นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 63 เดือนมกราคม 2560

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม ๒๕๖๐

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง

หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

เทศบาลเมืองปากพนัง ร่วมกับ นสพ.รักบ้านเกิด จัดเสวนา ฟื้นฟูการท่องเที่ยวปากพนัง เชิญผู้มีประสบการณ์ระดม สมองหาหนทาง และวิธีพัฒนาการท่องเที่ยว วิทยากร ชีธ้ รรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี วิถชี มุ ชน การท่องเทีย่ ว ชุมชนจัดการ ก�ำลังได้รับความสนใจจากชาวไทยและ ชาวต่างชาติ

>> หน้า ๖

เมื่ อ วั น ที่ ๒๐ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๙ เทศบาลเมื อ ง ปากพนัง โดยนายกพิเชษฐ์ กล้าสุคนธ์ ร่วมกับ หนังสือพิมพ์ รั ก บ้ า นเกิ ด นครศรี ธ รรมราช โดยนายสาธิ ต รั ก กมล บรรณาธิการ ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเทีย่ ว 'ระดมสมอง เพือ่ ขับเคลือ่ นการท่องเทีย่ วปากพนัง' ณ หอประชุมเทศบาลเมืองปากพนัง โดยมีวิทยากร ผูม้ ปี ระสบการณ์มาแสดงความเห็น

>> อ่านรายงานหน้า ๑๑


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

ปี ๒๕๕๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชสวรรคต เป็นปีที่ชาวไทยและชาวนครศรีธรรมราชผ่านไปอย่าโศกเศร้าและยากล�ำบาก ช่วง เวลาผ่านร่วมสองเดือน ประชาชนยังเดินทางไปถวาย สักการะพระบรมศพ ณ พระบรมมหาราชวังอย่างไม่ ขาดสาย แสดงความเคารพเทิดทูนที่พสกนิกรมีต่อ พระองค์อย่างสูงสุด ความโศกเศร้าค่อยๆ คลายลง เพราะประชาชนยอมรับความจริงของทุกอย่างตามกฎ ไตรลักษณ์ เดือนธันวาคม ๒๕๕๙ ประชาชนชาวไทย ได้ชื่นชมพระบารมีของพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ที่ จะทรงน�ำไปประเทศไทยไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ชาวนครศรีธรรมราชได้แสดงความจงรักภักดีโดยจัด กิจกรรมถวายอาลัยต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอย่างพร้อมเพรียง นับแต่การ จุ ด เที ย นที่ โ ครงการพระราชด� ำ ริ ที่ อ� ำ เภอปากพนั ง สนามหน้าเมือง พิธีสวดมนต์ติดต่อกันในพระวิหาร หลวง วัดพระมหาธาตุฯ สถานศึกษาทั้งอุดมศึกษา มัธยม ประถมและอนุบาลจัดกิจกรรมถวาย สถานที่ ราชการและเอกชนจัดท�ำป้ายแสดงความอาลัยทุกที่ ศิลปินระดมสรรพความสามารถเขียนรูป 'ในหลวง' รัชกาลที่ ๙ ในพระราชอิริยาบทต่างๆ แสดงความ อาลัยและน�ำออกตั้งแสดงให้ประชาชนได้ร�ำลึกชื่นชม ประชาชนชาวนครร่วมมือร่วมใจอย่างแข็งขัน สวม ชุ ด ด� ำ ขาวหรื อ เสื้ อ ผ้ า สี ที่ ก ลมกลื น ไม่ ฉู ด ฉาดแสดง ความอาลัย ชาวนครอีกจ�ำนวนมากเดินทางไปถวาย อาลัยและเคารพพระบรมศพภายในพระบรมมหาราช วัง และยังถวายความรักความอาลัยจนกว่าชีวิตจะ หาไม่ พระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อชาวนครศรีธรรมราช มากมาย การเสด็จประพาสถึง ๑๖ ครั้งตลอดจน ความห่วงใยต่างๆ นานา เป็นที่จดจ�ำของชาวนครศรีธรรมราชอย่างสูงสุด ประชาชนชาวนครศรีธรรมราช ไม่มีวันลืมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ของพวกเขาอย่างแน่นอน

มื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ขณะที่ผมเริ่มท�ำงาน ก่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ แ ล้ ว พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระราชด�ำรัสวันเฉลิมฯ แก่ผู้เข้าเฝ้าถวายพระพรออกอากาศทั่วประเทศในตอน ท้ายเกือบสุดว่าอย่างนีท้ ขี่ นึ้ ต้นเป็นหัวเรือ่ ง ท�ำให้ผมตืน้ ตัน อย่างยิ่งที่พระเจ้าอยู่หัวห่วงใยมาถึงบ้านเกิดเมืองนอน อย่างจ�ำเพาะเจาะจง พร้อมกับคิดเอาเองว่าพระองค์ท่าน มีพระราชด�ำริอย่างไรในการที่ตรัสอย่างนั้น ยิ่งระลึกถึง ปฐมบรมราชโองการที่ว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” ซึ่งถึงทุกวันนี้ที่ สวรรคตแล้วและเป็นที่ประจักษ์แจ้งว่าทรงเป็น “ธรรม ราชา” อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า การที่พระองค์ทรงมีพระราช ด�ำรัสว่า “ไม่น่าเชื่อ” อาจจะเนื่องจากชื่อจังหวัดที่ระบุว่า “เป็นศรีสง่า” แห่ง “ธรรมราชา” นีเ่ อง แต่กลับ “ด้อยทีส่ ดุ จนทีส่ ดุ ” ไม่สมชือ่ ซึง่ เนือ่ งถึงพระองค์ทา่ น ในวาระที่พวกเราชาวนครโดยเฉพาะคณะสงฆ์ ส่วน ราชการจังหวัด ตลอดจนประชาชนคนนครทั้งหลายได้ มี โ อกาสร่ ว มถวายพระราชกุ ศ ลด้ ว ยการปฏิ บั ติ บู ช ากั บ คณะสงฆ์จาริกธุดงค์ร่วม ๕๐๐ รูป ที่มาจากทั่วประเทศ

เพื่ อ ฝึ ก ฝนปฏิ บั ติ พ ร้ อ มกั บ การเผยแผ่ พุ ท ธธรรมถวาย เป็นพระราชกุศลจากพระบรมธาตุเมืองนครสู่พระปฐม เจดี ย ์ แ ละทุ ่ ง พระเมรุ ท ้ อ งสนามหลวง ระยะทางกว่ า ๘๐๐ กิโลเมตร เวลาประมาณ ๕๐ วัน ตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๐ และในวงหารื อ ที่ ข อให้ อั ญ เชิ ญ ภาพพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ นครศรีธรรมราชที่พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงเป็นเจ้า ภาพการวาดเป็นพระราชอุทศิ ถวายพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ไว้ทผี่ นังอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม เมือ่ ปีแรก แห่งการขึน้ ครองราชย์ คือ พ.ศ.๒๔๘๙ มาพิมพ์แจกผูร้ ว่ ม งานพร้อมกับค�ำขวัญ (อ่านต่อหน้า ๙)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๓

กแอ๊ด-สุธรรม ชยันต์เกียรติ ร้าน โกปี๊-ลิกอร์ ก�ำลังท�ำความฝันให้เป็น จริ ง โดยเปิ ด ร้ า นคิ ว คู ต อนขึ้ น บริ เ วณ ถนนอ้อมค่าย ได้น�ำเอาสัญลักษณ์ส�ำคัญ ของเมืองนครหอสูงที่เรียกว่า 'หอการค้า' ไปสร้างแสดงไว้หน้าร้าน ส่วนภายในมี พื้นที่ขายอาหารที่อบอวลด้วยกลิ่นอาย วัฒนธรรมของชาวนคร ผมคิดว่าร้านจะ ส� ำ เร็ จ จากประสบการณ์ อั น มั่ ง คั่ ง และ แม่นย�ำของโกแอ๊ด นี่เป็นเรื่องดีดีที่ชาวนครได้สร้างที่ นั่งกินข้าวไว้ต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง หรือคนนครด้วยกันเองอีกแหล่งหนึ่ง อีกเรื่องหนึ่ง หลายปีมานี้โกแอ๊ดจะพิ ม พ์ ห นั ง สื อ ดี ดี ว างไว้ ที่ ร ้ า นน�้ ำ ชา กาแฟและร้ า นขนมสาขาของแก ปี นี้ ก็คงอีกตามเคย และใครๆ ก็รออ่านรอ หยิบไปอ่านอีกตามเคย ปีใหม่ ๒๕๖๐ ผมแอบเห็ น ต้ น ฉบั บ หนั ง สื อ ที่ โ อแอ๊ ด จั ด เตรี ย ม ผมคิ ด ว่ า ในสถานการณ์ อย่างนี้ เรื่องราวเกี่ยวกับพระบรมธาตุเจดี ย ์ ข องเราเป็ น สิ่ ง ที่ ค วรอ่ า นและ ควรเก็ บ ไว้ ติ ด บ้ า น เก็ บ ไว้ ใ ห้ ลู ก หลาน อ่ า น โกแอ๊ ด เสาะหาความรู ้ เ กี่ ย วกั บ

รูปพระบรมธาตุเจดีย์..ถ่ายจากวัดหน้าพระบรมธาตุ จาก@วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช เฟซบุ๊ค

วั ด พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ สถานที่ ภ ายใน วั ด มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งไร ในกระแส เราก� ำ ลั ง รวบรวมหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ พระบรมธาตุ เ พื่ อ เสนอเป็ น มรดกโลก เรายิ่งต้องรู้เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งที่เคารพ ศรัทธาให้มากที่สุด ที่ น ่ า ยิ น ดี อี ก อย่ า ง โกแอ๊ ด ได้ ข อ ให้ ปาป้าจิมมี่ ชวาลา ผู้รักและเทิดทูน พระบรมธาตุฯ เขียนค�ำนิยม ผมแอบเห็น

ค�ำนิยมและขอยกบางส่วนมาไว้ ถือเป็น การแจ้ ง ข่ า วดี ช ่ ว งต้ น ปี ส� ำ หรั บ แฟนๆ หนังสือของโกแอ๊ดก็แล้วกัน “คุ ณ สุ ธ รรมมิ ไ ด้ เ ป็ น นั ก วิ ช าการ แต่ อ ย่ า งใด แต่ ด ้ ว ยคุ ณ ธรรมแห่ ง การเสี ย สละได้ พ ยายามปะติ ด ปะต่ อ เหตุการณ์แต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ เมื อ งนครศรี ธ รรมราช โดยมี อ งค์ พ ระบรมธาตุ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของการเขี ย น ครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ ผ มและเราได้ รั บ รู ้ สิ่ ง ที่ เ รา ควรรู้และเหตุ หรืออะไรที่ท�ำให้เราต้อง คงความสงสั ย ไว้ ได้ ก ระจ่ า งขึ้ น อย่ า ง ชั ด เจน เปรี ย บเสมื อ นนั ก วิ ช าการชั้ น บรมครูทีเดียว ใ น ฐ า น ะ ค น น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช โดยก� ำ เนิ ด มี ค วามรู ้ สึ ก ภู มิ ใ จมากที่ ไ ด้ อ่าน proof ของหนังสือเล่มนี้ จึงคลาย ความกังวลในการเขียนค�ำนิยมลงอย่าง สิ้ น เชิ ง และปราศจากความสงสั ย ขอ ให้ ค� ำ แนะน� ำ แด่ ผู ้ ที่ เกี่ ย วข้ อ งทั้ ง เอกชน พระสงฆ์และข้าราชการผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ องค์พระบรมธาตุแห่ง เมื อ งนครศรี ธ รรมราช คื อ การได้ พิ ม พ์ ห นั ง สื อ เ ล ่ ม นี้ เ พิ่ ม เติมและต่อเนื่อง ให้ เป็ น การมอบความรู ้ ชั้ น คุ รุ เ ทพนี้ ให้ เ ป็ น คู ่ มื อ ในการศึ ก ษา หรื อ แม้ แ ต่ เ ข้ า ชมองค์ พ ระบรมธาตุ มิใช่เพียงแต่ภายใน แต่ตั้งแต่ภายนอก ก� ำ แพงวั ด เลยที เ ดี ย ว This is the essence of pure architecture knowledge เล่ ม นี้ บ รรจุ ด ้ ว ยแก่ น แท้ และศูนย์กลางแห่งความรู้อย่างแท้จริง และสมบูรณ์แบบยิ่ง" รีบๆ หามาอ่านกันนะครับ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๖๓ เดือน มกราคม ๒๕๖๐ สวัสดีปีใหม่ ๒๕๖๐ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากล โลกอ�ำนวยพรให้ทุกท่านประสบแต่โชคดี

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

มื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ผมได้รับเชิญให้เข้า ประชุมเรื่อง 'ประตูเมืองเก่าชัยศักดิ์' ณ ห้องประชุม ศรีปราชญ์ ชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช สืบเนื่องจากคณะท�ำงาน สนพ. (สภาพัฒนาเมืองนคร ภาคพลเมือง) ได้ชงเรือ่ งโครงการ 'อุทยานประวัตศิ าสตร์' สนามหน้าเมืองให้ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดได้รับทราบ

ท่านผู้ว่าจ�ำเริญ ทิพยญพงศ์ธาดา ท่านเกิดสนใจโครง การย่อยๆ ในโครงการอุทยานประวัติศาสตร์โครงการ หนึ่ง คือ โครงการ 'ฟื้นฟูประตูเมืองเก่าชัยศักดิ์' ขึ้นมา ท่านเลยนัดหารือคณะท�ำงาน ๕-๖ คน เพื่อจัดเตรียม ระดมผู้มีความรู้เรื่องราวของประวัติศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ โบราณคดีและผู้ที่สนใจเรื่องประตูเมืองเก่าโดยเฉพาะ เพื่อจัดตั้งเป็นคณะท�ำงาน ศึกษา ความเป็นไปได้ที่จะจัดสร้างป้อม ชุดประตูเมืองชัยศักดิข์ นึ้ มาใหม่อกี ครัง้ หนึง่ วันทีป่ ระชุมดังกล่าวค่อนข้าง รีบด่วน จึงได้เชิญผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ 'บูรณะก่อสร้างก�ำแพง เมืองเก่า' เมือ่ พ.ศ.๒๕๔๗ มาร่วม หารื อ ในรอบแรกก่ อ น ผลของ การหารื อ ขั้ น ต้ น ของการส� ำ รวจ ต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง ของฐานของป้ อ ม ประตูกอ่ นว่าอยู่ ณ ต�ำแหน่งใดโดย เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 'เรดาร์ หยั่ ง ลึ ก ชั้ น ดิ น ' เมื่ อ เห็ น ภาพ ต�ำแหน่งทีต่ งั้ ฐานรากแล้ว จึงเลือก ขุ ด เจาะลงไปส� ำ รวจอี ก ครั้ ง หนึ่ ง แล้วจึงมาคิดอ่านว่าเหมาะสมที่จะ ท� ำ ป้ อ มประตู เ มื อ งขึ้ น มาใหม่ อี ก หรือไม่ เพราะพื้นที่เดิมของป้อม ประตูเมืองชัยศักดิ์ปัจจุบันกลาย เป็นพื้นที่ผิวจราจรส่วนหนึ่ง เป็น เขตรั้วของสนามหน้าเมืองและเขต รั้วจวนผู้ว่าราชการจังหวัดไปแล้ว พอทีจ่ ะหาทางเบีย่ งหลบระบบการ จราจรได้หรือไม่ คงต้องใช้เวลา คิดอ่านกัน และที่ส�ำคัญคือต้องมี >> อ่านต่อหน้า ๑๑ การท�ำ

วันอังคารที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ ทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จะเสด็จฯ ทรงเปิด ป้ายชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ณ โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช และ ติดตามผลการด�ำเนินงานตามโครงการ TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่จังหวัดนครฯ รองผู้ว่าฯ ดนัย เจียมวิเศษสุข ประชุมหัวหน้าส่วนราชการและผู้เกี่ยวข้องเตรียมรับเสด็จฯ นับตั้งแต่ปี ๒๕๔๖ ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE มีสมาชิก ๒๐๒,๗๘๕ คน มีชมรม ๗๖๔ ชมรม

วัน ที่ ๗ ธัน วาคม ๒๕๕๙ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงพระกรุณา โปรดให้ รศ.ดร.นพ.พิ ชิ ต สุ ว รรณประกร รองประธาน มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยาก สภากาชาดไทย เป็น ผู ้ แ ทนพระองค์ เ ยี่ ย มเยี ย นผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย และมอบถุ ง ยังชีพพระราชทานแก่ผู้ประสบอุทกภัยจังหวัดนครฯ ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา น�ำหัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหาร ท้องถิ่น ผู้น�ำท้องถิ่นต้อนรับ โดยผู้แทนพระองค์ อัญเชิญถุง ยังชีพพระราชทานลงเรือท้องแบนไปมอบให้ผู้ประสบอุทกภัย ตามบ้านเรือนหมู่ที่ ๑๒ ต.ท่าเรือ อ.เมือง ผู้แทนพระองค์


