นสพ.รักบ้านเกิด ฉบับที่ 62 เดือนพฤศจิกายน 2559

Page 1

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

ชาวนครศรี ธ รรมราชนั บ หมื่ น คนจุ ด เที ย นและร้ อ งเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี น้ อ มเกล้ า ฯถวายความอาลั ย และร� ำ ลึ ก ในพระมหากรุณาธิคุณ ณ ประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิ ภายในโครงการ พัฒนาลุ่มน�้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอปากพนัง

เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ ตุ ล าคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๙.๐๐ น. ที่ประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิ ภายในโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำปากพนัง อันเนื่อง มาจากพระราชด� ำ ริ อ� ำ เภอปากพนั ง จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ชาวนครศรีธรรมราช ทุกเพศทุก วัย ทุกสาขาอาชีพนับหมืน่ คน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ผู้บริหาร กองบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช

ณ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ สร้างความโศกเศร้าแก่พสกนิกรชาว ไทยและชาวไทยเชื้อสายต่างๆ ในแผ่นดินไทย ชาว นครศรีธรรมราชต่างร่วมถวายความอาลัยและถวาย สักการะพระบรมศพเหมือนชาวกรุงเทพมหานครและ จังหวัดอื่นๆ เพราะส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ 'รักบ้านเกิด' ล้ ว นเป็ น พสกนิ ก รในพระองค์ ต ่ า งส� ำ นึ ก ในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์จึงพร้อมใจกันน�ำเสนอ เรื่ อ งราวการเสด็ จ ประพาสจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช บอกเล่ า ความทรงจ� ำ และความศรั ท ธาต่ อ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่ฯ ผู้ทรงพระเมตตาให้ผู้อ่านได้ทราบ ขณะเดียวกัน ยังน�ำเสนอกิจกรรมถวายความ อาลัยและถวายสักการะพระบรมศพของหน่วยราชการ คณะสงฆ์และพสกนิกรผู้เป็นข้าแผ่นดิน แสดงให้เห็น ว่าชาวนครศรีธรรมราชมีความเคารพรักและเทิดทูน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ สูงยิ่ง

ขณะนี้ ที่พวกเราทั้งหลายก�ำลังโศกเศร้าจากการ เสด็จสวรรคตของในหลวงเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม และมีการน�ำพระราชกรณียกิจต่างๆ ของพระองค์มาแบ่ง ปันให้ได้เห็นเป็นประจักษ์กันอย่างกว้างขวางนั้น ชาว นครศรีธรรมราชไม่ควรพลาดภาพยนตร์ส่วนพระองค์การ เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรภาคใต้ครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๒ ที่เสด็จทางรถยนต์ถึงทุ่งสงแล้วเข้าสู่ตัวเมือง ก่อนที่จะเสด็จออกทางร่อนพิบูลย์ซึ่งผมเองนั้นเคยดูมา หลายรอบตัง้ แต่เมือ่ ๑๐ ปีกอ่ น แล้วได้พยายามบอกต่อให้ ได้ดูกันมากๆ เพราะในนั้นไม่เพียงได้เห็นและประจักษ์ชัด ถึงพระเมตตาของพระองค์ท่านแล้ว ความจงรักภักดีของ ชาวนครก็ล้นเหลือและทั่วทุกหัวระแหง เฉพาะอย่างยิ่งมี หลายตอนทีเ่ ป็นภาพยนตร์ฝพี ระหัตถ์ และที่ผมใคร่ขอเสนอมายังท่านทั้งหลายให้ได้เปิด ดูใหม่อีกครั้ง แล้วลองคิดอ่านท�ำอะไรกันในวาระโอกาส นี้ไหม ? มาช่วยกันตามรอยพระยุคลบาทด้วยการสืบค้น

ว่าทีไ่ หน ? ใครเป็นใคร ? อะไร ? อย่างไร ? และควรจะท�ำ อะไรกันอีก ? อาทิ หนึ่ง) เมื่อแรกเสด็จถึงนครแล้วผู้ว่าราชการจังหวัด ทูลเก้าถวายพระแสงราชศาสตราเมืองนครนัน้ ขณะนีอ้ ยู่ ที่ไหน ? จัดเก็บรักษาอย่างไร ? ใครเคยเห็นบ้าง ? และ ควรจะให้สมคุณค่าอย่างไรได้จงึ จะดี ? สอง) ต่อ ๓ สิ่งที่ทุ่งสง โดยเฉพาะบุคคลที่บอกว่า คิดถึงพระเจ้าอยู่หัวและขอจับมือหน่อยกับแม่เฒ่าอายุ ๑๓๐ ปีคือใคร ? และที่ในหลวงยกกล้องออกมาถ่ายนอก รถนัน้ ภาพไหน ? ใคร ? อะไร ? สาม) ที่พระต�ำหนักรับรองริมคลองนครน้อยใน บริเวณจวนผู้ว่าที่ทุกวันนี้ใช้เป็นบ้านพักรองผู้ว่าราชการ จังหวัดนั้น ที่พระองค์ทรงโบกพระหัตถ์ให้ราษฎร โดย เฉพาะชายผู้นั้นคือใคร ? เพราะน่าจะคือผู้ที่อยู่ในภาพยนตร์ฝพี ระหัตถ์ดว้ ย สี่ ) เมื่ อ สมโภชพระธาตุ ท� ำ ไมถวายแพรชมพู ? ต้นไม้ทองเงินสองคู่นั้นตอนนี้อยู่ที่ไหนในพิพิธภัณฑ์วัด ? (อ่านต่อหน้า ๑๑) ในพระอุโบสถนอกจาก


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๓

ปกนิตยสารต่างประเทศ ภาพจาก http://www.time.com, https://www.pinterest.com

ภาพจาก http://topicstock.pantip.com ภาพชุดนี้ ใช้ชื่อว่า Roi Du Siam ถ่ายเมื่อ : December 12, 1949 ช่างภาพ : Dmitri Kessel

ภาพจาก ภาพยนตร์ส่วนพระองค์ ครั้งเมื่อเสด็จน�้ำตกพรหมโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๐๒

พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา กรณียกิจและพระราชด�ำรัสของพระองค์ เรียบง่าย เยอะแยะในพระองค์ flexibility นครที่มีโอกาสเฝ้ารับเสด็จฯ ในวาระที่ ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ เสด็ จ สวรรคต คุณธรรม ๓๖ ประการเหมือนหลอมเป็น ความยืดหยุ่นในพระองค์ที่มีต่อสิ่งกระทบ สองพระองค์เสด็จประพาสหลายๆ วาระ เสื้ อ ผ้ า อาภรณ์ ที่ ง ดงามเวลาทรงฉลอง ต่างๆ” เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ได้ประจักษ์ดว้ ยสายตา ผมกั บ น้ อ งจิ ต เลขา สุ ค นธขจร นักข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ร่ ว มกั น สั ม ภาษณ์ ‘ปาป้า’ จิมมี่ ชวาลา ผูศ้ รัทธาและเทิดทูน ในหลวงรัชกาลที่ ๙ อย่างสูงสุด---กล่าวไว้ อย่างน่าคิด “คุณธรรม ๓๖ ประการในพระองค์ นั่ น แหละ ในพระวรกาย ทั้ ง พระราช-

พระองค์ แต่ เ ราจะแต่ ง จิ ต วิ ญ ญาณเรา อย่ า งไรให้ มี คุ ณ ความดี ให้ มี คุ ณ ธรรม ๓๖ ประการ - - Unselfish ก็คือการไม่ เห็นแก่ตัว - - Determination คือความ มุง่ มัน่ - - Discipline คือ ความมีระเบียบ วินยั Tolerance ความอดทน ทุกอย่างใน พระองค์ที่เสียสละมันไม่ใช่ง่าย gentleness ความอ่ อ นโยนในพระองค์ ความ

นีค่ อื สิง่ ดีดี คือหลักปฏิบตั ทิ คี่ นสามัญ สามารถน�ำไปใช้ได้โดยไม่มีใครห้าม ไม่ จ�ำเพาะเจาะจงเอาชาวนครศรีธรรมราช เท่านั้น แต่พสกนิกรชาวไทยทุกคนน�ำไป ใช้ได้ พระจริยวัตรอันงดงามในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ชาวไทย และชาวต่างชาติรับรู้อย่างกว้างขวาง ชาว

หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละนิ ต ยสารต่ า ง ประเทศน�ำเรื่องราวของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ และสมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถไปถ่ า ยทอดให้ ช าว ต่ า งชาติ ไ ด้ รู ้ จั ก และรั บ รู ้ ต ลอดมา ดั ง ตัวอย่างทีน่ ำ� มาตีพิ มิ พ์ ณ ทีน่ ี้ คุ ณ ผู ้ อ ่ า นที่ เ คารพชื่ น ชมพระบรม ฉายาลักษณ์ลำ�้ ค่าหายากด้วยตัวเอง


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๔

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ารเขียนต้นฉบับเดือนนี้ยากล�ำบากที่สุด จะคิดเรื่อง ราวที่ มี อ ยู ่ จะคุ ย เรื่ อ งอะไรก็ คิ ด และคุ ย ไม่ อ อก บรรยากาศรอบตัวมีแต่เรื่องการสูญเสียของพวกเราที่มี ต่อพระเจ้าอยู่หัว เรื่องราวของพระราชกรณียกิจของ พระองค์ทา่ น ทีเ่ ราๆ ไม่เคยรับรูร้ บั ทราบมาก่อน ก็ถกู น�ำ มาเปิดเผยให้ทราบ น่าติดตามเป็นอย่างมาก ภาพถ่าย ภาพยนตร์เก่าๆ ก็ถูกน�ำมาฉาย มีคุณค่าแก่การจดจ�ำ อย่างยิง่ มีภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดหนึ่งที่น่าสนใจ คือ พระราชการณียกิจของทั้งสองพระองค์ เสด็จเยี่ยมเยียน ชาวนครศรีธรรมราชครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๒ เป็น ความจดจ�ำของผมในวัยเด็ก แม้ช่วงที่ทั้งสองพระองค์ ท่านเสด็จสภาพบ้านเมืองมีความล�ำบากในการเดินทาง เป็นอย่างมาก แต่กลับท�ำให้ชาวนครได้มีโอกาสใกล้ชิด กับพระองค์มากกว่าครัง้ อืน่ ๆ ในเวลาต่อมา จ�ำได้ว่าก่อนที่พระองค์ท่านจะเสด็จ เราเริ่มรู้ข่าว จากการบอกเล่าของผู้คนในร้านโกปี๊ของเรา ไม่มีข่าวมา จากวิทยุหรือโทรทัศน์ เพราะโทรทัศน์ในเมืองนครยังไม่มี เลย ส่วนวิทยุก็มีเฉพาะบ้านที่มีฐานะ หรือร้านโกปี๊ของ เราที่จ�ำต้องซื้อหามาบริการลูกค้า หนังสือพิมพ์จากส่วน กลางก็มีน้อยฉบับมาก หนังสือพิมพ์ 'เสียงราษฎร์' ของ

นายสุ ริ น ทร์ มาศดิ ต ถ์ เพี ย งฉบั บ เดี ย วที่ เ ราสามารถ ติดตามได้ แต่กม็ จี ำ� หน่าย ๑๐ วันต่อหนึง่ ฉบับในสมัยนัน้ ข่าวที่น�ำมาลงก็เอามาจากวิทยุ จึงไม่มีข่าวมากมายนัก แต่การรับรู้ของชาวบ้านได้กระจายไปทุกหมู่บ้านต�ำบล การเสด็จครัง้ นัน้ ได้เสด็จถึงสามวันสองคืน แต่ทรงเยีย่ มได้ เพียงสามอ�ำเภอเท่านั้น จึงเป็นเวลาที่ชาวนครได้ใกล้ชิด กับทัง้ สองพระองค์ทา่ นนานและใกล้ชดิ ทีส่ ดุ ผมจ� ำ ไม่ ไ ด้ ว ่ า การเสด็ จ เข้ า เมื อ งนครที่ อ� ำ เภอ ร่อนพิบูลย์พระองค์ท่านเสด็จทางรถยนต์จากพัทลุงมา หรือเสด็จทางขบวนรถไฟ ครอบครัวของคุณยายผมต่าง ได้เข้าเฝ้าที่สนามหน้าอ�ำเภอ ส่วนผมอยู่ที่นคร ก่อนการ เสด็ จ ผมตื่ น เต้ น ตามผู ้ ใ หญ่ ซึ่ ง เป็ น ลู ก ค้ า ได้ พู ด ถึ ง การ ก่อสร้าง 'พลับพลาประทับแรม' อยูใ่ นบริเวรด้านหน้าของ จวนผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ผู ้ ใ หญ่ เ ขานั ด หมายไปดู ก าร ก่อสร้างกัน ผมก็แอบติดตามไปด้วย ที่ติดตามไปด้วยได้ เนื่องจากทุกคนต้องเดินเท้าไป รถโดยสารทั่วไปไม่มี มี เฉพาะรถสามล้อ ค่ารถจากท่าม้าไปหน้าเมืองก็ ๑ บาท เป็นเงินไม่ใช่นอ้ ย สูเ้ ดินหรือวิง่ ไปดีกว่า 'พลับพลาประทับ แรม' สร้างง่ายๆ เรียบๆ แต่ความรูส้ กึ ตอนนัน้ ว่าสวยงาม อย่างวิเศษ ปัจจุบันพลับพลาหลังนี้ยังอยู่ในจวนผู้ว่า เหมือนเดิม มีอายุ ๕๗ ปีแล้ว เมือ่ ก่อนการเสด็จ ชาวนคร ในอ�ำเภอต่างๆ ที่ไม่อยู่ในตารางการเสด็จ ต่างก็เดินทาง มาล่ ว งหน้ า หาบ้ า นญาติ พี่ น ้ อ งและวั ด วาอารามเพื่ อ พักแรม แม้แต่ในตลาดท่าม้าซึง่ ไม่มหี ลังคาคลุมและเป็นที่ สาธารณะก็มีผู้คนมาจับจองกางมุ้งนอนกันเต็มไปหมด ร้านโกปี๊ของเราก็ขายดิบขายดี เพราะมีผู้คนจากต่าง อ�ำเภอมามากมาย เมื่อขบวนเสด็จผ่านผู้คนต่างวิ่งกรูกัน ไปอยูร่ มิ ถนนแน่นสองข้างทาง >> อ่านต่อหน้า ๑๑

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๖ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ส�ำนักพระราชวังประกาศ เรื่ อ ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิ ต ร สวรรคต ยั ง ความโศกเศร้ า เสี ย ใจมาสู ่ ประชาชนชาวไทยทั่วทั้งประเทศ

ชาวไทยในต่างประเทศได้แสดงความอาลัยน้อมส่ง เสด็จ ขณะชาวไทยในประเทศได้รอรับเสด็จพระบรมศพเคลื่อน จากโรงพยาบาลศิ ริ ร าชไปยั ง พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาทใน พระบรมมหาราชวังอย่างเนืองแน่น และเข้าร่วมถวายสักการะ เบื้องหน้าพระบรมรูปและลงนามถวายอาลัยอย่างไม่ขาดสาย


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

ผู้น�ำชาติต่างๆ ส่งสาส์นแสดงความเสียใจและเดิน ทางมาคารวะพระบรมศพ โดยเฉพาะสมเด็ จ พระราชาธิ บ ดี จิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งภูฏานทรงรับสั่งให้ทั้งประเทศ ไว้ ทุ ก ข์ ใ นวั น ที่ ๑๔ ตุ ล าคม ๒๕๕๙ พร้ อ มลดธงครึ่ ง เสา โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ หยุดเพื่อมาร่วมแสดงความอาลัย โดยวั ด ทั่ ว ทั้ ง ภู ฏ านร่ ว มสวดมนต์ แ ละจุ ด เที ย นแสดงความ อาลัย ๗ วัน โดยทรงน�ำสวดมนต์ด้วยพระองค์เอง ต่อมาได้ เสร็จพร้อมสมเด็จพระราชินีมาคารวะพระบรมศพที่กรุงเทพฯ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีส่ง หนังสือด่วนที่สุดถึงหัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วย งานของรัฐ เรื่องแนวทางปฏิบัติอันเกี่ยวเนื่องกับงานพระบรม ศพ เกี่ยวกับแนวทางการแต่งกายไว้ทุกข์ถวายและแนวทางเดิน ทางไปร่วมพระราชพิธีบรมศพ

