นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 61 ตุลาคม 2559

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม ๒๕๕๙

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพชรคง รักสุขภาพ ทพญ.พัชรี กัมพลานนท์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชีวิตติดล้อ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

หน.หอจดหมายเหตุพลเอกเปรม จัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ น�ำภาพเก่า เมืองคอน ๓๐๐ กว่าภาพ ล้วนมีคุณค่าสร้าง ความรู้และความรักในถิ่นเกิด เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙ นางวิมล หั ว หน้ า หอจดหมายเหตุ น ายกรั ฐ มนตรี พลเอก เปรม ติ ณ สู ล านนท์ กล่ า วเชิ ญ ชวนประชาชน นักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจ ไปชมนิทรรศการ เนือ่ งในวันอนุรกั ษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๙ เรือ่ ง 'ภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองคอน' ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙

มณีโชติ

‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ ขออภั ย คุ ณ กิ ติ พ งศ์ ปั ญ จคุ ณ าธร กรรมการบริหารห้างสหไทยสรรพสินค้า สืบเนื่องจาก ความผิดพลาดของบทสัมภาษณ์ ฉบับที่ ๖๐ ประจ�ำเดือน กันยายน ๒๕๕๙ เขียนนามสกุลผิด จึงขออภัยมา ณ ที่นี้


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

เ ตุ ล าคมเป็ น ต้ น ไป สั ง คมไทยหรื อ สั ง คมนครศรี ธรรมราชเพิ่มจ�ำนวนผู้สูงวัยนับพันคน โดยเฉพาะผู้สูง วัยที่เกษียณอายุจากงานราชการหรืองานรัฐวิสาหกิจ หลังรับใช้งานราชการมายาวนานสามสิบห้าถึงสี่สิบปี บางคนได้ทวีคูณเพราะไปรับราชการในเขตพื้นที่เสี่ยง อันตราย เกษียณจากงานราชการแล้วมีเงินบ�ำนาญ และสวัสดิการต่างๆ เป็นหลักประกันแก่ชีวิต ค� ำ นวณกั น คร่ า วๆ รั บ ราชการชั่ ว ไม่ มี ดี ไ ม่ ป รากฏ แต่สามารถอยู่ในระบบราชการจนได้เกษียณ นับว่าโชค ดีมีเงินบ�ำนาญสมมติเดือนละ ๔๐,๐๐๐ บาท บ้าน เรือนที่อยู่อาศัยมีครบ บุตรธิดาเรียนจบปริญญามีงาน ท�ำ เกษียณอายุไปถือว่าสบาย บางคนอาจมีความสุข เพิ่มขึ้นเพราะได้อยู่เลี้ยงหลาน เกษียณแล้วออกไปใช้ อายุ ๖๐-๗๐ ไม่ให้เหงา ไม่ให้เป็นที่ชิงชังรังเกียจ ของเพื่ อ นบ้ า นและมิ ต รสหาย เงิ น บ� ำ นาญเดื อ นละ ๔๐,๐๐๐ บาท รวมปีละ ๔๘๐,๐๐๐ บาท ถ้าอยูไ้ ด้ ๑๐ ปี รับไป ๔,๘๐๐,๐๐๐ บาท บางคนเกษี ย ณมาใช้ ชี วิ ต ๒-๓ ปี ก็ ต รอมใจเหงาตายเพราะเข้ า กั บ ใครไม่ ไ ด้ ปลดยศบั้งไม่ออกก็มีให้เห็น ผู้สูงอายุหลังเกษียณเป็นผู้มากประสบการณ์ ถ้ามี โอกาสถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์แก่ชุมชน หรือสังคม ชีวิตจะมีคุณค่าน่าภาคภูมิใจและไม่เหี่ยว เฉาเพราะมีสังคมให้เข้าให้หา ได้พูดคุยแลกเปลี่ยน ความรู้ท�ำให้สดชื่น มีชีวิตชีวา แก่ช้าและหลงลืมช้า เพราะได้เสวนาได้หัวเราะกับกลุ่ม ชมรมหรือสมาคมที่ ตนสังกัด โรคหลงลืมหรือสมองตายไม่กล้าเข้าใกล้ การออกก�ำลังกายในผู้สูงอายุหลังเกษียณก็ส�ำคัญ บางคนอาจไม่ออกไปสนามกอล์ฟ เดิน วิ่งหรืออยู่บ้าน กับต้นไม้ ได้รดน�้ำ เก็บไข่ผีเสื้อตามใบอ่อนพรรณไม้ใน กระถาง ได้รดน�้ำพรวนดิน ถือเป็นการออกก�ำลังกาย ได้แสดงความรักความเมตตาต่อต้นไม้ที่ปลูก ได้แสดง ความรักความห่วงใยและเฝ้ารอดูความเจริญเติบโต หรือออกดอกให้ชม ความสุขความเบิกบานย่อมเกิดใน ใจ จะเข้าวัดท�ำไปฟังเทศน์ฟังธรรมบ้างก็ตามศรัทธา แต่อย่าไปนั่งสั่งสอนพระต่อหน้าญาติโยมคนอื่นๆ ให้ เขาร�ำคาญ คนสูงอายุหลังเกษียณถ้าสุขภาพกายใจดี แปดสิบปีไปถึงอย่างสบายๆ

มื่อเริ่มวันที่ ๘ กันยายนที่ผ่านมา แม่รัตนา พงษ์พานิช ของพวกผม ๖ คนพี่ น ้ อ ง ได้ ล าจากโลกนี้ ท ่ า มกลาง พระภิ ก ษุ แ ละลู ก หลานพร้ อ มหน้ า ณ ขณะพระเจริ ญ โพชฌงค์ปริตร และได้บ�ำเพ็ญกุศลจนประชุมเพลิงเสร็จที่ วัดธาตุทอง พระอารามหลวง เมื่อวันที่ ๑๗ โดยได้จัดงาน เชิงสาธิตทุกคืน ประกอบด้วยการปรารภธรรมของพระ เถรานุเถระจากทั่วประเทศ ต่อด้วยการสวดพระอภิธรรม โดยสั ง เขป วั น สุ ด ท้ า ยมี ค ณะสงฆ์ จ ากส� ำ นั ก บาลี ใ หญ่ ๒๐ กว่ารูป เมตตามาสวดมหาปัฏฐานสูตร แล้วยังมีคณะ

เพลงภาวนาที่น�ำโดยเอก ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ มาร้อง เพลงธรรมส่งท้ายอีก ๓ เพลง ในระหว่างนั้น พระเดช พระคุณท่านเจ้าคุณอาจารย์พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ได้เมตตามาเยี่ยมแม่เป็นกรณีที่ไม่ได้คาดคิดและ นับเป็นมิง่ มงคลยิง่ ในฐานะทีแ่ ม่เป็นคนนคร รักและผูกพันกับเมืองนคร และขณะนี้ก็เข้าเทศกาลเดือนสิบ พวกเราจึงเชิญอัฐิและ อังคารของแม่ รวมทั้งโกศของพ่อและพี่ชาย กลับเมือง นครเพื่อท�ำบุญและลอยอังคารเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายนนี้ วันตลอดงาน แต่ที่พิเศษ นั้ น มี ๓ เล่ ม ในชื่ อ ชุ ด “รัตนานุสรณ์” เล่มหนึ่ง นั้ น แม่ เ ขี ย นและพิ ม พ์ แจกเมื่อท�ำบุญฉลองอายุ ๙๐ ปี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ชือ่ “เรือ่ งเล่าของ แม่ : ลูกสาวขุนบวรฯ ที่ เมื อ งนคร” อี ก เล่ ม หนึ่ ง ผมเพิ่งเขียนเพื่อร่วมถวายสมเด็จพระเทพฯ ในวาระทรง เจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษาฯ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ชื่อ “รอยทางพระพุทธศาสนาแรกๆ จากอินเดียถึงไทย” โดย มีเล่มน้อย "ตามรอยธรรมที่นคร...เมืองธรรม" ที่ ททท. นครฯ ขอให้ช่วยเขียนเพื่อให้คนมาเมืองนครแล้วได้สาระ ประโยชน์อะไรกลับไปบ้าง สอดแทรกอยูข่ า้ งใน แม่ผมเขียนถึงความภาคภูมิใจในชีวิต ว่า “ภูมิใจ มากๆ ที่เกิดเป็นคนไทย มีพระเจ้าอยู่หัวเปนที่เคารพและ ห่วงใยประชาชนมากกว่าพระองค์เอง ภูมิใจที่ฉันเปนชาว ก่อนทีจ่ ะได้บงั สกุลและส่งตายายในวันที่ ๑ ตุลาคมทีจ่ ะถึง นคร นับถือศาสนาพุทธ มีพระบรมธาตุเปนที่เคารพบูชา (อ่านต่อหน้า ๑๑) ในงานแม่ พวกเราท�ำหนังสือเป็นบรรณาการราย ของคนทัว่ ไป และได้ไปกราบท่าน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๓

วั

นดีคืนดีพี่น้องหิ้วหมอนทองลูกงามมา ยื่นให้ถึงบ้าน แถมพูดอย่างเกรงๆ “รู้ ว่าก�ำลังงดอาหารหวานมัน แต่ถ้าไม่ลอง หมอนทองตลิ่งชันจะเสียใจไปตลอดชีวิต" เขาคุยว่า 'ทุเรียนตลิง่ ชัน' ต�ำบลกลาย อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ชาวบ้านชาวสวนผู้ปลูกเชี่ยวชาญในการ ปลูกนอกฤดูมานานกว่า ๒๐ ปี เกษตรกร รวมกลุ ่ ม จั ด ตั้ ง 'วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ่ ม ผลิตทุเรียนนอกฤดูกาลต�ำบลตลิ่งชัน' มี สมาชิก ๑๑๙ คน พืน้ ทีป่ ลูกรวม ๑,๑๐๐ ไร่ มี ใ บรั บ รอง GAP (Good Agricultural Practice) รายแปลง ส่งผลผลิตป้อนตลาด ปีละกว่า ๓,๐๐๐ ตัน ตลาดให้การยอมรับ คุณภาพที่เนื้อหนา รสชาติดี เพราะแหล่ง ปลู ก อุ ด มสมบู ร ณ์ เ ป็ น ที่ ร าบเชิ ง เขา ลุ ่ ม แม่น�้ำกลาย ดินดี น�้ำดี อากาศดี ได้ผล ทุเรียนน�้ำหนักต่อลูกดีราวๆ ๓-๖ กิโลกรัม แถมเปลื อ กบาง จนได้ ส มญา 'ทุ เ รี ย น ตลิ่งชัน หวานมัน อร่อย' ผลผลิตจะออก ตั้งแต่ตุลาคม-ธันวาคม น่าเสียดายคนไทย ไม่ค่อยได้กิน เพราะส่วนใหญ่ส่งออกไป ประเทศจีนเอาเงินเข้าประเทศ

จั ด อบรมกรรมการและสมาชิ ก กลุ ่ ม 'วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ่ ม ผลิ ต ทุ เ รี ย นนอก ฤดูกาลต�ำบลตลิ่งชัน' ๒๐ คน ด้านการ บริ ห ารจั ด การกลุ ่ ม ตามวิ ธี ส หกรณ์ โดย ร่ ว มระดมสรรพความรู ้ แ ละวิ เ คราะห์ สถานการณ์ของกลุ่ม การจัดท�ำบัญชี การ จัดท�ำทะเบียนหุ้น การจัดท�ำสมุดเงินฝาก

ความส�ำเร็จนอกจากตัวเกษตรกรเอง แล้ว หน่วยงานต่างๆ ของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์เข้าไปช่วยเหลือและพัฒนา โดย ส่งเสริมให้ปลูกนอกฤดูกาล ซึ่งการแข่งขัน น้อย และยังสร้างแปลงเรียนรู้ ทีห่ มู่ ๓ ต�ำบล ตลิ่งชัน ซึ่งเกษตรอ�ำเภอเป็นผู้จัดการแปลง

และรวมกลุ ่ ม จดทะเบี ย นวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ดังกล่าวแล้วเมือ่ วันที่ ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ จนกลายเป็นศูนย์เรียนรู้ดูงานระดับประเทศ มีคณะดูงานตลอดปี กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมส่งเสริม สหกรณ์ได้เข้าไปสนับสนุนการรวมกลุ่มและ พัฒนาด้านการตลาดโดยถ่ายทอดความรู้แก่ เกษตรกรให้ใช้วิธีการสหกรณ์ในการบริหาร จัดการกลุ่ม ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ระหว่าง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม ได้จัดอบรมผ่าน ศูนย์การเรียนรู้ เรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตจ�ำนวน ๕ รุน่ รุน่ ละ ๕๐ คน กลุม่ พั ฒ นาธุ ร กิ จ ส� ำ นั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เขาไปช่วยให้ความรู้ด้าน จัดท�ำแผนการผลิตและเชื่อมโยงเครือข่าย ตลาดทุเรียนกับสหกรณ์ตา่ งๆ ร่วมกับหน่วย งานอื่นๆ ในกระทรวงเกษตรฯ เพื่อพัฒนา ด้านการตลาด วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ กลุม่ ส่งเสริม สหกรณ์ ๖ (ท่าศาลา นบพิต�ำ สิชล ขนอม)

ของกลุ่ม การออมซึ่งเป็นการส่งเสริมการ ระดมทุ น ภายในกลุ ่ ม และจั ด หาทุ น ภาย นอก เพื่อเตรียมการรวมซื้อรวมขายและ ส่งทุเรียนไปจ�ำหน่ายยังตลาด โดยอาศัยรูป แบบสหกรณ์และสร้างความพร้อมในการ จัดตัง้ สหกรณ์จดทะเบียนถูกต้องในอนาคต วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ กรมส่งเสริม การเกษตรและสหกรณ์ จั ด งานรณรงค์ 'ไม่ตัดทุเรียนอ่อน' ขึ้นในพื้นที่เพื่อรักษา มาตรฐานคุณภาพและชื่อเสียงของทุเรียน ตลิง่ ชันแห่งลุม่ แม่นำ�้ กลาย โดยจัดกิจกรรม บันเทิงและการเรียนรู้วิชาการ โดยส�ำนัก งานเกษตรอ�ำเภอท่าศาลาเป็นผู้รับผิดชอบ เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก ในการรั ก ษาชื่ อ เสียงและคุณภาพของทุเรียนตลิ่งชันด้วย วิธสี หกรณ์ให้กลุม่ เข้มแข็งยิง่ ขึน้ แม้ เ กรงความหวานและการเพิ่ ม ของน�้ำหนักตัว แต่ผมก็ไม่กล้าเอาทุเรียน ตลิ่งชันไปหยิบยื่นให้ใคร และผมไม่ต้อง เสียใจอะไรอีก


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๙ ในนามคณะผู้จัดท�ำ 'รักบ้านเกิด' ขอกราบขอบพระคุณผู้อ่านผู้มีอุปการคุณ เจ้าของสินค้าและ บริการที่สนับสนุนให้หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นเล็กๆ ด�ำเนินมาครบ ๕ ปี ฉบับนี้ก้าวขึ้นปีที่ ๖ ขอขอบคุณโรงแรมและร้านค้าที่ เอื้อเฟื้อพื้นที่เป็นแหล่งวางแจกจ่าย

มได้มีโอกาสเดินทางไปกับคณะผู้บริหารจังหวัดนครศรีธรรมราชและภาค เอกชนเพือ่ ไปเยือนเมือง 'กุย้ ก่าง' เป็นเมือง เล็กๆ เมืองหนึ่งในมณฑล 'กว่างซี' ของ สาธารณรัฐประชาชนจีน คณะที่ไปเยือน ครั้งนี้ไปตามค�ำเชิญของเขา เพื่อเป็นการ ตอบแทนที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชและ สมาคมพาณิ ช ย์ จี น นครศรี ธ รรมราชได้ ให้การต้อนรับเขาเมื่อครั้งที่เขามาเยือน เมืองนครต้นเดือนมิถนุ ายน คณะทีม่ าเยือน ครัง้ นัน้ โดยการน�ำของ 'นางสาวเว่ย เซีย่ ว-

ฮุย' รองนายกเทศมนตรีเมืองกุ้ยก่าง ได้มาแลกเปลี่ยน ทัศนะความคิดเห็น รวมทั้งแสวงหาความร่วมมือลู่ทาง การค้ า การลงทุ น และที่ ส� ำ คั ญ มาดู แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ในเมืองนคร การพูดคุยกันครั้งแรกทางเมืองกุ้ยก่างสนใจผลไม้ ทุเรียน มังคุดและส้มโอทับทิมสยาม รังนกและยางพารา เพราะเมืองกุย้ ก่างมีอตุ สาหกรรมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ล้อรถยนต์เป็นส่วนทีใ่ ช้ยางพาราจ�ำนวนมาก ส่วนการท่องเทีย่ ว ชาวเมืองกุย้ ก่างส่วนใหญ่นบั ถือ

