ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๙
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
www.nakhonforum.com
www.facebook.com/rakbaankerd
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ EGCO Group ประกอบพิธีเปิด การจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์โรงไฟฟ้าขนอมหน่วยที่ ๔ ก�ำลังผลิต ๙๓๐ เมกะวัตต์ แทนโรงเดิมที่หมดอายุ เป็นโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีญีปุ่น เพิ่มความมั่นคงด้าน พลังงานและสนับสนุนเศษฐกิจภาคใต้ เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๙ นายสมบั ติ ศานติ จ ารี ประธานคณะกรรมการบริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ EGCO Group เป็น ประธาน นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช นายพรเทพ ธัญญพงศ์ชัย ประธานกรรมการก� ำ กั บ กิ จ การพลั ง งาน นาย กรณ์ศิษฎ์ ภัคโชตานนท์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพชรคง มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗
คณะศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ วั ด ไสหร้า อ.ทุ่งใหญ่ จัด สมโภช 'พระธาตุเจดีย์ทันใจพ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ' (พระครู วิสุทธิบุญดิตถ์) อัญเชิญสรีระ 'พ่อท่าน' ประดิษฐานในเจดีย์ พร้อมบรรจุพระสารีริกธาตุ ก�ำหนดจัดงาน ๑๐ วัน ๑๐ คืน เมือ่ วันที่ ๒๓ มิถ-ุ นายน ๒๕๕๙ พระครู พิสิฐปุญากร (วีระพงศ์ วรปฺ ญ โญ) เจ้ า คณะ ต�ำบลบางรูป และเจ้า อาวาสวั ด ประดิ ษ ฐาราม (วัดไสหร้า) ต�ำบล บางรูป อ�ำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ในวันที่ ๑๐๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ >> อ่านต่อหน้า ๙
นายแพทย์ยุคล โรจนกิจ
นายก�ำพล รุ่งรัตน์
ชมรมชาวปากพนัง และ มูลนิธิชมรมชาวปากพนัง มอบทุ น การศึ ก ษาแก่ นั ก เรี ย นพื้ น ที่ อ.ปากพนั ง และ อุปกรณ์กฬี าแก่โรงเรียนต่างๆ ร่วม ๑.๓ ล้านบาท เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ หอประชุมโรงเรียน ปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช นายก�ำพล รุ่งรัตน์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธาน >> อ่านต่อหน้า ๙ พิธีมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๒
(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)
เด็กๆ กับหอสมุดแห่งชาติฯ หอสมุ ด แห่ ง ชาติ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชเป็ น แหล่ ง ค้ น คว้ า หาความรู ้ แ บบให้ ฟ รี มี ห นั ง สื อ หนั ง สื อ พิ ม พ์ นิตยสารและวารสารให้อ่านมากมาย ทั้งยังแบ่งพื้นที่จัดท�ำ ห้องเด็กและเยาวชนติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้อ่านตาม สบาย แต่เด็กและเยาวชนเข้าไปใช้บริการน้อย เด็ ก ๆ อาจไม่ รู ้ ว ่ า พวกเขาต้ อ งอ่ า นหนั ง สื อ นอกเหนื อ หนังสือเรียนเพราะอะไร บางครั้งผู้ปกครองก็หาค�ำตอบ และสร้างแรงจูงใจให้ลูกหลานไม่ได้ คิดได้แต่เรียนพิเศษ เอาความรู้ไปสอบให้ได้คะแนนมากๆ จึงยอมเสียเงินทอง จ่ายค่าเรียนพิเศษแพงกว่าจ่ายค่าบ�ำรุงโรงเรียนหลายเท่า ในสายตาผู้ปกครองการเรียนเพื่อสอบเข้าโรงเรียนที่มีชื่อ เสียงหรือมหาวิทยาลัยส�ำคัญกว่าการเรียนรู้เพิ่มทักษะชีวิต ถ้าเด็กๆ ได้รับแรงกระตุ้นและเข้าใจว่านักอ่านดูเฉลียว ฉลาดหรือดูดีกว่าคนไม่อ่าน, นักอ่านน่าสนใจและมีเสน่ห์ ดึงดูด น่าคบหา น่าสนทนากว่าคนโง่ทึบไม่ทันโลก, การ อ่านช่วยพัฒนาความรู้ ความคิดและเพิ่มพูนความจ�ำ, การ อ่านช่วยให้ค้นพบทักษะและความชอบของตนเอง, การ อ่านช่วยเสริมสร้างจินตนาการ, การอ่านช่วยเพิ่มพูนทักษะ ด้านภาษา และช่วยให้รู้จักโลกกว้างขวางยิ่งขึ้น ลูกหลาน อาจสนใจอ่านหรือเข้าห้องสมุดมากยิ่งขึ้น หอสมุดแห่งชาติจังหวัดนครศรีธรรมราชอยู่ภายในพื้นที่ เดียวกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรงข้ามกับวัดสวนหลวง อาจไกลส�ำหรับผู้อาศัยในต�ำบล คลัง ต�ำบลท่าวังหรือต�ำบลปากพูนที่อยู่ทางทิศเหนือและ ไกลจากต�ำบลท่าเรือทางทิศใต้ แต่เราอาจทราบว่าอัจฉริยะ หรื อ มหาบุ รุ ษ หลายท่ า นเดิ น เท้ า ไป-กลั บ วั น ละหลาย กิโลเมตรเพราะอยากอ่านหนังสือ ทุกวันนี้ผู้ปกครองส่วน ใหญ่มียานพาหนะสามารถรับส่งลูกไปห้องสมุดได้ แต่ผู้ ปกครองอาจไม่เห็นความส�ำคัญอย่างแท้จริง อย่ า ปล่ อ ยให้ ห อสมุ ด แห่ ง ชาติ ฯ กลายเป็ น แหล่ ง เก็ บ หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์และวารสารดีๆ มีคุณค่าโดย มีผู้อ่านจ�ำกัด ผู้บริหารโรงเรียนประถมหรือมัธยมตอนต้น ควรปรึกษาหรือแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้บริหารหอสมุด แห่งชาติ จัดท�ำโครงการขนาดเล็กๆ เช่น การน�ำเด็กคราว ละ ๓๐-๔๐ คน มาสืบค้นเรื่องราวต่างๆ จากหอสมุดฯ กลับไปส่งครูโดยถือเป็นคะแนนกิจกรรมในรายวิชา ภาษา ไทย ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษาหรืออื่นๆ ซึ่งช่วยให้เด็ก เข้าใกล้หอสมุดแห่งชาติ ฯ มากขึ้น
เ
มื่อบ่ายวันที่ ๕ มิถุนายน ผมได้จังหวะเข้าร่วมสนทนาที่ พระธาตุ “โร่ม่าย ไซ๋ชื่อนี้” ครั้งที่ ๔ เนื่องจากพอดีมีกิจ ต้อนรับคณะนักโบราณคดีจากโครงการวิจัยไทย-ฝรั่งเศส ชาวฝรั่งเศส ๔ คน ไทย ๑ คน น�ำโดย ดร.เบเรนิซ เบลลิน่า เดินทางมาขอศึกษานานาภาชนะและเศษกระเบื้องที่พบ ในภาคใต้เท่าที่ผมพบเห็นและเก็บไว้ในคลัง โดยมี ๒ ผู้ เชี่ ย วชาญเรื่ อ งเครื่ อ งถ้ ว ยจี น โบราณเมื่ อ สมั ย แรกเริ่ ม ประวัติศาสตร์เป็นผู้ท�ำการศึกษาละเอียดต่ออีก ๕ วัน
เสวนาครั้งนี้ ชวนหาที่มาและความหมายของ “นคร เมืองพระ” ซึ่งผมเองก็ไม่เคยคิดถามว่าท�ำไม ? มีความ หมายอย่างไร ? พยายามนึกเท่าไหร่ ก็จ�ำอะไรไม่ได้ว่าเคย อ่านพบการอธิบายไขปัญหานี้ที่ไหนหรืออย่างไรมาก่อน เข้าข่ายว่าใช้ต่อๆ กันมา ในท�ำนองเดียวกับชาวเมืองกาลามะ เมื่อสมัยพุทธกาลโน้น ต่อไปนี้คือเท่าที่ผมพอมีสติปัญญา “นึกเอาเอง” เพื่อ ร่วมขบในเรื่องนี้ ด้วยเหตุผลแรกคือ อันที่จริงแล้ว ค�ำว่า ‘พระ’ นั้นมาจาก ‘พร’ รวมทั้ง ‘วร’ แปลว่า ‘คนดี’ ‘ค�ำดี’ และ (สิ่ง) ‘ดี’ เฉพาะ ‘พระ’ นั้น นิยมว่าหมายถึง ผู้ที่แสดงตนว่าประพฤติดีประพฤติชอบ เป็นที่เคารพนับถือ และให้เกียรติ ในพุทธศาสนาหมายถึง “ภิกษุ” นอกนั้นมีใช้ อีกหลายกรณี เช่น น�ำหน้าชื่อ ‘เทพ’ อาทิ พระอินทร์ พระ พรหม รวมทั้งน�ำหน้าชื่อ พระจันทร์ พระอาทิตย์ พระคงคา ซึ่งถือว่ามีเทพสิงสถิตย์ กระทั่งบรรดาศักดิ์ของคนชั้น ‘พระ’ ‘พระยา’ และ ‘เจ้าพระยา’ และดูเหมือนว่าในสมัยโบราณ รวมทั้งในชาติอื่นก็มิได้ใช้ค�ำว่า ‘พระ’ อย่างที่ไทยทุกวันนี้ใช้ และแม้ในหมู่ชาวไทยด้วยกันก็ใช้เรียกแตกต่างกันในแต่ละ ภูมิภาค เช่น ปู่ครู (สุโขทัยโบราณ) ตุ๊เจ้า (เหนือ) ครูบา (อีสาน) หลวง (ใต้) ฯ เฉพาะค�ำ ‘นครเมืองพระ’ ที่ใช้กันนั้น เข้าใจความ หมายโดยทั่วไปว่าเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะ ‘พระภิกษุ’ แบบว่าเมืองนี้มี ‘พระมาก’ มี ‘พระดี’ ในที่นี้ผม ขอไขความเป็นเบื้องต้น ด้วยการย้อนนึกถึงเมืองนครในหน้า ประวัติศาสตร์ที่อาจจะเป็นที่มาและความหมายของ ‘นคร เมืองพระ’ ว่า ๑) จากจารึกหลักที่ ๑ ของพ่อขุนรามค�ำแหง ที่ กลายเป็นมรดกความทรงจ�ำโลกไปแล้วนั้น มีข้อความตอน หนึ่งว่า ‘ปู่ครู ... หลวกกว่าปู่ครูในเมืองนี้ ... ลุกแต่สรีธัมมราชมา’ ในลักษณะยกย่องว่าพระภิกษุในกรุงสุโขทัยที่ เรียนรู้และปฏิบัติดีปฏิบัติชอบนั้น มาแต่เมืองนคร นี้น่าจะ เป็นร่องรอยหลักฐานหนึ่งซึ่งขึ้นชื่อกันในกรุงสุโขทัยในสมัย สุโขทัยว่า ‘เมืองนครมีพระดี’
๒) ในต�ำนานประวัติพระพุทธสิหิงค์ หรือ สิหิงคนิ ทาน แต่งโดย .............................. ที่เมืองเชียงใหม่ สมัย ................. กล่าวว่า ‘พระร่วง ได้ข่าวว่าที่สิงหลมีพระดี และงดงาม ต้องการได้ไว้ประจ�ำเมืองเพื่อเป็นสิริมงคล จึง ขอให้....................... ไปขอมา แล้วอัญเชิญไว้ประจ�ำเมือง สืบต่อๆ กันมา ทั้งสุโขทัย เชียงใหม่ ศรีสัตนาคนหุต’ จน อัญเชิญกลับมาไทยเป็นหนึ่งในพระปฏิมาส�ำคัญของชาติ ในทุกวันนี้ นี่ก็ถือได้ว่าเป็นอีกหลักฐานหนึ่งซึ่งแสดงว่าใน ดินแดนและหมู่ชาวไทย ลาว ล้านนา ล้านช้าง ให้คุณค่าว่า ‘เมืองนครเป็นต้นทางของพระปฏิมาที่แทนองค์พระสัมมา สัมพุทธเข้ารูปส�ำคัญที่แต่ละชาติหมายปองเป็นพระปฏิมา ประจ�ำชาติ’ ๓) ครั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต�ำนานหลวงพ่อทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด ซึ่งเท่าที่มีผู้รวบรวมไว้และเป็นที่รับรู้ใน ทุกวันนี้ กล่าวว่าท่านเป็นชาวสงขลาที่สทิ้งพระ เดินทางมา บวชเรียนที่เมืองนคร ก่อนที่จะเดินทางเข้ากรุงศรีอยุธยา ด้วยการอุปัฏฐากจากตาขุนลกแห่งเมืองนคร จนเป็นพระดี มีชื่อเสียงในกรุงก่อนที่จะเดินทางกลับสงขลา ได้รับพระราชทานกัลปนาจากกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาอย่างพิเศษ โดยในขณะนั้น นคร-สงขลา-สทิ้งพระ ล้วนนับเนื่องอยู่ใน ‘เมื อ งนคร’ ทั้ ง นั้ น นี้ ก็ อ าจเป็ น อี ก พยานที่ แ สดงว่ า ใน สมัยหนึ่งของอยุธยานั้น ‘นครเป็นเมืองที่มีพระดี’ เป็นที่ ประจักษ์ ๔) เมื่อก�ำลังจะเสียกรุง พุทธศักราช ๒๓๑๐ มีพระ ภิกษุสงฆ์หมู่หนึ่ง น�ำโดย ‘ท่านสี’ ที่กล่าวกันว่าเป็นชาว เมืองนคร หลีกหนีความอลหม่านวุ่นวายในอยุธยาออกมา ณ เมืองนคร มีผู้ค้นคว้าสรุปไว้ว่า ‘ท่านสี’ นี้มีชาติภูมิสถาน อยู่ที่ ‘วัดป่า’ ต่อแดนเมืองนครและร่อนพิบูลย์ ที่ทุกวันนี้ เรียกชื่อว่า ‘วัดป่าตอ’ ครั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินประกาศ อิสรภาพจากพม่าและออกรวบรวมสร้างความเป็นปึกแผ่น ของชาติไทยมาถึงเมืองนคร ด้วยการเอาชนะเจ้าพระยานคร ได้ จากนั้นจึงต่อด้วยกุศโลบายวิเศษว่า การตั้งตัวเป็นใหญ่ ก๊กเหล่าต่างๆ เมือ่ บ้านเมืองตกเป็น (อ่านต่อหน้า ๑๑)
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๓
สุ
รโรจน์ นวลมังสอ ผู้รับใบอนุญาต โรงเรี ย นเกตุ ช าติ ศึ ก ษา ต� ำ บล ท่าเรือ (หัวสะพานชะเมา) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นคนรักกีฬา และการเล่นกีฬา ทั้งฟุตบอล ปั่นจักรยาน โดยเฉพาะกีฬาขี่ม้าที่โปรดปรานมาก หลั ง คุ ณ แม่ - สมศรี นวลมั ง สอ จากไป สุรโรจน์ได้เป็นผู้รับใบอนุญาต โรงเรียนเกตุชาติศึกษาสืบต่อมา ช่วงยัง มี ชี วิ ต คุ ณ แม่ เ ห็ น ชอบให้ สุ ร โรจน์ ริ เ ริ่ ม โครงการก่ อ สร้ า งสนามกี ฬ าในร่ ม ให้ นั ก เรี ย นมี ส นามกี ฬ าได้ ม าตรฐาน ทั้ ง สนามบาสเกตบอล ฟุ ต ซอลและสระ ว่ายน�้ำ แล้วสนามก็เสร็จเรียบร้อยและ สวยงามตามฝัน วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ สุรโรจน์ เรียนเชิญอา-สมนึก เกตุชาติ อดีตนายก เทศมนตรี น ครนครศรี ธ รรมราชหลาย สมัย เป็นประธานเปิด Ketchad Arena หรือ 'เกตุชาติ อารีน่า' มีมิตรสหายและ เพื่อนพ้องน้องพี่ไปร่วมแสดงความยินดี กันคับคั่ง
สุรโรจน์เปิดเผยว่าโครงการนี้ลงทุน ประมาณ ๑๐ ล้านบาท ผมเชื่อว่านอก จากการเรี ย นการสอนในชั้ น เรี ย นกั บ อาคารสถานที่ที่สะดวกสบายแล้ว สนาม กี ฬ าขนาดใหญ่ จ ะเป็ น แรงดึ ง ดู ด ใจให้ ผู ้ ปกครองส่งลูกเข้าเรียนที่โรงเรียนเกตุชาติ ศึ ก ษาอย่ า งส� ำ คั ญ สุ ร โรจน์ เ ป็ น ผู ้ ส นใจ เรื่องการศึกษาอย่างสูง ขณะนี้ก�ำลังศึกษา
ระดั บ ปริ ญ ญาเอกเพราะรู ้ ว ่ า สั ก วั น ต้ อ ง ท�ำหน้าที่ต่อจากคุณแม่ วันเปิดงานนอกจากพิธีเปิดยังมีพิธี สงฆ์เพื่อเป็นสิริมงคล นับเป็นวันดีๆ ของ ญาติ พี่ น ้ อ งสายตระกู ล 'เกตุ ช าติ ' อย่ า ง แท้จริง เสร็ จ พิ ธี เ ปิ ด มี ก ารแข่ ง ขั น ฟุ ต ซอล เปิ ด สนามระหว่ า งที ม สมาคมผู ้ สื่ อ ข่ า ว นครศรีธรรมราชกับทีมผู้บริหารโรงเรียน เอกชนเป็ น คู ่ พิ เ ศษ หลั ง การแข่ ง ขั น นั ก ฟุ ต ซอลสมั ค รเล่ น ต่ า งยอมรั บ เป็ น เสี ย ง เดี ย วกั น ว่ า เป็ น สนามที่ ทั น สมั ย และ มาตรฐานที่สุดในภาคใต้ เพราะว่าสุรโรจน์ ตั้งใจสร้างสนามฟุตซอลในร่มมาตรฐาน นานาชาติ พื้นสนาม PU/ยางธรรมชาติ
แห่ ง แรกในภาคใต้ พร้ อ มรองรั บ การ แข่ ง ขั น ทั ว ร์ น าเมนต์ ใ หญ่ และยั ง คาด หวังว่าในอนาคต 'เกตุชาติ อารีน่า' จะ เป็นแหล่งผลิตนักฟุตซอลที่มีคุณภาพ ขณะนี้สนามฟุตซอลเปิดให้บริการ แก่ ที ม ฟุ ต ซอลเช่ า ซ้ อ มหรื อ แข่ ง ขั น วั น จั น ทร์ - ศุ ก ร์ ๑๖.๐๐-๒๑.๐๐ น. วันเสาร์-อาทิตย์ ๑๐.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. อัตราค่าบริการ กลางวันชั่วโมงละ ๕๐๐ บาท กลางคืนชั่วโมงละ ๘๐๐ บาท จองสนามติดต่อ ครูเก่ง : ๐๙๒-๖๖๕-๒๘๙๑ ครูแบงค์ : ๐๘๐-๘๘๓-๗๙๕๗
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๔
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com
สุธรรม ชยันต์เกียรติ
หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือน กรากฎาคม ๒๕๕๙
ห