วั น ที่ ๑๖ ตุ ล าคม ๒๕๕๙ บริ เ วณถนนราชด� ำ เนิ น หน้าวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช และนางวาสนา ทิพญพงศ์ธาดา นายกเหล่ากาชาดจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ และประชาชนร่วมท�ำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง น้อม เกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแสดงออกถึงความ จงรักภักดีและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ โดยมีพระเทพวินยาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุติ) เจ้าอาวาส วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นประธานสงฆ์

หน้า ๕ มัสยิดต่างๆ ทั้ง ๑๒๘ มัสยิดในจังหวัดและกรรมการกลาง ประจ�ำมัสยิด สมาคมมุสลิมะห์อาสาประจ�ำจังหวัด และเครือ ข่ายมัสยิดต่างๆ ร่วมประกอบพิธีแสดงความอาลัยน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช โดยนายกริ ย า กิ จ จารั ก ษ์ รองประธาน คณะกรรมการกลางอิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทย ผู ้ แ ทนจาก จุฬาราชมนตรี กล่าวต้อนรับ นายเอกชัย ดารากัย ประธาน คณะกรรมการอิ ส ลามประจ� ำ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช อ่ า น แถลงการณ์ของส�ำนักจุฬาราชมนตรี

กุศล เจ้าภาพในพิธีประกอบด้วย พลตรีอาคม พงศ์พรหม ผู้บัญชาการมลฑลทหารบกที่ ๔๑ พร้อมข้าราชการ เจ้าหน้าที่ สังกัดกระทรวงกลาโหม ข้าราชการ เจ้าหน้าที่จากองค์การ บริหารส่วนจังหวัด และประชาชนทุกหมู่เหล่าเข้าร่วมจ�ำนวน มาก ก� ำ หนดสวดพระอภิ ธ รรมเพื่ อ น้ อ มเกล้ า น้ อ ม กระหม่อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับ คณะสงฆ์จังหวัด ก�ำหนดสวดพระอภิธรรมเป็นเวลา ๑ เดือน จนถึงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น. ของทุกวัน ณ พระวิ ห ารหลวง วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๙ ชาวนครศรีธรรมราชร่วมน้อมเกล้า น้อมกระหม่อมถวายความอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสพระราชพิธีปัณรสมวาร (๑๕ วัน) ณ โครงการพระราชด�ำริ ประตูระบายน�้ำอกทกวิภาชประสิทธิ อ�ำเภอปากพนัง รศ.วิ ม ล ด� ำศรี อธิการบดี มรภ. นครศรีธรรมราช สนับสนุนให้อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร รวบรวม เรียบเรียง ศึกษาเรียนรู้ ถอดบทเรียน พระอัจฉริยภาพ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อ เจริญรอยตามพระราชปณิธาน โดยสร้างเป็นผลงานในรูปแบบ วั น ที่ ๒๔ ตุ ล าคม ๒๕๕๙ ภายในพระวิ ห ารหลวง ต่างๆ พร้อมเผยแพร่ บริการทางวิชาการให้แก่ นักศึกษา ครู วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นายสกล จันทรักษ์ รองผู้ว่า- อาจารย์ และประชาคมภายใน ๑๐๐ วั น นั บ จากเดื อ น ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ใน พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เป็นต้นไป พิธีสวดพระอภิธรรมเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็น เป็ น พระราชกุ ศ ล พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ โดยมีพระเทพวินยาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุติ) เจ้าอาวาส วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และพระ สงฆ์ ๔ รูป จากวัดท่าแพ อ�ำเภอเมืองสวดพระอภิธรรมแล้ว ประธานอ่านพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เจ้ า หน้ า ที่ ล าดผ้ า ขาวและลาดผ้ า ภูษาโยง ประธานในพิธีทอดผ้าไตรจีวร พระสงฆ์สดับปกรณ์ อารยา สารคุณ แห่งฮอนด้าศรีนคร สนับสนุนสีสเปรย์ หน่วยงานเจ้าภาพถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ พระสงฆ์ และชวนเพื่อนๆ ศิลปิน graffiti ภาคใต้มาสร้างงานศิลป์ถวาย อนุโมทนา ประธานในพิธีกรวดน�้ำ ประธานสงฆ์พร้อมผู้เข้าร่วม ความอาลัยและร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล ในพิธีนั่งสมาธิเจริญจิตภาวนา ๙ นาที เพื่อถวายเป็นพระราช ที่ ๙ ในซอยบ่ออ่าง

วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ บริเวณหน้ามิสยิดกลาง ต�ำบลนาทราย อ�ำเภอเมือง นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยผู้แทนศาสนา อิสลาม คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด อิหม่ามประจ�ำ Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

Page เพชรทองซีกวง

: Seekuang_central

Seekuang BJ

Line ID : @Seekuang

Line ID : boonada

099-195-6996

เพชรทอง 1. ถ.เนรมิต ท่าวัง 2. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน 3. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างสหไทยพลาซ่ า ทอง 4. ชั้ น 2 โซนร้านทอง ห้างเซ็นทรัลพลาซ่ า 5. ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) 6. หัวอิฐ 7. คูขวาง (หน้า ธ.SME) 8. ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุ ม ซ.ศรีนคร) 9. สะพานยาว (ข้างโลตัสเอ็กเพรส เร็วๆ นี้) เพชรทองออนไลน์ 10. www.facebook.com/BOONADA ทอง (หาดใหญ่) 11. ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๖ แท้จริง สมัยนีเ้ รางัด Theory หรือวิชาการ ออกมามากมาย แต่สิ่งที่ประเทศไทยต้อง การจริงๆ คือ practical คือการปฏิบัติ ถ้าเราเห็นพระราชกรณียกิจของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราชแล้ว เราต้องบอกได้เลยว่าในนาม ชาวโลก ๗,๐๐๐ กว่าล้านคน ถ้าเราดูจาก จานดาวเที ย มเราจะเห็ น เลยว่ า ในเวลา กลางวันนั้น ท�ำไมประเทศไทยเราไม่เห็น สีอื่น ท�ำไมมันกลายเป็นสีด�ำกับสีขาวหมด เป็นสิ่งที่ผมคิดว่าถ้าผมอยู่บนอวกาศแล้ว ผมมองลงมา ผมคงจะปลื้มใจมาก เพราะ ในความทุกข์ที่มหันต์เราจะพบความสุข เล็กๆ น้อยๆ เหมือนกับกลางคืนเราเห็น ดาวเพี ย งดวงเดี ย ว แทนที่ จ ะเห็ น อะไร มากมาย นั่นหมายถึงว่า สีด�ำนี่แหละ มัน หลอมทุกสีให้เป็นสีเดียว เราเรียนรูส้ จั ธรรม ปรัชญาของชีวิต พระองค์สวรรคตยังมอบ สิ่งงดงามให้กับชาวไทย ชาวโลก ฉะนั้น ตรงนี้เป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องร�ำลึกและต้อง คิด ว่าเราตอนนีเ้ ป็นสีเดียวกันแล้ว เราไม่มี หลากสีแล้ว ในสีดำ� เราจะเห็นสีขาวได้อย่าง ชัดเจนที่สุด ตรงนี้ประเทศไทยเรา ไม่ใช่ เฉพาะประชาชนไทย พสกนิกรชาวไทย ทั่วโลกสรรเสริญและยกย่อง He is realy the King of The Kings กษัตริย์แห่ง กษัตริยจ์ ริงๆ ...ปาป๊าจิมมี่ภูมิใจที่ได้ท�ำให้พระองค์

‘รักบ้านเกิด’ ฉบับนี้ ร่วมไว้อาลัยต่อการเสด็จสวรรคตของ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เนื้อหาหลักกองบรรณาธิการ นักเขียนประจ�ำต่าง ร่วมแสดงความไว้อาลัยต่อ ‘พระมหากษัตริย์’ ผู้ทรงเป็นที่รักของปวงชนชาวไทย

ายจิ ม มี่ ชวาลา พ่ อ ค้ า ผ้ า เชื้ อ สายอิ น เดี ย เกิ ด ที่ นครศรีธรรมราชผู้กล่าวอย่างเต็มปากว่าเป็นชาว นครศรีธรรมราชและชาวไทย เป็นผู้หนึ่งที่เคารพเทิดทูน ทั้งน้อมน�ำพระราชด�ำรัสมาปรับใช้ในชีวิตจนประสบความ ส�ำเร็จในธุรกิจการค้า และเป็นผู้เสียสละแก่สังคม โดยน�ำ ผลก�ำไรมาบริจาคแก่องค์กรการกุศล หน่วยงานราชการ โรงพยาบาลต่างๆ สถานศึกษา ช่วยเหลือนักเรียนชนบท ให้มอี าหารรับประทานมาร่วม ๒๐ ปี และทูลเกล้าฯ ถวาย เงิน ๒๘ ล้านบาท ผ่านมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ใน พระบรมราชูปถัมภ์เพื่อซื้อทองค�ำมาบูรณะองค์พระบรม ธาตุเจดีย์ 'รักบ้านเกิด' ขออนุญาตน�ำเสนอบทสัมภาษณ์โดย ไม่วางค�ำถาม ให้ผู้อ่านผู้มีอุปการคุณอ่านอย่างต่อเนื่อง เพราะว่าทุกท่านตัง้ ค�ำถามอยูใ่ นใจแล้วเช่นกัน จิมมี่ ชวาลา : ขอกราบสวัสดีพ่อแม่พี่น้องชาวไทย พ่อแม่พี่น้องชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชทุกท่าน ตอนนี้ ถึงเวลาแล้ว ที่เราไม่ต้องใช้ Theory คือ ค�ำพูดต่างๆ มากมาย แต่เราต้องใช้ practical คือ ภาคปฎิบัติอย่าง

แย้มพระโอษฐ์เมื่อสิบเดือนก่อนพระองค์เสด็จสวรรคต ที่ เราชาวไทยได้บูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระบรมธาตุเจดีย์ซึ่ง มีพระบรมสารีริกธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรา ได้ทำ� สูงส่งแล้ว not me not you ; we everyone we have done a duty เราได้ทำ� สิง่ ทีด่ แี ล้ว และเราต้องท�ำดี อีกต่อไป...how you believe live a life that not will be tomorrow. อยู่อย่างไรให้เป็นพสกนิกรชาวไทยที่น่า ภูมิใจ อยู่แบบที่ว่าจะไม่มีวันพรุ่งนี้อีก และเราจะรู้ว่ากฎ ไตรลักษณ์มันมีอะไรที่ดีมาก ทุกอย่างเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และ ดับไป วันนี้เราตั้งอยู่ ก่อนหน้านี้เราเกิดขึ้น เกิดขึ้นเพราะ พ่อแม่เราปฏิสนธิ...เราก็เกิดขึน้ แล้ว เราไม่ควรจะพูดอะไร กันให้มาก วันนีเ้ ราได้สนทนากัน เราตัง้ อยู่ แล้ววันหนึง่ เรา ต้องดับไปเหมือนพระองค์เสด็จสวรรคต แล้วเราท�ำอะไร ก่อนจะดับไป เรารูเ้ ราเอาอะไรไปไม่ได้ ฉะนัน้ ท�ำอะไรทีอ่ ยากจะท�ำ อะไรทีค่ วรจะวาง อะไร ที่สละจะดีที่สุด do it now does no more talk no more theory only practical เราไม่ควรจะพูดอะไรกัน ให้มาก ไม่ควรจะมีน�้ำตา เรามาเปลี่ยนเป็นปฏิบัติดีกว่า แล้วก็ให้พระองค์ซึ่งรับรู้จากสรวงสวรรค์ได้เห็นว่าเรา

ชาวไทยท�ำดี แล้วต่อจากนี้ชาวโลกจะประจักษ์ว่าเราพสก นิกรชาวไทย เราได้ท�ำแบบที่พระองค์เป็นต้นแบบให้เรา เป็นพ่อทีด่ ขี องเรา สิง่ เหล่านีป้ กติเราเรียนรูด้ ว้ ยการปฏิบตั ิ 'ปัจจัตตังเวทิตัพโพวิญญูหิติ' เราต้องเรียนรู้ด้วยตัวเรา เอง แต่ขณะนีถ้ า้ เรารับจากพ่อแม่แท้ๆ เรารับจากทางสาย เลือด แต่ตอนนีเ้ ราได้รบั ทางจิตวิญญาณอย่างแท้จริง ก็ขอ ขอบคุณทุกๆ ท่านทีเ่ ข้ามาเยีย่ ม ถ้าหนึง่ บ้านท�ำความดี ในหนึง่ ต�ำบลหลายคนก็อยาก จะท�ำความดี ถ้าหนึ่งต�ำบลท�ำความดี หลายๆ ต�ำบลจะ ร่วมกันท�ำความดี ถ้าหลายๆ ต�ำบลท�ำความดี อ�ำเภอนัน้ ก็ มีความสุข หลายๆ ต�ำบล หลายๆ อ�ำเภอมีความสุข จังหวัด ก็ มี ค วามสุ ข เราก็ มี ค วามสุ ข จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ก็มีความสุข จังหวัดนครศรีธรรมราชมีความสุขหลายๆ จังหวัดก็มคี วามสุข ประเทศไทยก็มคี วามสุข พระองค์ทอด พระเนตรอยู่ พสกนิกรชาวไทยทุกคนก็มคี วามสุข ...ศัตรูที่ร้ายกาจที่สุดของเราเวลานี้คือความยากจน และความล�ำบากหลายประการ แล้วก็แรงงาน เรายังมี อุปสรรคอีกมากมายที่มองไม่เห็น แต่เราจะก้าวไปด้วยกัน we go together not I not you but we shall go together and make this country ...ประเทศไทยเรา ดีอยูแ่ ล้ว เราต้องท�ำให้ดขี นึ้ ให้งดงามยิง่ ขึน้ ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี้ เคยบอกในช่วงสงครามเย็นระหว่าง อเมริกากับรัสเซียว่า... My fellow Americans, ask not what your country can do for you, ask what you can do for your country. เราจะต้องตอบด้วยความ ภูมิใจว่า ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเลิกถามว่าประเทศท�ำอะไร ให้เราได้ แต่เราตอบแทนผืนแผ่นดินนี้ด้วยภาคปฏิบัติว่า ถึงเวลาแล้วที่เราจะท�ำอะไรเพื่อแผ่นดิน เรามีลูกหลาน พระเจ้าตากเยอะแยะ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กล้า หาญอย่างแท้จริง ท่านไม่ได้ทำ� อย่างประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตร์เต้ของฟิลิปปินส์ แต่ดูเตร์เต้มาหลังท�ำแบบของท่าน ประยุทธ์ จันทร์โอชา แบบตรงไปตรงมาด้วย...คือลูกหลาน พระเจ้ า ตากที่ แ ท้ จ ริ ง กล้ า คิ ด กล้ า ท� ำ กล้ า พู ด คิ ด ดี พูดดี ปฏิบัติดี มีบุคคลอีกหลายๆ ท่านที่อยากจะเอ่ยถึง เช่น ท่านเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ที่วัดร่องขุ่นที่เชียงราย ท่านปัญญา นิรันดร์กุล ที่สละทรัพย์ส่วนตัวไม่เห็นแก่ผล ประโยชน์เอาซีรี่ส์พระศาสดามาให้ชาวไทย ชาวพุทธได้ สัมผัสถึงพระพุทธองค์อย่างแท้จริง นี่คืออานิสงส์อย่างสูง พ่อแม่พี่น้อง ข้าราชการทหารต�ำรวจ คุณหมอ พยาบาล ผมภูมิใจที่เกิดบนแผ่นดินนี้ ขอขอบคุณมาก ขอให้ทุกคน มีความสุข มีความสบายใจ มีความแข็งแกร่ง หลอมกัน เป็นสีเดียว ท�ำเพือ่ บ้านเมืองให้ผนื แผ่นดินไทยอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเชื้อชาติศาสนามาจากที่ไหนก็ขอให้มีจิตใจเช่นนี้ ตลอดไป ปฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ ขอขอบพระคุณมากครับ... ...ถ้าถามว่าท�ำไมเราต้องรัก 'พระเจ้าอยู่หัว' ต้อง ถามกลับว่า...ถามชาวไทยเรากลับว่า แล้วท�ำไมเราจะไม่ รักพระเจ้าอยู.่ .. why should you not love the king. เราเคารพพระองค์ ชาวไทยเคารพพระองค์ ส�ำหรับผม พระองค์เป็นครูคนแรก ผมได้เรียนรู้พระราชกรณียกิจ ต่างๆ ตั้งแต่ผมอายุ ๔ ขวบ ผมออกไปช่วยคุณพ่อขายผ้า ตามตลาดนัด เราออกจากบ้านประมาณ ๔ น. จะถึงตลาด ราว ๕.๓๐ น. ปูผา้ พลาสติกกว้าง ๒ เมตร ยาว ๔ เมตร ไป หาก้อนอิฐมาทับสองข้างไม่ให้มนั ปลิว เราวางผ้าไว้ คนมา จ่ายตลาดก็ซอื้ ผ้าไป สมัยนัน้ กระดาษร้อยละ ๕ บาท ๗๕ (อ่านต่อหน้า ๙) สตางค์ กระดาษสีนำ�้ ตาล