พุทธศาสนา พระบรมธาตุเป็นสถานทีท่ เี่ ขาสนใจมาเยือน มาก ชายทะเลขนอมก็ เ ป็ น เป้ า หมายของชาวกุ ้ ย ก่ า ง เพราะเมืองเขาไม่มีทะเล จึงมีการหารือเรื่องการบินตรง จากเมืองกุย้ ก่างมานครศรีธรรมราชโดยตรง เรือ่ งนีต้ อ้ งดู กันยาวๆ หากสนามบินเราพร้อมก็มคี วามเป็นไปได้เร็วขึน้ ให้หลังไม่กี่เดือน เขาก็เชิญเราให้ไปเยี่ยมเมืองเขา บ้าง คณะเราทั้งสองกลุ่มจึงออกเดินทางไปตั้งแต่วันที่ ๗ กันยายนที่ผ่านมา ขลุกขลักเรื่องการเดินทางพอสมควร ตั๋วเครื่องบินมีไม่พอทั้งคณะจึงต้องแยกกันไปหลายเที่ยว หลายล� ำ หงุ ด หงิ ด กั น พอสมควร แต่ เ มื่ อ เจอกั บ การ ต้อนรับขับสู้ของเทศบาลเมืองกุ้ยก่างก็หายเครียดไปเลย เขาถือว่าคณะเราเป็นแขกส�ำคัญของประเทศ เป็นคณะ ใหญ่ซึ่งมีท่านผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการ จังหวัดของเมืองนครประเทศไทยมาเยี่ยมเมืองเขา จึงได้ เห็นการต้อนรับของเด็กนักเรียนเข้าแถวรับแขกเมือง สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหรือนิคมอุตสาหกรรมทีเ่ ราไปเยือน ก็มี คณะดนตรีแบบจีน ปี่ กลอง ฉาบโหมกันอึกทึกทุกที่ ตกเย็นตกค�่ำได้รู้จักโต๊ะจีนขนานแท้ อาหารการกินการ เลี้ยงต้องเหลือเฟือแบบจีน สุรามีเหมาไถและไวน์ก็มีมา เป็นไหๆ ชนแก้วแล้วตะโกน 'กันไปย์' (หมดแก้ว) ดวลกัน ตลอดงาน สมใจพวกคอทองแดงเขา งานที่เป็นทางการคือการเข้าเยี่ยมนายกเทศมนตรี เมืองกุ้ยก่าง คือ 'นายหนงหรง' จัดสถานที่ประชุมคล้าย กับประมุขประเทศเขาพบปะกัน ท่านได้บรรยายสรุปให้ ฟังว่าเมืองกุย้ ก่างมีอายุยาวนาน >> อ่านต่อหน้า ๑๑

ก่อนเกษียณไปพักผ่อน ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า เป็นประธานเปิดงานอีกหลายงาน วันก่อนไปเปิด 'ฝายมี ชีวิตหาดทรายทอง' ต.ท้ายส�ำเภา อ.พระพรหม ชาวบ้านสร้าง เก็บกักน�้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง ทั้งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำสร้าง ความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่...ชาวบ้านต่างพากันชื่นใจ ชาวนครยินดีต้อนรับ ผู้ว่าฯ คนใหม่ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา อดีตผู้ว่าฯ จ.ภูเก็ต มี น โยบายใหม่ ๆ รี บ แจ้ ง ให้ ประชาชนทราบโดยเร็ว ขอแสดงความยิ น ดี กับรองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ที่จะย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่า ราชการจังหวัดตรัง มีโอกาสจะ แวะไปเยี่ยมเยือน

ย่างเข้าฤดูฝน รองผู้ว่าฯ ดนัย เจียมวิเศษสุข เป็น ประธานการประชุมคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาระบบน�้ำท่วม ขังในเขตเทศบาลนครฯ และพื้นที่ใกล้เคียงหาทางป้องกันไม่ ให้กระทบต่อประชาชน เน้นไปที่บริเวณล�ำคลองนครน้อย แถว โรงเรียนนานาชาติ และบริเวณท่าน�้ำ-วัดพระมหาธาตุฯ วัด ชลเฉนี ย น ที่ มี สิ่ ง กี ด ขวางทางระบายน�้ ำ จะหาทางแก้ ห รื อ จัดการอย่างไรชาวบ้านละแวกนั้นเขากังวล รณรงค์สวมหมวกกันน็อคกี่แคมเปญก็ท�ำกันไป ถ้า พล.ต.ต.วัยไชย เอกพรพิชญ์ ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด นครฯ ไม่ เ อาจริ ง ท� ำ ไปก็ เ ท่ า นั้ น จุ ด น่ า สั ง เกตผู ้ ป กครองขี่ มอเตอร์ไซค์ไปส่งลูกที่โรงเรียนอนุบาลกี่คนซื้อหมวกกันน็อค ให้ลูก...เอาแค่นี้ก่อน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๕ GRAND OPENING วันอาทิตย์ ๒๘ สิงหาคมที่ผ่านมา วาริน ชิณวงศ์ ประธานหอการค้า จังหวัดนครศรีธรรมราช กับอารยา สารคุ ณ รองเลขาธิการร่วมเป็น เกี ย รติ พิ ธี เ ปิ ด ตั ว ทาวน์ โ ฮม ๓ ชั้ น และ CLUB HOUSE สุ ด หรู โครงการ CASA ราชด�ำเนิน ภาย ใต้ ก ารบริ ห ารงานโดย ฉั ต รสิ ริ นามเกิด ผู้บริหารอาดา

ขอแสดงความเสียใจ กับ นพ.บัญชา พงษ์พานิช ต่อ การจากไปของ คุณแม่รัตนา พงษ์พานิช

๔. พฤหัสฯที่ ๒๗ ตุลาคม RobinOn Jeans - คาราวาน Troop Big Bike ยีนส์ วันศุกร์ที่ ๒๘ ตุลาคม กิจกรรม เดินแฟชัน่ โชว์ สินค้า ยีนส์ วันอาทิตย์ที่ ๓๐ ตุลาคม ปนัดดา วงศ์ผดู้ ี เจ้าของแบรนด์ 'BSC ปนัดดา' ให้เกียรติมาเปิดตัวสินค้าที่บริเวณลาน Hello Beauty แผนกเครือ่ งส�ำอางค์ชนั้ ๑ เลขาฯ มู ล นิ ธิ เ มาไม่ ขั บ ร่ ว มรณรงค์ ขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ร่ ว มเปิ ด กิจกรรม 'ผูว้ า่ ห่วงหัว' โดยฮอนด้าศรีนครร่วมแจกหมวกกันน็อค ให้แก่นอ้ งๆ ไว้สวมเพือ่ ความปลอดภัย

นี่ก็น�้ำ รองผู้ว่าฯ พงศ์เทพ ไข่มุกด์ ประชุมเตรียม พร้อมป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ร่วมกับปริญญา สัคคะนายก ผอ.ส�ำนักงานชลประทานที่ ๑๕ รับมือน�ำ้ ท่วมรอบนอกในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของกรมชลฯ ทัง้ นีไ้ ด้สงั่ การให้จดั เตรียมเครือ่ งมือไว้พร้อม

ถาวรวัฒน์ คงแก้ว ปลัดจังหวัดนครฯ ประชุมคณะ อนุกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน ๑:๔๐๐๐ หรือ ONE MAP จ.นครฯ และคณะท�ำงาน เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมการฯ จังหวัด เพื่อร่วมพิจารณาและให้การรับรองการปรับปรุงแผนที่แนวเขต ที่ดินของรัฐฯ ที่ได้มีการปรับปรุงแก้ไขโดยคณะท�ำงานตรวจทาน ข้อมูล สุรเชษฐ์ รัตนนุกุล ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด นครฯ ประชุ ม คณะกรรมการฝ่ า ยงบประมาณและการเงิ น ในการจั ด การแข่ ง ขั น 'เมื อ งคอนเกมส์ ' ระหว่ า ง ๒๐-๒๙ ตุลาคมนี้เพื่อคัดเลือกนักกีฬาจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ เป็น ตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓ ระหว่าง ๑๖-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๐ ที่จังหวัดชุมพรและระนอง กิ จกรรมประจ� ำ เดื อ นของห้ า งสรรพสิ น ค้ า โรบิ น สั น (เซ็นทรัลพลาซานครศรีธรรมราช) ส�ำหรับผูส้ นใจ ๑. เสาร์ที่ ๘ ตุลาคม Sparkle Girlz Model Contest Season ๒ ประกวดแต่งตัวเหมือนตุ๊กตา Sparkle Girlz Fashion เฟ้นหา

ปรีดี คงสงค์ ผจก.ทั่วไป ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครฯ, จังหวัดนครฯ และส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครฯ จัดกิจกรรมสืบสานประเพณี ‘สืบสานนครศรีสารทเดือนสิบ’ ระหว่าง ๑๖ กันยายน ถึง ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ ณ บริเวณชั้น ๑ รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล เป็นประธานเปิด วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๙ รองผูว้ า่ ฯ ศิรพิ ฒ ั พัฒกุล, พล.ต.ต.วัยไชย เอกพรพิชญ์ ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด นครฯ และ นพ.แท้จริง ศิริพานิช เลขาฯชมรมคนห่วงหัวและ

ทีมงาน ทองซีกวง และ บริษัทซีกวง โกลด์ จ�ำกัด โดย ปาลิกา จึงไพศาล - ธิติ ตระกูลเมฆี รวม ๓๐ คน ท�ำพิธีไหว้ และกล่าวบูชาพระพุทธและจตุคามรามเทพ เพื่อปฏิญาณตน ว่าจะรับผิดชอบ ตั้งใจท�ำงานให้องค์กรด้วยความซื่อสัตย์ ขยัน หมั่นเพียร ณ ศาลหลักเมือง นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙

Sparkle Girlz Brand Ambassador ๒. เสาร์ที่ ๑๕ ตุลาคม Pacific Union Festribal (สินค้า Only at Robinson) Fashion Show เปิดตัว new collection

๓. อาทิตย์ที่ ๑๖ ตุลาคม Sewing cup Sewing heart by Sabina - มีแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญให้ความรูเ้ รือ่ งมะเร็งเต้านม และ มุมเย็บเต้านมเทียมและ จ�ำหน่ายสินค้าราคาพิเศษ Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Seekuang_central

Seekuang BJ

Line ID : @Seekuang

Line ID : boonada

099-195-6996

เพชรทอง 1. ถ.เนรมิต ท่าวัง 2. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน 3. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างสหไทยพลาซ่ า ทอง 4. ชั้ น 2 โซนร้านทอง ห้างเซ็นทรัลพลาซ่ า 5. ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) 6. หัวอิฐ 7. คูขวาง (หน้า ธ.SME) 8. ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุ ม ซ.ศรีนคร) 9. สะพานยาว (ข้างโลตัสเอ็กเพรส เร็วๆ นี้) เพชรทองออนไลน์ 10. www.facebook.com/BOONADA ทอง (หาดใหญ่) 11. ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๖ เกษตรกร มาเลีย้ งไก่ เลีย้ งจิง้ หรีด ท�ำ นา จัดกิจกรรมต่างๆ ในนาม 'สวนลุง เชาว์' ชีวิตในญี่ปุ่นเช้าส่งหนังสือพิมพ์ ท�ำงานหนัก กล่าวสุนทรพจน์ได้อนั ดับ ๑ ของประเทศญี่ปุ่นจากการแข่งขัน กลับ บ้านมีเงินสามแสนกว่าบาทสุดท้ายมาเลี้ยง ไก่ ตัง้ ใจกลับมาพัฒนาบ้านเกิด" เชาว์ เ ป็ น คนแรกๆ ที่ เ ปิ ด เว็ บ ไซต์ ทางธุรกิจในนามบริษัท เจ.ซี.เวิลด์ คอมมิ ว นิ เ คชั่ น ฯ รั บ พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและออกแบบเว็บไซต์มีลูกค้า ตั้งแต่ประจวบฯ ถึงเบตง เจ้าของบริษัท ไทยอินฟอร์เมชัน่ ซิสเต็ม ซึง่ เป็นธุรกิจสร้าง ฐานข้อมูลเพือ่ ธุรกิจและการสือ่ สาร เจ้าของ บริษทั น�ำเข้าส่งออก "ผมเปิดโรงเรียนยานากาวาไฮสคูล โดยจับมือกับชาวญี่ปุ่นเพื่อสังคมไทย ผม ท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่ไม่มีใครทราบเพียงคน เดียวในจังหวัดนครฯ เอาเรื่องของจังหวัด นครฯไปเผยแพร่มากมายทีญ ่ ปี่ นุ่ จนกระทัง่ ญีป่ นุ่ รูจ้ กั นครฯ เป็นอันดับ Top Ten เป็น ผู ้ ช ่ ว ย ส.ส.ญี่ ป ุ่ น ผมไปเป็ น ล่ า มแปลให้ นายกฯ อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ผมน�ำชาวญีป่ นุ่

ร.เชาว์ เต็มรัก ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันพัฒนาคุณภาพชีวติ นครศรีธรรมราช (สวนลุงเชาว์) เปิดสวนน�ำ 'รักบ้าน เกิด' เข้าชมและบรรยายให้ฟงั ด้วยตัวเอง ถึงการสร้างตัวตน ตามปณิธานอันแน่วแน่มาตั้งแต่ยังหนุ่ม จากเด็กบ้านนอก ชาวปากพนังบินข้ามน�้ำข้ามฟ้าไปแสวงหาโอกาสเล่าเรียน ท�ำงานส่งหนังสือพิมพ์ ครูสอนภาษาไทยและเรียนรู้วัฒนธรรมญี่ปุ่นที่สอนให้มีระเบียบวินิย ขยัน อดออม มีสัมมา คารวะ จากลู ก ชาวบ้ า นขายกะปิ แ ละนั ก เรี ย นมั ธ ยมวั ด ลิงขบ เชาว์ท�ำงานพลางส่งตัวเองเรียนจนจบปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการตลาด และปริญญาโท สาขา สารสนเทศ จากมหาวิทยาลัยคานาซาวา เชาว์ใช้ชีวิตในญี่ปุ่น ๙ ปี ได้รู้จักบุคคลส�ำคัญๆ และ ร่วมงานทัง้ นักธุรกิจ การเมืองท้องถิน่ และนักการเมืองระดับ ชาติ เชาว์กลับบ้านเกิดเมืองนครร่วม ๑๖ ปี โดยเข้าร่วม กิจกรรมทางสังคมจนอิ่มตัว เขาซื้อที่ดินซึ่งเป็นพื้นที่สวน ทางตะวันตกของตัวเมืองนครประมาณ ๖ กิโลฯ ด้วยเงิน สะสมของตัวเอง แล้วลงมือปลูกสร้างสวนเกษตรตามฝัน พร้อมเรียนปริญญาเอก สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต จนส�ำเร็จ ภายในสวนเกษตรเขากับเพื่อน ชาวญีป่ นุ่ ผูบ้ ริหารโรงเรียนมัธยมอายุ ๗๐ กว่าปีในญีป่ นุ่ ร่วม กันเปิดโรงเรียนมัธยมยานากาวาภายในสวนทีร่ ม่ รืน่ "ที่ดินประมาณ ๑๐ ไร่ ผมซื้อเพิ่มเรื่อยๆ ซื้อเอง--ใน พื้ น ที่ ทั้ ง หมดนอกจากโรงเรี ย นยั ง มี ส นามเปตอง ผมจั ด กิจกรรมธรรมในสวน มีตกั บาตรเดือนละครัง้ นิมนต์พระมา ทุกเดือนเป็นลานธรรมจัดมาหลายปี” เชาว์ เ ล่ า ขณะน� ำ ชมพื้ น ที่ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และ พัฒนาคนตามปณิธาน "ทีน่ มี่ มี งั คุด ๑๐๐ กว่าต้น ต้นไม้รวมประมาณ ๔,๐๐๐ ต้น ต้นหนึง่ ให้ออกซิเจน ๒.๖ ปอนด์/ปี เลีย้ งเด็กได้ ๒ คน/ ต้น เลี้ยงเด็กได้ประมาณ ๒,๐๐๐ คน ไปอยู่ญี่ปุ่น ๙ ปี ออสเตรเลีย ๒ ปี มาอยูเ่ มืองไทยปริญญาเอก สูงสุดมาเป็น