ลาโดหก หรือภาษาทางราชการ เรียก “ศาลาประดู่หก” เดิมที นั้ น เป็ น ศาลาหน้ า เมื อ ง หรื อ คนพื้ น เมืองทางใต้จะเรียก “หลากลางหน” ก็ คื อ ศาลากลางหนทางนั่ น เอง สมั ย โบราณผู้คนเดินทางเข้าออกเมืองทาง ประตู เ มื อ ง หากเดิ น ทางมาถึ ง เมื อ ง ยามพลบค�่ำ ประตูเมืองปิดแล้วก็ต้อง อาศัยศาลาหน้าเมืองเป็นที่พักแรม เพื่อรอเข้าเมืองในวัน รุ่งขึ้น หลาหน้าเมืองจึงมีประโยชน์การใช้สอยเป็นทั้งนั่ง พักร้อน หลบฝนหลบแดด ใช้พักค้างแรมหุงหาอาหารที่ พกพามาจากการเดินทาง หลาหน้าเมืองก็สร้างด้วยวัสดุ ธรรมชาติง่ายๆ เมื่อมีการผุพังไปแล้วก็จะสร้างขึ้นใหม่ เพื่อประโยชน์การใช้สอย ผมมีภาพวาดรูป “หลาหน้า เมือง” อยู่รูปหนึ่ง ในหนังสือของนาย “จิม ทอมสัน” ราชาผ้าไหมไทย น่าจะเป็นฝีมือการวาดของ เจมส์โลร์ ฝรั่งชาวอังกฤษ ซึ่งเดินทางมาอยู่ที่เมืองนครอยู่ระยะ หนึ่ง ในภาพเป็นรูปวาดก�ำแพงเมืองนคร มีป้อมประตู เมื อ งเป็ น มุ ม แหลม มี ค นขี่ ช ้ า งข้ า มคู มี ส ะพานข้ า ม คูเมืองขนาดเล็ก และมีหลาเล็กๆ อยู่ใกล้สะพาน นี่เป็น ภาพหลาหน้าเมืองที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ค้นพบ นี่เป็นการ ยืนยันความมีตัวตนของหลาหน้าเมืองที่มีมาแต่โบราณ เป็นอย่างดี ส่วนภาพถ่ายรูปหลาหน้าเมืองเพิ่งจะมีขึ้นในยุค ๑๐๐ ปีประมาณนี้ ก็เป็นหลาที่ชาวนครเรียกว่า “หลา โดหก” ด้วยที่หมายตาของ หลาหลังนี้คือ ต้นโด (ประดู่) ล้อมรอบหลาอยู่หกต้นร่มรื่นมาก ต้นประดู่เหล่านี้น่าจะ ปลูกพร้อมๆ กับการท�ำ “ถนนราชด�ำเนิน” เมื่อ ๑๐๐ กว่าปีก่อน เพราะช่วง พ.ศ.๒๕๐๐ ประดู่แต่ละต้นมี ขนาดสองสามคนโอบแล้ว ต้นประดู่นั้นปลูกเรียงรายมา ตามริมถนนราชด�ำเนินตั้งแต่สวนราชฤดี (บริเวณสนาม
กีฬาถึงสนามบิน) ไปจนแยกศาลามีชัย จนคนยุคก่อนๆ จะถือเอาต้นประดู่เป็นสัญลักษณ์ของต้นไม้เมืองนคร “หลาโดหก” มีการกล่าวถึงมากมายทั้งทางเอก สารหนังสือต่างๆ เพื่อเล่าเรื่อง ส่วนเรื่องเล่าของชาวบ้าน ซึ่งมีเกร็ดมากมายต่อเติมกันเป็นเรื่อง สนุกสนานเป็น นิทานท้องถิ่นไป หนังตะลุงเพลงบอกก็ยกมาแต่งเติมเล่า เรื่องกันทั่วไป ส่วนมากจะแต่งเรื่องเล่าถึงผู้คนเดินทาง มานั่งเล่าเรื่องตลกโปกฮา เติมแต่งกันสนุกจนถึงเล่าว่า เป็นที่นั่งเล่าเรื่องโกหกกัน เกิดการเรียกชื่อ “หลาโดหก” ไปเป็น “หลาโกหก” ไปก็มี กระทั่งมีชนชั้นปกครองจาก ส่วนกลางรู้สึกว่าชื่อนี้เป็นแง่ลบของคนเมืองนี้ จึงสั่งขึ้น ป้ายเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “สัจจะศาลา” ซึ่งแต่เดิมทราบว่า ไม่มีป้ายชื่อแต่อย่างใด ท่านที่มาเปลี่ยนก็เป็นการหวังดี ต่อบ้านเมือง แต่ไม่เข้าใจส�ำนวนและประเพณีวัฒนธรรม ของการเรียกชื่อใช้ค�ำของคนท้องถิ่น ค�ำว่า “โกหก” เป็น ค�ำของคนภาคกลาง คนนครนั้นใช้ค�ำว่า “ขี้เท็จ” หรือ “ขี้ฮ็อก” รู้ถึงท่านเจ้าคุณม่วง (พระรัตนธัชมุนี) ท่านจึง เขียนบทกลอนแสดงความไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนชื่อ หลาเป็น “สัจจะศาลา” ท่านยืนยันให้เรียก “หลาโดหก” ดังเดิม หรืออย่าไปเรียกเป็น “หลาโกหก” ก็เพียงพอ ส่วนเรือ่ งฉาวๆ ในพ.ศ.นี้ ก็เกิดเหตุคล้ายๆ กัน แต่ เที่ยวนี้จะมีการรื้อเพื่อสร้างใหม่ให้มันดูวิไลขึ้น และมี ประโยชน์การใช้สอยได้มากมายกว่าเดิม นัยว่า “หลาโดหก” หลังเดิมรูปแบบดูจะซอมซ่อไม่เป็น สง่า ใช้วัสดุเป็นไม้ กระเบื้องดินเผาแตก หักง่าย เป็นทีพ่ กั พิงของคนจรจัด สกปรก เลอะเทอะ หลังคาก็เตีย้ ค่อมดูไม่สง่า เลย มีการออกแบบใหม่ให้เหมาะสมกับยุค สมัยเหมาะกับการใช้งานเช่น เป็นศาลา จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมของเมือง เป็น ทีพ่ กั ผ่อน กิจกรรมเยาวชน เป็นจุดแลนด์ มาร์คของเมืองใช้ถ่ายภาพ แต่ก็มีเสียง >> อ่านต่อหน้า ๑๑ ผูค้ นคัดค้านเป็น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชทานรางวัลแก่ นายกัณฐพล ชลสิทธิ์ ศิษย์เก่า ม.ราชภัฏนครศรีธรรมราช ผู้ชนะการประกวดภาพถ่าย Bike For DAD ประเภทรางวัล 'รวมพลังตามรอยพ่อ (โครงการตาม พระราชด�ำริ)”
วั น ที่ ๘ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๙ ณ ห้ อ งประชุ ม ศรี วิ ชั ย ศาลากลางจังหวัดนครฯ ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายพิ เ ศษหั ว ข้ อ หลั ก การทรงงานในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ตามโครงการสัมมนา 'คุณธรรมตามรอยพระ ยุคลบาทชาติเข้มแข็งมั่นคง' ปลุกจิตส� ำนึกให้ประชาชนน�ำ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องความ ซื่อสัตย์ สุจริต ความถูกต้องเป็นธรรม ความรักสามัคคี การ ยึดมั่นในผลประโยชน์ของแผ่นดิน ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง และแจ้ ง ให้ ท ราบว่ า สหประชาชาติ เ สนอให้ ส มาชิ ก ๑๙๒ ประเทศ ให้น�ำเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปใช้เป็นแนวทางให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน โดยก�ำหนดแผนระหว่าง ค.ศ. ๒๐๑๖ – ๒๐๓๐
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ต้อนรับนางสาวเว่ย เซี่ยวฮุย (Ms. Wel Zhaohui) รองนายกเทศมนตรีเมืองกุ้ยก่าง เขตปกครองตนเองกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน และคณะ ที่เดินทางมาเยือนจังหวัดนคร ฯ ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ มิถุนายน เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์และหาลู่ทางการค้า การลงทุนและการ ท่องเที่ยวระหว่างกัน โดย เชาว์ ประยูรธรรมฐิติ นายกสมาคม พาณิชย์จีนนครฯ ร่วมให้การต้อนรับและน�ำเยี่ยมชมสถานที่ ท่องเที่ยวและชมผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในเมืองนครเป็นข้อมูลกลับ ไปวางแผนเชื่อมสัมพันธ์ทางการค้าต่อไป
รองผู ้ ว ่ า ฯ ศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล ประธานการคั ด เลื อ ก กิ จ กรรม/โครงการเชิ ด ชู เ กี ย รติ หมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ต้นแบบจังหวัดนครฯ เปิดเผยว่าขณะนี้โครงการได้เลือก ๔ หมู่บ้านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ บ้านคงคาเลียบ ม.๕ ต.กุแหระ อ.ทุ่งใหญ่, บ้านตรอกแค ม.๔ ต.ขอนหาด อ.ชะอวด, บ้านท่า กะได ม.๖ ต.นาเขลียง อ.ฉวาง และบ้านคลองโชน ม.๗ ต.นบ พิต�ำ อ.นบพิต�ำ แล้วคณะกรรมการจะคัดเลือกหมู่บ้านดีเด่น ๑ หมู่บ้านเข้ารับโล่รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่องของผู้สูงอายุ... นพ.ไกรวุฒิ ก้วนหิ้น ผอ.ศูนย์ อนามัยที่ ๑๑ นครฯ เปิดเผยว่าจังหวัดนครฯ มีชมรมผู้สูงอายุ กว่า ๓๐๐ ชมรม และอยากให้ผู้สูงอายุเรียนรู้และใช้โซเชียล เน็ตเวิร์คจะได้ใช้ค้นหาข้อมูล เรียนรู้ ใช้ประสานงาน ใช้ในการ แจ้งข้อมูลเพื่อขอค�ำปรึกษา รับการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุที่อยู่ ติดบ้าน ติดเตียงได้ ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างชมรม ผ่านระบบออนไลน์ โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง และฝากให้ ผู ้ สู ง อายุ ทุ ก คน เคลื่ อ นไหวตั ว เอง ช่ ว ยเหลื อ ตนเอง และ มีเพื่อนพูดคุย Find Us On :
See Kuang BJ Diamond Gold
ทองซีกวง คูขวาง ใกล้สี่แยก
หน้า ๕
วันที่ ๑๘ มิถุนายน ดร.กณพ เกตุชาติ ผู้จัดการโรง วาริน ชิณวงศ์ ปธ.หอการค้าจังหวัดนครฯ มอบช่อ ไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ บริษัทเกษตรลุ่มน�้ำฯ ต้อนรับคณะนักธุรกิจ ดอกไม้แก่ โอฬาร ประจักษ์ทิพย์ ประธานชมรมจักรยานนครฯ มาเลเซียที่มาดูงานหลังรัฐบาลมาเลเซียออกกฎหมายบังคับ คนใหม่...นักปั่นเฝ้ารอดูกิจกรรมและผลงาน ให้โรงงานปาล์มต้องมีระบบก�ำจัดของเสียและเปลี่ยนเป็นก๊าซ เฟซฯ ของ ธวั ช ชีวภาพ 'ดร.กณพ' ได้น�ำชมและบรรยายแลกเปลี่ยนประสบช�ำนะ บอกว่า...นักท่องเที่ยว การณ์เรื่องโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากกากปาล์มอย่างเป็นกันเอง สองท่ า นนี้ ม าเที่ ย วคี รี ว ง กิ น อาหารเสร็ จ แล้ ว เก็ บ บางคนเคยเห็นชาย เรียบร้อย...นี่คือบทพิสูจน์ว่า ผู้หนึ่ง--เดินช้าๆ ก้มเก็บขยะ คี รี ว งเติ บ โตเป็ น แหล่ ง ท่ อ ง ทิ้งเพ่นพ่านตามหน้าร้าน หรือ เที่ยววัยกลางที่เจ้าบ้านหวั่น หน้ า บ้ า นชาวบ้ า น แถมไม่ ไหวกับปัญหาขยะ พูดไม่จา ถ้าพูดสักค�ำก็สุภาพ และคนหู ห นั ก ฟั ง ก็ ว ่ า เบา บางคนมองเป็ น คนเก็ บ ขยะ ซอมซ่ อ แท้ จ ริ ง ชายผู ้ นี้ คื อ อาณััติ บ�ำรุงวงศ์ ผอ.ส�ำนัก ศิลปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ที่มีวัตรปฏิบัติน่าชื่นชม ลงมือท�ำให้บ้านเมืองสะอาดโดย ใช้คีมกับถุงพลาสติก
ผู้บริหารฮอนด้าศรีนครและพนักงานสวมเสื้อเหลือง น้ อ มใจถวายพระพรพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งใน โอกาสมหามงคลเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ปี และเมื่อ วันที่ ๑๗ มิถุนายนที่ผ่านมาบริษัท ฮอนด้าศรีนคร จ�ำกัด ได้ มอบตู ้ ก ดน�้ ำ ดื่ ม ให้ แ ก่ ศู น ย์ โ รคหั ว ใจ โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช เพื่อไว้ใช้บริการแก่ผู้ป่วย
Page เพชรทองซีกวง
ทองซีกวง ตลาดเสาร์-อาทิตย์
: Seekuang_central
ทองซีกวง ท่าม้า ข้างศาลากลาง
ทองซีกวง ตลาดหัวอิฐ
Seekuang BJ
วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ ปกรณ์ พิมลวงศ์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ปกรณ์และเพื่อนจ�ำกัด เปิดตัวห้องรับรอง The Premier Lounge โดยเชิญ รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล พล.ต.ธี ร ์ ณ ฉั ฏ ฐ์ จิ น ดาเงิ น ผู ้ บั ญ ชาการมณฑลทหารบกที่ ๔๑ และ พล.ต.ต.วันไชย เอกพรพิชญ์ ผู้บังคับการต�ำรวจ ภูธรจังหวัดนครฯ ร่วมเป็นประธานตัดริบบิ้น วาริน ชิณวงศ์ ปธ.หอการค้าจังหวัดนครฯ และนักธุรกิจมาร่วมยินดีคับคั่ง The Premier Lounge เป็นห้องรับรองระดับพรีเมี่ยม ตั้งอยู่ บริเวณชั้น ๒ ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน โอเชี่ยนนครฯ สนใจ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. ๐๘-๑๖๐๗-๔๓๕๗, ๐๘-๑๘๙๓-๓๓๓๓ หรือ ๐๗๕-๘๐๐-๕๗๕
Line ID : @Seekuang
ทองซีกวง ชั้น 2 เซ็นทรัลพลาซ่า
Line ID : boonada
099-195-6996
เพชรทองซีกวง ถนนเนรมิต ท่าวัง เพชรทองซีกวง ชั้น 1 ห้างโรบินสัน เพชรทองซีกวง ชัน้ 1 ห้างโรบินสัน
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๖
ล
ะม้าย เสนขวัญแก้ว อดีตสมาชิกสภา จังหวัด อ.หัวไทร หลายสมัย และรอง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ หลังหมด วาระ เขากลับไปท�ำนาบนที่ดินของตัวเอง หลายสิบไร่ ปลูกเฉพาะข้าวไข่มดริน้ ปี ๒๕๕๘ เขาเสนอตัวลงสมัครเป็นผู้ แทนเกษตรกร โซน ๔ ภาคใต้ ๑๔ จังหวัด และ ได้รบั เลือกเป็น ๑ ใน ๒๐ ทัว่ ประเทศเข้าเป็นคณะกรรมการ กองทุนฟืน้ ฟูและพัฒนาเกษตรกร (กฟก.) ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติกองทุน ฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ปี ๒๕๔๒ ในรูปนิติบุคคล และ ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจ ก�ำหนดให้มีบอร์ดบริหาร ๔๑ คน นายก รัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการโดยต�ำแหน่ง แต่นายกฯ จะ มอบอ�ำนาจให้รองนายกฯ ขณะนี้รองนายกฯ ได้แก่ ดร. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นประธานกรรมการ กล่าวอย่าง รวบรัดปัจจุบัน ละม้าย เสนขวัญแก้ว ได้รับการคัดเลือก จากคณะกรรมการบริหารให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะ กรรมการบริ ห ารและจั ด การหนี้ สิ น ของเกษตรกรตั้ ง แต่ ปี ๒๕๔๙ ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ กว่าราย มูลหนี้ประมาณ ๘๔,๐๐๐ ล้านบาท
ละม้ายบอกว่าเกษตรกรต้องปรับตัวเข้าสูก่ ระบวนการ ผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น เพื่ อ ให้ แ ข่ ง ขั น กั บ ผลผลิ ต ที่ ม า จากต่างประเทศได้ มันไหลเข้าออกราวกับอยู่ในประเทศ เดียวกัน "ภาคเกษตรกรรมของเราถ้าไม่ปรับตัวก็ลม้ หายไป ในอนาคต" การปรับตัวเริ่มจากการปรับความคิดในการท�ำเกษตร รอบใหม่ที่ไม่ผูกมัดตัวเองไว้กับวิธีแบบเก่า "ผมท�ำนาข้าว อย่างมีเป้าหมาย ท�ำอย่างมีคุณภาพและมีตลาด ขายได้ ราคาดี ผมท�ำนาปลูกข้าวเองกินเอง เวลาขายผมไม่ขายข้าว เปลือก ผมจะขายข้าวสาร ผมท�ำ ๕๐ กว่าไร่ ใช้ขา้ วพืน้ เมือง พันธุไ์ ข่มดริน้ ข้าวของเมืองนครมาแต่โบราณ" นาข้าวของละม้ายเป็นนาอินทรีย์ ไม่ใส่ปุ๋ย ไม่ฉีดยา ปราบศัตรูพชื แต่เน้นความส�ำคัญเชิงภูมศิ าสตร์ธรรมชาติ "สิ่งที่มันเกิดขึ้นในเชิงภูมิศาสตร์ พอเหมาะสม การ เรียนรู้ในเชิงภูมิศาสตร์ ดินฟ้าอากาศ ดินน�้ำลมไฟ ทั้งหมด มันต้องสอดคล้องกับถิ่นของตัวเอง” ก่อนนี้ภาคเกษตรเดิน ผิดทิศทาง โดยเฉพาะการส่งเสริมจากเบื้องบนให้ผลิตเชิง พาณิชย์ ทีใ่ ช้ตน้ ทุนสูงเพราะปลูกพืชทีไ่ ม่ได้เกิดในถิน่ "ผมปลูก ๑ ไร่ ใช้พันธุ์ ๘ กิโลฯ บางคนใช้ ๒๐-๒๕ กิโลฯ หว่านได้ ๑ เดือนใส่ปยุ๋ ฉีดยา ข้าวไข่มดริน้ มันเกิดใน สภาพภูมิอากาศอย่างนี้ พื้นที่อย่างนี้ ปุ๋ยไม่ต้องใส่ ต้นทุน คือธรรมชาติที่สอดคล้องกับพืชผลนี้ ---วิธีท�ำนา ผมปรับ
< ข้าวไข่มดริ้น ปัญหาหนี้สินของเกษตรกรโดยใช้เงินของกองทุนฟื้นฟูฯ ไปเป็นนาอินทรีย์ ผมเตรียมดิน ไถแล้วหว่านปอเทือง แล้ว จากนาของละม้าย ไปดูแลจัดการหนี้ทั่วทั้งประเทศราวๆ ๕,๐๐๐ กว่าล้าน ไถกลบ หว่านข้าว เราไม่เติมอะไร น�ำ้ เราไม่ใส่ เคมีไม่ใส่ น�ำ้ เสนขวัญแก้ว
