รักบ้านเกิด ฉบับที่ 38 พฤศจิกายน 2557

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ประธานชมรมขี่ม้านครฯ เผยกีฬาขี่ม้าก�ำลังเติบโต เป็นศูนย์ฝึก นศ.สัตวแพทย์ ศูนย์รักษาม้าภาคใต้ เป็น สนามฝึกขี่ มีสมาชิกมากกว่า ๒๐๐ คน คนรักม้าผุดฟาร์ม-คอกเพิ่ม เชาว์ ประยูรธ�ำรงนิติ

นายกสมาคมพาณิชย์จีน นครศรีธรรมราช

¹¤Ã´Í¹¾ÃР˹éÒ ò ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ˹éÒ ó ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย ˹éÒ ๔ สุธรรม ชยันต์เกียรติ àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ Ë¹éÒ ๙ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ แนวทางการออกแบบภูมิทัศน์ วัดพระมหาธาตุสู่มรดกโลก ˹éÒ ๑๐ ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบ ม.วลัยลักษณ์ เที่ยวเมืองมรดกโลก ˹éÒ ๑๐ โกแอ๊ด ความคืบหน้าพระธาตุสู่มรดกโลก ˹éÒ ๑๑ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ ˹éÒ ñ๒ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ˹éÒ ñ๖ ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ ˹éÒ ñ๗ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ นาย จอม กิจวิบูลย์ ประธาน ผู้จัดการ ช่าง และครู ส อนขี่ ม ้ า ชมรมกี ฬ าขี่ ม ้ า นครศรี ธ รรมราช เปิ ด เผยกั บ ‘รักบ้านเกิด’ เกี่ยวกับการ ด� ำ เนิ น การชมรมและการ ขยายตัวของกีฬาขี่ม้าใน จังหวัดนครศรีธรรมราช ว่า นับตั้งแต่ตนเองเข้า มาบริ ห ารชมรมเมื่ อ ปี ๒๕๔๔ หลั ง ได้ รั บ การทาบทามให้ ม าฝึ ก นักกีฬา

สมศักดิ์ อดิเทพวรพันธุ์ บุคคลที่มีบทบาทด้านการค้าและสังคมของจังหวัด นครศรีธรรมราช ถึงแก่กรรมเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ ท่ามกลาง ความโศกเศร้าของครอบครัวและมวลมิตร

รายงาน

สมศั ก ดิ์ อดิ เ ทพวรพั น ธุ ์ เป็ น บุ ต รของนายอึ่ ง ค่ า ยถ่ า ย และนางจวน เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ ๕ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๔๗๗ มี พี่ น ้ อ งร่ ว มบิ ด า - มารดา ๕ คน ได้ แ ก่ สมศั ก ดิ์ อดิ เทพวรพั น ธุ ์ , วรศั ก ดิ์ อดิ เ ทพวรพั น ธุ ์ , ด.ญ.ขจี อดิ เ ทพวรพั น ธุ ์ (ถึ ง แก่ ก รรม), ก่ อ ศั ก ดิ์ >> อ่านต่อหน้า ๘ อดิเทพวรพันธุ์ และ ฤดี เลติกุล


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ก่

รณี ฆ าตกรรมนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวอั ง กฤษที่ เ กาะ เต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ แม้ ต� ำ รวจสามารถจั บ กุ ม ชาวพม่ า ๒ คน พร้อมหลักฐานมัดตัวว่าเป็นฆาตกรตัวจริง แต่ผู้สนใจ คดีนี้กลับไม่เชื่อถือ ต่อมาผู้ต้องหากลับค�ำสารภาพ และเปิดเผยว่าถูกซ้อมให้รับสารภาพ ความเชื่อถือต่อ ต�ำรวจไทยลดลง เนื่องจากเป็นการฆาตกรรมชาวต่างชาติ โดย เฉพาะชาวอั ง กฤษซึ่ ง เกิ ด ในยุ ค เทคโนโลยี อ อนไลน์ ก้ า วหน้ า ปรากฏว่ า มี ‘นั ก สื บ ไซเบอร์ ’ ท� ำ หน้ า ที่ สืบสวนและวิเคราะห์คู่ขนานไปกับต�ำรวจ ช่วยเพิ่ม มุ ม มองเกี่ ย วกั บ คดี ใ ห้ ก ว้ า งขึ้ น บางครั้ ง สวนทาง กั บ ต� ำ รวจ แม้ ไ ม่ ส ามารถเปลี่ ย นแนวทางสื บ สวน สอบสวน แต่กลับสร้างข้อกังขาแก่ผู้ติดตามความคืบ หน้าของคดีอย่างกว้างขวาง พลต�ำรวจเอกสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ผู้บัญชาการ ต� ำ รวจแห่ ง ชาติ แถลงข่ า วสรุ ป คดี พ ร้ อ มด้ ว ยคณะ ท� ำ งานสื บ สวนสอบสวนท่ า มกลางความสนใจของ สื่อมวลชนไทยและต่างประเทศ ต่อมามีผู้ซักถามว่า ท�ำไมไม่ให้สถาบันอื่นๆ เช่น สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ มาร่วมสอบสวนสืบสวน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อรูป คดี กรณีนี้ยิ่งสร้างความเคลือบแคลงต�ำรวจเพิ่มขึ้น ความโปร่งใสในการท�ำคดีถูกสงสัย คดี ฆ าตกรรมนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ กาะเต่ า ที แ รก เกี่ยวโยงด้านความสัมพันธ์กับอังกฤษประเทศเดียว เมื่ อ ต� ำ รวจจั บ กุ ม ผู ้ ต ้ อ งหาชาวพม่ า ความสั ม พั น ธ์ ขยายเป็นสองประเทศ ทั้งอังกฤษและพม่าต้องการ ให้ ก ารตั ด สิ น เป็ น ธรรม หากมี ข ้ อ ผิ ด พลาดจะส่ ง ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของไทยกับสองประเทศ แน่นอน ประชาชนต้องการเห็นต�ำรวจท�ำคดีนี้อย่าง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และเป็ น ธรรม เพราะไม่ ต ้ อ งการเอา อนาคตของประเทศเป็ น เครื่ อ งไถ่ บ าปให้ ฆ าตกร ๒-๓ คนลอยนวล

อนออกพรรษาปีนี้ไม่กี่วัน ผมได้รับโทรศัพท์จากอาจารย์สุชาติ ทองบุญยัง แห่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช พระลากวัดจันทาราม บอกว่าตามที่เคยแสดงข้อคิดความเห็นให้พัฒนายกระดับงานลาก พระเมืองนครไว้หลายประการนั้น ปีนี้ อบจ.กับเทศบาลนครฯ จะ พระนครที่น�ำมาจอดในลานพระธาตุประกอบการตักบาตรเทโวตรง ร่วมกันจัดงานลากพระที่สวนศรีธรรมาโศกราช อยากได้ข้อแนะน�ำ หน้ามณฑปพระพุทธบาท ได้ลงไปนมัสการ ชอบใจที่ท�ำเป็นฉาก บทความและช่ ว ยจั ด บรรยากาศโดยในขณะนั้ น ผมมี ห ลายกิ จ เสด็จลงจากดาวดึงส์ด้วยบันไดทอง แก้ว และ นาคอย่างเหมาะ เจาะลงตั ว ในขณะที่ ไ ด้ เ ห็ น พระท่ า นลงไม้ ล งมื อ อย่ า งน่ า นิ ย ม ไม่น้อย ที่วัดสวนป่าน เช่นเดียวกับการลากเรือพระวัดพระนคร ด้วย ทั้งนี้ที่ตลาดแขกได้ผ่านพบขบวนลากเรือพระที่น่าสนใจถึง ๓ แบบ คือ แบบสนุกสนาน แบบประเพณีนิยม และ แบบ อยู่เต็มมือจึงช่วยอะไรไม่ได้เลย แต่ได้ลงไปร่วมงานด้วยความ ชื่นชมหลายประการ เริ่มจากการออกไปใส่บาตรพระลากที่สองวัดข้างบ้าน คือ วัดศรีทวี กับ วัดจันทารามที่ไม่มีเรือและการลากพระมานานมาก แล้ว โดยพระลากที่วัดจันทารามทั้ง ๕ องค์นั้นถือว่างดงามที่สุด ในเมืองนคร ไม่ว่าจะเป็นองค์พระ เครื่องประกอบ ตลอดจนสิ่ง ตกแต่ ง ต่ า งๆ โดยในวั ด จั น นั้ น เอง มี ค นบอกว่ า ให้ แ วะไปที่ วั ด เพชรจริก เพราะคนมากที่สุด มีงานใหญ่มาตั้งแต่เมื่อคืนแล้ว เมื่ อ ถึ ง ที่ ห น้ า วั ด เพชรจริ ก นั้ น ขบวนลากพระก็ อ อกจาก ประตูวัดด้วยขบวนคนลากหลายร้อยคน เรือพระเป็นแบบโบราณ ดั้งเดิม คือล้อไม้ ต้องใช้แรงและคนช่วยลากและคัดทิศทางหลาย คน ประกอบกับทางวัดจัดเป็นงานฉลองใหญ่ข้ามคืน มีการออก ร้านและงานรื่นเริงสมโภชพระลากที่ได้ชื่อว่า “พระเจ้าล้านทอง” อย่างเต็มที่ คนจึงมาก น่าเป็นกรณีศึกษาในการพัฒนายกระดับ ต่อโดยเฉพาะประเพณีการตีโพนคุมพระที่แต่ก่อนจะท�ำกันทุกวัด ในลักษณะการชวนชาวบ้านรอบวัดมาช่วยกันตระเตรียมต่างๆ ครั้ น เมื่ อ วกกลั บ มาผ่ า นวั ด พระธาตุ เห็ น เรื อ พระของวั ด

เรือพระวัดพระนคร ที่ ลานพระบรมธาตุเจดีย์

พระภิกษุกับเรือพระวัดสวนป่าน และ วัดพระนคร

เรือพระวัดเพชรจริก

คนเมือง ที่อดีต สส.นริศา อดิเทพวรพันธุ์ ยกพวกมาช่วยสร้างท�ำ ถวายวัดพระลานแล้วชวนกันลากเกือบรอบเมือง ชวนนึกถึงที่ผม เคยชวนญาติมิตรสร้างท�ำล�ำลองของวัดจันฯแล้วลากไปชุมนุมที่ โรงเรียนเบญจมฯมาครั้งหนึ่งแล้วเมื่อหลายสิบปีก่อน ส�ำหรับการชุมนุมเรือพระ หรือที่นิยมเรียกกันว่า “ชุมนุมนม พระ” ซึ่งกร่อนมาจาก “พนมพระ” ในปีนี้นั้นมีการเปลี่ยนแปลง ใหญ่หลังจากโรงเรียนเบญจมราชูทิศผู้รับเป็นเจ้าภาพต่อเนื่องมา หลายสิบปีได้ประกาศยกเลิกและมี อบจ.กับเทศบาลนครลุกขึ้นมา รับไม้แทนที่สวนศรีธรรมาโศกราช และมี อบต.ท่างิ้ว รับเป็นเจ้า ภาพร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏฯ จัดขึ้นที่หน้าเขามหาชัย โดยที่ ราชภัฏมีเรือพระมาชุมนุมเกือบ ๒๐ ล�ำ น้อยกว่าที่ในเมืองที่มี เกือบ ๔๐ ล�ำ ส่วนที่อื่นๆ เช่นที่อ�ำเภอพระพรหมซึ่งจัดมาหลายปี นั้นไม่ทราบว่าจ�ำนวนเท่าไหร่ ทราบแต่ที่ปากพนังว่า มีร่วมร้อยล�ำ เฉพาะที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ และ สวน ศรีธรรมโศกที่ผมได้แวะไปนั้น นอกจากบรรยากาศดี และมีผู้คนมากมายแล้ว ผมเห็นว่าจังหวะนี้น่าจะได้ เวลายกระดับพัฒนาขยายผลแล้ว โดยมีข้อสังเกต เสนอบางประการดังนี้ ๑) การสนับสนุนส่งเสริมประเพณีการตีโพน คุมพระ การฉลองสมโภช ตกแต่งเตรียมการและ ตักบาตรเทโวหรือตักบาตรหน้าล้อในทุกวัด เนื่องใน วันออกพรรษา ๒) การสนับสนุนส่งเสริมการอนุรักษ์ พิทักษ์ รั ก ษา สร้ า งท� ำ ถวายพระลาก พร้ อ มกั บ เครื่ อ ง ประกอบต่างๆ อาทิเครื่องสูงและเครื่องทรงแก่วัด ต่างๆ อย่างเหมาะสม ทั้งนี้มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการ ตกแต่งองค์พระลากที่เป็นสิ่ง >> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

วั

นที่ ๔ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ ชาว บ้ า นควนชะลิ ก อ� ำ เภอหั ว ไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช จะท�ำพิธีเปิด ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชควนชะลิก ถือ เป็นเรื่องดีดีที่น่ากล่าวถึง กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วั ฒ นธรรมก� ำ หนดจั ด ตั้ ง ศู น ย์ วั ฒ นธรรมเฉลิ ม ราช ในพื้ น ที่ ๕ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เพื่ อ เป็ น การ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่อง ในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา โดยจั ด ตั้ ง ศู น ย์ วั ฒ นธรรมเป็ น ศู น ย์ อ นุ รั ก ษ์ พัฒนาและเป็นแหล่งรวบรวมมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็ น สถานที่ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ด้วยการบูรณาการร่วมกับส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในท้องถิ่น ควนชะลิ ก เป็ น ชื่ อ หมู ่ บ ้ า นบนเนิ น ริ ม ป่ า พรุ ค วน เคร็งค�ำว่า ‘ชะลิก’ หมายถึงควนที่มีน�้ำล้อมรอบ แรกๆ เรียก ‘ควนลึก’ แล้วกร่อนเป็น ‘ควนลิก’ อีกกระแสมา จาก ‘ชล’ แปลว่าน�้ำ นานๆ ไปกลายเป็น ‘ชะลิก’ ชาว บ้านรุ่นแรกๆ อาจเรียก ‘ควนชลลึก’ จนเปลี่ยนเป็น ควนชะลิกในที่สุด คนกลุ่มแรกที่มาตั้งถิ่นฐานล่องเรือมาจากสทิงพระ แล้วหักร้างถางป่าปลูกบ้านบนควน ชวนกันถางป่าปลูก ข้าวที่นาค่อยๆ ขยายเพิ่มขึ้น เมื่อเห็นว่าควนนี้อยู่ได้ ท�ำนาได้ผลก็ชักชวนญาติพี่น้องมาอาศัยขยายพื้นที่ไป เรื่อยๆ ชาวควนชะลิ ก ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ นสายสกุ ล ‘แก้ ว ’ เช่น แก่นแก้ว เกิดแก้ว เกตุแก้ว เกราะแก้ว แก้วเกลี้ยง แก้วจันทร์ แก้วบริสุทธิ์ แก้วพัว แก้วมี แก้วมณี แก้ว เนียม แก้วน้อย แก้วยวน แก้วรุย ขาวแก้ว หรือ เอียด แก้ว เป็นต้น นอกจากท� ำ นา ชาวบ้ า นยั ง หาปลาเป็ น อาชี พ บริเวณนี้เคยมีช้างแคระ (ช้างแกลบ ช้างแดงหรือช้างหร้า ก็เรียก) เป็นช้างตัวเล็ก หาอยู่หากินในป่าพรุ ปัจจุบัน ไม่มีเหลือแล้ว เพราะถูกล่า หรือระบบนิเวศเปลี่ยนจน ไม่อาจด�ำรงชีวิตอยู่ได้ วัดควนชะลิกสร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒๑๒๓ ได้ รับวิสุงคามสีมาปีพุทธศักราช ๒๑๔๓ ถือเป็นวัดเก่าแก่ วัดหนึ่ง มีอุโบสถ วิหาร หอไตรเก็บพระไตรปิฎก เจดีย์

และรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ที่ชาวบ้านเคารพศรัทธา ชาวบ้ า นประกอบประเพณี ท� ำ ขวั ญ ข้ า วหรื อ ‘ชา ขวัญข้าว’ ทุกเดือนเมษายน เพื่อแสดงความเคารพต่อ แม่โพสพ สมัยก่อนมีหมอท� ำขวัญ แต่เดี๋ยวนี้ขาดหมอ ท� ำ ขวั ญ เหลื อ แต่ พิ ธี ส มโภชข้ า วขวั ญ กระนั้ น ชุ ม ชน ยั ง อนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี ช าขวั ญ ข้ า วไว้ ด้ ว ยเหตุ ส� ำ คั ญ ๔ ประการ ได้แก่ การอนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่นที่เป็นบท ท�ำขวัญข้าว ซึ่งไม่ได้ถูกใช้ ให้กลับมามีบทบาทต่อไป, ได้อนุรักษ์ศิลปินพื้นบ้าน คือ เพลงบอก ได้มีเวทีส�ำหรับ ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความรู้สึกนึกคิด ให้คนทั่วไปได้รับรู้, ได้ให้เยาวชนคนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียน รู้พิธีกรรมการท�ำขวัญข้าว และเข้าใจถึงระบบข้าวในอดีต และได้ รั ก ษาฟื ้ น ฟู ป ระเพณี ดั้ ง เดิ ม ที่ เ ป็ น รากเหง้ า ทาง วัฒนธรรมของวิถีชีวิตชาวนา ควนชะลิ ก มี ร ะบบประปาหมู ่ บ ้ า นโดยต่ อ น�้ ำ ใส สะอาดจากควน มีระบบชลประทานเชื่อมต่อจากอ�ำเภอ ระโนด จั ง หวั ด สงขลา ปี ๒๕๒๖ ครู อ รุ ณ แป้ น คง โรงเรียนวัดโคกสูง น�ำ ก่อตั้งสหกรณ์ร้านค้าควนชะลิก