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

วามเดิม ผมพูดถึง “คนประสบส�ำเร็จในชีวิตต้อง รู ้ คุ ณ ค่ า แห่ ง อนาคต” คนส� ำ เร็ จ ในธุ ร กิ จ ก็ เ ช่ น เดียวกัน พวกเขาน�ำประสบการณ์ หลักการ และความรู้ ทางการตลาดมาใช้เพื่อสร้างการเติบโตและเป็นการวาง รากฐานในการก้าวต่อไปในอนาคต เพราะการใช้ความ คิดสร้างสรรค์+วิสัยทัศน์ และความกล้าในการคิดนอก กรอบ ท�ำให้สามารถมองเห็นในสิ่งที่คนอื่นยังมองไม่เห็น ได้นั่นเอง นั่นคือโอกาสใหม่ๆ ที่ส�ำคัญมากในการสร้าง ความเติบโตและประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจ ความ จริงข้อนี้ถือได้ว่าเป็นหัวใจส�ำคัญของความส�ำเร็จไม่ว่า คุณจะเป็นใครก็ตาม หากต้องการบรรลุเป้าหมายและ ความส�ำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ คุณก็ท�ำได้ครับ แล้วอนาคต จะเป็นอย่างไร? ส่งผลกระทบในด้านใดบ้าง? เมื่อโลก ก�ำลังเดินทางเข้าสู่ยุคดิจิทัล มีเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นหัวใจส�ำคัญ ผลการส�ำรวจจากสหภาพการสื่อสาร โทรคมนาคมสากลหรือ ITU (International Telecommunication Union) ร่วมกับแผนกประชากรโลก แห่ง องค์ ก ารสหประชาชาติ (UN.) เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม ๒๐๑๕ (๒๕๕๘) มีประชากรโลกเข้าถึง Internet ๓.๑๗ พันล้านคน เมื่อเทียบกับประชากรโลก ๗.๓๒ พันล้าน คน = ๔๓% หรือ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลกทีส่ ามารถ เชือ่ มต่อเข้าสูร่ ะบบ Internet และมีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ ถึง ๔ พันล้านคน ในอีก ๔-๕ ปีขา้ งหน้า (ปี ๒๐๒๐) สอด รับกับข้อมูลจาก GSMA ในปี ๒๐๑๕ (๒๕๕๘) พบว่ามี ผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ๗,๑๐๐ ล้านเครือ่ ง มี ๒,๗๐๐ ล้าน เครื่องเป็นสมาร์ทโฟน (Smart phone) คิดเป็น ๓๘% มี สั ญ ญาณบ่ ง ชี้ ก ารเติ บ โตของสมาร์ ท โฟน (โทรศั พ ท์ อัจฉริยะ) และแท็บเล็ต (tablet) อย่างต่อเนื่อง และก็ ยังมีอุปกรณ์ดิจิทัลไม่ว่าจะเป็นนาฬิกาอัจฉริยะ (Smart Watch) แว่นตาอัจฉริยะ (Smart glass) สายรัดข้อมือ อัจฉริยะ (Smart band)

หน้า ๗

ศึกษาอนาคต เพื่อก�ำหนด เป้าหมายของชี วิต

ค�ำถาม “แล้วโลกอนาคตจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร?” การด�ำเนินชีวติ ดิจทิ ลั (Digital Lifestyle / Journey) จะ ส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจ และผลกระทบต่อด้านสังคม - การศึกษา - สาธารณสุข - ความปลอดภัยในการด�ำรง ชีวิต - การให้บริการภาครัฐ ฯลฯ จะเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร? โลกที่ท�ำให้ประชาชนด�ำเนินวิถีชีวิตทั้งออนไลน์ ออฟไลน์ ใ นเวลาเดี ย วกั น ตลอดวั น คื อ สลั บ ไปมาหรื อ พร้อมกัน Offline to Online หรือ Online to Offline โลกทีท่ ำ� ให้ผคู้ น “ใกล้กนั ท�ำอะไร ร่วมกัน” ได้มากกว่า เดิมในทางการตลาดคือการเข้าสู่ยุค “การตลาด ๔.๐” (Marketing 4.0) ยุคที่ผู้บริโภค ถือว่า “เขามีอ�ำนาจอยู่ ในมือ (อุปกรณ์พกพาดิจทิ ลั )” เท่าที่ได้แลกเปลี่ยนกันในแวดวงคนท�ำธุรกิจก็พอ มองเห็นผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอันไม่ช้านี้ ท่าน ผูอ้ า่ นลองคิดตามนะครับ ๑. อุตสาหกรรมออนไลน์ จะส่งผลกระทบต่อภาค อุตสาหกรรมแบบเดิมที่ต้องแบกรับภาระ อาคาร สถานที่ การบริหารส�ำนักงาน ค่าจ้างคนและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ท�ำให้ ต้นทุนสูงขึน้ จนแบกรับไม่ไหวนัน่ เอง ๒. อุ ต สาหกรรมทางการเงิ น จะมี ก ารปรั บ ตั ว ครั้ ง ใหญ่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบการท� ำ ธุ ร กรรมทาง การเงิ น เมื่ อ ผู ้ บ ริ โ ภคสามารถท� ำ ทุ ก อย่ า งได้ บ นมื อ ถื อ (อุปกรณ์ดจิ ทิ ลั )

เดื อ นพฤศจิ ก ายน ๒๕๕๙ วันจันทร์ที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก วันจันทร์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก วันลอยกระทงวัน อังคารที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ แรม ๘ ค�่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก วันอังคารที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก

(จบ)

๓. คนรุ่นใหม่ Gen C (Connected Generation) ที่เป็นประชาชนออนไลน์ เริ่มมองหาช่องทางการ ท�ำธุรกิจด้วยตัวเองมากขึ้น ส่งผลให้คนรุ่นใหม่-วัยรุ่นจบ การศึ ก ษาใหม่ โดยเฉพาะคนเก่ ง ๆ จะไม่ ส นใจงาน ลูกจ้าง - แรงงานมีตำ� แหน่ง - สถานทีท่ ำ� งาน พวกเขา สนใจชี วิ ต อิ ส ระและการด� ำ เนิ น ชี วิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข มากกว่า ๔. แนวคิ ด การลงทุ น เปลี่ ย นไป “การลงทุ น เพียงน้อยนิด กล้าคิด กล้าท�ำ ด้วย “New Model Business” เกิดขึน้ อย่างกว้างขวาง สร้าง SME และกลุม่ Startup มากมาย ๕. ระบบเทคโนโลยีออนไลน์ ในยุคดิจิทัลที่เห็น หน้ากันตลอดเวลา เชื่อมต่อกันตลอดเวลา ๒๔ ชม. จะส่งผลกระทบต่อสังคมในทุกๆ ด้าน ๖. เราไม่รวู้ า่ เราสูอ้ ยูก่ บั อะไร? “หากเทคโนโลยีเอื้ออ�ำนวยให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นกว่า เดิม คุณเลือกทีจ่ ะด�ำเนินชีวติ อย่างไร? นัน่ หมายความว่า คุณมีทางเลือกการด�ำเนินชีวติ มากขึน้ แต่สำ� คัญอยูท่ กี่ าร เลือกของคุณครับ” นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๘ ต.ค. ๕๙


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

พร้อมใจกันเดินทางไปรวมตัวรวมพลังครั้งยิ่งใหญ่เพื่อจุด เทียน ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ๓ รอบ เบื้องหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช และยืนสงบนิ่งแสดงความอาลัย ๙ นาที โดยมี นายวิทยา แก้วภราดัย สมาชิกสภาขับเคลื่อนการ ปฏิรปู ประเทศ (สปท.) และอดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง สาธารณสุข เป็นประธานในพิธี โดย นายสกล จันทรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้าส่วน ราชการ นักการเมือง ผู้บริหารท้องถิ่น พ่อค้า ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และกลุ่มพลังมวลชนทุกหมู่เหล่าเข้า ร่วมพิธี มีการแปรอักษรเป็นรูปริบบิ้นไว้อาลัยรอบป้าย ประตูระบายน�้ำ ตลอดแนวประตูระบายน�้ำและบนถนน โดยรอบ พร้อมจุดเทียนเป็นข้อความว่า 'บ้านพ่อ' เพือ่ แสดง ความอาลัย น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุด มิได้ และแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในวั น ปั ณ รสมวาร (๑๕ วัน) การสวรรคต ท่ามกลางความเศร้าโศกเสียใจของ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่หลั่งน�้ำตาออกมาโดยไม่รู้ตัว นอกจาก

นี้ยังได้จัดให้มีการลงนามแสดงถวายอาลัยและปล่อยพันธุ์ สัตว์นำ�้ ๓๒,๔๘๙ ตัว ลงในแหล่งน�ำ้ เหนือประตูระบายน�ำ้ อุทกวิภาชประสิทธิ เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลด้วย ส�ำหรับประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้มพี ระราชด�ำริ ให้กรมชลประทานสร้างขึ้น กั้นแม่น�้ำปากพนังเพื่อแบ่ง แยกน�ำ้ เค็มและน�ำ้ จืดออกจากกัน ซึง่ พระองค์พระราชทาน นามประตูระบายน�ำ้ แห่งนีว้ า่ 'อุทกวิภาชประสิทธิ' ซึง่ เป็น หัวใจหลักของโครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนัง อันเนือ่ ง มาจากพระราชด�ำริ ทั้งยังเป็นสถานที่ตั้งของพระต�ำหนัก

ประทั บ แรมอ� ำ เภอปากพนั ง ที่ ช าวปากพนั ง และชาว นครศรีธรรมราช ร่วมกันสร้างขึ้นและถวายแด่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในชื่อโครงการ สร้างบ้านให้พอ่ เริม่ ก่อสร้างเมือ่ ปี ๒๕๔๑ จนเสร็จสมบูรณ์ เมือ่ ปี ๒๕๔๗ บนพืน้ ที่ ๑๐๔ ไร่ ๓ งาน ๘๖.๖๐ ตารางวา โดยมี รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) เป็นผูอ้ อกแบบ 'บ้านพ่อ' หรือ พระ ต�ำหนักประทับแรมเฉลิมพระเกียรติ ที่ปากพนัง จึงเป็น 'พระต�ำหนักแห่งแรกและแห่งเดียว' ที่สร้างโดยประชาชน ชาวไทยทุกหมูเ่ หล่าทัว่ ประเทศ

ก้าวย่างสู่ปีที่ ๖ นสพ.รักบ้านเกิด ร่วมกับเทศบาล เมื อ งปากพนั ง , ททท.สนง.นครศรี ธ รรมราช, ชมรม รักบ้านเกิดฯ, ชมรมท่องเที่ยวนครฯ และเอกชนจัด เสวนาระดมความคิด หวังน�ำข้อมูลมาพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองปากพนังให้คึกคักอีกครั้ง เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ นายสาธิต รักกมล บรรณาธิ ก าร เจ้ า ของ ผู ้ พิ ม พ์ ผู ้ โ ฆษณาหนั ง สื อ พิ ม พ์

รั ก บ้ า นเกิ ด เปิ ด เผยว่ า เนื่องในวาระหนังสือพิมพ์ รั ก บ้ า นเกิ ด นครศรี ธ รรมราช หนังสือพิมพ์รายเดือนแจกฟรีด�ำเนินการเข้าสู่ปีที่ ๖ คณะผู้จัดท�ำได้จัดโครงการ 'รักบ้านเกิดเสวนา ครั้งที่ ๑' ในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ณ หอประชุมเทศบาล เมืองปากพนัง อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวข้อ 'ระดมสมอง เพื่อขับเคลื่อนการท่องเที่ยวปากพนัง' เนื่องจากโครงการเลือกพื้นที่อ�ำเภอปากพนังเป็นจุดเริ่มต้น กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ค รั้ ง แรก ทั้ ง นี้ ไ ด้ เ ชิ ญ นั ก วิ ช าการ

ข้าราชการ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง นักธุรกิจ ผู้ประกอบการในท้องถิ่นและบุคคลที่เกี่ยวข้องทั่วไป อาทิ นางสมรัก ค�ำพุทธ รองผูว้ า่ ททท. ฝ่ายบริหาร, นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) ร้านโกปี๊ นครศรีธรรมราช, นาย คมสันต์ สุวรรณรัตน์ National Trainer สมาพันธ์มคั คุเทศก์ โลก มาร่ ว มเสวนาแลกเปลี่ ย นความคิ ด ทั ศ นคติ แ ละ มุมมองอย่างรอบด้านเกี่ยวกับอ�ำเภอปากพนัง เพื่อระดม ความคิดน�ำไปต่อยอด เช่น น�ำไปก�ำหนดนโยบาย ทิศทาง หรือแนวทางบริหารจัดการการท่องเที่ยวอ�ำเภอปากพนัง ซึ่งมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สมบูรณ์ ทั้งประวัติศาสตร์ สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์สถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ สถานที่ พั ก ร้ า นอาหารและของใช้ ข องฝาก ผลิตผลผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น นายสาธิต รักกมล กล่าวต่อไปว่า การเสวนาครั้งนี้ มุง่ ค้นหาความรู้ ประสบการณ์ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์กบั การ ท่องเที่ยวและยกระดับเศรษฐกิจของอ�ำเภอปากพนังเป็น ส�ำคัญ จึงขอเชิญผู้เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของอ�ำเภอ ปากพนังทุกภาคส่วน ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม ประชาชน จากชุมชนที่ได้รับประโยชน์หรือผลกระทบจากกิจการ ท่องเที่ยวมาร่วมรับฟังและเสนอแนะทุกเรื่องราว ผู้เข้า ร่วมจะได้รบั รู้ เรียนรูไ้ ปด้วยกัน และผูเ้ กีย่ วข้องจะได้นำ� พา อ�ำเภอปากพนังหรือเมืองปากพนังไปในทิศทางที่ถูกต้อง ในยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นไป รู ป แบบธุ ร กิ จ และการใช้ ชี วิ ต ที่ เปลีย่ นไป การประชุมเสวนาครัง้ นีร้ องรับผูเ้ ข้าร่วมประมาณ ๒๐๐ คน การประชุมจัดทีห่ อประชุมเทศบาลเมืองปากพนัง ในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ลงทะเบียนรับเอกสารระหว่าง ๑๒.๔๕ - ๑๓.๐๐ น. และ ขอขอบคุณผู้สนับสนุนทั้งเทศบาลเมืองปากพนัง, ททท. สนง.นครศรีธรรมราช, สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัด นครศรีธรรมราช, ชมรมรักบ้านเกิดนครศรีธรรมราช, ชมรม และชุมชนต่างๆ ในอ�ำเภอปากพนัง