"คณะกรรมการชุดนีม้ ดี ว้ ยกัน ๒๑ คน มีปลัดกระทรวง เกษตรฯ กับปลัดส�ำนักนายกฯ อยู่ ๒ กระทรวง ผู้แทน เกษตร ๙ คน ผู้แทนส�ำนักงบฯ ผู้แทนกระทรวงการคลัง อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผูจ้ ดั การ ธกส. จาก ๒๑ คนเขา จะเลือกคนเป็นประธาน ซึ่งได้ผมเป็นประธานจัดการหนี้ หน้าที่ก็คือไปวางกฎเกณฑ์ในการไปดูแลเรื่องภาระหนี้สิน ของเกษตรกร" ปี ๒๕๔๔ กองทุนฯ ประสบปัญหาเพราะว่าการจะ ไปฟื้นฟูเกษตรกรให้มีอาชีพขณะเขามีภาระหนี้สินมันท�ำได้ ล�ำบาก รัฐบาลแก้ไขเพิ่มเติมเป็นพระราชบัญญัติปี ๒๕๔๔ ให้ไปดูแลจัดการหนีเ้ กษตรกรด้วย ละม้ า ยอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว่ า สมาชิ ก กองทุ น ฯ ที่ ขึ้ น ทะเบี ย นไว้ มี ภ าระหนี้ ที่ ต ้ อ งเข้ า ไปฟื ้ น ฟู แ ละพั ฒ นา ถู ก ก�ำหนดไว้ ๕ ระดับ ได้แก่ หนีท้ ลี่ ม้ ละลาย เคยถูกบังคับยึด ทรัพย์ดำ� เนินคดี, หนีผ้ ดิ นัดช�ำระ และหนีป้ กติ เป็นต้น "คณะ กรรมการจัดการหนี้ต้องแก้ปัญหาจัดการหนี้ให้เกษตรกร ก่อนเข้าสู่ขบวนการฟื้นฟูให้มีอาชีพใหม่ ไปวางกฎเกณฑ์ วางกรอบ วิธีการโดยส�ำนักงานสาขาร่วมกับอนุกรรมการ จั ง หวั ด ซึ่ ง สาขาแต่ ล ะจั ง หวั ด รวบรวมรายชื่ อ หนี้ ที่ ขึ้ น ทะเบียน และใครขอให้เราจัดการหนี้ ถ้าอยูใ่ นเกณฑ์จดั การ หนี้ถูกยึด หนี้ถูกฟ้อง หนี้ถูกบังคับคดี ถูกด�ำเนินคดีจะต้อง เกิดขึ้นจาก 'เงื่อนไขของการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เท่านัน้ ' กรรมการจัดการหนีจ้ ะเสนอบอร์ดใหญ่ขอความเห็น ชอบ หลังจากนัน้ เราจะเข้าไปดูแลจัดการหนีใ้ ห้" ขณะนี้คณะกรรมการที่ละม้ายเป็นประธานได้แก้ไข
ประมาณ ๒๘,๐๐๐ ราย "เราดูแลรักษาที่ดินท� ำกินของพี่น้องเกษตรกรกว่า ๑๐๐,๐๐๐ ไร่ ไม่ให้ถกู ยึด ถูกบังคับคดี ไม่ให้ถกู ขายทอด ตลาด" ละม้ายขยายเพิม่ เติมว่า พรบ. ฉบับเก่ามีชอ่ งว่างเพราะ ตอนวางแผนภาคเกษตรกรไม่มีส่วนร่วม แต่พวกเราด้อย ประสบการณ์ ส่วนราชการไม่ค่อยให้ความส�ำคัญ โครงการ ปรับโครงสร้างหนี้ ให้เงินมา ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ ล้าน เกษตรกรเอาเงินไปซื้อรถ พรบ.ฉบับ ปี ๒๕๕๔ จึงเขียนชัดเจน ว่าต้องเป็นหนี้จากการท�ำเกษตรกรรมเท่านั้น ปัจจุบันทั่ว ประเทศมีหนีเ้ กือบแสนล้าน "จั ง หวั ด นครฯ เรามี เ กษตรกรมาขึ้ น ไว้ ป ระมาณ ๗,๐๐๐ กว่าราย ๙,๐๐๐ กว่าบัญชี ยอดหนีท้ มี่ าขึน้ ทะเบียน ให้ด�ำเนินการทั้งหมด ๒,๐๐๐ กว่าล้าน เราจัดการไปแล้ว ๗๐๐ กว่าล้าน มีทั้งลดยอดหนี้และไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยให้ ธนาคารเจ้าหนี"้ ละม้ายย�้ำว่าแนวทางปฏิบตั คิ ณะกรรมการชุดนี้ปฏิบตั ิ เหมือนกันทั่วประเทศ "เราเอาหนี้คือเราเป็น NPL ที่เขา บังคับหรือขายทอดตลาด กับหนี้ NPA ทีถ่ กู ขายไปแล้วและ เขายินดีทจี่ ะขายคืนแก่เกษตรกรประมาณ ๑,๐๐๐ ล้าน เรา จะเอาหนีเ้ หล่านีม้ าไว้ทสี่ ำ� นักงานกองทุนฯ ให้หมด ส่วนหนี้ ที่เหลือเราจะไปแบ่งกลุ่มหนี้ แล้ววิเคราะห์มูลเหตุที่มาที่ไป ของหนี้ เราอาจไปร่วมมือกับพี่น้องเกษตรกรพัฒนาอาชีพ เพือ่ หาเงินมาใช้หนีค้ นื ซึง่ น่าจะเป็นเป้าหมายสูงสุดของกอง ทุนฯ ในการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรให้ดแู ลหนีไ้ ด้ เพราะ ว่าจริงๆ หนี้สุดท้ายเกษตรกรต้องมาไถ่คืน ทีนี้ถ้าเรายังไม่ ได้ดูแลฟื้นฟูอาชีพ การเอาหนี้มาไว้ที่กองทุนฯ ก็ไม่มีความ หมายเราจึงเสนอสโลแกน 'การฟืน้ ฟูเกษตรกรเท่ากับการฟืน้ ประเทศ' เป้าหมายเราชัดเจน การฟืน้ ฟูอาชีพเป็นเป้าหมาย หลัก การดูแลหนีเ้ ป็นเป้าหมายรอง เราคงไม่ไปจัดการให้เขา ทัง้ หมด แต่เราไปจัดการฟืน้ และพัฒนา ค่อยๆ ปรับกันไป"
แห้งคนอืน่ ชักน�ำ้ ใส่ เราไม่ชกั น�ำ้ น�ำ้ มาก ข้าวต้นสูงเขาเรียก ข้าวหนีน�้ำ เราไม่ชักเพราะว่าฤดูกาลจะมาตามธรรมชาติ ของมัน รอสักพักฝนก็ตก ข้าวเป็นพืชทนน�ำ้ มันจะใช้นำ�้ มาก ตอนตั้งท้องแล้วจะออกรวง มันจะสอดคล้องเติบโตภายใต้ เงื่อนไขที่มันตั้งท้องตอนน�้ำท่วมพอดี เราลงรอบเดียว แล้ว ข้าวเราเอามาขายได้ในราคาทีค่ อ่ นข้างดี เพราะเรามาสีเป็น ข้าวสารขายกิโลกรัมละ ๕๐ บาท กลายเป็นว่าเราขายข้าว ตันละ ๓๐,๐๐๐ กว่าบาท เราไม่จำ� เป็นต้องไปท�ำปีละ ๓ หน เราได้พักดิน แต่ในแปลงนาผมมันมีหลายอย่าง มีผักปลา ข้าว แล้วข้าวงามอย่างสมัยปู่ย่าตาทวด พอตัดข้าวแล้วก็วิด หนองเอาปลา ได้ปลามากกินไม่หมดก็ใส่เกลือท�ำปลาร้าเอา ไว้กนิ ต้นไม้ผกั หญ้าตามข้างเรือนก็กนิ ได้หมด วิถอี ย่างนีท้ ำ� รายได้ให้เกิดขึ้น เพราะว่าเราไม่ต้องจ่ายเงินซื้อหลายอย่าง การไม่จา่ ยเท่ากับมีรายได้ วิธคี ดิ อย่างนีภ้ าคเกษตรต้องกลับ มาทบทวนใหม่ เราจะท�ำให้สมาชิกมีรายได้ รายเดือน ราย ปี รายได้สอง-สามปีจะน�ำไปคืนทุนได้ ใช้หนีไ้ ด้ กองทุนฯ ที่ เอาหนี้คุณไปไว้ คุณจะจ่ายเมื่อไรก็ตกลงกัน ไม่ใช่จะผ่อน รายเดือน...ถ้าเราพัฒนาการอย่างนี้ได้สมาชิกภาคเกษตร สามารถพัฒนาการทางความคิดได้มากขึน้ เรียนรูไ้ ด้มากขึน้ การด�ำเนินด้วยวิธีอย่างนี้ท�ำให้เขาสร้างคุณภาพได้ เริ่มจาก การผลิตไปสู่ตลาด ตลาดคุณอยู่ที่ไหน ภาคเกษตรเราภาค ผลิตมันพอสมควร แต่ยังมีปัญหาเรื่องการตลาด กองทุนฯ ต้องไปช่วยดูแลในเรือ่ งการตลาด เขาจะได้ใช้หนีค้ นื เอาแผ่น ดินของเขากลับมาให้ลกู หลาน" ข้าวไข่มดริ้นจากนาของละม้ายออกแบบบรรจุภัณฑ์ สวยงาม และเขียนข้างถุงอย่างภาคภูมิใจว่า. .. 'ข้าวไข่มด ริน้ ถิน่ ก�ำเนิดนครศรีธรรมราช' เป็นข้าวกินดี มีคณ ุ ค่าทาง โภชนาการ "เวลาไปหุงซึง่ ผ่านความร้อน พวกวิตามินจะลด ค่าลง แต่ขา้ วไข่มดริน้ ลด ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ข้าวอืน่ บางพันธุ์ ลด ๕๐ กว่าเปอร์เซ็นต์ แสดงว่าไข่มดริ้นทนความร้อน ดีมาก"
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๗
ผ
มได้ มี โ อกาสพู ด คุ ย กั บ นั ก ธุ ร กิ จ รุ ่ น ใหม่ที่ประสบความส� ำเร็จหลายคน บ้ า งก็ เ ป็ น ทายาทนั ก ธุ ร กิ จ ที่ รั บ ช่ ว งต่ อ จากคนรุ่นก่อน สิ่งที่ท�ำให้ผมประหลาด ใจมากก็ คื อ พวกเขาเป็ น คนที่ คิ ด ดี กั บ คนรอบข้างเอามากๆ และคิดบวก มอง ปั ญ หาเป็ น โอกาสใหม่ ๆ เสมอ สิ่ ง ที่ ไ ด้ จากการพู ด คุ ย และสั ง เกตเห็ น ถึ ง ความ แตกต่างจากนักธุรกิจรุ่นเดียวกับผมหรือ คนรุ่นก่อนหน้านี้ พวกเขาบอกว่า “ยุค นี้ไม่ใช่ยุคของคนเก่ง ไม่ใช่ยุคของการ ใช้อิทธิพล แต่เป็นยุคของคนคิดใหญ่คิดถูก–คิดบวก-คิดดี เป็นยุคของคนที่ กล้าเปลี่ยนแปลงโลก” ผมถามต่อแล้ว ถ้าอย่างนั้นพวกเธอต้องจัดการกับความ คิ ด ของตนเองอย่ า งไร? พวกเขาบอก ว่า” ล�ำดับแรกเลยนะลุง (คือเขาเรียก ผมว่าลุงครับ) ต้องถามตัวเองอยู่เสมอว่า “ฉันต้องการอะไร? เป้าหมายในชีวิต คืออะไร? ฉันจะท�ำสิ่งนี้เพื่อใคร?” เมื่อ ชัดเจนกับโจทย์ทตี่ งั้ ไว้แล้วก็ไปสูก่ ารเลือก ที่ชัดเจนในการเดินทางไปสู่เป้าหมายที่ ต้องการนั้นและค�ำถามส�ำคัญก็คือ “ฉัน ก�ำลังใช้สมมติฐานอะไรในการวิเคราะห์ สิ่งนั้น (คิดบวก-ลบ ใช้ข้อมูล-ข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็น) กลับมาถามตัวเองอีกครัง้ แล้วอะไรคือสิ่งที่ฉันต้องรับผิดชอบ เป้า หมาย และพันธะสัญญาของฉันใช่หรือ ไม่?” พวกเขาเน้นในเรื่องนี้มากครับ...
“คือต้อง ชัดเจนแน่นอน และจะไม่ยอม ละวางเป้าหมายที่ตั้งไว้ ต้องไปให้ถึงพูด ให้เข้าใจง่ายๆ คือ ไม่ได้ – ไม่ได้ แต่ใน ระหว่างทางก็อาจลังเล-สงสัย-กังวล และ ก็กลัวว่าจะไม่ส�ำเร็จ ท�ำให้เกิดสภาพที่ไป ไม่เป็น ไปต่อก็ไม่ได้ ถอยหลังกลับก็ไม่ได้ ต้องถามตัวเองว่า “ฉันคิดถึงสถานการณ์ นี้ในแบบอื่นๆ ได้อย่างไร? คือให้ กลับมา พิจารณาทางเลือกว่ามาถูกทาง ทิศทางถูก ต้องแล้ว ก็ใส่พลังสร้างความมั่นใจ ลงมือ ท� ำ ด้ ว ยความคิ ด บวกและคิ ด ดี ใ ห้ ม าก เข้าไว้ เพราะพวกเขาเป็นคนรุ่นใหม่ อายุ ยั ง น้ อ ย จึ ง ต้ อ งตระหนั ก ให้ ม าก เตื อ น ตัวเองอยู่เสมอว่า การท�ำงานร่วมกับคน รุน่ พี่ รุน่ น้อง และรุน่ ก่อน อาจรวมถึงคนรุน่ เดียวกันด้วยว่า คนอืน่ ๆ ทีมงาน คิดอะไร? รูส้ กึ อย่างไร? จ�ำเป็นต้องมีอะไรบ้าง? และ พวกเขาเหล่านั้นต้องการอะไร?” ผมนั่ง ฟังพวกเขาด้วยความประทับใจ เด็กรุ่นนี้ คิดกันแบบนีห้ รือ? จากการทีไ่ ด้รจู้ กั กันมาก
เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๙ วันจันทร์ที่ ๔ กรกฎาคม 2559 แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนเจ็ด (๗) ปีวอก วันอังคารที่ ๑ ๒ กรกฎาคม 2559 ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีวอก วันอังคารที่ ๑๙ กรกฎาคม 2559 ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีวอก วันอาสาฬหบูชา วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม 2559 แรม ๑ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีวอก วันเข้าพรรษา วันพุธที่ ๒๗ กรกฎาคม 2559 แรม ๘ ค�่ำ เดือนแปด (๘) ปีวอก
ขึ้นก็พอทราบประวัติความเป็นมาของพวก เขาได้ บางคนก็ไม่ได้เรียนเก่งหรือจบจาก มหาวิทยาลัยชั้นน�ำหรือจบต่างประเทศมา บางคนก็แค่จบมาแบบเรียนให้จบเท่านั้น ผมถามต่อไปว่ายังมีอะไรอีกที่พวกเธอต้อง ถามตัวเอง พวกเขาคุยต่อด้วยความสนุกเพราะ เห็นผมสนใจแนวคิด อาจรูส้ กึ ว่าได้มโี อกาส สอนคนแก่ ๆ ให้ ห ายโง่ เ สี ย ที … ….. “คื อ เมื่อเราท�ำงานหลังจากท�ำไปแล้วอาจเกิด มีปญ ั หาอุปสรรค” ซึง่ จริงๆ แล้วการท�ำงาน ต้องมีอุปสรรคอยู่เสมอแหละ ก็ต้องกลับ มาถามว่า “อะไรคือสิ่งที่ฉันหลงลืมหรือ พลาดไป?” มาถึงตรงนี้สนุกแล้ว เป็นการ เปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้จากตัวบุคคลและ สถานการณ์ นี้ เป็ น ความผิ ด พลาดหรื อ จากความล้มเหลว แล้วถามกลับมาที่ตัว เอง ตกลงขั้นตอนวิธีการปฏิบัติที่สมเหตุ สมผล มันคืออะไร? จะท�ำให้ทุกฝ่ายพอใจ ได้อย่างไร?.... ถามจริงๆ ที่พูดมาลุงพอ
จะเข้าใจมั้ย? ..ผมได้แต่พยักหน้าและ บอก “เยีย่ มมาก” กลับมาทบทวนสิ่งที่ได้พูดคุยกับ พวกเขาหลังจากที่แยกย้ายจากลากัน... คนส�ำเร็จรุน่ ใหม่เป็นแบบนี ้ ๑. มี เ ป้ า หมายที่ ชั ด เจนไม่ ย อม ละทิ้งเป้าหมาย+ความฝัน ต้องไปให้ถึง และครอบครองท�ำให้ฝนั เป็นจริงให้ได้ ๒. ใช้โอกาสกับคนรอบข้างอยาก ผลักดันให้มีชีวิตที่ดีกว่าเดิม คิดถึงการใช้ พลังของคนอืน่ ของทีม ให้กำ� ลังใจคนรอบ ข้าง ..สร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผูค้ น ๓. อ่อนน้อม ถ่อมตน เรียนรูอ้ ยูก่ บั คนอืน่ ๆ ..ทุกเพศ.. ทุกวัย ๔. ไม่เอาเปรียบคนอื่น คิดเผื่อแผ่ คนรอบข้าง ใจกว้างสร้างมิตรได้มาก ไม่รู้ จักค�ำว่า “ศัตรู” รู้จักแต่คู่แข่งขัน คู่ค้า พันธมิตร ๕. คิดแต่จะหาคนเก่งมาอยู่รอบตัว ให้มากเพราะคิดอยู่เสมอว่าตัวเองยังไม่ เก่ง-ไม่ร-ู้ ยังไม่ประสบความส�ำเร็จ ๖. เกิดมารวย “ต้องรู้จักใช้เงินให้ เป็น ไม่ยอมเป็นทาสเงิน” ๗. คิ ด ใหญ่ คิ ด ถู ก คิ ด บวก คิ ด ดี แบบสุดๆ.. เท่าที่คิดได้ก็มีเท่านี้แหละครับ มัน ท�ำให้ผมรู้สึกสบายใจและมีความสุขมาก ที่ได้เรียนรู้จากคนรุ่นใหม่ พวกเขาเรียน รู ้ ที่ จ ะใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี คุ ณ ภาพมากกว่ า การเป็นคนเก่งต้องท�ำงานหนักแต่ขาด คุณภาพชีวิตที่ดี โลกมันเปลี่ยนไป ดังค�ำ กล่าวทีว่ า่ “ไม่มผี ดิ ไม่มถี กู ” เป็นเรือ่ งทีม่ ี อยูจ่ ริงในโลกธุรกิจครับ นายไพโรจน์ เพชรคง ๒๑/มิ.ย./๕๙
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
<< ต่อจากหน้า ๑
นายนพดล ปิ่นสุภา รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วย ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) นาย ชินยะ มิยาซากิ จากธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่าง ประเทศแห่ ง ญี่ ปุ ่ น หรื อ JBIC และกลุ ่ ม เจ้ า หนี้ เ งิ น กู ้ นายคัทซึยะ นากามูระ บริษัท มิตซูบิชิ ฮิตาชิ พาวเวอร์ ซิ ส เต็ ม ส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด นายธวั ช ชั ย แท้ เ ที่ ย ง นายอ�ำเภอขนอม ผู้น�ำชุมชน คณะกรรมการและผู้บริหาร พนักงานเอ็กโก กรุ๊ป ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีเปิดการ จ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ โรงไฟฟ้าขนอมหน่วยที่ ๔ ต�ำบล ท้องเนียน อ�ำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช พิธีเปิด จัดแบบญี่ปุ่นเรียกว่า 'Kagami Biraki' ซึ่งเป็นความเชื่อ เกี่ยวกับความส�ำเร็จโดยน�ำถังบรรจุสาเกและผู้ร่วมพิธี จะต้องช่วยกันทุบฝาถังให้แตกในครั้งเดียว จากนั้นจะ ตักสาเกใส่ถ้วยท�ำด้วยไม้แจกจ่ายให้แก่ผู้มาร่วมแสดง ความยินดีด้วยการกล่าว 'ไชโย'พร้อมกัน ๓ ครั้ง ผู้เข้า ร่วมพิธีดื่มสาเกฉลองความส�ำเร็จ และน�ำถ้วยสาเกกลับ ไปเป็นที่ระลึก นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวต้อบรับแขกผู้มี เกียรติว่า ตลอดระยะเวลากว่า ๒๐ ปีที่ผ่านมา แม้ว่า
จะมี ก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ขนาดใหญ่ เช่ น โรงไฟฟ้ า และ โรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ ใ นพื้ น ที่ อ�ำเภอขนอม แต่การอยู่ร่วมกัน ระหว่างอุตสาหกรรม ชุมชนและ สิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างเกื้อกูล รวมทั้งมีการร่วมกันพัฒนาชุมชน และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ด� ำ เนิ น การ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนอมแห่งใหม่ ทดแทนโรงไฟฟ้าขนอมเดิมย่อม
