หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ฉบับที่ 35 สิงหาคม 57

Page 1

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

จังหวัดนครศรีธรรมราชได้รับเลือกเป็นตัวแทนของเมืองไทยไปแสดงสินค้า The ๑๑th China ASEAN Expo ณ เมืองหนานหนิง มณฑลกวางสี สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ๑๙-๒๒ กันยายน ที่ประชุมเตรียมโชว์สินค้า ๔ กลุ่ม

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี

เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ ห้ อ งประชุ ม ส� ำ นั ก งานพาณิ ช ย์ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช นายศิริพัฒ พัฒกุ ล รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เป็นประธาน การประชุ ม คณะท� ำ งานจั ด นิทรรศการ Pavilion of Charm

˹éÒ ò ˹éÒ ó

>> อ่านต่อหน้า ๘

˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ

สมาคมชาวสวนปาล์มเมืองนครเซ็ง ล�ำพังก่อตั้งสหกรณ์ก็ติดขัดปัญหา หยุมหยิม หวั่นเปิด AEC ปาล์มไทยจะพัง

˹éÒ ñ๒

รายงาน

มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ˹éÒ ñ๖ ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ ˹éÒ ñ๗ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ที่ประชุมคณะกรรมการ หอการค้ า ภาคใต้ เมื่ อ วั น ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๗ นายสลิ ล โตทั บ เที่ ย ง ประธานหอการค้ า กลุ ่ ม จั ง หวั ด อั น ดามั น ยอมรั บ ว่ า จั ง หวั ด ฝั ่ ง อั น ดามั น ขั บ เคลื่ อ นสภาวะเศรษฐกิ จ กั บ ยางพารา และปาล์ ม น�้ ำ มั น เมื่ อ ราคายางกั บ ปาล์ ม ตกต�่ ำ เศรษฐกิ จ ของภาคใต้ >> อ่านต่อหน้า ๙ ก็ซบเซาตามไปด้วย


หน้า ๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

(ต่อจากฉบับที่แล้ว) เมืองโบราณทากายาม่า เป็นเมืองไม่ใหญ่เท่าเมืองนครของ เรา แต่ เ ขาท� ำ ได้ อ ย่ า งน่ า นิ ย มมากๆ ด้ ว ย การกั น ถนนสองสามสายไว้ เ ป็ น ย่ า นเมื อ ง เก่าส�ำหรับส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

๓)

รุ่

งระวี ขุ ร ะสะ นั ก เทควั น โดสาวที ม ชาติ ไ ทย รุ ่ น ประชาชน วัย ๒๓ ปี เปิดเผยกับสื่อมวลชนว่า ถูก ‘โค้ชเช’ เช ยอง ซอก หัวหน้าผู้ฝึกสอนเทควันโด ทีมชาติไทยชาวเกาหลีใต้ ลงโทษเกินกว่าเหตุ กรณี ขาดการเตรียมอุปกรณ์ป้องกันตัว ลืมบัตรไอดีการ์ด นักกีฬาและถุงมือ จนเป็นเหตุให้พ่ายแพ้นักเทควันโด เกาหลีใต้ ตกรอบแรกรายการ ‘โคเรีย โอเพ่น ๒๐๑๔’ ที่เกาหลีใต้ จนเป็นข่าวใหญ่สร้างความเสื่อมเสียแก่ สมาคมเทควันโดและส่งผลกระทบต่อตัวนักกีฬา เมื่อ เช ยอง ซอก กลับจากประเทศบ้านเกิด เขากล่าวค�ำขอโทษต่อครอบครัวของนักกีฬาขาดวินัย เรื่ อ งอื้ อ ฉาวผ่ า นไปแล้ ว ‘โค้ ช เช’ กล่ า วว่ า ยิ น ดี ใ ห้ โอกาส รุ่งระวี ขุระสะ กลับคืนสู่ทีมชาติ โอกาสที่ก�ำกับ ด้วยระเบียบวินัยของนักกีฬาตัวแทนประชาชนทั้งชาติ ซึ่งตัวนักกีฬาต้องยอมรับกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด นักกีฬาและเยาวชนไทย เรียนรู้อะไรจากเช ยอง ซอก ได้บ้าง ก่อนนี้ ‘โค้ชเช’ เคยบอกเล่าประวัติ ว่าเขา เป็นนักกีฬายูโดมาก่อน “ผมเล่นยูโดมาสองปีเต็มๆ ตอนฝึกโค้ชผมโหดระดับสายด�ำสองเส้นคู่เลยทีเดียว แต่ทุกครั้งที่ผมท�ำไม่ได้เรื่องจะโดนจับไปย�ำบนเบาะ ผ้าใบโดยตัวโค้ชเอง ผมรู้ตัวว่าโทษมันสมควรแล้วที่ ผมจะโดนโค้ชจัดหนักจนคลานลงจากเบาะ จนถึงทุก วันนี้ผมเห็นเด็กๆ เล่นยูโดผมก็อดยิ้มแล้วคิดถึงโค้ช ของผมไม่ได้ ผมรู้ว่าใจของผมทุกวันนี้ที่ไม่เคยวิ่งหนี อะไรเกิดจากการหล่อหลอมของโค้ชจอมโหดของผม” ‘โค้ชเช’ เคยเป็นนักรักบี้ “โค้ชผมโหดระดับไหน แต่ทุกครั้งที่ลงแข่งแล้วเจ็บตัว ผมก็ได้แต่ขอร้องโค้ช ให้พ่นยาชาเข้าน่องหรือไหล่ของผมเพื่อให้ผมสามารถ ที่จะกลับลงไปลุยให้จบเกมส์ได้ ตอนนั้นผมรู้เลยว่า โค้ชโหดกับผมตอนฝึกก็เพื่อให้ผมฮึดสู้จนจบเกมส์ โดยที่หัวใจของผมเป็นฝ่ายขอร้องที่จะสู้เอง” สองประโยคที่นักกีฬาและเยาวชนควรจดจ�ำ คือ เช ยอง ซอก ไม่เคยวิ่งหนีอะไร กับ ฮึดสู้จนจบเกมส์ โดยตัวเขาเป็นฝ่ายขอร้องที่จะสู้ กรณี ลงโทษนักกีฬา ขาดวินัย ‘โค้ชเช’ แสดงให้เห็นว่าเขาเชื่อในปรัชญา ดังกล่าว เขาไม่หนี สู้จนจบและให้อภัย เพราะเขาถูก หล่อหลอมให้เป็นนักกีฬาที่แข็งแกร่งนั่นเอง

ซากุระ ๒ พันธุ์ บานสะพรั่งที่ริมคลองกลางเมือง

สะพานกลางเมืองริมตลาดเช้า

และเรียนรู้สารพัด อาคารทุกหลังตลอดแนวถนนร่วมร้อย เมตรเก็บไว้ในลักษณะเดิมเมื่อนับร้อยปีก่อน ให้บรรยากาศ เหมือนมาเดินในญี่ปุ่นสมัยก่อน ในฐานะเป็นเส้นทางเดิน เชื่อมกลางประเทศ แถมบนถนนริมล�ำธารด้านหนึ่งที่ซากุระ ก�ำลังบานเต็มที่ ก็ติดตลาดเช้าขายข้าวของสารพัดให้คนมา เดินเล่นซื้อหา ทั้งของกินของฝาก โดยที่ปลายถนนมีอาคาร ที่ท�ำการเก่าของเมือง ได้ชื่อว่าเหลืออยู่แห่งเดียวในญี่ปุ่น เขาก็จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ให้ได้เห็นสภาพดั้งเดิมด้วย เมือง นครตอนนี้ เทศบาลนครท�ำซุ้มสะพานลอยสี่แยกท่าวังกับ สี่แยกตลาดแขกแล้ว หากลองคิดขยับเป็นย่านบ้านเก่าคน จีนที่ท่าวังอาจเริ่มที่ริมสะพานราเมศวร์ วัดจันทร์ วัดท่าโพธิ์ วัดศรีทวี หรือยาวไปถึงวัดชะเมา วัดประดู่ก็ยังได้ กับย่าน ตลาดแขกที่มี ๒ มัสยิดอยู่แล้วก็ไม่น่าจะยาก อยากเห็น จริงๆ ครับ วานใครช่วยบอกท่านนายกทั้งหลายในเมืองนคร ด้วยครับ หากอยากเห็นย่านคนไทย ก็ลองได้ที่ท่าม้า ประตู ชัยหรือย่านวัดสบครับ.

ร้านขายผ้าย้อมครามราคาแพงระยับ ย่านตลาดเก่ากลางเมืองใหม่ที่อนุรักษ์และ พั ฒ นาให้ น ่ า เดิ น อี ก ภาพเป็ น ลานกลาง อาคารที่ท�ำเป็นสวนสวยน้อยๆ คล้ายบ้าน จีนเก่าที่ท่าวัง

ร้านค้าสารพัดที่จัดแต่งจากอาคารเก่าทั้งหลาย

>> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

เล่ า เรื่ อ งได้ อ ย่ า งออกรส หลายเรื่ อ งสะเทื อ นใจกั บ เหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ เ คยคิ ด เลย ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น หลายเรื่ อ ง ท�ำให้ต้องคิดตาม เรื่องราว ด้ า นพลั ง งานยิ่ ง ท� ำ ให้ รู ้ ใ ห้ เข้าใจถึงสภาวะสิ่งแวดล้อม ใกล้ ตั ว แต่ ค นเรามั ก จะ ละเลยไม่นึกถึง ‘เรื่ อ ง-ผม-เล่ า ’ ของ จ� ำ ลอง ฝั ่ ง ชลจิ ต ร จึ ง มี เสน่ห์ของนักเล่าเรื่องหลาก หลายรสชาติอย่างแท้จริง

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

มื่ อ วั น ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗ คณะกรรมการ วรรณกรรมรางวัลสร้างสรรค์แห่งอาเซียน (ซีไรต์) ประกาศรายชื่อรวมเรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้าย (short lists) ประจ�ำปี ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๖ เล่ม (จากหนังสือส่ง เข้าประกวด ๗๙ เล่ม) ประกอบด้วย ๑. มะละกาไม่มีทะเล ของ จเด็จ ก�ำจรเดช ๒. เรื่อง-ผม-เล่า ของ จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร ๓. สามานย์สามัญ ของ อุทิศ เหมะมูล ๔. เสือกินคน ของ สาคร พูลสุข ๕. หญิงเสา และเรื่องราวอื่น ของ กล้า สมุทวณิช ๖. อสรพิษ และเรือ่ งอืน่ ๆ ของ แดนอรัญ แสงทอง รวมเรื่องสั้น ๓ ใน ๖ เล่ม เป็นผลงานของนัก เขียนชาวนคร ได้แก่ จเด็จ ก�ำจรเดช ชาวกาญจนดิษฐ์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า วิ ท ยาลั ย ศิ ล ปหั ต ถกรรมนครศรี ธ รรมราช ปัจจุบันปักหลักอาศัยอยู่ในอ�ำเภอท่าศาลา เคยได้รับ รางวัลซีไรต์เมื่อปี ๒๕๕๔, จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร คุณ ผู้อ่านคงจะคุ้นเคยอยู่บ้าง ศิษย์เก่ากัลยาณีศรีธรรมราช และ สาคร พูนสุข ลูกหลานชาวหัวไทร ศิษย์เก่า โรงเรียนหัวไทรบ�ำรุงราษฎร์ ปัจจุบันรับราชการอยู่ที่ จังหวัดน่าน ค�ำประกาศที่คณะกรรมการรอบคัดเลือก ร่วมประชุมและช่วยกันเรียบเรียง และเผยแพร่แสดง คุณค่าที่ควรเข้ารอบของรวมเรื่องสั้น ๓ เล่ม ไว้ดังนี้ มะละกาไม่มีทะเล | จเด็จ ก�ำจรเดช

หน้า ๓

เสือกินคน | สาคร พูลสุข

ช�่ำชองในกลวิธีแห่งการปะทะกัน ระหว่างความจริงกับ ความจริงเสมือน ความรู้กับความเชื่อ และการสร้าง ตัวละครที่มีความคลุมเครือ ท้าทายการติดตามตีความ จากคนอ่าน ทั้งได้เพิ่มการทดลองเล่นกับมิติใหม่ขึ้นอีก สองด้าน ด้านหนึ่ง คือ มิติแห่ง ‘กาล’ ทั้งในอนาคต และในอดีต เขาได้แสดงออกถึงจินตนาการที่เข้มข้นต่อ โลก ‘เสมือนจริง’ ที่คนทั่วไปพรั่นพรึง มิติใหม่อีกด้าน หนึ่งที่จเด็จน�ำเสนอไว้ในรวมเล่มเล่มใหม่นี้ส่งกลิ่นอาย แห่ง อารมณ์และบรรยากาศของยุคทศวรรษ ๒๕๕๐ ทั้งในบริบทของสังคมไทยที่มีปัญหาการเมืองครอบง�ำ และของภูมิภาคได้อย่างสดใหม่ ทันยุคทันเหตุการณ์ ด้วยฝีมือการเขียนที่มีชั้นเชิงและกลวิธีเฉพาะตัว

ในรวมเรื่องสั้น ‘มะละกาไม่มีทะเล’ จเด็จ ก�ำจร- เรื่อง-ผม-เล่า | จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร เดช ยั ง คงรั ก ษาชั้ น เชิ ง ของการเป็ น นั ก เล่ า เรื่ อ งผู ้ รวมเรื่ องสั้น ที่อ่ า นง่ า ย อ่า น สนุก ชวนให้ติดตาม มีอารมณ์ขัน ให้คนอ่านยิ้ม บ้างหัวเราะในคราว เดียวกัน อาจมีทั้งเรื่องจริงเรื่อง แต่ ง ผสมผสานกั น อย่ า งลงตั ว อ่านแล้วได้ความคิดต่อเนื่อง จ�ำลองมีเรื่องราวที่จะเล่า อีกมากมาย ทั้งยังเป็นนักแซว นั ก เสี ย ดสี ตั ว เองให้ ค นอ่ า น ครึ ก ครื้ น เขาเป็ น นั ก เขี ย น เรื่องสั้นอย่างแท้จริง มีข้อมูล จากการพบเห็ น หลายด้ า นมา

รวมเรื่องสั้น ‘เสือกิน คน’ ของ สาคร พูลสุข เป็น เรื่องสั้นที่เขียนด้วยส�ำนวน ชวนอ่ า นน่ า ติ ด ตาม น� ำ เสนอในรู ป แบบเรื่ อ งสั้ น ที่ ดี เนื้อหาเสนอความคิดในเรื่องต่างๆ อย่างหลากหลาย ทั้งขนบประเพณี รายละเอียดเกี่ยวกับความเชื่อ แนว ปฏิบัติที่สืบต่อกันมาในสังคมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้เขียน ได้ ส อดแทรกให้ เ ห็ น อย่ า งเด่ น ชั ด เนื้ อ หาบางเรื่ อ ง แสดงวิถีชีวิตของคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ในกระแสโลกาภิวัตน์ บางเรื่องสะท้อนแนวคิดทางการเมือง บางเรื่อง มีความลึกลับเหนือจริงเพื่อแสดงนัยยะของความคิด ความเชื่อ รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล�้ำทาง เศรษฐกิจ สังคมของผู้คน สร้างอารมณ์สะเทือนใจให้ แก่ผู้อ่าน และในเรื่องสั้นแต่ละเรื่อง ผู้เขียนได้แสดง วาทะ ค�ำคม เกี่ยวกับการใช้ชีวิตอย่างลึกซึ้งน่ารับฟัง รวมทั้งแสดงความคิดเห็นทางการเมืองของผู้เขียนเอา ไว้ด้วย ผมขอไม่พรรณนาว่าเพราะเหตุใดผลผลิตของ เมืองนครจึงสามารถแสดงฝีมือการเขียนอยู่ในระดับ ชาติ ถ้าเด็กๆ ได้อ่านข้อเขียนชิ้นนี้ ผมแค่อยากบอก พวกเขาว่า-- การอ่าน การศึกษาตัวอย่างงานเขียน ที่ดี สนใจเรื่องราวรอบๆ ตัว และลงมือเขียนอย่าง ทุ่มเทด้วยความรัก เป็นสิ่งเดียวที่จะน�ำพวกเขาไปสู่ จุดสูงสุด อีกเดือนกว่าๆ คณะกรรมการตัดสินรอบสุดท้าย จะพิจารณาเลือกรวมเรื่องสั้นเพียง ๑ เรื่องให้ได้รับ รางวั ล วรรณกรรมสร้ า งสรรค์ แ ห่ ง อาเซี ย น ประจ� ำ ปี ๒๕๕๗ เราค่อยมาดูว่ารวมเรื่องสั้นเล่มไหนจะได้ รับรางวัล อาจเป็นลูกหลานชาวนครหรือไม่ ช่วยเป็น ก�ำลังใจ


หน้า ๔

ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

มื่ อ วั น ที่ ๒๔-๒๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๗ ผมได้ มี โ อกาส เข้าร่วมประชุมสัมนาการขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกของ พระบรมธาตุนคร ซึ่งกรรมการฝ่ายวิชาการที่น�ำโดยท่าน อาจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ร่วมกับสมาคมอิโคโมส ไทย ได้จัดสัมมนากันในหัวข้อเรื่อง “ประกาศคุณค่าที่ โดดเด่ น เป็ น สากลของวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร” ณ โรงแรมทวินโลตัส มีนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี และนั ก วิ ช าการระดั บ หั ว แถวของประเทศเข้ า ร่ ว มกั น มากมาย การได้เข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ ผมได้รับประโยชน์ อย่ า งมากมายจากข้ อ มู ล ใหม่ เ ก่ า ที่ น� ำ มาเสนอต่ อ ที่ ประชุม คลี่คลายข้อถกเถียงลงได้หลายเรื่องเมื่อมีข้อมูล ใหม่ที่เชื่อถือได้ มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ผมให้ความสนใจเป็น พิเศษคือ เรื่องการก�ำหนดผังการสร้างพระบรมธาตุตั้งแต่ ต้น สร้างความคิดความเชื่อแบบลังกาทั้งรูปแบบแผนผัง งานสถาปัตย์ เช่นการสร้างพระธาตุนอกเมืองตามแบบ อย่างลังกา ซึ่งเจดีย์โปลนนารุวะ ก็สร้างนอกเมือง สร้าง อยู่ทางทิศเหนือของเมือง พระธาตุเมืองนครก็สร้างอยู่ นอกเมือง ซึ่งเมืองสมัยนั้นตั้งอยู่ที่เมืองโคกกระหม่อม (เมืองพระเวียง) พรือสถานที่ตั้งพิพิธภัณฑ์ของเมืองนคร ปัจจุบัน ต่อมาจึงได้สร้างเมืองใหม่ครอบที่พระธาตุใน ภายหลัง ความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนาอีกเรื่องคือ การ จัดต�ำแหน่ง องค์พระบรมธาตุ พระพุทธรูปขนาดใหญ่ (พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช) และ โพธิมณเฑียร (โพธิ์ ลังกา) ให้อยู่เป็นแนวเดียวกันแสดงให้เห็นว่าคนสมัย

ก่อนมีการก�ำหนดสัดส่วน มีแผนผัง มีแบบการก่อสร้าง ที่ก้าวหน้าอยู่มากมายอยู่แล้ว เขตพื้นที่พระบรมธาตุก็มี ถนนขนาบสองข้าง คอดเข้ามาคล้ายโดมพระธาตุ แล้ว เรียวเล็กแหลมไปจนถึงหอนาฬิกา ดูจากเบื้องบนผังก็

