นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 57 เดือนมิถุนายน 2559

Page 1

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๙

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

ภาพหลังบูรณะครั้งก่อน

ภาพปัจจุบัน

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพชรคง มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗

‘ศาลาประดู่หก’ กลางเมืองนครศรีธรรมราช ช�ำรุดโทรม อยู่ในสภาพ ‘ดูไม่ได้’ มานานนับปี สื่อมวลชนและสื่อสังคม ออนไลน์น�ำเสนอข่าวและวิพากษ์วิจารณ์ ว่าหน่วยงานรับ ผิดชอบทอดทิ้งไม่สนใจใยดี ทั้งๆ อยู่ใกล้จวนผู้ว่าราชการ จังหวัด และเป็นจุดเริ่มต้นขบวนพาเหรดงานประเพณีบุญ สารทเดือนสิบและงานแห่ผ้าขึ้นธาตุ

เมือ่ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ นายพี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด มอบหมายให้นายถาวรวัฒน์ คงแก้ว ปลัดจังหวัดนครศรีธรรมราช น�ำเจ้าหน้าที่ตรวจ สอบอาคารและพื้ น ที่ ร อบ ศาลาประดู่หก เพื่อปรับปรุง อาคารศาลาประดู่หกและภูมิทัศน์โดยรอบ

˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

มาซิเตาะห์ สือแม

นักศึกษา ว.เทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) คว้า รางวั ล พระราชทานระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจ�ำปีการ ศึ ก ษา ๒๕๕๘ ตั ว แทนสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ขนาดเล็ก ๑ เดียวของภาคใต้และเป็นคนที่ ๔ ของวิทยาลัยที่ได้รับรางวัลอันสูงเกียรตินี้

นั ก ศึ ก ษา ว.เทคโนโลยี ภ าคใต้ (SCT.) คว้ า รางวั ล พระราชทานระดั บ อุดมศึกษาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๘ ตัวแทน สถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็ก ๑ เดียวของ ภาคใต้และเป็นคนที่ ๔ ของวิทยาลัยที่ได้ รับรางวัลอันสูงเกียรตินี้ >> อ่านต่อหน้า ๙


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๒

(bunchar.com การพระศาสนา,เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)

ต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรี น ครนครศรี ธ รรมราชหรื อ นายกเทศมนตรีต�ำบลอะไรล้วนเป็นต�ำแหน่งทางการเมือง โดยผู้เป็นหัวหน้าทีมและคณะกรรมการร่วมกันคัดเลือก บุคคลที่มีความสามารถและประชาชนแต่ละเขตไว้ใจ แล้ว จัดทีมลงสมัครรับเลือกตั้งแข่งกับผู้สมัครทีมต่างๆ ทีมที่ ตัวแทนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล (สท.) มาก ที่สุดจะเป็นผู้จัดตั้งคณะเทศมนตรีบริหารเทศบาล โดย นายกเทศมนตรีเป็นผู้บริหารสูงสุดตามนโยบายที่แถลงต่อ สภา นี่คือหลักการที่ต้องตอกย�้ำอีกครั้งว่านายกเทศมนตรี และคณะผู้บริหารเทศบาลเป็นต�ำแหน่งทางการเมือง เข้ามา บริหารเทศบาลเพราะกติกาทางการเมือง ที ม การเมื อ งที่ ช นะการเลื อ กตั้ ง และได้ รั บ ความไว้ วางใจให้บริหารบ้านเมืองอ�ำนวยให้เกิดประโยชน์สุขแก่ ประชาชนจะต้องถูกตรวจสอบและติดตามแนวทางบริหาร โดยคู ่ แ ข่ ง ทางการเมื อ งและประชาชนตามหลั ก ประชาธิ ป ไตย เพราะการบริ ห ารราชการคื อ การน� ำ งบประมาณ ซึ่ ง เป็ น ภาษี ข องประชาชนมาจั ด สรรไปสร้ า งประโยชน์ แก่ประชาชน ตั้งแต่กิจการสาธารณูปโภค สุขภาพอนามัย การศึ ก ษา การกี ฬ า กิ จ กรรมด้ า นวั ฒ นธรรมและอื่ น ๆ การจั ด สรรงบประมาณต้ อ งเกิ ด ประโยชน์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง เป็นธรรมและโปร่งใสปราศจากทุจริต วิ ก ฤติ น�้ ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ บ ริ ห ารของเทศบาลนคร นครศรีธรรมราชเกิดขึ้นตลอดฤดูแล้งปี ๒๕๕๙ เป็นเวลา ๓ เดือน ประชาชนในชุมชนและหมู่บ้านต่างๆ ปรับตัว อดทน และอดกลั้นกับภาวะขาดแคลนน�้ ำใช้ เทศบาลพยายาม จัดหาน�้ำไปแจกจ่าย แต่ไม่สามารถตอบสนองได้เต็มตาม ความต้องการ เพราะไม่สามารถจัดหาน�้ำดิบและน�้ำท่าตาม คลองต่างๆ ที่แห้งเหือดเพราะฝนทิ้งช่วงนานกว่า ๓ เดือน วิ ก ฤติ น�้ ำ ที่ โ รงพยาบาลมหาราชนครศรี ธ รรมราช เป็นจุดเดือดและวิกฤติศรัทธาต่อผู้บริหารเทศบาลที่ชัดเจน ที่สุด โรงพยาบาลมหาราชเป็นสถาบันทางการแพทย์ขนาด ใหญ่ที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ป่วยทั้งระบบและญาติผู้แล เฝ้าไข้ การประกาศปิดตึกบางตึก การงดบริการล้างไตหรือ เลื่ อ นการผ่ า ตั ด หมายถึ ง ความเสี่ ย งต่ อ ชี วิ ต ทุ ก ฝ่ า ยที่ เกี่ยวข้องต้องจัดหาน�้ำมาป้อนโรงพยาบาล ขณะผู้บริหารโรง พยาบาลพยายามสร้างความมั่นคงโดยเจรจาต่อท่อตรงรับ น�้ ำ จากการประปาส่ ว นภู มิ ภ าคโดยไม่ ห วั ง พึ่ ง บริ ก ารของ เทศบาล นั่นคือความไม่ไว้วางใจ ขณะผู้บริหารเทศบาล กล่าวผ่านสื่อว่าวิกฤติขาดแคลนน�้ำที่เกิดกับเทศบาลเป็น เพราะการเมือง โยนความผิดให้ผู้อื่นอีกตามเคย

นวาระวิสาขบูชาที่ถือเป็นมหามงคลยิ่งของชาวพุทธ โดย เฉพาะชาวนครที่เมืองนครที่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองธรรม และ เมืองนครที่ถือว่าเป็นหนึ่งในฐานธรรมส�ำคัญที่พระพุทธศาสนา มาสถาปนา ณ แหลมทองแห่งนี้ และดูเหมือนว่าเมืองนครของ เราก็ก�ำลังยุ่งอย่างยิ่งกับสารพันปัญหา ไม่ว่าจะน�้ำประปาของ

ชาวเมื อ ง น�้ ำ ท่ า ฟ้ า ฝนของชาวสวนไร่ แ ละนา ป่ า ดง ยอดทองของเราทุกคนที่ถึงวันนี้ ยังไม่รู้ว่าจะอย่างไรกัน พงไพรบนเขาหลวง ตลอดจนป่ายางสร้างใหม่ที่ทางเข้า แน่ในหลากหลายแง่มุมและเรื่องราว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และอีกสารพัดที่ดูจะวิปริตผิด เมื่อก่อนหน้าวิสาขบูชาวันเดียว พวกเราชาวพุทธ แปลกไปแทบทุกหย่อมหญ้า แม้กระทั่งองค์พระบรมธาตุ กลุ ่ ม หนึ่ ง ที่ เ มื อ งนครได้ ร ่ ว มในโอกาสเปิ ด ห้ อ งปฏิ บั ติ ธรรมบนอาคารปฏิบัติธรรมพ่อท่านจุฬ วัดศรีทวี ที่พวก เราหลายฝ่ายเข้าไปร่วมและรับใช้ โดยมีคนเข้าร่วมกัน ล้นห้อง จากนั้นได้มีโอกาสร่วมคณะวัดบันดาลใจจาก อาศรมศิลป์ไปกราบท่านเจ้าคุณฯ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุ เพื่อกราบรายงานและหารือถึงการถวายงานการปรับปรุง อาณาบริเวณวัดพระธาตุต่อไปให้ร่มรื่นรมณีย์ โดยท่าน เจ้าคุณบอกว่าหนังสือ “ชวนไปปฏิบัติธรรมที่เมืองนคร” ที่ ททท.กับพวกเรา ช่วยกันเรียบเรียงจัดท�ำและพิมพ์ เผยแพร่นั้น ท�ำให้หลายคนแม้กระทั่งคนในที่ดูแลเรื่อง การพระพุ ท ธศาสนาแท้ ๆ ได้ รั บ รู ้ ว ่ า วั ด พระธาตุ น ครนี้ ท�ำอะไรต่อมิอะไรโดยเฉพาะการอบรมและฝึกสอนปฏิบัติ สมาธิภาวนามากมาย ทั้งนี้ หนังสืออีกเล่ม คือ “ตามรอย ธรรมที่เมืองนคร” ตลอดจนป้ายสื่อความที่ติดตั้งทั่ววัดนั้น ผมก็เชื่อว่ามีผลเชิงคุณภาพและเนื้อหาแง่มุมลึกๆ ของ วัดพระธาตุโดยเฉพาะ “ในธรรม” ไม่น้อยเช่นกัน ที่ส�ำคัญ ในวาระวิสาขบูชานี้ ท่านเจ้าคุณอาจารย์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) (อ่านต่อหน้า ๑๑)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

วั

นที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ พระบุญฤทธิ์ หงส์ประสาธน์ (๗๕ ปี พรรษา ๖๐) เชิญผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า เป็นประธานพิธีวางศิลาฤกษ์ต�ำหนักพระ มหาโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ซึ่ ง มู ล นิ ธิ ป ระชา ร่วมใจเป็นผูจ้ ดั ณ สถานทีก่ อ่ สร้าง ถนน เทิ ด พระเกี ย รติ อ.เมื อ ง จ.นครฯ มี ผู ้ ศรัทธาเข้าร่วมจ�ำนวนมาก นามบัตรของท่านระบุว่า พระบุญฤทธิ์ หงส์ประสาธน์ บธ.ป., รป.ม. ร.ม. พิมพ์ ๓ ภาษา ไทย อังกฤษ และจีน 'Thai Buddhist Monk Missionary' สังกัด วัดทองศาลางาม ถนนเพชรเกษม เขต ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ พระบุ ญ ฤทธิ์ เ ป็ น ลู ก ชาวสวน อ.ขนอม อุปสมบทเมื่อปี ๒๕๐๐ ณ วัด สุวรรณบรรพต อ.ขนอม แล้วมาอยู่วัด มุมป้อม ต.ในเมือง อ.เมือง จากนัน้ เข้ากรุง ไปเรียนปริยตั ธิ รรมอยูว่ ดั ทองศาลางาม ๒ พรรษา ปี ๒๕๐๓ ไปเรียนและประจ�ำอยู่ วัดนิโรธสังฆาราม อ.เมือง จ.ยะลา ปี ๒๕๐๔ กลับไปอยู่วัดทองศาลางาม เข้ า เรี ย นมั ธ ยมหลั ก สู ต รภาษา อังกฤษที่วัดพระเชตุพลวิมลมังคลาราม (วั ด โพธิ์ ) สมั ย สมเด็ จ พระวั น รั ต (ปุ ่ น ปุณณ ฺ -ศิร)ิ เป็นเจ้าอาวาส ปี ๒๕๐๖ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์แนะ น�ำให้ไปเรียนที่ Markintime High School ที่สิงคโปร์ ประจ�ำอยู่วัดอานันทเมตยาราม ซึ่งพระปกาสิตพุทธศาสธ์เป็นเจ้า อาวาสและได้ เ ป็ น ล่ า มให้ ส มเด็ จ พระ วันรัต (ปุ่น ปุณฺณศิริ) ตอนรับนิมนต์ไป ปฏิบตั ศิ าสนกิจทีส่ งิ คโปร์ "ท่านถามต่อไป ว่าจะท�ำอะไรต่อ ถ้ากลับกรุงเทพฯ ให้ไป หาท่านทีว่ ดั โพธิบ์ า้ ง" กลับจากสิงคโปร์ ปี ๒๕๐๙ ท่านไป กราบสมเด็จพระวันรัตที่วัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ปี ๒๕๑๐ เดินทางไป อยู่วัดจีนที่ฮ่องกงตามค�ำแนะของสมเด็จ พระวันรัต และเรียนระดับ ๖-๗ ทีซ่ นุ วาน อิงลิช ค็อลเล็จ และเริ่มท�ำงานเพื่อสังคม โดยสอนธรรมะและสนทนาธรรมกับชาว จีน ชาวอังกฤษ ออสเตรเลียและเยอรมัน