เป็นที่ประจักษ์ถึงการยอมรับและความไว้เนื้อเชื่อใจที่ ชุมชนมีต่อโรงไฟฟ้าอย่างดียิ่ง การยอมรับด้วยเสียงที่ เป็นเอกฉันท์และความเป็นหนึ่งเดียวกันเช่นนี้หาไม่ได้ ง่ายนักเชื่อว่าเป็นผลพวงจากความร่วมมือระหว่างโรง ไฟฟ้ ากั บ ชุม ชนที่ด� ำ เนิ น มาอย่ างต่อ เนื่ องและเสมอต้น เสมอปลาย "ผมเชื่อมั่นว่าการมีโรงไฟฟ้าขนอมแห่งใหม่นี้ ไม่ เพี ย งแต่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชนอ� ำ เภอขนอม และ จังหวัดนครศรีธรรมราชเท่านั้น แต่ยังเป็นประโยชน์ต่อ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและ สังคมของพี่น้องภาคใต้ และต่อความมั่นคงทางพลังงาน ของประเทศชาติโดยรวมเพราะไฟฟ้าเป็นปัจจัยส�ำคัญ ส� ำ หรั บ การด� ำ รงชี วิ ต และเป็ น พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ต่ อ การ พัฒนา เศรษฐกิจของประเทศชาติ ในนามของชาวจังหวัด นครศรีธรรมราชโดยเฉพาะชาวอ�ำเภอขนอมรู้สึกยินดีเป็น อย่างยิ่งที่ชุมชนแห่งนี้ได้เป็นที่ตั้งของโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ แห่งหนึ่งของภาคใต้" นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวย�้ำ ถึงความส�ำคัญของโรงไฟฟ้าหน่วยที่ ๔ โรงไฟฟ้าขนอมหน่วยที่ ๔ มีก�ำลังผลิต ๙๓๐ เมกะ วัตต์ได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมื่อกลางปี ๒๕๕๖ เพื่อทดแทน โรงไฟฟ้าเดิมที่จะหมดอายุกลางปี ๒๕๕๙ โดยใช้เงินกู้ ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ล้านบาท โรงไฟฟ้าขนอมหน่วยที่ ๔ ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และตอกเสาเข็มเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ พื้นที่ก่อสร้าง เป็นที่ว่างของโรงไฟฟ้าขนอมเดิมและสามารถเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์และจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทันตามก�ำหนดคือวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ ซึ่งเป็นไปตามแผนพัฒนาก�ำลังการผลิต ไฟฟ้าของประเทศไทย PDP ๒๐๑๐ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๓ โดยจะจ่ายไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าขนอมเดิมที่จะสิ้นสุด สัญญาในวันเดียวกัน โครงการโรงไฟฟ้าขนอมหน่วยที่ ๔ เป็นโรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วมใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก โดยได้ ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า (Power Purchase Agreement - PPA) กับ กฟผ. เป็นระยะเวลา ๒๕ ปี โรงไฟฟ้ า ขนอมหน่ ว ยที่ ๔ ใช้ เ ทคโนโลยี จ ากประเทศ ญี่ปุ่น
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๙
รายงาน วั ด ป ร ะ ดิ ษ ฐ า ร า ม แ ล ะ ค ณ ะ ธาตุเจดียท์ นั ใจ ซึง่ เป็นด�ำริของพ่อ ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ไ ด้ จั ด งานสมโภช ท่านนวล ปริสทุ โฺ ธ ‘พระธาตุ เ จดี ย ์ ทั น ใจ พ่ อ ท่ า น พระธาตุเจดีย์ทันใจพ่อท่าน นวล ปริสุทฺโธ’ และในวันที่ ๑๓ นวล ปริสทุ โฺ ธ เกิดจากปรารภของ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ซึ่งตรงกับวัน พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ ว่าจะสร้าง คล้ า ยวั น เกิ ด ของพ่ อ ท่ า นนวล พระธาตุ เ จดี ย ์ ไ ว้ บ รรจุ พ ระสารี ปริสุทฺโธ (พระครูวิสุทธิบุญดิตถ์) ริกธาตุให้ส�ำเร็จ ขณะพ่อท่านอยู่ อดีตเจ้าอาวาสวัดไสหร้า คณะ ในวัยชราก่อนละสังขาร เมื่อวัน ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ จ ะประกอบพิ ธี ศุ ก ร์ ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ อัญเชิญสรีระสังขารพ่อท่านนวล สิริอายุ ๙๐ ปี ๗๐ พรรษา เมื่อ ปริสุทฺโธ ที่บรรจุในโลงแก้วจาก วันพุธที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ศาลาการเปรี ย ญวั ด ไสหร้ า ไป ๒๕๕๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์ ประดิษฐานในองค์พระเจดีย์ทัน เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดาใจฯ และประกอบพิธีบรรจุพระ มาตุ เสด็จพระด�ำเนินทรงวางศิลาสารีริกธาตุที่ได้รับจากเมียนมาร์, ฤกษ์ ต่ อ มาคณะสงฆ์ อ� ำ เภอ พระสารีริกธาตุ ศรีลังกา, วัดบวรฯ, พ่อท่านนวล ทุ ่ ง ใหญ่ วั ด ประดิ ษ ฐารามและ เก็บสะสมไว้และพระธาตุที่ปรากฏในวัดไสหร้า ณ พระ คณะพุทธบริษัทได้ร่วมกันด�ำเนินการก่อสร้างพระธาตุ
เจดีย์แล้วเสร็จ เป็นพระธาตุเจดีย์ทรงศรีวิชัยประยุกต์ ฐานกว้ า ง ๒๔ เมตร สู ง ๑๙ เมตร และอุ ทิ ศ ถวาย แก่พอ่ ท่านนวล ปริสทุ โฺ ธ ในวาระบ�ำเพ็ญบุญครบ ๙๔ ปี ชาตกาล พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ หรือพระครูวิสุทธิบุญดิตถ์ (นวล เจริญรูป) อดีตเจ้าอาวาสวัดไสหร้า เป็นพระเกจิ ที่ มี ผู ้ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธามากที่ สุ ด รู ป หนึ่ ง ของภาคใต้ แ ละ เป็นนักการศึกษาที่ได้จัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร ตัง้ แต่อดีตจนมรณภาพ และสร้างโรงเรียนประถมภายใน วัดไสหร้าให้เยาวชนในอ�ำเภอทุ่งใหญ่และใกล้เคียงให้ได้ รับการศึกษาอย่างเห็นความส�ำคัญ พ่อท่านนวลเกิดเมื่อ วันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ มรณภาพเมือ่ วันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สิรอิ ายุ ๙๐ ปี พรรษา ๗๐ ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชน ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ และ ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาพ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ ร่วมงานฉลอง สมโภช ตลอด ๑๐ วัน ๑๐ คืน และร่วมพิธีต่างๆ โดย พร้อมเพรียงกัน
รายงาน
นายณรงค์ นุ่นทอง
รศ.ดร.มณี เหมทานนท์
ในพื้ น ที่ อ.ปากพนั ง กว่ า ๑๗๐ ทุ น เป็ น เงิ น ประมาณ ๑,๐๖๙,๐๐๐ บาท และมอบทุนพัฒนาโรงเรียน มอบ อุปกรณ์กีฬา แก่โรงเรียนในพื้นที่ อ.ปากพนัง รวมเป็น เงินสิ้นกว่า ๑,๓๐๐,๐๐๐ ล้านบาท นายก�ำพล รุ่งรัตน์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัด นครศรี ธ รรมราช กล่ า วว่ า เป็ น ความโชคดี ข องชาว ปากพนั ง ที่ มี รุ ่ น พี่ ม ามอบทุ น การศึ ก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้งๆ ที่ในอดีตพื้นที่ อ.ปากพนังมีความเป็นอยู่ยากล�ำบาก ประสบภัยธรรมชาติ เมื่อประสบความส�ำเร็จแล้ว และใน
นายพิจิตต์ แก้วเมือง
ปีนี้มูลนิธิชมรมชาวปากพนังจัดหาทุนการศึกษาได้มากขอ ให้ผู้รับมอบทุน น�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ของผู้ให้ทุนการศึกษา นายณรงค์ นุ ่ น ทอง ที่ ป รึ ก ษาชมรมชาวปากพนั ง กล่ า วว่ า ปี นี้ ช มรมชาวปากพนั ง และมู ล นิ ธิ ช มรมชาว ปากพนังจัดหาทุนได้ประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท จึงขอ ให้ผู้ปกครองดูแลลูกหลาน น�ำไปใช้ประโยชน์ในการศึกษา จริงๆ และอย่าน�ำไปใช้ผิดประเภท ซึ่งผู้ให้ทุนการศึกษาจะ ไม่เสียใจ เด็กนักเรียนและผู้ปกครองที่เข้ารับมอบทุนต้อง
แสดงความขอบคุ ณ ผู ้ ใ หญ่ ใ จดี จ ากชมรมชาวปากพนั ง และมูลนิธิชมรมชาวปากพนังที่เดินทางไกลเพื่อมอบทุน นายแพทย์ยุคล โรจนกิจ ประธานมูลนิธิชมรมชาว ปากพนั ง กล่ า วว่ า เงิ น ทุ น เหล่ า นี้ ไ ด้ ม าจากทุ ก คนที่ มี โอกาสได้รับการศึกษาเรียนรู้และประกอบอาชีพ ทุกครั้ง ที่มีการประชุมสมาชิกชมรมชาวปากพนังทุกคนต่างมีจุด มุ่งหมายเดียวกัน คือพยายามหารายได้มาช่วยเหลือเด็ก ยากจนในเขต อ.ปากพนังให้มากที่สุด ตามค�ำขวัญ 'ร่วม มือ ร่วมใจกัน เพื่อแทนคุณบ้านเกิด' รศ.ดร.มณี เหมทานนท์ ประธานชมรมชาวปากพนัง บ้านเดิมอยู่หน้าโรงภาพยนตร์ (วิกล่าง) ในตลาดปากพนัง ครอบครัวขายข้าวแกงหน้าวิกจนมีโอกาสเรียนหนังสือ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ ในฐานะประธานชมรมฯ ตนมีหน้าที่จัดงานต่างๆ และ กิจกรรมเพื่อระดมทุนเข้ามูลนิธิชมรมชาวปากพนัง นายพิ จิ ต ต์ แก้ ว เมื อ ง ประธานจั ด งานปากพนั ง สังสรรค์ ครั้งที่ ๔๑ กล่าวว่า พ่อกับแม่สอนว่าถ้าประสบ ความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพแล้ว หากสามารถช่วย เหลือญาติพี่น้องหรือผู้มีพระคุณได้แล้วก็ให้รีบช่วยเหลือ เท่าที่ท�ำได้เพราะครอบครัวตัวเองยากจน ส�ำหรับการจัดงานปากพนังสังสรรค์ ครัง้ ที่ ๔๒ นาย สาธิต รักกมล บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ 'รักบ้านเกิด' ได้รบั เลือกจากสมาชิกชมรมชาวปากพนังให้เป็นประธานจัดงาน
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๐
ไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชา เป็ น เครื่ อ งกั้ น มี ตั ณ หาเป็ น เครื่องผูก ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้น ย่อมไม่ปรากฏ. ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ก็ เ หตุ เพียงเท่านี้ พอทีเดียว เพื่อจะ เบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอ เพื่ อ จะคลายก� ำ หนั ด พอเพื่ อ จะหลุดพ้น ดังนี้.
ภิ
กษุทั้งหลาย ! ถูกละๆ พวกเธอทราบธรรมที่เรา แสดงแล้วอย่างนี้ถูกแล้ว น�้ำตาที่หลั่งไหลออกของ พวกเธอ ผู้ท่องเที่ยวไปมา คร�่ำครวญร้องไห้อยู่ เพราะ ประสบสิ่งที่ไม่พอใจ เพราะพลัดพรากจากสิ่งที่พอใจ โดยกาลนานนี้ แ หละมากกว่ า ส่ ว นน�้ ำ ในมหาสมุ ท ร ทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย. พวกเธอได้ ป ระสบมรณกรรมของมารดาตลอด กาลนาน น�้ ำ ตาที่ ห ลั่ ง ไหลออกของเธอเหล่ า นั้ น ผู้ประสบมรณกรรมของมารดา คร�่ำครวญร้องไห้อยู่ เพราะประสบสิ่ ง ที่ ไ ม่ พ อใจ เพราะพลั ด พรากจากสิ่ ง ที่พอใจ นั่นแหละมากกว่า ส่วนน�้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย. พวกเธอได้ ป ระสบมรณกรรมของบิ ด า... ของ พี่ ช ายน้ อ งชาย... พี่ ส าวน้ อ งสาว... ของบุ ต ร... ของ ธิ ด า... ได้ ป ระสบความเสื่ อ มแห่ ง ญาติ . .. ได้ ป ระสบ ความเสื่อมแห่งโภคะ... ได้ประสบความเสื่อมเพราะโรค
นิทาน. สํ. ๑๖/๒๑๔/๔๒๖.
ตลอดกาลนาน น�้ำตาที่หลั่งไหลออกของเธอเหล่ านั้น ผู ้ ป ระสบความเสื่ อ มเพราะโรค คร�่ ำ ครวญร้ อ งไห้ อ ยู ่ เพราะประสบสิ่งที่ไม่พอใจ เพราะพลัดพรากจากสิ่งที่ พอใจ นั่ น แหละมากกว่ า ส่ ว นน�้ ำ ในมหาสมุ ท รทั้ ง ๔ ไม่มากกว่าเลย. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า สงสารนี้ก�ำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลาย
“ในธรรมวินัยนี้, เธอผู้ ใดเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว จักละชาติสงสาร ท�ำที่สุด แห่งทุกข์ได้...พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มี ศีลเป็นอย่างดี มีความด�ำริอันตั้งไว้แล้วด้วยดี ตาม รักษาซึ่งจิตของตนเถิด”
เ
ดือนก่อนผมมีโอกาสแวะเวียนไปเที่ยว เมื อ งมรดกโลกสองเมื อ ง คื อ 'เมื อ ง มะละกา' และ 'เมืองปีนัง' ครั้งหลังสุดที่ ผมไปเที่ยวเมืองนี้คือเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๔ ก็ ล่ ว งเลยมาร่ ว ม ๔๕ ปี แ ล้ ว เมื อ งมี ก าร เปลี่ ย นแปลงไปมากมาย ถนนหนทาง ตึกรามบ้านช่องเกิดขึ้นมาใหม่เต็มเมือง ไม่ มี ภ าพเก่ า ๆ อยู ่ เ ลย แต่ เ มื่ อ ก้ า วย่ า ง เข้าไปเข้าไปในเขตอนุรักษ์เมืองเก่าก็ยัง คงสภาพเดิ ม เพี ย งแต่ เ พิ่ ม สี สั น ไปบ้ า ง ถนนเรียบร้อยกว่าเก่า แสงไฟยามค�่ำคืน มากกว่าเมื่อก่อนมาก ปีนังมีเมืองหลวงชื่อ 'จอร์จทาวน์' ได้ รั บ การรั บ รองเป็ น เมื อ งมรดกโลก พร้ อ มๆ กั บ เมื อ ง 'มะละกา' ทางฝั ่ ง ตะวันตก เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เมื อ งปี นั ง มี ต ้ น หมากทั่ ว ทั้ ง เกาะตั้ ง แต่ สมัยโบราณ ค�ำว่า 'ปีนัง' แปลว่าต้นหมาก และเมื อ งมะละกาก็ มี ต ้ น 'มะขามป้ อ ม' มากที่สุดจึงเอาชื่อเมืองตั้งตามชื่อต้นไม้ 'มะละกา' แปลว่ามะข้ามป้อมเป็นชื่อเมือง เกาะปี นั ง นั บ เป็ น เมื อ งท่ า ส� ำ คั ญ เมื อ งหนึ่ ง ทางฝั ่ ง ทะเลตะวั น ออก สมั ย โบราณมี สุ ล ต่ า นปกครองอยู ่ มี ช าวจี น ชาวอิ น เดี ย เข้ า มาท� ำ มาค้ า ขาย เคยตก
อยู่ในการยึดครองของเมืองสยามอยู่เป็น ระยะ จนเมื่อ พ.ศ.๒๓๒๙ ช่วงประเทศ สยามก� ำ ลั ง วุ ่ น วายผลั ด เปลี่ ย นแผ่ น ดิ น อังกฤษได้เข้ามาขอเช่าเกาะปีนังกับสุลต่าน มาเป็นท่าเรือค้าขายโดยไม่มีการคัดค้าน จากสยาม เมืองปีนังได้เปลี่ยนชื่อจากชาว อังกฤษเป็น 'เมืองจอร์จทาวน์' การสร้าง บ้านสร้างเมืองเพื่อการแข่งขันทางการค้า กับ 'เมืองมะละกา' จึงเกิดขึ้น ตึกรามบ้าน ช่ อ งร้ า นตลาดและที่ ท� ำ การราชการผุ ด ขึ้นมาเต็มเมืองท่าแห่งนี้ ศิลปะการสร้าง
บ้ า นเรื อ นมี ทั้ ง แบบอั ง กฤษที่ ดั ด แปลง ให้ อ ยู ่ ไ ด้ กั บ เขตเมื อ งร้ อ น กั บ รู ป แบบ 'ชิโนปอร์ตุกีส' ที่เกาะมะละกะที่โปรตุเกส ปกครองอยู่ ซึ่งเป็นรูปแบบผสมระหว่าง โปรตุเกสกับจีน ตึกเหล่านี้ก็เกิดขึ้นที่เมือง ปีนัง เพราะชาวจีนเดินทางมาท�ำมาค้าที่ เมืองนี้ และช่างฝีมือในการก่อสร้างก็ล้วน เป็นชาวจีน ซึ่งต่อมาอิทธิพลในการสร้าง งานสถาปัตย์แบบ 'ชิโนปอร์ตุกีส' ก็เผย แพร่โดยคนจีนทั่วทั้งเอเชียใต้โดยเฉพาะ ภาคใต้ของประเทศไทย
มหา. ที. ๑๐/๑๓๙/๑๐๖.
