ผลการตัดสินต้องผ่าน ๔ ใน ๖ รายการ และ ในแต่ละด้าน ต้องผ่าน ๕ ใน ๗ ตัวบ่งชี้ จึง ตัดสินว่า ผ่านด้านนั้นๆ หลังจากนั้น คณะ กรรมการต้องมาประชุมร่วมกันเพื่อสรุปผล การตัดสิน เป็น ๔ กรณี คือ ๑. ผ่านอย่างไม่มี เงื่อนไข คือ ผ่านครบทั้ง ๒๘ ตัวบ่งชี้ ๒. ผ่าน อย่างมีเงื่อนไข คือ ผ่านไม่ครบทุกตัวบ่งชี้ แต่ ผ่านทุกด้าน ๓. ไม่ผ่านแต่มีเงื่อนไข คือ ไม่ ผ่าน ๑ ด้าน ให้ประเมินเฉพาะด้านที่ไม่ผ่าน ในการประเมินครั้งต่อไป ๔. ไม่ผ่าน คือ ไม่ ผ่าน ๑-๒ ด้าน ให้ประเมินใหม่ในทุกรายการ ในการประเมินครั้งต่อไป ๕. หลังเสร็จสิ้นการประเมิน โรงเรียน จัดประชุมนักเรียน คณะครู และชุมชน เพื่อ ประกาศผลแล้วมอบป้ายรับรอง และโล่เชิดชู เกียรติ ให้โรงเรียนที่ผ่านการประเมิน พร้อม ทั้งมอบแบบบันทึกผลการประเมินโรงเรียนดี ศรีต�ำบลด้วย ท่ า นผู ้ อ ่ า นที่ เ คารพครั บ อั น ที่ จ ริ ง สพฐ. ในฐานะหน่ ว ยงานบั ง คั บ บั ญ ชาใน กระทรวงศึกษาธิการพยายามอย่างยิ่งในการ จัดการศึกษาให้ถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อพัฒนา
คุณภาพนักเรียน กล่าวคือ ให้นักเรียนเป็น คนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความ สุข จึงใช้โครงการต่างๆ ในการขับเคลื่อน กลยุทธ์ของ สพฐ. ซึ่งผู้เขียนเองอยากให้ สพฐ. ก�ำหนดเป้าหมาย วิธีการ แล้วจัดสรร งบประมาณที่มุ่งเน้นให้ถึงนักเรียนให้มาก ที่สุด ผลงานที่เกิดขึ้นน่าจะออกมาดี และ ตอบสนองกลยุทธ์ได้ โครงการโรงเรียนดีศรี ต�ำบลเป็นโครงการหนึ่งที่ส่งผลถึงกลุ่มเป้า หมายอย่างแท้จริง ได้พัฒนาโรงเรียนด้าน สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ การจัดการเรียนรู้ การปลูกฝังนิสัยนักเรียนโดยการฝึกความมี วินัย ผ่านกิจกรรม ๕ ห้องชีวิต ฝึกการแสดง ความเคารพ ฝึกความอดทน และฝึกนิสัย ผ่านกิจกรรมชีวิตจริง ๖ มิติ จากการมีส่วน ร่วมของ “บวร” / “บรม” คือ ฝึกการเรียน รู้ธรรมะ ฝึกการรักษาศีล ๕ การฟังธรรม การสวดมนต์ การนั่งสมาธิ ฝึกการคบมิตร การเป็นผู้น�ำ ผู้ตาม การท�ำงานเป็นทีม ฝึก การรักษาความสะอาดร่างกายของตนเอง ดูแลสถานที่ที่บ้าน โรงเรียนให้สะอาด เป็น ระเบียบ ดูสวยงาม ฝึกการท�ำงานสุจริต และการหารายได้ ร ะหว่ า งเรี ย น ฝึ ก ออก ก�ำลังกาย ฝึกยืน เดิน นั่ง นอน ด้วย อิริยาบถที่ถูกต้อง เหมาะสม ที่กล่าวมานี้ เป็นประเด็นในการสร้างนักเรียนให้เป็นคน ดีนะครับ พบกันใหม่ฉบับหน้า
โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ความหนาของก� ำ แพง เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ค ส์ ต่างๆ รวมถึงร่างกายมนุษย์ด้วยเช่นกัน สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบต่อการใช้งานเครือ ข่ายไร้สายทั้งสิ้น การเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยไร้ ส ายมี ๒ รู ป แบบ คื อ แบบ AD-HOC และ INFRA STRUCTURE การใช้ ง านเครื อ ข่ า ย ไร้สายของผู้ใช้บริการทั่วไปจะเป็นแบบ INFRASTRUCTURE คือมีอุปกรณ์กระจาย สั ญ ญาณ (ACCESS POINT) ของผู ้ ใ ห้ บริการเป็นผู้ติดตั้งและกระจายสัญญาณ ให้ ผู ้ ใ ช้ ท� ำ การเชื่ อ มต่ อ โดยผู ้ ใ ช้ บ ริ ก าร จะต้ อ งมี อุ ป กรณ์ รั บ ส่ ง สั ญ ญาณเรี ย ก ว่า “การ์ดแลนไร้สาย” หรือชนิดใหม่จะ ท�ำมาเป็นชนิด USB เรียกว่า WIRELESS USB (รูปร่างเหมือน THUMB DRIVE หรือ FLASH DRIVE หรือ HANDY DRIVE) เป็น อุ ป กรณ์ รั บ ส่ ง สั ญ ญาณ ท� ำ หน้ า ที่ รั บ ส่ ง สัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ไป ACCESS POINT ของผู้ให้บริการ สรุ ป ก็ คื อ การเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยไร้ สาย เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายของเครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบเครือข่าย เหมือน กับระบบแลน (LAN) ที่ใช้สายปกติ แตก ต่างที่อุปกรณ์ทางกายภาพในการเชื่อมต่อ เครือข่ายไม่ต้องใช้สายสัญญาณแต่อย่าง ใด โดยการใช้งานเครือข่ายไร้สายสามารถ ใช้บริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ เ หมื อ นเครื อ ข่ า ยมี ส ายได้ ป กติ เว้ น แต่ว่าผู้ดูแลระบบเครือข่ายนั้นๆ จะปิด บริการบางบริการเพื่อความปลอดภัยของ เครือข่ายได้เช่นกัน ซึ่งการเชื่อมต่อเครือ ข่ า ยไร้ ส ายช่ ว ยให้ ก ารเชื่ อ มต่ อ ง่ า ยขึ้ น ประหยัดค่าสายสัญญาณและใช้งานได้ทุก ที่ ที่มีสัญญาณเครือข่ายไร้สายไปถึง WI-FI ( ย่ อ มาจาก WIRELESS FIDELITY) ก็ คื อ องค์ ก รหนึ่ ง ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ทดสอบผลิตภัณฑ์ WIRELESS LAN หรือ ระบบ NETWORK แบบไร้สายภายใต้เทคโนโลยีการสื่อสาร ภายใต้มาตราฐาน IEEE ๘๐๒.๑๑ ว่ า อุ ป กรณ์ ทุ ก ตั ว ซึ่ ง ต่ า งยี่ ห ้ อ กันนั้นมันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดย ไม่มีปัญหา หากว่าอุปกรณ์ตัวนั้นผ่านตาม มาตราฐานเขาก็จะปั๊ม ตรา WI-FI CERTIFIED ซึ่ ง เป็ น อั น รู ้ กั น ว่ า อุ ป กรณ์ ชิ้ น นั้ น สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ตัวอื่น ที่ มีตรา WI-FI CERTIFIED นี้ได้เช่นกัน แต่ ท�ำไปท�ำมามันกลายเป็นค�ำศัพท์ส�ำหรับ
๑๕
