หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ฉบับที่ 23 สิงหาคม 56

Page 1

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

รองผู้ว่าฯ ทรงพล น�ำทีมเปิดตราสัญลักษณ์ สินค้าและบริการคุณภาพ ดี เด่น โดน ที่จังหวัด นครฯ รับประกัน (Nakhonsi Quality Brand) เจ้าของน�ำผลิตภัณฑ์ร่วมงาน ๓๐-๔๐ รายการ เวทีเสวนาเห็นคล้ายกัน..อาหารหลายตัวตลาด ต้องการจนผลิตไม่ทัน เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ นายทรงพล สวาทดิ์ ธ รรม รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช น�ำคณะ >> อ่านต่อหน้า ๘

รายงาน

˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

คนสนิ ท และบุ ค คลที่ เ คารพน� ำ อั ฐิ ศิลปินแห่งชาติ อังคาร กัลยาณพงศ์ กลับ เมืองนครบ้านเกิด ประกอบพิธีเก็บใบเสมา วัดท่าโพธิ์

เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ นายวรา จันทร์มณี กรรมการผู้จัดการมูลนิธิโรคตับและ อดีตเลขานุการของอังคาร กัลยาณพงศ์ ศิลปิน แห่ ง ชาติ ส าขาวรรณศิ ล ป์ (กวี นิ พ นธ์ ) เปิดเผย

กับ ‘รักบ้านเกิด’ ว่าวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ บรรดาญาติ ๆ และผู้ เ คารพนั บ ถื อ ต่ อ อั ง คาร กัลยาณพงศ์ จะจัด ‘งานวันรับอังคารกลับบ้าน เกิ ด ’ ณ วั ด ท่ า โพธิ์ ว รวิ ห าร ต.ท่ า วั ง อ.เมื อ ง จ.นครฯ เริ่มเปิดงาน ๐๙.๐๐ น. ด้วยการแสดง โนรา และการเสวนาเรื่อง ‘คนนครคิดถึงอังคาร’ โดย นพ.บัญชา พงษ์พานิช, นายวรา จันทร์มณี และ รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ >> อ่านต่อหน้า ๘


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

างคนแสดงความปรารถนาให้ จั ง หวั ด นคร ศรี ธ รรมราชมี ส� ำ นั ก ข่ า วเมื อ งนครหรื อ ก่ อ ตั้งส�ำนักข่าวพลเมืองขึ้นมา เพื่อน�ำเสนอเรื่องราว ข่าวสารที่สื่อกระแสหลักมองข้าม เข้าไม่ถึงหรือไม่ กล้าน�ำเสนอ เมื่อก่อตั้งส�ำนักข่าวพลเมืองเป็นรูป เป็นร่าง เมื่อมีเรื่องราวส�ำคัญๆ ส�ำนักข่าวพลเมือง จะจัดแถลงข่าว โดยเชิญนักข่าวหรือสื่อกระแสหลัก มารับฟังเพื่อน�ำเสนอต่อไป ถ้านักข่าวหรือสื่อกระแส หลักไม่น�ำเสนอ ส�ำนักข่าวพลเมืองจะเสนอข่าวผ่าน สื่อสังคมออนไลน์เองก็ได้ อั น ที่ จ ริ ง สมาชิ ก เฟซบุ ๊ ค ทวิ ต เตอร์ และ บล็อกเกอร์ มีสถานะเป็นนักข่าวพลเมืองอยู่แล้ว จะ รู้หรือไม่รู้ตัวก็ตาม การน�ำภาพถ่ายเหตุการณ์ต่างๆ เรื่ อ งราวที่ เ กิ ด กั บ ตั ว เอง เพื่ อ นบ้ า น ชุ ม ชม หรื อ ประชาคมที่ตนเองอาศัย ตลอดจนข้อความแสดง ความคิดเห็น หรือตั้งค�ำถาม โพสต์ลงในสื่อสังคม ออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ หรือยูทูบ ผู้โพสต์ อาจไม่ นึก ว่ าทั น ที นั้นตัว กลายเป็นนักข่าวพลเมือ ง ไปแล้ว การโพสต์ภาพถ่าย คลิปวิดีโอ เรื่องราว ตั้ง ค�ำถามต่อหน่วยงานรัฐบาล บริษัทเอกชน หรือบริการ ต่างๆ ที่ประชาชนพึงได้รับ ถ้าผู้โพสต์ได้ค้นคว้าข้อมูล ค้นหาประเด็นที่น่าสนใจมาเสนอ และน�ำเสนอด้วย ท่าทีที่ถูกต้อง ผู้อ่านก็ได้ประโยชน์ ปัญหาต่างๆ รวม ทั้งบริการประชาชนพึงได้รับ อาจจะได้รับการปรับปรุง แก้ไข โดยไม่ต้องอาศัยปากเสียงของสื่อกระแสหลัก น่ า เสี ย ดายที่ นั ก ข่ า วพลเมื อ งหรื อ ผู ้ ที่ พ ยายามท� ำ หน้าที่นักข่าวพลเมือง ใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่อง ทางปล่อยข่าว สร้างข่าวลวงให้สมาชิกต�ำหนิติเตียน หรือแช่ งด่ าบุ ค คล องค์กร หน่ว ยงาน บริษัท และ บริการที่ตัวเองมีอคติ นักข่าวพลเมืองจึงควรค�ำนึง ถึงประโยชน์ของชุมชนที่สื่อกระแสหลักเพิกเฉยหรือ เข้าไม่ถึง

ออนุญาตบอกข่าวที่อยากให้ติดตาม “ถามเรื่องเมืองนคร” ที่คุณสมศักดิ์ เล้า แห่งโปรโฟโต้ที่ย่านหลังดาว หนึ่งในผู้ ที่รักและผูกพันเมืองนครและลงมือท�ำอะไรในนครไว้หลายอย่าง โดยเร็วๆ นี้ ได้เมล์มาถามผมเกี่ยวกับนั่นนี่โน่นในพระธาตุ แล้ว ออกมาเป็นเว็บบล็อก ชื่อ บล็อก search google “ถามเรื่อง... เมืองนคร” หรือ http://plearnstan.blogspot.com ตั้งแต่ต้น เดือนกรกฎาคมเป็นต้นมา ในวาระอาสาฬหบู ช าและเข้ า พรรษานี้ ผมขอเชิ ญ ชวน ท่านทั้งหลายลองเข้าไปร่วมถามและติดตามค�ำตอบได้ โดยขอ น�ำค�ำตอบล่าสุดที่เพิ่งโพสต์เมื่อวันอาสาฬหบูชา ว่าด้วยเรื่อง พระพุทธสิงหิงค์เมืองนคร ดังนี้ครับ พระพุทธสิหิงค์ ในหอพระสิหิงค์ นครศรีธรรมราช กับที่ วัดพระสิงค์ เชียงใหม่ องค์ไหนมาจากลังกา ? ???????????????????????? ทั้ง ๒ องค์นี้ รวมทั้งองค์ที่ กทม.ไม่น่าจะมาจากลังกา ทั้งนั้นครับผม

ผมเขี ย นอย่ า งย่ อ ในตามรอยธรรมที่ เ มื อ งนครไว้ อย่างนี้ “หอพระสิ หิ ง ค์ ๑ ใน ๓ องค์ ส� ำ คั ญ ของชาติ ที่ เ หลื อ บทบาทเพียงเพื่อร้องขอหรือสาบานของคนขึ้นศาล ทั้งที่จริง แล้วทั้ง ๓ องค์ที่มีประวัติต�ำนาน ผ่ า นนครศรี ธ รรมราช สุ โ ขทั ย ก� ำ แพงเพชร อยุ ธ ยา เชี ย งราย เชียงใหม่ และ กรุงเทพมหานคร จนลงเอยเป็ น ๓ องค์ ส� ำ คั ญ นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ และ กรุงเทพฯ นั้นเคยมีสถานะ เป็นเสมือนสัญลักษณ์ส�ำคัญแห่งเอกราชอาณาจักร บ่งบอกถึง ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา” แต่ขอตอบอย่างยาวอีกนิดดังนี้นะครับ ๑) พระพุทธสิหิงค์องค์เมืองนครนี้ เป็นหนึ่งใน ๓ องค์ ส�ำคัญของชาติ ในขณะที่ยังมีอีกนับสิบๆ องค์ในท้องถิ่นจังหวัด และวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ ๒) ต�ำนานที่ใช้อ้างอิงอย่างกว้างขวางที่สุดคือ “สิหิงคนิ ท าน” แต่ ง โดยพระโพธิ รั ง สี ม หาเถระแห่ ง วั ด โพธารามหรื อ วัดเจ็ดยอดแห่งล้านนา เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๐๐๐ มีความโดย ย่ อ ว่ า สร้ า งขึ้ น ในลั ง กาเมื่ อ พ.ศ.๗๐๐ ด้ ว ยหมายให้ ล ะม้ า ย เหมื อ นพระพุ ท ธองค์ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด เมื่ อ พ่ อ ขุ น รามค� ำ แหงแห่ ง สุโขทัยทราบกิตติศัพท์ ได้ขอให้พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแห่ง นครศรีธรรมราชขอมาได้ มีการจ�ำลองไว้ที่นครองค์หนึ่งก่อนที่ จะอัญเชิญสู่กรุงสุโขทัย จนสุโขทัยตกอยู่ในอาณัติของอยุธยา พระเจ้ า ไสยลื อ ไทยได้ อั ญ เชิ ญ มาที่ พิ ษ ณุ โ ลกจนสิ้ น พระชนม์ พระบรมราชาธิ ร าชที่ ๑ จึ ง อั ญ เชิ ญ สู ่ อ ยุ ธ ยา ต่ อ มาพญา ยุ ธิ ษ เฐี ย รแห่ ง ก� ำ แพงเพชรขอให้ ม ารดาซึ่ ง ตกเป็ น ชายาของ พระบรมราชาธิราชที่ ๑ ทูลขอเอาไปไว้ที่ก�ำแพงเพชร ที่นั่นมี ผู้จ�ำลองด้วยขี้ผึ้งไปถึงเชียงราย ท้าวมหาพรหมแห่งเชียงราย อยากได้ จึงชวนพระเจ้ากือนาเชียงใหม่มาขู่ขอไปไว้ที่เชียงราย ก่ อ นที่ เ ชี ย งใหม่ แ ละเชี ย งรายจะรบกั น พระเจ้ า แสนเมื อ งมา แห่งเชียงใหม่จึงอัญเชิญไปถึงเชียงใหม่ ในปี พ.ศ.๑๙๕๐ จน กระทั่งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชตีเมืองเชียงใหม่ได้ใน ปี พ.ศ.๒๒๐๕ ได้อัญเชิญกลับมาประดิษฐานที่วัดพระศรีสรร เพชญ์ อยุธยา ครั้นเสียกรุงครั้งที่ ๒ ทางเชียงใหม่ซึ่งอยู่ฝ่าย พม่า ได้อัญเชิญกลับไปจนกระทั่งรัชกาลที่ ๑ อัญเชิญมายัง กรุงเทพ ประดิษฐาน ณ พระที่นั่งพุทไธศวรรย์มาถึงทุกวันนี้ ถือ เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย ในขณะที่ทางเชียงใหม่ กล่าวกันว่าได้จ�ำลองมอบให้ไป แต่เก็บรักษาองค์จริงไว้ ทุกวันนี้ประดิษฐานอยู่ในหอพระสิหิงห์ >> อ่านต่อหน้า ๙ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เช่นเดียวกับ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

โชคดีที่เหตุการณ์นี้ ไม่เกิดบริเวณสนามหน้าเมือง หรือหลังห้างโรบินสัน โอเชี่ยน

มติดตามข่าว นั่งวิเคราะห์ แล้วน�ำ ไปถ่ายทอดให้นักศึกษา ม.ทักษิณ ที่ไปเข้าค่ายฝึกเขียน ณ อุทยานแห่งชาติ เขาปู่ เขาย่า อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง เป็นโจทย์ให้นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ - ๔ ภาควิชาภาษาไทย คิดหาแง่มุม ถ้าจะ เขียนเรื่องแต่งจากเหตุการณ์นี้ พวกเขา จะถ่ายทอดออกมาอย่างไร เรื่องเกิดที่เกาะสมุย กลางๆ เดือน กรกฎาคมที่ผ่านมา คนร้ า ยเกิ ด คลุ ้ ม คลั่ ง สติ แ ตกใช้ มี ด ไล่ แ ทงผู ้ ค นในปั ๊ ม ปตท. ต.บ่ อ ผุ ด ต�ำรวจยศนายดาบ ๒ คน ได้รับรายงาน เดินทางมาระงับเหตุโดยพยายามจับกุม แต่คนร้ายที่ก�ำลังคลั่งตรงเข้าท�ำร้าย ๒ ดาบต�ำรวจ โดยใช้มีดแทงนายดาบคน หนึ่งที่หน้าท้อง ท�ำให้นายดาบท่านนั้น ล้มลง คนร้ายจึงแย่งปืน ๙ มม. ของนาย ดาบมาจ่อยิงนายดาบ ๓ นัด จนเสียชีวิต คาที กระสุนยังเหลืออีก ๗ นัด คนร้าย ยิ ง ใส่ น ายดาบอี ก คนกั บ ชาวบ้ า น เมื่ อ กระสุนหมด คนร้ายโยนปืนทิ้งแล้ววิ่งหนี นายดาบที่ยังมีชีวิตไล่กุมจับ แต่ถูก คนร้ายแทงที่หน้าอกด้านซ้ายบาดเจ็บ สาหั ส ต่ อ มาเจ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจยกกอง ก�ำลังมาปิดล้อมจับกุมคนร้ายได้ในที่สุด ทราบว่ า คนร้ า ยเคยถู ก จ� ำ คุ ก ข้ อ หายา เสพติดมาก่อน (มติชน ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖) โจทย์ง่ายๆ ที่ผมพยายามสอบถาม เด็กๆ ว่าพวกเขามองเรื่องนี้อย่างไร ไม่มี ค�ำตอบใดๆ นอกจากความรู้สึกสงสาร

นายดาบที่ เ สียชีวิต โดยปืน พกประจ�ำตัว อีกคนถูกแทงปางตายทั้งๆ ที่มีอาวุธ และ เห็นกับตาว่าเกิดอะไรขึ้นกับเพื่อนต�ำรวจ ที่มาระงับเหตุการณ์ด้วยกัน ผมเสียใจกับครอบครัวของนายดาบ ทั้ง ๒ คน แต่จะไม่ละเว้นการวิเคราะห์ เหตุการณ์ อย่างกว้างๆ ที่สุด ถ้าคนร้าย คลั่งเพราะเสพยา ก็ต้องบอกว่าที่เกาะสมุย มีการค้าขายยาเสพติด ซึ่งต�ำรวจปราบไม่ หมดสิ้น หรือปล่อยให้มีการซื้อขายและ เสพ ผลจึงย้อนกลับมาเล่นงานต�ำรวจ ๒ คน รวมถึงครอบครัวและญาติพี่น้อง ผมยกตั ว อย่ า งต� ำ รวจเข้ า จั บ กุ ม คนร้ า ยหรื อ ผู ้ ต ้ อ งสงสั ย ในหนั ง อเมริ กั น ต� ำ รวจจะชั ก ปื น เล็ ง ไปที่ ค นร้ า ยด้ ว ย ท่ า ทางทะมั ด ทะแมงและจริ ง จั ง แล้ ว ตะโกนว่า ‘freeze’ ที่แปลว่า ‘ช่องแช่ แข็ ง ’ ภายในตู ้ เ ย็ น หรื อ เย็ น จั ด จนเป็ น น�้ ำ แข็ ง ในที่นี้มัน แปลตรงๆ ว่า ‘หยุด ’ แข็งอยู่ตรงนั้น อย่ากระดุกกระดิกเป็นอัน ขาด หากมี อ าวุ ธ ในมื อ ก็ ใ ห้ ทิ้ ง และนอน คว�่ำหน้าลงกับพื้น

ถ้าคนร้ายหรือผู้ต้องสงสัยไม่ได้ยิน หรื อ ฟั ง ไม่ ชั ด เจน ต� ำ รวจอาจสั่ ง อี ก ครั้ ง หากไม่ปฏิบัติตามต�ำรวจจะยิงทันที อาจ ยิ ง ให้ ต ายหรื อ บาดเจ็ บ เพื่ อ ระงั บ เหตุ การณ์ร้าย นายดาบ ๒ คน มีอาวุธครบมือ แต่ การตัด สิน ใจผิด พลาดแน่น อน สาเหตุ ที่ ท�ำให้การตัดสินใจผิดพลาด คืออะไร นายดาบกับคนร้ายอาจรู้จักกัน จึงไม่ กล้าตัดสินใจยิง หรือคิดว่าตัวเองสามารถ ควบคุมเหตุการณ์ได้ หรือเมื่อยิงใส่คนร้าย กระสุนอาจพลาดเป้าไปถูกชาวบ้านก็ได้ นอกจากการตัดสินใจ นายดาบ ๒ คน อาจขาดความคล่องแคล่วว่องไว จนไม่ สามารถต่อสู้ป้องกันตัวเอง ขาดการฝึกฝน ร่างกาย หรือการซ้อมยิงปืนให้แม่นย�ำ ผมไม่ มี ค วามรู ้ เ รื่ อ งงานบริ ห าร ต�ำรวจ จึงไม่ทราบว่าเกาะสมุยมีก�ำลังพล เพี ย งพอหรื อ ไม่ งบประมาณซื้ อ กระสุ น ฝึกซ้อมมีเพียงพอหรือไม่ โปรแกรมการ ฝึกและดูแลร่ายกายให้พร้อมอยู่เสมอเป็น อย่างไร

ต�ำรวจในเครื่องแบบเสียชีวิตและ บาดเจ็บเกือบเอาชีวิตไม่รอด เป็นดอกผล ของความไร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ไม่ พล.ต.ท. ยงยุทธ เจริญวานิช ภบช.ภ.๘ น่าจะเป็นผู้ให้ค�ำตอบที่ชัดเจนที่สุด และ ไม่ควรปล่อยเรื่องนี้ผ่านโดยไร้ประโยชน์ ผู ้ รั ก ษากฎหมายเป็ น ที่ พึ่ ง ของ ประชาชน เมื่ อ ผู ้ รั ก ษากฎหมายถู ก อาชญากรท�ำร้ายเสียเอง ประชาชนจะ ฝากชีวิตไว้กับใคร ผมเชื่อว่า พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว ผบก.ภ.จว.นครศรีธรรมราช ติดตาม และวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกาะสมุย แล้ว สั่งก�ำชับอย่าให้เหตุการณ์อย่างนี้เกิดซ�้ำ ในเมื อ งนคร รวมทั้ ง เข้ ม งวดเรื่ อ งการ ฝึกฝนร่างกายให้พร้อมรับมือกับพาลชน เพื่ อ ให้ ต� ำ รวจเป็ น ที่ พึ่ ง ของ ประชาชนอย่างแท้จริง รูปประกอบ : นักศึกษาและวิทยากรจากค่าย วรรณกรรม ม.ทักษิณ สงขลา ณ อุทยานแห่ง ชาติเขาปู่ เขาย่า อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง


หน้า ๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ดื อ นสิ ง หาคมนี้ เ ป็ น วั น ส� ำ คั ญ คื อ วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทางการก็ก�ำหนดให้เป็นวันแม่แห่งชาติด้วย ก็ดีเหมือน กันเป็นวันที่จะได้ให้ลูกคิดถึงแม่บ้าง อยู่ๆ กันไป ท�ำงาน กันไป สนุกกันไป จนลืมแม่ที่ทิ้งไว้ที่บ้านกันแล้ว ปีหนึ่ง แม่จะได้รับดอกมะลิกันครั้งหนึ่ง ก็ดีนะสังคมจะได้พูดถึง แม่ในแง่ต่างๆ กันบ้าง ที่นครศรีธรรมราช ทราบข่าวว่าเทศบาลก� ำหนด เอา ๑๒ สิงหาคมนี้เป็นวันฉลองสะพานใหม่ แต่คงใช้ ชื่อเก่า คือ สะพานราเมศวร์ ถึงเป็นชื่อเก่าแต่ก็ไม่เก่า จริง สะพานนี้สร้างขึ้นเพื่อข้ามคลองท่าวัง ก่อนจะใช้ชื่อ คลองท่าวังผู้คนจะเรียกว่า คลองพญา ที่เรียกชื่อนี้เพราะ มี พ ญามาตั้ ง วั ง อยู ่ ริ ม คลองนี้ ต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง วั ง ก็ คื อ วั ด ท่าโพธิ์ ปัจจุบัน เมื่อก่อนเป็นวังของ เจ้าอุปราชพัด เมื่อ พระองค์ท่านได้ไปเป็นเจ้าเมืองนคร ท่านก็ย้ายไปอยู่ที่วัง ศาลากลาง แล้วยกวังของท่านให้เป็นวัดท่าโพธิ์ ซึ่งวัดท่า โพธิ์นั้นถูกแขกชวาเผาท�ำลายเมื่อ พ.ศ. ๒๑๘๑ วัดท่าโพธิ์ (ใหม่) จึงย้ายมาอยู่ที่วังเก่าของ เจ้านครพัด ประมาณปี พ.ศ.๒๓๕๐ นี่ก็ล่วง ๒๐๐ กว่าปีมาแล้ว เมื่อได้มีการสร้างสะพานข้ามคลองท่าวังสะพานนี้

nagara@nakhonforum.com

จึงมีชื่อว่า “สะพานท่าวังวรสินธู” และมีชื่อคล้องจอง กับอีกสามสะพานของเมืองนคร คือ สะพานท่าวังวรสินธู, สะพานพระครูเทพมุนี, สะพานเทวีดรดล และ สะพานด�ำรงสถลนคร คือ สะพานราเมศวร์ สะพานนคร น้อย สะพานคลองป่าเหล้า และสะพานคูพาย สะพานทั้ง สี่ที่กล่าวถึงขณะนี้ได้เปลี่ยนชื่อไปหมดแล้ว ไม่เหลือความ เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนของชาวนครเอาไว้เลย ความงาม ในเชิงศิลปะก็ไม่เหลืออยู่เลยสักสะพาน เมื่ อ สะพานนั้ น ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง สะพานท่ า วั ง วรสิ น ธู ก็ ถู ก เปลี่ ย นชื่ อ ใหม่ โ ดยใช้ ชื่ อ นาม กรมหลวง ลพบุรีราเมศวร์ ซึ่งมาเป็นอุปราชมณฑลนครศรีธรรมราช ในสมัยนั้น แต่ผู้คนรุ่นเก่าก็ยังเรียกชื่อ สะพานท่าวัง อยู่ ระยะหนึ่ง เมื่อคนรุ่นเก่าล้มหายตายจากไป คนรุ่นใหม่ก็ เรียกชื่อสะพานราเมศวร์มาจนปัจจุบัน โอกาสที่ ฉ ลองสะพานใหม่ จ ะใช้ ชื่ อ เก่ า สะพาน ราเมศวร์ก็ไม่ว่ากัน แต่ผมขอวงเล็บข้างล่างไว้ว่า “ท่าวัง วรสินธูเดิม” สักหน่อย เผื่อโอกาสข้างหน้าชนรุ่นหลังที่มา นั่งเมืองกินเมือง เกิดความซาบซึ้งในชื่อเก่าที่ผูกร้อยเป็น บทกลอนทั้งสี่สะพาน กลับขึ้นมาใช้ใหม่ใครจะรู้ ในฉบั บ นี้ ผ มได้ น� ำ รู ป สะพานชุ ด เก่ า ที่ ถู ก รื้ อ ไป นานแล้ว มาให้ดูความงดงาม ของคนรุ ่ น เก่ า ที่ เ ขามี ศิ ล ปะ ในการสร้ า ง และผมก็ ไ ด้ น� ำ รู ป แบบที่ เ คยเขี ย นน� ำ เสนอ ให้ เ ทศบาลได้ ดู เมื่ อ มี ค วาม คิดที่จะปรับปรุงให้มันสวยยิ่ง ขึ้นกว่าเก่า โดยแบบที่ผมน�ำ เสนอ จะใช้ ร าวสะพานเป็ น รู ป พั ด ใบโพธิ์ แทนเจ้ า ของ ชื่ อ คลองคื อ เจ้ า อุ ป ราชพั ด และวัดท่าโพธิ์ ถ้าจะมีรูปปั้น อนุสาวรีย์ของอดีตเจ้านครพัด ขึ้นประดับก็น่าจะดูดี อันนี้ไม่ >> อ่านต่อหน้า ๙

หนังสือพิมพ์ รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ลงนามแต่งตั้งคณะกรรมการ ไตรภาค ๔๑ คน ตามนโนบายของกระทรวงพลั ง งาน และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อ ด�ำเนินการศึกษาความเหมาะสม และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าเทคโนโลยี ถ่านหินสะอาดในพื้นที่ อ.หัวไทร จ.นครฯ วันที่ ๑๕ – ๑๙ กรกฏาคม กฟผ. น�ำคณะกรรมการไตรภาคีและตัวแทน ไปศึกษาเชิงประจักษ์โรงไฟฟ้าถ่านหินที่เกาหลีใต้ ๒ โรง

ทวี ขวั ญ ศรี สุ ท ธิ รองประธานเครื อ ข่ า ยชาว สวนยางจังหวัดนครฯ เขต ๒ ชวนแกนน�ำเครือข่ายทั้ง ๒๓ อ�ำเภอ ราว ๕๐๐ คน เดินทางมายังศาลากลาง เรียก ร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต�่ำ ก่อนส่ง ตัวแทนเข้ายื่นข้อเรียกร้องผ่าน ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์

เปิดประตูบ้านสานมิตรภาพ...วันที่ ๒๕ กรกฎาคม รองผู้ว่าฯ กฤติพงษ์ คงแข็ง, วาริน ชิณวงศ์ ประธาน หอการค้าจังหวัดนครฯ คณะกรรมการบริหาร ร่วมต้อนรับ หยาง จี่โป ทูตพาณิชย์จีน สนทนาหาแนวทางผลักดัน จั ง หวั ด นครฯ เป็ น เมื อ งพี่ เ มื อ งน้ อ งกั บ มณฑลซานตง สร้ า งตลาดใหม่ ๆ ที่ ค ณะกรรมการหอการค้ า จั ง หวั ด ชุ ด ก่ อ นเริ่ ม ไว้ เชาวน์ วั ศ เสนพงศ์ นายก เทศมนตรี น ครนครฯ ท� ำ โครงการเมื อ งคอนปลอดภั ย โดยติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) ทั่วเขตเทศบาล ๕๐


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

จุ ด รวมกล้ อ ง ๙๖ ตั ว ทั้ ง ท� ำ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงโครงการ ก่ อ สร้ า งระบบเคเบิ้ ล ใต้ ดิ น ถนนราชด� ำ เนิ น ตั้ ง แต่ ว ง เวี ย นน�้ ำ พุ ถึ ง แยกประตู ไ ชยสิ ท ธิ์ ร่ ว มกั บ การไฟฟ้ า ส่ ว น ภูมิภาค (ส�ำนักงานใหญ่) ระยะทาง ๒,๒๐๐ เมตร เพื่อ ให้เป็นถนนสายวัฒนธรรมที่สวยงาม และเพื่อปรับพื้นที่ Buffer Zone เพื่อเตรียมวัดพระมหาธาตุนคร สู่มรดกโลก.. หวังว่า CCTV จะช่วยแบ่งเบาภาระของต�ำรวจได้จริง

เอกชัย ดารากัย ประธานคณะกรรมการอิสลาม จ.นครฯ และคณะกรรมการ จัดงานเมาลิดกลาง จังหวัดนครฯ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ รองผู้ว่าฯ ทรงพล สวาทดิ์ธรรม ให้เกียรติเปิดงาน, เป็นตัวแทนเจ้าภาพรับมอบการสนับสนุนจาก องค์กรต่างๆ และมอบเกียรติบัตรแก่เยาวชนที่ผ่านการอบรมหลักสูตรก่อนแต่งงานจากมัสยิดต่างๆ ร่วม ๗๐๐ คน เปิดแล้ว ‘ลานกิจกรรมเยาวชน’ เป็นพื้นที่สร้างสรรค์ให้ เด็กๆ มาแสดงความสามารถทุกวันเสาร์ ณ ลานโพธิ์ วัด พระมหาธาตุฯ ขอชื่นชมในความพยายามและการทุ่มเท ของชมรมอาสาสมัครยุวมัคคุเทศก์ เล่าเรื่องเมืองลิกอร์ มีช่องทางสื่อสารประชาสัมพันธ์เมืองนครรูปแบบ ใหม่ๆ ต้องกล้าคิด กล้าท�ำ ‘จังหวัด’ จึงจัดประกวดมิวสิค วีดิโอหรือคาราโอเกะประกอบเพลงค�ำขวัญประจ�ำจังหวัด นครศรีธรรมราช ชิงรางวัล ๕๐,๐๐๐ บาท ใครมีแนวคิด และมุ ม มองใหม่ ๆ ลงมื อ ให้ เ สร็ จ ก่ อ นวั น ที่ ๕ สิ ง หาคม แล้วน�ำส่งที่ สนง.ปชส.จังหวัด ศรีโรจน์ อนุตรเศรษฐ์ กรรมการบริ ษั ท ยู เ นี ย นนคร จ�ำกัด และกรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท เอสพี เ อคอมพิ ว เตอร์ จ� ำ กั ด ผู ้ บ ริ ห ารโครงการไอบิซ -อเวนิว ถนนพัฒนาการคูขวาง เปลี่ยนคอนเซ็ปต์จาก การเป็นห้างไอทีให้เป็น ‘ไลฟ์ สไตล์ เซ็นเตอร์’ ที่มีซูเปอร์มาเก็ต ร้านกาแฟ ร้านหนังสือ ธนาคาร ศูนย์จ�ำหน่ายและซ่อมอุปกรณ์ไอที ฯลฯ เหมือน ห้างทั่วไป มีพื้นที่ร่วมๆ ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร โดยใช้งบฯ ราว ๕๐๐ ล้านบาท ส่วนที่เป็นห้างจะเปิดประมาณเดือน มี น าคม ๒๕๕๗ ‘ราชภั ฏ แรลลี่ ๒๐๑๓’ วั น ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๖ เส้นทาง : ราชภัฏนครฯ - ท่าศาลา - สิชล - ขนอม รายได้ส่วนหนึ่งหลังหักค่าใช้จ่าย สมทบ ทุนสร้างพระพุทธสิหิงค์ประดิษฐานไว้ ณ เชิงเขามหาชัย และเป็นทุนการศึกษาให้กับโรงเรียน ค่าสมัคร (รวมค่า ที่พักและอาหาร) ๒ ท่านแรก ๒,๙๐๐ บาท (รับเสื้อยืด ฟรี ๒ ตัว) ผู้ติดตามตั้งแต่ท่านที่ ๓ เพิ่มท่านละ ๘๐๐ บาท (รถ ๑ คัน ไม่เกิน ๔ ท่าน) สนใจซื้อใบสมัคร ติดต่อ ๐๘๗-๘๘๕๕-๙๓๓ (คุณอาทิตย์)

จั ง หวั ด นครฯ เป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า เยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๐ ภาค ๔ หรือ ‘นครเกมส์’ ระหว่างวันที่ ๑๑ – ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ มีการแข่งขัน ๓๘ ชนิดกีฬา กระจายตามสนามต่างๆ ทั่วจังหวัด

เชื่อและศรัทธาในพระพุทธศาสนา จุมพล-แอพริล ด�ำรักษ์ ชักชวนเพื่อนๆ และครอบครัวบินข้ามน�้ำข้ามทะเล มาจากอเมริกา มาจัดงานบวชให้ลูกชาย นิค ด�ำรักษ์ ที่ วัดโคกคีรี พัทลุง เมื่อต้นเดือนกรกฎาคม สาธิต รักกมล ส�ำนักงานประกันสังคม จัดโครงการสัมมนานายจ้าง บก.รักบ้านเกิดและเพื่อนๆ ไม่พลาดไปร่วมงานบุญ ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่สถานพยาบาล และเจ้าหน้าที่ประกันสังคม รุ่นที่ ๒/๒๕๕๖ อ.ศุภกฤษณ์ มาลากุล ให้เกียรติเป็นวิทยากร ณ โรงแรมโกลเด้นท์ บีช รีสอร์ท กระบี่ เมื่อเร็ว ๆ นี้

ปลายๆ มิถุนา ห้างเพชรทอง ซี กวง BJ ร่วมกิจกรรม กับสภาอุตสาหกรรมนครฯ เลี้ยงอาหารกลางวันและบริจาค สิ่งของ แก่คนไร้ที่พึ่ง ณ สถานสงเคราะห์ภาคใต้ อ.สิชล วันที่ ๙ - ๑๘ สิงหาคม เชิญร่วมท�ำบุญยกช่อฟ้า ปิ ด ทองฝั ง ลู ก นิ มิ ต เททองหล่ อ พระ ท� ำ บุ ญ ไถ่ ชี วิ ต โคกระบือ ณ วัดปลักปลา ต.ตลิ่งชัน อ.ท่าศาลา จ.นครฯ

วันที่ ๒๙ มิถุนายน ฮอนด้าศรีนครร่วมโครงการแบ่ง ฝัน ปันน�้ำใจ ให้น้องตามกิจกรรม ‘ลมหายใจสุดท้ายของ โรงเรียนชายขอบ’ ที่ไม่ถูกยุบหรือควบรวม ร.ร.วัดหัวนอน. ต.ปากนคร มีผู้สนับสนุน อาทิ นนทิวรรธ นนทภักดิ์, สท.พี่ แอน, พี่สาว เจบีเครื่องกรองน�้ำ, พี่นกฮอนด้าศรีนคร, พี่บุ๋ม หอการค้า, พี่สาว บ.ซินคอมพานี และผู้ใหญ่ใจดีทุกๆ ท่าน ร่วมกับ medee media group พบปะเลี้ยงอาหารกลางวัน มอบอุปกรณ์เครื่องเขียนและของที่ระลึก ผู้ปกครองให้การ ต้อนรับอบอุ่น

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

Diamond@ • Tawang • Robinson • Twin Lotus Gold@ • Tama • Hau It • Kukwang • Weekend Market


หน้า ๖

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นอาคารอันโอ่โถงของ ‘นครดีซี อิน เดอะ ปาร์ค’ ถนนพัฒนาการคูขวาง ปกรณ์ ค�ำศรีเมือง ผู้จัดการฝ่ายขายของ มาสด้า นครดีซี ชาวกาฬสินธุ์บอกเล่า ประสบการณ์แก่ ‘รักบ้านเกิด’ รวมถึง ความพร้ อ มของโชว์ รู ม มาสด้ า อ� ำ เภอ ทุ่งใหญ่ ที่ถือฤกษ์ ‘วันแม่’ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ เปิดสาขา และรับจองรถส�ำหรับลูกค้าละแวกใกล้เคียง ก่อนลาออกจากเก้าอี้ ผู้จัดการฝ่ายขายของฟอร์ด มหาสารคาม มาร่วมงานกับมาสด้า นครดีซี เมื่อตุลาคม ๒๕๕๔ ปกรณ์ ผ่านงานขายมาอย่างโชกโชน บิดามารดารับ ราชการครูต้องการให้ลูกชายเอาอย่าง จึงให้จากกาฬสินธุ์ บ้านเกิดไปเรียนที่ ม.ราชภัฏสกลนคร ไม่กี่วันปกรณ์หนี เข้ากรุงเทพฯ ไปอยู่กับพี่สาว สมัครเรียนที่ ม.รามค�ำแหง พร้อมสมัครเป็นพนักงานขายภาคเช้าของเซเว่น-อีเลฟเว่น ย่านอินทามะระ ได้ค่าแรงวันละ ๑๒๐ - ๑๓๐ บาท บาง วันหาล�ำไพ่โดยรับแจกใบปลิวสินค้าย่านรามค�ำแหง ต่อมา

ขอเช่าแท็กซี่จากคนรู้จักขับรับส่งผู้โดยสาร ทั้งๆ ที่ไม่รู้จัก เส้นทาง แต่อาศัยนั่งรถเมล์ท�ำความรู้จักถนนและตรอกซอย ที่ส�ำคัญๆ “ผมไม่ อ ยากเติ บ โตโดยมี คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ม าอุ ้ ม อยู ่ ตลอดเวลา” จากกรุงเทพฯ ปกรณ์ย้ายมาอยู่สุรินทร์ และ เรียนจบปริญญาตรี สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จบแล้วเข้า ท�ำงานฝ่ายบุคคลโรงงานผลิตตู้ไม้ส่งออก เขาเปิดเผย “ผม พบว่ามันไม่ใช่” ปกรณ์หลงใหลรถยนต์ตั้งแต่เด็กๆ แค่ฟังเสียงเครื่องยนต์ก็บอกยี่ห้อได้ แค่จับกุญแจครั้งแรกก็ขับกระบะของพ่อ ได้โดยไม่ต้องสอน ทุกอย่างอาศัยการสังเกต ต่อมาเขาไป สมัครงานที่บริษัทขายรถยนต์ “ผมไม่เคยคิดถึงแบรนด์ใหญ่ ผมมองแบรนด์รอง”

วันสัมภาษณ์งาน ผู้สอบติงว่าไม่เคยขายรถยนต์แล้ว จะขายได้อย่าง เขาตอบถ้าไม่มีโอกาสแล้วเขาจะมีประสบการณ์ได้อย่างไร ผู้สอบถามว่าเงินเดือน ๓,๐๐๐ บาท ค่า คอมมิชชั่นคันละ ๕๐๐ บาท จะเอาหรือเปล่า เขาตอบ ตกลง แล้วถามกลับว่ากี่เดือนถึงจะบรรจุ ค�ำตอบคือ ๓ เดือน “ผมขอเวลาแค่สองเดือน” ปกรณ์ศึกษางานด้วยตนเอง “ผมครูพักลักจ�ำ ปิดการ ขาย คิดดอกเบี้ย ใช้เวลาแปดวัน ท�ำได้สิบวันได้รับจองสอง คัน เดือนแรกผมขาย ๑๐ คัน” ปกรณ์ถูกชักชวนให้ย้ายงานอีก ๒ ครั้ง ‘รักบ้านเกิด’ ขอรวบรัดเพราะเนื้อที่จ�ำกัด ก่อนย้ายมาท�ำงานกับมาสด้า นครดีซี ต�ำแหน่งสุดท้าย ของเขาคือผ้จัดการฝ่ายขายของฟอร์ด มหาสารคาม ซึ่งต้อง