'เมื อ งจอร์ จ ทาวน์ ' มี ค นหลายเชื้ อ ชาติ ม าอาศั ย อยู ่ เช่ น จี น อิ น เดี ย ไทย ฝรั่ ง และมาลายู จ� ำ นวนนี้ ค นจี น มี ม าก ที่สุด ธุรกิจการค้าไม่รุ่งเรืองเหมือนเก่า ความเจริ ญ ไปอยู ่ ที่ เ มื อ งใหม่ ร อบนอก เมื อ งเก่ า จึ ง มี เ ฉพาะกลุ ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย ว จ� ำ นวนหนึ่ ง เข้ า มาหล่ อ เลี้ ย งเมื อ งให้ ค ง อยู ่ ไ ด้ ไ ปวั น ๆ จนเมื่ อ มี ก ารประกาศให้ เป็น 'มรดกโลก' ผู้คนจากทั่วโลกก็หลั่งไหลเข้ า มาเมื อ งนี้ อ ย่ า งมากมาย ท� ำ ให้ เมืองตื่นมีชีวิตชีวาฟื้นมาใหม่ เกิดมีหน่วย งานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเกิดขึ้น มีการปรับปรุงอาคารที่นายทุนรื้อของเก่า ทิ้งไปให้กลับมาท�ำใหม่ ตึกแถวที่ท�ำการ ของฝรั่งที่ถูกทิ้งร้างปรับปรุงมาเป็นโรงแรมเก่ า แบบหรู จั ด แสดงวิ ถี ชี วิ ต ชาว เมืองแบบดั้งเดิม ตลาดนัดแผงลอยแบบ เก่าก็อนุรักษ์เอาไว้อย่างมีระเบียบ บ้าน เรือนเก่าๆปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ เป็น เกสต์เฮ้าส์ขนาดเล็ก ชาวเมืองมีรายได้ กันทั่วหน้า รถขนาดใหญ่ห้ามเข้า หลีก ทางให้รถสามล้อได้ท�ำมาหากิน ตกแต่ง สีสันบ้านเมืองแบบเก่าให้สวยงาม คิดถึง บ้านเรือนเก่าๆของเมืองนครเรา หากได้ รับการปรับปรุงบ้าง น่าจะสร้างความสุข ให้กับผู้มาเยือนเมืองนคร 'เมืองประวัติศาสตร์'ของเรา
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๑
นพ.บัญชา พงษ์พานิช
นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒
ประเทศราชนั้นคือวิถีของผู้รักชาติอันควร แก่การสรรเสริญ ครั้นเป็นที่รู้ว่าใครคือผู้ สามารถสุ ด ก็ ใ ห้ ก ลั บ มาร่ ว มกั น สร้ า งชาติ จนต่อมาเจ้าพระยานครตลอดจนญาติสกุล วงศ์ก็ได้เข้าร่วมกันพัฒนาชาติไทยสืบต่อมา นั้น ในครั้งนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ทรง ทราบว่า ‘ท่านสี’ กับ ‘คณะพระดี’ กลุ่มหนึ่ง ซึ่งบางท่านกล่าวว่า น่าจะรวมถึง ‘ท่านสุก’ ด้วย มาอยู่ที่เมืองนคร จึงได้อาราธนานิมนต์ กลับไปฟื้นฟูการพระพุทธศาสนาของชาติ พร้อมกับอัญเชิญ ‘พระไตรปิฎก’ จาก (วัด หอไตร) เมื อ งนครที่ ยั ง อยู ่ ส มบู ร ณ์ พ ร้ อ ม กลับไปคัดลอกเป็นพระไตรปิฎกฉบับหลวง ที่ ใ ช้ สื บ ต่ อ มาจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ นี่ ย ่ อ มเป็ น ประจักษ์พยานการเป็น ‘เมืองที่มีทั้งพระ ธรรมและพระสงฆ์ส�ำคัญของชาติไทย’ โดย ‘ท่านสี’ กับ ‘ท่านสุก’ นั้นคือ ‘สมเด็จพระ สังฆราช (สี)’ ปฐมสังฆราชแห่งกรุงธนบุรี และกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ และ ‘สมเด็ จ พระ สังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)’ แห่งวัดบางหว้าใหญ่ หรือ วัดระฆังโฆสิตาราม ในขณะนี้นั่นเอง ๕) ครั้ ง พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริในการฟื้นฟู พระพุ ท ธศาสนานานั ป การ อาทิ การ บูรณะสถาปนาองค์พระปฐมเจดีย์ที่จังหวัด นครปฐมที่ เ ชื่ อ กั น ว่ า เป็ น หลั ก ฐานส� ำ คั ญ การสถาปนาพระพุทธศาสนาจนตั้งมั่นบน ภาคพื้นแผ่นดินไทยมาแต่สมัยสุวรรณภูมิถึง ทวารวดีนั้น ทรงตกลงพระทัยให้สร้างตาม
รูปแบบขององค์พระบรมธาตุเมืองนคร แต่ ไม่ส�ำเร็จ ขนาดทรงขอให้สมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระปวเวศวิริยาลงกรณ์ เสด็จ ลงมาส�ำรวจที่เมืองนครว่าเป็นอย่างไร แม้ เมื่อท�ำให้เหมือนไม่ได้ ยังทรงให้สร้างองค์ พระบรมธาตุนครจ�ำลองไว้ที่ฐานองค์พระ ปฐมเจดีย์ เคียงข้างกับรูปแบบองค์พระปฐม เจดีย์เดิมอีกด้วย นี้ย่อมแสดงว่า ในสมัยเมื่อ ๑๐๐ กว่าปีที่แล้ว ก่อนที่จะมีองค์พระปฐม เจดีย์ที่ถือว่าเป็น ‘องค์ปฐม’ นั้น ‘พระบรม ธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช’ คือ ‘จอมเจดีย์’ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของชาติ ม าก่ อ น โดยมิ ต ้ อ ง ยกต�ำนานที่เก่าแก่สืบเนื่องมานาน รวมทั้ง ความส�ำคัญในแง่นัยยะต่างๆ อีกมากมาย นี้น่าจะเป็นอีกสิ่งรองรับสถานะแห่งความ เป็น ‘เมืองพระ’ ของเมืองนครด้วย ๖) ในสมัยฟื้นฟูการพัฒนาชาติเป็น ระบบเทศาภิ บ าลและเปลี่ ย นแปลงการ ปกครองถึงทุกวันนี้ นับแต่รัชสมัยสมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง ปิยมหาราช พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อเนื่อง ถึงกึ่งพุทธกาลเมื่อไม่นานมานี้ อย่างน้อย ที่สุดในเมืองนครนี้มีพระภิกษุ ๓ รูปที่ขึ้น ชื่อลือเลี่อง คือ ท่านปาน-เจ้าคุณม่วง และ พ่อท่านคล้าย ในฐานะพระภิกษุผู้น� ำและ สร้างคุณูปการแก่สังคม ชุมชน บ้านเมือง และประเทศชาติอย่างสูง กล่าวคือ เมื่อวัด พระบรมธาตุทรุดโทรมมาก ท่านปาน (พระ ภิกษุปาน) ได้เป็นผู้น�ำชักชวนชาวไทยทั่ว
ทั้ ง คาบสมุ ท รมาร่ ว มกั บ บู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ ครั้งใหญ่อย่างไม่เคยมีใครท�ำได้มาก่อนและ กล่ า วกั น ว่ า ถึ ง ขนาดราชส� ำ นั ก ในสมั ย นั้ น หวั่นเกรงว่าจะเกิดเป็นขบวนการขบถแบ่ง แยกดิ น แดนด้ ว ยซ�้ ำ ครั้ ง ปฏิ รู ป ระบบการ ปกครองประเทศพร้อมกับการจัดการศึกษา ของชาติใหม่ มีท่านเจ้าคุณม่วง (พระรัตนธัชมุนี) แห่งวัดท่าโพธิ์ เป็นเสมือนผู้อ�ำนวย การใหญ่ด้านการศึกษาแห่งภาคใต้ ริเริ่ม สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ไว้มากมายทั่งทั้งภาคใต้ ไม่เพียงในเมืองนคร ทั้งด้านการศึกษา ศิลป วัฒนธรรมประเพณี ส่วนที่ร่วมสมัยไม่นาน มานี้ ก็ มี พ่ อ ท่ า นคล้ า ยวาจาสิ ท ธิ์ แห่ ง วั ด สวนขัน-วัดธาตุน้อย ที่ขึ้นชื่อในด้านเมตตา และวาจาสิทธิ์ ที่ทั่วทั้งภาคใต้นั้น นับเป็น รองจากหลวงพ่อทวดเหยียบน�้ำทะเลจืดก็ อาจจะได้ ๗) นอกนั้น ในแวดวงคนสนใจพระ พิมพ์ นอกจากชุดเบญจภาคีในระดับชาติ ที่ลือเลื่องเป็นที่นิยมเสาะแสวงหาแล้ว ยัง มีชุดไตรภาคีแห่งเมืองนคร ประกอบด้วย พระปรกโพธิ์ท่าเรือ พระนาคปรกนางตรา และ พระยอดขุนพลนาสน ที่ร่วมสมัยย้อน ยุ ค อยุ ธ ยา ศรี วิ ชั ย และ ทวารวดี เป็ น ที่ ขึ้ น ชื่ อ ในหลายนั ย ยะ ทั้ ง นี้ อ าจจะรวมถึ ง นานาโบราณสถานและวัตถุ ตลอดจนพระ ปฏิ ม าอี ก มากมายที่ พ บได้ โ ดยทั่ ว ไปตั้ ง แต่ สมั ย ทวารวดี ศรี วิ ชั ย สื บ มาถึ ง ปั จ จุ บั น รวมทั้ ง การมี พ ระปฏิ ม าในศิ ล ปะสกุ ล ช่ า ง
<< ต่อจากหน้า ๔
จ�ำนวนมาก “หลาโดหก” ปัจจุบันมีอยู่สองหลัง อยู่ด้านในหลังหนึ่ง ด้านนอกหลังหนึ่ง หลาด้ า นนอกจะเขี ย นป้ า ยว่ า “ศาลา ประดู่หก” ผมจะขอเล่าที่มาที่ไปให้ฟัง เพราะผมเกิดทันเหตุการณ์ช่วงนั้นพอดี เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕ เกิดวาตภัย พายุพัดต้น ประดู่บริเวณนั้นหักโค่นลงมาหลายต้น ส่ ว นหนึ่ ง หั ก โค่ น ลงมาทั บ หลั ง คาหลา โกหกจนพังยับเยิน ผู้ว่าราชการจังหวัด ยุ ค นั้ น ก็ สั่ ง ตั ด ต้ น ประดู ่ ทั้ ง หมดรวมทั้ ง ตลอดถนนราชด�ำเนินออกทั้งหมด ด้วย เกรงว่าจะเป็นภัยกับผู้สัญจรไปมา หลา โดหกก็ถูกรื้อทิ้งเสียตั้งแต่ตอนนั้น แล้ว มี ก ารสร้ า งศาลาขึ้ น มาใหม่ ใ นภายหลั ง เปลี่ยนต�ำแหน่งมาสร้างที่ริมถนนราชด�ำเนิน คือศาลาที่เราเห็นอยู่ริมถนนปัจจุบัน เดิมนั้นใช้ชื่อศาลาเป็นนามสกุลของท่าน ผู้ว่าท่านนั้น เมื่อท่านได้ย้ายออกไปก็มี
ภาพถ่ายหลาหน้าเมือง
ผู ้ ค นเอาของเหม็ น ไปขว้ า งปาใส่ ป ้ า ยชื่ อ ศาลานั้นจนต้องถอดป้ายลง แล้วมาเปลี่ยน ชื่ อ เป็ น “ศาลาประดู ่ ห ก” ตั้ ง แต่ ส มั ย โบราณ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ชมรมรักบ้านเกิด ได้ เสนอโครงการ “อุทยานประวัติศาสตร์” ให้เทศบาลช่วยพัฒนาเมืองรื้อฟื้นโบราณ ประเพณีต่างๆ และโบราณสถานที่ส�ำคัญ ของเมื อ ง หนึ่ ง ในนั้ น คื อ หลาโดหก ที่ มี ประวัติศาสตร์ยาวนานคู่บ้านคู่เมืองนคร ให้คืน ชี พขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ผมได้มีส ่วน
ร่วมในการสืบค้น เทศบาลยุคนั้นก็สนอง ตอบฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ พร้อมๆ กับ “บ่อน�้ำ ศักดิ์สิทธิ์ทั้ง ๔” และ “ก�ำแพงเมืองเก่า” เราจึงได้หลาโดหกรูปแบบดั้งเดิม อยู่ใน ต� ำ แหน่ ง เดิ ม ส่ ว นต้ น ประดู ่ ที่ ป ลู ก เพิ่ ม ขึ้นใหม่ โดยวางเรียงเป็นแถวทั้ง ๖ ต้นอยู่ หน้าศาลา ส่วน “ศาลาประดู่หก” ที่สร้างขึ้น ใหม่ ใ น พ.ศ. ๒๕๐๖ นั้ น เป็ น อาคาร คอนกรีต รูปทรงสถาปัตย์แบบภาคกลาง ต่างจาก “หลาโดหก” ที่มีรูปทรงภาคใต้
นครศรีธรรมราชด้วย อาจกล่าวโดยสรุปว่า นครศรีธรรมราช ได้ชื่อว่า ‘เมืองพระ’ น่าจะมาจากการสั่งสม นานาเหตุ ป ั จ จั ย อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ความดี งาม สิ่งดีงาม ในพระบวรพุทธศาสนา จน เป็นที่รับรู้และกล่าวขานกันอย่างต่อเนื่อง และกว้างขวางในทุกแวดวงและจังหวะสืบ มาตั้ ง แต่ ส มั ย ปรั ม ปรา กระทั่ ง เข้ า สู ่ ส มั ย แรกเริ่ ม ประวั ติ ศ าสตร์ ทวารวดี - ศรี วิ ชั ย สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ กระทั่ง ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นศาสนสถาน ซึ่งมีองค์ พระบรมธาตุเจดีย์เป็นประธานร่วมกับวัดวา อารามและวิหารต่างๆ มากมาย ศาสนวัตถุ ตั้งแต่พระพุทธสิหิงค์ ตลอดจนพระปฏิมา และพระพิ ม พ์ ทั้ ง หลายที่ มี พ ระไตรภาคี นครศรีธรรมราชเป็นประจักษ์พยาน โดยที่ ศาสนธรรมนั้น จ�ำเพาะพระไตรปิฎกต้นเค้า ของการฟื้นฟูพระไตรปิฎกสมัยธนบุรีและ รัตนโกสินทร์ก็ถือว่าไม่ธรรมดา ทั้งยังเป็น แหล่งศึกษาศาสนธรรมของพระสงฆ์องค์เจ้า ดังที่มีศาสนบุคคลเฉพาะพระภิกษุสงฆ์ที่ได้ รับการกล่าวขานมาแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา สืบต่อตลอดมา ประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ ข อยกมาช่ ว ยกั น ขบคิดต่อ นอกจากการปลื้มดื่มด�่ำกับ ‘การ เป็นเมืองพระ’ อย่างแน่แท้นี้แล้ว คือ แล้ว เราจะสืบสานให้สมชื่อนี้กันต่อไปอย่างไร ได้ ? ขอเชิญชวนร่วมด้วยช่วยกันนะครับ พระพุ ท ธองค์ ท รงฝากไว้ กั บ พวกเราทุ ก คนในฐานะหุ้นส่วนแห่งบริษัทพุทธ ที่เรียก ว่า พุทธบริษัท นี้. ๖ มิถุนายน ๒๕๕๙
สร้ า งด้ ว ยไม้ อ ย่ า งโบราณเพื่ อ เป็ น การ อนุ รั ก ษ์ รู ป ทรงทางสถาปั ต ย์ แ บบเดิ ม ของเมืองนครเอาไว้ วันก่อนท่านปลัดจังหวัดถาวรวัฒน์ คงแก้ว ท่านได้เรียกผู้ออกแบบและช่าง เทศบาลมาร่ ว มหารื อ กั บ ผม ผมจึ ง เล่ า ที่มาที่ไปให้ฟังจนได้ข้อสรุปว่า จะเป็น การบูรณะ “หลาโดหก” แบบดั้งเดิมขึ้น มาใหม่ ถมเนินดินให้สูงขึ้นเพื่อให้ศาลามี สง่ายิ่งขึ้น รูปทรงสถาปัตย์แบบดั้งเดิม ประโยชน์การใช้สอยก็คงเน้นทางด้าน การอนุ รั ก ษ์ เ รื่ อ งวั ฒ นธรรมของการใช้ หลาเป็นหลัก มีกิจกรรมมาแสดงได้ก็คง เป็นเรื่องราวเก่าๆ ส่วนศาลาประดู่หก ริมถนนเห็นควรจะมีการปรับปรุงใหม่ใช้ เพื่อกิจกรรมของเมือง เพื่อการท่องเที่ยว ได้ แต่ติดอยู่ที่ศาลาหลังนั้นอยู่ในความ รั บ ผิ ด ชอบของ “องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัด” เราชาวเมืองก็คงคอยดูกันต่อไป ว่ า ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบบ้ า นเมื อ งเขาจะมี วิ สั ย ทัศน์ในเรื่องนี้อย่างไร อย่ารีบไปว่ากล่าว ทักท้วงพระคุณท่านก่อนล่ะ ๑๘ มิ.ย.๕๙
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๒
ภาวะน�้ำลายน้อยนี้ท�ำให้การชะล้างท�ำความ สะอาดช่องปากโดยวิธธี รรมชาติขาดประสิทธิภาพ คราบขี้ฟันต่างๆ จึงเกาะติดฟันและลิ้น ได้ง่าย อร่อยแบคทีเรียอีกแล้ว กลิ่นเพอชู้ก็ ออกมาอีก ฟันปลอมที่ไม่สะอาด ได้แก่ ฟันปลอม ชนิดถอดเข้าออกได้ บางคนไม่เคยถอดออก มาล้างเลย ด้านใต้ฐานฟันปลอมเป็นคราบขาว หนาเชียว ฟันปลอมที่หมดอายุเพราะท�ำมา นานแล้ว โดยเฉพาะชนิดที่เป็นฐานพลาสติก พลาสติกทีห่ มดอายุจะดูดกลิน่ อาหารติดไว้ทน นาน ส่งกลิน่ ได้ตลอดเวลาทีพ่ ดู คุย ฟันปลอม ชนิดติดแน่นก็ไม่เบา เพราะหลายคนเข้าใจว่า เมือ่ ฟันปลอมติดแน่นแล้ว ขออยูห่ า่ งจากหมอ