อุปกรณ์ LAN ไร้สายไปโดยปริยาย จน บางคนก็เรียกกันจนติดปาก WIRELESS คื อ ลั ก ษณะของการใช้ งานอุ ป กรณ์ ด ้ า นสื่ อ สารโทรคมนาคม แปลตรงตัวว่าไร้สาย ฉะนั้นอุปกรณ์อะไร ก็ ต ามที่ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น โดยไม่ ใ ช้ ส าย สัญญาณถือว่าอุปกรณ์นั้นเป็น WIRELESS เหมื อ นกั น เพราะฉะนั้ น จะเรี ย กอะไรก็ เหมือนๆ กันครับไม่ผิด WIRELESS หรือ WI-FI ก็ได้ครับ ลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ WI-FI ได้ก�ำหนดลักษณะการเชื่อมต่อ ของอุปกรณ์ภายในเครือข่าย WLAN ไว้ ๒ ลักษณะคือโหมด INFRASTRUCTURE และโหมด AD-HOC หรือ PEER-TO-PEER โหมด INFRASTRUCTURE โดยทั่ ว ไปแล้ ว อุ ป กรณ์ ใ นเครื อ ข่ า ย WI-FI จะเชื่ อ มต่ อ กั น ในลั ก ษณะของ โหมด INFRASTRUCTURE ซึ่งเป็นโหมด ที่ อ นุ ญ าตให้ อุ ป กรณ์ ภ ายใน WLAN สามารถเชื่ อ มต่ อ กั บ เครื อ ข่ า ยอื่ น ได้ ใน โหมด INFRASTRUCTURE นี้จะประกอบ ไปด้วยอุปกรณ์ ๒ ประเภทได้แก่ สถานี ผู้ใช้ (CLIENT STATION) ซึ่งก็คืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ (DESKTOP, LAPTOP, หรือ PDA) ที่มีอุปกรณ์ CLIENT ADAPTER เพื่อ ใช้รับส่งข้อมูลผ่าน WI-FI และสถานีแม่ ข่าย (ACCESS POINT) ซึ่งท�ำหน้าที่ต่อ เชื่อมสถานีผู้ใช้เข้ากับเครือข่ายอื่น (ซึ่ง โดยปกติจะเป็นเครือข่าย IEEE ๘๐๒.๓ ETHERNET LAN) การท� ำ งานในโหมด INFRASTRUCTURE มี พื้ น ฐานมาจาก ระบบเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ กล่าวคือ สถานีผู้ใช้จะสามารถรับส่งข้อมูลโดยตรง กับสถานีแม่ข่ายที่ให้บริการ แก่สถานีผู้ ใช้นั้นอยู่เท่านั้น ส่วนสถานีแม่ข่ายจะท�ำ หน้าที่ส่งต่อ (FORWARD) ข้อมูลที่ได้รับ จากสถานี ผู ้ ใ ช้ ไ ปยั ง จุ ด หมายปลายทาง หรือส่งต่อข้อมูลที่ได้ รับจากเครือข่ายอื่น มายังสถานีผู้ใช้ โหมด AD-HOC หรือ PEER-TO-PEER เครือ ข่าย WI-FI ในโหมด AD-HOC หรือ PEER-TO-PEER เป็นเครือข่ายที่ปิด คื อ ไม่ มี ส ถานี แ ม่ ข ่ า ยและไม่ มี ก ารเชื่ อ ม ต่อกับเครือข่ายอื่น บริเวณของเครือข่าย WI-FI ในโหมด AD-HOC จะถูกเรียกว่า INDEPENDENT BASIC SERVICE SET (IBSS) ซึ่ ง สถานี ผู ้ ใ ช้ ห นึ่ ง สามารถติ ด ต่ อ
สื่ อ สารข้ อ มู ล กั บ สถานี ผู ้ ใ ช้ อื่ น ๆ ในเขต IBSS เดียวกันได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่าน สถานีแม่ข่าย แต่สถานีผู้ใช้จะไม่สามารถ รับส่งข้อมูลกับเครือข่ายอื่นๆ ได้ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว
หน้า ๑๖
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
Tarzanboy
