นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 22 กรกฎาคม 2556

Page 1

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ครบ ๑๒ ปีเปิดท�ำการ ประธานศาลปกครองสูงสุด พบสื่อเมืองนคร ขอแรง กระจายความรู้ สู่ประชาชน

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò

วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ ดร.หั ส วุ ฒิ วิ ฑิตวิริยกุล ประธานศาล ปกครองสูงสุด นางสาว กรรณิ ก าร์ สุ ริ ย า รอง อธิบดีศาลปกครองนคร-

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

ศรี ธ รรมราช นายวชิ ร ะ ชอบแต่ ง ตุ ล าการหั ว หน้ า คณะ ศาลปกครองระยอง รองโฆษกศาลปกครอง และนาย ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม เลขาธิการส�ำนักงานศาลปกครอง ร่วมพบปะเสวนากับสื่อมวลชนจังหวัดนครศรีฯ ณ โรงแรม ทวินโลตัส เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาล ปกครอง กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง และวิธีพิจารณา คดีปกครองที่แตกต่างจากวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา

ในศาลยุติธรรม มีสื่อมวลชนสาขาต่างๆ เข้าร่วมประมาณ ๒๕๐ คน ดร.หัสวุฒิ กล่าวว่า ศาลปกครองก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๔๔ ตามรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ เพื่อตัดสินคดีปกครองจากกรณี พิพาทระหว่างหน่วยงานรัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ กับเอกชน หรือ ประชาชน และข้อพิพาทจากการใช้อ�ำนาจการปกครองตาม กฎหมายราชการท�ำให้เกิดความเสียหาย >> อ่านต่อหน้า ๘

รายงาน รมช.มหาดไทยพบชาวชะอวดหารือเรื่องศูนย์อพยพ ชาวโรฮิงญา ชาวบ้านชูป้ายคัดค้าน กลัวโรคติดต่อ เกรง ชีวิตความไม่ปลอดภัย แนะเอาพื้นที่ท�ำประโยชน์อื่นๆ เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๖ นายประชา ประสพดี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และคณะเดินทางลงพื้น ที่อ�ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมหารือกับนายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการจังหวัด >> อ่านต่อหน้า ๘


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

เ พัฒนบริหารศาสตร์แนวพุทธ ? มี ? และ ใครจะเอาด้วยไหม ? มื่อระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๔ มิถุนายนที่ผ่านมา ผมถูกตาม ไปร่วมน�ำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการระดับชาติเนื่องในวาระ ครบรอบ ๒๐ ปี การก่อตั้งคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า ด้วยนัยยะของ

นที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ ที่ประชุมคณะกรรมการ มรดกโลกขององค์การศึกษาวิท ยาศาสตร์และ วั ฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ (ยู เ นสโก) ครั้ ง ที่ ๓๗ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา มีมติเป็นเอกฉันท์ ๒๑ เสี ย ง รั บ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เข้าสู่บัญชีเบื้องต้นตามที่ประเทศไทย เสนอ เพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาเป็นมรดกโลก ซึ่ง จะจัดประชุมอีกครั้งในปี ๒๕๕๘ วัดพระมหาธาตุฯ เข้ารอบพิจารณาเป็นมรดกโลก ด้วยหลักเกณฑ์ ๓ ข้อ ได้แก่ หลักเกณฑ์ข้อ ๑. เป็น ตัวแทนผลงานที่เป็นเลิศของการสร้างจากอัจฉริยะของ มนุษย์ เนื่องจากวัดพระมหาธาตุฯ เป็นสิ่งที่ตัวแทนของ ระบบความเชื่ อ ทางพระพุท ธศาสนา ผ่านทางแผนผัง และการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยแบ่งขอบเขตพื้นที่ ออกเป็ น ๒ ส่ ว น มี พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น ประธาน สถาปั ต ยกรรมและการประดั บ อาคารสื่ อ ความหมาย ปรัชญาทางพระพุทธศาสนาและพุทธประวัต ิ หลักเกณฑ์ข้อที่ ๒. แสดงให้เห็นความส�ำคัญของ การเปลี่ยนแปลงคุณค่าของมนุษย์ตามกาลเวลา หรือ ในวัฒนธรรมด้านใดด้านหนึ่งของโลกในการพัฒนาด้าน สถาปัตยกรรมหรือทางเทคโนโลยี ศิลปะสถาปัตยกรรม โบราณ การออกแบบผั ง เมื อ งหรื อ การออกแบบภู มิ ทั ศ น์ โดยพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ยั ง คงรั ก ษาความครบ ถ้วนสมบูรณ์ของโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมในสมัย แรกสร้ า งราวปลายพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๘ รู ป แบบทาง สถาปั ต ยกรรมได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากศิ ล ปะลั ง กา ตาม แบบอย่างคติของพุทธศิลป์ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช หลั ก เกณฑ์ ข ้ อ ๓. มี ค วามสั ม พั น ธ์ โ ดยตรงและ แสดงเห็ น ได้ ชั ด เจนกั บ เหตุ ก ารณ์ ห รื อ ประเพณี ที่ ยั ง คงอยู ่ หรื อ ความคิ ด ความเชื่ อ งานศิ ล ปกรรม และ วรรณกรรม ที่มีความโดดเด่นเป็นสากล ความเชื่อของ ผู ้ ค นเกี่ ย วกั บ ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ของพุทธศาสนิกชน ที่จะสั่งสมการสร้างบุญกุศลตาม ประเพณี ใ นรู ป แบบที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ด้ า นวรรณกรรม คีตกรรม และนาฏกรรม ตลอดจนการประกอบพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา อาทิ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ วัน มาฆบูชา และวันวิสาขบูชา นั บ แต่ นี้ ไ ปชาวนครควรเร่ ง ท� ำ ความเข้ า ใจหลั ก เกณฑ์ ๓ ข้อให้กระจ่างยิ่งขึ้น

ในที่ประชุม ผมได้เรียนรู้บทสรุปของนานานักวิชาการ แนวหน้าว่าศาสตร์ว่าด้วยการพัฒนาในประเทศไทยนั้น เพิ่ง เริ่มประมวลแล้วก่อการจนเกิดเป็นนิด้า โดยชื่อของสถาบัน ก็เป็นการประกาศชัดว่าจะเป็นสถาบันแห่งปัญญาชนผู้รู้ใน ศาสตร์ ก ารบริ ห ารเพื่ อ การพั ฒ นา โดยเริ่ ม ขยั บ ในภาครั ฐ และราชการก่ อนที่ จ ะขยายตั ว อย่ า งยิ่ งในภาคธุ รกิ จ เอกชน ในนามของ MBA และ นานา Mini MBA ทั้งหลาย โดย เคยมีบทบาทเป็นศูนย์ความรู้ความคิด ชี้น�ำขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศอยู่หลายทศวรรษ จนกระทั่งบัดนี้ที่เกิดการ ขยายขอบเขตทั้ ง ความรู ้ ขอบข่ า ยการพั ฒ นาอย่ า งเหลื อ

รูปที่ ๑

การเสาะแสวงทางเลือกการพัฒนา ในหัวข้อ “การพัฒนาคน ชุมชน องค์การสังคม : พัฒนาบริหารศาสตร์กับทางเลือก ใหม่ ด้านการพัฒนาในอนาคต” ซึ่งมีวิทยากรชั้นแนวหน้ามา ร่วมน�ำเสนอมากมาย เรียงตามล�ำดับก่อนหลัง อาทิ รศ.ดร. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา, มรว.ดิศนัดดา ดิศกุล, รศ.ดร. มรว.อคิน รพีพัฒน์, ศ.ดร.ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์, รศ.ชยันต์ วรรธนภูติ, นายมีชัย วีระไวทยะ, ศ.ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่, ศ.ดร.บรรเจิด สิงคเนติ, รศ.ดร.จุรี วิจิตรวาทการ, นพ.พลเดช ปิ่นประทีป และ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช โดยผมน�ำเสนอใน หัวข้อ “พุทธธรรม : ทางเลือกการพัฒนา...ที่ยังไม่ถูกเลือก” ซึ่งได้รับความสนใจจากวงประชุมอย่างยิ่ง

หลาย ดังที่ ศ.ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่ สรุปในปาฐกถา เรื่ อ ง “สถานภาพและบทบาทของแนวคิ ด การพั ฒ นาใน บริบทสังคมไทยในปัจจุบันและอนาคต” ว่า เพียงแต่ตามติด เพื่อวิเคราะห์อธิบาย ท�ำความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ ก็ ยากยิ่งแล้ว ที่จะเป็นแหล่งสร้างขยายหรือชี้น�ำนั้น ยากอย่าง ยิ่ง ยากอย่างที่หลังจากได้ร่วมฟังตลอดวันที่ ๑๔ ซึ่งมีแต่ข้อ ปรารภถึงความผิดพลาด ล้มเหลว เสียหาย ไร้อนาคต หมด หนทาง อ้อมๆ แอ้มๆ จนผมรู้สึกขึ้นมาว่า “หรือศาสตรา วิทยาการของมนุษย์นั้นตีบตัน?” ครูบาอาจารย์ระดับนี้ที่ เคยองอาจท�ำกันมากับมือเกือบกึ่งศตวรรษถึงได้มีอาการ อย่างนี้ ? >> อ่านต่อหน้า ๙


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

มื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ คณะ กรรมการมรดกโลกประชุม ณ กรุง พนมเปญ มี ม ติ รั บ พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เข้ า สู ่ ก าร พิจารณาขั้นสุดท้าย เพื่อเสนอเป็นมรดก โลก (World Heritage) ชาวนครบางคน ตื่นเต้นยินดี แต่บางคนอาจขัดใจ ถ้ า พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะมี ม รดก โลกทางวั ฒ นธรรมเป็ น ล� ำ ดั บ ที่ ๔ ภาพจาก Tat Nakhon Si Thammarat@Facebook

ก่อนหน้านี้เรามี เมืองประวัติศาสตร์ สุ โ ขทั ย และเมื อ งบริ ว าร (๒๕๓๔), นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา (๒๕๓๔) และแหล่ ง โบราณคดี บ ้ า น เชี ย ง (๒๕๓๕) เป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า ง กว้างขวาง เป็ น มรดกโลกดี อ ย่ า งไร ผม ไม่ทราบถ่องแท้ แต่ปัจจุบันทั่วโลกมี มรดกโลก ๘๓๐ อยู่ใน ๑๓๘ ประเทศ เป็ น มรดกโลกทางวั ฒ นธรรม ๖๔๔ แห่ง เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ ๑๖๒ แห่ ง และแบบผสมทั้ ง สองประเภท ๒๔ แห่ง ผมทราบเพียงว่ามรดกโลก แต่ละแห่งเป็นที่รู้จัก และหวงแหนของ เจ้าของประเทศ คนต่างชาติต้องการ

ไปเยี่ ย มชม ถ้ า เป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ ทาง ศาสนาก็อยากกราบไหว้สักการะ มรดกโลกอยู ่ ภ ายใต้ ก� ำ กั บ ของ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ภายใต้ ‘อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก’ โดยมี ค ณะกรรมการมรดกโลก เป็ น ผู ้ พิ จ ารณาการเสนอสถานที่ ต ่ า งๆ จาก ประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกภาคี และ มี ‘กองทุนมรดกโลก’ เป็นตัวผลักดัน กองทุนมีรายได้มาจากค่าบ�ำรุงประจ�ำ ปี ข องสมาชิ ก รั ฐ ภาคี เงิ น บริ จ าคจาก ประเทศต่างๆ องค์กร และบุคคลทั่วไป เป็ น มรดกโลกแล้ ว ได้ อ ะไรบ้ า ง ค� ำ ตอบ คื อ ได้ ค� ำ ปรึ ก ษา ให้ อุ ป กรณ์

เครื่องมือต่างๆ การอุดหนุนด้านการเงิน ในการด�ำเนินการรักษาในชั้นต้น, การจัด ส่งผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิค แรงงานฝีมือ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ การให้เงินกู้ดอกเบี้ย ต�่ ำ เพื่ อ ด� ำ เนิ น การอนุ รั ก ษ์ , ช่ ว ยเหลื อ เร่ ง ด่ ว นในการจั ด การกั บ ภั ย ที่ ร ้ า ยแรง ต่อมรดกโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด อุทกภัย, การคุ้มครองรักษา, การ ฟื ้ น ฟู และการประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ การ ปกป้องอนุรักษ์สถานที่อันทรงคุณค่า เราอาจไม่สนใจค�ำปรึกษา เพราะ เราเชื่อว่าเรื่องของเราๆ เก่งอยู่แล้ว เงิน อุดหนุนเรามีช่องทางหาเองได้ เช่น ท�ำ เหรียญที่ระลึก ทอดกฐิน ผ้าป่า หรือขอ บริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา เรื่องช่างเราก็มี ช่างสิบหมู่อันมีฝีมือเป็นเอกอยู่แล้ว หาก คิดให้รอบคอบ แม้เราจะมีครบทุกอย่าง แต่การมีคนอื่นช่วยดูแลรักษา และร่วม ภาคภูมิใจ--น่าจะดีกว่า มรดกโลกทางวัฒนธรรมส่วนใหญ่ กลายเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เป็ น แหล่ ง น�ำรายได้เข้าประเทศ เช่น จีนมีรายได้ จากก�ำแพงเมืองจีน อียิปต์มีรายได้จาก

ปิรามิด ญี่ปุ่นมีรายได้จากเกาะมิยาจิม่า หรือภูเขาไฟฟูจี เป็นต้น เราร�่ำรวยพอแล้ว เราไม่อยากได้ เงินจากนักท่องเที่ยว ชีวิตชาวนครกับ พระบรมธาตุเจดีย์ลงตัวอยู่แล้ว เราไม่ อยากให้ ใ ครยื่ น มื อ เข้ า มาจั ด ระเบี ย บ เราต้องการเฉพาะคนที่ศรัทธาในธรรม ของพระพุทธเจ้าเท่านั้นมาท่องเที่ยว มากราบไหว้สักการะ ความปรารถนา เช่ น นี้ นั บ ว่ า มากเกิ น ไป การมากราบ ไหว้พระบรมธาตุเจดีย์อย่างน้อยที่สุด ตอนก้ ม กราบชาวพุ ท ธล้ ว นร� ำ ลึ ก ถึ ง พระพุ ท ธเจ้ าอยู ่ นั้ น แหละ ส่ ว นจะให้ เขาเข้าถึงธรรมหรือไม่ขึ้นอยู่กับวาสนา ของแต่ละคน ที่ส�ำคัญเราเลือกนักเที่ยว ไม่ได้ มีของดีอยู่ในบ้านเมือง ต้องกล้า เปิดกว้างให้คนมาชื่นชม ในฐานะที่เป็น สมบัติของพระพุทธศาสนา ไม่ใช่ของ ใครคนใดคนหนึ่ง เราควรภาคภู มิ ใ จมากกว่ า ที่ จ ะ มาหงุดหงิดหัวเสีย เพราะเราไม่ได้เสีย ประโยชน์อะไร


หน้า ๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

อกเหนือจากเรื่องสุขภาพ และเรื่องธุรกิจแล้ว อีก เรื่องหนึ่งที่เพื่อนฝูงจะพูดคุยด้วยมากที่สุดคือเรื่อง ธรรมะ หรืออาจจะเห็นเราเป็นคนแก่แล้วกระมัง ชีวิต ในช่วงหลังเกษียณ ผมมีโอกาสเข้าๆ ออกๆ วัดเป็นประจ�ำ มีเพื่อนฝูงเป็นคณะตระเวน ยกชั้น (ปิ่นโต) ไปวัดกันทุก วันพระ เปลี่ยนวัดไปทุกวันพระ นี่ก็ได้ ๑๗๕ วัดเข้าไป แล้ว ได้มีโอกาสพบญาติธรรมในวัดต่างๆ มากมาย ส่วน มากจะเป็นผู้หญิง ผิดกับศรีลังกาผู้ชายจะมากกว่า พม่ า ลาว จะเท่ า ๆ กั น คนไทยเรา ผู้ชายเข้าวัดน้อยกว่าผู้หญิง คนบ้านเรา ว่าไม่แปลก คนประเทศอื่นจะว่าแปลก การได้ไปในท้องถิ่นท้องที่ ที่ต่างกัน จะได้เห็นการ จัดกิจกรรม พิธีกรรมทางสงฆ์ต่างกันหลากหลายรูปแบบ ได้เห็นการจัดการของวัดวาอารามต่างๆ ที่ได้รับการดูแล อย่างดี เป็นระเบียบ สะอาดสะอ้าน สงบ บางวัดก็ปล่อย ปละละเลย ได้ฟังการแสดงธรรมของเหล่าศิษย์ตถาคต ตั้งแต่สามเณรฝึกหัด ในช่วงพรรษา จนถึงพระนักเทศน์ ชั้นครู สมเป็นนักรบของกองทัพธรรมในพระพุทธศาสนา เพื่อนฝูงที่กันเองหน่อยมักจะแหย่ (ถามกวนๆ) ว่า ไปวัดได้อะไรบ้าง คงจะหมายถึงไปห้างก็ได้ของมา ไป ซ่องก็ได้โรคมา อะไรท�ำนองนั้นแหละ ที่จริงเราก็รู้ๆ กัน อยู ่ ว ่ า หาธรรมะนั่ น แหละ เห็ น เขาบอกว่ า มั น อยู ่ ใ นวั ด บางคนก็บอกว่าไปเอาบุญ ก็เลยมาท�ำบุญ อาจจะมีของ แถมกลับมาเป็นผ้ายันต์ เป็นพระเครื่อง หรือซองผ้าป่า ซองกฐินก็ได้ แต่ก็น่าปลื้มใจ เพราะยังมีวัดอีกมากมาย ที่ยังมุ่งมันเผยแผ่ธรรม ฝึกให้ผู้คนได้ปฏิบัติธรรมอย่าง จริงจัง ในคณะของเราที่ยกชั้นไปวัดกันทุกวันพระก็มีก�ำลัง ใจดี เพราะได้เจอวัดดีดี พระดีดี และกัลยาณมิตรที่ดีอยู่ อย่างสม�่ำเสมอ พวกเราหากได้เห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะ ไม่ควรก็อย่าได้ท้อใจ ยังมีที่ที่ดีอีกมากมายที่ก�ำลังมุ่งมั่น ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเพื่อความรุ่งเรืองของพระศาสนา ผมสอบถามครูบาอาจารย์ว่า จะเริ่มปฏิบัติธรรม อย่างจริงจังบ้าง จะต้องเริ่มต้นอย่างไรก่อน ศึกษาอะไร

nagara@nakhonforum.com

บ้ า ง ส� ำ หรั บ คนที่ มี ภูมิธรรมไม่มากอย่าง ผม แต่ก็เป็นคนสนใจ ในธรรมอยู ่ ท่ า นก็ บอกเหมือนกับที่เคย เรี ย นสมั ย ป.๔ ว่ า เริ่ ม จาก ศี ล สมาธิ ปั ญ ญา เอาแค่นี้ก็พอแล้ว ท่านขยายต่อให้ฟังว่า ศาสนาพุทธ สอนเรื่องการดับทุกข์เป็นส�ำคัญ ท่านถาม ว่ารู้เรื่อง อริยะสัจ ๔ ไหม? ผมว่าได้ยินบ่อย ท่องได้ แต่ ไม่รู้เรื่อง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค แปลได้ แต่ไม่เข้าใจ เอาละซี! ท่านอมยิ้ม แล้วถามต่อ รู้เรื่อง มรรค มีองค์ ๘ บ้างไหม รู้ครับท่องได้บ้างครับ สัมมาวาจา สัมมากัมมัน ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาสังกัปปะ และสัมมาทิฏฐิ แต่ไม่เข้าใจครับ ท่านก็เลยสาธยายให้ฟัง ผมนึกถึงค�ำที่คุณยายเคย พูดติดปากสมัยผมยังเด็กอยู่ว่า ไปฟังพระแจ้งธรรม มัน แจ้งจริงๆ หายมืดไปเลยครับ ท่านว่า มรรคมีองค์ ๘ นั้น ๓ ข้อแรกอยู่ในหมวดศีล ๓ ข้อต่อมาอยู่ในหมวด สมาธิ ๒ ข้อสุดท้ายอยู่ในหมวด ปัญญา หมวดศี ล สามข้ อ คื อ เจรจาชอบ พู ด แต่ สิ่ ง ดี ไม่ โกหกหลอกลวง ไม่ใส่ร้ายป้ายสี ไม่พูดยุแหย่ พูดเพ้อเจ้อ ไร้สาระ แค่นี้ก็อยู่ในศีลแล้ว ท�ำการชอบ มันเป็นความ บริสุทธิ์ทางกาย ไม่ท�ำการอะไรเป็นภัยต่อผู้อื่น ไม่ท�ำให้ ใครเดือดร้อน ไม่ลักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่เสพ สิ่งมึนเมา นี่ก็อยู่ในศีล เลี้ยงชีวิตชอบ ไม่ค้าขายในสิ่งที่ ผิดศีลธรรม ฆ่าสัตว์ ขายอาวุธ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น นี่ ก็ศีลเหมือนกัน ส่วนหมวดสมาธิ สามข้อคือ ความเพียรชอบ อันนี้ ต้องฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง ไม่ท้อถอย หรือยอมแพ้อะไร ง่ายๆ >> อ่านต่อหน้า ๑๐

หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๒ ฉบั บ ที่ ๒๒ เดื อ นกรกฎาคม ๒๕๕๖ ข่าวน่าปลาบปลื้ม ยิ น ดี . . ผลการประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกครั้ ง ที่ ๓๗ ณ กรุ ง พนมเปญ ที่ ป ระชุ ม มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ ๒๑ เสียงให้รับพระบรมธาตุเมืองนครขึ้นบัญชีเบื้องต้น เพื่ อ เข้ า สู ่ ก ระบวนการพิ จ ารณาขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดก โลกในปี ๒๕๕๘ ทันทีที่ทราบผลการประชุมจาก กรุงพนมเปญ ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เป็นประธาน ประชุมคณะกรรมการกองทุนจัดตั้งกองทุนพระบรมธาตุฯ สู่มรดกโลก เริ่มจากโครงการทอดผ้าป่าตั้งกองทุน โดย ผู ้ ศ รั ท ธาร่ ว มท� ำ บุ ญ อย่ า งน้ อ ยคนละ ๑๐,๐๐๐ บาท (ไทยรัฐ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๖) ซึ่งจะทอดในวัน ที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ทั้งเปิดรับบริจาคอย่างกว้างขวาง อีกด้วย...อ้างศรัทธา ‘ขอพึ่ง’ ชาวพุทธเร็วไปหรือเปล่า น่ า จะเปิ ด ดู ง บฯ ‘นครศรี ดี๊ ดี ’ ว่ า เหลื อ เท่ า ไร หรื อ ขอ งบฯ จากรั ฐ บาลได้ ห รื อ ไม่ เงิ น ท� ำ บุ ญ ใส่ ตู ้ บ ริ จ าคตาม จุ ด ต่ า งๆ ภายในวั ด ซึ่ ง น่ า จะเป็ น ทุ น ตั้ ง ต้ น มี อ ยู ่ เ ท่ า ไร แล้ ว ค่ อ ยๆ เปิ ด รั บ บริ จ าคจากชาวบ้ า นผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา จัดงานเปิดตัวคณะกรรมการหอการค้านครศรีฯ วาระ ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ระหว่าง ๑๔ – ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ วาริน ชิณวงศ์ ประธานหอฯ จัดงาน ‘เทศกาลรังนกและอาหารทะเลปากพนัง’ ครั้ง ที่ ๑ เกิ ด ผลส� ำ เร็ จ อย่ า งน่ า ภาคภู มิ ใ จ วั น ที่ ๒๒ มิถุนายนเปิดชิณวงศ์ฟาร์มลงนามความร่วมมือกับ จังหวัดผลักดันนโยบาย ‘นครเกษตรสุขภาพ นครเกษตร คุณภาพ อาหารปลอดภัยและนครหรอย’ โดยป้อนผักสด ปลอดสารพิษจากชิณวงศ์ฟาร์ม ลานสกา สู่ร้านอาหารชั้น น�ำในเมืองนคร

นอกจากงานที วี ปั จ จุ บั น ณรงค์ จโนภาส (ดีเจนายลูกหมี) ยังเป็นคณะท�ำงานของ แสวง ฤกษ์จรั ล เลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี (นายวราเทพ รัตนากร)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ภาพ : souvenirbuu.wordpress.com

ภาคเช้าวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ว.เทคโนโลยี ภาคใต้ (เอสเทค.) เชิญ ดนัย จันทร์เจ้าฉาย นักเขียน นักบริหารมาปาฐกถา เรื่อง ‘เปลี่ยนความคิด ชีวิตเปลี่ยน’ ผู้สนใจร่วมรับฟังโดยไม่เสียค่า ใช้จ่าย ขอเชิญเที่ยวงาน สุ ด ยอดของหรอยเมื อ งนคร ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ระหว่าง ๑๑ – ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ ลาน ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานสภาวัฒนธรรม กิจกรรมราชพฤกษ์ไนท์บาร์ซาร์ จังหวัดนครศรีฯ เชิญเที่ยวงาน ‘นครหัตถศิลป์’ ระหว่าง ต่ อ ด้ ว ยงาน ‘เปิ ด วันที่ ๙-๑๒ สิงหาคม ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ชมและ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ มหัศจรรย์หุบเขากรุงชิง’ ครั้งที่ ๑ Explor Krungshing ซื้องานฝีมือของช่างเมืองนครตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เสด็จปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดนครศรีฯ เมื่อ Adventure ๒๐ – ๒๑ กรกฎาคม วันที่ ๘ มิถุนายน ที่ผ่านมา

กฤษฎา อุทยานิน (ขวา) ผู้ตรวจราชการกระทรวง การคลัง น�ำหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงการคลัง จังหวัดนครศรีฯ เข้าเยี่ยมคารวะ ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน

ฮอนด้ า ศรี น ครจั ด กิ จ กรรมอบรมขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ให้แก่นักเรียนโรงเรียนโยธินบ�ำรุง และโรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ เมื่อวันที่ ๒๐ - ๒๑ มิถุนายนที่ผ่านมา

พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ รองประธาน กรรมการมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พร้อม กรรมการแพทย์ ข องมู ล นิ ธิ เดิ น ทางตรวจเยี่ ย มสมาชิ ก มู ล นิ ธิ ใ นจั ง หวั ด กระบี่ พั ง งา ภู เ ก็ ต พั ท ลุ ง ตรั ง และ นครศรีฯ

ฮอนด้ า ศรี น คร จั ด กิ จ กรรมอบรมสั ม นาเชิ ง ปฏิบัติการ ‘การเสริมสร้างความรู้ด้านเทคนิคและผลิตภัณฑ์ ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า’ ให้นายช่างอิสระ ร้านอะไหล่ นครดีซี อินเดอะพาร์ค จัดกิจกรรมสมนาคุณลูกค้า อาจารย์ ช่ า งยนต์ นั กศึ กษาและเจ้ า หน้ า ที่ ฮอนด้ า ศรี น คร ดร.ประชา ประสพดี รมช.มหาดไทย เดินทางไป ตรวจเยี่ยมเทศบาลต�ำบลพรหมโลก อ.พรหมคีรี เมื่อวันที่ ลดสุด ว้าวสุด คุ้มสุดๆ มีพิธีกรดังมาแจกรางวัล วันนี้จนถึง ณ ห้ อ งประชุ ม พระเงิ น วิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึ ก ษานครศรี ฯ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ๑๕ กรกฎาคม ๒ มิถุนายน Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

Diamond@ • Tawang • Robinson • Twin Lotus Gold@ • Tama • Hau It • Kukwang • Weekend Market


หน้า ๖

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

บ ม.๓ ที่ เ บญจมราชู ทิ ศ สมเกี ย รติ ประดู ่ เข้ า เรี ย น วิ ท ยาลั ย ศิ ล ปหั ต ถกรรมนครศรี ฯ จบระดั บ ปวช.จิ ต รกรรม คณาจารย์ ร วบรวมเงิ น ได้ ก ้ อ นหนึ่ ง มอบให้ เ ป็ น ค่ า รถค่ า กิ น เดินทางไปสมัครสอบเข้าวิทยาลัยเพาะช่างและมหาวิทยาลัย ศิลปากร ที่กรุงเทพฯ ให้เป็นตัวอย่างแก่น้องๆ เพราะเขาเป็น แชมป์วาดภาพสีน�้ำภาคใต้ และอันดับ ๒ วาดภาพหุ่นนิ่งระดับ ประเทศ สอบติดเพาะช่างวันลงทะเบียนเป็นวันเดียวกับผลสอบ เข้าคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร สมเกียรติเลือกเรียนศิลปากร ปีการศึกษา ๒๕๒๙ รุ่น ๔๓ ช่วงแรกไปอยู่วัดวิเศษการ ตอนสอบสัมภาษณ์กับอาจารย์ อาทิ ศ.ปรีชา เถาทอง, ศ.พิษณุ ศุภนิมิตร, ศ.ประหยัด พงษ์ด�ำ และ ศ.อิทธิพล ตั้ง โฉลก ถูกซักจนความแตก “อาจารย์ปรีชาถาม--หลังลงทะเบียน ตอนนี้มึง --ท่านเรียกมึงเลย --มีเงินเหลือเท่าไร ผมตอบเหลือ ๗๐ บาท --มึงมาได้ยังไง มึงมาท�ำไม มึงจะมาอยู่อย่างไร มึงรู้ มั้ยเรียนศิลปะต้องใช้เงินเยอะ อาจารย์เลยชวนมาอยู่ช่วยงาน เขียนภาพฝาผนังธนาคารอาคารสงเคราะห์ส�ำนักงานใหญ่ที่ อาจารย์ชนะการออกแบบ ไปช่วยตัดเส้นรูปได้เงินวันละ ๑๕๐ บาท ตอนนั้นผมลักตัดเส้นนอกสั่ง อาจารย์ถามว่าใครท�ำ ผม คิดว่าโดนแน่ ได้ใบแดงแน่ ผมยอมรับอย่างลูกผู้ชาย --ผมเอง ครับ--อาจารย์ว่าเออ..ก็ท�ำได้นี่หว่า อาจารย์เลยให้วันละ ๒๘๐

ตกใจ ผมไม่ได้ท�ำทั้งวัน แต่ท�ำตอน เลิ ก เรี ย น วั น หนึ่ ง อาจารย์ ป รี ช า ถามว่านอนที่ไหน ผมบอกว่าแอบ นอนในคณะบ้าง อาจารย์เลยชวน ไปนอนบ้านอาจารย์ดีกว่า เลยได้ ไปกินไปอยู่บ้านอาจารย์ได้รายวัน วันละ ๑๐๐ ผมมีอาจารย์เป็นแรง บันดาลใจ” เรี ย นปี ๓ ไปเป็ น อาจารย์ พิเศษที่โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป์ แต่ นิ สั ย ไม่ ช อบท� ำ อะไรซ�้ ำ ๆ เลยลา ออก ต่ อ มารุ ่ น พี่ ไ ปรั บ ฟรี แ ลนด์ บริ ษั ท โฆษณาอย่ า ง Expertist, Lintas และ Ogilvy ได้ฝึกฝนการ ออกแบบและเขี ย นภาพลายเส้ น มีเวลาว่างก็เขียนนิยายภาพเล่มละ บาทให้ส�ำนักพิมพ์เสริมมิตร เรื่อง แรกชื่ อ ‘ผี อ� ำ ’ รั บ ค่ า แรง ๖๐๐ บาท เรื่องผีของเขาได้รับความนิยมอย่างมาก เรื่องหลังๆ ค่าแรง ขยับขึ้นถึง ๘๐๐ บาท แต่พอเปลี่ยนแนวมาเขียนเรื่องรักส�ำนัก พิมพ์ไม่ซื้อ จบปี ๒๕๓๔ กลับมาเยี่ยมบ้านที่ร่อนพิบูลย์ แล้วล่องใต้ ไปหาดใหญ่ “ผมเห็นโรงแรม BP Grand Tower ก�ำลังก่อสร้าง ผมเข้าไปในไซด์งาน ได้พบเจ้าของโดยบังเอิญ ผมเลยน�ำเสนอ ว่ามาจากศิลปากร ผมสามารถออกแบบตกแต่งภายในได้ ผม เรียนรู้เรื่องงานออกแบบ ผมไปกับอาจารย์ปรีชา ออกแบบ ภาพวาดติดผนังโรงแรม ติดห้องพัก งานอินทีเรีย คุณบุญแสง ปึงพิพัฒน์ตระกูล ซึ่งเป็นเจ้าของบอกว่า--เราจ้างไปหมดแล้ว เหลืองานอยู่อย่างหนึ่ง Junior Sweet ลองไปท�ำมาดู ผม บอกว่า--ขอน�ำเสนอวาดภาพที่จะติดในห้องพัก ล็อบบี้ อีกเรื่อง คุณบุญแสงบอกว่าท�ำมาดู ผมกลับบ้านมาวาด ๑๐ วัน ทิ้งงาน ที่กรุงเทพฯ ผมท�ำงานไปเสนอผมได้งานอีก ผมได้เงินมหาศาล ๓๐๐-๔๐๐ รูป ซื้อกระบะ งานใหม่เข้ามาอีกงานโรงแรมใน หาดใหญ่ ตกแต่งภายใน ไปถึงโรงแรมมารีน่า ที่สุไหงโกลก โรงแรมเบตงเมอร์ลิน” ต่อมาอาจารย์สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชวนเปิดบริษัท ๔M Group บริษัทก�ำลังไปได้สวยก็มาเจอกับภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ ปี ๒๕๔๐ (ยุค IMF) จึงล้มเลิกไป แต่เขายังไม่ยอมล้ม “ผมเปิด

สมเกียรติ อินทีเรียดีไซน์ หลังโอเชี่ยน ท�ำงานช่วงวิกฤติจนมา เจอเทพไท เสนพงศ์ ได้ออกแบบบ้านที่หัวถนน เทพไทถูกใจ เลยชวนร่วมหุ้นเปิดบริษัท Angle Interior & Architect เลยได้ เรียนรู้งานออกแบบและตกแต่งเพิ่มขึ้นอีก” ช่วงนั้นสมเกียรติป่วยเป็นมะเร็งนอนรักษาตัวอยู่ ๒-๓ ปี บริษัท Angleฯ จึงล้มเลิก พอฟื้นตัวจึงเปิด ‘สมเกียรติอินทีเรีย แอนด์ ดีไซน์’ ในตลาดท่าวัง “ผมประกวดออกแบบร้านทอง มานะที่สี่แยกท่าวังบนเตียง เจ้าของร้านให้ผมท�ำ ผมมาดูงานทั้ง สายน�้ำเกลือ” เมื่อหายจากมะเร็งได้ชีวิตใหม่งานไหลเข้ามาเรื่อยๆ “เริ่มมีเงินก็เริ่มดูพระ ผมเช่าตอนเริ่มมีกระแสองค์พ่อ เช่าครั้งแรกเก๊เลย แว่นกลมเล็กเนื้อไม้มังคุดเช่ามา ๗๐,๐๐๐ บาท พอรู้ว่าผิดเหงื่อไหลเต็มหลังไม่กล้าบอกใคร ท�ำให้เกิด แรงบันดาลใจ ตั้งปณิธานถ้าองค์พ่อศักดิ์สิทธิ์จริงดลบันดาล ให้ผมได้เงินคืน จะได้ลบล้างบาดแผลในใจ ทุกวันนี้เนื้อมังคุด แว่นนั้นยังอยู่ในตู้เซฟ ผมตั้งจิตอธิษฐานว่าจะเป็นเซียนพระ ที่เป็นที่รู้จักและยอมรับให้ได้” สมเกียรติเช่าพระเก็บสะสมไว้ บางครั้งเช่าแพงกว่าราคา ในท้องตลาด “ผมเช่าแพง--ซื้อวิชาตอนได้พูดได้คุยควบคู่กับ การท�ำงาน งานมากปีหนึ่ง ๓๐-๔๐ งาน เสียไป ๗๐,๐๐๐ ผม ไม่เสียใจแล้ว เช่าพระเก็บไว้ไม่ได้ขาย พอได้ขายมีคนขอเช่า ที่ เช่ามา ๑๐๐,๐๐๐ คนมาขอเช่า ๑๕๐,๐๐๐ ผมรู้สึกว่ามีช่อง ทางท�ำมาหากิน ช่วง ๖-๗ ปีหลังรับเหมางานเยอะ แต่มีปัญหา เรื่องคนงานจนเบื่อ พอเก็บเงินได้จ�ำนวนหนึ่งผมคิดว่าน่าจะ อยู่ให้สบายๆ อยู่อย่างพอเพียงดีกว่า เราท�ำอะไรได้ตั้งหลาย อย่าง” สมเกียรติเปิด ‘ร้านใบระกา’ ในเว็บฯท่าพระจันทร์ ใช้ ชื่อ ‘เกียรติ ใบระกา’ ซื้อขายเหรียญอาจารย์น�ำ วัดดอนศาลา นับจากซื้อเหรียญละหมื่นจนถึงแสน “ผมเป็นคนน�ำเสนอการ ถ่ายภาพที่เป็นสามมิติ ไม่ใช่หน้าและหลัง แต่ผมจะมีมุมเอียงให้ เห็นผิว ซึ่งเหรียญอาจารย์น�ำมีเนื้อโลหะบ้านเชียงเนื้อสวยมาก ต่อมาทุกคนต้องถ่ายเอียงอย่างผม” สมเกียรติยังเปิดร้านเว็บฯตลาดพระ และเขาหาเช่าพระ จากตลาดพระทั่วไป หรือนักเลงพระรุ่นน้องๆ เอาพระมาน�ำ เสนออยู่เรื่อยๆ “ทุกวันนี้ผมมีแหล่งป้อนพระอยู่ ๕ รังใหญ่ ผม ยึดมั่นในความจริงใจ ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ” ในยุคอินเตอร์เน็ตและดิจิตัล การซื้อขายผ่านเว็บฯ อาจ สร้างความยุ่งยากให้กับนักเลงพระบางคน “ส�ำหรับผมง่ายมาก ง่ายกว่าเก่าเยอะ เมื่อก่อนซื้อขาย อยู่ในวงแคบ ปัจจุบันมีเว็บฯ ท�ำให้คนรุ่นใหม่เข้ามาเยอะ พระ เก่ามีจ�ำนวนเท่าเดิมแต่คนเล่นมากขึ้น โซเชียลเน็ตเวิร์คช่วยได้ มาก ผมตั้งร้านแล้วใช้วิชาออกแบบมาช่วย ภาพหน้าปก การ ออกแบบภาพถ่ายพระ ริเริ่มจัดอาร์ตเวิร์ค เอางานคอมโพสิชั่น เข้ามาใช้...ลูกค้าต่างประเทศ เมื่อก่อนมีนายหน้าเข้ามาเช่า ใน ร้านผมๆ เขียนว่า can speak english ก็มีลูกค้าต่างชาติเข้า มา..ได้ขายไปต่างประเทศง่ายขึ้น พระร้านเราไม่มีลูกค้าก็บอก ให้ช่วยไปดูร้านนาย ก. นาย ข. ให้หน่อย คิดค่าบริการ เขาโอน เงินผ่านเรา..ผมเลยได้ขายร้านคนอื่นด้วย นั่นคือประโยชน์อย่าง ยิ่งของเทคโนโลยี” สมเกียรติกล่าวว่า วงการพระไม่ใช่ธรรมดา คนมีเงินเข้า มาอยู่มากมาย มาหาที่พึ่งทางใจ “ผมท�ำงานมา ๒๐ ปี มาอยู่ ตรงนี้ก็พออยู่ได้ ได้รู้จักคนมากขึ้น มีเพื่อนฝูงทั่วประเทศอยาก รู้จัก อยากนั่งดื่มด้วยกัน ถ้าเดินทางก็มีที่พัก มีคนพร้อมรับรอง ตลอดเส้นทาง” ซื้อขายพระเครื่องมา ๖-๗ ปี ประสบความส�ำเร็จเป็นที่ รู้จักของนักเลงพระ เพราะมีฐานความรู้จากตลาดพระแบกะดิน ที่ท่าพระจันทร์สมัยเรียนศิลปากร เขาเคยไปนั่งส่องพระศึกษา วิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ที่ต้องเรียนรู้อดีต การออกรีเสิร์ชภาพ จิตรกรรมฝาผนัง ที่เพชรบุรี พนมรุ้ง ปราสาทหินเมืองต�่ำ และ อีกหลายๆ แหล่ง เรียนรู้พระพุทธรูปและเทวรูป พอเห็นก็แยก ออกว่าเป็นศิลปะยุค สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา ทวารวดี หรือรัตนโกสินทร์ พอมาซื้อขายพระเขาว่าความรู้เหล่านี้ช่วยให้ง่ายขึ้น