ยื่นใบลาออกถึง ๓ ครั้งก่อนเจ้าของจะอนุญาต เมื่อตุลาคม ปี ๒๕๕๔ “ผมมีภรรยาที่นี่ ท�ำบ้านเสร็จลาออก..มาหางาน บ้านผมอยู่ที่ท่าซัก หลังโชว์รูมมาสด้า ผมใช้เวลาไปกลับ เกือบ ๕ ปี แฟนเป็นมุสลิม ผมต้องสู้กับพ่อตาให้เขายอมรับ ทางนี้ขีดเส้นว่าถ้าไม่มาก็ไม่ต้องมาแล้ว..ชาวบ้านชาวเมือง จะว่าเอา” เมื่อย้ายมาอยู่นครฯ ปกรณ์สมัครงานที่โชว์รูมรถยนต์ ๒ แห่ง แต่ปลายปี ๒๕๕๔ เกิดอุทกภัยในกรุงเทพฯ บริษัท ไม่มีรถขายบอกให้รอจนถึงเดือนมกราคม ๒๕๕๕ ทว่าเขา ไม่รอจึงไปสมัครที่มาสด้า นครดีซี “ผมลองสมัครมาสด้า.. เพราะฟอร์ดกับมาสด้า โปรดักส์ใกล้เคียงกัน คุณธนากับ คุณกฤติกา ลีละพันธุ ผู้บริหาร เรียกไปสัมภาษณ์ คุยกันพอ สมควร ผมสมัครฝ่ายขาย” ปกรณ์ได้งานที่มาสด้า ทุ่งสง “ให้ไปทุ่งสงได้มั้ย ผม ไปทดลองงาน ๑ สัปดาห์ ปรับต�ำแหน่งเป็นหัวหน้าเซลส์” ปกรณ์ช่วยปิดการขายให้กับเซลส์และเพิ่มยอดขายให้ สาขาทุ่งสงเกือบ ๒๐ คันต่อเดือน จนขยับขึ้นเป็นหัวหน้า ฝ่ายขายและผู้จัดการฝ่ายขายภายใน ๑ เดือน “กลยุทธ์การ ขายของผม..๑ รู้โปรดักส์ ๒ รู้โปรดักส์คู่แข่ง ๓ ดูแคมเปญ ให้เก่ง” เมื่อเจ้านายเห็นความสามารถจึงเรียกไปถาม “ถ้าดู ทั้งจังหวัดไหวมั้ย..ผมตอบว่าได้..วันที่ ๑๕ มกรา ๒๕๕๕ ผม จึงย้ายมาอยู่ส�ำนักงานใหญ่ที่ถนนอ้อมค่าย” ปีนี้เศรษฐกิจชะลอตัว ราคายางพารากับปาล์มตกต�่ำ ปกรณ์วางเป้าขายต�่ำสุด ๑๐ คันต่อเดือน พนักงานบางคน อาจขายได้มากกว่าเดือนละ ๓ คันจะได้รับโบนัสเพิ่มจาก บริษัทและตัวเขา ซึ่งเขาเชื่อว่าโปรโมชั่นที่บริษัทใช้มาตั้งแต่ ต้นปีจะเป็นแรงจูงใจให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อ และบางกรณีเขา สามารถขออนุมัติใช้โปรโมชั่นพิเศษจากเจ้านาย “ปีนี้ไม่มีใครคาดคิดว่ายางพารา ปาล์มจะราคาตก.. มาสด้าเรามองอย่างเดียว..เรามีตัวเลขมวลรวม ปีที่แล้ว ๑๐๐ คันต่อเดือน ทั้งปีเกือบ ๙๐๐ คัน ปี ๕๓-๕๔ มาสด้า นครดีซีอย่าให้ต�่ำกว่า ๔๐ คันต่อเดือนเราจึงจะอยู่ได้..วิธี การ คือติดตามลูกค้าเก่า โปรดักส์ดี แคมเปญดี การบริการ ดี--ที่นี่มีแต่รอยยิ้ม” วั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๕๖ มาสด้ า นครดี ซี จ ะ เปิดสาขาใหม่ที่อ�ำเภอทุ่งใหญ่ “เราเปิดเฉพาะโชว์รูมขาย ส่วนซ่อมอยู่ที่ทุ่งสง ตอนนี้ภาคการลงทุนขยายไปยังทุ่งใหญ่ ผมมั่นใจว่าลูกค้าโซนทุ่งใหญ่ บางขัน พระแสง จะมาซื้อรถ กับเรา..เรามีโปรโมชั่นบัตรเติมน�้ำมันมูลค่า ๓,๐๐๐ บาท ผมตั้งเป้าเดือนละ ๗ คัน วันเปิดตัวหวังไว้ ๑๐ คัน ถ้าเกิน จากนั้นถือว่าโชคดี” ปกรณ์เป็นคนหนุ่ม อายุ ๓๓ ปี “ผมดูแลลูกน้องแบบพี่ปกครองน้อง หลังจากงานผม จะเป็นพี่ชายหรือน้องชาย ผมใช้หลักเข้าใจ เขาถึง พัฒนา เขาอย่างต่อเนื่อง ตามที่ในหลวงทรงสอน เราต้องอยู่ให้ ได้ระหว่างอ่อนกับแข็ง แรกๆ ผมล�ำบาก กระแสคนอีสาน กับคนใต้ ผมโชคดีเจ้านายให้ก�ำลังใจ ผมเอาความดีเข้าสู้ ทุกวันนี้เขายอมรับ อีสานหรือใต้ก็คนเหมือนกัน ผมปรับ เปลี่ยนวิธีท�ำงานไปมาก แต่เราอยู่กันแบบพี่น้อง..ผมบอก ว่าจะคุยกับผมคุยส่วนรวม ถ้าเรื่องส่วนตัวผมไม่คุย ผมให้ ก�ำลังใจ ให้ค�ำชม และบางครั้งทุนทรัพย์” ปกรณ์มีวันหยุดเฉพาะวันอาทิตย์อยู่กับภรรยาและ ลูกชายอายุ ๙ เดือน บางทีอาจมีบริษัทอื่นๆ มาเสนองาน ให้ท�ำ “ผมรับปากเจ้านาย เจ้านายให้เยอะ ผมไม่ดิ้นรนแล้ว ถ้าเรารู้จักพอเพียง” นอกจากครอบครั ว บางที เ ขาจะนั่ ง อ่ า นหนั ง สื อ รถยนต์ที่ชอบมากๆ เพื่อเรียนรู้ทิศทางการตลาดและเก็บ ข้อมูลต่างๆ ไปใช้ประโยชน์


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป้าหมายชัดเจนแล้วว่าจะเดินออกจาก ธุรกิจภายใน ๓ – ๕ ปีข้างหน้า นับจาก วันนี้จะต้องวางแผนท�ำอะไรบ้างในแต่ละ เรื่องที่กล่าวมาข้างต้น เท่าที่ผมเจอพวก เขายังไม่กล้าตัดสินใจวางแผนให้ชัดเจน รอเวลาค่อย เป็น ค่อยไป อาจเป็นเพราะ

ากอาชี พ ที่ ป รึ ก ษาธุ ร กิ จ ท้ อ งถิ่ น หลายบริ ษั ท ฯ ในภาคใต้ โจทย์ ที่ ผมได้รับก็คือ เจ้าของกิจการรุ่นแรกที่ บุกเบิกสร้างธุรกิจมา ๓๐ ปี ตลอดช่วง อายุของพวกเขามาถึงวัยเกษียณ อยาก เดิ น ออกจากธุ ร กิ จ แล้ ว ส่ ง ต่ อ ให้ กั บ ลู ก ที่ รั บ ช่ ว งต่ อ แต่ ใ นความเป็ น จริ ง ของ ธุ ร กิ จ ก็ คื อ พวกเขาสร้ า งธุ ร กิ จ เติ บ โต ด้ ว ยศั ก ยภาพ-ความรู ้ - ความสามารถความอดทน และรู้จักใช้โอกาสให้เป็น ประโยชน์ สร้างความเติบโตมาจนถึงทุก วั น นี้ ไ ด้ ก็ ต ้ อ งมาพบกั บ การแข่ ง ขั น ใน ธุรกิจเดียวกันอย่างเข้มข้น ธุรกิจขนาด ใหญ่ที่มีเครือข่ายมากกว่าเข้ามารุกคืบ เปิดกิจการแข่งขันมากขึ้น ท�ำให้แนวโน้ม ในอนาคตธุรกิจเริ่มมาถึงทางตัน เข้าสู่ วงจรธรรมชาติของมัน คือ เกิด-เติบโตเต็ ม -ตาย หรื อ ค่ อ ยเล็ ก ลง มี ส ่ ว นน้ อ ย ที่จะด�ำรงอยู่ได้ซึ่งต้องมีการปรับตัวไป หาช่องทางใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา ท�ำให้ เจ้าของกิจการที่ตั้งใจจะเกษียณตนเอง แล้ ว หยุ ด พั ก ผ่ อ น ใช้ ชี วิ ต อย่ า งที่ ใ จ ต้องการท�ำได้ยาก พวกเขาติดกับดัก ของ “ส�ำเร็จแต่ไม่เสร็จเสียที” อะไรคื อ สาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ เ ป็ น เช่ น นี้ อาจเพราะการไม่ได้ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน ว่ า จะออกจากธุ ร กิ จ เมื่ อ อายุ เ ท่ า ไร? เช่น ครบ ๖๐ ปี และต้องมีเงินเหลือเก็บ ส�ำหรับตัวเองเท่าไร? ธุรกิจได้วางระบบ ส่งต่อให้คนรุ่นใหม่บริหารอย่างไร? การ จั ด การทรั พ ย์ สิ น มรดกท� ำ ไว้ อ ย่ า งไร? เพื่อไม่เกิดปัญหาภายในครอบครัว โดย เฉพาะครอบครัวใหญ่ที่มีทั้งลูกเขย-ลูก สะใภ้-มีหลานที่เกิดขึ้นตามมา ค� ำ ถามที่ ส� ำ คั ญ มาก เมื่อก�ำหนด

โดยพื้นฐานการท�ำธุรกิจของนักธุรกิจยุค ก่อน พวกเขาเป็นผู้ที่มีความสามารถ - มี ความช�ำนาญ ในการรู้จักการแก้ปัญหา - รู้จักช่องทางในการใช้โอกาสต่างๆ ให้ เกิดประโยชน์กับธุรกิจ - มองภาพธุรกิจ ในระยะสั้ น และมี ทั ก ษะในการบริ ห าร จัดการเฉพาะหน้าได้อย่างยอดเยี่ยม จน ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งที่ เป็นอยู่ แต่ก็ไม่สามารถปล่อยวางธุรกิจ ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง ยั ง คงกุ ม อ� ำ นาจการ ตั ด สิ น ใจโดยเฉพาะเรื่ อ งทางการเงิ น การลงทุนใหม่ๆ ในอนาคต แม้นว่าหลาย คนอาจปล่อยมือเรื่องการบริหารรายวัน เช่นการบริหารหน้าร้าน - การขาย - การ ตลาด – งานบุคคล - งานธุรการ และงาน อื่นไปให้ลูกและลูกจ้างที่อยู่กันมานาน รับงานไปท�ำแต่พวกเขาก็ยังคงมีอ�ำนาจ การตัดสินใจ เรื่องส�ำคัญๆ อยู่ ผมเห็ น เถ้ า แก่ ห ลายคนไม่ เ ข้ า มา ท�ำงานไปท่องเที่ยวหลายวันได้ แต่ก็ยัง ไม่ มี อิ ส รภาพอย่ า งแท้ จ ริ ง ยั ง คงกั ง วล กั บ ธุ ร กิ จ อยู ่ เ หมื อ นเดิ ม สุ ด ท้ า ยก็ คื อ ดู เหมือนปล่อยวาง แต่ความจริงก็ยังถือ ไว้อยู่ดี หลายคนที่ลูกไม่มีความสามารถ ไม่ รั บ ช่ ว งต่ อ ก็ อ ยู ่ ใ นอาการกลื น ไม่ เ ข้ า คายไม่ออก จะท� ำ ต่ อ ก็ เ หนื่ อ ยมามาก พอแล้ ว จะวางมื อ ก็ ไ ม่ รู ้ จ ะให้ ใ ครรั บ จะเลิกกิจการก็เสียดายที่อุตส่าห์สร้าง มากับมือ สภาพที่โตก็ไม่ได้ ตายก็ไม่ เป็น ท�ำให้พวกเขาตกอยู่ในที่นั่งล�ำบาก พยายามหามืออาชีพมาบริหารก็ท�ำใจไม่ ได้ กับการถูกขออ�ำนาจการตัดสินใจใน การบริหารและค่าจ้างที่แพงมากเกินไป กลัวว่าที่ได้มาก็ไม่ใช่มืออาชีพจริงๆ ค่า จ้างก็สูง แต่ท�ำงานได้ไม่คุ้ม บางคนก็เข็ด

นครศรีธรรมราช

หลาบกับพวกมือปืนรับจ้างประเภทย้อม แมวขาย หลายคนต่างก็ไม่มั่นใจในความ เป็นมืออาชีพของลูกจ้างที่เข้ามารับช่วง ต่อ จะส่งต่อให้กับลูกจ้างเก่าที่อยู่ก็รู้อยู่ เต็มอกว่ายังไม่สามารถปล่อยมือได้ ผมไปเจอเถ้าแก่แบบนี้หลายรายที่

ติดต่อเข้ามาเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ ผม มักจะถามเขากลับไปก่อนที่จะรับงานที่ ปรึกษาว่า คุณมีเป้าหมายในการเกษียณ ไว้อย่างไร? ค�ำถามแรก “ท�ำไมคุณต้องเกษียณ มีเหตุผลอะไรกับชีวิตของคุณ เขียนมา ให้ดูหน่อยได้มั้ย” หลังจากนั้นเราค่อย มาคุยกันว่าจะต้องท�ำอย่างไรบ้าง ท�ำไม ผมต้องถามค�ำถามนี้กับเถ้าแก่ที่จะจ้าง ผม ก็เพราะถ้าเขาเองยังไม่สามารถตอบ ค�ำถามนี้ให้กับตัวเองให้ชัดเจนว่าเขามี เหตุ ผ ลอะไรที่ ต ้ อ งเกษี ย ณภายในเวลา ที่ก�ำหนดไว้ ก็ยากที่คนมาเป็นที่ปรึกษา

หน้า ๗

จะช่วยเขาได้ จริงอยู่เจอค�ำถามนี้หลาย คนก็ ค งยั ง ต้ อ งใช้ เวลาหาค� ำ ตอบให้ ตั ว เอง ผมจึงให้เวลาเขากลับไปคิดไตร่ตรอง ถามตัวเอง ทะเลาะกับตัวเองให้จบว่า จริงแล้วระดับความต้องการของเขาเป็น อย่างไร ๑. ระดับแค่อยาก ไม่ได้ไม่เป็นไร รอได้ - ค่อยว่ากันใหม่

๒. ระดับต้องการให้เกิดขึ้นจริงไม่ ได้ต้องได้ ๓. ระดั บ ที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น อย่ า แรง กล้าจะต้องเกษียณให้ได้ภายในเวลา ฉัน ยินดีที่จะเปลี่ยนแปลงทุกอย่างเพื่อการ เกษียณในชีวิตนี้ ผมพบว่าเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ ที่สุดในชีวิตก็คือ การที่ต้องเผชิญหน้ากับ ความไม่เชื่อมั่นในตัวเอง และความคุ้น เคย เคยชินกับพฤติกรรมเดิมๆ ของตัว เอง ดังนั้นเป็นเหตุผลธรรมดาที่ในชีวิต ของเรา สิ่งส�ำคัญที่สุดมีเพียงตัวเราเอง กับความไม่เชื่อมั่นในตัวเขาเองเท่านั้น มั น ง่ า ยที่ ค นเราจะใช้ ชี วิ ต แบบเดิ ม ๆ ไปทั้งชีวิต และสุดท้ายผมก็ไม่เคยได้ค�ำ ตอบจากเถ้ า แก่ ที่ ผ มเป็ น ที่ ป รึ ก ษาเลย เขาอาจมี ค� ำ ตอบแต่ ไ ม่ ก ล้ า บอกความ จริ ง กั บ ผม หรื อ เขาไม่ มี ค� ำ ตอบเพราะ ความจริ ง ก็ คื อ เขาคื อ ต้ น เหตุ ข องการ เปลี่ ย นแปลงในชี วิ ต เขาและธุ ร กิ จ ของ เขาเองต่างหากครับ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

<< ต่อจากหน้า ๑

ประกอบด้วยนางสาวสาคร แดงงาม ผู้ช่วย พาณิชย์จังหวัดนครฯ, นางสุรีภรณ์ สุทธิพันธ์ นั ก วิ เ คราะห์ น โยบายและแผนช� ำ นาญการ ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดฯ, นาย ณรงค์ คงมาก ประธานสหกรณ์นครผักผลไม้ จ�ำกัด, นางรัตนา อินทฤทธิ์ เครือข่ายโอท็อป จังหวัดนครฯ และตัวแทนจากห้างสรรพสินค้า ชื่อดัง เปิดตัวตราสัญลักษณ์และผลิตภัณฑ์ที่ได้ ตรารับรอง ณ บ้านท่านขุน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครฯ ‘รักบ้านเกิด’ เคยน�ำเสนอโครงการคัด เลื อ ก พั ฒ นา ติ ด ตราสั ญ ลั ก ษณ์ การจั ด หา ตลาด และการประชาสัมพันธ์ โครงการ Nakhonsi Quality Brand มาแล้ว จึงน�ำเสนอ ความก้าวหน้าของโครงการต่อไป รองผู้ว่าฯ ทรงพล กล่าวว่าขบวนการ จั ด การคั ด เลื อ กผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ประดั บ ตรา รับรองสินค้าและบริการคุณภาพของจังหวัด เป็นนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ต้องการ ตอบสนองนโยบายของรั ฐ บาลในการเพิ่ ม รายได้จากสินค้าโอท็อปโดยวางแผนท�ำงาน เชิ ง รุ ก แบบก้ า วกระโดดแต่ ยั่ ง ยื น โดยมอบ หมายให้ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดรับผิดชอบ โครงการนี้ใช้แนวทางการตลาดน�ำ ตามด้วย การผลิต การประชาสัมพันธ์สนับสนุน ประสานความร่วมมือกับหอการค้าจังหวัดฯ สภา

อุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดฯ และชมรมผู้ประกอบการร้าน อาหารจั ง หวั ด ฯ โดยน� ำ สิ น ค้ า ไปแสดงและ จ�ำหน่ายเพื่อสร้างตลาด และสร้างความรับรู้ ต่อตราสัญลักษณ์และบริการรูป ‘ลายนิ้วมือ พระบรมธาตุ ’ ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาให้ มี คุณภาพมาตรฐาน ‘ดี เด่น โดน’ ให้ลูกค้ามั่นใจ ขณะนี้ได้เปิดร้านจ�ำหน่ายของฝากที่สนามบิน นครฯ ที่ยกฐานะเป็นสนามบินศุลกากรแล้ว การหาตลาดอีกรูปแบบคือส่งทีมงานเซลส์แมน พร้อมแคตตาล็อกสินค้ากับเอกสารดีเด่นโดน “เราตะลุยไปทุกภาคโดยเน้นร้านขายของฝาก พบว่ามีร้านของชาวปักษ์ใต้อยากซื้อสินค้าของ เรา แล้วเราเป็นจังหวัดเดียวที่ไปแสดงสินค้า เราจะท�ำอย่างไรให้สินค้าได้มาตรฐาน” รองผู้ว่าฯ ทรงพลกล่าวว่า ห้างสรรพสินค้าต่างๆ มีความต้องการส้มโอแสงวิมาน สู ง มากจนผลิ ต ไม่ ทั น สหกรณ์ น ครผั ก ผลไม้ รวบรวมสินค้าคุณภาพไปส่งตลาดโมเดิลเทรด ไม่ทัน “เราจะโฆษณาสินค้าที่จังหวัดนครฯ รับ ประกันคุณภาพในหนังสือพิมพ์ และรายการ ทีวี อาหาร ‘นครหรอยดี’ จะกระจายไปทั่วร้าน ชาวปักษ์ใต้ใน กทม.และจังหวัดต่างๆ เราขอ ให้ ร ้ า นของคนนครฯ ทั่ ว ประเทศขายสิ น ค้ า โอท็อปของเมืองนคร..เดือนกันยายนเราตอกย�ำ้ นครหัตถศิลป์โดยลงโฆษณาหนังสือพิมพ์ทั่ว

ประเทศว่าสินค้าของนครฯมีทั่วประเทศ ร้าน ก็ได้เราก็ได้” รองผู้ว่าฯทรงพล กล่าวกับผู้ฟังว่า “ต่อ จากนี้เราจะเร่งสร้างตราสัญลักษณ์เชื่อมโยง กับแหล่งผลิตเพราะของนครมีอยู่หลายตัว เช่น ส้มโอแสงวิมาน ปลาช่อนร้าบ่อล้อ หมี่เหลือง นาบอน รังนกปากพนัง เป็นต้น เรามีประมาณ ๑๐๐ รายการ ซึ่ ง มี ค ณะท� ำ งานคั ด สรรและ ควบคุ มคุ ณ ภาพให้ ไ ด้ มาตรฐาน แล้วให้ตรา สัญลักษณ์พัฒนาเข้าเชื่อมกับมาตรฐาน มวก. ยกระดับมาตรฐานและราคาที่ชัดเจน เราจะไป ได้แน่นอน” นางสาวสาคร แดงงาม ผู้ช่วยพาณิชย์ จังหวัด กล่าวว่า ผู้ประกอบการสามารถขอ ใบสมัครที่ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดฯ พร้อม เอกสารสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ ขณะนี้มีผู้ประกอบการหลายรายยื่นใบสมัคร มาแล้ว เซลส์แมนท�ำการตลาดทั่วประเทศและ มีการประสานเบื้องต้น “สินค้าที่ได้รับความ สนใจสูงสุด ได้แก่ มังคุดกวน ทุเรียนกวน ผ้า บาติ ก เราไปมา ๑๐ กว่ า จั ง หวั ด มี สั่ ง ซื้ อ ประมาณ ๕๑ รายการ บางรายการผลิตไม่ทัน” นางสุ รี ภ รณ์ สิ ท ธิ พั น ธ์ นั ก วิ เ คราะห์ นโยบายฯ เล่าว่า ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดฯ ได้รับงบฯพัฒนาจังหวัดปี ๒๕๕๖ ให้ น�ำสินค้าไปแสดงในงาน ‘ฮอร์ติเอเชีย’ ซึ่งเป็น งานของภู มิ ภ าคเอเซี ย แปซิ ฟ ิ ค ที่ ศู น ย์ ไ บเทค บางนา ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ “เขาสนใจตัวสินค้าของเรามาก งานนี้มีหลาย ประเทศมาเปิดบูธ มีคนที่มาหาของไปขายใน ประเทศตัวเอง เราได้คุ้มมาก..มังคุดภูเขา เงาะ สั่งได้ ส้มโอทับทิมสยาม ข้าวไรซ์เบอรี่ มีเจ้า หนึ่งมาติดต่อ เขาอยากได้สินค้าที่ผู้ผลิตมีใจ ผลิต มีความปลอดภัย และนึกถึงผู้บริโภคเป็น หลัก..ฮ่องกง จีน รัสเซีย ต้องการส้มโอ ขอ ออเดอร์สัปดาห์ละ ๒๐๐ ลูก หาไม่ได้ ข้าวทาง