เป็นรูปเจดีย์ด้วย มีถนนตัดผ่านสองสายเหมือนบัลลังก์ ของพระบรมธาตุ น่าสนใจมากทีเดียว ในการสั ม มนาครั้ ง นี้ มี นั ก วิ ช าการท่ า นหนึ่ ง พู ด ว่า เมืองนครตอนสร้างเมือง คงจะต้องมีหลักเมือง แต่ ไม่แน่ใจว่าอยู่ส่วนไหนของเมืองและน่าจะเป็นเส้นแนว เดียวกับองค์พระธาตุ ซึ่งมีพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช และวิ ห ารโพธิ ม ณเฑี ย รอยู ่ ใ นแนวเดี ย วกั น แล้ ว และ เมืองใหม่ที่เพิ่งมาสร้างครอบองค์พระธาตุในภายหลัง ก็ต้องสร้างหลักเมืองเอาไว้ด้วย ตามความเชื่อของคน โบราณ หลักเมืองที่มีอยู่ในปัจจุบันก็ถูกสร้างขึ้นใหม่ตาม ต�ำแหน่งในเมืองใหม่ซึ่งคงหมายถึงเขตอ�ำเภอเมืองหรือ เขตเทศบาลเป็นแน่เพราะไม่ได้อยู่ในกรอบก�ำแพงเมือง เก่าเดิม ปัญหาจึงมีให้ชาวนครเราต้องค้นหาต�ำแหน่ง หลักเมืองเดิมของเราอยู่ที่ใด ผมเคยได้ ยิ น ผู ้ ค นแถวต� ำ บลในเมื อ ง พู ด ถึ ง หลักเมืองว่า คือ หินหลัก เป็นแท่งศิลาแบบเหลี่ยม ยาว ประมาณเมตรเศษว่านั่นคือ หลักเมืองในสมัยก่อนเป็น หลักเมืองที่ท�ำด้วยหิน อายุเป็นพันๆ ปีก็ไม่ผุกร่อนง่าย เหมือนไม้ ปัจจุบันถูกเก็บไว้ที่ไหนไม่แน่ชัด แต่ได้รับการ แจ้งจากผู้รู้บางท่านว่า คตินิยมหลักเมืองต้องท�ำด้วยไม้ เท่านั้น จะจริงหรือเปล่าผมไม่ทราบ เพราะยังไม่ได้ฟัง จากผู้ศึกษาค้นคว้าด้านนี้เฉพาะมาให้ค�ำอธิบาย เมื่อไม่นานมานี้ผมได้มีโอกาสอ่านเรื่องราวเก่าๆ ของเมืองนครจากหนังสือของ “สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภานุพันธุวงศ์วรเดช” ได้ เ ขี ย นเล่ า เรื่ อ งของการมาเมื อ งนครของ ท่ า นค่ อ นข้ า งละเอี ย ด และมี ค วามตอนหนึ่ ง พู ด ว่ า “ศาลหลักเมือง” ในประมาณปี พ.ศ. ๒๔๒๐ เศษๆ ซึ่ง เวลาก็ล่วงมาแล้ว ๑๓๐ กว่าปี >> อ่านต่อหน้า ๘

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือน สิงหาคม ๒๕๕๗ ยังคงก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างอดทน ท่านผู้อ่านผู้มีอุปการคุณที่เคารพ เมื่อเปิดอ่าน รักบ้านเกิด ฉบับนี้ จะพบว่ามีคู่กลางเพิ่มขึ้น จากการ ประชุมหารือกับ โกแอ๊ด-สุธรรม ชยันต์เกียรติ, อ.สุเมธ รุจิวณิชย์กุล และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ เกิดข้อ ตกลงให้เพิ่มคู่กลางเพื่อรายงานความเคลื่อนไหวคืบหน้า เกี่ยวกับการเสนอพระบรมธาตุเจดีย์เป็นมรดกโลกอย่าง รอบด้าน โดย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานคณะ กรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดสนับสนุนเม็ดเงินจ�ำนวน หนึ่ ง ถ้ า คุ ณ ผู ้ อ ่ า นผู ้ มี อุ ป การคุ ณ จะสนั บ สนุ น โฆษณา ที ม งานรั ก บ้ า นเกิ ด ให้ จั ด ท� ำ ‘หน้ า พิ เ ศษพระบรมธาตุ เจดีย์สู่มรดกโลก’ ได้ต่อเนื่อง องค์กรของท่านจะได้มี ส่วนร่วมอย่างส�ำคัญในการให้ความรู้แก่ประชาชน สนใจ ติดต่อ ชวัลพัชร แกะประจักษ์ โทร.๐๙๘-๘๗๔-๕๒๒๘ หลังรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวเสร็จสมบูรณ์ สื่อ ส� ำ นั ก ต่ า งๆ วิ เ คราะห์ ต รงกั น ว่ า นายกรั ฐ มนตรี ค นที่ ๒๙ ของประเทศไทย คือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา พรรคการเมื อ ง-นั ก การเมื อ ง โปรดอดใจรอ

วั น ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ พลโทวลิ ต โรจนภั ก ดี แม่ทัพภาคที่ ๔ เป็นประธานเปิดงาน ‘นครหัตถศิลป์’ ที่ จังหวัดนครฯ ร่วมกับส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด นครฯ และหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมกันจัดขึ้น ระหว่าง ๑๕-๑๘ กรกฎาคม ณ สวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช ผู้ว่าฯ อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ เปิดศูนย์ บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ตามนโยบาย คสช. ณ ศาลาประชาคม เมืองนคร ขอเชิญเจ้าของธุรกิจ เจ้าของบ้านที่ใช้แรงงาน เถื่อนรีบน�ำลูกจ้างไปจดทะเบียนด่วนที่ศาลาประชาคม วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ดร.กณพ เกตุชาติ ต้อนรับ นายฮิโรโนบุ นิชิดะ ตัวแทนจากบริษัทโอซาก้า แก๊ส (ญี่ปุ่น) และคณะที่มาเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าจากแก๊ส


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ชีวภาพของบริษัทเกษตรลุ่มน�้ำ เพราะญี่ปุ่นมีเทคโนโลยี่ ผลิต NGV (ใช้เติมรถยนต์) จากแก๊สชีวภาพและฝ่ายญี่ปุ่น สนใจมาลงทุนร่วม แต่การเจรจาตกลงต้องใช้เวลาอีกระยะ ปัจจุบันเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานพัฒนารวดเร็วยิ่งนัก โรคภัยใกล้ตัวตายแล้ว ๒ นพ.ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล ผอ.สนง.ป้องกันโรคที่ ๑๑ นครฯ แจ้งว่าย่าง ฤดูฝนเชื้อโรคฉี่หนูแพร่หลาย โดยเฉพะกลุ่มเกษตรกรที่ย�่ำ แหล่งน�้ำขัง ซึ่งเชื้อสามารถเข้าทางบาดแผล หรือรอยถลอก และดื่มน�้ำมีเชื้อโรค ถ้าญาติๆ มีไข้สูง ปวดศีรษะ ตามกล้าม เนื้อเน้นที่น่องกับโคนขาให้รีบพาไปพบแพทย์ทันที

วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗ มสธ.ศูนย์ฯนครศรีธรรมราช เชิญ รศ.ดร.นพ.ชัยเลิศ พิชิตพรชัย อธิการบดี บรรยาย พิเศษเรื่อง ‘สื่อไอที..เปลี่ยนชีวิต’ และ ‘มสธ.กับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน’ ลูกศิษย์ลูกหาให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น

วันที่ ๑๔-๑๘ กรกฎาคม โกจ้อง-บรรจง ชีวะพันธศักดิ์ เปิดบูธฮอนด้าศรีนคร มีโปรโมชั่น ลด แลก แจก แถมใน งานมหกรรมปรองดองคืนความสุขให้ประชาชน ณ สนาม หน้าเมือง ลูกค้าฮอนด้าศรีนครได้รับความสุขกันทั่วหน้า

นครศรีธรรมราช

ทีแรกมาเชิญนักเรียนนักศึกษารณรงค์ต่อต้าน การข่มขืน วันที่ ๙ กรกฎาคม นางสาวปนัดดา วงศ์ผู้ดี อดี ต นางสาวไทย ปี ๒๕๓๒ ให้ เ กี ย รติ บ รรยายพิ เ ศษ โครงการ ‘บุคลิกภาพที่ดี อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช สู่ อาเซียน’ ณ ห้องประชุมพระเงิน วิทยาลัยอาชีวศึกษา นครศรีธรรมราช นักเรียนเข้าฟังล้นห้อง ลูกศิษย์ได้รับ ประสบการณ์ดีๆ ผอ.สุรพล โชติธรรมโม ปลาบปลื้มใน ความส�ำเร็จเบื้องต้น ภิญโญ เพชรแก้ว อาจารย์ศิ ล ปิ น ยั ง ปั ่ น จั ก รยานรั ก ษาสุ ข ภาพกั บ เพื่ อ นพ้ อ งร่ ว ม คณะอย่างต่อเนื่อง

หน้า ๕

วันที่ ๕ กรกฎาคม ปาลิกา จึงไพศาล-ห้างเพชร ทองซีกวง ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัด บริจาคอาหาร กลางวัน ขนม น�้ำดื่ม เสื้อผ้า วารสาร และสบทบกองทุน ศพไร้ ญ าติ ที่ ส ถานสงเคราะห์ สิ ช ล วั น ที่ ๑–๕ สิงหาคม ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนคร นครฯ เชิ ญ ร่ ว มงานสมโภชศาลหลั ก เมื อ ง ชมกิ จ กรรม ต่างๆ เช่น นิทรรศการ ตลาดนัดพระเครื่อง หนังตะลุง มโนราห์ และการแสดงแสงสี เ สี ย ง ณ ศาลหลั ก เมื อ ง นครศรีธรรมราช สนามหน้าเมือง ฉบับหน้า รัก บ้านเกิด จะครบรอบ ๓ ปี รวดเร็วจริงๆ

ภาพสวยงามจากขบวนพาเหรด กีฬาสี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๗


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ร.อดิศวร์ หลายชูไทย รองกรรมการผู้จัดการและ เลขานุการบริษัท ธ.กสิกรไทย (มหาชน) เดินทาง มาเป็ น ประธานในงานเสวนาผู ้ ถื อ หุ ้ น สั ญ จร จั ด ขึ้ น ที่ โรงแรมราวดี อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ‘รัก บ้ า นเกิ ด ’ ได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ ส อบถามความเป็ น มาของ โครงการภายใต้หวั ข้อ ‘มั่งคัง่ อย่างผูใ้ ห้ ด้วยหัวใจสีเขียว’ และเรื่องราวอื่นๆ ดร.อดิ ศ วร์ ต้ อ นรั บ ด้ ว ยรอยยิ้ ม อบอุ ่ น และตอบ ค�ำถามอย่างสุภาพ “โครงการนี้เราท�ำมา ๕ ปี ติดต่อกัน ทุกปี แนวคิดของเรา เราเป็นธนาคารที่มีความเชื่อมาก เรื่องการที่จะท�ำธุรกิจให้มีความยั่งยืน แล้วเชื่อในแนวคิด ของการให้ ซึ่งการให้เชิงธุรกิจต้องสร้างความสมดุลให้คน ที่เกี่ยวข้องกับธนาคาร หมายถึง ลูกค้า และผู้ถือหุ้นซึ่ง จริงๆ ก็คือเจ้าของธนาคาร คนที่เราท�ำธุรกิจด้วย คนใน ชุมชนที่เราไปท�ำธุรกิจ การให้ความสัมพันธ์ที่ดี เพราะ เราเชื่อว่าจะเป็นปัจจัยส�ำคัญในการท�ำธุรกิจในระยะยาว และยั่งยืน เพราะฉะนั้นการให้และการสร้างความสมพันธ์ ที่มีสมดุลซึ่งมีหลายๆ มิติ ทั้งความสมดุลของสังคม ชุมชน

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

เศรษฐกิจรวมถึงสิ่งแวดล้อมด้วย” ถามว่าความสมดุลวัดด้วยอะไร ดร.อดิศวร์ อธิบาย ให้เข้าใจอย่างง่ายๆ ว่าการประกอบธุรกิจที่ไหนก็ตาม ผู้ ประกอบการย่อมหวั่นเกรงเหตุการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา “อย่างเราจะมาเปิดสาขาในตัวเมืองนคร ถ้าเราสร้างความ สมดุลให้เกิดแก่ชุมชน เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เราจะได้ รับการต้อนรับจากลูกค้า เราจะได้รับความชื่นชมจากผู้ถือ หุ้นที่จะเห็นว่าการขยายธุรกิจที่เข้าไปอยู่ในพื้นที่เหล่านี้ เราต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้มีส่วนได้เสีย” โครงการนี้ไม่ได้มาจากการวิจัยด้านการตลาด แต่ เกิดจากความส�ำนึกขององค์กร “ถ้าเราเป็นองค์กรที่มี เจ้าของ เราควรจะท�ำให้เจ้าของ หนึ่ง-เขาควรมีสิทธิต่างๆ ที่พึงมีพึงได้เป็นขั้นต�่ำ สิทธิเขาไม่ควรถูกริดรอนในรูปแบบ ใดก็ตาม สอง-ในฐานะเราเป็นบริษัทก็ควรมีผลประกอบ การที่ดูดี แล้วควรจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แปลว่าถ้าเรา เป็นองค์กรที่มีความส�ำนึกอย่างนี้ เราเอาทุนของผู้ถือหุ้น มาลงทุน เราต้องรักษาทุนตรงนี้ให้มันงอกไป ตัวนี้เหมือน เป็นปรัชญาขององค์กรที่เราท�ำธุรกิจแล้วมีความยั่งยืนใน อนาคต”

อธิบายง่ายๆ ว่า-- ธนาคารกสิกรไทยเป็นบริษัท มหาชน คนมีก�ำลังซื้อสามารถซื้อผ่านตลาดหลักทรัพย์ แล้วเป็นเจ้าของ หรือเจ้าของก็คือผู้ถือหุ้นนั่นเอง ผู้ถือหุ้นมีทั้งบุคคล (หลายสัญชาติ) หรือสถาบันซึ่ง จะถือไว้จ�ำนวนมาก แต่สิทธิทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน “สิทธิที่ว่ามีตั้งแต่เรื่องการขอทราบว่ามีผลประกอบ การแบบไหน ต้องมีความโปร่งใส ได้รับข้อมูลที่สม�่ำเสมอ สิทธิในการเข้าประชุม การออกเสียง เพราะฉะนั้นองค์กร มหาชนต้องเป็นองค์กรที่มีความส�ำนึกว่าผู้ถือหุ้นก็เสมือน ผู้เป็นเจ้าของ เราต้องรักษาสิทธิขั้นพื้นฐานของเขา เรื่อง นี้ส�ำคัญมากๆ” ดร.อดิศวร์ เปิดเผยว่ามีผู้ถือหุ้นร่วม ๑,๐๐๐ คน ในนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกล้เคียงเดินทางมาร่วม กิจกรรมที่เตรียมไว้ “เราจะพูดในเชิงของการให้ธีมของงาน (theme) คือ ‘ให้อย่างมั่งคั่ง ด้วยหัวใจสีเขียว’ คอนเซ็ปต์ คือ ความ มั่งคั่ง คนมักจะนึกว่าเป็นทรัพย์สิน แต่จริงๆ แล้วเรามอง ว่ามันมีได้ทั้งมั่งคั่งด้วยทรัพย์สิน มั่งคั่งด้วยความรู้สึกที่ดี มั่งคั่งด้วยความรู้สึกที่เป็นสุข เพราะฉะนั้น เรารู้สึกว่าการ ให้คนมีความรู้สึกที่ดีได้ การให้เป็นหนึ่งปัจจัยที่จะท�ำให้ คนเกิดความสุข เพราะคนที่สามารถจะให้คนอื่นได้ เขา จะได้รับความสุขหรือความอิ่มเอิบในการให้กลับมา” ทีมงานประสานน�ำเด็กๆ จากสถานสงเคราะห์เด็ก ชายบ้านศรีธรรมราช ๖๐ คน มาท�ำกิจกรรมกับผู้ถือ หุ้น “กิจกรรมอาจท�ำให้รู้สึกว่าเราในฐานะที่เป็นแบงค์ เจ้าของแบงค์มีความเอื้ออาทรและอยากจะแบ่งปันความ รู้สึกดีๆ ให้กับน้องๆ น้องถ้าเขาได้ความรู้สึกอย่างนี้ไป เขาก็จะได้ความสุข เรามีกระเป๋าผ้ามาระบายสีร่วมกัน ก็ เป็นการใช้เวลาร่วมกันช่วงเช้า แล้วก็ให้น้องๆ น�ำกลับไป แล้วจะให้น้องทานข้าว เลี้ยงข้าวน้อง เป็นการท�ำร่วมกัน ในมุมของการให้” ช่ ว งบ่ า ยเป็ น กิ จ กรรมของผู ้ ถื อ หุ ้ น ซึ่ ง จั ด ในห้ อ ง ประชุม โดยเชิญคุณเผดิมภาพ สงเคราะห์ กรรมการ ผู้จัดการ บมจ.หลักทรัพย์กสิกรไทยมาให้ความรู้ ดร. อดิ ศ วร์ เ ปิ ด เผยต่ อ ไปว่ า “การให้ ค วามรู ้ ข ้ อ มู ล ให้ ไ ป ประเมิน แล้วประมวลออกมาว่าเขาอยากจะลงทุนตรง โน้นตรงนี้ เขามีข้อมูลเพียงพอ เขาก็จะตัดสินใจได้ถูก ต้อง ผู้ถือหุ้นควรรู้ว่าการลงทุนในทุกรูปแบบมีความเสี่ยง เพราะฉะนั้น การลงทุนอะไรก็ตาม ถ้าจะลดความเสี่ยง ก็ต้องท�ำความเข้าใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเอาเงินไปลง เช่น สถานการณ์การบ้านเมืองเป็นอย่างไร ผลกระทบมี อะไรบ้าง จะออกมารูปแบบไหน ตัวบริษัท ตัวแบงค์เป็น แบงค์แบบไหน ท�ำธุรกิจอะไร มีจุดแข็งจุดอ่อนอย่างไร เราหรือเขาสบายใจไหมในการเอาเงินไปลง แล้วแปลง สภาพเป็นเจ้าของแบงค์ในรูปแบบของการถือหุ้น” นอกจากฟังบรรยายเกี่ยวกับการลงทุน คณะท�ำงาน ยังเชิญอาจารย์ ม าศ เคหาสน์ ธ รรม ประธานสถาบัน ค้นคว้าวิชาการฮวงจุ้ยแห่งประเทศไทย มาเสวนาเรื่อง ‘ฮวงจุ้ย...ศาสตร์และศิลป์ที่ส่งเสริมด้านการลงทุน’ มา บรรยายและตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้นเพื่อน�ำไปปรับใช้ ให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมเสวนาผู้ถือหุ้นสัญจร ๔ ภูมิภาค เริ่มต้น ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ถือหุ้นกลับบ้านอย่างมี ความสุขด้วยหัวใจสีเขียวที่เกิดความสมดุล คราวต่อ ไป ดร.อดิศวร์ หลายชูไทย จะน�ำคณะไปจัดที่จังหวัด ระยอง นครสวรรค์ และนครราชสีมา ตามล�ำดับ