นอกจากอังกฤษท่านยังฝึกภาษาจีน (กวางตุง้ ) จนใช้การได้อกี ภาษา ต่อมาเดินทางไปศึกษาต่อระดับอุดม ศึกษาทีม่ หาวิทยาลัยมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ ท่านเลือกเรียนสาขาบริหารธุรกิจ "อาตมาไปอยู ่ วั ด เซ็ ง กวน ( Seng-Guan Buddhist Temple) เรียนไปด้วยเผยแพร่ ศาสนาไปด้ ว ย อาตมาจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ศึ ก ษา พุทธศาสนาและคริสต์ศาสนา (Buddhist & Christian Reading Center ) ใน มหาวิทยาลัยโดยการสนับสนุนของชาวจีน และชาวคริสต์ ขณะเดี ย วกั น ได้ ก ่ อ ตั้ ง ศู น ย์ ศึ ก ษา พุ ท ธศาสนาและคริ ส ตศาสนา โดยการ สนับสนุนจากอธิการบดีและคณบดีอย่าง น่าปลาบปลื้ม สมเด็จพระพุทธโกศาจารย์ วั ด สามพระยากั บ ศาสตราจารย์ สั ญ ญา

หน้า ๓ ธรรมศักดิ์ สนับสนุนหนังสือธรรมะฉบับ ภาษาอังกฤษเป็นจ�ำนวนมาก" ท่านใช้เวลา ๓ ปีกับ ๑ ภาคฤดูร้อน เรียนส�ำเร็จปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจ และถ่ายโอนหน่วยกิตบางวิชาเข้าศึกษาต่อ ระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ และปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ที่สถาบัน เดิมจนจบทัง้ ๒ สาขาโดยเขียนวิทยานิพนธ์ เป็นภาษาอังกฤษ ๒ หัวข้อ สาขารัฐศาสตร์ เรื่อง 'ค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวข้ อ งกั บ การเมื อ งอย่ า งไร' สาขารั ฐ ประศาสนศาสตร์ เรื่ อ ง 'การปกครองคณะ สงฆ์ไทย' แต่ละเรื่องหนากว่า ๒๐๐ หน้า กระดาษ อยูฟ่ ลิ ปิ ปินส์ ๕ ปีครึง่ ปี ๒๕๒๔ ขณะอยู่วัดทองศาลางาม ได้ ร ะดมเงิ น ทุ น ก่ อ สร้ า งเรื อ นพั ก คนไข้ พยาบาล สถานศึกษา การศาสนาและ สาธารณประโยชน์อื่นๆ ให้ทุนการศึกษา แก่นักเรียนนิสิต นักศึกษาที่ขาดแคลน ทุ น ทรั พ ย์ สงเคราะห์ ผู ้ ป ระสบภั ย และ ฌาปนกิจศพไร้ญาติหลังเกิดอุทกภัยครั้ง ใหญ่เมื่อเดือนพฤศจิกายนปี ๒๕๓๑ ที่ กะทูน "อาตมาเดินทางไปด้วย ขากลับ ขนอม อาตมากลับมาทางนาสารมีอุบัติเหตุ ร ถชนสองผั ว เมี ย นอนเจ็ บ ร้ อ งขอ ความช่ ว ยเหลื อ อยู ่ ข ้ า งถนน เรี ย กให้ รถยนต์ช่วยสาม-สี่คันไม่มีใครกล้าช่วย... ไม่กล้ารับเพราะกลัวเรื่องจะยุ่งต้องตอบ ข้อซักถามของต�ำรวจ กลัวว่าจะมีความ ผิดเสียเอง อาตมาให้คนขับหยุดรถเห็นคน เจ็บสองคน นึกในใจป่านนีล้ กู คงรอพ่อแม่ คนเป็นเมียหันไปมองผัว—หลวงลุงช่วย ผมด้วย-- เรื่องนี้จุดประกายให้เกิดแผนก ขนาด ๑๐ เตียงให้กับโรงพยาบาลอ�ำเภอ นีข้ นึ้ มา” ขนอม ปี ๒๕๒๕ ไปขอจดทะเบียนก่อตั้ง วั น ที่ ๔ สิ ง หาคม ๒๕๓๒ แผนก มูลนิธปิ ระชาร่วมใจบนทีด่ นิ ของครอบครัว บรรเทาสาธารณภัยเปิดช่วยเหลือคนเจ็บ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๖ ประกอบ อย่างเป็นทางการ ท่านว่าตอนแรกอาตมา พิ ธี ว างศิ ล าฤกษ์ อ าคารส� ำ นั ก งานถาวร จะไปตั้งส�ำนักงานที่วัดมุมป้อม แต่ท่าน ที่ ต.ท้ อ งเนี ย น อ.ขนอม การก่ อ สร้ า ง เจ้าคุณพระราชไพศาลสาธุกิจ เจ้าอาวาส แล้วเสร็จในปี ๒๕๓๐ วัดบูรณาราม ซึง่ เป็นพระกรรมวาจารย์ขอ ก่ อ นนั้ น ปี ๒๕๒๙ กรมราชฑั ณ ฑ์ ให้มาอยูท่ วี่ ดั บูรณารามจนถึงปัจจุบนั ฮ่องกง (ในปกครองของอังกฤษ) ได้คัด ปี ๒๕๔๗ มูลนิธิฯ ซื้อที่ดิน ๑๐ ไร่ เลือกให้เป็นวิทยากรพิเศษอบรมนักโทษ มูลค่า ๕.๒ ล้านบาท ริมถนนเทิดพระ ในเรือนจ�ำต่างๆ (The Prisoner Visiter) เกียรติเตรียมก่อสร้างส�ำนักงานถาวรของ และได้รับเกียรติเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ มูลนิธิฯ สถานปฏิบัติธรรมและศูนย์การ ของฮ่องกง ถือบัตรประชาชนของฮ่องกง เรียนรูข้ องเยาวชน พร้อมประดิษฐานพระ ปี ๒๕๓๒ เปิดมูลนิธิประชาร่วมใจ มหาโพธิสัตว์กวนอิมสัมฤทธิ์ หนัก ๑ ตัน แผนกบรรเทาสาธารณภัยเพื่อช่วยเหลือผู้ โดยปฏิมากรชาวจีน ชือ่ 'หลิว ต้า ไหว่' ประสบอุบตั ภิ ยั ในจังหวัดนครฯและจังหวัด กลับไปอ่านย่อหน้าแรกครับ ใกล้เคียง รวมถึงช่วยเหลือกิจการของโรง


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๔

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ช่

วงนี้ ค นนครคุ ย กั น สนั่ น เมื อ งเห็ น ที จ ะไม่ มี อ ะไร เกินเรื่องขาดแคลนน�้ำประปา ร้านสภากาแฟ แม่ค้า ในตลาด ร้านเสริมสวยหรือคนทั่วไป ปกติจะทักทาย เรื่องสบายดีไหม ? ลูกเข้าเรียนไหน ? กินข้าวหรือยัง ? เปลี่ยนมาเป็นที่บ้านน�้ำประปาไหลไหม ? อาบน�้ำหรือ ยัง ? อะไรท�ำนองนี้ แทนค�ำทักทายเก่าๆ กัน ใครไม่พูด เรื่องน�้ำประปาเลยก็จะกลายเป็นคนบ้านนอกไป เพราะ คนบ้ า นนอกเขาไม่ เ ดื อ ดร้ อ นเรื่ อ งน�้ ำ ประปา แม้ น�้ ำ ประปาบ้านนอกจะไม่ไหลก็เถอะ เมืองนครเอาเฉพาะในเขตเทศบาลนคร นับตั้งแต่ สี่แยกศาลามีชัยมาถึงท่าวังตลาดเย็น เราเริ่มมีน�้ำประปา ในยุคเทศบาลหมอไหว (นายไสว สวัสดิสาร) อยู่ในช่วง ประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๐ เศษๆ ผมจ�ำได้ว่ามีการฝังท่อ ประปากั น เป็ น ที่ อึ ก ทึ ก ครึ ก โครมมาก เป็ น นวั ต กรรม ใหม่ของบ้านเมืองสมัยนั้น เพราะผู้คนในท้องตลาดหรือ บ้านเรือนต่างๆ จะมีบ่อน�้ำประจ�ำบ้าน หรือไม่ก็บ่อน�้ำใช้ ร่วมกันข้างเคียงเป็นบ่อสาธารณะมาตักใส่โอ่งใส่ตุ่มเอา ไว้ ส่วนร้านค้าเช่าของชาวจีนหรือแม่ค้าแผงลอยรถเข็นก็ ต้องอาศัยซื้อน�้ำมาใช้กัน จึงเกิดมีอาชีพหาบน�้ำขายกัน ทั่ ว ไปโดยเฉพาะชาวจี น ปี ๊ บ หนึ่ ง ตกประมาณสองสลึ ง (ห้าสิบสตางค์) ชาวจีนที่มีทุนหน่อยก็สร้างรถเข็นบรรทุก ได้ครั้งละ ๖ ถึง ๘ ปี๊บ เป็นอาชีพที่ท�ำกันทุกวัน ช่วงฤดู ฝนรายได้จะลดลง เพราะร้านค้ารับน�้ำฝนจากหลังคามา เก็บเอาไว้ บ่อน�้ำที่คนขายน�้ำก็จะตักเอาในบ่อสาธารณะ หรือบ่อวัดต่างๆ ที่อยู่ใกล้แหล่งท�ำมาหากิน ลูกค้าซื้อน�้ำ

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙ เวลาเดินรวดเร็วเสียจริงๆ สังคม 'รั ก บ้ า นเกิ ด ' น� ำ เรื่ อ งราวข่ า วสั้ น ๆ มาบอกเล่ า เช่ น เดิ ม

อยู่แถบไหนก็ไปตักน�้ำจากบ่อแถบนั้นไปขาย ไม่มีใครบ่น หรือหวงว่าเป็นของมีค่าอย่างปัจจุบัน แถวๆ ท่าวังบ่อน�้ำ วัดท่ามอญ (วัดศรีทวี) จะมีพ่อค้าชาวจีนมาตักหาบไป ขายมากที่สุด ด้วยเหตุที่เป็นแหล่งการค้าชาวจีนแผงลอย มาก ทั้งน�้ำบ่อนี้ในวัดก็จืดสนิท เจ้ าอาวาสวัดนี้ท่านมี เมตตาอ�ำนวยความสะดวกเต็มที่ ตักกันตั้งแต่เช้ายันเย็น ช่วงใกล้ค�่ำชาวบ้านใกล้เคียงกับวัด ทั้งเด็กคนแก่ถึงแม้ บ้านตัวเองก็มีบ่อน�้ำก็ยังเลือกที่จะมาอาบร่วมกันที่บ่อ สาธารณะ ทั้งสนุกสนานได้พบปะพูดคุยกัน วิถีชีวิตของ คนยุคนั้น บ้านผมเป็นร้านค้า ขายโกปี๊อยู่ที่ตลาดท่าม้า ใน บ้ า นก็ มี บ ่ อ น�้ ำ อยู ่ แ ล้ ว แต่ คุ ณ พ่ อ ผมเป็ น คนทั น สมั ย หาซื้อท่อน�้ำมาเจาะลงไปลึกประมาณ ๑๐ เมตร ติดตั้ง คันโยก ก่อบ่อซีเมนต์รองรับน�้ำ ทุ่นแรงโดยไม่ต้องตัก น�้ำก็สะอาดดื่มได้โดยไม่ต้องมีเครื่องกรอง น�้ำบ่อเอาไว้ อาบเพียงอย่างเดียว ยุคสมัยนั้นยังไม่มีคนใช้ส้วมซึม บ่อเกรอะ ยังใช้ระบบถังเทโดยมีรถเจ๊กมาขนไปทิ้งใน ตอน ๖ ทุ่ม เรียกว่า 'รถหกทุ่ม' น�้ำใต้ดินจึงบริโภคได้ สนิทใจ น�้ำบ่อถูกลดความส�ำคัญลงนับตั้งแต่มีการขุดบ่อ เกรอะมากขึ้นและระบบประปาก็เข้ามาถึง สมัยผมเป็น เด็กยังจ�ำได้ถึงความมหัศจรรย์ที่พอเปิดก๊อกน�้ำมันก็จะ ไหลออกมาทันที ไม่ต้องตักไม่ต้องโยกให้เหนื่อย บ้าน หนึ่งก็มีก๊อกหนึ่งไว้ใช้งาน อีกก๊อกหนึ่งเอาไว้ใช้ในห้องน�้ำ มีโอ่งกักเก็บน�้ำเหมือนเดิม >> อ่านต่อหน้า ๑๑

