หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ฉบับที่ 49 ตุลาคม 2558

Page 1

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

ผอ.บัญญัติ ลายพยัคฆ์ สุดปลื้ม ‘ศูนย์วิทย์’ บ้านเขาขุนพนม อ.พรหมคีรี คว้ารางวัลกินรี จาก ททท. สามครั้งติดต่อกัน จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวและเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในแหล่งธรรมชาติที่ยั่งยืน

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง รักสุขภาพ นพ.ทฏะวัฎร์ พิลึกภควัต มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๘ นายบัญญัติ ลายพยั ค ฆ์ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราช เปิ ด เผยว่ า ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชได้รับรางวัลกินรี จากการประกวดรางวัล อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วไทย (Thailand Tourism Awards) ครั้งที่ ๑๐ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ซึ่งจะเข้ารับรางวัล ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรู ม ศู น ย์ แ สดงสิ น ค้ า และการประชุ ม อิมแพ็ค เมืองทองธานี อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ในวันเดียวกัน หลังเข้ารับรางวัล นายบัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษา นครศรีธรรมราช เปิดเผยว่าการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) ได้ จั ด ประกวดรางวั ล อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๒

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

งานเทศกาลวันสารทเดือนสิบประจ�ำปี ๒๕๕๘ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดระหว่างวันที่ ๖-๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ลูกหลานชาวนครประกอบอาชีพ หรือเล่าเรียนอยู่ต่างจังหวัดจะกลับมาท�ำบุญอุทิศ ส่วนกุศลแก่ผู้วายชนม์ กับครอบครัวจ�ำนวนมาก ท�ำบุญเสร็จชวนญาติพี่น้องไปจับจ่ายใช้สอยตาม แหล่งท่องเที่ยวหรือเข้าตัวเมือง ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กับ พล.ต.ต.เกียรติพงศ์ ขาวส�ำอางค์ ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด นครศรีธรรมราช รู้ดีว่าจะต้องสร้างสังคมปลอดภัย รองรั บ ชาวนครกลั บ บ้ า นและชาวต่ า งจั ง หวั ด ที่ เดิ น ทางมาสั ก การะองค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ นั บ แต่การวางแผนจราจรให้คล่องตัวและปลอดภัย เชื่ อ มโยงไปถึ ง หน่ ว ยกู ้ ภั ย และระบบการแพทย์ ฉุกเฉินของโรงพยาบาลต่างๆ โดยเฉพาะโรงพยาบาลมหาราช ช่วงเทศกาลเดือนสิบมีคดีจี้ปล้น หรือโจรกรรม ทรัพย์สินตามบ้านเรือนต้องระมัดระวัง เจ้าของ บ้านต้องเพิ่มความระมัดระวังบ้านเรือนด้วยตัวเอง ก่อน ประชาชนเดินเที่ยวห้างสรรพสินค้าหรือเดิน ในแหล่งผู้คนพลุกพล่าน พึงมีสติระมัดระวังแก๊ง นักล้วงกระเป๋าที่เกาะคาราวานสินค้าตระเวนก่อ เหตุไปงานเทศกาลต่างๆ ตลอดปี ซึ่งต้องมีต�ำรวจ นอกเครื่องแบบคอยจับตาเฝ้าระวัง คดีคนในรถยนต์ยี่ห้อหรูสาดกระสุนใส่กลุ่มวัยรุ่น บาดเจ็บและเสียชีวิตเกิดกลางตัวเมือง รวมทั้ง คดีจ่อยิงศีรษะเด็กเลี้ยงวัวที่อ�ำเภอทุ่งสง ต�ำรวจ จับกุมคนร้ายมาลงโทษสร้างบรรยากาศแห่งความ ปลอดภัยแก่สังคมชาวนคร ไม่เฉพาะช่วงเทศกาล ใดเทศกาลหนึ่ง แต่ปลอดภัยน่าอยู่ตลอดไป

ช้างภาคใต้ และ นครศรีธรรมราช : ต้องดูให้กว้างกว่า ช้าง กับ อาณาจักร นครศรีธรรมราช และความส�ำคัญ

(ที่ ก าญจนดิ ษ ฐ์ ) ช้ า งซ้ า ย (ใน อ�ำเภอเมือง) เป็นกองช้างส�ำคัญ ของเมือง แถมด้วยโรงช้างของ เมืองโดยมีท่าช้างส�ำหรับน�ำช้าง นครศรีธรรมราช บ้านช้าง ด่านช้าง คอกช้าง ควนช้างตาย คลองช้าง หัวช้าง ท่าช้างสาร ออกจากเมื อ งหรื อ อาบน�้ ำ ใน คูเมือง เขาพังไกร ห้วยคอกช้าง ทุ่งช้าง หนองช้างแล่น ดอนช้างตาย ผมจึ ง เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม หลักช้าง ช้างกลาง ช้างซ้าย โรงช้าง ท่าช้าง ว่า หากจะศึกษาช้างเมืองนคร ตรัง : ห้วยช้างตาย หนองช้างแล่น คลองช้าง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมองให้ ก ว้ า งกว่ า พัทลุง : ท่าช้าง วังช้าง โรงช้าง “การอนุรักษ์ภูมิปัญญาการจับ ท่ า นอาจารย์ ฉั ต รชั ย ศุ ก ระกาญจน์ ไ ด้ ป ระมวล และฝึกสอนช้าง” ตามโครงการวิจัย อาจจะต้องมองทั้ง ชื่ อ บ้ า นนามเมื อ งในภาคใต้ ที่ เ กี่ ย วกั บ ช้ า ง มี ใ นจั ง หวั ด ช้างป่า ช้างบ้าน ช้างงาน ช้างหลวง ช้างส�ำคัญ จนกระทั่ง นครศรีธรรมราชถึง ๑๗ ชื่อ ในขณะที่จังหวัดอื่น ๆ มีเพียง ช้างในวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีพิธีกรรมที่คนไทยรวม ๒ - ๓ ชื่อ ยกเว้นสุราษฎร์ธานีมี ๕ ชื่อ ที่น่าสังเกตคือ ทั้ ง คนภาคใต้ แ ละในเมื อ งนครสร้ า งสมกั น มา และควร ห้าชื่อตัวหนาที่ผมขีดเส้นใต้ของเมืองนครนั้นเป็นชื่อที่ยิ่ง ที่ จ ะต้ อ งมองทั้ ง อดี ต ปั จ จุ บั น และอนาคต ของความ กว่าช้างป่าหรือช้างบ้านธรรมดา แต่เป็นชื่อแสดงถึงความ เกี่ยวเนื่องกับช้าง ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นการท�ำให้เรื่อง เป็นช้างเมือง ไม่ว่าจะหลักช้างที่ฉวาง ซึ่งเป็นหลักสถาน ที่ส�ำคัญมาก คือ เรื่องช้าง กับ ผู้คนตลอดจนอาณาจักร ส�ำคัญในการต้อนจับช้าง โดยมีกองช้างกลาง ช้างขวา และ นครศรีธรรมราช กับ (อ่านต่อหน้า ๑๙)

พังงา : ช้างนอน คอกช้าง ช้างเชื่อ กระบี่ : ถ�้ำช้างสี คลองช้างตาย สุราษฎร์ธานี : ช้างซ้าย ช้างขวา ช่องช้าง คลองช้าง ควนช้างใต้


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๓

ลายเดือนสิงหาคม ๒๕๕๘ ปาลิกา จึงไพศาล (บุ๋น) ผู้มีกายใจงดงาม แห่งเพชรทองซีกวง แนะน�ำให้ผมเขียน เรื่ อ งที่ มี คุ ณ ค่ า ของเมื อ งนครเรื่ อ งหนึ่ ง ปลายเดื อ นกั น ยายนผมขอให้ เ ธอช่ ว ย ติดต่อ วันพระ สืบสกุลจินดา คนต้นคิด ให้ ผ มพู ด คุ ย ขอข้ อ มู ล ดร.รอยพิ ม พ์ ใ จ เพชรกุล กรุณาขับรถมาส่งวันพระที่จุด นัดหมาย ขอบคุณมากครับอาจารย์ วั น พระบอกว่ า เขาชอบวั ด และ โบราณวัตถุ เดินเข้าวัดในเมืองนครมานับ ไม่ถ้วน แต่ไม่เคยเข้าวัดบูรณาราม ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช วันหนึ่งเมื่อ เดินเข้าใกล้ศาลาการเปรียญแสงสะท้อน ให้เห็นลายทองที่หีบพระไตรปิฎก เลย สนใจว่าท�ำไมพระไตรปิฎก ตู้พระธรรม ถึ ง มากองรวมกั บ โต๊ ะ เก้ า อี้ แ ละของใช้ ทั่วไป ช่วงนั้นวัดก�ำลังบูรณะโบสถ์จึงรื้อ เอาพระไตรปิฎกใส่กระสอบไปไว้ในศาลา การเปรียญ "ผมขออนุ ญ าตเข้ า ไปดู ผมไม่ มี ความรู ้ อะไรเกี่ ยวกับ เรื่ อ งนี้ แต่ เห็ น ว่ า สวยดี ผมชอบของโบราณ ลายตู ้ พ ระ ธรรมเป็ น รู ป จากวรรณคดี ร ามเกี ย รติ์ รอบแรกผมดูไม่มาก" วันพระเล่า ครั้ ง ต่ อ มาเขาขออนุ ญ าตพระพิ พัฒน์ อาภาจาโร ผู้ดูแลศาลาการเปรียญ และขออนุญาตเปิดตู้พระธรรม "พอเปิด ก็เห็นห่อผ้า เปิดห่อผ้าก็พบพระไตรปิฎก ใบลานสภาพยั ง ดี ก็ แ ปลกใจว่ า ท� ำ ไม ยั ง มี ใ บลานอยู ่ อี ก ผมพอมี ค วามรู ้ ท าง ประวัติศาสตร์อยู่บ้างก็กลับไปหาข้อมูล เอกสารใบลานเป็นของส�ำคัญมาก เลย ดูต่อไปว่าวัดนี้ส�ำคัญมากขนาดไหนจึงมี ของส�ำคัญขนาดนี้" วั น พระลองศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ เขาพบว่าตอนตั้งราชธานีโบราณจะต้อง มี วั ด ๓ วั ด คื อ วั ด ราชบู ร ณะ วั ด ราช ประดิษฐ์ และ วัดมหาธาตุ "นครศรีธรรมราชมีวัดพระมหา-

ธาตุฯ ส่วนวัดราชบูรณะน่าจะเป็นวัดบูรณาราม วัดราชประดิษฐ์ให้เพื่อนๆ ช่วยกัน ตามหา ส่วนใหญ่ที่พบจะเป็นวัดราษฎร์ ประดิษฐ์" เรื่องของผ้าห่อ ทราบว่าชนิดของผ้า บ่งบอกยศและต�ำแหน่งของผู้ถวาย ผ้าห่อ คัมภีร์ส่วนใหญ่เป็นผ้าพิมพ์ ทั้งผ้าพิมพ์ ลายนอกอย่างกับผ้าพิมพ์ลายอย่าง "ผ้า พิมพ์‘ลายอย่าง’ คือผ้าที่เราเขียนลายแล้ว ส่งไปพิมพ์ที่ต่างประเทศอย่างอินเดียหรือ จีน ได้ผ้ากลับมาตามแบบที่ส่งไป ‘ลาย นอกอย่าง’ ได้ผ้าไม่เหมือนแบบ อีกชนิด เป็นผ้าทอ ทั้งผ้ายกเมืองนคร และผ้าทอ ตามบรรดาศักดิ์ เราพบผ้า ‘เข้มขาบ’ ที่ ใช้ในระดับผู้มีฐานันดรสูงกว่าขุน กับผ้า ‘อัตลัต’ วันพระจึงจัดท�ำโครงการ 'อนุรักษ์

พระไตรปิ ฎ ก หี บ พระธรรมและตู ้ พ ระ ธรรมในพื้ น ที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช' ขณะนี้อยู่ในช่วงด�ำเนินการอนุรักษ์พระ ไตรปิฎกประมาณ ๘๔ เล่ม เป็นภาษาลี ภาษาขอม แต่หน้าปกเป็นภาษาไทย เล่ม เก่าแก่ที่สุดสร้างปีพุทธศักราช ๒๓๘๐ อีก เล่ ม เป็ น สารบั ญ คั ม ภี ร ์ ใ บลาน ๘๔ เล่ ม ประกอบด้วยพระวินัยหรือไม่ก็ชาดก นับ อายุเก่าแก่ที่สุดไล่ขึ้นมาจนเป็นภาษาไทย ที่อ่านออกอย่างของพระวิมาดาเธอ พระ คัมภีร์ห่อผ้าไว้ บางห่อผ้าเปื่อยยุ่ย ไม่มีผืน ไหนสภาพดีร้อยเปอร์เซ็นต์ "บอกหลวงพี่ ว่าผมจะช่วยเท่าที่ผมสามารถช่วยได้โดย จัดเรียงทุกเล่มให้อยู่สภาพดีก่อน เริ่มต้น จากเล่มที่ผ้าห่อยังสมบูรณ์ให้เรียงซ้อนไว้ ที่ไม่มีผ้าห่อก็เอามาเข้าเล่มใหม่ ที่กระจาย อยู่ก็เอามาเรียงไว้เข้าเล่ม"

วันพระอยากห่อเสียใหม่ เพราะผ้า เดิมไม่สามารถรักษาสภาพตัวเองได้แล้ว เขาจึงบอกบุญไปยัง ปาลิกา จึงไพศาล "ผมนึกถึงพี่ปาลิกาที่เคยบอกผมว่าถ้ามี เรื่ อ งอะไรเกี่ ย วข้ อ งกั บ เมื อ งนครขอให้ รีบบอก เบื้องต้นผมอยากได้ผ้ายกเมือง นคร ซึ่งใช้ ๑ หลาต่อ ๑ เล่ม ราคาผ้า มาตรฐานหลาละ ๒๕๐ บาท มีค่าปักที่ผู้ บริจาคต้องการอุทิศให้ใครรวมแล้ว ๔๐๐ กว่าบาท พี่ปาลิกาบอกบุญไปยังผู้ศรัทธา ได้เงินครบ ๘๔ เล่มภายใน ๑ สัปดาห์ เรามีเงินทุนค่าผ้า ค่าปักกับค่าเชือกเล่ม ละ ๕๐๐ บาท" วั น พระเอาผ้ า เก่ า ไปเก็ บ ไว้ ศึ ก ษา ส่งรูปตัวอย่างผ้าให้ผู้เชี่ยวชาญดู ขณะนี้ ห่อเสร็จแล้ว ๓๕ เล่ม ผู้ห่อเป็นสมาชิก ชมรมอาสาสมัครยุวมัคคุเทศก์ประมาณ ๑๐ คน เป็นนักเรียนโรงเรียนโยธินบ�ำรุง, วิทยาลัยช่างศิลป์, โรงเรียนเมือง และ โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ ห่อเสร็จรอวั นฉลองและเดิน หน้า อนุ รั ก ษ์ หี บ พระธรรม กั บ ตู ้ พ ระธรรม ต่อไป 'รักบ้านเกิด' ขอเป็นก�ำลังใจให้ วันพระ สืบสกุลจินดา และผู้คิดดีท�ำดี ทุกๆ คน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๔

โดย : นครา แรงบันดาลใจให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์ด�ำริกับนาย เอื้อน ภัทรนาวิก นายกสโมสรราชการมาช่วยกันจัด งานเพื่อหาเงินในลักษณะนี้ เพื่อมาสร้างสโมสรราชการ เป็นของตัวเอง จึงเลือกเอาช่วงเดือนสิบซึ่งคนมาบูชา

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ภาพการแข่งขันกีฬาในงานสาร

‘ง

ทบุญเดือนสิบ เครดิตภาพจากเว็

านเดือนสิบ’ กับ ‘ประเพณีบุญสารทเดือนสิบ’ ผู้คนมักจะน�ำไปปะปนกัน ในคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเขตเมือง ประเพณีบุญสารทเดือน สิบเป็นประเพณีที่เราปฏิบัติสืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคน ท� ำ กั น ทุ ก วั น โดยเฉพาะวั ด เก่ า แก่ ที่ ค นรุ ่ น บรรพบุ รุ ษ ของเราเคยท� ำ บุ ญ ครั้ ง ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ เมื่ อ ละจากโลกนี้ ไปแล้ว ลูกหลานมักจะกลับมาท�ำบุญที่วัดนั้นๆ แม้จะ ย้ายภูมิล�ำเนาไปอยู่อาศัยที่อื่นแล้วก็ตาม ด้วยความเชื่อ ว่าบรรพบุรุษของตนจะกลับมาคอยรับส่วนบุญอยู่เป็น ประจ�ำเมื่อครั้งที่มีชีวิตอยู่ ประเพณีบุญสารทเดือนสิบเรื่อง ‘การดับหมฺรับ’ ภาชนะที่ใส่สิ่งของที่ใช่ลงในหมฺรับ ยอดหมฺรับท�ำอย่างไร การตั้งเปรตอย่างไร ชิงเปรตอย่างไร หรือแม้แต่เรื่องการ ท�ำบุญนี้ได้อานิสงส์อะไรบ้าง เพราะช่วงนี้คงมีผู้คนพูด ถึงอย่างละเอียดละอออยู่แล้ว แต่ผมจะขอพูดถึงเรื่อง ความเป็นมาเป็นไปเรื่อง ‘งานเดือนสิบ’ มาคุยให้ฟัง ก่ อ นจะมี ก ารจั ด งานเดื อ นสิ บ ขึ้ น ครั้ ง แรกนั้ น มี ความเป็ น มาจากการจั ด งานสวนสนุ ก มี ร ้ า ยขายของ เล่นการพนันกัน และเก็บเงินค่าผ่านประตู จากงานวัน วิสาขบูชาในปี ๒๔๖๕ เพื่อหาเงินมาร่วมสร้างศาสนสถานในวัดพระบรมธาตุ โดย พระยารัษฎานุประดิษฐ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดใน พ.ศ.นั้น ได้เงินมาหมื่นกว่าบาท เพียงพอแก่การซ่อมสร้างบูรณะในครั้งนั้น จึงเกิดเป็น