"ใครมาศึกษาดูงานเข้าได้นอนได้พกั ได้ นอนฟรี กินฟรี ได้ท�ำบุญไปในตัว ไว้รองรับผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์เวลา เขามาเยี่ยมลูก มาดูงาน ผมท�ำห้องน�้ำแบบไม่ต้องเทพื้น ปูราดด้วยหินคลุกให้นำ�้ ซึมลงใต้ดนิ ๑๕ ห้อง ๑๕ สี ประหยัด ค่าใช้จา่ ยเรือ่ งการถูพนื้ ต้องการใช้จลุ นิ ทรีย์ ให้ไส้เดือนยังอยู่ ปกติ อาบน�้ำนวดเท้าไปในตัว สีทาเป็นสีเหลือง ผสมสีอื่นๆ ลงไป...ห้องน�้ำแบบญีป่ นุ่ ไม่มไี ฟฟ้า ไม่มกี ระดาษ ประหยัด น�ำ้ ๗๐ เปอร์เซ็นต์ ทีอ่ าบน�ำ้ เวลาเด็กมาเข้าค่ายลูกเสือ การ อาบน�ำ้ ก่อให้เกิดนวัตกรรมทางความคิด เด็กต้องพูดต้องเล่น ต้องหยอกกัน โถปัสสาวะด้านล่างต่อท่อขึ้นไปเป็นฝักบัว อาบน�ำ้ เพราะประหยัดสถานที่ เราไม่มที ี่ ใช้พนื้ ทีอ่ ย่างคุม้ ค่า ลานกิจกรรม เดินจงกรม เป็นหาดทรายรอบบริเวณ ผมปลูก หมามุ่ยอินเดียไว้ให้แห้งเอาเม็ดมาคั่ว เหมือนกาแฟเขาว่า เป็นยาโด้ป มีคนมาซือ้ เม็ดละบาท" ภายในสวนข้ า งโรงเรี ย นมี ส นามกอล์ ฟ กั บ ฐาน กิจกรรม ๑๕ ฐานทับซ้อนในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน "เพื่อนชาวญี่ปุ่นเป็นคนออกแบบสนามกอล์ฟ ๑๘ หลุม จะนั่งเล่นนอนเล่น ตีกอล์ฟฝึกสมาธิ ฝึกการวางแผน เด็กหรือผู้ใหญ่มาเล่นได้ วันหยุดฝรั่งมาเล่นหลายคน ฝึก ท� ำ งานเป็ น ที ม ได้ ฝึ ก การมี ระเบี ย บวิ นั ย ฝึ ก อ่ า นใจคนผมปลูกไม้ไผ่ พริกปลูกไว้เอง ๒๐๐ กว่าต้น เป็นแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ การเรี ย นรู ้ ที่ นี่ ท� ำ เป็ น สถาบั น พั ฒ นาชี วิ ต นครศรีธรรมราช มีโลโก้ของ ดร.เชาว์...พร้อมกับกิจกรรม ค่ายลูกเสือ ๑๕ ฐานครบเครื่อง จัดตั้งตามหลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ ทีน่ มี่ หี อ้ งน�ำ้ ๕๔ ห้อง เรือนนอนสอง ชัน้ เวลาเข้าค่ายลูกเสือ เข้าค่ายพักแรม สิง่ มีชวี ติ ต่างอยูด่ ว้ ย ทั้งไส้เดือน ทั้งหนอนแมลงต้องให้เขาอยู่ เด็กชอบที่จะเข้า มานอน ทางซีกนีม้ ที อี่ าบน�ำ้ ได้พร้อมกันราวๆ ๒๐ คน ปลูก มาเทีย่ วเมืองนครหลายพันคน" ภายในสวนมีความพร้อมทุกอย่าง ทั้งห้องน�้ำ ที่นอน ต้นเขลียง ๒๕๐ ต้นไว้กนิ ยอด พืน้ ทีต่ ารางเมตรเดียวอาบน�ำ้ อุปกรณ์กิจกรรมค่ายลูกเสือหรือค่ายต่างๆ พร้อมรับคน ได้ ห ลายคน น�้ ำ จะเย็ น เหมื อ นน�้ ำ บาดาล มี โ รงกรองน�้ ำ เด็กสามารถดื่มน�้ำได้ทุกก๊อกเหมือนญี่ปุ่ น น�้ำที่นี่เป็นน�้ำ ๒๐๐-๓๐๐ คน ประจุลบ" เชาว์เล่าพลางเดินน�ำหน้าไปยังบ่อ เลี้ยงปลา ทั้งปลาดุก ปลาหมอ ปลากระดี่ เป็นบ่อปูนข้างล่างเป็นดินปกติ เขาหยุดข้างๆ นาข้าวก�ำลังสุกเหลือง ขึ ง กั้ น ด้ ว ยกั ด ดั ก ปลาป้ อ งกั น นก "นาข้ า ว กว้าง ๔ เมตร ยาว ๖ เมตร ๒๔ ตารางเมตร ได้ข้าว ๕๐ กิโลกรัม มี ๓ บ่อเท่ากับ ๑๕๐ กิโลกรัม ท�ำได้ทงั้ ปี เอาดินมาใส่ ข้างล่างเป็น ปูน ตัดเสร็จได้ลูกข้าวตอ ๒ เป็นข้าวหอม ราชินี ในหลวงท�ำแจกประชาชน แหนแดง เอามาจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นอาหารของ ข้าว เตรียมอินทรียใ์ ห้ขา้ ว เป็นอากาศหายใจ ของเมล็ดข้าว...ปีหนึ่งท�ำได้ ๔ ครั้ง เรียนจบ ดอกเตอร์มาท�ำนา เลีย้ งกบ" เขาเปิดประตูอาคารเรือนให้เข้าไปดู ห้องเลีย้ งจิง้ หรีด “ห้องนีจ้ งิ้ หรีดร้องทัง้ วัน ในห้องมีคอนโดจิ้งหรีด วางไข่ในขัน ตัวละ ๑๐๐-๒๐๐ ฟอง ขันหนึ่งประมาณ ๕๐,๐๐๐ ฟอง เอา ไปขายคนจะเลี้ยงต่อ ๑,๐๐๐ บาทต่อขัน ที่ นี่มีประมาณ ๒๐ ขัน เอาเงินค่าขายจิ้งหรีด ไปเลีย้ งคนงาน ขีเ้ อาท�ำปุย๋ เลีย้ ง ๖๐ วันเอา ให้ไก่กิน ผมเลี้ยงกบในยางรถยนต์ ๒๐๐ ตัว แปลงผัก ฟักข้าว บวบหอม บวบงู ผัด ลวก จิม้ น�ำ้ พริก ไม่ได้ขายเวลาคนมาก็เก็บให้ไป ไม่ ต้องซื้อ คนท�ำงานคนเดียว ไก่มีชื่อเรียบร้อย ฟังวิทยุ มีพดั ลม มีไฟฟ้า (อ่านต่อหน้า ๙)


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๗

ศึกษาอนาคต เพื่อก�ำหนด เป้าหมายของชี วิต

ารศึ ก ษาอนาคตเป็ น สิ่ ง ที่ เ ป็ น ไปได้ และมี ค วาม จ�ำเป็นอย่างยิ่ง มีค�ำกล่าวที่ว่า “คนประสบความ ส� ำ เร็ จ ในชี วิ ต จึ ง ต้ อ งรู ้ คุ ณ ค่ า แห่ ง อนาคต” มนุ ษ ย์ สามารถท้าทายอดีตหรือชะตากรรมได้ พวกเขาเลือก และเปลี่ ย นแปลงเส้ น ทางชี วิ ต ได้ จึ ง ขอน� ำ เอาค� ำ พยากรณ์ ๗ ข้อ ส�ำหรับองค์กรในอนาคต ซึ่งเป็นงาน วิจัยของ “Apollo Research Institute Future of Work” ๑. โลกเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ไม่ แ น่ น อน คลุมเครือ ไม่ชัดเจน ๒. มีนวัตกรรมในการสร้างกระบวนการท�ำงาน และเครื่องมือใหม่ขึ้น ท�ำให้องค์กรมีโครงสร้างที่แบน ราบยิ่งกว่าเดิม มีการกระจายอ�ำนาจและทรัพยากรที่ รวดเร็วขึ้น ๓. แรงงานจะมาจากทั่วโลก ๔. ระบบเครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งยนต์ มาทดแทน แรงงานมนุษย์ที่มีทักษะไม่สูงนัก ไม่มีความเชี่ยวชาญ ๕. ข้อมูลจะเข้ามามีบทบาทในการท�ำงานมากขึ้น ๖. การสมาคมสร้างสัมพันธ์ผ่าน Social Network มีมากขึ้น ๗. ความหลากหลายในองค์กรทางด้านวัฒนธรรมเชื้อชาติ-ศาสนา-เพศ มีมากขึ้น ซึ่งถ้าเราเปิดใจพิจารณาจากความเป็นจริงในเวลา นี้กับการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ท�ำให้ พอมองเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นและก็สอดรับกับค�ำ ท�ำนายอนาคตจากหลายส�ำนักงานวิจัยของโลกอย่าง ของ เฮกรุ๊ป ที่พูดถึง “๖ เมกะเทรนด์” ๑. โลกาภิวัตน์ จะท�ำให้ภูมิภาคเอเชียเข้าครอบ-

ครองเศรษฐกิจโลก เกิดการเพิ่มขึ้นของชนชั้นกลางใหม่ใน ภูมิภาคนี้ (จีนคือตัวอย่าง) ๒. วิกฤติสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ-ชีวิต ผู้คน ๓. คุณค่าความเป็นปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล ต้อง การอิสรภาพมากขึ้น การใช้แรงจูงใจจะมีมากขึ้น ๔. โลกแห่ง Digital ชีวิตการท�ำงานกับส่วนตัวแยก กันไม่ออกท�ำได้ทุกที่ ๕. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ผู้คนจะมี ชีวิตยืนยาวมากขึ้นคนเกิดใหม่จะลดลง ๖. การรวมกันของเทคโนโลยี ส่งผลต่อการใช้ชีวิต ประจ�ำวันเปลี่ยนไป จากทั้ ง สองงานวิ จั ย ท� ำ ให้ เ ราพอมองเห็ น ภาพ อะไรบ้าง ? ผมใคร่ขอให้พิจารณาเป็นข้อๆ ดู ความจริง ในวันนี้ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมพอเห็นเค้ารางอนาคต ได้บ้างนะครับ เรามี อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต-การมองเห็น อนาคตแล้วหยิบอนาคต มาท�ำในปัจจุบันเพื่อไปสู่อนาคต จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการใช้ชีวิตในวันพรุ่งนี้ครับ แต่ถ้า เราลองทบทวนการเปลี่ยนผ่านของโลกในแต่ละยุคที่มัก มีคนพูดถึงกัน จากยุคที่ ๑ คือยุคเกษตรกรรม ยุคที่ ๒

เดื อ นตุ ล าคม ๒๕๕๙ วันเสาร์ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐ ปีวอก วันอาทิตย์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๙ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีวอก วันอาทิตย์ที่ ๑ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีวอก วันออกพรรษา วันจันทร์ที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ แรม ๘ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีวอก วันอาทิตย์ที่ ๓ ๐ ตุลาคม ๒๕๕๙ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีวอก

ยุคอุตสาหกรรม ยุคที่ ๓ ยุคสารสนเทศ ยุคต่อไปคือ ยุคของ Network - ยุคของเครือข่าย ขุมทรัพย์ใหญ่ของ ตลาดโลกในเวลานี้คือประชากร ๓.๕ พันล้านคน จาก จีน อินเดีย อินโดนีเซียและรวมอาเซียน ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนผ่านในยุคนี้และยุคหน้า สิ่งที่เกิดตามมาก็คือ - โครงสร้างของต้นทุนจากอุตสาหกรรมจะถูกลง - นวัตกรรมจักเกิดขึ้นทั่วโลก ไม่เฉพาะอเมริกา เหนือ ยุโรป (EU) - การแข่งขันเพื่ออนาคตคือการแข่งขันเพื่อส่วน แบ่งของโอกาส (Opportunity Share) มากกว่าจะ เป็นส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) ผมคิดว่าการน�ำเอาแนวคิดงานวิจัยการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคตมาช่วยกันตั้งค�ำถามแลกเปลี่ยน ท�ำให้เราฉุกคิดและหาทางปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อการ ใช้ชีวิตในอนาคตพื้นฐานส�ำคัญมาก คือแนวคิดเชิงบวก และการลดความเป็นตัวตนลง หวังว่าคงได้มุมมองใหม่ๆ เกิดขึ้นบ้างนะครับ… นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ ก.ย. ๕๙


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

ณ หอจดหมายเหตุนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ สนามหน้าเมืองนครศรีธรรมราช อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช ซึง่ เปิดแสดงมาตัง้ แต่วนั ที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ ในวันและเวลาราชการ นางวิมล มณีโชติ หัวหน้าหอจดหมายเหตุนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ กล่าวว่า การจัด นิ ท รรศการครั้ ง นี้ เ พื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ๖๑ พรรษา ภาพเก่ า ที่ น� ำ มาจั ด ครั้ ง นี้ มี ๓ หมวด ได้แก่ สถานที่ บุคคลและเหตุการณ์ที่ส�ำคัญ ประมาณ ๔๐ ชิ้น การค้นหาภาพเก่าส่วนหนึ่งได้มาจาก การจัดประกวด ท�ำให้ได้เห็นได้รู้ว่ามีภาพอะไรบ้าง และ ใครเป็นผู้ครอบครอง ภาพที่น�ำมาแสดงส่วนหนึ่งได้รับ

ความกรุ ณ าจากนายสถาพร พฤกษะศรี , นายโกมล พันธรังสี และนายกิตติศักดิ์ คเชนทร์ รวมทั้งหมด ๒๐๐๓๐๐ ภาพ ภาพสถานที่ส�ำคัญ ได้แก่ วัดพระมหาธาตุฯ ปี ๒๕๐๐, เจดีย์ยักษ์ ปี ๒๔๔๑, สี่แยกท่าวัง, สะพาน ยาว, หอการค้าหน้าสถานีรถไฟ ฯลฯ ภาพบุคคล ได้แก่

พ่อท่านม่วง, พ่อท่านคล้าย, ครูน้อม อุปรมัย ฯลฯ ภาพ เหตุการณ์ ได้แก่ ร�ำมโนราห์ทหี่ าดทรายแก้ว วัดพระมหาธาตุฯ และวาตภัยทีแ่ หลมตะลุมพุกฯ เป็นต้น นางวิมล มณีโชติ กล่าวว่าการจัดนิทรรศการครั้งนี้ เพื่ อ เผยแพร่ เ อกสารจดหมายเหตุ ประเภทโสตทั ศ น์ จดหมายเหตุ (Audio-vision Archives) ซึ่งเป็นภาพ เอกสารหลักฐานที่สามารถบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิด ขึน้ ภาพแสดงให้เห็นชีวติ ความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ การศึกษา ศาสนา การสาธารณสุข ตลอดจนธรรมเนียม ประเพณีและยังสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมในอดีต บอก เล่าเรื่องราวในอดีตและความเป็นมาอย่างชัดเจน และยัง เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญา อยากให้ประชาชนเข้ามาชมมา รับรู้ให้แพร่หลาย ส�ำหรับนักเรียนนักศึกษาจะเป็นการ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในงานจดหมายเหตุ และรูถ้ งึ คุณค่าและความส�ำคัญของเอกสารจดหมายเหตุ และร่วม กันอนุรกั ษ์ไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติในอนาคต นางวิมล มณีโชติ กล่าวเพิ่มเติมว่า ถ้าประชาชน มีภาพถ่ายในอดีตของท้องถิ่นสามารถน�ำมาบริจาคเป็น วิทยาทานหรือให้ทางหอจดหมายเหตุไปถ่ายส�ำเนาก็ยินดี การน�ำมาเก็บในที่หอจดหมายเหตุฯ นอกจากเพื่อเก็บ รักษาแล้วยังน�ำภาพมาอ่านว่าเป็นภาพอะไร ถ้าอ่านไม่ได้ ก็ต้องสืบค้นกันต่อไป ตัวอย่างภาพหลังเหตุการณ์วาตภัย ทีแ่ หลมตะลุมพุก บิดามารดาของผูม้ อบให้นำ� มาแสดงบาง ส่วน และเก็บไว้เป็นสมบัติไม่ได้น�ำออกมาแสดงบางส่วน เจ้าของเล่าว่าบิดามารดาเป็นครู เป็นคนเล่นกล้องและ ห้องล้างอัดภาพ หลังเกิดเหตุการณ์มารดาเป็นคนออกไป บันทึกภาพเอาไว้ จึงท�ำให้ผู้ชมเห็นภาพความเสียหายที่ เกิดขึน้ จากมหาวาตภัยชัดเจนยิง่ ขึน้