เล็กและแออัดเกินไปเสียแล้ว...พล.อ.อ.อิทธิศักดิ์ นาคะวิ สุ ท ธิ์ อนุ ก รรมาธิ ก ารด้ า นการคมนาคมทางอากาศ สภานิติบัญญัติแห่งชาติและคณะร่วมหารือกับ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า เรื่ อ งพั ฒ นาท่ า อากาศยานนครศรี ธ รรมราช ที่ต้องเร่งปรับปรุงไว้รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและ การท่องเที่ยว โดยกรมท่าอากาศยานจัดสรรงบฯไว้ ๒๑๙ ล้านบาท เพื่อก่อสร้างที่จอดเครื่องบินเพิ่มจาก ๔ เป็น ๗ หลุม เพิ่มลานจอดรถยนต์อีก ๑๒๐ คันให้เสร็จในเดือนตุลาคมนี้ ปัจจุบันสนามบินนครฯ มีสายการบิน ๓ สายบิน บินไป-กลับ วั น ละ ๒๔ เที่ ย ว ปี ๒๕๕๘ มี ผู ้ โ ดยสารเดิ น ทางเข้ า ออก ๑,๒๓๔,๑๑๙ คน เพิ่มจากปี ๒๕๕๗ ซึ่งมี ๑,๑๑๕,๕๘๘ คน

รองนายกเทศมมตรีเมืองกุ้ยก่าง เขตปกครองตนเอง กวางสี และคณะจะเดินทางมาหารือทางการค้าที่เมืองนคร ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ มิถุนายน ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ประชุมผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายเตรียมข้อมูลการค้า การต้อนรับ เพราะใช้ โ อกาสให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เพราะผู ้ ม าเยื อ น ต้องการศึกษาภูมิประเทศ, ลู่ทางการค้าการลงทุน และการ ท่องเที่ยวโดยจะประชุมหารือร่วมกัน ข้อมูลน่าสนใจ...เขต ปกครองตนเองกวางสีมีประชากร ๕.๓๘ ล้านคน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ พระบุญฤทธิ์ หงส์ประสาธน์ ประธานกรรมการมูลนิธิประชาร่วมใจ ประกอบพิธี วางศิ ล าฤกษ์ ต� ำ หนั ก พระมหาโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมและศู น ย์ บ รรเทาสาธารณภั ย มู ล นิ ธิ ป ระชาร่ ว มใจ บริเวณถนนเทิดพระเกียรติ โดยเชิญ ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า และ จิมมี่ ชวาลา เป็นประธานร่วมกัน ก่อนหน้านี้ 'จิมมี่' เพิ่งบริจาคเงิน ๑ ล้านบาท สนับสนุนการท�ำงานของ มูลนิธิประชาร่วมใจ

หน้า ๕

รองผู ้ ว ่ า ฯ พงษ์ เ ทพ ไข่ มุ ก ด์ ประชุ ม ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศ โครงการส� ำ รวจออกแบบและศึ ก ษาผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA) ถนนและโครงสร้ า งต่ า งระดั บ ตั ด ผ่ า นทางรถไฟถนน เลียบทางรถไฟ ต.ไชยมนตรี และ ต.มะม่วงสองต้น อ.เมือง นครศรีธรรมราช มีผู้แทนส่วนราชการ, องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น, รัฐวิสาหกิจ, องค์กรภาคเอกชน ผู้น�ำชุมชน สื่อมวลชน และประชาชนเข้าร่วมรับฟังเพื่อรับทราบข้อมูลการด�ำเนินงาน และแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ผลกระทบอั น เกิ ด จากถนน ความยาว ๓ กิโลเมตร ปราณี คงจรูญ หน.สนง.ขนส่งจังหวัดนครฯ (อ.ทุ่งสง) แจ้งว่าจังหวัดนครฯ ร่วมกับ สนง.ขนส่งจังหวัดฯ จะจัดประมูล เลขทะเบียนรถส�ำหรับรถเก๋ง รถนั่งไม่เกินเจ็ดคนหรือรถปิคอัพ สี่ประตูหมวดอักษร กม (การเงินมั่งคั่ง การงานมั่นคง) ๓๐๑ เลขหมายวันที่ ๙- ๑๐ กรกฎาคมศกนี้ ณ โรงแรมทวินโลตัส สวัสดิ์ สมัครพงศ์ กกต. จังหวัดปลีกเวลาไปท�ำสวน เกษตรผสมผสาน ปีนี้ปลูกฟักทองอินทรีย์ได้ผลไม่พอจ�ำหน่าย ปีหน้าจะเลี้ยงกุ้งก้ามแดงในนาข้าวเพิ่งกลับจากดูงานที่จังหวัด สระแก้ว

รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ประชุมคณะอนุกรรมการ 'หนึ่ ง ต� ำ บล หนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ' ระดั บ จั ง หวั ด สวั ส ดิ์ มี แ ต้ ม พัฒนาการจังหวัดแจ้งว่าสินค้า OTOP ของ เมืองนครปี ๒๕๕๘ ท�ำเงิน ๑,๔๑๖ ล้านบาท ปี ๒๕๕๙ ยังไม่สิ้น แต่ท�ำเงินไปแล้ว ๑,๕๖๘ ล้านบาท ระหว่าง ๘-๑๔ พฤษภาคมคณะกรรมการ ระดับจังหวัดจัดงานคัดสรรสุดยอดสินค้า OTOP ที่ มรภ.นครฯ ณรงค์ ธีระกุล 'ดาร์กี้' เจ้าของ 'มีดีมีเดีย' บวชลูกชาย ได้สินค้า ๑๘๔ ผลิตภัณฑ์ คนเดียว ณัฏฐ์ ธีระกุล ที่วัดนิโครธาราม (บางเนียน) อ.ปากพนัง ละม้าย เสนขวัญแก้ว ผู้แทนเกษตรกรจังหวัด นครฯ และประธานแก้ปัญหา หนี้สินเกษตรกรบอกว่ากลาง เดือนนี้คณะกรรมการส�ำนัก งานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนา เกษตรกร (กฟก.) จะประชุม ใหญ่ที่ อ.ขนอม กระทรวงเกษตรฯเป็นกระทรวงใหญ่มีหลายหน่วยงาน และมีข้อมูลองค์กรมากมาย แต่ไม่สามารถสื่อให้สังคมรับรู้... สมโชค ณ นคร หน.กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สนง. เกษตรจังหวัดนครฯ เชิญ จนท.ปชส. ระดับจังหวัดและอ�ำเภอ ๓๓ คนมาประชุมพัฒนาศักยภาพ หวังว่าหลังจากนี​ี้จะมีข้อมูลที่ ถูกต้องออกสู่สังคมได้รวดเร็วและมากขึ้นกว่าเก่า Find Us On :

See Kuang BJ Diamond Gold

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

สมเกี ย รติ์ ศิ ริ วั ฒ น์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า กั ล ยาณี ศ รี ธ รรมราช (ก.ณ.) รุ่น ๒๕๑๔-๑๕ รณรงค์ชักชวนเพื่อนๆ ในไลน์กลุ่ม บริจาคสมทบทุนทอดผ้าป่า 'ลูกนางฟ้า' ต้นเดือนมิถุนาอย่าง แข็งขัน เชิญเที่ยวงานเคาบอย 'เปิดเมือง เชื่อมโลก' ครั้งที่ ๒ ณ ลานเอนกประสงค์ ถ.เทิดพระเกียรติ อ.เมือง จ.นครฯ ระหว่าง ๑๘-๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๙

Page เพชรทองซีกวง

คูขวาง ใกล้สี่แยก

ตลาดเสาร์-อาทิตย์

: Seekuang_central

ท่าม้า ข้างศาลากลาง

Seekuang BJ

ตลาดหัวอิฐ

ชั้น 2 เซ็นทรัลพลาซ่า

รองผู ้ ว ่ า ฯ ดนั ย เจี ย มวิ เ ศษสุ ข เป็ น ประธานเปิ ด โครงการประกวดแข่งขันสวนสนามผู้ต้องขังภายใน ตามค�ำ เชิญของ โสภณ ยิ้มปรีชา ผบ.เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช กิจกรรมนี้มีผู้ต้องขังแดน ๑-๖ และแดนหญิงเข้าแข่งขันกว่า ๘๐๐ คน ญาติๆ ผู้ต้องขังเข้าไปให้ก�ำลังใจ ๒,๕๐๐ คน ใน เดือนสิงหาคม เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราชจะเป็นเจ้าภาพ ในการประกวดแข่งขันสวนสนามผู้ต้องขังของเรือนจ�ำกลางทั้ง ๑๔ ภาคใต้ตอนบน

ในนาม 'มนุษยธรรม' ...ฮอนด้าศรีนคร ร่วมกับ เอ.พี. ฮอนด้า เชิญชวนผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เมืองคุมาโมโต้ ประเทศ ญี่ปุ่น และประเทศเอกวาดอร์ ได้เงินบริจาค ๔๐,๐๐๐ บาท 'โก จ้อง' ส่งมอบเรียบร้อยแล้ว ขอให้รถขายดียิ่งๆ ขึ้นไป

กระแสนิยมวัตถุมงคลจตุคามฯ กลับมาอีกครั้ง เพื่อน พ้ อ งน้ อ งพี่ จั ด สร้ า งเหรี ย ญรุ ่ น '๓๐ ปี ห ลั ก เมื อ ง ขวั ญ ถุ ง ' (เหรียญสแตมป์เล็กกับเหรียญข้าวหลามตัด) เหมาะส�ำหรับ สตรี แ ละเด็ ก ๆ เชิ ญ จองที่ 'เอ็ ม บวร' ภายในบวรบาร์ ซ าร์ โทร.๐๘๑-๒๗๒-๗๙๙๒ หรือ สมเกียรติ ประดู่ โทร.๐๘๑๙๕๖-๕๖๘๗

Line ID : @Seekuang

ถนนเนรมิต ท่าวัง

Line ID : boonada

ชั้น 1 ห้างโรบินสัน

JEWELS OF NAKHON SI THAMMARAT

099-195-6996

ชั้น 1 ห้างโรบินสัน


หน้า ๖

สั

งคมไทยก� ำ ลั ง ย่ า งก้ า วเข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ แ ละ ครอบครัวขยายเพิ่มมากขึ้น ลูกแยกตัวออกจากบ้าน ไปมีบ้านของตนเอง ครอบครัวใหญ่มีผู้สูงอายุ สุขภาพดี หรือป่วยนอนติดเตียง ครอบครัวใหม่เด็กอ่อนหรือเด็ก เล็กต้องการคนดูแลให้พ่อแม่ได้ออกไปท�ำงาน หรือน�ำไป ฝากโรงเรียนอนุบาล สถานอนุบาล ทิศทางของสังคมก้าว ย่างไปอย่างนี้ ดร.เครือมาศ เพชรชู อาจารย์วิทยาลัยการ พยาบาลบรมราชชนนีนครศรีธรรมราช จึงเปิดโรงเรียน

นครพัฒนาการบริบาลฝึกบุคลากรที่มีความรู้ด้านการดูแล เด็กและผู้สูงอายุที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณภาพสู่สังคม ที่มีผู้ต้องการ โรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้น ๖ เดือน รุ่นแรกเพิ่งเปิดสอนมีเด็กจบ ม. ๓ ม.๖ ปวช., ปวส. และ ปริญญาตรี อายุ ๑๗ ปีขึ้นไปมาสมัครเรียนร่วม ๓๐ คน ดร.เครือมาศ กล่าวกับ 'รักบ้านเกิด' ว่านักศึกษา ส่วนใหญ่เป็นชาวนครจากหลายๆ อ�ำเภอ จบปริญญาตรี ด้านการโรงแรมมาก็มี เป็นลูกเจ้าของเนอร์สเซอรี่มาเรียน หาความรู้ไปสืบทอดกิจกรรมของครอบครัวก็มี นักศึกษา บางคนเรี ย นจบการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น ทุ ก คนตั้ ง ใจ เรียนรู้ เพราะตระหนักดีว่าเป็นโอกาสพัฒนาตัวเองให้ มีงานที่มั่นคง ภายในห้องเรียนเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ มีเตียง และอุปกรณ์สอน การดูแลผู้สูงอายุ นับแต่หุ่นยางช่วยชีวิต นักศึกษาต้องฝึกปั๊มหน้าอกอย่างถูกต้องจากหุ่นราคาร่วม