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ และคณะลงเดินลุยน�้ำลึกสูงประมาณ ๗๐ เซนติเมตรไปเยี่ยม และมอบถุ ง ยั ง ชี พ แก่ น างวั น เรื อ งสุ ว รรณ ผู ้ พิ ก ารทาง การมองเห็นอายุ ๘๙ ปี และมอบถุงยังชีพแก่ นางหนูราย รัตนมุนี ผู้ป่วยติดเตียงอายุ ๘๖ ปี และมอบถุงยังชีพให้แก่ กับผู้ประสบภัยครอบครัวอื่นๆ

เวลา ๑๔.๐๐ น. ผู้แทนพระองค์ประกอบพิธีอัญเชิญ ถุ ง ยั ง ชี พ พระราชทานมู ล นิ ธิ อ าสาเพื่ อ นพึ่ ง (ภาฯ)ยามยาก สภากาชาดไทย เบื้องหน้าพระรูป พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ๕๐๐ ชุด ที่บ้านหนองหนอน หมู่ที่ ๑๒ ต.ท่าเรือ อ.เมือง

หน้า ๕ ปภ.จังหวัด, เกษตรและสหกรณ์จังหวัด, ผอ.ส�ำนักชลประทาน ที่ ๑๕ ผอ.โครงการส่งน�้ำและบ�ำรุงรักษาปากพนังล่าง เข้า ตรวจเยี่ยมให้ก�ำลังใจชาวสวนส้มโอทับทิมสยามและติดตาม สถานการณ์ อุ ท กภั ย และการระบายน�้ ำ อ.ปากพนั ง และ เตรียมส�ำรวจพืชผลด้านการเกษตรที่ได้รับความเสียหายเพื่อ เยียวยา

บริษัทมิตซู ชูเกียรติยนต์ นคร จ�ำกัด จัดกิจกรรม 'คาราวานท�ำดีเพื่อพ่อ' น�ำล่องเรือชมแม่น�้ำปากพนังฟังเรื่อง โครงการในพระราชด� ำ ริ โ ดยมั ค คุ เ ทศก์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและร่ ว ม ปล่อยพันธุ์ปลากะพงสู่ปากอ่าวปากพนังเป็นพระราชกุศลแก่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้บริหาร กลุ่มชูเกียรติ ๕ คนมาร่วมกิจกรรมครั้งนี้

มนตรี รักษ์ศรีทอง ปธ.สภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดนครฯ เผยว่าสภาฯ เปิดประชุมสมัยวิสามัญ สมัยที่ ๔ ครั้งที่ ๒ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ที่ประชุมจะมีมติเอกฉันท์เห็นชอบ ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เป็นเงิน ๑,๐๖๖ ล้านบาท ประชาชนคาดหวังงบฯ จะถูกใช้อย่าง โปรงใส ม.ราชภัฏนครฯ www.nstru.ac.th หรือ regis. วันที่ ๑๔ - ๑๘ พฤศจิกายน ทีมงานฮอนด้าศรีนคร nstru.ac.th รับนักศึกษาใหม่จนถึงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เข้าร่วมอบรมครูฝึกต้นแบบ (Master Instructor) จัดโดย และสอบวัดความรู้พื้นฐานในวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ดู บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด ณ ศูนย์ฝึกขับขี่ปลอดภัยฮอนด้า รายละเอียดจากเว็บไซต์ข้างบน ส�ำโรง จ.สมุทรปราการ ผู้อบรมจากฮอนด้าศรีนครกลับมาบอก ว่า ได้รับความรู้ ประสบการณ์ และรู้จักเพื่อนใหม่ๆ มากมาย

วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ พล.ต.ต.อรรถกฤษณ์ ธารีฉัตร เลขาธิการมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ฯ เป็ น ประธานมอบถุ ง ยั ง ชี พ พระราชทานมู ล นิ ธิ ราชประชานุเคราะห์ฯ เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แก่ผู้ประสบอุทกภัย ในพื้นที่จังหวัดนครฯ ในพื้นที่เทศบาล ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง ข่าวชาว บ.ม. วรพล คุณาธรกุล แจ้งว่าศิษย์เก่า ๑,๐๐๐ ชุด พื้นที่หมู่ที่ ๙ ต.สวนหลวง อ.เฉลิมพระเกียรติ ๑,๐๐๐ ชุด และ ต.เชียรเขา อ.เฉลิมพระเกียรติ ๑,๐๐๐ ชุด รร.เบญจมราชูทิศนครศรีธรรมราช รุ่น คมส.๑ การแข่งขัน แรลลี่เชิงทองเที่ยวอ่าวไทยสู่อันดามัน นครศรีฯ-ภูเก็ต ใน วันที่ ๗-๘ มกราคม ๒๕๖๐ น�ำรายได้ไปช่วยเหลือผู้ยากไร้ มอบอุปกรณ์การศึกษาแก่โรงเรียนและเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ สมาชิก ศิษย์เก่าเบญจมราชูทิศและครอบครัว คาดว่ามีรถเข้า วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ที่ผ่านมาเปิดตัว ร่วม ๑๐๐ คัน ค่าสมัครคันละ ๔,๐๐๐ บาท ผู้สนใจติดต่อ โครงการศุภาลัย เบลล่า นครศรีธรรมราช โดยมีคุณอดิศักดิ์ ที่ ๐๘๙-๖๖๖-๒๙๕๔ หรือ ๐๘๑-๗๙๗- ๔๕๑๘ วาริ น ทร์ ศิ ริ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการผู ้ จั ด การสายงานโครงการ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย ภูมิภาค ๓ บริษัทศุภาลัย กล่าวเปิดงานและพานักข่าวชม รองนายกรัฐมนตรี เดินทางมาติดตามการปฏิบัติราชการใน โครงการและบ้านตัวอย่าง พื้นที่จังหวัดนครฯ เพื่อตรวจเยี่ยมราษฎรผู้ประสบอุทกภัย พร้อมมอบเครื่องอุปโภคบริโภคแก่ผู้สูงอายุ ๒๕๐ ชุดที่ ม.๓ ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง

สุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) เปิด 'คิวคูตอน' ร้าน อาหารในฝันสร้างอาคารสัญลักษณ์หอการค้าถอดแบบมาจาก หอการค้าโบราณ หน้าสถานีรถไฟนครฯ โดดเด่นเห็นชัดริม ถนนอ้อมค่ายฝั่งตะวันตก แล้ว ร้านโกปี๊, ลิกอร์ และเฮาคอฟฟี่ ไปรวมไว้ในพื้นที่เดียวกัน พร้อมรับแขกบ้านแขกเมือง วัน วันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ ผู้ว่าฯ จ�ำเริญ ทิพญ- เปิดพ่อค้าใหญ่และแขกผู้มีเกียรติร่วมแสดงความยินดีอย่าง พงศ์ธาดา น�ำหัวหน้าส่วนราชการ อาทิ หัวหน้าส�ำนักงาน ล้นหลาม Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Seekuang_central

Seekuang BJ

บจก.ซีกวงโกลด์ และ บจก.ทองบุณณดา ขอแสดง ความยินดีกับ คุณรัตนาภรณ์ พูนพิพัฒน์ ผู้ร่วมสนุก ‘แชะ แชร์ ไลค์ ชิงจี้ทองค�ำ ๑ สลึง กับแบรนด์ทองซีกวง’ โดยการ รูปถ่ายกับคุณทองค�ำได้รับยอดไลค์สูงสุด ๑,๐๐๓ ไลค์ รับจี้ ทองค�ำไปแล้ว เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เข้าร้านหนังสืออย่าลืม 'เมือง บ้าน ผม' รวมเรื่องสั้น ล�ำดับที่ ๑๔ ของจ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

Line ID : @Seekuang

Line ID : boonada

099-195-6996

เพชรทอง 1. ถ.เนรมิต ท่าวัง 2. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน 3. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างสหไทยพลาซ่ า ทอง 4. ชั้ น 2 โซนร้านทอง ห้างเซ็นทรัลพลาซ่ า 5. ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) 6. หัวอิฐ 7. คูขวาง (หน้า ธ.SME) 8. ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร) 9. สะพานยาว (ข้างโลตัสเอ็กเพรส) เพชรทองออนไลน์ 10. www.facebook.com/BOONADA ทอง (หาดใหญ่) 11. ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๖

บ้านเมืองให้สะอาด สร้างพื้นฐานความสะดวกสบายเป็น ที่น่าพอใจ 'รักบ้านเกิด' กลับไปสนทนาเรื่องตลาด เพราะถือ เป็นกระแส เป็นหน้าตาหรือจุดเรียกแขกของปากพนัง ปัจจุบัน "หลั ง จากนี้ เ ราจะท� ำ ตลาดเปิ ด มาหนึ่ ง ปี โดย ประมาณการขายวันอาทิตย์วันเดียว เมื่อก่อนใหม่ๆ เงิน เข้าสัปดาห์ละแสน หลังๆ สอง-สาม-สี่แสน ถ้าช่วงหยุด ยาวคนจะมามากเงินเข้าถึง ๕ แสน เพราะเรารู้ว่าร้าน หนึ่งขายได้ ๔-๕ พันบาท บางร้าน ๗-๘ พันบาท ต่อเดือน มีเงินเข้ามาในพื้นที่ ๑ ล้านบาท เราต้องท�ำให้ ๑ ล้านบาท คงอยู่ตลอดไปหรือพัฒนาให้มากขึ้น ก็ให้นโยบายหลายๆ อย่ า งเปรี ย บเที ย บกั บ ที่ อื่ น ๆ ความสะอาดของอาหาร คุณภาพอาหาร ให้คนที่มาตลาดย้อนยุคอ�ำเภอปากพนัง มีความสุขกลับไป ให้เขามีความสุขแล้วกลับมาอีก ไม่ อยากให้ พู ด ว่ า ไปมาแล้ ว ปากพนั ง ไม่ อ ยากไปอี ก แล้ ว อยากได้ยินว่ามาแล้วมีความสุขมาก อยากมาอีกๆ ผม อยากให้แม่ค้า ชุมชน พี่น้องประชาชนตอบโจทย์นี้ให้ได้ เรื่องอาหาร คุณภาพความสะอาดผมพูดมาตลอด ความ ใหม่ ความสด ราคา ความเป็นมิตรกับนักท่องเที่ยว" พิเชษฐ์เล่าต่อไปว่า "เราต้องก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง มา แล้ ว ประทั บ ใจ มาแล้ ว อยากมาอี ก มาที่ นี่ ๖๐ บาท กินอิ่ม อาหารอร่อย ราคาถูก สุขกายสุขใจ ผมก�ำลังคิด อีกอย่างหนึ่งคือมาแล้ว...สนุกด้วย...อาทิตย์ที่แล้วน�้ำขึ้น สูง ปากพนังมีแพเยอะ...แพข้ามฟากเด็กๆ ก็ไปเล่นแพ ---นายกคิดเรื่องสวนน�้ำนายกคิดได้ แต่อยากให้ชาวบ้าน

‘รั

กบ้ า นเกิ ด ’ ไปถึ ง ส� ำ นั ก งาน เทศบาลเมื อ งปากพนั ง หลั ง ฝนตก พิเชษฐ์ กล้าสุคนธ์ เพิ่งเสร็จ ภารกิ จ ในชุ ม ชน นายกเทศมนตรี ได้รับการเลือกตั้งให้บริหารเทศบาล ที่ตั้งเมืองท่าเก่าแก่ครบ ๔ ปี เมื่อ วันที่ ๒๐ เมษายน ที่ผ่านมา ขณะ นี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งรั ก ษาการตามค� ำ สั่ ง ของ คสช. ถามว่ า เพิ่ ง เสร็ จ ภารกิ จ อะไร ภายในห้ อ งท� ำ งานชั้ น ๒ อากาศ ก� ำ ลั ง สบาย เขาตอบว่ า เปิ ด งาน ระดมความคิ ด ที่ มี ป ระธานชุ ม ชน

กรรมการชุมชน ตัวแทนกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มอสม. กลุ่ม ลีลาศ กลุ่มต่างๆ จาก ๒๒ ชุมชนมาร่วมหารือระดมความ คิดและหาแนวทางบริหาร ๔ ปีต่อไป ซึ่งต้องฟังเสียง ประชาชน รับฟังสิ่งที่ประชาชนต้องการ เทศบาลเมืองปากพนังแบ่งและเพิ่มจ�ำนวนชุมชน ตามพื้นที่ให้ง่ายต่อการดูแล แต่ละชุมชนประมาณ ๓๕๐๕๐๐ ครัวเรือน โดยคัดเลือกกรรมการชุมชนมาช่วยดูแล ตลอด ๔ ปีที่ผ่านมา มุ่งเน้นโครงสร้างพื้นฐาน สังคม เศรษฐกิจ การบริหารบ้านเมือง นายกเทศมนตรีหนุ่มกล่าวว่า "สี่ปีข้างหน้าจะไป ในทิศทางไหนเรามีหน้าที่วิเคราะห์เอาไว้ตามที่ผู้บริหาร อยากเห็น...แต่ความต้องการของประชาชนเราฟังแล้ว สนองความต้องการ ทิศทาง ๔ ปีที่ผ่านมา เราต้องท�ำถนน หนทาง ไฟฟ้า ประปา ตอนนี้การประปาใช้ของภูมิภาค เราไม่ได้เข้าไปดูแล เป็นโชคของคนปากพนังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้างประตูระบายน�้ำ แบ่งน�้ำจืด น�้ำเค็ม เราเลยไม่ขาดน�้ำจืดที่กักเก็บเอาไว้ เก็บตอนหน้า ฝนไว้ใช้ตอนหน้าแล้ง การประปาส่วนภูมิภาคได้อานิสงส์ จากนั้น เอาน�้ำจืดไปใช้ ข้อดีก็มี ข้อเสียก็มี” ข้อดีก็คือการประปาส่วนภูมิภาคเป็นหน่วยงานใหญ่ น�้ำใช้มีไม่ขาด ข้อเสียคือค่าน�้ำค่อนข้างแพงเพราะเป็น อัตราเดียวทั่วประเทศ ถนนใหม่ ๔ เลนจากนครศรีฯ ถึงปากพนัง ๔ เลน เปิ ด ใช้ แ ล้ ว เขาว่ า ร่ ว มผลั ก ดั น กั น มากั บ อดี ต รั ฐ มนตรี สาธารณสุข วิทยา แก้วภราดัย นับว่ามีประโยชน์มาก "การเดินทางมาปากพนังสะดวกขึ้น เมื่อก่อนถนนสอง เลนบางคนบอกอันตราย ต่อไปทิศทางของชุมชนจะไปใน แนวที่ว่าต้อนรับคนที่จะมาเที่ยวผมก็ให้นโยบายไปว่าต้อง เตรียมตัว” ความส�ำเร็จของการเปิดตัวปากพนังครั้งใหม่ คือการ เปิดตลาดย้อนยุคทุกวันอาทิตย์ที่เพิ่งครบ ๑ ปี "เราเริ่มมาจากจุดเล็กๆ มีแค่ ๓๖ ร้าน เป็นตลาด

ย้อนยุค ผมให้หลักคิดไปว่า ๓๖ ครัวเรือน สัปดาห์ที่แล้ว ประชุม วันนี้หมู่บ้านนี้หรือตลาดนี้มี ๙๐ ร้าน การบริหาร ๓๖ ร้านไม่มีกฎระเบียบอะไรเลย มีแต่วัตถุประสงค์ เป้า หมายว่าจะเป็นตลาดย้อนยุค ท�ำอาหารที่คนบ้านเราคิด ว่าอร่อย แขกมาแล้วชอบ รักษาความเป็นของเดิมๆ รักษา วัฒนธรรมประเพณีเดิมๆ เอาไว้" พิเชษฐ์เล่าด้วยความ ภาคภูมิใจที่ตลาดได้รับความนิยมมีผู้คนจากตัวเมืองนคร เชียรใหญ่ หัวไทรและอ�ำเภออื่นๆ เข้ามาเที่ยว "พอรู้สึกว่าติด แม่ค้าก็เข้ามามาก แบ่งสรรให้เปิด เพิ่มตามความต้องการของชาวบ้าน นักท่องเที่ยวก็มา เยอะขึ้น ๓๖ ร้านไม่พอ ของกินหมดแล้วเลยเปิดเป็น ๙๐ ต้องใช้การปกครองเข้ามา เมื่อก่อนก็ไม่ได้ปกครอง อะไร สุดท้ายผมใช้หลักปกครองแบบใหม่ เราเรียกว่า 'หมู่บ้านย้อนยุค' เราเลือกผู้ใหญ่บ้าน มีผู้ช่วยผู้ใหญ่อีก มา จาก ๒-๓ โซน เริ่มมีการปกครองมากขึ้น---การดูแลคน ภายนอก...พูดกับชุมชน" ปากพนังในอดีตแม่น�้ำใหญ่ไหลแรงเพราะน�้ำท่ามี มาก ผู้คนใช้แม่น�้ำล�ำคลองเป็นที่ทิ้งขณะมูลฝอยฝากไป กับกระแสน�้ำ ปัจจุบันน�้ำไหลเอื่อยขยะทิ้งลงก็ลอยไปลอย มาเน่าเสียอยู่ท่าน�้ำหน้าบ้าน เทศบาลต้องออกนโยบาย เก็บขยะทางน�้ำ โดยจัดเรือไปเก็บขยะที่เจ้าของบ้านใส่ถัง วางเอาไว้ ตลอด ๔ ปีที่ผ่านมาเทศบาลคาดหวังว่าจะท�ำ