บไซต์ เมืองคอน.คอม

พระบรมธาตุกันมากเป็นวันจัดงาน และได้ก�ำเนิด ‘งาน เดือนสิบ’ ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ๒๔๖๖ ครั้งแรกจัดสาม วันสามคืน จัดติดต่อกันมาสามปีสโมสรหลังนี้ก็สร้างเสร็จ อาคารสโมสรแห่งนี้มีอายุยาวถึงปัจจุบัน ๙๒ ปีแล้ว ใช้ เป็นที่ท�ำการ ‘ส�ำนักงานการท่องเที่ยว’ หรือ ททท.อยู่ ในปัจจุบัน สโมสรข้าราชการจัดงานอยู่นาน ๑๐ ปี ได้เงิน มาบ�ำรุงภายในสโมสรของตนเท่านั้น จึงมีผู้คนคัดค้าน ไม่เห็นด้วยมากขึ้น จนถึงขั้นแตกหักในปี ๒๔๗๗ นาย มงคล รัตนวิจิตร ผู้แทนราษฎรคนแรกของเมืองนคร ได้ร่วมกับพ่อค้าประชาชนของานมาจัดเอง เพื่อน�ำราย ได้มาใช้ในเรื่องสาธาณะประโยชน์ ซึ่งคนทั้งเมืองก็เห็น ด้วย ผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มของตนจึงยินยอมด้วย ประโยชน์สาธารณะ การจัดงานก็เพิ่มขึ้นจาก ๓ วันเป็น ๕ วัน ๗ วันและ ๑๐ วันในที่สุด มีการว่างเว้นงดจัดงาน ไปสองปีในช่วงสงครามโลก คือปี ๒๔๘๗-๘๘ มาถึงยุค ผู้ว่าฯ สันต์ เอกมหาชัย ทางจังหวัดขอเป็นเจ้าภาพ จัดเองในปี ๒๕๐๔ มีหน่วยงานต่างๆ มาออกร้านแสดง ผลงานของตัว อ�ำเภอต่างๆ ก็มาจัดแสดงเรื่องราวของ อ�ำเภอ สถานศึกษาก็มาออกร้านให้นักเรียนได้แสดงฝีไม้ ลายมื อ ฝึ ก หั ด ท� ำ อาหารหารายได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ข อง โรงเรียน มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด เช่น วิ่งทนหนึ่ง หมื่นเมตร แบดมินตัน ตะกร้อ >> อ่านต่อหน้า ๙

nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือน ตุ ล าคม ๒๕๕๘ หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ครบ รอบ ๔ ปี ไปอย่างเงียบๆ ไม่เอิกเกริก ฉบับนี้ย่างขึ้นปีที่ ๕ คอลัมนิสต์ทุกคนยังน�ำเรื่องราวดีๆ ชวนมองแต่เรื่องดีๆ ให้ เห็ น ด้ า นดี แ ละมี คุ ณ ค่ า ของเมื อ งนคร ไม่ ว ่ า นพ.บั ญ ชา พงษ์พานิช, สุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) ป่วยไข้ก็ยังไม่ วางมือ, สุเมธ รุจิวณิชย์กุล, ไพโรจน์ เพชรคง กับมุมมอง ธุรกิจอย่างมืออาชีพ, ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม, นภสร มีบุญ ชวนชิมร้านอร่อยๆ, นพ.รังสิต ทองสมัคร์ เก็บความงามใส่ กล้องมาให้เรียนรู้และดู(แล), ทาร์ซานบอย, อาจารย์แก้ว, จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร และคุณหมอสามท่านหมุนเวียนมาให้ ความรู้ แ ละรั ก ษ์ สุ ข ภาพ ขอบคุ ณ ผู ้ มี อุ ป การคุ ณ ที่ ปรากฎตามหน้ า โฆษณาในเล่ ม และคุ ณ ผู ้ อ ่ า นเจ้ า ประจ� ำ ที่ ตั้งตารอ Free Copy ฉบับนี้ตามร้านอาหารและส� ำนักงาน สาธิต รักกมล บรรณาธิการบริหารยังเดินหน้าสู้ต่อไป ถ้า เศรษฐกิ จ ฟื ้ น ตั ว กรุ ณ าแบ่ ง ปั น ผลก� ำ ไรเป็ น หน้ า โฆษณาให้ ‘รักบ้านเกิด’ ได้รับใช้สังคม โทร.๐๘๙-๘๗๔-๕๒๒๘ (แอ๋ว) ขอขอบพระคุณล่วงหน้า วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมือง เก่า น�ำทีมข้าราชการแถลงผลงานในรอบ ๑ ปี อาทิ โครงการ ผลักดันวัดพระมหาธาตุฯ การบูรณะและปรับภูมิทัศน์แล้ว เสร็จไปบ้าง ก�ำลังด�ำเนินการอยู่บ้าง ‘รักบ้านเกิด’ กังวลว่า เอกสารจะเสร็จไม่ทันหรือเสร็จแต่ไม่สมบูรณ์ ศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสง พื้นที่ ๘๕.๔๓ ไร่ รองรั บ การเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นตามแผนการ พั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จสามฝ่า ย อิ น โดนี เซี ย มาเลเซีย ไทย (IMT-GT) คาดว่าปีหน้าจะสามารถเปิดด�ำเนินการได้

ภู มิ ทั ศ น์ ข ้ า งวั ด พระมหาธาตุ ฯ ปรั บ แต่ ง แล้ ว ดู สวยงาม แม้ อ งค์ พ ระบรมธาตุ ฯ ยั ง อยู ่ ร ะหว่ า งขึ้ น นั่ ง ร้ า น ซ่อมแซมบริเวณเกิดคราบสนิม ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ออกปากเชิ ญ ชวนลู ก หลานชาวนครกลั บ บ้ า นมาท� ำ บุ ญ วั น สารทเดื อ นสิ บ และเที่ ย วงานเทศกาลเดื อ นสิ บ ประจ� ำ ปี ๒๕๕๘ ระหว่างวันที่ ๖-๑๕ ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) สนามหน้าศาลากลางจังหวัด และวัดพระ มหาธาตุฯ มากราบขอพรองค์พระบรมธาตุเจดีย์ แล้วถ่าย รู ป เป็ น ที่ ร ะลึ ก ตามมุ ม ต่ า งๆ ชมขบวนพิ ธี แ ห่ ห มฺ รั บ ยิ่ ง ใหญ่ ตระการตาในวันที่ ๑๑ ตุลาคม (ภาพจาก : ส�ำนักข่าวไทย)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

งานเดือนสิบปีนี้ วาริน ชิณวงศ์ ประธานหอการค้า จั ง หวั ด นครฯ แจ้ ง ว่ า มี ส าวงาม ๔๓ คนสมั ค รเข้ า ประกวด นางสาวนครศรีธรรมราช คืนวันที่ ๑๐ ตุลาคม เชิญผู้สนใจไป เกาะขอบเวทีเชียร์คนที่ท่านชอบ (ทุ่งท่าลาด) ‘รักบ้านเกิด’ เคยน�ำเสนอข่าวเรือประมงบุกจับปลา ท� ำ ลายแนวปะการั ง และเก็ บ ไข่ เ ต่ า บริ เ วณเกาะกระ ปลาย เดือนกันยายนที่ผ่านมา นิพนธ์ พงศ์สุวรรณ รักษาราชการ แทนผู้อ�ำนวยการส�ำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ประชุ ม รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น หาแนวคุ ้ ม ครองเกาะกระซึ่ ง ได้ ประกาศเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำนานาชาติ (แรมซาร์ไซต์) เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ พล.ต.ต.เกียรติพงศ์ ขาวส�ำอางค์ ผบช.ภ.นศ. กุม หมายจับกว่า ๕๐ หมายเตรียมจับกุมกลุ่มค้ามนุษย์ ฟอกเงิน ซึ่งมีทั้งข้าราชการ นักการเมืองท้องถิ่น และบุคคลธรรมดา ดู ๆ ไป กลุ ่ ม ผู ้ คั ด ค้ า นผั งเมื อ งและเกรงผลกระทบ ล้วนอยู่สุขสบายแล้วเป็นส่วนใหญ่ เวลาประชุมความเห็นเรื่อง ผังเมืองชาวบ้านต่างอ�ำเภอกลุ่มอื่นๆ โดยเฉพาะเขตหลังเขาไม่ ได้เข้ามามีส่วนร่วม ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ต้องแข็งใจ จัดท�ำผังเมืองให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม เน้นชาวบ้านยากจน ต้องมีงานท�ำในถิ่น ไม่ต้องทิ้งครอบครัวไปท�ำงานต่างจังหวัด

หน้า ๕

บริรักษ์ ชูสิทธิ์ พาณิชย์จังหวัดนครฯ ลงตรวจสอบ ราคาสินค้าในตลาดสดคูขวางพบว่าอาหารทะเลราคาสูง ส่วน เรื่องชาวบ้านบ่นข้าวแกงหรือก๋วยเตี๋ยวข้างถนนบ้านเราแพง กว่ากรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงคงไม่ได้ยิน พบของแพงทน ไม่ไหว โทร.๐๗๕-๓๔๘๐๒๘

วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ นายส�ำราญ ภูอนันตา-

นนท์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร หรือ ICT น�ำคณะสื่อมวลชนจากส่วนกลาง เยี่ยมชมการด�ำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ชุมชนปากนคร พร้อม แจ้งว่า พล.อ.ประยุ ท ธ์ จั นทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีนโย บายส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าถึง เรียนรู้ ดิจิตอลเทคโนโลยี (Digital Technology) ได้อย่างเท่าเทียมกัน

วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๘ ฮอนด้าศรีนคร ร่วมกับ บริษัทเอพีฮอนด้า จ�ำกัด จัดประกวดกิจกรรมแผนการตลาด เปิ ด โอกาสให้ น ้ อ งๆ ใช้ ค วามรู ้ ด ้ า นการตลาดมาน� ำ เสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ กั บ การท� ำ Event Marketing ของจริง ณ สถานที่จริง กับกลุ่มเป้าหมายจริง โดยน�ำเสนอ แนวคิดระหว่าง ‘Honda Moove ภายใต้แนวความคิด Follow my Moove มูฟให้โลกหมุนตาม กับ รถจักรยานยนต์ Honda zoomer-X ภายใต้แนวความ คิด Unblocker, I am.’ ในเขตพื้นที่จัง หวัดนครฯ นักศึกษาสาขาการตลาด ม.วลัยลักษณ์ กับ มรภ.นครฯ เข้าร่วม ทดสอบความรู้อย่างสนุกสนาน น่ า ยิ น ดี . ..CNN ส� ำ รวจว่ า ต้ ม ย� ำ กุ ้ ง กั บ แกงมั ส มั่ น ของไทยเป็ น อาหารรสเลิศทีส่ ดุ ในโลก http://travel.

รองผู้ว่าฯ สมาน แสงสอาด เปิดโครงการ ‘เคเอฟซี เซเว่น ชู๊ด ๒๐๑๕’ ณ สนามหัวอิฐอารีน่า จัดโดย บริ ษั ท ยัม เรสเทอรองตส์อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ผู้บริหารแบรนด์ เคเอฟซี เพื่อเฟ้นหาทีมแชมป์หนึ่งเดียวของไทยไปร่วมเวิร์คชอปกับนักเตะทีมแมนเชสเตอร์ซิตี้ ประเทศอังกฤษ พร้อมรับ เงินรางวัล ๕ ล้านบาท ช่วงนี้แม้ไม่มีงานท�ำมากนัก แต่ส�ำนักงาน กกต.จังหวัด นครฯ ขยับองค์กร เมื่อ ธงชัย วรรธนะพิศิษฐ์ ลุกจากเก้าอี้ ประธานให้ วินัย ทิพย์สุวรรณ เดือนหน้าพบกันใหม่

วิมล รัตนาภรณ์วงศ์ อธิการวิทยาลัยการปกครอง ศาลากลาง น�ำนักศึกษาหลักสูตรนายอ�ำเภอ ( รุ่น ๗๔) ๑๑๔ มา ศึกษาดูงานที่เมืองนคร ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดบรรยายสรุปการบริหารจัดการการน�ำเสนอ วัดพระมหาธาตุฯ เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม และชมโครง- cnn.com/explorations/eat/worldsการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 50-most-delicious-foods-067535

Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Boonpalika

Seekuang BJ

boonada

099-195-6996

WWW.SEEKUANG.COM

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๖

ล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ จินดาเงิน ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๔๑ ศิษย์เก่า โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นักเรียนโรงเรียน เตรียมทหารรุ่น ๑๖ จบหลักสูตรโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น ๒๗ บรรจุ เข้ า รั บ ราชการที่ ค ่ า ยดอนนก จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี เมื่อปี ๒๕๒๓ พื้นที่ปฏิบัติ การอยู ่ แ ถบนาสาร เคี ย นซา พระแสง และกาญจนดิษฐ์ ยุคนั้นเป็นเขตอิทธิพล ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย นายพลผู ้ เ ป็ น บุ ต รชายนายทหารชั้ น ผู ้ น้อย ร.ต.รังสรรค์ จินดาเงิน ปัจจุบัน อายุ ๘๖ กับนางจุไร อายุ ๘๓ ปี บิดามารดา ยั ง มี ชี วิ ต ได้ เ ห็ น และภาคภู มิ ใ จในความ ก้าวหน้าของบุตรชาย พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ มีภารกิจทางสังคม มากมาย เช่น งานล้างป่าช้า ไปร่วมงาน บุญ งานประเพณี งานพิธีต่างๆ โดยไม่ เกี่ยง ตลอดจนภารกิจที่คณะรักษาความ สงบแห่งชาติมอบหมาย เรื่องเร่งด่วนคือ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของชาวบ้าน ที่ ร ้ อ งเรี ย นผ่ า นศู น ย์ ด� ำ รงธรรมที่ ศ าลา กลางจังหวัด ท่านปรารภว่าปัญหาหลักๆ ของชาวบ้านคือไม่ได้รับความเป็นธรรม “ผมมองว่าความไม่เป็นธรรมเกิด จากเจ้าหน้าที่รัฐเสียเป็นส่วนใหญ่ ถ้าเจ้า หน้าที่รัฐให้ความเป็นธรรมกับชาวบ้าน ทุกคนด้วยความเสมอภาค โดยไม่มีผล ประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง ชาวบ้านเขาไม่

เดือนร้อนหรอก ตัวเจ้าหน้าที่ของเราเอง นี่แหละเป็นเหตุ ความไม่เป็นธรรมก็เกี่ยว กับชีวิตความเป็นอยู่ ส่วนเรื่องเศรษฐกิจ เขาท�ำมาหากินเขาอยู่กันได้—ผมเองเมื่อ ก่อนผมไม่รู้หรอก แต่พอหลัง คสช. ผม กระโดดเข้ามาจับตรงนี้ก็พูดคุย สอบถาม ปัญหา วิเคราะห์ แล้วด�ำเนินการแก้ไขกัน ต่อไป” พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ กล่าวอย่างตรงไป ตรงมาว่า “ปัญหาที่เกิดขึ้น พูดง่ายๆ ว่าทุก ส่วนราชการของรัฐมีกฎหมายอยู่ในมือ ในการที่ จ ะอ� ำ นวยความสะดวกหรื อ ก�ำกับดูแลบริการประชาชน ผมเป็นทหาร ไม่ มี ก ฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ประชาชน ลักษณะนี้ ยกเว้นไปช่วยเวลามีภัยพิบัติ หรือการพัฒนาประเทศ แต่ในเรื่องชีวิต ความเป็ น อยู ่ เ ราไม่ มี ก ฎหมายตั ว ไหน เข้าไปเกี่ยวข้อง แต่ของหลายๆ หน่วยงาน ในหลายๆ กระทรวง ไม่ว่าป่าไม้ ประมง ที่ ดิ น สรรพสามิ ต สรรพากร อ� ำ เภอ จั ง หวั ด ต� ำ รวจ กรมเจ้ า ท่ า ทุ ก หน่ ว ย มี ก ฎหมายเกี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ รงชี วิ ต ของชาวบ้ า นทั้ ง หมด แต่ ก ารบั ง คั บ ใช้ กฎหมายของเขา เขาไม่ ใ ช้ ม าตรฐาน เดียวกัน ถ้าใช้มาตรฐานเดียวกันชาวบ้าน รับได้ แต่บังเอิญถ้ามีผลประโยชน์เข้ามา เกี่ยวข้องเขาไม่เล่น ถ้าไม่มีผลประโยชน์ เขาแข็ง มันก็เกิดความไม่พอดี ไม่เป็น