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๐-๓๐ ปี เช่ น อ.มนั ส นั น ท์ มาสิ น ทพั น ธุ ์ , อ.สุ ว ณี ย ์ จอกทอง, อ.ณัฐวัฒิ ชยุติ, อ.เปรมยุดา นาครัตน์, อ.สุนิษา นาควารี, อ.รจนา ไชยศรี, อ.เทอดศักดิ์ ปาหินา, อ.ธวัช พรหมจันทร์, อ.จรรวมล แพ่งโยธา, อ.วรนิภา กรุงแก้ว, อ.สิงห์ กาญจนอารีย์, อ.ณัฐนันท์ ทัศนวิสุทธิ์, อ.พีรยา อิ น ทรนิ มิ ต ร, อ.เพชรลั ด ดา นพรั ต น์ และ อ.เกสรา นพรัตน์ ดร.เครื อ มาศ บอกว่ า นพ.อิ ส ระ หั ส ดิ น ทร์ กั บ นพ.พรชัย ลีลานิพนธ์ ผู้บริหารโรงพยาบาลนครพัฒน์ เข้ามาเยี่ยมโรงเรียนและมาดูแลการสอนบ่อยๆ เพราะ นั ก ศึ ก ษาที่ จ บจากโรงเรี ย นนครพั ฒ นาการบริ บ าลที่ จบหลักสูตรสามารถเป็นผู้ช่วยพยาบาลในโรงพยาบาล โดยตรง ซึ่งโรงพยาบาลใหญ่ๆ ของรัฐและเอกชน ตลอด จนสถานเลี้ยงเด็ก มีความต้องการอยู่เสมอ โรงเรี ย นนครพั ฒ นาการบริ บ าลเป็ น โอกาสของ ผู้ที่ต้องการมีวิชาชีพมั่นคง เพราะหลักสูตรวางไว้ชัดเจน ว่า ต้องสอนนักศึกษาให้เป็น...พนักงานช่วยเหลือคนไข้, ผู้ช่วยงานด้านพยาบาล, ผู้ช่วยแพทย์ในคลินิกทั่วไป, ผู้ ช่วยในห้องยาและหน่วยไตเทียม ผู้ช่วยแผนกรังสี, ผู้ช่วย แผนกผู้ป่วยนอก, ผู้ช่วยแผนกผู้ป่วยใน, ผู้ช่วยเหลือคนไข้ แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน, ผู้ช่วยแผนกทันตกรรม ผู้ช่วยห้อง กายภาพบ�ำบัด, ดูแลผู้สูงอายุตามบ้าน, ดูแลผู้ป่วยติด เตียง, ดูแลเด็กในโรงเรียน อนุบาล, ร้านสปา, ผู้ช่วย ร้ า นแพทย์ แ ผนไทย หรื อ สถานเลี้ยงเด็กอ่อน ดร.เครื อ มาศ เปิ ด เผยว่าโรงเรียนเปิดโอกาส ให้ นั ก ศึ ก ษาผ่ อ นช� ำ ระค่ า เล่าเรียนได้ตลอดหลักสูตร เพราะตระหนั ก ว่ า ผู ้ เ รี ย น ยังไม่มีอาชีพ บางคนต้อง อาศัยครอบครัว บางคนท�ำ งานรั บ จ้ า งก่ อ นหรื อ หลั ง มาโรงเรียน “โรงเรี ย นสอนตาม หลั ก สู ต รการดู แ ผู ้ สู ง อายุ และการดู แ ลเด็ ก เล็ ก ของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารนะ คะ แต่เราได้พัฒนาหลักสูตรโดยอาศัยประสบการณ์ที่ ดิฉันเป็นอาจารย์พยาบาล เราจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้ ผู ้ เ รี ย นเป็ น ผู ้ บ ริ บ าลที่ มี คุ ณ ภาพคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ตามต้ อ งการ เราส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เ รี ย นใช้ ภ าษาอั ง กฤษได้ เพราะถ้าใช้ภาษาอังกฤษได้ดีโอกาสท�ำงานในโรงพยาบาล ใหญ่ๆ ที่มีชาวต่างชาติเป็นผู้ป่วยหรือมาใช้บริการก็สูง ขึ้น ตอนนี้โรงเรียนเรามีนักศึกษาที่จบด้านการโรงแรมมา เรียน ๓ คน ซึ่งทุกคนถูกฝึกฝนให้มีใจบริการอยู่แล้ว เมื่อ มาเรียนหลักสูตรการบริบาลกับเราโอกาสของเขาก็มีมาก ขึ้น เพราะเขาได้ความรู้ที่เป็นวิชาเฉพาะเพิ่มเข้าไปอีก ที่ ส�ำคัญอย่างหนึ่งก็คือก่อนจบหลักสูตรนักศึกษาจะต้อง ผ่านการฝึกงานในสถานพยาบาลหรือสถานเลี้ยงเด็กจน เกิดความเชี่ยวชาญจึงจะเป็นบุคลากรที่มีความสามารถ จริง" ดร.เครือมาศ เพชรชู กล่าวอย่างเชื่อมั่น

แสนบาท ถังออกซิเจน เตียงให้ฝึกจับหรือพลิกร่างกายซึ่ง ต้องถูกวิธี รวมถึงอุปกรณ์รับประทานอาหาร “เดี๋ยวนี้ตามบ้านเรือนมีผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่คน เดียว ลูกต้องออกไปท�ำงานเลี้ยงชีพ ผู้สูงอายุที่ร่างกาย แข็งแรง สามารถดูแลตัวเองได้ไม่มีปัญหา แต่ผู้สูงอายุที่ ป่วยตอนติดเตียง หรือป่วยไข้ต้องการคนดูแล ครอบครัว จ�ำเป็นต้องใช้คนดูแลพิเศษ นอกจากเราให้ความรู้แก่ นั ก ศึ ก ษาแล้ ว เรายั ง พั ฒ นาให้ เ ขามี ทั ศ คติ ที่ ดี เป็ น คน ยิ้มแย้มแจ่มใส จิตใจดี มีความเมตตา บุคลิกดี และมีความ รับผิดชอบเป็นที่ไว้วางใจของผู้จ้างงาน" ในห้ อ งสะอาดโอ่ โ ถงอี ก ห้ อ งที่ อ ยู ่ ติ ด กั น เป็ น ห้ อ ง เรียนเกี่ยวกับบริบาลทารก มีอุปกรณ์ประกอบด้วยหุ่น ทารกหลายคน เพราะโรงเรี ย นปรารถนาให้ นั ก ศึ ก ษา สามารถปฏิบัติการได้จริง รู้จักวิธีอุ้มหรือดูแลเด็กๆ อย่าง ถูกต้องด้วยความรัก "นักศึกษาที่มาเรียนหลายคนมีลูก แล้ว เรียนแล้วสามารถดูแลลูกของตัวเองและน�ำความรู้ โรงเรียนนครพัฒนาการบริบาล ตั้งอยู่ที่ 22/45ไปดูแลเด็กอ่อน 45 ซอยข้างไทยสมบูรณ์ ถ.พัฒนาการคูขวาง อ.เมือง อาจารย์ ผู ้ ส อนเป็ น พยาบาลอาชี พ หรื อ บุ ค ลากร จ.นครศรี ธ รรมราช โทร.075-809789, 081ทางการแพทย์มีประสบการณ์ในโรงพยาบาลใหญ่ๆ มา 8916625


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๗

ปั

ญหาน�้ ำ ไม่ พ อใช้ ใ นเขตเทศบาล นครนครศรี ธ รรมราช นั บ เป็ น ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จนเป็ น วิ ก ฤติ น�้ ำ ขาดแคลนครั้ ง ใหญ่ ใ นรอบหลายๆ ปี ที่ ผ ่ า นมา เมื่ อ วั น ที ๑๙ พค.๕๙ ได้ มี ตัวแทนชาวบ้านที่เดือดร้อนเข้าร้องเรียน ต่อศูนย์ด�ำรงธรรม จ.นครศรีธรรมราช ให้ช่วยแก้ไขปัญหาน�้ำขาดแคลนในเขต เทศบาลที่ ผ ่ า นมาเป็ น เวลาเกื อ บเดื อ น สะท้อนให้เราได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ มี ค� ำ ถาม มากมายที่ผู้คนต่างช่วยกันคิด และมีข้อ สงสัยต่างๆ ที่ต้องการหาค�ำตอบ ในขณะ ที่เขตเมืองเติบโตอย่างต่อเนื่อง + การ ขยายตัวของชุมชนเมือง ความต้องการ น�้ำเพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ค�ำถามแรก การ เตรียมแหล่งน�้ำดิบเพื่อท�ำน�้ำประปาให้ กับชุมชนเมือง ค�ำถามต่อมา การเตรียม ตั ว รั บ สภาพที่ เ กิ ด ฝนแล้ ง นานจนแหล่ ง น�้ำดิบขาดน�้ำบวกกับความต้องการใช้น�้ำ ในพื้นที่ต้นน�้ำ-กลางน�้ำ เพื่อการเกษตร และอุ ป โภค-บริ โ ภคในครั ว เรื อ นเพิ่ ม ขึ้นตามล�ำดับ พูดให้เข้าใจง่ายก็คือ บน ภู เ ขาแหล่ ง ต้ น น�้ ำ มี น�้ ำ ลดลง-แต่ มี ผู ้ ใ ช้ น�้ำมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น ความไม่สมดุล ระหว่างการมีน�้ำไว้ใช้กับการใช้น�้ำ “น�้ำ มีน้อย-ใช้มาก-ไม่พอใช้” ท�ำอย่างไร? น�้ำสะอาดมีมาก-ใช้มาก-พอใช้”

เมื่อโจทย์คือ “น�้ำสะอาดมีมากจน พอใช้ไปอีก ๒๐–๓๐ ปี” มาที่การแทน ค่าเพื่อให้ได้ค�ำตอบนี้ ล�ำดับแรก ก็คือการ มี แ หล่ ง น�้ ำ ดิ บ จากล� ำ คลองที่ ไ หลมาจาก ภู เ ขากั บ การสร้ า งแหล่ ง น�้ ำ ดิ บ ส� ำ รองใน ปริมาณที่เท่าไร? ถึงจะสะอาดและพอใช้ แต่ความจริงในวันนี้.... แหล่งน�้ำดิบที่มีอยู่ เดิมเพียงพอหรือไม่? สะอาดหรือไม่? ใน ภาวะขาดแคลนเกิ ด ขึ้ น จากอะไร? และ ถ้ า ควบคุ ม ไม่ ไ ด้ แ ล้ ว เกิ ด ขึ้ น อี ก ต้ อ งท� ำ อย่างไร? ประเด็นใหญ่ที่ไม่อาจมองข้าม

ได้เมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน�้ำ สิ่งที่เกิดขึ้น ก็คือการช่วยเหลือตนเองของชุมชนเมือง คื อ การขุ ด เจาะน�้ ำ ใต้ ดิ น เพื่ อ น� ำ มาใช้ ก็ จะมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม มากขึ้ น ส่ ง ผลกระทบ ต่อระบบแหล่งน�้ำใต้ดินในอนาคตจะแก้ ปัญหานี้อย่างไร? กลั บ มาที่ โ จทย์ ห รื อ เป้ า หมายคื อ “มีน�้ำสะอาด-พอใช้” สิ่งต้องมาพิจารณา ก็ คื อ แล้ ว เราจะท� ำ อะไร? ท� ำ อย่ า งไร? ใช้ ง บประมาณเท่ า ไร? และจะลงมื อ ท� ำ เมื่อไร? เสร็จได้เมื่อไร?