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

มียาสมุนไพร เวลากินอาหารให้ ดูน�้ำ น�้ำประจุลบ น�้ำจากเล้าไก่ ให้ปลาดุกใต้เล้า ๑,๙๙๖ ตัว ไก่ ๑ ตัวเลีย้ งปลาได้ ๑๕ ตัว ไก่ ๑๒๓ ตัว ไข่ได้ ๑๒๕ ฟอง ๒ ตัวไข่วันละ ๒ ฟอง เวลาเห็นปลาดุกไก่มีความสุข เข้ามาตอนเช้าพูดคุย ตบหลังไก่ อาหารไก่เป็นดอกดาว เรือง จิ้งหรีด แหนแดง ประหยัดต้นทุน ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ไก่ ไ ข่ มี คุ ณ ภาพ ลู ก ละ ๖ บาท วั น หนึ่ ง ๑๒๕ ฟอง เราท� ำ เกษตรราคาแพง ปลาดุ ก ๓ เดื อ นครึ่ ง จั บ ได้ ลูกปลาดุกเพาะไว้แล้ว นี่คืออาหารปลา มีปลากระดี่ หายาก หาดูยาก ผักชี พริกขีห้ นู มีกรงแม่ไก่พอ่ ไก่" ข้างนอกหน้าห้องเลีย้ งไก่มกี รงกระต่าย "กระตาย ๔๐ กว่าตัว มีชอื่ ภาษาญีป่ นุ่ ให้เด็กมารับ << ต่อจากหน้า ๖

หน้า ๙

ผิดชอบ เด็กมาให้อาหาร ให้ น�ำ้ อุม้ ให้เขารูส้ กึ ว่าเขาได้อยู่ กับสัตว์ ข้างนอกมี โหระพา กะเพรา แมงลั ก แป๊ ะ ต� ำ ปึง แค มะเขือ ผักบุ้งไว้ให้ กระต่าย อาหารจิง้ หรีด" ที่ คื อ สวนเกษตรลุ ง เชาว์ ต ามแนวพระราชด� ำ ริ ที่ประยุกต์ขึ้นมาด้วยความรู้ หมอนและห้องนอนหลากสี เฉพาะตัวของเจ้าของ พูดถึงโรงเรียนบ้าง โรงเรียนยานากาวาเป็นโรงเรียน เชาว์พาขึ้นอาคารโรงเรียนชั้น ๓ ซึ่งเป็นห้องประชุม จุคน ๒๐๐-๓๐๐ คน เขาบอกว่าโรงเรียนมีรายได้จากคณะ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ เปิดสอนปีแรก มีนักเรียนจากหลาย หรือหน่วยงานต่างๆ มาเช่าที่จัดกิจกรรมค่ายคุณธรรมมีเสื่อ จังหวัดทั่วประเทศ ๒๐ คน เด็กๆ แต่ละคนน่ารัก ช่าง เจรจา "เด็กได้สัมผัสเด็กด้วยกัน ปีนี้เด็กอยู่ประจ�ำทุกคน ๒๐ คน ปีการศึกษาหน้าสมัครเต็มแล้ว ๙๖ คน โรงเรียน มีห้องครัว มีโรงอาหารและที่รับประทานสามารถนั่งนอน ได้ ขายของได้ กางมุง้ นอนได้ ท�ำโต๊ะได้ พืน้ กว้าง ๒ เมตร นัง่ กินข้าวได้ ทีน่ เี่ ป็นโรงเรียนทีร่ ว่ มกันสร้างกับญีป่ นุ่ ญีป่ นุ่ สร้างโรงเรียนในประเทศไทย แห่งเดียวในประเทศไทย" ฟังดูเหมือนอวด แต่เป็นความจริงตามปณิธานของ ดร.เชาว์ เต็มรักษ์ ลูกชาวบ้านวัย ๕๒ ปี ผู้มีประสบการณ์มากมายแต่สถาบันท้องถิ่นไม่ใช้ประโยชน์ ทว่า มหาวิ ทยาลั ย ส่ ว นกลางและภู มิ ภ าคอื่ น ๆ เชิ ญเป็ น ที่ ปรึกษามีเงินเดือนและเป็นผูบ้ รรยายค่าตัวแพง

รายงาน

ากการส� ำ รวจปัจ จัยในการแข่ งขันด้านเศรษฐกิจ ของสถาบันส�ำรวจข้อมูล พบว่าภาคการผลิตของ ไทยยังมีประสิทธิภาพต�่ำ เพราะการขาดแคลนแรงงาน ที่เกิดจากค่านิยมเกี่ยวกับการท�ำงาน และการเรียนไม่ สนองตอบตลาด และการให้ความส�ำคัญกับภาพลักษณ์ มากกว่าการน�ำไปใช้ประโยชน์หรือสร้างอาชีพได้จริง การกระจุ ก ตั ว ของพื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมในพื้ น ที่ ใ ด พื้นที่หนึ่งในภาคกลางเกิดปัญหาความเหลื่อมล�้ำทาง รายได้ และการอพยพแรงงานเข้ า มาหางานท� ำ ใน กรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึงพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังต้องพึ่งพาเงิน ทุนจากต่างประเทศ และสินค้าอุตสาหกรรมยังมีการ เชื่อมโยงวัตถุดิบจากภาคการเกษตรไม่มากนัก แม้ภาค การเกษตรจะมีความส�ำคัญมาอย่างช้านาน ส�ำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมการร่วมกับ เครือข่ายชาวสวนยาง เคยร่วมกันประชุมกลุ่มสมาชิก สหกรณ์กองทุนสวนยางฯ ณ องค์การสวนยางนาบอน เมื่อปี ๒๕๕๗ เรื่องแนวทางการพัฒนาตลาดยางพารา ซึ่งปัจจุบันมีพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ควบ ๓ องค์กร คือ ส�ำนักงานกองทุน สงเคราะห์การท�ำสวนยาง องค์การสวนยาง และสถาบัน วิจัยยางเข้าด้วยกัน ภายใต้ชื่อ การยางแห่งประเทศไทย โดยภาครั ฐ สนั บ สนุ น เงิ น กู ้ ป ั จ จั ย การผลิ ต ให้ ส ถาบั น

เกษตรกรหลายโครงการ ทั้งอัตราดอกเบี้ยต�่ำ หรือปลอด ดอกเบี้ ย ทั้ ง โครงการระยะสั้ น และระยะยาว การขึ้ น ทะเบียนเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การเปิดจุดรับซือ้ ยางพารา ฯลฯ ทั้งนี้หากมีการรวมกลุ่มต้องมีการประชุม พูดคุยร่วมกันเพิ่มมูลค่ายางโดยผ่านโครงการโรงอัดก้อน ยาง และต้องมีการระดมหุ้นอย่างต่อเนื่อง โดยชุมนุม สหกรณ์กองทุนสวนยางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้เชิญ

ชวนให้เข้ามาเป็นสมาชิก ทั้งต้องก�ำหนดขั้นตอนวิธีการ น�ำยางมาจ�ำหน่ายให้เครือข่ายอย่างชัดเจน โดยสหกรณ์ กองทุนสวนยางโสตประชา จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวน ยางห้างส้าน จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านหนอง แดงสามัคคี จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางนาบอน จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางจันดี จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวน ยางทุง่ ใหญ่ จ�ำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางเกษตรสัมพันธ์ จ�ำกัด สหกรณ์การเกษตรบางขัน จ�ำกัด ชุมนุมสหกรณ์

กองทุนสวนยางจังหวัดนครศรีธรรมราช จ�ำกัด ฯลฯ มี ความเห็นร่วมกันว่าตลาดยางพาราในประเทศมีมากมาย ทั้งไม่สามารถส่งออกได้ตามก�ำหนด จึงเห็นร่วมว่ามี ความจ�ำเป็นน้อยมากในการเปิดตลาดต่างประเทศ ทั้ง ต้องสร้างความเชื่อมั่นในองค์กรเรื่องคุณภาพยางพารา เครื่องหมายการค้าที่เป็นที่ยอมรับของต่างประเทศ ซึ่ง หากมองดูในประเทศมาเลเซีย ใช้ยางพาราในการท�ำหลัก กิโลเมตร จนถึงถนนซึง่ ท�ำจากยางพารา


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๐

ภิ

กษุ ทั้ ง หลาย ! ปาณาติ บ าต (ฆ่ า สั ต ว์ ) ที่ เ สพ ทั่วแล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อ นรก เป็นไปเพื่อก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่งปาณาติบาตของผูเ้ ป็นมนุษย์ทเี่ บากว่าวิบากทัง้ ปวง คือวิบากทีเ่ ป็นไปเพือ่ มีอายุสนั้ . ภิกษุทงั้ หลาย ! อทินนาทาน (ลักทรัพย์) ทีเ่ สพทัว่ แล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ นรก เป็น ไปเพื่อก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่ง อทินนาทานของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบากทีเ่ ป็นไปเพือ่ ความเสือ่ มแห่งโภคะ. ภิกษุทั้งหลาย ! กาเมสุมิจฉาจาร (ประพฤติผิดใน กาม) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมเป็น ไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรต วิสัย. วิบากแห่งกาเมสุมิจฉาจารของผู้เป็นมนุษย์ที่เบา กว่าวิบากทัง้ ปวง คือวิบากทีเ่ ป็นไปเพือ่ ก่อเวรด้วยศัตรู ภิกษุทั้งหลาย ! มุสาวาท (ค�ำเท็จ) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ นรก เป็นไปเพือ่

ภิกษุทั้งหลาย ! สัมผัป ก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรต ปลาปะ (ค�ำเพ้อเจ้อ) ที่เสพ วิสยั .วิบากแห่งมุสาวาทของผูเ้ ป็น ทั่วแล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มาก มนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ แล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ นรก เป็น วิบากที่เป็นไปเพื่อ การถูกกล่าว ไปเพื่ อ ก� ำ เนิ ด ดิ รั จ ฉาน เป็ น ตูด่ ว้ ยค�ำไม่จริง. ไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่ง ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ปิ สุ ณ า สัมผัปปลาปะของผู้เป็นมนุษย์ วาจา (ค�ำยุยงให้แตกกัน) ที่เสพ ที่ เ บากว่ า วิ บ ากทั้ ง ปวง คื อ ทัว่ แล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว วิบากที่เป็นไปเพื่อวาจาที่ไม่มี ย่อมเป็นไปเพื่อนรกเป็นไปเพื่อ ใครเชือ่ ถือ. ก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรต ภิกษุทั้งหลาย ! การดื่ม วิสัย. วิบากแห่งปิสุณาวาจาของ น�้ ำ เมาคื อ สรุ า และเมรั ย ที่ ผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่า วิบากทั้ง เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ท�ำให้ ปวง คือวิบากที่เป็นไปเพื่อ การ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก แตกจากมิตร. เป็นไปเพือ่ ก�ำเนิดดิรจั ฉาน เป็น ภิกษุทั้งหลาย ! ผรุสวาจา (ค�ำหยาบ) ที่เสพทั่วแล้วเจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ย่อม ไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่งการดื่มน�้ำเมาคือสุราและ เป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อก�ำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อ เมรัยของผู้เป็นมนุษย์ที่เบกว่าวิบากทั้งปวง คือวิบากที่ เปรตวิสัย. วิบากแห่งผรุสวาจาของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่า เป็นไปเพือ่ ความเป็นบ้า (อุมมฺ ตฺตก). วิบากทั้งปวง คือวิบากที่เป็นไปเพื่อ การได้ฟังเสียงที่ อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๒๕๑/๑๓๐. ไม่นา่ พอใจ.

ท่

านอาจารย์ ฉั ต รชั ย (ผศ.ฉั ต รชั ย ศุกระกาญจน์) ประธานกรรมการ ฝ่ายวิชาการรายงานเรื่องการน�ำเสนอวัด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารเมื อ งนครขึ้ น เป็นมรดกโลกว่า ได้มีการปรับแก้และเพิ่ม เติมต้นฉบับจริง NOMINATION DOSSIOR บทที่ว่าด้วย 'ความแท้' (AUTHENTICITY) ของพระบรมธาตุเข้าไปอีกส่วนหนึ่ง คือ การเลือกใช้ 'ปูนหมักและปูนต�ำ' ซึ่งเป็น วัสดุ 'สูตรโบราณ' ที่ทางกรมศิลป์ก�ำลัง ด�ำเนินการอยู่ เพราะถือว่าได้เป็น 'ข้อ เด่น' ของการบูรณะองค์เจดีย์ครั้งนี้ ว่าเรา ยังรักษาความดั้งเดิมแท้ไว้ได้จนปัจจุบัน ‘ปู น หมั ก และปู น ต� ำ ’ เป็ น วั ส ดุ ก่อสร้างปูชนียสถานที่มีมาแต่ครั้งโบราณ ช่างนครอาจจะได้ความรู้นี้มาจากช่างชาว อินเดียหรือชาวจีนมาแต่ครั้งโบราณ การ บู ร ณะครั้ ง นี้ จ ะใช้ ปู น ต� ำ ส� ำ หรั บ ฉาบผิ ว ชั้นนอกขององค์เจดีย์ ปูนต�ำสูตรโบราณ เขาจะใช้ปูนเหนียวชนิดละเอียด น�ำมา ปั้นเป็นก้อนกลม ตากให้พอแห้งเตรียม กระดาษสาหรือกระดาษฟางน�ำมาแช่น�้ำ จนเปื่อยยุ่ย น�ำไปคลุกเคล้าผสมกับเนื้อ ปูนจนเป็นเนื้อเดียวกัน เรียกว่า ‘ปูนต�ำ’ จากนั้นก็น�ำมาห่อให้แน่นไม่ให้อากาศเข้า แล้ ว น� ำ ไปหมั ก ไว้ ใ นน�้ ำ หรื อ ในตุ ่ ม ขนาด ใหญ่ ใช้เวลาหมักนานไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน

พระบรมธาตุสู่มรดกโลก แล้วน�ำมาใช้งาน เขาจะเรียกปูนต�ำขั้นตอน นี้ว่า ‘ปูนหมัก’ ผิวขององค์พระบรมธาตุปัจจุบันบาง ส่วนช�ำรุด มีลักษณะโป่งพองบางจุด ช่าง จะท� ำ การสกั ด ส่ ว นที่ ช� ำ รุ ด ออก พื้ น ผิ ว ที่ ฉาบด้ ว ยปู น ใหม่ ใ นการบู ร ณะครั้ ง ก่ อ น ขู ด ออก รวมทั้ ง ลอกสี ข าวอะคลิ ลิ ก ออก ทั้ ง หมด ฉาบแต่ ง ปู น หมั ก ลงไป ท� ำ การ ขัดตกแต่งผิวด้วยปูนต�ำตามกรรมวิธีแบบ โบราณ ทั้งนี้จะมีการผสมผงสีฝุ่นเพื่อลด ความขาวของปูนต�ำด้วย

ปู น หมั ก ปู น ต� ำ เป็ น งานที่ ท� ำ ยาก มาก เพราะมีการแข็งตัวช้า คนโบราณจึง ผสมด้วยน�้ำตาลอ้อยหรือน�้ำตาลมะพร้าว ช่ า งยุ ค ปั จ จุ บั น เมื่ อ ท� ำ งานปู น ต� ำ ในการ บู ร ณะโบราณสถานเขาจะเลี่ ย งมาใช้ น�้ ำ คาร์ บ อเนต (น�้ ำ โซดา) แทน เนื่ อ งจาก ไม่มีรอยด่างเหมือนผสมด้วยน�้ำตาล แต่ สนนราคาก็แพงกว่ากันมากๆ การบูรณะ ด้วยวิธีนี้นับเป็นข้อเด่นอันหนึ่งที่ทางฝ่าย วิชาการได้เพิ่มเติมลงไปในเอกสาร NOMINATION DOSSIER เพื่อแสดง 'ความแท้