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ค� ำ ถามที่ ดี น� ำ ไปสู ่ ค� ำ ตอบแห่ ง ความส�ำเร็จ” ค�ำถามที่ส�ำคัญ ในชี วิ ต เราก็ คื อ วั น นี้ เ ราออกแบบชี วิ ต ไว้อย่างไร? เป็นค�ำถามที่ต้องถามตัวเอง ให้ ชั ด เจน มั น ส� ำ คั ญ มากเพราะมั น คื อ เป้าหมายของชีวิตเราตลอดเส้นทางเดิน ของชีวิต หากเป้าหมายของชีวิตไม่ชัดเจนว่าจริงแล้วเราต้องการอะไร ภายใน ก� ำ หนดเวลาเมื่ อ ไร? ที่ ผ ่ า นมาผมตั้ ง เป้าหมายการเป็นลูกจ้างมืออาชีพ ท�ำ งาน ๒๐ – ๓๐ ปี มี ร ายได้ ที่ ม ากพอ แล้วพักผ่อน เก็บเงินออมไว้ใช้ในยาม เกษี ย ณ แต่ ไ ม่ เ คยคาดคิ ด มาก่ อ นว่ า อาจเกิ ด ความพลั้ ง พลาดและเงิ น ออม ที่เก็บไว้ไม่ได้ใช้หรือต้องใช้ในเรื่องที่ไม่ จ�ำเป็นต้องใช้ นับได้ว่าเป็นการวางแผน ชีวิตที่สุ่มเสี่ยงและประมาทเกินไป บท เรี ย นครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ ผ มได้ มี โ อกาสเรี ย นรู ้ วิธีการหาเงินบนโลกใบนี้ใหม่ เรียนรู้ที่ จะก�ำหนดเป้าหมายชีวิตของตัวเองเสีย ใหม่ ใ ห้ ชั ด เจน ลงมื อ ท� ำ ตามความฝั น และเป้าหมายอย่างจริงจัง เพื่อให้ตัวเอง และครอบครัวไปใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ผมคิดว่าส�ำคัญมากไม่ว่าคุณต้องการมี อะไรอยากได้-อยากมีอะไร แล้วคุณเพียง แต่แค่อยาก ไม่ได้ก็ไม่เป็นไร? สุดท้าย ความฝั น ของคุ ณ ก็ เ ป็ น เพี ย งสิ่ ง ที่ อ ยู ่ ใ น ความฝัน ผมเรียนรู้ใหม่ว่าเมื่อก�ำหนด เป้ า หมายแล้ ว เราต้ อ งท� ำ ให้ ไ ด้ - ไม่ ไ ด้ ก็ ต้องได้ เราจะไม่ยินยอมที่จะไม่ท�ำหรือ เลิ ก ท� ำ จนกว่ า ผลลั พ ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ไป ตามเป้าหมายนั้น แน่นอนในระหว่างทาง เดินที่จะไปสู่เป้าหมายที่เราตั้งไว้ต้องใช้ เวลาและการเรียนรู้ท�ำซ�้ำ ท�ำผิดบ้าง-ถูก บ้าง แต่จะไม่มีการล้มเลิก สิ่งที่จะช่วย เพิ่มพลังใจให้เราอยู่ต่อไปไม่ยอมล้มเลิก มันอยู่ที่ความคิดของเราเอง มีคนพูดว่า “ความส�ำเร็จของผู้คนบนโลกนี้ล้วนมา จากวิธีคิด ๘๐% วิธีการ ๒๐% ความ คิดของเราเองส�ำคัญมาก มีคนส�ำเร็จ พูดว่า เมื่อใดที่เราคิดถูก-คิดบวก-คิด ใหญ่มันคือจุดเริ่มต้นของการเดินทาง

นครศรีธรรมราช

ความส�ำเร็จของผู้คนบนโลกนี้ ล้วนมาจากวิธีคิด ๘๐% วิธีการ ๒๐% ความคิดของเราเอง ส�ำคัญมาก มีคนส�ำเร็จพูดว่า เมื่อใดที่เราคิดถูก-คิดบวก-คิดใหญ่ มันคือจุดเริ่มต้น ของการเดินทางไปสู่ความส�ำเร็จ ไปสู ่ ค วามส� ำ เร็ จ ” ที่ เ หลื อ ก็ คื อ ลงมื อ ท�ำตามวิธีการอย่างสม�่ ำเสมอ-ต่อเนื่อง ความเร็วขึ้นอยู่กับความขยันหมั่นเพียร มุมานะของตัวเรา มันเปรียบเสมือนเรา ก�ำหนดเป้าหมายปลายทางที่จะไปแล้ว ใช้ GPS กดปุ่มเป้าหมาย จากนั้นก็เดิน ตามลู ก ศร เราก็ จ ะถึ ง จุ ด หมายปลาย ทางความเร็วขึ้นอยู่กับการเหยียบคันเร่ง ของเรา ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับการหยุดพัก ระหว่างทางมากน้อยแค่ไหน? ซึ่งเกิดจาก เราเป็นผู้ก�ำหนดทั้งสิ้น บนเส้ น ทางชี วิ ต ของผู ้ ค นบนโลก ใบนี้ เราจ่ายเวลา ๒๔ ชั่วโมงเท่ากันทุก คน เราไม่รู้หรอก ว่าเราจะมีชีวิตอยู่นาน แค่ไหน พรุ่งนี้-มะรืนนี้ ไม่มีใครรู้ ผมก็ ไม่รู้ แต่เราก็หวังว่าเราจะมีชีวิตที่ยืนยาว มากกว่านี้ สิ่งส�ำคัญกับเวลาที่เหลืออยู่ เราจะหยิบอะไรมาลงมือท�ำในปัจจุบัน ชี วิ ต คนเรามี อ ดี ต -ปั จ จุ บั น -อนาคต สมการง่ายๆ X=Y เมื่อคุณหยิบอะไร มาใส่ในปัจจุบันก็จะได้อย่างนั้น ค�ำถาม ก็ คื อ คนส่ ว นใหญ่ มั ก หยิ บ อดี ต มาใส่ ปัจจุบัน เคยคิด-เคยท�ำอย่างไรก็ท�ำอย่าง นั้น-ผลลัพธ์จึงได้อย่างที่เป็นอยู่ ค�ำถาม กลับ แล้วเป้าหมายของเราคืออนาคต ใช่หรือไม่? เพียงเราหยิบอนาคตคือเป้า หมายที่เ ราต้ อ งการและจะครอบครอง มันให้ได้ภายใน ๑ ปี-๒ ปี-๓ ปี ข้างหน้า

เมื่ อ เราหยิ บ อนาคต (เป้ า หมายความ ฝัน) มาท�ำในปัจจุบันโดยเราต้องเรียนรู้ ว่าการที่จะท�ำให้บรรลุเป้าหมายต้องท�ำ อะไรบ้าง แล้วลงมือท�ำอย่างสม�่ำเสมอต่ อ เนื่ อ ง-จนบรรลุ เ ป้ า หมาย เปรี ย บ เสมือนเราตั้งเป้าหมายเรียนจบปริญญา ตรีภายใน ๓-๔ ปี หน้าที่ของเราต้องเข้า เรียน ปี๑-ปี ๒-ปี ๓-ปี ๔ ตามหลักสูตร ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ก� ำ หนดและมี ค ะแนน ตามรายวิชาให้ได้ตามเกณฑ์ ผมเชื่อว่า จริงๆ แล้วทุกคนมีเป้าหมายปลายทาง คล้ายกัน คือ “การใช้ชีวิตอย่างมีความ สุข”

หน้า ๗

ผมหวั ง ว่ า บทเรี ย นจากความล้ ม เหลวนั บ พั น ๆ ครั้ ง ของผม ตลอดเส้ น ทางเดิ น ของชี วิ ต ผมยื น มาได้ ถึ ง วั น นี้ เพราะผมเรียนรู้จากความล้มเหลวเพื่อ ไปสู่ความส�ำเร็จที่ดีกว่า-ใหญ่กว่าเสมอ แม้นระหว่างทางที่ล้มเหลวจะเต็มไปด้วย ความเจ็บปวดอยู่บ้าง แต่ส�ำคัญคือก�ำลัง ใจของตัวเอง และคนในครอบครัวและ คนที่รักผม ท�ำให้ผมยืนขึ้นมาได้ครั้งแล้ว ครั้งเล่า เพียงเพราะผมหันกลับมาถาม ตัวเองทุกครั้งและไม่เคยคิดโทษใครไม่ คิดว่าปัจจัยภายนอกจะส�ำคัญเท่ากับตัว ผมเองที่ต้องปรับเปลี่ยนวิธีคิดและความ เชื่อ ผมเชื่อว่าวิธีคิด มาจากมุมมองของ ตัวเรา เมื่อเราเปลี่ยนมุมมองใหม่ แล้ว ลงมือท�ำสิ่งใหม่ๆ มันส�ำคัญมากเมื่อผม อยากได้ผลลัพธ์ใหม่ๆ ก็ท�ำสิ่งใหม่ๆ ที่ ไม่เหมือนเดิม ขอเป็นก�ำลังใจให้กับคนที่ ตั้งเป้าหมายของชีวิต แล้วลงมือท�ำอย่าง เต็ ม ที่ ขอให้ ทุ ก ความฝั น ของคุ ณ เป็ น ความจริงที่อยู่ในบ้านของคุณครับ นายไพโรจน์ เพชรคง PAIROTPETKONG784@GMAIL.COM


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ต่อประชาชน ซึ่งข้อพิพาทส่วนใหญ่พยานเอกสารจะ อยู่ในความควบคุมของส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่ ประชาชนมีโอกาสเรียกเอาเอกสารข้อเท็จจริงมาเป็น หลั ก ฐานประกอบค� ำ ฟ้ อ ง ซึ่ ง ยากที่ จ ะได้ รั บ ความ ยุ ติ ธ รรม แต่ ศ าลปกครองใช้ ร ะบบวิ ธี พิ จ ารณาคดี แบบไต่สวน ซึ่งศาลมีอ�ำนาจในการตรวจสอบและหา ข้อเท็จจริงนอกเหนือจากคู่ความน�ำเสนอต่อศาล ใน การพิจารณาคดีนั้น ข้อเท็จจริงมี ๒ ลักษณะ ได้แก่ ข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์ต่อรูปคดี กับข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานที่ไม่เป็นประโยชน์ ท�ำให้เกิดการ เสียเปรียบถึงขั้นแพ้คดี ซึ่งคู่ความจะพยายามเสนอ หลักฐานข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์แก่ตนเอง ศาล ปกครองเป็นศาลช�ำนัญพิเศษที่สามารถตั้งองค์คณะที่ มีความช�ำนัญพิเศษเพื่อพิจารณาตัดสินคดี นางสาวกรรณิการ์ สุริยา กล่าวว่า จังหวัดนครศรี ฯ มี ก ารฟ้ อ งร้ อ งสู ง ที่ สุ ด โดยเฉพาะข้ อ พิ พ าท เกี่ยวกับที่ดินและที่สาธารณะ ศาลปกครองนครศรีธรรมราชมีตุลาการ ๑๐ คน แม้ตุลาการจะท�ำหน้าที่ อย่างเต็มความสามารถก็ยังเหลือคดีรอพิจารณาอีก ๕๐๐ คดี ซึ่งต้องใช้เวลาในการหาข้อเท็จจริงให้พร้อม ที่สุดจึงจะพิจารณาตัดสิน นายดิ เ รกฤทธิ์ เจนครองธรรม กล่ า วเป็ น เชิ ง สอบถามว่า ในสายตาของประชาชนศาลปกครองท�ำ หน้าที่ดีแล้วหรือยัง ประชาชนได้หรือเสียประโยชน์ ทั้ ง เน้ น ย�้ ำ ว่ า ศาลปกครองเป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยของประเทศ เป็ น องค์ ก รตรวจสอบ การใช้อ�ำนาจของรัฐ และเป็นศาลที่เรียบง่ายในการ ฟ้องร้อง เพียงประชาชนไปเขียนเรื่องฟ้องและลงชื่อ ก�ำกับไว้ โดยไม่ต้องช�ำระค่าธรรมเนียม ศาลปกครอง

ดร.หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด

นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม

จะค� ำ นึ ง ถึ ง สาธารณประโยชน์ เ ป็ น หลั ก อยากให้ สื่อมวลชนช่วยสื่อสารท�ำความเข้าใจกับประชาชนว่า ศาลปกครองมีประโยชน์และเข้าถึงง่าย ปี ๒๕๕๖ ศาลปกครองครบรอบ ๑๒ ปีการเปิด ท�ำการ มีคดีปกครองเข้าสู่การพิจารณา ๘๑,๙๐๔ คดี พิ จ ารณาแล้ ว เสร็ จ ๖๔,๕๕๓ คดี โดยเฉพาะ ปี ๒๕๕๕ มี ค ดี รั บ เข้ า แล้ ว เสร็ จ และคดี ค งค้ า ง สู ง ที่ สุ ด ตั้ ง แต่ เ ปิ ด ท� ำ การศาล และประกาศให้ ป ี ๒๕๕๖ เป็น ‘ปีแห่งการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนและการสื่ อ สารสาธารณะ’ โดยมุ ่ ง ยก

ระดับมาตรฐานและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานด้าน การให้บริการประชาชนและงานธุรการศาล เพื่อให้ ประชาชนเข้าถึงศาลปกครองได้โดยง่ายและสะดวก รวดเร็วขึ้น ตลอดจนจัดให้มีการสื่อสารรับฟังข้อมูล ย้อนกลับจากประชาชนเพื่อน�ำความคิดเห็นและข้อ เสนอแนะมาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ของศาลปกครองในทุ ก ด้ า น รวมทั้ ง เตรี ย มแผน พั ฒ นาองค์ ก รและบุ ค ลากรศาลปกครองให้ มี ค วาม พร้อมรับมือกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ ประเทศไทย ในปี ๒๕๕๘

รายงาน ส่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กรณี ประชาชนในพื้ น ที่ อ� ำ เภอชะอวด คัดค้านการก่อสร้างศูนย์อพยพชาว โรฮิงญากว่า ๒,๐๐๐ คน ที่บริเวณ หน้าค่ายต�ำรวจตระเวนชายแดนเก่า ติดกับโรงเรียนชะอวด ซึ่งประชาชน ในพื้นที่ห มู่ ๑ และใกล้เคียงไม่เห็น ด้ ว ยและรวมตั ว กั น คั ด ค้ า น เพราะ พื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างจากเขตชุมชนและโรงเรียนชะอวด ไม่เกิน ๑ กิโลเมตร ชาวบ้านเกรงว่าหากก่อสร้างศูนย์ อพยพจะส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ ทั้งเรื่องสิ่ง แวดล้อม โรคติดต่อ การประกอบอาชีพ การศึกษา ทั้ง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โดยเสนอให้ใช้พื้นที่ ดังกล่าวเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนประจ�ำอ�ำเภอ, ศูนย์ จ�ำหน่ายสินค้า OTOP, ค่ายลูกเสือ, สถาบันการศึกษา หรือพื้นที่ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ นายประชา ประสพดี กล่ า วกั บ ประชาชนกว่ า ๑,๐๐๐ คน ว่านายกรัฐมนตรีมีความกังวลมาก จึงมอบ ให้ตนมารับทราบปัญหาข้อเท็จจริง ซึ่งเมื่อมีข้อโต้แย้ง จากหลายฝ่ายก็ต้องมีการหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ด้วยเหตุและผลเพื่อลดปัญหาให้กับชาวชะอวด ซึ่งตน จะรับเรื่องกลับไปเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา เชื่อว่า ส�ำนักงานต� ำรวจแห่งชาติและต� ำรวจตระเวนชายแดน

จะต้ อ งน� ำ เรื่ อ งนี้ ไ ปเป็ น องค์ ป ระกอบในการพิ จ ารณา การก่อสร้างศูนย์อพยพชาวโรฮิงญา และจะให้ค�ำตอบ ภายใน ๑๕ วัน เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม ประชาชนใน ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครศรีฯ ได้ร่วมกันต่อต้าน กองก�ำกับการ ต� ำ รวจตระเวนชายแดนที่ ๔๒ และกองบั ญ ชาการ ต� ำ รวจตรวจคนเข้ า เมื อ งที่ เ ตรี ย มเข้ า มาก่ อ สร้ า งศู น ย์ พักพิงชาวโรฮิงยา ในพื้นที่หมู่ที่ ๙ ต.ชะอวด อ.ชะอวด ซึ่ ง เป็ น ที่ ร าชพั ส ดุ ป ั จ จุ บั น ได้ ถู ก ทิ้ ง ร้ า ง แต่ ยั ง คงอยู ่ ใ น ความดูแลของ กก.ตชด. ๔๒ หลังจากที่มีการท�ำเรื่อง ขอสาธารณู ป โภคทั้ ง ระบบ โดยใช้ ง บประมาณสู ง กว่ า ๒๖ ล้านบาท ท�ำให้ชาวชะอวดไม่พอใจ โดยได้ร่วมกัน ประท้วงและล่ารายชื่อคัดค้านการจัดตั้งศูนย์พักพิงหรือ ศูนย์อพยพแห่งนี้ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

<< ต่อจากหน้า ๒

นครศรีธรรมราช

พัฒนบริหารศาสตร์แนวพุทธ ? มี ? และ ใครจะเอาด้วยไหม ?