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ วันเสาร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนหก(๖) ปีวอก วันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๙ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีวอก วันอาทิตย์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีวอก วันจันทร์ที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๙ แรม ๘ ค�่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีวอก

- การมี แ หล่ ง น�้ ำ ดิ บ ส� ำ รองขนาด ใหญ่ ที่ ร องรั บ การมี จ นพอใช้ หน้ า ตา เป็นอย่างไร? ภาพที่เราอยากเห็นและ มั่ น ใจได้ ว ่ า ถ้ า เรามี แ หล่ ง น�้ ำ ดิ บ ขนาด ใหญ่นี้ แล้วเราสบายใจได้ว่าจะมี “น�้ำ จนพอใช้” - การเลือกผู้บริหารจัดการน�้ำ เพื่อ ให้เรามีแหล่งน�้ำดิบที่มีอยู่ตามธรรมชาติ หรื อ สร้ า งขึ้ น มาใหม่ เพื่ อ จั ด สรรน�้ ำ ใน ระบบประปาสู่ชุมชนเมือง “สะอาดจน พอใช้” ในทุกฤดูกาล - การใช้เทคโนโลยีเพื่อการท� ำให้ “น�้ำสะอาดจนถึงระดับดื่มได้ในอนาคต” - ราคาน�้ำที่จ่ายไปถึงครัวเรือนและ เขตเศรษฐกิจของเมือง จะมีอยู่ในราคาที่ เหมาะสม - การมีแผนจัดการส�ำรองในกรณี เกิดวิกฤติแล้งนานจนท�ำให้ขาดแหล่งน�้ำ จากธรรมชาติ ในช่วงที่โครงการต่างๆ ยัง ไม่เสร็จสมบูรณ์รวมถึงเกิดภัยธรรมชาติ ที่ ค วบคุ ม ไม่ ไ ด้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ แหล่ ง น�้ำดิบที่มีอยู่ - การสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการใช้ น�้ ำ อย่ า งมี คุ ณ ภาพและประหยั ด ในภาค ประชาชนผู้ใช้บริการ การมองเห็นโอกาสบนปัญหาขาดแคลนน�้ำประปาในครั้งนี้จึงเป็นมุมมอง ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ที่ จ ะได้ เ ริ่ ม ออกแบบการ บริ ห ารจั ด การน�้ ำ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ตอบโจทย์ “มีน�้ำสะอาด พอใช้” นับได้ ว่ า เป็ น การวั ด ความเป็ น มื อ อาชี พ ของ ผู้บริหารท้องถิ่นและทางจังหวัดที่ไม่อาจ ปฎิเสธความรับผิดชอบนี้ไปได้ครับ.. ไพโรจน์ เพชรคง ๒๐-๐๕-๕๙


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

<< ต่อจากหน้า ๑

ให้สวยงาม เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละเป็นจุดนัดพบ จัดกิจกรรม ของเยาวชนต่อ โดยจังหวัดตั้งงบประมาณไว้ ๒๐ ล้าน บาท ต่อจากนี้ไป นายถาวรวัฒน์จะเชิญหน่วยงานรับผิด ชอบ ๓ หน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ผู้รับผิดชอบดูแลอาคารศาลาประดู่หกกับอาคารด้านหลัง องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.นครฯ) ผู้รับผิดชอบ ดูแลอาคารด้านหน้าติดริมถนนราชด�ำเนิน และที่ท�ำการ ปกครองจังหวัดผู้รับผิดชอบดูแลที่ดินราชพัสดุมาหารือ เพือ่ ก�ำหนดแนวทางปรับปรุง 'รักบ้านเกิด' ชวนพิจารณา 'ศาลาประดู่หก' โดย อาศั ย กรอบคิ ด จากหนั ง สื อ 'การอนุ รั ก ษ์ ชุ ม ชนเมื อ ง' (Urban Conservation) ของปรานอม ตั น สุ ช านั น ท์ ปริญญาเอกทางสถาปัตยกรรมและอดีตอาจารย์ระดับรอง ศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่ เพือ่ ประมวลเป็นองค์ความรู้แก่เยาวชนและผู้สนใจอนุรักษ์ ศาลาประดูห่ กซึง่ ตัง้ อยูใ่ นชุมชนเมือง หนังสือกล่าวว่าเมืองก็เหมือนคนคือไม่เคยหยุดนิ่ง และเติบโต ทั้งมีความสัมพันธ์กับคนและสะท้อนลักษณะ โดยรวมของคนที่ อ ยู ่ ใ นเมื อ งนั้ น "เมื อ งสะท้ อ นความ ต้องการและกิจกรรมของเรา เมืองสะท้อนสิ่งที่เราให้ คุณค่า ความใฝ่ฝันของเรา รวมทั้งความสับสนและความ ขัดแย้งของเราด้วย" หนังสือถามว่าท�ำไมจึงต้องอนุรักษ์เมืองและตอบว่า เมืองเป็นศูนย์รวมด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การค้ า เทคโนโลยี แ ละวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ประชากรของ เมืองจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ "การเก็บอนุรักษ์หรือรักษาเมือง และองค์ประกอบในเมืองโดยเฉพาะสถาปัตยกรรมที่มี ประวัติศาสตร์มายาวนาน ย่อมก่อให้เกิดคุณค่าด้านต่างๆ มากมายเหลือคณานับ ท�ำให้เกิดความมหัศจรรย์ใจเกี่ยว กับผูส้ ร้างอาคารหรือเจ้าของวัฒนธรรมนัน้ ๆ" หนังสือสรุปว่าคุณค่าของการอนุรักษ์แบ่งเป็น ๓ หมวดใหญ่ๆ ซึ่งผู้อ่านสามารถน�ำศาลาประดูหกมาจับกับ คุณค่าแต่ละข้อๆ ว่ามีมากน้อยเพียงใด ๑. คุณค่าทางจิตใจ (๑.๑) เกิดความมหัศจรรย์ใจ (wonder)

(๑.๒) มี อั ต ลั ก ษณ์ (Identity) หมายถึ ง ผลรวม ลักษณะของสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ทีท่ ำ� ให้สงิ่ นัน้ เป็นทีร่ จู้ กั หรือจ�ำได้ (๑.๓) มีความต่อเนือ่ ง (Continuty) (๑.๔) มีความหมายทางจิตวิญญาณและเป็นสัญลักษณ์ (Spiritual and Symbolic) วิเคราะห์ : เราคงไม่รู้สึกมหัศจรรย์ใจในรูปทรงทาง สถาปัตยกรรมของศาลาประดู่หกสมัยแรกสร้าง เพราะ ว่าไม่เคยเห็นรูปลักษณ์หรือหลักฐาน มีภาพถ่ายปี ๒๔๗๗ ซึ่งรูปทรงคล้ายศาลาปัจจุบัน เข้าใจว่าคงสร้างเลียนแบบ ของเก่า ท่านเจ้าคุณพระรัตนธัชมุนี (ม่วง สิริรัตน์) แต่ง บทกลอนไว้ตงั้ แต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ไว้ดงั นีว้ า่ “มีศาลาหน้านครินทร์ พื้นเป็นดินก่อด้วยอิฐ หลังคาปิดบังร้อน ทั้งได้ซ่อนฝน ศาลานี้มีเป็นหลัก ที่ส�ำนักประชาชน ผู้เดินหนได้หยุดอยู่ ทุกฤดูกาล มีประดู่อยู่หกต้น ซึ่งสูงพ้นแต่หลังคา รอบศาลากิ่งโตใหญ่ แผ่อยู่ไพศาล อยู่ในถิ่นประจิมถนน เป็นที่ชนได้ส�ำราญ แต่ก่อนกาลดึกด�ำบรรพ์ เป็นส�ำคัญกล่าว ชาวบ้านนอกออกส�ำเหนียก นิยมเรียกค�ำสั้นสั้น ชอบแกล้งกลั่นพูดห้วนห้วน ตัดส�ำนวนยาว เรียกว่าศาลาโดหก โดยหยิบยกวัตถุกล่าว เรียกกันฉาวทั่วทั้งบ้าน มีพยานไป นิยมวัตถุประจักษ์เห็น ตามกาลเป็นสมัยก่อน ใช่เติมทอนหันเห ไปทางเฉโก กระบิลเมืองเรียกกันอยู่ คือเรียกประดู่ว่าโด”

เรารู้ว่าเป็นศาลาตั้งอยู่ นอกประตูเมืองทางทิศเหนือ สภาพเป็นศาลาริมทางส�ำหรับ คนเดินทางหยุดพักหรือนอน ค้ า งแรมหลั ง ประตู เ มื อ งปิ ด ส่ ว นอั ต ลั ก ษณ์ ห รื อ ลั ก ษณะ เด่นเฉพาะตัวนอกจากต�ำนาน ขานเล่าสืบต่อกันมาก็ยังแบ่งเป็น ๒ ความเชื่อ คือเป็น ศาลาที่คนมานั่งพูดโกหกกับศาลาที่โดยรอบมีประดู่ ๖ ต้น ศาลาประดูหกถูกกล่าวถึงมาอย่างต่อเนื่องและได้ รับการบูรณะ ส่วนจะมีความหมายทางจิตวิญญาณหรือ สัญลักษณ์ของอะไรยังหาค�ำอธิบายทีช่ ดั เจนไม่ได้ ๒.คุณค่าทางวัฒนธรรม (๒.๑) เป็นหลักฐาน (Documentary) (๒.๒) เป็นประวัตศิ าสตร์ (Historic) (๒.๓) เป็นแหล่งโบราณคดี (Archaeological) (๒.๔) เป็นภูมทิ ศั น์เมือง ภูมสิ ถาปัตยกรรมและระบบ นิเวศ (Townscape, Landscape and Ecological) (๒.๕) เป็นเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ (Technological and Scientific) วิ เ คราะห์ : ศาลาประดู ่ ห กเป็ น หลั ก ฐานและ ประวัติศาสตร์เมืองนครศรีธรรมราชเป็นอาณาจักร เป็น แหล่งโบราณคดีในพื้นที่ที่ตั้งอยู่และเชื่อมโยงกับแหล่ง ใกล้เคียง เป็นภูมิทัศน์เมือง ถ้าออกแบบสภาพแวดล้อม ให้งดงามจะกลายเป็นภูมิสถาปัตยกรรมและระบบนิเวศที่ สามารถนฤมิตขึน้ มาได้ดว้ ยมือคน ๓.คุณค่าทางการใช้ (๓.๑) มีประโยชน์ใช้สอย (Functional) (๓.๒) มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ (Economic) (๓.๓) มีคณ ุ ค่าทางสังคม (Social) (๓.๔) มีคณ ุ ค่าทางการศึกษา (Educational) (๓.๕) มีคณ ุ ค่าทางการเมืองและระบบคุณธรรม (Political and Ethic) วิเคราะห์ : ศาลาประดู่หกในอดีตเป็นสถานที่นั่ง พักพูดคุย เป็นที่นอนค้างของคนเข้าเมืองไม่ได้ ปัจจุบัน อาจเป็นที่นอนของคนไร้บ้าน เป็นสถานที่นั่งเล่นหรือ นัดพบ เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว และศึกษาเรือ่ งราวทางคติชน เกี่ยวเมืองนคร รวมทั้งเป็นจุดเริ่มขบวนพาเหรดงานเทศ กาลส�ำคัญๆ อาทิ ขบวนแห่ผา้ พระขึน้ ธาตุในวันวิสาขบูชา และขบวนแห่หมฺรับในเทศกาลเดือนสิบ ศาลาประดู่หก ที่ช�ำรุดทรุดโทรมสะท้อนคุณค่าทางการเมืองในด้านกลับ คือ องค์กรผู้รับผิดชอบที่มาจากการเลือกตั้งมองไม่เห็น ความส�ำคัญ และเป็นตัวบ่งชี้จริยธรรมของนักการเมืองไป พร้อมกัน ปัจจุบนั บริเวณศาลาประดูห่ กกลายเป็นตลาดขนาด ย่อม เป็นจุดจอดยวดยานพาหนะ การปรับปรุงหรือพัฒนา ผู้รับผิดชอบต้องมองเห็นคุณค่าด้านต่างๆ อย่างลึกซึ้ง องค์กรผูร้ ับผิดชอบทัง้ ๓ ต้องเต็มใจให้ความร่วมมือ และ ถ้าต้องการสร้างภูมทิ ศั น์เมือง ภูมสิ ถาปัตยกรรมและระบบ นิเวศจะต้องขอความร่วมมือจากประชาชนที่เข้าไปใช้ ประโยชน์ภายบริเวณนั้นด้วยความเป็นมิตร การอนุรักษ์ ชุมชนเมืองจึงมีคณ ุ ค่ารอบด้านอย่างยัง่ ยืน