เป็ น แหล่ ง ขายสิ น ค้ า ชาวบ้ า น สิ้ น ปี มี เ งิ น ปันผลให้สมาชิก ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น‘ศูนย์ สาธิตร้านค้าควนชะลิก’ บริหารจัดการในรูป คณะกรรมการ เรื่องน่าสนใจคือการก่อตั้งศูนย์วัฒนธรรมควนชะลิก โดยนายชุมแก้ว รุยแก้ว ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน วัดควนชะลิก กับคณะครู ผู้น�ำท้องถิ่น คณะศิษย์เก่า ได้ ริ เ ริ่ ม จั ด สร้ า งอาคารห้ อ งสมุ ด ชุ ม ชน โดยมี เ จตนา ให้นักเรียนและผู้ปกครอง บุคคลทั่วไปได้ใช้ห้องสมุด เพื่อการเรียนรู้ ช่วงรัฐบาลจัดให้มีโครงการกองทุนเพื่อ สังคม (SIF) และมอบให้ธนาคารออมสินเป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ เปิดโอกาสให้กลุ่มองค์กรที่เข้มแข็งเขียน โครงการของบประมาณสนับสนุน นายชุมแก้ว รุยแก้ว และคณะใช้กลุ่มสหกรณ์ร้านค้าเป็นผู้ส่งโครงการสร้าง ศูนย์วัฒนธรรมและห้องสมุดชุมชน โครงการได้รับการ อนุมัติ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๓ ก่อสร้างอาคารเสร็จเมื่อปี ๒๕๔๕ โดยชุมชนด�ำเนินการก่อสร้างเอง ต่ อ มาเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น โครงการวั ฒ นธรรมไทย สายใยชุ ม ชนต� ำ บลควนชะลิ ก ผ่ า นการประเมิ น เป็ น โครงการดีเด่นระดับจังหวัด (ระดับ ๓) ปี ๒๕๕๓ และ ผ่านการประเมินเป็นโครงการดีเด่นระดับภาค (ระดับ ๔) ปี ๒๕๕๕ สมัครเข้าร่วมพัฒนาเป็นศูนย์วัฒนธรรม เฉลิ ม ราช ได้ รั บ งบฯจากกรมส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรม ๑๕๘,๐๐๐ บาท ปี ๒๕๕๖ ได้รับงบฯ เพื่อพัฒนาศูนย์ วัฒนธรรมเฉลิมราช ๑๕๐,๐๐๐ บาท ปี ๒๕๕๗ ได้รับ เพิ่มอีก ๑ ล้านบาท ศู น ย์ วั ฒ นธรรมเฉลิ ม ราชควนชะลิ ก เป็ น ศู น ย์ วัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็งสมบูรณ์ และน่าภาคภูมิ ใจยิ่ง


หน้า ๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ามาดะ นางามาซะ เป็นชาวญี่ปุ่นได้เดินทางเข้ามา รับราชการในกรุงศรีอยุธยาสมัยพระเจ้าทรงธรรม สมั ย นั้ น อยุ ธ ยามี สั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ญี่ ปุ ่ น มาก จนถึ ง ขั้ น ส่งคณะฑูตจ�ำนวน ๖๐ คนไปเมืองเอโดะ ในช่วง พ.ศ. ๒๑๖๔ ดังมีพระราชสาส์นโดยสรุปว่า อยุธยาได้ดูแล เอาใจใส่ชาวญี่ปุ่น ดังราษฎรของอยุธยาเอง โดยมีการ จัดตั้งหมู่บ้านและแต่งตั้งชาวญี่ปุ่นเป็นนายอ�ำเภอดูแล

ชาวญี่ปุ่นด้วยกันเอง ประธานยศเป็นขุนไชยสุนทร ทั้ง ยังโปรดให้พ่อค้าเรือส�ำเภาญี่ปุ่นมาค้าขายมากขึ้นเพื่อมี พระราชไมตรีต่อกัน การเดินทางกลับของคณะฑูตไทยครั้งนั้น มีซามูไร น้อยผู้หนึ่งซึ่งเป็นคนหามเกี้ยวของโชกุนขอเดินทางมา กับคณะฑูตด้วย ทั้งยังเป็นการมาแสวงโชคจากต่างแดน ด้วย ซามูไรยามาดะเป็นคนขยันขันแข็งจนได้รับราชการ ในกรมอาสาญี่ปุ่น จนได้เป็น เจ้ากรมอาสาญี่ปุ่นในที่สุด ครั้นสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสวรรคต ได้เกิดความ วุ่นวายแย่งชิงราชสมบัติกัน ระหว่างสมเด็จพระเชษฐาธิราชกับพระศรีศิลป์ โดยมีพระยาศรีวรวงศ์ ออกญา กลาโหมในขณะนั้นสนับสนุนข้างสมเด็จพระเชษฐาธิราช และได้สั่งให้ยามาดะไปจับตัวพระศรีศิลป์ซึ่งทรงผนวช อยู่ น�ำไปขังไว้ในบ่อลึกที่เมืองเพชรบุรี เพื่อหวังให้อด อาหารตาย แต่การครั้งนั้นไม่ประสบผลส�ำเร็จเนื่องจาก ขุนศึกชาวนครศรีธรรมราชซึ่งมารับราชการอยู่ที่อยุธยา ได้เสี่ยงชีวิตเข้าไปช่วยพระศรีศิลป์ นั่นคือ ‘ออกหลวง มงคล’ ซึ่งมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องกับพระศรีศิลป์ ด้วย การขุดอุโมงค์ใต้ดินเข้าไปช่วยเหลือพระศรีศิลป์ออก มาได้ แล้ ว น� ำ ไปรั ก ษาตั ว ที่ วั ด แห่ ง หนึ่ ง หลั ง จากนั้ น ออกหลวงมงคลได้ระดมคนที่สวามิภักดิ์ได้ ๒ หมื่นกว่า คน แล้วประกาศสถาปนาพระศรีศิลป์เป็นกษัตริย์กรุง ศรีอยุธยา องค์ที่ ๒๑ หลั ง จากพระศรี ศิ ล ป์ ไ ด้ เ ป็ น กษั ต ริ ย ์ แ ล้ ว พระ เชษฐาธิราชผู้เป็นหลานก็ยังวางแผนซ่องสุมก�ำลังโดย อาศัยยามาดะซึ่งเป็นเพื่อนรักกับออกหลวงมงคล โดย ไปจับลูกเมียของออกหลวงมงคลเป็นตัวประกัน ออก หลวงมงคลจึงยอมให้จับตัว แล้วน�ำมาเกลี้ยกล่อมให้

สวามิ ภั ก ดิ์ กั บ พระเชษฐาธิ ร าช ออกหลวงมงคลไม่ ยินยอม สุดท้ายก็ยอมถูกประหารไปพร้อมกับพระศรีศิลป์กษัตริย์ที่ตนรักและภักดี ล่วงเข้าประมาณปี พ.ศ.๒๑๗๑ เจ้าพระยาศรีวรวงศ์ คิ ด การใหญ่ บุ ก เข้ า ปล้ น พระราชวั ง แล้ ว จั บ พระ เชษฐาธิราชปลงพระชนม์เสีย แล้วยกพระอาทิตย์วงศ์ วัย ๑๐ พรรษาพระราชอนุชาขึ้นเป็นกษัตริย์แทน พระ อาทิตย์วงศ์เมื่อขึ้นเป็นกษัตริย์ตั้งแต่เยาว์วัย มีความ ผูกพันกับยามาดะเป็นอย่างมาก และยามาดะก็มีความ จงรักภักดีต่อกษัตริย์น้อยพระองค์นี้อย่างมากด้วย ด้วย เหตุนี้พระยาศรีวรวงศ์เกรงว่ายามาดะจะมีอ�ำนาจยิ่ง ใหญ่กว่าตน จึงใช้กุศโลบายแต่งตั้งให้ยามาดะซึ่งขณะ นั้นมีต�ำแหน่งเป็นออกญาเสนาภิมุขแล้วไปเป็นเจ้าเมือง นคร โดยอ้างเหตุว่าเจ้าเมืองนครเป็นกบฏ เมื่อยามาดะ เดินทางมานครศรีธรรมราช เจ้าพระยาศรีวรวงศ์ก็ปลง พระชนม์พระอาทิตย์วงศ์ แล้วสถาปนาตนเองขึ้นเป็น กษัตริย์ ได้ปราบดาภิเษกเป็นสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง กษัตริย์องค์ที่ ๒๔ แห่งกรุงศรีอยุธยา ยามาดะเดินทางมาเป็นเจ้าเมืองนครเหมือนกับ ส่งมาตาย เพราะการกล่าวหาว่าเจ้าเมืองนครเป็นกบฏ จากอยุธยาแล้ว ยังเป็นเรื่องที่ยามาดะหลอกฆ่าเพื่อน คือขุนศึกออกหลวงมงคล ซึ่งเป็นขุนศึกชาวนครอีก จึง เกิดแรงต้านกันทั้งเมือง ท�ำการใดหาคนร่วมมือด้วยภักดี ยาก ประกอบลูกชายของยามาดะ ชื่อ โออิน ซึ่งมีแม่ เป็นคนไทย เมื่อพ่อได้เป็นเจ้าเมืองลูกจึงเหลิงในอ�ำนาจ จับลูกสาวชาวบ้านระรานไปทั่วเมือง จนมีบทร้องเรือที่มี มาจนถึงปัจจุบันว่า..

>> อ่านต่อหน้า ๑๔

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือน พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ น� ำ เสนอเรื่ อ งราวของบ้ า นเกิ ด ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต พร้อมสาระน่ารู้มากมาย ฉบับนี้ชวนอ่านสัมภาษณ์ เชาว์ ประยูรธ�ำรงนิติ นายกสมาคมพาณิ ช ย์ จี น เมื อ งนครคนที่ ๓๗ พร้ อ ม รายงาน ‘อาลัยสมศักดิ์’ พ่อค้าเชื้อสายจีนคนส�ำคัญ และ เรื่องราวในแวดวงขี่ม้าเมืองนคร ชาวนครจ�ำนวน หนึ่งมีความห่วงใยจนเกิดทุกข์ กรณี ป ลี ย อดทองค� ำ พระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ มี ส นิ ม จั บ ถามว่ า ชาวนครควรร้องแรกแหกกระ เฌอให้ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งรี บ แก้ ไ ข เพราะองค์พระบรมธาตุฯ ทา สีข าวคราบสนิมมองเห็น เด่น ชัดขึ้น ดูแล้วน่าอายไม่สวยไม่ งาม หรือควรวางตัววางใจให้ สงบ เพราะพระบรมธาตุเจดีย์ทรงลังกานี้อยู่มา ๘๐๐ ปี ใช่ ว ่ า ไม่ เ คยมี ป ั ญ หา มี ก ารบู ร ณะซ่ อ มแซมมาตลอด นับแต่สมเด็จพระเอกาทศรถ (ปี ๒๑๕๕ กับ ๒๑๕๙) มี ก ารซ่ อ มแผ่ น ทอง สมั ย พระเจ้ า ปราสาททองพระ ธาตุช�ำรุดหัก สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยสมเด็จ พระเจ้าตากสิน สมัยรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๕ รัชกาล ที่ ๖ และรัชกาลที่ ๙ ก็บูรณะมาหลายหน...ถาม เอนก สีหามาตย์ อธิบดีกรมศิลปากร

วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๗ รองผู้ว่าฯ ศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล เป็ น ประธานพิ ธี ส วดพระพุ ท ธมนต์ แ ละสวด อภิธรรมครบ ๑ ปี แห่งการสิ้นพระชนม์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ (๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๗) มีพระ เทพวินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุฯ รองเจ้าคณะ ภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธ) เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ณ วิหาร หลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อ.เมือง จังหวัดนครฯ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ออกทีวีช่อง ๑๑ พูดคุยกับประชาชนทางรายการ ‘เช้านี้ที่เมืองนคร’ บอก พร้ อ มเดิ น หน้ า ท� ำ งานเพื่ อ ความอยู ่ ดี กิ น ดี ข องชาวนคร โดยจะต่อยอดการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตทางการ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

เกษตรในพื้ น ที่ และน� ำ จุ ด แข็ ง ด้ า นอาหารสู ่ ศู น ย์ ก ลาง เมืองแห่งการท่องเที่ยว ส่วนเรื่องถูกขึ้นป้ายต่อต้านเป็น ความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของบางฝ่าย งานแรกของ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า คือเปิดถนนจักรยานแห่ง แรกของจังหวัด และโครงการ ‘นครเมืองปั่น’ เอาถนนคู่ ขนานกับทางรถไฟ ระหว่าง ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง - ต.นาพรุ อ.พระพรหม (ถนน อบจ.) ระยะทางร่วม ๕ กม. เพื่อส่ง เสริมสุขภาพของประชาชน และประหยัดพลังงาน พูดกัน ตรงๆ ‘รักบ้านเกิด’ ยังกังวลเรื่องความปลอดภัยของนักปั่น

หน้า ๕

วันปิยมหาราช (๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๗) ‘โกจ้องใจดี’ บรรจง ชีวะพันธศักด์ เป็นตัวแทนฮอนด้าศรีนครไปร่วม วางพวงมาลาน้อมร�ำลึกพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ณ สนาม หน้าเมือง จ.นครฯ

จักรพรรดิ์ ลีเลิศพันธ์ กรรมการผู้จัดการโรงแรม ทวินโลตัส มอบเงินจากผู้ร่วมบุญกินเจให้กับโรงพยาบาล มหาราชและบ้านสิชล จีระ อุ่นเรืองศรี (ร้าน หนังสือพิมพ์เล็กๆ ข้างสี่แยก สุเหร่า) ลงมือท�ำขนมลูกเต๋า สู ต รโบราณจากแม่ ป รากฏ เกษี ย ณอายุ ใ นต� ำ แหน่ ง นายอ� ำ เภอควนกาหลง ว่ า เพื่ อ นพ้ อ งตอบรั บ อย่ า ง จ.สตูล จารุมัย นพรัตน์ ได้รับการว่าจ้างให้ท�ำงานต่อตาม อบอุ่น ยิ่งได้ อุรุดา โควินท์ ระเบียบราชการรับเงินเดือนไม่เกินที่รับครั้งสุดท้าย ตอนนี้ นักเขียนชื่อดังจาก ‘สกุลไทย’ เป็ น นางแบบกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ลู ก ค้ า ทางไปรษณี ย ์ เ ริ่ ม เข้ า ช่วยงานอยู่ที่ห้องผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า (ดูเฟซบุ๊ค จิระ อุ่นเรืองศรี) สุเมธ ช้างชนะ (ยืนกลางเสื้อลาย) ปลัดอ�ำเภอ หัวหน้าฝ่ายความมั่นคง/หน.ชุดฯ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเข้ม แข็ ง ในภาพพร้ อ มภั ท รบุ ริ น ทร์ สุ ก รี ปลั ด อ� ำ เภอด้ า น ป้องกัน/เจ้าพนักงาน ปปส. น�ำชุด ฉก ศรีวิชัย อ�ำเภอ หัวไทร ๑๕ นาย ตรวจค้นจับกุมยาเสพติด พื้นที่ ต.บางนบ อ.หัวไทร จับกุมผู้ต้องหา ๒ คดี ผู้ต้องหา ๒ ราย

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

นครศรีธรรมราช

ชาวนครศรี ธ รรมราชทุ ก ภาคส่ ว น พร้ อ มใจเข้ า ร่ ว มประกอบรั ฐ พิ ธี เ นื่ อ งใน “วั น ปิ ย มหาราช” ประจ� ำ ปี ๒๕๕๗ เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ แ ละน้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระ มหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว ณ บริเวณลานพระบรมรูปรัชกาลที่ ๕ สนามหน้าเมือง นายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เป็ น ประธานในพิธีวางพวงมาลา ถวายพวงมาลัยพระกร จุด ธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายเป็นราชสักการะ และกล่าว สดุดีเฉลิมพระเกียรติ

ยังเดินหน้าสานสัมพันธ์กับเยาวชนอย่างต่อเนื่อง วันที่ ๒๕ ตุลาคม ดร.โจ กณพ เกตุชาติ พาผู้น�ำเยาวชน ที่เคยเข้าค่ายไปร่วมพัฒนาวัดประดู่ วัดศาลามีชัย สุเหร่า สวนพร้าวและป่าขอม ช่วยสอนการบ้านเด็กหลายชุมชน เวลา ๐๗.๐๒ น. เกิดแผ่นดินไหวมีจุดศูนย์กลาง อยู่เหนือเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งอยู่ทางทิศ ใต้ของเกาะภูเก็ตประมาณ ๒๕๖ กม. ใกล้ครบ ๑๐ ปีสึ นามิอันดามัน..มีพี่น้องลูกหลานอยู่ฝั่งตะวันตกโปรดเตือน ให้ระวัง ฉาย รุ่งนิรันดรกุล คหบดีชื่อดังล้มป่วย เข้าโรงพยาบาลที่กรุงเทพฯ ช่วงนี้กลับมาพักฟื้นที่บ้าน.. ขอให้หายเป็นปกปกติไวๆ หนังสือพิมพ์นครโพสต์ ของ สุรโรจน์ นวลมังสอ ฉลองวาระครบ ๑๐ ปีก่อตั้ง โดยนิมนต์พระมาฉันเพลสวดมนต์ และก�ำลังก่อตั้งบริษัท ท�ำสื่อและที่ปรึกษา พร้อมเสนอรับงานเร็วๆ นี้ วัน ที่ ๔ พฤศจิกายน ขอเชิญลูกหลานชาวควนชะลิกผู้สนใจ ร่วมงานเปิดพิพิธภัณฑ์เฉลิมราชควนชะลิก

Diamond & Gold (NST) 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond (NST) 2. Robinson 3. Sahathai Plaza (NST) Gold (NST) 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang 7. Weekend Market On-line Shop (Worldwide) 8. BOONADA Diamond&Gold Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ชาว์ ประยู ร ธ� ำ รงนิ ติ เจ้ า ของ ผู ้ จั ด การ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นจ� ำ กั ด น�ำชัยดีค้าข้าว (ตลาดคูขวาง) อายุ ๗๑ ปี ได้ รั บ เลื อ กจากสมาชิ ก ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกสมาคมพานิชย์ จี น นครศรี ธ รรมราช คนที่ ๓๗ สมาคมก่ อ ตั้ ง ปี พุทธศักราช ๒๔๖๗ หรือประมาณ ๙๐ ปี นายกคน ที่ ๑ ชื่อ ตันเกงฮุย เกิดเมืองไทย แต่ไปเรียนอังกฤษ ที่สิงคโปร์ กลับมาท�ำงานบริษัท เบอร์ลี่ยุคเกอร์ แรก ก่อตั้งมีคณะกรรมการ ๑๕ คน มีสมาชิกประมาณ ๓๐ คน ปี พ.ศ ๒๔๗๓ ก่อตั้งโรงเรียนตุงฮั้วส�ำเร็จ (ที่ ท� ำ การสมาคมปั จ จุ บั น ) ปั จ จุ บั น สมาคมมี ค ณะ กรรมการ ๔๐ คน สมาชิกเกือบ ๓๐๐ คน ขณะนี้ สมาคมคนจีนในนครศรีธรรมราชมี ๑๔ องค์กร แต่ สามารถท�ำภารกิจร่วมกันได้โดยสมาคมพานิชย์จีน เป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างการจัดงานวันชาติจีน เมื่อ

วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ที่เชาว์ เป็นหัวหน้าน�ำคณะกรรมการไป เรียนเชิญกงสุลจีน ปรากฏว่ามี กงสุ ล ปั จ จุ บั น มาร่ ว มงานถึ ง ๓ คน กรรมการสมาคมพ่อค้าจีนใน จังหวัดมาร่วมงานล้นหลาม เชาว์ กล่าวว่า “ผมขึ้นมา ผมมี น โยบายให้ ทุ ก ฝ่ า ยร่ ว มมื อ กั น ความคิ ด เห็ น ไม่ เ หมื อ นกั น แต่ เ ราอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ เพื่ อ กลม เกลี ย วเป็ น หนึ่ ง เดี ย ว ผมไปหา คุ ณ ฉาย รุ ่ ง นิ รั น ดรกุ ล คุ ณ ฉาย บอกว่าพูดคุยให้รวมกันให้ดี ถ้ามีความจ�ำเป็นเรื่อง เงินเท่าไรขอให้มาบอก ตัวผมเป็นมิตรกับทุกคน” ตอนแรกเริ่มสมาคมตั้งเพื่อให้ความรู้ด้านการ ค้าขาย เพื่อช่วยเหลือคนจีนโพ้นทะเลที่หนีจากแผ่น ดินจีน เช่น เรื่องเสียค่าธรรมเนียมคนต่างด้าว ให้ ความรู้ซึ่งกันและกันให้อยู่ได้ พอบ้านเมืองเปลี่ยน ก็ ป รั บ ไปตามสภาพสั ง คม “สมาคมสนองนโยบาย รัฐบาล ช่วยเหลือในหมู่คนจีนคนไทย ภัยพิบัติ น�้ำ ท่วม ไฟไหม้ สมาคมไปช่วย เราไม่เลือกไทย-จีน เรา เป็นพี่น้องกัน สมาคมเราต้องอาศัยกรรมการบริจาค ทุนทรัพย์ เพราะเราไม่ได้เป็นมูลนิธิ กรรมการก็เสีย สละกัน เวลานี้คนจีนมาเมืองไทย ปีที่แล้วนักท่องเที่ยวคนจีนมาถูกรถชน เข้าโรงพยาบาล พูดภาษา ไม่รู้เรื่อง โรงพยาบาลแจ้งไปกงสุลใหญ่ที่สงขลา ทาง โน้นก็โทร.มาทางสมาคมให้ช่วยดูแลหน่อย เราก็ไป ช่วยดูแลช่วยประสานงาน ไปเยี่ยม ไปให้ความช่วย

เหลื อ จนเขาหาย เราก็ ส ่ ง ขึ้ น รถไฟไปกรุงเทพฯ แล้วได้กลับ ประเทศ กงสุลเขาให้ท�ำอะไรเรา ก็พยายามสนอง” เชาว์ เล่าถึงความคาดหวัง “สมาคมพาณชย์จีนเรามองว่า ในอนาคตสนามบิ น จะเปลี่ ย น เป็นนานาชาติ อาจจะมีเที่ยวบิน ตรงไปเมื อ งจี น ที่ ค ่ อ นข้ า งเป็ น ไปได้ คือเมืองหนานหนิง ที่เรา ไปแสดงสินค้า ซึ่งเขาสนใจมาก เลย เรามีผลไม้ สินค้าโอท็อปที่ เขาสนใจมาก เดือนหน้าเขาจะมาเยี่ยมเมืองนครคณะ ใหญ่ จังหวัดถ้ามีอะไรให้สมาคมช่วยได้เราก็จะท�ำ” เชาว์ ว ่ า การเปิ ด สนามบิ น นานาชาติ จ ะเป็ น ประโยชน์ต่อจังหวัด ต่อไปหากพระบรมธาตุได้เป็น มรดกโลก เมืองนครมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ มากมาย รวมถึงผลไม้นานาชนิดท�ำให้มีช่องทางการค้า เพิ่มขึ้น “เราพยายามผลักดันสินค้าเกษตรไปสู่แผ่นดิน ใหญ่ ถ้ามีเที่ยวบินตรงจะดีนะ เดี๋ยวนี้คนขี้นมาจาก เกาะสมุย เวลาจะไปกรุงเทพฯ เขามาขึ้นที่นครฯ ขึ้น จากสมุยมันแพง คนจีนมาขึ้นที่นครเยอะ ตอนนี้นัก ท่องเที่ยวจีนมาซื้อรังนกดิบที่ปากพนังหิ้วกลับ มาซื้อ กันเยอะนี่ก็เป็นจุดขาย” ในยุคทุนส่วนกลางบุกเมืองนคร เชาว์กล่าวว่าที แรกเขาอาจขายถูก แต่เป็นไปไม่ได้เพราะค่าการตลาด เขาแพงกว่า พ่อค้าท้องถิ่นสู้ได้ถ้าเราเน้นเรื่องคุณภาพ

กับบริการ เขายกตัวอย่างร้านไทยสมบูรณ์ (ซูเปอร์ มาร์เก็ต) ถนนพัฒนาการคูขวาง เชาว์เกิดเมืองจีนที่ซัวเถา ประเทศจีน อายุ ๑๑ ปี ไปเรียนภาษาอังกฤษกับภาษาจีนที่ฮ่องกง อายุ ๑๘ มาอยู่เมืองไทย “พ่อผมมาเมืองไทยตั้งแต่ผม อายุ ๕ ปี พ่อหนีสงครามญี่ปุ่น พ่อท�ำโรงสีที่ชะอวด โรงสีซินเฮงหลี สมัยนั้นใช้เรือ ยังไม่มีรถยนต์ ขึ้นตาม แม่น�้ำชะอวดไปซื้อข้าวเปลือกที่เชียรใหญ่ เรือของ โรงสีสีเสร็จส่งไปขายสุไหงโกลก ยะลา สมัยนั้นราวๆ ปี ๒๕๐๐ ผมมาเมืองคอนอายุ ๑๘ มาอยู่ชะอวด ไป เรียนหนังสือที่หาดใหญ่ ผมเข้ามาอยู่ในตัวเมืองตอน อายุ ๒๕ ปี” หลั ง โรงสี เ ลิ ก กิ จ การ พ่ อ ของเชาว์ ม าท� ำ แพ ปลาที่ตลาดเย็น ซื้อปลาส่งกรุงเทพฯ ท�ำปลาหวาน ส่งมาเลเซีย แล้วเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง ตอนเชาว์ อายุ ๓๐ ปี เขาเปิดร้านของช�ำที่สี่แยกตลาดเย็น ๒๐ กว่าปีกว่า “ผมย้ายมาที่ตลาดคูขวางค้าข้าวเต็มรูป แบบ ไม่อยากยุ่งยาก เรามีสองคนผัวเมีย สมัยร้าน ช�ำของขายดีมาก ยังไม่มีห้างสรรพสินค้า ตอนเช้าตี ห้าคนมาเคาะประตูแล้ว สามทุ่มยังปิดร้านไม่ได้มัน เหนื่อยมาก ค้าข้าวเป็นอาชีพเก่าของบรรพบุรุษ ผม มีประสบการณ์ ขายข้าวอย่างเดียว เราไม่ยุ่งมาก” น� ำ ชั ย ดี ค ้ า ข้ า วซื้ อ ข้ า วจากหลายแหล่ ง ส่ ว น ใหญ่จากอีสาน “ข้าวของผมๆ มีหลายตรา ค้าส่ง ค้า ปลีก ผมเป็นเอเย่นต์ข้าวหลายตรา เอเย่นต์ของโรงสี ที่บ้านไผ่ ทางใต้ไม่มีแล้ว ข้าวน้อย ไปท�ำนากุ้ง พอ เลิกที่ดินก็เสียท�ำนาไม่ได้ ตลาดของผมมีสิชล ขนอม ปากพนัง ระโนด ทุ่งใหญ่ก็ไป” สมาคมพาณิชย์จีนนครศรีธรรมราชในมือพ่อค้า ข้าวมากพันธมิตรจะเป็นแรงผลักดันด้านการค้าให้ เกิดแก่เมืองนครอย่างทรงพลัง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

มี

การเรี ย กร้ อ งความเป็ น มื อ อาชี พ ใน ทุกวิชาชีพ ท�ำไมจึงเป็นเช่นนี้ เรามา ดู กั น นะครั บ ว่ า ความหมายของมื อ อาชี พ กับมือสมัครเล่นต่างกันอย่างไร? ถ้าดูกีฬา จะเห็นภาพชัดเจน นักกีฬาสมัครเล่นคือ เล่นกีฬา เพื่อการแข่งขันในโปรแกรมต่างๆ เพื่อได้รางวัลหรืออาจได้ค่าตอบแทนบ้าง ตามสมควร แต่นักกีฬาอาชีพรายได้ของ เขามาจากอาชีพนักกีฬา เช่น นักฟุตบอล อาชีพ นักมวยอาชีพ นักเทนนิสอาชีพ หรือ นักกีฬาอาชีพอื่นๆ อีกมากมาย หลายคนก็ เลยให้ค�ำจ�ำกัดความว่า การเป็นมืออาชีพ คือการมีผลลัพธ์จากอาชีพที่ท�ำ ในแวดวง อาชีพอื่นๆ ก็เหมือนกัน การใช้หัวใจของ ความเป็ น มื อ อาชี พ ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย ความคิดที่เป็นเจ้าของกิจการ การเรียนรู้ ฝึกฝนลงมือท�ำจนช�ำนาญกลายเป็นทักษะ หรือเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ และการเป็น ในอาชีพนั้นทั้งจากภายใน และภายนอก ภายในคื อ ความคิ ด ที่ เ ป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารแก่ ลูกค้า ความรับผิดชอบ ส่วนภายนอกคือ บุคลิกท่าทางการแต่งกายให้เหมาะสมกับ อาชีพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ปลาย ทางของมืออาชีพคือรายได้หรือผลลัพธ์ที่ ต้องการ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละ อาชีพ สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ ก็คือ การท�ำ ธุรกิจหรืออาชีพใดก็ตามแบบมืออาชีพ คุณ ต้องมีความรับผิดชอบต่ออาชีพที่ท�ำเพราะ เป็นสิ่งที่คุณเลือกที่จะท�ำเพื่อต้องการราย ได้ที่ตั้งใจไว้ คุณจึงต้องแลกด้วยการเรียน รู้ ลงมือท�ำ แล้วก็ท�ำจนเชี่ยวชาญ ควบคู่

กับการเปลี่ยนแปลงตัวเองทั้งจากภายนอก และภายในแบบมื อ อาชี พ ที่ คุ ณ เลื อ กหา ต้นแบบที่เขามีผลลัพธ์และประสบความ ส�ำเร็จ เดินตามหรือลอกเลียนแบบในสิ่งที่ มืออาชีพเขาท�ำ คุณจะเป็นมืออาชีพอย่าง เขา ค� ำ ถามส� ำ คั ญ มากที่ ต ้ อ งถามตั ว เอง คุณเป็นคนแบบไหน? คุณคิดอย่างไร? ความเชื่อของคุณคืออะไร? ลักษณะนิสัย และความเคยชิ น ของคุ ณ เป็ น อย่ า งไร? ผมเชื่อว่าพวกเราเองส่วนใหญ่ไม่ค่อยตั้ง ค�ำถามนี้กับตัวเองมากนัก เพราะเรายังไม่มี ใครเป็นต้นแบบที่จะมาเทียบเคียง แต่ถ้า เมื่อไหร่ที่เราเลือกใครสักคนที่เป็นต้นแบบ ในอาชี พ เราจะเริ่ ม มี ค� ำ ถามเหล่ า นี้ เ ข้ า มาในชีวิต ก่อนที่ผมจะมาท� ำงานที่ห้างฯ เลือกที่จะท�ำธุรกิจรับจ้างบริหารห้างสรรพ สินค้า ผมหาต้นแบบความเป็นมืออาชีพว่า เขาเป็นคนแบบไหน? ความคิดของเขาเป็น

เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ วันพฤหัสบดีที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ วันพระขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ ตรงกับ วันลอยกระทง วันศุกร์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ วันพระแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๑๒ วันศุกร์ที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ วันพระแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ วันเสาร์ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ วันพระขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๑

อย่างไร? ความเชื่อของเขาเป็นแบบไหน? ลักษณะนิสัยและความเคยชินของเขาเป็น อย่างไร? ตอนแรกผมแทบจะบอกตัวเอง ว่าผมท�ำไม่ได้หรอกที่ต้องเปลี่ยนแปลงตัว เองมากขนาดนั้น ดูเรื่องความเป็นเจ้าของ กิ จ การแบบ ๑๐๐% กิ จ การนี้ เ ป็ น ของ เราเอง การทุ่มเทกับการท�ำงานแบบสุด ชีวิต ข้อนี้ผมมั่นใจว่าท�ำได้ มาดูการฝึกฝน เรียนรู้ ลงมือท�ำ ผมก็มั่นใจที่จะเริ่มลงมือ ท�ำจากงานเล็กๆ เป็นพนักงานคลังสินค้า พนักงานขาย จัดซื้อ บุคคล ท�ำทุกๆ อย่างที่ เจ้าของกิจการท�ำ เรียนรู้จากเขาและลงมือ ท�ำแล้วก็ท�ำ ไม่เคยคิดว่าเหนื่อย แม้นจริงๆ ก็มีเหนื่อยบ้าง ท้อแท้อยากเลิกไปท�ำอาชีพ อื่นแต่ก็ยังท�ำต่อไป แต่สิ่งที่เปลี่ยนยากก็ คือ การเป็น คือ บุคลิกภาพ ความคิด ความ เชื่ อ แบบนั ก ธุ ร กิ จ แบบพ่ อ ค้ า มี ห ลาย อย่างที่ผมก็ไม่เข้าใจว่าท�ำไมจึงเปลี่ยนยาก มาก หลังจากท�ำงานมาจนเกษียณ (เมื่อ

หน้า ๗

อายุ ๕๕ ปี) ก็มาพบความจริงว่าเพราะ ผมยังสับสนอยู่กับการเป็นลูกจ้างมืออาชีพ และการเป็นเจ้าของกิจการมืออาชีพ ซึ่ง สะท้อนบุคลิกภาพภายนอก ลักษณะนิสัย วิ ธี คิ ด และความเชื่ อ ภายในของผมเป็ น เพียงลูกจ้างมืออาชีพเท่านั้นเอง ท�ำให้ผม ไม่สามารถสวมการเป็นเจ้าของกิจการได้ เต็ ม ตั ว และท� ำ ให้ ผ มไม่ ส ามารถประสบ ความส�ำเร็จในบทบาทของการเป็นเจ้าของ กิจการแบบมืออาชีพ ได้ในที่สุด เมื่ อ ผมเดิ น ออกจากพื้ น ที่ ที่ เ คยอยู ่ ความจริ ง ที่ ม องไม่ เ ห็ น เหมื อ นเส้ น ผมบั ง ภูเขา ท�ำให้เรามีบทเรียนจากความไม่รู้ ไม่ เข้าใจ พูดง่ายๆ เราอาจเพียงแค่รู้จัก แล้ว รู้จริง แต่เราไม่รู้แจ้ง ในอาชีพนั้นๆ ต่าง หาก ท�ำให้เราไม่มีผลลัพธ์อย่างที่มืออาชีพ เขามีกัน มาวันนี้ผมเลือกที่จะท�ำธุรกิจใน บทบาทเจ้าของกิจการ กับธุรกิจอาชีพที่ ปรึกษาและธุรกิจเครือข่ายสุขภาพ จึงเป็น ความท้าทายความคิด ความเชื่อเดิมๆ ว่า จะท� ำ ให้ ผ มเปลี่ ย นการเป็ น จากการเป็ น ลูกจ้างอาชีพมากกว่า ๒๕ ปีได้หรือไม่? แต่ บ ทเรี ย นจากการล้ ม เหลวในอาชี พ เดิมท�ำให้ผมรู้ว่า หากผมจะเป็นเจ้าของ กิจการแบบมืออาชีพให้ผมเลือกหาใคร สักคนที่เขาส�ำเร็จมาเป็นต้นแบบแล้วพา ตัวเองเข้าไปเรียนรู้ และให้เขาเป็นโค้ช เพื่อปรับแต่งองศาผมในเรื่องการเป็นทั้ง จากภายนอกและภายใน เพราะการเป็น จากภายใน ความคิด จิตวิญญาณ ส�ำคัญ ที่จะท�ำให้เราได้ผลลัพธ์ที่เกิดจากการเป็น ของเรานั่นเอง ครับ! นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ ต.ค. ๕๗


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

<< ต่อจากหน้า ๑

ขี่ม้าเข้าแข่งขันกีฬาแห่งชาติ จนถึงขณะ นี้เป็นเวลา ๑๒ ปี ชมรมซึ่งตั้งอยู่ในสวน สมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) มีสมาชิก ๒๐๐-๓๐๐ คน ปัจจุบันชมรมมี ม้า ๒๘ ตัว เป็นของชมรม ๑๓ ตัว มีผู้ฝาก เลี้ยง ๑๕ ตัว ให้ใช้กิจกรรมต่างๆ นายจอม กล่าวว่า ชมรมเป็นแหล่ง เรียนของนักศึกษาคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยา เขตนครศรีธรรมราช (ทุ่งใหญ่) นักศึกษาปี ๕ มาเรียน ที่นี่ตั้งแต่รุ่นแรก ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ ๗ “นักศึกษามาฝึก การดูแลม้าเบื้องต้น การรักษาเบื้องต้น การขี่ม้า เพราะ สัตวแพทย์ต้องเข้าไปคลุกคลีกับสัตว์ ไม่ว่าจะเข้าไปจับ หรือรักษา เพราะสัตว์พูดไม่ได้ การเรียนตรงนี้เพื่อให้กาย ได้สัมผัสกับม้า การใช้กายสัมผัส การเข้าหา การควบคุม เขาจะไปใช้ในชีวิตจริงซึ่งการขี่ม้าก็เป็นวิชาบังคับ” ชมรมยังเปิดหลักสูตรขี่ม้าส�ำหรับเยาวชน โดยเก็บ ค่าเรียนคอร์สละ ๓,๐๐๐ บาทต่อ ๑๐ ชั่วโมง ทั้งปรับ ขนาดม้าให้เหมาะแก่เด็กอายุ ๒ ขวบ ไล่ขนาดขึ้นไป ซึ่ง ชมรมมีม้าทุกขนาด เด็กจะฝึกไปจนรู้ว่าตัวเองชอบการ ขี่มาราธอน กระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง หรือศิลปะการ บังคับม้า “เด็กจะบอกว่าชอบอะไร เราจะไม่หวงส�ำหรับ เด็ก ยิ่งเด็กนครฯ ที่ต้องการไปแข่งขัน ไม่ว่าคุณไปอยู่ กรุงเทพฯ หรือที่ไหน เวลาคุณจะแข่งขัน คุณกลับมาเอา ม้าเราไปใช้ได้ทันทีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย เรามีม้าแข่ง ๖ ตัว

รายงาน สมศักดิ์เรียนที่โรงเรียนวัดเขาน้อย อ.ร่อนพิบูลย์ จน จบ ป.๔ ไปศึกษาต่อที่มาเลเซีย ๓ ปี แล้วกลับมาเรียนที่ โรงเรียนอัสสัมชัญคอมเมิร์ส (ACC) จบปริญญาตรี สาขา เศรษฐศาสตร์ จาก Swinburne University, Melbourne ประเทศออสเตรเลีย