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

- ใครก็ ท� ำ ได้ เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของ ที ม มากกว่ า ความสามารถส่ ว นบุ ค คล (Team Work) เน้นแนวคิดจับถูกมากกว่า การจับผิด ปรับโครงสร้างสร้างองค์กรให้ เกิด ๑.การร่วมกันค้นหาสิ่งที่ดีๆ ในองค์กร ๒.สร้างเป้าหมายในอนาคตร่วมกัน (๓-๕ ปี) ๓.วางแผนงานประจ�ำปีเพื่อไปสู่เป้า หมายที่ต้องการให้เกิดขึ้น ๔.การลงมือท�ำ ตามแผนแล้วมีการติดตามอย่างต่อเนื่องมี

าถึงยุคของการแข่งขันที่มีการรุกคืบ เข้ า มาของทุ น ต่ า งชาติ แ ละทุ น ส่วนกลาง บวกความต้องการของลูกค้าที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่มีข้อจ�ำกัด การจะ น�ำพาธุรกิจท้องถิ่นที่อยู่มานานให้สามารถ เดินต่อไปได้ ปัญหาของธุรกิจขนาดเล็กขนาดกลางที่มีพนักงานมากกว่า ๕๐ คน – ๓๐๐ คน ก�ำลังเผชิญปัญหาการจัดความ สัมพันธ์ของคน ๓ รุ่นในองค์กร คือ คนรุ่น Baby Boom (อายุมากกว่า ๕๐ ปี) คน กลุ่ม Gen X (อายุระหว่าง ๓๕-๕๐ ปี) และ คนรุ่นใหม่ Gen Y (อายุ ๒๐-๓๕ ปี) ต่าง ก็มีวัฒนธรรมความคิด ความเชื่อที่ต่างกับ คนรุ่น Baby Boom คือ รุ่นสร้างธุรกิจและ มี อ� ำ นาจในการบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ส่ ว น ใหญ่ก็เป็นเจ้าของคนเดียวถ้าเป็นห้างหุ้น ส่วนฯหรือบริษัทก็เป็นของครอบครัว รูป แบบการบริหารจัดการ อ�ำนาจการตัดสิน ใจ จะอยู่ในมือเจ้าของกิจการ จะแบ่งเบา มาให้ลูกรุ่น Gen X หรือ Gen Y แต่ก็ยัง ไม่ปล่อยวางทั้งหมด นโยบายการบริหาร งานบุคคล การจ่ายค่าจ้าง-ค่าตอบแทนสวัสดิการ ก็ยังคงอยู่ในอ�ำนาจการตัดสินใจ ของรุ่นพ่อ-แม่ แม้นจะมีแผนกบุคคลก็ท�ำ หน้าที่เพียงรับสมัครงาน-จ่ายค่าจ้าง ดูแล สวัสดิการตามกฎหมาย เช่น งานประกัน สังคม อาจรวมถึงงานฝึกอบรมอยู่บ้าง แต่ กรอบความคิดก็ยังมีมุมมองคนท�ำงานหรือ พนักงานเป็นเพียงแรงงานในขณะทีย่ คุ สมัย เปลี่ ย นไปมากขึ้ น การบริ ห ารบุ ค คลใน

หน้า ๗

องค์ ก รขนาดเล็ ก -กลาง-ใหญ่ ที่ ทั น สมั ย และมีมาตรฐานได้ปรับเปลี่ยนมุมมองใหม่ เป็นการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือพูดให้ ง่ายจากมองคนงานเป็นแรงงานมาเปลี่ยน เป็นมองคนเป็นมนุษย์ (Human) ที่มีทั้ง แรงกาย แรงสมอง และแรงใจ ท�ำให้การจัด ความสัมพันธ์ในองค์การเปลี่ยนแปลงไป มากกว่าอดีตที่ต้องท�ำให้คนรุ่นใหม่ Gen Y สามารถอยูร่ ว่ มกับองค์กรได้อย่างมีความสุข วั น นี้ ถ ้ า หากองค์ ก รธุ ร กิ จ ยั ง ติ ด อยู ่ กั บ การเข้ า ออกของพนั ก งานรุ ่ น ใหม่ จ น ไม่สามารถพัฒนาทักษะ - ความรู้ - ความ สามารถได้อย่างต่อเนื่องและสร้างปัญหา ให้กับคนรุ่น Gen X ที่เข้ามาอยู่ก่อนหน้า นี้ พัฒนาตนเองเป็นหัวหน้างาน ผู้จัดการ ต้องคอยปวดหัวกับรุ่นน้องที่เข้ามาแล้วอยู่ ไม่ได้ - ไม่อดทน - ไม่มีระเบียบวินัย - ไม่ รับผิดชอบ เหมือนอย่างพวกเขา ท�ำให้เกิด ช่องว่างขาดแคลนพนักงานโดยเฉพาะงาน บริการหน้าร้าน จะมีพนักงานเข้าออกบ่อย มาก ก็จะส่งผลต่อการบริการลูกค้าตาม มา และนั่นย่อมเป็นอุปสรรคในการเติบโต ในอนาคตของธุรกิจเพราะติดกับดักเรื่อง การแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรของ องค์กร

เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ วันอาทิตย์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๙ วันอาทิตย์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๙ วันจันทร์ที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๙ วันอาทิตย์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๙

ค�ำถามที่เจ้าของกิจการต้องหาค�ำ ตอบก็ คื อ จะน� ำ พาธุ ร กิ จ นี้ ใ ห้ เ ติ บ โตต่ อ ไปได้อย่างไร? ในอนาคต (นั่นคือในวัน ที่ ไ ม่ มี เ ราอยู ่ ) แน่ น อน กรอบความคิ ด มุมมองแบบเจ้าของผู้ประกอบการที่เคย ส� ำ เร็ จ มาในอดี ต ซึ่ ง ต้ อ งใช้ ทั ก ษะ ความ รู ้ ความสามารถของตนบวกกั บ ความ ขยัน - ซื่อสัตย์ - ประหยัด - อดทน และ มีพนักงาน Gen X รุ่นก่อนๆ ที่อยู่ข้างกาย ย่อมไม่สามารถที่จะหล่อหลอมรวมกับคน รุ่นใหม่ Gen Y ที่เข้ามาใหม่และต้องเข้า มาแบกรับภารกิจ - ความรับผิดชอบต่อไป การเตรียมความพร้อมในการย้ายฝั่ง มาคิ ด แบบนั ก ธุ ร กิ จ ที่ มี ร ะบบเป็ น เครื่ อ ง มื อ ช่ ว ยให้ อ งค์ ก รเดิ น ไปต่ อ ได้ โ ดยที่ ไ ม่ ต้องขึ้นอยู่กับใครคนใดคนหนึ่ง แน่นอน การส่งต่อความรับผิดชอบย่อมต้องส่งให้ กับผู้สืบทอดหรือทายาท แต่ไม่อาจส่งต่อ ศักยภาพทั้งหมดลงไปได้ทั้งหมด จึงจ�ำเป็น ต้องมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถ ท�ำให้คนในองค์กรท�ำงานได้ตามมาตรฐาน ที่องค์กรต้องการ การจัดท�ำคู่มือในการ บริหารจัดการ - การสร้างวัฒนธรรมใหม่ - การฝึกฝนและพัฒนาคน ให้สอดคล้อง กั บ ยุ ค สมั ย ภายใต้ แ นวคิ ด สั้ น - ง่ า ยๆ

การประเมินผลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วม กัน การปรับเปลี่ยนครั้งนี้จึงมีความส�ำคัญ ต่ออนาคตของธุรกิจที่สร้างมากับมือ แต่ แน่นอนการเปลี่ยนสถานะและบทบาทจาก เจ้าของกิจการมาเป็นผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น จึง จ�ำเป็นที่ต้องเปลี่ยนทั้งสติปัญญา - ความ คิด - อารมณ์ - ร่างกาย และจิตวิญญาณ ซึ่งสิ่งเหล่านี้มักจะเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา ดังนั้นการมองอนาคต นับจากนี้ไป ๕-๑๐ ปี ธุรกิจของเราจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร? อยากให้ เ ป็ น องค์ ก รธุ ร กิจ ที่ มี ร ะบบการ บริ ห ารได้ ม าตรฐานเฉกเช่ น เดี ย วกั บ บริษัททั่วๆ ไป ที่มีอยู่จริง ขอเพียงแต่ต้อง เข้ า ไปเรี ย นรู ้ ว ่ า บริ ษั ท ฯ เหล่ า นั้ น เขาท� ำ อย่างไร? ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จึ ง ท� ำ ให้ ส ามารถบริ ห ารจั ด การโดยที่ ไ ม่ ต้องมีเจ้าของกิจการมาคอยควบคุมดูแล ลองเข้าไปศึกษาธุรกิจเฟรนไชส์ร้านสะดวก ซื้อและธุรกิจอื่นๆ ดูก็ได้จะพบว่าสามารถ ขยายกิจการได้มากมาย เติบโตอย่างต่อ เนื่อง มันอยู่ที่การเลือก แต่ถ้าหากเลือกที่ จะเป็นเพียงเจ้าของกิจการขนาดเล็กต่อไป ก็เป็นเพราะเราเลือกเองนะครับ ไพโรจน์ เพชรคง ๑๖ ก.ค. ๕๗


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ในงานแสดงสินค้า The ๑๑th China ASEAN Expo ซึ่ ง กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ กระทรวง พาณิ ช ย์ คั ด เลื อ กจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ให้ เ ป็ น ตัวแทนของประเทศไทยในการจัดแสดงนิทรรศการ Pavilion of Cities of Charm ในงานแสดงสินค้า The ๑๑th China ASEAN Expo ระหว่างวันที่ ๑๙๒๒ กันยายน ๒๕๕๗ ณ เมืองหนานหนิง มณฑล กวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อส่งเสริมความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนกับ ประเทศไทย และกลุ่มอาเซียน ๑๐ ประเทศ กรณี จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ได้ รั บ การคั ด เลือกให้เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการจัดแสดง นิทรรศการ Pavilion of Cities of Charm ในงาน แสดงสินค้าครั้งนี้เป็นโอกาสประชาสัมพันธ์จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก แก่ นั ก ธุ ร กิ จ ชาวจี น และประชาชนทั่วโลกที่ได้มาเยื่ยมชมงาน ทั้งในด้าน การท่ อ งเที่ ย ว วั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร์ รวมทั้ ง โอกาสทางการค้ า และการลงทุ น สิ น ค้ า และธุ ร กิ จ บริการของจังหวัดนครศรีธรรมราช กิจกรรมและรูปแบบนิทรรศการที่ได้รับการคัด เลือกไปแสดง เป็นการแสดงศิลปวัฒนธรรมบนเวที และการจัดแสดงสาธิตสินค้าหัตถกรรม อาทิ เครื่อง ถม กระจูด ลิเภา ผ้าทอ/มัดย้อม การนวดแผนไทย และสิ น ค้ า ที่ มี ศั ก ยภาพ เน้ น เป็ น ครั ว ของโลกของ จังหวัดนครศรีธรรมราช (ผลไม้ ข้าว อาหาร เครื่อง เทศ ทั้งแบบสด และแปรรูป) รวมถึงการแสดงศักยภาพด้ า นการท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ด้ า นวั ฒ นธรรมและทาง ธรรมชาติ ภายใต้การสนับสนุนส่งเสริมจากโครงการ พัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โดยเน้นให้มีความเชื่องโยงต่อยอดทางการค้า การลงทุ น โดยรู ป แบบให้ เ ป็ น เมื อ งแห่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมและความหลากหลายหลายทางธรรมชาติ << ต่อจากหน้า ๔

ว่ายังมี “ศาลหลักเมือง” อยู่ในเมืองนคร ผมจะขอ คั ด ความตอนนั้ น มาให้ ช ่ ว ยกั น พิ จ ารณาว่ า “ศาลหลักเมือง” ที่ว่าอยู่ ณ ที่ใด ความที่ตัดตอนมาดังนี้ “มีวัดในตรอกนั้น ๒ วัด วัดหนึ่งชื่อ วัดพระนคร เป็นรั้วฝรั่ง มีโบสถ์โปร่ง หลังคามุงจาก มีหอไตรหอ ฉัน กุฏิเป็นเรือนเล็กๆ เป็นหย่อมๆ มีต้นไม้ดอกไม้ดัด เป็นอันมาก วัดนี้มีพระเป็นคณะธรรมยุติกา ต่อไปอีก วัดหนึ่งชื่อ วัดหลังพระ อยู่ตรงวัดพระมหาธาตุ ถนนนี้ ตรงไปข้างหลังวัดมหาธาตุ แล้วมีถนนเลี้ยวไปข้างวัดไป ออกถนนใหม่ได้ ทางหนึ่งไปออกถนนริมก�ำแพงเมือง ส่ ว นถนนใหญ่ ตั้ ง แต่ ศาลหลั ก เมื อ ง ต่ อ ไปข้ า งฟาก ตะวันออก มีบ้านราษฎรและวัดติดกันเป็นเป็นอันมาก คือ วัดกิงดง วัดท่าราหู วัดสิงห์ วัดเรียง วัดธรมา วัด หน้าพระธาตุ และมีบ้านอีกหน่อยหนึ่งก็ถึงปลายถนน

ทางด้านใต้ ฟากถนนตะวันตกนั้นมีบ้าน เรือนราษฎรเรียงราย และมีวัดติดๆ กันอีก คือ วัดสวนป่าน วัดโรงช้าง วัดมังคุด วัด พระเดิม แล้วก็ถึงวัดพระธาตุ” ข้อความขนาดนี้คงพอให้ท่านผู้รู้ได้ช่วยกันถอด รหัส ว่าต�ำแหน่งที่น่าจะชัดเจนของ “ศาลหลักเมือง” อยู่ ที่ใด คนสร้างยุคนั้นคงหมายเอาแกนของพระบรมธาตุ เจดีย์เป็นหลักของเมืองเป็นแน่ สถานที่ก็คงจะไม่ไกลไป จาก “ศาลเจ้าพระเสื้อเมือง” ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นศาล เจ้าจีนไปเรียบร้อยแล้ว และอยู่บนถนนใหญ่ แถวเดียว กับวัดเรียง (สระเรียง) และวัดหน้าพระธาตุ ที่ยังหลง เหลืออยู่ และศาลหลักเมืองก็ต้องอยู่ต�ำแหน่งใกล้บริเวณ วัดที่ร้างไปแล้วคือ วัดกิงดง วัดท่าราหู และวัดสิงห์ หรือ ต�ำแหน่งหลักเมืองน่าจะอยู่บริเวณใกล้ๆ ตลาดท่าชี หรือ โรงพยาบาลเทศบาลแต่ ไ ม่ เ กิ น หอนาฬิ ก า ใครทราบ เงื่อนง�ำอะไร ลองมาแลกเปลี่ยนกันดู ประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่นเราจะรอให้ใครที่ไหนเขาสนใจมาเขียนให้ คนนคร ช่วยๆ กันหน่อยก็แล้วกัน

การเตรี ย มการของจั ง หวั ด เริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ น าย ศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่าราชการจังหวัด เรียกประชุม คณะท� ำ งานเมื่ อ วั น ที่ ๑๓ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๗ หลั ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับการพิจารณาคัดเลือก จากกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิ ช ย์ ให้ เ ป็ น ตั ว แทนประเทศไทย เข้ า ร่ ว มจั ด นิ ท รรศการครั้ ง นี้ โดยส� ำ นั ก งานพาณิ ช ย์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น เจ้ า ภาพรั บ ผิ ด ชอบ ได้ มี ประกาศจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช แต่ ง ตั้ ง คณะที่ ปรึกษาและคณะท�ำงานจากหลายๆ ภาคส่วน เช่น หั ว หน้ า ส่ ว นราชการภู มิ ภ าค หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ สังกัดส่วนกลาง องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น วิทยาลัย มหาวิทยาลัย องค์กรเครือข่ายต่างๆ ที่ ป ระชุ ม พิ จ ารณาก� ำ หนดกรอบแนวคิ ด THEME ของงาน ก� ำ หนดแนวความคิ ด และรู ป แบบการจั ด แสดง Pavilion Cities of Charm การก� ำ หนด กิจกรรมจัดแสดงและสาธิต ตลอดจนการจัดเตรียม ข้ อ มู ล โดยที่ ป ระชุ ม เห็ น ชอบให้ น� ำ เสนอ ๔ เรื่ อ ง คื อ มรดกวั ฒ นธรรมนครศรี ธ รรมราช, OTOP นครศรี ธ รรมราช, การท่ อ งเที่ ย วนครศรี ธ รรมราช และอาหารสู ่ ค รั ว โลก ของนครศรี ธ รรมราชเป็ น แกนหลัก The China ASEAN Expo เป็นงานมหกรรม นานาชาติ ที่ จั ด ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี มี ก ารจั ด แสดง สิ น ค้ า และบริ ก ารเพื่ อ การค้ า การร่ ว มมื อ ในการ ลงทุน และการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นเวทีกระชับมิตรภาพ ขยายความร่ ว มมื อ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ การค้ า การ ลงทุน และการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่าง กั น ในภู มิ ภ าคจี น -อาเซี ย น โดยพื้ น ที่ จั ด แสดงแบ่ ง เป็ น ๕ ส่ ว น ได้ แ ก่ Pavilion of Commodity Trade, Pavilion of Trade in Services, Pavilion of Investment Cooperation, Pavilion of Advanced Technology และ Pavilion of Cities of Charm ซึ่ ง ประเทศไทยและประเทศอาเซี ย น จะเข้ า ร่ ว ม ๒ Pavilion คื อ Pavilion of Commodity Trade และ Pavilion of Cities of Charm (Pavilion หมายถึงหอแสดงสินค้า)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

รายงาน นายสุทัศน์ เลิศมโนรัตน์ ประธาน หอการค้ากลุ่มจังหวัดอ่าวไทย กล่าวย�้ำ ว่า รายได้ยางพาราและปาล์มน�้ำมันที่ลด ลง ส่งผลถึงการบริโภค และการลงทุน วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ นายสม พร ศรีเพชร นายกสมาคมชาวสวนปาล์ม น�้ ำ มั น จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พร้ อ ม ด้วยตัวแทนเกษตรกร ๑๕ คน เข้ายื่น หนังสือเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา ราคาปาล์มน�้ำมันตกต�่ำต่อนายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งมีแนว ทางแก้ ป ั ญ หาระยะยาว ๔ ข้ อ ได้ แ ก่ ๑.คัดค้านการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มดิบจาก ต่างประเทศ ๒.ให้กระทรวงพลังงานกลับ ไปใช้ไบโอดีเซล บี ๗, ๓.ให้กรมการค้า ภายใน บังคับใช้พรบ.ควบคุมราคาสินค้า และบริการ และ ๔.ให้รัฐบาลควบคุมราคา ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรไม่ให้สูงขึ้น นายสมพร ศรีเพชร กล่าวว่า จังหวัด นครศรีธรรมราชมีพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน ไม่น้อยกว่า ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ เมื่อเกษตรกร ขายผลปาล์มน�้ำมันในราคาต�่ำกว่าต้นทุน ท�ำให้เกษตรกรได้รับความเดือดร้อนเป็น อย่างมาก การน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มดิบจาก ต่างประเทศ ๒๐,๐๐๐ ตัน ก็ท�ำให้ราคา ปาล์มทะลายดิ่งลงอย่างรวดเร็ว นายอภินันท์ กล่าวว่า ทางจังหวัด จะรีบน�ำหนังสือข้อเรียกร้องของสมาคม ชาวสวนปาล์มจังหวัดนครศรีธรรมราช ไปให้คณะกรรมการนโยบายปาล์มน�้ำมัน แห่ ง ชาติ กระทรวงพาณิ ช ย์ และกรม การค้าภายในโดยเร็วที่สุด ส่วนแนวคิด ในการจัดตั้งโรงงานหนีบน�้ำมันปาล์มดิบ ของสมาคม ตนเห็นด้วย แต่ต้องมีการ ศึ ก ษารายละเอี ย ดต่ า งๆ ให้ ร อบคอบ และพร้อมสนับสนุนงบประมาณเท่าที่มี อยู่ในหน้าตักของผู้ว่าฯ อีกทางหนึ่ง คือ การสนั บ สนุ น จากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัด เพราะมีงบประมาณมากกว่างบ