ของวั ส ดุ ' ที่ ช ่ า งนครใช้ ใ นการบู ร ณะ พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช อีกเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจเรื่องพระบรม ธาตุมรดกโลก เมื่อ 'ดร.นันทนา ชุติวงศ์' นั ก วิ ช าการอาวุ โ สด้ า นโบราณคดี จ าก มหาวิ ท ยาลั ย ไลเด้ น ส์ แ ห่ ง ประเทศ เนเธอร์ แ ลนด์ ไ ด้ เ ดิ น ทางมายั ง ประเทศ ไทย และได้เสนอแนะมายังคณะกรรมการ ว่า วัดพระมหาธาตุเรามีประเพณีวัฒนธรรมเก่าแก่ที่ยังด�ำรงอยู่สืบมานานร่วม ๘๐๐ ปี เช่น ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ และ ยังมีแง่อื่นๆ ที่น่าสนใจอีกคือเรื่อง 'พุทธ ศรัทธา' ดังจะเห็นได้จากพุทธศาสนิกชน ทั้งราชอาณาจักรได้น�ำทองค�ำมาหุ้มบน ยอดพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เรี ย กว่ า 'ปลี ยอดทองค�ำ' จากพระมหากษัตริย์หลาย พระองค์ ตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา จาก รัชกาลปัจจุบัน ทั้งชาวบ้านในพื้นที่ภาค ใต้จนกระทั่งเมื่อเร็วๆนี้ก็ยังมีอยู่ 'พุ ท ธ บู ช า' วั ด พระมหาธาตุ ถื อ ว่ า เป็ น วั ด ที่ มี เครื่องพุทธบูชามากที่สุดในประเทศไทย ดั ง ได้ แ สดงอยู ่ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ข องวั ด พระ มหาธาตุ ด้าน 'พุทธศิลป์' ภายในวัดมีงาน ศิลปะทั้งงานก่อสร้าง งานปูนปั้น งาน ประติมากรรมเป็นหนึ่งในแผ่นดิน จากข้ อ เสนอแนะข้ า งต้ น คณะ กรรมการจึงได้เพิ่มเติมแนบบัญชีเครื่อง พุทธบูชาและอื่นๆ บรรจุไว้ในภาคผนวก ด้วย


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

อาจารย์พทุ ธทาสทีส่ วนโมกข์ไชยาและรับ ฟังค�ำสั่งสอนของท่านทั้งทางหนังสือและ เทปเปนประจ�ำ” “ได้ ป รนนิ บั ติ ดู แ ลคุ ณ แม่ แ ละคุ ณ พ่อ...อย่างเต็มที่ถึงที่สุด, ความเจริญและ ความส�ำเร็จในการท�ำงานของลูกๆ, ได้ จั ด ท� ำ ประวั ติ ต ้ น ตระกู ล ทางเมื อ งนคร คือ บวรรัตนารักษ์ - ลิมปิชาติ และสาย สั ม พั น ธ์ , ได้ จั ด ท� ำ ประวั ติ ต ้ น ตระกู ล พงษ์พานิช, ได้ริเริ่มในการนัดพบในหมู่ ลูกหลานบวรรัตนารักษ์และพงษ์พานิช, ลูกๆ ร่วมก่อตัง้ สุธรี ตั นามูลนิธ,ิ ได้สบื สาน งานบุ ญ สาธารณะของคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ น้าผ่อง และ ร่วมกับยุพาสร้างบวรบาซาร์ ฯลฯ” หนังสือ “เรือ่ งเล่าของแม่ : ลูกสาว ขุนบวรฯ ทีเ่ มืองนคร” นี้ พวกเราถือเป็น ประวัติของสามัญชนคนธรรมดาที่ไม่ใช่ ๑บุคคลส�ำคัญ แต่บอกเรื่องราวของเมือง นครเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องไม่น้อยและอาจ จะเป็นอีกกรณีน�ำร่องให้คนนครทั้งหลาย ตลอดจนใครก็ตาม ได้ช่วยกันบันทึกท�ำ กันออกมาให้มากๆ ก่อนที่ประวัติและ เรื่องราวของเมืองนครและบ้านเกิดเมือง นอนจะเลื อ นหายจนหมดสิ้ น ดั ง เช่ น ที่ แม่ผมเล่าไล่มาตั้งแต่ วัยเด็ก เรียนศึกษา กุมารี, งานเดือนสิบ, พักผ่อ๒นท่องเที่ยว ประจ�ำปี, นัง่ เรือเทีย่ วทีท่ งุ่ ท่าลาด, เครือ่ ง

ดัดผมไอน�้ำระเบิด, เข้าเรียนราชินีที่ปาก คลองตลาด, อยูบ่ า้ นสะพานยศเส, กวดวิชา อ�ำนวยศิลป์และอยู่บ้านคลองบางหลวง, ญี่ปุ่นขึ้นที่ท่าแพ, คุณย่าจะลายตีน, คุณ อาว์หลวงเสนาณรงค์, สาวธรรมศาสตร์รุ่น ๕, คุณแม่จากไป...เลิกเรียนไปช่วยงานคุณ พ่อ, กับงาน ๖๐ ปี ที่บริษัทบวรฯ, พี่สิทธิ์ กับคุณย่าจากไป, พบและแต่งงานกับคุณ สุธี มีลูก ๖ คน, ชีวิตกิจการงาน, การพัก ผ่อนวันหยุด, การสังคม เวลาเทศกาล งาน พัฒนา, มหาวาตภัยแหลมตะลุมพุก, เรื่อง น�้ำท่วม, น�้ำท่วมใหญ่ปี ๒๕๓๑, เที่ยวต่าง ประเทศหนแรก, เจอน�้ำป่าที่น�้ำตกทราย ขาว, ส่งลูกไปเรียนกรุงเทพฯ...และ เสียลูก เติบ, ไปเที่ยวจันทบุรีและที่ต่างๆ, คุณพ่อ จากไป, พีธ่ จี ากไปอีกคน, เข้ากรุงเทพฯ ไป ดูแลลูกบ่อยครั้ง, กระดูกสันหลังยุบ...ชรา แล้ว, ลูกๆ พาเที่ยวยามแก่, เริ่มสร้างบ้าน ที่ เ มื อ งนคร, ยุ พ ารถคว�่ ำ , รั บ เครื่ อ งราช อิสริยาภรณ์ เมือ่ อายุ ๗๙ ปี, รวมญาติบวรรัตนารักษ์และพงษ์พานิช, พรสงกรานต์

กั บ ก า ร ก� ำ เ ริ บ ที่ หลัง, ลูกๆ จัดงาน ให้เมื่ออายุ ๘๐ ปี, ...เยี่ยมสมเด็จย่าที่ ดอยตุ ง , ไม่ ส บาย มากจนต้ อ งเข้ า กรุงเทพด่วน, สอง รอบทีเ่ ชียงใหม่ เมือ่ ปีที่ ๘๓-๘๔, เจ็บหนัก เลือดออกมากๆ, ตามรอยลู ก ปั ด ของเต้ ย ที่ สิ ง คโปร์ แ ละ มิวเซียมสยาม, ๘๐ ปีนา้ พา ๒๕๕๒, บ้าน ท่าวังที่สะพานควาย, บุญ ๑๒๐ ปีขุนบวร รัตนารักษ์ และ ๑๑๘ ปี นางช้อย, ร่วม สร้ า งสวนโมกข์ ก รุ ง เทพ, ๘๔ ปี น ้ า พา

เทศบาลเมื อ งกุ ้ ย ก่ า งน่ า สนใจมากๆ จะ ติดต่อราชการทุกอย่างไม่ว่าการอนุญาต ในทุกเรือ่ ง วีซา่ พาสปอร์ต บัตรประชาชน เรื่ อ งประปา ไฟฟ้ า เสี ย ภาษี ทะเบี ย น ราษฎร์ ทุกหน่วยงานราชการ ๔๐ กว่า หน่วยงานมีเจ้าหน้าที่มาบริการหน่วยงาน ละสามสี่คน ที่เดียวติดต่อได้ทุกเรื่อง บ้าน เราน่ า จะน� ำ มาปรั บ ปรุ ง กั น บ้ า ง ไม่ ต ้ อ ง ตระเวนไปถึงทุกส�ำนักงานทั่วจังหวัด เขา ส่งคนมาบริการทีเ่ ดียวกันทุกหน่วยงาน คนพื้นเมืองชาวจ้วงซึ่งมีวัฒนธรรม คล้ายคนไทย มีภาษาพูดคล้ายๆ กัน เช่น การนับเลขเรียก 'อิ้ด เย่ ซาม ไส่ ห้า โฮก

๒๗ กันยายน ๒๕๕๙ บ้านบวรรัตน์ นครศรีธรรมราช และบ้านท่าวัง สะพานควาย

ส� ำ นั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด ปั ต ตานี น� ำ เกษตรกรกลุ ่ ม ผู ้ ผ ลิ ต ข้ า ว ต.คอกกระบื อ อ.ปะนาเระ และกลุ่มผู้ผลิตข้าว ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี พร้อมเจ้าหน้าที่ ๑๖ คน มาดูงาน ณ กลุ่มเกษตรกรโรงสีข้าวชุมชน ต.ป่าระก�ำ อ.ปากพนัง จ.นครฯ คณะกรรมการ ด�ำเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการ ที่ปรึกษากลุ่มเกษตรกร และทีมพัฒนา ต.ป่าระก�ำ ร่วม ต้อนรับ ทรงชัย เมนะสูตร ผอ.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ๒ สนง.สหกรณ์จังหวัดนครฯ และ ทีมงานบรรยายสรุปและเดินเครื่องสีข้าวประกอบการบรรยาย

<< ต่อจากหน้า ๔

พั น กว่ า ปี เ หมื อ นเมื อ งนคร วั ฒ นธรรม ทางศาสนาคล้ายกัน นับถือพุทธศาสนา เหมือนกัน มีภูเขาเขียวชอุ่มเหมือนบ้าน เรา มีชนกลุม่ น้อยคือชนชาติ 'จ้วง' มีภาษา วัฒนธรรมคล้ายคนไทย มีแหล่งปลาน�ำ้ จืด ใหญ่มาก ไม่มีทะเล มีแม่น�้ำตัดผ่านเมือง มีท่าเรือเดินทางถึงฮ่องกง มาเก๊าได้ มี รถไฟความเร็วสูงแล่นผ่านเมือง เป็นศูนย์ กลางอุตสาหกรรมรถยนต์ จักรยานยนต์ สนใจยางพาราและอุ ต สาหกรรมไม้ ท� ำ เฟอร์นเิ จอร์ เน้นการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม การดูงานศูนย์บริการประชาชนของ

๙๐ ปี แม่ที่มาเก๊า, ๓๙ ปี ที่คุณสุธีจาก ไป และ ๙๐ ปีที่ภาคภูมิใจ โดยมีภาค ผนวก ประกอบด้วย สกุลบวรรัตนารักษ์ : ตระกูลจีนรุ่นบุกเบิกและเศรษฐกิจแรก เริม่ ทีเ่ มืองนคร, สกุลพงษ์พานิช : สุธี พงษ์พานิช และ ๗๒ ปี รัตนา พงษ์พานิช : ก่อตัง้ สุธรี ตั นามูลนิธิ ท่านที่ได้รับแล้ว ก็ขอเชิญลองอ่าน และพิจารณาในการท�ำของท่านกันเถิด ส่ ว นท่ า นที่ ไ ม่ ไ ด้ กรุ ณ าลองหายื ม อ่ า น เพราะทีพ่ มิ พ์มา ๑,๕๐๐ ชุดนัน้ ไม่เพียง พอเสียแล้วครับ.

เจ๊ด แปด' น�ำ้ ตาเขาเรียก 'หวาน' ปลาเขา เรียก 'เปีย' หมูเรียก 'โหมว' ซออูเ้ รียก 'เอ้อ อู้' มีดอกบัวหลวงมากที่สุดของประเทศ นิยมท�ำดอกบัวบูชาพระเหมือนบ้านเรา มี เทื อ กเขาไม่ สู ง มากนั ก เหมื อ นบ้ า นเรา พืชพันธุ์ไม้คล้ายคลึงกันโดยเฉพาะเฟิร์น ชนิดต่างๆ เหมือนในแถบเขาหลวง แม้แต่ ต้น 'ลังตังไก่' ก็ยงั ออกดอกดาษดืน่ ตามทาง อุตสาหกรรมท�ำกระดาษได้ท�ำลายผืนป่า เมืองกุ้ยก่ายไปอย่างมหาศาล มีนายทุน หนุนชาวบ้าน ราชการก็ร่วมด้วยปลูกต้น 'ยู ค าลิ ป ตั ส ' พั น ธุ ์ ไ ม้ ม ฤตยู ข องเมื อ งที่ มี แผ่ น ดิ น อุ ด ม ป่ า ไม้ ถู ก โค่ น เพื่ อ ปลู ก ป่ า

ยูคาฯ ต้นไม้อนื่ ๆ ตายเรียบ เทือกเขาเต็ม ไปด้วยต้นยูคาฯ สัตว์ปา่ น้อยใหญ่สญ ู พันธุ์ ไปสิน้ เมือ่ ต้นไม้ตา่ งชาติถกู น�ำเข้ามาปลูก เหมือนกับ 'เอเลี่ยน' จากนอกโลกเข้ามา ท�ำลายโลกมนุษย์ สุดท้ายรัฐบาลจีนสัง่ ให้ มีการยกเลิกปลูกป่ายูคาลิปตัสอีกต่อไป เพื่ อ ฟื ้ น คื น ป่ า ของเมื อ งร้ อ นขึ้ น มาใหม่ ขณะนีเ้ ขาเพิง่ เริม่ ด�ำเนินการ ที่ แ ปลกๆ อยู ่ เ รื่ อ งหนึ่ ง คื อ ทุ ก ประเทศในโลกต่ า งสนั บ สนุ น ให้ ค นใช้ จักรยานกัน แต่ประเทศจีนซึ่งขึ้นชื่อว่า เป็นประเทศที่มีจักรยานมากที่สุดในโลก ถนนเต็มไปด้วยจักรยาน บัดนี้รัฐบาลจีน ในเมืองใหญ่ทั้งหลาย สั่งห้ามไม่ให้มีจักรยานสองล้อเลยสักคัน แต่จะพบรถไฟฟ้า ทั้งสองล้อ สามล้อ สี่ล้อ เต็มทั้งเมืองโดย เฉพาะสองล้อไฟฟ้า จอดกันเต็มแม้แต่ ทางเดินฟุตบาท คงอีกไม่นานน่าจะมีการ ห้ามกันอีกสักรอบเป็นแน่ จีนเขาประเทศ ใหญ่คนมาก เขาจึงท� ำอะไรเด็ดขาดไม่ ยอมใคร แม้แต่ผู้น�ำประเทศใหญ่เพิ่งไป เยี่ ย มจี น มา รปภ.ส่ ว นตั ว ยั ง ถู ก ตะเพิ ด เพราะเป็นประเทศเขา แต่เราไปเที่ยวนี้ ก็ดีนะ เขาต้อนรับให้เกียรติเป็นอย่างดี