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๙

<< ต่อจากหน้า ๖

ในสมัยนั้นเราไม่สามารถไปซื้อถุงได้ เป็นหน้าที่ของ ผมตั้งแต่ ๔ ขวบ ๕ ขวบ พ่อจะบอกว่าไปซื้อกระดาษ หนังสือพิมพ์เป็นกิโลมา แล้วมาตัดเป็นชิ้นๆ เท่ากับ แผ่นห่อโรตี เวลาพ่อยืนขายผ้าแดดร้อนๆ นี่ คุณพ่อ ผม-คุณราม จะโยนผ้ามาให้ผม ผมจะเอากระดาษที่ ผมตัดตอนกลางคืนด้วยไม้บรรทัด แล้วไม่ใช่ไม้บรรทัด พลาสติกที่สมัยก่อนไม่มี มันเป็นไม้บรรทัดที่ท� ำด้วย ไม้ --- ใช้ตัดเป็นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมแล้วจึงจะห่อผ้า แล้วส่งให้ลูกค้า ขณะที่ตัดกระดาษผมจะสัมผัสกับอะไร สมัยก่อนไทยรัฐหรือหนังสือพิมพ์ต่างๆ หน้าปกแทบ ทุกฉบับจะมีพระราชกรณียกิจ จะมีภาพพระองค์ ท�ำ อะไรต่ออะไรมากมาย เรา ๔ ขวบยังอ่านหนังสือพิมพ์ ไม่ออก ๕ ขวบเราก็อ่านไม่ออก เราถามพ่อขณะนั่ง ห่อผ้าให้ลูกค้า เราดูมาบ่อยมากเลยถามพ่อว่า...พ่อ... ท�ำไมภาพนี้ปรากฏอยู่บนกระดาษหนังสือพิมพ์เกือบ ทุกวัน แล้วมากจังเลยล่ะพ่อ คุณพ่อก็ค่อยๆ อธิบาย เราซึมซับได้ไม่หมดหรอก ถึงวันนี้ก็ไม่หมด แต่จากตรง นั้นมามันเริ่มเข้าไปในสายเลือดเราๆ เห็นพ่อเราเองก็ เหนื่อยจนเหงื่อตก เราจึงรู้ว่าในทุกหยาดเหงื่อมันเป็น ความสุขในยามทุกข์ เหมือนอย่างเราในวันนี้เจอความ สุขในยามทุกข์ สมัยก่อนท่านพบความทุกข์ในความ สุขมัน reverse กลับแล้ว นี่คือสัจจธรรม ทุกๆ ท่าน ก็เป็นเช่นนี้แหละ ประชาชนชาวไทยทุกคน ยิ่งเวลานี้ ไฟมันไม่ได้ดับ พระองค์สวรรคตนี่ท่านไม่ได้ดับไฟนะ แต่ เ มื่ อ ก่ อ นไฟมั น ดั บ แต่ พ อพระองค์ ส วรรคตจึ ง ทรง จุดเทียนแห่งแสงสว่างให้กับเราชาวไทย ไม่ใช่เฉพาะ สีด�ำที่หลอมทุกสีให้เป็นสีเดียวกัน แต่ก้าวถึงจุดเทียน ในยามวิกาลยามวิกฤตสามารถท�ำให้เราเห็นและรู้ใจ ของแต่ละคนได้ว่า เรานี่เป็นลูกหลานพระเจ้าตากจริง เราเป็นลูกหลานพระนารายณ์มหาราชจริง เราเป็นลูก หลานชาวไทยจริงๆ เราเป็นข้าพระบาท เราทุกอาชีพ ต้องปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เริ่มต้นด้วยการคิดดี ตามด้วย การพูดดี และสุดท้ายคือการปฏิบตั ดิ ี แล้วการปฏิบตั ดิ นี ี้ ขอกราบเลยว่า...เวลาเราปฏิบตั ดิ จี ะมีสายตามอง เพราะ เราท�ำดีเพือ่ อะไร ท�ำดีทำ� ไม ตอนนีต้ อ้ งไม่คดิ เช่นนัน้ แล้ว ถ้าท�ำดีแล้วมีความสุข มันคือสุดยอดแห่งการท�ำดี อย่า ไปยึดติด แล้วเราจะไม่ยดึ ติดกับสิง่ ทีต่ ามมา …แปลกนะเวลานัน้ เรามีความสุข แล้วเราปล่อยให้ เป็น chain reaction ให้มันเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ คือเรา ทุกคนท�ำความดีแล้วมีความสุข มีความสุขในการท�ำดี นี่คือสุดยอดสุดของสุดยอดเลย ...ขอขอบคุณมากทีม่ าสัมภาษณ์ ผมยินดีถา่ ยทอด กันแบบสบาย และพยายามจะไม่ให้มีน�้ำตาอีก เพราะ ไม่มที ใี่ ห้ทว่ มแล้วประเทศไทย-มันท่วมไปหมดแล้ว ตอน นี้ปล่อยให้น�้ำตาเหือดแห้งไป แล้วมาเร่งท�ำนาปลูกข้าว เริ่มปฏิบัติดี มาเริ่มปฏิบัติหน้าที่กันได้แล้ว อย่าให้สาย กว่านี้ เรามาเริ่มปฏิบัติกันตั้งแต่วินาทีนี้ หลายคนก็

ด้านฟิสกิ ส์อย่างเดียว แต่ทา่ นเป็นนักปรัชญาด้วย เพราะ ท่านเคารพศาสนาพุทธมาก ท่านได้กล่าวไว้วา่ ในโลกใบนี้ หลังจากองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ดับขันธ์ปรินิพพาน ไป ไม่มีใครที่เดินบนโลกใบนี้ได้สวยงามอย่างมหาตมะ คานธี ผมในนามชาวไทยขอกราบเลยว่า ขอเสริมท่าน อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ว่า ตอนนีเ้ รามีบุคคลที่สูงส่งสง่างาม อีกหนึ่งท่านแล้ว นั่นคือในหลวงของเรา เสด็จพ่อเรา พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชของเรา ...เอาแบบท่านเทียม โชควัฒนา พูดไว้เมื่อ ๔๐ ปี ที่แล้ว อยู่อย่างไรถึงจะ ‘เงยหน้าไม่อายฟ้า ก้มหน้าไม่ อายดิน’ ถ้าเราท�ำตัวเราแบบมองกระจกแล้วไหว้ตัวเรา ได้ดงั ท่านเทียม โชควัฒนาได้กล่าวมา เรารูเ้ ลยว่าจากตัว ของเราจะท�ำให้หลายๆ คน หรือครอบครัวเรามีความสุข แล้วจะถ่ายทอดพลังแห่งความดีนี้ดังที่กล่าวมาแล้ว ไป เป็นต�ำบล เป็นอ�ำเภอ เป็นจังหวัด ในที่สุดก็ครอบคลุม ประเทศไทยและเผื่อไปถึงชาวโลก อะไรที่ชาวโลกมีดีเรา เอามาใส่ตวั เรา อะไรทีแ่ ผ่นดินเรามีดเี ขาเห็นได้เอง ตรงนี้

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ท่านคิดค้นระเบิดปรมาณู ท่านไม่ได้เป็นนักคิดด้านฟิสิกส์อย่างเดียว แต่ท่านเป็นนักปรัชญาด้วย ท่านเคารพศาสนาพุทธมาก ท่านได้กล่าวไว้ว่า ในโลกใบนี้ หลังจากองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ดับขันธ์ปรินิพพานไป ไม่มีใครที่เดินบนโลกใบนี้ได้สวยงามอย่าง มหาตมะ คานธี ผมในนามชาวไทยขอกราบเลยว่า ขอเสริมท่านอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ว่า ตอนนี้เรามีบุคคลที่สูงส่งสง่างามอีกหนึ่งท่านแล้ว นั่นคือในหลวงของเรา เสด็จพ่อเรา พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชของเรา ปฏิบัติมาก่อนหน้านี้ เช่นองคมนตรีหลายๆ ท่าน หน่วย ราชการต่างๆ ก็ขอให้ได้ทำ� สิง่ ดีกนั ต่อไป ท�ำดีมาแล้ว ท�ำดี กันอยู่ ก็ขอให้ทำ� ดีตอ่ ไป ...ประเทศไทยเรายั ง เป็ น ประเทศที่ น ่ า อยู ่ ที่ สุ ด ใน โลก ผมไปมาบางประเทศ ผมพูดได้เลยว่าประเทศทีน่ า่ อยู่ ที่สุด ก็คือประเทศไทย แม้ว่าผมมีเชื้อสายเป็นชาวอินเดีย จากพุทธภูมิ...ศาสนาฮินดูด้วย แต่ผมมาสัมผัสแล้วว่าที่นี่ คือสุดยอดแห่งสุดยอด เราเห็นพระองค์ทรงฉลองพระองค์ ประดับด้วยสิ่งสวยงาม เวลาพระองค์ออกท้องพระโรง แต่สิ่งที่เรามองให้ลึกไปกว่านั้นคือคุณธรรม ๓๖ ประการ คุณธรรม ๓๖ ในพระองค์นนั่ แหละ ในวรกายทัง้ พระราชกรณียกิจและพระราชด�ำรัสของพระองค์ คุณธรรม ๓๖ ประการหลอมเป็นเสื้อผ้าอาภรณ์ที่งดงาม แต่เราจะแต่ง จิ ต วิ ญ ญาณเราอย่ า งไรให้ มี คุ ณ ความดี ให้ มี คุ ณ ธรรม ๓๖ ประการ unselfish ก็คอื การไม่เห็นแก่ตวั Determination คือความมุง่ มัน่ Discipline คือ ความมีระเบียบวินยั tolerance ความอดทน ทุกอย่างในพระองค์ที่เสียสละ มั น ไม่ ใ ช่ ง ่ า ย gentleness ความอ่ อ นโยนในพระองค์ flexibility ความยื ด หนุ ่ น ในพระองค์ ที่ มี ต ่ อ สิ่ ง กระทบ ต่างๆ แต่พระองค์รับได้หมด ท�ำไมถึงรับได้ เพราะว่าไม่ ทรงมีพระราชประสงค์เป็นกระจกที่จะสะท้อนว่าใครท�ำ อะไรกับพระองค์ พระองค์ไม่มอบสิง่ นัน้ คืน เพราะพระองค์ ทรงด�ำริว่าสิ่งใดที่ใครกระท�ำต่อพระองค์ๆ ก็ไม่ทรงท�ำ สิ่งนั้นต่อคนอื่น เราจะหาบุคคลแบบนี้ได้ที่ไหน อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ท่านคิดค้นระเบิดปรมาณู ท่านไม่ได้เป็นนักคิด

คือจุดทีส่ ำ� คัญมาก... (ช่วงพสกนิกรก�ำลังไว้อาลัยควรวางตัวอย่างไร...) การส�ำรวมตนของเราเป็นสิ่งที่ดีที่สุด รู้ตัวเรา ความมี ระเบี ย บวิ นั ย ของเรา เราไม่ ค วรจะกั ง วลอะไรเกิ น ไป แล้ว อยู่กับพระองค์องค์ต่อไป ผมคิดว่าพระราชวงศ์ที่ ขึ้นมาครองราชบัลกังก์ต้องมีการถ่ายทอดทางสายเลือด แน่นอน ในสิ่งที่ดีๆ อยู่ในพระองค์ มันขึ้นอยู่กับเวลา ตอนนี้ก็ถึงเวลาแล้ว และพระองค์องค์ใหม่ก็คงท�ำดีที่สุด เพื่อประเทศไทย แล้วเราชาวไทยต้องส�ำรวมและหลอม จิตใจเป็นอันหนึง่ อันเดียว เรือ่ งเสือ้ ผ้าก็ดี เป็นสีดำ� สีขาว หรือสีสุภาพก็ดี สิ่งส�ำคัญคือจิตใจและจิตวิญญาณต้อง สามารถไหว้ตัวเองได้ คนเรามีโกรธ มีโลภ มีหลง ละไป ทีละอย่างๆ ความโลภ ความโกรธ ความหลง หลงในสี หลงในมายาต่างๆ ทุกคนหลงได้ แต่พอเรียนรู้ได้เราจะ กลับมาถูกทาง เราจะก้าวขึน้ ไปอีกขัน้ หนึง่ เราจะเคารพ ตัวเอง ถ้าเราก้าวข้ามขั้นนี้ได้ the thin red line ข้าม เส้นบางๆ ไปได้ ไม่มีความโลภ ตัวกูของกู เราจะไปอีก ขัน้ เราจะไหว้ตวั เองได้สนิทใจยิง่ ขึน้ ปาป้าจิมมีก่ เ็ หมือน ทุกคน มีความโลภ ความโกรธ ความหลง พอเราก้าวข้าม ไปแต่ละจุดได้ มันรูส้ กึ โล่ง รูส้ กึ เบา รูส้ กึ สบาย เราให้อภัย ตัวเอง แล้วเราก็ให้อภัยกับทุกๆ คน ทีม่ คี วามโกรธ ความ โลภ ความหลง แล้วเรามาเดินทางสายเดียวกัน แล้ว ประเทศชาติเราก็พัฒนาไปในทางเดียวกัน ผมเชื่อมั่น เหลือเกินเวลานี้ สีดำ� ต้องท�ำให้ทกุ สีเป็นสีเดียวกัน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๐

ตั้

งแต่ต้นเดือนตุลาคมถึงปลายเดือน ตุ ล าคมปี นี้ ทางกรมศิ ล ปากรโดย ส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ได้ ท� ำ การขุ ด ค้ น ทางโบราณคดี เ พิ่ ม เติ ม อี ก ๘ จุด เพื่อน�ำไปเป็นหลักฐานในการอ้างอิง ถึงอายุของศาสนวัตถุต่างๆ ที่เราได้อ้างอิง ไปก่อนแล้วให้มีความสมบูรร์ยิ่งขึ้น น่า เชื่อถือยิ่งขึ้น แทนที่การอ้างแต่เรื่องราว ในต�ำนานเพียงอย่างเดียว แหล่งโบราณสถานทั้ง ๘ แหล่งที่มี การขุดค้นมีดังนี้ ๑. วิ ห ารโพธิ์ พ ระเดิ ม ซึ่ ง มี นั ก โบราณคดีเชื่ออยู่แต่เดิมว่า 'ต้นโพธิ์' ที่ วัดพระเดิมนี้มีการปลูกมาพร้อมๆกันกับ 'โพธิ์ ลั ง กา' คื อ น� ำ มาครั้ ง เดี ย วกั น หลาย หน่ อ แล้ ว มาแยกปลู ก ไว้ ที่ 'วิ ห ารโพธิ์ ลังกา' และที่วัดพระเดิม มีการสร้างวิหาร ล้อมรอบต้นโพธิ์ เรียกว่า 'วิหารโพธิ์พระ เดิม' สร้างตามคติความเชื่ออย่างลังกา คือ ก่อก�ำแพงล้อมรอบต้นโพธิ์แล้วสร้างวิหาร โดยรอบต้นโพธิ์อีกชั้นหนึ่ง มีพระพุทธรูป ปางโพธิ์ลังกา หรือ 'วิหารโพธิ์มณเฑียร' ก็ได้สร้างแบบเดียวกันแต่มีขนาดใหญ่กว่า ๒. วิหารโพธิ์ลังกา หรือบางยุคเรียก 'โพธิฆระ' หรือโพธิมณเฑียร สันนิษฐานว่า

สร้างขึ้นหลังจากการก่อสร้างพระบรมธาตุ เจดีย์แล้วประมาณ ๑๐๐ ปี ต้นโพธิ์ที่วิหาร นี้กล่าวกันไว้ในต�ำนานว่า ได้หน่อมาจาก ประเทศลังกา ซึ่งต้นโพธิ์ของลังกาได้มา จากต้นเดิมที่พุทธคยา ในประเทศอินเดีย เมื่อต้นโพธิ์ที่พุทธคยาสิ้นอายุขัยลง จึงน�ำ หน่อมาปลูกไว้ที่ลังกา จึงถือได้ว่าต้นโพธิ์ ในลั ง กาเป็ น ทายาทโดยตรงจากต้ น พระ ศรีมหาโพธิ์เมืองพุทธคยา ๓. พระวิ ห ารคด หรื อ วิ ห ารพระ