จังหวัดหลายเท่า “ขอสนับสนุนการตั้งโรงงานน�้ำมัน ปาล์ ม แต่ ไ ม่ ส นั บ สนุ น การปลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น ในพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง เพราะยั ง ต้องการให้เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ใหญ่ที่สุด ของภาคใต้ ต ่ อ ไป” นายอภิ นั น ท์ กล่ า ว (http://www.thairath.co.th/content /415298)

วั น ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๗ นาย อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด เรี ย กผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งหารื อ เรื่ อ งโรงงานสกั ด น�้ำมันปาล์ม เพื่อแก้ปัญหาปาล์มล้นตลาด และการขนส่ ง ไกล จะก่ อ สร้ า งโรงงาน น�้ ำ มั น ปาล์ ม ได้ อ ย่ า งไร ล� ำ พั ง สหกรณ์ การเกษตรปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์ม นครศรีธรรมราช จ�ำกัด ที่จัดประชุมหา แนวทางจัดตั้งสหกรณ์มาแล้ว ๔-๕ ครั้ง เริ่มตั้งแต่วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ก็ ยังเป็นรูปเป็นร่างไม่ได้ “ปัญหาเกิดจาก สมาชิ ก บางคนที่ ไ ม่ ค ่ อ ยเข้ า ประชุ ม แต่ เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ ได้ท้วงติงว่าแผนธุรกิจ ยั ง ไม่ ล ะเอี ย ดเพี ย งพอ ซึ่ ง บางท่ า นแย้ ง ว่าภายใน ๙๐ วัน สามารถยื่นเรื่องกันได้ ก็ เ ลยกลั บ มาเขี ย นแผนธุ ร กิ จ กั น ใหม่ ” กรรมการสมาคมชาวสวนปาล์ ม น�้ ำ มั น จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชกล่ า วกั บ ‘รั ก บ้านเกิด’ “การจัดตั้งสหกรณ์ เหมือนการ

ด�ำเนินธุรกิจทั่วไป หารายได้เข้าสหกรณ์ อย่างไร ขายปุ๋ย ขายอุปกรณ์การเกษตร ขายน�้ำตาล ฯลฯ แต่คนที่ท้วงติงเขาว่า เขา คือผู้คุมกฎ ท�ำแล้วต้องส�ำเร็จผมเข้าใจเขา นะ สหกรณ์เกิน ๘๐ เปอร์เซ็นต์ตั้งแล้ว ไม่มีกิจกรรมท�ำ แต่เขาลืมไปแล้วว่าเราตั้ง ขึ้นมาตามที่ผู้ว่าฯเรียกร้องให้รีบตั้งเพื่อจะ ผลักดันโรงงาน ไม่ได้มาขายน�้ำตาล หรือ ขายปุ๋ย” วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ สมาชิก สมาคมฯ จะประชุมหาแนวทางเขียนแผน ธุ ร กิ จ อี ก ครั้ ง กรรมการสมาคมฯ แหล่ ง ข่าวคนเดิมกล่าวว่า “ถ้าไปเขียนแผนขาย ปุ๋ยแล้วไม่ได้ขายก็มีปัญหา แต่ไปเข้าทาง พวกขายปุ๋ยอีก เรื่องที่ดินก็ได้ดูกันไว้แล้ว ครับ ไม่มีกระแสต่อต้าน แต่อยากจัดตั้ง สหกรณ์ให้ส�ำเร็จก่อน จะได้ไปวิ่งเต้นเรื่อง การรวมกั บ สหกรณ์ อื่ น ตั้ ง เป็ น ชุ ม นุ ม สหกรณ์ พู ด คุ ย ในนามชุ ม นุ ม สหกรณ์ จะมี พ ลั ง มากกว่ า พู ด คุ ย ในนามสหกรณ์ โดดๆ แต่สหกรณ์เรายังตั้งไม่ได้เลย ความ จริ ง ถ้ า เขี ย นแผนจั ด ตั้ ง โรงงานให้ เ ข้ า กั บ งบฯ ที่จังหวัดบอกไว้ ว่าวัตถุประสงค์สหกรณ์ก็เพื่อสร้างโรงงานน่าจะก้าวไปข้าง หน้ า ได้ อี ก หลายก้ า ว นอกจากนี้ เ ราจะ พยายามผลักดัน พรบ. ถ้าเราผลักดัน พรบ. ปาล์ ม น�้ ำ มั น และน�้ ำ มั น ปาล์ ม ได้ ส� ำ เร็ จ

หน้า ๙

เท่ากับเราสร้างทางด่วนไปสู่ความส�ำเร็จ เลย เพราะ พรบ.จะเป็นกฎหมายแม่ และ จะมี ก ฎหมายลู ก คุ ้ ม ครองเกษตรกรให้ ยั่งยืนได้” ถ้าจัดตั้งสหกรณ์ส�ำเร็จ การก่อสร้าง โรงงานน�้ ำ มั น ปาล์ ม ก็ อ าจส� ำ เร็ จ จริ ง ๆ ประโยชน์แรกที่เกษตรกรชาวสวนปาล์ม จะได้ก็คือ เกษตรกรสามารถตัดห่วงโซ่ คนกลางคือธุรกิจลานเทออกไปอย่างใน ประเทศมาเลเซีย สมาชิกสหกรณ์จะน�ำ ผลปาล์มขายให้โรงงาน ประโยชน์ต่อมา ก็คือโรงงานผลิตน�้ำมันปาล์มดิบ (Crude Plam Oil/CPO) สามารถผลิตน�้ำมันปาล์ม ส่งโรงงานไบโอดีเซลได้โดยตรง แต่ปัจจุบันสมาชิกสมาคมฯ ที่ร่วม ประชุมก่อตั้งโรงงานน�้ำมันปาล์มมักถูก สบประมาทว่า ไม่ปัญญาหาที่ดินก่อสร้าง โรงงานได้ เรื่องนี้ท�ำให้สมาชิกสมาคมชาว สวนปาล์มฯ หลายคนเสียความรู้สึก ปลายปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะ เปิดพรมแดนเข้าสู่ยุคประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน “ถ้าเข้าสู่ AEC น�้ำมัน CPO อาจทะลัก เข้ า มาจากประเทศมาเลเซี ย และอิ น โดนี เ ซี ย ซึ่ ง มี ต ้ น ทุ น การผลิ ต ต�่ ำ กว่ า เรา ค่าแรงต�่ำกว่า น�้ำมันปิโตรเลียมถูกกว่า การค้าเสรี ในรูปแบบ AEC จะท�ำให้เกิด ปัญหากับชาวสวนปาล์มในประเทศไทย ได้ เพราะกลุ่มโรงงานไบโอดีเซล อาจซื้อ น�้ำมันจากต่างประเทศที่ถูกกว่าในประเทศได้” แหล่งข่าวคนเดิมกล่าว “โรงงาน ปาล์มเล็กๆ จะเจ๊งได้ครับ รัฐบาลจึงควร สร้างมาตรการกีดกันทางการค้าโดยไม่ใช้ ภาษี ประเทศไหนก็ท�ำกัน เช่น ตั้งด่านกัก กันโรคพืช เป็นต้นหรือการควบคุมท่าเรือ” สหกรณ์การเกษตรปาล์มน�้ำมันและ น�้ำมันปาล์มยังจัดตั้งไม่ได้ โรงงานน�้ำมัน ปาล์มของสหกรณ์จึงเป็นเพียงรูปเงา สิ่งที่ ควรทราบไว้ ณ ที่นี้ก็คือไม่มีโรงงานน�้ำมัน ปาล์มใหญ่ๆ ต้องการให้โรงงานน�ำ้ มันปาล์ม ขนาดเล็ ก อย่ า งโรงงานของชุ ม ชนหรื อ สหกรณ์เกิดขึน้ ง่ายๆ


หน้า ๑๐

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ตอนที่ ๖

ร�ำโทนในนครศรีธรรมราช แต่เพลงขึ้นร้องเองทุกคณะไม่นิยมร้องเพลงผู้อื่น ซึ่ง ตรงกับค�ำโบราณที่เคยกล่าวไว้ว่า เมืองนครเป็นเมืองนักปราชญ์ ตัวอย่างเพลงร�ำโทน ๕.๑ (ชาย – หญิง ร้องคู่) หนุ่มสาวไปจ่ายตลาด (ชาย) พบสาวผมดัดร้องขายมะปราง (หญิง) เอามั๊ยคะพี่ชายซื้อไปบ้าง (ชาย) แหม มะปรางของน้องสวยจริง (ชาย) แหม มะปรางเหมือนแก้มนางน้องหญิงฯ ๕.๒ คลื่นๆ ได้ยินเสียงปืนสนั่นท้องฟ้า ญี่ปุ่นเข้ามาเป็นมิตร ไปรบอังกฤษกับอเมริกาฯ อิทธิพลของร�ำโทนนี้เอง ท�ำให้หนังตะลุงต้องเปลี่ยนภาพหนังที่ใช้ในการแสดง จากการแต่งกายในสมัยก่อนมาสวมกางเกงแทน ส่วนมโนราห์ก็มีการเปลี่ยนแปลงมาก ที่สุด ในสมัยนี้ มโนราห์ไม่แต่งเครื่องต้นอย่างสมัยโบราณ ไม่ใช้ลูกปัด ไม่ใช้เทริด แต่ แต่งกายชุดสากลออกร�ำ ผู้ที่มีบทบาทในการเปลี่ยนเครื่องทรงมโนราห์ คือมโนราห์ เติม วินวาด ส่วนโรงแสดงก็ยกพื้นสูงแบบร�ำโทน (ในสมัยโบราณโรงมโนราห์ไม่ยกพื้น สูงแสดงบนพื้นดิน แต่ยกเสา ๖ ต้น เพื่อมุงหลังคาและขึงม่าน) การแสดงของมโนราห์ ก็เลียนแบบร�ำโทนด้วย โดยใช้ผู้หญิงเข้าร่วมแสดงด้วย ผู้ริเริ่มครั้งแรกคือมโนราห์รา วันเฒ่าเมืองนคร ส่วนลิเกและหนังโขนถูกอิทธิพลของร�ำโทนไม่สามารถแสดงต่อไปได้ เนื่องจากไม่มีผู้ชม ถ้าไม่กล่าวถึงเพลงบอกบ้าง หนังสุชาติ ทรัพย์สิน ก็คงไม่ใช่ศิลปินแท้ เพราะ ศิลปินแท้นั้นต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับศิลปินทุกแขนง ถึงไม่มากก็น้อย เพลงบอกใน นครศรีธรรมราชที่มีชื่อเสียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวน เพชรแก้ว เขียนมาหลายครั้งแล้ว ถ้าผู้เขียนน�ำมาเขียนอีกก็เป็นการซ�้ำและขาดรสชาติ ผู้เขียนจึงขอน�ำเพลงบอกของแมน ซึ่งเป็นศิษย์เพลงบอกเนตร ชลารัตน์ อันเป็นบรมครูของเพลงบอกในนครศรีธรรมราช เพลงบอกแมนเคยว่าประวัติพระธาตุนครศรีธรรมราช ณ สนามหน้าเมืองนครฯ ดังจะยกตัวอย่างโดยสังเขปดังนี้

เย็นศิระพระปกเกล้า ผองผไท ฉ�่ำเย็นน�้ำพระทัย ทั่วหล้า ทุกข์ยากสิ้นพ้นเฮย ธ ช่วย เพียงทวยข้าพ้นภัย สุขแล้วสมประสงค์ สิงหามาสมิ่งฟ้า มงคล แปดสิบสองพรรษา ผ่องแผ้ว ทวยไทยเทิดเกล้า อวยชัย ธ แม่ทรงพ้นภัย เพียบพร้อมนิรามัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้จัดท�ำหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช

(สร้อย) ตามญัติที่ตั้งไว้ แต่สร้อยผมไม่กล้าทิ้ง ให้น้องแมนถือฝ่ายชาย ผมเห็นว่าหญิงดีฯ เพราะเพศแม่ได้อุ้มชูฯ บางทีพอลูกเกิดกาย อันความชั่วของผู้ชายฯ ให้ดูที่คุกตะราง หญิงกับชายใครมากกว่าฯ แล้วจะถือข้างฝ่ายไหนฯ จะขอบอกกับแม่ครัว ต่อเช้าอย่าให้กิน (แมน) หนักหนาหนอใจคอพี่สร้อยฯ แกยุแม่ครัวเพราะอาฆาต เรามาในวัดต้องหยัดพระฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระธาตุของพระโลกเชษฐ์ติดอยู่ในเขตแดนใต้ ชนในถิ่นประเภทหญิง สืบสายพระศาสนาฯ ไม่ใช่ผมด่าประเภทแม่ฯ สองพี่น้องได้ข้ามฝั่งฯ มาจากเมืองลังกา น�ำเอาพระสารีริกธาตุ เพราะฝ่ายหญิงเค้าจับฉลากได้ มาฝังไว้บนหาดทรายฯ ผมขอโทษแล้ต่อแก้ฯ นางเหมชาลาพระธนกุมารฯ สมัยนับนานทะเลล้อม แล้วมีก�ำแพงป้อมแก่ แต่หญิงที่อาศัยตามซ่อง ชื่อเสียงเคยแพร่หลายฯ หญิงอยู่ตามซ่องตามโรงแรมฯ เป็นเมืองเอกทักษิณทิศฯ รุ่งเรืองฤทธิ์โบราณราย ได้สืบสายศาสนา ถ้าเป็นญาติตัวมุ่งมาด ของพระโลกาจารย์ฯ ถ้าเป็นญาติของสร้อยพี่ฯ มีประตูชัยทั้งเหนือใต้ฯ ครั้งก่อนสร้างไว้เป็นหลัก หุงหอตามหาไม่ได้ เป็นเอกลักษณ์ความยิ่งใหญ่ เมืองนี้เคยไพศาลฯ ชายติดคุกติดตะรางฯ ถ้าหญิงเป็นเถ้าแก่ขายท้าย เพลงบอกแมนเคยประชันกับเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ใครดีกว่ากัน โดยเพลง บอกสร้อยเริ่มว่า ที่วัดเขาปูน อ�ำเภอพรหมคีรี เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๔ เรื่องหญิงกับชาย

ให้ว่าเรื่องชายกับหญิง ยกไว้เป็นมิ่งขวัญ สองคนเราได้สู้กัน เพราะส�ำคัญเห็นจริง ย่อมผิดกับหมู่ชายฯ ส่วนพ่อยังหน่ายหนี เห็นแล้วว่ามากมายมี เดี๋ยวนี้เป็นอย่างไรฯ ในเวลาเข้าคุกขัง ผู้หญิงเรายังอยู่น้อยราย ถ้าแมนวังวัวยังไม่ไป ยังยังอะไรกับแมนไว้ เห็นแล้วว่าลอยขึ้นทั้งตัว ว่าแมนประมาทหมิ่นฯ ไม่ใช่ตระกละเรื่องกิน ขอโทษโดยใจจริงฯ จ�ำเป็นต้องแก้เพราะฝ่ายชาย แล้วผมจะเล่นข้างฝ่ายไหนฯ คนดีนั้นแม่สบายใจ ท�ำไมไม่พร่องจา ทั้งขายทั้งแถมความชั่ว สร้อยพี่ไม่ปรารถนาฯ นึกว่าต้องจี้ในอุรา สากลัวจะอานคนฯ ยังพอมีทางเยี่ยมได้ แมนนึกว่าไร้ผลฯ (อ่านต่อฉบับหน้า)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้าพิเศษ ๑


หน้าพิเศษ ๒

านออกแบบนี้ได้รับมอบหมาย จากจังหวัดนครศรีธรรมราชให้ เป็นผู้ด�ำเนินการจากความต้องการ ของคณะกรรมการเสนอเรื่องมรดก โลก ข้ อ แนะน� ำ ของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และข้อมูลจากที่ประชุมคณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายครั้ง ทางคณะผู้ ออกแบบได้ท�ำการส�ำรวจ ศึกษา สภาพความเป็ น อยู ่ ป ั จ จุ บั น และ ปัญหาต่างๆ สรุปออกมาเป็นกรอบ แนวความคิดการออกแบบ (Conceptual Design) เพือ่ น�ำไปสังเคราะห์ งานในการก่อสร้างจริงต่อไป เนื้อหาที่น�ำแสดงในหนังสือ พิมพ์นี้ เป็นการตัดทอนขั้นตอนงาน ส�ำรวจและงานวิเคราะห์ สรุปให้ เห็ น ภาพเป็ น ที่ เ ข้ า ใจได้ โ ดยคนทั่ วไป การปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขต พื้นที่หลัก (ภายในเขตวัด) ได้วาง แนวทางออกแบบตามกรอบที่

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ชุ ม ชนได้ รั บ ประโยชน์ อั น ได้ แ ก่ ประเพณี ต ่ า งๆ ทางศาสนา การ ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ก า ร พั ก ผ ่ อ น แ ล ะ นันทนาการของชุมชน ๓.๑ ปรับปรุงด้านหน้าของ ร้านค้าจ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและ ของที่ระลึกให้มีความสอดคล้องกับ ความเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่น และ มีแนวปลูกต้นไม้ตกแต่ง โดยส่วน ภายในร้านค้ายังคงอยู่เหมือนเดิม ๓.๒ จั ด สร้ า งซุ ้ ม บริ ก าร ดอกไม้ - ธูปเทียน ๓.๓ จั ด สร้ า งอาคารส� ำ นั ก งานดูแลผลประโยชน์ของวัด และ

ป้ า ยโฆษณาบนก� ำ แพงวั ด ที่ จ ะไป บังทัศนียภาพของอาคารและองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ ๑.๒ ถนนด้ า นนอกก� ำ แพง วั ด มี ก ารออกแบบสิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ เป็นองค์ประกอบสิ่งตกแต่งต่างๆ (street furniture) เช่ น เสา ไฟฟ้ า ส่ อ งสว่ า ง ม้ า นั่ ง ที่ ทิ้ ง ขยะ ฯลฯ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ รู ป แบบที่ ส่งเสริมกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่น (เป็นงานของทางองค์กรส่วนท้อง ถิ่ น ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ โดยการ พิ จ ารณารู ป แบบร่ ว มกั น กั บ คณะ กรรมการดูแลเรื่องมรดกโลก) ๒. อนุ รั ก ษ์ อ งค์ ป ระกอบที่ เกี่ ย วข้ อ งพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ต าม ปรัชญา คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา ๒.๑ ปรับปรุงลานทรายขนาด ใหญ่ให้เป็นภาพของหาดทรายแก้ว ที่จะกล่าวไว้ในต�ำนาน