ธรรมขึ้นในสังคม...” พล.ต.ธี ร ์ ณ ฉั ฏ ฐ์ มี ห น้ า ที่ โ ดยตรง ด้านการแก้ไขความไม่เป็นธรรม และการ ปราบปรามคอร์รัปชั่นในแวดวงข้าราชการ ตามนโยบายของ คสช. “ขั้นแรกเราต้องพูดคุยกัน ผมเอง มาในเวลาสั้นหรือเวลาจ�ำกัด ไม่รู้ว่าเรา จะเลิกกันเมื่อไร (คสช.) แต่เราพยายาม ท�ำให้มากที่สุดเท่าที่สามารถท�ำได้ อย่าง ข้าราชการนี่ ถ้าจะเอากันให้ตายไปเลย ผมว่าระบบมันล้ม ถ้าระบบมันล้ม ใน อนาคตเราอยู่ไม่ได้ สิ่งที่ต้องท�ำคือให้เขา หยุด--เปลี่ยนพฤติกรรมเท่านั้นเอง เขา ยังอยู่ หน้าที่ดูแลประชาชนยังอยู่ในมือ เขา ถ้าเราไปล้มเขาก็ไม่มีใครท�ำ เราได้ แต่ปรามให้เขารู้ว่า—อย่านะ แล้วก็ช่วย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วมหน่อย ผมว่า ดีขึ้นเยอะนะ เพราะข้าราชการหลายๆ ฝ่ายเขายอมรับตรงนี้ แต่เราไม่ต้องถึงกับ ฆ่ า ฟั น ผมไม่ เ คยรายงานความผิ ด ของ ข้ า ราชการ แต่ ผ มได้ พู ด คุ ย ว่ า หยุ ด นะ ปรากฏว่าดีขึ้นเยอะ” พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ ย�้ำว่าการแก้ปัญหา ต้องรักษาระบบและระบบต้องอยู่ได้ การปราบอาชญากรรมหรื อ ผู ้ มี อิทธิพลกองทัพกับฝ่ายปกครองท�ำงาน ประสานกัน หากมีภารกิจเร่งด่วนก็สนธิ ก�ำลังไปด้วยกัน หลังเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ เป็นต้น ไปพื้นที่รับผิดชอบของมณฑลทหารบกที่ ๔๑ จะมีเพียงจังหวัดนครฯ กับภูเก็ต “ภูเก็ตกับนครฯ ปัญหาแตกต่างกัน ภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยว ความเดือดร้อน จะหนั ก ไปทางเรื่ อ งเศรษฐกิ จ มากกว่ า ของนครฯเป็ น เรื่ อ งไม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ น ธรรมในชีวิตความเป็นอยู่ เรื่องการด�ำรง ชีวิต—ส่วนภูเก็ตกลุ่มอิทธิพลมันระดับ นานาประเทศเลย-- มันใหญ่มาก เป็น เรื่องที่เจ้าหน้าที่รัฐต้องมีจิตส�ำนึกด้วย ถ้า ไม่ช่วยกัน ถ้าหวังแต่ผลประโยชน์ คุณแย่ เลย เพราะภูเก็ตมีผลประโยชน์เยอะมาก นครศรีธรรมราชตอนนี้สู้ไม่ได้เลย เรื่อง การใช้อ�ำนาจเงินหรืออ�ำนาจทรัพย์สิน บางทีท�ำให้เจ้าหน้าที่รัฐหวั่นไหวง่ายมาก เพราะมันเยอะมาก เพราะว่าผู้ลงทุนเขา กล้ า เล่ น ---ระดั บ ชาติ กั น แล้ ว เขาดู ผ ล ประโยชน์กันยาว ผลประโยชน์ตอบแทน เขาสูง” พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ เปิดเผยว่าขณะนี้ เมื อ งนครการบุ ก รุ ก ป่ า ลดลง “เราใช้ นโยบายประนีประนอมกับชาวบ้าน เรา บอกเรารู้ว่าคุณบุกรุกนะ--ถอยเถอะ มี ช่วงหนึ่งที่ใช้ความรุนแรงไปโค่น ผมใช้ วิ ธี ป ระนี ป ระนอมบอกเขาว่ า ใช้ ต รงนี้

เป็นแนวก็แล้วกัน นี่คือเขตป่า คุณรุกไป ปลูกยางปลูกปาล์มเราก็โค่นพอให้เป็น สัญลักษณ์ว่านี่คือเขตป่านะ ถ้าโค่นหมด ร้อยไร่ ทางป่าไม้หรืออุทยานฯ เขาไม่มี เจ้าหน้าที่ไปเฝ้า ชาวบ้านก็รุกอีก ผมบอก ว่ า ใช้ ต รงนี้ เ ป็ น แนวนะ หลายๆ กรณี ประสบความส�ำเร็จ บางคนมีคดีกับป่าไม้ เราก็ช่วยไกล่เกลี่ยกัน” เรื่องราวความเดือนร้อนหรือความ ไม่ยุติธรรมส่วนมากชาวบ้านร้องเรียนไป ยังศูนย์ด�ำรงธรรม ถ้าทางจังหวัดสามารถ แก้ ป ั ญ หาได้ ก็ ใ ห้ จั ด การ ซึ่ ง บางกรณี จังหวัดวางแผนท�ำเองได้ “หน้ า ที่ ดู แ ลประชาชนเป็ น ของ จังหวัดอยู่แล้ว รัฐบาลสั่งให้เขาตั้งศูนย์ ด�ำรงธรรมงานมันเพิ่มขึ้น เมื่อรัฐบาลสั่ง มาเขาก็ต้องท�ำ เรื่องบางเรื่องเขาท�ำได้ดี กว่าทหารด้วยซ�้ำ เพราะหน่วยข้าราชการ ขึ้นกับผู้ว่าฯ ทั้งหมด ผู้ว่าฯ ก็สั่งได้เลย บางกรณีเขาเชี่ยวชาญกว่าเรา” ถามว่ารัฐบาลภายใต้การสนับสนุน ของ คสช. บริหารบ้านเมืองปีกว่าๆ ผล งานเป็นอย่างไรบ้าง “ผมว่าดีขึ้นมากครับ จากเมื่อก่อน ไม่เคยคุยกันเลย บริโภคข้อมูลด้านเดียว แดงก็บริโภคข้อมูลแดงอย่างเดียว เหลือง ก็บริโภคข้อมูลเหลืองอย่างเดียว แดงก็ ไม่ฟังเหลือง เหลืองก็ไม่ฟังแดง คือไม่ฟัง กันเลย แต่ช่วงหลังมาพูดกัน --ผมว่าดี ขึ้น ความขัดแย้งตรงนี้มันลดลง ผมเป็น ตั ว กลางให้ ห ลายๆกรณี หลายๆเหตุ การณ์ เขาพูดกันเข้าใจ จับไม้จับมือกัน เราคนไทยด้วยกัน แตกแยกความคิดกัน ช่วงนั้น ในสถานการณ์นั้นคิดกันอย่างนั้น พอมาถึงตรงนี้เราต้องมาเปลี่ยนความคิด เปลี่ยนทัศนคติกันใหม่ ว่าเฮ้ยมันไม่ใช่ แล้วนะ เมื่อคุยกันได้สิ่งที่ไม่เข้าใจมันจะ ลดลง—ความขัดแย้งลดลง ความรุนแรง ก็ลดลง เริ่มหันมาสนใจกับชีวิตความเป็น อยู่ สนใจเศรษฐกิจของตนเองมากกว่าขัด แย้งทางความคิด” ปลายปี ๒๕๕๘ จะเปิดประชาคม อาเซียน มทบ.ที่ ๔๑ มีหน้าที่ดูแลเรื่อง ความมั่นคงตามนโยบายของกระทรวง กลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก “เรา สามารถให้ความมั่นใจได้ว่า เราสามารถ ควบคุมเหตุการณ์ในพื้นที่ไม่ให้เกิดภาพ ที่ ไ ม่ ดี หรื อ การลงทุ น ของต่ า งชาติ ใ น อาเซียนที่เข้ามา เราสนับสนุนการเปิด ประชาคมอาเซียน และสร้างความมั่นใจ ในการที่เขาจะเข้ามาในพื้นที่ การเปิด อาเซียนท�ำให้การเคลื่อนย้ายประชากร ง่ า ยขึ้ น หน่ ว ยทหารตามชายแดนต้ อ ง (อ่านต่อหน้า ๙) เพิ่มมาตรการในการ


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ปเจอใครก็ได้แต่บ่นว่าปีนี้ท�ำไมถึงได้ แต่ยอดขาย ส่วนก�ำไรลดลงเมื่อเทียบ กับปีที่ผ่านมา บางรายยอดขายก็ลดลง ก�ำไรไม่ต้องพูดถึงแทบจะไม่มีเอาเสียเลย บางรายถึงกับขาดทุนแต่ก็ต้องทนต่อไป ได้แต่หวังว่าคงจะดีขึ้นในช่วงไตรมาสที่ ๔ (ตุลาคม-ธันวาคม) ในบทบาทของที่ ปรึกษาธุรกิจท�ำให้ต้องหากลยุทธ์ใหม่ๆ มาประคองยอดขายและก�ำไรไม่ให้ตกต�่ำ ไปกว่าปีที่ผ่านมา จากผลประกอบการ ใน ๘ เดือน ที่ผ่านมาเมื่อมาดูงบก�ำไร ขาดทุนท�ำให้เห็นประเด็นปัญหาว่าเกิด จากยอดขายที่ไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย จึงต้องมีการเพิ่มโปรโมชั่นแข่งกันที่ราคา มากขึ้นส่งผลให้ก�ำไรขั้นต้นลดลง ในขณะ ที่ ต ้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยเรื่ อ งคนก็ ก ลั บ สู ง ขึ้ น ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคก็เพิ่มขึ้นโดยรวม ก็คือค่าใช้จ่ายในทุกรายการไม่ได้ลดลง ส่งผลต่อก�ำไรสุทธิลดลงและนี่คือโจทย์ที่ ท้าทายผู้ประกอบการเป็นอย่างมาก เรา มาดูต่อกันนะครับ ค� ำ ถามแรก ยอดขายที่ ต กต�่ ำ ลง จะแก้ไขได้อย่างไร? ก็จะมีการลงในราย ละเอียดว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่ท�ำให้ยอด ขายตกไป ค�ำตอบง่ายๆ ก็คือลูกค้าลดลง การซื้อต่อครั้งลดลง แต่ถ้าเราพิจารณา ไปลงลึกกว่านั้นอาจพบว่าเกิดจากการ แข่ ง ขั น ที่ ม ากขึ้ น มี คู ่ แ ข่ ง เข้ า มาเปิ ด บริการแล้วแย่งส่วนแบ่งไปจากเราหรือ

หน้า ๗

“ถ้าคุณก�ำลังจะหมดสิ้นเรี่ยวแรงและต้องเดินต่อไป” การตั้งค�ำถามกับตัวเอง ค�ำถามกับผู้อื่น ขอให้คุณเดินออกไปถามหาความรู้กับคนที่เขาส�ำเร็จ อย่าด่วนตัดสินใจด้วยตัวคุณเอง ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร? ขอให้ออกไปฟังให้มากด้วยการตั้งค�ำถาม

ไม่ ? ในกรณี ที่ เ รามี สิ น ค้ า หลายรายการ ก็ ต ้ อ งมาดู ต ่ อ ว่ า มี สิ น ค้ า กลุ ่ ม ไหนเติ บ โต กลุ่มไหนลดลงไปบ้าง โดยทั่วไปการเพิ่ม ยอดขายจะมีการเพิ่มกลุ่มสินค้าใหม่ๆ ที่ ไม่เคยขาย พูดให้ง่ายๆ ก็คือเมื่อมีของใหม่ มาขายก็เท่ากับเพิ่มยอดให้เติบโตจากปี ที่แล้ว ส่วนการเปิดสาขาใหม่จะท�ำให้ยอด ขายเติบโตได้เช่นกัน เราจึงมักเห็นธุรกิจ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ที่มีเงินทุนจะใช้ โอกาสนี้ขยายสาขาเปิดร้านใหม่ เพื่อสร้าง ยอดขายโดยรวมให้เติบโตและเพิ่มอ�ำนาจ การเข้าไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดมากขึ้น แต่ส�ำหรับรายเล็กที่ไม่มีเงินทุนและกระแส เงิ น สดไม่ ค ล่ อ งตั ว ก็ อ าจท� ำ ไม่ ไ ด้ บ้ า งก็ ติดขัดเรื่องการวางระบบและการพัฒนา คนที่จะเข้าไปดูแลสาขาใหม่ จากสภาพ ดังกล่าว ได้บ่งชี้ให้เห็นว่าการแข่งขันที่นับ วันที่รุนแรงมากขึ้นเปิดโอกาสให้กับธุรกิจ ที่ มี ก ารวางแผน มี ร ะบบการท� ำ งานที่ มี ประสิทธิภาพมีเงินทุนส� ำรองและเครดิต

กับทางสถาบันการเงินได้ดี บวกกับภาพ ลักษณ์ของร้านติดตลาด (Brand แข็งแรง) จะเติบโตต่อไปได้ในขณะธุรกิจที่ท�ำด้วยตัว คนเดียวหรือธุรกิจครอบครัวกิจการขนาด เล็กไม่สามารถสร้างระบบขึ้นมาได้ อาศัย ศั ก ยภาพของเจ้ า ของเพี ย งอย่ า งเดี ย วก็ จะอยู่ได้ในระดับที่แค่เอาตัวรอด อาศัย จั ง หวะดี มี โ อกาสก็ ไ ปได้ ช่ ว งไหนไม่ มี ก็ แทบเอาตัวไม่รอด ค�ำถามที่สอง จะบริหารค่าใช้จ่าย ให้ลดลงได้อย่างไร? เปิดประเด็นนี้ก็มาถึง ลูกจ้างจะลดลงได้มั้ย? จะลดเงินเดือน ค่า ตอบแทนท�ำไม่ได้ เพราะท�ำให้ลูกจ้างไม่ อยู่ และอาจผิดกฎหมายแรงงานด้วย ก็ ต้องมาดูเรื่องค่าน�้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าขนส่ง ค่า การตลาดโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ ค่าใช้จ่า ยอื่นๆ รวมถึงดอกเบี้ยเงินกู้ (ถ้ามี) การลดค่าใช้จ่ายจึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก เพราะถ้าลดก็อาจส่งผลต่อการบริการกับ ลูกค้าซึ่งอาจท�ำให้ยอดขายลดลงไปด้วย จะแย่เข้าไปอีก

ค� ำ ถามที่ ส าม แล้ ว ต่ อ ไปจะเป็ น อย่างไร? จะไปต่อหรือจะเปลี่ยนแปลงไป ท�ำธุรกิจอย่างอื่น? ค�ำถามนี้ผมเชื่อว่าอยู่ ในใจของหลายๆ คนที่ตกอยู่ในสภาพที่ กลืนไม่เข้าคายไม่ออก “โตก็ไม่ได้ตายก็ ไม่เป็นล�ำเค็ญนัก” สภาพธุรกิจถ้าตกอยู่ ในสภาพนี้จะต้องมีทักษะในการเลือกที่ ส�ำคัญมาก บวกการตัดสินใจที่จะหาทาง เลือกใหม่เพื่อสิ่งที่ดีกว่า ช่วงนี้ส�ำคัญมาก ครับ “ถ้าคุณก�ำลังจะหมดสิ้นเรี่ยวแรง และต้องเดินต่อไป” การตั้งค�ำถามกับ ตัวเอง ค�ำถามกับผู้อื่น ขอให้คุณเดิน ออกไปถามหาความรู้กับคนที่เขาส�ำเร็จ อย่าด่วนตัดสินใจด้วยตัวคุณเองไม่ว่า จะเป็นอย่างไร? ขอให้ออกไปฟังให้มาก ด้วยการตั้งค�ำถาม การไม่ตัดสินและสรุป อะไรง่ายเกินไปจากความเชื่อเดิมๆ หรือ องค์ ค วามรู ้ เ ดิ ม เท่ า กั บ คุ ณ เปิ ด ทางให้ ตั ว คุ ณ ออกไปสู ่ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการเดิ น ทางครั้งใหม่กับเส้นทางใหม่ที่ไม่เหมือน เดิม ขึ้นอยู่กับว่าวิธีการคิดวิธีการเลือก ของคุณเป็นอย่างไร? ผมมักจะบอกกับ ทีมงานผู้บริหารเสมอว่าวันนี้ให้เปลี่ยนวิธี การเลือกใหม่ ด้วยการก�ำหนดเป้าหมาย ให้ชัดเจนว่าต้องการอะไร? ก�ำหนดเวลา ด้วยว่าเมื่อไร? แล้วค่อยมาพิจารณาวิธี การ กระบวนการ หรือเส้นทางกับยาน พาหนะจะไปสู่เป้าหมายอย่างไร? ภายใน เวลาที่ก�ำหนดไว้ มีคนส�ำเร็จกล่าวไว้ว่า “ถ้ายังคิดและท�ำแต่สิ่งเดิม ๆ ก็จะได้ ผลลัพธ์เดิมๆ” ไม่เคยท�ำ-ก็เลือกท�ำ เมื่อ เลื อ กท� ำ แล้ ว ก็ จ ะเห็ น โอกาสและความ เป็นไปได้ครับ นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๗/๙/๕๘

เดือนตุลาคม ๒๕๕๘ วันจันทร์ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ แรม ๘ ค�่ำ เดือนสิบ(๑๐) ปีมะแม วันจันทร์ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๘ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบ(๑๐) ปีมะแม วันอังคารที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสิบเอ็ด(๑๑) ปีมะแม วันอังคารที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ (วันออกพรรษา) ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบเอ็ด(๑๑) ปีมะแม


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

(Thailand Tourism Awards) ครั้งที่ ๑๐ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และยกระดั บ ผู ้ ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวทุกสาขา ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยว ท�ำให้ เกิดการพัฒนาและแข่งขันเชิงคุณภาพด้านการบริหาร จั ด การทางการท่ อ งเที่ ย วในมิ ติ ข องคุ ณ ค่ า และความ ยั่งยืน โดยมีรางวัลกินรีเป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพ ของสินค้าและบริการที่สร้างการยอมรับแก่นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา นครศรี ธ รรมราช ได้ รั บ รางวั ล กิ น รี จ ากการประกวด รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) มาแล้ว ๒ จากการประกวดครั้งที่ ๘ ส่งเข้า ประกวดภายใต้ชื่อ ‘พิพิธภัณฑ์มีชีวิต’ ๙ ส่งเข้าประกวด ภายใต้ชื่อ ‘เที่ยวเพลิน เพลิน Play & Learn @ ศูนย์ วิทย์เมืองคอน’ และครั้งที่ ๑๐ ถือว่าได้รับรางวัล ๓ ครั้ง