เป็น dutch warmblood ที่เป็นม้าในฝันของนักกีฬา ม้า วอร์มบลัดราคาหลักล้านทุกตัว ๑.๒ - ๑.๓ ล้าน ขึ้นไป จนถึง ๒-๓ ล้าน ที่นี่เราโชคดีได้มาโดยไม่ต้องซื้อในราคา แพง พอดีเป็นลูกติดท้องผสมมาจากอังกฤษมาคลอดที่นี่ เขาขายให้ไม่แพงเราก็มีม้าไว้ใช้แล้ว มันเป็นม้าตระกูลสูง ใช้ส�ำหรับกีฬา ตัวใหญ่ โครงสร้างใหญ่ สมองดี มีความ ฉลาดปราดเปรื่อง แล้วการเคลื่อนไหวในการขี่สง่างาม การกระโดดความจ�ำดีมาก การกระโดดเครื่องกีดขวาง ถ้าม้าทั่วไปผู้ขี่จะช่วยม้าได้เยอะ แต่วอร์มบลัด จะช่วยคน ขี่หมดเลย ที่ชมรมเราถ้าเป็นกีฬาทุกจังหวัดภาคใต้จะมา ที่นี่หมด เพราะเป็นที่เดียวในภาคใต้ที่สอนการเล่นกีฬา” นายจอม เปิดเผยว่า ช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม นักเรียนขี่ม้าจะเหลือประมาณ ๒๐-๓๐ คน ปกติจะมี ๕๐-๑๐๐ คน รายรับจะสูงตั้งแต่กุมภา-มิถุนา ราวเดือน ละ ๒๐๐,๐๐๐ ทุกเดือน นายจอม กล่าวถึงการบริหารชมรมว่าเขาควบคุม สมรสกับนางสุมนา อดิเทพวรพันธุ์ มีบุตรธิดา ดังนี้ นางสาวนริดา อดิเทพวรพันธุ์, นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์, นายวรรธนะ อดิเทพวรพันธุ์, นางรังรอง ทรัพย์ธนทวี, นางสาวปริย อดิเทพวรพันธุ์ และนายพนา อดิเทพวรพันธุ์ สมศั ก ดิ์ ก ลั บ มาท� ำ เหมื อ งแร่ ดี บุ ก ที่ เ หมื อ งหนองเป็ ด อ.ร่อนพิบูลย์ และ อ.สิชล ต่อมาเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์ มาสด้า ในจังหวัดนครฯ และปี ๒๕๓๑ เป็นตัวแทนจ�ำหน่าย รถยนต์โตโยต้า เจ้าแรกในจังหวัด ในนามโตโยต้านครศรี ธรรมราช จ�ำกัด ปี ๒๕๕๑ ได้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์

ดูแลทุกอย่าง นับแต่การจัดจ้างลูกน้อง (groomman) ๔ คนที่รักม้าจริงๆ มาเป็นผู้ช่วย ดูแลการอยู่กิน ท�ำความ สะอาด อาบน�้ำ จัดหาสัตวแพทย์ประจ� ำคอก ๒ คน จากเชียงใหม่มาวางระบบการดูแล การกินของแต่ละ ตัวทั้งยามปกติ และก่อนหรือหลังแข่งขัน สัตวแพทย์ จะเดินทางมาที่นี่สัปดาห์ละครั้ง ชมรมจึงเป็นศูนย์ฝาก และรักษาม้าเจ็บป่วยกรณีฉุกเฉิน หรือบาดเจ็บจากการ ขี่ เช่น เจ็บขา เจ็บกีบ เจ็บข้อ ให้กลับมายืนได้อีกครั้ง ขณะนี้ความนิยมม้าในเมืองนครเติบโตมาก เพราะคน รักม้าสร้างคอกหรือฟาร์มเพิ่มขึ้นประมาณ ๑๐ คอก สร้างไว้ขี่หรือผสมลูกขาย ลูกม้าวอร์มบลัดราคาเริ่มต้น ตัวละ ๓-๔ แสน ซื้อขายตั้งแต่อายุ ๖ เดือน ปัจจุบัน เมืองนครมีม้าราวๆ ๒๐๐ ตัว ถ้านับสุราษฎร์ธานี ๒-๓ คอกกับเกาะสมุย ๘ คอก ซึ่งเขาเป็นผู้ให้ค�ำปรึกษาและ สอนขี่ม้าให้เด็กๆ จ�ำนวนม้าจึงไม่ต�่ำกว่า ๓๐๐ ตัว นายจอม กล่าวเพิ่มเติมว่า เขาเรียนจบปริญญาตรี สาขาภาพยนตร์จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี เคยร่วมผลิตภาพยนตร์โฆษณาหลายชิ้น รวมทั้ง ร่วมผลิตภาพยนตร์ต่างประเทศ เขาชอบขี่ม้ามาตั้งแต่ อายุ ๔-๕ ขวบ ขณะเรียนมหาวิทยาลัยได้เป็นนักกีฬา ขี่ม้าข้ามเครื่องกีดขวางสังกัดของทีม HG ฺ(hot guard : ทหารม้ารักษาพระองค์) “ถ้าใครสนใจเลี้ยงม้ามาศึกษา ปรึกษาก่อน ผมยินดี ไม่ต้องเขินไม่ต้องอาย ถ้าไม่เป็น ไปเลี้ยงจะทรมานเขาเปล่าๆ ทรมานโดยคุณไม่ตั้งใจด้วย ม้าเป็นสัตว์ใหญ่ถ้าเขาอยู่ดีมีความสุขเขาแทนคุณ..เขา แทนคุณตลอดด้วยจริงๆ ใครจะเริ่มเลี้ยงขอให้ศึกษาให้ จริงๆ” นิสสัน ในนามบริษัทสยามนิสสัน นครศรี จ�ำกัด เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม และก่ อ ตั้ ง หอการค้ า จ.นครฯ และได้ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานฯ ติดต่อกัน ๔ สมัย และยังด�ำรง ต�ำแหน่งประธานหอการค้าภาคใต้ เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง ม.วลัยลักษณ์ และได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของ ม.วลัยลักษณ์ (๒ วาระ), เป็นกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ม.วลัยลักษณ์, เป็นกรรมการการเงินและทรัพย์สิน ม.วลัยลักษณ์ (๒ วาระ), เป็ น คณะกรรมการส่ ง เสริ ม กิ จ การ ม.สงขลา นครินทร์ ๕ ปี ริเริ่มและจัดตั้งมูลนิธิโรงพยาบาลมหาราช และร่วมเป็นกรรมการมูลนิธิตั้งแต่ปี ๒๕๒๘ – ปัจจุบัน ลูกหลานช่วยกันเขียนค�ำไว้อาลัยชื่อ ‘ค�ำพ่อสอน’ มี สาระส�ำคัญพอสังเขป ดังนี้ พ่อสอนให้รู้จักหน้าที่ของตัวเอง สอนให้เราให้เกียรติ บุคคลอื่นๆ ที่ร่วมงานด้วย แม้ว่าบุคคลทั้งหลายนั้นๆ จะ เป็นพนักงานในบริษัท อย่าคิดว่าเราเป็นเจ้านาย ผู้อื่นเป็น ลูกน้องแต่ให้ถือว่าทุกคนเป็นเพื่อนร่วมงาน สอนเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริต พ่อสอนให้ขยันท�ำงานโดยไม่ต้องหวังพึ่งพา คนอื่น และถ้าอยากได้สิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ให้ขยันท�ำงานด้วยตัว เอง พ่อเคยไปคุยให้เพื่อนฟังว่า พ่อภูมิใจและดีใจมากที่ลูกๆ ไม่เคยร้องขออะไรจากพ่อ ไม่เคยโวยวายงอแงอยากให้พ่อ ซื้อรถยนต์แพงๆ ให้ พ่อสอนเรื่องมารยาทต่างๆ ทั้งที่ใช้ใน ชีวิตการท�ำงานและชีวิตประจ�ำวัน ฯลฯ “ลูกๆ ยังคงท�ำใจไม่ได้กับการจากไปของพ่อ มันเกิด ขึ้นกระทันหันเหลือเกิน ตั้งแต่แม่จากไปเมื่อ ๒๐ กว่าปีที่ แล้ว เรา ๗ คน พ่อ-ลูกก็ดูแลกันและกันเป็นอย่างดี วันนี้ เหลือเราลูกๆ ๖ คนซึ่งจะให้สัญญาว่าเราจะดูแลกันและกัน ดูแลกิจการที่พ่อสร้างไว้ให้เหมือนตอนที่พ่อมีชีวิตอยู่ เราจะ ยึดถือและปฏิบัติตามค�ำสอนของพ่อตลอดไป”


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ “วิ ห ารพระด้ า น” เป็ น วิ ห ารซึ่ ง มี ลักษณะแตกต่างจากวิหารอื่นๆ ในวัดพระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร นครศรี ธ รรมราช เพราะมีรูปแบบสถาปัตยกรรมสี่เหลี่ยมผืน ผ้ า มี ลั ก ษณะหั ก เป็ น ข้ อ ศอก ตั้ ง อยู ่ สี่ มุ ม ของเขตพุทธาวาสซึ่งมีพระบรมธาตุเจดีย์ เป็นศูนย์กลาง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธ รูปปูนปั้น จ�ำนวน ๑๖๕ องค์ เรียงราย ไปตามระเบียงทั้งสี่ด้าน ผู้คนในเมืองนคร จึ ง นิ ย มเรี ย กว่ า “วิ ห ารพระด้ า น” (ซึ่ ง ตรงกั บ ค� ำ ว่ า “วิ ห ารคด” ในภาษาทาง สถาปัตยกรรมไทย) “วิ ห ารพระด้ า น” สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. ๒๐๓๖ (มหาศั ก ราช ๑๔๑๕) ราว สมัยอยุธยาตอนต้น ต�ำนานพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “เมื่อ มหาศักราชได้ ๑๔๑๕ ปีนั้น ...จะท�ำพระ ระเบียงล้อมพระมหาธาตุและก�ำแพงล้อม พระระเบียงทั้งศรีดารนั้นแล้ว...ได้แก่มหา มงคลแต่มุมอิสาร ๑๕ ห้อง ได้แก่มหาโชต ดิบาญ ๒๐ ห้อง ทั้งประตูถึงมหาเถรเหม รังศรีพระท�ำมาษาลา แต่นั้นไปได้แก่มหาเภ รสุดีพงษ ๑๕ ห้อง เมื่อคิดตามผู้ใดห้องนั้น ใช้เป็นห้อง ๑๖๕ ห้อง แลพระพุทธรูปสมาธิ อยู่ทุกห้อง เป็นพรพุทธเจ้า ๑๖๕ พรองค ศรีดานเปนพรพุทธรูปเท่านี้ ระเบียงของวิหารหลังนี้เป็นระเบียง แบบมีก�ำแพงทึบด้านนอก และมีโถงด้าน ใน โดยเริ่มต้นนับจากทิศตะวันออกเฉียง เหนือผ่านวิหารธรรมศาลา จนถึงทิศตะวัน

ออกเฉียงใต้มีจ�ำนวน ๕๐ ห้อง จากมุมทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ถึงมุมทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีจ�ำนวน ๓๓ ห้อง จากมุมทิศตะวันตกเฉียง ใต้ถึงมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีจ�ำนวน ๔๓ ห้อง จากมุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือถึง มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีจ�ำนวน ๓๖

ห้อง รวมทั้งสิ้น ๑๖๕ ห้องเสา ประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปั้นไว้ทุกห้องเสา (รวม ๑๖๕ องค์) การสร้างวิหารพระด้านหรือวิหารคด ถือเป็นการรับอิทธิพลด้านพุทธสถาปัตยกรรมจากกรุงศรีอยุธยาโดยตรง ดร.เกียงไกร

อ�ำเภอสิชลเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน สร้างอุโบสถดิน ประยุกต์ แบบพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๕ ธันวามหาราช “จากก้อนดิน สู่ก้อนบุญ” นายพิทักษ์ บริพิศ นายอ�ำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ด้วย หน่วยงานภาครัฐ คณะสงฆ์ ภาคเอกชน องค์ ก รต่ า งๆ และพุ ท ธศาสนิ ก ชน ได้ ก� ำ หนดทอดกฐิ น สามั ค คี เ พื่ อ น� ำ ปั จ จั ย ที่ ได้จากบริวารของกฐินไปก่อสร้างอุโบสถ ดินมหาอุตฆ์ประยุกต์ แบบพอเพียง ซึ่ง เป็นแห่งแรกของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในวั น ที่ ๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๓๐ น. ณ ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำเขาพรง ต.ทุ่ง ปรัง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเป็น

การเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ๕ ธันวามหาราช โดยมีนาย พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นประธานในพิธี โดย อุโบสถมีขนาดกว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร มูลค่าการก่อสร้างพร้อมค่าตกแต่งประมาณ ๒ ล้านบาท คาดใช้เวลาประมาณ ๓ ปี จึง ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชนและผู ้ มี จิ ต ศรัทธาร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินดังกล่าว สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร.๐๘ ๑๘๖๗ ๒๑๒๘ พระมหาสุพจน์ เจ้าส�ำนักสงฆ์ถ�้ำเขา พรง กล่ า วว่ า ส� ำ นั ก สงฆ์ ถ�้ ำ เขาพรง เดิ ม เคยเป็ น วั ด มาตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยา อายุ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า ๓๐๐ ปี มี พ ระพุ ท ธรู ป โบราณ

ประดิษฐานอยู่ในถ�้ำหลายองค์ ต่อมาไม่มี พระสงฆ์จ�ำพรรษาจนกลายเป็นวัดร้างใน ที่สุด แต่ปัจจุบันได้มีการบูรณะก่อตั้งเป็น ส�ำนักสงฆ์และมีพระสงฆ์จ�ำพรรษาหลาย รูป ดังนั้นทางส�ำนักสงฆ์และพุทธบริษัท จึงได้มีความคิดที่จะขออนุญาตยกฐานะ วัดร้างหรือส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ขึ้นเป็นวัดตาม ระเบี ย บตามพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ ต่ อ ไป พุ ท ธศาสนิ ก ชน ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา สามารถร่วมเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือ โอน เงินเข้าบัญชีส�ำนักสงฆ์ถ�้ำเขาพรง ธ.ก.ส. สาขาต้นเหรียง หมายเลขบัญชี ๐๒-๐๐๒๒-๑๓๗-๓๕๖ หรือติดต่อเจ้าส�ำนักสงฆ์ ถ�้ำเขาพรง โทร. ๐๘-๓๑๙๔ ๖๙๐๘

การสาธิตสวดด้านเพื่อฟื้นฟูประเพณี

หน้า ๙

เกิดศิริ และอาจารย์อิสรชัย บูรณะอรรจน์ แห่งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ให้ข้อสังเกตไว้ในการสัมมนา ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ครั้งที่ ๘ ซึ่ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราชจั ด เมื่อวันที่ ๑๓-๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ไว้ว่า “วัดหลวงหรือวัดส�ำคัญในกรุงศรีอยุธยาที่ เป็นหลักของพระนคร และเมืองอื่นๆ ใน วัฒนธรรมอยุธยานั้น มีการสร้างระเบียง คดอยู่ล้อมรอบพระเจดีย์ หรือพระปรางค์ ประธานอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น โดยระเบียงคดดัง กล่าวนั้นเป็นวัฒนธรรมการใช้พื้นที่ การปิด ล้อมพื้นที่เพื่อความปลอดภัย การก�ำหนด พื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น สั ด ส่ ว น ตลอดจนการสร้ า ง ความศักดิ์สิทธิ์ในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งเกิดขึ้น พร้อมกับแนวคิดแบบเทวราชา ที่อยุธยาได้ รับสืบทอดมาจากวัฒนธรรมเขมร ในขณะที่ พุทธศาสนาที่รับมาจากลังกาตั้งแต่เดิมนั้นมี วิธีคิดเรื่องดังกล่าวที่แตกต่างกัน” อนึ่ง ในการสร้างระเบียงคดเพื่อล้อม รอบพื้นที่ของเขตพุทธาวาสให้เป็นสัดส่วน และสร้ า งเป็ น วงล้ อ มเข้ า ไปบรรจบตรง ห้ อ งสุ ด ท้ า ยของวิ ห ารธรรมศาลา จึ ง มี ความจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงลักษณะทาง สถาปัตยกรรมของวิหารธรรมศาลาจากที่ เคยเป็น “วิหารโถง” เดิม มาเป็นวิหารที่มี ผนังล้อม และท�ำให้ห้องส่วนท้ายของวิหาร เดิมที่ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางห้าม ญาติ ซึ่งก่อสร้างขึ้นตามคติพระอัฏฐารสใน สมั ย สุ โ ขทั ย นั้ น ได้ ก ลายเป็ น พระประธาน ใน “ท้ายจรนัม” อันเป็นส่วนที่เชื่อมต่อกับ ระเบียงคดแทน กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชนชาวนครท�ำ กันแต่ครั้งโบราณ ในวิหารหลังนี้ นอกจาก การไปสั ก การะพระพุ ท ธรู ป ที่ ป ระทั บ นั่ ง เรียงรายกันอยู่แล้ว ก็คือ “กิจกรรมสวด ด้าน” ซึ่งเป็นการฟังการสวดหนังสือร้อย กรองประเภทนิทานธรรมะ นิทานสุภาษิต ตลอดถึ ง นิ ท านประโลมโลก ในช่ ว งสาย ของวั น ธรรมสวนะ การสวดหนั ง สื อ ดั ง กล่ า วนิ ย มสวดเป็ น ท� ำ นองเก่ า ซึ่ ง ชวนฟั ง ท� ำ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ ร อฟั ง พระธรรม เทศนาได้ มี โ อกาสฟั ง เรื่ อ งสนุ ก คละเคล้ า หลักธรรมไปโดยปริยาย การสวดหนังสือ เช่ น นี้ ท� ำ ต่ อ เนื่ อ งกั น มาจนกลายเป็ น ประเพณี เรี ย กว่ า “ประเพณี ส วดด้ า น” นั บ เป็ น ประเพณี เ อกลั ก ษณ์ ข องวั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารมาตราบหลายร้ อ ย ปี น่าเสียดายที่ปัจจุบันประเพณีสวดด้าน ซบเซาลง เหลือแต่เพียงการสวดเพื่อสาธิต หรือสวดเพื่อฟื้นฟูประเพณี ซึ่งบางสถาบัน ได้ช่วยผดุงอยู่ เช่นมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมมาโศกราช เป็นต้น