อ
ยากเขียนเรือ่ งนี้ ได้ อ ่ า นหนั ง สื อ ชื่ อ เรื่ อ งเดี ย วกั บ หั ว ข้ อ เขี ย นโดยหมอรุ ่ น น้ อ ง ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง มัณฑารพ ชัยมุสิก อ่านแล้วก็ประทับใจมาก ที่สามารถน�ำเรื่องที่ดูเหมือนหมอฟันทั่วไปจะ ไม่ค่อยได้พูดถึงกันมากมายนัก มาศึกษาและ ร้อยเรียงให้ผู้สนใจอ่านได้ง่ายๆ แถมยังมีภาพ ประกอบเบาๆ น่ารักๆ ตามความสวยของหมอ เจ้าของเรื่อง ผู้เขียนจึงได้ขออนุญาตเจ้าของ เรือ่ งน�ำเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจมาย่อยให้สนั้ ลง พูด คุยกับชาว “รักบ้านเกิด” สมัยที่ผู้เขียนยังวัยเยาว์ มีโอกาสแบก เป้ไปนอนโฮสเตลแถบสแกนดิเนเวีย อากาศ หนาวสุดฤทธิ์ ตื่นเช้าขึ้นมาเห็นฝรั่งชายหญิง ลุกจากเตียงนอนของแต่ละคน จูบกันอย่าง ดูดดื่มปานจะกิน จ�ำได้ว่าไม่ได้อิจฉานะ แต่ บ่นกับเพื่อนๆ ว่า “เอ๊ะ...ฟันฟางเค้าไม่สีกัน ก่อนเหรอ” “น่าจะเหม็นเปรี้ยวนิดๆ นะ” เพื่อนๆ ก็ข�ำมุมมองแคบๆ ของหมอฟันเชยๆ คนนี้ อ่ า นเรื่ อ ง “สุ ด ยอดเทคนิ ค พิ ชิ ต กลิ่ น ปาก” ของหมอมัณฑารพเสร็จ ก็เชื่อแน่มัน ต้องมีกลิน่ ไม่มากก็นอ้ ยหละ ไม่เชือ่ ลองเอามือ อังปากแล้วเป่าลมแรงๆ ออกมาตอนตื่นนอน เช้าดูสิ ยามที่ความรักงอกงาม มองอะไรก็สวย ไปหมด เหม็นเปรี้ยวอย่างไรก็ต้องรู้สึกหอม แน่ ๆ ความรั ก คลี่ ค ลายเมื่ อ ไหร่ ห ละก็ เชื่ อ เถอะ...กลิ่นเปรี้ยวเล็กๆ น้อยๆ ก็อาจกลาย เป็นกลิน่ ของก๊าซไข่เน่าตามความจริงเลย อย่า รอช้าเลยนะ ตามมาหาหนทางพิชิตกลิ่นปาก ของตนเอง เพื่อช่วยให้เรามั่นอกมั่นใจยามที่ ต้องพ่นลมหรือค�ำพูดใดๆ ออกจากปาก มา รูจ้ กั “กลิน่ ปาก” กันดีกว่า กลิน่ ปากคืออะไร “กลิ่นปาก” เป็นกลิ่นเหม็นที่ออกมา จากช่องปากหรือลมหายใจ โดยอาจจะออก มาทางจมูกหรือล�ำคอร่วมด้วยก็ได้ เป็นกลิ่น ของก๊าซที่มีก�ำมะถันเป็นส่วนประกอบ เกิด จากเชื้อโรคแบคทีเรียซึ่งเป็นเชื้อประจ�ำถิ่น มี ในช่องปากของทุกคนอยู่แล้ว เชื้อโรคตัวนี้ ท� ำ การย่ อ ยสลายคราบอาหารที่ ต กค้ า งอยู ่ บริเวณซอกฟัน ลิน้ ต่อมทอนซิล นอกจากนี้ ยังย่อยสลายเสมหะในล�ำคอ โปรตีนในน�ำ้ ลาย เกิดก๊าซที่กล่าวมา ก๊าซตัวนี้ยังสามารถแบ่ง เป็น ๓ ชนิด ส่งกลิน่ ต่างๆ กันไป เช่น กลิน่ ไข่เน่า (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์) กลิ่นอึตุๆ (ก๊าซเมทิลเมอร์แคปแทน) กลิ่นผักเน่า (ก๊าซ ไดเมทิลซัลไฟด์) ตามแต่ตำ� แหน่งในช่องปากที่ เป็นจุดเริม่ ต้น สาเหตุของกลิน่ ปาก แบ่งได้เป็น ๒ สาเหตุใหญ่ๆ ดังนี้ สาเหตุ จากภายในและจากภายนอกช่องปาก
สาเหตุจากภายในช่องปาก พบได้ถึงร้อยละ ๘๐-๙๐ สาเหตุเหล่านัน้ ได้แก่ ฝ้าขาวบนลิ้น เป็นคราบอาหารบางๆ ร่วมกับเซลล์ขี้ไคลบนผิวลิ้น มักจะพบในคน ที่ สุ ข ภาพไม่ ค ่ อ ยแข็ ง แรง คนที่ น�้ ำ ลายแห้ ง หรือเหนียวข้น คนที่ไม่ได้แปรงหรือท�ำความ สะอาดลิน้ คนสูงอายุ แบคทีเรียประจ�ำถิน่ ซึง่ อาศัยอยู่ตามร่องของลิ้น เจออาหารอันโอชะ ก๊าซไข่เน่าและก๊าซอึตุๆ จึงถูกผลิตออกมาไม่ ยากเย็น โรคเหงือกอักเสบและโรคร�ำมะนาด ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากการแปรงฟันได้ไม่สะอาด อาจร่ ว มกั บ การมี หิ น ปู น ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ค ราบ ขี้ฟันเกาะติดบนผิวฟันซึ่งไม่เรียบและบริเวณ คอฟั น ได้ ง ่ า ย ท� ำ ให้ ก ระดู ก ละลายตั ว ฟั น โยกคลอน เชื้อแบคทีเรียประจ�ำถิ่นที่หลบอยู่ ตามคอฟันได้รับอาหารอันอร่อยมากๆ ก๊าซ อึตุๆ จึงถูกผลิตออกมา ฟันโยกคลอนมากขึ้น เท่าไร เชื้อแบคทีเรียก็คงสนุกที่จะผลิตก๊าซ อึตๆุ ต่อไป ฟันผุ ยิ่งรูผุเล็กๆ การผุด้านใต้จะยิ่งลึก แบคทีเรียประจ� ำถิ่นชอบอาศัยอยู่ในที่ลึกๆ ออกซิเจนน้อยๆ อยูแ่ ล้ว สนุกกันหละ คราบ ขี้ฟันไม่ต้องมากมายก็ไม่เป็นปัญหาส� ำหรับ แบคทีเรียในการผลิตก๊าซเหม็นๆ เหล่านัน้ รูผุ เหล่านีอ้ าจมองเห็นไม่ชดั หากตรวจด้วยตนเอง แวะไปให้ทนั ตแพทย์ตรวจบ้างก็ดนี ะ ภาวะน�้ำลายน้อย เกิดได้จากหลากหลายสาเหตุ เช่น การดืม่ น�ำ้ น้อย ความเครียด การนอนหลับ การนอนกรนและหายใจทาง ปาก ผู้สูงวัย เป็นไข้หรือท้องเสีย ยาหลาย ชนิ ด ที่ กิ น กั น เป็ น ประจ� ำ (ยาลดน�้ ำ มู ก ยา คลายเครียด ยานอนหลับ ยาจิตเวช ยาคลาย กล้ามเนื้อ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น) เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ (ไม่ว่าจะเป็น เหล้า เบียร์ ไวน์ ตลอดจนน�้ำยาบ้วนปากที่มีแอลกอฮอล์เป็น ส่วนผสม) ล้วนท�ำให้ปากแห้ง การย่อยสลาย แอลกอฮอล์หลังจากที่ดื่มเข้าไปยังท�ำให้เกิด สารที่ มี ก ลิ่ น เหม็ น ขั บ ออกมาจากลมหายใจ ร่วมด้วย แล้วยังอยากจะดื่มกันอีกเหรอคะ
ฟัน เพราะดีไม่ดีจะถูกฟันอีกหลายบาท แต่ การที่ดูแลฟันปลอมของตนเองได้ไม่ดี อาจมี คราบสกปรกเกาะติดตามคอฟันปลอม แย่กว่า นั้นฟันแท้ที่ถูกฟันปลอมครอบไว้อาจมีการผุ เท่านั้นหละแบคทีเรียประจ�ำถิ่นหัวเราะ ห้า.. ห้า..ห้า เลยหละ ปล่อยกลิน่ สนุกสนาน การอักเสบของเนื้อเยื่อต่างๆ ในช่อง ปาก เช่น บริเวณทีฟ่ นั คุด (ฟันกรามซีใ่ นสุด) อยากจะงอกขึ้นมา แต่ก็งอกขึ้นมาได้ไม่เต็ม ที่เหมือนฟันซี่อื่นๆ เหงือกจึงอักเสบ เป็นๆ หายๆ แบคทีเรียเลิฟจริงๆ สาเหตุจากภายนอกช่องปาก โรคระบบทางเดิ น หายใจ เช่น หวัด ไซนัสอักเสบ ทอนซิลอักเสบ ปอดอักเสบ ผู้ ป่ ว ยมั ก มี เ สมหะ อั น เป็ น อาหารโอชะของ แบคทีเรียในช่องปากและคอ การนอนกรนก็ ท�ำให้ปากแห้ง แบคทีเรียสนุกเช่นกัน โรคระบบทางเดินอาหาร การเคี้ยว อาหารไม่ละเอียดเพราะชีวิตรีบเร่งของคน ปั จ จุ บั น ท� ำ ให้ อ าหารต้ อ งเข้ า ไปย่ อ ยใน กระเพาะเป็นเวลานาน เกิดการบูดเน่า เกิด ก๊าซ ท้องอืด จุก แน่น เมื่อเรอออกมาจะมี กลิ่นอาหารที่เน่าแล้วออกมาด้วย การมีภาวะ กรดไหลย้อน ก็ทำ� ให้สงิ่ ต่างๆ ในกระเพาะ น�ำ้ ย่อยและกรดไหลย้อนขึ้นมาทางหลอดอาหาร เข้าสู่ล�ำคอ กลิ่นก๊าซผักเน่าจะพัดโบกออกมา การเคีย้ วอาหารให้ละเอียดก่อนกลืนจึงมีความ ส�ำคัญมาก
โรคเรื้อรังในระยะท้ายๆ เช่น โรคตับ โรคไต โรคเบาหวาน ผูป้ ว่ ยมีสารเคมีบางชนิด ที่ร่างกายผลิตขึ้นมาอยู่ในกระแสเลือด และ ขับออกมากับน�ำ้ ลาย เช่น กลิน่ แอมโมเนียในผู้ ป่วยโรคไต กลิน่ คีโตนในผูป้ ว่ ยเบาหวาน อาหาร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยา และ บุหรี่ เราคงเคยได้กลิ่นกระเทียม กลิ่นสะตอ กลิน่ ทุเรียน กลิน่ เหล้า กลิน่ ยาต่างๆ และกลิน่ บุหรี่ ทั้งที่มาจากช่องปากและลมหายใจของ ผูค้ นรอบด้านทีเ่ สพสิง่ เหล่านี้ สุดยอดเทคนิคพิชติ กลิน่ ปาก พิจารณาจากสาเหตุกลิ่นปากที่กล่าวมา ทั้งหมดแล้ว โดยเฉพาะสาเหตุส่วนใหญ่ที่มา จากภายในช่องปาก ไม่มอี ะไรเยีย่ มยอดไปกว่า การดูแลสุขภาพช่องปากให้สะอาดสม�่ำเสมอ ทุกครั้งหลังมื้ออาหาร แปรงฟัน(ต้องให้ถูกวิธี ด้วยนะคะ) ฟันอยู่ในแนวตั้งแล้วเราไปแปรง ฟันในแนวนอน คอฟันก็สกึ น่ะสิคะ ขีฟ้ นั เกาะ ติดได้งา่ ยขึน้ ใช้ไหมขัดฟันท�ำความสะอาดซอกฟัน หลังการแปรงฟันอีกสักหน่อย กลิน่ สะตอและ ทุเรียนจะลดได้ฮวบฮาบ แปรงลิ้นเบาๆ ดื่ม น�ำ้ เปล่าให้เพียงพอในแต่ละวัน ออกก�ำลังกาย กลิ่นต่างๆ จะช่วยถูกขับออกทางเหงื่อ เลือก ชนิดอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีเ่ หมาะสม ท�ำจิตใจ ให้ผ่องใสไม่เครียด ท�ำความสะอาดฟันปลอม ดูแลแปรงสีฟัน ถ้าหมดสภาพหรือใช้มานาน แล้วก็เปลีย่ นซะบ้าง อย่าไปขีเ้ หนียวนัก แปรงฟันแล้วก็แปรงลิ้นเบาๆ เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ในช่องปากให้เหมาะสม อย่าลืม น�ำ้ ยาบ้วนปากทีใ่ ช้ได้ทกุ โอกาสในผูใ้ หญ่คอื น�ำ้ เกลืออ่อนๆ (น�ำ้ อุน่ ๑ แก้ว ผสมกับเกลือแกง ครึง่ ช้อนชา) อมสักพักแล้วบ้วนทิง้ นะคะ ช่วย ลดการอักเสบของเหงือก ส่วนน�ำ้ ยาบ้วนปาก ชนิดอืน่ ๆ ก็ตอ้ งพิจารณาตามเหตุผลทีเ่ ลือกใช้ อย่าใช้ยาบ้วนปากที่มียาฆ่าเชื้อผสมเป็นเวลา นานๆ เชื้อแบคทีเรียประจ�ำถิ่นในช่องปากถูก ฆ่าหมด ก็ไม่ใช่เรือ่ งดี เพราะเชือ้ ราจะปรากฏ ทดแทนขึน้ ในช่องปาก ปัญหากลิน่ ปากทีม่ าจากปัจจัยภายนอก คือโรคทางระบบต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น แล้ว ดูแลรักษาเนื้อรักษาตัวให้ดี โรคหลาย ชนิดหายได้ด้วยการออกก�ำลังกายและคลาย เครียด “สัพเพ ธัมมา นาลัง อภินเิ วสายะ อัน สิ่งทั้งหลายทั้งปวง เราไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือ มั่น” แก่นพุทธศาสตร์เชียวนะ ท่องซะทุกเช้า และเย็น เหล้า บุหรี่ เลิกซะเถอะค่ะ ประโยชน์ไม่ ได้เกิดเฉพาะการลดกลิน่ ปากและกลิน่ ลมหาย ใจเหม็นๆ ของตนเองเท่านั้น ครอบครัวที่รัก ไม่ตอ้ งขวัญผวาว่าเมือ่ ไหร่ผเู้ สพจะเกิดโรคร้าย ต่างๆ ตามมา ท�ำให้ต้องเสียเวลาท�ำมาหากิน ไปนอนเฝ้าที่โรงพยาบาลกันอีก ถ้าไม่รักกัน จริงก็จะหอบลูกหนีไปไกลๆ เลยนา เดี๋ยวจะ หาว่าไม่เตือน ง่ายๆ แค่นี้ กลิน่ ปากและลมหายใจ จะ รูส้ กึ สะอาดสดชืน่ ท�ำไม่ได้กใ็ ห้มนั รูก้ นั ไป
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
โ
ดยความบังเอิญอย่างไรก็ไม่ทราบได้ หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ได้ มี ผู ้ เ ขี ย นประจ� ำ กล่ า วถึ ง เรื่ อ งน�้ ำ ใน ประเด็นต่างๆ ถึง ๕ บทความ ซึ่งเป็นเรื่อง ดีที่คนจะได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของ น�้ำยามเมื่อขาดแคลน แต่โดยภูมิปัญญา ของชาวบ้ า นผสมผสานกั บ หลั ก วิ ช าการ และความร่วมมือร่วมใจโดยจิตอาสาของ ทุกองค์กร ก็ได้ช่วยเติมน�้ำในคลอง ล�ำธาร ให้มีน�้ำได้กินได้ใช้เป็นที่ประจักษ์มาตลอด หน้าแล้งที่ผ่านมา อีกทั้งเผยแพร่ความรู้นี้ ออกไปทั่วประเทศในนามของ “กลุ่มฝายมี ชีวิตทั่วไทย” รวมทั้งต่างประเทศเดินทาง มาขอดูงานกันแล้ว ซึ่งฉบับที่แล้วได้ลง บทความที่เขียนโดย ดร.ด�ำรง โยธารักษ์ จากสถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตัวเอง เป็นตอนที่ ๑ ซึ่งได้แจกแจงเป็นประเด็น ต่างๆ คือ ๑. ในประเด็ น การพั ฒ นา โดย
เปลี่ยนกระบวนการคิดจากการพัฒนาที่ เอาเงินน�ำหน้าปัญญา มาเป็นการเริ่มจาก กระบวนการเรียนรู้ที่ท�ำให้เกิดปัญญาก่อน ๒. ในประเด็นของการขุดลอกคลอง ที่เป็นปัญหา ท�ำให้ได้องค์ความรู้ที่จะสร้าง สมดุลของระบบนิเวศขึ้นใหม่ ฉบับนี้จึงขอลงต่อตอนที่ ๒ ครับ....... ๓. ในประเด็นปริมาณน�้ำที่เก็บได้ และพื้นที่ท�ำการเกษตร ฝายมีชีวิตท�ำให้เราพบว่าน�้ำที่เก็บได้ จากการยกระดับน�้ำในคลองนั้นสามารถ ท� ำ ให้ น�้ ำ ไหลเข้ า ไปเก็ บ ในแก้ ม ลิ ง ตาม ธรรมชาติ เช่ น มาบ ทอน โอ และใน ยามหน้าแล้งน�้ำดังกล่าวก็จะซึมมาให้เรา ใช้ ท�ำให้เราได้เรียนรู้ว่า ถ้ามองน�้ำในเชิง ประจักษ์ก็จะเห็นว่าน�้ำในคลองอาจมีน้อย
และเกิดค�ำถามว่าแล้วจะพอกับการใช้ของ ประชาชนหรือไม่ ตรงนี้เราพบว่าน�้ำที่อยู่ ในดินในมาบ ทอน โอ ดังกล่าวก็มีจ�ำนวน มหาศาล แต่เรามองด้วยตาเปล่าไม่เห็นจึง ลืมคิดไป และคิดแต่จะสร้างเขื่อน สร้าง อ่างเก็บน�้ำบนภูเขา ซึ่งจะส่งผลกระทบถึง ป่าไม้ที่เหลือน้อยมาก ชาวบ้านเรียกพื้นที่ เก็ บ น�้ ำ ที่ ส ามารถมองเห็ น ได้ ว ่ า “พื้ น ที่ ไข่ แ ดง” ส่ ว นพื้ น ที่ เ ก็ บ น�้ ำ ที่ ม องไม่ เ ห็ น ว่า “พื้นที่ไข่ขาว” ตัวอย่างการค�ำนวณน�้ำ ทั้ ง ในพื้ น ที่ ไ ข่ แ ดงและพื้ น ที่ ไ ข่ ข ่ า ว เช่ น น�้ำที่เอ่อไปในพื้นดินสองฝั่งคลองอันเป็น ผลจากการยกระดับน�้ำด้วยฝายมีชีวิตสูง ขึ้น ๑.๕๐ เมตร ไหลเข้าไปในดินสองฝั่ง คลองข้างละ ๓,๐๐๐ เมตร รวม ๖,๐๐๐ เมตร และเอ่อขึ้นไปตามล�ำน�้ำประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร และปริ ม าณน�้ ำ ที่ อ ยู ่ ใ น
หน้า ๑๓