รายงาน ต่อด้วยเพลงบอก / กลอนหนังตะลุงว่าด้วย ‘อั ง คารคนนคร’ โดยนายหนั ง บุ ญ ธรรม เทอดเกียรติชาติ ๑๐.๓๐ น. ประกอบพิ ธี ส งฆ์ รั บ ศี ล บังสุกุลอัฐิอังคาร กัลยาณพงศ์ ถวายปัจจัย ไทยธรรม และถวายภัตตาหารเพล ๑๑.๓๐ น ผู้ร่วมงานร่วมรับประทาน อาหารร่วม ๑๓.๓๐ น. เริ่มพิธีบรรจุอัฐิ ประกอบ ด้ ว ยการกล่ า วสดุ ดี เ กี ย รติ คุ ณ อั ง คาร กั ลยาณพงศ์ พระสงฆ์ เจริญ พระพุทธมนต์ ประธานสงฆ์ ป ระกอบพิ ธี บ รรจุ อั ฐิ ณ ซุ ้ ม เสมาพระอุโบสถ ประธานกล่าวปิดงานและ ขอบคุณผู้ร่วมงาน นายวรา เปิ ด เผยว่ า ก่ อ นเสี ย ชี วิ ต อังคาร กัลยาณพงศ์ ก�ำชับกับหลาน ชื่อนาง สมจิตต์ ชัยมุสิก ว่าถ้าน้าตายให้พาน้ากลับ บ้านด้วย พาไปอยู่กับพ่อแม่และพี่สาวที่ใบ เสมารอบโบสถ์ วัดท่าโพธิ์วรวิหาร หลานๆ

ของท่านจึงมาหารือกับตน ซึ่งนับถือท่านเป็น ครู ขณะอั ง คารเป็ น กรรมการมู ล นิ ธิ โ รคตั บ ก็ได้มอบภาพเขียนน�ำมาท�ำ ส.ค.ส.จ�ำหน่าย หาเงินสมทบทุน และออกแบบตราสัญลักษณ์ ให้มูลนิธิ ตนคิดว่าไม่ควรน� ำอัฐิกลับไปบรรจุ

เฉยๆ ควรท�ำอะไรเพื่อเป็นเกียรติแก่ท่านและ เมืองนครด้วย “ผมจึงปรึกษากับอาจารย์ฉัตรชั ย ศุ ก ระกาญจน์ ประธานสภาวั ฒ นธรรม จังหวัดนครฯ และคุณหมอบัญชา พงษ์พานิช เมืองนครมีศรีปราชญ์กับอังคาร แต่ศรีปราชญ์ เขียนไว้น้อยมาก เมื่อเปรียบกับอังคาร จึงมี การเสวนาและกิจกรรมอื่นๆ ตามสมควร” นายวรา เปิดเผยว่า เพราะความใกล้ชิด ตนจึงทราบว่า อังคาร กัลยาณพงศ์ มีความรู้สึก ค้ า งคาใจอยู ่ ๒ เรื่ อ ง คื อ เมื อ งนครซึ่ ง เป็ น บ้านเกิดไม่ค่อยสนใจกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ไม่ ชื่ น ชอบ ตนและกองทุ น สิ ป ปปชาจึ ง จั ด งานเทิ ด เกี ย รติ คุ ณ ของอั ง คารที่ คี รี ว ง เมื่ อ ปี ๒๕๕๑ และจั ด งานมุ ทิ ต าจิ ต ครบ ๘๕ ปี ร่ ว มกั บ สถาบั น บั ณ ทิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ต่อมา อังคาร กัลยาณพงศ์ ได้รับพระราชทานปริญญา ดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร

ไต้หวันตอบรับ ผ้ามัดย้อมที่เราตกแต่งบูธเขาก็ ซื้อ เขาต้องการมะละกอจากร่อนพิบูลย์วันละ ๒.๕ ตัน แต่เรารวบรวมผลผลิตให้ไม่ได้” นายณรงค์ คงมาก กล่ า วว่ า ปั จ จุ บั น ตลาดใหญ่ขึ้นจนหาผลผลิตไม่ทัน ห้างแมคโคร และห้างใหญ่ๆ ในกรุงเทพฯท ต้องการมาก จุด รวบรวมผักอยู่ลานสกากับบ้านไม้หลา ส่งขึ้น กรุงเทพฯ โดยรถห้องเย็น การขนส่งค่อนข้าง มีปัญหา.. ตัวแทนจากห้างเดอะ มอลล์ กล่าวว่า ห้างเดอะ มอลล์มีนโยบายวางสินค้าโอท็อปที่ เป็นของดีปักษ์ใต้ ซึ่งมีสินค้าจากจังหวัดนครฯ มากที่ สุ ด เพราะว่ า ลู ก หลานชาวใต้ อ าศั ย อยู ่ จ�ำนวนมาก สินค้าโอท็อปของนครฯ มีจ�ำหน่าย ในเดอะ มอลล์ กรุงเทพฯ ทุกสาขา ตัวแทนจากห้างท็อปนครฯ (Top) กล่าว ว่า มีสินค้าโอท็อปนครฯ หลายตัวขายอยู่แล้ว และได้รับการตอบรับอย่างดี ที่บางนา ปิ่นเกล้า ลาดพร้าว ต้องการอย่างมากผลิตไม่ทัน “สาขา นครฯ ผักสดปลอดสารพิษ อ.พระพรหมขาย มาหลายปี แต่ไม่พอกับความต้องการของลูกค้า ผั ก พื้ น บ้ า นหายากมากๆ เราอยากให้ ผ ลิ ต ได้เพียงพอกับความต้องการ ตอนนี้ Top ปรับปรุงใหม่ ผลิตภัณฑ์โอท็อปนครฯ สนใจติดต่อ ได้ เราอยากสนับสนุนสิ่งดีๆ ของเมืองนคร” ตัวแทนจากห้างแมคโครนครฯ เปิดเผย ว่า ห้างลงนามข้อตกลงน�ำผลิตภัณฑ์โอท็อป มาขาย “ผักพื้นบ้านของคีรีวง ผักกูด ผักกางมุ้ง ได้รับการตอบรับอย่างดี สินค้ายังผลิตไม่พอ.. ใครมี สิ น ค้ า ดี ๆ ติ ด ต่ อ ที่ แ มคโครนครฯ เรา ประสานงานได้ทั่วประเทศ” ผจก.ฝ่ายจัดซื้อภาคใต้ของแมคโคร กล่าว เพิ่มเติมว่า “อยากมีส ่วนร่วมให้ทั้งประเทศ รู้จักสินค้าโอท็อปนครฯ เราสามารถน�ำไปขาย ส่วนกลาง และเอาไปกระจายทั่วประเทศได้”

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครฯ อั ง คาร กั ล ยาณพงศ์ เกดเมื่ อ วั น ที่ ๑๓ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๔๖๙ ณ บ้ า นหลั ง วั ด จันทาราม ต.ท่าวัง อ.เมือง จ.นครฯ เรียนชั้น ประถมที่ โ รงเรี ย นวั ด จั น ทาราม โรงเรี ย น วั ด ใหญ่ โรงเรี ย นเบญจมราชู ทิ ศ โรงเรี ย น เพาะช่างและ มหาวิทยาศิลปากร เป็นศิษย์ ของ ศ.ศิลป์ พีระศรี, เฟื้อ หริพิทักษ์ และ เฉลิม นาคีรักษ์ ศึกษาค้นคว้างานด้านต่างๆ ทั้งศิลปกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์ ชอบแต่งกวีมาตั้งแต่ยังหนุ่ม มีผลงานได้แก่ นิ ร าศนครศรี ธ รรมราช และ ปณิ ธ านกวี เป็นต้น บทกวีของท่านแตกต่างจากของกวี ทั่วๆ ไป ผลงานจิตรกรรมก็สวยงามล�้ำลึกไม่ เหมือนใคร อั ง คาร กั ล ยาณพงศ์ เสี ย ชี วิ ต เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ สิ ง หาคม ๒๕๕๕ ญาติ ๆ และ บุคคลที่เคารพนับถือ น�ำ ‘อังคาร’ กลับบ้าน ในวันครบรอบ ๑ ปี แห่งการจากไป


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

เช่น บ้างก็ว่าแท้จริงชื่อพระสิหิงค์มาจากค�ำมอญว่า สฮิงสแฮ แปลว่าสวยงาม บ้างว่าองค์ที่กรุงเทพนั้น คนหยิบเลือกเอา องค์ในหอพระที่เป็นปางสมาธิเพราะมีความรู้ว่าพระจากลังกา เป็นปางสมาธิ ในขณะที่องค์อื่นๆ ของแต่ละท้องถิ่นก็มีต�ำนาน << ต่อจากหน้า ๒ ท้องถิ่นว่าเป็นองค์แท้และดั้งเดิมทั้งสิ้น องค์ที่นครที่มีการกล่าวในท�ำนองเดียวกันว่า ๔) ด้ ว ยต� ำ นานที่ สื บ เนื่ อ งมานานว่ า สร้ า งท� ำ อย่ า ง เก็บองค์จริงไว้ จ�ำลองให้พ่อขุนรามไป โดย เหมือนพระพุทธองค์ เป็นที่รวมซึ่งอิทธานุภาพ ๓ ประการ คือ เก็บรักษาในหอพระของจวนเจ้าเมืองซึ่งต่อ อธิ ษ ฐานพละของพระอรหั น ต์ อธิ ษ ฐานพละของเจ้ า มาเปลี่ยนเป็นศาลากลางจังหวัด พร้อมกับ ลังกา และศาสนพละของพระพุทธองค์ กระท�ำให้พระพุทธสร้างเป็นหอพระพุทธสิหิงค์ถึงทุกวันนี้และ สิหิงค์เป็นพระพุทธปฏิมากรที่ทรงอานุภาพ ในตอนหนึ่งของ น่าเสียดายที่ดูเหมือนจะเหลือบทบาทเดียว สิ หิ ง คนิ ท าน พระโพธิ รั ง สี กล่ า วว่ า “พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ เ มื่ อ คือ เป็นที่สาบานตนรวมทั้งบนบานในการขึ้น ประทับอยู่ ณ ที่ใด ย่อมทรงท�ำให้พระพุทธศาสนารุ่งเรือง ศาลเมื่อมีคดีความ ดั่ ง ดวงประที ป ชั ช วาล เหมื อ นหนึ่ ง ว่ า พระพุ ท ธเจ้ า ยั ง ทรง ๓) ไม่อาจสรุปได้ว่าองค์ไหนคือองค์ พระชนม์ชีพอยู่” ดั้งเดิมจากลังกาตามต�ำนานสิหิงคนิทาน พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ ผู้รวบรวมต�ำนานพระพุทธสิ พระสิหิงค์ กรุงเทพฯ แต่จากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะ พระ toluvila ลังกา หิงค์ กล่าวถึงว่า “อย่างน้อยก็สามารถบ�ำบัดทุกข์ร้อนในใจให้ มีข้อพิจารณาดังนี้ เหือดหาย ผู้ใดมีความทุกข์ร้อนในใจท้อถอยหมดมานะด้วย ก. ไม่มีต�ำนานเรื่อง เหตุใดเหตุหนึ่ง ถ้าได้มาจุดธูปเทียนบูชาและนั่งนิ่งๆ มองดู นี้ ท างฝ่ า ยลั ง กา รวมทั้ ง องค์พระสัก ๑๐ นาที ความทุกข์ร้อนในใจจะหายไป ดวงจิต ไม่มีพระพุทธสิหิงค์ดั้งเดิม ที่เหี่ยวแห้งจะกลับมาสดชื่น หัวใจที่ท้อถอยหมดมานะจะกลับ ที่ ลั ง กาเลย มี แ ต่ ที่ ค น เข้มแข็งมีความมานะพยายาม ดวงจิตที่หวาดกลัวจะกลับกล้า ไทยเพิ่งน�ำไปถวายในภาย หาญ ดวงจิตที่เกียจคร้านจะกลับขยัน ผู้ที่หมดหวังจะกลับมี หลั ง ผมกั บ แม่ แ ละน้ า ก็ ความหวัง” เคยน�ำไปถวายไว้องค์หนึ่ง ๕) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ได้สร้างพระ เมื่ อ คราวไปแสวงบุ ญ กั น พุ ท ธสิ หิ ง ค์ อ งค์ ใ หญ่ ขึ้ น ประดิ ษ ฐานที่ เ ชิ ง เขามหาชั ย ผมได้ ที่นั่น เสนอแนะให้เป็นอุทยานและศูนย์การเรียนรู้พระพุทธสิหิงค์ พระสิหิงค์ ราชภัฎ ภาพจากคุณอ�ำนวย ทองทะวัย พระสิหิงค์ เชียงไหม่ ข. พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ด้ ว ยการประมวลรวบรวมพระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ต ่ า งๆ จากทั่ ว ทั้ ง ทั้ง ๓ องค์หลัก มีลักษณะตามศิลปะของท้องถิ่น คือ องค์ ส่วนองค์อื่นๆ นับสิบๆ องค์ที่มีในเมืองไทยนั้นมีศิลปะและปาง ประเทศมาประดิ ษ ฐานไว้ พ ร้ อ มกั บ ต� ำ นานเรื่ อ งราวทั้ ง หลาย เมืองนครเป็นปางมารวิชัย ลักษณะขนมต้มเมืองนคร องค์ แตกต่างกันไป เชื่อว่าสร้างท�ำกันในแต่ละท้องถิ่นด้วยคตินิยม รวมทั้งการพัฒนาประเพณีสรงน�้ำสงกรานต์ส�ำคัญขึ้น ณ ที่นี้ เชียงใหม่ก็เป็นปางมารวิชัย ลักษณะแบบพระสิงห์เชียงแสน ร่วม หรือไม่ก็เป็นองค์ต้นแบบของแต่ละท้องถิ่นตามคตินิยม องค์กรุงเทพเป็นปางสมาธิ ศิลปอย่างสุโขทัย-อยุธยา ทั้งนี้ ร่วม บัญชา / บ้านท่าวัง กทม. พระพุทธรูปฝ่ายลังกานิยมปางสมาธิ พบปางมารวิชัยน้อยมาก ค. มีการศึกษาค้นคว้าตีความอีกมากมายหลายกระแส ๒๑ กค.๕๖

<< (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค ชวน ชวนคยุ

ได้บังคับให้ท�ำนะครับ แต่ผมเสนอเป็นแนวคิดให้ชาวเมืองได้ รับทราบ เพราะผมได้ท�ำเสนอไปก่อนแล้ว ในเดื อ นนี้ ยั ง มี ง านส� ำ คั ญ ของชาวนครอี ก งานหนึ่ ง คื อ วันที่ ๒๕ สิงหาคมนี้จะมีการจัดงาน วันรับอังคารกลับบ้าน เกิด ณ ซุ้มเสมาพระอุโบสถของวัดท่าโพธิ์วรวิหาร ซึ่งเป็น สถานที่ บ รรจุ อั ฐิ ข องบิ ด ามารดา และพี่อยู่แต่เดิม ในการนี้ ไ ด้ มี ผู ้ ที่ ใ ห้ ค วาม เคารพนั บ ถื อ ท่ า นอั ง คาร และ องค์ ก รต่ า งๆ ได้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ร� ำ ลึ ก ถึ ง ท่ า น เช่ น จั ด นิ ท รรศการ จัดเสวนาโดยผู้ที่ใกล้ชิดติดตามงาน ท่านมาโดยตลอด น�ำมาเล่าสู่กันฟัง มีเหล่านักกวีมาขับขานบทกวีสดุดี เพลงบอกมโนราห์ขับขานตลอดงาน รายละเอียดก�ำหนดการ งานดูได้จากรักบ้านเกิดฉบับนี้ ส่วนที่ผมเป็นห่วงสุดคือ การให้ความส�ำคัญกับกวีเอก

แห่งสยาม ยุคปัจจุบันของคนนคร ของสื่อชาวนคร ทั้งๆ ที่ เป็ น กิ จ กรรมเพื่ อ ร� ำ ลึ ก ถึ ง ยอดกวี ช าวนคร คนเมื อ งหลวง ท่านเป็นคนนคร คนบ้านอื่นเมืองอื่นต่างยกย่อง แต่หน่วยงาน ยกย่องท่านว่าเป็น “กวีเอกแห่งรัตนโกสินทร์” ยุคปัจจุบัน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนกลับให้ความส�ำคัญ ยกย่องเทิดทูน ๒๐ ส.ค.๕๖ น้อยกว่าเด็กสอบได้เหรียญทอง หรือสอบเข้าในสถานศึกษา บางแห่ ง ได้ ขึ้ น ป้ า ยชื่ น ชมกั น ใหญ่ โ ต หรื อ ลงทุ น ขึ้ น โฆษณา

งานที่ดึงเด็กๆ ดาราหนังมาร่วมงานร่วมปีใช้ทุนมากมาย มี สายสืบให้รู้ว่าใครตาย จะได้แย่งกันเอาหรีดไปวางโชว์ชื่อตัว เองเป็นสง่า แต่กวีผู้ยิ่งใหญ่ชาวนครท่านนี้กลับบ้านเกิด คน ใหญ่คนโตทราบบ้างหรือไม่ บ่นให้ฟังตามประสาคนแก่ ใคร สนใจไปร่วมงานบุญกันได้ ส่วนกิจกรรมเสริมที่เรียนไว้แต่ต้น


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โปรดพิจารณาศึกษาตัวอย่าง ผลงานบางส�ำนวน ดังนี้ หลักการเล่นเพลงบอก

ตอนที่ ๑๓

ค่านิยมเกี่ยวกับการอวยพร นิยมการอวยพรให้ศีลให้พร เมื่อผู้น้อยหรือผู้เยาว์จะอ�ำลาจากผู้ใหญ่ เช่นบุตรลาพ่อแม่ ศิษย์ ลาครูอาจารย์ ฯลฯ ค่านิยมในการเคารพครูบาอาจารย์ สังคมไทยถือว่าครูบา อาจารย์ เป็นปูชนียบุคคล ที่ควรเคารพยกย่องกราบไหว้ให้มา คุ้มครองรักษา ค่านิยมเกี่ยวสถาบันชาติ เราทุกคนต้องช่วยกันรักษาชาติ ของเราไว้ ไม่ให้ตกเป็นเมืองขึ้นของใคร มีความรัก สามัคคี เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ค่านิยมเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ปวงชนให้การ เคารพยกย่องเทิดทูน มีความจงรักภักดี และยอมพลีชีพถวาย เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น ค่านิยมเกี่ยวสถาบันศาสนา นิยมปฏิบัติตามค�ำสอนใน ๒) คุณค่าทางวัฒนธรรม สะท้อนให้เห็นค่านิยม ทาง พระพุทธศาสนา นิยมสร้างบุญกุศลตามแนวทางของศาสนา สังคม ความเชื่อ ประเพณี คติสอนใจ ฯลฯ ไม่นิยมการท�ำชั่วตามข้อบัญญัติของศาสนา และยึดเอาพระ ๒.๑) ค่านิยมทางสังคม รัตนตรัยเป็นที่ตั้ง ค่านิยมเกี่ยวกับสตรี สตรีจะต้องมีคุณสมบัติของกุลสตรี ฯลฯ เช่น มีกิริยามารยาทงดงามในทุกอิริยาบถ รักนวลสงวนตัว อยู่ ในโอวาทและเชื่อฟังผู้ใหญ่ รู้จักจัดการบ้านการเรือน และสตรี โปรดพิจารณาศึกษาตัวอย่าง ที่ดีต้องรู้จักเลือกหาบุรุษที่ดีมาเป็นคู่ครอง ตัวอย่างผลงานบางส�ำนวน ดังนี้ ค่านิยมยกย่องผู้มีการศึกษา ผู้มีการศึกษา มีสติ ปัญญา พัฒนาคน เฉลียวฉลาด และมีความสามารถ จะเป็นที่ยอมรับของสังคม และสามารถที่จะช่วยเหลือรับใช้สังคมได้มากขึ้น เราเกิดมาอาศัยอยู่ในโลก นับว่าโชคแสนดี ค่านิยมในเรื่องความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ต้อง เพราะโลกเรานี้รุ่งเรือง เหมือนไม่ใช่เมืองคอน รู้จักร�ำลึกตอบแทนบุญคุณกับผู้มีพระคุณทั้งหลาย สวยงามตึกร้านบ้านช่อง ตึกสูงระล่องระฟ้า ค่านิยมเรื่องการเสียสละของพ่อแม่ พ่อแม่ต้องมีความ สวยงามเสื้อผ้าสมบูรณ์ อาหารก็พูนผล รัก ความเสียสละ ยอมท�ำทุกอย่างเพื่อลูกโดยไม่หวังผลตอบ มากด้วยรถราจราจร เครื่องบินก็ว่อนอยู่เบื้องบน แทนใดๆ ประชาชนสวยเก๋ เสพสุขเหมือนเทวา การเล่นเพลงบอกถ้าไม่ลอกแบบ เรื่องนี้มันแยบยลหนัก เราต้องรู้จักฑีฆะรัสสะ ให้เข้าจังหวะเสียง สัมผัสสูงต�่ำต้องจ�ำจด ให้เป็นนิพจน์เรียบเรียง ไม่ใช่ว่าเพียงส่งข่าว โดยเราไม่เข้าใจ เช่นเขาใช้ผมให้ชมม้า ว่าหางม้วนเหมือนหมาก็อดสู ทั้งงอกงาอยู่ข้างหน้า ไม่รู้ว่าม้าไหร คืนนี้ญัตติที่เขาบอกมา ยังไม่รู้ว่าอย่างไร น้องอย่าว่าไปให้เบื่อ ตัดเอาแต่เนื้อความ ท่านผู้ให้คะแนนเขาแสนรู้ เมื่อท่านฟังดูข้อความ เห็นว่าสวยงามคล้องจอง ที่หนึ่งจะล่องมา ฯลฯ

เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ กับบุตรี-บุตรเขย

แต่ภายในจิตใจมนุษย์ มันกลับเสื่อมทรุดโทรมทราม ข้างนอกสวยงามข้างในทุเรศ พอกด้วยกิเลสหนา เห็นแต่ส่วนตัวไม่กลัวบาป ละโมบโลภลาภกามา ริษยาพยาบาท ฆ่ากันไม่ขาดวัน จึงร้อนเหมือนไฟประลัยโลก สายเลือดไหลโชกชโลมดิน สังคมสิ้นสุขสันติ จนแทบไม่มีขวัญ เพราะเดินหลงทางจึงสร้างทุกข์ เห็นแต่ความสุขส่วนตัวกัน เพราะลืมสร้างสรรค์ลืมศึกษา ลืมพัฒนาคน พระพุทธองค์ทรงสอน ให้เวไนยนิกรศึกษา อบรมกายวาจาและจิตใจ ให้เลิศวิไลผล

เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ วันอังคาร ที่ ๖ สิงหาคม วันพุธ ที่ ๑๔ สิงหาคม วันพุธ ที่ ๒๑ สิงหาคม วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ สิงหาคม

เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำเดือน ๙ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำเดือน ๙ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำเดือน ๙ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำเดือน ๙

กับศิลปินแห่งชาติร่วมรุ่น สวง ทรัพย์ส�ำรวย (ล้อต๊อก) อบรมกายให้สุจริต เลิกล้างความคิดเป็นพาลชน ทั้งไม่ฆ่าคนไม่ฆ่าสัตว์ ให้เขาวิบัติไป ทั้งไม่ลักทรัพย์อัปยศ ทั้งไม่ผิดกฎกามกิจ ผิดลูกผิดเมียเลว เป็นเรื่องที่เหลวไหล อบรมวาจาอย่าพูดปด ค�ำหยาบก็ต้องงดโดยไว พูดส่อเสียดให้เขาแตกกัน เป็นค�ำที่อันตราย เอาค�ำเพ้อเจ้อมาเจรจา มันเสียเวลาไร้ผล ทั้งให้โทษตนให้โทษท่าน เราควรประมาณหมาย อบรมใจให้ไกลโทษ โทสะกริ้วโกรธอย่ากล�้ำกราย ความงมงายโมหะ เราควรจะละวาง การเข่นฆ่าพยาบาท เป็นเรื่องร้ายกาจกิเลส เป็นสาเหตุความเดือดร้อน พระสอนให้สะสาง ตามโอวาทประสาทสอน ละชั่วบาปบทจรให้เบาจาง แล้วหันมาสร้างกรรมดี ให้เป็นศรีแก่สังคม ควรช�ำระสะสางจิต ล้างทุจริตให้สดใส นั้นแหละหัวใจพุทธศาสน์ ประกาศไว้เหมาะสม สังคมไทยในอดีต ที่มีจารีตนิยม เป็นสังคมของไทยพุทธ บริสุทธิ์ดี ควรยืนหยัดพัฒนา เอาศาสนาเป็นหลัก ให้มีสามัคคีสมาน เป็นเรื่องประสานศรี ลดละเลิกอบายมุข จะเกิดความสุขทวี เอาชีวิตพลีลงเพื่อชาติ เพื่อศาสน์กษัตริย์เรา ช่วยรักษาถิ่นแดนดินเกิด ช่วยกันเชิดชูเกียรติไทย ให้ศรีวิไลเอกราช อย่าให้เป็นทาสเขา วอนกราบพระสงฆ์ที่ทรงสิกขา ช่วยเทศนาแบ่งเบา สั่งสอนเยาวชนไทย ให้มีน�้ำใจงาม วอนกราบครูบาอาจารย์ด้วย โปรดช่วยกันช่วยสอนศิษย์ ให้สุจริตสมาทาน ให้ครบทวารสาม กราบข้าราชการที่ท�ำงานหลวง ทุกทุกกระทรวงพยายาม อย่าไปลวนลามโลกา รังแกประชาชน ขอวอนเตือนเพื่อนร่วมชาติ อย่าได้ประมาทเมามาย เร่งขวนขวายมัธยัสถ์ ป้องกันความขัดสน ถึงบ้านรุ่งเรืองถึงเมืองรุ่งโรจน์ ถึงเมืองเราช่วงโชติโสภณ ไม่ใช่จะคงทนถาวร ถ้าหลากคนยังคลอนแคลน ควรสร้างคนสร้างพลเมือง ให้เขาปราดเปรื่องปรีชา ได้ช่วยรักษาบ้านเมือง ขึ้นให้รุ่งเรืองแสน ควรยืนหยัดพัฒนา คุณภาพประชาทั่วแดน ให้ได้ตามแผนที่แจกแจง ดังสร้อยแสดงมา สมบูรณ์แบบแล้วบทเพลงบอก ที่ผมเอื้อนออกมาจากโอษฐ์ เสนอโสตท่านผู้ฟัง ให้สิ้นหวังความกังขา ขอสิ้นสุดยุติ เอาไว้เพียงนี้สักครา ผมกลัวยืดยาวเวลา เรื่องพัฒนาคน ฯลฯ

(อ่านต่อฉบับหน้า)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

บั บ ที่ แ ล้ ว ได้ เ ล่ า เรื่ อ งเมื อ งเก่ า ที่ มี ชื่ อ ว่า “เมืองตะกั่วถลาง” มาถึงฉบับนี้จะ ขอเล่าถึง “เมืองตานี” หรือ “เมืองปัตตานี” ซึ่ ง ยั ง เป็ น เมื อ งส� ำ คั ญ ในพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ในปัจจุบัน ค�ำว่า “ตานี” เป็นชื่อเมืองท่าริมทะเล อ่าวไทยที่เจริญมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๐ รู้จักกันในชื่อท้องถิ่นดั้งเดิมว่า “เมืองประแว” (ซึ่งน่าจะเพี้ยนมาจากค�ำ “พระวัง” หรือ “พระราชวั ง ”) ชื่ อ นี้ ใ นเอกสารต่ า งประเทศ แตกต่างกันไปตามส�ำเนียง และระยะเวลา ที่เปลี่ยนไป เช่น จีนเรียก ต้าหนี และ โผ่ต้า หนี่ อาหรับเรียก ฟาฏอนี ยุโรปเรียก ปตานี แต่เขียนแตกต่างไปหลายชื่อ เช่น Patane Patain Petani Patany Patanij Pathane Pathani Patanam Patania และ Potania ส่ ว นชาวมลายู แ ละชวาเรี ย ก ปาตานี หรื อ ปตานี ส่วนไทยเรียก ตานี หรือ เมืองตานี มา ตั้งแต่ครั้งเป็นเมืองประเทศราชของไทย และ เพิ่งมาเรียก ปัตตานี อย่างเป็นทางการเมื่อ รัฐบาลสยามประกาศจัดตั้ง มณฑลปัตตานี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ และเปลี่ยนค�ำว่า เมือง ปัตตานี เป็น จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็นต้นมา ศาสตราจารย์ดร.ครองชัย หัตถา แห่ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปัตตานีได้เคยกล่าวไว้ว่า เมืองปัตตานี หรือ ปั ต ตานี มี ชื่ อ เสี ย งในฐานะเป็ น เมื อ งท่ า ริ ม ทะเลอ่าวไทย (เช่นเดียวกับนครศรีธรรมราช) ตั้งแต่ปลายสมัยอาณาจักรโบราณลังกาสุกะ ท่าเรือปัตตานีตั้งอยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสม บนคาบสมุทรมลายู มีอ่าวขนาดใหญ่ส�ำหรับ จอดเรือ และมีแหลมคอยก�ำบังคลื่นลม ใน ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๓ ถือว่าเป็น ยุคทองของปัตตานี ตลอดทั้งปีมีเรือสินค้า จากชาติต่างๆ เข้ามาค้าขายเป็นจ�ำนวนมาก ส่ ง ผลให้ ป ั ต ตานี ก ลายเป็ น เมื อ งท่ า ขนาด ใหญ่ และมีฐานะเทียบเท่านครชั้นน�ำในเวลา นั้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าปัตตานีจะมีอิสระ ทางการค้ า กั บ ต่ า งประเทศ แต่ ใ นทางการ เมืองการปกครองแล้ว สยามถือว่าปัตตานี เป็นเมืองภายใต้อ�ำนาจการปกครองมาตั้งแต่ เมื่อครั้งสุโขทัยร่วมกับนครศรีธรรมราช ขยาย อ�ำนาจลงไปยังตอนล่างของคาบสมุทรมลายู ยามที่สยามอ่อนแอ ปัตตานีก็จะกลับมาเป็น อิสระ ไม่เฉพาะสยามเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อ ปัตตานี รัฐแถบทางใต้ของคาบสมุทรมลายู ต่ า งก็ ไ ด้ ข ยายอิ ท ธิ พ ลขึ้ น มาตอนบนของ คาบสมุ ท รมลายู เ ช่ น กั น ในทางภู มิ ศ าสตร์ ปัตตานี จึงเป็นรัฐชายขอบ (Marginal State) ที่มีการเปลี่ยนผ่านของอ�ำนาจ และมักตกอยู่ ภายใต้ อิทธิพลของรัฐอื่นอยู่เสมอ บางครั้ง อ�ำนาจของรัฐอื่นก็แผ่ขยายมาทับซ้อนกันจน

สร้ า งความสั บ สนให้ แก่รัฐผู้อยู่ใต้อ�ำนาจอยู่ เหมือนกัน ประทุม ชุ่มเพ็งพั น ธุ ์ นั ก โบราณคดี และอดีตหัวหน้าหน่วย ศิลปากรที่ ๘ (นครศรีธรรมราช) ปั จ จุ บั น เกษี ย ณอายุ ร าชการ แล้ว เคยวินิจฉัยไว้ว่า ปัตตานี หรือลังกาสุกะ มีอาณาเขตกว้างขวาง มี ก� ำ ลั ง อ� ำ นาจเที ย บ ได้กับอาณาจักรขนาด ย่ อ มแห่ ง หนึ่ ง ที เ ดี ย ว เพราะหลั ก ฐานทาง โบราณคดี ที่ ค ้ น พบยื น ยั น ในค� ำ กล่ า วนี้ เ ป็ น อย่างดี แต่ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าครั้งที่เจริญ สูงสุด มีอาณาเขตปกครองจากไหนถึงไหน ทราบเพี ย งว่ า ภายหลั ง เสื่ อ มอ� ำ นาจ ก็ ถู ก อาณาจั ก รตามพรลิ ง ค์ (นครศรี ธ รรมราช) ผนวกไว้ เ ป็ น ดิ น แดนเดี ย วกั น ในฐานะเป็ น เมืองหนึ่งในสิบสองนักษัตร และจัดเป็นหัว เมืองที่ ๒ ในท�ำเนียบเมืองสิบสองนักษัตร ถือตราวัว (ฉลู) เป็นตราประจ�ำเมือง อาณาเขตปกครองของปั ต ตานี หรื อ เมื อ งตานี ก ่ อ นหน้ า จะรวมอยู ่ ใ นอาณาจั ก ร นครศรีธรรมราชในฐานะเป็นเมืองบริวารนั้น มี อ าณาเขตด้ า นทิ ศ เหนื อ ติ ด เมื อ งสงขลา และเมื อ งพั ท ลุ ง ด้ า นทิ ศ ใต้ แ ผ่ ไ ปสุ ด แหลม มลายู ด้านทิศตะวันออกจดอ่าวไทย และด้าน ทิศ ตะวันตกจดฝั่งทะเลตะวันตกศูนย์กลาง ของเมื อ ง มี ลั ก ษณะคล้ า ยศู น ย์ ก ลางของ นครศรีธรรมราช คือมีก�ำแพงใหญ่ท�ำด้วยดิน ลักษณะเป็นวงรีล้อมรอบสามชั้น ตัวเมืองมี พื้นที่ราว ๓๐๐-๔๐๐ ไร่ อยู่ห่างจากแม่น�้ำ ปั ต ตานี ป ระมาณ ๓ กิ โ ลเมตร ก� ำ แพงดิ น แต่ละชั้นกว้าง ๔-๖ เมตร สูง ๑.๕๐ เมตร บนก�ำแพงปลูกต้นไผ่ไว้อย่างหนาแน่น นอก ก�ำแพงออกไปมีคูเมืองซึ่งลึกประมาณ ๒-๓ เมตร กว้างประมาณ ๕-๖ เมตร ก่ อ นที่ จ ะเปลี่ ย นมานั บ ถื อ ศาสนา อิสลาม ชาวตานีนับถือทั้งศาสนาพราหมณ์ พุทธศาสนาลัทธิมหายาน และศาสนาฮินดู เพราะได้พบซากอิฐเทวาลัย เจดีย์ อยู่กว่า ๑๐ แห่ง และมีสระน�้ำขนาดใหญ่อีก ๓ แห่ง พบศิ ล ปวั ต ถุ ห ลงเหลื อ อยู ่ ห ลายชิ้ น เช่ น พระพุทธรูปศิลา สมัยทวารวดี พระโพธิสัตว์ ส� ำ ริ ด ศิ ว ลึ ง ค์ เสมาธรรมจั กร เครื่อ งถ้ วย ชามจีน เครื่องปั้นดินเผา และเงินเหรียญชวา สิ่งเหล่านี้ยืนยันได้ว่าเมืองตานีเคยเป็นดิน แดนที่ผู้คนนับถือพุทธและฮินดูมาก่อน และ กษั ต ริ ย ์ ที่ ป กครองอาณาจั ก รนี้ อ งค์ สุ ด ท้ า ย (คือพระเจ้าศรีวังสา) ก็นับถือพุทธศาสนาเช่น

เดียวกัน ศาสตราจารย์ดร.ครองชัย หัตถา กล่าว ไว้ในหนังสือ “ปัตตานี : การค้าและการเมือง” ตอนหนึ่งว่า เมื่อครั้งที่ราชาศรีวิชัยได้เข้าไป มีอ�ำนาจและสถาปนาเมืองนครศรีธรรมราช เป็ น ศู น ย์ ก ลางที่ มี ค วามยิ่ ง ใหญ่ ใ นแหลม มลายูในปี พ.ศ. ๑๓๑๘ ปัตตานีขณะนั้นก็ยัง

หน้า ๑๑

คงเป็นของอาณาจักรลังกาสุกะ ศาสนาพุทธ ซึ่ ง มาจากประเทศอิ น เดี ย และได้ แ ผ่ ไ ปถึ ง อาณาจักรลังกาสุกะ ราชาศรีวิชัยได้แต่งงาน กั บ ธิ ด าของราชาลั ง กาสุ ก ะ และมี โ อรสชื่ อ ว่า “วังสา” (Bangsa) ขณะที่เจ้าวังสา มีอายุ ประมาณ ๒๘ ปี ได้รับอ�ำนาจการปกครอง ลั ง กาสุ ก ะ และพี่ ช ายได้ ป กครองเมื อ ง เคดาห์ ซึ่งเป็นเมืองหนึ่งในอาณาจักรลังกา สุกะเช่นเดียวกัน ต่อมาโอรสของราชาวังสา ชื่ อ “จั น ทราวั ง สา” ได้ เ ป็ น ราชาปกครอง อาณาจั ก รนครศรี ธ รรมราช ส่ ว นโอรสของ ราชาวังสาอีกพระองค์หนึ่งคือ อินทิราวังสา ได้ปกครองลังกาสุกะที่ปัตตานี เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๓๔๓ เป็นต้นมา ในช่ ว งที่ ร าชวงศ์ ศ รี ธ รรมาโศกราช ปกครองอาณาจักรนครศรีธรรมราชอยู่ และ ได้รวมเอาเมืองตานีหรือลังกาสุกะเข้าไว้เป็น เมื อ งสิ บ สองนั ก ษั ต รในสมั ย พุ ท ธศตวรรษ ที่ ๑๘ นั้น ตัวเมืองตานีเวลานั้นอยู่ลึกเข้าไป ในแผ่นดิน (มิได้อยู่ติดชายทะเล) ต่อมาใน ปลายพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๑ มี ชาวมลายู เดิ น ทางจากปลายแหลมมลายูและสุมาตรา มา ตั้ ง บ้ า นเรื อ นอาศั ย อยู ่ ริ ม ทะเล กลายเป็ น ชุ ม ชนที่ เ ติ บ โตขึ้ น จนสามารถติ ด ต่ อ ค้ า ขาย กับชาวต่างชาติได้ จึงได้มีชื่อ “ปัตตานี” หรือ “ตานี” เกิดขึ้นและเรียกขานมาจนถึงเวลานี้

ร้อยกรองของไทย(สยาม) มรดกร้อยกรองของคนไทยสยาม บรรพชนค้นคิดภูมิปัญญา ร่าย กาพย์ กลอนโคลง ฉันท์ อันบรรเจิด ชาญฉลาดปราดเปรื่องเรื่องกวี ทั้ง กลอนหนัง โนรา และเพลงบอก ได้บ�ำเทิงเริงรมย์ชมชื่นบาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ประจักษ์แจ้ง อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์จักเปรอปรน จัดแข่งขันร้อยกรองสนองพระบาท ด้วยพระองค์ทรงรักประเทศและเขตคาม แข่งขันมาเป็นเวลากว่าสิบปีแล้ว โล่พระเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ฯ ถ้าใครครอง ทั้งประถม มัธยม และ อุดมศึกษา บทร้อยกรองก้องดังทั้งปฐพี นครศรีธรรมราชแดนปราชญ์เกิด ว่า “สังฆราชปราชญ์ล้วนลุกจากเมืองนครฯ” ชาวนครฯ จึงรักร้อยกรองของไทยสยาม เทิดพระเกียรติองค์พระปรมินทร์ อีกสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เกล้ากระหม่อมจักสืบทอดร้อยกรองของสยามไทย

ช่างหมดจดงดงามยิ่งหนักหนา เปี่ยมคุณค่าอบอุ่นในสุนทรีย์ ล�้ำเลอเลิศรอยลักษณ์เป็นศักดิ์ศรี ขออัญชลีบรรพชนค้นคิดกานท์ ที่เล่น ทอก ทิ้งทุกข์สนุกสนาน เพลงพื้นบ้านขับร้องท�ำนองตน มรดกแห่งวัฒนธรรมล�้ำเลิศผล ให้วัฒนธรรมบรรพชนล้นเลิศงาม เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ฯ พระธิดาราชไทยสยาม ทรงให้ความสนพระทัยในร้อยกรอง ปณิธานแน่แน่วมิมีสอง คือเจ้าแห่งร้อยกรองประจ�ำปี เป็นสิ่งเชิดหน้าชูตาเสริมราศี ณ เวทีร้อยกรองของเมืองนครฯ พ่อขุนรามฯ ท่านได้เทิดเป็นอักษร ช่วยสุโขทัยให้กระฉ่อนดอนแดนดิน ส่งเสริมให้งอกงามวรรณศิลป์ พระจอมปิ่นภูมิพลฯ ของคนไทย เป็นเจ้าแห่งลักษณ์อักขราพิสุทธิ์ใส ให้สดใสคงอยู่คู่แผ่นดิน