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๒

ปั

จจุบนั ประเทศไทยมีผปู้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคไม่ ติดต่อเรือ้ รัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรค ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด สมอง ฯลฯ จ�ำนวนมากขึ้นอย่างน่าตกใจ ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องรับการรักษาโดยการรับ ประทานยาหลายชนิ ด เป็ น เวลานาน ยา เหล่านั้นอาจส่งผลต่อสุขภาพช่องปาก เช่น น�ำ้ ลายแห้ง เหงือกบวม การติดเชือ้ รา ภาวะ เลือดหยุดยาก แผลถอนฟันหายช้า ฯลฯ ประชาชนที่รับประทานยาเป็นเวลานานๆ จึงควรมีความรูถ้ งึ ผลแทรกซ้อนของยาเหล่า นั้นต่อปัญหาในช่องปาก ลองมาติดตามกัน ดูดไี หมคะ ยารักษาโรคเบาหวาน โรคความดัน โรคเครียด โรคนอนไม่หลับ หลายชนิด ท�ำให้เกิดภาวะปากแห้ง ผู้ป่วยอาจ มีอาการแสบ มีการติดเชื้อราในช่องปาก ได้ง่ายขึ้น ผู้ป่วยควรจิบน�้ำอมน�้ำหรืออม น�้ำแข็งในช่องปากบ่อยๆ เมื่อรู้สึกปากแห้ง ควรหลีกเลี่ยงการอมลูกอม เพราะจะยิ่ง ท�ำให้เกิดฟันผุได้ง่ายขึ้น อาจหาลิปสติกที่ ไม่มีสี (ลิปมัน) หรือวาสาลีนทาเคลือบริม ฝีปากบ่อยๆ ไม่ควรใช้น�้ำยาบ้วนปากที่มี แอลกอฮอล์ เ ป็ น ส่ ว นผสม จะท� ำ ให้ แ สบ บริเวณเยือ่ บุชอ่ งปาก ไปเทีย่ วไหนต่อไหนก็ อย่าลืมพกพาขวดน�ำ้ เล็กๆ ไว้กบั ตัว ยาแอสไพริน ยาพลาวิกซ์ เป็นยาป้องกันการเกาะตัวของเกล็ด เลือด ใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วย เบาหวานที่มีความเสีย่ งต่อการเกิดความดัน โลหิตสูง ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ผ่าน การรักษามาแล้ว ปัญหาที่พบในช่องปาก คือเลือดออกตามเหงือกหรือตามไรฟันได้ ง่ายขึ้น โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีภาวะเหงือก อักเสบร่วมด้วย ส�ำหรับการรักษาทางทันต กรรมต่างๆ ที่เลือดออกไม่มาก เช่นการ ถอนฟันไม่ยาก ขูดหินน�้ำลาย มีการศึกษา ที่แนะน�ำว่าไม่จ�ำเป็นต้องหยุดยาทั้งสองตัว นี้ เพราะขนาดยาทีร่ บั ประทานเพือ่ ลดความ เสีย่ งต่อการเกิดโรคต่างๆ ดังกล่าวมีปริมาณ ทีต่ ำ�่ อยูแ่ ล้ว ขณะเดียวกันภาวะเลือดออกใน ช่องปาก สามารถป้องกันและแก้ไขได้ด้วย วิธีง่ายๆ เช่น ดูแลช่องปากอย่างสม�่ำเสมอ ไม่ให้เหงือกอักเสบ การเย็บแผลถอนฟันร่วม กับการกัดผ้าก๊อสนานๆ เป็นต้น แต่ผู้ป่วย ต้องเข้าใจว่าอาจมีความเสีย่ งเรือ่ งเลือดออก หลังการรักษาบ้าง ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหา ได้ไม่ยาก ยาวาฟารินหรือคูมาดิน เป็นยาละลายลิ่มเลือด ที่ใช้ในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ใส่ลนิ้ หัวใจเทียม เส้นเลือดด�ำอุดตัน หัวใจเต้นผิดปกติที่ เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน เป็นต้น ตัว

ยามีประโยชน์ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว แพทย์อาจแนะน�ำ ให้ผู้ป่วยรับประทานยาเป็นประจ�ำทุกวัน ปั ญ หาที่ ส� ำ คั ญ คื อ เมื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งรั บ การ รักษาทางทันตกรรมชนิดทีม่ เี ลือดออก เช่น ถอนฟัน อุดฟันที่ผุลึกถึงใต้เหงือก ขูดหิน น�ำ้ ลาย เกลารากฟัน อาจท�ำให้เลือดออกไม่ หยุด ผู้ป่วยต้องแจ้งทันตแพทย์ทราบก่อน ท�ำฟันทุกครั้ง ทันตแพทย์อาจต้องปรึกษา กลับไปยังอายุรแพทย์ผู้รักษาโรค เพื่อหยุด ยาทีร่ บั ประทาน โดยแพทย์อาจปรับให้เป็น ยากินหรือฉีดทีม่ ฤี ทธิร์ ะยะสัน้ ๆ ผูป้ ว่ ยกลับ มารับประทานยาเดิมเมื่อแผลในช่องปาก ไม่มภี าวะเลือดออกแล้วในวันนัน้ ๆ ยากลุม่ แคลเซีย่ มชาแนล บลอคเกอร์ ที่ ใช้รกั ษาโรคความดันโลหิตสูง เช่ น ยาแอมโลดิ พี น ยาไนเฟดิ พี น เป็ น ยาที่ ต ้ อ งรั บ ประทานเป็ น เวลานาน ประมาณร้ อ ยละ ๕-๑๕ ของผู ้ ป ่ ว ยอาจ มี ภ าวะเหงื อ กบวมจากผลของยา หากผู ้ ป่วยไม่ได้ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีอยู่แล้ว ภาวะเหงื อ กบวมจะทวี ค วามรุ น แรงมาก ขึ้น บางรายอาจคลุมจนไม่เห็นตัวฟัน หาก ผูป้ ว่ ยมีการตรวจสุขภาพช่องปากเป็นประจ�ำ เมื่อทันตแพทย์ตรวจพบเหงือกบวม (รูป ที่ ๑ ) อาจรายงานไปยั ง อายุ ร แพทย์ เ พื่ อ พิจารณาเปลีย่ นเป็นยาตัวอืน่ ทดแทนได้

ภาวะกระดูกตาย โดยผู้ป่วยที่ได้รับยาฉีด นานมากกว่า ๖ เดือน หรือกินนานกว่า ๑ ปี อาจเกิดภาวะดังกล่าวได้ ผู้ป่วยจึงควรแจ้ง ให้ทันตแพทย์ทราบก่อนรักษาทางทันตกรรม โดยเฉพาะการถอนฟัน ยาเคมีบำ� บัด ปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งมากขึ้น เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมน�ำ้ เหลือง ฯลฯ มะเร็งหลายชนิด ผูป้ ว่ ยต้องได้รบั การรักษา โดยการฉีดยาเคมีบ�ำบัด ประมาณเดือนละ ๑ ครั้ง ผลของยาเคมีบ�ำบัดท�ำให้ปริมาณ เม็ดเลือดขาวลดต�่ำลงในช่วงสัปดาห์ที่ ๑-๒ ซึ่งจะมีผลท�ำให้เยื่อบุช่องปากมีการอักเสบ ได้ง่าย ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บแสบ บริเวณ กระพุ้งแก้ม ลิ้น มุมปาก ผู้ป่วยอาจต้องได้ รับยาอมบ้วนปากเพื่อลดการอักเสบ รับ ประทานอาหารรสจืด และดูแลช่องปากให้ สะอาดสม�ำ่ เสมอ ยาสเตียรอยด์ เป็นยาที่มีผลต้านการอักเสบ และกด ภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย มีทงั้ ชนิดกิน ฉีด พ่น และทา การใช้ยาสเตียรอยด์เป็นเวลานานๆ มักเป็นชนิดกิน โดยใช้รักษา โรคเลือดบาง ชนิด โรคผิวหนัง โรคตา โรคระบบทางเดิน หายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคภูมแิ พ้ โรคต่อต้านภูมคิ มุ้ กันตนเอง เป็นต้น ยามีผล ต่อระบบต่างๆ ของร่างกายมากมาย ที่พบ

หากทุกเช้าหลังตื่นนอน ยืนหน้ากระจกใน ห้องน�้ำเพื่อเปิดปากตรวจฟัน เหงือก ลิ้น กระพุ้งแก้มและเพดานปาก (รูปที่ ๓) เห็น ความผิดปกติใดๆ ก็แวะไปพบทันตแพทย์ สักหน่อย • รั ก ษาสุ ข ภาพช่ อ งปากตนเองให้ สะอาดสม�่ำเสมอ หลังแปรงฟันทุกครั้งตาม ด้วยการใช้ผา้ ก๊อสหรือผ้าเช็ดหน้าบางๆ ชุบ น�้ำแล้วพันนิ้วมือเช็ดเหงือกและฟันเบาๆ อีกครั้ง ช่วยก�ำจัดแผ่นคราบขี้ฟัน ตามต่อ ด้ วยการท� ำ น�้ ำ เกลื อ อมบ้ว นปาก (น�้ ำ อุ ่ น ๑ แก้วผสมเกลือแกงครึ่งช้อนชา) ช่วยลด การอักเสบของเหงือก อมน�ำ้ เกลือแล้วบ้วน ทิ้งป้องกันการส่งเสริมโรคความดันโลหิต สูง มือไม้ยังแข็งแรงก็อย่าลืมใช้ไหมขัดฟัน ท�ำความสะอาดซอกฟันร่วมด้วย (รูปที่ ๔)

ยาป้องกันการละลายตัวของกระดูก ใช้ ในการรักษาโรคกระดูกพรุน เช่น ยาบิสฟอสโฟเนท มีทั้งชนิดกิน และฉีด ชื่อทางการค้า เช่น อเลนโดรเนต ฟอซาแม็ก นอกจากนี้ยังใช้รักษาโรคมะเร็ง ชนิ ด มั ล ทิ เ พิ ล มั ย อี โ ลม่ า มะเร็ ง ที่ มี ก าร แพร่ ก ระจาย มะเร็ ง เต้ า นม มะเร็ ง ต่ อ ม ลูกหมาก โดยตัวยาจะลดการท�ำงานของ เซลล์ที่ท�ำลายกระดูก ซึ่งในภาวะปกติคน เราต้ อ งการทั้ ง เซลล์ ที่ ท� ำ ลายและเซลล์ ที่สร้างกระดูก เพื่อให้เกิดความสมดุลใน การท�ำงานร่วมกัน และเกิดการเสริมสร้าง กระดูก ดังนั้นเมื่อผู้ป่วยได้รับยาตัวนี้ไป นานๆ อาจท�ำให้เกิดแผลในช่องปากบริเวณ ที่มีกระดูกรองรับ เช่นบริเวณที่มีฟันปลอม กดทับ หรือแผลถอนฟันไม่หาย เราเรียกว่า

ในช่องปากคือการติดเชื้อรา (รูปที่ ๒) โดย จะพบเป็นฝ้าขาวบริเวณกระพุ้งแก้ม ลิ้น เพดานอ่ อ น รอยฝ้ า ขาวสามารถขู ด ออก ได้ รักษาโดยการควบคุมสุขภาพช่องปาก ร่วมกับการอมน�ำ้ ยาต้านเชื้อรา ผู้ป่วยที่กิน ยาสเตี ย รอยด์ เ ป็ น เวลานานและปริ ม าณ สูงจนร่างกายไม่สามารถสร้างสเตียรอยด์ ธรรมชาติของตนเอง ผู้ป่วยจะมีลักษณะตัว อ้วน ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์ มีหนอก บริเวณคอ อาจเกิดการติดเชื้อที่รุนแรงจาก ฟันผุได้ไม่ยาก การดูแลสุขภาพช่องปากจึง ส�ำคัญมาก ฟังมาทั้งหมดแล้วเมื่อกินยานานๆ ต้องท�ำอย่างไรกันบ้าง • สอดส่ อ งตรวจสุ ข ภาพช่ อ งปาก ตนเองให้เป็นประจ�ำ ไม่ใช่เรื่องที่ยากเลย

ทราบว่าขณะนั้นเราก�ำลังรับประทานยา ชนิดใดอยู่ (รูปที่ ๕) • สุดท้ายจะพบว่า การรักษาสุขภาพ ให้แข็งแรงไม่ต้องรับประทานยาใดๆ เป็น เวลานานๆ เป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก คนปรารถนา เพราะยาหลายชนิดไม่ได้มีผลแทรกซ้อน เฉพาะเรื่องในช่องปาก แต่มีผลแทรกซ้อน กับอวัยวะอืน่ ๆ เช่น ตับ ไต ซึง่ เป็นอันตราย ต่อชีวติ เราอยากเห็นผูป้ ว่ ยทีอ่ อกก�ำลังกาย เบาๆ สม�่ำเสมอ อารมณ์ดี เลือกกินอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค กินผักผลไม้เก่งๆ หยุด เหล้าและบุหรี่ หมั่นดูแลสุขภาพช่องปาก ทั้งนี้เพื่อที่จะอยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก หลานไปนานๆ

• ทุกครั้งที่ไปรับการรักษาทางทันตกรรมใดๆ ก็ ต าม เช่ น ถอนฟั น ขู ด หิ น น�ำ้ ลาย อุดฟัน ฯลฯ ควรแจ้งให้ทนั ตแพทย์


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

มื่อเดือนที่แล้ว รองศาสตราจารย์ ดร.รงค์ บุญสวยขวัญ ได้เชิญผมให้ไปบรรยายเรื่องราวการบริการสาธารณะ ของเมื อ งในมุ ม มองของสถาปนิ ก และนั ก วางผั ง ให้ แ ก่ นักศึกษารัฐศาสตร์ปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่ง ประจวบเหมาะกับอยูใ่ นช่วงเทศกาลงานบุญสารทเดือนสิบ เพิ่งผ่านพ้นไป ที่มีความคึกคักอลเวงทั้งผู้คนและรถราเต็ม เมือง แน่นอนว่ามีทั้งด้านที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจสังคม และด้านที่ทิ้งปัญหาไว้ให้แก่เมือง ท�ำให้ผมเกิด ประกายความคิดบางอย่างในสิ่งที่ผมท�ำงานให้ทางสังคม (ด้วยความสมัครใจ) เป็นเวลาหลายสิบปี แต่เห็นความ เปลี่ยนแปลงในเชิงพัฒนาเมืองยังไม่เป็นที่น่าพึงใจเท่าที่ ควร จึงต้องมาวิเคราะห์ให้ออกว่าเกิดจากอะไร ? ผมมัก ใช้คำ� ว่า “มุมมอง” ในการพูดคุยเรือ่ งสาธารณะ เพราะมัน เป็นการมองด้านเราด้านเดียว แต่คนอื่นอาจมีมุมมองเห็น เป็นอย่างอืน่ ก็ได้ แล้วเราจะให้หลักเกณฑ์อะไรมาตัดสิน ผมเชื่อว่าส่วนใหญ่คนที่เห็นอะไรก็ใช้ความรู้สึกตัว เองตัดสินเป็นเบื้องต้นว่าถูกหรือผิด ชอบหรือไม่ชอบ แต่ หากผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์มากขึ้นก็จะรู้จักการ วิเคราะห์หาเหตุผลกัน แต่นั่นไม่ใช่ข้อสรุปสุดท้ายเพราะ องค์ประกอบของเมืองมีหลายมิตทิ งั้ ทีม่ องเห็นเป็นรูปธรรม กับสิ่งที่มองไม่เห็นแต่สัมผัสรับรู้ได้ ในวงสนทนาวิพากษ์ วิจารณ์เรื่องสาธารณะใดๆ ผมมักตั้งค�ำถามเสมอว่า “คุณ เห็นอะไร และคุณคิดอย่างไร ?” นี่เป็นจุดที่เปิดประเด็น ให้คดิ ต่อในมิตติ า่ งๆ ให้มากทีส่ ดุ จึงจะหาข้อสรุป ผมอยาก ให้ทา่ นท�ำความเข้าใจ “มิตขิ องเมือง” จากภาพประกอบที่ แสดงไว้ในบทความนี้

มิ ติ ข องเมื อ งมี ม ากมายหลายด้ า น แต่ ผ มขอแบ่ ง รวมกลุม่ เป็น ๓ ด้าน คือด้านวิถชี วี ติ ด้านจิตวิญญาณ และด้านกายภาพ ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก เนือ่ งจากส่งผลกระทบกันไม่ทางใดก็ทางหนึง่ มิติด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ดั้งเดิมของชุมชนล้วน มีอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ที่ส่งผลต่อการ ประกอบอาชีพ เช่นชุมชนทีอ่ ยูร่ มิ ทะเลก็จะท�ำมาหากินกับ เรือหาปลาและสัตว์น�้ำ ส่วนชุมชนที่อยู่ตามที่ราบมีน�้ำท่า สมบูรณ์ก็จะปลูกข้าวหรือพืชไร่ อยู่ตามเขาล�ำเนาไพรก็ ปลูกผลไม้กนั ไป โลกเปลีย่ นยุคเปลีย่ น คนก็ตอ้ งเปลีย่ นการ ท�ำมาหากิน จึงต้องมีการศึกษาว่าจะเรียนวิชาการเพื่อให้ อยูร่ อดกันได้ ซึง่ มันส่งผลต่อมิตอิ นื่ ของเมืองด้วย มิติด้านจิตวิญญาณ ผมหมายถึงเรื่องที่อยู่คู่กับวิถี