หน้า ๑๐

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

เสนอโดย ส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ตอนที่ ๓) และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความส� ำ คั ญ ทางด้ า นประวั ติ - นครศรีธรรมราช (Buffer Zone) ซึ่ง ถือได้ว่า มีความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์ เมื อ งเก่ า นครศรี ธ รรมราช มี ค วาม และปรับปรุงสภาพแวดล้อมเมืองเก่า ส�ำคัญต่อการอนุรักษ์มาก ถึงแม้จะมี เป็นอย่างมาก แม้ว่าในเขตผังเมือง การใช้ประโยชน์ที่ดินหลายประเภท รวมให้ ค วามดู แ ลและคุ ้ ม ครองต่ อ ปะปนกั น แต่ ก็ ไ ม่ ห นาแน่ น และมี โบราณสถาน ศาสนสถาน ตลอดจน ลั ก ษณะผสมผสานกั น เป็ น ชุ ม ชน สถานที่ ส� ำ คั ญ ของเมื อ ง โดยการ (Community) มีที่อยู่อาศัย ตลาดและ ก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินจะท�ำ วัดอยู่ร่วมกับสถานที่ราชการที่มีฐานะ การควบคุมเพื่อการอนุรักษ์บริเวณ เป็นแหล่งงานของของประชาชนที่อยู่ พื้ น ที่ เ ขตเมื อ งเก่ า แต่ พ บว่ า การ ภายในพื้นที่ (แผนที่ ๒ และแผนที่ ๓) ก� ำ หนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ของ พื้ น ที่ โ ดยรอบมิ ไ ด้ แ สดงเจตนาที่ จ ะ ประเด็นวิเคราะห์ ในส่ ว นของพื้ น ที่ บ ริ เ วณวั ด ดู แ ลรั ก ษาหรื อ ให้ ค วามคุ ้ ม ครอง พระมหาธาตุวรมหาวิหารนั้น (Core ต่ อ พื้ น ที่ เช่ น บริ เ วณโดยรอบเขต Zone ) อยู ่ ใ นบริ เ วณพื้ น ที่ เ มื อ งเก่ า เมื อ งเก่ า ที่ ก� ำ หนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ประเภทที่ อ ยู ่ สัญลักษณ์ อาศั ย หนาแน่ น ปาน กลาง รวมถึงประเภท พาณิ ช ยกรรม ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงใช้ ประโยชน์ ที่ ดิ น และ แผนการใช้ประโยชน์ ที่ ดิ น ที่ ก� ำ ห น ด ขึ้ น บริ เ วณพื้ น ที่ กั น ชน (Buffer Zone) จึงไม่มี ความเหมาะสมต่ อ การอนุ รั ก ษ์ พื้ น ที่ เ ท่ า ที่ควร

ขอบเขตพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ศาสตร์และโบราณคดีของพื้นที่ตั้ง

๑. ขอบเขตพื้ น ที่ แ หล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ในการท�ำเอกสารประกอบการ เสนอวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชเข้ า สู ่ บั ญ ชี รายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) ได้ มี ก ารก� ำ หนดขอบเขตพื้ น ที่ แ หล่ ง มรดกโลกวัดพระมหาธาตุฯไว้เบื้อง ต้ น โดยก� ำ หนดให้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณวั ด ทั้ ง หมดเป็ น พื้ น ที่ แ หล่ ง มรดกโลก ที่น�ำเสนอ (Nominate Property) โดยมีเนื้อที่ประมาณ ๓๒ ไร่ (๕.๑๔ เฮกเตอร์) และได้มีการก�ำหนดพื้นที่ กันชน (Buffer Zone) ไว้เป็นพื้นที่ โดยรอบประมาณ ๖๓๘ ไร่ (๑๐๒.๔๘ เฮกเตอร์ ) โดยมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ พื้ น ที่ เ มื อ งเก่ า ในสมั ย อยุ ธ ยา (ตาม แผนที่เมืองเก่าภาพที่ ๒ ฉบับที่แล้ว)

ทางสั ญ จรส� ำ คั ญ และเป็ น แนวแกน ของเมืองพุ่งโอบล้อมบริเวณที่เป็นที่ ตั้งของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ไว้ ส่วนองค์ประกอบอื่นๆ ในพื้นที่ เมืองเก่า เช่นโบราณสถาน สถานที่ ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถานและ อาคารพาณิชย์ ก็ตั้งกระจายตามแนว แกนถนนราชด�ำเนิน ส�ำหรับพื้นที่ซึ่ง อยู่ถัดลึกเข้าไปตามถนนราชด�ำเนิน ส่วนใหญ่จะเป็นที่อยู่อาศัย โดยมีราย ละเอียดทางด้านกายภาพของพื้นที่ ศึกษาแบ่งตามหัวข้อดังนี้ ๒.๑ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น แผนที่ แ สดงขอบเขตพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ (Core Zone) บริ เ วณวั ด พระมหา- ตามผังเมืองรวม นครศรีธรรมราช

เนื่ อ งจากวั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตเมืองเก่า นครศรีธรรมราชโดยมีขอบเขตดังนี้ ทิศเหนือ จดคลองหน้าเมือง ทิศตะวันออก จดถนนศรีธรรมโศก ทิศใต้ จดคลองป่าเหล้า ทิศตะวันตก จดคลองท้ายวัง

๒. สภาพทั่วไปของพื้นที่ ในบริ เ วณพื้ น ที่ เ ขตเมื อ งเก่ า นครศรี ธ รรมราช ในบริ เ วณพื้ น ที่ ประกอบด้วยอาคารและสิ่งก่อสร้าง ส� ำ คั ญ จ� ำ นวนมาก โดยมี วั ด พระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารและพระบรม ธาตุเจดีย์เป็นองค์ประกอบหลักของ แผนที่ ๒ แสดงการใช้อาคาร พื้นที่ และมีถนนราชด�ำเนินเป็นเส้น ที่มา: กรมการผังเมืองนครศรีธรรมราช

วิตเซอร์แลนด์คงเป็นเมืองในฝัน ของหลายคน คนที่ได้ไปมาแล้ว ก็ อ ยากไปซ�้ ำ สองอี ก มี เ มื อ งหลวง ชื่อ ‘เบิร์น’ เป็นเมืองน่าอยู่ ตึกราม บ้ า นช่ อ งไม่ ใ หญ่ โ ต คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ของเมืองหลวงนี้คือเป็นเมืองไม่ใหญ่ ผู้คนไม่มากเหมือนเมืองหลวงอื่นๆ

ธาตุ ว รมหาวิ ห ารและพื้ น ที่ กั น ชน (Buffer Zone) สัญลักษณ์

พื้นที่อนุรักษ์ (Core Zone) พื้นที่กันชน (Buffer Zone

รถราไม่หนาแน่น มีหอนาฬิกาใหญ่ เวลาเที่ ย งตรงที่ สุ ด ในโลก เพราะ เมืองเขาเป็นเจ้าแห่งนาฬิกา มีน�้ำพุ อันเลื่องชื่อ ชื่อ ‘แอนนา-ไซเลอร์’ บนถนนมาร์ก พิพิธภัณฑ์ของเมือง มี ทั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ป ระวั ติ ศ าสตร์ แ ละ พิพิธภัณฑ์ไอนสไตน์ น่าสนใจมาก

ทีเดียว ในเมื อ งมี ทั้ ง รถบั ส รถราง รถไฟ ซื้ อ ตั๋ ว รถแล้ ว ยั ง สามารถน� ำ เป็นส่วนลดเข้าชมพิพิธภัณฑ์ได้อีก ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วได้ เ ยี่ ย มมาก ทีเดียว ของที่ระลึกบ้านอื่นเมืองอื่น ขายกันไม่แพง ที่นี่ของที่ระลึกผู้คน ดั้ น ด้ น ไปซื้ อ คื อ นาฬิ ก ายี่ ห ้ อ แพงๆ ราคาต�่ ำ ที่ สุ ด ก็ เ ป็ น แสนแล้ ว เขามี ผ้าเช็ดหน้า ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่านหน้าต่าง ในเมืองทุกบ้านเรือนมีกระถางต้นไม้ ริมหน้าต่าง ผ้าหน้าต่างสวยๆ โชว์ให้ แขกบ้านแขกเมืองได้ดูเป็นตัวอย่าง แล้วดิ้นรนหาซื้อกันไปติดบ้านตัวเอง บ้าง ใครได้มาเมืองเบิร์นในช่วงเดือน สิงหาคมทุกปี เขาจะมีงานประเพณี ของเขาเหมือนบ้านเรา วงดนตรีพื้น เมื อ งหลากหลายประเทศมาร่ ว ม แสดง เป็นเหมือนงานนานาชาติ ซึ่ง บ้านเราก�ำลังพยายามท�ำกันอยู่คือ ‘งานแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่นคร’ แต่ ผู ้ น� ำ จั ง หวั ด และท้ อ งถิ่ น ไม่ ต ่ อ เนื่อง ท�ำท่าจะถอยหลังลงเรื่อยๆ เบิร์นเป็นเมืองหลวงเก่าแก่ที่ ยังถนอมรักษาอาคาร งานประติมา-

แผนที่ ๓ แสดงผังเมืองรวมจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มา: กรมการผังเมืองนครศรีธรรมราช

กรรมศิลปะต่างๆ เอาไว้อย่างครบ ครัน มีการวางผังเมืองที่ดี ถือเป็นต้น แบบของการออกแบบด้านผังเมือง จนได้ รั บ การยกย่ อ งว่ า ดี ที่ สุ ด ใน ยุโรป เรื่องนี้เองที่องค์การยูเนสโก้ ไม่ลังเลที่จะมอบต�ำแหน่งเมืองมรดก วัฒนธรรมของโลกเอาไว้เป็นประกัน ด้ า นธรรมชาติ ที่ ไ ด้ รั บ การ ยกย่ อ งอี ก ของสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ คื อ ภูเขาอันสวยงาม เช่น แมตเตอร์ฮอล และยุงเฟรา ซึ่งเป็นมรดกโลกด้าน ธรรมชาติ อี ก อั น หนึ่ ง ของสวิ ต เซอร์ แลนด์ ซึ่งคนไทยที่เดินทางไปท่องเที่ยวยุโรปจะต้องไปสวิสและจะต้อง ไปเยือนยอดเขาทั้งสองนี้ การเดิ น ทางจะเริ่ ม ต้ น จาก สถานีรถไฟอินเทอร์ลาเก้น ซึ่งมีป้าย ขนาดมหึมาที่สถานีเขียนว่า ‘ยินดี ต้อนรับ’ เป็นภาษาไทย ไม่มีค�ำอย่าง นี้ ใ นภาษาอื่ น เลย โกยเงิ น คนไทย อย่างสนุก ภูเขาแมตเตอร์ฮอลที่ใคร จะไปเยื อ น ต้ อ งเข้ า ไปพั ก ในเมื อ ง เซอร์แมต เป็นเมืองตากอากาศจริงๆ เพราะเมืองนี้เขาไม่อนุญาตรถราที่ใช้ ก๊าซหรือน�้ำมันเป็นเชื้อเพลิงเข้าไปใน

เมืองเด็ดขาด เขามีรถไฟฟ้าเป็นรถ สองแถวของเขามารับเข้าไป ผู้คน ขี่จักรยานเที่ยวในเมือง รถโดยสาร ไม่มี เมืองเล็กกว้างยาวไม่เกิน ๑ กม. เมืองจึงไร้มลพิษจริงๆ ส่วนในเมือง ร้านกาแฟ เบเกอรี่ ร้านอาหารเล็กๆ ไม่มีภัตตาคารขนาดใหญ่ ของที่ระลึก ขายกันทั้งเมืองเหมือนกับว่าเมืองนี้ ท�ำแต่ธุรกิจการท่องเที่ยวอย่างเดียว ตั้งแต่โรงแรมที่พักขนาดเล็ก เกสต์ เฮ้าส์ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้าน เบเกอรี่ แ ละร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก รายได้ เ กิ ด จากการท่ อ งเที่ ย วอย่ า ง มหาศาล เขาจึงรักษาบ้านเมืองของ เขาให้น่าเที่ยวตลอดไป ที่ น� ำ มาเล่ า เพื่ อ เราจะได้ หั น มาสนใจนครเราบ้ า ง บ้ า นเมื อ ง ที่ มี ป ั ญ หากั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว หรื อ ปล่อยปละละเลยให้คนต่างชาติมามี อิทธิพล มีมาเฟียตักตวงผลประโยชน์ ของการท่องเที่ยว ดูแลรักษาเมือง ของเราให้เหมือนชาวสวิสที่ดูแลการ ท่ อ งเที่ ย วจนเป็ น เบอร์ ๑ ในด้ า น คุณภาพของโลก ซึ่งใครๆ ก็อยากจะ ไปเยือน


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ, อาจารย์บุณยกร วชิระเธียรชัย

นการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช นอกจากจะต้องน�ำเสนอ “เอกสารเพื่ อ ขอขึ้ น บั ญ ชี เ บื้ อ งต้ น ” ( Tentative List) ต่อศูนย์มรดกโลกขององค์การยูเนสโก (UNESCO) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสแล้ว สิ่งส�ำคัญที่จะต้อง ท�ำอย่างละเอียดและประณีตบรรจงยิ่งก็คือ “เอกสารฉบับ สมบูรณ์” (Nomination Dossier) เพื่อน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการพิจารณาการขึ้นบัญชีมรดกโลกอีกครั้ง (ภายหลัง ได้รับการประกาศขึ้นบัญชีเบื้องต้นแล้ว) เอกสาร Nomination Dossier ประกอบด้วย ๘ หมวดใหญ่ แต่ละหมวดมีรายละเอียดค่อนข้างมาก และ ต้องเรียบเรียงเป็นภาษาสากล (คือภาษาอังกฤษหรือภาษา ฝรั่งเศสอย่างใดอย่างหนึ่ง) โดยเริ่มต้นตั้งแต่การศึกษา ประวัติหรือภูมิหลังและผังของพื้นที่มรดก (Core Zone) ให้ ชั ด เจน ตลอดถึ ง คุ ณ ค่ า ที่ โ ดดเด่ น เป็ น สากลของแหล่ ง มรดกที่ จ ะขอขึ้ น ทะเบียนบัญชีมรดกโลก ต่อไปนี้เป็นรายละเอียดเรื่องการ วางผังของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ในระยะแรกสร้ า ง ซึ่ ง เรี ย งเรี ย งโดย ดร.เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ และอาจารย์ บุณยกร วชิระเธียรชัย แห่งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากการศึ ก ษาของรองศาสตราจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ให้ข้อเสนอว่า พระมหาธาตุนครศรีธรรมราชนั้นคงได้ รับการสถาปนาขึ้นมาแล้วตั้งแต่สมัยที่ ศูนย์กลางของเมืองนครศรีธรรมราชยัง อยู่ที่เมืองพระเวียง โดยตั้งอยู่ห่างจาก แนวก�ำแพงเมืองพระเวียงประมาณ ๕๐๐ เมตร ซึ่งให้ค�ำอธิบายสาเหตุของการที่วัด พระมหาธาตุนครศรีธรรมราชนั้นไม่ได้ ตั้ง อยู่ใจกลางเมืองนครศรีธรรมราช แต่ ที่ ตั้ ง ค่ อ นไปประชิ ด กั บ เมื อ งพระเวี ย ง ซึ่งหากจะสันนิฐานต่อเนื่องในประเด็น ดังกล่าว จะอาจมีสมมุติฐานว่าวัดพระ มหาธาตุ น ครศรี ธ รรมราชอาจเคยท� ำ หน้าที่เป็นวัด อรัญวาสีที่อยู่นอกก�ำแพง เมืองในสมัยเมืองพระเวียงตามคติที่ได้ รับสืบทอดมา จากลังกาก็เป็นได้ และ ต่ อ มาเมื่ อ นครดอนพระท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของนครศรี ธ รรมราชตั้ ง แต่

สมัย อยุธยาลงมา ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้วัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชกลายเป็นวัดที่ได้รับการท�ำนุบ�ำรุงอย่าง ยิ่งตั้งแต่สมัยอยุธยา (ดังปรากฏมีโบราณวัตถุโบราณสถาน สมัยอยุธยาเป็นจ�ำนวนมากมายภายในวัด) ตั ว เมื อ ง “นครศรี ธ รรมราช” หรื อ “เมื อ งนคร ดอนพระ” มีขนาดกว้างประมาณ ๖๖๕ เมตร และยาว ประมาณ ๒.๔ กิโลเมตร หากพิจารณาในประเด็นของ สภาพภูมิศาสตร์ของที่ตั้งจะเห็นได้ว่าแนวของสันทราย ดังกล่าวได้แผ่ตัวกว้างมากขึ้นในทางตอนเหนือ แสดงให้ เห็นว่าในการสร้างเมืองนั้นมีทางเลือกให้สามารถพื้นที่ ตอนที่เหนือขึ้นไป ซึ่งมีแนวสันทรายที่กว้างกว่าได้ แต่ ที่เลือกสร้างเมืองนครดอนพระติดกับเมืองพระเวียงนั้น แสดงให้เห็นว่าเมืองใหม่ที่ขยับขยายขึ้นมา เป็นเมืองที่มี รากฐานการพัฒนาจากพระเวียงนั่นเอง และแม้ว่ามีการ

สร้างเมืองนครขึ้นมาใหม่แล้วก็ตาม แต่เมืองพระเวียงก็ ยังมีการตั้งถิ่นฐานอยู่คู่กันมาด้วย เพียงแต่เมืองพระเวียง คงลดบทบาทลงในชั้นหลังที่มีการขุดคลองท่าวังเชื่อมต่อ จากคลองปากนครมายังนครศรีธรรมราชโดยตรง ส�ำหรับ องค์ประกอบทางกายภาพของตัวเมืองที่ปรากฏให้เห็นใน ปัจจุบัน ที่เป็นแนวก�ำแพงเมืองก่ออิฐนั้นสร้างขึ้นในราว รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยโปรดเกล้าให้ เมอร์สิเออร์ เดอลามา (M.de le Mare) ชาวฝรั่งเศสมาเป็น วิศวกรออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง โดยมีเส้นทาง สัญจรหลักอยู่ตรงกลางของแนวสันทราย ประเด็นที่น่าสนใจประเด็นหนึ่งในเรื่องการวางผัง วัดพระมหาธาตุที่นักวิชาการมักตั้งค�ำถามกันคือ “สาเหตุ ใดที่ท�ำให้องค์พระบรมธาตุนครศรีธรรมราชมีบันไดทาง ขึ้ น สู ่ ล านประทั ก ษิ ณ หั น ไปทางทิ ศ เหนื อ ” ซึ่ ง เดิ ม ที ผู ้ วิ จั ย มี ส มมติ ฐ านของสาเหตุ ดั ง กล่ า วว่ า “อาจเป็นผลมาจากการที่วัดพระมหาธาตุ นครศรีธรรมราชได้วางตัวอยู่บนสันทราย ที่ แ คบยาวที่ ว างตั ว ในแนวเหนื อ -ใต้ จึ ง ท�ำให้องค์พระบรมธาตุเจดีย์วางผังบันได ทางขึ้นให้หันไปยังทิศเหนือ” เมื่ อ ท� ำ การศึ ก ษาสภาพภู มิ ศ าสตร์ ของพื้ น ที่ พ บว่ า แนวสั น ทรายนครศรี ธรรมราชมี ค วามกว้ า งประมาณ ๖๐๐ เมตร ในขณะที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสนั้น มีความกว้าง ๗๕ เมตร (แนวตะวันออกตะวั น ตก) และมี ค วามยาว ๑๒๐ เมตร (แนวเหนือ-ใต้) เมื่อเทียบเคียงกับความ กว้างของสันทรายที่มีถึงประมาณ ๖๐๐ เมตร จะเห็นได้ว่าสัดส่วนของพื้นที่ที่ได้ รับการออกแบบวางผังนั้นมีสัดส่วนที่น้อย เมื่อเทียบกับความกว้างทั้งหมด และไม่ ได้เป็นปัญหาหากมีความประสงค์จะวาง ผั ง พื้ น ที่ ใ นแนวตะวั น ออก-ตะวั น ตกเลย นอกจากนี้จากการส�ำรวจรังวัดเพื่อจัดท�ำ แบบสถาปัตยกรรมยังให้ข้อมูลอีกว่า ผัง บริเวณที่เห็นในปัจจุบันนั้นแตกต่างไปจาก ผังบริเวณเมื่อแรกสร้างที่มีจ�ำนวนอาคาร ไม่มากนัก เพราะฉะนั้นผังบริเวณเมื่อแรก สร้างนั้นคงมีขนาดเล็กกว่านี้ (อ่านต่อฉบับหน้า)