ผมเตรี ย มการน� ำ เสนอในการประชุ ม ครั้ ง นี้ อ ย่ า ง ตั้ ง ใจ ด้ ว ยเอกสารน� ำ เสนอขนาด ๑๒ หน้ า ซึ่ ง ทบทวน กรอบความคิดว่าด้วยพุทธธรรมกับการพัฒนา จากงานของ พระเดชพระคุณท่านอาจารย์พุทธทาส และ ท่านเจ้าคุณ อาจารย์พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ซึ่งถึงกับสรุป ไว้เป็นหลักว่า “พระพุทธศาสนาเป็นระบบการศึกษาเพื่อ พัฒนามนุษย์” โดยมีเป้าหมายการพัฒนา คือความสุขหลายระดับ ด้วยกระบวนการ พัฒนาทั้งทางกาย สภาพแวดล้อม จิตใจ และปัญญา พร้อมกับปุจฉาต่อที่ประชุมว่า ในเมื่อบรรพชนของสังคมไทยที่อยู่บนผืน แผ่ น ดิ น นี้ เคยเลื อ กรั บ พระพุ ท ธศาสนา มาเป็ น หลั ก ประจ� ำ ชี วิ ต จิ ต ใจ ครอบครั ว ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น จนถึ ง แทบทั้ ง ชาติ ม านั บ พันปี แล้วท�ำไมทุกวันนี้จึงไม่หวนกลับมา ดูศาสตร์นี้เสียที ? ผมลองหยิ บ บทสนทนาที่ ผ มเคย กราบทูลถามองค์ดาไลลามะที่ธรรมศาลา เมื่ อ ๒ ปี ก ่ อ นว่ า ทรงแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ โลกตะวั น ตกแล้ ว พบเห็ น อะไรบ้ า ง ? พระองค์ ท รงตอบพร้ อ มการอธิ บ ายยาว เกือบชั่วโมงที่ชี้ให้เห็นว่า พุทธศาสตร์ของ ชาวเรานั้นก้าวหน้ากว่าทางตะวันตกที่ยัง ถื อ ว่ า อยู ่ ขั้ น อนุ บ าลเท่ า นั้ น โดยเฉพาะ ศาสตร์แห่งชีวิตจิตใจและความสุขอันเป็น เป้าหมายปลายทางของทุกการพัฒนา ผมได้ ท บทวนงานของท่านอาจารย์ พุ ท ธทาสที่ ชี้ ว ่ า โลกและประเทศไทยของ เราก� ำ ลั ง พั ฒ นาในทางที่ ผิ ด ถึ ง ขั้ น วิ ป ริ ต รูปที่ ๒ แล้ว ดังตัวอย่างที่ว่าด้วยการเมือง ซึ่งท่าน ลิขิตไว้ใน “บันทึกนึกได้เอง” ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๕ ไว้อย่าง นี้ว่า (รูปที่ ๑ และ ๒) โดยท่ า นชี้ ว ่ า การพั ฒ นาต้ อ งเป็ น การน� ำ ศาสนามา ใช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ถึ ง ที่ สุ ด ไม่ ใ ช่ เ พี ย งเพื่ อ แก้ จ น แต่ ต้ อ งมี ธ รรมะ มี ค วามสุ ข ชนิ ด แก้ ป ั ญ หาอื่ น ได้ ไม่ ท� ำ ลาย ทรั พ ยากรธรรมชาติ ต้ อ งพั ฒ นาจิ ต ใจน� ำ หน้ า การพั ฒ นา วัตถุ ดังที่ ศาสตราจารย์โดนัลด์ สแวเรอร์ อดีตผู้อ�ำนวย การศู น ย์ ศึ ก ษาศาสนาโลกแห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฮาร์ ว าร์ ด สหรั ฐ อเมริ ก า ได้ ส รุ ป ถึ ง เค้ า โครงความเห็ น ต่ อ ธั ม มิ ก สั ง คมนิ ย มว่ า คื อ ทางรอดของมนุ ษ ย์ ข องท่ า นอาจารย์ พุทธทาสว่าคือที่รวมเจตนารมย์ของทุกๆ ระบบการเมือง เข้าด้วยกันตามสัดส่วนที่เหมาะสม “เป็นระบอบที่ถือเอา ประโยชน์ ข องสั ง คมเป็ น หลั ก และประกอบไปด้ ว ยธรรมะ ไม่มีการกอบโกยเอาส่วนเกิน...เป็นระบบการเมืองอย่าง พุทธบริษัท” ซึ่งมีรายละเอียดอีกไม่น้อย ควรหรือยังที่วง วิ ช าการและการพั ฒ นาจะได้ เ อาจริ ง เอาจั ง หยิ บ ยกหรื อ เลือกมาศึกษาค้นคว้าพัฒนากันอย่างจริงจังเสียที ผมได้ทิ้งท้ายในที่ประชุม ๓ ประการ ๑) ในเมื่อเมืองไทยเราน้อมรับพุทธธรรมไว้เป็นหลัก อย่ า งเนิ่ น นานนั บ พั น ปี จ นถื อ เป็ น หนึ่ ง ในหลั ก ส� ำ คั ญ ของ

สังคม ซึ่งทุกวันนี้ทั่วทั้งโลกก�ำลังตื่นตัวอย่างกว้างขวางในวง วิชาการและการพัฒนา แล้วท�ำไมวงวิชาการและการพัฒนา ไทยไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควรจะเป็น ? ๒) เท่าที่ลองระลึกถึงค�ำที่ถือเป็นหลักการพัฒนาของ สังคมไทย ทั้งๆ ที่รับเข้ามาจากศาสตร์การพัฒนาใหม่ๆ ของ ตะวันตก แต่ดูเหมือนว่ากลิ่นอายและความหมายอันลึกซึ้ง

ของ “ธรรม” กลับถูกบรรจุไว้อย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นค�ำ ว่า ยุติธรรม, รัฐธรรมนูญ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จน กระทั่งล่าสุดคือระบบที่เรียกกันว่า ธรรมาภิบาล ที่เอาธรรมะ มาเป็ น เครื่ อ งอภิ บ าล แล้ ว ท� ำ ไมไม่ เ อาจริ ง กั น ให้ ถึ ง แก่ น เสียที ? ๓) ไหนๆ ก็ตั้งระบบมาหลายสิบปี และดูเหมือนว่าจะ ถึงทางตันกันแล้ว นิด้าไม่ลองเอาจริง เลือกเป็นสักทางเลือก ของการพัฒนาอย่างจริงจัง ด้วยการตั้งคณะบุคคลท�ำการ ศึกษาค้นคว้าพัฒนาชุดความรู้เชิง “พัฒนบริหารศาสตร์” ดู โดยอาจเริ่มด้วยความร่วมมือกับสถาบันส่งเสริมและพัฒนา

หน้า ๙

กิ จ กรรมปิ ด ทองหลั ง พระ สื บ สานแนวพระราชด� ำ ริ โดย หอจดหมายเหตุ พุ ท ธทาส อิ น ทปั ญ โญ ขอปวารณามามี ส่วนร่วมด้วย ซึ่ง ศ.ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่ รับว่าจะรีบ ศึกษาทบทวนใคร่ครวญโดยไม่ช้า สุ ด ท้ า ยที่ น� ำ มาบอกในนครดอนพระครั้ ง นี้ ก็ เ พราะ ก� ำ ลั ง ขบคิ ด เรื่ อ งการพั ฒ นาเมื อ งนครของเราที่ ไ ด้ ชี่ อ ว่ า เป็นเมืองพระ เมืองอันงามสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม ซึ่งผมได้ลองทบทวนชื่อเก่าๆ ของเมืองเรา จนพบว่าชื่อ “สิ ริ ธ รรมนคร” ที่ ป รากฏครั้ ง สุ โ ขทั ย นั้ น น่ า สนใจมากๆ อยากน�ำมาใช้เป็นหลักชัยของการพัฒนา ให้เป็นได้ตาม ชื่อซึ่งมีความหมายสูงส่งว่า “เมืองธรรมอันงามสง่า” ซึ่ง

ท่านอาจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์บอกว่า ฟังแล้วให้ความ หมายเต็มกว่า “เมืองพระ” ที่เคยใช้กันมา หากท่ า นใดสนใจ ขอเชิ ญ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ ที่ plearnstan@gmail.com หรืออ่านบทความเต็มที่อ้างถึงที่ ได้ที่ http://www.bia.or.th/new/index.php/article ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ หาดใหญ่ สงขลา

เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ วันจันทร์ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๒ ค�่ำ เดือน ๗ วันอาทิตย์ที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๘ วันจันทร์ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๘ ตรงกับวันอาสาฬหบูชา วันอังคารที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๘


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ค. ศิลปะทางภาษา เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ได้ สร้างสรรค์ศิลปะทางภาษาให้ “เสียง เสนาะ” สมกับสร้อยชื่อ ที่มหาชนได้ยกย่องเกียรติคุณไว้ ศิลปะการใช้ภาษาในกาพย์ กลอนประกอบกับ “ใยเสียง” อันพริ้งไพเราะของเพลงบอก สร้อย ให้อารมณ์และทัศนะที่ลึกซึ้ง ก่อให้เกิดความละเมียด ละไมขึ้ น ในจิ ต ใจ ช่ ว ยสร้ า งจิ น ตนาการ ความคิ ด ความ เพลิดเพลิน และผ่อนคลายความตึงเครียด กลวิธีการสร้าง ความไพเราะงดงามทางภาษาร้อยกรอง จากวรรณกรรม ของ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ จะอาศัยองค์ประกอบต่างๆ คือ เสียงเสนาะ การใช้ค�ำ การใช้ส�ำนวนโวหาร ท่วงท�ำนองลีลา และการใช้สัญลักษณ์ ดังเช่น ๑) เสียงเสนาะ เกิดจากการใช้ค�ำที่มีเสียงหนักเบา สั้น ยาว ระดับเสียงสูงต�่ำ และสัมผัส กันได้เพราะพริ้งฟังรื่นหู ไม่ ท�ำให้เกิดความแปร่ง เสียงเสนาะเป็นคุณสมบัติ ที่จะท�ำให้ บทร้อยกรองนั้นงดงาม นอกจากนี้การวางลีลา จังหวะให้ สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง การเลียนเสียงธรรมชาติ การซ�้ำค�ำ ซ�้ำ ความ ซ�้ำอักษร จะช่วยเกิดความไพเราะได้เป็นอย่างดี เพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ มีกลวิธีปรุงแต่งให้เกิดเสียงเสนาะได้ ด้วยการเพิ่มเสียงสัมผัสใน ทั้งที่เป็นสัมผัสสระ และสัมผัส อักษร การซ�้ำเสียงทั้งที่เป็นการซ�้ำค�ำและซ�้ำความเป็นต้น ๒) การใช้ค�ำ ค�ำเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญในการสื่อความหมาย อารมณ์ ความรู้สึก และภาพพจน์สู่ผู้ฟัง ซึ่งค�ำที่ใช้ในภาษาร้อย กรอง จากวรรณกรรมของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ มีหลาย ลักษณะ ดังเช่น ใช้ค�ำที่เห็นนาฏการ ใช้ค�ำที่มีความเหมาะสม กับเนื้อเรื่อง ใช้ค�ำภาษาถิ่น ใช้ค�ำภาษาต่างประเทศ การใช้ ค�ำผวน และการใช้ค�ำนามนัย เป็นต้น ๓) การใช้ส�ำนวนโวหาร ส�ำนวนโวหารเป็นศิลปะของ การใช้ภาษาอย่างหนึ่ง โดยใช้ถ้อยค�ำอย่างมีชั้นเชิง เพื่อขยาย ความให้ชัดเจนขึ้น หรือเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด หรือเพื่อให้เหมาะตามภูมิปัญญาของผู้ฟัง ส� ำ นวนโวหารที่ ป รากฏในวรรณกรรมของเพลงบอก สร้ อ ย เสี ย งเสนาะ มี ทั้ ง บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร โวหารเชิงภาพพจน์ การใช้ส�ำนวน

<< (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค ชวน ชวนคยุ

ความระลึ ก ชอบ นี่ต ้องมีสมาธิ ระลึกรู้อยู่กับปัจ จุบัน อย่ามัวแต่ท่องไปกับอนาคต หรือจมอยู่กับอดีต มีความ ตั้ ง จิ ต มั่ น ตั้ ง จิ ต มั่ น ในทางที่ ถู ก ต้ อ งของความเป็ น จริ ง อย่าหลงไปยึดกับกิเลสทั้งหลาย นี่คือหมวดสมาธิ ส่วนหมวดปัญญามีสองข้อ คือ ความคิดชอบ เป็น ความคิดที่ไม่เป็นพิษเป็นภัยกับใคร ไม่มุ่งร้ายใคร ไม่ งมงาย ไม่หลงผิด ถือว่ามีปัญญา ความเห็นชอบ เมื่อเรา มีความคิดชอบ ไม่ถูกครอบง�ำด้วยกิเลสแล้ว ความเห็นก็ จะถูกต้องไปด้วย

ตอนที่ ๑๒ ค�ำพังเพย และสุภาษิต เป็นต้น ๔) ท่วงท�ำนองลีลาจังหวะ ลีลาจังหวะเป็นกลวิธีที่ท�ำให้ เสียงอ่อนเนิบ หรือคึกคัก กระชั้นกระชาก กระแทกกระทั้น ให้ อารมณ์ลีลา จังหวะในบทเพลงบอกที่ถือว่าไพเราะ ไม่ใช่เพียง แต่ใช้ค�ำสัมผัสคล้องจองเหมาะสมเท่านั้น การวางลีลาจะต้อง ให้สอดคล้อง เช่น ต้องการแสดงอารมณ์รุนแรง ลีลาจังหวะ ต้ อ งเร่ ง เร้ า ภาพลั ก ษณ์ เ ช่ น นี้ ป รากฏให้ เ ห็ น เด่ น ชั ด ในงาน วรรณกรรมของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ๕) การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ หมายถึง ลักษณะของ สิ่ ง ใดๆ ที่ ก� ำ หนดนิ ย มกั น ขึ้ น ให้ มีค วามหมายแทนอี ก สิ่ ง หนึ่ ง เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจชัดเจนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น สัญลักษณ์ อาจแสดงออกในลักษณะถ้อยค�ำ ส�ำนวน สิ่งของ เครื่องหมาย หรือรูปภาพต่างๆ แต่โดยทั่วไปแล้วนิยมใช้สิ่งที่เป็นรูปภาพ เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งที่เป็นนามธรรม กาพย์กลอนของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ หลายบท หลายส� ำ นวนได้ ใ ช้ ศิ ล ปะการใช้ ภ าษาในลั ก ษณะของการใช้ สัญลักษณ์ดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะกาพย์กลอนที่เป็นบท สังวาสหรือบทอัศจรรย์ ท่านได้พยายามหลีกเลี่ยงการกล่าว ถึงการร่วมประเวณีโดยตรง แต่ใช้สัญลักษณ์แทนให้ผู้ฟังได้รับ รู้โดยสามัญส�ำนึก ซึ่งเป็นศิลปะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ที่น่ายกย่อง

ท่านว่ามันมีอยู่แค่นี้แหละ พูดจาดี ท�ำงานท�ำการดี ขยันหมั่นเพียร มีความคิดดี มีสมาธิ มีความมุ่งมั่น ความ คิดความเห็นดี เท่านี้ก็เป็นคนมีธรรมะพอตัวอยู่แล้ว เออ ธรรมะก็ไม่ได้ยาก แต่ที่ยากก็คือไม่ได้ท�ำ น่าจะเริ่มจาก ศีล ๕ ถือได้ ๕ ข้อคนรอบข้างคงเดือดร้อนน้อยลง ถ้าได้มา ปฏิบัติธรรมเพิ่มเติมเช่นการนั่งสมาธิ ฝึกวิปัสสนา จิตใจจะ ได้ตั้งมั่นจนเกิดปัญญา ปั ญ ญาที่ ว ่ า ท่ า นว่ า มี ส ามระดั บ ระดั บ แรกๆ ชั้ น ประถม เรียก สุตมยปัญญา คือปัญญาที่เกิดจากการได้ เล่าเรียน ได้อ่าน ได้ฟัง เช่น อ่านหนังสือ เรียนหนังสือ ฟังอาจารย์สอน พ่อแม่เพื่อนสอน เรื่องจะดีเยี่ยมอย่างไร อ่านแล้วนึกว่ามีปัญญา แต่มันเป็นเพียงจ�ำปัญญาของคน อื่นมา มันเป็นปัญญาของคนอื่น ไม่ใช่ปัญญาของเราเอง ครั้นเมื่อเราน�ำความรู้เหล่านี้ ธรรมะเหล่านี้มาใคร่ครวญ ดู ใช้เหตุใช้ผลมาวินิจฉัย อันนี้พระท่านเรียกว่า จินตามย ปัญญา ปัญญาที่เกิดขึ้นจากการคิดพิจารณา เกิดความ เข้าในระดับเหตุผลได้ เมื่อถึงขั้นนี้เราอาจน้อมใจใฝ่ธรรม

ศิลปินแห่งชาติ ‘เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ’ กับการส่งเสริม สร้างสรรค์ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน “เพลงบอก”

ง.คุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรม ผลงานการสร้างสรรค์กาพย์กลอนของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ให้คุณค่า ทางสังคม และวัฒนธรรมในด้านต่างๆ หลายรูปลักษณ์ ดังเช่น ๑) คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม สะท้ อ นให้ เ ห็ น ภาพลั ก ษณ์ ข อง สั ง คม ด้ า นการประกอบอาชี พ ภาพชี วิ ต และการเป็ น อยู ่ การเมืองการปกครอง ฯลฯ ๑.๑) ด้านการประกอบอาชีพ อาชีพของชาวไทย ภาค ใต้ คืออาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการท�ำนา ถือว่าเป็นอาชีพ หลัก ชาวนาต้องท�ำงานหนัก มีความขยันขันแข็งและอดทน ต้องอาศัยธรรมชาติในการท�ำนา และถูกเอารัดเอาเปรียบ จาก พ่อค้าคนกลางที่มารับซื้อข้าว โดยที่รัฐบาลไม่ได้หันมาให้ความ ช่วยเหลืออย่างจริงจัง (ดูบท “หัวอกชาวนา” ประกอบ) ๑.๒) ด้านสภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ชาวไทยภาค ใต้ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมชนบท มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มี รายได้ ไ ม่ สู ง นั ก แต่ นิ ย มส่ ง เสี ย สนั บ สนุ น ให้ ลู ก หลานมี ก าร ศึกษา และเชื่อว่าการศึกษาเป็นรากฐานส�ำคัญ ในการด�ำเนิน ชี วิ ต และยึ ด หลั ก ค� ำ สอนในพระพุ ท ธศาสนา เป็ น หลั ก ใน การด�ำเนินชีวิต ๑.๓) ด้ า นการเมื อ งการปกครอง ด้ า นการเมื อ งการ ปกครอง นักการเมืองหรือนักปกครองที่ดี ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ คือมีพรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) ท�ำตนให้เป็นตัวอย่างในทางที่ดีมีคุณธรรมในจิตใจ ๑.๔) ด้านอื่น ๆ - ด้านประวัติศาสตร์ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น ประวัติพระบรมธาตุ ประวัติงานเดือนสิบ เป็นต้น - ด้านหลักการและวัฒนธรรมการเล่นเพลงบอก ว่าต้อง เล่นอย่างไรจึงจะถูกต้องและได้รับการยอมรับจากผู้ชม ผู้ฟัง - ด้านสาธารณสุข ชาวไทยภาคใต้ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ใน ชนบทไม่ค่อยมีความรู้เรื่องของการสาธารณสุข (อ่านต่อฉบับหน้า)

มากขึ้น มีความศรัทธาในธรรมะเพิ่มขึ้น จนถึงขั้นลงมือ ปฎิบัติธรรม การไปวัดฟังธรรม ตักบาตร บริจาคทรัพย์ ท�ำบุญ จุดธูปจุดเทียน สวดมนต์ ท�ำพิธีกรรมต่างๆ ใช่ ปฏิบัติธรรมหรือไม่ ใช้จินตามยปัญญาตรองดู หากแต่ การปฎิบัติธรรมที่พระท่านเรียกว่า ภาวนามยปัญญา นั้น คือปัญญาที่เกิดจากการบ�ำเพ็ญด้วยตัวเอง เช่นการฝึกจิต วิปัสสนาเป็นต้น เมื่ อ เราเริ่ ม สร้ า งปั ญ ญาในทางธรรม โดยการเริ่ ม ฟังธรรม อ่าน เรียน ใคร่ครวญ ตรึกตรองจนเกิดปัญญา ระดับหนึ่งแล้ว ลองหันมาฝึกปฏิบัติธรรมดู เดี๋ยวนี้มูลนิธิ ในทางธรรมมากมาย ก�ำลังบานสะพรั่งทั้งแผ่นดิน ดูโลก ภายนอกมานาน รู้จักสิ่งรอบตัวมากมาย รู้จักตัวเราหรือ ยัง รู้จักจิตเราหรือยัง ลองเข้ามาดูตัวเองหน่อยส�ำรวจดู ดูความเป็นจริงตามธรรมชาติ ที่เกี่ยวเนื่องกับตัวเรา ว่า เป็นอย่างไร บางทีความทุกข์กับเราอาจจะห่างๆ เหินๆ กันบ้าง ๑๕ มิ.ย.๕๖