ทรงมีความชราทางกายภาพ เหมือนคนทั่วไป (ล�ำดับนั้น พระอานนท์ผู้มีอายุ ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้ มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วลูบคล�ำทั่วพระ กายของผูม้ พี ระภาคอยูพ่ ลางกล่าวถ้อยค�ำนีว้ า่ ) “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! ข้อนีน้ า่ อัศจรรย์; ข้อนีไ้ ม่ เคยมีมาก่อน. ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! บัดนีฉ้ วีวรรณของ พระผู้มีพระภาค ไม่บริสุทธิ์ผุดผ่องเหมือนแต่ก่อน และ พระกายก็เหีย่ วย่นหย่อนยาน มีพระองค์คอ้ มไปข้างหน้า อินทรีย์ทั้งหลายก็เปลี่ยนเป็นอย่างอื่นไปหมด ทั้งพระ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ”. อานนท์ ! นัน่ ต้องเป็นอย่างนัน้ คือ ความชรามี (ซ่อน) อยู่ในความหนุ่ม, ความเจ็บ ไข้มี (ซ่อน) อยู่ในความไม่มีโรค, ความตายมี (ซ่อน) อยูใ่ นชีวติ ; ฉวีวรรณจึงไม่บริสุทธิ์ผุดผ่องเสียแล้ว และกายก็ เหีย่ วย่นหย่อนยาน ตัวค้อมไปข้างหน้า อินทรียท์ งั้ หลาย

ด้าน เป็นวิหารที่สร้างล้อมรอบองค์เจดีย์ พระบรมธาตุ เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มเหมื อ น เป็นการแบ่งเป็น 'เขตพุทธาวาส' ได้ชัดเจน มีผนังด้านนอกทึบ ด้านในโปร่ง ครั้งสมัย โบราณสร้างไว้เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ใช้เดิน จงกรมหรื อ ปฏิ บั ติ ก รรมฐาน เวลาต่ อ มา นิยมใช้เป็นที่พุทธศาสนิกชนนั่งฟังธรรมใน วันธรรมสวนะหรือวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา จนเกิดเป็นประเพณีสวดด้านขึ้นที่ นี่ ในวิหารนี้มีพระพุทธรูปประดิษฐานไว้

โดยประมาณ ๑๖๕ องค์ จะมีการขุดค้น พิสูจน์ว่าสร้างสมัยใด จะตรงตามต�ำนานที่ ระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๖ ถูกต้องหรือ ไม่ หรือจะมีอายุนานไปกว่านั้นอีก ๔. เจดีย์ราย เป็นเจดีย์บริวารล้อม รอบองค์บรมธาตุเจดีย์เชื่อกันว่าแต่เดิมมี เพียงสามชั้น และมีขนาดต่างกันทั้งสาม ชั้นลดหลั่นกันมา เพิ่งมีการเปลี่ยนแปลง ขนาดความสู ง จนไม่ เ สมอกั น ตามก� ำ ลั ง ทรัพย์ของผู้เข้ามาบูรณะ และมีการก่อ เจดีย์รายเพิ่มเติมขึ้นมาอีกหลายองค์ ไม่ เป็นแถวเป็นแนวหรือขนาดต่างกัน จากการขุดส�ำรวจฐานรากจะเห็นถึง ความแตกต่างของแผ่นอิฐที่ก่อองค์เจดีย์ รุ่นเก่าและรุ่นใหม่อย่างชัดเจน รวมทั้ง การก่ออิฐแบบโบราณยังใช้ปูนหมักปูนต�ำ อยู่ ส่วนองค์เจดีย์รายที่สร้างภายหลังก่อ อิฐด้วยซีเมนต์ ขนาดของแผ่นอิฐก็เล็กกว่า กันมาก เป็นแบบอย่างอิฐรุ่นหลัง คติ ค วามเชื่ อ ในการบรรจุ อั ฐิ ข อง บรรพบุ รุ ษ ของคนสมั ย ก่ อ น นิ ย มน� ำ ใส่ ภาชนะคล้ายหม้อ แล้วฝังไว้ใต้ฐานเจดีย์ ซึ่ ง เจดี ย ์ ร ายในชั้ น หลั ง จะบรรจุ อั ฐิ ไ ว้ ใ น โกศฝังเข้าไปในตัวองค์เจดีย์ การขุดค้น ครั้งนี้ได้คลี่คลายข้อถกเถียงของนักวิชาการลงไประดับหนึ่ง (โปรดอ่านต่อฉบับหน้า)

สติปฏั ฐานสี่ สัมมัปธานสี่ อิทธิบาทสี่ ก็เปลีย่ นเป็นอย่างอืน่ ไปหมด ทัง้ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ดังนี.้ อินทรียห์ า้ พละห้า พระผูม้ พี ระภาคครัน้ ตรัสค�ำนีแ้ ล้ว ได้ตรัสข้อความนี้ โพชฌงค์เจ็ด (เป็นค�ำกาพย์กลอน) อีกว่า : อริยมรรคมีองค์แปด. โธ่เอ๋ย ! ความแก่อนั ชัว่ ช้าเอ๋ย ! ความแก่อนั ท�ำความน่าเกลียดเอ๋ย ! ภิกษุทงั้ หลาย ! บัดนีเ้ ราจักเตือนท่านทัง้ หลายว่า : กายทีน่ า่ พอใจ บัดนีก้ ถ็ กู ความแก่ยำ�่ ยีหมดแล้ว แม้ใครจะมีชีวิตอยู่ตั้งร้อยปีทุกคนก็ยังมีความตาย สังขารทัง้ หลาย มีความเสือ่ มเป็นธรรมดา พวกเธอจงให้ ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด, การปรินิพพานของ เป็นทีไ่ ปในเบือ้ งหน้า ความตายไม่ยกเว้นให้แก่ใครๆ มันย�ำ่ ยีหมดทุกคน. ตถาคต จักมีในกาลไม่นานเลย ตถาคตจักปรินพิ พานโดย มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๘๗/๙๖๒-๙๖๕. กาลล่วงไปแห่งสามเดือนนี.้ สัตว์ทงั้ ปวง ทัง้ ทีเ่ ป็นคนหนุม่ และคนแก่, ทัง้ ทีเ่ ป็น คนพาล และบัณฑิต, ทั้งที่มั่งมีและยากจน ล้วนแต่มี ความตายเป็นทีไ่ ปถึงในเบือ้ งหน้า, เปรียบเหมือนภาชนะ ดิน ทีช่ า่ งหม้อปัน้ แล้ว ทัง้ เล็กและใหญ่, ทัง้ ทีส่ กุ แล้วและ ยังดิบ ล้วนแต่มีการแตกท�ำลายเป็นที่สุด ฉันใด; ชีวิต แห่งสัตว์ทงั้ หลาย ก็มคี วามตายเป็นเบือ้ งหน้า ฉันนัน้ . วัยของเราแก่หง่อมแล้ว ชีวิตของเราริบหรี่แล้ว ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วย ปัญญาอันยิ่ง ธรรมเหล่านั้นพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึง เราจักละพวกเธอไป สรณะของตัวเองเราได้ทำ� ไว้แล้ว. ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มี เสพให้ทั่ว พึงเจริญท�ำให้มาก โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนานี้) จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน, ข้อนั้น สติ มีศีลเป็นอย่างดี มีความด�ำริอันตั้งไว้แล้วด้วยดี จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุข ตามรักษาซึ่งจิตของตนเถิด. ในธรรมวินัยนี้ ภิกษุใด แก่มหาชน, เพือ่ อนุเคราะห์โลก, เพือ่ ประโยชน์ เพือ่ ความ เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว จักละชาติสงสาร ท�ำที่สุดแห่ง ทุกข์ได้. เกือ้ กูล เพือ่ ความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทงั้ หลาย. มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗-๑๐๘. ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิง่ ฯลฯ, คือ :-

ทรงประกาศธรรม เนื่องด้วยการปลงอายุสังขาร


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

พระองค์เจ้าอนุสรณ์มงคลการแล้ว พระ ๒๐ รูป คือ ท่านใดบ้าง ? พราหมณ์นคร ผูน้ นั้ คือท่านใด ? ส่วนพระภิกษุผนู้ ำ� เสด็จ จากวิหารพระม้านั้นคือท่านเจ้าคุณรัตน ธัชมุนี (แบน) ห้า) ครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินผ่าน ย่านท่าวัง ไป-กลับค่ายวชิราวุธนั้นเป็น บริเวณไหน เห็นอาคารอะไรบ้าง ? หลัง ไหนยังคงอยู่ ? แล้วที่ออกมามุงจนแน่น ถนน พอดูออกบ้างไหมว่าใครเป็นใคร ? หก) ทีค่ า่ ยทหาร คือนายทหารท่าน ใด ? แลวทีม่ าฟ้อนร�ำนัน้ คณะไหน ? ใคร ? เป็นระบ�ำอะไรกัน ? ท�ำไมใช้ระบ�ำนี้ ? เจ็ด หลังนมัสการพระพุทธสิหิงค์ แล้วเยี่ยมราษฎรที่หน้าศาลากลาง ที่ นาที ที่ ๑๒.๑๖ กั บ นาที ที่ ๑๒.๔๐ มี น้ า ยุ พ า บวรรั ต นารั ก ษ์ เ ต็ ม ๆ กั บ ขณะ โบกมือไชโย ๓ ครั้งหลังพระเจ้าอยู่หัวให้ ๑พร โดยมีคุณป้าพวงรัตน์ บวรรัตนารักษ์ และ อาจารย์นวลละออง ลีละพันธุ์ นัน้ อยู่ ๒ ด้าน ส่วนคุณตาขุนบวรรัตนารักษ์กับ ตาสุพจน์ ทิพยมงคลนั้น เกือบตกกรอบ ทั้งสองด้าน สงสัยตากล้องสนใจจับภาพ แต่ผู้หญิง นอกจากนี้ที่นาที ๒๐.๐๔ มี ขุ น ประจั ก ษ์ รั ต นกิ จ พ่ อ ของตาสุ พ จน์ ปรากฏพร้อมเครื่องถมที่ถวาย ในฐานะ เจ้าแห่ง "ถมนคร" ที่พระเจ้า๒อยู่หัวเลือก

ใช้เป็นของขวัญพระราชทานแขกบ้านแขก เมืองเสมอมา ส่วนนายกเทศมนตรีคอื ใคร ? หมอไสว สวัสดิสาร ? คนที่เอาเป็นสี่ขามา ถวาย ใคร ? รวมทั้งคนที่นั่งหลังกระเช้า เอื้องสายก�ำลังมีดอกสวย คือใคร ? ส่วน ขุนพันธรักษ์ราชเดชทีม่ ใี นหนังของเอราวัณ ภาพยนต์นั้นไม่มีในนี้ นอกจากนี้ที่น่าสนใจ ไม่น้อยคือเครื่องแต่งกาย ของบูชา และ เครื่องถวายทั้งหลาย ก็น่าศึกษาค้นคว้า ไม่นอ้ ย

<< ต่อจากหน้า ๔

รถเบนซ์คันสีเหลืองนวล มีธงครุฑปักอยู่ เห็นสองพระองค์โบกพระหัตถ์เป็นภาพ ตรึงใจ ทีจ่ ดจ�ำได้จนบัดนี้ วันทีพ่ ระองค์ทา่ นเสด็จเมืองนครคือ วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๐๒ วันที่ ๑๓ ก็เป็น วันที่พระองค์ท่านเสด็จสวรรคตเช่นกัน ส่วน พ.ศ. ถ้ารวมกันทัง้ สีต่ วั ก็จะได้เลข ๙ เช่นกัน วันที่พระองค์ท่านเสด็จไปพระบรมธาตุผมไม่มีโอกาสได้ไปดู แต่ดูจาก ภาพยนตร์ ส ่ ว นพระองค์ ก็ เ พิ่ ง นึ ก ได้ ว ่ า ท�ำไมพระองค์ได้พระราชทาน 'ผ้าแพร สี ช มพู ' ขึ้ น ห่ ม องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ แทนที่ จ ะเป็ น สี เ หลื อ งหรื อ สี แ ดงอย่ า ง ทั่ ว ไป ต� ำ แหน่ ง ที่ พ ระองค์ อุ ทิ ศ ผ้ า แพร สีชมพูขึ้นห่มได้คือบนฐานบัลลังก์ติดกับ เสาหานพระเวียนเหนือองค์ระฆังคว�่ำจะ เห็น 'พ่อพราหมณ์' ขนานแท้ของเมือง นครได้ น ้ อ มเกล้ า ฯ ถวายน�้ ำ สั ง ข์ แ ด่ สองพระองค์ เมื่อเดินทางมาถึงศาลากลาง ก็จะ เห็นศาลากลางหลังเก่าสีแดงซึ่งเคยเป็น 'วังเก่าของเจ้านคร' มาก่อน สวย งาม

แปด) ที่สุเหร่าซอลาฮุดดีน มีใคร บ้ า ง ? หากต้ อ งการเห็ น ภาพในหลวง ประทับบนแท่นในมัสยิด ขณะนี้มีติดอยู่ ข้างในมัสยิด ขอเข้าไปร่วมชืน่ ชมได้ เก้ า ) ที่ น�้ ำ ตกพรหมโลก ซึ่ ง สอง พระองค์ทรงพักผ่อนพระอิริยาบทยิ่งนั้น น่ า ที่ จ ะคิ ด อ่ า นท� ำ อะไรเป็ น พิ เ ศษมากๆ ด้วยพระเจ้าอยู่หัวทรงถ่ายภาพยนต์ขณะ พระราชินีทรงวิ่งและพระส�ำราญอย่างยาก ที่จะหาดูได้ที่ไหน ที่ส�ำคัญ มีการรับเสด็จ ของพ่อท่านคล้ายด้วย สิ บ ) เมื่ อ ส่ ง เสด็ จ จากเมื อ งนคร ผมประทับใจที่สุดกับภาพสตรีที่ทูลเกล้า ถวายพระพุทธรูปแล้วขอพระหัตถ์มาปก เกล้า รวมทั้งคนอื่นๆ อีกหลายคนนั้นงาม นัก ส่วนบุรุษสมาร์ตที่โบกมือข้างถนนคน มี ข องใช้ ที่ ท� ำ แปลกๆ จน ก ร ะ ทั่ ง สั ต ว ์ ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ประหลาด เช่ น ลิ ง เผื อ ก กระรอกเผือก อีกาเผือก เป็ด สีข่ า ต่างก็นำ� มาถวาย และที่ ส�ำคัญคือพระพุทธรูปส�ำคัญ ของตระกูล หรือพระพุทธรูป โบราณที่ ขุ ด พบ ต่ า งน้ อ มเกล้าฯ ถวายพระองค์ท่าน ผ้ายกเก่าแก่ของบรรพบุรุษก็

มาก 'นายจันทร์ สมบูรณ์กุล' เป็นผู้ว่า ราชการจังหวัด ทูลเกล้าฯ ถวายพระแสง ดาบประจ�ำเมืองนครให้ 'นายไสว สวัสดิสาร' นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองนครฯ ในสมัยนั้น ทูลเกล้าฯ ถวาย 'พระเครื่อง โบราณ' ที่ ขุ ด ได้ จ ากฐานเจดี ย ์ ยั ก ษ์ แ ด่ พระองค์ท่าน ส่วนชาวบ้านนั้นตั้งโต๊ะหมู่ บูชากันเป็นทิวแถว โต๊ะบูชาก็มีลักษณะ แปลกๆ ต่างกันไป เดี๋ยวนี้ถูกก�ำหนดตาม แบบภาคกลางหมดแล้ว ของที่น�ำมาถวาย พระองค์ ท ่ า นก็ มี ตั้ ง แต่ ด อกไม้ ส ดที่ มี กลิ่นหอม สังเกตจากสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถทรงรับมาดมแทบทุกช่อ

น�ำมาทูลเกล้าฯ ถวาย วันที่พระองค์ท่าน เสด็จน�้ำตกพรหมโลก ถนนหนทางกันดาร มาก ชาวบ้านช่วยกันขุดสร้างถนนเพื่อรับ เสด็จ ต้องใช้รถจีป๊ เป็นยานพาหนะแทน ใน ภาพยนตร์เราจะเห็น 'พ่อท่านคล้าย' มา รับเสด็จด้วย ภาพที่พระเจ้าอยู่หัวทรงมี ปฏิ สั น ถารกั บ พ่ อ ท่ า นที่ ช าวนครเรามี ไ ว้ บูชา น่าจะเป็นภาพในโอกาสนี้ ภาพที่ ส� ำ คั ญ อี ก ภาพหนึ่ ง คื อ ภาพ สมเด็ จ พระนางเจ้ า ทรงฉลองพระองค์ กระโปรงสีแดงทรงวิง่ ขึน้ บันไดและลานหิน ใหญ่ โ ดยไม่ ท รงรองพระบาทอย่ า งทรง ส�ำราญพระราชอิรยิ าบถ ทรงประทับยืนให้