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

ช่ วงเวลานี้ ทุกคนคงเคยได้ยินชื่อ ไวรัส อีโบลา ที่ก�ำลังเป็นข่าวแพร่ระบาดในต่างประเทศ โดย เฉพาะทวีปแอฟริกา เป็นโรคระบาดที่เป็นที่จับตามองจาก ทุกวงการ เพราะความรุนแรงของโรคนี้ได้คร่าชีวิตของผู้ ติดเชื้อไปแล้วหลายพันราย เนื่องจากอัตราการตายจาก การติดเชื้อ อีโบลา สูงถึง ๖๐-๙๐ % เราจึงควรมาท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้ เพื่อจะได้ระวัง ป้องกันได้ถูกวิธี อีโบล่าคืออะไร Credit : http://www.thegospelcoalition.org/article/what-chrisอี โ บลาเป็ น เชื้ อ ไวรั ส ในวงศ์ Filoviridae สกุ ล tians-should-know-about-the-ebola-crisis Ebolavirus มี ๕ สายพันธุ์ ประกอบด้วย Ebola virus เลือดออกในอวัยวะภายใน ท�ำให้เลือดก�ำเดาไหล, ถ่ายเป็น (Zaire ebolavirus), Sudan virus (Sudan ebolavirus), Tai เลือด, อาเจียนเป็นเลือด, ปัสสาวะเป็นเลือด, และปรากฏ Forest virus (Tai Forest ebolavirus), Bundibugyo virus จุ ด เลื อ ดออกตามร่ า งกาย ร่ ว มกั บ ภาวะตั บ ถู ก ทํ า ลาย (Bundibugyo ebolavirus) และ Reston virus (Reston ไตวาย มีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง เช่น สับสน ebolavirus) โดยแหล่งรังโรคยังไม่ทราบแน่ชัด มีการพบ เซื่องซึม ก้าวร้าว และอาการชัก เป็นต้น เชื้อไวรัสอีโบลาในสัตว์ป่า เช่น ซากลิงชิมแปนซี ลิงกอ๓. อาการในระยะที่สาม ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจ ริลล่า ค้างคาว เร็ว อาจมีอาการสะอึก มีความดันโลหิตลดต�่ำ เป็นผลให้ อวัยวะหลายระบบเสื่อมหน้าที่ ปัสสาวะไม่ออก ซึ่งเป็นผล พื้นที่การระบาด ให้ผู้ป่วยเสียชีวิต อีโบลาระบาดขึ้นครั้งแรกในปี ๑๙๗๖ พร้อมๆ กัน ในผู ้ ป ่ ว ยที่ ร อดชี วิ ต อาจมี อ าการต่ อ ได้ อี ก หลาย สองแห่งคือ ในเมือง Nzara ประเทศซูดาน และในเมือง วัน เช่น อาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหารน�้ำหนักลด และ Yambuku ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ใน ปวดข้อ อาการอื่นที่อาจพบตามหลัง ได้แก่ ผมร่วง มีการ กรณีหลังเกิดขึ้นที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ใกล้กับแม่น�้ ำ เปลี่ยนแปลงเรื่องการรับความรู้สึก ตับอักเสบ อ่อนแรง อีโบลา (Ebola River) ซึ่งกลายมาเป็นชื่อของโรคนี้ในที่สุด ปวดศีรษะ ตาอักเสบ อัณฑะอักเสบ เป็นต้น ปั จ จุ บั น พบการระบาดใน แอฟริ ก ากลางและตะวั น ตก Central and West Africa โดยประเทศที่พบการติดเชื้อ การรักษา คือ กีนี (Guinea) ไนจีเรีย (Nigeria) ไลบีเรีย (Liberia) และ ขณะนี้ ยั ง ไม่ มี วั ค ซี น หรื อ การรั ก ษาที่ จ� ำ เพาะ (ยา เซียร์ราลีโอน (Sierra Leone) และวัคซีน อยู่ในกระบวนการทดลอง) ใช้การรักษาแบบ อาการและอาการแสดง ๑. อาการในระยะแรก มีอาการ ไข้สูง (๓๙-๔๐°C) อ่อนเพลีย ปวด กล้ า มเนื้ อ ปวดข้ อ ปวดศี ร ษะจาก ท้ายทอย และเจ็บคอ ๒. อาการในระยะที่สอง จะมี อาการของความผิดปกติของอวัยวะ ภายใน โดยจะเริ่ ม มี อ าการในวั น ที่ ๒-๔ หลังแสดงอาการแรกเริ่ม และคง อยู่นาน ๗-๑๐ วัน ได้แก่ อาการปวด ท้อง อาเจียน ท้องเสีย เบื่ออาหาร เจ็บ คอรุนแรง เจ็บหน้าอก กลืนล�ำบาก ไอ แห้งๆ และมี ผื่นแดง ราบและนูน กด จางได้ และไม่คัน ขึ้นตามผิวหนัง โดย เริ่มมีผื่นได้ตั้งแต่วันที่ ๒-๗ หลังแสดง อาการแรกเริ่ม (มักขึ้นในวันที่ ๕) เมื่อ ผื่นหายจะเกิดเป็นขุยเล็กๆ ได้ อาการ ทางตา ได้แก่ อาการตาแดง ตาสู้แสง ไม่ได้ ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมี

ประคับประคอง ซึ่งส่วนมากผู้ป่วยมักเกิดภาวะร่างกาย ขาดน�้ำ จึงต้องระมัดระวังเรื่องการรักษาสมดุลของสารน�้ำ เป็นสิ่งส�ำคัญ การแพร่เชื้อของโรคอีโบลา การแพร่ เ ชื้ อ จากคนสู ่ ค นของอี โ บลามี ไ ด้ ห ลายวิ ธี ส่วนใหญ่จะแพร่จากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่งทางการสัมผัส โดยตรง (ผ่านทางเยื่อบุต่างๆ เช่น ตา จมูก ปาก และแผล ที่ผิวหนัง) โดยผ่านทาง - การสั ม ผั ส เลื อ ด หรื อ สารคั ด หลั่ ง เช่ น ปั ส สาวะ น�้ำลาย เหงื่อ อุจจาระ อาเจียน น�้ำนม น�้ำเชื้อ จากคนที่ ป่วย - เข็มฉีดยา หรือ syringesที่ปนเปื้อนเชื้อ - สัตว์ที่ป่วย - ทางอาหารโดยรับประทานอาหารที่มีเชื้อ(อาหาร ป่า), ยังไม่มีหลักฐานว่ายุงเป็นตัวน�ำเชื้อโรค การป้องกันโรคอีโบล่า การป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีโบลา Ebola ดีที่สุดคือ การหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อไวรัสอีโบลา • หลี ก เลี่ ย งการท่ อ งเที่ ย วยั ง พื้ น ที่ ที่ มี ก ารระบาด ของเชื้อ ก่อนจะไปเที่ยวให้ตรวจสอบพื้นที่ระบาดก่อน ท่องเที่ยว • ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ โดยใช้น�้ำเปล่า และสบู่ หรือใช้แอลกอฮอลล์ส�ำหรับล้างมือหากไม่มีน�้ำหรือสบู่ • ไม่มีเพศสัมพันธ์กับคนที่เสี่ยงต่อการติดโรค • หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วย • ผักและผลไม้ต้องล้างให้สะอาด • หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ป่าอาหารป่า • หลี ก เลี่ ย งการสั ม ผั ส สารคั ด หลั่ ง เช่ น น�้ ำ เหลื อ ง เลือด น�้ำลาย น�้ำจากช่องคลอด น�้ำเชื้อของผู้ป่วย • หลีกเลี่ยงของประจ�ำตัวของผู้ป่วยเช่น เสื้อผ้า ผ้า คลุมเตียง เข็ม อุปกรณ์ทางการแพทย์ เพราะอาจจะมีเชื้อ ปนเปื้อน • ส� ำ หรั บ เจ้ า หน้ า ที่ ท างการ แพทย์ จ ะต้ อ งสวมถุ ง มื อ หน้ า กาก อนามั ย เสื้ อ คลุ ม แว่ น ตาเมื่ อ ต้ อ ง ดูแลผู้ป่วย • ศพของผู้เสียชีวิตยังสามารถ แพร่เชื้อได้ต้องให้ความระมัดระวัง เป็นพิเศษ • หากอยู ่ ใ นแหล่ ง ระบาดจะ ต้องเฝ้าดูอาการอีก ๒๑ วัน ในปัจจุบัน ยังไม่พบการระบาด ในประเทศไทย แต่การเดินทางข้าม ประเทศ ข้ามทวีป ในปัจจุบันรวดเร็ว ดังนั้น การเฝ้าระวังการแพร่ระบาด จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ทราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ โรค อี โ บลาแล้ ว คงท� ำ ให้ เ ราสามารถ ระมัดระวัง ป้องกันการติดเชื้อ และ ช่วยกันควบคุมการระบาดของโรค นี้ได้อย่างมั่นใจมากขึ้น


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

หั

วข้อเรื่องฉบับนี้คือประโยคเดียวกันกับ ที่ผมมักลงท้ายในบทความฉบับต่างๆ ที่ ผมเขียนตลอดระยะเวลา ๓ ปี จนคนอ่านคุ้น ตาและไม่ค่อยมีใครใส่ใจถามว่ามีความหมาย อย่างไร จนกระทั่งเมื่อเดือนสองเดือนนี้เองที่ เกิดการจัดระเบียบสังคมขึ้นโดยฝ่ายราชการ ร่วมกับฝ่ายทหาร (คสช.) โดยอาศัยอ�ำนาจ พิ เ ศษเข้ า มาจั ด การหลายๆ เรื่ อ งที่ ท างฝ่ า ย ราชการต้ อ งการท� ำ แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถด� ำ เนิ น การได้ด้วยสาเหตุต่างๆ อย่างที่เราๆ ท่านๆ ทราบนั่นแหละครับ ซึ่งก็ต้องสร้างความเข้าใจ ว่าการปฏิบัติการนี้หาใช่เป็นการจัดระเบียบ โดยคิ ด ขึ้ น มาใหม่ แต่ เ ป็ น การบั ง คั บ ตามข้ อ กฎหมายที่มีอยู่ ไม่ว่าเป็นเรื่องของกฎจราจร ตลอดจนพระราชบัญญัติต่างๆ ที่ควบคุมความ เป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยของบ้ า นเมื อ ง โดยมี เจตนารมณ์ให้เกิดสังคม “บ้านเมืองน่าอยู่” ครับ... ประเด็นนี้เองที่ผมอยากพูดถึง ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เขาได้ บ รรลุ ใ น การสร้างเมืองให้น่าอยู่ โดยวิธีการต่างๆ ทั้ง ในการเข้มงวดในระเบียบวินัยทางสังคม และ ในแนวคิ ด การพั ฒ นาทางด้ า นกายภาพ ซึ่ ง ปรากฏในด้านสิ่งก่อสร้าง อาคารบ้านเรือน สิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ โดยประชาชนในชุมชน มีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งนี้ มีเกณฑ์ชี้วัดความเป็นเมืองที่น่าอยู่อย่างเป็น สากล ซึ่งองค์การอนามัยโลกภาคพื้นยุโรปได้ รณรงค์ให้เมืองต่างๆ จากทั่วโลกหันมาสนใจ โครงการเมืองน่าอยู่ (Healthy Cities) และ ก�ำหนดแนวทางเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเมือง อย่างเป็นรูปธรรม พอสรุปได้ดังนี้ ๑. มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและที่อยู่ สะอาด ปลอดภัย ๒. มี ร ะบบนิ เ วศอยู ่ ใ นภาวะดุ ล ยภาพ และยั่งยืน ๓. มีชุมชนเข้มแข็ง ช่วยเหลือเกื้อกูล ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน ๔. ประชาชนมีส่วนร่วมในการก�ำหนด ควบคุม ตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ ๕. ประชาชนได้ รั บ ปั จ จั ย พื้ น ฐานของ ชีวิต อันได้แก่อาหาร น�้ำ ที่พักอาศัย ความ ปลอดภัย มีรายได้และมีงานท�ำ ๖. ประชาชนมี สิ ท ธิ แ ละโอกาสเข้ า ถึ ง ข่าวสาร มีการติดต่อประสานงานและระดม ความคิด ประสบการณ์เพื่อท�ำงานร่วมกันใน ชุมชน ๗. มี ร ะบบเศรษฐกิ จ ที่ ห ลากหลาย มี ชีวิตชีวา มีนวัตกรรมอยู่เสมอ ๘. มีการเชื่อมโยงมรดกทางวัฒนธรรม วิถีการด�ำรงชีวิต รวมทั้งเอกลักษณ์ของกลุ่มชน แต่ละชุมชน ๙. มี ก ารพั ฒ นาเป็ น ไปอย่ า งกลมกลื น

และส่งเสริมคุณลักษณะที่ดี ที่มีมาในอดีต ๑๐. มีระบบบริการทางสาธารณสุข และ การรักษาพยาบาลที่ทั่วถึง เหมาะสมส�ำหรับ ประชาชนทั่วไป ๑๑. ประชาชนมี ส ภาวะสุ ข ภาพดี มี อัตราการเจ็บป่วยในระดับต�่ำ ในทุกเรื่องข้างต้นนี้ย่อมเป็นความต้อง การให้เป็นไปทั้งของฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชน แต่บางเรื่องก็มีมุมมองที่แตกต่างกันไปในเชิง ปฏิบัติ เช่นชาวบ้านต้องพึ่งพาทางเท้าในการ ท� ำ มาหากิ น แต่ ช าวเมื อ งบอกกี ด ขวางทาง สัญจร พอฝ่ายรัฐเข้ามาจัดการตามระเบียบข้อ กฎหมายกลายเป็นว่ารังแกคนยากจน แล้วจุด พอดีอยู่ตรงไหนครับ... ความจริงการแก้ปัญหา ทางสั ง คมต้ อ งพิ จ ารณาหลายมิ ติ มี ทั้ ง เรื่ อ ง เศรษฐกิจ ข้อกฎหมาย สิทธิพลเมือง และทั้ง เรื่องความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง ซึ่ง ต้องอาศัยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันและ ช่วยกันหาทางออกร่วมกันมากกว่าการจัดการ โดยอ�ำนาจอย่างใดอย่างหนึ่งจึงจะแก้ได้อย่าง ยั่งยืน ผมเห็นด้วยกับการเอาจริงทุกเรื่องใน สถานการณ์ที่เอื้ออ�ำนวยแบบนี้ แต่ก็มีมุมมอง บางประการ (เฉพาะเรื่องที่มีการปฏิบัติการ) ที่ จะขอน�ำเสนอเป็นความเห็นส่วนตัวครับ ปั ญ หาทางเท้ า ที่ มี ก ารวางของขายจน คนทั่วไปเดินผ่านล�ำบาก ซึ่งทางเทศบาลเคย ประกาศเชิงขอร้องให้เว้นทางเดินให้หนู ๙๐ เซนติเมตร ไม่มีกฎหมายให้เว้นตามระยะดัง กล่าวหรอกครับ เพียงแต่ยอมอะลุ้มอล่วยให้ ท� ำ มาหากิ น กั น ได้ แต่ ใ นการเว้ น ทางเดิ น ที่ เหมาะสมตามหลักการเชิงสรีระร่างกายคนที่ สามารถเดินสวนกันได้อย่างสะดวกไม่ต้องเบี่ยง ไหล่กัน จะต้องมีความกว้างอย่างน้อย ๑๒๐ เซนติเมตร ดังนั้นทางเท้าที่แคบมากกว่านี้จึง ไม่ควรมีการวางอะไรให้กีดขวางทางเดิน แต่ ถ้ า กว้ า งพอก็ ต ้ อ งท� ำ ข้ อ ตกลงเป็ น พื้ น ที่ ผ ่ อ น ผัน กับทางเทศบาลที่ต้ องออกระเบียบกติก า ทั้งการก�ำหนดแนวที่ตั้งวางขายของได้ การที่ ต้องเก็บของทุกอย่างให้เรียบร้อยเมื่อปิดการ ขายรวมทั้งการท�ำความสะอาดประจ�ำวันด้วย ส่วนทางเท้าที่กว้างมากๆ เพราะอาคารต้อง เว้นระยะตามพระราชบัญญัติก็ไม่ควรใช้หลัก เกณฑ์เว้นทางเดินเพียง ๑๒๐ เซนติเมตร ก็ ต้องหาเกณฑ์ระยะที่เหมาะสมกันไป และต้อง ไม่ลืมว่าจะต้องคิดถึงความสะดวกปลอดภัย ของคนส่วนใหญ่เป็นเกณฑ์มากกว่าประโยชน์ ส่วนตัวของใคร ปัญหาการจราจรที่ต�ำรวจเข้มงวดกวดขันเรื่องการจอดรถผิดที่ผิดทางก็เป็นเรื่องที่ดี เช่นการจอดรถตรงเส้นขาวแดงขอบทางเท้า การจอดรถผิดด้านวันคู่วันคี่ เป็นต้น ล้วนแล้ว ท�ำให้เกิดความคล่องตัวในการจราจร แต่ถนน บางสายที่ห้ามรถบรรทุกผ่านช่วงเวลาเร่งด่วน