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

บับที่ผ่านมาได้เล่าเรื่องเมืองเก่าที่มีชื่อว่า “เมือง สะอุเลา” อันเป็นเมืองบริวารหรือเมืองในก�ำกับดูแล ของ “นครศรีธรรมราช” ซึ่งมีราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช (หรือราชวงศ์ปทุมวงศ์) ปกครองอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ ๑๘ - ๑๙ (ก่อนราชอาณาจักรสุโขทัย) ถือเป็นเมือง หนึ่งในระบบบริหารการปกครองแบบ “สิบสองนักษัตร” ฉบับนี้ จึงขอเสนอเมืองเก่าอีกเมืองหนึ่งในระบบนี้ คือ “เมืองตะกั่วถลาง” ค�ำ “ตะกั่วถลาง” มีปรากฏในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช ในตอนที่กล่าวถึงเมืองบริวารสิบสองนักษัตร ฉบับคัดลอกบางฉบับก็ใช้ว่า “ตะกั่วป่า” บางฉบับก็ใช้ ว่า “ตะโกลา” ซึ่งอาจก่อให้เกิดความสับสน เรื่องนี้ สงบ ส่งเมือง ได้กล่าวไว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ที่ ๓ หน้า ๑๒๓๒ ว่า ในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช ได้เกิดชุมชนขุดแร่ขึ้นในบริเวณเมืองตะกั่วป่าและบริเวณ ใกล้ เ คี ย ง ในต� ำ นานเมื อ งนครศรี ธ รรมราชเรี ย กชุ ม ชน เหล่านี้รวมกันไปว่า “เมืองตะกั่วถลาง” ซึ่งชาวพื้นเมืองใน สมัยนั้นรู้จักแร่ดีบุกในชื่อ “แร่ตะกั่วด�ำ” เมืองตะกั่วถลาง คงจะหมายถึงชุมชนขุดแร่ดีบุกขนาดใหญ่หลายแห่งทาง ชายฝั่งตะวันตกในยุคนั้น ซึ่งอาจจะหมายถึงเมืองตะกั่วป่า เมืองตะกั่วทุ่ง และเมืองถลาง ชุ ม ชนตะกั่ ว ถลางดั ง กล่ า วข้ า งต้ น หากพิ จ ารณา ถึงอายุความเป็นมาของชุมชนแล้ว พบว่าเมืองตะกั่วป่า เป็นชุมชนเก่าแก่ที่สุด เป็นที่รู้จักของพ่อค้าและนักเดินเรือ ต่างชาติมาตั้งแต่ราว พ.ศ. ๕๐๐ ในชื่อ “ตักโกละ” หรือ “ตักโกลา” กล่าวคือในคัมภีร์มิลินทปัญหาซึ่งพระปิฎก จุฬาภัยเถระแต่งขึ้นเป็นภาษาบาลี ได้ปรากฏ ชื่อ “ตัก โกละ” อยู่แล้ว ในจดหมายเหตุภูมิศาสตร์ปโตเลมี ซึ่ง เขียนในราว พ.ศ. ๖๙๓ ก็มีชื่อ “ตักโกละ” ปรากฏอยู่รวม ทั้งในคัมภีร์มหานิทเทสติสสเมตตยสูตร ซึ่งเขียนในราว พุทธศตวรรษที่ ๘ ก็กล่าวถึงชื่อ “ตักโกละ” ด้วยเช่นกัน ชุมชนตักโกลา (หรือตะกั่วป่า) ตั้งอยู่ในต�ำแหน่ง และสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมต่อการเดินเรือมาขึ้นบก อย่างยิ่ง ชาวอินเดีย จีน และอาหรับ ได้เลือกข้ามสมุทร โดยการขึ้ น ฝั ่ ง ที่ ต ะกั่ ว ป่ า แล้ ว ข้ า มไปลงทะเลจี น ใต้ ห รื อ อ่าวไทยในบริเวณอ่าวบ้านดอนและอ่าวนครศรีธรรมราช แทนการข้ามช่องแคบมะละกา ซึ่งช่วยทุ่นเวลาการเดิน ทางมากกว่ า ตั้ ง แต่ ส มั ย พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๐ เป็ น ต้ น มา ครั้นถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ปรากฏหลักฐาน ชัดเจนว่า ชุมชนบริเวณตะกั่วป่าได้พัฒนาเป็นชุมชนเมือง ท่ า ที่ ส� ำ คั ญ ทางฝั ่ ง ทะเลอั น ดามั น เป็ น ชุ ม ชนสมั ย แรก เริ่มประวัติศาสตร์ที่ได้ผสมผสานวัฒนธรรมแบบอินเดีย เข้ากับวัฒนธรรมพื้นเมืองดั้งเดิม มีการสร้างรูปเคารพ และ ศาสนสถานในศาสนาฮินดู มีการบันทึกเรื่องราว

ลงในศิลา ด้วยภาษาสันสกฤต อักษรปัลลวะบ้าง อักษร ทมิ ฬ บ้ า ง ซึ่ ง เชื่ อ ได้ ว ่ า เป็ น ชุ ม ชนที่ รั บ เอาวั ฒ นธรรม ภายนอกเข้ามาเป็นรุ่นแรกๆ ของภาคใต้ ชุมชนตักโกลาเป็นเมืองท่าที่เจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ พร้อมๆ กับความเจริญ รุ ่ ง เรื อ งของพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ม หายาน ปรากฏในสถู ป ดินเผาซึ่งพบที่นั่น ในชื่อใหม่ว่า “ตะกั่วถลาง” ช่ ว งที่ ร าชวงศ์ ศ รี ธ รรมาโศกราชปกครองนครศรี ธรรมราชในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ได้รวมเอาเมืองตะกั่วป่า เมืองตะกั่วทุ่ง และเมืองถลาง ซึ่งเจริญรุ่งเรืองจากการ ค้าขายทางทะเล และสินแร่ดีบุกเข้ามาเป็นเมืองบริวาร ด้วย ใช้ชื่อว่า “ตะกั่วถลาง” โดยจัดเป็นหัวเมืองล�ำดับ ที่ ๑๑ ในท�ำเนียบเมืองสิบสองนักษัตร ถือตราสุนัข (จอ) เป็นตราประจ�ำเมือง

อนึ่ ง แนวคิ ด ที่ ก� ำ หนดให้ บ รรดาเมื อ งบริ ว ารทั้ ง หลายใช้ ต ราปี สิ บ สองนั ก ษั ต ร ก็ ค งเป็ น เหตุ ผ ลตาม ที่ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวไว้ คือ คนไทยยั ง ไม่ สั น ทั ด วิ ช าหนั ง สื อ การใช้ รู ป สั ต ว์ เ ป็ น สัญลักษณ์สามารถจดจ�ำได้ง่ายและเป็นการสะดวก ทุก ชาติทุกภาษาก็สามารถจะเข้าใจได้ไม่แปรเปลี่ยน ส่วน เหตุ ผ ลที่ ว ่ า เหตุ ใ ดจึ ง เจาะจงใช้ รู ป สั ต ว์ ข องปี สิ บ สอง นั ก ษั ต ร เหตุ ประการหนึ่ ง ที่ อ าจเป็ น ไปได้ คื อ ขณะนั้ น กระแสอิ ท ธิ พ ลศิ ล ปวั ฒ นธรรมขอมมี ม าก ผู ้ มี วิ ช าทาง โหราศาสตร์ ไ ด้ เ ข้ า มาเป็ น ขุ น นางผู ้ ใ หญ่ ใ นราชส� ำ นั ก เป็นที่ปรึกษาใกล้ชิดของกษัตริย์หรือเจ้าเมือง คงจะได้ แนะน�ำให้เอาชื่อรูปสัตว์ประจ�ำปีสิบสองนักษัตร มาใช้เป็น ตราประจ�ำเมืองก็เป็นได้

เหมือนความรักจะมา

มาจากฟากฟ้าทางทิศเหนือ ล่องลอยมากับสายลมพัด ฉันได้กลิ่นนั้นในความรู้สึก, กลิ่นความรัก ได้กลิ่นหอมหวานนั้นในสายลม สายลมที่ก�ำลังพัดแผ่ว เหมือนดั่งสายน�้ำแห่งเวทย์มนต์ที่ก�ำลังพัดมาหาฉัน ฉันตกอยู่ในอ�ำนาจภวังค์ของสายลม ฉันรอคอยความรักที่จะมาจากฟ้าทางทิศเหนือ

โดย : เทียน คชานนท์ ๑๑ มิ.ย. ๒๕๕๖

ขณะ ยืนรอความรักที่มากับสายลม ลมก็เกิดเปลี่ยนทิศ ความรักลอยไป, เปลี่ยนทิศทางแล้วหายไป เป็นความว่างเปล่าที่เข้ามาแทน ท�ำได้เพียงยอมรับมัน, ความเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนทิศของสายลม, การเปลี่ยนทางของความรัก ฉันยังยืนมองฟ้าทางทิศเหนือ รอสายลม, รอความรัก รอสายลมพัดมาอีกครั้ง ชีวิตหนึ่งที่ว่างเปล่า การรอคอยที่เริ่มใหม่


หน้า ๑๒

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

บับที่แล้วได้ขออนุญาตให้ คุณหมอนิพนธ์ ส่องสุข สูติ-นรีแพทย์ประจ�ำ โรงพยาบาลนครพัฒน์รวบรวม เทคโนโลยีเกี่ยวกับเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ที่ช่วยในการ รักษาภาวะมีบุตรยาก อันได้แก่วิธีการฉีดเชื้อผสมเทียมใน โพรงมดลูก (Intrauterine Insemination-IUI) ไปแล้ว วันนี้ขออนุญาตให้ คุณหมอนิพนธ์ ส่องสุข น�ำเทคโนโลยี เกี่ยวกับเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์อีกรูปแบบน�ำเสนอต่อ ครับ การท�ำ บลาสโตซีสท์คัลเจอร์ เป็นการรักษาภาวะมี บุตรยากที่มีโอกาสตั้งครรภ์ได้มากกว่าวิธีอื่นๆเนื่องจากเรา สามารถเลี้ยงตัวอ่อนให้เจริญเติบโตและมีจ�ำนวนเซลล์มาก ขึ้นกว่าเดิมก่อนที่จะใส่ตัวอ่อนเข้าไปในโพรงมดลูกอีกครั้ง Blastocyst คือตัวอ่อนที่เจริญเติบโตไปแล้ว ๕ วัน หลังจากที่เกิดการปฏิสนธิของไข่และอสุจิ เป็นตัวอ่อนระยะ ก่อนฝังตัว มีจ�ำนวนเซลล์ ๑๒๐ - ๑๕๐ ตัวอ่อนระยะนี้จะ แบ่งเซลล์ออกเป็นสองชนิดคือ Inner cell mass ซึ่งเป็น ส่วนที่จะเจริญไป เป็นทารก และ Trophoblas cells ซึ่ง เป็นส่วนที่จะเจริญไปเป็นรก แตกต่างจากตัวอ่อนระยะ Cleaving (ระยะ ๑ - ๑๖ cells) ที่ยังเจริญเติบโตไม่ถึง ๕ วันและมีเซลล์เพียงชนิดเดียวเท่านั้น

Blastocyst culture

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

คื อ การท� ำ การปฏิ ส นธิ ข องไข่ แ ละอสุ จิ ภ ายนอก ร่างกายแล้วเลี้ยงตัวอ่อนต่อไปจนถึงระยะ Blastocyst แล้วจึงใส่กลับคืนสู่โพรงมดลูก เพื่อให้ไปฝังตัวและเกิดเป็น ทารกต่อไป การเลี้ยงตัวอ่อนภายนอกร่างกายจนถึงระยะ Blastocyst นั้น ต้องใช้ระยะเวลา ๕ วัน และจะต้องใช้ น�้ำยาเลี้ยงตัวอ่อนตามความต้องการสารอาหารของตัวอ่อน แต่ละระยะ แต่เดิม การใส่ตัวอ่อนกลับคืนสู่โพรงมดลูกใน ระยะ Cleaving (เพียง ๔ - ๘ cells) จะต้องเลี้ยงตัวอ่อน

การรักษาภาวะมีบุตรยาก

ด้วยเทคโนโลยีบลาสโตซิสท์คัลเจอร์ (Blastocyst Culture) ไว้ภายนอกร่างกาย ๒ - ๓ วัน แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนา สภาวะ แวดล้อมในการเลี้ยงตัวอ่อนไว้ภายนอกร่างกายได้ นานขึ้น (๕ - ๖) วัน จนกระทั่งตัวอ่อนเจริญเติบโตไปถึง ระยะ Blastocyst ซึ่งเป็นตัวอ่อนที่มีการพัฒนาไปถึงขั้นสูง ที่สุดก่อนที่จะฝังตัวเกิดเป็นเด็ก และเป็นระยะที่อยู่ในโพรง มดลูกตามธรรมชาติ เมื่อใส่ตัวอ่อนกลับคืนสู่โพรงมดลูกตัว อ่อนจึงสามารถฝังตัวได้ทันที ตัวอ่อนที่แข็งแรงดีจะออก จากเปลือกเมื่อสิ้นสุดวันที่ ๖ และภายใน ๒๔ ชั่วโมงหลัง จากที่เจาะออกจากเปลือกแล้วก็จะเริ่มฝังตัวลงไปบนเยื่อบุ โพรงมดลูกของแม่ จึงท�ำให้อัตราการตั้งครรภ์ของวิธีการนี้ สูงกว่าการใส่ตัวอ่อนในระยะอื่นๆ ทั้งหมด

ขั้นตอนในการรักษา

มีประสิทธิภาพในการผสมกับไข่ มากขึ้น ก่อนที่จะน�ำมา ท�ำการปฏิสนธิกับไข่ ๕. ท�ำการปฏิสนธิไข่และอสุจิ และเลี้ยงตัวอ่อนใน ห้ อ งทดลอง โดยใช้ เ วลาเลี้ ย งตั ว อ่ อ นภายนอกร่ า งกาย ทั้งหมด ๕ วัน (เป็นระยะที่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงสุดเท่า ที่มีในปัจจุบันโดยความร่วมมือระหว่าง รพ.นครพัฒน์ กับ สถาบัน Perfect Woman) ๖. เมื่อได้ตัวอ่อนที่เป็นระยะ Blastocyst แล้วแพทย์ จะท� ำ การใส่ ตั ว อ่ อ นกลั บ คื น สู ่ โ พรงมดลู ก ให้ โดยใช้ ท ่ อ พลาสติกเล็กๆ สอดผ่านทางช่องคลอดเข้าไปในโพรงมดลูก แล้ววางตัวอ่อนลงไป ขณะใส่ตัวอ่อนคนไข้จะรู้สึกตัวตลอด เวลา โดยไม่มีความเจ็บปวดใดๆ เมื่อใส่ตัวอ่อนเรียบร้อย แล้วต้องนอนพักอย่างน้อย ๒ ชั่วโมง หลังจากใส่ตัวอ่อน ไปแล้วแพทย์จะนัดมาพบเป็นระยะเพื่อติดตามดูแลระดับ ฮอร์โมนให้มีความสมดุลย์ และมีสภาพเยื่อบุโพรงมดลูก เหมาะแก่การฝังตัวของตัวอ่อน ๗. หลั ง จากใส่ ตั ว อ่ อ นไปแล้ ว ๑๔ วั น แพทย์ จ ะ ท� ำ การทดสอบการตั้ ง ครรภ์ โ ดยการเจาะเลื อ ดตรวจหา ระดับฮอร์โมน hCG หรือฮอร์โมนจากรกเด็ก

๑. กระตุ้นรังไข่ให้ผลิตไข่หลายๆใบ โดยการฉีดยา การฉี ด ยาจะฉี ด วั น ละ ๑ เข็ ม ติ ด ต่ อ กั น โดยเฉลี่ ย จะฉี ด ประมาณ ๗ - ๑๐ วันโดยปกติจะต้องการไข่จ�ำนวน ๘ - ๑๐ ใบ ยาที่ใช้กระตุ้นไข่ในปัจจุบันเป็นยาชนิดใหม่ที่มีความ บริสุทธิ์ของยามากขึ้นท�ำให้มีโอกาสได้ไข่จ�ำนวนมากขึ้น และใช้ปริมาณยารวมทั้งจ�ำนวนวันที่ฉีดลดลง ๒. เมื่อกระตุ้นไข่ด้วยยาแล้วแพทย์จะท�ำการตรวจ ติดตามการเจริญเติบโตของไข่โดยใช้เครื่องอุลตร้าซาวน์ ข้อดีของการท�ำ Blastocyst Culture • อัตราการตั้งครรภ์สูงขึ้น (สูงกว่า ๕๐ %) เมื่อพบว่าไข่สุกสมบูรณ์เต็มที่แล้วแพทย์จะท�ำการเจาะไข่ • สามารถเลื อ กตั ว อ่ อ นที่ มี คุ ณ ภาพดี มี ก ารเจริ ญ เพื่อดูดเอาเซลล์ไข่ออกมาภายนอกร่างกาย ๓. การเจาะไข่ จ ะเจาะผ่ า นทางช่ อ งคลอด โดยใช้ เติบโตดีที่สุดใส่กลับคืนสู่โพรงมดลูกได้ • Blastocyst เป็นตัวอ่อนระยะที่อยู่ในโพรงมดลูก อุลตร้าซาวน์บอกต�ำแหน่ง แล้วใช้เข็มเล็กๆ เจาะไข่ออก ตามธรรมชาติ และพร้อมที่จะฝังตัวแล้ว เมื่อใส่กลับคืนสู่ โพรงมดลูกให้ก็จะสามารถฝังตัวได้เลย ซึ่งเป็นวิธีการที่ตรง กับ กระบวนการในธรรมชาติมากที่สุด • ลดความเสี่ ย งในการเกิ ด แฝดที่ มี จ� ำ นวนทารก มากกว่า ๒ คน เนื่องจากอัตราการตั้งครรภ์ด้วยวิธีการนี้ ค่อนข้างสูง จึงไม่ต้องใส่ตัวอ่อนเผื่อไว้มากๆ เหมือนวิธีอื่นๆ • สามารถท�ำการวินิจฉัยความผิดปกติของตัวอ่อน ก่อนใส่กลับคืนสู่โพรงมดลูกได้ มาจากรังไข่ การเจาะไข่จะใช้เวลาประมาณ ๕ - ๑๐ นาที • ไม่ต้องมีความเจ็บปวดในการรักษาไม่มีการผ่าตัด เท่านั้น และแพทย์จะให้ยานอนหลับขณะท�ำการเจาะ และ หรือเจาะท้อง เมื่อคนไข้ตื่นขึ้นมาก็จะสามารถกลับบ้านได้เลย ไม่ต้องนอน • ไม่ต้องนอนพักที่โรงพยาบาล สามารถกลับบ้านได้ พักที่โรงพยาบาล ทุกขั้นตอน ๔. การเก็บเชื้ออสุจิท�ำได้โดยให้ฝ่ายชายหลั่งอสุจิใส่ ภาชนะที่จัดไว้ให้แล้วน�ำอสุจิที่ได้ มาคัดเลือกตัวที่แข็งแรง หากมี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ต้ อ งการทราบรายละเอี ย ด โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ พิ เ ศษและน�้ ำ ยา Pure Sperm ท� ำ ให้ ติดต่อได้ที่โรงพยาบาลนครพัฒน์ ที่หมายเลข ๐๗๕สามารถคัดเลือกตัวอสุจิที่มีความสะอาดปราศจากเชื้อ และ ๓๐๕๙๙๙ ต่อ แผนกสูตินรีเวช