หน้า ๑๓

ชีวิตดั้งเดิม ได้แก่ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น การนับถือ ศาสนา กิจกรรมทางสังคม และทางการเมือง ล้วนเป็น เรื่องทางด้านความเชื่อความศรัทธาในจิตใจเป็นใหญ่ แม้ เราพยายามปิดกั้นสิ่งแปลกปลอมที่จะเข้ามาสู่วิถีชีวิตก็คง ท�ำได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น เราเองได้เข้าใจในอัตลักษณ์ของ เมืองเราหรือเปล่า แล้วเราอยากให้อะไรคงอยู่ หรือปล่อย ให้สลายละลายไปกับสิ่งที่มาใหม่ เป็นเรื่องที่ต้องขบคิดกัน ว่าถ้าจะรักษาเรื่องดังกล่าว จะต้องท�ำอย่างไร และเป็น หน้าทีใ่ คร มิติด้านกายภาพ โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากจาก สิ่งแวดล้อม จากระบบสื่อสารและการคมนาคม จากการ เคลื่อนย้ายประชากรที่อาจท�ำให้เมืองหนึ่งเกือบร้าง แต่อีก เมืองหนึง่ อยูก่ นั หนาแน่นแทบจะขีค่ อกันเดิน มีการก่อสร้าง ต่างๆ ทั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ทั้งอาคารท�ำมาหากินที่ มีขนาดเล็กจนไปถึงขนาดใหญ่พิเศษ หน้าที่รัฐมีหน้าที่ ต้องจัดการหาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในเรื่องถนนหนทาง สาธารณูปโภค สถานที่ดูแลสุขภาพและพักผ่อนหย่อนใจ และจัดระเบียบกติกาของเมืองให้เกิดความสงบสุขซึ่งจะ ออกมาในเรือ่ งของกฎหมายข้อบังคับต่างๆ บทความฉบับนี้ผมอยากหยิบยกประเด็นการเมืองที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบริการสาธารณะของเมือง นครเท่านั้น โดยยกเป็นหัวข้อบางเรื่องที่เราเห็นๆ กันอยู่ ตามมุมมองของผม สวนสาธารณะและพื้นที่โล่งของเมือง (Civic Park and Open space) เป็นบริการสาธารณะโดยการก�ำกับ ดู แ ลของการเมื อ งท้ อ งถิ่ น ที่ ต ้ อ งท� ำ ความเข้ า ใจในเรื่ อ ง เจตนารมณ์ของการใช้พื้นที่แต่ละแห่งให้ชัดเจน ขอยก ตัวอย่างสถานทีด่ งั นี้ สวนสาธารณะสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทร์ ๘๔ (ทุ ่ ง ท่าลาด) ปัจจุบันเป็นสวนที่มีการใช้หลายวัตถุประสงค์ (mixed landuse) ซึ่งผมเคยเขียนเรื่องนี้โดยตรงมาแล้ว จึงจะไม่ลงในรายละเอียด ช่วงเทศกาลงานเดือน สิบที่ผ่านมาก็จะมีการออกร้านค้าและกิจกรรม เหมือนกันทุกปี และคงต้องยอมรับในการก�ำหนด ให้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมของเมือง (Civic Activities Area) ซึ่งจะกระทบกับวิถีชีวิตของคนเมือง ไปบ้างที่ต้องงดเว้นไปออกก�ำลังกายและพักผ่อน ในชีวิตประจ�ำวันที่เคยท�ำ แต่เรื่องที่ผมมองคือ การใช้พื้นที่จัดงานที่ล�้ำออกไปกระทบกับบาง เรื่อง เช่น การให้คนมาประมูลพื้นที่จัดส่วนเป็น ที่จอดรถเก็บเงิน ผมก็ไม่แน่ใจว่ารายได้มันจะคุ้ม ค่าต่อการรื้อฟื้นการปลูกหญ้าปลูกต้นไม้ให้กลับ มาเหมือนเดิมหรือไม่ หรือในกรณีทอี่ า้ งความเป็น ประเพณีและอิงเรื่องพุทธศาสนาในการจัดงานนี้ แต่เราก็ ให้มีการตั้งเต้นท์ร้านค้าปิดทัศนียภาพด้านหน้าของสวน พุทธภูมเิ หลือเป็นช่องเล็กๆ มองเข้าไปเห็นองค์ “พระพุทธสิรินครนารถ” อย่างน่าเสียดายโอกาสที่จะเปิดให้เห็นและ เกิดความปิตติ อ่ ชาวพุทธศาสนิกชน สวนสาธารณะศรีธรรมโศกราช เป็นสวนเฉลิมพระเกียรติอดีตองค์กษัตริยแ์ ห่งราชอาณาจักรนี้ เป็นทีน่ า่ ยินดี ว่าไม่มีการใช้พื้นที่เป็นสถานที่จัดกิจกรรมงานรื่นเริงต่างๆ ทีอ่ าจไม่บงั ควร ผมเคยกล่าวถึงว่าน่าจะเว้นไว้เป็นสวนสวย งามของเมืองสักแห่ง ให้ชาวเมืองได้มาพักผ่อนและนักท่อง เทีย่ วมาสักการะและเก็บภาพกลับไป ซึง่ ต้องมีความชัดเจน ในการจัดเป็นสวนถาวรต่อไปในอนาคต สนามหน้าเมือง เป็นพื้นที่โล่งที่มีประวัติทางประวัติ-

ศาสตร์ เช่นเดียวกับสนามหลวงที่กรุงเทพฯ (บทความนี้ ผมเคยเขียนไว้แล้ว) ปัจจุบันจะเป็นพื้นที่กิจกรรมของชาว เมืองไม่วา่ มาออกก�ำลังกาย พักผ่อนหย่อนใจ สักการะบูชา ศาลหลักเมือง และเป็นย่านมาหาซื้อของฝากของที่ระลึก จากเมืองนคร ทางการเมืองท้องถิน่ ต้องชัดเจนว่าจะต้องให้ สนามหน้าเมืองเป็นที่สร้างสุขภาพพลานามัยของชาวเมือง เป็นหลัก และไม่ใช้พนื้ ทีใ่ นการจัดงานเชิงพาณิชย์หารายได้ ยกเว้นกิจกรรมทางจังหวัดหรือรัฐพิธีเท่านั้น ดังนั้นการคง ไว้เป็นสนามหญ้าก็ต้องดูแลให้เกิดความสวยงามและเป็น ปอดของเมืองที่เมื่ออากาศผ่านสนามโล่งๆ มากระทบตัวก็ จะมีความเย็นสบายมากกว่าที่จะสร้างเป็นลานคอนกรีตที่ เกิดไอร้อนระอุไปทัว่ บริเวณ พื้นที่โล่งหน้าศาลากลางจังหวัดและศาลจังหวัด ผม เองไม่แน่ใจว่าข้าราชการที่ท�ำงานที่นี่มีความเห็นอย่างไร หรือมีความเกรงใจผู้บังคับบัญชาอย่างไร ต่อการที่จังหวัด มักใช้พนื้ ทีจ่ ดั งานเพือ่ ส่งเสริมรายได้แก่เกษตรกรหรือสินค้า ท้องถิ่น มุมมองของผมในฐานะชาวนครคนหนึ่งอาจมอง อีกด้านหนึ่ง (คงไม่ให้คุณให้โทษแก่ผมนะครับ) คือศาลา กลางจังหวัดเป็น สถานที่ราชการที่ก�ำกับการบริหารสูงสุด ของเมืองควรจะมีภูมิทัศน์สวยสง่าเป็นราศีแก่เมือง และ เป็นทีต่ งั้ ศาลาประดิษฐานพระพุทธสิหงิ ค์ องค์พระพุทธรูป ส�ำคัญประจ�ำเมือง การจัดงานแต่ละครัง้ ไม่สามารถควบคุม ความสะอาด ความน่าดู และความปลอดภัยได้ และการจัด งานแต่ละครั้งได้สร้างความวุ่นวายในการจราจร มลภาวะ ทางเสียงและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งผู้ที่น�ำสินค้ามาขายก็หาใช่ คนที่ต้องการส่งเสริมตัวจริง สถานที่การจัดงานอาจต้อง พิจารณาอย่างรอบคอบ สนามกีฬาประจ�ำจังหวัด เป็นสถานที่มีเจตนารมณ์ ในการทีจ่ ะให้ชาวเมืองมาออกก�ำลังกายและจัดการแข่งขัน กีฬาต่างๆ หลักการใหญ่จะต้องมีสนามและอาคารที่ใช้ใน กิจกรรมกีฬา บริการสาธารณะแห่งนี้จัดการได้ระดับหนึ่ง แต่ยังไม่สามารถจัดการกับสิ่งแวดล้อมที่ดีห่างมลภาวะ และความปลอดภัยจากยานพาหนะได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีการเปิดให้เป็นทางผ่านถนนสาธารณะผ่าเข้าไปใน พืน้ ทีน่ ี้ อาจสร้างปัญหาต่างๆ ตามมาทีไ่ ม่ตรงวัตถุประสงค์ ถนนพุทธภูมิ เป็นถนนตัดใหม่ที่ต่อเชื่อมจากถนน ตัดใหม่เลียบทางรถไฟมาสูย่ งั พืน้ ทีโ่ ครงการมรดกโลก ผ่าน ท้องทุ่งมองเห็นทิวเขาสวยงาม แต่ภาพเหล่านี้อาจอยู่ได้ไม่ นาน เพราะจะถูกสิ่งก่อสร้างสองข้างทางบดบังทัศนียภาพ ตามลักษณะของห้องแถวในประเทศไทย ถนนเป็นบริการ สาธารณะประเภทหนึ่งที่เราคงไม่สามารถห้ามสร้างอาคาร ริมถนนได้ แต่ก็สามารถหาทางควบคุมในกรอบที่เป็นไป ได้จากการช่วยกันคิด แล้วเสนอเป็นกฎหมายหากเข้า หลักเกณฑ์ ยังมีอกี หลายเรือ่ งทีเ่ ป็นบริการสาธารณะในเรือ่ งปลีก ย่อย เช่น ห้องน�้ำสาธารณะ การวางถังขยะที่ไม่เป็นทัศน อุจาด การไม่ครอบครองทางเท้าหรือที่พักคนโดยสารรถ ประจ�ำทางมาใช้ประโยชน์สว่ นตัว เป็นต้น ความจริงเรือ่ ง เหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องการบริหารจัดการที่สามารถจัดหาจัด ท�ำได้โดยการเมืองท้องถิน่ บทความฉบั บ นี้ ค งเป็ น การฉายภาพให้ นั ก ศึ ก ษา รัฐศาสตร์ทกี่ ำ� ลังจะไปศึกษาพืน้ ทีบ่ ริการสาธารณะของเมือง นครในเดือนตุลาคมนี้ และอนาคตอาจจะมาท�ำงานด้าน การเมืองที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการเมือง จึง จ�ำเป็นต้องมีวสิ ยั ทัศน์ทตี่ อ้ งมองในทุกมิติ ผมเลยถือโอกาสนี้ ให้ชาวเมืองได้รับรู้ในมุมมองส่วนตัวของผมด้วย.


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๔

ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน

หัสป่า Junior พาเด็กๆ ไปใช้ชวี ติ และ เรียนรูเ้ รือ่ งราวในธรรมชาติในอุทยาน แห่ ง ชาติ เ ขาหลวง หน่ ว ยน�้ ำ ตกกรุ ง ชิ ง อ.นบพิต�ำ จ.นครศรีธรรมราช จัดกันมา อย่างต่อเนื่องทุกปี โดย Tarzan Adventure Team ล่าสุดเมื่อเดือนสิงหาคมที่ ผ่านมา เป็นรุน่ ที่ ๗ แล้ว...เก็บบรรยากาศ มาบอกเล่าเรือ่ งราวกันค่ะ วันแรกของเด็กรหัสป่าทุกรุน่ เหมือน กันจริงๆ แต่ละคนไม่ว่าจะมาจากจังหวัด ไหน ก็จะลงไปประชุมพร้อมกันที่ล�ำธาร ข้างแค้มป์โดยมิได้นดั หมาย น�ำ้ ใสๆ กรวด ทราย หิน ต้นไม้ในน�ำ้ ปลาและแมลง จึง ได้ท�ำหน้าที่เชื่อมเด็กเข้า หากัน รุ่นนี้มี สมาชิกทั้งหมด ๙ คน เซนต์กับซาช่ามา จากปัตตานี ฝึกฝนมาจากสงขลา พราวมา จากตรัง มังกรจากนครปฐม นีโม่มาจาก กรุงเทพฯ เตเต้ ลมฝน ปันรัก เจ้าถิน่ จาก นครศรีธรรมราช บทเรี ย นแรกในการอยู ่ ร ่ ว มกั บ ธรรมชาติ คือ การจัดการที่พักให้เรียบร้อยก่อน โดยตั้งแต่นี้ไปมีกฎที่ ครูบอย

หรือ ทาร์ซานบอยแห่งเขาหลวง ห้ามคือ ห้ามเรียกใช้พอ่ แม่ ห้ามท�ำให้ตวั เอง คนอืน่ และธรรมชาติเดือดร้อน เด็ ก ๆ ถู ก แบ่ ง เป็ น ๓ กลุ ่ ม โดยมี ครูป้อน ครูเทียน ซึ่งเป็นครูพรานพี่เลี้ยง สอนวิธีการกางเต็นท์ และให้เด็กๆ ลงมือ ท�ำกันเอง พ่อแม่ทนี่ ำ� เต็นท์สว่ นตัวมาก็แยก ย้ายกันไปจับจองพื้นที่กางเต็นท์ของตัวเอง ตามใจชอบ จากนั้นครูบอยสอนการแต่ง กายและเตรียมความพร้อมสัมภาระในการ เดินป่า การดูเวลาจากธรรมชาติโดยไม่ใช้ นาฬิกา ก่อนทีจ่ ะไปทานข้าวเติมแรงเตรียม ไว้เดินป่าช่วงบ่าย มื้อแรกทีมครูพี่เลี้ยงท�ำ อาหารเทีย่ งให้ทานกันก่อน ทริปนี้เราจะเดินป่ากันสองรอบ วัน

แรกก่อนเข้าป่า ครูบอยจะสอนเรื่องทิศ แบบไม่ต้องใช้เข็มทิศ สิ่งที่ท�ำได้และไม่ได้ ข้อควรระวังในการเดินป่า แล้วออกเดิน กันเลย เส้นทางไม่ไกลมากแค่ประมาณ ๒ กม. แต่เป็นทางป่าดิบ บริสทุ ธิ์ รกเป็นบาง ช่วง และเดินตามร่องน�้ำเป็นบางช่วง จึงได้ เปียกจากน้อยๆ จนเปียกไปทั้งตัว ทุกคน ได้เรียนรูก้ ารสังเกตรายทาง ทีม่ ที งั้ สิง่ ทีเ่ ป็น อันตราย ความสวยงามและประโยชน์ที่ได้ จากป่า ทัง้ การหาน�ำ้ ในต้นหวายแดง ไม้เท้า และประโยชน์อื่นๆ จากต้นคลุ้ม พวงองุ่น ป่า ประโยชน์จากใบสาบเสือ ใบเตยหนาม ท�ำความรู้จักกับแมลงตัวน้อย เจ้าแมงมุม เขาควาย พักพิงใต้ต้นไม้ใหญ่ ได้สัมผัส ความแหลมคมของหนาม ความลืน่ ของหิน ความเย็นของสายน�ำ้ และปรับตัวกับความ เหนือ่ ยเล็กๆ กับทางชันในบางช่วง ได้ชว่ ย เหลือดูแลกันระหว่างทาง แล้วสนุกกับสาย น�ำ้ น้อยๆ กลางป่าด้วยกัน ครั้งนี้มีฮารุ และ ซูโม่ น้องตัวเล็กที่ ตามพี่ๆ ไปเรียนรู้ในป่าด้วยกัน เห็นพ่อแม่ ทัง้ อุม้ ทัง้ จูง ทัง้ ปล่อยให้เดิน แล้วต้องชืน่ ชม เลยว่าอึดเพือ่ ลูกจริงๆ บ่ายแก่ๆ วันแรกออกจากป่ามาถึง แค้ ม ป์ ทุ ก คนก็ ล งไปเดิ น เล่ น ในล� ำ ธาร ข้างแค้มป์ต่อ ปล่อยเวลาให้ครูได้เตรียม อุ ป กรณ์ ใ นการสอนให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ รี ย นรู ้ และลงมือท�ำในการด�ำรงชีพในป่า นั่นคือ การก่อไฟ หุงข้าวด้วยหม้อสนาม และท�ำ