๔. ในประเด็นเศรษฐกิจ ฝายมีชีวิต กับเศรษฐกิจของประเทศ ฝายมี ชี วิ ต เป็ น กระบวนการหรื อ กลยุทธ์ในการสร้างความมั่นคงทางด้าน เศรษฐกิ จ ของประเทศ กล่ า วคื อ ฐาน เศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศก็คือสภาพ การอยู ่ ดี กิ น ดี ข องประชาชน สภาพ ดั ง กล่ า วจะไม่ ส ามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ ถ ้ า ขาด ความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรการ ผลิ ต ของชุ ม ชน เช่ น ดิ น น�้ ำ ป่ า ดั ง จะ เห็นได้จากประสบการณ์การย้ายถิ่นของ คนชนบทที่ เ ข้ า มาท� ำ งานในเมื อ ง ส่ ว น มากจะขาดน�้ำในการประกอบอาชีพ ดิน เสื่อม ป่าถูกท�ำลาย เป็นต้น ดังนั้นถ้าเรา สามารถท�ำให้น�้ำเต็มคลองตลอดทั้งปี จะ ท�ำให้น�้ำซึมแผ่กระจายไปในดิน เมื่อดิน ชุ่มน�้ำ ป่าก็จะสมบูรณ์เป็นวัตถุดิบในการ ผลิ ต และสามารถท� ำ การเกษตรได้ ทุ ก พื้นที่ (ลองส�ำรวจดูได้ครับบ้านแต่ละหลัง ในเมืองไทยจะอยู่ห่างล�ำคลองไม่เกิน ๒-๓ กิ โ ลเมตร) ส่ ง ผลให้ ค นกลั บ ถิ่ น เปรี ย บ เสมือนการคืนตู้เอทีเอ็มของชุมชนให้กลับ คืนมา เพราะชาวบ้านจะสามารถได้เบิก เงินได้ทุกเวลา ตู้เอทีเอ็มของชาวบ้านก็คือ ทรัพยากรดิน น�้ำ ป่า ของชุมชนนั่นเอง ปั จ จุ บั น จะเห็ น ได้ ว ่ า ตู ้ เ อที เ อ็ ม ของชาว บ้านถูกท�ำลายไปเรื่อยๆ จากกระบวนการ พัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นบริโภคนิยมอย่าง สุดขั้ว ดังนั้นถ้าเราสามารถท�ำ ให้น�้ำเต็ม คลองทั้งประเทศ ก็จะท�ำให้ฐานทรัพยากร เกิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชน เป็ น ฐานการผลิ ต ของ ชุมชน เกิดเศรษฐกิจชุมชนที่มั่นคง เมื่อ เศรษฐกิจชุมชนมั่นคงเพราะมีฐานที่มั่นคง เศรษฐกิจท้องถิ่น อ�ำเภอ จังหวัด ประเทศ ก็จะมั่นคงอย่างยั่งยืน ดังค�ำกล่าวที่ว่า การ สร้างเจดีย์ต้องสร้างจากฐาน ที่ผ่านมาเรา พัฒนาประเทศจากข้างบนเหมือนกับการ สร้างเจดีย์จากยอด เมื่อถึงจุดหนึ่งก็จะพัง
ดินคิดเป็น ๑ ใน ๔ ส่วน ดังนั้นสามารถ ค� ำ นวณปริ ม าตรน�้ ำ ได้ ๔,๕๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร (๒,๐๐๐ คูณ ๖,๐๐๐ คูณ ๑.๕๐ หาร ๔) เป็นต้น ในประเด็นเชิงพื้นที่ท�ำการเกษตร ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ ๓๒๑ ล้านไร่ เป็นพื้นที่เพื่อการเกษตรประมาณ ๑๕๒ ล้ า นไร่ ฝายมี ชี วิ ต บริ ก ารน�้ ำ โดย เฉลี่ ย ตั ว ละ ๓,๐๐๐ ไร่ จากเนื้ อ ที่ เ พื่ อ การเกษตรทั้งประเทศ ๑๕๒ ล้านไร่ หาร ด้ ว ย ๓,๐๐๐ ไร่ ก็ จ ะได้ จ� ำ นวนฝายมี ชีวิตทั้งประเทศจ�ำนวน ๕๐,๖๖๗ ตัว ที่ สามารถท� ำ พร้ อ มกั น ทั้ ง ประเทศถ้ า ชาว บ้านและหน่วยงานรัฐเข้าใจหลักการของ (ยังมีต่อตอนที่ ๓ เดือนหน้าที่เป็น ฝายมี ชี วิ ต ที่ ส� ำ คั ญ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ง บ บทสรุปครับ) ประมาณของรั ฐ เพี ย งฝ่ า ยเดี ย วดั ง ที่ รั ฐ มักอ้างว่างบประมาณไม่พอ
หน้า ๑๔
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน
มี
ใครเคยได้ยินเรื่องของห้องเรียนใน ป่าบ้างไหมคะ ในประเทศเยอรมัน มีโรงเรียนใน ป่า หรือที่เรียกว่า Waldkindergarten โดยปกติ เด็ ก เยอรมั น จะอยู ่ กั บ ครอบครัวจนอายุ ๖ ขวบ ค่อยเข้าเรียน ตามหลักสูตร เนื่องจากประเทศเยอรมัน จะสนับสนุนให้เด็กอยู่กับครอบครัว แถม ยั ง มี เ งิ น สวั ส ดิ ก ารกั บ มารดาของเด็ ก ที่ ไม่ ไ ด้ ท� ำ งานเพราะออกมาดู แ ลลู ก ด้ ว ย แต่ ถ ้ า เด็ ก มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้ อ งไปเรี ย น ก่ อ นหน้ า นั้ น ด้ ว ยความไม่ ส ะดวกของ ครอบครัว ทางเลือกของคนเยอรมัน ก็ คือ การเรียนในโรงเรียนอนุบาล แต่เป็น โรงเรี ย นอนุ บ าลที่ ค ่ อ นข้ า งพิ เ ศษ คื อ Waldkindergarten Waldkindergarten เป็นลักษณะ เนอร์สเซอรี่และโรงเรียนอนุบาลส�ำหรับ
เด็กเล็ก การเรียนนั้นจะไม่ใช่ลักษณะ แต่เป็นการไปเรียนรู้นอกสถานที่ ในป่า หรือเก้าอี้ตลอดเวลา เพราะต้องการให้ การเรียนบนโต๊ะในห้องเรียนตามปกติ ในสวน ที่ๆ มีต้นไม้เยอะๆ ไม่ต้องมีโต๊ะ เด็กฝึกการใช้ทักษะชีวิต จินตนาการ การ อยู่ร่วมกันกับคนอื่น เพราะถือว่าทักษะ ชีวิตที่จ�ำเป็นต่างๆ นั้น ไม่สามารถเรียนรู้ จากในห้องเรียนได้อย่างเดียว โดยปกติแล้ว การพัฒนาของสมอง จะเริ่มจาก สิ่งที่เด็กท�ำได้ทั่วๆ ไป (การรับ รู้ประสาทสัมผัสต่างๆ การได้ยิน มองเห็น ฯลฯ อารมณ์ความรู้สึก) ไปสู่สิ่งที่เฉพาะ เจาะจงมากขึ้น (ความคิด การรับรู้ที่ซับ ซ้อน) ตามล�ำดับ อย่างการพัฒนาการของ กล้ามเนื้อก็จะเริ่มจาก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ไปสู่กล้ามเนื้อมัดเล็ก ตามล�ำดับเช่นกัน ดั ง นั้ น เด็ ก เล็ ก ก็ ค วรให้ อ อกก� ำ ลั ง กาย มี กิจกรรม กระโดดโลดเต้น เล่นสนุกสนาน ฝึกให้เด็กช่วยเหลือตัวเองตามที่เขาท�ำได้ อย่างเหมาะสม ไม่ใช่เพียงการจับมือเด็ก
ให้เขียนหนังสืออย่างเดียว จะท�ำให้ขาด การฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามวัย ซึ่งหาก ไม่ได้รับการฝึก เด็กก็อาจจะโตไปโดยที่ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ไม่แข็งแรง ทรงตัวไม่ ค่อยดี เคลื่อนไหวไม่คล่องแคล่ว ซุ่มซ่าม การเปิดโอกาสเรียนรู้จากของจริง เช่น ให้เด็กได้เห็นต้นไม้ ดอกไม้ เด็กก็ได้ รับรู้ด้วยการมองเห็น สัมผัส ได้กลิ่นจาก ของจริ ง ที่มี อยู ่ เด็ก จะสนุก สนาน และ ได้พัฒนาประสาทสัมผัสการรับรู้หลายๆ ด้าน สร้างความช่างสังเกตและจดจ�ำไป ได้ยาวนาน การที่เห็นของจริงที่มีอยู่ เช่น ต้นไม้ ใบหญ้า ดอกไม้ แม่น�้ำ ล�ำคลอง นก ท้องฟ้า พระอาทิตย์ ก้อนเมฆ จะ ท�ำให้เด็กเกิดความเข้าใจช่วยพัฒนาการ ทางภาษา (สอนเขาว่าสิ่งนี้เรียกว่า อะไร) ช่ ว ยเรื่ อ งพั ฒ นาการทั้ ง กล้ า มเนื้ อ มั ด ใหญ่มัดเล็ก (เพราะได้วิ่งและออกก�ำลัง) นอกจากนั้นเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ ดีระหว่างพ่อแม่กับลูกทางหนึ่งด้วย ที่ น ครศรี ธ รรมราชเองก็ มี พื้ น ที่ ธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ห ลากหลาย ทั้ ง ป่ า เขาหลวงที่ เ ป็ น ป่ า ดิ บ ชื้ น ในเขต เส้นศูนย์สูตร มีป่าชายเลนและทะเล การ พาเด็ ก ๆ ออกไปเรี ย นรู ้ ธ รรมชาติ ที่ อ ยู ่ รอบตัว จึงเป็นกิจกรรมที่ง่ายส�ำหรับเด็ก นครศรีธรรมราชมาก แทนที่จะให้เด็ก เล็กๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่กับการไปเรียน กวดวิชาเข้าโรงเรียน ซึ่งรู้สึกว่าเป็นเรื่องที่ เหมือนจะกลายเป็นความจ�ำเป็นของพ่อ แม่ยุคนี้ไปแล้ว ลองหาเวลามาท่องเที่ยว เรียนรู้อย่างเพลิดเพลินกับกิจกรรมของ ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝนดู รับรอง ว่าจะได้ประโยชน์กับเด็กเกินคาดค่ะ อย่าลืมว่า วัยเด็กที่แสนสนุกสนาน ไม่สามารถย้อนกลับมาได้ เมื่อเวลาผ่าน ไปนะคะ สนใจกิจกรรมธรรมชาติต่างๆ เข้า ไปดูได้ที่ Facebook Fanpage : ห้อง เรี ย นธรรมชาติ บ ้ า นลมฝน หรื อ โทร. ครูแจง ๐๘๑ ๘๒๔ ๘๘๘๐ ค่ะ
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๕
อาจารย์แก้ว (ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)
กระบวนการผลิตไฟฟ้าชีวมวล เทคโนโลยี ดั้ ง เดิ ม ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต ไฟฟ้า และผลิตไฟฟ้าพร้อมกับความร้อน จากชีวมวล คือกังหันไอน�้ำ แต่มีปัญหา อยู่ที่กังหันไอน�้ำยังมีประสิทธิภาพต�่ำ ไม่ เหมาะสมกั บ ระบบการผลิ ต พลั ง งาน ขนาดใหญ่ ปัจจุบันจึงได้พัฒนาออกแบบ ให้ท�ำงานที่ความดันไอน�้ำสูงมากและมี ลักษณะการท�ำงานทีซ่ บั ซ้อนยิง่ ขึน้ กระบวนการเพื่อการเปลี่ยนชีวมวล ให้เป็นพลังงาน โดยทั่วไปอาศัยกระบวน การทางเคมีความร้อน ซึ่งแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ การเผาไหม้โดยตรง การผลิต ก๊าซ และการผลิตพลังงานร่วม การเผา ไหม้โดยตรง (Direct Combustion) เป็น วิธที ใี่ ช้กนั มากทีส่ ดุ ใช้กบั เชือ้ เพลิงชีวมวล ที่เป็นเชื้อเพลิงแข็ง มีขั้นตอนคือ เผาเชื้อ เพลิงชีวมวลโดยตรงในเตาเผา ความร้อน ที่ได้จะถูกน�ำไปใช้ผลิตไอน�้ำที่มีอุณหภูมิ และความดันสูง ไอน�ำ้ ทีผ่ ลิตได้นจี้ ะถูกน�ำ ไปใช้ขบั กังหันไอน�ำ้ เพือ่ ผลิตไฟฟ้า ไอน�ำ้ ที่ ออกจากกังหันไอน�ำ้ จะเข้าสูค่ อนเดนเซอร์ (เครื่องควบแน่น) เพื่อให้เย็นลงและกลั่น ตัวกลายเป็นน�้ำ เพื่อปั๊มกลับขึ้นไปป้อน หม้อไอน�้ำ โดยถูกอุ่นด้วยไอน�้ำที่มาจาก กังหัน ณ ที่ความดันช่วงกลาง ก่อนป้อน กลับเข้าสูห่ ม้อไอน�ำ้ อีกครัง้ ชนิ ด ของเตาซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบ ส�ำคัญของระบบผลิตไฟฟ้าขึ้นอยู่กับชนิด ของชีวมวล ส�ำหรับชีวมวลที่มีขนาดเป็น ชิ้นค่อนข้างใหญ่ เช่น เศษไม้ จะเหมาะ กับเตาเผาระบบสโตกเกอร์ (Stoker) ถ้า ชีวมวลเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย เช่น ขี้เลื่อย หรื อ แกลบ เหมาะกั บ เตาระบบฟลู อิ ด ไดซ์เบด (Fluidized Bed) หรือไซโคลน (Cyclone) การผลิ ต ก๊ า ซ (Gasification) กระบวนการผลิ ต ก๊ า ซจากการเผาไหม้ (Producer Gas) เป็นการเปลีย่ นเชือ้ เพลิง ชีวมวล ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงแข็งให้เป็นก๊าซ โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งนั้นในที่ที่มี
อากาศจ�ำกัด ความร้อนที่เกิดขึ้นนี้จะเร่ง ปฏิกิริยาแบบต่อเนื่องให้กลายเป็น Producer Gas ซึง่ มีองค์ประกอบหลัก คือ ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจน และ ก๊าซมีเทน การเผาไหม้ ใ นที่ ที่ มี อ ากาศจ� ำ กั ด เป็นการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ แต่จะเกิด ความร้อนเพื่อก่อให้เกิดปฏิกิริยาประเภท ต่ า งๆ มากมาย เช่ น ปฏิ กิ ริ ย ารี ดั ก ชั่ น ไพโรไลซีส และการอบแห้ง เตาผลิต Producer Gas ส่วนมากจ�ำแนกตามลักษณะ การไหลของอากาศผ่านเตา แบ่งได้ ๔ ชนิด คือ - เตาแบบอากาศไหลขึ้น (Updraft Gasifier) จะได้กา๊ ซทีอ่ ณ ุ หภูมไิ ม่สงู แต่จะมี คุณภาพต�ำ่ เนือ่ งจากมีนำ�้ มันดิน (Tar) และ เขม่าปะปนเป็นจ�ำนวนมาก - เตาแบบอากาศไหลลง (Downdraft Gasifier) ได้กา๊ ซทีส่ ะอาดกว่า - เตาแบบอากาศไหลตามขวาง (Cross-draft Gasifier) จะได้กา๊ ซเชือ้ เพลิง
ทีม่ ปี ริมาณน�ำ้ มันและน�ำ้ มันดินต�ำ่ - เตาแบบฟลู อิ ด ไดซ์ เ บด (Fluidized-Bed Gasifier) เตาแบบนี้ ควบคุม อุณหภูมิได้ง่าย รักษาอุณหภูมิให้ต�่ำกว่า จุดหลอมเหลวของขี้เถ้า ท�ำให้ไม่เกิดการ จับตัวของขีโ้ ลหะ ได้เชือ้ เพลิงทีม่ ขี เี้ ถ้ามาก ซึ่งถ้าน�ำไปใช้ในเตาผลิตก๊าซแบบอื่นอาจ เกิดปัญหามากมาย ก๊าซทีอ่ อกมามีปริมาณ ขีเ้ ถ้าและฝุน่ เนือ่ งจากความเร็วของอากาศ ภายในเตาสู ง จึ ง ต้ อ งแยกขี้ เ ถ้ า และฝุ ่ น เหล่านีอ้ อกโดยใช้เครือ่ งดักฝุน่ การควบคุม การท�ำงานได้ยาก ระบบซับซ้อน และมี ราคาแพง Producer Gas สามารถน� ำ ไปใช้ เป็นเชื้อเพลิงได้ทั้งส�ำหรับกังหันก๊าซ (Gas Turbine) และเครื่ อ งยนต์ ส� ำ หรั บ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า (Gas Engine) ปั จ จุ บั น หลายประเทศให้ความสนใจผลิตไฟฟ้าจาก Producer Gas โดยใช้กังหันก๊าซกันมาก ขึน้ เห็นได้จากการเพิม่ จ�ำนวนการก่อสร้าง โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ อย่างไรก็ตามยังพบ ว่ามีปัญหาในการน�ำ Producer Gas มา เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าอยู่หลาย ประการ เช่น - ปริมาณฝุน่ ละอองและน�ำ้ มันดินที่ ปนเปือ้ นมีปริมาณมาก ท�ำให้เกิดปัญหาต่อ การเดินเครือ่ งยนต์ในการผลิตไฟฟ้า - เกิ ด การจั บ ตั ว ของขี้ โ ลหะในเตา