นครศรีธรรมราช

เช่นถนนที่มีรถมารับมาส่งเด็กนักเรียนคับคั่งก็ ยังมีการฝืนกฎจนท�ำให้การจราจรติดขัดบ่อยๆ (โดยเฉพาะรถบรรทุกดินหรือรถบรรทุกของ ทางราชการเอง) ส่วนรถโดยสารก็มักจะไปจอด ขวางทางเข้าออกของถนนซอยต่างๆ เพื่อรอผู้ โดยสารแทนที่ไปจอดตรงป้ายที่ก�ำหนด หาก สร้างวินัยให้ผู้โดยสารไม่ยอมขึ้นรถถ้าไม่จอด ตรงป้ายก็จะช่วยให้เป็นระเบียบยิ่งขึ้น ปั ญ หาเรื่ อ งป้ า ยโฆษณาที่ ติ ด ตั้ ง บน อาคารหรื อ ทางเท้ า ทางเทศบาลเข้า มาเข้ม งวดโดยร่วมกับฝ่ายทหารเข้ามาเก็บป้ายต่างๆ ที่ ติ ด จนขาดความสวยงาม (ศั พ ท์ ข องงาน ออกแบบภูมิทัศน์เรียกว่ามลภาวะทางสายตา หรือทัศนะอุจาด) นี่เป็นเรื่องหนึ่งที่พูดถึงกัน นานแล้วซึ่งมีเรื่องของความปลอดภัยรวมอยู่ ด้ ว ย เช่ น การบั ง สายตาในการสั ญ จรทั้ ง ทาง เดินเท้าและทางรถ การยื่นป้ายออกมาเหนือ ถนนซึ่งอาจร่วงลงมาใส่รถ เป็นต้น ล้วนแล้ว เป็นเจตนารมณ์ของข้อกฎหมาย มุมมองของ ผมขอเชียร์เรื่องนี้ครับ แต่ขอให้พิจารณาการ ก�ำหนดเป็นเขต (Zoning) ที่ควรปล่อยให้มีสีสัน ของเมืองบ้าง เช่นย่านธุรกิจการค้าที่ต้องอาศัย ป้ายต่างๆ ให้เกิดความน่าสนใจ และบางป้ายก็ เป็นการติดชั่วคราวเฉพาะงานเพื่อขายสินค้าได้ อาจอนุโลมบ้างโดยให้ไปขออนุญาตจากหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง มิฉะนั้นจะสวนทางกับการกระ ตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่จะต้องการหารายได้ จากภาษีธุรกิจเหล่านี้ ส�ำหรับในเขตเมืองเก่าที่ ต้องอาศัยภาพรวมของเมือง เช่นบริเวณพื้นที่ กันชน (Buffer Zone) ของเขตที่ก�ำลังเสนอให้ วัดพระบรมธาตุเป็นมรดกโลก ก็ควรมีการตั้ง คณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสม ในการ อนุญาตให้ติดตั้งป้ายที่สอดคล้องกับเรื่องราว ความเป็นเมืองเก่าที่จะสร้างเสน่ห์ให้กับเมือง อีกทางหนึ่ง อาจจะร่วมกันพิจารณาจากฝ่าย สถาปนิกเทศบาล กรมศิลปากร สถาบันสอน งานออกแบบสถาปัตยกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบและประวัติศาสตร์ ดูเหมือนว่าแนวคิดนี้อาจยุ่งยาก แต่ถ้ามีการ เริ่มต้นที่ดีก็จะไม่สร้างปัญหาให้คอยตามรื้อ ตามแก้ ต ่ อ ไป และที่ ส� ำ คั ญ จะต้ อ งท� ำ ความ เข้ า ใจกั บ ชาวเมื อ งให้ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ และ ความจ�ำเป็นในการที่ต้องมีข้อก�ำหนดเหล่านี้ แต่อย่างไรก็ตามป้ายไวนิลงานกิจกรรมชุมชน เช่นงานมงคลต่างๆ หรืองานของสถาบันการ ศึกษาที่จัดในระยะเวลาสั้นๆ ควรมีการอนุโลม ให้ ติ ด ได้ มิ ฉ ะนั้ น อาจเกิ ด ความรู ้ สึ ก ต่ อ ต้ า น แต่เมื่อเสร็จกิจกรรมก็ให้ปลดออกทันที ส่วน ป้ายไวนิลของทางราชการเองที่ติดประกาศจน เลยเวลากิจกรรมนั้นๆ ก็ควรปลดออกให้เป็น แบบอย่างที่ดีด้วย (รวมทั้งป้ายที่มีรายละเอียด มากมายและตัวอักษรเล็กเกินไปที่สายตาคน ปกติจะมองเห็นได้เวลาขับรถผ่าน)

หน้า ๑๓

กรณีตัวอย่างที่ผมยกขึ้นมาเพื่อให้เห็นว่า ทางภาครัฐได้อาศัยช่วงจังหวะของสภาวะการ ปกครองประเทศที่ไม่ปกตินี้มาบังคับใช้อย่าง เป็นรูปธรรม แล้วที่ผ่านมาท�ำไมไม่สามารถ บังคับใช้ได้ครับ ทั้งๆ ที่มันก็เป็นกฎหมายตัว เดียวกันนั่นแหละ ผมมองว่าเป็นเรื่องที่ชาว เมืองยังขาดเรื่องวินัยและไม่เห็นว่าเป็นเรื่อง ที่ ส� ำ คั ญ บทความที่ ผ ่ า นมาผมได้ ย กกรณี ที่ ประเทศญี่ ปุ ่ น และประเทศสิ ง คโปร์ ส ามารถ สร้างชาติให้เจริญและเข้มแข็งอย่างยั่งยืนจาก การสร้าง “วินัย” ขึ้นมาก่อน ผมไม่ทราบครับ ว่า หน่วยงานไหนที่ต้องรับผิดชอบต่อเรื่องการ สร้างวินัย แต่มันต้องเริ่มตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุด ของสังคมคือครอบครัว ที่ต้องสอนเด็กให้มีวินัย ทุกคน ไม่ว่าการไม่ทิ้งขยะบนถนน การเข้า แถวรับบริการต่างๆ ฯลฯ ตลอดไปจนถึงผู้ใหญ่ ต้องมีวินัยร่วมกันในการใช้รถใช้ถนน การไม่ เห็นแก่ตัวในการใช้พื้นที่สาธารณะ และการ ร่วมกันสอดส่องสิ่งที่จะมาท� ำร้ายสังคมและ ย้อนมาสู่ลูกหลานเรา หากเรามีวินัยกันผมไม่ คิดว่ากฎหมายจะมีความส�ำคัญอะไรที่ต้องใช้ บังคับกันให้ขัดใจ แล้วจะเกิดเป็นชุมชนที่เข้ม แข็งขึ้นมาเอง ผมรั บ ทราบการรวมตั ว ของชุ ม ชนที่ เข้มแข็งที่จะเป็นแบบอย่างได้ในกรุงเทพฯนี้ เอง คือ “ประชาคมห้วยขวาง” ที่มีแกนน�ำ มาจากหลายฝ่ายร่วมมือกันอย่างจริงจัง น�ำ ความรู้และประสบการณ์ในวิชาชีพมาใช้ เช่น มี ส ถาปนิ ก ชื่ อ อาจารย์ พ งศ์ พ ร สุ ด บรรทั ด ท่านเคยท�ำงานเมืองนอกเมืองนา แล้วกลับ มาสู่บ้านเกิด ได้สร้างจินตนาการให้คลองที่มี อยู่เปรียบเสมือนเมืองเวนิสใช้สัญจรและเป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตได้ ใช้ชื่อว่า “สยาม คลองเมื อ ง” ชุ ม ชนก็ เ สี ย สละกั น เท่ า ที่ จ ะมี ทรัพยากรอยู่ เช่น บางคนให้สถานที่เป็นห้อง สมุดส�ำหรับชุมชน บางคนก็เป็นแกนน�ำสร้าง กิจกรรมขึ้นมาเช่น สร้างคณะกลองยาวขึ้นเพื่อ รับงานต่างๆ เป็นต้น จนได้รับความร่วมมือ ทางฝ่ายรัฐไม่ว่าเป็นส�ำนักงานเขต หน่วยทหาร รวมทั้งองค์กรพัฒนาต่างๆที่เข้ามาช่วยเหลือ และมาดูงานเป็นแบบอย่าง แต่เท่าที่ทราบมา แม้ว่าไม่ระบุชัดเจน ชุมชนนี้ได้สร้าง “วินัย” นอย่ า งมี จิ ต ส� ำ นึ ก ที่ อ ยากให้ เ ป็ น ชุ ม ชนที่ น ่ า อยู่ มีการรณรงค์ช่วยกันดูแลคลองให้สะอาด รวมทั้งการเสนอข้อคิดเห็นที่คัดค้านโครงการ ของภาครัฐที่มีผลกระทบต่อชุมชน ผมยังคาด หวังในวัยสูงอายุของผมว่าจะมีโอกาสเห็นการ เปลี่ ย นแปลงบ้ า นเมื อ งไปในทางที่ ดี ขึ้ น จาก การสร้างวินัยนี่เอง จึงเป็นที่มาของการที่ผมใช้ ค�ำขวัญว่า “บ้านเมืองน่าอยู่ ผู้คนต้องมีวินัย”


หน้า ๑๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

บั บ นี้ ค อลั ม น์ เ พื่ อ นเรี ย นรู ้ มี กิ จ กรรมพิ เ ศษมา แนะน�ำกันอีกเช่นเคยค่ะ ยังคงเป็นกิจกรรมที่ศูนย์ โปรแกรม วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชได้มีส่วนร่วม ภาพยนต์ “มอบความรู้คู่ความบันเทิง” ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลา ๔ ปี แล้วค่ะ กับเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียน โปรแกรม ๑ รู้ โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับสถาบันเกอเธ่ และสถานเอกอัครราชทูต ฝรั่งเศสประจ�ำประเทศไทย ได้ร่วมจัดกันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ และได้มีความร่วมมือกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษาทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ซึ่งในการจัด เทศกาลฯ ครั้งที่ ๙ ที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๖) มีผู้เข้าชมทั่ว ประเทศทั้งสิ้นจ�ำนวน ๒๕๓,๓๖๐ คน ในปีนี้เป็นการจัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ โปรแกรม ๒ เพื่อการเรียนรู้ครั้งที่ ๑๐ ในระหว่างวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ถึง ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ (จัดฉายทุกวันยกเว้นวันหยุด สุดสัปดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์) ภาพยนตร์ที่จัดฉาย เป็นภาพยนตร์ลิขสิทธิ์ที่ผ่านการคัดเลือก จ�ำนวน ๒๖ เรื่อง จากทั้งหมด ๒๗๗ เรื่องของ ๕๐ ประเทศทั่วโลก โปรแกรม ๓ โดยมีแนวคิดหลักเรื่อง “เทคโนโลยีเพื่ออนาคต” ไม่ใช่ เพียงแค่ได้ชมภาพยนตร์คุณภาพเยี่ยมเท่านั้น แต่จะมี ทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเป็นการ สร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่เด็กและเยาวชนในเรื่อง ราวของวิ ท ยาศาสตร์ ต ลอดจนสร้ า งเจตคติ ที่ ดี ต ่ อ การ โปรแกรม ๔ เรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ โดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ยแต่ อ ย่ า งใด รวมถึงมีบริการน�ำเยี่ยมชมนิทรรศการถาวรภายในศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชโดยรอบด้วย โปรแกรม ๕ เช่นกัน ท่านที่สนใจสามารถเข้าไปดูรายละเอียดเรื่องย่อ และการจองรอบเข้าชมเพิ่มเติมได้ที่ www.nakhonsci. com ถ้าใครพลาดไปเสียดายแทนเลยค่ะ

สุธรรม ชยันต์เกียรติ << ต่อจากหน้า ๔

แม่ไก่เหอ แม่ไก่หางลุ่น ข้าหลวงญี่ปุ่น ชันชีจับเด็ก จับสิ้นสาวสาว บาวบาวท�ำพวกหาดเล็ก ชันชีจับเด็ก จับสิ้นทั้งเมืองครเหอ ต่อมายามาดะได้บริหารบ้านเมือง ส่งลูกชายและ คณะไปเรียกส่วยภาษีจากเมืองปัตตานี ก็ได้รับการต่อ ต้านจากปัตตานี เพราะมีชาวต่างชาติ เช่น ฮอลันดา โปรตุ เ กส และอั ง กฤษ ที่ ไ ม่ ช อบญี่ ปุ ่ น มาค้ า ขายแข่ ง กัน ญี่ปุ่นมายึดครองน่านน�้ำจึงเดือดร้อนไปทั่ว ก็เข้า ช่วยเหลือปัตตานี จึงเกิดการแข็งข้อไม่ยอมส่งเครื่อง บรรณาการตามที่ตกลงไว้ จึงประกาศศึกท�ำสงครามกัน

ระดับประถมศึกษา

ระดับมัธยมศึกษา

ระดับมหาวิทยาลัย

• Earth to Future - Super Heroes or Spys? Aerial Robots of the Future (DE) • Maya the Bee: Dancing with Bees (DE / FR) • Hawkeye: Robots (PH)

• Dandelion: Clouds - The Hail Canon (DE) • Nine-and-a-Half: A Life Without Plastic (DE) • Science Nerd in Jordan The Desert and the Dead Sea (DK)

• Max-Planck Cinema: 1) Insights into the Nanow orld 2) Genes on the Move (DE) • Plant-Based Chemistry for the Post-Petroleum Age (DE) • Supercomputers (ES)

• The Show with the Mouse: LED (DE) • I Got It! Dolphins (TH) • I Got It! Honeybees (PH)

• Nine-and-a-Half: Bio Plastic (DE) • The Energy Check (DE) • Microhydro - A Drop for Light (ID)

• In Vitro Meat Soon to be Served? (FR)

• I Got It! Overfishing (MM) • The Dream Flight under • The Joy of Logic (UK) • Annedroids – New Pals Micro-Gravity (TH) • Wildlife: Sophisticated (CA) Farmers – Leafcutter Ants (JP) • Robot Revolution: Will Machines Surpass Humans? (JP) -

-

• Mysteries of the Human Voice (AU)

หมายเหตุ ภาพยนตร์ทุกเรื่องพากย์เสียงภาษาไทย

ยามาดะในฐานะเจ้าเมืองนครยกกองก�ำลังไปปราบ ปรามโดยใช้ทหารชาวญี่ปุ่นเป็นทัพหน้า กองทัพนครเป็น ทัพหนุน เมื่อเกิดการรบพุ่ง ทหารนครที่มีความคับแค้น อยู่เดิมก็ไม่สู้รบเต็มที่ การรบจึงเพลี่ยงพล�้ำ ยามาดะได้ รับบาดเจ็บ จึงต้องยกทัพกลับนครชั่วคราว ความทราบถึ ง พระเจ้ า ปราสาททองกษั ต ริ ย ์ แ ห่ ง กรุงศรีอยุธยา พระองค์ทรงยินดีกับข่าวนี้มาก จึงทรง บัญชาให้พระมะริด เจ้าเมืองไชยา น�ำยาหลวงมารักษา ให้ แต่ยาที่น�ำมานั้นกลับเป็นพิษงู เมื่อน�ำมาใส่แผล พิษ ก�ำเริบถึงแก่เสียชีวิตทันที จบชีวิตอันโชกโชนของซามูไร ผู้ยิ่งใหญ่แห่งกรุงศรีอยุธยา ออกญาเสนาภิมุข เจ้าเมือง นครศรีธรรมราชเมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๓ ส่วนโออิน ลูกชาย ได้ตั้งตัวเป็นเจ้าเมืองนครสืบแทน พ่อ มีต�ำแหน่งเดิมเป็นออกขุนเสนาภิมุข ถูกทหารชาว นครต่อต้านจนเกิดรบราฆ่าฟันกันตลอด รุ่งขึ้นอีกปีทหาร

จากอยุธยาลงมาสมทบปราบปราม โออินและทหาร ชาวญี่ปุ่นซึ่งมีไม่กี่ร้อยคนก็แตกกระเจิงหลบหนีไปเมือง เขมรจนหมด นั ก ข่ า วชาวญี่ ปุ ่ น เคยมาสื บ หาวั ง ที่ ย ามาดะเคย อยู่ แต่ก็ไม่มีหลักฐานแน่ชัดยืนยัน แต่ขอบเขตบริเวณ ศาลากลางก็เป็นวังเจ้าเมืองนครมาหลายยุค ที่ใกล้เคียง เห็นจะเป็นถนน ‘นางงาม’ ข้างศาลากลาง ที่คล้ายคลึง กับชื่อ ‘ยามาดะ นางามาซะ’ ขุนศึกซามูไรเจ้าเมืองนคร


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

ตอนจบ องค์กรทั่วๆ ไป ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่

เครือข่ายแบบเท่าเทียม (PEER-TO-PEER NETWORK)

ลั ก ษณะการท� ำ งานของเครื อ ข่ า ย แบบ Client/Server เครื อ ข่ า ยแบบ Client/Server จะ มี ก ารแบ่ ง คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น ๒ กลุ ่ ม คื อ เซอร์ ฟ เวอร์ (Server) และ ไคลเอนท์ (Client) ส�ำหรับรายละเอียดมีดังนี้

ต้องการแบ่งปันทรัพยากรร่วมกัน เซอร์ฟเวอร์ (Server) เช่น เครื่องพิมพ์ ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น เรารู้จักกันดีในนามของเครื่องแม่ ซึ่ง ครือข่ายประเภทนี้ เป็นเครือข่ายที่ไม่มี ไม่ เ น้ น เรื่ อ งระบบรั ก ษาความ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้เก็บข้อมูล เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ห ลั ก หรื อ ที่ เ รามั ก ปลอดภัยมากนัก เพราะใช้เป็นกลุ่มเฉพาะ เป็นศูนย์กลางของระบบเครือข่าย มีไว้ให้ เรียกว่า เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server) และ เครื่องลูก หรือ ไคลเอนท์ (Client) เข้ามา เครื่องทุกเครื่องก็มีความส�ำคัญและสิทธิเท่า ดึง ประมวลผล และเก็บข้อมูล สรุปก็คือ เทียมกัน หรือที่เรียกว่า เพียร์ (Peer) วิธี การเชื่อมต่อแบบนี้จะเห็นได้ตามบ้าน ที่มี คอมพิวเตอร์หลายเครื่อง และมีการเชื่อม ต่ออุปกรณ์ผ่าน Modem Router ในรูป แบบของไร้ ส ายและแบบมี ส าย ที่ เ ราใช้ ส�ำหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็ว สูง นั่นเอง เครือข่ายแบบ Peer-to-peer มีชื่อ เครือข่ายแบบผูใ้ ห้บริการ เรี ย กอี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า เวิ ร ์ ค กรุ ๊ ป (Work- และผูใ้ ช้บริการ group) ถ้ า จะแปลเป็ น ภาษาไทยก็ น ่ า (CLIENT/SERVER NETWORK) จะมี ค วามหมายว่ า การท� ำ งานเป็ น กลุ ่ ม ประโยชน์และหลักในการน�ำไปใช้ของเครือ เป็ น เครื อ ข่ า ยระบบคอมพิ ว เตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ท�ำหน้าที่ในการให้ ข่ายแบบ Peer-to-Peer ที่ ส ามารถใช้ ง านร่ ว มกั น ได้ จ� ำ นวนมากๆ บริการกับเครื่องลูก เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น เ ห ม า ะ ส� ำ ห รั บ เ ค รื อ ข ่ า ย ที่ มี นั บ ร ้ อ ย นั บ พั น ห รื อ แ ม ้ ก ร ะ ทั่ ง ใ ช ้ คอมพิ ว เตอร์ จ� ำ นวนไม่ ม าก ไม่ ค วรเกิ น คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น จ� ำ นวนหมื่ น ๆ เครื่ อ ง เซอร์ฟเวอร์ จะมีการผลิตที่แตกต่ า งจาก ๑๐ เครื่อง ก็ตาม เหมาะส�ำหรับเครือข่ายที่ต้องการ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทวั่ ไป ซีพยี ทู แี่ ตกต่างกัน เน้ น เรื่ อ งประสิ ท ธิ ภ าพ (อาจมีมากกว่าหนึ่งซีพียู) มีดิสก์ที่สามารถ เน้นความปลอดภัย และ ถอดประกอบได้แม้ยงั เปิดใช้งานอยู่ มีหน่วย การใช้ ท รั พ ยากรร่ ว ม ความจ�ำค่อนข้างมาก มีระบบไฟหรือ Power กั น ปั จ จุ บั น เครื อ ข่ า ย Supply มากกว่าหนึ่ง เพื่อเป็นการป้องกัน ประเภทนี้ เป็นที่นิยมมาก ระบบมี ป ั ญ หา และที่ ส� ำ คั ญ สามารถเปิ ด ที่สุด และจะเห็นได้จาก ใช้งานได้ ๒๔ ชัว่ โมง โดยไม่จำ� เป็นต้องปิด