รศ.ดร. สืบพงศ์ ธรรมชาติ แต่ง ศุกร์ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕


หน้า ๑๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com จ�ำนวนผู้ป่วยสะสม DF + DHF + DSS ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ (สัปดาห์ที่ ๒๘ ปี ๒๕๕๖) • จ�ำนวนผู้ป่วย ๗๓,๙๐๒ ราย • จ�ำนวนผู้ป่วยตาย ๗๓ ราย • อัตราป่วยต่อแสนประชากร ๑๑๕.๓๓ • อัตราตายต่อแสนประชากร ๐.๑๑ • อัตราป่วยตาย (ร้อยละ) ๐.๑ (ถ้ามีผู้ป่วยจ�ำนวน ๑,๐๐๐ คน จะป่วยรุนแรงจนเสียชีวิต ๑ คน) หมายเหตุ Dengue Fever (DF) = ไข้ที่เกิดจากการติดเชื้อไข้เลือดออก Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) = ไข้เลือดออก Dengue Shock Syndrome(DSS) = ไข้เลือดออกขั้นรุนแรง

วงจรชีวิตของไข้เลือดออกพอสรุปให้เห็นภาพอย่างง่ายๆ ดังภาพ

มีอาการรุนแรงถึงขั้นช็อก (DSS) คาดว่าจ�ำนวนผู้เสียชีวิต จะมีถึง ๑๔๐ – ๒๐๐ ราย ค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยสูง ถึง ๒,๐๐๐ ล้านบาท ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยเรียนและวัย แรงงาน จากการติดตามสถานการณ์โรคพบว่า การระบาด ของไข้ เ ลื อ ดออกยั ง เกิ ด ขึ้ น อย่างต่อเนื่องและกว้างขวาง ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ พบผู้ป่วย ๗๓,๙๐๒ ราย คิด เป็นอัตราป่วย ๑๑๕.๓๓ ต่อ แสนประชากร เพิ่มขึ้น ๕.๓ เท่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ๒๕๕๕ ในช่วงเวลาเดียวกัน และมี จ� ำ นวนผู ้เ สีย ชีวิ ต ๗๓ ราย รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือกออก ปี ๒๕๕๖ (สัปดาห์ที่ ๒๘) คิดเป็นอัตราตาย ๐.๑๑ ต่อ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน อัตราป่วย แสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๑ โดยจ�ำนวนผู้ ยั ง คงสู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและน่ า จะสู ง ที่ สุ ด ใน ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกเดือน และคาดว่าเดือนมิถุนายน รอบ ๑๐ ปี คาดว่าจ�ำนวนผู้ป่วยจะสูงถึง ๑๒๐,๐๐๐ – กรกฎาคม และสิงหาคม จะมีจ�ำนวนผู้ป่วยสูงสุด จากการ ๑๕๐,๐๐๐ ราย ในจ�ำนวนนี้ร้อยละ ๒๐ เป็นเพียงมีอาการ ประเมินผลการด�ำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข คาด ไข้จากการติดเชื้อไข้เลือดออก (DF) ร้อยละ ๘๐ จะต้องได้ ว่าการระบาดจะมีความรุนแรงมากขึ้น รับการรักษาในโรงพยาบาล (DHF) ประมาณ ร้อยละ ๒ จะ ไข้เลือดออกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี จากยุง

รับสมัครด่วน 1. ต�ำแหน่ง รีเซฟชั่น จ�ำนวน 2 อัตรา เพศ ช/ญ อายุ 22-28 ปี วุฒิ ป.ตรี เข้ากะได้, บุคลิกดี, มนุษย์สัมพันธ์ดี, สุขภาพแข็งแรง 2. ต�ำแหน่ง แคชเชียร์ห้องอาหาร จ�ำนวน 2 อัตรา เพศ ช/ญ อายุ 25 – 30 ปี วุฒิ ปวส.ขึ้นไป เข้ากะได้, มีความละเอียดรอบคอบ, ซื่อสัตย์, รับ-ทอนเงิน 3. ต�ำแหน่ง รูมเมด/รูมบอย จ�ำนวน 2 อัตรา เพศ ช/ญ อายุ 20-30 ปี วุฒิ ม.6 ขึ้นไป เข้ากะได้, สุขภาพแข็งแรง, ท�ำความสะอาดห้องพักแขก

สนใจส่งใบสมัคร หรือเข้ามาเขียนใบสมัครด้วยตัวเองที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ติดต่อ คุณวาสนา อิ้งทม, คุณพิมพ์ใจ พานทอง โทร.075 323777 ต่อ1946,1947 โทรสาร.075 323821 อีเมลล์ pn@thetwinlotushotel.com

ลาย ๒ สายพันธ์ คือยุงลายบ้าน (Aedes Egypti) กับยุง ลายสวน (Aedes Albopictus) มีระยะฟักตัวในร่างกาย มนุษย์ ๒ - ๘ วัน ต้ อ งขอขอบคุ ณ และขออนุ ญ าตน� ำ แผ่ น ภาพสรุ ป เรื่องไข้เลือดออกจากส�ำนักงานควบคุมโรค (สคร.) ๑๑ นครศรีธรรมราช มาแสดงเพื่อความเข้าใจในเรื่องไข้เลือด ออก แนวทางการรักษา และสัญญาณอันตราย เมื่อคนใน ครอบครัวป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกดังนี้ครับ เมื่อมีไข้สูง การรับประทานยาลดไข้จ�ำพวกแอสไพริน ที่มีขายอยู่ในท้องตลาดหลายยี่ห้อ จะเป็นเรื่องอันตราย อย่างมาก เพราะยากลุ่มแอสไพรินเป็นยาต้านการท�ำงาน ของเกล็ ด เลื อ ด เมื่ อ มาผสมโรงกั บ เชื้ อ ไข้ เ ลื อ ดออกซึ่ ง ท�ำลายเกล็ดเลือดโดยตรง และในระยะท้ายของโรค จ�ำนวน เกล็ดเลือดจะต�่ำลงอย่างรวดเร็ว ก็จะยิ่งท�ำให้เลือดออกได้ ง่าย และรุนแรง หวั ง ว่ า สถานการณ์ ไ ข้ เ ลื อ ดออกจะลดลงตามแนว โน้ ม ที่ น� ำ มาให้ ดู ใ นภาพแรก แต่ เ ท่ า ที่ สั ง เกตดู จ� ำ นวนผู ้ ป่วยในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะที่รพ.นครพัฒน์ ยังคงรุนแรง และไม่ลดจ�ำนวนลงมากนัก แต่หากมีการ ก� ำ จั ด ลู ก น�้ ำ ยุ ง ลายและป้ อ งกั น เด็ ก ไม่ ใ ห้ ถู ก ยุ ง ลายกั ด อย่างจริงจัง ทั้งในโรงเรียนและในศูนย์เด็กเล็ก คาดว่าจะ สามารถป้องกันเด็กไม่ให้ป่วยได้จ�ำนวนมากครับ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

๑๒

สิงหาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ขอพระองค์ จ งทรง พระเจริ ญ พระองค์ ท รงเปรี ย บเสมื อ น พระมารดาแห่งศิลปาชีพที่ได้พลิกฟื้นงาน ศิลปะทุกระดับให้จรรโลงสืบต่อเป็นมรดก แห่งชาติจนทุกวันนี้ และในเดือนนี้จังหวัด นครศรีธรรมราชก็ได้มีงานเกี่ยวกับวงการ ศิลปะหลายเรื่องที่อยากให้ชาวนครได้รับ ทราบและมีส่วนร่วมด้วย งานแรกในเดื อ นสิ ง หาคมนี้ ชื่ อ งาน “นครหั ต ถศิ ล ป์ ” เป็ น งานหนึ่ ง ทางด้ า น การแสดงศิ ล ปะวั ฒ นธรรม ในโครงการ รณรงค์ ส ่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเมื อ งนคร ที่ มี ห ลายแนวทาง เช่ น การท่ อ งเที่ ย ว เชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ภ ายใต้ ชื่ อ “นคร ประวัติศาสตร์” หรือ การท่องเที่ยวเพื่อ เสริ ม สิ ริ ม งคลเพิ่ ม พลั ง ชี วิ ต ภายใต้ ชื่ อ “นครแห่ ง ธรรม นครแห่ ง ศรั ท ธา” และ “ตามรอยธรรมที่ เ มื อ งคอน” ซึ่ ง ได้ จั ด งานต่างวาระกันให้สอดคล้องกับเทศกาล ต่ า งๆ ส� ำ หรั บ งานนครหั ต ถศิ ล ป์ จ ะจั ด ที่ สวนสาธารณะศรีธรรมโศกราช ซึ่งจะได้ พบเหล่าศิลปินแขนงต่างๆ มากมาย รวม ทั้ ง มี ก ารแสดงและการจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า หั ต ถกรรม และในโอกาสเดี ย วกั น นี้ ไ ด้ มี งานสานสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างชาว ไทยและชาวญี่ปุ่น ในชื่อ “งานรอยยิ้มพิมพ์ ใจไทย-ญี่ปุ่น” ซึ่งขณะนี้ทราบว่าชาวญี่ปุ่น ได้เตรียมตัวเดินทางมาเมืองไทยกันแล้ว จึงถือโอกาสเชิญชวนชาวนครไปชมงานนี้ ให้ได้ แล้วท่านจะรู้ว่า “นครเป็นเมืองแห่ง ศิลปิน” ส�ำหรับก�ำหนดวันเวลาคงมีแจ้งใน หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ ประวัติศาสตร์อันยาวนานในการเป็น อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ของนครย่อมเป็นแหล่ง รวมงานศิ ล ปะโดยเฉพาะงานพุ ท ธศิ ล ป์ มากมาย และบรรพชนก็ย่อมจะถ่ายทอด ความรู้และทักษะสู่ลูกหลานเหลนสืบต่อๆ กั น มาจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ แต่ จ ะเป็ น ใครใน ปัจจุบันมิทราบได้เพราะในอดีตกาลมักจะ เป็นผู้ปิดทองหลังพระที่ไม่ได้จารึกชื่อกัน

www.nakhonforum.com

ไว้ แม้กระทั่งทุกวันนี้ผู้ที่ได้เห็นงานศิลปะ ยุคปัจจุบันแล้วชื่นชมก็อาจไม่ทราบชื่อผู้ รังสรรค์งานนั้นๆ โลกปัจจุบันซึ่งเป็นยุค ไอที (IT) ได้หวนกลับมารับเอาเรื่องของ งานศิลปะเป็นจุดขายทั้งด้านการแสดงถึง ความศิ วิ ไ ลซ์ แ ละด้ า นการท่ อ งเที่ ย วของ เมืองนั้นๆ ขณะที่เมืองโบราณอย่างกรุงโรม ที่มีประติมากรรมของศิลปินประดับตาม วงเวียนและทุกมุมเมือง คนก็แห่แหนไป ท่องเที่ยวถ่ายภาพกันมา ในปัจจุบันอย่าง ประเทศสิงคโปร์ที่มิได้มีความเป็นมาทาง ประวัติศาสตร์ยาวนานนักก็ได้หยิบฉวยเอา ความเป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลางทางศิ ล ปะเป็ น จุ ด ขาย มี ก ารสร้ า งหอศิ ล ป์ สร้ า งแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ แ ทรกประติ ม ากรรมยุ ค ใหม่ มีการแสดงและประมูลงานศิลปะ ซึ่งถ้า เดิ น มาถึ ง จุ ด นี้ ไ ด้ ต ้ อ งถื อ ว่ า สุ ด ยอดแห่ ง อารยะธรรม หวนกลับมาที่เมืองนคร อยากให้ท่าน ลองนึกชื่อศิลปินแขนงต่างๆ ไม่จ�ำเป็นว่า ต้องมีชื่อเสียงมากเพียงใด ท่านรู้จักใคร บ้างครับ ส�ำหรับศิลปินที่ทรงคุณค่าระดับ ประเทศในนาม “ศิลปินแห่งชาติ” ของเราก็ มีไม่น้อยซึ่งเป็นการคัดเลือกโดยส�ำนักงาน คณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ ที่ ไ ด้ จัดท�ำโครงการมอบรางวัลให้แก่บุคคลที่ มี ค วามสามารถและฝี มื อ ดี เ ยี่ ย มมาทุ ก ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ใน ๔ สาขาได้แก่ ๑. สาขาทั ศ นศิ ล ป์ หมายถึ ง งาน ศิลปะที่มองเห็นด้วยตาที่ผู้สร้างสรรค์ได้ แสดงออกถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาและมี เ อกลั ก ษณ์ โดดเด่น ซึ่งได้แก่ประเภทงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย และ สื่อประสม

๒. สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม หมาย ถึ ง งานออกแบบทางด้ า นการก่ อ สร้ า งที่ สวยงามมีคุณค่าทางศิลปะและมีวิทยาการ ซึ่งได้แก่ประเภทสถาปัตยกรรมไทย และ สถาปัตยกรรมร่วมสมัย ๓. สาขาศิ ล ปะการแสดง หมายถึ ง งานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการแสดงทั้งแบบ ดั้งเดิมหรือพัฒนาขึ้นมาใหม่ ซึ่งได้แก่ การ ละคร เช่น โนรา ชาตรี โขน ลิเก เซิ้ง หนังตะลุง ฯลฯ การแสดงพื้นบ้าน เช่น หมอล�ำ ล�ำตัด เพลงบอก เพลงฉ่อย สวดคฤหัสถ์ ฯลฯ การดนตรี แบ่งเป็น ดนตรีไทย และ ดนตรีสากล ทั้งนี้ได้รวมนักดนตรี นักร้อง นักประพันธ์เพลง ผู้อ�ำนวยเพลง และผู้ ผลิตเครื่องดนตรี ๔. สาขาวรรณศิ ล ป์ หมายถึ ง บท ประพันธ์ที่เป็นกวีนิพนธ์ วรรณกรรม นวนิยาย เรื่องสั้น สาระบันเทิง ฯลฯ ที่สามารถ สื่อถึงอารมณ์และคุณค่าทางมโนธรรมให้ แก่ผู้อ่าน คนนครที่ได้รับการยกย่องเป็นศิลปิน แห่งชาติเท่าที่ผมทราบมาได้แก่ นายเห้ง โสภาพงศ์ (สาขาทัศนศิลป์-เครื่องถม) นาย สุชาติ ทรัพย์สิน (สาขาศิลปะการแสดงหนังตะลุง ) นายอังคาร กัลยาณพงศ์ ( สาขา

หน้า ๑๓

วรรณศิ ล ป์ - กวี นิ พ นธ์ ) อาจารย์ ป ระเวศ ลิมปรังษี (สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม-ไทย) เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ (สาขาศิลปะ การแสดง-เพลงบอก) อาจจะมีมากกว่านี้ ก็ได้ผมยังไม่ได้สืบค้น ศิลปินที่ได้รับรางวัล นี้ มี เ งื่ อ นไขที่ ต ้ อ งมี ชี วิ ต อยู ่ ใ นวั น ตั ด สิ น ดั ง นั้ น ก็ ต ้ อ งรี บ เสนอชื่ อ ศิ ล ปิ น ของเราที่ สูงวัยไปให้คณะกรรมการพิจารณา เช่น อาจารย์แนบ ทิชินพงศ์ เป็นต้น เพราะ จะเป็นเกียรติประวัติแก่ถิ่นก�ำเนิดศิลปิน เรียกว่าคนนครพลอยได้ชื่อไปกับเขาด้วย ว่ า งั้ น เถอะ ส� ำ หรั บ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ข อง นครที่เพิ่งจากไปเร็วๆ นี้คือ ท่านอังคาร กั ล ยาณพงศ์ ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานเพลิ ง ศพและก� ำ หนดจะบรรจุ อั ฐิ ที่ วั ด ท่ า โพธิ์ ในเดือนสิงหาคมนี้ รายละเอียดคงมีท่าน อื่นเขียนถึงในฉบับนี้แน่นอน หาอ่านเอา เองนะครับ ผมเคยสัมผัสท่านใกล้ชิดครั้ง หนึ่งในฐานะที่ผมเป็นผู้ด�ำเนินรายการบน เวทีศิลปินแห่งชาติสัญจรที่พิพิธภัณฑ์แห่ง ชาตินครศรีธรรมราชเมื่อหลายปีมาแล้ว ยอมรับว่างานของท่านเป็นขั้นเทพทีเดียว แม้ ก ระทั่ ง น�้ ำ เสี ย งของท่ า นในการขั บ ค� ำ กลอนก็สะเทือนอารมณ์จนเคลิบเคลิ้มตาม ขอให้ชาวนครไปร่วมงาน “รับอังคารกลับ บ้านเกิด” ด้วยนะครับ ผมได้คุยกับอาจารย์ทวี พลายด้วง ประติมากรผู้ซึ่งอยากเห็นภาพเมืองนคร มีชีวิตชีวาด้วยงานศิลปะ ผมก็เห็นด้วยว่า ในสถานที่สาธารณะต่างๆ ควรให้โอกาส ศิลปินได้แสดงผลงานประติมากรรม เรา ควรมี ห อศิ ล ป์ ใ จกลางเมื อ งได้ แ ล้ ว ให้ เยาวชนได้ ซึ ม ซั บ ความเข้ า ถึ ง งานศิ ล ปะ ตั้งแต่อายุยังน้อย มีเอกชนบางรายลงทุน จ้างปั้นประติมากรรมน�ำแสดงในสถานที่ ของท่าน เช่น รูปปั้นม้าที่แสดงถึงบริเวณ ท่าเลี้ยงม้าของร้านโกปี๊ รูปปั้นพระพิฆเนศ ที่ลานบ้านท่านขุน ปั้นโดยอาจารย์วัชระ พงษ์ไพบูลย์ เป็นต้น เหล่านี้เป็นจุดเริ่มต้น ที่ควรมีมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่ ของหน่วยราชการที่ประชาชนสามารถเข้า ถึงได้เพื่อสื่อถึง “นคร...เมืองแห่งศิลปิน”


หน้า ๑๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

ตาราง ๑

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

วั ส ดี ค รั บ ท่ า นผู ้ อ ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด หนั ง สื อ พิ ม พ์ เ พื่ อ ชาวนครศรีธรรมราชที่เคารพทุกท่านครับ ฉบับนี้ขอ น�ำเสนอโรงเรียนดีศรีต�ำบล ให้เห็นถึงที่มา วิธีการ และผลการด�ำเนินงาน ทั้งในระดับ ประเทศ และเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษานครศรี ธรรมราช เขต ๓ โรงเรียนดีศรีต�ำบล ได้ต่อ ยอดมาจากโรงเรียนในฝัน ซึ่งส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ด�ำเนินการ ในช่วงปีงบประมาณ ๒๕๔๗ - ๒๕๕๔ เพื่อ เป็นโรงเรียนสาธิตของกระทรวงศึกษาธิการ จึ ง ใช้ ค� ำ ว่ า “Lab school” เพื่ อ สร้ า ง นั ก เรี ย นให้ เ ป็ น บุ ค คลแห่ ง การเรี ย นรู ้ มี ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ มีทักษะ ในการด�ำรงชีวิต และมีความเป็นไทย เน้น การใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้ สพฐ. ได้ พั ฒ นาโรงเรี ย นมาโดยล� ำ ดั บ แบ่ ง เป็ น ๓ รุ่น กระจายอยู่ใน ๙๒๑ อ�ำเภอทั่วประเทศ และแต่ละรุ่นได้พัฒนาต่อยอดเป็นโรงเรียน มาตรฐานสากล มีข้อมูลดังนี้ (ตาราง ๑) ในปี ง บประมาณ ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐานกระทรวงศึ ก ษาธิก าร ร่ว มกับ พระ

โรงเรียน โรงเรียน รุ ่นที่ ชื่อรุ่น ในฝัน มาตรฐานสากล รวม ๑. ๑ อ�ำเภอ ๑ โรงเรียนในฝัน ๘๕๔ ๖๖ ๙๒๐ ๒. โรงเรียนดีใกล้บ้าน ๘๑๘ ๔๗ ๘๖๕ ๓. โรงเรียนดีศรีต�ำบล ๘๓๐ ๑๑ ๘๔๑ รวม ๒,๕๐๒ ๑๒๔ ๒,๖๒๖