ผลิตก๊าซชีวมวลท�ำให้ต้องหยุดเดินเครื่อง เตาบ่อย ๆ เพือ่ ก�ำจัดขีโ้ ลหะทีจ่ บั ตัวกัน - เตาผลิ ต ก๊ า ซ เครื่ อ งกรองและ เครื่องลดอุณหภูมิของก๊าซชีวมวลเสื่อม เร็ว เนือ่ งจากเกิดการกัดกร่อน ในประเทศไทยได้ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การผลิตไฟฟ้าโดย Producer Gas มา กว่า ๒๐ ปี ส่วนมากเพื่อใช้เกี่ยวกับการ ชลประทาน และเชื้อเพลิงที่มีความเป็น ไปได้ในการน�ำมาใช้มากที่สุดคือ แกลบ เพราะประเทศไทยผลิตข้าวได้มาก จึงมี ชีวมวลประเภทนี้เหลือจากการสีข้าวเป็น จ�ำนวนมากในแต่ละปี ปัจจุบันโรงสีข้าว หลายแห่ง ใช้แกลบเป็นเชือ้ เพลิงผลิตก๊าซ ชีวมวล เพื่อน�ำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล เพือ่ ใช้ผลิตไฟฟ้าในโรงสีนนั้ ๆ ต่อไป การผลิตพลังงานร่วม (Cogeneration) คื อ การใช้ พ ลั ง งานจากแหล่ ง พลังงานหรือเชื้อเพลิงเพียงแหล่งเดียว ผลิตพลังงานที่ต่างกัน ๒ ชนิด สามารถ แบ่ ง ตามล� ำ ดั บ ก่ อ นหลั ง ของการผลิ ต ไฟฟ้าและความร้อนออกได้เป็น ๒ แบบ คือ การผลิตไฟฟ้าน�ำหน้า และการผลิต ไฟฟ้าตามหลัง ซึ่งการผลิตไฟฟ้าน�ำหน้า เป็นทีน่ ยิ มใช้กนั โดยทัว่ ไป
ผลดีของการใช้ชีวมวล ในการผลิตไฟฟ้า ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ชีวมวลส่วน ใหญ่ได้จากผลิตผลทางการเกษตร ดัง นัน้ จึงเป็นเชือ้ เพลิงทีส่ ามารถจัดหาได้ทวั่ ทุกภาคของประเทศ ต่างชนิดตามแต่ละ ภูมิภาค แนวโน้มที่ก�ำหนดการใช้ชีวมวล มาผลิตไฟฟ้ามากขึน้ ในอนาคต มีดงั นี้ - ไทยเป็ น ประเทศเกษตรกรรม ชีวมวลซึ่งเป็นผลพลอยได้ทางเกษตรยัง คงมีมากและมีราคาถูก - เชื้อเพลิงน�ำเข้าจากต่างประเทศ มี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น ในแง่ ข องค่ า ใช้ จ ่ า ย ชีวมวลจึงได้รบั ความสนใจมากขึน้ - ความตื่นตัวทางสิ่งแวดล้อม โดย เฉพาะของเสียที่ปล่อยออกจากโรงไฟฟ้า ชีวมวลได้เปรียบในด้านนีม้ าก เพราะเป็น วัสดุธรรมชาติ เมื่อเผาไหม้ชีวมวล ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จะคืนกลับไปให้ พืชได้ใช้ หมุนเวียนไปอย่างนีเ้ รือ่ ยไป (อ่านต่อฉบับหน้า)
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๖
ไ
Tarzanboy
ด้โปรดอย่าดราม่า หรือน�ำบทความของผม ไปอ้างเพื่อการแบ่งถูกผิด แบ่งฝ่าย หรือ สรุปว่าสิ่งนั้นไม่ดี ไม่ใช่ โดยปราศจากการ ท�ำความเข้าใจ และเห็นสาระแท้ในเป้าหมาย นัน้ ๆ เลยครับ โดยเฉพาะเรือ่ ง "ป่าปลูก หรือ ปลูกป่า" ท�ำได้ ท�ำเลย ท�ำทันที และยิ่งท�ำยิ่งดี ครับ ทว่า...หากก่อนนี้สักช่วงระยะเวลาก่อน ฝนโปรย ก่อนฤดูกาลทีร่ อคอยจะมาเยือน เรา ลองศึกษาหาข้อมูลพื้นที่นั้นๆ และท�ำความ เข้าใจป่าอย่างที่ป่าเป็นก่อนมั้ยครับ เอาล่ะ ในฐานะพรานป่ า ธรรมดาคนหนึ่ ง ...ผมจะ ยกตัวอย่างหรือเล่าไรให้ฟัง ป่า..เหมือนกับ ครอบครัวหรือตระกูลใดตระกูลหนึ่งในสังคม ของ มนุษย์เรา เราจะมีเชื้อสาย มีญาติ มีพ่อ มีแม่ และมีลกู หลาน รวมทัง้ มีเพือ่ นบ้าน มีทงั้ ศัตรู ..นั่นหมายถึง ป่า ก็จะมีทุกอย่างรวมอยู่ ในสายเลือดของพืชพันธุ์ชนิดนั้นๆ ...หากป่า ถูกท�ำลายลงจนแทบสิ้นชาติสิ้นตระกูล และ ใครสั ก คนอยากสร้ า งชาติ ส ร้ า งตระกู ล หรื อ สร้างป่าขึ้นมาใหม่ เราแค่พยายามค้นหาสาย เลือดเดิม สายพันธุ์เดิม หรือศึกษาอดีตของ สังคมป่าตรงนั้นว่ามันเป็นมายังไง ต่อให้มีแต่ ดินว่างเปล่า เชื่อเถอะครับว่า ดินทุกอณูนั้น เกิดมาจากซากของผืนป่าทับถมกัน มันมีเมล็ด พันธุ์ดั้งเดิมรอเติบโตอยู่แล้ว แต่หากเราอยาก ให้มนั เติบโตได้ทนั ท่วงที หรือเรียกว่าช่วย ! ...ก็ ลองสละเวลาก่อนจะปลูกป่าสักนิด แถวบ้านผม ป่าใต้ ...มีลักษณะหนึ่งน่า สนใจมาก จะมีพชื พันธุท์ สี่ ามารถเรียกน�ำ้ เรียก ล�ำธารมาได้ หมายถึง หากมีต้นไม้ชนิดนี้อยู่ ในพื้นที่นั้นๆ มันรักษาต้นน�้ำล�ำธาร มันดูด ซับและถ่ายเท ท�ำให้รายรอบสมบูรณ์ด้วยตัว มันเอง ต้นไม้ที่ว่า ก็มีความเป็นลักษณะเด่น เฉพาะตัวที่น่าสนใจมาก มันเรียกน�้ำ มันเรียก ฝน มันเรียกแมลง เรียกนก และมันสามารถ ต้านภัยพิบัติจากธรรมชาติได้อย่างน่าเหลือ เชือ่ ! “ต้นโศก” คือไม้ใหญ่ชนิดหนึ่ง ชื่อมา จากเหตุที่น�้ำมักจะหยดจากต้นมันได้ราวกับ ฝนตก ความชุ ่ ม ชื้ น ตามผิ ว ล� ำ ต้ น สามารถ เรียกให้มอส ไลเคนมาเกาะและเติบโตได้ มัน สามารถยืนกลางล�ำน�ำ้ ได้ มันงอกในน�ำ้ ได้ ราก มันเหนียวแน่นจนป้องกันภัยพิบัติจากการพัง ทลายได้ “ต้นไทร” คงไม่มใี ครไม่รจู้ กั รากมันยึด หน้าดิน ร่มเงามันบดบังวัชพืช ผลมันเรียกสัตว์ ป่าทุกชนิดให้มารวมกัน และความสมบูรณ์ ก็ตามมา “ต้นสาย” มันเป็นไม้ใหญ่เนื้อแข็ง เช่น เดียวกับโศก หากแต่แปลกตรงมันขึ้นเฉพาะ ริมน�้ำหรือที่เคยมีน�้ำท่วมขังเท่านั้น รากมัน เหนียวแน่นมาก ยึดเกาะริมล�ำธารกันพังทลาย ผลมันหวานกินได้ สัตว์ปา่ ก็ตามมา “ต้นซ้าย” เจ้านีค่ อื ไทรน�ำ้ ชนิดหนึง่ มัน เด่นตรงมันขึ้นซะกลางล�ำธารเลย ต้นมันเล็ก
ยาวสักนิด แต่อยากให้ลองจินตนาการ ตามผมว่า ....ครัง้ ภัยพิบตั ใิ หญ่นำ�้ ป่าไหลหลาก มีป่าแห่งหนึ่ง มีต้นไม้กลุ่มที่ผมว่า รวมกัน อยู่เป็นสังคมป่า ...มันไม่กระเทือนอะไรเลย ครับ ป่ายังคงเป็นป่า ...ขณะที่ป่าที่เป็นสวน ชาวบ้าน ถล่มทลาย พังไปเป็นแถวๆ ขณะที่ ป่ า จุ ด อื่ น ที่ มี พั น ธุ ์ ไ ม้ เ หล่ า นี้ อ ยู ่ ไ ม่ ค รบองค์ นัน่ เรียกว่า พืน้ ทีภ่ ยั พิบตั ิ ! ทั้งหมดนี้ไม่ใช่เพียงแต่ผมที่รู้ ชาวบ้าน คนเฒ่าคนแก่รู้ สัตว์ป่ารู้ และป่า มันรู้ตัวเอง ว่า มันจะด�ำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้อย่างไร มันสร้าง สังคมของตัวเองไว้แล้ว มันมีความลับ ...ซึ่ง หากจะพูดจริงๆ มันไม่ได้ลับอะไรเลย แค่เรา ไม่รู้ ..เราจึงคิดว่า เราจะสร้างป่า โดยการ ลงทุนปลูกอะไรก็ได้ ปลูกเลย ปลูกทันที ถ่าย ภาพ และรอ ... ๓๐-๕๐ ปีผา่ นเรา เราเลยได้ สวนเกษตร เราได้ปา่ แต่ไม่ได้นำ�้ หากจะปลูก ป่าตรงไหน ลองเสียเวลาศึกษาต้นตระกูลของ ชาติพนั ธุ์ ป่าดูกอ่ น ค้นหาพวกเขาให้เจอ และ น�ำกลับมาไว้ให้ถูกที่ ถูกเวลา และให้อิสระ ต่อเขา ให้ป่าจัดการป่าด้วยกันเอง ให้ดินดูแล ป่าเอง... ยอมสละเวลาสักนิดเถอะครับ แม้สกั นิดที่ว่า ผลงานนั้นอาจจะไม่ได้อยู่ในช่วงเวลา ที่คุณมีชีวิตอยู่ แต่หากจะสร้างป่า ระยะเวลา ชีวิตเราสั้นนัก แม้จะรอหลายชั่วอายุคน ก็ดี กว่าสร้างผิดแบบไปหลายชัว่ อายุคน ! ปลูกเถอะครับ ปลูกเลย ดีมากๆ ช่วย และสามารถเติบโตกระจัดกระจายได้กลาง มองหาน�ำ้ ของผมคือ การปีนต้นไม้สงู ๆ สักต้น กันคนละไม้ละมือ โลกนี้สร้างได้ แต่ตั้งใจ ล�ำน�ำ้ ใหญ่ ๆ ยิง่ มีกอ้ นหินเยอะ ๆ มันยึดเกาะ แล้วมองหาต้น "มหาสะด�ำ" หากเจอ ก็มุดลง ท�ำโดยลดทิฐิ ลดดราม่า ลดกระแส ...แต่ทำ� ท�ำให้ก้อนหินทั้งล�ำธารไม่สามารถขยับเขยื้อน ไปเลยครับ ตรงนั้นคือล�ำธารและมีน�้ำบริสุทธิ์ ด้วยรัก จงท�ำมันด้วยความรัก ไปไหนตามแรงของน�ำ้ ป่าหรือภัยพิบตั ิ รอคุณอยู่ “ต้นมะเดื่อน�้ำ” มันคือไทรเหมือนกัน เนื้อไม้มันอ่อน ทว่าพุ่มใบหนา มีผลดก และ มักขึ้นริมน�้ำ แต่ที่อัศจรรย์จนต้องตะลึงคือ ...หากคุณหลบเข้าไปนอนเล่นใต้ต้นมัน จะ รู้สึกฉ�่ำเย็นราวกับติดแอร์ และจะรู้สึกว่ามี หยดน�้ำหยดถูกตัวเราเสมอ มันกลั่นน�้ำและ ปล่อยให้หยดริมใบครับ แม้ชว่ งเวลาแดดจัด ๆ เราอาจจะเห็นฝอยเล็ก พ่นออกจากริมใบราว สปิงเกอร์ มันอยูร่ มิ น�ำ้ ขึน้ กลางน�ำ้ และคุณสา มารเจาะล�ำต้นของมันกินน�ำ้ บริสทุ ธิไ์ ด้ “ต้นส้าน” หรือมะตาด เป็นไม้ใหญ่ โดดเด่นที่ล�ำต้นสีแดงหรือส้ม ผลใหญ่รสชาติ เปรี้ยว มันชอบขึ้นตามแนวล�ำธาร มันดูดน�้ำ ไว้เยอะ หากไปเจาะมัน จะมีน�้ำออกมาราว ท่อประปาแตก รากมันเหนียวแน่นมาก มันยึด แนวดิน แนวหินล�ำธารอย่างไม่สะทกสะท้าน น�ำ้ ป่า “ต้ น จิ ก น�้ ำ ” หรื อ จิ ก ป่ า มั น อาจจะ คนละต้นกันแต่สายพันธุ์เดียวกัน ชื่อมันบอก เข้าใจมัย้ ครับ จิกน�ำ้ มันดูดน�ำ้ ไว้และคายออก เป็นความ เย็น มันขึ้นริมน�้ำ รากมันแข็งแรง มันอยูก่ บั น�ำ้ เสมอ ยิง่ ต้น จิกป่า ...หากใครเห็น ต้นพวกนี้ ขุดลงไปเถอะครับ ให้ห่างต้นมัน สักสามวา คุณจะได้นำ�้ บริสทุ ธิ์ ต่อให้จดุ ทีค่ ณ ุ ก�ำลังขุด คือ เกาะกลางทะเล จิกป่า เป็นรหัส ว่า แถวนัน้ มีนำ�้ จืดบริสทุ ธิอ์ ยู่ “เฟิรน์ มหาสะด�ำ” คือTree Fern หรือ เฟิร์นที่มีล�ำต้นสูง เป็นสัญลักษณ์ของป่าฝน เขตร้อน เวลาผมไปเดินป่าแล้วเกิดขาดน�้ำ วิธี
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๗
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
เพียงแค่ตื่นขึ้นมาให้เช้าหน่อย ปั่นจักรยานออกไป จากตัวเมืองไม่กี่ กม. เราก็จะได้สัมผัสความงดงาม ของชานเมืองนคร ที่ยังคงความสวยใส สะอาด สงบ เป็นเมืองใหญ่ที่ยังมีกลิ่นอาย แห่งความเรียบง่าย ซุกซ่อนอยู่อีกมาก ริมถนนสายอ้อมค่ายติดกับศูนย์มาสด้า
คลองสายเล็กบริเวณใกล้โรงเรียนท่านคร ฯ ที่ไหลลงมาจากคลองหน้าเมือง)
ถนนสายบ้านนาวง - ปากพญา
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๘
ห้
องรับรองพิเศษ ส�ำหรับคนพิเศษ ของคุณ สถานทีร่ องรับการพักผ่อน พบปะพู ด คุ ย เจรจาต่ อ ยอดทางธุ ร กิ จ ประชุมสัมมนากลุ่มย่อย และตอบโจทย์ ความสะดวกสบาย สไตล์ เรียบหรู เป็น ส่วนตัว ตลอดระยะเวลาการเข้าใช้บริการเพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า ...สั ม ผั ส แรกที่ ไ ด้ เ ข้ า มาในห้ อ งรั บ รอง The Premier Loung ต้องขอชมเลย ว่า สวย สะอาดตา หรูหรา กว้างขวาง เฟอร์นิเจอร์โทนสีขรึม และโทนสีที่ใช้ ตกแต่งภายในห้อง หมอนอิงสวยหลากสี วางเรียงราย ขับให้สีสันบรรยากาศของ ห้องดูยิ่งสะดุดตาต่อผู้มาเยือน ด้วยการ ออกแบบและตกแต่งห้องที่ทันสมัย แต่ ยังคงมีกลิ่นไอของเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เข้ามาผสมผสานกลืนกันได้อย่างลงตัว ไม่ ว ่ า จะเป็ น อาหารพื้ น ถิ่ น ชื่ อ ดั ง ที่ ถู ก คัดสรรมาให้ผู้เข้าใช้บริการได้มาลิ้มลอง ทั้งในส่วนของอาหารและเครื่องดื่มที่จัด เตรียมไว้ หรือจะเป็นภาพประกอบที่น�ำ มาตกแต่งห้อง รวมไปถึงการออกแบบ ยูนิฟอร์มของพนักงาน ที่ได้น�ำเอาเสน่ห์ ของผ้ า มั ด ย้ อ มบาติ ก สิ น ค้ า OTOP ชือ่ ดังจาก ชุมชนคีรวี ง อ.ลานสกา จังหวัด นครศรี ธ รรมราช สถานที่ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า อากาศดีที่สุดในประเทศไทย มาเป็นจุด ขาย The Premier Lounge @ ชัน้ ๒ ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน โอเชีย่ น ติดกับ ธนาคารกสิกรไทย เปิดบริการแล้วตัง้ แต่ วันจันทร์ที่ ๑๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดย..คุณปกรณ์ พิมลวงศ์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ปกรณ์และเพือ่ น จ�ำกัด ผู ้ บ ริ ห ารหนุ ่ ม ไฟแรง ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของ
ความคิ ด และกล้ า ที่ จ ะริ เ ริ่ ม ธุ ร กิ จ การ บริการแนวใหม่ แห่งแรกของเมืองนครฯ จากประสบการณ์ที่ตนเองเดินทาง ทัง้ ในและต่างประเทศ บ่อยๆ มาโดยตลอด จึงมองเห็นว่า นครศรีธรรมราชยังคงเป็น จั ง หวั ด ที่ มี ศั ก ยภาพทางความเจริ ญ ด้ า น การลงทุน และความเจริญจากกลุ่มก้อน ของผูป้ ระกอบการธุรกิจทีห่ ลากหลาย หาก เราจะมีสถานที่ ที่มีความสวยงาม หรูหรา สะดวกสบายแบบครบวงจร ที่สามารถจะ รองรับบุคคลส�ำคัญๆ ของจังหวัด, นักท่อง-
เที่ยว, และการตอบรับการเข้าใช้บริการ จากกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามหลากหลายใน จังหวัด ด้วยห้องประชุมขนาดย่อม ทีเ่ พียบ พร้อมไปด้วยอุปกรณ์ทีวี โปรเจคเตอร์, คอมพิ ว เตอร์ , Free WIFI ก็ น ่ า จะเป็ น ความลงตัวที่เป็นไปได้ ที่คุณจะมีค�ำตอบ ของ The Premier Lounge อยู่ภายใน ใจ ... ด้วยการเข้าใช้บริการที่ง่ายแสนง่าย ค่าบริการท่านละ ๒๕๐.-บาท สามารถใช้ บริการได้ ๓ ชั่วโมง/ครั้ง, บริการที่จอด รถฟรี ๑ คัน โดยท่านสามารถแสดงคูปอง
ณ ลานจอดรถ, สามารถซื้ อ คู ป องได้ ที่ จุดบริการ ณ ห้องรับรอง The Premier Lounge เปิดให้บริการทุกวัน ขอบอกว่า พลาดไม่ได้นะคะ แวะมาใช้บริการกัน เยอะๆ ค่ะ .. สนใจเข้าใช้บริการ ติดต่อสอบถาม เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โทร.๐๗๕-๘๐๐-๕๗๕, ๐๘-๑๘๙๓-๓๓๓๓ แล้ ว พบกั น ใหม่ กับโอลั่ลล้า พากินพาเที่ยว ฉบับหน้า ต้อนรับเทศกาลเข้าพรรษาค่ะ
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
หน้า ๑๙
หน้า ๒๐
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