เขาคิด มีเรือแจว ๑๐ บาท ๒๐ บาทให้นักท่องเที่ยวสนุก ด้วย...เป็นคุณค่าดั้งเดิมของปากพนัง ให้เด็กรุ่นใหม่คิดให้ ลูกๆ หลานๆ คิด เขาจะได้ไม่ต้องไปท�ำงานรับจ้าง ตลาด ย้อนยุคอาชญากรรมไม่มีเราโชคดีมาก เราให้เจ้าหน้าที่ งานป้องกันเข้าไปอ�ำนวยความสะดวก ไม่ว่าการจราจร การรักษาความปลอดภัย ผมดูแลอยู่ตลอด...ปากพนัง แตกต่ า งจากที่ อื่ น คื อ ที่ อื่ น เหมื อ นตลาดทั่ ว ไปที่ มี ก ฎ ระเบียบ ต้องขายนี้ ขายนั้นล็อกละเท่านี้นะ กว้างเท่านี้ ยาวเท่านี้ แต่ของเราอยากเห็นตลาดย้อนยุคท�ำอย่างไร ก็ได้ ไม่มีกฎระเบียบอะไร จินตนาการว่าจะขายนั้นขายนี้ ชาวบ้านคิดขึ้นมาเราเทศบาลช่วยประคับประคองตลาด เลยติดไว ในความรู้สึกของผม ตลาดคือตลาด ตลาดไม่ใช่ ห้าง ตลาดผมไม่สะอาดผมยอมรับ คุณต้องการแบบนั้น แบบนี้ที่สะอาดเดินสบายคุณไปห้าง ตลาดหลังคารั่วบ้าง สกปรกบ้าง ต้องเดินใส่ขาสั้นก็ได้ ขายาวก็ได้ แต่งตัว ตามสบาย ไม่มีกฎระเบียบมากมาย คุณมาหาของดี ไม่มี รูปแบบที่แน่นอนตายตัว ผมเห็นมาหลายๆ ที่ท�ำหลังคา เรียบร้อย กลางวันกลางคืนหมามานอน ตลาดข้างๆ ไม่ถึง สิบเมตรสังกะสีหลังคารั่วคนเดินหาซื้อของกันเต็ม ตลาด ท้าวโคตรสามารถเสพความสุข มีเงินเป็นร้อยล้านมีความ สุขกับตลาดชาวบ้าน หาซื้อของกินชาวบ้าน เขามีความ สุข ไปพบของเก่าๆ มีเสน่ห์--ปากพนัง (อ่านต่อหน้า ๙)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๗

นวโน้มเศรษฐกิจ ปี ๒๕๖๐ ข้อมูลจากกระทรวง การคลั ง บอกว่ า จะยั ง ขยายตั ว ไปได้ หากทุ ก หน่วยงานท�ำได้เต็มศักยภาพจะส่งท�ำให้เศรษฐกิจ เติบโตได้ ๔-๕ % หากถึงเป้าอีก ๒๐ ปี ประเทศไทย ถึงจะหลุดจากประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง รัฐบาล มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรมใหม่ที่เน้นนวัตกรรมและการ วิจัย และขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ๆ ด้วยการท�ำระบบ ช�ำระเงินอี-เพย์เมนต์ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ช่วยเป็นตัวพยุงเศรษฐกิจและมีการเบิกจ่ายเงินจะ เป็นตัวที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจปีหน้า พร้อมผลักดัน เศรษฐกิจภายในประเทศโดยเร่งลงทุนภาครัฐ การ เติมเงินให้กับผู้มีรายได้น้อย การออกมาตรการเร่ง การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนของภาครัฐก็ยังท�ำได้อีกมาก กองทุน การเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) ต้องการให้ไทย ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพิ่ม เนื่องจากประเทศขาด การลงทุนมานาน การลงทุนจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลังคาดว่า เศรษฐกิจ ไทยแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ ๓.๔ โดย ได้รับแรงส่งของการใช้จ่ายภาครัฐที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง โดยเฉพาะโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมใหม่ๆ ที่คาดว่าจะเริ่มด�ำเนินการได้ใน ช่วงครึ่งหลังของปี ๒๕๖๐ อาทิ โครงการรถไฟทางคู่ และรถไฟฟ้าในเขตเมือง ประกอบกับแนวโน้มรายได้ เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ใน ตลาด โลกคาดว่าจะเป็นแรงสนับสนุนให้การบริโภค ภาคเอกชนฟื ้ น ตั ว นอกจากนี้ เศรษฐกิ จ ประเทศ คู่ค้าที่เริ่มมีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้น การประมาณการ เศรษฐกิจไทยจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงปัจจัยเสี่ยง อาทิ

การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าส�ำคัญของไทย และการด� ำ เนิ น นโยบายการเงิ น ของประเทศพั ฒ นา แล้ว การขยายตั ว ของจ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า ง ประเทศในเกณฑ์สูง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีนและ รั ส เซี ย ที่ เ ติ บ โตดี ซึ่ ง คาดว่ า จ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ปี ๒๕๖๐ จะอยู่ที่ ๓๗.๒ ล้านคน ซึ่งจะสนับสนุนให้ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย วขยายตั ว ดี ต ามไป ด้วย รวมทั้งธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร ธุรกิจขนส่ง และธุรกิจค้าส่งค้าปลีก ปี ๒๕๖๐ เศรษฐกิ จ ไทยมี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ที่ ๓.๒ โดยได้รับแรงส่งจากการใช้จ่ายลงทุนภาครัฐ ซึ่ง คาดว่าการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ ๒.๐ และ การลงทุนภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ ๖.๒ โดยเฉพาะ จากโครงการลงทุ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานส� ำ คั ญ ๆ อาทิ โครงการรถไฟรางคู่ และโครงการรถไฟฟ้าในเขตเมือง จะสามารถด� ำ เนิ น การได้ ม ากขึ้ น ในปี ๒๕๖๐ และ จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ภาคธุรกิจและกระตุ้นให้

เดือนมกราคม ๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที ๕ มกราคม ๒๕๖๐ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนยี่ (๒) ปีวอก วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนยี่ (๒) ปีวอก วันศุกร์ที่

๒๐ มกราคม ๒๕๖๐ แรม ๘ ค�่ำ เดือนยี่ (๒) ปีวอก

วันศุกร์ที่

๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนยี่ (๒) ปีวอก

เกิ ด การลงทุ น ภาคเอกชนที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการ รัฐ และค่าเงินบาทที่มีแนวโน้มอ่อนค่า คาดว่าจะ ส่งผลดีต่อปริมาณค�ำสั่งซื้อสินค้าส่งออก ประกอบ กับด้านการส่งออกบริการยังคงมีแนวโน้มขยายตัว ต่อเนื่อง รายได้เกษตรกรจะปรับตัวดีขึ้นตามราคา สินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก ปี ๒๕๖๐ เศรษฐกิ จ ไทยจะปรั บ ตั ว ก้ า วสู ่ ยุ ค เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น เมื่อพฤติกรรมของผู้คนเปลี่ยน ไป เช่น เริ่มดูทีวีน้อยลงและหันมาเสพสื่อผ่านสมาร์ท โฟน ผู้คนเริ่มจับจ่ายซื้อขายผ่าน online shopping การเกษตรก�ำลังเตรียมถูกขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยี การเกษตรอัจฉริยะ เมื่อหุ่นยนต์ต่างๆ เข้ามาแทนที่ แรงงานมนุ ษ ย์ ภาคการเงิ น ก� ำ ลั ง ก้ า วสู ่ ร ะบบ cashless society ด้วยบทบาทของ e-payment, Bitcoin ระบบธนาคารยุ ค Digital Banking ทั้ ง ผู้ประกอบการและผู้บริโภคต้องปรับตัว ชาวจังหวัด นครศรีธรรมราชอยู่ในภูมิภาคก็ต้องปรับตัวให้ทัน สมัยตามความเปลี่ยนแปลงของโลก


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

ได้ แ ก่ นางสมรั ก ค� ำ พุ ท ธ รองผู ้ ว ่ า การการท่ อ งเที่ ย ว แห่งประเทศไทย ฝ่ายบริหาร นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ ด ร้ า นโกปี ๊ นครศรี ธ รรมราช) และนายคมสั น สุวรรณรัตน์ National Trainer สมาพันธ์มัคคุเทศก์โลก (WFTGA) มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเสนอความคิ ด เห็ น และรั บ ฟั ง ประมาณ ๒๐๐ คน นางสมรัก ค�ำพุทธ รองผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ฝ่ายบริหาร กล่าวว่า ปากพนังเป็นเมืองท่า เก่าแก่ วิถีชีวิตที่ชุมชนมีเสน่ห์ นักท่องเที่ยวได้มาเรียนรู้ มาสัมผัสจะเกิดเป็นประโยชน์อย่างมาก ปากพนังขึ้นชื่อ เรื่องอาหารท้องถิ่น อย่างหมี่ปากพนัง เรื่องราวเกี่ยวกับ วาตภัยที่แหลมตะลุมพุกเล่าไม่จบ ชีวิตชาวประมงเรียบ ง่าย เรื่องท่าเรือในอดีตเป็นอย่างไร สามารถบอกเล่าให้ นักท่องเที่ยวรับรู้ ปากพนังมีโครงการพัฒนาตามแนว พระราชด�ำริ ท่านสามารถเอาเส้นทางมาสร้างเป็นเส้น ทางท่องเที่ยวทัศนศึกษา โดยเฉพาะเส้นทางตามรอย พระบาททีร่ ฐั บาลส่งเสริม ปัจจุบัน ททท.มีนโยบายเที่ยวข้ามภูมิภาคซึ่งเป็น นโยบายของรัฐบาลจะกระตุน้ ให้เกิดรายได้ภายในประเทศ นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ กล่าวว่า ตนมาเที่ยว ปากพนังตั้งแต่ยังเด็กๆ มาส่งขนม ส่งกาแฟ สัปดาห์ละ สองวั น จนเกิ ด ความผู ก พั น จนมี เ พื่ อ นมี ลู ก น้ อ งชาว ปากพนังมากมาย ตนคิดว่าอาชีพเป็นตัวบ่งบอกวัฒนธรรม บริเวณตัวเมืองปากพนัง เมื่อก่อนเป็นทะเลและเป็นที่ ก� ำ เนิ ด ของผ้ า พระบฏที่ ช าวนครอ้ า งถึ ง และเป็ น แหล่ ง ส�ำคัญในการประกอบพิธแี ห่ผา้ ขึน้ ธาตุ เมืองนครศรีธรรมราชราวๆ ปี ๒๐๐๑ อยู่ที่ต�ำบลท่าเรือ เป็นเมืองท่าที่เรือ จีน อาหรับ ต่อมาเส้นทางน�ำ้ แคบลง การเดินเรือแคบ มา ซื้อของเก่าก็มาอยู่ที่ปากพนัง โกแอ๊ดบอกว่าคนปากพนัง สัมพันธ์คนต่างชาติมาก คนลานสกาไม่ค่อยได้พบ คน ปากพนังนั่งเรือถึงนครได้ จีน ฝรั่ง แขก การต่อเรือขึ้นใช้ เอง อาหารการกิน จุดเด่นของปากพนัง ยุคหนึ่งรุ่งเรือง มาก มาถึงยุคเสื่อมถอยช่วงท�ำนากุ้ง เศรษฐีปากพนังไป อยูเ่ มือง คนปากพนังยอมแพ้ไม่ได้โดยพืน้ ฐานคนปากพนัง เรียนสูงไปเป็นใหญ่เป็นโตเป็นอธิบดีรองอธิบดี เป็นเมืองมี วัฒนธรรม ดังนัน้ พยายามสร้างช่วยกันท�ำร่วมจุดประกาย

ความคิด เราปรับวิธีคิด สร้างปากพนังยิ้มแย้มแจ่มใส คิด กันก่อนแล้วพยายามท�ำ ขอความร่วมมือเทศบาล อบต. ผูใ้ หญ่กำ� นัน ถ้าท�ำต้องรูจ้ ริงรูล้ กึ ขัน้ ตอนต่อไปอย่ารอคน อืน่ เราลงมือเองเรือเพรียวน่าสนใจมาก ท�ำไมจึงไม่จดั แข่ง เรือเพรียว นายคมสัน สุวรรณรัตน์ บรรยายพร้อมแผ่นใสกล่าว ถึงแนวโน้มใหม่ของการท่องเที่ยว คือการท่องเที่ยวโดย ชุมชนที่ค�ำนึงถึงสภาพสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม ก�ำหนดทิศทางโดยชุมชนเพื่อชุมชนและชุมชนมีบทบาท เป็นเจ้าของมีสทิ ธิในการดูแลเพือ่ ให้ผมู้ าเยือนมีความรู้ โดย มีองค์ประกอบหลัก ๔ อย่าง ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรม, องค์กรชุมชน, การจัดการ และการเรียนรู้ นายคมสัน กล่าวว่าตนเป็นลูกปากพนัง ได้ศึกษา ข้อมูลเกีย่ วกับปากพนังหลายครัง้ พบว่ามีสิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรมที่เป็นตัวของตัวเอง เป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยว แห่งหนึ่งเพราะมีทรัพยากรท่องเที่ยวพร้อม นักท่องเที่ยว ต้องการเรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ชุมชนจะ จัดการอย่างไร สมมติว่าตัวเขาจะพาลูกค้าไปดูการท�ำ น�ำ้ ตาลจาก เขาจะต้องมีสนิ ค้าเสนอแก่นกั ท่องเทีย่ ว อันดับ แรกคือไปดูชีวิตของชาวบ้าน ดูการใช้ประโยชน์จากต้น จาก การท�ำน�ำ้ หวานหรือน�ำ้ ตาล นักท่องเทีย่ วต้องได้ลงมือ ท�ำด้วยตัวเองเพื่อหาประสบการณ์และเรียนรู้ กิจกรรม จะท�ำให้เกิดความสนุกสนาน และจดจ�ำไปบอกต่อ สินค้า ทุกชนิดผูป้ ระกอบการต้องมีเรือ่ งเล่า เช่น 'หมาจาก' หรือ