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๙

รายงาน

เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ นายนันทวุฒิ วงศ์เมฆ หัวหน้าสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ รักษา การหั ว หน้ า ส� ำ นั ก งานกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT.) อ.ทุ่งสง จ.นครศรี ธ รรมราช เปิ ด เผยว่ า ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๘ นางสาวมาซิเตาะห์ สือแม นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาขาวิ ช าสาธารณสุ ข ศาสตร์ ชั้ น ปี ที่ ๔ ได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากคณะกรรมการรางวั ล พระราชทานระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจากพระบาทพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก�ำหนดเข้ารับพระราชทานรางวัล จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในเดือนกันยายน ๒๕๕๙ นางสาวมาซีเตาะห์ สือแม เป็นบุตรสาวของนาย บื อ ราเฮง สื อ แม กั บ นางคอลี เ ลาะ จู อาชี พ ท� ำ สวน ยางพาราและท�ำนา บ้านอยู่ ต.มาโมง อ.สุคิริน จ.นราธิวาส ครอบครัวอยู่ในชุมชนมุสลิม แต่เข้าเรียนระดับ ประถมที่ โ รงเรี ย นนิ ค มพั ฒ นา ๑๐ ตั้ ง อยู ่ ใ นชุ ม ชน ไทยพุทธ ส่วนใหญ่เป็นชาวอีสานย้ายถิ่นซึ่งยังสืบสาน ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟและแห่นางแมว "อยู่ในโรงเรียนแบบนี้มีเพื่อนๆ ต�ำบลใกล้เคียง มาเรียนเยอะทั้งพุทธและอิสลาม ตอนเรียนเราสนุกไม่ ได้คิดว่าเราศาสนาต่างกัน เราอยู่ได้ ไม่เคยรู้สึกว่าเขา เป็ น คนอื่ น ๆ กิ จ กรรมก็ ท� ำ ร่ ว มกั น มาตลอดกั บ เพื่ อ น ที่นับถือศาสนาพุทธ กิจกรรมของโรงเรียนที่เป็นของ ศาสนาอิสลามก็มี พอมีกิจกรรมของศาสนาพุทธถึงแม้ เราไม่สามารถเข้าร่วม แต่เราก็ได้ศกึ ษา" นักศึกษารางวัล พระราชทานบอกเล่าประสบการณ์ นางสาวมาซี เ ตาะห์ จ บมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๖ จาก โรงเรียนรอมาเนีย (มูลนิธิ) ซึ่งเป็นโรงเรียนปอเนาะ ต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส ได้เรียนภาษาอาหรับ วิชาเกีย่ ว กับมารยาทและคัมภีร์ศาสนา เรียนจบยื่นคะแนนโดย เลือกคณะครุศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์สถาบันอุดมศึกษา หลายแห่งที่เปิดสอนวิชาเอกภาษาอังกฤษส�ำหรับคนที่ จบแล้วสามารถเป็นครูสอนภาษาอังกฤษ แต่ผลการยื่น คะแนนเธอไม่ติดคณะใดๆ ช่วงนั้นอาจารย์จากวิทยาลัย เทคโนโลยีไปแนะแนว เธอตัดสินใจเรียนวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ทางครอบครั ว ก็ ส นั บ สนุ น เพราะวิ ช าความรู ้ เรื่องสุขภาพอนามัยสามารถน�ำมาใช้ที่บ้านเพราะโรค

บางอย่างสามารถรักษาได้โดยไม่จ�ำเป็นต้องซื้อยาหรือไป หาหมอ นางสาวมาซี เ ตาะห์ เ ดิ น ทางมาสอบข้ อ เขี ย นและ สอบสัมภาษณ์ที่ทุ่งสง เมื่อสอบผ่านได้เรียนสมปรารถนา แต่ต้องปรับตัวกับสถานที่ใหม่ และคิดถึงบ้านจนร้องไห้ "เมื่อก่อนเราจะไปสถานที่หนึ่ง เราจะถามพ่อกับแม่ตลอด ว่าไปได้ไหม เราควรไปหรือเปล่า---อะไรบ้างเราไปได้หรือ ไม่ได้--- แต่มนั ก็อยูท่ เี่ จตนาของเราด้วย เช่นวัดบางคนอาจ จะมองว่าอิสลามเข้าไปไม่ได้ แต่วา่ เจตนาของเราๆ ไปเพือ่ ศึกษา เพือ่ บ�ำเพ็ญประโยชน์เราก็ไปได้" นางสาวมาซีเตาะห์เป็นคนร่าเริง เป็นมิตร และชอบ ท�ำกิจกรรมตัง้ แต่เรียนชัน้ ปีที่ ๑ จนถึงปีที่ ๔ มีทกั ษะของ ผู้น�ำและนักแก้ปัญหา ได้รับเลือกจากอาจารย์และเพื่อน ให้เป็นผู้น�ำและผู้รับผิดชอบกิจกรรมด้านสุขภาพสร้าง ประโยชน์แก่สงั คมประมาณ ๒๐ โครงการ อาทิ โครงการ ต่อต้านเอดส์ในสถานศึกษา โครงการจิตอาสาอย่างโครงการช่วยเหลือผู้ป่วยเอดส์ในชุมชนเขตเทศบาลทุ่งสงซึ่ง สนับสนุนโดยมูลนิธิเอสซีจี (SCG.) โครงการรวมพลังจิต อาสาของการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต ฯ (กฟผ.) และเป็ น ผู ้ รั บ ผิดชอบค่ายอาสาพัฒนาซึ่งมีนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศมาร่วมที่โรงเรียนบ้านควนเกาะจันทร์ อ.เหนือคลอง อ.กระบี่ เมือ่ ปี ๒๕๕๘ โดยชักชวนชาวบ้าน รอบสถานศึกษาให้รับชาวค่ายเป็นลูกเป็นเวลา ๗ วัน ซึ่ง นักศึกษาถือว่าครอบครัวที่ตนไปอาบน�้ำไปเยี่ยมเป็นพ่อ แม่จนสามารถแก้ปัญหาที่อาบน�้ำไม่เพียงพอและสร้าง ความผูกพันให้เกิดขึน้ "เมื่อเราสนุกที่จะท�ำกิจกรรมแล้ว พอถึงเวลาเราก็ ต้องอ่านและติวกับเพื่อน เราก็ต้องให้เวลาอ่านหนังสือ เต็มที่ ดิฉันท�ำกิจกรรมตั้งแต่ปี ๑ ในฐานะผู้เข้าร่วมก่อน ตอนแรกๆ ท�ำกิจกรรมในวิทยาลัย รับน้อง สานสัมพันธ์ สันทนาการ ต่อมาก็ท�ำค่ายและโครงการที่ใหญ่ขึ้นอย่าง โครงการสานสัมพันธ์ที่กระบี่ซึ่งจัดประชุมค่ายทั่วประเทศ เราได้รบั เลือกให้เป็นค่ายดีเด่น มีนกั ศึกษาจากทัว่ ประเทศ มาร่วม ๑๐๐ กว่าคน เราก่อสร้างก�ำแพงโรงเรียน ท�ำสวน สมุนไพร การปรับปรุงโต๊ะเรียน" นางสาวมาซีเตาะห์บอก เล่าประสบการณ์ นายนันทวุฒิ วงศ์เมฆ เปิดเผยว่าวิทยาลัยสนับสนุน ให้นักศึกษาท�ำกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก ทั้งมองหา นักศึกษาที่มีความสามารถ มีความเป็นผู้น�ำ มีความรับผิด ชอบ มีทักษะในการบริหารจัดการและจิตอาสา และคัด เลือกให้รบั ผิดชอบโครงการส�ำคัญๆ นับตัง้ แต่ ปี ๒๕๕๔ นักศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยี ภาคใต้ ไ ด้ รั บ รางวั ล พระราชทานจากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั จ�ำนวน ๔ คน "วิทยาลัยเข้าใจทุนมากขึ้น เข้าใจเกณฑ์การคัดเลือก นักศึกษามากขึ้น เราอาจมีประสบการณ์มากขึ้น แต่เด็ก เองก็ต้องเก่งจริง ถ้าเด็กไม่เก่งจริงตามเกณฑ์ก็ไม่ผ่านการ พิจารณาของคณะกรรมการ ช่วงหลังๆ วิทยาลัยมองดูเด็ก ที่มีหน่วยก้านดี แล้วส่งเสริมสนับสนุนการท�ำกิจกรรมใน สถาบัน และสนับสนุนให้เขาไปท�ำกิจกรรมภายนอก ซึ่ง

นายนันทวุฒิ วงศ์เมฆ

ต้องขาดเรียนหลายวัน อย่างค่าย กฟผ. ไปครัง้ หนึง่ ราวๆ สัปดาห์ เราต้องคุยกับอาจารย์ผู้สอน หรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ถ้ามีการสอบย่อยก็อย่างเพิ่งตัดคะแนน ขอให้ ให้โอกาสเด็ก หรือสอนชดเชย เปิดช่องทางให้เด็กได้ท�ำ กิจกรรมอย่างไม่กงั วล ท�ำได้เต็มที่ เป็นประสบการณ์ของ วิทยาลัย แบบนี้ท�ำให้เด็กใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ ใครมี ความสามารถจริงก็จะฉายแววหรือเปล่งประกายออกมา" นายนันทวุฒิ วงศ์เมฆ แจกแจงรายละเอียด “อย่างมาซีเตาะห์ นอกจากเรียนดี ได้เกรดเฉลี่ย ๓.๖๒ เขายังมีทักษะในการบริหารจัดการงาน มีภาวะ ผู้น�ำ ชี้ชวนคนอื่น บริหารเวลาของตัวเองและเวลาของ เพื่อนๆ สุขภาพอนามัยของผู้หญิง ไม่เกี่ยวข้องกับยา เสพติด การออกก�ำลังกายหรือสุขภาพจิต ความประพฤติ ดี คุณธรรมจริยธรรม การอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี การพูด การใช้ภาษาไทย เป็นนักกีฬาเปตอง ตัวแทนของวิทยาลัย แสดงลิเกฮูลูได้ เขาสนุกกับทุก เรือ่ ง...สิง่ ทีช่ ขี้ าดคือการท�ำประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ผลงาน ต้ อ งเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ส่ ว นรวม ลั ก ษณะกิ จ กรรมที่ เขาท�ำกับชุมชนมันก็เป็นประโยชน์ เขาใช้ความรู้ด้าน สาธารณสุขศาสตร์ได้อย่างสอดคล้องกัน เรื่องความ ดีงามช่วยให้งานที่ท�ำเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เป็น ประโยชน์ กิจกรรมเขาโดดเด่นในเรื่องจิตสาธารณะซึ่ง เป็นเรื่องของเกณฑ์คัดเลือกนักศึกษาให้ได้รับรางวัลที่ น่าภาคภูมใิ จนี"้ นักศึกษาจาก ๔ ภูมิภาคจะเข้ารับพระราชทาน รางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารีประมาณเดือนกันยายน ๒๕๕๙ แต่ละภูมิภาคจะ แบ่งเป็นขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก ใหญ่อย่างละ ๒ คน กลาง ๒ คน เล็ก ๑ คน นางสาวมาซีเตาะห์ สือแม ได้รบั รางวัลในฐานะนักศึกษาสถาบันขนาดเล็กเพียง ๑ เดียว ของภาคใต้ นางสาวมาซีเตาะห์ กล่าวว่าเป็นรางวัลที่เธอและ ครอบครัวภาคภูมิใจมาก ครอบครัวต้องการให้กลับไป ท�ำงานทีจ่ งั หวัดนราธิวาสบ้านเกิด


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๐

กวัฏฏะ ! เรื่องเคยมีมาแล้ว : ภิกษุรูปหนึ่งในหมู่ภิกษุ นี้เอง เกิดความสงสัยขึ้นในใจว่า “มหาภูตสี่ คือ ดิน น�้ำ ไฟ ลม เหล่านี้ ย่อมดับสนิท ไม่มีเศษเหลือในที่ไหน หนอ” ดังนี้. (ความว่ า ภิ ก ษุ รู ป นั้ น ได้ เ ข้ า สมาธิ อั น อาจน� ำ ไปสู ่ เทวโลก ได้น�ำเอาปัญหาข้อที่ตนสงสัยนั้นไปเที่ยวถาม เทวดาพวกจาตุมหาราชิก, เมื่อไม่มีใครตอบได้ ก็เลยไป ถามเทวดาในชั้นดาวดึงส์, เทวดาชั้นนั้นโยนให้ไปถาม ท้าวสักกะ, ท้าวสุยามะ, ท้าวสันตุสิตะ, ท้าวสุนิมมิตะ, ท้าวปรนิมมิตวสวัตตี, ถามเทพ พวกพรหมกายิกา กระทั่ง ท้าวมหาพรหมในที่สุด, ท้าวมหาพรหมพยายามหลีกเลี่ยง เบี่ยงบ่ายที่จะไม่ตอบอยู่พักหนึ่ง แล้วในที่สุดได้สารภาพ ว่าพวกเทวดาทั้งหลาย พากันคิดว่าท้าวมหาพรหมเอง เป็นผู้รู้เห็นไปทุกสิ่งทุกอย่าง แต่ที่จริงไม่รู้ ในปัญหาที่ว่า มหาภูตรูปจักดับไปในที่ไหนนั้นเลย มันเป็นความผิดของ ภิกษุนั้นเอง ที่ไม่ไปทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า ในที่สุดก็ ต้องย้อนกลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า) เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้นได้กลับมาอภิวาทเรา นั่ง ณ ที่ ควร แล้วถามเราว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มหาภูตสี่