หนึ่งนั้น คือคุณสันติ ถนัดสอนสาร แห่ง ร้านสันติพาณิชย์ ขณะที่สาวน้อยผู้ถูก อุ ้ ม ขึ้ น ทู ล เกล้ า ถวายช่ อ ดอกไม้ นั้ น คื อ พ.ญ.อารีรัตน์ สว่างพื้น ลูกสาวคุณหมอ ผจญ สว่างพื้น และที่นี่ ในหลวงทรงยื่น กรออกมาถ่ายรูปนอกรถอีกหน รูปนัน้ คือ รูปอะไร ? และขณะนีอ้ ยูไ่ หน ? สิบเอ็ด) ท้ายสุดที่รอ่ นพิบูลย์ เห็น ชาวบ้ า นขอพรด้ ว ยการลู บ แข้ ง ขาทั้ ง สองพระองค์ ข นาดนั้ น แล้ ว ทรงรู ้ สึ ก อย่างไร ? ใครเป็นใครบ้าง ? ลูกหลานจะ ลองช่วยกันสืบเสาะดูไหม ? ผมใคร่ขอเสนออีกสักครั้งว่ามาช่วย กันสืบเสาะค้นหาแล้วคิดอ่านท�ำอะไรกัน ไหมครับ คนนคร ? ทั้ ง นี้ สามารถค้ น หาดู ภ าพยนตร์ ส่วนพระองค์นี้ ได้ที่ https://youtube/ w18nXjXvEfU บัญชา พงษ์พานิช บวรนคร ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงฉายพระรูป ซึง่ เป็นพระ ราชอิริยาบถที่ทรงผ่อนคลายและเกษม ส�ำราญ เห็นแล้วรู้สึกยินดีและพลอยมี ความสุขไปด้วย ที่เห็นทั้งสองพระองค์ ทรงคลายความเหน็ ด เหนื่ อ ยจากการ เสด็จเยี่ยมราษฎรคราวละหลายชั่วโมง เห็ น ทั้ ง สองพระองค์ ท รงนั่ ง เสวยพระ กระยาหารบนแคร่ไม้ไผ่อย่างง่ายๆ ทีช่ าว พรหมโลกสร้างถวาย ตกค�่ ำ มี ก ารแสดงหน้ า พระที่ นั่ ง ที่ พลับพลาประทับแรม ผมจ�ำได้ว่ามีการ แสดงเรืองพระร่วงเจ้า พ่อขุนรามค�ำแหง มหาราช เสด็ จ มารั บ พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ที่ เมืองนครเสด็จโดยทางเรือ ใช้คลองหน้า เมื อ งเป็ น ฉากจริ ง ด้ ว ย ที่ จ� ำ ได้ เ พราะ ติดตามน้องสาวคนเล็ก (มะลินนี นั ท์) ตอน นั้นอายุสัก ๕-๖ ขวบร่วมแสดงประกอบ อยู่ด้วย จึงใช้โอกาสเข้าไปใกล้เวทีการ แสดงมากทีส่ ดุ เขียนเรื่องความทรงจ�ำสมัยเด็ก ที่ ได้มีโอกาสเข้าใกล้ชิดได้ชื่นชมพระบารมี เป็นความประทับใจทีส่ ดุ ในชีวติ เขียนขึน้ เพื่อเป็นการแสดงความอาลัยต่อพระองค์ ท่าน พระองค์จะยังคงสถิตอยู่ในดวงใจ ตลอดไปจนชัว่ ชีวติ จะหาไม่


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๒

รายงาน

รื่ อ งนี้ เ ป็ น สิ่ ง ดี ที่ ค วรกล่ า วถึ ง ไม่ ไ ด้ ดี เฉพาะชาวแหลมตะลุ ม พุ ก หรื อ ชาว ปากพนั ง เท่ า นั้ น ทะเลไทยเชื่ อ มต่ อ กั น ปลาที่ อ อกไข่ ที่ แ หลมตะลุ ม พุ ก ทะเล ปากพนังอาจเติบใหญ่ไปเป็นอาหารของ คนอีกฝั่งหนึ่ง หรือไต่ตะเข็บชายฝั่งขึ้น ไปสุราษฎร์ธานี ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ ข้ า มฟากไประยอง ตราด ก็ เ ป็ น ไปได้ เพราะทะเลเชื่อมถึงกัน อย่างไรก็ตาม ผล ประโยชน์ จ ะตกถึ ง คนในพื้ น ที่ เ ป็ น ส่ ว น ใหญ่ 'รั ก บ้ า นเกิ ด ' รายงานถึ ง โครงการ วางปะการั ง เที ย มของ 'มู ล นิ ธิ ก รมเชื้ อ เพลิงธรรมชาติและผู้ประกอบการด้าน ปิ โ ตรเลี ย ม' ที่ เ ดิ น หน้ า ฟื ้ น ฟู ท ะเลไทย โดยสร้างปะการังเทียม ภายใต้ค�ำขวัญ "ปะการัง สร้างอาชีพ" ระยะที่ ๒ ครั้งนี้ ขนปะการั ง เที ย ม ๑,๐๐๐ ก้ อ นมาวาง ในทะเลต� ำ บลแหลมตะลุ ม พุ ก จั ง หวั ด นครศรีธรรมราชเป็นประเดิม ปะการัง เทียมจะกลายเป็นแหล่งอาศัย แหล่งหลบ ภัยและวางไข่ของปูปลากุ้งหอย หลังจาก นั้นจะไปวางอีก ๒ จุด ในทะเลจังหวัด สงขลา การวางปะการั ง เที ย มที่ แ หลม ตะลุมพุก จัดเมื่อวันจันทร์ที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๙ พลเอกอนั น ตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ประธานพิ ธี เ ปิ ด โครงการ กล่ า วว่ า การ จัดท�ำโครงการครั้งนี้สานต่อความส�ำเร็จ จาก 'โครงการปะการัง สร้างอาชีพ เฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ อ งในวโรกาสพระราชพิ ธี ม หามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ที่มูลนิธิกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และผู ้ ป ระกอบการด้ า นปิ โ ตรเลี ย มจั ด

ท�ำขึ้น และมีการวางปะการังเทียมใน ๓ พื้นที่ คือ อ�ำเภอสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี อ� ำ เภอละแม และอ� ำ เภอสวี - ทุ ่ ง ตะโก จังหวัดชุมพร จุดละ ๑,๐๐๐ ก้อน รวม ๓,๐๐๐ ก้อน ภายหลังโครงการเสร็จสิ้น และมีการติดตามตรวจสอบพบว่าประสบ ความส� ำ เร็ จ เป็ น อย่ า งดี โดยเฉพาะการ ฟื้นฟูความสมบูรณ์ของท้องทะเลไทยภาย หลั ง จากการวางปะการั ง เที ย มประมาณ ๑ ปี โดยมู ล นิ ธิ ก รมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ และผู้ประกอบการปิโตรเลียมมอบหมาย ให้ นั ก วิ ช าการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและการ ส� ำ รวจธรรมชาติ จากมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ วิทยาเขตจังหวัดชุมพรส�ำรวจใต้ทะเล ศึกษาความสมบูรณ์และความหลากหลาย ของชนิ ด สั ต ว์ น�้ ำ ในพื้ น ที่ โ ครงการพบว่ า ท้ อ งทะเลสมบู ร ณ์ ม ากขึ้ น และมี ค วาม หลากหลายของสิ่ ง มี ชี วิ ต มากขึ้ น โดย เฉพาะในพื้ น ที่ อ� ำ เภอทุ ่ ง ตะโก จั ง หวั ด ชุ ม พร พบสิ่ ง มี ชี วิ ต มากถึ ง ๓๘ ชนิ ด

นอกจากนี้การวางปะการังเทียมยังมีส่วน ช่ ว ยให้ ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องชาวประมง พื้ น บ้ า นให้ ดี ขึ้ น เพราะสามารถจั บ ปลา และสัตว์ทะเลได้มากขึ้น ปลาบางชนิดเคย หายไปก็กลับมาอยู่ในบริเวณกองปะการัง เทียม ส่งผลให้ชาวประมงมีรายได้มากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เพราะไม่ต้อง เดินเรือไปหาปลาไกล ๆ เหมือนก่อน พลเอกอนั น ตพร กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า ส� ำ หรั บ ก้ อ นปะการั ง เที ย มที่ จ ะจั ด วางมี ขนาด ๑.๕ x ๑.๕ x ๑.๕ เมตร ซึ่งเป็น ขนาดมาตรฐานของกรมประมง และวัสดุ ที่ น� ำ มาใช้ ผ ่ า นการตรวจสอบแล้ ว ว่ า ไม่ เป็นพิษ หรือปลดปล่อยสารพิษลงในทะเล มีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี และ ด้ ว ยน�้ ำ หนั ก ประมาณ ๑ ตั น จึ ง ไม่ ถู ก พั ด พาด้ ว ยคลื่ น หรื อ กระแสน�้ ำ หรื อ พายุ การด� ำ เนิ น โครงการนอกจากฟื ้ น ฟู ค วาม สมบู ร ณ์ ความสมดุ ล ของทรั พ ยากรทาง ทะเลอย่ า งยั่ ง ยื น เพิ่ ม ความหลากหลาย

ของสัตว์ทะเลและส่งเสริมอาชีพของชาว ประมงชายฝั ่ ง ทั้ ง ยั ง ขยาย และเสริ ม สร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มประมงพื้นบ้าน ในพื้นที่อื่นๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการ ส�ำรวจขุดเจาะปิโตรเลียมในทะเลด้วย หลังจากวางปะการังเทียมในทะเล แหลมตะลุมพุก ต่อไปจะวางอีก ๒ จุด ที่ อ�ำเภอสทิงพระ และอ�ำเภอระโนด จังหวัด สงขลา พื้ น ที่ ล ะ ๕๐๐ 500 ก้ อ น ซึ่ ง แต่ละแห่งประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วม แสดงความคิ ด เห็ น ผ่ า นการประชุ ม ร่ ว ม กั น ในลั ก ษณะของคณะท� ำ งานไตรภาคี ประกอบด้ ว ย กรมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ บริษัทผู้รับสัมปทานปิโตรเลียม และกลุ่ม ประมงพื้นบ้าน ซึ่งเป็นภาคประชาชนเพื่อ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและรับรู้ผล ประโยชน์ทางอาชีพและรายได้ รวมถึง แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเล เพื่อให้ปะการังเทียมคงอยู่ไปจนถึงรุ่นลูก รุ่นหลาน และเป็นแหล่งท�ำกินอย่างยั่งยืน


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๓

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ ทรงเป็นแบบอย่าง ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อบ้านเมืองของข้าพเจ้า

งไม่ต้องบรรยายความรู้สึกของพสก นิกรที่ต้องสูญเสีย “พ่อของแผ่นดิน” ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด แต่เราก็ยังต้องด�ำรงชีวิต อยู่เพื่อครอบครัว เพื่อบ้านเมือง และเพื่อ ตอบแทนคุ ณ แผ่ น ดิ น ต่ อ ไปจนกว่ า ชี วิ ต จะหาไม่ ผมโชคดี ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทาน ปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระองค์ท่าน ถึง ๒ ครั้ง จึงท�ำให้ผมรู้สึกตัวว่าอารมณ์ ที่ จ ะเขี ย นต้ น ฉบั บ นี้ เ ป็ น ไปด้ ว ยความ ยากล�ำบากใจยิ่ง โดยเฉพาะความคิดเห็น เกี่ ย วกั บ บ้ า นเมื อ งที่ เ ป็ น มุ ม มองของคน สูงวัยคนหนึ่งเป็นแค่ธุลีเล็กๆ อันเทียบไม่ ได้กับแนวความคิดในการพัฒนาบ้านเมือง ของพระองค์ท่าน ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้ เล่าถึงการเข้าเฝ้าในหลวงเมื่อ ๕ ปีที่แล้ว ขณะที่ยังทรงประชวร พระองค์ได้รับสั่งว่า “สุเมธ งานยังไม่เสร็จ” ถึง ๓ ครั้ง แสดงถึง พระองค์ท่านยังคงเป็นห่วงงานที่ยังคั่งค้าง พวกเราก็จะต้องสานงานของพ่อต่อไปโดย ถือแบบอย่างในสายพระเนตรอันกว้างไกล ของพระองค์ท่าน ผมมิ อ าจหาญมาบรรยายวิ ช าการ เรื่องการพัฒนาเมือง แต่องค์ความรู้ที่ผม เรียนมาบ้างในการวางผังระดับชุมชนของ เมือง (Urban Planning) ตลอดจนการ ได้ท�ำงานจริง จึงได้มองเห็นองค์ประกอบ มากมายหลายมิ ติ ที่ ผ มเคยเขี ย นลงใน หนังสือพิมพ์นี้มาแล้วหลายครั้ง เช่น ฉบับ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๗ เรื่อง จินตภาพ ของเมืองนคร ฉบับเดือนมิถุนายน และ กรกฎาคม ๒๕๕๘ (๒ ตอน) เรื่อง แนวทาง พั ฒ นาเมื อ ง...มิ ติ ที่ เ ข้ า ใจไม่ ต รงกั น ผม อาจเป็นคนเขียนหนังสือแล้วคนอ่านไม่รู้ เรื่องหรือไม่น่าสนใจก็ไม่ทราบได้ เพราะ มีหลายครั้งที่ผมต้องกลับมาเขียนซ�้ำและ ย�้ ำ ให้ ท บทวนแนวคิ ด การตั้ ง โครงการ ก่อสร้างต่างๆ ที่เป็นเรื่องสาธารณะว่ามัน

ประเทศที่พัฒนาแล้ว จะก�ำหนดพื้นที่เปิดโล่งของเมือง เป็นวาระของเมือง โดยมีการค�ำนวณสัดส่วนพื้นที่สวน และพื้นที่โล่งของเมืองที่ต้องสมดุลกันกับพื้นที่อาคารรวมของเมือง กับจ�ำนวนประชากร ทั้งนี้จะต้องท�ำประชาพิจารณ์ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจากชาวเมืองเสมอ อาจสร้างปัญหาและสายเกินไปที่จะแก้ไข ถ้าไม่มองให้ครบทุกด้าน ส�ำหรับฉบับนี้ผม ขอพูดถึงพื้นที่เปิดโล่งของเมือง (Urban Open Space) เพื่อสร้างความเข้าใจให้ ตรงกันในประเด็นส�ำคัญต่างๆ คือ ๑. ความหมายของพื้นที่เปิดโล่งของ เมือง หมายถึงพื้นที่ว่างสาธารณะที่ครอบ ครองดูแลโดยหน่วยงานทางราชการ รวม ทั้งพื้นที่ที่ประชาชนยกให้เพื่อประโยชน์ สาธารณะยังไม่มีสิ่งปลูกสร้าง หรือมีบ้าง แต่ยังมีที่ว่างเป็นส่วนใหญ่ ๒. วัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ใน การที่ต้องมีพื้นที่เปิดโล่งของเมือง ซึ่งโดย หลักการแล้วก็เพื่อ - เป็นการระบายอากาศจากความ หนาแน่นแออัดของสิ่งก่อสร้างต่างๆ ของ เมือง ท�ำให้เกิดช่องว่างให้มวลอากาศไหล ผ่านได้ สามารถลดไอร้อนให้กับเมืองได้ - เป็ น สถานที่ จั ด กิ จ กรรมของชาว เมื อ ง เช่ น สวนพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ การ ออกก� ำ ลั ง กายประจ� ำ วั น กลางแจ้ ง การ จั ด กิ จ กรรมตามเทศกาลต่ า งๆ เป็ น ครั้ ง คราว หรื อ วั น หยุ ด อาจจั ด เป็ น ตลาดนั ด ของชุมชน - เป็ น สถานที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ ห ลาย อย่างหมุนเวียนประจ�ำวันในช่วงเวลาที่ไม่ ตรงกัน เช่น กลางวันเป็นลานจอดรถ ตอน เย็นเป็นลานออกก�ำลังกาย หรือพักผ่อน ประเทศที่พัฒนาแล้วจะก�ำหนดพื้นที่ เปิดโล่งของเมืองเป็นวาระของเมือง โดยมี การค�ำนวณสัดส่วนพื้นที่สวนและพื้นที่โล่ง ของเมืองที่ต้องสมดุลกันกับพื้นที่อาคาร