'ใบจาก' เวลาน�ำนักท่องเที่ยวเข้าป่าจากอาจท�ำสะพานไม้ ยาวๆ เดินยากๆ เพราะนักท่องเที่ยวชอบ แล้วมีที่ให้ถ่าย รูป ถ่ายเซลฟีไว้โพสต์ในโซเชียลมีเดีย ปัจจุบันพฤติกรรม ของนักท่องเที่ยวเปลี่ยนไปในทิศทางที่สรุปได้ดังนี้ คือ หาความจริง, มองหาความยั่งยืน, ประสบการณ์ที่เลือก ได้, การเรียนรู้จากชุมชนท้องถิ่นเพื่อประสบการณ์ดีๆ และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ผู้บรรยายเพิ่มเติมอีก ว่าโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากยุโรป ๘๗ เปอร์เซ็นต์ ให้ ความส�ำคัญกับการท่องเที่ยวที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม ๗๑ เปอร์เซ็นต์มองหากิจกรรมท่องเที่ยวที่เป็นประโยชน์กับ ชุมชนท้องถิน่ "วัตถุดิบที่เรามีอยู่เป็นของเรา เรามีเยอะมาก เรา จัดการอย่างไร เริ่มอย่างไร คนอยากมามากมาย เราท�ำ อย่างไร วัฒนธรรมเรามี เราต้องหาค�ำตอบให้ได้ ท่องเทีย่ ว ในชุมชน ๓-๔ หมู่บ้านมีอัตลักษณ์แตกต่างกัน เชื่อมโยง ชุมชน บ้านเก่าๆ ฝั่งตะวันตกมีตึกเก่าๆ ฝั่งตะวันออก มี ท ่ า เรื อ สร้ า งทางยาว ๔๐๐-๖๐๐ เมตร ชุ ม ชนเรา เป็ น ชุ ม ชนชาวเรื อ ให้ ใ ช้ แ นวเดิ ม ป้ า ยน่ า รั ก ๆ ของที่ ระลึกปากพนัง ชุมชนผักปลอดสารพิษ หม้อไหอย่างดี ชักพระของเรายิง่ ใหญ่ ตรงไหนโซนอะไร แข่งเรือพาย เรา เป็นแหล่งผลิตนักกีฬาทีมชาติ เราขายอะไร แหลมยาว ที่สุด ถ่ายรูปได้ ขนมจาก ขน�ำจาก แนวแม่น�้ำแคว ไปดู เรื่องความตาย มีคนตายแสนคน แหลมตะลุมพุกยังมี ชีวิตอยู่ การดูแลรักษาป่าชายเลนอย่างไร การท่องเที่ยว ชุมชนเกิดจากคนภายใน คนในชุมชน มีกรรมการก็ว่าไป แม่นำ�้ ล�ำธาร น�ำ้ เน่า สารสะสมอยูใ่ นปลา เราท�ำลายตัวแม่ คือแม่นำ�้ ...เราต้องคิดกัน" นายคมสันกล่าว นางสมรัก ค� ำพุทธ สรุปว่า การท่องเที่ยวชุมชน ปากพนัง ชาวปากพนังต้องร่วมกันท�ำ และต้องไม่แข่งขัน กันเอง ท�ำเพื่อปากพนัง ท�ำไปด้วยกัน แล้วปากพนังจะ กลับมามีชวี ติ ชีวาเหมือนเดิม ผูเ้ ข้าร่วมเสวนาเพิม่ เติมว่าจะต้องพาปากพนังไปข้าง หน้าด้วยธรรมชาติ วิถีชีวิตชุมชน จะขับเคลื่อนจุดไหน ต้องถามหัวใจคนมาเที่ยว การคิดเริ่มตรงไหนถ้าคิดได้ก็ ท�ำไปพร้อมกัน ถ้าคนอยูก่ บั คนมาหัวใจตรงกัน สินค้าขาย ได้ แหลมตะลุมพุกยาวที่สุดท�ำอย่างไรให้คนมา แม่น�้ำ ปากพนัง ๒๐๐ ปี ๓ อ�ำเภอโดยไม่มภี เู ขา ชาวจีนไหหล�ำมา อาศัยปากพนังลองดูน่าจะขายคนไหหล�ำได้ไหม ล้นเกล้า รัชกาลที่ ๕ ขึน้ ท่าเรือตรงไหนจัดการปรับพืน้ ทีใ่ ห้สวยงาม ค�ำขวัญของเมืองคือหัวใจศาสนา แม่น�้ำปากพนังก�ำลังจะ เสีย ท�ำกังหันน�้ำ รหัสน�้ำ ท�ำให้เรือลงน�้ำได้ ท�ำให้เกิดวิถี เอาเรือแจวมาแจวข้ามฟาก รับคนที่ไม่รีบ ท่าน�้ำมีหลาย ท่า วัด ๙ วัด มีการจัดการความรู้ จัดการชุมชน ขนมลา ปากพนังตอนนีข้ ายทัว่ โลก


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

ประจ� ำ เมื อ งและคติ เ ตื อ นใจที่ ท ่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดจะมาเป็นผู้น�ำกล่าวปฏิญาณเบือ้ งหน้าพระบรมธาตุและพระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ์ นั้ น ผมเลื อ กอั ญ เชิ ญ พระ ราชด�ำรัสนี้มาร่วมพิมพ์ไว้ด้วย โดยหวัง ว่าน่าจะเป็นการเสริมสร้างศรัทธาทั้งต่อ องค์ธรรม รวมทั้งองค์พระบรมธาตุ องค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดจน “นครศรีธรรมราช” อันเป็นบ้านเกิดเมือง นอนและมีชอื่ เป็นมงคลยิง่ นีใ้ ห้มากๆ ขึน้ แต่ ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง กว่ า อยู ่ ที่ ว ่ า จะท� ำ อย่างไรให้ จังหวัดนครศรีธรรมราชของเรา นี้เป็นจังหวัดที่เจริญสมชื่อ สมกับที่เป็น เมืองส�ำคัญแห่งการสถาปนาพระพุทธศาสนาจนมั่นคงบนผืนแผ่นดินไทยและ พระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยให้ความส�ำคัญ ดังพระราชด�ำรัสทีพ่ ระราชทานไว้เมือ่ ๒๒ ปีที่แล้ว และดูเหมือนว่าในวันนี้ จะยังไม่ แตกต่างจากนัน้ เท่าไรนัก รายงานฉบับนี้ ผมได้เขียนหลังจาก ร่วมใส่บาตรเช้าวันที่ ๒๘ พ.ย.ที่ถือเป็น มงคลทีส่ ดุ ครัง้ หนึง่ เนือ่ งจากหลังเทีย่ งคืน ซึง่ ฝนตกลงมาห่าใหญ่นนั้ ตลอดช่วงเช้าที่ พระภิกษุผปู้ วารณาถือธุดงค์วตั ร ๕๐๐ รูป ได้ลกุ ขึน้ มาท�ำวัตรแต่เช้ามืด แล้วเดินออก จากสถานปฏิ บั ติ ธ รรม สวนพุ ท ธธรรม

วั ด ชายนา มาตามถนนราชด� ำ เนิ น ข้ า ม สะพานป่ า เหล้ า เข้ า ประตู ชั ย ใต้ ถึ ง หน้ า องค์พระบรมธาตุเจดีย์แล้วลอดซุ้มเข้าทาง ประตูเยาวราช ที่ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๖ ทรง สร้างถวายแต่ครั้งยังเป็นพระยุพราช มา ตั้งแถวรอที่หน้าพระวิหารหลวง แล้วพระ เดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระเทพวินยาภรณ์ เจ้ า อาวาสวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เมตตามารับถือหน้าพระวิหารหลวง ก่อน ที่จะเข้าสู่ก�ำหนดการต่างๆ อย่างเป็นมหา มงคลยิง่ ตามภาพทีเ่ ห็น ด้วยสภาพอากาศที่ ปลอดโปร่งโล่งสบาย กระทัง่ ท่านเจ้าคุณน�ำ คณะสงฆ์ทงั้ หมดนัน้ ให้พรเป็นภาษาบาลี ก็

<< ต่อจากหน้า ๖ เด็กรุ่นใหม่ วัยรุ่น ไม่มีที่พบปะ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สมัยเรา มี โ รงหนั ง มี ห น้ า วิ ก มี โ รงลิ เ ก เวลามีงาน บรรยากาศแบบนั้น ไม่มีมานาน พอมีตลาดย้อนยุค

วันอาทิตย์หนุ่มสาวก็นัดกันไป เงินในกระเป๋าน้อยก็ไป ได้ ไปถ่ายรูป เพื่อนร่วมรุ่นนัดพบกัน ไม่ต้องไปตัวเมือง นคร มีที่นัดพบเป็นของตัวเองในท้องถิ่น มีของกิน เป็น ภาพที่สวยงาม บรรยากาศดี" พิเชษฐ์พูดถึงของกินซึ่งเป็นของดีดีประจ� ำเมือง ปากพนัง "ขนมจีนปากพนังอร่อยทุกร้าน อร่อยไปคน ละแบบกัน แล้วแต่คนชอบ ผักเหนาะก็เป็นเอกลักษณ์ ของแต่ละร้าน คนมาเที่ยวประทับใจอีกอย่างคือผัดหมี่ ปากพนัง ผมท�ำผัดหมี่ขึ้นมา ผมเป็นนายกมีแขกเยอะ แยะเลี้ยงแขกผู้ใหญ่ จัดประชุม จัดสัมมนา หมี่ปากพนัง เป็นตัวหลัก แกงส้มปลาดุกที่คนชอบก็มี หมี่ปากพนัง หมดก่อนอื่นๆ คนก็ขอเพิ่มๆ พอคนชอบมันก็อร่อยจริง

บังเกิดมีเมฆฝนน้อยๆ ลอยมาเหนือฟ้าแล้ว โปรยปรายน�้ำมนต์ลงมาเป็นละอองน้อยๆ จนทั่วทั้งเขตบริเวณวัดและเมืองนคร ก่อน ที่จะขาดสายไปพร้อมกับบทมนต์แบบสอด ประสานกันทันที หวังว่าการครั้งนี้ที่พระผู้ถือธุดงค์เพื่อ ฝึกฝนพัฒนาตนจากทั่วประเทศถึง ๕๐๐ รูป เลือกมาเริม่ ปฏิบตั บิ ชู าเนสัชชิกงั คธุดงค์ ที่ อ งค์ พ ระบรมธาตุ เ มื อ งนคร นมั ส การ พระพุทธสิหิงค์ แล้วจาริกจากเมืองนครสู่ องค์พระปฐมเจดีย์ และ ทุ่งพระเมรุท้อง สนามหลวง โดยแวะผ่านหลายสถาน ตัง้ แต่ วัดวนารามบ้านยวนแหลที่ต�ำบลโพธิ์เสด็จ

กลายเป็ น อาหารยอดนิ ย มต้ อ งสั่ ง แก้งส้มน�้ำส้มจากนี่เป็นเอกลักษณ์ เก่าแก่" เมืองท่าปากพนังเคยรุ่งเรือง ปัจจุบนั ปากแม่นำ�้ ตืน้ เรือประมงน�ำ้ ลึกไม่เข้า เหลือแต่เรือชายฝั่ง ทว่า กลับเป็นข้อดี "ตอนนีเ้ ราได้ปลาจาก เรือประมงชายฝั่งเป็นปลาดี ระบบ น�้ ำ ระบบดิ น ของปากพนั ง น�้ ำ มา จากภู เ ขาผ่ า นชะอวดมาลงคลอง ปากพนัง มาพบกับน�ำ้ เค็มกลายเป็น น�ำ้ กร่อยบริเวณป่าชายเลนทีส่ มบูรณ์ เป็นแหล่งเกิดของอาหารรสชาติดี เขาว่ายังแตกต่างจากท่าศาลา สิชล ขนอม ของเราทะเลโคลน ทะเลใน เราอาจแพ้เรื่องหาดทราย ผมคุยทิศทางการพัฒนากับ ชาวบ้านใน ๔ ปีขา้ งหน้า เรือ่ งจัดการท่องเทีย่ ว จัดระเบียบ เมืองให้สวยงามเหมือนเมืองใหญ่ๆ เทศบาลนครใหญ่ๆ ที่ เคยไปดูไปเห็นมา อุบลฯ อุดรฯ ล�ำปาง ตลาดย้อนยุคทีเ่ กิด ขึน้ ก็ดเู มืองใหญ่ๆ ทีส่ ร้างเป็นกระแสได้ กระแสตลาดวิถรี มิ คลองผดุงกรุงเกษม ตลาดน�ำ้ เป็นยุคทีค่ นอยากเห็นอดีต" ส่วนเรื่องสังคมนายกพิเชษฐ์ประชุมมอบนโนบายให้ รักสามัคคีกัน "เพราะว่าโครงการพระราชด�ำริอยู่ที่นี่ พระ ราชด�ำรัสฯ เมื่อก่อนเราอาจจะทะเลาะกันบ้างอะไรกัน บ้าง มี 'พ่อ' มาช่วยห้าม เราไม่มพี อ่ แล้ว พ่อดูอยูข่ า้ งบนเรา พยายามจะไม่ทะเลาะกัน" นอกจากนี้ ยั ง รณรงค์ ป รั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม เช่ น

พระพุทธสิหิงค์มิ่งมหาชัยที่มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช และธุดงคมณฑล ริมล�ำธารน�้ำตกพรหมโลก ก่อนที่จะผ่าน เข้าเขตอุทยานแห่งชาติเขาหลวงและป่า กรุงชิงตามล�ำดับ จะเป็นอีกบุญวิถีที่จะ ร่วมกันฟืน้ คืน “นครศรีธรรมราช” ให้ฟน้ื คืนกลับมาเป็น “เมืองแห่งธรรมราชา” ที่น่าจะเป็นจังหวัดที่เจริญ สมนามและ ตามที่พระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน พระบรมโกศได้ทรงมีพระราชปรารภถึง ไว้ ซึ่งอยู่ที่พวกเราชาวนครทั้งหลายเป็น ส�ำคัญครับ. ๒๘ พ.ย.๕๙

การกิน อาหารมื้อเบรค มื้อเที่ยง สร้างมารยาทางสังคม ด้วย "ผมให้เข้าแถว เมือ่ วานประชุม อสม. แก้วน�ำ้ ให้เอา มาเองจะได้ไม่ต้องใช้แก้วพลาสติก ผมให้มีเรือเก็บขยะ ทางน�้ำ ชาวบ้านที่อยู่ริมคลองเอาขยะมาวางไว้หน้าบ้าน นักเรียนโรงเรียนเทศบาลผมให้นโยบายไปต้องไหว้สวย พวกทีไ่ ปได้รางวัลระดับประเทศ เทศบาลปากพนัง ๓ ไหว้ สวย คนปรบมือกันทัง้ ห้องประชุมเลยน�ำมาฝึกเป็นระบบ ใช้เด็กที่ชนะเป็นต้นแบบ เด็กที่จบไปเรียนต่อ ไปท�ำงาน คะแนนข้อเขียนเท่าคนอืน่ ไหว้สวยอาจถูกเลือกไว้กไ็ ด้ คน พร้อมจะให้คะแนน" เรื่องสุขภาพอนามัยก็ไม่ทอดทิ้ง "พ่อแม่ของเรา ก็แก่ เราห่วง ดูแลผู้สูงอายุ มีโครงการเยี่ยมบ้าน กอง สาธารณสุขออกไป ๔๐-๕๐ คน ผู้ป่วยติดเตียง ลดลงมา แล้ว เราออกไปดูให้เขาท�ำกิจกรรม ให้เขาออกก�ำลังกาย ก่อนเขาจะติดเตียง เต้นบ้าง ร้องเพลงบ้าง ให้มีสังคม มี กิจกรรมอยู่เรื่อยๆ ตามชุมชน ตามวัดต่างๆ จนท.ไปเล่น เกม ร้องร�ำท�ำเพลงบ้าง เราฝึก อสม.อยู่ตลอด ๓๒๐ คน ประชากรมีประมาณ ๒๔,๐๐๐ คน ๕,๐๐๐ ครัวเรือน ขณะนี้คนออกไปนอกเริ่มนิ่ง เริ่มกลับมาบ้าง ส่วนมาก เกษียณอายุอยากมาอยู่บ้าน" พิเชษฐ์ กล้าสุคนธ์ เป็นลูกปากพนังโดยก�ำเนิด ศิษย์ เก่าโรงเรียนปากพนัง โรงเรียนวัดเทพลีลา ปริญญาตรี ม.หอการค้าไทย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และ MBC จาก Collegeof Notre Dam ; California USA. มีประสบการณ์ ท�ำงานกว่า ๒๐ ปี และอบรมหลักสูตรการเมืองและนัก ปกครองหลายหลักสูตร ก่อนมาสมัครรับเลือกตั้งเป็น นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองปากพนัง


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๐

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

พระวิ ห ารเขี ย น เชื่ อ กั น ว่ า เป็ น วิหารที่สร้างขึ้นพร้อมกับองค์เจดีย์ บรมธาตุเมื่อ พ.ศ.๑๗๑๙ อยู่ทางทิศเหนือ ขององค์ เ จดี ย ์ รู ป ทรงหลั ง คายาวทอด เดี ย วโดยไม่ มี มุ ก ลดระดั บ แบ่ ง เป็ น ๕ ห้องเสา ยุคแรกสร้างไม่มีฝาผนัง มีเพียง เสาและหลังคา เป็นวิหารใช้เพื่อประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาเพราะทิศเหนือเป็น ทางเข้ า และเป็ น ด้ า นหน้ า ของพระบรม ธาตุเจดีย์ บันไดทางขึ้นพระบรมธาตุเจดีย์ ก็อยู่ตรงกับพระวิหารเขียน ผ่านมาอีก ๒๐๐ ปี คือ พ.ศ.๑๙๑๙ เจ้ า เมื อ งนครชื่ อ 'ศรี ว รวงศ์ ' ได้ ท� ำ การ บู ร ณะพระวิ ห ารเขี ย นโดยการก่ อ ผนั ง ก�ำแพงโบกปูนและเขียนภาพจิตรกรรม ติ ด ลงบนผนั ง และเสาของวิ ห ารอย่ า ง วิจิตรสวยงาม ผู้คนพบเห็นต่างชื่นชมงาน เขี ย นจิ ต รกรรมของวิ ห าร และเรี ย กว่ า พระวิหารนี้ว่า 'พระวิหารเขียน' ครั้นเวลา ผ่ า นมาอี ก นั บ ร้ อ ยๆ ปี ภาพจิ ต รกรรม เหล่านั้นได้เสื่อมสลายลงตามกฎอนิจจัง การบูรณะปฏิสังขรณ์ในครั้งหลังได้มีการ โบกปูนและทาสีทับภาพเหล่านั้นจนหมด

สิ้น แต่ชาวนครก็ยังคงเรียกวิหารนี้ว่า 'พระ วิหารเขียน' อยู่ดังเดิม เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงพระวิ ห าร เขียน ไม่ใช้เป็นสถานที่ประกอบกิจศาสน พิ ธี แ ล้ ว วิ ห ารนี้ ก็ ใ ช้ เ ป็ น ที่ เ ก็ บ 'เครื่ อ ง พุ ท ธบู ช า' ที่ ผู ้ ค นต่ า งเมื อ งและชาวนคร ได้ น� ำ มาบู ช าพระบรมธาตุ วิ ห ารนี้ จึ ง ใช้ เป็ น ที่ เ ก็ บ รั ก ษาสมบั ติ เ หล่ า นี้ เ อาไว้ ต ่ อ เนื่ อ งยาวนาน ตั้ ง แต่ ยุ ค สร้ า งพระบรม

านนท์ ! เราได้กล่าวเตือนไว้ก่อนแล้วมิใช่หรือว่า “ความเป็นต่างๆ ความพลัดพราก ความเป็นอย่าง อืน่ จากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ ย่อมมี; อานนท์ ! ข้อนั้นจักได้มาแต่ไหนเล่า : สิ่งใดเกิด ขึน้ แล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัยปรุงแล้ว มีความช�ำรุดไปเป็น ธรรมดา, สิง่ นัน้ อย่าช�ำรุดไปเลย ดังนี;้ ข้อนัน้ ย่อมเป็นฐานะทีม่ ไี ม่ได้”. อานนท์ ! เปรียบเหมือนเมื่อต้นไม้ใหญ่ มีแก่น เหลืออยู่ ส่วนใดเก่าคร�่ำกว่าส่วนอื่น ส่วนนั้นพึงย่อยยับ ไปก่อน, ข้อนี้ ฉันใด; อานนท์ ! เมือ่ ภิกษุสงฆ์หมูใ่ หญ่มธี รรมเป็นแก่นสาร เหลืออยู,่ สารีบตุ รปรินพิ พานไปแล้ว ฉันนัน้ เหมือนกัน. อานนท์ ! ข้อนั้นจักได้มาแต่ไหนเล่า : สิ่งใดเกิด ขึน้ แล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัยปรุงแล้ว มีความช�ำรุดไปเป็น ธรรมดา สิง่ นัน้ อย่าช�ำรุดไปเลย ดังนี;้ ข้อนัน้ ย่อมเป็นฐานะทีม่ ไี ม่ได้.