ก�ำหนดไว้ดังนี้ (จะเป็ น วั ด มี ค วามเป็ น อั ต ๑. เน้นความส�ำคัญขององค์ ลั ก ษณ์ ห นึ่ ง เดี ย วที่ มี ก ารใช้ ล าน พระบรมธาตุเจดีย์ให้เป็นที่หมาย ทรายในการจั ด ภู มิ ทั ศ น์ เ พื่ อ ส่ ง ตาของเมือง ( Landmark) เสริมความโดดเด่นของอาคารใน ๒. อนุ รั ก ษ์ อ งค์ ป ระกอบที่ เขตพุทธาวาส) เกี่ ย วข้ อ งพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ต าม ๒.๒. ปรับปรุงทางเดินด้วย ปรั ช ญา คติ ค วามเชื่ อ ทางพระ วั ส ดุ แ ผ่ น ปู พื้ น ส� ำ เร็ จ รู ป อยู ่ ชิ ด ริ ม พุทธศาสนา ก� ำ แพงวั ด มี ข นาดความกว้ า งที่ ๓. รองรั บ กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ เหมาะสมกับฝูงชน เลือกแบบที่มี สืบเนื่องกันมาและส่งเสริมให้ชุมชน ความสวยงาม มีส่วนประกอบอื่นๆ ได้รับประโยชน์ อันได้แก่ ประเพณี บริเวณทางเดิน เช่น การจัดท�ำกระต่างๆ ทางศาสนา การท่องเที่ยว บะต้นไม้ ไฟฟ้าเพื่อการส่องสว่าง การพั ก ผ่ อ นและนั น ทนาการของ และการตกแต่ง ที่วางถังขยะ ฯลฯ ชุมชน ๒.๓ รื้ อ อาคารบางหลั ง ที่ การปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ที่ มี สร้างขึ้นมาภายหลังเพื่อบริการนัก การน�ำเสนอเพื่อด�ำเนินการมีดังนี ้ ท่ อ งเที่ ย วในบริ เ วณส่ ว นทางเข้ า (กรุณาดูผังบริเวณที่มีการปรับปรุง หลัก ที่ท�ำให้ไปลดความเด่นชัดของ ประกอบ) สิ่งก่อสร้างดั้งเดิมลง แต่ได้ย้ายการ ๑. เ น ้ น ค ว า ม ส� ำ คั ญ ข อ ง ใช้งานไปอยู่บริเวณอื่นทดแทนกัน องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ และย้ายประติมากรรมที่สร้างขึ้น หมายตาของเมือง ( Landmark) ใหม่บริเวณลานทรายไปยังบริเวณ ๑.๑ ก� ำ หนดการติ ด ตั้ ง ป้ า ย พื้นที่กลุ่มอุทยานประวัติศาสตร์ ถาวรที่จ�ำเป็นต้องมีในด้านรูปแบบ ๒.๔ จัดสร้างอุทยานประวัติขนาด สี สั น และควบคุ ม การติ ด ศาสตร์เป็นกลุ่มพื้นที่ใหม่ ที่ประ-

ารเดินทางท่องเที่ยวในต่าง ประเทศครั้งละหลายๆ วัน แต่ละประเทศมักจะจัดโปรแกรม การท่องเที่ยวไว้หลากหลาย ชมบ้านชมเมืองแหล่งอาหาร ชมธรรมชาติ ชมกิจกรรมบันเทิง ชมโบราณสถานหรือแหล่งช้อปปิ้ง ล้วนแล้วแต่มีค่าใช้จ่ายมากมาย โดยที่เราไม่รู้สึกว่าใช้จ่ายไปมาก น้อยเท่าใด การท่องเที่ยวให้ความ เพลิดเพลินทั้งการท่องเที่ยวและ การใช้จ่ายด้วย การท่องเที่ยวกับ การช้อปปิ้งของหมู่คนจีนคนไทย จึงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก ในแถบ ยุโรป ออสเตรีย แคนาดา ร้านค้า ถึงกับต้องมีคนขายที่เป็นคนไทย คนจีน เอาไว้ประจ�ำร้าน เพื่อนรับ ทรัพย์เป็นกอบเป็นก�ำทีเดียว

กอบด้ ว ยประติ ม ากรรมที่ เ กี่ ย ว เนื่ อ งกั บ ต� ำ นาน หรื อ สิ่ ง สั ก การะ บู ช าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความเชื่ อ ถื อ ต่างๆ ๒.๕ จั ด การปลู ก ต้ น ไม้ ที่ เกี่ยวข้องกับต�ำนานการสร้างวัดใน อดีตกาล เช่น ต้นตาล ต้นแก้วและ ต้นไม้ในพุทธประวัติ ๓. รองรั บ กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ สื บ เนื่ อ งกั น มาและส่ ง เสริ ม ให้

ข้อมูลการท่องเที่ยว ๓.๔ ปรับปรุงลานจอดรถ มี การตีเส้นพื้นการจอดรถ ท�ำม้านั่ง ที่ทิ้งขยะ ไฟฟ้าส่องสว่าง และจัด ท�ำกระบะต้นไม้ ๓.๕ ปรั บ ปรุ ง ทางเดิ น ด้ ว ย วัสดุปูพื้นส�ำเร็จรูปให้ต่อเชื่อมกับ ทางเดินเดิม เพื่อใช้ในกิจกรรมการ เวียนเทียนและการบรรยายประวัติ ความเป็นมาแก่กลุม่ นักท่องเทีย่ ว

แหล่งท่องเที่ยวอีกอย่างหนึ่งที่ มีอยู่เกือบทุกประเทศทั่วโลก คือ แหล่งมรดกโลก เป็นสถานที่ซึ่ง ดูๆ แล้วไม่น่าจะท�ำเงินเท่าไหร่ ดูเผินๆ เหมือนกับเอาไว้อวดคน หรือเพื่อเป็นไฮไลท์ของการ ท่องเที่ยวเมืองนั้นๆ แต่ความเป็น จริง นักท่องเที่ยวต้องเสียเงินเป็น กอบเป็นก�ำกับแหล่งท่องเที่ยวที่ เป็นมรดกโลก แหล่งมรดกโลกที่ท�ำเงินมากๆ เห็นจะเป็นญี่ปุ่นกับจีน ๒ ประเทศ นี้มีมรดกโลกมากมายทีเดียว แต่ละ ที่ปรับปรุงพัฒนาใช้งบประมาณกัน อย่างมหาศาล แล้วผมจะค่อยๆ น�ำมาเล่าให้ฟัง ครั้งนี้เอาเป็นว่าเล่า

เรื่องแหล่งมรดกโลกเมืองลี่เจียง ของประเทศจีนก่อนก็แล้วกัน ผมเคยเขียนลงในชวนคิดชวนคุย ถึงเมืองนี้มาครั้งหนึ่งแล้ว เมืองลี่เจียงเป็นชุมชนเล็กๆ ที่ ยังคงวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมเอาไว้ได้ มากพอควร มีความทันสมัยถูก สร้างทับซ้อนไว้บ้าง แต่ไม่มากนัก ทางน�้ำถูกปรับเปลี่ยน สะพานเก่า ถูกรื้อทิ้งสร้างใหม่แบบศิวิไลซ์ขึ้น เมื่อทางรัฐบาลกลางของจีนเห็น


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้าพิเศษ ๓

พระธาตุมรดกโลกคืบหน้า ถึงไหน (ตอนที่ ๑)

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

ประเทศก็ ไ ด้ ตื่ น เต้ น กั น จริ ง ๆ กั บ ข่ า วดี นั้ น เมื่ อ คณะกรรมการ ยู เ นสโกในคราวประชุ ม ครั้ ง ที่ ๓๕ ณ กรุ ง พนมเปญ ประเทศ กั ม พู ช า ได้ ล งมติ รั บ “วั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช” ขึ้นบัญชีเบื้อง ต้ น (Tentative List) ซึ่ ง เสนอ โดยประเทศไทยในฐานะประเทศ ภาคี ส มาชิ ก ขององค์ ก ารยู เ นสโก ประเทศหนึ่ง ผู้ว่าราชการจังหวัด สมัยนั้น (นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์) จึ ง ได้ เ ร่ ง รั ด ให้ ค ณะกรรมการแต่ ละฝ่ า ย (ซึ่ ง มี อ ยู ่ ๑๐ ฝ่ า ย) รี บ และแล้ ว เดื อ นมิ ถุ น ายน ด� ำ เนิ น การประชาสั ม พั น ธ์ ส ร้ า ง ๒๕๕๖ คนนครและคนไทยทั้ ง ความเข้ า ใจแก่ พี่ น ้ อ งประชาชน มื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๕ คน นครและคนไทยบางส่วนที่รับรู้ กันมาแว่วๆ ว่า นครศรีธรรมราช ก� ำ ลั ง จะมี ข ่ า วดี ร ะดั บ ชาติเ กิดขึ้น อีกข่าวหนึ่ง นั่นคือข่าวเรื่องศูนย์ มรดกโลกแห่งองค์การยูเนสโกได้ ตอบรับข้อเสนอของประเทศไทย ที่ ไ ด้ น� ำ เสนอ “วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร” (หรื อ วั ด พระธาตุ ) ขึ้นบัญชีมรดกโลกในขั้นที่หนึ่ง คือ ขั้นเข้าสู่ “บัญชีเบื้องต้น” (Tentative List) ก่อนจะขึ้น “บัญชีถาวร” ในโอกาสต่อไป

คุณค่าของเมืองเก่า เพราะเป็น กระแสที่นักท่องเที่ยวทั่วโลกอยาก สัมผัส เขาจึงได้ประชุมปรึกษา หารือคนในชุมชนเมืองเล็กๆ นี้ ให้รื้อฟื้นบ้านเมืองแบบโบราณ ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งเพื่อเป็นจุดขาย ของเมือง ชาวเมืองที่ท�ำกิจการ ค้าโทรศัพท์มือถือ วิทยุโทรทัศน์ เสื้อผ้าแบรนด์เนมสมัยใหม่ ก็ปรับ เปลี่ยนกิจการ ได้รับการส่งเสริม จากหน่วยงานรัฐปรับเปลี่ยนเป็น ของที่ระลึกหลากหลายชนิด ท�ำ ก�ำไรอย่างงาม ร้านอาหารเดิมๆ เปลี่ยนเป็นอาหารอย่างโบราณ มีเสน่ห์อย่างยิ่ง ถนนคอนกรีตถูก รื้อทิ้ง สร้างถนนปูนอิฐแบบโบราณ รื้อสะพานใหม่ สร้างสะพานแบบ เก่าขึ้นมาใหม่ ปรับปรุงคูระบาย น�้ำทิ้งไม่ให้ลงในล�ำคลอง ล�ำคลอง ในหมู่บ้านน�้ำจึงใสไหลเย็นเห็น ตัวปลา ปลูกต้นไม้ท้องถิ่นดั้งเดิม

ทั้งในจังหวัด ต่างจังหวัด และส่วน กลางโดยผ่านสื่อมวลชนทุกแขนง โดยท� ำ ควบคู ่ ไ ปกั บ งานอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง เช่น การปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายในวัด (Core Zone) การปรับปรุ ง พื้ น ที่ กั น ชน ( Buffer Zone ) การปรับปรุงเส้นทางเข้าสู่วัด และ การหาทุ น เป็ น ต้ น แต่ ก็ ไ ม่ ลื ม ที่ จ ะย�้ ำ ถึ ง การจั ด ท� ำ เอกสารน� ำ เสนอฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dossier ) ว่ า ควรจะให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในเวลาสามปี

มาถึ ง เดื อ นตุ ล าคม ๒๕๕๖ ผู้ว่าฯวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ย้ายไป ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด เลย ผู้ว่าฯอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ เข้า รั บ หน้ า ที่ แ ทนก็ ส านต่ อ โครงการ แบบโบราณขึ้นมาใหม่ ร่มรื่นได้ นี้ ทั น ที นั บ เป็ น ความโชคดี ข อง บรรยากาศย้อนยุคกลับมาอีก ครั้ง บางครอบครัวล�ำบากยากจน โครงการเป็นอย่างยิ่ง เพราะผู้ว่าฯ ค้าขายไม่เป็น ก็ปรับเปลี่ยนมาเป็น ทุ ก ท่ า นที่ ผ ่ า นมาตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม คนดูแลหมู่บ้าน แต่งบ้านแต่งสวน (คือผู้ว่าฯภาณุ อุทัยรัตน์) สืบมาถึง กินเงินเดือนรัฐบาลไป ส่งผลให้ ท่านปัจจุบัน ต่างเอาจริงเอาจังกับ ลี่เจียงเป็นเมืองมรดกโลกที่โด่งดัง งานโครงการนี้เป็นอันมาก ไปในชั่วข้ามคืน หันมาดูพระบรมธาตุของเรา กล่าวเฉพาะเรื่อง “การจัดท�ำ ก�ำลังลุ้นจะเป็นมรดกโลกอยู่ เอกสารน� ำ เสนอฉบั บ สมบู ร ณ์ ” ก�ำลังอยู่ในขั้นตอนปรับภูมิทัศน์ ( Nomination Dossier ) มหาปรับปรุงสถานที่ ออกแบบให้นัก วิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ท่องเที่ยวได้มีความสะดวกสบาย และมหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ในการเที่ยวชมบารมีพระบรมธาตุ ร่ ว มกั บ นั ก วิ ช าการอิ ส ระ และ และจับจ่ายซื้อของเป็นที่ระลึก นั ก วิ ช าการจากส่ ว นกลาง ได้ เที่ยวหน้าจะมาคุยในเรื่องการ ประชุ ม วางแผนการเขี ย นการ พัฒนาปรับปรุงสินค้าของเราให้ สั ม มนาวิ ช าการกั น มาหลายครั้ ง เป็นที่ระลึกที่ใครๆ ก็อยากจะ ซื้อหา เศรษฐกิจบ้านเราน่าจะดีขึ้น โดยยื น บนหลั ก การที่ ว ่ า เอกสาร น� ำ เสนอจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งชั ด เจน ทันตาเห็น ๒๒ ก.ค.๕๗ มี ค วามเป็ น เอกภาพในแง่ ข อง

นั ก วิ ช าการเหล่ า นั้ น มี ก รอบและ มุมมองที่กว้างไกลกว่า วิธีนี้จะมี ประโยชน์ อ ย่ า งมากในระยะยาว เพราะเป็ น การเปิ ด โอกาสให้ นั ก วิ ช าการรุ ่ น ใหม่ ใ นท้ อ งถิ่ น ได้ พั ฒ นาความเข้ า ใจที่ ดี ใ นด้ า น คุ ณ ค่ า ความต้ อ งการ ข้ อ จ� ำ กั ด และโอกาสของแหล่งมรดก และ สร้ า งความต่ อ เนื่ อ งของการปกป้ อ งคุ ้ ม ครอง การอนุ รั ก ษ์ และ การบริ ห ารจั ด การแหล่ ง มรดก หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ การพิ จ ารณาขึ้ น บัญชีมรดกโลก วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ มู ล เหตุ ผ ล สนั บ สนุ น และข้ อ สรุ ป อย่ า งไร ก็ ดี การเชิ ญ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญมาเขี ย น เอกสารอาจเป็นวิธีที่เร็วที่สุดและ ง่ า ยที่ สุ ด ที่ จ ะท� ำ ให้ แ หล่ ง มรดก วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารได้รับ การขึ้นบัญชี ซึ่งอาจเป็นแนวทาง ที่ ดี ห ากผู ้ เ ชี่ ย วชาญมี ค วามเข้ า ใจ มรดกโลกและแหล่งมรดก แต่วิธี นี้ ยู เ นสโกปรารภว่ า มิ ใ ช่ วิ ธี ที่ ดี นั ก เพราะความลุ่มลึกนั้นอาจจะน้อย กว่ามุมมองของนักวิชาการท้องถิ่น อีกประการหนึ่งเป็นวิธีที่มิได้สร้าง นั ก วิ ช าการท้ อ งถิ่ น ทั้ ง ๆ ที่ เ ขา เหล่านั้น คลุกคลีอยู่กับข้อมูล

เ ห ตุ นี้ ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม นั ก วิ ช าการผู ้ เ ขี ย นเอกสารน� ำ เสนอ ฉบับสมบูรณ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ จึ ง ได้ ข ้ อ สรุ ป ว่ า เราจะ ท�ำงานร่วมกันระหว่างนักวิชาการ ท้ อ งถิ่ น กั บ นั ก วิ ช าการส่ ว นกลาง โดยมี ค ณะกรรมการจากสมาคม อิ โ คโมสไทยในฐานะผู ้ เ ชี่ ย วชาญ เฉพาะด้ า นมาเป็ น พี่ เ ลี้ ย ง ช่ ว ย ตรวจสอบและให้ เ สนอแนะไป ที ล ะบท จากนั้ น จึ ง น� ำ เสนอให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญในระดั บ สากลมาอ่ า น และวิพากษ์วิจารณ์อีกครั้ง ก่อน จะน� ำ ไปแปลเป็ น ภาษาอั ง กฤษที่ สมบูรณ์และสละสลวย

ทั้งหมดนี้จะต้องพยายามให้ วิ ธี ที่ ยู เ นสโกเสนอก็ คื อ วิ ธี ให้ นั ก วิ ช าการท้ อ งถิ่ น ได้ ท� ำ งาน แล้วเสร็จเกือบจะสมบูรณ์ภายใน ร่ ว มกั บ นั ก วิ ช าการภายนอกและ เดือนธันวาคม ๒๕๕๗ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น เพราะ


หน้าพิเศษ ๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

ทุ

กครั้ ง ที่ มี ก ารถ่ า ยภาพวั ด พระ มหาธาตุวรมหาวิหาร (หรือวัด พระธาตุ) ช่างภาพทั้งมืออาชีพและ มื อ สมั ค รเล่ น มั ก นิ ย มถ่ า ยจากมุ ม ด้ า นทิ ศ ใต้ ซึ่ ง สามารถมองเห็ น องค์ พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ไ ด้ ชั ด เจน ขณะ เดียวกันที่มีมุมซ้ายของภาพ เราจะ เห็นวิหารหลังหนึ่ง ซึ่งมีความสวยงาม สอดรับกับความสูงสง่าขององค์เจดีย์ วิหารหลังที่กล่าวนี้ก็คือ “พระวิหาร หลวง” พระวิ ห ารหลวง หมายถึ ง พระวิ ห ารหลั ง ใหญ่ ของวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร ถื อ กั น ว่ า วิ ห าร นี้ เ ป็ น ปู ช นี ย สถานกลางที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทุ ก หนทุ ก แห่งมีสิทธิ์ใช้ประกอบศาสนกิจได้ ในสมัยโบราณจึง ไม่ มี พ ระสงฆ์ จ� ำ พรรษาที่ วั ด นี้ (แต่ จ� ำ พรรษาที่ วั ด อื่นซึ่งอยู่รอบวัดพระมหาธาตุฯ) ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ ต้องการให้วัดพระมหาธาตุฯ เป็นปูชนียสถานส่วน กลางของเมือง วิหารนี้จึงเรียกกันว่า “พระวิหาร หลวง” ต่อมาแม้จะดัดแปลงพระวิหารหลวงเป็น อุโบสถ แต่ผู้คนยังเรียกว่าพระวิหารหลวงอยู่เช่นเดิม หาได้เรียกว่าพระอุโบสถไม่ พระวิ ห ารหลวงเป็ น อาคารที่ มี ค วามงดงามใน เชิงสถาปัตยกรรมมาก นับเป็นพระวิหารที่กว้างและ ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ หากมองจากด้านข้างก็จะเห็น