รวมของเมื อ งกั บ จ� ำ นวนประชากร ทั้ ง นี้ จะต้องท�ำประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังข้อคิด เห็นจากชาวเมืองเสมอ ปัจจุบันระบบการ สื่อสารสามารถสืบค้นข้อมูลและแนวทาง การคิดจากเมืองที่ประสบความส�ำเร็จใน การวางผั ง ชุ ม ชน (Urban Planning) จนน� ำ ไปสู ่ ก ารออกแบบชุ ม ชน (Urban Design) ที่ มี ร ายละเอี ย ดการใช้ พื้ น ที่ ที่ ชาวเมืองสัมผัสได้มากมาย ตัวเมืองนคร มีพื้นที่เปิดโล่งหลายแห่งทั้งขนาดใหญ่ที่ จัดสร้างเป็นสวนสาธารณะ เช่น สวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) สวน หลวง ร.๙ (ต้นทางถนนพุทธภูมิ) สนาม หน้าเมือง (พื้นที่โล่งส�ำหรับกิจกรรมเอนก ประสงค์ของเมือง) พืน้ ทีเ่ ปิดโล่งขนาดกลาง เช่น สวนศรีธรรมโศกราชอันเป็นสถานที่ ประดิ ษ ฐานพระบรมรู ป อดี ต กษั ต ริ ย ์ อาณาจักรตามพรลิงค์ สนามกีฬาจังหวัด นครศรี ธ รรมราช ส� ำ หรั บ การเล่ น กี ฬ า ประเภทต่างๆ ส่วนพื้นที่ขนาดเล็กมีหลาย แห่งกระจัดกระจาย เช่น สนามเด็กเล่น หน้าหมู่บ้านราชพฤกษ์ ๒ (ตรงข้ามห้าง สรรพสิ น ค้ า โอเชี ย น) พื้ น ที่ ส วนหย่ อ ม สาธารณะถนนประตู ล อด (ได้ เ ปลี่ ย น วั ต ถุ ป ระสงค์ ไ ปสร้ า งอาคารครอบคลุ ม หมดทั้งพื้นที่แล้ว) พื้นที่กิจกรรมลานคน เมือง (ที่ดินราชพัสดุ ตรงข้ามเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช) ซึ่งปัจจุบันใช้เป็นที่จอด รถสาธารณะ ฯลฯ การที่ผู้บริหารท้องถิ่นจะคิดโครงการ ก่อสร้างต่างๆ เพื่อประโยชน์ของชาวเมือง นับเป็นเรื่องที่ถูกต้อง แต่บางโครงการไป

สร้างผิดที่ผิดทางจึงมักเกิดปัญหาตามมา โดยที่ไม่ได้คาดคิดล่วงหน้ามาก่อน เช่น ไปบังทัศนียภาพของสิ่งที่ถูกออกแบบไว้ ในสมัยก่อนที่ให้สามารถมองเห็นสิ่งที่เป็น สัญลักษณ์หรือที่หมายตาของเมือง หรือ ไปเพิ่ ม ความแออั ด ในระบบการจราจร และเพิ่ ม มลภาวะจากสิ่ ง แวดล้ อ มและ เชื้อโรคให้กับเมือง แม้กระทั่งบางสถาน ที่ที่เป็นหน่วยบริการสาธารณะที่จะต้อง ออกไปปฏิบัติงานอย่างฉับพลันทันด่วนก็ อาจติดขัดจากการจราจร การมองความ เหมาะสมของสถานที่ตั้งอาคารจึงมีหลาย มิติที่ต้องพิจารณาและต้องมองไปไกลถึง อนาคตข้างหน้าอีกหลายปีที่จะขยายตัว ไม่ใช่คิดตั้งโครงการอะไรขึ้นมา พอมีที่ว่าง ตรงไหนก็จะสร้างตรงนั้นเลย อาจสร้าง ปัญหาตามมาได้ การบริหารจัดการพื้นที่โล่งของเมือง ที่ได้ผลมากคือการที่ให้ชุมชนใกล้เคียงมี ส่วนร่วม เริ่มตั้งแต่ความต้องการเบื้องต้น ในการใช้ประโยชน์ การหาผู้ช�ำนาญการ เช่น สถาปนิก ภูมิสถาปนิก นักออกแบบ ผังชุมชน ตลอดจนนักสังคมชุมชนทั้งด้าน สุขภาพและด้านเศรษฐกิจ มาช่วยกันคิด ช่วยกันออกแบบ ซึ่งงบประมาณย่อมเป็น ฝ่ายราชการที่ต้องจัดหาจัดเตรียม และ การดูแลรักษาต้องร่วมกันทั้งฝ่ายรัฐและ ฝ่ายประชาชนที่มาใช้สถานที่และมีกติกา ทางสังคม ส่วนใหญ่ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ทางเจ้าหน้าที่รัฐต้องดูแลแบกภาระงาน ต่างๆ โดยประชาชนขาดความรับผิดชอบ ไม่ว่าการรักษาสมบัติสาธารณะให้อยู่ใน สภาพดีและความสะอาดของสถานที่ มุ ม มองของผม...คงถึ ง เวลาที่ ต ้ อ ง ทบทวนปฏิ รู ป การบริ ห ารจั ด การงาน สาธารณะอย่างจริงจังกันเสียที


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๔

ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน

บับนี้ขอเล่าบรรยากาศที่ตัวเองได้ไป ร่วมเฝ้ารอขบวนอัญเชิญพระบรมศพ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ที่พระบรมมหาราชวัง เมือ่ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ทีผ่ า่ นมา วันนั้นรถติดมาก ฉันกับแม่จึงต้อง ข้ า มไปฝั ่ ง พระนคร ด้ ว ยการเดิ น ข้ า ม สะพานพุ ท ธ ผ่ า นปากคลองตลาดมา ทางวัดโพธิ์ แล้วมาสุดทางคนตันที่หน้า กระทรวงกลาโหม ตอนประมาณบ่ายโมง ครึง่ เราเดินไปพร้อมกับคลืน่ คนทีห่ นาตา ขึน้ เรือ่ ยๆ ตลอดทางมีการช่วยเหลือ แบ่ง ปันกัน รถหลายคันเรียกคนที่เดินอยู่ให้ อาศัยไปด้วยกัน มีจดุ แจกน�ำ้ ขนม ยาดม และอาหารแจกฟรีเป็นระยะ ไม่ใช่จาก หน่วยงานราชการเท่านั้น แต่หลายกลุ่ม ร่วมด้วยช่วยกัน เราได้ที่นั่งบนพื้นหญ้าห่างก�ำแพง วัดพระแก้วมาเล็กน้อย เป็นที่นั่งเฉพาะ ตัวจริงๆ แทบไม่มีช่องว่างระหว่างแต่ละ คนให้ขยับเขยื้อนได้เลย แต่ทุกคนน่ารัก มากๆ ตลอดสามชั่วโมงไม่มีใครปริปาก

บ่น มีแต่เสียงถามไถ่ให้ความช่วยเหลือกัน รอบทิ ศ ท่ า มกลางแดดยามบ่ า ยที่ ฟ ้ า ใส อากาศดีต่างจากวันที่ผ่านมา คนข้างๆ มี น�ำ้ มียาเขียว มีทชิ ชูห่ ยิบยืน่ ให้ตลอด ตอน แรกๆ คนแถวด้านหน้าก็ยนื กันบ้าง กางร่ม กันบ้าง มีคนเอ่ยปากเตือนขึ้นมาด้วยน�้ำ เสียงที่ไพเราะ ไม่มีกระแทกแดกดัน หรือ ต�ำหนิตอ่ ว่า แต่กลับแสดงความเห็นใจด้วย การช่วยหยิบยืนข้อเสนอว่า ที่ว่างข้างๆ ใครยังพอมีอยู่บ้าง แล้วก็เรียกไปเติมเต็ม ช่องว่างนัน้ ได้ทลี ะคน จนกระทัง่ ไม่มคี นยืน เหลืออยู่เลย ร่มก็ทยอยหุบกันทุกคน ยอม

นั่งตากแดด เพื่อไม่บังคนข้างหลัง เสียง ปรบมือชื่นชมดังขึ้นเป็นระยะ ไม่มีเสียง กรีด๊ กร๊าด โห่ฮา พอรูส้ กึ เมือ่ ยก็ผลัดกันยืน ผลัดกันเหยียด และเมื่อมีเสียงเหมือนใคร เตือนอะไรสักอย่างคนข้างๆ ก็จะช่วยกัน บอกต่อๆ เตือนๆ กัน น�ำ้ ยาดม ก็แจกกันได้ไม่หยุดมือ ไม่มี ใครลุกไปรับได้ ก็ให้คนที่ต้องการยกมือ แล้วส่งต่อๆ กันไปจนถึง เป็นบรรยากาศ ระหว่างรอทีป่ ระทับใจมากๆ แทบทุกคนมี มือถือ มีกล้อง ถ่ายเก็บภาพกันตลอด แต่ พอเมื่อใกล้เวลาเสด็จ ก็มีการเตือนกันว่า

ห้ามถ่ายภาพ ถอดแว่นตาด�ำ ถอดหมวก ไม่ ส่งเสียงดัง ไม่ต้องกล่าวถวายพระพร และ ไม่ยืน โดยเตือนแบบไม่ใช้เสียง เขียนเป็น จดหมายน้อยส่งต่อๆ กันไปเรื่อยๆ ...แทบ ไม่อยากเชื่อหูเชื่อตาตัวเองเหมือนกันว่า คนเป็นแสนๆ ณ ตรงนั้น ท�ำได้อย่างครบ ถ้วนทุกคนแม้แต่เด็กเล็กก็ไม่มีเสียงงอแง ดังออกมา จนกระทั่ ง เมื่ อ ขบวนเสด็ จ ผ่ า นมา อย่างเรียบง่าย ไม่ใช่ขบวนแห่ใหญ่โต ทุก คนพนมมืออธิษฐาน มองและส่งใจไปส่ง เสด็จ ตอนขบวนผ่านหลายคนน�้ำตาไหล แต่ไม่ฟูมฟาย แม้ไม่หันไปมองเราก็รู้สึก เราก็ได้ยินเสียงสะอื้น ฉันได้แต่ก้มหน้าตั้ง จิตอธิษฐานไม่ได้มองขบวนเหมือนคนอื่น.. เป็นบรรยากาศทีป่ ลืม้ ปิตจิ ริงๆ ค่ะทีเ่ ราได้มี โอกาสมาอยูท่ า่ มกลางผูค้ นทีร่ กั ในหลวง ณ ช่วงเวลาส�ำคัญนี.้ .. หลั ง จากกลั บ มาถึ ง บ้ า นได้ คุ ย กั บ ลมฝน (ลูกชายวัย ๙ ปี) “ในหลวงสวรรคตแล้วใช่ไหมแม่?” (ลมฝนรูจ้ กั ค�ำราชาศัพท์บา้ ง) “ใช่ลกู ” “ท่านอายุเยอะมากนะแม่” “ใช่ครับอายุ ๘๙ ปี (เพือ่ ความเข้าใจ ง่ายๆ) เป็นกษัตริยท์ งั้ หมด ๗๐ ปี นานทีส่ ดุ ในโลกเลย” “โห..สุดยอดเลย” “ท่ า นท� ำ งานตั้ ง สี่ พั น กว่ า โครงการ เลยนะ”

เงี ย บ...สั ก พั ก “แม่ . .แบบนี้ ห ้ อ ง จั ด แสดงที่ นิ ท รรศน์ รั ต นโกสิ น ทร์ ก็ ต ้ อ ง เปลีย่ นเรือ่ งใหม่ดว้ ยสิ ต้องมีเรือ่ งรัชกาลที่ ๙ เยอะขึน้ แล้วก็ตอ้ งมีเรือ่ งรัชกาลที่ ๑๐ ด้วย ถ้าเขาท�ำจริงๆ ลมฝนอยากไปดูนะ” “ก็น่าจะเป็นอย่างนั้น แต่คงไม่ใช่ ตอนนี้ เพราะต้องเสร็จเรื่องพระราชพิธี ศพก่อน น่าจะเป็นปีแหละ ตอนนี้อยู่ช่วง ไว้ทุกข์ทั้งประเทศ ไม่มีเรื่องรื่นเริง หรือ งานแสดงอะไรพิเศษ โขนพระราชทานก็ ยกเลิกนะลูก” “หา...ท�ำไมล่ะ” “ก็โขนเป็นมหรสพ ทีใ่ ห้ความรืน่ เริง ก็ตอ้ งงดไปก่อน” “ต้องรออีกปีใช่ไหม” “ก็ อ าจจะนะ เดี๋ ย วคงมี ป ระกาศ แหละ...แต่ที่แน่ๆ ลมฝนจะได้เข้าไปใน พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาทนะ แม่จะพาไป กราบพระบรมศพ” ตาลุกวาว “จริงเหรอ ทีอ่ ยูใ่ นวัดพระ แก้ว ใช่ไหม” “ใช่ๆ หลังวันที่ ๒๘ จะเปิดให้เรา เข้าไปได้” เด็ ก ดู ตื่ น เต้ น มาก....หยิ บ แผนที่ พระบรมมหาราชวังทีเ่ ก็บไว้มาเปิดดู แล้ว ชี้ว่าตอนนี้พระราชพิธีศพอยู่จุดไหน และ เดี๋ยวจะต้องมีที่จุดไหน แล้วถามต่อว่า “แล้วตอนนี้ที่มีพิธีเป็นแบบโบราณใช่ไหม แม่ ทีม่ ดี นตรีแบบโบราณใช่ไหม?” “ใช่...แบบนัน้ แหละ” ว่าแล้วก็ไปเฝ้าดูอยูห่ น้าจอทีวี อย่าง ตั้งอกตั้งใจ และมีค�ำถามต่อมาอีกเยอะ เรื่ อ งพระบรมโกศบ้ า ง หี บ พระศพบ้ า ง เรือ่ งสารทีใ่ ช้สำ� หรับการท�ำฝนหลวง เรือ่ ง เรือใบของพระองค์ท่านที่เคยไปเห็นจัด แสดงทีง่ านมหกรรมวิทย์ ...เข้าใจว่านีเ่ ป็น วัยของเขา ที่ก�ำลังสนใจเรียนรู้เรื่องต่างๆ และช่วงชีวิตของเขาตั้งแต่เกิดเป็นช่วงที่ พระองค์ทา่ นทรงประชวร เขาย่อมไม่รสู้ กึ ผูกพันมากเท่ากับช่วงวัยของเราที่ได้รู้เห็น พระราชกรณียกิจมากมาย เหมือนเราที่ ไม่รู้สึกผูกพันมากกับรัชกาลอื่นๆ ที่ผ่าน มา แต่ก็ได้รับการสั่งสอนจากบรรพบุรุษ ให้ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของทุก พระองค์อยูเ่ สมอ... ตอนนีโ้ ชคดีทมี่ เี รือ่ งราวเกร็ดความรู้ น่าสนใจเยอะมากให้เราได้อา่ น และโหลด เก็บไว้ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ ลูกหลานของเราต่อไป..