ธาตุจนถึง พ.ศ.๒๔๔๐ ได้มีการปรับปรุง เป็น 'พิพิธภัณฑ์' ของวัดขึ้น เพื่อจัดเก็บ เครื่องพุทธบูชาจ�ำนวนมากมายของบรรดา เมืองสิบสองนักษัตร ได้น�ำมารวบรวมไว้ที่ วิหารเขียนจนกระทั่งถึง พ.ศ.๒๔๘๐ กรม ศิลปากรก็ได้รับพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นสาขา 'พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ' ประจ�ำจังหวัด นครศรีธรรมราช โบราณวั ต ถุ มี ม ากมายเหลื อ คณา-

นับ จนได้ชื่อว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีเครื่อง พุทธบูชามากที่สุดของประเทศ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง เครื่องถนิมพิมพาภรณ์ ทอง เสาหงส์ เครื่ อ งถมเงิ น ถมทองชิ้ น เยี่ ย ม แก้วแหวนเงินทอง สร้อย จี้ ต่างหู ปิ่น ปักผม เข็มขัดเงินทองนาค ก�ำไล เชี่ยน ซึ่งผู้คนน�ำมาถวายตั้งแต่โบราณ หาดูที่ ไหนไม่ได้ พระพุทธรูปประจ�ำตระกูลก็มี ผู้คนน�ำมาถวายทั้งพระเงินพระหุ้มทอง และสิ่ ง ของต่ า งๆ ที่ ค นน� ำ มาถวายนั บ จ�ำนวนหลายหมื่นชิ้น วั ต ถุ โ บราณชิ้ น ใหญ่ ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ 'เทวรูปพระนารายณ์ศิลา' ยุคสมัยพุทธ ศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ พระพุทธรูปปางมาร วิชัยองค์ใหญ่ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจ�ำ วิหารนี้มาแต่เดิม พระพุทธรูปยืนทองค�ำ ปางอุ้มบาตรซึ่งเป็นพระลาก ยังมีพระเงิน ทรงเครื่องของเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ใคร สนใจศึกษาของเก่าของโบราณไม่ควรจะ พลาด มีโอกาสก็ลองแวะเวียนเข้าไปชม ดูสักครั้ง การขุ ด ค้ น ทางโบราณคดี ใ ต้ ฐ าน วิ ห ารนี้ ใ นทางทิ ศ ตะวั น ตกเพื่ อ ไปประกอบยืนยันว่าวิหารนี้สร้างตั้งแต่ยุคสร้าง พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ จ ริ ง หรื อ ไม่ คงจะได้ ค�ำตอบในเร็ววัน

หลายเนืองๆ อยู่, พิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆ อยู่, พิ จารณาเห็ นธรรมในธรรมทั้ ง หลายเนือ งๆ อยู ่; มี ความเพียรเผากิเลส มีความรูส้ กึ ตัวทัว่ พร้อม มีสติ พึง ก�ำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้. อานนท์ ! ภิกษุอย่างนี้แล ชื่อว่ามีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ; มีธรรมเป็น ประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะเป็นอยู.่ อานนท์ ! ในกาลบัดนีก้ ด็ ี ในกาลล่วงไปแห่งเราก็ ดี ใครก็ตามจักต้องมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ; มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็น อานนท์ ! เพราะฉะนั้น ในเรื่องนี้พวกเธอทั้งหลาย สรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ เป็นอยู.่ จงมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิ่งอื่นเป็น อานนท์ ! ภิกษุพวกใด เป็นผู้ใคร่ในสิกขา, ภิกษุ สรณะ; พวกนัน้ จักเป็นผูอ้ ยูใ่ นสถานะอันเลิศทีส่ ดุ . จงมีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ. มหาวาร .สํ. ๑๙/๒๑๖-๒๑๗/๗๓๗-๗๔๐. อานนท์ ! ภิกษุ มีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่ เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ, มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ตรัสแก่ท่านพระอานนท์ ผู้เศร้าสลดในข่าวการ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะนัน้ เป็นอย่างไรเล่า ? ปรินิพพานของท่านพระสารีบุตร ซึ่งจุนทสามเณรน�ำมา อานนท์ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นกาย บอกเล่าทีพ่ ระอารามเชตวันใกล้นครสาวัตถี. ในกายเนืองๆ อยู่, พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้ง


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๑

รายงาน

มเดช คงเกือ้ นายกฯไลอ้อนส์นครฯ เผย สสส. หนุน สร้างฝายมีชีวิต ปลุกพลังชุมชนจัดการตนเอง-พลิก ฟื้นเกษตรกร ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชนริมคลองเขา แก้ว อ.ลานสกา จ.นครฯ แก้ปญ ั หาน�ำ้ ขาดแคลนน�ำ้ ท่วม ตลิ่งพัง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร เกิดเป็นแหล่งท่อง เทีย่ วและศูนย์การเรียนรูข้ องชุมชน เมื่ อ วั น ที่ ๑๐ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๙ นายสมเดช คงเกือ้ นายกสโมสรไลอ้อนส์ จ.นครศรีธรรมราช ผูด้ ำ� เนิน โครงการ 'ฝายมีชีวิตสร้างสุขชุมชนบ้านตลาด' หมู่ ๑ ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา เปิดเผย ว่าพื้นที่ชุมชนบ้านตลาด และพื้นที่รอบๆ ประสบปัญหาเรื่องน�้ำ ในช่วงหน้าฝนน�้ำ มักท่วม และเกิดการพังทลายของตลิง่ แม้จะมีการขุดลอก คลองจากทางราชการทุกปี ท�ำให้น�้ำก็ไหลผ่านคลองลงสู่ ทะเลอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ฤดูแล้งก็ไม่มีน�้ำในล�ำคลอง เกิดปัญหาขาดแคลนน�ำ้ เราจึงเริม่ มาคุยกันหาสาเหตุเพือ่ แก้ปัญหาโดยได้รับการสนับสนุนจากส� ำนักสร้างสรรค์ โอกาสและนวัตกรรม ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการสร้างกระบวนการ สร้าง ๑ ประชาเข้าใจ กับประชาชนในพื้นที่ ก่อนลงมือสร้าง เวที ฝายชะลอน�ำ้ ซึง่ เรียกว่า 'ฝายมีชวี ติ ' ส�ำหรับเก็บกักน�ำ้ เพือ่ การเกษตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ และเป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน “ในฐานะที่ผมเป็นต้นคิดเรื่องฝายมี ชีวติ ผมไปท�ำทีอ่ นื่ มาก่อน มีประสบการณ์วา่ ถ้าเราจะดึง คน เราต้องใช้เวทีประชาเข้าใจ ท�ำเวทีขึ้นมาให้คนเข้าใจ เรือ่ งระบบนิเวศ เรือ่ งชุมชน อันดับแรกต้องท�ำตัวเองเป็น ตัวอย่างก่อน ชุมชนส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้สนใจชุมชนเท่า ไหร่ พอมีปญ ั หาก็มาคุยกัน คนที ๒ อ่ ยูข่ า้ งคลองตัง้ เป็นเครือ ข่ายคลองขึ้นมา แล้วมาคุยกันว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างไร จุดเริม่ ของโครงการมาจากจุดนี”้ นายสมเดช ผู้ด�ำเนินโครงการ 'ฝายมีชีวิตสร้างสุข ชุมชนบ้านตลาด' เปิดเผยต่อไปว่า เริ่มแรกของโครงการ ฝายมีชีวิตยังไม่มีชื่อ มีจุดเริ่มจากการพูดคุยกับชาวบ้าน ๓๐ คน ที่หุบเขาช่องคอย อ.จุฬาภรณ์ เรื่องการท�ำฝาย ชาวบ้านเห็นว่าการมีฝายแม้วเป็นเรื่องดี แต่กั้นน�้ำแล้ว มีปัญหา ชาวบ้านไม่ชอบ เพราะว่าฝายแม้วสร้างจาก ทรายกับปูนผสมกันตั้งขวางทางน�้ำ พอน�้ำมาก็ชนหูช้าง ทั้งสองข้างตลิ่งก็พัง ชาวบ้านก็เข้าใจผิดว่าเป็นฝายชนิด เดียวกัน “ผมเลยบอกไปว่าฝายผมไม่ใช่ฝายแม้ว ผมคิด

อยูส่ องวินาที ค�ำว่าฝายมีชวี ติ จึงออกมา ผมบอกไปว่าเป็น ฝายมีชวี ติ ชาวบ้านถามว่าเป็นยังไง ก็ได้เล่าต่อ แต่ถา้ ฝาย แม้วจบตั้งแต่วันนั้นแล้ว ความจริงฝายแม้วเอาใบไม้กิ่ง ไม้มาขวางทางน�้ำปีหนึ่งท�ำครั้งหนึ่ง พอน�้ำมาน�้ำก็จะล้น ตลิ่งสร้างความชุ่มชื้น พอน�้ำมามากๆมันก็จะทลายไป ปี หนึ่งก็มาท�ำครั้งหนึ่ง บังเอิญว่าคนที่ดูแลงบประมาณภาค รัฐไปเห็นก็มีความคิดว่าอย่างนี้มันไม่ถาวร ท�ำให้ถาวรดี กว่าก็เลยสร้างถาวรแต่เรียกว่าฝายแม้ว พอท�ำถาวรเป็น คอนกรีตไม่ศึกษาระบบนิเวศ มันก็พัง ผมก็เลยคิดต่อจาก นั้น ผมคิดต่อจากงานของในหลวง เพราะฝายแม้วเขื่อน ปูนมีตะกอนหน้าฝาย เราก็มาคิดว่าท�ำอย่างไรให้ตะกอน ผ่านไปได้” ผู้ด�ำเนินโครงการฝายมีชีวิตสร้างสุขชุมชน บ้านตลาด กล่าว นายสมเดช กล่าวถึงโครงสร้างและองค์ประกอบ ของฝายมีชวี ติ ว่าต้องมีหชู า้ ง บันได เหนียวปิง้ และตัวฝาย หูชา้ งไว้รองรับน�ำ้ ปล่อยน�ำ้ มีเหนียวปิง้ ไว้คมุ้ ครองตีนหูชา้ ง มีบันไดให้ปลาขึ้นลง มีบันไดนิเวศด้านหน้าด้านหลัง ข้าง ล่างให้กงุ้ หอย ปู ปลา ขึ้นลงได้ ไม่รบกวนระบบนิเวศจึง เรียกว่าฝายมีชวี ติ ในฝายมีการปลูกต้นไทร ต้นไผ่ในระยะ แรก แล้วให้ต้นไทรเข้าไปกินต้นไผ่เพื่อให้ต้นไม้เกาะเกี่ยว ยึดติดไม่ท�ำให้ตลิ่งฟัง ต่อมาได้พบกับ ดร.ด�ำรง โยธารักษ์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันการเรียนรูเ้ พือ่ การจัดการตนเอง และ อาจารย์ศกั ดิพ์ งษ์ นิลไพรัช วิทยากรกระบวนการ สถาบัน การเรียนรู้เพื่อการจัดการตนเอง ซึ่งคิดเรื่องเวทีประชา เข้าใจ เปลี่ยนทักษะการคิด ร่วมกันเปิดเป็นสถาบันการ เรียนรู้เพื่อจัดการตนเองให้ชาวบ้านเรียนรู้ทุนของชุมชน โดยใช้ฝายมีชีวิตเป็นเครื่องมือ และต่อมาได้ขยายเครือ ข่ายฝายมีชวี ติ ไปจังหวัดอืน่ ๆอีกด้วย คลองเขาแก้วมีความ

<< ต่อจากหน้า ๔

ประชาพิจารณ์กันก่อนเพื่อความเห็นชอบ ของชาวเมืองนคร 'ป้ อ มประตู เ มื อ งชั ย ศั ก ดิ์ ' นี้ ถู ก ออกแบบโดยช่างชาวฝรั่งเศสสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ชื่อ 'เดอ ลามาร์' เมื่อ พ.ศ.๒๒๓๐ (ค.ศ.๑๖๘๗) ปัจจุบัน ประตูเมืองบางส่วนยังหลงเหลือรวมทั้ง ก�ำแพงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือยาว ประมาณสองร้อยกว่าเมตร และทางด้าน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือได้รับการบูรณะ ขึ้นมาใหม่บางส่วน โดยการย้ายโรงไฟฟ้า

ออกไป แล้วสร้างก�ำแพงเมืองขึ้นมาใหม่ ตรงตามต�ำแหน่งฐานเดิม รูปแบบเดิม ส่วน 'ป้ อ มมุ ม ' ทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ก็ ไ ด้ มี การรื้อเรือนพักเจ้าหน้าที่เรือนจ�ำออกไป แล้วสร้าง 'ป้อมมุมตะวั​ันตกเฉียงเหนือ' ขึ้นค่อนข้างจะสมบูรณ์ การบูรณะครั้งนั้น ท�ำกันในสมัยอธิบดีนิคม มูสิกะคามะ และ หัวหน้าคณะกองโบราณคดีที่ดูแลคือ คุณ พงศ์ธัน ส�ำเภาเงิน งานบูรณะ 'ป้อมประตู เมืองชัยศักดิ์' ครั้งนี้ก็คงจะท�ำหนังสือขอผู้ เชีย่ วชาญท่านนีม้ าร่วมงานด้วยอีกครัง้ หนึง่

ยาวประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตรมีเป้าหมายในการท�ำฝาย ๕๐ แห่ง ปัจจุบันในต�ำบลเขาแก้ว ได้ด�ำเนินการท�ำฝาย ไปแล้ว ๒ แห่ง บริเวณหมู่ ๑ ชุมชนบ้านตลาด และท่าน�ำ้ สี่กั๊กเป็นเขตติดต่อ ต.ขุนทะเล ส่วนการก�ำหนดที่ตั้งฝาย นั้น ก�ำหนดตามแผนที่ท�ำมือ โดยชักชวนเครือข่ายคลอง ที่อยู่ทั้งสองฝั่งเข้ามามีส่วนร่วม มีก�ำนัน เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ให้ความรู้ เมื่อได้แผนที่ท�ำมือ แล้วก็ก�ำหนดจุดสร้างในที่ มีภมู นิ เิ วศเหมาะสม ผลจากการสร้างฝายทัง้ ๒ แห่งท�ำให้ เกษตรกรมีนำ�้ ใช้ตลอดฤดูกาล สวนผลไม้เงาะ มังคุด พืช ผักทีป่ ลูกอยูส่ องฝัง่ คลองให้ผลผลิตทีน่ ำ� มาบริโภค “หลัก การเบื้องต้นของฝายมีชีวิต มี ๓ ขาคือ เริ่มจากประชา เข้าใจ ไม่เริม่ จากงบประมาณ โดยเฉพาะค่าแรง และต้อง มีธรรมนูญคลอง เรื่องค่าแรงเรามีการทอดผ้าป่า เลี้ยง น�้ำชา ชาวบ้านน�ำข้าวหม้อแกงหม้อมาเลี้ยง ผู้น�ำท�ำฝาย ต้องบอกให้ชัดว่าไม่ลงเล่นการเมือง เราของบจากทหาร ส่วนหนึ่ง ขอกระสอบ ขอเชือก ขอทราย พอฝายสองก็ ของบประชารัฐ งบภัยแล้งมาช่วย หลังจากนีจ้ ะให้ชมุ ชน จัดการ เรามี ทสม. หรืออาสาสมัครพิทกั ษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ไว้คอยดูแลฝาย ส่วนการหารายได้ เพือ่ น�ำมาบ�ำรุงฝาย ก็จดั ตัง้ เป็นวิสาหกิจชุมชนฝายมีชวี ติ ท่าน�้ำสี่กั๊ก บริหารจัดการน�้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็น ที่ท่องเที่ยว มีร้านอาหาร เป็นโรงเรียนฝายมีชีวิต เป็น แหล่งเรียนรู้ เป็นที่ฝึกว่ายน�้ำของชุมชน เรามีโครงการ ท�ำสระว่ายน�้ำให้โรงเรียนต่างๆมาร่วม เพราะน�้ำมีตลอด ทั้งปี โครงการต่อไปคือให้ชาวบ้านได้กลับมากินปลา โสด (ปลากระสูบ) ปลาท้องถิน่ ซึง่ เคยมีชกุ ชุมในแหล่งน�ำ้ แห่งนี้ ท�ำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ตลอดล�ำคลองเขา แก้วนี”้ นายสมเดช กล่าว