๖,๕๔๕ โรงเรียน ใน วัดไม้เสียบ ชุมชนเขาล�ำปะ วัดกาโห่ใต้ วัด ทุกต�ำบลทั่วประเทศ ควนป้อม วัดห้วยแหยง (ราษฏร์ภูเก็ตอุทิศ) สั ง ฆาธิ ก ารทั่ ว ประเทศ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธ โดยเน้นการสร้างเครือข่าย บ้าน วัด/มัสยิด บ้านนางหลง บ้านท่าไทร ชุมชนวัดคลองศาสนาแห่งชาติ กรมส่งเสริมการปกครองส่วน โรงเรียน ใช้ชื่อย่อว่า “บวร” และ “บรม” ขยัน วัดทวยเทพ วัดคงคาวดี วัดเกาะจาก ท้องถิ่น เปรียญธรรมสมาคมแห่งประเทศไทย มีข้อมูลแสดง จ�ำนวนโรงเรียน ครู นักเรียน วั ด โคกมะม่ ว ง วั ด ฝ่ า พระบาทฯ วั ด ศรี มู ล นิ ธิ พั ฒ นาการศึ ก ษาเพื่ อ ศี ล ธรรม (มู ล นิ ธิ ตาราง ๒ สุ ว รรณาราม วั ด รุ ่ น ที ่ พ.ศ. โรงเรี ย น ครู นั ก เรี ย น พระธรรมกาย) และองค์กรอื่นๆ ได้ประสาน ชมพู ป ระดิ ษ ฐ์ วั ด ๒๕๕๓ ๑๘๒ ๔,๒๘๐ ๙๐,๑๕๔ ความร่วมมือกันและสนองนโยบายรัฐบาลที่ ๑ หงส์แก้ว วัดกาญจ๒๕๕๔ ๘๗๗ ๑๕,๙๗๕ ๒๙๔,๗๗๔ เน้นคุณธรรมน�ำวิชาการได้ด�ำเนินการสัมมนา ๒ นาราม วั ด บางไทร ๓ ๒๕๕๕ ๘๖๗ ๑๔,๐๗๙ ๒๕๗,๙๔๘ เชิงปฏิบัติธรรมแก่ผู้บริหาร ครู นายกองค์การ วั ด แจ้ ง วั ด บางคุ ร ะ ๔ ๒๕๕๖ ๘๓๖ ๑๒,๔๙๙ ๒๒๓,๙๐๕ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลประธานคณะกรรมการ วั ด รั ต นาราม บ้ า น ๒๕๕๗ ๓,๗๘๓ ๕๐,๕๘๖ ๘๔๖,๑๓๗ ท้องโกงกาง วัดปากสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และพระภิ ก ษุ ส งฆ์ ๕ รวม ๖,๕๔๕ ๙๗,๔๑๗ ๑,๗๑๒,๙๑๘ แพรก วั ด ปากตรง หรื อ ผู ้ น� ำ ศาสนาที่ อ ยู ่ ใ กล้ โ รงเรี ย นจ� ำ นวน ๑๑๙,๓๙๓ คน ดังนี้ (ตาราง ๒) วัดทุ่งหล่อ ชุมชนวัดสุวรรณรังษี ชุมชนวัด ซึ่ ง อยู ่ ใ นโรงเรี ย นดี ศ รี ต� ำ บล จ� ำ นวน ในส่ ว นของ สพป.นศ. ๓ รุ ่ น ที่ ๑ ปี เกาะเพชร วัดบูรณาวาส ชุมชนพิบูลสงคราม ๒๕๕๓ คือ โรงเรียนบ้านปากเชียร รุ่นที่ ๒ ปี บ้ า นปากพรุ วั ด บ่ อ โพง วั ด รามแก้ ว วั ด ๒๕๕๔ คือ โรงเรียนทัศนาวลัย วัดสระ บ้าน หน้าสตน และบ้านล�ำคลอง ห้วยหาร วัดควนชะลิก รุ่นที่ ๓ ปี ๒๕๕๕ คือ จากข้อมูลจะเห็นได้ว่า มีโรงเรียนใน โรงเรียนวัดวังฆ้อง บ้านควนเงิน ราชประชา สพป.นศ. ๓ ใน ๖ อ�ำเภอ ในจ�ำนวน ๕๔ นุเคราะห์ วัดหัวค่าย รุ่นที่ ๔ ปี ๒๕๕๖ คือ ต� ำ บล จึ ง มี โ รงเรี ย นดี ศ รี ต� ำ บลจ� ำ นวน ๕๔ โรงเรียนบ้านบางน้อย วัดบ่อล้อ วัดป่าระก�ำ โรง โรงเรียนเหล่านี้ ได้ด�ำเนินการอย่างไร วัดสุวรรณโฆษิต วัดแหลม วัดสมควร รุ่นที่ ๕ สพฐ. และ เขตพื้นที่ฯ บริหารจัดการเรื่องนี้ ปี ๒๕๕๗ คือ โรงเรียนวัดทุ่งโพธิ์ วัดชะอวด อย่างไร เชิญท่านติดตามฉบับต่อไป นะครับ

บั บ นี้ ม าพบกั บ สองกิ จ กรรมสุ ด ท้ า ยใน กลุ่มพลังคนพลังคิดกันค่ะ กิจกรรมจ�ำน�ำ ฝัน และ กิจกรรมล่าฆาตกร

จ�ำน�ำฝัน ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ เ รี ย นรู ้ แ ละให้ ความหมายของค� ำ ว่ า ความรู ้ จิ น ตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และสามารถออกแบบ เขี ย นบั น ทึ ก วาดภาพ บรรยาย น� ำ เสนอ พร้ อ มทั้ ง อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ จิ น ตนาการของ ตนเอง โดยมีเหตุและผลรองรับ ตามวลีเด็ด ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ที่บอกไว้ว่า

imagination embraces the entire world, and all there ever will be to know and understand.” ซึ่งแสดงให้เห็นว่า “จินตนาการ

ส�ำคัญกว่าความรู้” วิทยากรร่วมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความ หมายของค�ำว่า ความรู้ จินตนาการ และความ คิดสร้างสรรค์ น�ำผู้เข้าร่วมกิจกรรมสู่เกมและ “Imagination is more Important than กิจกรรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นถึงความ Knowledge. For Knowledge is limited to ส�ำคัญและคุณสมบัติของนักจินตนาการ แล้ว all we now know and understand, while จึงให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนคิดจินตนาการ ของตัวเองขึ้นมาคนละ ๑ จินตนาการ โดยจะ ต้ อ งเป็ น จิ น ตนาการที่ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เป็นไปในทางที่ดี มีเหตุและผลรองรับแล้วน�ำ จินตนาการนั้นไปเข้าร้านรับจ�ำน�ำ (Staff จะ ท�ำหน้าที่เป็นเจ้าของร้านรับจ�ำน�ำ) จะซักถาม ถึงจินตนาการที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ไปคิดมา ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะต้ อ งอธิ บ าย โต้ ต อบ แสดงความคิดเห็น น�ำเสนอ อย่างมีเหตุมีผล

โดยอาจจะมี ภ าพประกอบหรื อ การเขี ย น บรรยายก็ได้ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถน�ำ จินตนาการของตัวเองไปน�ำเสนอได้ในหลายๆ ร้าน เป็นการฝึกการน�ำเสนอ การแสดงความ คิดเห็นไปในตัวด้วย Staff ที่เป็นเจ้าของร้านรับจ�ำน�ำ จะน�ำ จินตนาการของผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้านละ ๑ จิ น ตนาการมาให้ วิ ท ยากร และให้ผู้เข้า ร่วม กิจกรรมเจ้าของจินตนาการออกมาน�ำเสนอ จินตนาการให้ผู้อื่นได้รับฟัง เมื่อน�ำเสนอจน ครบทุกร้านแล้ว ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมช่วยกัน เลือกว่า จินตนาการของใครน่าสนใจที่สุด โดย อาศัยข้อมูลที่เจ้าของจินตนาการน�ำเสนอให้ฟัง และเหตุผลในการเลือก

ล่าฆาตกร เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นกระบวนการท�ำงาน เป็นกลุ่ม และการใช้ทักษะกระบวนการทาง วิ ท ยาศาสตร์ เช่ น การสื บ เสาะ การสื บ ค้ น การตั้งสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การบันทึก และการ สรุปเหตุการณ์การฆาตกรรม

วิทยากรชี้แจงกิจกรรมเพื่อแบ่งผู้เข้าร่วม กิจกรรมเป็นกลุ่มๆ ละ ๒๕ คน นั่งล้อมวงเป็น วงกลม แต่ละคนจะได้รับแผ่นป้ายเหตุการณ์ การฆาตกรรมคนละ ๑ แผ่น โดยต้องปฏิบัติ ตามกติกา ๓ ข้อ คือ ไม่ดูแผ่นป้ายของผู้อื่น ไม่ให้ผู้อื่นเห็นแผ่นป้ายของตัวเอง และไม่น�ำ แผ่นป้ายมาเรียงต่อกัน ภายในเวลาที่ก�ำหนด จะต้องหาค�ำตอบ จากค�ำถาม ๕ ข้อ ได้แก่ ใครคือฆาตกร ฆาตกรใช้อาวุธอะไร การฆาตกรรมเกิดขึ้นที่ไหน การฆาตกรรมเกิดขึ้นเวลา ใด และอะไรคือสาเหตุของการฆาตกรรรม ในระหว่ า งที่ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมก� ำ ลั ง ร่วมมือกันสืบคดีอยู่นั้นก็จะมีวิทยากรเป็นผู้ สังเกตการณ์การท�ำงานของแต่ละกลุ่ม เช่น ท�ำไมบางคนไม่พูด บางคนพูดมาก มีวิธีการ ท� ำ งานอย่ า งไร ใช้ ห ลั ก ประชาธิ ป ไตยหรื อ ไม่ เป็นต้น เพื่อน�ำเสนอข้อมูลที่สังเกตการณ์ ได้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจกระบวนการ ท� ำ งาน ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ผู ้ สั ง เกตการณ์ น� ำ เสนอให้ ทราบ สามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ ใ นการท� ำ กิ จ กรรมรอบ ๒ ได้ หลังจากท�ำงานกลุ่มเสร็จ วิทยากรร่วม กั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมล� ำ ดั บ เหตุ ก ารณ์ ก าร ฆาตกรรมโดยอาจเขียนเป็นแผนผังความคิด และสรุปให้เห็นว่า ค�ำตอบที่ได้มาไม่ส�ำคัญ เท่ากับการที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการหาค�ำ ตอบรวมทั้งการท�ำงานเป็นกลุ่ม ครั้งหน้าเรามาท�ำความรู้จักกับกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากฝีไม้ลายมือกันค่ะ ติดตามให้ได้นะคะ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

อาจารย์แก้ว เครื่องปรับอากาศ-พัดลม ๑. ปิ ด เครื่ อ งปรั บ อากาศทุ ก ครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน ๑ ชั่วโมง ส� ำ หรั บ เครื่ อ งปรั บ อากาศทั่ ว ไป และ ๓๐ นาที ส�ำหรับเครื่องปรับ อากาศเบอร์ ๕ ๒. หมั่นท�ำความสะอาดแผ่น กรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ บ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการ ท�ำงานของเครื่องปรับอากาศ ๓. ตั้ ง อุ ณ หภู มิ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ๒๕ องศาเซลเซี ย ส ซึ่ ง เป็นอุณหภูมิที่ก�ำลังสบาย อุณหภูมิ ที่เพิ่มขึ้น ๑ องศา ต้องใช้พลังงาน เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕ – ๑๐ ๔. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็น รั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับ อากาศ ตรวจสอบและอุ ด รอยรั่ ว ตามผนั ง ฝ้ า เพดาน ประตู ช่ อ ง แสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิด เครื่องปรับอากาศ ๕. ลดและหลี ก เลี่ ย งการเก็ บ เอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จ�ำเป็น ต้ อ งใช้ ง านในห้ อ งที่ มี เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ เพื่อลดการสูญเสีย และใช้ พลังงานในการปรับอากาศภายใน อาคาร ๖. ติ ด ตั้ ง ฉนวนกั น ความร้ อ น โดยรอบห้ อ งที่ มี ก ารปรั บ อากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการ ถ่ายเทความร้อนเข้าภายในอาคาร ๗. ใช้ มู ลี่ กั น สาดป้ อ งกั น แสง แดดส่องกระทบตัวอาคาร และบุ ฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและ ฝาผนังเพื่อไม่ให้เครื่องปรับอากาศ ท�ำงานหนักเกินไป ๘. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลัง งานจากการถ่ า ยเทความร้ อ นเข้ า สู ่ ห ้ อ งปรั บ อากาศ ติ ด ตั้ ง และใช้ อุปกรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดประตู ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ ๙. ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ ๑ ต้นให้ ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ ๑ ตัน หรือให้ความเย็นประมาณ ๑๒,๐๐๐ บีทียู ๑๐. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบัง แดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อ เครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องท�ำงาน หนักเกินไป ๑๑. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วย ลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้ กับดิน ท�ำให้บ้านเย็น ไม่จ�ำเป็นต้อง เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป ๑๓. ในส�ำนักงาน ให้ปิดไฟ ปิด เครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ไฟ-

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๕

บับที่แล้วได้กล่าวถึงวิธีคิดค�ำนวณค่าไฟฟ้าด้วยตัวเอง เพื่อความต่อเนื่องเกี่ยว กับไฟฟ้า ฉบับนี้กระผมจะแนะน�ำให้ท่านผู้อ่านได้รู้จักวิธีประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าที่เราทุกคนในครอบครัวสามารถปฏิบัติกันได้ เพื่อช่วยกันลดค่าใช้จ่ายในครัว เรือนและช่วยประหยัดพลังงานรวมถึงช่วยลดสภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่งด้วย

ฟ้าที่ไม่จ�ำเป็น ในช่วงเวลาพักเที่ยง จะสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้ ๑๓. ไม่จ�ำเป็นต้องเปิดเครื่อง ปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และ ควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลา เลิกใช้งานเล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ ๑ ๔ . เ ลื อ ก ซื้ อ พั ด ล ม ที่ มี เครือ่ งหมายมาตรฐานรับรอง เพราะ พัดลมที่ไม่ได้คุณภาพ มักเสียง่าย ท�ำให้สิ้นเปลือง ๑๕. หากอากาศไม่ ร ้ อ นเกิ น ไป ควรเปิ ด พั ด ลมแทนเครื่ อ ง ปรั บ อากาศ จะช่ ว ยประหยั ด ไฟ ประหยัดเงินได้มากทีเดียว ไฟส่องสว่าง ๑. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้ ห ลอดผอมจอมประหยั ด แทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบ แทนหลอดไส้ หรื อ ใช้ ห ลอดคอม แพคท์ฟลูออเรสเซนต์ ๒. ควรใช้บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์คู่กับหลอดผอมจอมประหยัด จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ประหยัดไฟได้อีกมาก ๓. ควรใช้ โ คมไฟแบบมี แ ผ่ น สะท้อนแสงในห้องต่างๆ เพื่อช่วย ให้แสงสว่างจากหลอดไฟ กระจาย ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ท�ำให้ไม่ จ�ำเป็นต้องใช้หลอดไฟฟ้าวัตต์สูง ช่วยประหยัดพลังงาน ๔. หมั่นท�ำความสะอาดหลอด ไฟที่ บ ้ า น เพราะจะช่ ว ยเพิ่ ม แสง สว่างโดยไม่ต้องใช้พลังงานมากขึ้น ควรท�ำอย่างน้อย ๔ ครั้งต่อปี ๕. ใช้ ห ลอดไฟที่ มี วั ต ต์ ต�่ ำ ส�ำหรับบริเวณที่จ�ำเป็นต้องเปิดทิ้ง ไว้ทั้งคืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้านหรือ ข้างนอก เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า ๖. ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะท�ำงาน หรื อ ติ ด ตั้ ง ไฟเฉพาะจุ ด แทนการ เปิ ด ไฟทั้ ง ห้ อ งเพื่ อ ท� ำ งาน จะ ประหยัดไฟลงไปได้มาก ๗. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อน แสงที่ดี และทาภายในอาคารเพื่อ ท�ำให้ห้องสว่างได้มากกว่า ๘. ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติ ให้มากที่สุด เช่น ติดตั้งกระจกหรือ ติดฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้องกันความ ร้อน แต่ยอมให้แสงผ่านเข้าได้เพื่อ ลดการใช้ พ ลั ง งานเพื่ อ แสงสว่ า ง ภายในอาคาร ๙. ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่ง ในบริเวณที่มีความต้องการใช้แสง สว่างน้อย หรือบริเวณที่มีแสงสว่าง พอเพียงแล้ว

ตู้เย็น ๑. ปิดตู้เย็นให้สนิท ท� ำความ สะอาดภายในตู ้ เ ย็ น และแผ่ น ระบายความร้ อ นหลั ง ตู ้ เ ย็ น สม�่ ำ เสมอ เพื่ อ ให้ ตู ้ เ ย็ น ไม่ ต ้ อ งท� ำ งาน หนักและเปลืองไฟ ๒. อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่าน�ำ ของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น เพราะจะ ท� ำ ให้ ตู ้ เ ย็ น ท� ำ งานเพิ่ ม ขึ้ น กิ น ไฟ มากขึ้น ๓. ตรวจสอบขอบยางประตู ของตู้เย็นไม่ให้เสื่อมสภาพ เพราะ จะท�ำให้ความเย็นรั่วออกมาได้ ท�ำ ให้สิ้นเปลืองไฟมากกว่าที่จ�ำเป็น ๔. เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะ สมกับขนาดครอบครัว อย่าใช้ตู้เย็น ใหญ่เกินความจ�ำเป็นเพราะกินไฟ มากเกินไป และควรตั้งตู้เย็นไว้ห่าง จากผนังบ้าน ๑๕ ซม. ๕. ควรละลายน�้ำแข็งในตู้เย็น สม�่ำเสมอ การปล่อยให้น�้ำแข็งจับ หนาเกิ น ไป จะท� ำ ให้ เ ครื่ อ งต้ อ ง ท�ำงานหนัก ท�ำให้กินไฟมาก ๖. เลื อ กซื้ อ ตู ้ เ ย็ น ประตู เ ดี ย ว เนื่องจากตู้เย็น ๒ ประตู จะกินไฟ มากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาด เท่ า กั น เพราะต้ อ งใช้ ท ่ อ น�้ ำ ยาท� ำ ความเย็ น ที่ ย าวกว่ า และใช้ ค อมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า ๗. ควรตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภู มิ ข องตู ้ เ ย็ น ให้ เ หมาะสม การตั้ ง ที่ตัวเลขต�่ำเกินไป อุณหภูมิจะเย็น น้อย ถ้าตั้งที่ตัวเลขสูงเกินไปจะเย็น มากเพื่อให้ประหยัดพลังงานควรตั้ง ที่เลขต�่ำที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ เตารีด ๑. ไม่ควรพรมน�้ำจนแฉะเวลา รี ด ผ้ า เพราะต้ อ งใช้ ค วามร้ อ นใน การรีดมากขึ้น เสียพลังงานมากขึ้น เสียค่าไฟเพิ่มขึ้น ๒. ดึ ง ปลั๊ ก ออกก่ อ นการรี ด เสื้อผ้าเสร็จ เพราะความร้อนที่เหลือ ในเตารี ด ยั ง สามารถรี ด ต่ อ ได้ จ น กระทั่งเสร็จ ช่วยประหยัดไฟฟ้า ๓. เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีด เสื้อให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและถอด ปลั๊กเตารีดบ่อยๆ เพราะการท�ำให้ เตารีดร้อนแต่ละครั้งกินไฟมาก ๕. ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศ เมืองร้อน สิ้นเปลืองการตัด ซัก รีด และความจ�ำเป็นในการเปิดเครื่อง ปรับอากาศ เครื่องซักผ้า ๑. ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้า ให้เต็มก�ำลังของเครื่อง เพราะซัก ๑