ติดต่อกันนับว่าเป็นความภาคภูมิใจของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราชเป็ น อย่ า งยิ่ ง ทั้ ง นี้ เ กิ ด จากการประยุ ก ต์ ใ ห้ ก ารเรี ย นรู ้ ท างด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เป็นเรื่องที่สนุก น่าสนใจ และน่าเรียนรู้ โดยปีนี้ส่งผล งานเข้าประกวดภายใต้ชื่อ ‘เที่ยวเพลิน เพลิน Play & Learn @ ศูนย์วิทย์เมืองคอน’ ซึ่งมีแนวทางปฏิบัติที่ดี ในการจัดการพื้นที่ และการบริหารจัดการด้านต่างๆตาม เกณฑ์ที่ก�ำหนด เป็นแบบอย่างของการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน กิ จ กรรมของศู น ย์ วิ ท ย์ ฯ บริ ก ารจั ด ค่ า ยวิ ท ยาศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้แก่สถาบันการศึกษา องค์กรภาครัฐและ เอกชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื้ อ หาของกิ จ กรรมแบ่ ง เป็ น ๖

กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Play & Learn, กลุ่มพลังคนคิด, กลุ่ม ฝีไม้ลายมือ, กลุ่มป่าหินดินน�้ำ, กลุ่มถอดรหัสฟ้า และ กลุ่ม Science for Kids รวมทั้งการจัดแสดงนิทรรศการ ทางวิทยาศาสตร์ภายในศูนย์ให้ศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช เดิมชื่อ ‘ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช’ ก่อตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๗ ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๓๘ สมัย รัฐบาล ฯพณฯ ชวนหลีกภัย ซึ่งมีนายสัมพันธ์ ทองสมัคร เป็น รมว.กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันศูนย์วิทย์ฯ เป็น ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม ศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตาม อัธยาศัยสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้ง อยู่บริเวณวัดเขาขุนพนม ม. ๓ ต.บ้านเกาะ อ. พรหมคีรี จ.นครศรี ธ รรมราช นั บ เป็ น ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การ ศึ ก ษาในภู มิ ภ าคแห่ ง แรก ที่ ข ยายโอกาสการเรี ย นรู ้ ด้านวิทยาศาสตร์ให้แก่เยาวชนในต่างจังหวัด สนับสนุน ส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การจั ด กิ จ กรรมการศึ ก ษาด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ นั บ เป็ น การการกระจายความเจริ ญ ด้ า น วิทยาศาสตร์ ให้แก่จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัด ใกล้เคียง วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดอย่างเป็นทางการ ด้ ว ยภู มิ ป ระเทศที่ มี เ ขาขุ น พนมและคลองนอกท่ า ไหล ผ่าน จึงเหมาะแก่การจัดกิจกรรมเชื่อมโยงกับธรรมชาติ และวิถีชีวิต กล่าวคือ เขาขุนพนม คลองนอกท่า ชุมชน เขาขุ น พนม ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาในยุ ค ปฏิรูปการศึกษา ที่ต้องการให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ สัมผัส เชื่อมโยง สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการเรียนรู้ที่ยั่งยืน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๙

น� ำ กลั บ ไปใช้ ไ ด้ สุ ด ท้ า ยคนจะเห็ น ว่ า วิ ท ยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับเราตลอดเวลา การรับรางวัลครั้งนี้ท�ำให้ พวกเรายังคงมุ่งมั่นท�ำงานต่อไป เพื่อตอกย�้ำพื้นที่เล็กๆ ความสุขแห่งการเรียนรู้ของพวกเรา ค่ายถือเป็นสินค้า ที่ส�ำคัญของเรา เปรียบเหมือนอุตสาหกรรมที่ส่งมอบ คุณภาพให้ลูกค้ า ซึ่ง ททท. มีเกณฑ์เยอะมาก และ กรรมการได้ ม าตรวจตั้ ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ วันนี้แสดงให้เห็นว่าเราพร้อมพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืนให้คู่สังคมไทยสืบไป ก่ อ นนี้ ป ระสบอุ บั ติ เ หตุ ข ณะปั ่ น จั ก รยานการเดิ น ทางไปรับรางวัลมีอุปสรรคบ้างหรือเปล่า ถึงแม้ร่างกายจะไม่สะดวกมากนัก แต่ผมก็ขึ้นไป รับรางวัลด้วยตนเอง ถือเป็นการให้เกียรติองค์กรผู้จัด คือ ททท. ที่จัดเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย มาแล้ว ๑๐ ครั้ง ททท. มอบรางวัลให้เพราะมีแนวทาง ปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการจั ด การพื้ น ที่ แ ละการบริ ห ารจั ด การ ด้ า นต่ า งๆ ตามเกณฑ์ ที่ ก� ำ หนดเป็ น แบบอย่ า งของ การท่ อ งเที่ ย วที่ ยั่ ง ยื น นั บ เป็ น อี ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล อันน่าภาคภูมิใจ ความรู้สึกต่อรางวัลกินรี ผมคิดว่า ททท. ใช้ 'กินรี' เป็นเครื่องหมายของ รางวั ล นั บ ว่ า เหมาะสมที่ สุ ด เพราะกิ น รี เ ป็ น สั ต ว์ หิมพานต์ ที่รู้จักกันดีในวรรณคดีไทย เป็นตัวแทนความ สวยงามและความบริ สุ ท ธิ์ มื อ ถื อ ดอกบั ว แทนการ มอบความสะอาด สูงค่า และนกพิราบสื่อถึงสันติภาพ ภราดรภาพ อันเป็นทิศทางของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ที่รับใช้สังคมและสภาพแวดล้อม

ศูนย์วิทย์ฯได้รับรางวัลกินรีอีกครั้งรู้สึกอย่างไร รางวั ล อะไรไม่ ส� ำคั ญ เท่ า กั บ การรั ก ษาคุ ณ ภาพ แนวทางของ ททท. เป็ น ข้ อ ก� ำ กั บ ให้ ผู ้ ม าเที่ ย วศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ ฯ มี ค วามสุ ข ผลประโยชน์ ไ ด้ กั บ ชุ ม ชน เราอยากให้ทุกคนได้มาท่องเที่ยวที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ ให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิถีชีวิต ไม่ใช่เป็นวิชาการ ที่น่าเบื่อ ปีนี้ได้รับรางวัลครั้งที่ ๓ ติดต่อกัน ต่อไปยังจะส่ง เข้าประกวดอีกไหม การรักษาคุณภาพส�ำคัญกว่ารางวัลที่ได้รับ อีก ๒ ปี ข ้ า งหน้ า กั บ การประกวดครั้ ง ที่ ๑๑ เราทุ ก คน มุ่งมั่นท�ำความดีและจะมายืนบนเวทีอันทรงเกียรตินี้ วันที่ ๒๗ กันยา ขึ้นไปรับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทยครั้งที่ ๑๐ ครั้งนี้นับเป็นครั้งที่ ๓ ประเภทแหล่ง ท่องเที่ยว นันทนาการเพื่อการเรียนรู้ ด้วยที่จัดค่าย ติดต่อศูนย์วิทย์ฯ โทรศัพท์ ๐๗๕-๓๙๖๓๖๓, รูปแบบต่างๆ มาตลอด เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โทรสาร ๐๗๕-๓๙๖๓๖๔ ที่ มี ค วามสุ ข เรี ย นปนเล่ น เห็ น คุ ณ ค่ า ของการเรี ย น << ต่อจากหน้า ๔

บาสเกตบอล วัวชน ชกมวย การแสดงของมโนราห์ หนัง ตะลุง ลิเก ล�ำตัด หนังฉาย คึกคักจนเป็นงานระดับภาค ชาวต่างจังหวัดเดินทางมาบูชาพระบรมธาตุและมาเชียร์ หนังมโนราห์หรือกีฬาของตน ทั่วทุกจังหวัดในภาคใต้ เป็นงานยิ่งใหญ่ของภาคใต้โดยแท้ ปี ๒๕๒๑ วิ ท ยาลั ย ครู น ครศรี ธ รรมราชสมั ย นั้ น ริเริ่มน�ำประเพณีวัฒนธรรมส�ำคัญของเมืองคือ ‘หมฺรับ เดื อ นสิ บ ’ มาจั ด ประกวดแข่ ง ขั น เป็ น ครั้ ง แรก จนปี ถัดมาจึงพัฒนาไปเป็นการ ‘แห่หมฺรับ’ ในที่สุด ททท. นครศรีธรรมราชก็น�ำการแสดง ๔ ภาคมาสร้างสีสันของ งานได้น่าเที่ยวยิ่งขึ้น จนถึงปี ๒๕๒๘ ผู้ว่าฯ เอนก สิทธิประศาสน์ ได้ ใ ช้ ง บพั ฒ นาจั ง หวั ด เข้ า มาสนั บ สนุ น ให้

อ�ำเภอต่างๆ ตกแต่งรถหมฺรับให้ยิ่งใหญ่อลังการเทียบเท่า รถบุปผชาติระดับสากลประเทศ งานเดือนสิบรุ่งเรืองก้าวหน้ามาได้ ๖๐ กว่าปีก็มา ถึงยุคเสื่อมถอยเมื่อปี ๒๕๓๑ ผู้ว่าฯนิพนธ์ บุญญภัทโร ได้เปลี่ยนงานเดือนสิบของเมืองมาให้ผู้รับเหมาพื้นที่จัด งานเอง หน่วยงานราชการ อ�ำเภอ โรงเรียน ไม่ท�ำรายได้ ค่าเช่าให้เป็นที่พอใจ ก็ต้องเริ่มถดถอยออกไป ยกเลิกไป หลีกทางให้พ่อค้าแม่ค้าอาชีพค้าขายเร่เข้ามาแทน การ กีฬาต่างๆ ก็งดจัดไป หนังตะลุง มโนราห์ ก็เหลือพื้นที่ ในซอกในมุมมืด องค์กรเอกชนไม่มีส่วนร่วมอีกต่อไป คง เหลือแต่ด้านประเพณีแห่หมฺรับ ประกวดหมฺรับ ที่ทาง ม.ราชภัฏและเทศบาลยังเป็นแม่งานหลักจึงยังดูดีมีสง่า เชิดหน้าชูตาเทศกาลเดือนสิบอยู่ได้ ถึงปี ๒๕๓๕ ย้ายการจัดงานจากสนามหน้าเมือง ซึ่งจัดมา ๗๐ ปีไปทุ่งท่าลาดและเริ่มงดเก็บค่าผ่านประตู ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา เมื่อไปจัดที่ทุ่งท่าลาด คนรับเหมางานก็เริ่มมาจัดที่ วัดพระมหาธาตุด้วย ความไม่เหมาะสมของผู้รับเหมางาน เห็นแก่ได้จนเอาสิ่งไม่เหมาะสมเข้ามาจัดในเขตพุทธาวาส

<< ต่อจากหน้า ๖

ตรวจสอบ เราร่ ว มมื อ กั บ ส่ ว นราชการต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ชายแดน ถึงจะเสรีในการเคลื่อน ย้ า ยเท่ า ไรเราก็ ต ้ อ งมี ม าตรการ มี ข ้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ สามารถตรวจสอบได้ ตรงนี้เราค่อนข้างมั่นใจเพราะ มีแหล่งสนับสนุนหลายหน่วยงาน ในการตรวจสอบ ตามแนวชายแดน” พล.ต.ธีร์ณฉัฏฐ์ ย�้ำว่าการตรวจสอบเน้นเรื่อง ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี ไม่จ�ำเป็นต้องเปิดรถทุกคัน ซึ่งจะท�ำลายการเข้าสู่อาเซียนด้านสังคมหรือเศรษฐกิจ แต่จะอ�ำนวยให้การเดินทางสะดวก แม้ ง านล้ น มื อ พล.ต.ธี ร ์ ณ ฉั ฏ ฐ์ ยั ง แบ่ ง เวลา เล่นกอล์ฟออกก�ำลังกายกับก๊วนต่างวัย และถ่อมตัว ว่าฝีมือตัวเองแค่นักกอล์ฟสมัครเล่น “ก๊วนผมอายุ ยี่สิบ-สามสิบถึงหกสิบเจ็ดสิบ...เล่นหลังเลิกงาน เสาร์ อาทิตย์ถ้าไม่ติดภารกิจ ถ้าไม่เล่นก็ไปดูสักนิด ได้พูด คุยทักทายกัน” หากไปไม่ปฏิบัติราชการนอกสถานที่ท่านจะไป กินข้าวกับพ่อแม่แทบทุกวัน “ช่วงต้นๆ ชีวิตทหารผมไม่ได้อยู่กับครอบครัว ช่วงนี้มีโอกาสอยู่ใกล้ก็รีบท�ำเสียก่อน มันไม่เดือดร้อน เสียเวลาอะไรนัก” บิดาท่านบ้านเกิดอยู่คลองจินดา อ.สามพราน จ.นครปฐม มารดาอยู ่ ร าชบุ รี พบรั ก ที่ น ครศรี ธรรมราช แต่งงานอยู่กินและให้ก�ำเนิดบุตรชายที่ นครศรีธรรมราช บุตรชายที่พูดใต้ไม่ได้ แต่ฟังออก หมด ดูหนังตะลุงหัวเราะได้ตลอดคืน และสังฆาวาส จนถูกโจมตีทั้งหนังสือพิมพ์และทีวีเสื่อม เสียไปทั่วประเทศ แต่นับเป็นบุญของพระบรมธาตุของ เรา ปีนั้นได้มีการแต่งตั้งเจ้าอาวาสองค์ใหม่ พระคุณ ท่านได้งดการเหมางาน ยอมสูญเสียรายได้ที่ผู้รับเหมา จ่ายหลายแสนบาทมาให้ภาคเอกชนคือชมรมรักบ้านเกิด หอการค้า สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวและทวินโลตัสมาช่วย จัดงานแทน โดยไม่ได้รับค่าเช่าใดๆทั้งสิ้น นั่นคือที่มาของ การจัดตลาดย้อนยุคครั้งแรกของเมืองนคร การจัดกิจกรรมในวัดเป็นสิ่งละเอียดอ่อน จะน�ำมา เป็นธุรกิจท�ำมาหากินไม่ได้ บาปกรรมนัก การจัดตลาด ย้อนยุค ร�ำวงเวียนครกขึ้นครั้งแรก ประกวดเปรตครั้ง แรก ประกวดหมาวั ด ล้ ว นแล้ ว แต่ เ กิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกใน พ.ศ. ๒๕๔๔ แต่มันก็ยังไม่สมควรจัดขึ้นในเขตพุทธาวาสหรือในเขตสังฆาวาส เพราะคนจัดงานเห็นแก่ได้ก็ จะไม่ค�ำนึงถึงความเหมาะสมที่ท�ำในที่วัด เว้นไว้เป็นที่ ท�ำบุญเถิด ส่วนงานเดือนสิบที่ทุ่งท่าลาด เราก็หวังว่าจะ มีอัศวินม้าขาวคนใดที่จะมาสร้างประวัติศาสตร์ให้คน นครจารึกชื่อ หรือจะท�ำให้ผู้คนสาปแช่งตามหลังไปอีก นับร้อยปี


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๐

มรภ.นครฯ ชวนเยาวชนสืบสาน ร�ำโทนนกพิทิดของชาวกรุงชิง

อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ

ภิกษุทั้งหลาย! สมัยใดภิกษุเป็นผู้เห็นกายในกายอยู่เป็นประจ�ำก็ดี เป็นผู้เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจ�ำก็ดี เป็นผู้เห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจ�ำก็ดี เป็นผู้เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจ�ำก็ดี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ อภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ สมัยนั้นสติที่ภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง

กันยายนที่ผ่านมา คณาจารย์ และนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จั ด กิ จ กรรม “การประกวด และการแสดงร� ำ โทนนกพิ ทิ ด ” และเก็ บ ข้ อ มู ล ในพื้ น ที่ ต.กรุ ง ชิ ง อ.นบพิ ต� ำ จ.นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น มา รู ป แบบ ลั ก ษณะการร� ำ โทนนกพิ ทิ ด การ จัดอบรมเพื่อสืบทอดการละเล่นพื้นบ้านประเภทนี้แก่ เยาวชน ตลอดจนจัดท�ำเป็นวิดีทัศน์เพื่อเผยแพร่ภาย ใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากส�ำนักบริหารโครงการส่ง เสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัย วิจัยแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ต.กรุงชิง ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม และยังคงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์ ทั้งเขา ถ�้ำ น�้ำตก และแหล่งท่องเที่ยว อื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจนมีศิลปะการละเล่นท้อง ถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ และมีการรักษาสืบทอดมาอย่าง ยาวนาน โดยเฉพาะ “การร�ำโทน” จากการสัมภาษณ์ ชาวบ้านที่นี่หลายท่าน พอสรุปได้ว่าการร�ำโทนเกิด ขึ้นมาตั้งแต่สมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ และใน สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม การร�ำโทนได้รับความ นิยมมากขึ้น เนื่องจากเป็นเครื่องบันเทิงเริงใจระหว่าง ที่ มี ภั ย สงคราม ได้ แ พร่ ก ระจายมาจากภาคกลาง จนถึง จ.นครศรีธรรมราช และมี “ครูแนบ” ปราชญ์ ด้านศิลปะการแสดงไปเห็นและจดจ�ำมาใช้ร้องร�ำใน พื้นที่ ต.กรุงชิง มีการเพิ่มเพลงร้อง ท่าร�ำที่สอดคล้อง กั บ บริ บ ทของท้ อ งถิ่ น อย่ า งเช่ น เพลงนกพิ ทิ ด

และสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ประกอบ ด้วยการแสดงร�ำโทนนกพิทิดจากปราชญ์ ชาวบ้าน ที่สืบทอดการร�ำมาจากครูแนบ ครูคนแรกของการร�ำโทนนกพิทิดในกรุง ชิง กลุ่มนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช และกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ ต.กรุงชิง โดยระหว่างการแสดงมีการบันทึกเทปวิดี ทัศน์เพื่อผลิตเป็นวิดีทัศน์ใช้ในการเรียนรู้ท่าทางการ ร้องการร�ำ และการเผยแพร่สู่สาธารณชน คุ ณ ครู ฉ วี ว รรณ สุ ป ระดิ ษ ฐ์ คุ ณ ครู โ รงเรี ย น บ้านพิต�ำ ผู้ฝึกสอนการร�ำโทนแก่นักเรียนชั้นประถม ศึกษา กล่าวว่า ที่โรงเรียนจะฝึกนักเรียนด้วยระยะ เวลาสั้นๆ ส่วนใหญ่จะฝึกนักเรียนชั้น ป.๖ และเชิญ ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนมาช่วยในการฝึกด้วย การ จัดกิจกรรมในครั้งนี้ จึงรู้สึกดีใจมากที่ทุกฝ่ายช่วย กันอนุรักษ์การละเล่นประเภทนี้ และอยากให้มีการ ถ่ายทอดการร�ำโทนนกพิทิดขึ้นอีก เพราะอย่างน้อย ชาวบ้าน ต.กรุงชิง จะได้มีความสัมพันธ์กัน สร้าง ความรู้สึกที่ดีต่อกัน และเกิดความรักสามัคคีในหมู่ คณะอีกด้วย

‘เ

ล่อซาน’ เป็นมรดกโลกและเป็นหนึ่ง ในเจ็ ด สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ข องประเทศ จี น อยู ่ ม ณฑลเสฉวนฝั ่ ง ตะวั น ตกชื่ อ ‘เมื อ งเล่ อ ซาน’ มี ต ลาดเก่ า แก่ และที่ นี่ มี พ ระพุ ท ธรู ป ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลกอยู ่ ในหน้าผามีป่าล้อมสามด้าน ด้านหน้า พระพุทธรูปเป็นแม่น�้ำมาบรรจบพบกัน สามสาย คือ ต้าตู ชิงอี้ หลิงเจีย รวมไปถึง แม่น�้ำสายใหญ่คือแม่น�้ำแยงซีเจียง แม่น�้ำ ทั้ ง สามสายมารวมกั น เกิ ด เป็ น สายน�้ ำ ปั่นป่วน คร่าชีวิตผู้คนเป็นจ�ำนวนมาก ในแต่ละปี ผู้คนมีความเชื่อว่าเป็นปีศาจ ร้ายในแม่น�้ำมาคร่าชีวิตผู้คน มีพระสงฆ์ ในพุทธศาสนาองค์หนึ่งคิดค้นหาวิธีช่วย เหลื อ คนให้ พ ้ น จากฝี มื อ ปี ศ าจร้ า ย จน กระทั่ ง พบวิ ธี นั่ น คื อ ใช้ ‘พระพุ ท ธรู ป ที่ ใหญ่กว่าแม่น�้ำ’ มาปราบปีศาจร้าย พระ สงฆ์ผู้นี้คือ ‘อาจารย์ไห่ตง’ ท่านจึงได้ ออกตระเวนเรี่ยไรเงินทั่วแผ่นดินจีน ได้ เงินมามากมาย มาว่าจ้างช่างฝีมือเยี่ยม ที่สุดของจีนยุคนั้น คือ ‘หยิ่งลี่’ มาเป็น

แม่ ก องที ม แกะสลั ก ใช้ เ วลาแกะสลั ก ถึ ง สิบปีได้เพียงเศียรพระพุทธรูปเท่านั้น ท่าน ก็ได้มรณภาพลง งานแกะสลักว่างเว้นมา หลายสิบปี จึงมีกษัตริย์จีนในราชวงศ์ซ่งมา สร้างต่อจนเสร็จสมบูรณ์ รวมเวลาในการ สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ถึง ๙๐ ปี พระพุทธรูปเล่าซาน สร้างมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๑๒๔๓ เป็นยุคก่อนพระบรมธาตุ เจดีย์ทรงระฆังคว�่ำของเรา มีความสูง ๗๑ เมตร สูงกว่าพระพุทธรูปที่ ‘บาปิยัน’ ใน

อัฟกานิสถาน สูงกว่า ‘เทพีสันติภาพ’ ของ อเมริกา สูงกว่ารูป ‘พระเยซู’ที่ริโอ เดอ จาเนโรของบราซิล หุบเขาโดยรอบมีหน้า ผาและถ�้ำแกะสลักพระพุทธรูปนับพันองค์ พระพุทธรูปเล่อซาน ชาวจีนถือว่า เป็นสมบัติอันศักดิ์สิทธิ์มากกว่าการเป็น ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวเสียอีก เช่นเดียวกับ พระบรมธาตุเจดีย์ของเรา รัฐบาลจีนทุ่ม เงินหลายร้อยล้านบาทในการบูรณะโดย ใช้เวลานานถึง ๖ ปี ยอมปิดการเข้าเยี่ยม

นางสาวนุฬญา ทรงเลิศ นางสาวณิชกมล เชียรวิชัย นักศึกษาชั้นปีที่ ๒ วิชาเอกการประชาสัมพันธ์ หลักสูตรนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ชมนานนั บ ปี เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง ภั ย คุ ก คาม พระพุทธรูปเล่อซานมีหลายประการ แม้ การเกิดแผ่นดินไหวในเมืองเสฉวนที่ผ่าน มา ผู้คนเสียชีวิตหลายร้อยคน แต่องค์ พระกลับเสียหายเพียงเล็กน้อยมาก ความ เสียหายที่เกิดขึ้นสูงสุดคือ ‘ฝนกรด’ ที่ เกิ ด จากโรงงานอุ ต สาหกรรมที่ อ ยู ่ ใ กล้ เคียง จนเกิดคราบสนิมปูนไหลย้อยออก มาใต้ดวงตาเป็นทางด�ำยาว จนผู้คนกล่าว ขานว่าพระพุทธรูปเลอซานร้องไห้ จนถึง ขั้นรัฐบาลจีนสั่งปิด ‘โรงงานถ่านหิน’ ใกล้ เคี ย งจนหมด ภั ย คุ ก คามด้ า นมลภาวะ อากาศเป็นพิษกรดลดลง กลับมีภัยร้าย จากกระแสน�้ ำ คุ ก คามอี ก ซึ่ ง รั ฐ บาลจี น ก� ำ ลั ง แก้ ไ ขอยู ่ ได้ ผ ลเป็ น ที่ น ่ า พอใจ กระแสน�้ ำ ของแม่ น�้ ำ สามสายที่ ม ารวม กั น มี ค วามรุ น แรงถึ ง ขั้ น จมเรื อ คร่ า ชี วิ ต ผู ้ ค นในสมั ย ก่ อ นการสร้ า งพระพุ ท ธรู ป เมื่ อ สร้ า งพระพุ ท ธรู ป เสร็ จ กระแสน�้ ำ ก็ ลดความเชี่ยวกรากลง ลดความรุนแรง ลง การเดินเรือปลอดภัยขึ้น ชาวจีนต่าง เชื่อว่าเป็นเพราะความศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธรูป แม้ภายหลังจะทราบว่าเศษหิน ที่แกะสลักพระพุทธรูปหล่นลงในแม่น�้ำ จ�ำนวนมหาศาลเป็นเหตุให้กระแสน�้ำลด


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๑

รายงาน จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร (แทน)

'รั

กบ้ า นเกิ ด ' ฉบั บ นี้ คุ ณ สุ ธ รรม ชยั น ต์ เ กี ย รติ (โกแอ๊ ด ) บอกเล่ า ความเป็นมาของ 'งานเดือนสิบแรกจัด' หรือ 'งานเดือนสิบแต่แรก' สืบมาจนถึง อดี ต ผู ้ ว ่ า ฯ คนใต้ ย กงานประเพณี ใ ห้ คาราวานสินค้าซื้อเหมาหรือประมูลไป

ความเชี่ยวกรากลง ก็ยังเชื่อว่านั่นเป็น เพราะอานุภาพของการสร้างพระพุทธรูป ขนาดยักษ์นั่นเอง พระพุ ท ธรู ป เมื อ งเล่ อ ซาน ได้ รั บ การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ มี ผู ้ ค นเดิ น ทางไปสั ก การะองค์ พระพุทธรูปปีละ ๒ ล้านกว่าคน คนจีน เชื่อว่าชาวพุทธทุกคนจะต้องได้ไปสัมผัส เท้ า ของพระพุ ท ธรู ป ครั้ ง หนึ่ ง โดยเชื่ อ ว่ า ‘ในวาระสุ ด ท้ า ยของชี วิ ต จะได้ พึ่ ง พระพุทธเจ้า’ โดยการกอดขาขององค์ พระพุทธรูปเล่อซาน

จ�ำกัด ๕๐,๐๐๐ บาท ภาคเอกชนเหล่านี้ เข้ามาลงทุนและใช้ทรัพยากรสร้างผลก�ำไร ผู ้ ว ่ า ฯ พี ร ะศั ก ดิ์ เองยั ง เป็ น แปลก ใจที่งานประเพณีบุญสารทเดือนสิบและ งานกาชาดจังหวัด ที่ยิ่งใหญ่จัดมาเกือบ ๑๐๐ ปี แต่ไม่มีหน่วยงานราชการใดตั้ง งบประมาณเผื่ อ การจั ด งาน โดยเฉพาะ งบประมาณสนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรม ต่างๆ ตลอด ๑๐ วัน เมื่อรวมกับเงินจาก ผู ้ จั ด งาน ๓.๔ ล้ า นบาท งบฯ ใช้ จ ่ า ยมี จัด ศิลปะพื้นถิ่นศิลปินพื้นบ้านถูกเบียด ถึง ๔.๒ ล้านบาท ปีต่อไปผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ เข้าซอย โกแอ๊ดเกรงใจที่จะบอกว่างาน ขอให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตั้งงบ เทศกาลเดื อ นสิ บ เบนออกนอกทิ ศ ทาง ประมาณสนั บ สนุ น การจั ด งานประเพณี ไปตามยุค เอกชนคนนอกมาชี้นิ้วให้ชาว นคร หมายถึงให้ส่วนราชการหลายๆ ส่วน ตั้งแต่จังหวัด อ�ำเภอเป็นผู้จัดท�ำให้พวก เขาขายของได้ เราไม่เคยรู้ว่าเอกชนผู้รับ เหมาจ่ายค่าชี้นิ้วเท่าไร อันนี้ไม่นับรวมกับ งบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ดูเอา จริงเอาจังกับงานเดือนสิบอย่างมาก ถึง ขนาดรณรงค์ ใ ห้ ช าวนครกลั บ บ้ า นมา ท�ำบุญวันสารท เพราะแนวทางรณรงค์น่า สนใจ ภาคเอกชนที่ไม่ใช่ผู้รับเหมาจัดงาน ๕ ราย ควักกระเป๋ารวมกัน ๘๐๐,๐๐๐ บาท สนั บ สนุ น งานประเพณี บุ ญ สารท เดือนสิบและงานกาชาดจังหวัด ภาคเอกชน ๕ ราย ได้แก่ บริษัท ซีพี แลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) บริจาค ๒๐๐,๐๐๐ บาท, บริษัท เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจ และผลิต จ�ำกัด จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท, บริษัท ปตท.จ�ำกัด (มหาชน) โรงแยกก๊าซ ธรรมชาติขนอม ๑๐๐,๐๐๐ บาท, บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย(ทุ่งสง) จ�ำกัด ๑๐๐,๐๐๐ บาท, บริ ษั ท อิ น เตอร์ ฟาร์ อี ส ท์ วิ น ด์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ๑๐๐,๐๐๐ บาท บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอมจ�ำกัด ๕๐,๐๐๐ บาท และบริษัท มาเก็ตติ้งคอมมูนิเคชั่น

บุญสารทเดือนสิบและงานกาชาดจังหวัด ผมไม่ทราบว่าเงิน ๔.๒ ล้านบาท แบ่งปันให้หน่วยงานไหนบ้าง อยากขอ ร้องดังๆ (ผมคิดว่ายังทันการณ์) ว่าให้ แบ่งปันเม็ดเงินเป็นค่าอาหารแก่ต�ำรวจ โดยเฉพาะต�ำรวจต่างอ�ำเภอที่เดินทางมา รักษาความปลอดภัยทั้งภายในและรอบ ตัวเมือง บริเวณตั้งด่านไม่มีห้องน�้ำ ไม่ ได้อาบน�้ำและบางคนกินข้าวไม่ครบมื้อ การปฏิบัติหน้าที่หากปราศจากความสุข ถ้าคิดว่าพวกเขามีเงินเดือนอยู่แล้ว ก็อย่า เพิ่งหวังผลอันเลิศเลย ขอบคุณภาพจาก ไพฑูรย์ อินทศิลา


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๒

เรียบเรียงโดย นพ.ทฎะวัฏร์ พิลึกภควัต จิ ต แพทย์ เ ด็ ก และวั ย รุ ่ น

รคภู มิ แ พ้ โรคภู มิ แ พ้ เ ริ่ ม กลายเป็ น โรคสุดฮิตของคนไทย ซึ่งสร้างความ ทรมานให้ กั บ ผู ้ ป ่ ว ยอย่ า งเหลื อ คณานั บ โดยเฉพาะตามเมื อ งใหญ่ ที่ อ ากาศไม่ บริ สุ ท ธิ์ สาเหตุ ภู มิ แ พ้ ส ่ ว นใหญ่ เ กิ ด ฝุ ่ น ละอองที่ลอยอยู่ในอากาศเรามองไม่เห็น ท�ำให้เกิดอาการแพ้ คัดจมูก น�้ำมูกไหล เป็ น ไม่ ม ากแต่ เ รื้ อ รั ง ก่ อ ความร� ำ คาญให้ ไม่สะดวกในการท�ำงาน สาเหตุป่วยเป็น โรคภูมิแพ้ ก็รู้ๆ อยู่แต่ไม่สามารถแก้ไขให้ หายขาดได้ เพราะฝุ่นมีอยู่ทั่วไป ท�ำให้เป็น โรคเรื้อรังประจ�ำตัวกันมาก โรคภูมิแพ้ จากฝุ่นละออง บางคน โชคดีไม่แพ้ ผู้ที่แพ้จะมีอาการมากน้อย ต่างกัน อาการภูมิแพ้ที่พบบ่อยๆ ผิวหนัง : ผื่นคัน, ลมพิษ, ผิวหนัง ลอก, ตัวบวมแดง จมู ก และหู : คัดจมูก, น�้ำมูกไหล, จาม, ไซนัสอักเสบ, ริดสีดวงจมูก, ไอ, หู น�้ำหนวก ปอด : หลอดลมตีบ ท�ำให้เกิดอาการ หอบหืด, หายใจล�ำบาก, ไอ ทางเดินอาหาร : ท้องอืด, แน่นท้อง, อาหารไม่ย่อย, ท้องเสีย, ท้องผูก, แผล ร้อนใน หัวใจและหลอดเลือด : หัวใจเต้น ผิดปกติ, ความดันโลหิตสูง หรือ ความดัน โลหิตตก สมอง : ซึมเศร้า, วิตกกังวล, ตกใจ ง่าย, เด็กออติสติก, เด็กสมาธิสั้น, มึนงง, นอนไม่หลับ, เกิดอาการชัก, ความจ�ำไม่ดี, เวียนศีรษะ, ไมเกรน

ข้อต่างๆ และกล้ามเนื้อ : ภาวะ ข้อเสื่อม, ปวดข้อ, ข้อบวม, ปวดเมื่อย, กล้ามเนื้อทั่วไป นอกจากยาแล้ว เรายังมีตัวช่วย ป้องกันความทรมานจากอาการของโรค นี้ ซึ่งได้แก่อาหารดังต่อไปนี้ ๕ กลุ่มอาหารต้านภูมิแพ้ • กลุ่มวิตามินซี วิตามินซีมีบทบาท ในการป้องกันการหลั่งฮีสตามีน ซึ่งเป็น สารส� ำ คั ญ ในร่ า งกายที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ภู มิ แ พ้ อากาศ และการแพ้ต่างๆ แหล่งวิตามินซี ที่ส�ำคัญพบในผักใบเขียว อย่างต�ำลึง ผัก โขม บร็อคโคลี กะหล�่ำปลี และในผลไม้ รสเปรี้ยว เช่น สับปะรด ส้ม สตอเบอรี่ มะนาว ซึ่งเราอาจจะน�ำมาผสมท�ำเป็นเมนู ที่น่าทานได้มากมาย ง่ายๆ อย่างการชง ชาผสมเลมอนรสเปรี้ยว ก็ช่วยเพิ่มวิตามิน ซีให้กับร่างกาย ช่วยลดความรุนแรงของ อาหารภูมิแพ้ได้ดีเช่นเดียวกัน • กลุ ่ ม วิ ต ามิ น เอ ช่ ว ยในเรื่ อ งการ สร้ า งเนื้ อ เยื่ อ และช่ ว ยเสริ ม สร้ า งเยื่ อ บุ ต่ า งๆ ของร่ า งกาย ช่ ว ยบรรเทาอาการ