จากภาพแผนผังของ เดอ ลามาร์ และ ส่วนของป้อมประตูเมืองที่ยังเหลืออยู่อีก หนึง่ ป้อม คือ 'ป้อมบัง' ทางทิศตะวันออก ทั้งประสบการณ์ที่ได้ไปพบเห็นประตูเมือง หลายที่ในฝรั่งเศสและยุโรปผมจึงสเก็ตซ์ ภาพป้อมประตูเมืองชัยศักดิ์ฉบับเต็มรูป ขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางให้มีการถกเถียง กันในเบื้องต้นก่อน ว่าป้อมประตูเมืองควร จะมีลักษณะอย่างนี้หรืออย่างไร เพราะ ภาพถ่ายหรือภาพวาดเต็มรูปยังสืบค้นไม่ เจอ แต่ก็คงไม่เหลือบ่ากว่าแรงของเหล่า นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีหลาย ท่านที่ถูกเชิญเข้ามาร่วมท�ำกัน เช่น สาย ส�ำนักศิลปากร คุณพงส์ธนั ส�ำเภาเงิน คุณ อาณัติ บ�ำรุงวงศ์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ

คุณชาญฤทธิ์ สุดฉายา คุณวโรภาส วงศ์จตุภทั ร คุณวีระศักดิ์ ฤทธิเดช คุณนัคพดี อยู่คงดี และคุณนารีรัตน์ ปรีชาพีชคุปต์ หั ว กะทิ ทั้ ง นั้ น ส่ ว นเมื อ งนครเราก็ มี อ.ฉั ต รชั ย ศุ ก ระกาญจน์ อ.สุ เ มธ รุ จิ วณิ ช ย์ กุ ล อ.ภู ธ ร ภู ม ะธน อ.สมพุ ท ธ ธุระเจน คุณองอาจ สนทะมิโน คุณพูลสุข พูลพิพัฒน์ และผมเข้าร่วมขบวนกับเขา ด้วยคนหนึ่ง ส่วนนี้จะเป็นส่วนทางสาย วิชาการโดยเฉพาะ แต่เมื่อถึงเวลาจะเริ่ม ท�ำกันจริงเมื่อไหร่ ทีมงานในการด�ำเนิน การคงเพิม่ เติมส่วนทีจ่ ำ� เป็นอีกหลายท่าน อ่านกันแล้ว ทราบกันแล้วลองชวน คิดชวนคุยกันดูว่ามีความคิดเห็นในเรื่อง 'ป้อมประตูเมืองชัยศักดิ'์ อย่างไร


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๒

รื่องสุขภาพเดือนมกราคม ๒๕๖๐ คง เกี่ยวกับน�้ำท่วมตามสถานการณ์ แม้ น�้ำท่วมรอบเมืองนครตั้งแต่วันที่ ๒ - ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ หลายพื้นที่ก็ตาม แต่ ปลายเดือนธันวาคมฝนยังตกลงมาเป็น ระยะๆ ยังไม่อาจท�ำนายว่าขึ้นปีใหม่จะ ขึ้นหน้าแล้ง เพราะน�้ำเคยท่วมเมืองนคร ในเดือนกุมภาพันธ์ เมื่อปี ๒๕๕๔

เกิดจากกระแสไฟฟ้าดูด การบาดเจ็บจาก การเคลื่อนย้ายสิ่งของ แมลงมีพิษกัดต่อย หรืองูพิษกัด ขอให้ประชาชนป้องกันตนเองโดย ขนย้ายอุปกรณ์ไฟฟ้าและสิ่งของจ�ำเป็น ไว้ที่สูง รวมถึงห้ามเปิดปิดสวิทซ์ไฟขณะ ตั ว เปี ย ก และระมั ด ระวั ง ในการเคลื่ อ น ย้ายสิ่งของเพื่อป้องกันการบาดเจ็บ ขณะ

ส�ำนักงานควบคุมโรคที่ ๑๑ นครศรี ธ รรมราช ยั ง กั ง วลกั บ อุ ท กภั ย อั น มี ผู้เสียชีวิตและสูญหายไปกับน�้ำ ๗ ราย ความห่วงใยสุขภาพประชาชนไม่ เฉพาะความเชี่ยวกรากของน�้ำเท่านั้น ยัง

น�้ ำ ท่ ว มต้ อ งระมั ด ระวั ง ตนเองไม่ ใ ห้ ลื่ น หกล้ ม โดยเฉพาะเด็ ก และผู ้ สู ง อายุ ต ้ อ ง คอยเฝ้าระมัดระวังเป็นพิเศษ และไม่ควร สั ญ จรผ่ า นไปในพื้ น ที่ เ สี่ ย งที่ มี น�้ ำ ท่ ว มสู ง น�้ำไหลเชี่ยว หรือ พื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม

หรือแช่น�้ำเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันโรค น�้ำกัดเท้าและโรคฉี่หนู หากจ�ำเป็นควร สวมรองเท้าบูท และเช็ดเท้าให้แห้งเมื่อ ขึ้นจากน�้ำทุกครั้ง และน�้ำป่าไหลหลาก ที่ส�ำคัญมากก็คือผู้ปกครองควรห้าม เด็ ก ลงเล่ น น�้ ำ เพื่ อ ป้ อ งกั น การบาดเจ็ บ หรือจมน�้ำ ส่วนอันตรายที่เกิดจากแมลงมี พิษกัดต่อย เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ที่หนี น�้ำท่วม การป้องกันง่ายๆ คือ ดูแลรักษา ความสะอาดในบ้าน ไม่วางสิ่งของเกะกะ หรือกองทิ้งใกล้บ้าน แต่มีโรคติดเชื้อที่ต้องเฝ้าระวังเป็น พิเศษคือโรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู โรค น�้ ำ กั ด เท้ า และโรคตาแดง ที่ มี ส าเหตุ ม า จากการดื่ ม น�้ ำ หรื อ รั บ ประทานอาหาร ไม่สะอาด ซึ่งเราสามารถป้องกันได้ด้วย การดูแลสุขอนามัยของตนเองโดยดื่มน�้ำ สะอาดบรรจุขวดปิดสนิท หรือน�้ำต้มสุก รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ ถ้าเป็น อาหารส�ำเร็จรูปต้องตรวจดูวันหมดอายุ และล้ า งมื อ ให้ ส ะอาดก่ อ นรั บ ประทาน อาหารทุกครั้ง โดยยึดหลัก 'กินร้อน ช้อน กลาง ล้างมือ' และไม่ถ่ายอุจจาระลงน�้ำ ควรถ่ายใส่ถุงพลาสติกและมัดปากถุงให้ แน่นเพื่อรอการก�ำจัดหลังน�้ำลด ประชาชนควรหลีกเลีย่ งการเดินลุยน�ำ้

ส่วนโรคตาแดงเกิดจากการอักเสบ ของเยื่อบุตา ติดต่อโดยการสัมผัสคลุกคลี กับผู้ป่วยโรคตาแดง หรือน�้ำสกปรกเข้า ตา จะเป็นอยู่ประมาณ ๕ - ๑๔ วัน การ ป้องกันโรคนี้ ควรล้างมือด้วยน�้ำและสบู่ ไม่คลุกคลีใกล้ชิดหรือใช้สิ่งของร่วมกับ ผู้ป่วย ขอให้ทุกคนปลอดภัยกัยโรคที่มา กับน�้ำท่วม ขออย่าได้ประมาทเป็นอัน ขาด

(ต่อจากหน้า ๑๕)

จากนั้นมีค�ำถามมากมายและความกังวล ประกาศหยุดจ�ำหน่ายทั่วโลกอย่างเป็น ว่า หากเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ทางการ พร้อมเรียกร้องผู้ใช้ที่ครอบครอง ได้รับการพัฒนามากขึ้น สามารถคิดและ Note 7 ให้รบี น�ำกลับมาคืนอย่างเร็วทีส่ ดุ วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นได้ ใน อนาคต AI จะเข้ามาแย่งงานของมนุษย์ เพือ่ ความปลอดภัย ๘. เมือ่ “AI” เอาชนะ “มนุษย์” รวมไปถึงจะเป็นภัยต่อมนุษย์หรือไม่ ๙. Apple ตัด headphone jack ทิง้ … “กล้าหาญ” หรือ “หมดมุก” ?

ช่ ว งเดื อ นมี น าคมที่ ผ ่ า นมา มี ก าร แข่ ง ขั น นั ด หยุ ด โลกระหว่ า งปั ญ ญา ประดิษฐ์ AlphaGo จาก Google Deepmind และแชมป์โกะโลก Lee Sedol ผล ปรากฏว่า AlphaGo ก็สามารถโค่นแชมป์ ได้ ส� ำ เร็ จ แล้ ว แถมเป็ น การชนะแบบ ขาดลอยถึง ๓ นัดรวดเลยทีเดียว หลัง

การเปิดตัว iPhone สองรุ่นใหม่ปี นี้ รุน่ ทีน่ า่ จะเรียกเรตติง้ ให้กบั Apple มาก ที่สุดคงต้องยกให้ iPhone 7 Plus ด้วย ลั ก ษณะเด่ น ของกล้ อ งคู ่ สั ง เกตเห็ น การ เปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนมากกว่า iPhone 7 แต่สิ่งที่ถูกคาดการณ์ก่อนจะเปิดตัวและก็

เกิดขึ้นจริง นั่นคือ การตัด “headphone jack” ทิง้ พร้อมค�ำอธิบายจาก Phil Schiller ที่บอกว่ามันคือ “ความกล้าหาญ” ใน การเปลี่ยนผ่านจากสิ่งที่ใช้กันมาเนิ่นนาน สู่สิ่งใหม่ แน่นอนว่าการเปลี่ยนผ่านครั้งนี้ มีเสียงวิพากย์วิจารณ์ทั้งในแง่บวกและแง่ ลบ แต่สงิ่ หนึง่ ที่ Apple แสดงให้เห็นในการ เปิดตัว iPhone ปีนี้ คือ การให้ความส�ำคัญ ต่อวิสัยทัศน์ของตัวเองมากขึ้น แทนที่จะ เดินตามความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งไม่รู้ ว่าวันครบรอบ ๑๐ ปีของ iPhone ในปี ๒๕๖๐ จะมีสิ่งใหม่ใดผุดขึ้นมาเรียกความ “ว้ า ว” ให้ กั บ ผู ้ ค นทั้ ง โลกได้ อี ก ครั้ ง หรื อ เปล่า ๑๐. Apple VS FBI ศึก ! เรือ่ งความ เป็นส่วนตัว ต้ น ปี ๒๕๕๙ เกิ ด ประเด็ น ข้ อ ขั ด แย้งระหว่าง Apple กับ FBI อันเนื่องมา

จาก FBI ยื่นค�ำร้องถึง Apple ให้เขียน ซอฟต์แวร์ใหม่เฉพาะใช้ในการปลดล็อค iPhone 5c หลักฐานทีอ่ า้ งว่าเป็นของผูก้ อ่ เหตุกราดยิงที่ San Bernardino ในเขตรัฐ แคลิฟอร์เนีย เมือ่ ปี ๒๕๕๘ จนมีผเู้ สียชีวติ ถึง ๑๔ ราย แต่ความต้องการดังกล่าวมี ความขัดแย้งต่อนโยบายหลักของ Apple โดยเฉพาะเรือ่ งความปลอดภัย ความ เป็นส่วนตัว ที่อาจส่งผลต่อผู้ใช้ iPhone ทั่วโลกในปัจจุบัน และอาจลุกลามเป็น ปัญหาไปถึงในอนาคตข้างหน้าด้วย แม้จะ เป็นเรื่องเป็นราวกันอยู่พักใหญ่ สุดท้าย FBI ก็ประสบความส�ำเร็จในการปลดล็อค iPhone 5c อุปกรณ์สื่อสารของผู้ต้องหา แต่ไม่เปิดเผยว่าเกิดจากความช่วยเหลือ ของฝ่ายใด ขอขอบคุณข้อมูล : www.aripfan.com, www.pcworld.com


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

มื่ อ สองเดื อ นที่ แ ล้ ว ผมได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชให้เป็นคณะท�ำงานโครงการก่อสร้าง ประตูเมืองเก่า “ประตูชัยศักดิ์” ซึ่งเป็นโครงการย่อย ที่ ๑ ในโครงการใหญ่ : จังหวัดนครศรีธรรมราช นคร ประวัติศาสตร์ (NaKhon Si Thammarat : The Living Historic City) ที่น�ำเสนอโดย “สภาพัฒนาเมืองนคร ภาคพลเมื อ ง” (กลุ ่ ม พลเมื อ งจิ ต อาสา) โดยมี ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ตรีพล เจาะจิตต์ เป็นประธาน ผมคิดว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องส�ำคัญที่ท้าทายมาก จึงอยากถ่ายทอดโดย ย่อให้ชาวนครที่ไม่มีโอกาสเข้านั่งฟังโครงการที่น�ำเสนอ เผื่อได้ข้อคิดในหลายๆ มุมมองครับ จากการที่สภาพัฒนาเมืองนครภาคพลเมืองมอง เห็นว่า จังหวัดนครศรีธรรมราชได้รับการยอมรับให้เป็น “เมืองเก่า” ที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่และยาวนานทุกๆ ด้าน ไม่ว่าเป็นด้านการสร้างบ้านสร้างเมือง ด้านศาสนา ด้านประเพณีและวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละด้านยังมีคุณค่า ทางด้านการอนุรักษ์ ด้านการศึกษา รวมไปถึงด้าน การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ จึงได้เสนอต่อจังหวัดตั้ง โครงการ “จังหวัดนครศรีธรรมราช นครประวัติศาสตร์” เพื่อให้เป็นอัตลักษณ์ประจ�ำเมือง และเพื่อให้อนุชนรุ่น หลังได้รู้ซึ้งถึงการสร้างบ้านพัฒนาเมืองของบรรพบุรุษ ของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับการที่เราก�ำลังด�ำเนินการ เสนอให้วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดพระบรมธาตุ) ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก “ประตูชัยศักดิ์” เป็นประตูทางเข้าเมืองในสมัย โบราณทางด้านทิศเหนือ (บริเวณคลองหน้าเมือง) คู่ กับ “ประตูชัยสิทธิ์” ที่อยู่ด้านทิศใต้ของขอบเขตก�ำแพง เมือง เป็นส่วนหนึ่งของความเป็นเมืองโบราณที่มีประตู เป็นทางเข้าออกเมืองอีกหลายทางจากก�ำแพงเมืองทั้ง ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ทางสภาพัฒนาเมืองฯ ได้ เลือกเอา “ประตูชัยศักดิ์” ที่จะรื้อฟื้นหาอดีตกัน เพราะ เหตุที่อาจสามารถสร้างขึ้นมาอีกครั้งในพื้นที่ว่าง ไม่ได้ เป็นอุปสรรคต่อสิ่งก่อสร้างที่มีอยู่ในปัจจุบันมากนัก คุณ สุธรรม ชยันต์เกียรติ์ ที่ผมนับถือว่าเป็นปราชญ์ท้องถิ่น ของนครคนหนึ่งที่ได้สนใจในเรื่องประตูเมืองมาหลายปี โดยการค้นคว้าจากแผนที่เมืองโบราณนครของวิศวกร ชาวฝรั่งเศส ที่เขียนไว้เมื่อปี ค.ศ.๑๖๘๗ (พ.ศ.๒๒๓๐)