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว (ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว) ข้อดีของการใช้ E-Commerce ๑. การซื้อขายสินค้าแบบ Online สามารถตัดปัญหายุ่งยากในเรื่องของการ ต่อรองราคาและตัดปัญหาเกี่ยวกับนาย หน้า เพราะมีเพียงแค่รหัสบัตรเครดิตที่ เปิดบัญชีกับธนาคาร ท่านก็สามารถซื้อ สินค้าผ่าน Internet ได้ ๒. ข้อมูลของลูกค้าจะถูกเก็บไว้ใน E-Mail บุคคลอื่นไม่สามารถเปิดอ่านได้ นอกจากผูจ้ ดั จ�ำหน่ายเท่านัน้ ๓. เพิม่ มูลค่าและปริมาณทางการค้า เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพทางธุรกิจ ลดต้นทุน และเปิดโอกาสให้ผู้ขายขนาดกลางและ ขนาดเล็ก มีโอกาสเข้าสู่ตลาดได้มากขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็มีทางเลือกมาก ขึน้ ด้วย ๔. ผู ้ ซื้ อ สามารถค้ น หาข้ อ มู ล หรื อ ข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและบริการต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายโดยไม่จ�ำเป็นต้องเดินทางไปถึง ร้านค้า หรือผ่านพ่อค้าคนกลาง ได้ แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น เกี่ ย ว กับสินค้าหรือบริการกับผู้ซื้อรายอื่น หรือ มีโอกาสสัมผัสกับสินค้าหรือบริการก่อน การตัดสินใจซื้อ เช่น ฟังตัวอย่างเพลง อ่านเรื่องย่อของหนังสือ หรือชมบางส่วน ของ VDO

๕. ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจซือ้ ท�ำให้ผซู้ อื้ มี ข้อมูลในการตัดสินใจเพิ่มมากขึ้น ในกรณี ที่เป็นการสั่งซื้อแบบ Digital Form จะ สามารถส่งข้อมูลผ่าน Internet ได้ทนั ที ๖. ผู้ขายสามารถโฆษณาขายสินค้า หรื อ บริ ก ารไปยั ง ลู ก ค้ า ทั่ ว โลกได้ ต ลอด ๒๔ ชัว่ โมง ท�ำให้ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการ โฆษณา การจัดตั้งร้านค้า การจัดตกแต่ง สถานที่ ค่าใช้จ่ายการจัดเก็บสินค้า การ กระจายสินค้า และยังสามารถลดค่าใช้จา่ ย ในการด�ำเนินงานอืน่ ๆ ได้อกี ด้วย

ขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้ อ มู ล บนบั ต รเครดิ ต อาจถู ก ดักฟังหรืออ่าน เพื่อเอาชื่อและหมายเลข บัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิต ไม่รู้ได้ การส่งข้อมูลจึงต้องมรการพัฒนา วิธกี ารเข้ารหัสทีซ่ บั ซ้อนหลายขัน้ ตอน เพือ่ ให้ ข ้ อ มู ล ของลู ก ค้ า ได้ รั บ ความปลอดภั ย สูงสุด ๒. ประเทศไทยยั ง ไม่ มี ธ นาคาร พาณิชย์ทจี่ ะท�ำหน้าทีร่ บั ประกันความเสีย่ ง ส�ำหรับการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ใน ปัจจุบันการช�ำระเงินยังต้องผ่านธนาคารที่ ข้อจ�ำกัดในการใช้ E-Commerce เป็นของต่างประเทศ ๑. ความไม่ ป ลอดภั ย ของข้ อ มู ล ๓. ปัญหาความยากจน ความด้อย

โอกาสและขาดความรูท้ างเทคโนโลยี รวม ทั้งขาดเครือข่ายการสื่อสาร เช่น ระบบ เคเบิล ระบบโทรศัพท์ที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้ไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง จึงท�ำให้ชนบททีห่ า่ งไกลไม่สามารถเข้าถึง และใช้บริการ Internet ได้ ๔. E-Commerce ยังมีประเด็นเชิง นโยบายที่ท�ำให้รัฐบาลต้องเข้ามาก�ำหนด มาตรการ เพื่อให้ความคุ้มครองกับผู้ซื้อ และผูข้ าย ขณะเดียวกันมาตรการมนเรือ่ ง ระเบียบที่จะก�ำหนดขึ้นต้องไม่ขัดขวาง การพัฒนาเทคโนโลยี ๕. ผู้ซื้อไม่มั่นใจเรื่องการเก็บรักษา ความลับทางธุรกิจ ข้อมูลส่วนบุคคลเช่น ไม่มั่นใจว่าจะมีผู้น�ำหมายเลขบัตรเครดิต ไปใช้ประโยชน์ในทางทีม่ ชิ อบหรือไม่ ๖. ผู้ขายไม่มั่นใจว่าลูกค้ามีตัวตน อยู่จริง จะเป็นบุคคลเดี่ยวกับที่แจ้งสั่งซื้อ สินค้าหรือไม่ มีความสามารถในการที่จะ จ่ายสินค้าและบริการหรือไม่ และไม่มนั่ ใจ ว่าการท�ำสัญญาซือ้ ขายผ่านระบบ Internet จะมีผลถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๖

บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช

มื่ อ ๓๐ พฤศจิ ก ายน - ๔ ธั น วาคม ๒๕๕๕ ได้มีโอกาสเข้าร่วมปั่น โครงการ “สี่ทิศรวมใจไทยเป็น ๑” เพื่อไปถวาย พระพรในหลวง ที่ อ าคารร้ อ ยปี โ รงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร

ระยะทางจากนครศรีธรรมราช ไป กรุงเทพมหานคร เกือบ ๙๐๐ กิโลเมตร ไม่ใช่ระยะทางสั้นๆ เลย ส�ำหรับนักปั่น มือใหม่อย่างผม แต่ด้วยความมุ่งมั่น ศรัทธา ที่จะไป เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปร-

มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ก็ปั่นไปถึง โรงพยาบาลศิริราช โดยใช้ระยะเวลา ๕ วัน เต็มๆ วันแรก : ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เรารวมตั ว กั น ที่ ศ าลหลั ก เมื อ งนครศรี ธรรมราช ปั่นมุ่งหน้าไปจังหวัดสุราษฎร์-

ธานี พักค้างคืนทีห่ น้าวัดสวนโมกขพลาราม ช่วงนี้เจอฝน ตั้งแต่แรกเริ่มออกปั่นกันเลย วันที่สอง : ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ ปั่น ออกจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้ถึงที่ พัก อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ช่วงนี้เจอ ทั้งแดดทั้งฝน

วันที่สาม : ๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ จาก อ� ำ เภอท่ า แซะ - อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ถึ ง แม้ จ ะเหนื่ อ ยล้ า แค่ไหน แต่ใจมุ่งมั่นที่อาคารร้อยปี โรง พยาบาลศิริราช วันที่สี่ : ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ อ�ำเภอ

เมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ - จังหวัด เพชรบุรี วันที่ห้า : ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ วัน สุ ด ท้ า ยของการปั ่ น เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ในหลวง จากจังหวัดเพชรบุรีไปรวมตัวกัน ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า จากนั้นขบวนจักรยานทั้งหมด ปั่น จากลานพระบรมรูปทรงม้าไปยังอาคาร ร้ อ ยปี โรงพยาบาลศิ ริ ร าช เพื่ อ ถวาย พระพรในหลวง โครงการสี่ ทิ ศ รวมใจไทยเป็ น ๑ เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ใ นหลวง ย่ อ มเป็ น ครั้งหนึ่งและครั้งเดียวในชีวิตจริงๆ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๗

พิธีท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ จ� ำ นวน ๘๙ รู ป ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตรในพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลสัตตมวาร ณ บริเวณ หน้าวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๙ นพ.รังสิต ทองสมัคร์


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๘

อ ลัล่ ล้า ฉบับนี้ ขอพาคุณผูอ้ า่ นน้อมน�ำ พระราชด� ำ รั ส ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอ เพียงของในหลวง มาใส่เกล้าใส่กระหม่อม ใช้ชีวิต กิน อยู่อย่างพอเพียง กับอาหารดี อาหารเด่นพื้นเมืองนครศรีธรรมราช เพื่อ สอดคล้องกับสโลแกนนครศรี ดี๊ ดี ที่ทาง ผู ้ เ ขี ย นจะเริ่ ม ปรั บ เปลี่ ย นคอลั ม น์ รั บ ปี ๒๕๖๐ กับค�ำนิยามหรอยดี (ตามภาษา พืน้ ถิน่ แบบฉบับปักษ์ใต้) ..วันนีเ้ ราออกเดิน ทางจากอ�ำเภอเมือง ใช้เส้นทางนครศรีฯ -ลานสกา จากตัวเมืองนครศรีธรรมราช เส้นถนนราชด�ำเนิน ผ่านสีแ่ ยกตลาดหัวอิฐ สี่แยกเบญจมราชูทิศ ทางหลวงหมายเลข ๔๐๑๕ (นครศรีธรรมราช-ลานสกา-จันดี) ใช้เวลาเดินทางโดยประมาณ เพียง ๒๐๓๐ นาที ขับเส้นตรงอย่างเดียวค่ะ สังเกต ทางซ้ายมือจะมองเห็นอาคารไม้หลังใหญ่

ร่มรื่น หน้าร้านสะอาด ที่จอดรถโล่งบริเวณ ด้านหน้าป้ายร้านข้าวแกงพื้นบ้าน โดดเด่น ชัดเจน เดินเข้ามาในตัวร้านเรามองเห็นป้าย Clean Food Good Test ในเบือ้ งต้นก็ทำ� ให้ เรายิ่งมั่นใจว่าเดินทางมาไม่ผิดร้านแน่นอน ค่ะ ใช้เวลาเดินชมบรรยากาศภายในร้าน ห้อง ประชุมย่อย จุประมาณ ๒๐-๒๕ คน พร้อม เครื่องเสียงบริการฟรีส�ำหรับทุกคณะ ทาง ร้านคิดค่าใช้จ่ายเฉพาะค่าอาหารเท่านั้น พี่ ศรีเจ้าของร้านแอบกระซิบบอกค่ะ ฝาผนัง ที่โชว์ภาพวาดน�้ำตก และสะพานข้ามคีรีวง ถือว่าเป็นแหล่งท่องเทีย่ วขึน้ ชือ่ ประจ�ำอ�ำเภอ ลานสกา แหล่งท่องเทีย่ วทีม่ อี ากาศดีทสี่ ดุ ใน ประเทศไทย เดินผ่านทะลุครัวไปยังหลังร้าน เรามองเห็นบ่อซีเมนต์วางเรียงรายส�ำหรับ ปลูกผักปลอดสารพิษไว้ใช้ในร้าน ซึง่ นอกจาก จะปลูกไว้หลังร้านแล้ว ยังมีพื้นที่ขนาดใหญ่ ที่ ป ลู ก ไว้ ที่ บ ้ า นของพี่ ศ รี เ องอี ก ด้ ว ย เพื่ อ ส่งมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารของ ร้าน ลูกค้าทีม่ ารับประทานจึงสามารถวางใจ บริโภคได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำค่ะ น�ำ้ ดืม่ ของ ทางร้านที่มีไว้บริการก็ใช้น�้ำใบเตยต้มทั้งราก ทั้งใบหลังจากล้างท�ำความสะอาดอย่างดี ส�ำหรับลูกค้าที่เดินทางผ่านมา เรียกว่าได้ จิบน�้ำใบเตยแล้วสดชื่นขึ้นมาทันตาเห็นค่ะ

...ส่วนเมนูอาหารเด็ดในวันนี้ ขอน�ำเสนอ เมนูปลาเปรี้ยว ที่เด็กๆ หรือหนุ่มสาวยุค ใหม่ หรือคนในเมืองแทบจะไม่รู้จักแล้วค่ะ พี่ศรี เจ้าของร้านคนสวยเล่าย่อๆ ให้ฟังว่า การท�ำปลาเปรี้ยวนั้น ส่วนใหญ่จะได้ปลามา จากการทีช่ าวบ้านยกยอ แล้วติดปลาตัวเล็กๆ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นปลาน�ำ้ จืด เช่น ปลาซิว ปลา กระดี่ ปลาข้าว ฯลฯ ล้างท�ำความสะอาด แล้วน�ำมาหมักเกลือ น�้ำตาล ข้าวสารคั่วให้ หอมแล้วต�ำ คลุกเคล้ากัน หมักไว้ ๓ – ๕ วัน แล้วแต่ความชอบรสของความเปรี้ยว แล้ว น�ำมาทอด ซอยหอมแดง พริกสด มะนาว เล็กน้อยเพิ่มความอร่อยพร้อมเสิร์ฟ ขึ้นโต๊ะ รับประทานพร้อมกับข้าวร้อนๆ หรอย ... จริงๆ ค่ะ อาหารพื้นบ้านวันนี้ที่เราจะมาชิม นอกจากปลาเปรี้ยวแล้วยังมีเมนูคั่วทุกชนิด ทีบ่ อกได้เลยว่าหรอยคาด (อร่อยจริงๆ) ไม่วา่ จะเป็น คัว่ กลิง้ หมู ไก่ กระดูกอ่อน ฯลฯ แกง ไตปลารสเข้ม, ต้มหนาง หมู หรือ วัว ซึง่ หา รับประทานยากในปัจจุบนั , หมีผ่ ดั เครือ่ งแกง กุ้ง, ต้มกะทิรวมผักพื้นบ้านกับกุ้ง ทานร่วม กับน�ำ้ พริกกะปิ และผักเหนาะ (ผักเหนาะ คือ ผักเครื่องเคียง) ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของชาวใต้ที่ ขาดไม่ได้เลยกับน�ำ้ พริก ผักสดพืน้ บ้าน ... ใน ตะกร้าผักสดทีว่ างอยูห่ น้าเราตอนนีน้ ะคะ ก็

จะมีตงั้ แต่ แตงกวา ถัว่ ฝักยาว ถัว่ พู ผักชีลอ้ ม ยอดจิก ยอดมะม่วงหิมพานต์ (ซึ่งสามารถ ต้านโรคมะเร็งได้อย่างดี) รวมไปถึงใบส้มเหม้ า (มะเม่ า หรื อ Antidesma) หรื อ หมากเม่า ซึ่งมีสรรพคุณ ขับโลหิต บ�ำรุง สายตา เสริ ม สร้ า งอนุ มู ล อิ ส ระ เรี ย กได้ ว่ า นอกจากอิ่ ม ท้ อ งแล้ ว ยั ง ได้ สุ ข ภาพที่ ดี กลับบ้านไปด้วยค่ะ ข้าวสวยของที่นี่ ก็เป็น ข้าวที่ปลูกโดยชาวไร่ชาวนนาในพื้นที่ ด้วย ปุ๋ยชีวภาพ ...พร้อมบริการกาแฟสด และ เครื่ อ งดื่ ม แสนอร่ อ ยอี ก หลากหลายเมนู ร้ า นอาหารข้ า วแกงพื้ น บ้ า นลานสกา มี มุ ม วางจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ ร ะลึ ก หรื อ มุ ม ที่ ช าวบ้ า นสามารถมาฝากวางขายสิ น ค้ า OTOP ได้อีกเช่นกัน เพื่อความสะดวกของ ผู้ที่เดินทางผ่านไปมาได้เลือกซื้อเลือกหา ได้ตามความพึงพอใจ ร้านข้าวแกงพื้นบ้าน ลานสกา เปิดให้บริการทุกวันค่ะ ตั้งแต่เวลา ๐๗.๐๐ ถึง ๑๗.๐๐ น. ไม่มวี นั หยุด สนใจเข้าใช้บริการเป็นหมูค่ ณะ สามารถโทร.ส�ำรองโต๊ะล่วงหน้าได้ที่โทร. ๐๘-๙๕๒๒-๗๘๘๗ ส�ำหรับไกด์ทกุ ท่านทีพ่ า ทัวร์มาลงทีร่ า้ น ไกด์รบั ประทานอาหารและ เครื่องดื่มฟรีนะคะ เพียงโทร.แจ้งก�ำหนด คณะเดินทางมาถึง และเมื่อมาถึงแจ้งต่อ พนักงานที่ร้านได้เลยค่ะ เรียกว่าบริการทุก ระดับประทับใจ ขอขอบคุณอาหารอร่อยๆ และเครือ่ ง ดื่มรสเข้มข้นที่ยังคงติดใจจากพี่ศรี (คุณ พรรณวดี จิตอ�ำนวย) ทริปนีเ้ รียกได้วา่ คุม้ ค่า ส�ำหรับการเดินทางเป็นอย่างมากค่ะ ... แล้ว ติดตามของหรอยพืน้ บ้าน ขนมพืน้ เมือง ใน คอลัมน์ นครศรี ดีด๊ ี BY.. โอ ลัล่ ล้า ฉบับหน้า เจอกันนะคะ


ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.