เมื่อได้รับสารกระตุ้นภูมิแพ้ได้ วิตามินเอ พบมากในกลุ่มผักผลไม้ที่มีสีเขียวเข้ม สี ส้ม หรือสีเหลือง เช่น ฟักทอง แครอท มะละกอสุก มะม่วงสุก แคนตาลูป มะเขือ เทศ เป็นต้น • กลุ ่ ม โปรตี น สามารถช่ ว ยสร้ า ง ภู มิ คุ ้ ม กั น ร่ า งกายได้ เพราะหน่ ว ยย่ อ ย ที่เล็กที่สุดของโปรตีนคือกรดอะมิโน ซึ่ง เป็นสารส�ำคัญในการน�ำไปสร้างภูมิคุ้มกัน ต่ า งๆ โดยโปรตี น จะมี ม ากในเนื้ อ สั ต ว์ ที่ เป็นเนื้อล้วน อย่างเนื้ออกไก่ เนื้อหมู และ ไข่ไก่ นอกจากนี้ก็ยังพบได้ในถั่วต่างๆ • กลุ ่ ม โอเมก้ า ๓ ช่ ว ยลดอาการ อักเสบ เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย และยัง สามารถต่ อ สู ้ กั บ กลุ ่ ม เชื้ อ โรค หรื อ สาร แปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายได้เป็นอย่าง ดี พบมากในปลาทะเลน�้ำลึก เช่น ปลาทู ปลาทู น ่ า ปลาแซลมอน ปลากะพง ซึ่งอาหารกลุ่ม นี้อาจมีบางส่วนไปกระตุ้น อาการภูมิแพ้ได้ ดังนั้น ใน เด็กจึงต้องระวังเป็นพิเศษ ว่าแพ้อาหารทะเลหรือไม่ ถ้ า ไม่ ก็ ส ามารถทานเพื่ อ ช่ ว ยต้ า นภู มิ แ พ้ ไ ด้ ส่ ว น กรดไขมันโอเมก้า ๓ ก็มี ประโยชน์เช่นกัน พบมาก ในเมล็ดทานตะวัน เมล็ด

ฟักทอง ถั่วเหลือง และผักใบสีเขียวเข้ม • กลุ่มซีลิเนียม ช่วยกระตุ้นระบบ ภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ต่อสู้กับสิ่งแปลก ปลอม หรื อ สารกระตุ ้ น ภู มิ แ พ้ ไ ด้ พบ มากในพืชตระกูลหอม เช่น หอมหัวใหญ่ หอมแดง เป็นต้น • กลุ ่ ม ฟลาโวนอยด์ เ ควอเซทิ น เป็นสารต้านอาการแพ้และลดการอักเสบ ช่วยยับยั้งการปล่อยสารฮิสตามินซึ่งเป็น ตั ว กระตุ ้ น อาการภู มิ แ พ้ ไ ด้ พบมากใน กระเทียม และพืชตระกูลหอม อย่างหอม หั ว ใหญ่ หอมหั ว แดง และในแครอทผั ก กาดหอม แอปเปิ้ล เป็นต้น นอกจากอาหารแล้ ว อย่ า ลื ม ออก ก� ำ ลั ง กายสม�่ ำ เสมอ และนอนหลั บ ให้ เพียงพอด้วย จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้ แข็งแรง รู ้ เ ช่ น นี้ แ ล้ ว ระหว่ า งเดิ น ช็ อ ปปิ ้ ง เลือกสรรอาหารวันนี้จากตลาด อย่าลืม หยิบอาหารเหล่านี้ใส่ตะกร้าติดไม้ติดมือ กลับบ้านไปด้วยนะครับ Credit ภาพ และข้อมูล : http:// www.homedecorthai.com/articles/ Bedroom_for_people_with_allergies-133-1225, https://www.goodfoodgoodlife.in.th


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๓

อต้อนรับการกลับบ้านของชาวนคร เนื่ อ งในเทศกาลงานสารทเดื อ นสิ บ ที่เป็นประเพณีสืบต่อกันมายาวนาน เป็น เดื อ นแห่ ง ความสุ ข อี ก ช่ ว งหนึ่ ง ของปี ที่ ญาติพี่น้องเพื่อนฝูงได้มาพบกัน และการ ได้ ม าท� ำ บุ ญ อุ ทิ ศ ให้ บุ พ การี จ ากปรโลก ประเพณี นี้ น ่ า จะเป็ น กุ ศ โลบายของ บรรพบุรุษในการที่จะให้สายสัมพันธ์ทาง สั ง คมครอบครั ว ไม่ ข าดหายไป และถ้ า เอาความกตั ญ ญู เ ป็ น ตั ว ตั้ ง ด้ ว ยแล้ ว ผม ว่าใช่เลย ซึ่งเป็นการรู้ส�ำนึกผู้มีบุญคุณที่ เลี้ยงดูครอบครัวต่อๆ กันมาหลายชั่วอายุ คนผ่านพิธีกรรมทางประเพณีวัฒนธรรม (คล้ า ยกั บ ประเพณี วั น เช็ ง เม้ ง ของจี น ) ผลพลอยได้ท�ำให้เกิดงานสังสรรค์คนใน ตระกูลบ้าง งานสังสรรค์ศิษย์เก่าบ้าง การ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้าง การค้าขาย ในจังหวัดก็คึกคัก ฯลฯ ล้วนส่งผลดีทั้งนั้น แหละครับ กลับมานครคราวนี้อยากแนะน�ำให้ อยู่ต่อกันหลายวันหน่อย โดยเฉพาะผู้ที่ จากถิ่นเกิดไปนาน จะได้ไปส�ำรวจความ เปลี่ยนแปลงของเมืองนคร มานครทั้งที ต้องมาไหว้พระบรมธาตุให้ได้ ซึ่งจะได้เห็น การพัฒนาของวัดเป็นอย่างมาก ไม่ว่าถนน หน้าวัดที่มีการปูแผ่นบล็อกคอนกรีตที่จัด ให้มีลวดลายสวยงาม การรื้อเสาไฟฟ้าออก และเอาสายไฟฟ้าที่รกตาลงใต้ดิน การได้ เห็นลานทรายภายในวัดอันเป็นสัญลักษณ์ ว่าในอดีตเป็นหาดทรายแก้ว ฯลฯ ซึ่งเป็น ผลพวงจากการน�ำเสนอวัดพระบรมธาตุ เป็น “มรดกโลก” งานเทศกาลเดือนสิบใน อดีตที่เคยจัดบริเวณสนามหน้าเมืองก็ย้าย ไปจัดที่สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ ทุ่งท่าลาด มีการตัดถนนสายใหม่ๆ ขึ้นเพื่อ ความคล่ อ งตั ว ของการจราจรและขยาย เขตเมืองให้กระจายออกไปอีก อาคารบ้าน เรือนร้านค้าก็เกิดขึ้นมากมายใหญ่โตไม่ น้อยหน้าเมืองใหญ่อื่นๆ สถาปัตยกรรมใน ตัวเมืองมีความหลากหลายเป็นแบบสากล เหมือนเมืองหลวงที่เป็นต้นแบบมากเข้า ทุกวัน (International Modern Architecture) จนคนในท้องถิ่นอาจไม่ต้องไป ชมอาคารที่เมืองอื่น หรือคนต่างถิ่นก็ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเดิ น ทางมาดู อ าคารที่ น ครซึ่ ง อาจจะเหมือนกันหมด แต่เป็นความโชค ดีที่บริเวณปริมณฑลของวัดพระบรมธาตุ มีอาคารร้านค้าส่วนใหญ่ที่ยังคงสภาพที่ดู เป็นเมืองเก่าให้เห็น อันจะเป็นการส่งเสริม

การท่องเที่ยวเมืองนครเชิงประวัติศาสตร์ ไว้ได้ ผมเคยเขียนบทความในหนังสือพิมพ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ฉบั บ เดื อ นมี น าคม ๒๕๕๘ เรื่อง “อนาคตสถาปัตยกรรมในเมืองนคร ควรเป็นอย่างไร” ซึ่งผมได้ยกกรณีตัวอย่าง ว่าไปแอ่วเหนือก็รู้ว่าอยู่เมืองเหนือ หลบ มาใต้ก็รู้ว่าเป็นบ้านเรา โดยดูจากลักษณะ บ้า นเรื อนและสิ่ งแวดล้ อมที่แ ทบไม่ต ้อ ง บรรยาย เนื่องจากเกิดจากการรับรู้ที่ชิน ตา แต่คิดว่ามีน้อยคนที่จะเรียนรู้ลักษณะ เฉพาะที่แตกต่างกัน ยกเว้นผู้ที่ศึกษามา ทางด้านนี้ จึงเกิดมีการถกเถียงความถูก ต้องกันว่าควรมีควรเป็นกันอย่างไรในรูป แบบของงานสถาปัตยกรรมที่จะน�ำมาใช้ ลักษณะงานสถาปัตยกรรมหรือเรียก ง่ายๆ ว่างานออกแบบอาคารได้บ่งบอก ถึงอัตลักษณ์ของชนชาติ สภาพทางภูมิศาสตร์ ความเชื่ อ ทางวั ฒ นธรรมและ ศาสนา ซึ่งจะปรากฏให้เห็นในการวางผัง รูปทรง และโครงสร้างอาคารที่เหมือนๆ กั น ของชนชาติ เ ดี ย วกั น เช่ น บอกได้ ว ่ า นี่ เ ป็ น แบบอาคารของไทย นั่ น เป็ น แบบ อาคารญี่ ปุ ่ น ฯลฯ รู ป แบบอาคารบ้ า น เรือนนั้นมักอิงกับเรื่องดินฟ้าอากาศเป็น ส่วนใหญ่ เช่น การยื่นชายคาเป็นปีกกว้าง รอบบ้านเพื่อป้องกันฝนที่ตกชุก อันเป็น

ที่ ม าของหลั ง คาทรงปั ้ น หยาของภาค ใต้ ป ระเทศไทย ทุ ก บ้ า นก็ จ ะเป็ น แบบ เดี ย วกั น หรื อ คล้ า ยๆ กั น ส่ ว นอาคาร ขนาดใหญ่ที่เป็นอาคารสาธารณะ (มีการ ใช้งานรวมกัน) หากต้องการคงอัตลักษณ์ ไว้ ก็ จ ะใส่ ร ายละเอี ย ดลั ก ษณะบางอย่ า ง ที่จะให้รับรู้ได้ เช่น อาคารทางศาสนามี เอกลักษณ์ที่สามารถบอกได้ทันทีว่าเป็น ศาสนาใด ตัวอย่างวัดทางพระพุทธศาสนา ในประเทศไทยมักจะมีโบสถ์หลังคาทรงจั่ว มีช่อฟ้าใบระกา โบสถ์ศาสนาคริสต์ก็มัก จะมีหลังคาทรงจั่วสูงติดไม้กางเขนไว้ ส่วน ศาสนาอิ ส ลามก็ จ ะมี ห ลั ง คาเป็ น รู ป โดม หัวหอม มีสัญลักษณ์ดาวและพระจันทร์ เสี้ ย วที่ ย อดแหลม และมี ห อคอยที่ มุ ม อาณาเขตของสุ เ หร่ า ส่ ว นรายละเอี ย ด อื่นๆ ของศาสนาหนึ่งอาจคล้ายคลึงกันกับ อีกศาสนาหนึ่งก็ได้ เพราะได้มีการพัฒนา จากการยึดครองเมืองของอาณาจักรต่าง ศาสนาเปลี่ยนมือกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่ น ลั ก ษณะโค้ ง ของคานที่ อ ยู ่ ร ะหว่ า ง หัวเสาไม่ว่าเป็นแบบโค้งมน (Arch) หรือ โค้งยอดแหลม (Pointed Arch) ได้มีใน อาคารทั้ ง ศาสนาคริ ส ต์ ศาสนาอิ ส ลาม รวมทั้งศาสนาพุทธทั้งในอดีตและปัจจุบัน ด้วย และเราคงได้เห็นพระบรมมหาราชวัง

ของไทยที่มีคานโค้งและหัวเสาแบบยุโรป แต่ มี ห ลั ง คาทรงยอดปราสาทแบบไทย อย่างกลมกลืน ซึ่งการผสมผสานกันนี้ถือ เป็นวิวัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมที่ ไม่ ส ามารถยึ ด ครองผู ก ขาดเป็ น ลั ก ษณะ เฉพาะของชนชาติ ห นึ่ ง ชนชาติ ใ ดได้ (ยกเว้นตราสัญลักษณ์) ลักษณะทางสถาปัตยกรรมบางครั้ง ได้เล่าเรื่องเหตุการณ์ยุคสมัยด้วย เช่น มี การใช้รูปแบบชิโนโปรตุกีสในภาคใต้ของ ไทยรวมทั้ ง ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ตั้ ง แต่ อ ดี ต นั บ ร้ อ ยปี ม าแล้ ว ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบยุโรปผสมแบบจีนที่บอกถึงยุคนั้นว่า มีการค้าขายกับต่างชาติ (อ่านบทความ ที่ผมเคยเขียนลงหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ฉบั บ เดื อ นเมษายน ๒๕๕๘ “เรื่ อ งราว จากสถาปั ต ยกรรมชิ โ นโปรตุ กี ส ในบ้ า น เรา”) ดังนั้นหากเราเข้าใจถึงที่มาของรูป แบบที่เกี่ยวข้องกับการค้าในอดีต และน�ำ มาใช้บ้างเพื่อให้ได้อารมณ์ของเมืองเก่าก็ สามารถท�ำได้ แต่ใครจะชอบหรือไม่ชอบ ในรูปแบบก็คงเป็นเรื่องของความรู้สึกส่วน ตัวที่ไม่ได้โยงกับเรื่องศาสนาแต่ประการใด ท่านที่อ่านหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นี้ต่อเนื่องกันมา อาจคิดว่าเนื้อหาเน้นไป ในเรื่องการน�ำเสนอเฉพาะเรื่องพระพุทธ ศาสนา ความจริงแล้วผู้เขียนไม่ได้ยึดติด กับเรื่องศาสนา แต่มุ่งที่จะน�ำเสนอข้อคิด ประเด็นต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา เมื อ งในฐานะคนนครที่ “รั ก บ้ า นเกิ ด ” เหมือนกับทุกท่านครับ และบางหัวข้อเรือ่ ง อาจจ�ำเป็นต้องเขียนซ�้ำย�้ำเรื่องเดิมเพราะ ต้องการช่วยอธิบายความบางอย่าง โดย เฉพาะเรื่องโครงการน�ำเสนอวัดพระบรม ธาตุสู่มรดกโลกซึ่งตอนนี้ได้เดินทางมาเกิน ครึ่งทางแล้ว เหลือแต่การจัดท�ำเอกสาร แปลเป็นภาษาอังกฤษส่งให้ทาง UNESCO เพื่อพิจารณา และชาวเมืองได้มีการตื่นตัว รับรู้การท�ำงานของคณะกรรมการที่ล้วน แล้วเป็นอาสาสมัครทีไ่ ม่ได้รบั ค่าจ้างใดๆ มา ตลอด และผลการตัดสินว่าจะได้เป็นหรือไม่ ยังไม่ใช่ประเด็นส�ำคัญเท่ากับชาวเมืองได้รบั ความรูว้ า่ นครศรีธรรมราชเป็นเมืองโบราณ ที่มีอารยะธรรมยิ่งใหญ่มายาวนาน และได้ จับมือกันร่วมพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ โดยทุกฝ่ายเป็นผู้ได้รับ อานิสงค์ผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติ ใดหรือศาสนาใดซึ่งล้วนแล้วเป็นพี่น้องชาว นครด้วยกัน เราคงต้องใช้ปัญญาในฐานะ เมืองนักปราชญ์ที่จะเรียนรู้และท�ำความ เข้าใจในงานสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ไม่ ให้เกิดความแตกแยกและขัดแย้งกัน อัน เป็นปัญหาต่อการพิจารณาวัดพระบรมธาตุ ให้เป็นมรดกโลกที่อาจต้องพลาดโอกาสไป อย่างน่าเสียดาย


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๔

บับนี้ขออนุญาตเล่าเกี่ยวกับ ผลงานการประกวดรางวัล อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย รางวัลระดับสากล ที่ศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช ได้รับอย่างต่อ เนื่องถึง ๓ ครั้งซ้อน ว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร กรรมการใช้เกณฑ์ อย่างไรบ้าง เนื่องจากมีคนสงสัยถามมาหลายเสียงว่า เหมือน จะได้มาง่ายๆ ไปไหม อันนี้ในฐานะคนที่อยู่กับทุกตัวอักษร ของรางวัล และถือไมโครโฟน น�ำเสนอผลงานในทุกๆ ครั้ง เลยต้องมาไขข้อข้องใจกันยาวๆ นะคะ การประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยจัดขึ้น ครั้ ง แรกเมื่ อ ปี ๒๕๓๙ และจั ด ต่ อ เนื่ อ งทุ ก ๒ ปี โดยการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เพื่อยกระดับคุณภาพ ของสินค้าและบริการท่องเที่ยวที่เน้นน�ำเสนอแนวทางการ บริ ห ารจั ด การในทุ ก ด้ า นที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในทิ ศ ทางที่ ยั่งยืน โดยใช้โอกาสในวันที่ ๒๗ กันยายนซึ่งตรงกับวันท่อง เที่ยวโลก (World Tourism Day) จัดพิธีมอบรางวัลและถือ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุน “วันท่องเที่ยวโลก” ตลอดมาอีกทั้ง “องค์การท่องเที่ยวโลก” (World Tourism Organization) ได้สนับสนุนให้รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทยเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของความมุ่งมั่นตั้งใจของ ททท. ที่จะ พัฒนาการท่องเที่ยวในรูปแบบที่เอื้อประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ และโลก รางวั ล อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วไทยมี สั ญ ลั ก ษณ์ ตุ ๊ ก ตา “กินรี” เป็นเหมือนเครื่องหมายรับรองคุณภาพของสินค้า ที่ผ่านการจัดการและคัดสรรมาแล้วอย่างเข้มข้น ปัจจุบัน รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทั้งระบบ และยกระดับคุณภาพ ของสินค้าการท่องเที่ยวต้นแบบในมิติของคุณค่าและมูลค่า ที่พร้อมจะส่งต่อความสุขให้กับนักท่องเที่ยวและสาธารณชน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในปี ๒๕๕๘ ททท. ได้ ด� ำ เนิ น การประกวดรางวั ล อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ ๑๐ และก�ำหนดจัดพิธีมอบ รางวัลในวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๘ และถือเป็นครั้งส�ำคัญ แห่งความภาคภูมิใจของ ททท. ที่ได้จัดการประกวดรางวัล อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยจนเข้าสู่ทศวรรษที่ ๒ และยังเป็น ปีแห่งความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