เปิดรับสมัครพนักงานประจ�ำสาขาทั่วภาคใต้

สวัสดิการดี มีที่พักสะดวกสบาย เบี้ยเลี้ยงและเบี้ยขยัน ประกันสังคม ฯลฯ จัดอบรมให้ บรรจุแล้วมีรายได้ขั้นต�่ำ ๑๒,๐๐๐ บาท/เดือน

โทร.๐๘๑-๑๒๓-๒๘๒๒


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

มืองแห่งพระพุทธศาสนา... นครปฐมมี ถนนพุทธมณฑล นครศรีธรรมราชก็มี ถนนพุทธภูมิ ท่านพอรู้เรื่องนี้มาบ้างไหม ครับ ? ก็เป็นเรื่องเดิมที่ผมเคยเล่าให้ฟัง เมื่ อ ฉบั บ หลายเดื อ นก่ อ น ปรากฏว่ า เริ่ ม เป็ น จริ ง ขึ้ น มาแล้ ว ด้ ว ยมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ที่อนุมัติงบประมาณในโครงการปรับปรุง และพัฒนาสภาพแวดล้อมวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห ารเพื่ อ ขึ้ น บั ญ ชี เ ป็ น มรดกโลก อีกทั้งโครงการที่เป็นเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง รวมเป็นเงิน ๒๒๓,๖๑๐,๐๐๐ บาท หนึ่ง ในโครงการนี้ก็คือโครงการปรับปรุงและ พัฒนาถนนที่ปรับปรุงจากถนนเลียบคลอง ชลประทาน (คลองท่าดี) จากจุดตัดถนน เลียบทางรถไฟ จนถึงถนนท่าชี ระยะทาง ประมาณ ๒,๑๐๐ เมตร เป็นถนนผิวจราจร คอนกรีตเสริมเหล็กขนาบ ๒ ฝั่งคลองส่ง น�้ำชลประทานข้างละ ๗.๕๐ เมตร ซึ่งทาง สถาปนิกของกรมโยธาธิการและผังเมือง จากส่วนกลาง (แต่เป็นเด็กใต้บ้านเรา) ได้ ออกแบบร่างให้มีเส้นทางรถจักรยาน และ จัดภูมิทัศน์ให้มีงานตกแต่งถนน (street furniture) อย่างสวยงาม โดยทางจังหวัด ได้ตั้งงบประมาณปี ๒๕๕๗ เป็นเงิน ๗๐ ล้านบาท มีระยะเวลาด� ำเนินการ ๑ ปี ใช้ชื่อว่า “ถนนพุทธภูมิ” และเส้นทางนี้ เองจะเปิดไปสู่แหล่งมรดกโลกที่พวกเรา รอคอย ผมน�ำเรื่องนี้มาถ่ายทอดเล่าสู่กันฟัง เพื่อให้ชาวเมืองได้มีส่วนร่วมในฐานะเป็น ผู้มีส่วนได้เสียจากการพัฒนา ซึ่งในอดีตที่ ผ่านมาเรามักจะไม่ค่อยได้รับรู้ว่าทางการ เขามีโครงการอะไรกันบ้าง จะรู้ก็ต่อเมื่อมี การก่อสร้างกันแล้วเกิดผลกระทบโดยตรง กับตัวเองซึ่งต้องไปแก้ปัญหากันยุ่งยากไป หมด โครงการถนนพุทธภูมิถือว่าเป็นต้น แบบในกระบวนการคิดอย่างมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ที่มีการจุดประกายจาก แนวคิ ด การน� ำ พระบรมธาตุ สู ่ ม รดกโลก และได้ คิ ด ต่ อ ว่ า หากมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเดิ น ทางเข้าสู่แหล่งมรดกโลกจะมีเส้นทางใด ที่ จ ะสร้ า งความประทั บ ใจและลดปั ญ หา

www.nakhonforum.com

การจราจรลงได้ และเมื่อมาถึงแล้วจะจอด รถที่ ไ หน ชาวบ้ า นจะเดื อ ดร้ อ นหรื อ ได้ รับประโยชน์อย่างไรบ้าง กระบวนการ นี้ จึ ง ควรให้ ป ระชาชนได้ เ รี ย นรู ้ แ ละเปิ ด ใจกว้ า งรั บ ฟั ง ซึ่ ง กั น และกั น อย่ า งปั ญ ญา ชน (ไม่ต้องปิดถนนถือป้ายประท้วง) สิ่ง ที่ผมประทับใจคือความร่วมมือจากหลาย ฝ่ายที่ต่างทุ่มเทสรรพก�ำลังในทุกด้าน คิด และเดินหน้าพร้อมกันเป็นหน้ากระดาน เช่ น มี ฝ ่ า ยวางแผนการบริ ห ารจั ด การ พื้นที่หลัก (Core Zone) ของบริเวณวัด พระมหาธาตุฯ มีฝ่ายวางแผนการบริหาร จัดการเขตพื้นที่กันชน (Buffer Zone) แต่ ผมอยากเรียกพื้นที่ปริมณฑลมากกว่า มี ฝ่ า ยเสนอแนวคิ ด การจั ด ภู มิ ทั ศ น์ ภ ายใน วัด (อยากฝากพิจารณาเรื่องน�ำหาดทราย แก้วกลับสู่มรดกโลกนี้ด้วย) ฝ่ายโยธาฯ ก็ คิดเส้นทางมาสู่มรดกโลก ฝ่ายที่จะไปขอ ที่ดินชาวบ้านเพื่อขยายถนนสายนี้โดยไม่ ต้องเวนคืนเป็นพุทธบูชา (โดยทางเทศบาล นคร) ก็ท�ำได้ส�ำเร็จ ฯลฯ รวมทั้งบุคคล หรือองค์กรอื่นๆ ที่ไม่ได้เป็นคณะกรรมการ ที่ได้รับการแต่งตั้งก็ได้แสดงความคิดเห็น ที่เป็นประโยชน์มากมาย เช่น มูลนิธิเมือง หลวงห่ ว งเมื อ งใต้ ที่ ท ่ า นสวั ส ดิ์ กฤตรั ช ตนันต์ เป็นประธาน ก็ได้เสนอให้เปิดช่อง ก� ำ แพงสร้ า งซุ ้ ม ประตู วั ด พระมหาธาตุ ฯ ด้านทิศตะวันตกอย่างมีรูปแบบสมัยก่อน เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่มาจากลานจอด รถยนต์ถนนท่าชี เป็นต้น ผมเลยขอคิดต่อ ไปอี ก ว่ า ระยะทางจากลานจอดรถมาสู ่ วัดนี้ประมาณ ๒๐๐ เมตร ผ่านบ้านและ ร้านค้ามากมาย หากท�ำเป็นถนนคนเดิน ไม่ ใ ห้ ร ถยนต์ ผ ่ า นในช่ ว งเวลาเปิ ด ให้ เ ข้ า ชมภายในวัด ก็จะมีความปลอดภัยแก่นัก ท่องเที่ยว และส่งเสริมให้มีร้านค้าประเภท สินค้าชุมชน ของที่ระลึกของท้องถิ่น ร้าน

อาหารเครื่ อ งดื่ ม จะช่ ว ย สร้างบรรยากาศเมืองท่อง เที่ยวมรดกโลกเป็นสากล ยิ่งขึ้น ตัวอย่างวัดโบราณ นั บ พั น ปี ที่ เ ป็ น มรดกโลก ของเมืองเกียวโต ประเทศ ญี่ปุ่น ชื่อ วัดคิโยมิซึเดระ (Kiyomizu-Dera) หรือวัดน�้ำใส จะมีถนน คนเดินที่ไม่ให้รถผ่าน (ยกเว้นการขนส่ง ของที่ต้องก�ำหนดช่วงเวลาที่ยังไม่เปิดให้ เข้าชม) เป็นถนนแคบๆ คล้ายถนนหลังวัด พระธาตุฯ ผมกะระยะทางน่าจะประมาณ ๒๐๐ เมตรพอๆ กันกับของเรา สองฟาก ถนนจะมีอาคารบ้านพักที่แปลงเป็นร้าน ค้าเล็กๆ ขายเครื่องดื่ม ขนม ของที่ระลึก เครื่องปั้นดินเผา ราคาไม่แพง บางช่วงก็ เว้นเป็นลานนั่งพักปลูกต้นไม้ร่มเงา ที่เล่า ให้ฟังไม่จ�ำเป็นต้องลอกแนวคิดเหมือนของ เขา แต่ก็อยากให้คิดต่อกันเองให้ประทับใจ นักท่องเที่ยว และชาวบ้านได้รับอานิสงค์ จากโครงการนี้ เช่นเป็นร้านขายเครื่อง ถม ร้านงานศิลปะ ร้านขนมจีน ร้านน�้ำชา กาแฟ ฯลฯ ควรแนะน�ำให้มีการออกแบบ ตกแต่งอาคารร้านค้าให้ได้อารมณ์ว่ามาถึง ปักษ์ใต้แล้วไม่ใช่ถึงเมืองเหนือ (ที่บางแห่ง ติดกาแลไว้ตรงหน้าจั่วหลังคา) เมืองทาง ใต้ที่ผมเห็นการน�ำเรื่องอนุรักษ์อาคารเก่า หรือสร้างภาพเก่าเป็นจุดขายได้เด่นชัดคือ ตัวเมืองภูเก็ต การถ่ายภาพนักท่องเที่ยว โดยมี ฉ ากหลั ง อาคารเก่ า สื่ อ ให้ รู ้ ว ่ า อยู ่

จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต โดยไม่ ต ้ อ ง เขียนป้ายบอก นี่เป็นเรื่อง ที่ เ ราต้ อ งไปให้ ถึ ง จุ ด นั้ น ให้ได้ และทางจังหวัดควร จะประชาสัมพันธ์สิ่งที่จะ เกิ ด ขึ้ น บนถนนสายนี้ ใ น อนาคตเพื่ อ ชาวบ้ า นแถบ นี้จะได้เตรียมตัวเสียแต่เนิ่นๆ หรือหากมี แนวคิดดีๆ ก็ให้เสนอมาเพื่อปรับเปลี่ยนได้ ทันการ ก่ อ นจบฉบั บ นี้ ที่ ผ มพาดพิ ง ถึ ง เมื อ ง ภูเก็ตที่เคยไปท�ำงานออกแบบโรงแรมเมื่อ หลายปีก่อน ปรากฏว่าได้พบร้านหนังสือ เก่ า แก่ ที่ ผ มเคยเป็ น ลู ก ค้ า ที่ นั่ น มาเปิ ด สาขาที่ น ครศรี ธ รรมราชเมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ชื่ อ “ร้านหนังสือเส้งโห” อยู่ข้างบ้านบวรรัตน์ (ตรงข้ามปั๊มน�้ำมันเชลล์ ท่าวัง) เพิ่งทราบ ว่าร้านนี้เปิดที่ภูเก็ตครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๖๘ (นับได้ ๘๘ ปี) ผมจึงขอคารวะร้านอาวุโสที่ เห็นคุณค่าของการอ่านและอยู่อย่างยั่งยืน ว่างๆ ชาวนครไปอุดหนุนกันบ้างนะครับ เป็นร้านใหญ่จัดหนังสือเป็นหมวดหมู่น่า สนใจ ทราบว่าพนักงานขายก็เป็นเด็กนคร เหมือนกัน (หมายเหตุ : ผมไม่ได้รู้จักเจ้าของ หรื อ ได้ ค ่ า โฆษณาหรอกครั บ แต่ ช ่ ว ย แนะน� ำ ในฐานะหนอนหนั ง สื อ คนหนึ่ ง เท่านั้น)


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

การด� ำ รงชี วิ ต อย  า งไร “ต  อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ หนาที่ ก ารงาน โดยมุ  ง มั่ น ในการ ปฏิ บั ติ ง านให ส� ำ เร็ จ ชั้ น ม.๑ ได เ รี ย นต อ โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย จะเรียนตอคณะ สัตวแพทย ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (มอ.) หนูรักสัตว โดยเฉพาะแมว เปนสัตวที่ นารัก เลี้ยงงาย นึกถึงนิทาน แมวเหมียวคะ” กิ่งฉัตรกลาววา ประเทศไทยเรามีดีและไมดี เรื่ อ งใดบ า ง “หนู รั ก ประเทศไทย ตรงที่ มี วัฒนธรรมเกาแก สืบทอดกันมาถึงลูกหลาน คนไทยยิ้ ม แย ม แจ ม ใส ยิ ม สวย ไหว ง าม ต  อ นรั บ ด  ว ยไมตรี จิ ต ท� ำ ให  ช าวตางชาติ อยากมาเที่ยวเมืองไทย แตหนูไมชอบเรื่อง ความสกปรก ชอบทิ้งขยะโดยเฉพาะในทะเล อยากใหทุกคนมีจิตสาธารณะไมทิ้งขยะใน

ทะเลคะ” กิ่งฉัตร กลาวในที่สุด เด็กหญิงบุญรัตน บุญทอง อายุ ๑๕ ปี เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ โรงเรียนวัดควนชะลิก เปนบุตรีของนายไพรัตน บุญทอง ไดรับ รางวัลคะแนนรวม ล�ำดับที่ ๑ ระดับมัธยม ศึกษาปที่ ๑ - ๓ รางวัลล�ำดับที่ ๒ กลุมสาระ การเรียนรูค ณิตศาสตร วิท ยาศาสตร และ รางวัลล�ำดับที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษา ไทย รวมไดรับทุนการศึกษา ๑๑,๓๐๐ บาท เมื่อถามวา ใบพลูมีวิธีการเรียนและมีคติใน การด�ำเนินชีวิตอยางไร หลอนตอบวา “ตอง ตั้ ง ใจเรี ย น เมื่ อ ไม เ ขาใจรี บ ถามครู ทั น ที ควรอานหนังสือ เสริมความรูอยูเสมอ โดย เฉพาะเรื่ อ งที่ ต นสนใจ ไม เ ครี ย ด หาสิ่ ง ที่ ส นุ ก ๆ ท� ำ บาง เช น อานนิ ย าย ดู ห นั ง ฟ ง เพลง คิ ด อยู ่ เ สมอวาท� ำ วั น นี้ ใ ห ดี ที่ สุ ด หาความรูควบคูกับความสนุก สิ่งใหมๆ คือ สิ่งที่ท าทายความสามารถของเราต อ งคน หาใหไดไมวาในหรือนอกหองเรียน” อนาคต อยากเปนอะไร และจะบอกเพื่อนๆ วาอยาง ไร ผมถาม ใบพลูตอบวา “อยากเปน ๒ อยาง คือ ทันตแพทย เพราะชอบรักษาคน อยาก เห็ น คนอื่ น มี ค วามสุ ข มั ค คุ เ ทศก  เพราะ ชอบทองเที่ยว ชอบภาษาอังกฤษ ไดสื่อสาร กับชาวตางชาติ หนูชอบคะ” ใบพลูอยาก ใหเยาวชนไทยเปนนักประชาธิปไตย ไมโกง ไมทุจริต และไมใชเงินในการซื้อเสียง ตองเริ่ม ที่เด็กจะงายกวาไปปรับในผูใหญนะคะ หนู อยากบอกเพื่อนๆ วาหากเพื่อนๆ อยากท�ำ อะไร ใหท�ำอยางมีความสุข แตอยาใหคนอื่น เดือดรอน

เมื่ออธิบายเสร็จจะน�ำผู้เรียนทั้งหมดเข้าฐาน ที่ ๑ ซึ่งต้องเดินขึ้นไปบนถ�้ำเขาขุนพนมโดย ใช้ บั น ไดพญานาค (๒๔๕ ขั้ น ) ก็ จ ะถึ ง ถ�้ ำ เขาขุ น พนม เพื่ อ ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ ต าม ความเชื่ อ ของเมื อ งนครว่ า ถ�้ ำ เขาขุ น พนม เป็ น ที่ ป ระทั บ และสวรรคตของสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ในฐานนี้ จ ะมี วิ ท ยากร ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด ้ า นประวั ติ ศ าสตร์ท ้องถิ่นเป็น

ผู้บรรยาย ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่ส�ำคัญ คือ การให้ผู้เรียนวิพากษ์วิจารณ์ว่าจะเชื่อ ตามที่ วิ ท ยากรบอกเล่ า หรื อ ไม่ มี เ หตุ ผ ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ อ ะไรมาสนั บ สนุ น หรื อ โต้แย้งบ้าง ในระหว่างเดินกลับทางกลับจะ มีอักษรปริศนา (RC) ให้ค้นหา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ เรียนระมัดระวังในการเดิน ฝึกสังเกต และ ป้องกันอันตรายจากการตกบันได น�ำผู้เรียน มารวมกันที่จุดเริ่มต้นอีกครั้งหนึ่งเพื่อทยอย ปล่อยให้เข้าฐาน ๒-๘ ตามล�ำดับ โดยใช้เกม หรือกิจกรรมจนครบทุกกลุ่ม เส้นทาง Walk Rally เป็นเส้นทางรอบ เขาขุนพนม บางช่วงก็เป็นทางราบ บางช่วงก็ ต้องเดินขึ้นเขา (ไม่มีบันได) เพื่อข้ามไปอีกฝั่ง ของภูเขา บางช่วงก็เดินในคลอง รวมทั้งการ เข้าถ�้ำ การเข้าฐานแต่ละฐานผู้เรียนจะต้อง บันทึกข้อมูลที่วิทยากรประจ�ำฐานบรรยาย ให้ฟังลงในคู่มือค่ายฯ (ช่อง NSC ๑-๘) และ สังเกตสัญลักษณ์ RC ที่อยู่ระหว่างเส้นทาง ด้วย โดยผู้เรียนจะต้องใช้ทักษะการสังเกต ส�ำรวจ เมื่อพบเจอก็บันทึกลงในช่อง RC ซึ่ง มีทั้งหมด ๙ ตัว ในแต่ละฐานที่ผู้เรียนไปเรียน รู้ใช้เวลาไม่เกิน ๑๐ นาที ไม่รวมการเดินทาง แต่ในฐานที่ ๑ จะใช้เวลาประมาณ ๕๐ นาที หลังเสร็จจากการเดินทางก็จะสรุปกิจกรรมให้ ผู ้ เ รี ย นเห็ น ว่ า นอกจากฐานต่ า งๆ ที่ได้เรียนรู้มาแล้วนั้น ผู้เรียนเองก็สามารถ สร้ า งฐานต่ า งๆ ขึ้ น มาได้ หรื อ สร้ า งองค์ ความรู้ใหม่ๆ ขึ้นมาได้ เพียงแค่เรามองเห็น คุณค่าของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัว

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

นั

กเรี ย นเก ง ดี น ครศรี ฯ เขต ๓ ระดั บ ประถมศึกษา ชั้น ป.๑ - ๓ คือ เด็ก หญิ ง นั น ท ภั ส เล็ ก พั น ธ  โรงเรียนบานปาก เชียร เปนบุตรี ของนายยงยุทธ เล็กพันธ และ นางอุไรวรรณ พวงทอง อยูที่ ต.เชียรใหญ อ.เชียรใหญ จ.นครศรีธรรมราช ไดรับรางวัล ทุนการศึกษา ล�ำดับที่ ๑ คะแนนรวม ล�ำดับที่ ๒ กลุมสาระภาษาไทย ล�ำดับที่ ๑ กลุมสาระ สังคมศึกษาฯ และภาษาอังกฤษ รวมทุนการ ศึกษาที่ไดรับ ๑๒,๕๐๐ บาท เมื่อถามวา มีวิธี การเรียนอยางไรจึงไดเปนนักเรียนเกงดี นครศรีฯ เขต ๓ นันทนภัส กลาววา “ตองตั้งใจ เรียนขยันอานหนังสือ ท�ำการบานทุกวันใน ตอนเย็น ชอบใชคอมพิวเตอรในการคนหา ความรูจาก google ชอบเลนเกมสแตงตัว ใชความคิดและสนุกดีคะ หนูมีความมุ่งมั่น ในการเรี ย น เพื่ อ มุ  ง ไปสู  ค วามส� ำ เร็ จ ใน อนาคต และพอแมไดสบายใจ วันนี้หนูท�ำ ส�ำเร็จ เพื่อตอบแทนบุญคุณพอและแมคะ” อนาคตละ นันทนภัสอยากเปนอะไร “หนู อยากเปนครู จะไดสอนเด็ก ใหเรียนเกง นิสัย ดี พูดจาไพเราะคะ”