อ้าๆ พอได้นอนบ้านก็ตื่นสายกันเชียว นะนั ก เรี ย น เตรี ย มตั ว เคารพแล้ ว เข้ า ห้องเรียนได้แล้ว” ผมง่วนอยู่กับการก่อไฟต้ม น�้ำร้อน นั่นส�ำหรับกาแฟยามเช้าและการหุง หาอาหาร นักเรียนของผมเพิ่งจะผงกหัวลุกขึ้น มานั่นท�ำตาแป๋วอยู่บนเปล “อ้ า ว นี่ วั น หยุ ด รึ เ ปล่ า คุ ณ ครู ไม่ ต ้ อ ง ไปโรงเรียนนะ แม่บอกว่าให้นอนอยู่บ้านให้ สบาย เย้ ! บ้านนี้สบายจริงๆ” เหมือนเหล่า เธอจะพักผ่อนและฝันดีอย่างเป็นสุข ถึงได้ตื่น ขึ้นมาซะสายโด่งและเถียงค�ำไม่ตกฟากอย่าง ทะเล้น บรรยากาศคืนที่ผ่านมาปลอดโปร่ง มาก แม้ยามอยู่ในป่าเราต้องจัดเวรยามนั่งทั้ง คืนส�ำหรับบริเวณนี้ เราเพียงก่อไฟสุมขอนไว้ เท่านั้น ทุกอย่างดูเป็นมิตรและยินดีต้อนรับผู้
“อืม ห้างดูสัตว์น่ะ เราต้องทื้งระยะไว้สัก นิดนะ นั่นเพราะการที่เราเข้ามาอยู่บริเวณนั้นก็ ไม่พ้นสายตาสัตว์ป่าหรือการรับรู้ของมันหรอก อีกอย่างเวลาเราตัดไม้ท�ำลูกห้างก็ต้องไปตัด ไกลๆ หน่อย กลิ่นยางไม้กลิ่นแปลกปลอมพวก นี้ ไม่พ้นจมูกสัตว์ป่าหรอก โอกาสจะเจอมันจึง มีน้อยมาก แถบนี้มีช้างป่าด้วย เดี๋ยวเอ๊กซ์เลือก ห้างที่สูงหน่อยนะ ต้องสี่เมตรขึ้นไป ให้พ้นจมูก ยาวๆ ของท่านขุนหน่อย” “แล้ ว เราต้ อ งนั่ ง ทั้ ง คื น เลยมั้ ย ครู ” บรรยากาศของกาแฟริมกองไฟยามเช้าช่วยให้ สมองปลอดโปร่งดีขึ้น ผมจึงเปิดแลคเชอร์เรื่อง
มาเยือนอย่างอบอุ่น “นกเยอะจังเนอะ แหมปลุกกันสนั่นป่า เลยเชียว” “นั่ น แหละ สั ญ ญาณรหั ส ป่ า ที่ บ อกว่ า ปลอดภัยดี หรือยอมรับเราน่ะ ถ้าป่าอันตราย นกหรือจั๊กจั่นไม่ร้องทักกันเลยล่ะ แถบนี้ไม่มี อะไรปลอดภัยดี สบายใจได้” ผมอธิบายความ “แล้ววันนี้เราเรียนอะไรกันมั้ยครู...เออ ไหนว่าจะสอนสุดยอดวิชาพรานให้ไง เอาคืนนี้ เลยมั้ย” สองสาววัยซนปรึกษาทั้งๆ ที่หน้ายัง ไม่ล้างและนั่งแกว่งไกวอยู่บนเปล “อืม ...แน่ใจนะว่าจะ นั่งห้างได้” ผม ย้ อ นถามอย่ า งชั่ ง ใจ แม้ รู ้ ว ่ า เธอทั้ ง สองนั้ น
พร้อมแล้วส�ำหรับวิชานี้ “พร้อม!!” การนั่งห้างถือว่าเป็นที่สุดของการเรียน รู้วิชาพราน ซึ่งต้องคนที่พร้อมจริงๆ เท่านั้น ถึงจะสามารถถ่ายทอดบทเรียนเหล่านี้ให้ได้ เพราะนั่นหมายถึง การเสี่ยงอันตรายชนิดสุด ยอด สติและประสาทสัมผัสของคนผู้นั้นต้องดี เยี่ยม การที่เราต้องนั่งซุ่มอยู่บนต้นไม้สูงทั้งคืน เป้าหมายส�ำหรับพรานป่าคือ การเป็นผู้ล่า เขา จึงจ�ำเป็นต้องพรางตัวให้แนบเนียน ตาหูต้องไว และรู้หลักการของเผชิญอันตรายชนิดนี้ดี แต่ ส�ำหรับนักเรียนรหัสป่านั้น แม้เราจะไม่ได้เป็น ผู้ล่า แต่ทว่าวิธีการย่อมไม่ต่างกัน “เอาล่ะ วันนี้ให้ครูเอ๊กซ์น�ำไปสร้างห้าง ริมโป่งสัตว์ก่อน แล้วคืนพรุ่งนี้เราค่อยไปนั่ง กัน” “แล้วนั่งคืนนี้ไม่ได้เหรอครู”