รับรางวัล ปี ๒๕๕๖

โดยมีการแบ่งประเภทรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทยเป็น ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. รางวั ล ประเภทองค์ ก รสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยว ๒. รางวัลประเภทรายการน�ำเที่ยว ๓. รางวัลประเภทที่พักนักท่องเที่ยว ๔. รางวัลประเภทแหล่งท่องเที่ยว ๕. รางวัลประเภทการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ๖. รางวัลประเภทนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ไทย ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช เป็น อีกหนึ่งหน่วยงานที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้อย่างต่อเนื่อง ถึง ๓ ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ ๘ ปี ๒๕๕๓ รางวัลดีเด่นประเภทแหล่งท่อง เที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ ชื่อผลงาน “พิพิธภัณฑ์มีชีวิต” ครั้งที่ ๙ ปี ๒๕๕๖ รางวัลดีเด่นประเภทแหล่งท่อง เที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ ชื่อผลงาน “เที่ยวเพลิน เพลิน Play & Learn @ ศูนย์วิทย์เมืองคอน” และครั้งที่ ๑๐ ปี ๒๕๕๘ รางวัลดีเด่นประเภทแหล่ง ท่องเที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ ชื่อผลงาน “เที่ยวเพลิน เพลิน Play & Learn @ ศูนย์วิทย์เมืองคอน”

ภาคเหนือ : เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี จ.เชียงใหม่ และThai Elephant Home จ.เชียงใหม่ ภาคใต้ : ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธรรมราช จ.นครศรี ธ รรมราช และ Flying Hanuman จ.ภูเก็ต ภาคกลาง : อุ ท ยานสิ่ ง แวดล้ อ มนานาชาติ สิ ริ น ธร จ.เพชรบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : สถาบันวิจัยไม้กลายเป็น หิน ช้างดึกด�ำบรรพ์และไดโนเสาร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จ.นครราชสีมา และสวนสัตว์นครราชสีมา จ.นครราชสีมา ภาคตะวันออก : ริบลีส์ เวิลด์ พัทยา Ripley’s world Pattaya จ.ชลบุรี และปราสาทสัจธรรม จ.ชลบุรี

ซึ่งทุกผลงานที่ได้รับการตัดสินให้ได้รับรางวัล จะอยู่ ภายใต้กรอบแนวคิดการอนุรักษ์และการบริหารจัดการสินค้า การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นแนวคิดที่การ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้ตระหนักและให้ความ ส� ำ คั ญ มาโดยตลอด ดั ง นั้ น ภายใต้ ส ภาวะการแข่ ง ขั น ของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในปัจจุบัน ความต้องการรักษา ทรัพยากรหรือสินค้าทางการท่องเที่ยว การตอบสนองกระแส การบริโภคของนักท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมของชุมชนทั้งใน ด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการส่งเสริมการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ททท.จึงได้น�ำแนวทางดังกล่าวมาใช้เป็นกรอบ แนวคิดในการพิจารณาตัดสินรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ทั้งนี้ผลงานที่ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ไทย ครั้งที่ ๑๐ ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดดังนี้ ครั้ ง ที่ ๑๐ ประจ� ำ ปี ๒๕๕๘ ประเภทแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว นั น ทนาการเพื่ อ การเรี ย นรู ้ ใ นภาคใต้ มี เ พี ย ง ๒ แห่ ง คื อ กรอบแนวคิดที่ ๑ การบริหารจัดการอย่างยั่งยืนใน ๔ มิติ ๑. การบริ ห ารจั ด การที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม / ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราช และ Flying Hanuman จ.ภู เ ก็ ต จากผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ทั้ ง หมด ทรัพยากรธรรมชาติ ๒. การบริ ห ารจั ด การที่ ต ระหนั ก ต่ อ ประเพณี วั ฒ น๑๔ แห่งทั่วประเทศไทย ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ รางวัล ธรรม และวิถีชีวิต ๓. การบริหารจัดการที่ชุมชนมีส่วนร่วม และมีการกระ ยอดเยี่ยม จายรายได้สู่ชุมชนอย่างเป็นธรรม ๔. การบริหารจัดการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและ ภาคเหนือ : สถาบันคชบาลแห่งชาติใน ชุมชน (Corporate Social Responsibility / CSR) พระอุปถัมภ์ จ.ล�ำปาง กรอบแนวคิดที่ ๒ การน�ำแนวทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง ภาคกลาง : สวนสามพรานริ เ วอร์ ไ ซด์ จ.นครปฐม และสยามนิรมิต กรุงเทพมหานคร มาประยุกต์ใช้ กรอบแนวคิดที่ ๓ การสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มสินค้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : พิพิธภัณฑ์ และบริการท่องเที่ยว (Value Creation) และ สิรินธร จ.กาฬสินธุ์ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ภาคตะวั น ออก : สวนนงนุ ช พั ท ยา กรอบแนวคิดที่ ๔ การมีความพร้อมในการส่งเสริมด้าน จ.ชลบุรี การตลาดท่องเที่ยว ตลอดจนการน�ำแนวทางการ ตลาดแนวใหม่ (Modern Marketing) มาประยุกต์ใช้ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วนั น ทนาการเพื่ อ การ ในการส่งเสริมการขาย (อ่านต่อฉบับหน้า) เรียนรู้ รางวัลดีเด่น


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๕ - เปิ ด ตั ว ครั้ ง แรก เมื่ อ เดื อ น กันยายน ปี ๒๕๕๗ โดยรุ่น Apple Watch จะเป็นรุ่น ปกติ ซึ่งตัวเรือนนั้นท�ำจาก Stainless Steel พร้อมเทคโนโลยีกระจกหน้าจอ แบบ Sapphire รุ่น Apple Watch Sport คือรุ่น ที่ ตั ว เรื อ นนั้ น ท� ำ มาจาก Anodised Aluminium พร้ อ มเทคโนโลยี ก ระจก หน้าจอแบบ Ion-X รุ่น Apple Watch Edition คือรุ่น ที่ตัวเรือนเป็นทองค�ำ ๑๘ กะรัต พร้อม เทคโนโลยีกระจกหน้าจอแบบ Sapphire

อาจารย์แก้ว

ากพู ด ถึ ง SmartWatch หรื อ นาฬิกาอัจฉริยะ รุ่นใหม่ๆ ที่เพิ่งเปิด ตัวกันไป ผู้อ่านหลายๆ ท่านก็คงเคยอ่าน ข้อมูล หรือเห็นผ่านตากันไปบ้างแล้ว โดย SmartWatch นั้นเป็นนาฬิกาอัจฉริยะ ที่มีความสามารถพิเศษมากกว่าการบอก เวลา และมีความสามารถในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นหน้าจอแสดงผลแบบสัมผัส, การเชื่อมต่อข้อมูลผ่าน Bluetooth, การ เชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นระบบ WiFi และ 3G, เซ็นเซอร์วัดการเต้นของหัวใจ, เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิอากาศ, ระบบ GPS ในตัว, กล้องดิจิตอลในตัว รวมไปถึงยัง สามารถซิงค์ข้อมูลจากสมาร์ทโฟน และ สามารถสนทนาผ่าน SmartWatch แทน สมาร์ทโฟนได้อีกด้วย โดย SmartWatch ก็ นั บ เป็ น อุปกรณ์ประเภทหนึ่งในกลุ่มของ Wearable Devices ซึ่ง ณ ปัจจุบัน SmartWatch นั้นมีตัวเลือกที่น่าสนใจมากมาย หลายรุ ่ น หลายแบรนด์ และมี ค วาม คุ ณ สมบั ติ โ ดยรวมของ Apple สามารถ หรื อ จุ ด ขายที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ในวันนี้ผู้เขียนจะมารวบรวมข้อมูลของ Watch - ขนาดตัวเรือน ๔๒ มิลลิเมตร หรือ นาฬิ ก าอั จ ฉริ ย ะ หรื อ SmartWatch พร้ อ มจุ ด เด่ น ในแต่ ล ะรุ ่ น ที่ ไ ด้ รั บ ความ ๓๘ มิลลิเมตร (ขึ้นอยู่กับแต่ละโมเดลย่อย) - ชนิ ด จอแสดงผลแบบ Retina นิยม มาให้ผู้อ่านได้ชมกันครับ Display IPS LCD ขนาด ๑.๕ นิ้ว ความ ละเอียด ๒๗๒x๓๔๐ พิกเซล หรือขนาด Apple Watch ส�ำหรับ Apple Watch นั้นเปิดตัว ๑.๖๕ นิ้ ว ความละเอี ย ด ๓๑๒x๓๙๐ ไปเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๗ โดยมี พิกเซล (ขึ้นอยู่กับแต่ละโมเดลย่อย) - สั่ ง งานด้ ว ยระบบสั ม ผั ส บนหน้ า ทั้งหมด ๓ รุ่นย่อย ด้วยกันได้แก่ Apple Watch, Apple Watch Sport และ Ap- จอแสดงผล (Touch Screen) - ระบบตรวจจั บ ความเคลื่ อ นไหว ple Watch Edition ซึ่งทั้ง ๓ รุ่นย่อย ขั บ เคลื่ อ นการท� ำ งานด้ ว ยระบบปฏิ บั ติ แบบ 3-Axis Gyro Sensor - ระบบ Accelerometer Senการ iOS, ใช้จอแสดงผลแบบ Retina Display IPS LCD ขนาด ๑.๕ นิ้ว, ระบบ sor ช่วยหมุนหรือปรับเปลี่ยนทิศทางการ การสั่นไหวแบบ Taptic Engine ที่ให้ แสดงผลของหน้าจอให้แบบอัตโนมัติ ตาม ความแรงของการสั่นไหวที่สูงเป็นพิเศษ ลักษณะการจับถือของผู้ใช้ - ฟังก์ชัน Ambient Light Senรวมไปถึงประมวลผลการท�ำงานด้วย ชิป เซ็ต Apple S1 และที่พิเศษไปกว่านั้น sor ส�ำหรับตรวจวัดระดับความสว่างของ Apple Watch ยังรองรับการเก็บบันทึก สภาพแวดล้อม เพื่อปรับความสว่างของ ข้อมูลแบบ Cloud Storage ด้วยบริการ หน้าจอให้เหมาะสม - ระบบการสั่ น ไหวแบบ Taptic iCloud Service อีกด้วย

Engine - เซ็นเซอร์วัดอัตราการเต้นของหัวใจ - ประมวลผลการท�ำงานด้วย ชิปเซ็ต Apple S1 - รองรับการเก็บบันทึกข้อมูลแบบ Cloud Storage ด้ ว ยบริ ก าร iCloud Service - ขั บ เคลื่ อ นการท� ำ งานด้ ว ยระบบ ปฏิบัติการ iOS - รองรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ผ่าน WiFi (WLAN : Wireless LAN : 802.11 b/g) - Bluetooth Version 4.0 - ระบบ GPS ในตัว (Global Positioning System : ระบบดาวเทียมน�ำร่อง)

Samsung Gear 2

Samsung Gear 2 สมาร์ทวอทช์ รุ่นต่อยอดจาก Samsung Galaxy Gear โดยวั ส ดุ ท� ำ มาจากโลหะ และมี ดี ไ ซน์ สวยงาม หรูหรา แถมยังมาพร้อมกล้อง ดิ จิ ต อลในตั ว ความละเอี ย ดระดั บ ๒ ล้านพิกเซล รวมไปถึงฟีเจอร์เด่นๆ อย่าง WatchON Remote ที่สามารถใช้งาน แทนรี โ มทคอลโทรลส� ำ หรั บ TV และ อุปกรณ์ Set-Top Box ได้ โดยใช้งาน ร่วมกับ Infrared LED (อ่านต่อฉบับหน้าครับ)

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๖ Tarzanboy

“รหั ส ป่ า Junior..ปรั บ ตั ว ได้ ใ นธรรมชาติ และมีความยืดหยุ่นในทุกสภาวะแวดล้อม พวกเขาเป็นเด็กธรรมดา ที่เราต้องการ ให้เขาเติบโตและงอกงามตามธรรมดา แม้เขา จะสามารถค้นพบและได้ใช้ศักยภาพเป็นพิเศษ ก็เป็นเพียงเด็กธรรมดา ที่ได้รับโอกาสในการ ใช้ศักยภาพที่มีอยู่แล้วในตนมากกว่าการด�ำรง อยู่กับความ เคยชินของชีวิตที่ต้องพึ่งพาแต่สิ่ง อื่นรอบตัว” ผมไม่แน่ใจว่าเคยบอกเล่าเรื่องราวนี้ไป หรือยัง ถึงอย่างไรก็ตาม แม้จะเล่าไปแล้ว ผมก็ อยากจะกล่าวถึงเรื่องนี้อีกครั้ง...เด็กผู้หญิงคน หนึ่งที่เป็นแรงบันดาลใจให้ผมจัดทริป รหัสป่า Junior ส�ำหรับเด็กตั้งแต่เล็กๆ หลังจากผมจัด ทริปรหัสป่าให้ผู้ใหญ่มาแล้วเป็นสิบปี “นาทาม” คือชื่อของเธอ ๗ ขวบคืออายุ ของเธอขณะนั้น ! คุณพ่อเป็นชาวอังกฤษ คุณแม่เป็นคน ไทย ...และนี่ อ าจจะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เธอพูดไทยได้ชัดเปรี๊ยะ! คะ ขา ต่อท้ายทุก ประโยค ...เธอและครอบครัวสมัครเข้าเรียน หลักสูตร “ถอดรหัสป่าแอดวานซ์” ซึงต้องใช้ เวลาในการเดินป่า เรียนรู้วิชาพรานเป็นระยะ เวลา ๑๐ วัน ...เป็นสิบวันที่ต้องอยู่ท่ามกลาง ป่าดิบ ดงลึกไร้ผู้คน ต้องเรียนรู้ทุกอย่างเกี่ยว กับ ป่าที่ต้องพบเจออยู่ ณ ขณะนั้น ..เธอต้อง แบกสัมภาระเอง ต้องเดินป่าเอง บ่อยครั้งที่ เธอหกล้ม ลื่น และหน้านิ่วคิ้วขมวด บ่งบอก ถึงอาการ”เจ็บ” พ่อกับแม่เธอจะยืนมองนิ่ง ไม่ ช่วยไม่พยุง ไม่ปลอบ ..ไม่พูดอะไร แม้ยามนั้น เธอจ้องมองอ้อนวอน และร้องขอการโอบกอด ..แต่ดูเหมือนเป้าประสงค์ต้องการให้เธอ “ลุก ขึ้นเอง” และยอมรับในความผิดพลาดของเธอ เองนั้นด้วย ในสิบวันของการเรียนรู้ เหตุการณ์ แบบนี้ เ กิ ด บ่ อ ยครั้ ง และเกิ ด ไปพร้ อ มๆ กั บ เสียงหัวเราะ กระโดดโลดเต้น ยิ้ม และฉงน พร้อมกับการตั้งค�ำถามต่อ ความเป็น “ป่า” ใน หลายๆ ครั้ง เธอลงมือก่อไฟเอง หุงข้าวเองทุก ขั้นตอน เจียวไข่ ท�ำอาหารอื่นๆ ...เธอพยายาม เดินแกะรอย พิจารณารอยเท้าสัตว์ป่า เรียนรู้ อะไรอันตรายยังไง ทั้งหมดที่กล่าวมา ..มันเกิดขึ้น ณ ผืนป่า ที่นักเดินป่าทั่วประเทศการันตีว่า “หฤโหด” ที่ สุ ด ในเมื อ งไทย เดิ น ยากสุ ด ต้ อ งใช้ ก� ำ ลั ง

กายก�ำลังใจสูงสุด มีทั้งการปีนป่าย มุดลอด คลาน ฝนกระหน�่ำได้ทุกฤดูกาล ทากยุบยับ และอากาศหนาวเหน็ บ เกิ น จะเชื่ อ ว่ า นี่ คื อ ภาคใต้ ..มั น คื อ เส้ น ทางเดิ น ป่ า เขาหลวง นครศรีธรรมราช ป่าฝนต้นน�้ำอันเป็นหลังคา ของทักษิณคเนย์ “นาทาม” อยู่กับพวกเรา ๑๐ วันเต็มครับ แม้จะมีพ่อแม่อยู่ด้วย แต่ก็เหมือน พี่เลี้ยงที่ดูแลห่างๆ เท่านั้น สรรพสิ่งรอบตัว อันตรายครับ ทว่ามันก็เป็นเหมือนภาพฝัน เป็น เหมือนเทพนิยายที่เจ้าหญิงตัวน้อย ได้โลดเล่น เคล้าเคลียร์สายหมอกขาว เธอเหมือนเทพธิดา ในจินตนิยาย ต่างกันตรงที่ ตรงนั้นคือ ของ จริง !! ...วิชาพรานที่เรียกว่า “ถอดรหัสป่า” อาจจะมีหลายบทหลายตอน แต่บทหนึ่งที่เรียก ว่า “โหด” คือการเรียนแอดวานซ์ ซึ่งต้องใช้ ชีวิตอยู่ท่ามกลางดงลึกร่วม ๑๐ วัน ต้องเรียน รู้ไปพร้อมกับฤดูกาล ต้องดูแลชีวิตของตัวเอง