คือ ดิน น�้ำ ไฟ ลม เหล่านี้ ย่อมดับสนิทไม่มีเศษเหลือ ใน ที่ไหน?” ดังนี้. เกวัฏฏะ ! เมื่อเธอถามขึ้นอย่างนี้ เราได้กล่าวกะ ภิกษุนั้นว่า แน่ะภิกษุ ! เรื่องเก่าแก่มีอยู่ว่า พวกค้าทาง ทะเล ได้พานกส�ำหรับค้นหาฝั่งไปกับเรือค้าด้วย เมื่อ เรือหลงทิศในทะเล และแลไม่เห็นฝั่ง พวกเขาปล่อยนก ส�ำหรับค้นหาฝั่งนั้นไป นกนั้นบินไปทางทิศตะวันออก

ดือนนี้ผมก็หยิบเอาเรื่องในสมุดบันทึก การท่องเที่ยวออกมาเขียนอีกเรื่อง คือ เรื่อง 'สโตนเฮนจ์' (Stonehenge) สิ่ง มหัศจรรย์หนึ่งในเจ็ดของโลก แต่ไม่แน่ใจ ว่ า ได้ เ ป็ น มรดกโลกหรื อ ไม่ หรื อ เขาจั ด ให้เป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก จนยูเนสโก้ ไม่กล้าจดทะเบียนให้เป็นมรดกโลกหรือ เปล่าก็ไม่ทราบ สโตนเฮนจ์ เป็นก้อนหินที่ผ่านการ แกะสลักอย่างหยาบๆขนาดมหึมา วาง เรี ย งกั น เป็ น วงกลมสามวง อยู ่ ก ลางทุ ่ ง ราบซอลิเบอรี่ (Salisbury Plain) ในตอน ใต้ของประเทศอังกฤษ ใกล้ๆ กับแคว้น เวลส์ในปัจจุบัน มีอายุเก่าแก่กว่า ๕,๐๐๐ ปี สันนิษฐานว่าสร้างติดต่อกันมาหลายยุค สมัยสืบต่อกันมาร่วมๆ ๑,๕๐๐ ปี เพราะ ก้ อ นหิ น ที่ ถู ก วางเรี ย งในแต่ ล ะชั้ น อายุ แตกต่างกัน และยังหาข้อมูลไม่พบว่าใคร เป็นผู้สร้าง เริ่มสร้างตั้งแต่เมื่อไร สร้างขึ้น เพื่ออะไร สโตนเฮนจ์ ที่วางเรียงอยู่บนพื้นดิน ที่เห็นอยู่มี ๑๑๒ ก้อน วางเป็นวงกลม สามชั้น วางในลักษณะตั้งตรงเหมือนเสา วางซ้ อ นพาดข้ า งบนเหมื อ นคาน มี ก าร

travel.mthai.com

สกั ด ให้ มี บ ่ า วางไว้ ข ้ า งบนได้ อ ย่ า งมั่ น คง นักโบราณคดีส�ำรวจหินเหล่านี้แล้วว่าไม่ พบในทุ่งแห่งนี้ ถูกเคลื่อนย้ายมาจากทุ่ง มาบอบโล ซึ่งห่างไกลไปถึง ๔๐ กิโลเมตร และมีหินสีเขียวอีกชนิดหนึ่งเรียก 'Blue stone' ซึ่งเป็นแหล่งหินนั้นมีอยู่ในเวลส์ ห่ า งจากที่ อ ยู ่ ส โตนเฮนจ์ ถึ ง ๑๐๐ กว่ า กิโลเมตร นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า คง มี ก ารขนขึ้ น แพแล้ ว ล่ อ งตาม 'แม่ น�้ ำ เอ วอน' ซึ่งอยู่ใกล้กับทุ่งที่ตั้งสโตนเฮนจ์ ส่วน การเคลื่อนย้ายและยกมาตั้งอย่างไรไกด์ น�ำชมแต่ละคนก็เล่าต่างๆ กัน จะเล่าเป็น

บ้าง ทิศใต้บ้าง ทิศตะวันตกบ้าง ทิ ศ เหนื อ บ้ า ง ทิ ศ เบื้ อ งบนบ้ า ง ทิ ศ น้ อ ยๆ บ้ า ง เมื่ อ มั น เห็ น ฝั ่ ง ทางทิศใดแล้ว มันก็จะบินตรงไป ยังทิศนั้น, แต่ถ้าไม่เห็น ก็จักบิน กลับมาสู่เรือตามเดิม. ภิกษุ ! เช่นเดียวกับเธอนั้น แหละ ได้เที่ยวหาค�ำตอบของปัญหานี้ มาจนจบทั่วกระทั่ง ถึงพรหมโลกแล้ว ในที่สุดก็ยังต้องย้อนมาหาเราอีก. ภิกษุ ! ในปัญหาของเธอนั้น เธอไม่ควรตั้งค�ำถาม ขึ้นว่า “มหาภูตสี่ คือ ดิน น�้ำ ไฟ ลมเหล่านี้ ย่อมดับสนิท ไม่มีเศษเหลือในที่ไหน ?” ดังนี้เลย, อันที่จริง เธอควรจะ ตั้งค�ำถามขึ้นอย่างนี้ว่า : “ดิน น�้ำ ไฟ ลม ไม่หยั่งลงได้ใน ที่ไหน ? ความยาว ความสั้น ความเล็ก ความใหญ่ ความ งาม ความไม่งาม ไม่หยั่งลงได้ในที่ไหน ? นามรูป ย่อม ดับสนิท ไม่มีเศษเหลือในที่ไหน ?” ดังนี้ ต่างหาก. ภิกษุ ! ในปัญหานั้น ค�ำตอบมีดังนี้ : “สิ่ง” สิ่งหนึ่ง ซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง เป็นสิ่งที่ไม่มีปรากฏการณ์ ไม่มีที่สุด แต่มีทางปฏิบัติเข้ามาถึงได้โดยรอบนั้น มีอยู่. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ ดิน น�้ำ ไฟ ลม ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ ความยาว ความสั้น ความ เล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ นามรูป ย่อมดับสนิท ไม่มี เศษเหลือ นามรูปดับสนิท ใน “สิ่ง” นี้ เพราะการดับ สนิทของวิญญาณ; ดังนี้”. สี. ที. ๙/๒๗๗/๓๔๓.

สุดท้ายได้รับการยอมรับมากที่สุด เพราะ มีการขุดค้นพบหินสีน�้ำเงิน 'Blue stone' ในภายในวงหิน ซึ่งเชื่อว่าเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ รักษาโรค ผลการพิสูจน์พบรังสีของก้อน หิ น ซึ่ ง คนสมั ย โบราณเชื่ อ ว่ า รั ก ษาโรค ได้ ท� ำ ให้ นึ ก ถึ ง 'ย่ า นล� ำ เพ็ ง ' ของบ้ า น เราขึ้นมาทันที มีการขุดพบโครงกระดูก มนุษย์สมัยก่อนจ�ำนวนมาก ล้วนเป็นโครง กระดู ก ผู ้ ป ่ ว ย ท� ำ ให้ ค วามเชื่ อ เรื่ อ งเป็ น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์รักษาผู้ป่วยได้มีน�้ำหนัก ที่สุด สโตนเฮนจ์ จะสร้ า งขึ้ น ด้ ว ยวั ต ถุ ประสงค์ใดก็ตาม นับเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ มนุษย์สมัยเมื่อ ๕,๐๐๐ ปีก่อน สามารถ น�ำก้อนหินขนาดหลายสิบตัน เคลื่อนย้าย มาจากที่ห่างไกลมาขึ้นวางเรียงหลายร้อย ก้ อ นได้ โดยไม่ ไ ด้ อ าศั ย เครื่ อ งจั ก รและ เทคโนโลยีแบบสมัยปัจจุบัน เหมือนดัง พระบรมธาตุ ข องเรา ผู ้ ค นเกื อ บพั น ปี ก่อนสร้างเจดีย์สูงเทียมฟ้าโดยไม่มีโครง สร้างเหล็กอยู่ภายใน ปัจจุบันการบูรณะ ซ่ อ มแซมกลั บ เป็ น เรื่ อ งใหญ่ โ ต ต้ อ งใช้ งบประมาณนับสิบๆ ล้าน ก็ยังท�ำได้แสน ยาก สมกับเป็นมรดกโลกจริงๆ

ต�ำนานให้เรานักท่องเที่ยวฟังกันหูผึ่ง บาง คนเล่าว่ามีมนุษย์ต่างดาวลงมาสร้างในยุค โน้น ด้วยเทคโนโลยีล�้ำหน้า บางคนก็เล่า ว่ามียักษ์เป็นผู้สร้างจึงยกหินขนาดนั้นได้ เหมือนต�ำนานเจดีย์ยักษ์บ้านเรา ส่ ว นการสร้ า งขึ้ น เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ อะไร ก็มีกันต่างๆ นานา บ้างว่าเป็น 'วิหาร บูชาพระอาทิตย์' บ้างว่าเพื่อ 'ศึกษาดาราศาสตร์' บ้างก็ว่าเป็น 'หลุมฝังศพขุนนาง ชั้ น สู ง ' ในยุ ค หิ น เพราะมี ก ารขุ ด พบศพ (หมายเหตุ 'รักบ้านเกิด' : สโตนเฮนจ์ โบราณอายุ ๓,๐๐๐ ปีมากมาย บ้างก็ว่า และบริเวณโดยรอบได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดก เป็ น 'วิ ห ารรั ก ษาโรค' ข้ อ สั น นิ ษ ฐานอั น โลกในปี ค.ศ.๑๙๘๖ หรือ พ.ศ.๒๕๒๙ )


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๑

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

ได้เมตตาเรียบเรียงหนังสือธรรมะส�ำคัญ เล่มใหม่ ในชื่อ “บทน�ำ สู่ พุทธธรรม” และ มอบให้ พ วกเราร่ ว มกั บ วั ด ญาณเวศกวั น จั ด พิ ม พ์ เ ผยแผ่ ใ นวงกว้ า ง เพื่ อ จะได้ มี ส่วนในการน�ำพา “พุทธธรรม” กลับคืนสู่ สังคมไทยของเราอย่างมั่นคงและสถาวร ยิ่ ง ขึ้ น ตามล� ำ ดั บ หนั ง สื อ นี้ พ วกเราที่ ห อ จดหมายเหตุ พุ ท ธทาสถื อ เป็ น พรวิ ส าขวิ เ ศษ จากท่ า นเจ้ า คุ ณ อาจารย์ ที่ ชี้ น� ำ พุ ท ธธรรมเพื่ อ “ชี วิ ต งาม สั ง คมดี และ ธรรมชาติ เ ป็ น รมณี ย ์ ” เพื่ อ ให้ ง านกุ ศ ล สั ม ฤทธิ์ ผ ลที่ มุ ่ ง หมาย เพื่ อ ความเจริ ญ พั ฒ นาแห่ ง กุ ศ ลธรรม เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ ดี ง าม ความงอกงามและความสุ ข ของ ชีวิตและของโลกมนุษย์ที่ผาสุกสดใส ใน โลกของธรรมชาติที่สดชื่นรื่นรมย์มีความ เป็นรมณีย์อย่างยั่งยืนนาน ดังที่ท่านได้ ประมวลสรุปและยกพุทธพจน์ที่ตรัสเล่า ไว้ เ อง และมี บั น ทึ ก ในพระไตรปิ ฎ กว่ า "ภูมิสถานถิ่นนี้ เป็นที่รมณีย์หนอ" และที่ ส�ำคัญ ค�ำว่า "อาราม" นั้นก็เป็นค�ำนาม ของคุณศัพท์ "รมณีย" นี่เอง

ในขณะที่ ผ มง่ ว นอยู ่ กั บ งานธรรม ตามวัดต่างๆ ในเมืองนคร ทราบว่าปัญหา น�้ำประปาในเมืองกลับกลายเป็นประเด็น สาธารณะ มีกลุ่มชื่อว่า “ธรรมาภิบาล” ออกมาร่วมทัดทานกับผู้คนพลเมือง ใน ขณะที่ ป ่ า ยางในวลั ย ลั ก ษณ์ ที่ ท างมหาวิ ท ยาลั ย ก� ำ ลั ง เตรี ย มการโยกย้ า ย ก็ มี นักศึกษา ครูบาอาจารย์ บุคคลากร และ ประชาชน ท�ำพิธีบวชด้วยผ้าศักดิ์สิทธิ์ที่ เคยถู ก ถวายใช้ ห ่ ม องค์ พ ระบรมธาตุ ม า ก่อน น�้ำท่าฟ้าฝนก็เริ่มตั้งเค้าตามธรรมชาติที่แม้จะล่าแต่ก็ยังมา ในขณะที่องค์ พระบรมธาตุ ก็ ท ราบว่ า มี ก ารตั้ ง ป้ า ย