การนั่งห้างอย่างละเอียดละออ “นี่นะ หลักของการนั่งห้างกลางป่าลึก น่ะมีอยู่หลายอย่าง เช่นว่า เราต้องเลือกท�ำเลที่ ดีให้ได้ก่อน เช่น ริมโป่งสัตว์ที่ยังสมบูรณ์อยู่ คือ ดูจากร่องรอยที่มันมาขุดคุ้ยกินดินโป่งกัน หรือ ดูจากบริเวณที่มีผลไม้ป่าสุกและหล่นเกลื่อน กราดใต้โคนต้น สัตว์จ�ำพวกหมูป่า สมเสร็จ เก้งกวางก็จะมาลงกิน ต้นไม้ที่เราเลือกผูกห้าง ต้องแข็งแรงไม่โอนไหวหรือโยกเยก เราอาจจะ เลือกมัดห้างติดตับต้นไม้หลายต้น เพื่อความ แข็งแรงก็ได้ ...” “....วิธีตัดไม้ท�ำลูกห้างก็อย่างที่บอก เรา ต้องไปตัดไกลๆ ให้กลิ่นมันพ้นจมูกของสัตว์ ป่า ไม่ลากไม้นั่นมา แต่ต้องแบกมานะ เพราะ มันจะเกิดรอยบนพื้นดิน เลือกไม้ขนาดเท่า ท่อนแขน ยาวสักเมตรกว่าๆ คือเราจะมัดเป็น เหมือนแคร่ไม้อยู่บนต้นไม้สูงน่ะ เชือกที่ใช้มันก็ ต้องเป็นเถาวัลย์หรือหวายจากป่าแถบนี้แหละ จะได้ไม่ผิดกลิ่น ส� ำหรับรอบนี้เราคงต้องมัด ห้างให้ใหญ่หน่อยละ เผื่อไว้ส�ำหรับการนั่งทั้ง สี่คน..” “อ้าว ...เราไม่แยกกันนั่งเหรอครู เห็น เขาว่ากันว่าต้องนั่งคนเดียว” “ก็ใช่นะ ..แต่นั่นส�ำหรับพรานป่าตัวจริง นะ เราน่ะแค่มาฝึกมาเรียนรู้เท่านั้น ไม่ได้ตั้งใจ มาล่าสัตว์ อีกอย่างถ้าปล่อยให้นั่งคนเดียวทั้ง คืนน่ะ กล้ารึเปล่า แน่ใจนะว่าจะไม่กระโดด ห้างลงมาแข้งขาหัก..หึ ๆ” ประโยคทิ้งท้ายของ ผมท�ำให้สาวๆ หันไปมองหน้ากันอย่างงุนงง “อ้าวท�ำไมล่ะ มันน่ากลัวใช่มั้ย เออ ครู เห็นเขาเล่ากันว่า การนั่งห้างริมโป่งนี่สยองจริง เหรอ มันมีอะไรเหรอ” “อืม ..อยากฟังเรื่องจริงหรือเรื่องโกหก
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๗
เป็นปรากฏการณ์ที่แทบจะไม่ค่อยได้เกิดขึ้นบ่อยนักส�ำหรับเมืองนครของเรา ที่ทุก คนร่วมมือกันแสดงออกที่จะสนับสนุนการรื้อฟื้นคืนรอยของบรรยากาศ “นครแต่แรก” มา อย่างพร้อมเพรียงเช่นนี้ แต่งตัวย้อนยุคแบบง่าย ๆ ไปเที่ยวงาน “นครแห่งหัตถศิลป์ เยือนถิ่นลิกอร์” วันที่ ๕-๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สวนพระศรีธรรมโศกราช กันน่ะครับ
อ ว เห น ั ก ฯ ี ร ศ น ว ส ว ย ่ ี เท ป ไปเหวอ แต่งตัวย้อนยุคไ
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
ในนิยายเล่ม ๕ บาทล่ะ” ผมได้แต่พูดยิ้มๆ ในสิ่งที่อธิบาย ยากนั้น “เรื่องจริงดิ !!” สองสาวเหมือนจะตอบพร้อมกันจน กลายเป็นตะโกน “อืม...คืออย่างนี้นะ ต้องเกริ่นก่อนว่า มันเป็นความ เชื่อหรือเป็นเรื่องเฉพาะตัวบุคคลน่ะ เช่นว่า บางคนนั่ง ห้างริมโป่งอย่างที่เขาว่าแล้วพอดีกับได้ยินเรื่องราวในวง เหล้าหรือร้านน�้ำชามาประมาณนั้น บวกกับตัวเองอาจ จะไม่ได้เป็นคนสติมั่นคงอยู่แล้ว เกิดหูฝาด ตาลาย เห็น นั่นนี่ ..ก็ประมาณเห็นผีป่าผีโป่งนั่นแหละ ก็จินตนาการ กันไป ตกใจตามนั้นตกห้างแข้งขาหักหรือถึงตายก็มี หรือ บางคนก็สติดีเนี่ยะแหละ เจอสัตว์เข้าใต้ห้างพอส่องไฟก็ เห็นเป็นหน้าคนรู้จักก็ตกใจตาเหลือกก็เยอะ หรือบางคน เกิดทะเล่อทะล่าเดินเข้าไปใต้ห้างที่เพื่อนนั่งอยู่กลางคืน ก็ เจอส่องด้วยปืนเข้าเต็มๆ แบบนี้แหละ .