ทุกย่างก้าว มันควรเป็นหลักสูตรส�ำหรับผู้ใหญ่ ไม่ใช่สาวน้อยวัย ๗ ขวบ ..แต่หลังจากจบทริป คราวนั้น ทัศนคติของผมเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง มันสรุปคร่าวๆ ง่ายๆ ได้ว่า ไม่มีเหตุผลใดที่ เราจะตีกรอบขีดความสามารถของใคร เพียง มองว่า เขา หรือ เธอ อายุเพียง ๗ ขวบ และ ไม่มีเหตุผลใดที่เราจะเลือกเอาความกลัว ความ วิตกกังวล เป็นก�ำแพงที่ถูกก่อขึ้นสูง บวกกับ ความรักอันมากเกินมากด้วยแล้ว ก�ำแพงนี้ยิ่ง สูงเกินกว่า “เด็ก” จะปีนป่ายออกไปได้ ..... เด็กหลายคนสามารถปีนก�ำแพงนี้ได้ครับ ทว่า บ่อยครั้งที่หลายคนไม่ยอมปีนกลับมาอีกเลย เพราะก�ำแพงแห่งรักนี้สูงเกินป่าเทือกเขาใดๆ ในหล้า ! จากนั้ น ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจจั ด ทริ ป รหั ส ป่ า Junior ส�ำหรับเด็กเล็ก อายุตั้งแต่ ๖ ขวบขึ้น ไป โดยไม่มั่นใจเลยสักนิดว่าจะมีพ่อแม่กล้า ส่งลูกมาร่วมทริปหรือไม่ แต่กลับมีพ่อแม่ให้ ความสนใจเกินคาด รุ่นแรกจึงมีทั้งเด็กในเมือง คอนและจังหวัดห่างไกลอื่นๆ ผ่านมา ๒ ปี จน กระทั่งถึงวันนี้มีเด็กๆ ที่ผ่านทริปนี้ตั้งแต่พื้น ฐานจนทริปที่ต้องเดินเท้าเข้าป่าใหญ่ขึ้นเขาสูง ชันอย่างเขาหลวง มาแล้วถึง ๓ รุ่นด้วยกัน โดย ผมมั่นใจว่า เด็กที่เข้าร่วมในทริปรหัสป่า Junior จะเข้าใจวิถขี องความเป็นป่า ของธรรมชาติ มากกว่ามองเห็นเพียงสถานที่สวยงาม สถาน ที่ท่องเที่ยว เห็นความมีชีวิตของป่าที่ผูกพัน ต่อทุกสรรพสิ่งอย่างมีระบบ และมีพื้นฐานใน

การใช้ชีวิตบนโลกด้วยความแข็งแกร่งและอ่อน โยนจากการถูกขัดเกลาจากความบริสุทธิ์ของ ธรรมชาติ รหัสป่า Junior เรียนรู้อะไรบ้าง? เป็น ค�ำถามที่พ่อแม่ผู้ปกครองถามผมอยู่เสมอ.... หลักสูตร รหัสป่า Junior จะแบ่งออก เป็น ๒ คอร์สหรือ ๒ ทริป ต้องเข้าเรียนตาม คอร์สจากทริป ๑ (พื้นฐาน) ไปทริป ๒ (Advance) จะข้ามขั้นตอนไม่ได้ โดยทริปแรก ว่า ด้วยวิชาด�ำรงชีพในธรรมชาติ ก่อนที่จะน�ำไป ใช้จริงในตลอดทริป ๒ บนเส้นทางสู่ยอดใด ยอดหนึ่งของเขาหลวงทริป ๑ วิชาด�ำรงชีพใน ธรรมชาติ จะประกอบไปด้วย ด้านการเตรียมตัว ว่ากันด้วยเบสิคเริ่ม ต้น ตั้งแต่การแต่งตัว จัดข้าวจัดของ การใช้เป้ การแพ็คของ อะไรก่อน-หลัง อุปกรณ์จ�ำเป็น การใช้อุปกรณ์ เช่น การผูกเปล การตั้งแค้มป์ การก่อกองไฟ การหุงข้าวจากสารพัดวิธี ด้านการถอดรหัสป่า การสะกดรอย(รูป) การเดินป่าตั้งแต่ก้าว แรก สังเกตอะไร ดูอะไรก่อนหลัง ต้องจดจ�ำ อะไร ทิศ ลักษณะทางภูมิศาสตร์จากสายตา การถอดรหัสจากร่องรอย รอยคน รอย สัตว์ รอยเก่าใหม่ ชนิด ขนาด เป้าหมาย การอ่านรหัสจากรส อะไรในป่ากินได้ หรือไม่ได้ ดูจากอะไร ท�ำกินอย่างไร ระวังอะไร หาน�้ำสะอาดได้จากอะไรบ้าง การอ่านรหัสจากกลิ่น กลิ่นดอกไม้ บอก อะไรบ้าง เช่น เวลา สถานที่ บอกพื้นที่ บอก อันตราย ปลอดภัย กลิ่นสัตว์ป่า กลิ่นสายลม กลิ่ น แสงแดด กลิ่ น ฝน...กลิ่ น อั น ตราย หรื อ ปลอดภัย การอ่านรหัสจากเสียง เสียงสรรพสิ่งใน ป่าบอกอะไร ความเงียบบอกอะไร ภาษาของ สัตว์ป่าแปลว่าอะไร ภาษาการเคลื่อนที่ของลม เสียงจากสายน�้ำ เสียงแมลง เสียงปกติ หรือ เสียงอันตรายจะรู้ได้อย่างไร ด้ า นสุ น ทรี ย ์ ธ รรมชาติ เกมธรรมชาติ เพื่อเปิดทุกประสาทสัมผัสและการปรับตัวสู่ ธรรมชาติ ทริ ป รหั ส ป่ า Junior ก� ำ ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในรุ ่ น ที่ ๔ วั น ที่ ๑๖-๑๘ ตุ ล าคม ๒๕๕๘ รวม ๓ วัน ๒ คืน ในเส้นทางเดินป่า ศึกษาธรรมชาติ ในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง จ.นครศรี ธ รรมราช ระยะทางรวม ๒-๑๐ กิโลเมตร เด็กท�ำได้ ถ้าได้ท�ำ!! อยากให้เด็กๆ ลองปี น ก� ำ แพงแห่ ง รั ก มาพบกั บ ประสบการณ์แบบนี้บ้าง...โทร.มาสอบถามได้ครับ ๐๘๑-๘๒๔-๘๘๘๐


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

สรรพสิ่งมีการเปลี่ยนแปลง ทดสอบ บูรณะ พระธาตุ...วันนี้ ถูกทดสอบ บูรณะ และเปลี่ยนแปลง เช่นกัน ทุกอย่าง...อนิจจัง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้า ๑๘

มุมพบปะสังสรรค์แบบอบอุ่น กาแฟรส ละมุน คุ้นชิวหา เสียงพูดคุย สรวลเส และเฮฮา ประสามิตรคุ้นหน้าและรู้ใจ ..

Hot chocolate topped with whipped cream

สภากาแฟของคนรุ่นใหม่นั่นเอง .. WIFI FREE อาหารที่จัดเตรียมไว้บริการ ก็ล้วน เป็นของว่าง นั่งรับประทานกันได้เรื่อยๆ แบบไม่เน้นอิ่ม คุยไป กินไป ท�ำงานไป ทั้ง อ ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ ล้ อ หมุ น ได้ ไ ม่ ถึ ง จุ ด เบเกอร์รี่ ขนมไทย ฯลฯ พร้อมเครื่องดื่ม หมายค่ะ ท�ำได้แค่เพียงหาที่จอดรถ ร้อน - เย็น ที่หลากหลาย .. ตามความ ที่ ใ กล้ ที่ สุ ด เหตุ เ พราะถนนราชด� ำ เนิ น บริเวณด้านหน้าวัดพระบรมธาตุ ปิดถนน Pizza, Caramel Popcorn Frappe เพื่อปรับปรุงซ่อมแซม แต่ถึงกระนั้นก็ไม่ สามารถท�ำให้ล้มเลิกความตั้งใจในการ ไปเยือนร้านกาแฟร้านนี้ได้เลย Pixzel Coffé ร้านกาแฟเล็กๆ ที่ตกแต่งดูดี มี สไตล์ เ รี ย บง่ า ย แต่ แ ฝงด้ ว ยเสน่ ห ์ ที่ น ่ า ค้นหา ผนังบอกเล่าด้วยภาพถ่ายอันงดงามจากฝีมือช่างภาพขั้นเทพ--คุณหมอ รังสิต ทองสมัคร์ ท�ำให้สะดุดตาน่าสนใจ กับลูกค้าทุกคนที่เข้าใช้บริการ เรียกได้ ว่าเป็นอีกหนึ่งเสน่ห์ที่ดึงดูดความสนใจ ของนักท่องเที่ยวและลูกค้าในทุกๆ วัน ที่ สลับสับเปลี่ยนกันเข้ามาใช้บริการ ด้วย บรรยากาศที่ดูอบอุ่นและเป็นกันเองของ การบริการทั้งพนักงาน และลูกค้า ด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ อ ยากจะให้ ร ้ า น นี้เป็นที่นัดพบปะของเพื่อนฝูง และคน รู้ใจ เป็นมุมสบายๆ ที่ทุกคนต้องการมา พักผ่อน ผ่อนคลาย ปล่อยอารมณ์ หรือ เปรี ย บเที ย บง่ า ยๆ Pixzel Coffé คื อ Nutella Banana Crepe

ชื่นชอบของคอกาแฟ ได้รับค�ำยืนยันจาก เจ้าของร้านคนน่ารักว่า ร้านผมนั่งได้ยาว ครับไม่ว่าจะดื่มน�้ำชา ดื่มน�้ำ รับประทาน ของว่าง หรือ จะอิ่มอร่อยด้วยพิซซ่า หน้า ต่างๆ ที่อยากกระซิบบอกคือ ลองมาชิม นะคะ พิซซ่าหน้าต้มย�ำกุ้ง ความลงตัวที่ อร่ อ ยจากสู ต รผสมผสานแบบไทยและ ตะวันออก อย่างลงตัวได้ดี .. ที่ส�ำคัญร้าน กาแฟร้านนี้ .. เป็นร้านที่ผลิตด้วยความรัก ความอบอุ่นของครอบครัวทองสมัคร์ น้อง เอก - โสฬส ทองสมัคร์ ดูแลครบเครื่อง ในเรื่องของกาแฟ ส่วนคุณแม่ก็เป็นเชฟ ใหญ่ฝ่ายผลิตพิซซ่า ซึ่งไปแอบรู้มาว่า พี่ ตุ่มเดินทางไปซุ่มซ้อมฝึกปรือฝีมือมาจาก ต้นต�ำรับชาวต่างชาติเลยทีเดียว .. น้อง เอกได้มานั่งพูดคุยกับเราบอกเล่าถึงที่มา ที่ไป จุดก�ำเนิดของร้านกาแฟด้วยความรัก ร้านนี้ .. เหตุเกิดตั้งแต่สมัยตนเองยังเรียน เภสัชศาสตร์ ลงทุนซื้อเครื่องชงกาแฟส่วน ตัวเอาไว้ที่หอ เนื่องจากเป็นความชื่นชอบ

ส่วนตัวดื่มไปด้วย หาสูตรใหม่ๆ ไปด้วย ฝึ ก ปรื อ มาจนกาแฟน่ า จะซึ ม เข้ า ไปใน หัวใจ ถือว่าเป็นความโชคดีมากมายของ บัณฑิตจบใหม่ ที่ก้าวพ้นออกมาจากรั้ว มหาวิทยาลัย แล้วสามารถเลือกประกอบ อาชี พ ในสิ่ ง ที่ ต นเองรั ก และมี ค วามสุ ข ซึ่ ง น้ อ ยคนนั ก จะท� ำ ได้ เริ่ ม แรกคื อ ร้าน Pixzel จ�ำหน่ายกล้องถ่ายรูปและ อุปกรณ์กล้องต่างๆ ณ โรบินสันโอเชี่ยน หลั ง จากมาได้ ท� ำ เลร้ า นหน้ า วั ด พระ บรมธาตุ จึ ง ได้ ตั ด สิ น ใจเปิ ด ร้ า นกาแฟ เพื่ อ เติ ม ความฝั น อั น สมบู ร ณ์ และฝั น ที่จะให้ร้านกาแฟเป็นอีกส่วนหนึ่งที่จะ บอกเรื่ อ งราวของบ้ า นเกิ ด เมื อ งนอน ให้ กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และลู ก ค้ า ที่ เ ข้ า ใช้ บริการ บอกได้เลยว่านอกจากจะรื่นรมย์ กั บ รสชาติ ก าแฟแล้ ว ยั ง ได้ รู ้ ลึ ก ถึ ง เรื่ อ ง ดีดีของจังหวัดนครศรีธรรมราช จากร้าน กาแฟน่ารักๆ ร้านนี้อีกด้วย Pixzel Coffé เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น เวลา ๑๐.๐๐-๒๑.๐๐ น. ส�ำรองโต๊ะได้ที่ โทร. ๐๙๖-๖๓๕-๖๕๖๐ อย่ า ลื ม แวะ เวียนไปชิมกันนะคะ .. ขอบคุณพี่หมอรังสิต - พี่ตุ่ม น้องเอก และน้องๆ พนักงานที่น่ารักทุก คนค่ะ ..


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

ความส� ำ คั ญ ด้ อ ยค่ า ดั ง ที่ คุ ณ หมอปรี ช าปรารภตอน ท้ายว่าทุกวันนี้มีการรณรงค์ต่อต้านการจับล่ามฝึกสอน และขี่ ช ้ า งว่ า เป็ น การทารุ ณ กรรม ต้ อ งปล่ อ ยกลั บ ป่ า เท่านั้น ??? ก็เพราะเขาคิดได้เพียงนั้นว่าช้างคือสัตว์ป่า หาได้รู้เห็นในมิติอื่น ของช้างกับคนและสังคมอย่างที่ ชาวเรามี

กรณีตัวอย่างคนจับหา และฝึ กเลี้ยงช้างทั่วประเทศไทย เสน่ห์ที่สุดของที่ประชุมนี้คือการมี “หมอช้างชาว กูยจากบ้านตากลางเมืองสุรินทร์” ๓ คน หมอทา ตา อิน และ นายลอย มาในชุดเต็มยศของ สะเดียง สะด�ำ ครูบา ปฏิญายะ เล่าถึงวิธีการนุ่งผ้าออกไปล่าคล้องช้าง ป่าเขมรเข้ามาไทยแบบง่ายๆ เหลือเชื่อ ปัดรังควาญ ใส่ ปลอก ผูกต้นไม้ ล่ามคอ โยนหญ้า พาลงน�้ำ แล้วก็ฝึก กันแบบว่าง่าย “ท�ำเลดีมีน�้ำมีป่า หาของให้กิน ท�ำถูกให้ รางวัล ตีบ้างหากขัดขืนจนรู้จ�ำ” สนใจ ให้รัก เอาใจใส่ ไม่ล่าม สั่งเท่านั้น ในขณะที่ทางเหนือก็ใช้หลัก ๕ อย่าง “เข้ายู้เข้าก�ำ - ให้จ�ำค�ำอู้ - ให้ฮู้ใจความ - ฝึกยะเวียกยะ

หน้า ๑๙

เอาเป็นตัวๆ ภาคใต้ไล่ต้อนเข้าคอกเป็นฝูงๆ ส่วนภาค กลางจะไล่ต้อนกันเป็นโขลงๆ จากเขาใหญ่ สระบุรี มา เข้าพะเนียดที่อยุธยา

ว่าไง ? ช้าง...เมืองนคร

ผมอยู่ร่วมการเสวนาจนจบ มีอาจารย์ชาลี ศิลปรัศมี กับ หมอเล็ก พรภิรมย์ ปศุสัตว์อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ ที่เคยร่วมกันอนุรักษ์ช้างเขาหลวงกันมาก่อนอยู่ด้วย มี ควาญจ�ำเริญ ส�ำลีแก้วจากกระบี่ที่พาลูกหลานมาสร้าง คอกจ�ำลองและเล่าบรรยากาศการไล่จับช้างแต่ก่อน ด้วย โดยมี ดร.สุทธิศักดิ์ แก้วแกมจันทร์ คนร่อนพิบูลย์ ที่ ไ ปอยู ่ ร าชมงคลอี ส านที่ สุ ริ น ทร์ แ ละเป็ น โต้ โ ผงานนี้ สรุปว่าส�ำเร็จแล้ว สามารถท�ำให้คนนครรับรู้และลุกขึ้น มาขับเคลื่อนเรื่องช้างเมืองนครแล้ว แต่ผมไม่เห็นเป็น อย่างนั้น เพราะที่อยู่ฟังจนจบก็มีเพียงเท่านี้ ยิ่งคนนคร มักจะนิยมเข้าประชาคมแอตแลนติคเหนือ คือ NATO : No Action Talk Only ด้วยแล้ว งานนี้จะเกิดมรรคผล ได้ ต้องก่อตั้งกลุ่มคนขับเคลื่อนแล้วประคองกันหลาย ยกอย่างยากยิ่ง แถมมีเรื่องแทรกมากมายจากนานา ประเทศ ก็น่าจะยิ่งยากเข้าไปใหญ่ แต่อย่างไรเสีย งาน นี้มีประโยชน์อย่างมาก จึงขอน�ำมารายงานในรักบ้าน การ - ฝึกควาญสอนช้าง” ด้วยการท�ำเสาโยงหรือเอาเข้า เกิด นครดอนพระฉบับนี้ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ คอก พอขี่ได้เพื่อเอาไปฝึกงานอื่นๆ ต่อ ท�ำด้วยความรัก ภาคเหนือซื้อช้างจากอีสาน ปกากะญอเอาช้างตกลูกจาก ช้างในบ้าน ที่จับช้างมีท�ำ แต่ที่ภาคอีสานกับภาคใต้ อีสานใช้วิธีต่อช้างไล่คล้อง


หน้า ๒๐

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๙ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.