ตัวกับซัก ๒๐ ตัว ก็ต้องใช้น�้ำในปริมาณเท่าๆ กัน ๒. ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่อง เมื่อ ใช้เครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟมาก ควรตากเสื้ อ ผ้ า กั บ แสงแดดหรื อ แสงธรรมชาติจะดีกว่า ทั้งยังช่วย ประหยัดไฟได้มากกว่า โทรทัศน์ ๑. ปิ ด โทรทั ศ น์ ทั น ที เ มื่ อ ไม่ มี คนดู เพราะการเปิดทิ้งไว้โดยไม่มี คนดู เป็นการสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยใช่ เหตุ แถมยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย ๒. ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้ สว่างเกินไป และอย่าเปิดโทรทัศน์ เสี ย งดั ง เกิ น ความจ� ำ เป็ น เพราะ เปลืองไฟ ท�ำให้อายุเครื่องสั้นลง ๔. อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์ รายการเดี ย วกั น ควรจะดู เ ครื่ อ ง เดียวกัน ไม่ใช่ดูคนละเครื่อง เพราะ จะท�ำให้สิ้นเปลืองพลังงาน ๔. การเลือกซื้อโทรทัศน์เครื่อง ใหม่แนะน�ำให้เลือกใช้แบบ LED TV ซึ่งมีอัตราสิ้นเปลืองค่าไฟน้อยกว่า โทรทัศน์แบบอื่นๆ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ๑. เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่าผม ทุ ก ครั้ ง ใช้ เ ครื่ อ งเป่ า ผมส� ำ หรั บ แต่งทรงผม ไม่ควรใช้ท�ำให้ผมแห้ง เพราะต้องเป่านาน เปลืองไฟฟ้า ๒. ใช้ เ ตาแก๊ ส หุ ง ต้ ม อาหาร ประหยั ด กว่ า ใช้ เ ตาไฟฟ้ า เตาอบ ไฟฟ้ า และควรติ ด ตั้ ง วาล์ ว นิ ร ภั ย (Safety Valve) เพื่อความปลอดภัย ด้วย ๓. เวลาหุ ง ต้ ม อาหารด้ ว ย เตาไฟฟ้า ควรจะปิดเตาก่อนอาหาร สุก ๕ นาที เพราะความร้อนที่เตา จะร้ อ นต่ อ อี ก อย่ า งน้ อ ย ๕ นาที เพียงพอที่จะท�ำให้อาหารสุกได้ ๔. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าว ไว้ เพราะระบบอุ่นจะท�ำงานตลอด เวลา ท�ำให้สิ้นเปลืองไฟเกินความ จ�ำเป็น ๕. กาต้มน�้ำไฟฟ้า ต้องดึงปลั๊ก ออกทันทีเมื่อน�้ำเดือด อย่าเสียบไฟ ไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอกจาก จะไม่ประหยัดพลังงานแล้วยังอาจ ท�ำให้เกิดไฟไหม้ได้

๖. แยกสวิ ต ช์ ไ ฟออกจากกั น ให้สามารถเปิดปิดได้เฉพาะจุด ไม่ ใช้ปุ่มเดียวเปิดปิดทั้งชั้น ท�ำให้เกิด การสิ้นเปลืองและสูญเปล่า ๗. หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อน เช่น กาต้มน�้ำ หม้อหุงต้ม ไว้ในห้อง ที่มีเครื่องปรับอากาศ ๘. ซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้าให้ อยู ่ ใ นสภาพที่ ใ ช้ ง านได้ และหมั่ น ท�ำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอยู่ เสมอ จะท�ำให้ลดการสิ้นเปลืองไฟ ๙. อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบลดกระแส ไฟฟ้าเข้าเครื่องเมื่อพักการท�ำงาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ ๓๕ – ๔๐ และถ้าหากปิดหน้าจอทันทีเมื่อไม่ ใช้งาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ ๖๐ ๑๐. ดูสัญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์ส�ำนักงาน(เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะช่วย ประหยัดพลังงาน ลดการใช้ก�ำลัง ไฟฟ้ า เพราะจะมี ร ะบบประหยั ด ไฟฟ้าอัตโนมัติ ๑๑. การชาร์ จ แบตเตอรี่ มื อ ถือ หรือคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ควร ใช้ เ วลาให้ เ หมาะสมตามคู ่ มื อ ใช้ งาน ไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะ จะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า โดยใช่เหตุและอาจเกิดการระเบิด และไหม้กับอุปกรณ์เหล่านั้นได้ ๑๒. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้าง ให้ เ ป็ น นิ สั ย ในการดั บ ไฟทุ ก ครั้ ง ที่ ออกจากห้อง ๑๓. เลื อ กซื้ อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ไ ด้ มาตร ฐาน ดู ฉ ลากแ สดง ประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อน ตั ด สิ น ใจซื้ อ หากมี อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า เบอร์ ๕ ต้องเลือกใช้เบอร์ ๕ หวั ง ว่ า วิ ธี ก ารทั้ ง หมดน่ า จะ ช่ ว ยให้ ท ่ า นน� ำ เอาไปปฏิ บั ติ เ พื่ อ ช่วยประหยัดพลังงานและช่วยลด ค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี ด้วยความ ปรารถนาดีครับ อาจารย์แก้ว


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

เฉี ย บของหยดน�้ ำ ค้ า งที่ พ รมป่ า อยู ่ ข ณะนี้ ท�ำให้เรารับรู้ได้ว่า มันมีอยู่จริง “โอโห้ ..นี่ บึ ง น�้ ำ อะไรเหรอพี่ บนนี้ มี บึ ง ด้ ว ยเหรอ” ผมเดิ น ทอดน่ อ งน� ำ ทาง ลัดเลาะตามด่านไปเรื่อยๆ รอยเจ้าถิ่นอย่าง ท่านขุนน�ำเราสู่บึงน�้ำกว้างใหญ่ รายรอบ ด้วยป่าพรุที่คลาคล�่ำไปด้วยรอยเท้าสัตว์ป่า นานาชนิด “บึ ง มรณะ !” ผมเอ่ ย ค� ำ สั้ น ๆ โดย ไม่อธิบายด้วยเคยผ่านแถวนี้มาแล้วหลาย ครั้งและเรียกมันซะจนติดปาก แม้ดูน�้ำจะ ใสสะอาดแต่ทว่าสีมันกลับด� ำสนิทมองไม่ เห็ น ก้ น บึ ง รายรอบขอบบึ ง นี้ เ ต็ ม ไปด้ ว ย เฟิ ร ์ น ยั ก ษ์ ไม้ ใ หญ่ ร ะโยงระยาง ชวนให้ จินตนาการตามชื่อของมันได้เป็นอย่างดี

าว่ากันต่อกับบทบันทึก “ถอดรหัสป่า” นะครั บ เรื่ อ งจริ ง ของการผจญภั ย ที่ ตื่นเต้น เร้าใจ ท่ามกลางผืนป่าดิบด�ำแห่ง เทือกเขานครศรีอันยิ่งใหญ่ ไปดูติดตาม สองสาวนักผจญภัยกับพรานป่ายุคสุดท้าย กันต่อครับ ............................. ผื น ป่ า แห่ ง นี้ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ป่ า ดิ บ ด� ำ หลงส�ำรวจ ณ ที่ระดับความสูงกว่า ๑,๓๐๐ เมตรจากระดั บ น�้ ำ ทะเลนั้ น เต็ ม ไปด้ ว ย ผื น ป่ า ดิ บ ชื้ น ที่ ท อดตั ว ยาวตลอดเหนื อ จรดใต้ จนถึ ง แนวเขตรอยต่ อ กั บ จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี เฉพาะพื้นที่ป่าสันเย็นก็กว้าง ใหญ่นับหมื่นไร่ บนยอดเขาแห่งนี้ราบเรียบ และหนาทึบไปด้วยไม้ใหญ่ แต่ละต้นอายุไม่ ต�่ำกว่าร้อยปียืนเรียงรายแน่นขนัดเต็มป่า ไปหมด ยิ่งท�ำให้ดูขรึมขลังดั่งป่าต้องมนต์

สองสาวนักเรียนรหัสป่ายังคงมุ่งมั่น และเก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ จ ริ ง นี้ ต ่ อ ไป ด้วยสถานการณ์อันหลากหลายและการ เดินทางที่ยาวนานที่ผ่านมา ดูท�ำให้เธอ ทั้ ง สองกลมกลื น เข้ า กั บ ป่ า อย่ า งไม่ รู ้ ตั ว แม้ ข ณะนี้ จ ะก� ำ ลั ง เดิ น ย�่ ำ รอยเท้ า ตาม ด่านสัตว์ป่าอยู่ในดงลึกก็ตาม “ป่านี้สวยมากเลยนะพี่บอย มันมี อยู่จริงหรือนี่” เธอทั้งสองเหมื อ นก� ำ ลั ง เดิ น เล่ น ชมสวน กลิ่ น หอมจางๆ ของ กล้วยไม้ป่าประเภทเอื้องสายเสริฐ เข้า มากระทบจมูกนักเดินทางอย่างแผ่วเบา ก่อนที่ช่องามๆ จะเผยโฉมอยู่บนคาคบ ไม้ใหญ่ มันตกแต่งป่าที่น่าเกรงขามนี้ให้ดู นุ่มนวลอ่อนช้อยและปรุงแต่งกลิ่นให้ป่า หอมดั่งสวรรค์ในความฝัน ทว่าความเย็น

“โอ ..สมชื่อ ใครอยากโดดน�้ำเล่นมั่ง ล่ะ” เหมือนใครบางคนจะแกล้งชวนโดยไม่ คิดจะท�ำจริงๆ เราออกเดิ น ทางกั น ต่ อ ไปตามด่ า น ใหญ่ เส้นทางสะดวกสบายแม้จะวกวน ขึ้น เนินลงเนินอยู่บ้าง แต่ด่านช้างก็ท�ำให้เส้น ทางนี้โล่งสบายราวกับถนนสี่เลน บางครั้ง... บทเรียนของนักเรียนรหัสป่าไม่ใช่การสอน หรือการถ่ายทอดเรื่องราวใดๆ แต่เป็นการ อยู่รวม ซึมซับและกลมกลืนในสถานการณ์ จริ ง นั้ น ๆ หลั ง จากเจอศึ ก หนั ก ทั้ ง ทางชั น ฝนกระหน�่ำและตกอยู่ในดงล้อมของเจ้าถิ่น แบบเฉียดเป็นเฉียดตาย การยอมรับและ ปรับตัว การเคารพในศักดิ์ศรีอันเท่าเทียม ระหว่างเรากับสรรพสิ่ง ก็ถูกซึมซับรับรู้ไว้ ในสัญชาติญาณของคนเดินป่าอย่างไม่รู้ตัว และนั่ น คื อ เป้ า หมายใหญ่ ใ นบทเรี ย นของ เส้นทางนี้ คือการท�ำตัว “กลมกลืนเป็นหนึ่ง เดียว” กับป่า และอยู่กับป่าอย่างมีความสุข ได้ ไม่หวาดกลัวป่า ไม่ท�ำตัวขัดแย้ง นี่เอง จุดเริ่มต้นของมิตรภาพระหว่างคนกับผืน ป่าใหญ่ “แปลกเนอะ หนูชอบป่าที่นี่จัง ตอนนี้ ไม่รู้สึกกลัวอะไรนะเลย เหมือนอยู่ท่ามกลาง เพื่ อ นหรื อ ญาติ ส นิ ท ที่ บ ้ า นยั ง ไงอย่ า งงั้ น เลย ..” ดูเหมือนว่าสองสาวจากเมืองใหญ่


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

เป็ น ประเพณี โ บราณของ เมื อ งนครที่ เ กื อ บจะหาย สาบสู ญ ไปกั บ กาลเวลา ถ้ า ไม่ มี ค นรุ ่ น ใหม่ ที่ มี ค วามคิ ด อนุ รั ก ษ์ ก ลุ ่ ม หนึ่ ง คือ กลุ่มดีเจจากคลื่นแสงจันทร์ ที่มี ดีเจเอ๋ ดีเจ หญิง และดี เจปอปุ ย สามทหารเสื อ สาวได้ ช่ ว ย กันผลักดัน ช่วยกันเข็นขึ้นมา (อย่างเหนื่อยแสน สาหัส) ให้กลับมามีชีวิตชีวาและด�ำรงความงดงาม แห่งพิธีกรรมที่เรียบง่ายและมีประโยชน์ต่อบ้าน เมืองเราให้สืบทอดยิ่งยืน ยาวนานอีกครั้ง....ขอ ปรบมือให้ครับ

จะเดินทางมาถึงหัวใจของป่าเข้าให้แล้ว “เอาล่ ะ เราตั้ ง แค้ ม ป์ กั น ริ ม ล� ำ ธาร นั่นนะ พักที่นี่สักสองสามคืน เดินเล่นชมป่า กันให้หน�ำใจ แถวนี้ไม่อันตรายอะไรหรอก ต้นไม้หรือสัตว์ป่า ก็เพื่อนกันทั้งนั้น” ผม เลื อ กที่ ร าบริ ม ล� ำ ธารสี เ ขียวมรกตเป็นจุด ตั้ ง แค้ ม ป์ ซึ่ ง ก็ ถู ก ใจสาวๆ ยิ่ ง นั ก เพราะ ล�ำธารที่ว่า ร่มครึ้มอยู่ใต้ดงไม้ใหญ่ ตามคาบ ไม้ก็เต็มไปด้วยกล้วยไม้ป่านานาชนิด นับ ร้อยช่อ ระย้าหอมจรุงอยู่ตลอดแนวล�ำธาร น�้ำก็ใสสะอาดราวกับแก้ว ก้อนหินทุกก้อน ปกคลุมไปด้วยมอสและไลเคนจนเขียวฉ�่ำ ไปทั้งล�ำธาร และที่ดูถูกอกถูกใจไม่น้อย นั่นคือ ไม่ไกลนักมีแอ่งน�้ำใหญ่ที่สามารถ ลงไปว่ายน�้ำเล่นได้ราวกับสระน�้ำบนสรวงสวรรค์ “เย้ๆ ดีใจๆ ...ไปโดดน�้ำเล่นกัน” สอง สาวกระโดดโลดเต้น ขณะที่พี่เลี้ยงทั้งสอง เริ่ ม จั ด การกองไฟ และผู ก เปลตั้ ง แค้ ม ป์ ส�ำหรับคืนนี้ น�้ำค้างกลั่นตัวอีกแล้ว เราต่างรู้ดีว่า นั่ น ไม่ ใ ช่ ส ายฝน หากแต่ เ ป็ น ไอหมอกที่ กระทบไม้ใหญ่ และหยดพรมไพรไปทั่วพื้น ร่วงกราวไปตลอดทั้งค�่ำคืนอันหนาวเหน็บ ทว่านักเดินทางต่างถิ่นสี่คน ก็หลับสนิทและ อุ่นสบายราวกับนอนอยู่ในห้องนอนส่วนตัว ซึ่งความหมายของค�ำว่า “บ้าน” อาจจะมี มากกว่าที่เคยเข้าใจ

๑.ขบวนขันหมากเจ้า บ่า ว ๒.บรรยากาศในงาน พิ ธี วั ด คงคาเลี ย บ ๓.ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ รั บ มอบสิ น สอด ๔.สิ น สอดที่ ไ ด้ จ ากเรี่ ย ไรญาติ มิ ต รมอบให้ ท างวั ด ทั้งหมด ๕.ดีเจเอ๋ ต้นคิดรื้อฟื้นประเพณีโบราณ ผ่าน การเป็นเจ้าสาวมาแล้วยี่สิบกว่าครั้ง ๖.บรรดาเจ้าสาว


หน้า ๑๘

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นภสร มีบุญ

ล้

อหมุนรอบนี้ .. ขอนัดเจอกันชานเมืองด้วยความคิดถึง กับบรรยากาศ กลางทุ ่ ง โล่ ง ติ ด บึ ง น�้ ำ ขนาดใหญ่ ให้ สายลมและธรรมชาติได้โลมไล้กับการได้ สูดลมหายใจอย่างเต็มปอดอีกครั้งค่ะ โอ ลั่ ล ล้ า ขอพาสมาชิ ก ออกไปนั่ ง อิ่ ม อร่ อ ย กับเมนูอาหารพื้นบ้าน สถานที่นอกเมือง ที่ใครๆ ก็พากันถามถึง เมนูเด็ดๆ กับวัตถุ ดิบสดๆ เรียกว่าสิ่งที่ตกถึงท้องทุกอย่าง ล้ ว นแล้ ว แต่ ส ะอาดปลอดภั ย ไร้ ส ารพิ ษ เพราะผักที่ทางร้านใช้จะมีพี่ๆ น้องๆ ป้าๆ น�ำมาส่งถึงที่ร้าน จากการปลูกด้วยตนเอง ถึงเรียกน�้ำย่อยกันก่อนเลย กับเมนูปลาบู่ ในท้องถิ่นเรียกว่าไม่ต้องผ่านคนกลางให้ นึ่งซีอิ๊ว หลังจากนั้นอาหารพื้นบ้านรสเด็ด ชอกช�้ำ ..เมนูแรกของเที่ยงวันทันทีที่มา ก็ ถู ก ทยอยออกมาเสิ ร ์ ฟ อย่ า งพิ ถี พิ ถั น

น�้ำพริกแมงดา

ไข่เจียวมดแดง

หอยเชลล์ผัดฉ่า แกงคั่ว

ปลาบู่นึ่งซีอิ๊ว

นาใบส ปลาดุก

้มแป้น

เนื้อกวางผัดพริกไทยด�ำที่นี่ นับเป็นอาหาร จานเด็ ด ของทางร้ า นที่ มี ลู ก ค้ า ถามหา ตลอดเวลาเช่นกัน กลิ่นหอมปลายจมูกกับ เมนูหอยเชลล์ผัดฉ่า แล้วตามติดมาด้วย แกงคั่วปลาดุกนาใบส้มแป้น ที่เพิ่งเคยทาน ครั้งแรก อร่อยมากๆ กับไข่เจียวมดแดง นุ่มฟู และน�้ำพริกแมงดาผักสดกรุบกรอบ

ปิดท้ายด้วยต้มมดแดงรสชาติกลมกล่อม รับประทานกับข้าวขาว ตรา ๑,๐๐๐ ดี หุงผสมอย่างลงตัวกับข้าวกล้อง อิ่มแปล้ กันไปเลยทั้งคณะ ..พออิ่ ม เต็ ม ที่ ก็ มี โ อกาสได้ พู ด คุ ย กั บ พี่ ย อด พี่ เ ต๋ า เจ้ า ของร้ า นถึ ง ชื่ อ เก๋ ๆ ของร้าน ชื่อ “หยงหวา” ที่มาคือชื่อของ

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ต้มไข่มดแดง

ลู ก สาวทั้ ง สองคนมารวมกั น ระหว่ า ง น้ อ งยิ ห วา และน้ อ งตั น หยง บ่ ง บอกถึ ง เรื่ อ งราวความรั ก ความผู ก พั น ของคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ที่ มี ต ่ อ ลู ก ได้ ดี เ ลยที เ ดี ย วค่ ะ พี่ๆ ทั้งสองคนบอกกับเราว่าประสบการณ์ การท� ำ อาหารมาหกปี ก ว่ า กั บ ร้ า นเดิ ม ที่ กรุงเทพมหานคร (หลักสี่ แจ้งวัฒนะ ๑๔) เล่ากันมาว่าลูกค้ามากันแบบไม่ขาดสาย

เนื้อกวางทอดกระเทียมพริกไทย

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

ผิดหวัง ... ว่างกันเมื่อไหร่อย่าลืมแวะกันมาลิ้ม ลองกับอาหารรสเด็ด สไตล์ลูกทุ่ง @ ร้าน หยงหวา นะคะ (ข่าวดีส�ำหรับผู้อ่าน คอลัมน์ โอลั่ลล้า หน้า ๑๘-๑๙ นสพ.รัก บ้านเกิดทุกท่าน แจ้งทางร้านรับทันที ส่วนลด ๑๐%) เปิดบริการเวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น. ส� ำ รองโต๊ ะ โทร. ๐๘-๒๘๑๖-๖๙๓๔ ตลาดช้ อ ย ต.นาทราย อ.เมื อ ง จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ..

..แต่ด้วยความคิดถึงบ้าน อยากกลับมาใช้ ชีวิตที่บ้านเกิด คู่รักคู่นี้จึงตัดสินใจย้ายลง มาเปิดกิจการอันเป็นที่รัก ณ เมืองคอน บ้านเกิด นอกจากนี้ร้านหยงหวายังรับจัด หมดภารกิ จ ล้ อ หมุ น กลั บ บ้ า นกั น งานเลี้ยง งานประชุมสัมมนา งานแต่งงาน อาคารหลังคาโล่งโปร่ง บรรยากาศสบายๆ ที่พักเรือนแพล่องกลางบึงน�้ำใหญ่ เตรียม ก่อนนะคะ ..แล้วฉบับหน้าโอลั่ลล้าจะพา สไตล์ลูกทุ่งมนต์รักบ้านนานิดๆ อากาศ ไว้ ร องรั บ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบและหลงใหลใน ไปเที่ยวไปชิมกันอีกค่ะ สัญญา ดีๆ ไม่มีมลพิษ แถมในเร็ววันนี้ เราจะมี ธรรมชาติแบบจัดเต็มส่วนตัว รับรองว่าไม่


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๓ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.