เรื่องจริงเรื่องเท็จ เรื่องตาลายตาลวงนี่ ต้องใช้สติแก้นะ ...เชื่อเรื่องเจ้าที่เจ้า ทาง เจ้าป่าเจ้าเขากันบ้างมั้ยล่ะ” ผมย้อนถาม “เชื่อ!! “งั้นก็ดีแล้ว ไม่ได้ให้งมงายอะไร แต่หากเราเชื่อ สิ่งเหล่านี้นั่นก็เหมือนเป็นประตูที่จะท�ำให้เราเข้าสู่ป่า เข้าสู่ความกลมกลืน เป็นพวกเดียวกับป่าน่ะ จะไม่เชื่อ ก็ได้ เพียงแต่อย่าไปลบหลู่ เพราะหากขัดแย้ง เราอาจ จะประมาทเลินเล่อเห็นผิดเป็นถูก เห็นคนเป็นผีไปซะงั้น พรานเก่าแก่เลยเตือนนักเตือนหนาว่า การนั่งห้างกลาง คืนน่ะ แม้ต้องระวังสัตว์ป่าให้มาก แต่ต้องระวังความคิด ตัวเองให้มากกว่า” “แล้วตกลง มีผีโป่งมั้ย” สองสาวเหมือนจะสงสัยใน กรณีเดียวกัน “ฮ่าๆ รอดูคืนนี้มั้ย ค�ำตอบอยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลนี่เอง” ผมย้อนตอบทีเล่นทีจริง “โธ่ ครู ตอบงี้อีกแล้วให้ลองเองทุกที” เด็กๆ เริ่ม งอแงอยากฟังนิทานมากกว่าเรื่องจริงที่ต้องค้นหาเอง “ก็นี่ไง เราไปนั่งพร้อมกันทั้งหมดเลย แล้วเรามา ลองดูกันว่า เวลาส่องไฟจะพบหน้าใครข้างล่างนั่นมั้ย หรืออยู่ด้วยกันบนห้างอย่างพร้อมหน้า จะได้ไม่หูฝาดตอน ใครมายืนเรียกอยู่ใต้ห้าง !!” “???!!!” ผมลุกขึ้นเดินทอดน่องไปริมล�ำธาร จิบ กาแฟพร้ อ มทั ก ทายหมู่น กยามเช้าอย่างสบายอารมณ์ ปล่อยให้สาวๆ เกาหัวแกรกๆ วิเคราะห์นิทานกับเรื่องจริง กันอยู่ริมกองไฟ ครับ เป็นจริงอยู่เรื่องหนึ่งส�ำหรับกรณีการนั่งห้าง กลางป่า ท่ามกลางความมืดสนิท เงียบสงัดและวังเวง จับจิต สิ่งที่พรานป่าต้องระวังอย่างที่สุดนั่นคือ ...ความคิด ของตนเอง !!
๑
๓
๒ ๔
๕
๑. น้อ งที่น่า รักจากวิทยาลัยเทคนิค นคร ๒. คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ น�ำโดย ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร อธิการบดี (ถ่า ยโดย นาวิน เนาวพงศ์ ) ๓. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ กับชุด มุสลิมแบบง่า ยๆ นุ่งใส่ใ นชีวิต ประจ�ำวันได้สบายๆ ๔. น้อ งน้องผู้อ ยู่เ บื้องหลังงาน ๕. กลุ่มช่า งภาพนครศรีฯ
หน้า ๑๘
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
นภสร มีบุญ
คิ
ดถึ ง เขา ..ก็ ไ ปหาเขาเรื่ อ งราวของ ความคิดถึงก็คงมีแค่นี้จริงมั๊ยคะ เมื่อ ความคิดถึงออกอาการ โอลั่ลล้า ฉบับนี้ ..จึงขออาสาพาท่านผู้อ่านทุกท่านไปหา เขา เพื่อจะได้สานต่อความคิดถึง พาท่าน ผู้อ่านลัดเลาะกันไปตามเส้นทางสายหลัก นครศรีธรรมราช - ร่อนพิบูลย์ - ทุ่งสง ... ล้อหมุนออกจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช ตรงไปพร้อมกับความคิดถึงผ่านบรรยากาศสองข้างทางกับวันแดดเบาบาง สาย ลมยังคงพลิ้วผ่านทุ่งหญ้าข้างทางที่ยังคง มี ใ ห้ เ ห็ น ประปราย ความสุ ข มั ก เกิ ด ขึ้ น ได้ทุกครั้งในยามที่หัวใจเปล่าว่าง มอง สองข้ า งทางเห็ น สาวน้ อ ยหน้ า แฉล้ ม นั่ ง ขายปลาดุ ก ย่ า งและไข่ ป ิ ้ ง ท� ำ ให้ ก ารเดิ น ทางครั้ ง นี้ ห ายเหงาไปได้ เ ลย .. ขั บ ผ่ า น สามแยกสวนผั ก มุ ่ ง ตรงไปหาเขา .. ล้ อ หยุดสนิทกับความคิดถึงที่เต็มปรี่ หลาย