ลั ก ษณะเด่ น คล้ า ยของวิ ห ารสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย ชัดเจน คือ ฐานวิหารโค้งแบบท้องส�ำเภา เปรียบ เสมื อ นวิ ห ารทั้ ง หลั ง เป็ น ส� ำ เภาแล่ น อยู ่ ใ นทะเล จุ ด เด่ น ของพระวิ ห ารหลั ง นี้ นอกจากหน้ า บั น ทั้ ง สองด้ า นจะมี ค วามสวยงามและโดดเด่ น ยิ่ ง ในเรื่ อ ง ลวดลายแกะสลักแล้ว ยังมีเสากลมที่มีปลายเสาเอน รวบเข้าหากัน อันเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่นิยม สร้างกันในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางสืบมาจนถึง กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ภายในพระวิหารหลวงมีพระประธานองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่ตรงกลาง เป็นพระพุทธรูปปางมาร วิ ชั ย ชื่ อ ว่ า “พระศรี ศ ากยมุ นี ศ รี ธ รรมราช” จาก การศึ ก ษาของ ดร.เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ แห่ ง คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พบว่า

พระศรี ศ ากยมุ นี ศ รี ธ รรมราชเพิ่ ง จะ สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ก่อนหน้านี้จุดที่ประดิษฐานพระพุทธรู ป องค์ นี้ เ คยเป็ น ที่ ตั้ ง หรื อ ฐานของพระวิ ห ารทรง มณฑป รอบฐานของมณฑปมีพระพุทธรูปขนาดเล็ก เรียงรายอยู่จ�ำนวน ๓๖ องค์ มีพระเจดีย์สูง ๗ วา ประดิ ษ ฐานอยู ่ ภ ายในพระมณฑป มณฑปนี้ ตั้ ง อยู ่ ในแนวแกนเดี ย วกั น พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ แ ละต้ น โพธิ์ ลังกา (ที่วิหารโพธิ์ลังกา) สร้างขึ้นราว พ.ศ. ๒๑๗๑ ซึ่ ง ตรงกั บ รั ช สมั ย สมเด็ จ พระเจ้ า ทรงธรรมแห่ ง กรุ ง ศรีอยุธยา ล่วงมาถึง พ.ศ.๒๓๕๔ พระวิหารนี้ช� ำรุด โทรมลงมาก เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) หรือ เจ้าพระยานครน้อยจึงได้บูรณะขึ้นใหม่ จนแล้วเสร็จ ใน พ.ศ.๒๓๘๒ ในระหว่างการบูรณะครั้งนั้น ได้มีการรื้อถอน พระเจดีย์ทรงมณฑป แล้วใช้ฐานพระเจดีย์ดังกล่าว เป็ น ฐานพระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ สร้ า งเป็ น พระพุ ท ธ รูปปางมารวิชัย อิฐถือปูนลงรักปิดทอง ศิลปะสมัย อยุ ธ ยา พระหน้ า ประธานมี พ ระพุ ท ธรู ป สาวกขวา และซ้ า ย (คื อ พระสารี บุ ต รและพระโมคคั ล ลาน์ ) นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปยืนอีกหลายองค์ ที่เพดาน พระวิหารเขียนลายไทยปิดทอง มีดารกาเป็นแฉก งดงาม ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ที่ เ สริ ม ส่ ง ให้ พ ระ ประธานสวยงามและเข้มขลังยิ่งขึ้น จุ ด เด่ น อี ก จุ ด หนึ่ ง ของพระวิ ห ารหลวง ก็ คื อ “หน้าบัน” ทั้งสองด้าน หน้าบันด้านหน้าแกะสลัก ไม้เป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ส่วนหน้าบัน ด้ า นหลั ง แกะสลั ก ไม้ เ ป็ น รู ป พระนารายณ์ ท รงครุ ฑ หน้าบันทั้งสองด้านเป็นหน้าจั่วแบบ “มุขประเจิด” ซึ่งเป็นแบบแผนสถาปัตยกรรมที่นิยมสร้างกันอย่าง แพร่หลายในสมัยกรุงศรีอยุธยา การบูรณะอาคาร พระวิหารหลวงหลังนี้ในสมัยเจ้าพระยานครน้อย จึง เป็ น เสมื อ นการสื บ ทอดรู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของราชธานีมาไว้ในลานหาดทราย แก้ว ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารโดยแท้


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

พญ.ภัทริยา มาลัยศรี.

อายุ ร ศาสตร์ โ รคข้ อ และรู ม าติ ซั ่ ม รพ.มหาราช นครศรี ธ รรมราช

๕. ผู ้ ที่ ติ ด เชื้ อ HIV พบว่ า มี ค วาม เสี่ยงในการเกิดโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ณรู ้ จั ก โรคสะเก็ ด เงิ น ที่ ผิ ว หนั ง แล้ ว มากกว่ า ปกติ ห รื อ ถ้ า เป็ น โรคข้ อ อั ก เสบ รูปแบบของโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ข้อที่เกิดการอักเสบเป็นได้ทุกข้อใน รู้ไหมว่าคนที่เป็นโรคนี้ประมาณ ๑๐- สะเก็ดเงินอยู่แล้ว เมื่อมีติดเชื้อ HIV ก็มัก ร่างกาย แบ่งได้เป็น ๕ รูปแบบ ๓๐% จะมี อ าการข้ อ อั ก เสบเรื้ อ รั ง ร่ ว ม จะมีอาการก�ำเริบขึ้น ๑. มี ก ารอั ก เสบของข้ อ ๒-๓ ข้ อ ด้ ว ย โดยส่ ว นใหญ่ (๗๐%) จะมี อ าการ แบบไม่ ส มมาตร มั ก มี ก ารอั ก เสบที่ จุ ด ทางผิวหนังน�ำมาก่อน บางรายยาวนานถึง อาการที่ท�ำให้สงสัย เกาะของเส้นเอ็นร่วมด้วย ซึ่งถ้าเป็นที่นิ้ว ๒๐ ปี จึงจะมีอาการทางข้อตามมา ส่วน ว่าเป็นโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ๑. ข้อนิ้วมือ นิ้วเท้า บวมและปวด จะท�ำให้นิ้วมีรูปร่างเหมือนไส้กรอก (รูป น้อย (๒๐%) ซึ่งมักพบในเด็ก จะมีอาการ ทางข้อก่อนแล้วค่อยมีผื่นผิวหนัง และอีก มีอาการแข็งตึงก�ำไม่เข้าโดยเฉพาะในช่วง ที่ ๓) ข้ออักเสบรูปแบบนี้พบได้บ่อยที่สุด ประมาณ ๕๐% และมีความรุนแรงน้อย 10% มีอาการทางผิวหนังและข้อพร้อมๆ เช้าหลังตื่นนอน ๒. เล็บมือ เล็บเท้า ผิดปกติ มีการ ที่สุด กัน จึงเรียกโรคนี้ว่า โรคข้ออักเสบสะเก็ด เงิน และจากประมาณการณ์ คาดว่าโลกนี้ ล่อนของเล็บ แผ่นเล็บเป็นหลุม หรือเป็น มีประชากรที่ป่วยเป็นโรคนี้ในราว ๑๐-๓๐ แผ่นหนา (รูปที่ ๑) ๓. มีการอักเสบของเส้นเอ็นและจุด ล้านคน เกาะของเส้นเอ็น ซึ่งจะพบมากบริเวณเอ็น ร้อยหวาย และเอ็นฝ่าเท้า ใครที่มีความเสี่ยง ในการเกิดโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน แน่ น อน คนที่ เ ป็ น โรคผื่ น ผิ ว หนั ง รูปที่ ๓ นิ้วมีรูปร่างเหมือนไส้กรอก สะเก็ดเงิน มีความเสี่ยงสูงสุดที่จะเกิดข้อ อักเสบชนิดนี้ โดยเฉพาะผู้ที่มีผื่นผิวหนังทั่ว ๒. มีการอักเสบ บวม ปวด กระจาย ตัวและผู้ที่มีความผิดปกติของเล็บร่วมด้วย แบบสมมาตรไปตามข้ อ กลุ ่ ม เดี ย วกั น ทั้ ง ปัจจัยอื่นที่พบว่าสัมพันธ์กับการเกิด สองข้างของร่างกาย แบบเดียวกับที่พบใน โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ได้แก่ โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ รูปแบบนี้มักพบ ๑. พั น ธุ ก รรม พบว่ า ญาติ ส ายตรง ในผู้หญิง และส่วนใหญ่อาการรุนแรง พบ ของผู้ป่วยที่เป็นโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน มี ประมาณ ๒๕% (รูปที่ ๔) ความเสี่ยงในการเกิดโรคนี้มากกว่าคนปกติ ๕๐ เท่า และในลูกที่มีพ่อเป็นโรคนี้ก็จะ มีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่มีแม่เป็นโรคนี้ ๒ เท่า ๒. อายุ แม้ ว ่ า โรคนี้ จ ะพบได้ ทั้ ง ใน เด็กและผู้ใหญ่ แต่ช่วงอายุที่เกิดโรคนี้ได้ รูปที่ ๑ มีการล่อนของเล็บ และแผ่นเล็บเป็นหลุม บ่อย คือ ๓๐-๕๐ ปี รู ป ที่ ๔ ข้ อ อั ก เสบแบบสมมาตร มี ก ารอั ก เสบ กระจายไปตามข้อกลุ่มเดียวกัน ๓. เพศ พบในผู้หญิงและผู้ชายพอๆ กั น แต่ ก ารแสดงในผู ้ ช ายมั ก เป็ น การ ๓. มี อ าการบวมแดง และปวดเด่ น อักเสบที่ข้อปลายนิ้วและข้อสันหลัง ส่วน ที่ข้อปลายนิ้ว ส่วนใหญ่จะมีความผิดปกติ ผู ้ ห ญิ ง มั ก เป็ น การอั ก เสบหลายข้ อ แบบ ของเล็บร่วมด้วย (รูปที่ ๕) พบประมาณ สมมาตร (คล้ายกับที่พบในโรคข้ออักเสบ ๕-๑๐% และมักพบในผู้ชาย รูมาตอยด์) ๔. การอั ก เสบเกิ ด ที่ ข ้ อ กระดู ก สั น ๔. เชื้ อ ชาติ พบบ่ อ ยในฝรั่ ง ผิ ว ขาว รูปที่ ๒ เอ็นร้อยหวายบวมเนื่องจากมีการอักเสบ หลั ง และข้ อ กระเบนเหน็ บ คล้ า ยกั บ ที่ โดยมีอุบัติการณ์ประมาณ ๑-๒% ของเส้นเอ็นและจุดเกาะ พบในโรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบยึดติด

คุ

รูปที่ ๕ อาการอักเสบเด่นที่ข้อปลายนิ้ว มักมี ความผิดปกติของเล็บร่วมด้วย

รูปที่ ๖ การอักเสบเกิดที่ข้อกระดูกสันหลังและข้อ กระเบนเหน็บ ท�ำให้มีอาการปวดหลังหลังแข็ง และก้มแตะพื้นไม่ได้

รูปที่ ๗ การอักเสบถึงขั้นท�ำลายกระดูกของข้อ นิ้วมือ

ท�ำให้มีอาการปวดหลัง ปวดข้อกระเบน เหน็บ หรือปวดต้นคอ หลังแข็งก้มไม่ลง โดยเฉพาะหลั ง ตื่ น นอนตอนเช้ า พบได้ ประมาณ ๑๕% (รูปที่ ๖) ๕. มีการอักเสบถึงขั้นท�ำลายกระดูก ของข้อนิ้วมือ ท�ำให้เกิดอาการปวดบวม อย่างรุนแรงและมักจบลงด้วยพิการผิดรูป ของนิ้วมือ รูปแบบนี้พบได้น้อย ไม่ถึง ๕% (รูปที่ ๗) โรคข้ อ อั ก เสบ สะเก็ดเงิน ก็เป็นโรค ข้ อ เรื้ อ รั ง ที่ ยั ง ไม่ มี วิ ธี รักษาให้หายขาด การ รั ก ษามี จุ ด มุ ่ ง หมายที่ จะควบคุมการอักเสบ ของข้ อ เพื่ อ ให้ ใ ช้ ง าน ได้ โดยมี ค วามเจ็ บ ปวดน้ อ ยที่ สุ ด และ รั ก ษ า ค ว บ ไ ป กั บ อาการผื่นผิวหนัง


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

๑๒ สิงหาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรมราชิ นี น าถ ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

หั

วข้อเรื่องที่ผมเขียนต่อเนื่องมายาว นานในหนังสือพิมพ์ “รักบ้านเกิด” นี้ เข้าใจว่าจะมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวัดพระ บรมธาตุ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า ๔๐% อาทิ เรื่ อ ง “คืนหาดทรายแก้วให้วัดพระธาตุ” (ฉบับ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖) เรื่อง “อัจฉริยภาพ สถาปนิกบรรพชน ในการสร้างองค์พระ ธาตุนคร” (ฉบับเดือนมกราคม ๒๕๕๗) เป็นต้น ผมยอมรับครับว่าเป็นเรื่องที่ผม ห่วงต่อการดูแลสิ่งที่มีคุณค่าจากบรรพชน ที่ สื บ เนื่ อ งกั น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น และคง ไม่ ใ ช่ ผ มคนเดี ย วหรอกครั บ ที่ มี ค วามคิ ด เช่นนี้ เพราะมีการพูดคุยกันรวมทั้งมีการ ตั้ ง กลุ ่ ม เสวนาในชมรมต่ า งๆ จนกลาย เป็น “ชมรมรักวัดพระบรมธาตุ” มานาน นั บ สิ บ ปี เท่ า ที่ จ� ำ ได้ ก็ มี ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ที่ เริ่ ม ต้ น เช่ น อาจารย์ ส มพุ ท ธ ธุ ร ะเจน ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ปลัดจังหวัดฯ องอาจ สนทมิโน คุณสุธรรม ชยันต์เกียรติ ฯลฯ และกรรมการในพุทธสมาคมจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นต้น ได้มีการประชุม พู ด คุ ย ปรึ ก ษากั น หลายครั้ ง จนมี ผ ลสรุ ป ความเห็นในการพัฒนาวัดทั้งทางกายภาพ และการบริหารจัดการ แต่ยังไม่ได้ก้าวไกล ไปมีแนวคิดที่จะเสนอให้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลก ต่อมาสมัยผู้ว่าราชการจังหวัด ภาณุ อุทัยรัตน์ กับคนรักวัดทั้งหลายเห็น ศั ก ยภาพความเป็ น ไปได้ จ นเป็ น กระแส สนั บ สนุ น จากประชาชนหลายๆ กลุ ่ ม ทางจังหวัดจึงได้ด�ำริเริ่มต้นตั้งกรรมการ เสนอเรื่ อ งการขอขึ้ น เป็ น มรดกโลกต่ อ รั ฐ บาล รวมทั้ ง ได้ ติ ด ต่ อ นั ก วิ ช าการทาง ด้านประวัติศาสตร์ที่ศึกษาค้นคว้าเรื่องวัด พระบรมธาตุให้มาเป็นที่ปรึกษา ซึ่งก็เป็น ความโชคดี ที่ ท ่ า นเหล่ า นั้ น (ส่ ว นใหญ่ มี วุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ท�ำงาน ด้านนี้มานานและเขียนหนังสือเผยแพร่อยู่ ก่อนแล้ว) ได้ตอบรับและมาให้ค�ำแนะน�ำ ตลอดมา และเป็ น ความโชคดี อี ก ชั้ น ที่ ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกท่านก็ให้ความสนใจ

www.nakhonforum.com

และสนับสนุนรวมทั้งให้การต้อนรับคณะ กรรมการจาก UNESCO ที่มาดูสถานที่จริง อั น น� ำ ไปสู ่ ก ารยอมรั บ ให้ ขึ้ น บั ญ ชี เ บื้ อ ง ต้น (Tentative List) เรียบร้อยแล้ว ซึ่ง อาจเรียกได้ว่าเป็น “ว่าที่มรดกโลก” โดย เฉพาะอย่างยิ่งท่านผู้ว่าฯ ปัจจุบัน อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ได้มีการเชิญประชุมฝ่ายต่างๆ ที่จะด�ำเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ค� ำ แนะน� ำ ของคณะกรรมการมรดกโลก โดยทางจังหวัดได้ตั้งงบประมาณสนับสนุน ให้แก่ฝ่ายต่างๆ แล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่าง การจัดท�ำเอกสารประกอบขั้นสมบูรณ์เพื่อ เสนอให้ทันการประชุมพิจารณาของคณะ กรรมการมรดกโลกในต้นปีหน้าที่ประเทศ ฝรั่งเศส (เอกสารนี้เรียกว่า Normination Dossier ท่ า นที่ ส นใจศึ ก ษาติ ด ต่ อ ได้ ที่ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช) ชาวนครที่เคารพรักครับ การเสนอ ชื่อสถานที่หรือกิจกรรมเพื่อขอเป็นมรดก โลกต่อ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) หาใช่เป็นเรื่องที่ใครหรือประเทศไหนที่จะ เสนอเรื่องอะไรก็ได้ แต่จะต้องมีคุณค่าโดด เด่นอันเป็นสากล (Outstanding Universal Value) ซึ่งมีอยู่หลายหัวข้อที่ผมจะไม่ขอ กล่าว ณ ที่นี้ เพราะทุกคนก็ได้ยอมรับอยู่ แล้ ว แต่ ป ระเด็ น ที่ อ ยากพู ด ถึ ง คื อ หาก ได้เป็นมรดกโลกแล้ว เราจะได้อะไรหรือ

เราต้องเสียอะไรไปบ้าง ผมมีโอกาสได้รับ เชิญเข้าไปรับฟังและแสดงความคิดเห็น ในที่ประชุมหลายครั้ง ได้เห็นแนวคิดที่คน นครควรรับรู้ในภาพใหญ่ๆก่อนที่จะสรุป ความเห็ น ส่ ว นตั ว เข้ า ไป ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก มี พั ฒ นาการความคิ ด เป็ น ล� ำ ดั บ มา โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในด้ า นการปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ที่ อ าจมี ผ ลกระทบกั บ บางเรื่ อ งบาง กลุ่ม โดยไม่ได้รับทราบความเป็นมาและ เหตุผลมาตั้งแต่ต้น ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้ รั บ การมอบหมายให้ เ ป็ น ผู ้ อ อกแบบภู มิ ทัศน์ในเขตพื้นที่หลัก (Core Zone) ของวัด พระบรมธาตุ (ชื่อทางการคือ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร) โดยมีอาณาบริเวณโดย รอบวัดเป็นเขตพื้นที่กันชน (Buffer Zone) ที่จะท�ำให้มีความสอดคล้องกับบรรยากาศ ในอดี ต และปกป้ อ งไม่ ใ ห้ เ ขตพื้ น ที่ ห ลั ก ต้องถูกบดบังและลดคุณค่าหรือความสง่า งามลง ผมขออนุ ญ าตเอ่ ย นามอาจารย์ วิรุจ ถิ่นนคร สถาปนิกคนนครที่สอนคณะ นี้ เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ได้น�ำเสนอ