เด็ ก หญิ ง กิ่ ง ฉั ต ร คงยั ง อายุ ๑๒ ป  ก�ำลังศึกษาชั้น ป.๖ โรงเรียนหัวไทร (เรือน ประชาบาล เป น บุ ต รของนายเริ ง ณรงค คงยัง นางรวิวรรณ คงยัง คุณพอท�ำงานอยู การไฟฟ  า ส ว นภู มิ ภ าคหั ว ไทร บ า นเลขที่ ๓๖/๒๐ หมูที่ ๕ ต.หนาสตน อ.หัวไทร จ.นคร ศรีฯ ไดรับรางวัลคะแนนรวม ล�ำดับที่ ๑ ระดับ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ - ๖ ล�ำดับที่ ๒ กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและภาษาอังกฤษ รวมทุนการศึกษาที่ไดรับ ๑๑,๐๐๐ บาท “หนู เรียนอยางไร จึงไดเปนคนเกง” เด็กหญิงกิ่งฉัตร ตอบว า “ต  อ งตั้ ง ใจฟ  ง ขณะครู ส อน แบ  ง เวลาในการเรี ย น ทบทวนความรู  อ ยู  เ สมอ และตองขวนขวายคนควาหาความรูในหอง สมุ ด และ Internet” หนู มี แ นวทาง ใน

อีก

หนึ่งกิจกรรมพลังคนพลังคิดยอดฮิต ของศูนย์วิทย์เมืองคอนค่ะ กิจกรรม Walk Rally กิจกรรมเด่นที่ได้รับการเลือก เข้าร่วมกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อปี เป็นกิจกรรมที่ผู้ เข้าร่วมกิจกรรมชื่นชอบ เพราะเป็นกิจกรรม ที่ต้องออกเดินทางไปตามจุดต่างๆ ที่อยู่รอบ เขาขุนพนม และเข้าเรียนรู้กับพี่ Staff ตาม ฐานต่างๆ ทั้ง ๘ ฐาน การเดินทางไปยังแต่ละ ฐานก็จะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป ท�ำให้น้องๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมหลายๆ คนรู้สึก ประทั บ ใจที่ อาจจะเป็ น ครั้งแรกในชีวิต ของ น้องๆ หลายๆ คน การเล่นน�้ำคลองธรรมชาติ ที่ไม่สามารถมีได้ในเมืองใหญ่ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ มีอยู่รอบเขาขุนพนม Walk Rally เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนจะ ต้องใช้ทักษะการสังเกต ส�ำรวจ ตรวจสอบสิ่ง ต่างๆ ที่อยู่รอบตัว มีการวางแผนการท�ำงาน ที่ดี เคารพกฎกติ ก า มี ความสามัคคีในการ ท�ำงานกลุ่ม น�ำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยวาจา หรือเขียนรายงานให้ผู้อื่นเข้าใจ และสามารถ น�ำความรู้ กระบวนการหรือแนวคิดที่ได้ไป ปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมเป็ น ไปใน ลักษณะของกิจกรรม Rally โดยใช้ เส้ น ทางรอบเขาขุ น พนม การหาใบ ความรู้หรือใบกิจกรรม (NSC ๑-๘) การหาอักษรปริศนา (RC ๑-๙) โดย เริ่ ม จากวิ ท ยากรแนะน� ำ กฎกติ ก า ฐานการ เรียนรู้ที่อยู่รอบๆ เขาขุนพนมทั้ง ๘ ฐาน (NSC ๑-๘) ได้ แ ก่ ฐานประวั ติ พ ระเจ้ า ตากสิ น ฯ โบสถ์ ม หาอุ ด พรรณไม้ ห ายาก ลั ก ษณะ พฤกษศาสตร์ ข องพื ช โครงสร้ า งป่ า ดิ บ ชื้ น ลั ก ษณะธรณี วิ ท ยาถ�้ ำ น�้ ำ ลอด ความส� ำ คั ญ ของสายน�้ ำ ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต การทดสอบร่ า งกาย


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

ากสภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำในปัจจุบัน ส่งผลให้หลาย ท�ำงานวันละ ๕ ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ ๑,๓๐๐ x ๑ ÷ บ้ า นต้ อ งส� ำ รวจและควบคุ ม ค่ า ใช้ จ ่ า ย ไม่ ว ่ า จะ ๑,๐๐๐ x ๕ = ๖.๕ หน่วย หรือประมาณวันละ (๓๐ x เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการกิ น อยู ่ ต ลอดจนค่ า ใช้ จ ่ า ยในด้ า น ๖.๕) = ๑๙๕ หน่วย สาธารณูปโภค เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน�้ำประปา ค่าน�้ำมันรถ ๖. เตารีดไฟฟ้า ขนาด ๘๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๑ เครื่อง เพื่อให้เพียงพอกับเงินรายได้ที่ตนได้รับ ส�ำหรับค่าใช้จ่าย เปิ ด วั น ละ ๑ ชั่ ว โมง จะใช้ ไ ฟฟ้ า วั น ละ ๘๐๐ x ๑ ÷ ที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น ค่าไฟฟ้านั้น เรามีวิธีตรวจสอบ ๑,๐๐๐ x ๑ = ๐.๘ หน่วย หรือประมาณเดือนละ (๓๐ x ๒๒๐ โวลท์ ๑ เฟส ๒ สาย จะจัดเข้าประเภทที่ 1แต่หาก มีการใช้ไฟฟ้าเกิน ๑๕๐ หน่วยติดต่อกัน ๓ เดือน ในเดือน ค่าใช้จ่ายว่าเราใช้ไฟฟ้าไปกี่หน่วย จะต้องเสียค่าใช้จ่าย ๐.๘) = ๒๔ หน่วย เป็นจ�ำนวนเงินเท่าไร อีกทั้งยังสามารถหาแนวทางการ ๗. ทีวีสีขนาด ๑๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๑ เครื่อง เปิด ถัดไปจะจัดเข้าประเภทที่ ๒ และเมื่อใดที่การใช้ไฟฟ้าไม่ ประหยัดไฟฟ้าได้อีกด้วย ใช้งานวันละ ๓ ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ ๑๐๐ x ๑ ÷ เกิน ๑๕๐ หน่วยติดต่อกัน ๓ เดือน ในเดือนถัดไปจะจัด ก่ อ นที่ เ ราจะทราบอั ต ราค่ า ไฟฟ้ า นั้ น เราควรจะ ๑,๐๐๐ x ๓ = ๐.๓ หรือประมาณเดือนละ (๓๐ x ๐.๓) เข้าประเภทที่ ๑ ๒. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าเกิน ๕ แอมป์ ทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆ ใช้ไฟฟ้าหรือกินไฟเท่าไหร่ = ๙ หน่วย เสียก่อน โดยสังเกตคู่มือการใช้งานหรือแถบป้ายที่ติด ๘. เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ขนาด ๔,๕๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๒๒๐ โวลท์ ๑ เฟส ๒ สาย จะจัดเข้าประเภทที่ ๒ อย่างไรก็ตามการคิดค่าไฟฟ้านั้น มีปัจจัยอย่างหนึ่ง อยู่กับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เขียนว่า ก�ำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็น ๑ เครื่อง เปิดใช้งานวันละ ๑ ชั่วโมงจะใช้ไฟฟ้าวันละ วัตต์ (Watt) ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ามีจ�ำนวนวัตต์มากก็กินไฟ ๔,๕๐๐ x ๑ ÷ ๑,๐๐๐ x ๑ = ๔.๕ หน่วย หรือประมาณ ที่ จ ะต้ อ งมาค� ำ นวณด้ ว ย นั้ น ก็ คื อ ค่ า การปรั บ อั ต ราค่ า ไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ หรือที่เราเรียกว่าค่า Ft (Energy Adมากตามไปด้วย ดังนั้นท่านสามารถค�ำนวณดูจากเครื่อง เดือนละ (๓๐ x ๔.๕) = ๑๓๕ หน่วย ใช้ ไ ฟฟ้ า ทั้ ง หมดในบ้ า นท่ า นว่ า มี เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า กี่ ช นิ ด ๙. เตาไมโครเวฟ ขนาด ๑,๒๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๑ justment charge) หลายท่านคงสงสัยว่าค่า Ft คืออะไร แต่ละชนิดกินไฟกี่วัตต์ และเปิดใช้งานประมาณเดือนละกี่ เครื่อง เปิดใช้งานวันละ ๓๐ นาที จะใช้งานวันละ ๑,๒๐๐ ความหมายของค่าดังกล่าวคือเป็นตัวประกอบ ที่ใช้ในการ ชั่วโมง หลังจากนั้นท่านก็น�ำมาคิดค�ำนวณ ท่านจะทราบ x ๑ ÷ ๑,๐๐๐ x ๐.๕ = ๐.๖ หน่วย หรือประมาณเดือน ปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติมีค่าเป็นสตางค์ต่อหน่วย ใช้ส�ำหรับปรับค่าไฟฟ้าที่ขึ้นลง ในแต่ละเดือนโดยน�ำไป ว่าในแต่ละเดือนท่านใช้ไฟฟ้าไปประมาณกี่หน่วยเพื่อเป็น ละ (๓๐ x ๐.๖) = ๑๘ หน่วย แนวทางในการประหยัดค่าไฟฟ้าได้ ดังนั้นในแต่ละเดือนบ้านของท่านใช้ไฟฟ้าไปทั้งหมด คูณ กับหน่วยการใช้ประจ�ำเดือน ค่า Ft ดังกล่าวอาจจะ ส�ำหรับการใช้ไฟฟ้า ๑ หน่วยหรือ ๑ ยูนิต คือ เครื่อง (๙๐ + ๙ + ๓๐ + ๔๘๐ + ๑๙๕ + ๒๔ + ๙ + ๑๓๕ เพิ่มขึ้นหรือลดลง ใช้ไฟฟ้าขนาด ๑,๐๐๐ วัตต์ที่ใช้งานใน ๑ ชั่วโมง หรือใช้ + ๑๘) = ๙๙๐ หน่วย จากนั้นท่านก็สามารถค�ำนวณค่า ตัวอย่างวิธีการคิดค่าไฟฟ้า สูตรการค�ำนวณดังนี้ ไฟฟ้าของท่านได้ตามอัตราค่าไฟฟ้าดังนี้ สมมุติว่าเป็นผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ ๒ ใช้ไฟฟ้าไป ก�ำลังไฟฟ้า (วัตต์) ชนิดนั้นๆ คูณ จ�ำนวนเครื่องใช้ อัตราค่าไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ส�ำหรับการใช้ ไฟฟ้า หาร ๑,๐๐๐ คูณ จ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้งานใน ๑ วัน ไฟฟ้าภายในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย รวมทั้งวัด ส�ำนักสงฆ์ ๙๙๐ หน่วย เท่ากับ จ�ำนวนหน่วยหรือยูนิต และสถานประกอบศาสนกิ จ ของทุ ก ศาสนา ตลอดจน ๑๕๐ หน่วยแรก (๑๕๐ x ๒.๗๖๒๘ บาท) ๔๑๔.๔๒ บาท ตัวอย่าง บ้านอยู่อาศัยทั่วไป สมมุติว่าบ้านของท่าน บริ เ วณที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยต่ อ ผ่ า นเครื่ อ งวั ด ไฟฟ้ า เครื่ อ ง ๒๕๐ หน่วยต่อไป (๒๕๐ x ๓.๗๓๖๒ บาท) ๙๓๔.๐๕ บาท มีเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด ๙ อย่างดังต่อไปนี้ สังเกตจ�ำนวน เดียวกัน ซึ่งมีผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทนี้เป็นจ�ำนวนมากแบ่งออก ส่วนที่เกินกว่า (๙๙๐ - ๔๐๐ = ๒,๓๒๒.๓๐ บาท วัตต์ เพื่อค� ำ นวณ การใช้ ได้จากป้ายที่ติดหรือ คู่มือของ เป็น ๒ ประเภทได้แก่ ๔๐๐ หน่วย ๕๙๐ x ๓.๙๓๖๑ บาท) เครื่องใช้ไฟฟ้า ๑. ประเภทมี ก ารใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ไม่ เ กิ น ๑๕๐ รวมเป็นเงิน ๓,๖๗๐.๗๗ บาท ๑. มีหลอดไฟฟ้าขนาด ๔๐ วัตต์ (รวมบัลลาสต์อีก หน่วยต่อเดือนมีอัตรา ดังต่อไปนี้ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ค�ำนวณค่า Ft โดยดูได้จากใบแจ้งหนี้/ใบเสร็จรับ ๑๐ วัตต์ เป็น ๕๐ วัตต์) จ�ำนวน ๑๐ ดวง เปิดใช้ประมาณ ค่าบริการ ๘.๑๙ บาทต่อเดือน วันละ ๖ ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ ๕๐ x ๑๐ ÷ ๑๕ หน่วยแรก (หน่วยที่ ๐-๑๕) หน่วยละ ๑.๘๖๓๒ บาท เงิน หรือสอบถามจากการไฟฟ้า ค่า Ft ประกาศเมื่อ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ หน่วยละ ๑,๐๐๐ x ๖ = ๓ หน่วย หรือประมาณเดือนละ ๑๐ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๑๖-๒๕) หน่วยละ ๒.๕๐๒๖ บาท (๓๐ x ๓)= ๙๐ หน่วย ๑๐ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๒๖-๓๕) หน่วยละ ๒.๗๕๔๙ บาท ๔๖.๙๒ สตางค์ ๒. หม้อหุงข้าว ขนาด ๖๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๖๕ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๓๖-๑๐๐) หน่วยละ ๓.๑๓๘๑ บาท ๙๙๐ หน่วย x ๔๖๔.๕๑ บาท ๑ ใบ เปิดใช้ประมาณวันละ ๓๐ นาที จะใช้ ๕๐ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๑๐๑-๑๕๐) หน่วยละ ๓.๒๓๑๕ บาท ๐.๔๖๙๒ บาท ไฟฟ้าวันละ ๖๐๐ x ๑ ÷ ๑๐๐๐ x ๐.๕ = ๐.๓ ๒๕๐ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๑๕๑-๔๐๐) หน่วยละ ๓.๗๓๖๒ บาท รวมเงิน ๓,๗๖๐.๗๗+๔๖๔.๕๑ = ๔,๑๓๕.๒๘ บาท หน่วย หรือประมาณเดือนละ (๓๐ x ๐.๓) = เกินกว่า ๔๐๐ หน่วย (หน่วยที่ ๔๐๑ เป็นต้นไป) หน่วยละ ๓.๙๓๖๑ บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม ๗% = ๔,๑๓๕.๒๘ x ๐.๐๗ = ๒๘๙.๔๗ บาท ๙ หน่วย รวมเป็นเงิน ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บ ๔,๔๒๔.๗๕ บาท ๓. ตู้เย็น ขนาด ๑๒๕ วัตต์ จ�ำนวน ๑ ตู้ เปิดตลอด ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ ๑ ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน ๕๐ หน่วย ๔,๔๒๔.๗๕ บาท ๒๔ ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ท�ำงาน ๘ ชั่วโมง จะใช้ ต่อเดือน ได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรีในเดือนนั้น ไฟฟ้าวันละ ๑๒๕ x ๑ ÷ ๑๐๐๐ x ๘ = ๑ หน่วย หรือ ๒. ประเภทปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า เกิ น กว่ า ๑๕๐ ส�ำหรับตัวอย่างการคิดค่าไฟฟ้าที่ท�ำให้ดูในข้างต้น ประมาณเดือนละ (๓๐ x ๑) = ๓๐ หน่วย หน่วยต่อเดือนมีอัตราดังต่อไปนี้ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) นี้ท่านสามารถน�ำไปค�ำนวณการใช้ไฟฟ้าในบ้านของท่าน ๔. เครื่องปรับอากาศ ขนาด ๒,๐๐๐ วัตต์ จ�ำนวน ๑ ค่าบริการ ๓๘.๒๒ บาทต่อเดือน เองได้ อย่างไรก็ตามการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด เครื่อง เปิดวันละ ๑๒ ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ท�ำงาน ๑๕๐ หน่วยแรก (หน่วยที่ ๐-๑๕๐) หน่วยละ ๒.๗๖๒๘ บาท และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนั้ น ท่ า นควรรู ้ จั ก เลื อ ก วันละ 8 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ ๒,๐๐๐ x ๑ ÷ ๑๐๐๐ ๒๕๐ หน่วยต่อไป (หน่วยที่ ๑๕๑-๔๐๐) หน่วยละ ๓.๗๓๖๒ บาท เครื่องไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน และใช้ x ๘ = ๑๖ หน่วย หรือประมาณเดือนละ (๓๐ x ๑๖) = เกินกว่า ๔๐๐ หน่วย (หน่วยที่ ๔๐๑ เป็นต้นไป) หน่วยละ ๓.๙๓๖๑ บาท เท่าที่จ�ำเป็นซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถประหยัด ๔๘๐ หน่วย ค่าไฟฟ้าได้ ด้วยความปรารถนาดี ๕. เครื่องปรับอากาศ ขนาด ๑,๓๐๐ วัตต์ จ�ำนวน หมายเหตุ ๑ เครื่อง เปิดใช้งานวันละ ๘ ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ ๑. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าไม่เกิน ๕ แอมป์


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

ว่ า จะพั ก เบรกพั ก อารมณ์ กั น บ้ า ง หรื อ อาจจะขอขัดใจสมาชิกผู้ติดตามคอลัมน์ นี้ สั ก นิ ด นั่ น ผมหมายถึ ง กั บ การติ ด ตามอ่ า น บทความหรือบันทึกฉบับผจญภัย “ถอดรหัส ป่า” เรื่องจริงที่อาจจะกลายเป็นนิยายประจ�ำ หนังสือพิมพ์รักษ์บ้านเกิดไปซะแล้ว ผมไม่ได้ ตั้งใจเขียนนิยายครับ แต่ทั้งหมดเป็นเรื่องจริง แทบทุกกระเบียดนิ้ว ถอดรหัสป่าคือหลักสูตร ผจญภัยที่นักเดินป่าใฝ่ฝันอยากจะเข้าเรียนรู้ สักครั้ง และตลอดปีที่ผ่านมาผมน�ำบทบันทึก เรื่องจริงนี้ มาถ่ายทอดให้ผู้อ่านได้ร่วมทาง ร่วม ผจญภัยในดงลึกด้วยกัน ฉบับนี้เดิมทีตั้งใจจะ พั กเบรกทั ก ทาย หรื อ พู ด ถึงเรื่องทั่ว ๆ ไปใน วงการท่องเที่ยวกันบ้าง แต่ยังไงดีล่ะ ดูเหมือน ชื่อทาร์ซานบอยจะขายไม่ได้แล้วในวงการท�ำ ธุรกิจทัวร์ท่องเที่ยว หลายท่านจึงมักเอ่ยถาม “นี่คุณบอย จริงๆ คุณท�ำงานอะไรเนี่ย ดู ไม่เหมือนท�ำทัวร์หรือเรื่องท่องเที่ยวเลย” “อ้อ ! เหรอครับพี่ อืม เรียกผมว่าพราน รับจ้างก็ได้ครับ” มันดูเหมือนจะเข้าใจง่ายแต่ มันก็ไม่ได้เป็นเช่นนั้นหรอกนะ “พรานฯ อะไร คุณเป็นพรานป่าเหรอ มัน มีอาชีพนี้ด้วยเหรอ ผมเห็นคุณเป็นนักเขียน ด้วย เขียนเรื่องท่องเที่ยวเมืองนครอะไรเนี่ย แหละ เขียนยังไงเหมือนนิยายเลย” ครับ มัน เป็นข้อสงสัยและการตั้งค�ำถามที่ตรงๆ แบบคน สนิทกันทีเดียว ผมเริ่มจะครุ่นคิดอยู่เหมือนกันว่า เออนี่ จริงๆ การท่องเที่ยวคืออะไร วงการทัวร์คือ อะไร และการเอ่ยถึงการท�ำธุรกิจนี้มันมีนิยาม อะไรแค่ไหน แต่สุดท้ายผมก็ได้แต่ถอนหายใจ ยาวๆ แม้ตลอดมาคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ฉบับ นี้จะจั่วหัวไว้ว่า “ท่องเที่ยวเมืองนคร” แต่ผม อธิบายผ่านตัวอักษรให้บทความนี้เป็นนิยาย หรือเรื่องเล่าริมกองไฟไปซะงั้น สงสัยว่า ผม จะต้องอธิบายเรื่องอาชีพหรือรูปแบบการท่องเที่ยวในฝันที่ท�ำได้จริงและท�ำมานานแล้วของ ตัวเองซะที