สิ บ ปี ก ่ อ นที่ เ คยได้ ผ ่ า นมา ความสวยที่ แน่ น หนั ก ของขุ น เขายั ง คงความงดงาม ให้นักเดินทางที่ผ่านมาได้ชื่นชมเสมอ .. “บ้านสวนช่องเขา” ที่ก่อเกิดมาถึงวันนี้ มีความร่มรื่น แลดูอบอุ่นชวนให้ผู้เดินทาง ได้เลี้ยวเข้ามาพักผ่อนได้อย่างไม่ต้องคิด อะไรมากมาย ท่ามกลางแมกไม้ใหญ่น้อย ที่ร่มรื่น ร้านกาแฟสดที่มีบรรยากาศน่า นั่ ง จากหลากหลายมุ ม พั ก ผ่ อ นที่ ต กแต่ ง อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติ ร้านอาหารที่ ดูสะอาดตา พร้อมเมนูอาหารละลานตา
น�้ำแก้วมังกร สเต็กปลาแซลมอน
ย�ำบ้านสวน
บอก ..อาหารแต่ละจานจัด ตกแต่ ง ด้ ว ยความรั ก และ ความใส่ ใ จดู ดี และน่ า กิ น ทุกจาน จริงๆ ค่ะ ย�ำบ้าน สวนอาหารจานแรกที่ได้ลิ้ม ลอง ความสดของปลาและ ความแซ่ บ ของน�้ ำ ย� ำ พั ก อาหารจานแซ่บหันกลับมา สลัดกุ้งผลไม้รวม ไก่เบตง หนังกรอบเนื้อนุ่ม ชิ ม ไก่ เ บตง หนั ง กรอบเนื้ อ ที่มีมาให้เลือกรวมไปถึงบ้านพักหลังเล็กๆ นุ ่ ม หวานทานพร้ อ มกั บ น�้ ำ จิ้ ม ขิ ง รสเด็ ด น่ารัก ที่เรียงรายท่ามกลางร่มไม้ และทาง ค่ อ ยๆ เคี้ ย วให้ ค วามอร่ อ ยได้ ท ยอยลง ลาดเนินเขาลดหลั่นกันลงไปอย่างสวยงาม ไปในกระเพาะ แล้ ว มาคั่ น รายการกั บ ลงตัว ห้องพักที่มีการตกแต่งเรียบง่าย แต่ กุ้งก้ามกรามตัวโตราดด้วยน�้ำสลัดผลไม้ ดูดีมีสไตล์ กับเครื่องปรับอากาศที่ฉ�่ำเย็น รวม อิ่ ม ค� ำ โตๆ เต็ ม แก้ ม เลยเชี ย ว ตาม ..ช่างน่าล้มตัวลงนอนจริงๆ ค่ะ มาติ ด ๆ ด้ ว ยข้ า วสเต็ ก ปลาแซลมอน มี โ อกาสได้ นั่ ง คุ ย กะเจ้ า ของร้ า นที่ จานนี้ทั้งสวยทั้งอร่อยครบสูตรตามหลัก น่ า รั ก “น้ อ งจุ ๊ (คุ ณ จุ ฑ าทิ พ ย์ และน้ อ ง โภชนาการ แล้วปิดท้ายด้วยน�้ำแก้วมังกร บ่าว คุณทวีศักดิ์ สุขยืน)” ถึงแรงบันดาล สี ส วย คุ ณ ภาพคั บ แก้ ว เล่ น เอานั ก ชิ ม ใจในการมาสร้างบ้านและกิจการบนเขา อย่างโอต้องพิงพนักเลยค่ะ สรุปได้ว่าอิ่ม แล้วก็ต้องทึ่งในความพยายามที่น่ารักของ จังตังค์อยู่ครบ .. เพราะวันนี้เจ้าของร้าน เจ้าของร้านทั้งคู่เลยทีเดียว เชฟที่นี่ก็ไม่ ที่น่ารักทั้งคู่ถึงกับปิดครัวต้อนรับกันเลยที น้อยหน้าโรงแรมห้าดาวนะคะขอกระซิบ เดียวค่ะ และเมื่ออาหารตรงหน้าสลายลง
ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
กับเจ้าของร้าน
หน้า ๑๙
บอกได้ เ ลยว่ า มา แล้วก็ต้องแอบกลับมาอีก ครั้งอย่างแน่นอนค่ะ