ไคลเอนท์ (Client) เรียกเป็นภาษาไทยๆ หน่อยว่า เครื่อง ลูก เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปที่เราใช้ งานตามแผนกต่ า งๆ โดยปกติ เ ครื่ อ งไคล เอนท์ จะมีการเข้าไปใช้บริการต่างๆ จาก เครื่องเซอร์ฟเวอร์ ไม่ว่าจะเป็นการดึงข้อมูล การพิ ม พ์ ร ายงาน มาท� ำ การประมวลผล และส่งผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ยังเซอร์ฟเวอร์ แบรนด์ของ Server Computer เนื่ อ งจากคอมพิ ว เตอร์ ที่ ท� ำ งาน เป็น Server จะท�ำงานค่อนข้างหนัก และ ต้องการความเสถียรในการท�ำงานสูง ดังนั้น การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ จึงมัก จะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ Server ทีมีแบรนด์ น่าเชื่อถือ ส�ำหรับในประเทศไทยที่นิยมใช้ กัน ได้แก่ HP, Dell และ IBM เป็นต้น ตั ว อย่ า งการท� ำ งานของเครื อ ข่ า ย แบบ CLIENT/SERVER สมมุติว่า เราซื้อโปรแกรมระบบขาย สินค้าและบริการ และต้องการให้พนักงาน ขายจ�ำนวน ๑๐ คนใช้งานร่วมกันได้ในเวลา เดียวกัน รวมทั้งเราซึ่งเป็นเจ้าของสามารถ ตรวจสอบข้อมูลได้ ความต้องการข้างต้น นี้ เราจ�ำเป็นจะต้องติดตั้งระบบเครือข่าย แบบ Client/Server เพื่อให้มีคอมพิวเตอร์ เซอร์ฟเวอร์ (Server) เป็นตัวเก็บข้อมูล และให้เครื่องคอมฯ ของพนักงานขายแต่ละ คนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน รวมทั้งตัวเราเองด้วย จากที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น หวังว่า ผู้อ่านคงได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ กับองค์กร หรือแม้กระทั่งใช้ภายในบ้านของ เราเองได้ด้วย

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news

www.nakhonforum.com


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

Tarzanboy

รั บ ! หกปี ก ่ อ น ผมฝั ง สะดื อ ของ ลูกชายไว้บนนั้นครับ พร้อมกับการ ให้ชื่อเนินเขาลูกนี้ว่า “เนินลมฝน” และ คื อ ส่ ว นหนึ่ ง ของที่ ม าชื่ อ “ดช.ลมฝน” ผลผลิตของผืนป่าเปื้อนเมฆอันนามว่า เขา หลวง ..เนินนี้อยู่ในเทือกเขาตอนหนึ่งของ เทือกเขานครศรีธรรมราช ความสูงระดับ ๑,๕๐๐ เมตรจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง อยู ่ ร ะหว่ า งยอดฝามี เ ขตน�้ ำ ตกอ้ า ยเขี ย ว กั บ ยอดพรหมโลก ลั ก ษณะเป็ น เนิ น ทุ ่ ง หญ้ารูปทรงหัวใจคว�่ำขนาดไม่เกิน ๑๐๐ ตารางวา ซ่ อ นตั ว แวดล้ อ มด้ ว ยเนิ น เขา เล็กๆสามารถชมวิวได้ ๓๖๐ องศา หาก ฟ้าเปิดเห็นไกลได้ถึงเกาะสมุย เกาะพงัน และท้องทะเลอ่าวไทยด้านแหลมตะลุมพุก ข้างๆ เนินลมฝน เป็นทุ่งหญ้าป่าพรุเล็กๆ แล้วแต่ความเชื่อครับ แต่นี่เป็นส่วน ภายในเป็นแหล่งต้นน�้ำและบ่อโคลนดูด หนึ่ ง ของพิ ธี ก รรมพรานป่ า เก่ า แก่ หาก

ใครสืบเชื้อสายเป็นพราน หรือตั้งสัจจะรับ วิชาพรานเป็นสัมมาอาชีพ หากได้ลูกชาย ก็ มั ก จะตั้ ง สั จ จะ มอบเด็ ก คนนั้ น แด่ ผื น ป่า ฝากฝังเปรียบเปรยว่า มอบให้เจ้าป่า เจ้าเขา ให้ปกป้องดูแล หรือยกให้เป็นลูก เจ้าป่า ...ประมาณนั้น ส่วนหนึ่งนั้นก็เป็น กุศโลบายครับ เพื่อปลูกฝังสั่งสอนให้เขา รักษ์ป่า ดูแลป่า เคารพป่าดุจพ่อแม่ และ มีป่าเป็นบ้าน ผมไม่ ไ ด้ มี เ ชื้ อ สายพรานครั บ แต่ สมัครใจรับวิชาพรานเป็นสัมมาอาชีพแม้ จะไม่ใช่วิชาล่าสัตว์ แต่ลึกๆ วิชาพรานคือ การด�ำรงอยู่กับป่าเป็นหัวใจส�ำคัญ ไม่ใช่ เรื่องส�ำคัญอะไรในยุคนี้ครับ แต่ส�ำหรับ การมีอาชีพอะไรสักอย่าง ผมคิดว่านอก จากจะต้ อ งยึ ด มั่ น ในจรรยาบรรณนั้ น ๆ แล้ว มีอีกอย่างที่ส�ำคัญยิ่ง...นั่นคือ ความ รักครับ อีกความตั้งใจอย่างมากของผม นั่น คื อ วั น หนึ่ ง จะได้ มี โ อกาสพาเจ้ า ลู ก ชาย ไปสัมผัสสถานที่แห่งนี้ “พาเจ้าลมฝน สู่ เนิ น ลมฝน ท่ า มกลางผื น ป่ า ฝน” หลั ง


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ ภาพที่หลายคนแอบหวังให้เกิดขึ้นกับวัดพระธาตุบ้านเรา ก�ำลังเริ่มต้นขึ้นแล้ว ทุกเช้าวันอาทิตย์ พุทธศาสนิกชนมารวมตัวกันบนถนนราชด�ำเนินเพื่อร่วมตักบาตรเป็นแถวยาว เป็นภาพที่งดงามยิ่งนัก.....ร่วมรักษาสิ่งดีดีให้อยู่คู่เมืองนครด้วยกันนะครับ

จากที่พยายามเพาะบ่มและถ่ายทอดสิ่ง ต่างๆ ตั้งแต่เล็ก ให้เขาได้รู้ได้เห็น ว่าพ่อ แม่ท�ำงานอะไร พ่อมีหน้าที่อะไร อะไร หมายถึงอาชีพพรานป่า ป่าส�ำคัญอย่างไร ในส่ ว นส� ำ คั ญ เหล่ า นี้ นอกจากจะถู ก ถ่ายทอดผ่านประสบการณ์ตรงแล้ว ยัง ถู ก บรรจุ อ ยู ่ ใ นหลั ก สู ต ร “ถอดรหั ส ป่ า จูเนียร์” ซึ่งเป็นหลักสูตรสอนเด็กๆ ให้ รู ้ จั ก การอยู ่ ร ่ ว มกั บ ธรรมชาติ สอนให้ เขามีความกล้า ให้รู้จักการปรับตัว ใน สถานการณ์ ข องธรรมชาติ จ ริ ง อั น ไร้ สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกใดๆ ณ วั น นี้ เ มื่ อ เด็ ก ๆ ของเราได้ ท� ำ จึ ง เห็ น ว่ า “...เขา ท�ำได้” ล่าสุด เด็กชายลมฝนและเพื่อนๆ อันมีอายุเพิ่งจะ ๗ ขวบถึง ๑๐ ขวบ ก็ สามารถพาตัวเองไปสัมผัสป่าต้นน�้ำ ก้อน เมฆ ด้วยสองเท้าของเขาเอง เด็กๆ ได้ เข้าใจเหตุผลและความส�ำคัญของค�ำว่า “ต้นไม้ ผืนป่า ล�ำธาร และภูเขา” แม้ เขาจะยังไม่เข้าใจนักว่า เขาจะรักษาผืน ป่าเหล่านี้ไว้ได้อย่างไร แต่น�้ำจากล�ำธาร อาหารจากผืนป่า และลมหายใจจากก้อน เมฆนั้น คือสิ่งที่ก่อร่างสร้างเป็นตัวเขา ดุจดั่งพ่อแม่ สายสะดือของเด็กชายคนหนึ่ง ที่ถูก ฝังไว้บนภูเขาลูกหนึ่ง อาจจะไม่ส�ำคัญเท่า เลือดในกายของเด็กชายคนหนึ่งถูกสร้าง จากสายธารแห่งผืนป่าเปื้อนเมฆแห่งนี้

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

นภสร มีบุญ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

โอลั่ลล้า ฉบับนี้มาพร้อมกับสายฝนโปรยปราย และบรรยากาศอันชุ่มฉ�่ำ

รั

บหน้าฝนกันเต็มรูปแบบ อย่าลืมใช้ รถใช้ ถ นนกั น ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง ด้ ว ยนะคะ .. ล้ อ หมุ น รอบนี้ ห าสถานที่ น่ารักๆ ร้านเล็กๆ แต่บรรยากาศสบายๆ เป็ นกั น เอง แถมอาหารทุ ก จาน ทุ กเมนู เจ้าของร้านเข้าครัวลงมือเองหมด.. ..แบบ ฟันธงรสชาติได้เลยค่ะ ร้านพันทิ สเต็ก ร้านเล็กๆ ที่ก่อเกิดจากความช่างกินของ เจ้าของร้าน (น้องเปิ้ล) ซึ่งนอกจากเป็น คนที่ชื่นชอบการชิมอาหารอร่อยๆ หลาก หลายรูปแบบ และหลังจากที่ตระเวนขับ รถ อยู่พอประมาณ เลยตัดสินใจเดินทาง มาอุดหนุนน้องสาวที่แสนน่ารักอีกหนึ่งคน .. น้องเปิ้ล พันทิภา มัทวัง สาวสวยนัก ประชาสัมพันธ์แห่งโรงพยาบาลมหาราช คุยเก่ง ยิ้มเก่ง ..ช่างกิน ก็เลยท� ำในสิ่งที่ ตนเองชอบกิน มาประยุกต์ แล้วเสิร์ฟให้ ลูกค้าได้ลองชิมด้วย .. ร้านพันทิสเต็ก เป็นร้านเล็กๆ ติด ริมถนนราชด�ำเนิน ตัวอาคารสีเขียวหวาน สดใส มองเข้าไปด้านในทะลุกระจกใส ดูสว่าง สะอาด น่ารัก น่านั่ง ค่ะ .. ลูกค้า ของที่ นี่ ก็ เ น้ น การบอกต่ อ ส่ ว นใหญ่ ก็ จะเป็ น กลุ ่ ม เพื่ อ นฝู ง คนสนิ ท ..ที่ ส ลั บ สับเปลี่ยน หมุนเวียนกันมาอุดหนุน แต่ เจ้ า ของร้ า นก็ น ่ า รั ก ขยั น คิ ด โปรโมชั่ น ตลอด พูดได้ว่ามีโปรกันแทบทุกเดือนค่ะ .. น้องเปิ้ลเล่าต่อว่าตอนท�ำร้านใหม่ๆ ก็ทิ้ง วัตถุดิบไปเยอะเหมือนกัน เพราะปรับปรุง แล้ว ไม่ได้ตามรสชาติตามที่ตัวเองต้องการ ท�ำแล้ว ท�ำใหม่ ท�ำอีก เรียกว่ากว่าจะผ่าน

มาได้มีแอบหมดแรงเหมือนกัน .. กว่าจะ มาถึ ง วั น นี้ ไ ด้ ก็ ผ ่ า นอุ ป สรรคมามากมาย เช่นกัน ..ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ก็คงถือเป็น ปกติของงผู้ประกอบการขนาดเล็ก ที่ต้อง เจอะเจอกันทุกคน จากการที่ได้ไปสัมผัส พบปะ และพู ด คุ ย กั บ เจ้ า ของธุ ร กิ จ ด้ า น ร้านอาหาร ในช่วงนี้ทุกร้านพูดเหมือนกัน ว่าช่วงนี้ลูกค้าน้อยเศรษฐกิจไม่ค่อยดี .. ดังนั้นการท�ำคอลัมน์นี้ก็เหมือนกับได้ช่วย

กันส่งก�ำลังใจให้กับผู้ประกอบการมีก�ำลัง ใจเพื่อที่จะต่อสู้ และอยู่ให้ได้อย่างมั่นคง .. คิดว่าเป็นอีกหนึ่งก�ำลังใจดีดี ที่เราสามารถ จะมีและแบ่งปันกันได้นะคะ เมนูอาหารขึ้นชื่อของร้านนี้ก็มีหลาย รายการเด็ดเช่นกันค่ะ ส�ำหรับผู้ชื่นชอบ เนื้อ สั่งได้เลยกับเมนูเนื้อตากหมอก เนื้อ รสนุ่ม ละมุนลิ้นสั่งตรงมาจากอยุธยา มี ที่ นี่ ที่ เ ดี ย วค่ ะ อาหารจานเดี ย วส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ โ ภคยุ ค ใหม่ ที่ ต ้ อ งการความรวดเร็ ว และราคาไม่แพง ก็มีให้เลือกมากมาย .. อาทิ ไส้กรอกรมควัน, ส้มต�ำสเต็ก, พอร์คช็อพ, สเต็กไก่บาร์บีคิว, ขนมปังเนยนม,

ขนมปังสังขยาใบเตย และเครื่องดื่มรสเด็ด พั้นช์มั่ว ซึ่งเป็นเครื่องดื่มขายดีประจ�ำร้าน .. แวะมาชิมนะคะ ถ้ามีโอกาส / ร้านพันทิ สเต็ก เปิดบริการทุกวัน เวลา ๑๖.๓๐ ถึง ๒๑.๐๐ น. (ปิดทุกวันจันทร์) ส�ำรองที่นั่ง ได้ค่ะที่ โทร. ๐๘๑-๕๓๕-๓๙๑๒ บ๊ายบายสายฝน แล้วเรามาเจอะเจอ กันใหม่กับร้านดังในหัวใจนักชิม โอ ลั่ลล้า ฉบับหน้าในเดือนธันวาคมนะคะ ..รับส่วนลด ๑๐% เช่นเดิมส�ำหรับ ผู้อ่านหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดค่ะ


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

บรรยากาศ การชุมนุม “นมพระ” ที่ เขามหาชัย

นครดอนพระ

<< ต่อจากหน้า ๒

แทนองค์พระพุทธเจ้าและเริ่มเห็นการตกแต่งที่ อาจจะเกินความเหมาะควร ควรได้มีการวางข้อ ก� ำ หนดตลอดจนการก� ำ กั บ หรื อ จั ด ท� ำ สาธิ ต แนะน�ำไว้ด้วย ๓) การสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การสร้ า งท� ำ บ�ำรุงรักษาและพัฒนา “เรือพระ” หรือ “พนม พระ” ทั้ ง แบบดั้ ง เดิ ม และแบบประยุ ก ต์ ดั ง ที่ บริษัทโตโยต้านครศรีธรรมราชท�ำถวายวัดพระ ลาน ซึ่งอาจจัดได้เป็น ๔ ประเภท แบบประเพณี ดั้งเดิม ๒ ประเภท คือเป็นรางเลื่อนไม้ และ ล้อ เลื่อนไม้ กับแบบประยุกต์ ๒ ประเภท คือ เป็น ล้อยาง และ เป็นรถยนต์ ๔) การสนั บ สนุ นส่งเสริม การลากพระ ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อประเพณีอันดีงาม ซึ่ง อาจมีได้ ๓ ประเภท คือ แบบประเพณีนิยม แบบรื่นเริงสนุกสนาน และ แบบประยุกต์สมัย ๕) การจัดศูนย์ชุมนุม “นมพระ” พร้อม

หน้า ๑๙

๓ ขบวนแห่ที่ย่านตลาดแขก

นานากิจกรรมการฉลองสมโภช ซึ่งอาจจัดเป็น ศู น ย์ ร วมใหญ่ ใ นเขตต่ า งๆ ทั่ ว ทั้ ง จั ง หวั ด และ จุดรวมย่อยตามชุมชนท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งหากได้ กรณีศึกษาต่างๆ ทั้งที่เคยท�ำมาแล้วที่โรงเรียน เบญจมราชู ทิ ศ ที่ อ� ำ เภอพระพรหม ที่ อ� ำ เภอ ปากพนัง ตลอดจนที่ก�ำลังริเริ่มใหม่ต่างๆ ๖) การจัดระบบระเบียบและอ�ำนวยความ สะดวกในการแห่ แ ละลากพระตลอดจนระบบ จราจรในช่วงเทศกาลลากพระซึ่งมีความจ�ำเป็น

การตกแต่งองค์พระ ลากลักษณะต่าง ๆ ที่อาจเกินเลย ควรพิจารณา ความเหมาะสม

อย่ า งยิ่ ง โดยเฉพาะ หากมี ก ารขยายตั ว ของการมีส่วนร่วมจัด ประเพณีลากพระและการเดินทางเข้าร่วมมากขึ้น ๗) การจัดการประกวดประชันในแง่มุม ต่างๆ ตามสมควร ซึ่งมีได้หลายประเด็นมิติ อาทิ การสาธิตประกวดพระลากเครื่องสูงและเครื่อง ทรงพระลาก เรือพระ ขบวนลากพระ การตีโพน คุมพระ ตลอดจนกิจกรรมการละเล่นและฉลอง สมโภชต่างๆ ๘) การจัดให้มีการรณรงค์ส่งเสริมและ เผยแผ่ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว มในระดับ

บรรยากาศ การชุมนุม “นมพระ” ที่ ในเมือง

ต่างๆ รวมทั้งการเดินทางเข้าร่วมซึ่งจากการ เข้าร่วมตลอดวันตามจุดต่างๆ และได้รับฟัง ข้อคิดความเห็นจากมิตรสหายที่ได้แวะไปลาน สกาและคีรีวง รวมทั้งปากพนัง ประกอบกับได้ ผ่านไปทางสุราษฎร์ธานีและเกาะสมุยที่ก�ำลัง มีงานทอดผ้าป่า ชักพระประเพณี เห็นว่าของ เมืองนครเรามีสีสันและเสน่ห์ไม่น้อย น่าที่จะ ยกระดับเป็นมหกรรมใหญ่ได้ทั่วทั้งจังหวัด โดย อาจเลือกใช้ประเด็น “ไหว้พระ ๕๐ วัด หรือ ๑๐๐ วัด ใน๑ วัน” ได้ไม่ยากเพราะหากแวะสัก ๒ จุดก็ได้กว่า ๕๐ วัดแล้ว ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๗


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.