เอกสารการวิ เ คราะห์ แ ละแนวความคิ ด งานออกแบบเป็นล�ำดับขั้นตอนและสร้าง ภาพสามมิติเคลื่อนไหว (Animation) ให้ ชมเข้าใจง่าย และได้มีการปรับแก้จากข้อ แนะน�ำในที่ประชุมหลายครั้ง ผมก็ขอน�ำ ผังขอบเขตพื้นที่หลักและพื้นที่กันชนที่จะ มีการปรับปรุงบริเวณต่างๆ มาแสดงให้ ทราบกัน ส่วนรายละเอียดในการปรับปรุง ท่ า นสามารถดู ไ ด้ จ ากการน� ำ เสนอของ คณะผู ้ อ อกแบบในหนั ง สื อ พิ ม พ์ นี้ และ มุ ม มองของผมต่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ เสนอเป็นมรดกโลกนี้ จะต้องเป็นหน้าที่ โดยตรงของคณะกรรมการชุดนี้ที่จะต้อง เผยแพร่เอกสาร และภาพ Animation ให้ ประชาชนทั่ ว ไปได้ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจ อย่างกว้างขวาง ก่อนจบฉบับนี้ เมื่อเดือนที่แล้วชาว นครคงได้สัมผัสกลุ่มชนที่หลั่งไหลกันมา อย่างเนืองแน่นเพื่อเวียนเทียนเนื่องในวัน มาฆบู ช าที่ วั ด พระบรมธาตุ ต ลอดทั้ ง คื น (ซึ่งต่างจากวัดโดยทั่วไปที่จะเวียนเทียน ในช่วงเวลาหัวค�่ำที่พระสงฆ์มีพิธีกรรมทาง ศาสนาเท่านั้น) ถือว่าเป็นภาพแห่งความ ศรั ท ธาของพุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ มี ต ่ อ องค์ พระบรมธาตุซึ่งนับวันมีแต่เพิ่มขึ้น เราชาวนครมี ค วามภู มิ ใ จในสิ่ ง ที่ บ้านเมืองของเรามีอยู่บ้างไหมครับ ส� ำ หรั บ ฉบั บ หน้ า ขอให้ ติ ด ตามราย ละเอี ย ดที่ ค วรทราบอี ก ว่ า ใครเป็ น ผู ้ ไ ด้ ประโยชน์จากเรื่องนี้กันต่อนะครับ


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ล่ า เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ค่ า ยกิ จ กรรมการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราชมาหลาย ฉบับแล้ว ฉบับต่อๆ ไปนี้เพื่อนเรียนรู้ ขอ น�ำเรื่องราววิทยาศาสตร์จากสิ่งที่พบเห็น รอบตั ว มาบอกเล่ า มาปั น กั น อ่ า นนะคะ เริ่มต้นจากต้นไม้ใหญ่ที่เรามักพบเห็นตาม สถานที่ต่างๆ เป็นไม้ประดับยืนต้นใหญ่... พญาสัตบรรณ หรือ ต้นตีนเป็ด ผลพญาสัตบรรณจะเป็นฝักยาว ฝักคู่ หรือเดี่ยว ลักษณะเป็นเส้นๆ กลมเรียวยาว ประมาณ ๒๐-๓๐ เซนติเมตร เมื่อแก่จะ แตก มีขุยสีขาวคล้ายฝ้ายปลิวไปตามลมได้ ในฝักมีเมล็ดเล็กๆ ติดอยู่กับขุยนั้นช่วยใน การกระจายพันธุ์ พญาสั ต บรรณ (ตี น เป็ ด ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร์ Alstonia scholaris) เป็นไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ มี ค วามสู ง ประมาณ ๑๒-๒๐ เมตร อยู ่ ใ นวงศ์ Apocynaceae มี ถิ่ น ดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบ ได้ทุกภาคในประเทศไทย เปลือกหนาแต่เปราะ เปลือกชั้นใน สี น�้ ำ ตาล ผิ ว ต้ น มี ส ะเก็ ด เล็ ก ๆ สี ข าวปน น�้ำตาลกรีดดูจะมียางสีขาว ล�ำต้นตรง แตก

ตรกี ฬ า ก� ำ ลั ง เป็ น กี ฬ ายอดนิ ย ม เมื่ อ ศิ ล ปิ น คนดั ง หั น มาเข้ า ร่ ว มการ แข่งขันเพื่อพิสูจน์ความอึดความอดทน ทั้ง อาทิวราห์ คงมาลัย หรือ ตูนบอดี้สแลม, นาวิน ต้าร์ (นาวิน เยาวพลกุล) และ หวานหวาน (อรุ ณ ณภา พาณิ ช จรูญ) แต่กว่าจะลงแข่งได้ ต้องผ่านการ ฝึ ก ซ้ อ ม ฟิ ต ร่ า งกายเต็ ม ที่ วั น นี้ เ รามี เคล็ดลับเพื่อพิชิตไตรกีฬามาฝากค่ะ

กิ่งก้านสาขามาก ลักษณะเป็นชั้นๆ ใบเป็ น กลุ ่ ม บริ เ วณปลายกิ่ ง ช่ อ หนึ่งมีใบประมาณ ๕-๗ ใบ ก้านใบสั้น แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปหอก แกมรูปขอบขนาน ปลายใบเป็นติ่งเล็ก น้อย ใบด้านบนมีสีเขียวเข้ม ด้านล่าง มี สี ข าวนวล ถ้ า เด็ ด ก้ า นใบจะมี ย างสี ขาว ลักษณะใบยาวรีปลายใบมนโคนใบ แหลม ขนาดใบยาวประมาณ ๑๐-๑๒ เซนติเมตร ดอกสีเขียวอ่อนเป็นช่อตามปลาย กิ่ง ปากท่อของกลีบดอกมีขนยาวปุกปุย ดอกมี ก ลิ่ น ฉุ น รุ น แรง ดอกเป็ น กลุ ่ ม คล้ า ยดอกเข็ ม ช่ อ หนึ่ ง จะมี ก ลุ ่ ม ดอก ประมาณ ๗ กลุ่ม มีสีขาวอมเหลือง ปกติ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

จะออกดอกในช่ ว งเดื อ นตุ ล าคมถึ ง เดือนธันวาคม เปลือกต้นพญาสัตบรรณรักษา โรคบิด ล�ำไส้ติดเชื้อ และมาลาเรีย ใบใช้ในการรักษาโรคระบบทางเดิน หายใจเรื้อรัง ยางสีขาวและใบรักษา แผล แผลเปื่อย และอาการปวดข้อ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น แหล่ ง ของสารอั ล คาลอยด์ที่ส�ำคัญ มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที สารสกัดจากใบสามารถยับยั้งการเจริญ ของคะน้าได้ สารสกัดจากเปลือกล� ำต้น สามารถยับยั้งการเจริญของข้าว ข้าวโพด คะน้า ถั่วเขียวผิวด�ำ ถั่วเขียวผิวมันได้ ยังมีอีกหลายเรื่องราวรอบตัวที่ล้วน แล้วแต่มีเกร็ดความรู้วิทยาศาสตร์เข้ามา เกี่ ย วข้ อ ง...ท่ า นที่ ส นใจสามารถเข้ า ไป หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เฟสบุ๊คแฟนเพจ : NSC เปิดใจมาใส่วิทย์ ฉบับหน้าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ติดตามเรียนรู้กันนะคะ “ไตรกีฬาเป็นการฝึกความอดทน และภูมิต้านทานของ ร่างกายที่ดี เพราะผู้เข้าแข่งขันจะเจอสภาพกีฬาที่แตก ต่างกัน อย่างว่ายน�้ำ ปั่นจักรยาน และวิ่ง ซึ่งจะท�ำให้ ภู มิ ต ้ า นทานของร่ า ยกายแข็ ง แรงขึ้ น ส� ำ หรั บ นั ก กี ฬ า สายอื่นๆ ที่สนใจมาเล่นไตรกีฬา ก็จะช่วยเรื่องความ แข็งแรงมวลรวมของร่างกายอีกด้วยค่ะ” -- หวานหวาน

๑. พิ จ ารณาระยะทาง กติ ก าการ แข่งขัน และข้อมูลการแข่งขัน ว่าเราจะ นอกจากนี้ยังมี อิเลคโตไลค์ คือ โซเดียม ลงแบบเต็ ม ไหวหรื อ ไม่ หรื อ อาจเริ่ ม ต้ น ต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง กั บ โปสแตสเซี ย ม และคาเฟอี น จาก ด้วยการลองมาแข่งหาประสบการณ์ แล้ว ๕. อย่าลืมพก Energy Gel (น�้ำตาล ใบชา) ส�ำคัญมากเช่นกันในวันลงแข่ง ประเมิ น ว่ า ตั ว เรานั้ น ไหวหรื อ ไม่ เพื่ อ โมเลกุลเดี่ยว ๒ ชนิด มอลโตเด็กติน กับ เพราะอาจเป็นตะคริว หรือกล้ามเนื้อ ความปลอดภัยของตัวเอง ฟรุกโตส ที่ร่างกายสามารถดูดซึมได้ทันที เกิดการบาดเจ็บ ๒.จัดตารางเวลาซ้อม ๗ วัน โดย เป็นกีฬาที่รวบรวมกิจกรรมจาก ๓ ชนิดกีฬาไว้ให้ผู้เข้าแข่งขันได้ ซ้ อ มกี ฬ าที่ ห ลากหลาย และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ต้ อ งมี เ วลาพั ก แนะน� ำ ให้ มี โ ค้ ช หรื อ แข่งขันกีฬา ๓ ประเภทต่อเนื่องกัน ได้แก่ ว่ายน�้ำ ปั่นจักรยาน และวิ่ง โดยระยะทางใน เทรนเนอร์ ส ่ ว นตั ว หรื อ หาข้ อ มู ล จาก การแข่งขันกีฬานั้นสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายระยะทางแตกต่างกันออกไปได้แก่ อินเทอร์เน็ตเพื่อหารูปแบบการฝึกซ้อมที่ ชื่อเรียก ว่ายน�้ำ (km.) ปั่นจักรยาน (km.) วิ่ง (km.) เหมาะกันร่างกายของ ตัวเอง Sprint Distance ๐.๗๕ ๒๐ ๕ ๓. พักผ่อนให้เพียงพอ Olympic Distance ๑.๕ ๔๐ ๑๐ ๔. รับประทานอาหารทีด่ มี ปี ระโยชน์ Half Ironman ๑.๙ ๙๐ ๒๑ จ�ำพวกเนื้อสัตว์ หรือวิตามิน รับประทาน Ironman ๓.๘ ๑๘๐ ๔๒ ให้ ค รบทุ ก หมู ่ จะช่ ว ยเสริ ม สร้ า งภู มิ ที่มา : เว็บไซต์โพสต์ทูเดย์ ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช หน้า

อาจารย์แก้ว

อุปกรณ์ต่อร่วม เสริมประสิทธิภาพของ Mobile DVR ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ ๑. SATA HDD เพื่อบันทึกข้อมูลหลัก ๒. SD Card เพื่อบันทึกข้อมูลรอง ๓. Simcard 3G เพื่อเชื่อมต่อระบบ WAN เข้าด้วยกันกับ Mobile DVR ๔. WIFI เพื่อรองรับสัญญาณ Wireless ๕. Antenna 3G คือ เสาสัญญาณ ไว้ ส�ำหรับขยายสัญญาณ 3G, GSM

ลั ง จากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ส ะเทื อ นขวั ญ กั บ คดี ฆ ่ า น้ อ งแก้ ม บนรถไฟสาย นครศรีธรรมราช-กรุงเทพมหานคร หลาย ภาคส่วนกล่าวถึงระบบความปลอดภัยบน รถไฟไทย ว่ า มี ค วามปลอดภั ย มากน้ อ ย แค่ไหน ระบบรักษาความปลอดภัยมีเพียง พอหรื อ เปล่ า หลั ง จากเกิ ด เหตุ ผู ้ ว ่ า การ รถไฟแห่งประเทศไทยได้พูดว่าจะพิจารณา งบประมาณส� ำ หรั บ ติ ด ตั้ ง กล้ อ งวงจรปิ ด บนรถไฟทุกขบวนก่อนที่ตัวท่านจะถูกปลด จากต�ำแหน่ง เรื่องระบบความปลอดภัยน่า จะมีตั้งนานแล้วเพราะกล้องวงจรปิดเข้า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการเฝ้ า ระวั ง ความ ปลอดภัยเกือบทุกสถานที่เป็นเวลาหลายปี แล้ว แต่ผู้หลักผู้ใหญ่บ้านเราเพิ่งจะพูดถึง ประหนึ่งวัวหายล้อมคอก ส�ำหรับการติดตั้ง กล้องวงจรปิดบนยานพาหนะเราเรียกว่า Mobile DVR วันนี้เราจะได้เข้าใจถึงหลัก การท�ำงาน ส่วนประกอบที่ส�ำคัญ วิธีการ เรียกดูข้อมูล ว่าเขาท�ำอย่างไรถึงสามารถ ท� ำ งานของ Mobile DVR นั้ น ท� ำ งาน ท�ำงานได้ โดยอาศัย Simcard 3G เป็นตัวส่งออก สัญญาณภาพและเสียง ไปยังระบบ WAN หลักการท�ำงานของ Mobile DVR Mobile DVR เหมาะส� ำ หรั บ ติ ด ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดในโลก ก็จะไม่พลาดเหตุ ตั้งไว้ภายในยานพาหนะที่ต้องการรักษา การณ์ส�ำคัญๆ ข้อมูลที่ได้รับ จะออกมาใน ความปลอดภั ย เช่ น รถทั ว ร์ รถประจ� ำ รูปแบบของ E-mail, Messages หรือ ผ่าน ทาง รถต�ำรวจ รถไฟ รถดับเพลิง รถขน WEB Service บน Internet explorer ใน เงินธนาคาร รถยนต์ส่วนตัว เป็นต้น การ เวลาเดียวกันพร้อมกันได้ นอกจากนี้ Mobile DVR ยั ง สามารถบอก ต�ำแหน่งพิกัดที่: Longitude และ Latitude เท่ า ไหร่ ลั ก ษ ณ ะ พิ เ ศษเฉพาะตั ว ของ Mobile DVR คื อ มี เ สา

GPS สามารถบอกถึงต�ำแหน่งพิกัด ที่ยาน พาหนะนั้ น อยู ่ แล้ ว ยั ง สามารถเก็ บ ภาพ เหตุการณ์ต่างๆ ได้ในขณะที่รถเคลื่อนที่ ไปยังสถานที่ต่างๆ ตลอดเวลา ท�ำให้คุณ ไม่พลาดเหตุการณ์ส�ำคัญๆ ไปได้ เปรียบ เทียบหลักการท�ำงานของ Mobile DVR แล้ ว นั้ น ก็ เ สมื อ นกั บ เครื่ อ ง DVR หนึ่ ง เครื่ อ งนั้ น เอง จะแตกต่ า งอยู ่ ต รงที่ การ ติดตั้ง, อุปกรณ์การส่งสัญญาณข้อมูล เพื่อ ให้ทราบข่าวสารและอุปกรณ์เสริมต่อแยก

ไปโคกบก

ขายที่ดินท�ำเลทอง 14 ไร่เศษ ถมแล้ว ติดถนนสายเอเชีย ทุ่งสง เยื้องโชว์รูมโตโยต้า ห้างโลตัส ทุ่งสง

สี่แยกหนองหว้า โรงแรม แกรนด์เซาธ์เทิร์น ทุ่งสง

โชว์รูม ฮอนด้าทุ่งสง

โชว์รูมรถยนต์ เชฟโรเลต

ที่ดินถมแล้ว จะสร้างเป็น ปั้มบางจาก อาคารพาณิชย์

โรงพยาบาล ทุ่งสง

สนใจติดต่อ คุณตุ้ย 089-7411176

สถานที่ก่อสร้าง สถานที่ก่อสร้าง โชว์รูมรถยนต์ โชว์รูมรถยนต์โตโยต้า ที่ดินถมแล้ว เฟรนแด๊ ค CAT เมืองคอน และ Sure ด�ำเนินการ 20 ไร่เศษ

โชว์รูม คูโบต้า

ถ.สายเอเชีย

ถ.สายเอเชียไปสุราษฎร์ วังกุ้ง จุดที่จอดรถ

สนามไดว์ กอล์ฟ

๑๕

95 ม. โชว์รูม ที่ดิน รถยนต์ฟอร์ด 14 ไร่เศษ ต้องการขาย ถมแล้ว

บ.กระเบื้อง ตราช้าง

โรงไม้ พาราวู๊ด

6. Antenna GPS คือ เสาสัญญาณ GPS บอกพิกัด ณ.ต�ำแหน่งต่าง ๆ Software ส�ำหรับ Mobile DVR แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ๑. Software ที่ใช้ร่วมกับ Mobile DVR คือ Vehicle DVR HDD manager เป็น Software การจัดการ ๒. Software Client ที่สามารถใช้ ดูบนระบบ WAN ได้ทุกที่ทุกเวลาพร้อม กันได้ ท้ายนี้หวังว่าเนื้อหาสาระที่เขียนวัน นี้คงเป็นประโยชน์กับหลายๆ ท่านที่ก�ำลัง มองหาระบบรักษาความปลอดภัยเพื่อน�ำ มาใช้ในหน่วยงาน องค์กร ภาคธุรกิจได้ เป็นอย่างดี เพื่อให้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เข้ามาเติมเต็มและช่วยเหลือท่านในยาม คับขันได้ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

Tarzanboy

กเป็นค�ำถามแรกๆ ครับ “เตรียม ตัวอย่างไร เมื่อต้องไปเดินป่า” แต่ บ่อยครั้งครับ ที่ผู้ตอบมัก บอกอะไรไม่ตรง กับค�ำถาม จะลองพยายามอธิบายง่ายๆ อีกสัก ครั้งครับ คือประมาณว่า หากเราจะต้อง ไปผจญภั ย เดิ น ป่ า หรื อ กิ จ กรรมอะไรก็ แล้วแต่ ในสถานที่ที่ไม่มีสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกมากนัก อาจจะมีสิ่งที่ต้องเตรียมตัว อยู่เป็นประเด็นหลักๆ ดังนี้ ...เตรียมความ พร้ อ มร่ า งกาย นั่ น หมายถึ ง เราต้ อ งฟิ ต ซ้อมหรือรู้ก�ำลังตนเองบ้าง หรืออย่างน้อย ก็เตรียมใจเยอะๆ กับการรับสถานการณ์ ถุงเท้า เครื่องนอน ยา อุปกรณ์ให้แสงสว่าง จะต้ อ งเตรี ย มเองบ้ า ง หรื อ ที่อาจจะไม่อยู่ในแผน เช่น เส้นทางไกล อาหาร ฯลฯ มี ก รณี ที่ ค นอื่ น จั ด เตรี ย มให้ ยากล�ำบาก ของหนัก ฯลฯ ...จากนั้นก็มา ว่ า กั น อี ก แบบ...ที่ ก ล่ า วมาเราอาจ เช่นการซื้อทริปบริการ การ เตรียมอุปกรณ์ อันนี้ก็ต้องศึกษาอยู่บ้าง ให้เพื่อนเตรียมให้ แต่สิ่งที่ควร ว่า การเข้าป่า เขาใช้อะไรกันบ้าง เช่น ชุด จะตระหนักหรือพึงเข้าใจคือ เดินป่า ชุดใส่นอน เสื้อผ้าส�ำรอง รองเท้า แท้จริงแล้ว การเตรียมตัวเดิน ป่าควรเตรียมเองทั้งหมด หรือ อย่ า งน้ อ ยก็ จั ด ของส� ำ รองไว้ บ้าง เช่น ไม่ว่ายังไงควรจะมี อาหารส�ำรองติดตัว ขนม ชา กาแฟ หรืออื่นๆ กรณีฉุกเฉิน ควรมี อุ ป กรณ์ ก ่ อ ไฟเองได้ ควรมี ภ าชนะที่ หุ ง ต้ ม เองได้ ควรมี อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งนอนที่ จัดการเองได้ คือถึงแม้ว่าเรา จะเสี ย ตั ง ส์ ซื้ อ บริ ก ารก็ แ ล้ ว แต่ แต่ ก็ ค วรเตรี ย มอุ ป กรณ์ ด�ำรงชีพเฉพาะตัว ยามฉุกเฉิน ไว้เสมอ บางครั้งผมมักเลือก ตอบค� ำ ถามเหล่ า นี้ ด ้ ว ยค� ำ เพียงง่ายๆ สองสามประโยค