หน้าผาใหญ่ท่ามกลางผืนป่าสีน�้ำเงินเข้ม แต่ ทว่าการเข้าถึงมัน ยากราวกับเทือกเขาพระ ศิวะในนิยายเพชรพระอุมา “น�้ำตกนั่นนะหรือที่เราจะไป ดูจากกล้อง ส่องทางไกลนี่ หน้าผานั่นมันเหมือนหน้าคน เลยนะ น่าจะเปลี่ยนชื่อใหม่ให้มันได้แล้วนะ พี่บอย” ผมเรียกน�้ำตกนิรนามมาร่วมสิบหกปี “..อืม น�้ำตกผาเทวะ ครับ” หลังจากลด กล้องลงจากตา ผมจึงได้นิยามชื่อใหม่ของเป้าหมายเราในทริปนี้ เราดั้นด้น มุดๆ ลอดๆ คลานๆ ปีนป่าย

“อื ม ! อย่ า งนี้ ค รั บ คื อ ผมเป็ น พรานฯ หมายถึ ง รั บ จ้ า งน� ำ ทาง รั บ จ้ า งท� ำ นั่ น นี่ ที่ สี เขียวๆ อ่า หมายถึงงานในป่า งานสารคดี งาน ที่มันคอนเซิร์บ (Conserve) คือ งานอนุรักษ์ นั่ น แหละครั บ ...” พู ด เองก็ ง งเองเหมื อ นกั น สงสัยต้องอธิบายยาวๆ แบบทาร์ซานบอยฉบับ เดิมดูจะง่ายว่า “....คืองี้น่ะครับ ผมจะเล่าเรื่องหนึ่งเร็วๆ นี้ให้ฟัง และทั้งหมดนั้นก็คืองานของผม” ................................

เฝ้ารอคิวว่างของผมอยู่สักพักใหญ่ๆ เมื่อผม แจ้งข่าวดีว่า ช่วงนี้แหละถ้าจะเข้าป่าสักเก้าวัน สิบวันน่าจะสะดวก แต่ฟ้าฝนลมอาจจะแรง หน่อยนะ ซึ่งก็ไม่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคอะไร ส�ำหรับผู้มาเยือนทั้งคู่ เขาต้องการว่าจ้างผม ครั บ นั่ น ส� ำ หรั บ การน� ำ ทางเดิ น ป่ า ในดงลึ ก การส� ำ รวจป่ า เขาหลวงในมุ มที่ ไม่ค ่อยมีใคร เข้ า ไป เหล่ า นี้ จึ ง ต้ อ งการมื อ อาชี พ ส� ำ หรั บ การจั ด การทุ ก อย่ า ง อย่ า งที่ แ จ้ ง ไว้ เ ขาทั้ ง คู ่ เป็นนักธุรกิจที่รับผิดชอบบริหารจัดการธุรกิจ ของครอบครัวนับพันล้านบาท แม้จะร�่ำรวย สดๆ ร้อนๆ ของเดือนมิถุนายน ผมก็ไม่ เงินทองหรืองานล้นมือ แต่เขาเหล่านี้มักขาด คิดว่าฤดูลมหัวสาจะแวะมาทักทายคนชายป่า บางสิ่ ง การผจญภั ย และมิ ต รภาพแท้ ที่ ไ ม่ มี ชายดงเร็วขนาดนี้ สองสามีนักธุรกิจใหญ่คู่หนึ่ง หน้ากากใดปลอมปน ส� ำ หรั บ ป่ า ใต้ ชื่ อ ทาร์ ซ านบอยมั ก ถู ก เลือกขึ้นมาเป็นอันดับต้นๆ และนั่นก็คือที่มา ของงานผมครับ พรานฯรับจ้าง เราเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับการด�ำรงชีพไปครบครัน ข้าวสาร อาหารแห้ง พรานน�ำทาง ลูกหาบและนักผจญ ไพรจากเมืองใหญ่อีกสองคน รวมกันเป็น ๕ คน ก็เริ่มต้นการเดินทางสู่ผืนป่าเปื้อนเมฆ ป่า เขาหลวงอันกว้างใหญ่ สองสามวันแรกเราเดิน เล่นชมวิว ชมป่าอันแบบอิ่มหน�ำ นั่นหมายถึง ซากเครื่องบิน การเลือกที่จะค�่ำไหนนอนนั่น อรรถรสการท่อง ไพรจึ ง มาจากกองไฟอุ ่ น ๆ เรื่ อ งเล่า รายทาง และมิตรภาพในวงสนทนา จากนั้นเราเล็งเป้าหมายที่ขอบฟ้าไกลตอนหนึ่ง นั่นคือเราก�ำลัง จะไปส�ำรวจน�้ำตกนิรนาม น�้ำตกใหญ่กลางป่า ลึกของเขาหลวง นครศรีธรรมราช ซึ่งผมแน่ใจ ว่า ตลอดหลายปีที่ผ่านมา ยังไม่มีใครสามารถ ค้นหามันเจอมาก่อน แม้ยามเรายืนอยู่บนยอด เขาด้านหนึ่ง จะมองเห็นสายน�้ำขาวๆ ไหลผ่าน

และลุยดิบอยู่ในดงลึกนี่อีกสี่ห้าวัน ป่าทั้งผืน ที่ดูเหมือนพายุหลงฤดูเข้าปกคลุม ดูจะสร้าง อุปสรรคให้เราอีกหลายเท่า การเลือกค�่ำไหน นอนนั่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า เราจะสะดวก สบายไปทุกที ในดงลึกนี่มีอะไรให้ต้องระแวด ระวังหรือขบคิดกันหลายเรื่อง ชีวิตนักท่องไพร น่ะครับ มันไม่ง่ายหรือสนุกเหมือนอ่านนิยาย เลย เราตัดสันเขาขึ้นๆ ลงๆ อยู่หลายวัน ก็ยัง ไม่สามารถเข้าสู่เป้าหมายที่ต้องการได้ ขณะ ที่เวลาเราเหลือเพียงสองวันสุดท้าย ข้าวสาร อาหารแห้งหมดไปก่อนหน้านี้แล้ว ที่เหลืออยู่ ก็เพียงบะหมี่กิ่งส�ำเร็จรูป ๔ ห่อ และกาแฟ เพียวๆ อีกครึ่งห่อ เราจึงต้องเปลี่ยนเป้าหมาย เป็นการพยายามกลับออกสู่โลกภายนอกให้ ได้ ฝนยังกระหน�่ำแบบไม่ลืมหูลืมตา เมฆด�ำ ลงปกคลุมถึงพื้นดิน ที่ความสูงพันสี่ร้อยกว่า เมตร กลุ่มนักผจญภัยห้าคนก็ยังคงปีนป่าย สู่ ยอดเขาสูงสุด ผมถือมีดน�ำทาง ตัดและฟันต้น ไม้เล็กๆ เพื่อแหวกทางเดินอย่างรีบเร่ง อ่อนล้า ไปทั้งแขนและขา ส�ำหรับคนอื่นๆ นั่นแทบไม่ ต้องถามเพราะสะบักสะบอมไม่ต่างกัน แต่เรา ก็ไม่สามารถหยุดพักกันท่ามกลางพายุอันหนาว เหน็บนี้ได้ “เอ้ย !! เครื่องบิน...” ขณะผมเงื้อมีดตั้ง ท่าจะฟันเรียวหนามที่ขวางหน้า อีกนิดเดียวก็ คงจะฟันเอาไอ้ดุ้นสีเขียวๆ ทึมๆ นี้ “...เครื่องบินตก !! มันมาได้ไงเนี่ย” ผม เจอซากเครื่องบินชนิดหนึ่ง นอนหงายท้องตึง อยู่บนสันเขา มันเป็นแบบสามที่นั่ง สองประตู มีใบพัดกลมๆ อยู่ตรงหัว ขนาดมันใหญ่กว่ารถ กระบะแค่นิดเดียว สถานะตอนนี้คือมันนอน หงายล้ อ ชี้ ฟ ้ า และอายุ อ านามน่ า จะหลายปี


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ดีดักแล้ว สังเกตจากต้นไม้ขึ้นปกคลุมมิดไปทั้งล�ำ “เครื่องบินที่ไหน ของใครกันเนี่ยพี่บอย ยุคไหน.. เอ ! นี่น่าจะเครื่องบินส�ำรวจของทหารนะ ดูซิ มีรอย กระสุนพรุนไปทั้งล�ำเลย” ความเข้าใจเราน่าจะถูกต้อง ครับ ลายสีธงชาติบนปีกและสีเขียวแบบทหารของ เครื่องนี้มันฟ้องหลักฐานเช่นนั้น ที่แน่ๆ มันโดนยิงตก เพราะรอยกระสุนขนาดใหญ่ท�ำมันพรุนไปทั้งล�ำ “นี่น่าจะยุค ๓๐ – ๔๐ ปีก่อนนะ คงจะตกในยุค สงครามคอมมิวนิสต์นั่นแหละ” ในป่าแถบนี้ต�ำนาน ของสงครามนั้นยังมีร่องรอยให้เห็นอยู่หลายที่ ที่ส�ำคัญ เรื่องเล่าของเครื่องบินหลายล�ำ ก็จมหายไปในผืนป่า แห่งนี้ เราอยู่ส�ำรวจกันสักพักใหญ่ๆ แม้จะมีค�ำถาม หรือ สิ่งน่าสนใจอีกหลายประเด็น แต่สถานการณ์จริงคือ เราไม่อาจจะทนความหนาวเหน็บของเม็ดฝนบนยอด เขานี้ได้ ถ่ายภาพให้พอระทึกได้นิดหน่อย เราก็เดิน ทางกันต่อ สุดท้ายผมก็สามารถน�ำทางพาคณะเราออก มาได้อย่างปลอดภัย ต�ำนานบทหนึ่งจึงถูกบันทึกไว้ใน ความทรงจ�ำ แม้จะสดๆ ร้อนๆ และดูเหมือนจะยังไม่ จบแบบบริบูรณ์ สมาชิกต่างก็แยกย้ายไปตามครรลอง ของชีวิตในโลกปกติ .................................... “โอ้โห ! น้องบอย แล้วนี่คนอื่นๆ เขารู้เรื่องนี้กัน รึยัง ทหาร นักข่าว ฯลฯ” พี่ชายที่มานั่งจิบกาแฟคุย ฆ่าเวลากับผมอุทาน ดูเหมือนค�ำถามคาใจในอาชีพผม จะถูกลืมไปชั่วขณะ ผมเลยสะกิดเตือนแบบข�ำๆ “ก็ อืม ! คือที่ผมจะบอกน่ะ ว่าเนี่ยแหละอาชีพ ผม พรานฯรับจ้าง ถ้าจ้างเข้าป่าหรืออะไรเทือกเนี่ยก็ งานผมล่ะ ส่วนเรื่องทัวร์เรื่องท่องเที่ยวอะไรเนี่ย ผม ชักจะลืมๆ มันแล้ว.....” ดูเหมือนผมจะอธิบายความ เข้าใจยากอีกแล้ว “.....ส่วนเรื่องเครื่องบินตก น�้ำตกใหญ่ ป่าปริศนา นั่นน่ะ ผมก็เฉยๆ นะ ที่ไปที่มาหรือใครจะตื่นเต้นกับ ข้อมูลอะไรผมไม่รู้หรอก แต่หากจะให้พาไปดู ก็ต้องใช้ อืม ...พรานฯรับจ้าง เนี่ยแหละ !!” เอ ! รึ จ ะเปลี่ ย นหั ว คอลั ม น์ นี้ เ ป็ น “เดิ น ป่ า กะ ทาร์ซาน” ซะดีมั้ยเนี่ย อธิบายยากจัง

จันทร์สวยที่บ้านเรา เขาว่า...ช่วงนี้พระจันทร์มีวงโคจรเข้ามาใกล้โลก จึงเห็นว่าดวงโตกว่าที่เคยเห็น แม้คือดวงเดิม เท่าเดิม แค่ขยับเข้าไป เราก็ได้มุมมองใหม่ที่งดงามกว่าเดิม เราลองมามองชีวิตในทุกวันด้วยสายตาที่เอาใจใส่เพิ่มขึ้นอีกนิดมั๊ยครับ

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นภสร มีบุญ

อลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ เ ดิ น ทางไกล กั น อี ก ซั ก รอบ เพราะทนกั บ เสี ย งเรี ย กร้ อ งกั น ไม่ ไ ด้ จึ ง ต้ อ ง เดินทางไกลกลับไปเยือนอีกหน กับมนต์เสน่ห์เสียงคลื่นของท้อง ทะเลอั น แสนงดงามในอ� ำ เภอ ขนอมอีกครั้ง บอกได้เลยว่ายอม จ�ำนนกับเสียงเรียกร้องจริงๆ ค่ะ เพราะตั้ ง แต่ มี โ ครงการส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วจากทุ ก ภาคส่ ว น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ต้อง ยอมรับจริงๆ ค่ะว่า ปีนี้ .. เป็นปี ทองอีกหนึ่งปีของคนเมืองคอน ที่ ส ามารถส่ ง เสี ย งเชิ ญ ชวนแขก ต่างบ้านต่างเมืองจ�ำนวนนับพัน นั บ หมื่ น ให้ เ ดิ น ทางหลั่ ง ไหลกั น มาท่ อ งเที่ ย วและท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ บ้ า นนี้ เมืองนี้ จากภาพความส�ำเร็จของกิจกรรม ราตรีพระจันทร์สุก หรือ Ample Moon Party ที่ใครๆ มองว่าเหมือนกันกับงาน Full Moon ของสมุย แต่เมื่อเดินทางมา สั ม ผั ส บรรยากาศและการจั ด งานจริ ง ๆ

บอกได้ ว ่ า งานนี้ มิ ใ ช่ ต อบสนองความ ต้ อ งการของนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ เท่ า นั้ น แม้ แ ต่ ค นในพื้ น ที่ และคนไทย กันเองก็ยังให้ความสนใจที่จะเดินทางมา สัมผัส .. ความสนุกสนาน และบรรยากาศ อั น แสนจะโรแมนติ ก ริ ม ทะเล ซึ่ ง เท่ า ที่

มองดู ด ้ ว ยสายตากลั บ พบว่ า กลุ่มของนักท่องเที่ยวที่เดินทาง มาแบบครอบครัว เพื่อที่จะมา พั ก ผ่ อ นกั น จริ ง ๆ ก็ มี จ� ำ นวน ไม่ ไ ด้ น ้ อ ยไปกว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ชาวต่ า งชาติ เ ช่ น กั น ไม่ ว ่ า จะ เป็นการส�ำรองห้องพักล่วงหน้า ..การเดินทางมาก่อนล่วงหน้า วันงานหนึ่งวัน ท�ำให้เราซึ่งเป็น เจ้าบ้านอดที่จะอมยิ้มและดีใจ เมื่ อ ได้ พ บเห็ น อ� ำ เภอขนอม

นอกจากทุกท่านที่มาเที่ยวชมจะ ได้ยลโฉมงามของปลาโลมาสีชมพู ที่เลื่องชื่อแล้ว ท่านจะยังได้กราบ นมั ส การหลวงปู ่ ท วดเหยี ย บน�้ ำ ทะเลจืดกลางท้องทะเลกว้าง รวมไปถึ ง การได้ ม าสั ม ผั ส เขาหินพับผ้า (Pancake Rock) ซึ่ ง ถื อ เป็ น Amazing แห่ ง ท้ อ ง ทะเลขนอม และอี ก หลายสิ่ ง อั น งดงามภายใต้คอนเซ็ป ขนอม ดี๊ ดี ชนิดที่ว่ามาแล้วลืมกันไม่ลงที เดียวค่ะ ..โอ ลั่ลล้า กันมารอบนี้เพื่อ จะมาย�้ ำ บอก และเชิ ญ ชวนล่ ว ง หน้า กับกิจกรรมดีๆ อีกครั้งที่ทั้ง ภาครั ฐ และเอกชนร่ ว มมื อ กั น จั ด ให้ ใน ช่วงเทศกาลหยุดยาวในเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ สุขกันได้ตั้งแต่วันที่ ๒๐ ถึง ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กั บ งาน Khanom Festival 2013 (The Caribbean of Thailand) ซึ่ ง มี ก ารเนรมิ ต อ� ำ เภอ ขนอมให้ เ ป็ น แคริ บ เบี ย นเมื อ งไทย โดย การจ�ำลองบรรยากาศเมืองแห่งโจรสลัด ตามรอยฉากการถ่ายท�ำภาพยนตร์เรื่อง Blackbeard (Terror at the Sea) ที่ ถ่ า ยท� ำ ในพื้ น ที่ อ� ำ เภอ ขนอมในปี พ.ศ.

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

พลาดไม่ได้เชียวอย่าลืมลั่ลล้า ..มา พบกั น นะคะ ๒๐- - ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ นี้ ...กับเสน่ห์ทะเลขนอม @ ขนอม ดี๊ดี ที่เมืองคอน

๒๕๔๙ ซึ่งภายในงานนอกจากจะมีฉาก ให้ได้ถ่ายภาพความประทับใจกันแล้ว ยัง เต็มไปด้วยกิจกรรมให้ร่วมสนุกสนานอีก มากมาย เช่น การแปลงกายเป็นเหล่าโจร สลัด งานเพนท์บนร่างกาย และสินค้าที่ ระลึกอีกมากมาย รวมไปถึงความบันเทิง ในยามค�่ำคืนกับศิลปินแนวหน้าของเมือง ไทย อาทิ แสตมป์, วงมายด์, บี พีระพัฒน์ และชมพระจันทร์ดวงโตยามค�่ำคืน พร้อม และ เอ๊ะ จิรากร .. .. อย่าตัดสินใจนาน สัมผัสบรรยากาศแห่งความสุข ท่ามกลาง นะคะ มาเยือนท้องทะเลแห่งมนต์เสห่ห์ ดวงดาวและสายลม

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ .. คุณก๊อต ๐๘-๙๒๐๓-๒๒๖๐ ขอบคุณ : โรงแรมขนอม โกลเด้น บีช , ชมรมธุรกิจท่องเที่ยวอ�ำเภอขนอม ภาพสวยๆ จากนายกสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว จังหวัดนครศรีธรรมราช www.amplemoonparty.nets, www.facebook.com/NakhonsiAwesome


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.