หน้า ๑๓

และรูปแบบสิ่งก่อสร้างก�ำแพงเมืองที่หลงเหลือ ตลอด จนการสอบถามคนสูงวัยที่พอทันเห็นซากก�ำแพงเมืองที่ ไม่ได้ถูกรื้ออิฐไปถมดินสร้างถนน คุณสุธรรมได้ร่างภาพ ตามที่ประมวลข้อมูลขึ้นมาให้เห็นเป็นเค้าโครงประตูเมือง โบราณ ซึ่งเรื่องนี้ท่านเคยเขียนถึงและน�ำภาพดังกล่าว มาลงในหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดฉบับไหนผมจ�ำไม่ได้แล้ว และตามที่ผมเห็นแบบมาก็น่าจะมีความเป็นไปได้ ซึ่งเป็น ลักษณะของประตูที่มีป้อมปราการป้องกันข้าศึกซับซ้อน หลายชั้น รวมทั้งมีการขุดคลองด้านนอกก�ำแพงให้ยากแก่ การเข้าถึงได้ ก็นับว่าเป็นภูมิปัญญาคนสมัยก่อนไม่ว่าจะ เป็นการออกแบบของคนชาติใดก็ตาม และผมเองก็คิดว่า เป็นเรื่องที่สอดคล้องกับการท่องเที่ยวเมืองประวัติศาสตร์ โบราณหากได้มีการรื้อฟื้นขึ้นมา ผมได้อ่านวัตถุประสงค์ของโครงการก่อสร้างประตู เมืองเก่า “ประตูชัยศักดิ์” โดยคาดหวังประโยชน์ที่ได้รับ คือ ๑. อนุรักษ์ประตูเมืองเก่าชัยศักดิ์ให้ใกล้เคียงของ ดั้งเดิมให้มากที่สุด เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้รับทราบ และ เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาประวั ติ วั ติ ศ าสตร์ ข องประตู เ มื อ งเก่ า ประตูเข้าสู่เมืองศรีธรรมราชในอดีต ๒. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ซึ่งมีคุณค่า ทางด้านการอนุรักษ์ และคุณค่าทางด้านเศรษฐกิจของ จังหวัดและของประเทศ ๓. เป็นประตูเข้าสู่บริเวณพระบรมธาตุฯมรดกโลก ผมขออนุญาตมองส่วนตัวในบริบทที่จะให้เกิดขึ้นได้จริง และปราศจากข้อกังขาตามมาภายหลัง ๑. การที่จะทราบที่ตั้งแท้จริงของประตูเมืองชัยศักดิ์ นี้ อาจต้องมีการศึกษาหาหลักฐานอ้างอิง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งว่าเคยมีอยู่จริงหรือไม่ คงไม่พ้นเป็นหน้าที่ของนัก วิชาการทางโบราณคดี และวิทยาการสมัยใหม่ที่ใช้ระบบ สืบค้นร่องรอยทางดาวเทียมที่สามารถมองเห็นเค้าโครง ฐานรากของแนวก�ำแพงและประตูเมืองในชั้นใต้ดิน จึงจะ ขุดค้นจริงจังตามกระบวนการตามมา และก�ำหนดที่ตั้ง ประตูเมือง ณ จุดเดิมในอดีตหรือใกล้เคียงได้ ๒. ลักษณะของป้อมก็ดี ก�ำแพงก็ดี ประตูเมืองก็ดี หาก จะสร้างกลับขึ้นมาใหม่ให้ใกล้เคียงของดั้งเดิมมากที่สุด

เพื่อที่จะให้น�้ำหนักคุณค่าทางประวัติศาสตร์ที่แท้จริง จะ ต้องมีข้อมูลหรือหน่วยงานไหนสนับสนุนรับรองหรือไม่ (ประตูเมืองหลายแห่งที่ได้สร้างขึ้นใหม่ตามหลักฐานที่ ปรากฏชัดเจน เช่น ประตูเมืองเก่าเชียงใหม่) ๓. การสร้างเป็นประตูเข้าอาณาเขตเมืองเก่าที่มี มรดกโลกตั้งอยู่ อาจต้องพิจารณาในบริบทต่างๆ ให้ครบ ถ้วน ซึ่งผมขอตั้งเป็นประเด็นต่างๆ ให้คิดกันต่อครับ - ตามรูปแบบก�ำแพงและประตูโบราณที่สร้างขึ้น เพื่อป้องกันข้าศึกเข้ามาล�ำบากนั้น รู้สึกว่าตั้งคร่อม กลาง ถนนราชด�ำเนินตรงหน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัด จะมี ปัญหาต่อการจราจร หรือกิจกรรมของเมืองในปัจจุบัน ที่ใช้เป็นเส้นทางขบวนต่างๆ บนถนนสายนี้หรือไม่ และ หากปรับแก้ประยุกต์ให้กว้างขึ้นเพื่อใช้งานในกิจกรรม ปัจจุบันโดยไม่ใช้สัดส่วนที่ถูกต้องแบบโบราณ จะถูกต้อง ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ - หากการสืบค้นทางดาวเทียมไม่พบร่องรอยของ ฐานรากก�ำแพงส่วนนี้ จะจ�ำเป็นต้องสร้างขึ้นมาอีกตาม จินตนาการที่เขียนขึ้นมาในสมัยโบราณหรือไม่ - หากการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์เป็นลักษณะ ซุ้มเข้าสู่อาณาเขตเมืองเก่า (Gateway) โดยการประยุกต์ รูปแบบเค้าโครงประตูโบราณ (ความจริงไม่ได้เป็นประตู) โดยไม่ต้องอิงความถูกต้องแท้จริงของประวัติศาสตร์ จะ สามารถสร้างได้จริงและรวดเร็วกว่ารอการสืบค้นทาง โบราณคดีหรือไม่ (กรณีนี้ได้ลงภาพตัวอย่างซุ้มถาวรผ่าน เข้าเขตเมืองต่างๆ ที่มีการประยุกต์มาให้ชมด้วยแล้ว) - หากในอนาคตสามารถหาหลักฐานครบถ้วนอย่าง แท้จริงของประตูเมืองชัยศักดิ์ จะไปสร้างจ�ำลองเพื่อการ ศึกษาในบริเวณอื่นได้หรือไม่ เช่น บริเวณที่ว่างตรงข้าม สวนศรีธรรมโศกราช ที่มีก�ำแพงเมืองเก่าเป็นฉากหลัง อยู่แล้ว (กรณีนี้มีตัวอย่างการสร้างประตูเมืองสงขลาใน เขตเมืองเก่านครนอก-นครใน จ�ำลองของเดิมและไม่ได้ กีดขวางการจราจร จึงเป็นสถานที่นักท่องเที่ยวนิยมมา ถ่ายรูปเก็บภาพกัน) และปีใหม่ พ.ศ.๒๕๖๐ นี้ ผมหวังว่าหนังสือพิมพ์รกั บ้านเกิดนี้ จะได้รบั การสนับสนุนให้คงอยูช่ ว่ ยจุดประกาย การท�ำดีให้บา้ นเมืองเพือ่ "พ่อ" ต่อไปนานๆ ครับ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๔

ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน

อเน้นว่า... “เดินป่าขึ้นยอดเขาหลวง นครศรี ธ รรมราช”...เชื่ อ ว่ า เรื่ อ ง นี้ ค งไม่ เ ป็ น ปั ญ หาส� ำ หรั บ พ่ อ แม่ ที่ เ ป็ น อดีตนักเดินป่า แต่ยังมีพ่อแม่อีกหลาย ท่านที่ยังไม่เคยมีประสบการณ์ในเรื่อง ธรรมชาติ หรือมีจากป่าภาคอื่นที่ไม่ใช่ ป่าเขาหลวง ซึ่งเข้าใจถึงประโยชน์ในการ เดินป่าและต้องการให้ลูกๆ ได้มีโอกาสมี ประสบการณ์ในการสัมผัสธรรมชาติบ้าง โดยเฉพาะป่าเขาหลวงนครศรีธรรมราช ผืนป่าหลังคาแดนใต้ ที่ถูกจัดอันดับโดย นั ก เดิ น ป่ า ว่ า เดิ น หนั ก และยากอั น ดั บ ต้นๆ ของเมืองไทย เพราะต้องเดินเท้า ตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่ระดับความสูงไม่เกิน ๒๐๐ ม.จากระดับน�้ำทะเลไต่ความชัน บนเส้นทางรกเพราะเป็นป่าดิบชื้นและ ลื่นเพราะมีสายน�้ำตกอยู่มากมาย สู่ความ สูงกว่า ๑,๕๐๐ ม. ที่มีความสวยสมบูรณ์ ของป่าฝนในแต่ละความสูงที่ก็จัดอยู่ใน อันดับต้นๆ ของเมืองไทยเช่นกัน..แม้แต่ ผู้ใหญ่นักเดินป่ายังตั้งเป้าหมายในชีวิตว่า

ต้องขึ้นยอดเขาหลวงให้ได้ครั้งหนึ่งในชีวิต แต่ท�ำไมครูบอยครูแจงจึงกล้าพาเด็กๆ ขึ้น ไปถึงบนยอดเขาหลวงได้ หลายต่อหลาย ครั้ง จนช่วงหลังๆ อดเป็นห่วงไม่ได้ว่าจะมี หลายท่านเข้าใจผิดว่า ป่าเขาหลวงนี่เดิน กันง่ายๆ ก่อนที่จะพาเด็กๆ ขึ้นไปถึงบนยอด

เขาหลวงได้ เราต้ อ งมี ก ารเตรี ย มความ พร้อมให้เด็กก่อนทั้งทางร่างกายและจิตใจ ค่ะ ซึ่งอย่างหลังนี่ส�ำคัญที่สุด เพราะ “เขา หลวงเดินด้วยใจและสติจึงจะไปถึง” เริ่ ม จากเราไม่ ค วรใช้ วิ ธี หั ก ดิ บ ส�ำหรับเด็กที่มีชีวิตปกติอยู่ท่ามกลางความ สะดวกสบาย นอนห้องแอร์ อาบน�้ำอุ่น ทุก วัน ให้มาเดินป่าดิบและหนักตั้งแต่ครั้งแรก จะเป็นภาพประสบการณ์ที่โหดร้ายส�ำหรับ เด็กจนเกินไป ต้องพาเด็กออกไปใช้ชีวิต กลางแจ้งในธรรมชาติบ้าง อาจจะเริ่มจาก จุดที่รถขับไปถึง พักในพื้นที่ลานอุทยาน แห่งชาติก่อน เพราะยังมีห้องน�้ำให้ใช้ มี ไฟฟ้าบ้างบางดวงยามค�่ำคืน มีเจ้าหน้าที่ อุทยานคอยดูแล ฝึกให้เด็กดูแลตัวเองในเรื่องกิจวัตร พื้นฐานได้ ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน�้ำ แต่ง ตัว การจัดเก็บสัมภาระส่วนตัวและลอง แบกสัมภาระส่วนตัวเอง ฝึกให้เด็กนอนเต็นท์ได้ ยิ่งถ้านอน แบบไม่ต้องมีแผ่นรองนอนได้ยิ่งดี อาบน�้ำ อุณหภูมิปกติได้ ทานอาหารง่ายๆ และ

ข้าวหม้อสนามที่ท�ำกันเองได้ ฝึกให้เห็นและได้ยินเสียงสัตว์น้อย ใหญ่ในธรรมชาติ ควบคุมอารมณ์จากการ ตื่นกลัวเสียงแปลกๆ จากธรรมชาติได้ นั่ง ลงไปกับพื้นดินพื้นหญ้าได้ ยอมรับได้ว่า แดดต้องร้อนและท�ำให้เรามีเหงื่อ น�้ำต้อง เย็นและท�ำให้เราหนาว ดินโคลนนั้นท�ำให้ เราเปื้อนแต่ไม่ใช่ความสกปรก ฝึกให้เด็กอยู่ในบรรยากาศการใช้ ประโยชน์จากธรรมชาติแบบพึ่งพา เช่น การใช้น�้ำ การหาฟืนก่อกองไฟ การหา อาหารในธรรมชาติแต่พอดี รู้สึกขอบคุณ และเคารพธรรมชาติเสมอ สอนให้ เ ด็ ก สั ง เกตอั น ตราย จากธรรมชาติ ใบไม้ ต ้ น ไม้ แ ละสั ต ว์ ป ่ า ความเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ และไม่ เ ป็ น ธรรมชาติ เพื่ อ ความตื่ น ตั ว ระมัดระวัง ฝึ ก ให้ เ ด็ ก ได้ ล องเดิ น ป่ า ในเส้ น ทางศึ ก ษาธรรมชาติ สั้ น ๆ ที่ ถึ ง แม้ ท าง จะเห็นชัด แต่สองข้างทางมีสภาพป่าที่ เป็นป่าดิบสมบูรณ์ ตั้งแต่ระยะ ๒ – ๑๐ กิโลเมตรก่อน ถ้ามีความชัน ความรกสลับ กันไปบ้างจะยิ่งดี เพื่อฝึกความอดทนให้ เด็กด้วย ปล่ อ ยให้ เ ด็ ก ได้ วิ่ ง เล่ น ในพื้ น ที่ ธรรมชาติอย่างอิสระ เล่นน�้ำในธรรมชาติ อย่างอิสระ เพื่อกล้ามเนื้อของร่างกาย เด็ ก จะได้ ส ร้ า งความคุ ้ น เคย ปรั บ ตั ว กลมกลืนกับธรรมชาติได้ ฝึกให้เด็กใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้ มีนำ�้ ใจ ช่วยเหลือ แบ่งปัน ให้อภัยกัน ให้ก�ำลังใจกันเพราะเมื่ออยู่ในสภาพที่ท้อแท้ ก�ำลังใจจากเพือ่ นร่วมทางส�ำคัญมาก เมื่ อ ถึ ง เวลาเดิ น ขึ้ น ยอดเขาหลวง จริงๆ ระยะการเดิน ของเด็กจะเป็น ๕ วัน จากที่ปกติผู้ใหญ่จะเดิน ๓-๔ วัน เพื่อ ลดระยะความเหน็ดเหนื่อยให้เด็ก (ผู้ใหญ่ หลายคนที่ไม่อยากเหนื่อยมากมักจะขอ ติดตามไปร่วมทริปด้วย ที่ไหนได้ เหนื่อย เท่าเดิมค่ะ แต่แค่ยืดระยะเวลาออกไปให้ เหนื่อยวันละน้อยๆ ) ความยากล�ำบาก จะมี ม ากกว่ า การเดิ น ในเส้ น ทางศึ ก ษา ธรรมชาติธรรมดาเป็นหลายสิบเท่า ไฟฟ้า ไม่ มี ใ ช้ น อกจากกองไฟและแสงเที ย น หรือไฟฉาย ไม่มีห้องอาบน�้ำห้องสุขา ดื่ม และใช้น�้ำจากธรรมชาติ แต่ ด ้ ว ยความที่ เ ด็ ก เคยมี ป ระสบการณ์ในการอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่าง มีความสุขมาก่อน มีสติ มองเห็นและได้ ยินสิ่งรอบตัว จะท�ำให้ปรับตัวได้ง่าย เสีย น�้ำตาบนทางชันได้น้อยลง ไปถึงแค้มป์ แล้วสลัดความเหนื่อยล้าได้เร็ว เติมพลัง สนุกกับการเรียนรู้และเล่นกับธรรมชาติ กั น แบบไม่ เ หน็ ด เหนื่ อ ยกั น สั ก วั น ชนิ ด ที่ผู้ใหญ่ที่ตามมาดูแลยังสู้ไม่ได้เลยทีเดียว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๕

วิ

วัฒนาการของเทคโนโลยียังก้าวหน้า ต่อไปอย่างไม่หยุดนิ่ง ซึ่งปฏิเสธไม่ ได้ว่าเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามามีบทบาท ในชีวิตประจ�ำวันจนอาจกล่าวได้ว่ามัน ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ไป แล้ว ตลอดปี ๒๕๕๙ เป็นอีกปีที่มีหลาย เหตุการณ์ที่ถูกกล่าวถึงและอยู่ในกระแส ความสนใจของผู้คนทั่วโลก บทสรุปของ เหตุ ก ารณ์ ใ นวงการไอที โ ลกประจ� ำ ปี ๒๕๕๙ มีดงั นี้ ๑. พลัง “ข่าวลวง” บน Facebook มี ผ ลต่ อ การเลื อ กตั้ ง ประธานาธิ บ ดี สหรัฐฯ