ประมาณว่า “ก็ลองคิดดู ถ้าเราจะไปใน ที่ ไ ม่ มี อ ะไรให้ ซื้ อ หาได้ ควรเตรี ย มอะไร ส�ำหรับการด�ำรงชีวิตสองถึงสามวันเหล่า นั้น ก็ลองเอามันยัดใส่เป้ แล้วยกขึ้นบ่าดู ถ้าไหวก็เอาไปได้” ก็ อี ก หลายครั้ ง ที่ ผ มมั ก ตอบสั้ น กว่ า นั้น คือเอาอะไรไปก็ได้ แต่... “อย่าให้ภาระ การด�ำเนินชีวิตของเรา อยู่บนบ่าของคน อื่น” ส�ำหรับที่กล่าวมาทั้งหมด ประเด็น ส�ำคัญอยู่ตรงนี้ครับ นั่นคือ บางครั้งการพูด หรืออธิบายบางอย่าง กลับไปท�ำให้คนอื่น ดูโง่เขลา และอาจจะท�ำให้หลายคนคิดว่า “แหม !! พูดตรงๆ ไม่ได้เหรอ” ผมโดนบ่อยครับ ประเด็นส�ำคัญนี้จึง อยากจะเรียนด้วยความเคารพว่า ...ไม่ได้ ตั้งใจจะให้แปลความแบบนั้น หากแต่ตั้งใจ ให้คนฟังได้ตระหนักคิด และถ้าเขาคนนั้น


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ออกมาเผยโฉมแล้วส�ำหรับหนังสือที่เล่าเรื่องด้วยภาพของ เมืองนครศรีธรรมราช จากช่างภาพ ๓๑ ท่าน ๓๖๗ ภาพ จะบอกเรื่องราวที่เรายังไม่รู้จักบ้านเกิดของเราอีกมาก หาเก็บไว้ประจ�ำบ้านสักเล่ม แล้วเราจะได้อวดแขกบ้านแขกเมือง ว่าบ้านเรามีดีอย่างไร

คิดได้ เท่ากับว่า “...เขาก็จะพร้อมเป็นนักเดินป่าตั้งแต่ ยังไม่ทัน เดินเข้าป่า”

“ชื่อ...ไม่ส�ำคัญ” ไม่ใช่ชื่อหรอกครับที่เราควรจดจ�ำ หรืออย่าง น้อย “ชื่อ” ก็ไม่ใช่สิ่งแรกที่เราควรตั้งค�ำถาม ครั บ ..หลายอย่ า งในป่ า นั้ น พรานป่ า ไม่ ไ ด้ สนใจว่ามันชื่ออะไรหรอก เราสนใจว่ามันมีลักษณะ อย่างไร อยู่บริเวณแบบไหน กินได้หรือไม่ อันตราย อย่ า งไร และถั ด จากนั้ น ชื่ อ มั น ก็ จ ะมาจากข้ อ มู ล เหล่านั้นแหละ และเราจะสังเกตได้ว่า ต้นไม้แต่ละ ต้นแต่ละชนิด ต่างพื้นที่มักมีชื่อเรียกที่ต่างกัน ในป่า คือความมากมายมหาศาลของสรรพสิ่ง และความ มากเหล่านั้นคือการเชื่อมโยงและเกื้อประโยชน์กัน และกัน ประโยชน์มีในตัวโทษก็อยู่ในนั้น สิ่งที่เรา จะเรียนรู้ก็คือเหล่านั้น ...มิใช่ชื่อ... ผมไม่ได้มีความ รู้มากมายในหลากหลายพรรณไม้ นานาชนิด ผมจึงตั้งชื่อใหม่แบบข�ำๆ กับน้องๆ บางคนเพื่อให้ทันใจผู้อยากรู้ “นั่นต้นอะไรคะพี่บอย” อ้อ ! “ต้นหมาถามครับ” ผมมีข้อเสียอยู่อย่างหนึ่งครับ นั่นคือ ผมมัก จ� ำ ชื่ อ ใครไม่ ไ ด้ เ ท่ า ไหร่ นั ก มี ค นมาเดิ น ป่ า กั บ ผม มากมาย ผมจ�ำชื่อเขาได้ไม่เกินห้าเปอร์เซนต์ แต่ หากแค่เห็นหน้า ...เนื้อหาในทริปนั้น บุคคลิกนิสัย น�้ ำ เสี ย ง เสื้ อ ผ้ า ที่ ช อบใส่ กลิ่ น กาย โดยเฉพาะ “วีรกรรม” ก็จะสร้างภาพการจดจ�ำบุคคลนั้นให้แก่ ผมอย่างชัดเจน เช่น เนินลูกหาบตาย เนินไหล่หลุด ผาอ๊วกแตก หรือ ต้นหมาถาม ! และด้วยสิ่งเหล่านี้ ผมเรียนรู้ว่า มันคือส่วนหนึ่งของวิธีจ�ำเส้นทาง เทรล เดินป่าที่ดีที่สุด นั่นคือ ถัดจากนี้จะเจออะไร ถัดไป เป็นอย่างไร และเมื่อเราใส่ใจในทุกรายละเอียดมาก ขึ้น คุณจะจ�ำได้แม้ก้อนหินทุกก้อน ต้นไม้ทุกต้น อะไรสักอย่างหายไป มันก็จะรู้ได้โดยสัญชาตญาณ แต่สิ่งส�ำคัญที่ขาดไม่ได้เลยในเนื้อหาหลักของเรื่อง นี้ หากคุณอยากจดจ�ำผืนป่าที่คุณเคยเดินป่ามันมา แล้วครั้งหนึ่ง ให้ติดตาและติดใจ จนจ�ำได้หมดทุก กระบวนนั้นคือ “คุณพรานคะ ป่าใหญ่โตขนาดนี้ ใครจะบ้าจ�ำ อะไรได้หมดคะ จะให้หนูใช้อะไรจ�ำคะ ถามนิดถาม หน่อยว่า นั่นนี่ชื่ออะไรก็ท�ำเป็นหยิ่ง ไม่เคยบอกให้ ชัดๆ” “เคยมีความรักมั้ยครับ....หากคุณรักจริงในใคร สักคน คุณจะจ�ำทุกสิ่งของเขาได้อย่างอัศจรรย์ ...”

ช่างภาพ โสฬส ทองสมัคร์

ช่างภาพ โกศล ศิริวาลย์

ช่างภาพ ชัยบรรชา ประจง

ช่างภาพ ปุลิน เวชโช

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

นภสร มีบุญ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ชาวเรือ

อ ลั่ลล้า ใกล้จะถึงวันแม่ เดือนแปดก็ แล้วยังไม่มีวี่แววของน้องฝนเลยนะคะ สงสัยว่าจะต้องท�ำใจยอมรับความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริงๆ ซะ แล้วค่ะ ..ล้อหมุนรอบนี้พาคุณผู้อ่านหลบ ความร้อนไปหาบรรยากาศอันร่มรื่น สงบ สติอารมณ์ พักผ่อนหัวใจกับอาหารอร่อย คุ้นลิ้น สไตล์ปักษ์ใต้กันดีกว่านคะ ร้านนี้ ไม่ ใ กล้ ไ ม่ ไ กลอยู ่ ก ลางใจเมื อ งนครศรี ธรรมราช ของเรานี่เองค่ะ จริงๆ นัดแล้วนัด อีกกับเจ้าของร้านพี่สาวที่น่ารัก .. แต่เวลา

ก็ ไ ม่ ต รงกั น ซั ก ที วั น นี้ เ ลยแอบมาแบบไม่ ต้องบอกล่วงหน้า เพราะทนความหิวไม่ไหว จริงๆ ค่ะ รอแดดร่มลมตก .. แล้วหาอาหาร อร่ อ ยๆ รองท้ อ ง ก่ อ นจะแวะไปชื่ น ชม ความสวยงามขององค์พระธาตุเจดีย์ในยาม ค�่ำคืน .. แล้วก็กลับเข้าบ้าน นอนหลับฝันดี กิ จ กรรมของภารกิ จ ในวั น นี้ ก็ เ สร็ จ สิ้ น ลง ทันทีค่ะ .. ร้านชาวเรือ ร้านเก่าแก่ที่อยู่ คู ่ กั บ ต� ำ นานความอร่ อ ย อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น เสมือนห้องรับแขกห้องใหญ่ ที่ท�ำให้ผู้มา เยือนเมืองคอนมักหลงใหลจนต้องเดินทาง กลับมาอีกครา เสน่ห์ของร้านชาวเรือคือ อาหารรสชาติปักษ์ใต้จัดจ้าน กลมกล่อม อร่อย ไม่เป็นรองใคร ด้วยประสบการณ์ที่

ยาวนาน บรรยากาศของร้านตกแต่งอย่าง ลงตัวร่มรื่น คล้ายนั่งรับประทานอาหารอยู่ ในกลางป่าใหญ่ พื้นที่กว้างขวางสามารถ รองรับการจัดเลี้ยงได้ทุกรูปแบบ แบ่งเป็น สองชั้นหลากหลายโซนให้ท่านได้เลือกมุม นั่ง ทุก โซนจะมีร่มไม้ใหญ่ปกคลุม ท�ำให้ การรับประทานอาหารนั่งทานได้เป็นเวลา นานด้วยความเพลิดเพลิน ... มาที่นี่ต้อง บอกเลยว่าเมนูเด็ดของร้านนี้มีหลายอย่าง จริงๆ ไม่ว่าจะเป็นหมูแดดเดียวไว้ส�ำหรับ กินเล่น ปลาทรายทอดขมิ้น แกงส้มปลา

เอื้ อ กแล้ ว หลั ง จากอิ่ ม อร่ อ ยกั น แล้ ว สามารถเดิ น ลงไปด้ า นล่ า งแวะหาซื้ อ ของฝาก สิ น ค้ า หนึ่ ง ต� ำ บลหนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุณภาพดีกันได้ทั้งของกิน และผลิตภัณฑ์ กระจูด แถมยังสามารถตบท้ายด้วยผลไม้ อร่อยๆ สดหวานที่พี่แป้นเจ้าของร้านใจดี จัดเตรียมไว้ให้กับลูกค้าในทุกช่วงเทศกาล เลยค่ ะ ลองแวะไปชิ ม กั น นะคะ อย่ า ลื ม กราบคุ ณ แม่ แล้ ว พาคุ ณ แม่ ไ ปทานข้ า ว รั บ ความอบอุ ่ น ในเดื อ นแห่ ง ความสุ ข ของ ครอบครัว รับรองว่าไม่ผิดหวังจริงๆ ค่ะ ร้ า นชาวเรื อ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารทุ ก วั น เวลา ๑๐.๐๐ - ๒๑.๓๐ น. ติ ด ต่ อ ได้ โดยตรง www.chaorue.9nha.com ๑๙๕ ถ.ศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีกะพงยอดมะพร้าว ย�ำไข่ปลากระบอก น�้ำ ธรรมราช โทรศัพท์ ๐๗๕-๓๔๖-๒๒๒ พริ ก แมงดาเลื่ อ งชื่ อ พร้ อ มสะตอเผาและ - ขอบพระคุณ พี่แป้น พี่สาวที่น่ารัก ผั ก สดพื้ น บ้ า น ปู ไ ข่ ห ลน ปลาอิ น ทรี ส ด ทอดน�้ำปลาเรียงมาเป็นชิ้นสวยงาม ตาม เจ้าของร้านชาวเรือ - ขอบคุณน้องๆ พี่ๆ พนักงานที่น่ารัก ด้ ว ยเมนู เ ด็ ด ที่ ผู ้ ม าเยื อ นขาดไม่ ไ ด้ ปลา กระบอกร้าจาก อ.ปากพนัง ฯลฯ แค่ที่เอ่ย ส�ำหรับการบริการ-อาหารที่แสนอร่อย - รับส่วนลด ๑๐% ส�ำหรับแฟนคลับ มาก็ เ รี ย กน�้ ำ ย่ อ ยให้ กั บ ผู ้ ชื่ น ชอบรสชาติ อาหารปั ก ษ์ ใ ต้ แ ท้ กลื น น�้ ำ ลายกั น หลาย นสพ.รักบ้านเกิดทุกท่านเช่นเดิมนะคะ

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

<< ต่อจากหน้า ๒

๔) ร้านบะหมี่ยอดนิยมที่ริมทะเลสาบ ตรงตีนเขาฟูจิ ระหว่างทางเข้ากรุงโตเกียว ขับรถข้ามเขาแอลป์ญี่ปุ่นไป แวะนอนที่โรงแรมริมทะเลสาบตรงตีนเขาฟูจิ เลือกโรงแรมที่ ว่านอนตื่นหรืออาบน�้ำก็จะเห็นเด่นชัดตลอดเวลา ทว่าหมอก หนาจนไม่เห็นแม้เงา พวกเราก็เลยแวะเที่ยวพิพิธภัณฑ์กิโมโน คูโบตะกับเข้าศาลเจ้า แล้วเลือกกินบะหมี่ร้านดังที่ใครๆ มา ก็ต้องแวะกิน คล้ายๆ กับมาเมืองนครก็ต้องกินขนมจีนเมือง นคร เขาท�ำร้านเป็นรูปคล้ายน�้ำเต้าใบใหญ่ยักษ์ จุคนได้เป็น ร้อยๆ มีสัก ๕ - ๖๐ โต๊ะ ต้องเข้าคิวรอ เมนูก็มีอย่างเดียวคือ บะหมี่หม้อเหล็ก บริการแบบคึกคักคือตะโกนโหวกเหวกและ วิ่งไปมาในลักษณะต้อนรับขับสู้ดูสุภาพรื่นเริงชวนกิน รอไม่นาน ก็ได้นั่ง นั่งไม่นานก็ได้กิน กินไม่นานก็ลุกให้คนอื่นกินต่อ นึกถึง ร้านขนมจีนข้าวแกงเมืองนครขึ้นมาทันที แม้ที่เคยท�ำครัวนคร รวมทั้งที่มีการขยายท�ำกันแล้วหลายแนวก็เชื่อว่าโอกาสและ บรรยากาศอย่างนี้มีความเป็นไปได้ทั้งที่เมืองนครและทั่วเมือง ไทย ใครสนใจก็เชิญท�ำ ไม่ต้องถึงมือผู้ว่าหรือนายกหรอกครับ.

๕) เมืองนครบนแผนที่โบราณในพิพิธภัณฑ์อิเดมิตสึ ในโตเกียวรอบนี้ที่พวกเราขับรถบุกเข้าไปถึงย่านกินซ่า เพื่ อ นอนโรงแรมเพนนิ น ซู ล ่ า ตรงหน้ า วั ง อิ ม พี เ รี ย ลขององค์ จักรพรรดิ์ เลือกแวะเวียนหลายพิพิธภัณฑ์ ทั้งพิพิธภัณฑ์แห่ง ชาติ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์เนซึ ซึ่งดีทั้งนั้น แต่ที่ เจอเมืองนครเข้าเต็มๆ ก็ที่พิพิธภัณฑ์อิเดมิตสึ เป็นของเอกชน อยู่ริมพระราชวัง เดินจากโรงแรมไม่กี่นาที เขาก�ำลังจัดแสดง แผงภาพฉากกั้นซึ่งเป็นหนึ่งในงานยอดนิยมของคนญี่ปุ่น มี ภาพหนึ่งเป็นรูปแผนที่โลก บริเวณประเทศไทยมีเขียนไว้ ๒ ชื่อ กับมีภาพผู้คนรอบโลกระบุชื่อไว้ด้วย แม้จะอ่านไม่ออก ผมก็ยัง

ในวันฟ้าเปิด จะเห็นเขาฟูจิเด่นอยู่ด้านหลังนี้

ร้านบะหมี่ยอดนิยมที่ริมทะเลสาบกาวากูชิ ตีนเขาฟูจิ

พยายามถามจนได้ความว่า ๑ ใน ๒ ชื่อตรงต�ำแหน่งประเทศไทย นั้นคือ “ล๊กคุ้น” ซึ่งคือ “นคร” นั่นเอง ส่วนภาพคนนั้น ถามเท่าไหร่ ก็ไม่ได้ความ เอาไว้จะหาโอกาสค้นคว้ามาบอกใหม่ เฉพาะที่ได้พบ “ล๊กคุ้น” ในแผนที่โบราณญี่ปุ่นก็คุ้มค่าแล้วครับ อันที่จริงเมืองนคร ของเรานั้นมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างไกลมาแสนนาน ปรากฏ อยู่บนแผนที่โลกของนานาประเทศมากมาย มีแม้กระทั่งระบุเป็น “ราชอาณาจักร” ด้วยซ�้ำ ผมติดตามศึกษาค้นคว้ามานานปี แถมมี แผนที่ผืนส�ำคัญไว้ไม่น้อย วันหน้าจะน�ำมาบอกเล่าครับ. ขอเล่าแบบห้วนๆ อย่างนี้พร้อมกับอีกข่าว คือปลายเดือน มิถุนายน ผมจะแวะไปนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา เพื่อตามดูพิพิธภัณฑ์

ต่ า งๆ โดยเฉพาะที่ The Metropolitan Museum of Art ซึ่งเป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ชั้นน�ำของโลก ก�ำลังจัด นิ ท รรศการส� ำ คั ญ ชุ ด The Lost Kingdoms, อาณาจักร ฮิ น ดู - พุ ท ธยุ ค แรกเริ่ ม ใน อุ ษ าคเนย์ ที่ ส าบสู ญ โดย มี ก ารน� ำ หลั ก ฐานการศึ ก ษาค้ น คว้ า ของผมเรื่ อ ง ลู ก ปั ด ไปประกอบด้ ว ย เขาเน้ น ที่ ฟู นั น เจนละ จามปา ทวารวดี ศรีเกษตร และ ศรีวิชัย มีพาดพิง ถึง ลังกาสุกะ พันพัน และ ตามพรลิงค์เล็กน้อย แล้วจะเอามาเล่าให้ฟังครั้งหน้าว่าฝรั่งเขาบ้าหา อาณาจั ก รที่ ส าบสู ญ กั น มาก เฉพาะที่ เ มื อ งนคร ตามพรลิงค์นี้ ผมเองก็เคยถูกฝรั่ง ๒ ราย บินมา ขอให้ช่วยค้นหามาแล้วครับ. ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๗


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.