อาหารกันเอง ซึง่ หัวใจส�ำคัญของวิชานีค้ อื ฝึกดูแลไฟ และการ "รอ" ครูบอยจึงท�ำเพิง ใบตองไว้ให้ได้นั่งรอและสังเกตหม้อข้าว กันอย่างใกล้ชดิ เด็กๆ ขึน้ จากน�ำ้ แล้วสนุก กันต่อกับการได้ก่อกองไฟและท�ำอาหาร อาหารมือ้ แรกฝีมอื เด็กๆ ทีท่ ำ� เองจึงมีกลิน่ อายความภูมใิ จกรุน่ ๆ อยูด่ ว้ ย เอร็ดอร่อย ไปตามๆ กันแล้วก็ได้เวลาล้างจาน ของ ใครของคนนั้น ในล�ำธารตามวิธีธรรมชาติ ไม่ทงิ้ สารเคมีลงแหล่งต้นน�ำ้ ใกล้เวลาพลบค�่ำ เรามานั่งรวมกัน อยู่ข้างกองไฟและตะเกียงเทียนใต้หลังคา ผ้าใบ บันทึกเรื่องราวประสบการณ์ที่เรา ได้พบเจอกันในป่า แบบสไตล์ของตัวเอง แล้ ว ผลั ด กั น น� ำ เสนอ บั น ทึ ก ของเด็ ก ๆ น่าทึง่ มากๆ ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้ให้นำ� สมุดบันทึก ไปจดระหว่างทาง แต่กลับได้รายละเอียด ที่ชัดเจน และถ่ายทอดเรื่องราวได้อย่าง น่าสนใจทุกคน วิชาสุดท้ายของวัน ครูบอยพาเด็กๆ เปิดอีกหนึ่งประสาทสัมผัสที่ส�ำคัญมาก ส�ำหรับการอยู่ร่วมกับป่า นั่นคือ การฟัง เสี ย งธรรมชาติ และการถอดรหั ส เพื่ อ การปรับตัวและเอาชีวิตรอดได้อย่างมีสติ เชื่ อ ว่ า มี ห ลายเรื่ อ งที่ เ ป็ น ประสบการณ์ ใหม่มากๆ จนท�ำให้บางคนตื่นเต้น นอน ไม่หลับ กลับไปบันทึกเรื่องราวต่อกันใน เต็นท์ และหลับใหลไปท่ามกลางเสียงขับ กล่อมจากธรรมชาติและอากาศที่เย็นลง เรือ่ ยๆ กลางหุบเขา.... ...รหัสป่า Junior รุน่ ๗ ยังไม่จบนะ คะ....ติดตามอ่านฉบับหน้าค่ะ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

E

lectronic Commerce หรือ E-Commerce คื อ การซื้ อ ขายสิ น ค้ า หรื อ

บริการโดยส่งข้อมูลด้วยสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางเครือข่าย เช่น Internet ถ้าผูใ้ ช้มี สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เครือ่ งคอมพิวเตอร์ คู่สายโทรศัพท์ โมเดม และเป็นสมาชิก ของบริการ Internet ก็สามารถท�ำการค้า ผ่านระบบเครือข่ายได้ E-Commerce เป็นการผสมผสาน ระหว่ า งเทคโนโลยี Internet กั บ การ จ�ำหน่ายสินค้าและบริการ โดยสามารถ น�ำเสนอข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับตัวสินค้าหรือ บริการผ่านทาง Internet สู่คนทั่วโลก ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ท�ำให้การ ด�ำเนินการซื้อขายอย่างมีประสิทธิภาพ ตลาด E-Commerce ในประเทศไทย ตลาดผู้ใช้ Internet ในประเทศไทย และก่อให้เกิดรายได้ในระยะเวลาอันสัน้ มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง การใช้ E-Mail หรื อ การเข้ า ไปหาข้ อ มู ล ใน www. นั บ ประเภทของอีคอมเมิรซ์ แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น ๕ ประเภทได้ เป็นเรื่องปกติ ธุรกิจต่างๆ มีการโฆษณา ประชาสัมพันธ์บริษัทโดยผ่าน Web site ดังต่อไปนี้ (๑) ธุ ร กิ จ กั บ ผู ้ ซื้ อ ปลี ก หรื อ บี ทู ซี ของตนเองมากขึ้น ผู้ประกอบการต่างๆ (B-to-C = Business-to-Consumer) คือ จึงมีแนวโน้มที่จะท�ำการค้าขายผ่านทาง ประเภทที่ ผู ้ ซื้ อ ปลี ก ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ใน Internet มากขึน้ ประเทศไทยยังเสียเปรียบ การซื้ อ สิ น ค้ า จากธุ ร กิ จ ที่ โ ฆษณาอยู ่ ใ น ในเรื่องของเทคโนโลยี รวมทั้งกฎหมาย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการซื้ อ ขายทาง Internet อินเตอร์เนต (๒) ธุรกิจกับธุรกิจหรือบีทบู ี (B-to-B แต่ ก ารพั ฒ นาระบบ E-Commerce ถื อ = Business-to-Business) คือ ประเภท ที่ เป็นการเปิดตลาดไปสู่ผู้บริโภคหลายล้าน ธุรกิจกับธุรกิจติดต่อซื้อขายสินค้ากันผ่าน คนทั่วโลก ด้วยเหตุนี้ท�ำให้ประเทศไทย ต้องเตรียมการเพื่อที่จะแข่งขันกับประเทศ อินเตอร์เนต (๓) ธุรกิจกับรัฐบาลหรือบีทูจี (B- อืน่ ๆ ในระบบการค้าแบบ E-Commerce to-G = Business-to-Government) คือ ประเภททีธ่ รุ กิจติดต่อกับหน่วยราชการ (4) รัฐบาลกับรัฐบาลหรือจีทูจี (Gto-G = Government to Government)

คื อ ประเภทที่ ห น่ ว ยงานรั ฐ บาลหน่ ว ย งานใดหน่วยงานหนึ่งติดต่อกับหน่วยงาน รัฐบาลอีกหน่วยงานหนึง่ (5) ผู้บริโภคกับผู้บริโภคหรือซีทูซี (C-to-C = Consumer-to-Consumer)

คือ ประเภททีผ่ บู้ ริโภคประกาศขายสินค้า แล้วผู้บริโภคอีกรายหนึ่งก็ซื้อไป เช่นที่ อีเบย์ดอทคอม (Ebay.com) เป็นต้น ซึ่ง ผู้บริโภคสามารถจ่ายเงินให้กันทางบัตร เครดิตได้

และบริการ การประชาสัมพันธ์และการ ส่งเสริมการขาย การก�ำหนดราคา การส่ง มอบสินค้า และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม บทบาทของรัฐ ในการส่งเสริม E-Commerce กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวง พาณิ ช ย์ ไ ด้ จั ด โครงการพาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การส่ ง ออก วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การส่ ง ออก โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยจะจัดท�ำ Homepage ในลักษณะของ Cyber Mall ตัวก�ำหนดการแข่งขัน ผู ้ ส ่ ง ออกจะได้ ป ระโยชน์ จ ากการ ในระบบ E-Commerce การซื้อขายแบบ E-Commerce จะ โฆษณาสินค้าและบริการผ่าน Internet ขึ้นอยู่กับความมั่นใจของลูกค้า ซึ่งเกิดจาก โดยใช้ Web Site ของกระทรวงพาณิชย์ ความปลอดภัยของระบบ โดยขึ้นอยู่กับ (http://www.thaiecommerce.net/) มาตรฐานที่เลือกใช้ รวมทั้งผู้ที่ท�ำหน้าที่ เป็นประตูทจี่ ะเชือ่ มโยง Homepage ของ รับรอง Digital Signature ของผูซ้ อื้ การให้ บริษัทธุรกิจส่งออกที่จะเผยแพร่ข้อมูล บริการของบริษัทนั้นๆ ว่าผู้ที่ใช้บริการได้ ต่างๆ ไปสู่ผู้ซื้อทั่วโลก ส�ำหรับธุรกิจส่ง รับความสะดวกมากน้อยเพียงใด คุณภาพ ออกทีป่ ระสงค์จะเข้าร่วมโครงการ มีหลัก เกณฑ์เบื้องต้นคือ เป็นบริษัทนิติบุคคล ของการบริการ เช่น ความปลอดภัย ความรวดเร็ว ค่าบริการ ข้อผูกมัด ประกอบการค้ า สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารโดย ในการท�ำการซื้อขายผ่านระบบ E-Com- ถูกต้องตามกฎหมาย ไม่ประกอบธุรกิจ ผิดศีลธรรม สินค้าหรือบริการมีคุณภาพ merce ทีบ่ ริษทั ก�ำหนด ปัจจัยที่ต้องค�ำนึงในการท�ำ E-Com- มาตรฐานเป็นที่ยอมรับได้ เช่น มี Brand merce คือการก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย การ Name, ISO, Barcode รับรอง หรืออยูใ่ น ค�ำนึงถึงสภาวะแวดล้อมของตลาดสินค้า บัญชีรายชือ่ ผูส้ ง่ ออกของกรมส่งเสริมการ ส่งออก ตลาดเป้าหมายในระยะเริ่มต้นจะ เน้นใน ๖ แห่งคือ USA, Japan, Europe, Asia, Australia, Hong kong โดยสินค้า เป้าหมายคือ อัญมณีและเครื่องประดับ อาหาร สิง่ ทอ เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป เครือ่ งหนัง ของเล่น เฟอร์นเิ จอร์ ส่วนบริการเป้าหมาย คือ การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร บริการรถเช่า การจองตัว๋ เครือ่ งบิน (อ่านต่อฉบับหน้า) ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

ถึ ง เส้ น ชั ย ก่ อ นคนอื่ น ๓๐๐ กว่ า คน ตอนนั้ น ไม่ คิ ด ว่ า ชนะ แต่ ถื อ ว่ า ชนะ ตั้ ง แต่ ตั ด สิ น ใจไปลงแข่ ง รายการนี้ แล้ว

มื่ อ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๕ ตอนนั้ น เพิ่ ง ปั ่ น จั ก รยานได้ ๔-๕ เดื อ นเอง ถือว่ายังเป็น 'ขาอ่อน' อวดอุตริไปแข่ง ในรายการ 'สิงห์นักปั่นใจเกินร้อยพิชิต เขานางหงส์' ที่ จ.พังงา ถือเป็นรายการ แรกที่ (ทดลอง) ไปแข่งขัน จากผู้เข้า แข่งขัน ๘๐๐ คน คิดก่อนแข่งว่า ปั่น ออกจากจุดเริ่มต้น แล้วไปขึ้นเขานาง หงส์ มาถึ ง เส้ น ชั ย ที่ ส วนสมเด็ จ พระศรีนครินทร์ ถนนเขาช้าง อยู่ข้างศาลา กลางจังหวัด ก็ถือว่าผ่านแล้ว ส�ำหรับ รายการแรกในชีวิต แต่ แ ทบไม่ น ่ า เชื่ อ เลยได้ อั น ดั บ ๔๕๕ จาก ๘๐๐ คน แสดงว่าเรามา

เป็นความประทับใจ และเหนื่อย ต้องการเอาชนะใจตนเองให้ได้ ก็ผ่าน สุดๆ ในชีวิต เรียกได้ว่าแทบทิ้งรถตั้งแต่ อุปสรรคมาถึงเส้นชัยในที่สุด ขึ้นเขานางหงส์แล้ว แต่ด้วยความมุ่งมั่น ในชี วิ ต จริ ง ก็ เ หมื อ นกั น เราต้ อ ง ต่ อ สู ้ กั บ อุ ป สรรคที่ เ ข้ า มา เยื อ นชี วิ ต แบบตั้ ง ใจและ ไม่ ตั้ ง ใจให้ ถึ ง ที่ สุ ด ถึ ง แม้ว่าต้องผ่านขวากหนาม นานั ป การ ผลสุ ด ท้ า ยเรา ก็ ถึ ง เป้ า หมายในชี วิ ต นั่ น แหละคือสิ่งที่ภูมิใจ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ในซอกหลืบเล็ก ๆ ที่วุ่นวาย พวกเขาท�ำงานเป็นฟันเฟืองตัวเล็กของโรงงานใหญ่ๆ ผมพบเขา ถ่ายรูปพวกเขา มีรอยยิ้มมอบให้ต่อกัน รอยยิ้มเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่เสมอ (สถานที่ โรงอิฐ บ้านบางปู ต.ปากพูน อ.เมือง นครศรีฯ)

หน้า ๑๗


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๘

วั ส ดี .. ชี วี ส ดใสค่ ะ คอลั ม น์ โอ ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ ขอล้ อ หมุ น ออกจาก จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอพาท่านผู้อ่าน ไปลองลิ้ ม ชิ ม อาหารอร่ อ ยของชาวปั ก ษ์ ใต้ เมนูที่แสนจะฮิตติดปาก รับประทาน กันได้ทุกเพศทุกวัย ทุกวัน กับอาหารเมนู ประจ�ำท้องถิ่น "ขนมจีน" บ้านเรานี่เอง ค่ะ ปัจจุบันนอกจากขนมจีนน�้ำยา ผักสด ที่เลื่องชื่อประจ�ำท้องถิ่นแล้ว เมนูน�้ำแกง ปูม้า ก็จะเป็นอีกน�้ำยาที่ได้รับความนิยม ของผู้ชื่นชอบรับประทานขนมจีน ซึ่งไม่ว่า จะเป็นขนมจีนเส้นสด หรือ เส้นหมัก แบบ ต้นฉบับดั้งเดิม แวะมาทุ่งสงเที่ยวนี้แวะชิมขนมจีน ร้านอร่อยมื้อเที่ยง ที่ร้านขนมจีนแม่ยาย เส้นสดน�้ำแกงปูม้า ทุ่งสง เลียบรางรถไฟ ด้ ว ยค่ ะ .. มาแล้ ว ก็ ไ ม่ ผิ ด หวั ง จริ ง ๆ ค่ ะ ซึ่ ง เปิ ด บริ ก าร ตั้ ง แต่ วั น อั ง คาร ถึ ง วั น ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๕.๐๐ น.และเสาร์อาทิตย์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. (หยุด

ทุ ก วั น จั น ทร์ ) เรี ย กว่ า เสาร์ อ าทิ ต ย์ รั บ ประทานกันได้ตั้งแต่เช้าถึงเย็น สามารถ รองรับลูกค้าได้ถึง ๑๐๐ ท่าน โทรศัพท์ ส� ำ รองที่ นั่ ง กั น ได้ ที่ โทร. ๐๗๕-๓๕๕๙๘๗ สบายๆ ... ร้ า นนี้ ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนน พัฒนาการ หลังสวนหลวง ร.๕ ทางเข้า หมู่บ้านพัฒนา ต�ำบลปากแพรก อ�ำเภอ ทุ่งสง หาง่ายมากค่ะติดริมถนน มองเห็น สั ญ ลั ก ษณ์ ปู ม ้ า ตั ว โตเห็ น เด่ น ชั ด เปิ ด บริการวันแรกเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ต้อนรับเทศกาลสงกรานต์ ลูกค้า

คึ ก คั ก กั น แบบคนขายขายกั น ไม่ ทั น เลย เชียว การเดินทางก็แสนง่ายค่ะ ใช้เส้น ทางหลัก นครศรีธรรมราช - ทุ่งสง ได้ เลย เห็นสวนหลวง ร. ๕ ถ้าไปจาก นครศรี ธ รรมราช ร้ า นอยู ่ ริ ม ทาง รถไฟซ้ายมือ ขนมจีนแม่ยายเส้นสดน�้ำแกงปูม้า ที่นี่มีเครื่องท�ำเส้นสดโชว์ให้เห็นส�ำหรับ ลูกค้าที่สนใจได้ดูกันเพลินๆ อีกด้วย ทั้ง อิ่มทั้งได้รู้วิธีการผลิตแบบถูกสุขอนามัย ความสะอาดของร้ า นและการบริ ก าร ของที่นี่ก็ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ รับออร์เดอร์ ท�ำให้ไม่ต้องกังวลเรื่องคิว นั ก ชิ ม ไม่ ต ้ อ งรอนาน พนั ก งานล้ ว นยิ้ ม แย้มแจ่มใส รวมไปถึงเครื่องเคียง ไม่ว่า จะเป็นไก่ทอดร้อนๆ, กุ้งทอดใบเล็บครุฑ, ทอดมัน ฯลฯ แวะกันมานะคะ เจ้าของ ร้านน่ารักมากมาย บริการแบบเป็นกันเอง อาชีพหลักก็ขยัน อาชีพรองก็ใส่ใจ ต้อง ขอชื่ น ชมทั้ ง คุ ณ ตุ ๊ ก ตา (ที โ อที นครฯ) และคุณจุ๊บ (คนเก่งของเอ.ไอ.เอส นครฯ) ต้องห้ามพลาดค่ะ ล้อหมุนกันได้เลย ที่ นี่ ข นมจี น แม่ ย ายเส้ น สดน�้ ำ แกงปู ม ้ า ทุ ่ ง สง Check In ปุ ๊ บ รั บ ปั ๊ บ ส่ ว นลด ทันที ๑๐% หาเวลาแวะกันมาชิมนะคะ โอ ลั่ ล ล้ า ฟั น ธง หรอยจั ง หู ้ (อร่ อ ย มากๆ) แล้ว พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.