จากกรณี ชั ย ชนะของ “โดนั ล ด์ ทรัมป์” เหนือฮิลลารี คลินตัน ในการ เลื อ กตั้ ง ประธานาธิ บ ดี ส หรั ฐ ฯ Facebook กลายเป็นเป้าโจมตีของหลายฝัก หลายฝ่ายที่เชื่อว่าบน News Feed มี การแสดง “ข่าวลวง” ของการเลือกตั้ง ประเด็ น ดั ง กล่ า วถู ก ชี้ แ จงโดย Mark Zuckerberg ซีอีโอ Facebook ที่ออก มายอมรับเองว่ามีการปล่อยข่าวลวงจริง แต่แค่เศษเสี้ยวหนึ่งของผู้ใช้กว่าพันล้าน คนเท่านั้น แม้การเลือกตั้งจะผ่านพ้นไป แล้ว แต่ Facebook ยังคงถูกกดดันจาก หลายฝ่ายในการหามาตรการหรือเครื่อง มือในการกรองข้อมูลหรือก�ำจัดข่าวลวง อย่างจริงจัง ไม่ เ พี ย งแค่ Facebook เท่ า นั้ น ในรายของ Google และ Twitter ก็ เป็นหนึ่งในบริษัทที่ถูกเรียกร้องให้ออก มาตรการก�ำจัดข่าวลวงเช่นกัน โดยเมือ่ ไม่ นานนี้ Google และ Facebook ได้เริ่ม ท�ำการปิดกั้นโฆษณาจากเว็บไซต์ที่มีแนว โน้มเผยแพร่ข้อมูลที่มีการบิดเบือนความ จริง เป็นการแสดงให้เห็นว่าทัง้ สองบริษทั มีความตั้งใจที่จะต่อสู้กับปัญหาข่าวลวง บนโลกออนไลน์อย่างจริงจัง

๒. “Mirai botnet” ทะลวง เทคโนโลยี “IoT” อุตสาหกรรม Internet of Things หรือ IoT ถือเป็นเทคโนโลยีที่ถูกคาดหวัง ว่าจะกลายเป็นอนาคตทีส่ ำ� คัญของโลก แต่ เทคโนโลยีชนิดนี้ยังมีช่องโหว่ที่ส่งผลต่อ ความปลอดภัย ซึง่ มีรายงานการโจมตี IoT ครัง้ ใหญ่เมือ่ ช่วงปลายปี ยกตัวอย่าง บริษทั OVH ผูใ้ ห้บริการ web hosting ในฝรัง่ เศส ถู ก โจมตี ด ้ ว ยวิ ธี DDoS ผ่ า นอุ ป กรณ์ ประเภท IoT ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ได้ แก่ กล้องวงจรปิด จ�ำนวนกว่า ๑๕๐,๐๐๐ เครือ่ ง โดยมีทราฟฟิกทีเ่ ข้ามาโจมตีมากถึง ๑.๑ Tbps ซึ่งภายหลังการตรวจสอบพบ การเข้าโจมตีโดยมัลแวร์ที่เรียกว่า “Mirai botnet” อาศัยการโจมตีไปทีอ่ ปุ กรณ์ IoT ทีใ่ ช้ระบบปฏิบตั กิ าร Linux เนือ่ งจาก IoT เป็นเทคโนโลยีที่ถูกโจมจีได้ง่ายและสร้าง ผลกระทบได้รนุ แรง ๓. Qualcomm เข้ า ซื้ อ กิ จ การ NXP มูลค่า ๓๘,๐๐๐ ล้านบาท

เป็นดีลใหญ่ของอุตสาหกรรมเซมิ คอนดักเตอร์ โดยการตัดสินใจของ Qualcoom ผู้ผลิตชิปส�ำหรับสมาร์ทโฟน เข้า ซื้อกิจการ NXP ผู้ผลิตชิปประมวลผล มี ผลจากการคาดการณ์ ต ลาดสมาร์ ท โฟน ในอนาคตอันใกล้นี้ที่มีแนวโน้มชะลอตัว และหดตั ว ลงเรื่ อ ยๆ ดั ง นั้ น การทุ ่ ม เงิ น เป็ น สถิ ติ ค รั้ ง นี้ ถึ ง ๓๘,๐๐๐ ล้ า นบาท จะช่ ว ยให้ Qualcomm สามารถขยาย อุตสาหกรรมไปยังอุปกรณ์ประเภท IoT และอุตสาหกรรมยานยนต์ไร้คนขับได้ดว้ ย ๔. Intel ปลดพนักงาน ๑๒,๐๐๐ คน เซ่นอุตสาหกรรม PC ซบเซา อย่างทีห่ ลายคนคงทราบดีวา่ อุตสาหกรรม PC อยู่ในสถานการณ์ที่ซบเซา ซึ่ง

แน่ น อนว่ า ส่ ง ผลกระทบต่ อ บริ ษั ท ไอที ผู ้ ผลิตฮาร์ดแวร์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่เว้น แม้กระทัง่ Intel ผูผ้ ลิตชิปประมวลผลราย ใหญ่ของโลกก็ได้รับผลกระทบของสภาวะ ตลาด PC ซบเซาเช่ น กั น โดยเมื่ อ ต้ น ปี ๒๕๕๙ ทาง Intel ประกาศปลดพนักงาน ถึ ง ๑๒,๐๐๐ คน คิ ด เป็ น ๑๑% ของ พนักงานทั้งหมด พร้อมขยายตลาดเข้าสู่ อุตสาหกรรม Cloud และ IoT รวมไปถึง Data Center ที่มีแนวโน้มเป็นเทคโนโลยี แห่งอนาคต ๕. HoloLens เริ่ ม เข้ า สู ่ ต ลาด อนาคตของ VR ทีอ่ ยูต่ รงหน้า

การเปิดตัวแว่นตา HoloLens ฉบับ Development Edition เมื่ อ สิ้ น เดื อ น มีนาคม และออกวางจ�ำหน่ายไปแล้วเมื่อ ช่วงปลายปี เป็นการตอกย�้ำให้เห็นถึงการ เจริ ญ เติ บ โตของอุ ต สาหกรรม Virtual Reality และ Augmented Reality แม้ HoloLens จะอยูใ่ นช่วงให้นกั พัฒนาทัว่ ไป ได้เริ่มหาซื้อไปใช้งานและหาข้อบกพร่อง แต่แผนการดังกล่าวจะน�ำมาซึ่งการพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ทั้งในเรื่องของ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ Windows Holographic รวมไปถึงสามารถเชือ่ มต่อกับ PC ได้งา่ ยยิง่ ขึน้ ๖. แฮกเกอร์ ป ฏิ บั ติ ก าร “เจาะ ข้อมูล” พรรคเดโมแครตสหรัฐฯ

เมื่ อ เดื อ นมิ ถุ น ายนที่ ผ ่ า นมา มี รายงานว่ามีแฮกเกอร์กลุ่มหนึ่งได้เจาะ ระบบล้ ว งข้ อ มู ล เข้ า ไปยั ง พรรคเดโม แครตสหรัฐฯ ซึ่งมีฮิลลารี คลินตัน เป็น ตัวแทนของพรรคในการลงชิงต�ำแหน่ง ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในขณะนั้น โดย เป็นการล้วงข้อมูลอีเมล์กว่า ๒๐,๐๐๐ ฉบับ พร้อมส่งต่อให้กับเว็บไซต์ WikiLeaks เพื่อเปิดโปงให้โลกรู้ว่าพรรคเด โมแครตมีความพยายามในการขัดขวาง นายเบอร์นี แซนเดอรส์ คูแ่ ข่งของฮิลลารี คลินตัน ในการชิงเป็นตัวแทนพรรค ด้วย การเปิดโปงดังกล่าวท�ำให้เจ้าหน้าที่ของ พรรคตัดสินใจลาออกไปหลายราย ซึง่ การ เปิดโปงครั้งนี้มีการอ้างว่ารัสเซียเป็นผู้อยู่ เบื้องหลังและให้การสนับสนุนแฮกเกอร์ กลุ่มนี้ ก่อนที่โฆษกของรัสเซียจะออกมา ปฏิเสธต่อเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ๗. Samsung Galaxy Note 7 มหากาพย์ “ลุกเป็นไฟ”

เปิดตัวไปเมือ่ เดือนสิงหาคม ส�ำหรับ Samsung Galaxy Note 7 ภายใต้การ ออกแบบและเทคโนโลยีอนั ทันสมัย ท�ำให้ หลายฝ่ายคาดการณ์ว่าจะเป็นแฟ็บเล็ต ขีดเขียนได้ทขี่ ายดีทสี่ ดุ รุน่ หนึง่ ของ Samsung แต่ทว่าฝันที่สวยงามกลับต้องล่ม ลง เนื่องจากมีผู้ใช้จ�ำนวนมากพบปัญหา ตัวเครื่องร้อน จนเกิดการลุกไหม้ ซึ่งครั้ง แรกของการเกิดปัญหาทาง Samsung ยินดีให้ผทู้ ซี่ อื้ ไปแล้วกลับมาเปลีย่ นเครือ่ ง ใหม่ทรี่ ะบุวา่ ได้รบั การปรับปรุงเรือ่ งแบตเตอรี่ ต ้ น เหตุ ข องปั ญ หาเรี ย บร้ อ ยแล้ ว แต่เหตุการณ์กลับเกิดซ�้ำรอยอีกระลอก เนื่องจากมีผู้ใช้บางรายที่เพิ่งน�ำ Note 7 เครื่องล็อตแรกไปเปลี่ยนเครื่องล็อตใหม่ กลับยังพบปัญหาความร้อนสูงและเกิด การลุ ก ไหม้ ขึ้ น จนในที่ สุ ด Samsung ตัดสินใจประกาศเรียกคืน Note 7 ทัว่ โลก ทัง้ หมด ก่อนจะ (อ่านต่อหน้า ๑๒)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

อยอ่างขาง จ.เชียงใหม่ เป็นความ ใฝ่ ฝ ั น ที่ ห ลายคนอยากไป เพราะที่ นี่อากาศหนาวตลอด โดยเฉพาะช่วงฤดู หนาวอุณหภูมิไม่ถึง ๑๐ องศา นอกจาก ได้สัมผัสอากาศหนาวแล้ว ดอยอ่างขางยัง เป็นแหล่งปลูกผัก-ผลไม้เมืองหนาวที่จะ ท�ำให้ผู้ไปเยือนได้ลิ้มรสแล้ว ที่ นี่ . ..ดอยอ่ า งขาง เป็ น สถานี วิ จั ย หลวงแห่งแรกของประเทศไทยและเป็น

ต้นแบบของสถานีวิจัยหลวงอื่นๆ ทั่วภาค เหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงพลิ ก ฟื ้ น จากพื้ น ที่ เขาหัวโล้น ปลูกฝิ่น ท�ำไร่เลื่อนลอยให้เป็น พื้นที่ปลูกผัก และผลไม้เมืองหนาว เมื่อกลางเดือนมกราคม ๒๕๕๗ ผม ได้ มี โ อกาสปั ่ น จั ก รยานบนดอยอ่ า งขาง นับว่าเป็นความภูมิใจที่สุดของชีวิตที่ได้ปั่น จักรยานบนดอยสูง ๓ วันเต็มๆ ที่ปั่นบน ดอยอ่างขางและปั่นที่ใกล้เคียง คิดว่าน่า จะทุ ก ซอกทุ ก มุ ม ที่ ผ มได้ ป ั ่ น ไปสั ม ผั ส มา แล้ว ดอยอ่างขางสถานีวิจัยหลวงแห่งแรก ของประเทศไทย


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ หลังได้รับภารกิจถ่ายภาพ เพื่อพ่อจากกระทรววัฒนธรรม ผมมักใช้เวลาเดินทาง ไปตามจุดต่างๆ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช วันอาทิตย์นี้ก็เช่นกัน ผมใช้เวลาช่วงเช้า เข้าไปในตลาดคูขวาง ไปบันทึกภาพที่มีทุกบ้าน ที่บรรดาพ่อค้าแม่ขาย น�ำมาแขวนในร้านของตัวเอง ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น มีความสุขที่ได้พูดคุย กับทุกคนที่รักพ่อหลวง ภาพที่มีทุกบ้าน ถ่ายได้ทุกที่จริงๆ

หน้า ๑๗


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๘

@

ตลาดย้อนยุคปากพนัง โอ ลั่ลล้า ฉบับนี้ ขอพาท่านผู้อ่านขับรถลิ่ว ไปเยือนอ�ำเภอปากพนัง แนะน�ำแหล่งรวม ความอร่อยแบบพื้นบ้าน กับตลาดย้อน ยุคปากพนัง ตลาดที่เรียกได้ว่ารวบรวม ทั้งวิถีชีวิต ขนมพื้นบ้านและอาหารพื้น ถิ่นมาให้นักท่องเที่ยว หรือผู้มาเยือนได้ พากันหลงใหล มาแล้วก็อยากจะกลับมา เที่ยวใหม่ โดยไม่รู้สึกเสียเที่ยวที่จะต้อง เดินทางมาไกล.. จริงๆ แล้วการเดินทาง จากอ� ำ เภอเมื อ งเข้ า สู ่ อ� ำ เภอปากพนั ง โดยใช้ถนนเส้นหลักนครศรีฯ - ปากพนัง

ซึ่งหากเดินทางออกจากตัวเมือง โดยใช้ เส้ น ทางถนนพั ฒ นาการคู ข วาง จากใน เมื อ งก็ ขั บ ตรงจนพบสามแยกใหญ่ คื อ สามแยกนาหลวง ขั บ ผ่ า นร้ า นโฮมโปร แล้ ว เลี้ ย วซ้ า ยผ่ า นตลอดเข้ า สู ่ ถ นนเส้ น นครศรี - ปากพนัง ได้อย่างง่ายดาย หลัง จากนั้นก็ขับตรงไปจนกว่าจะเจอสามแยก ใหญ่ เลี้ยวขวาไปยังปากพนังฝั่งตะวันออก แล้วขับตรงขึ้นสะพานข้ามแม่น�้ำปากพนัง ลงสะพานเลี้ยวซ้าย เจอแยกไฟแดงเลี้ยว ขวาเข้าเมืองปากพนัง ขับตรงไปเกือบถึง สถานีต�ำรวจ ก็จะมองเห็นพื้นที่ตลาดน�้ำ

ย้อนยุคได้อย่างง่ายดาย ของซื้อของฝาก ส�ำหรับตลาดที่นี่มีมากมายจริงๆ ค่ะ ไม่ ว่าจะเป็นอาหารทะเล ปู ปลา หอย ปลา กระบอกร้าขึน้ ชือ่ รวมไปถึงไข่ปลากระบอก ที่นักท่องเที่ยวที่มาถึงปากพนัง ล้วนต้อง หอบหิ้วกลับไปเป็นของฝาก ขนมพื้นบ้าน อาหารพืน้ เมืองของทีน่ กี่ ไ็ ด้รบั ความนิยมไม่ แพ้กันเชียวนะคะ ไม่ว่าจะเป็นผัดหมี่เมือง นั ง อั น เลื่ อ งชื่ อ ข้ า วย� ำ สมุนไพรห่อใบตองที่ดูน่า รั บ ประทาน ขนมเบื้ อ ง, ขนมไข่ ป ลา, ขนมด้ ว ง ขนมจูจ้ นุ ฯลฯ ดับกระหาย ด้ ว ยน�้ ำ สมุ น ไพรไทยที่ แสนจะชื่ น ใจทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ได้ ลิ้ ม รส ... ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ จะไปเที่ ย ว ควรไปถึ ง ใน ช่วงที่แดดร่ม ราวๆ สี่โมง กว่าๆ บรรยากาศจะร่มรืน่ ท�ำให้ยงิ่ น่าเดินชืน่ ชม

ทัง้ ตลาดริมน�ำ้ และบริเวณด้านนอก เพราะเสน่ห์ของตลาดย้อนยุคปากพนัง นี้ นอกจากจะเต็มไปด้วยอาหารรสเลิศ แล้ ว ก็ ยั ง เต็ ม ไปด้ ว ยขนมพื้ น บ้ า นแสน อร่อย ที่ปัจจุบันยากที่จะหารับประทาน นอกจากการตกแต่งสถานที่ที่มุ่งเน้นให้ กลมกลืนกับธรรมชาติริมน�้ำ พร้อมแคร่ ไม้ไผ่ทวี่ างเรียงราย พร้อมเสือ่ ส�ำหรับปูนงั่ แล้ว วัสดุทนี่ ำ� มาห่ออาหาร ตลาดริมน�ำ้ ที่ นี่เรียกว่ารักษาสิ่งแวดล้อมและปราศจาก พลาสติกทุกชนิดค่ะ นี่คือเสน่ห์ที่เอาชนะ ใจนักท่องเที่ยวมาโดยตลอด ตลาดย้อน ยุคปากพนัง จัดขึน้ ทุกวันอาทิตย์ สามารถ เดินทางไปเทีย่ วได้ ตัง้ แต่เวลา ๑๔.๐๐ น. เป็นต้นไป แต่ขอกระซิบไว้หน่อยว่าถ้าไป เร็วหน่อย ก็จะไม่พลาดความอร่อยนะคะ แต่ถ้าถึงช้าหน่อยของอร่อยก็อาจจะหมด ได้เช่นกันค่ะ ... พบกั น ใหม่ ฉ บั บ หน้ า กั บ รู ป แบบ เต็มๆ กับ คอลัมน์ โอ ลัล่ ล้า .. @ หรอยดี ทีเ่ มืองคอน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.