..ขอขอบคุ ณ ความ น่ า รั ก ของน้ อ งจุ ๊ แ ละน้ อ ง บ่าว เจ้าของที่น่ารัก ผู้จัดการใจดี-เชฟสันติภาพ รวม พนักงานบริการ ห้องพัก ถึ ง พนั ก งานที่ ค อยให้ ก าร กระเพาะไปในพริบตา ก็คงถึงเวลาที่จะ ประมาณ ๙ ไร่ การตกแต่งและออกแบบ สุ ข ภาพที่ ผ ่ า นการเลื อ กสรรวั ต ถุ ดิ บ ที่ ดี ต้อนรับทุกท่าน.. ต้องไปลั่ลล้าย่อยอาหาร เยี่ยมชมห้องพัก ท�ำตามความฝันทุกอย่างของเจ้าของ ที่นี่ ที่สุด โดยเน้นในเรื่องของการรับประทาน รับส่วนลดทันที ๑๐% ส�ำหรับแฟน ที่มีไว้บริการกันหน่อย ตามสโลแกนพอ เปิดบริการครั้งแรกในช่วงเดือนมกราคม อาหารตามธาตุเป็นจุดขาย ..เรียกว่าคุ้มค่า คลับของหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดค่ะ
หนังท้องตึงหนังตาก็เริ่มหย่อน หัวใจเลย สั่งการให้ลอยตัวกระโดดขึ้นเตียงนุ่มๆ รั บ ไออุ ่ น จากผ้ า ห่ ม หนาๆ แอร์ เ ย็ น ๆ พร้อมด้วยเสียงเพลงเบาๆ ..อือฮื้อ ชีวิต ช่ า งมี ค วามสุ ข เสี ย นี่ ก ระไร จากพื้ น ที่ ประมาณ ๑๗ ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่รีสอร์ท
๒๕๕๒ เน้ น การต้ อ นรั บ และดู แ ลลู ก ค้ า มากมายกับการลั่ลล้า มาถึงที่นี่ แบบอบอุ่น ส่วนเชฟก็มากด้วยประสบการณ์อยู่ ส�ำรองที่พักและเข้าใช้บริการทั้งส่วนตัว, จัดเลี้ยง, สัมมนาได้ที่ “บ้านสวนช่องเขา” กั บ เมนู อ าหารที่ ห ลากหลายของโรงแรม เลขที่ ๓๑๔/๑ ม.๘ ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ๘๐๑๓๐ เปิ ดบริการ ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น. โทร. ๐๘-๑๙๗๙-๑๓๔๔, ๐๘-๑๙๗๘-๒๑๒๐ ระดับห้าดาวมาเกือบครึ่งชีวิต นอกจากนี้ e-mail bansaun.chongkhao@facebook.com ยังภูมิใจน�ำเสนอเมนูอาหารส�ำหรับผู้ที่รัก
หน้า ๒๐
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๔ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
๒๕ สิ ง หาคม ๒๕๕๖ ณ วั ด ท่ า โพธิ์ ว รวิ ห าร ผู ้ เ คารพศรั ท ธาร่ ว มเชิ ด ชู เ กี ย รติ กวีเอกกรุงรัตนโกสินทร์ ท่านอังคาร กัลยาณพงศ์ ในวาระครบรอบ ๑ ปีการจากไป โดย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ปธ.สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครฯ เป็นประธาน กิจกรรมเสาวนา เรื่อง “ฅนนครฯ คิดถึงอังคาร” โดย สุธรรม ชยันต์เกียรติ, นพ.บัญชา พงษ์พานิช, รศ.ดร. สืบพงศ์ ธรรมชาติ และ บุญธรรม เทอดเกียรติชาติ, บุญเสริม แก้วพรหม ส�ำนักกวีน้อย อ่านกวีสดุดี พิธีบังสุกุลและบรรจุอัฐิ ร่วมกับบิดา มารดาและพี่สาว ณ ฐานใบเสมารอบ อุโบสถ วัดท่าโพธิ์ฯ มีประชาชน ครูอาจารย์ นักเรียน นักศึกษามาร่วมจ�ำนวนมาก
เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583