<< ต่อจากหน้า ๔

เพราะเทศบาลจะปล่อยน�้ำเป็นเวลา ใน ห้ อ งน�้ ำ ก็ จ ะมี ก ๊ อ กน�้ ำ ตรงกั บ โอ่ ง หรื อ ภาชนะใส่น�้ำใช้อาบน�้ำ ส่วนห้องส้วมต้อง มีถังขนาดเล็กที่ต้องตักน�้ำไปส�ำรองไว้อีก ครั้งหนึ่ง วันนี้ก็เหมือนกับวันก่อนแล้ว ปั จ จุ บั น เราเลิ ก ใช้ น�้ ำ บ่ อ กั น หมด แล้ว บ่อเก่าๆ ก็โดนถมเสียทั้งหมด คง เหลือแต่บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์และบ่อน�้ำส�ำคัญ เพียงไม่กี่บ่อ คนรุ่นใหม่ก็ไม่รู้จักน�้ำบ่อ ไม่ รู้คุณประโยชน์ของบ่อน�้ำ เพราะสะดวก ในการใช้น�้ำประปา ผู้บริหารบ้านเมืองรุ่น ใหม่ก็มองไม่เห็นคุณค่าของบ่อน�้ำ น�้ำฝน ล�ำห้วย ล�ำคลอง หรือแก้มลิงเก็บน�้ำ วันนี้ เมื่ อ เกิ ด ฝนแล้ ง เพี ย งเล็ ก น้ อ ย ก็ สั บ สน วุ ่ น วายกั น ทั้ ง เมื อ ง คนที่ ตั้ ง สติ ไ ด้ ก็ คิ ด อ่านหาทางช่วยตัวเองแทนการโวยวาย หาภาชนะมากั ก เก็ บ น�้ ำ บางคนตั ก น�้ ำ จากบ่อมาเก็บส�ำรองไว้ใช้ บ้างก็เร่งขุด บ่อในพื้นที่ที่พอมี คนทีไม่มีพื้นที่จะขุด บ่อก็หาวิธีจัดกักเก็บน�้ำด้วยวิธีอื่นแทน การโวยวายจะท� ำ ให้ เ ป็ น ทุ ก ข์ น ้ อ ยลง ส่ ว นผู ้ รั บ ผิ ด ชอบของบ้ า นเมื อ งก็ ต ้ อ ง

อดทนค�ำก่นด่าของชาวเมือง เราอาสาเขา มาแล้ว จะมาโทษฟ้าโทษดินอยู่ไม่ได้ ก่อน เข้ามาท�ำงานนั้นอาจจะด่าว่าใครมาก่อน หรือไม่ วันนี้บาปกรรมตามทัน ก็ต้องทน เอา คิดอ่านหาวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า อย่ า งเร่ ง ด่ ว น อย่ า ด้ ว ยการหาวิ ธี แ ก้ ตั ว แล้วค่อยคิดแก้ระยะกลางที่พอจะเตรียม การรับปัญหาขนาดที่ผจญอยู่ได้ แล้วค่อย คิดอ่านวางแผนระยะยาวกันต่อไป เมื อ งนครมี แ หล่ ง น�้ ำ ขนาดใหญ่ คื อ 'เทือกเขาหลวง' ให้น�้ำให้ฝนปีหนึ่งมากมาย

ป ร ะ ก า ศ ก า ร จ ะ เ ริ่ ม บู ร ณะในบางส่ ว นแล้ ว ห ลั ง จ า ก ค ้ า ง เ ติ่ ง ม า เนิ่ น นาน ในขณะที่ เ ขต คณะเหนื อ และใต้ ข อง วัดพระธาตุก็ก�ำลังจะได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง ใหม่ ใ ห้ ร่มรื่นรมณีย์ยิ่งขึ้น อาจ จะถึ ง แล้ ว กระมั ง เวลา ที่ “ศิ ริ ” และ “ธรรม” จะกลั บ คื น มา สู่เมืองนครของเรา ทั้งหมดนี้ มิได้กลับคืนมาได้เองโดย ใครไม่ได้ท�ำอะไร แต่เพราะมีคนปราถนาดี แล้วเริ่มลงไม้ลงมือท�ำสิ่งดีๆ “ศิริ” หมายถึง ความดีงาม “ธรรม” ท่านอาจารย์พุทธทาส บอกว่าหมายถึงหน้าที่ อย่างนี้จึงจะเป็น “นครศรีธรรมราช” สมชื่อ นับจากวิสาขบูชานี้ โดยขอเชิญชวนน�ำอริยสัจ ๔ และ อริ ย มรรคมี อ งค์ ๘ ที่ ถื อ เป็ น หั ว ใจแห่ ง พระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ทรงแสดง ตลอดพระชนม์ ชี พ หลั ง จากตรั ส รู ้ จ วบ จนปรินิพพาน มาประกอบการพิจารณา

ว่ า อะไรแน่ ที่ คื อ "ตั ว ปั ญ หา-ทุ ก ข์ " และ "เหตุ แ ห่ ง ปั ญ หา-สมุ ทั ย " แล้ ว เรายั ง จะ "ดับปัญหาให้ถึงตัวต้นเหตุ-นิโรธ" ได้ด้วย "วิ ถี แ ละวิ ธี ใ ด-มรรค" อั น ประกอบด้ ว ย "ความรู ้ แ ละมุ ่ ง มั่ น ที่ ถู ก ถ้ ว น-ทิ ฏ ฐิ แ ละ สังกัปปะ" "ปฏิบัติการด�ำเนินการที่ถูกถ้วนวาจา อาชีวะ กัมมันตะ" และ "ความพากเพียรพยายาม ระลึกรู้และตั้งมั่นถูกถ้วนวายามะ สติ สมาธิ" ตามสมควร วิสาขบูชา ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ที่ลานร่มไทรวัดศรีทวี ขณะพระภิกษุสามเณรก�ำลังบิณฑบาต ท� ำ ฝายมี ชี วิ ต กั ก เก็ บ น�้ ำ ตามล� ำ ห้ ว ย ล�ำคลอง แม้ได้น�้ำแต่น้อย แต่ถ้ารวมกัน ทุกสายน�้ำก็มากมายมหาศาล เลี้ยงคน เมืองได้ทั้งปี ก็ควรที่จะส่งเสริมสนับสนุน เขา ทางแก้ทางออกมีมากมาย อย่าดันทุรังด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งวิธีเดียว หนทางที่ดี มีอีกมาก ขวากหนามก็ไม่มี ถึงมีก็มีแต่ น้อย พอจะทนกันได้ ตอนนี้ก็ต้องจ�ำยอม เอาน�้ำจากแหล่งน�้ำของเอกชนที่เขามีอยู่ จะอย่างบังเอิญหรือความมีวิสัยทัศน์ของ เขาก็แล้วแต่ ผู้บริหารบ้านเมืองต้องมี วิสัยทัศน์ด้วย 'การปฏิบัติจริง' ไม่ใช่วิสัย ทัศน์ด้วย 'วาจาโวหาร' เพียงอย่างเดียว ถูกแต่งตั้งมาหรืออาสามาดูแลบ้านเมือง ก็ ค วรแสดงฝี มื อ ให้ ป ระจั ก ษ์ หากเห็ น ว่าไม่ไหว เกินความสามารถของตัว ก็ควร หลีกทางไป ให้ผู้มีฝีมือเขามาช่วยเหลือ บ้านเมืองแทน ผมไม่ ไ ด้ ว ่ า ใครเฉพาะเจาะจงนะ ครั บ พู ด ถึ ง คนที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบทุ ก คน ขออภัยด้วย ให้คนแก่ได้บ่นสักทีเถอะ อีกไม่กี่ปีก็จะไม่ได้บ่นแล้ว

เท่าไร ไหลลงทะเลปีละเท่าไร ถูกดูดซับลง ในแผ่นดินไปเป็นน�้ำใต้ดินเสียเท่าไร ผู้คน ต้นน�้ำใช้เสียเท่าไร ในเขตตัวเมืองต้องการ ใช้ น�้ ำ เท่ า ไร ผมว่ า นั ก วิ ช าการเขาคิ ด ค�ำนวณได้ เขาคิดออก ส�ำคัญที่เราจะขอ ความรู้จากเขาหรือไม่ เรายโสโอหังจนไม่ ยอมรับใครหรือไม่ เราเก่งอยู่แต่ในหมู่พวก เราแต่พวกเดียวหรือไม่ อ่อนน้อมถ่อมตน เครดิตรูป : เสียบ้าง ผู้คนจะได้เข้ามาช่วยเหลือได้ ผมเคยเสนอให้จัดท�ำแก้มลิงไว้นาน ฝายน�ำ้ ล้นยับยั้งภัยแล้งคลองท่าดี อ.ลานสกา แล้วก็รอกันมาแล้วหลายปี พักหลังนี้เขา จากส�ำนักข่าวแห่งชาติ นครศรีธรรมราช


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๒

พญ.กาญจนา วงศ์ ศิ ริ

จิ ต แพทย์ ป ระจ� ำ รพ.มหาราช นครศรี ธ รรมราช จิ ต แพทย์ ป ระจ� ำ คลิ นิ ก หมอกาญจนา

ฤติ ก รรมการฆ่ า ตั ว ตาย “suicide behavior” สามารถตีความหมาย ได้ ก ว้ า ง ตั้ ง แต่ ร ะดั บ แค่ คิ ด เรื่ อ งตาย “suicidal ideation” เช่น รู้สึกว่าตายๆ ได้ก็ดี เช่นไม่ต้องตื่นขึ้นมาอีกเลยหลังจาก หลับไปก็ดีแต่ไม่ได้วางแผน หรือคิดว่าต้อง ตายจริง บางคน มีความปรารถนาอย่างแรง กล้าที่จะตาย “suicidal intent” เช่น เตรียมการวางแผนไว้ล่วงหน้า เป็นอย่างดี ว่าจะตายอย่างไร ตอนไหน เขียนจดหมาย เตรียมสั่งเสียไว้เรียบร้อย เพียงแต่ยังไม่ได้ ลงมือท�ำ ส่วนบางคนท�ำร้ายตัวเองจนบาดเจ็บ ไปแล้ ว แต่ ไ ม่ ไ ด้ ต ้ อ งการตายจริ ง ๆ ก็ มี แบบนี้เรียกว่า “deliberate self-harm” ซึ่งพบได้บ่อยๆ ประเภทกรีดข้อมือบางๆ หรือกินยาบางประเภทปริมาณไม่มาก ที่ ไม่ท�ำให้ถึงแก่ชีวิต แต่เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่นต้องการให้คนอื่นสนใจ หรือเข้าใจ สุดท้ายคือพวกที่ท�ำร้ายตนเองโดย หวังให้ถึงตาย “suicidal attempt” การลงมื อ ท� ำ ร้ า ยตั ว เองมี ทั้ ง แบบ วางแผนไว้ ล ่ ว งหน้ า หรื อ บางคนก็ แ ค่ อารมณ์ ชั่ ว วู บ บางคนขาดสติ จ ากของ มึนเมา ส�ำหรับพฤติกรรมการท�ำร้ายตัวเอง ทุกประเภท เป็นการแสดงออกให้ทราบว่า เขาคนนั้นหมดหนทางจะแก้ปัญหา แต่จะ เป็นถึงขนาดต้องการตายจริงๆ หรือเป็น แค่ต้องการร้องขอความเห็นใจจากผู้อื่น การประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัว ตายจึงจ�ำเป็น เพื่อป้องกันการท�ำร้ายตัว เองถึงขั้นเสียชีวิตของผู้ป่วย การฆ่าตัวตายเป็นภาวะฉุกเฉินทาง จิตเวชผู้ป่วยที่ฆ่าตัวตายสมควรต้องได้รับ การประเมิ น ภาวะอื่ น ๆ ทางจิ ต เวชร่ ว ม ด้วยเสมอ เช่น โรคซึมเศร้า หรือโรคอื่นๆ ที่ซ่อนอยู่ ภาพรวมสถิติการฆ่าตัวตายของคน ไทย ในปี ๒๕๕๐ พบว่ า ประเทศไทยมี จ�ำนวนผูฆ้ า่ ตัวตายส�ำเร็จอยูท่ ปี่ ระมาณ ๕.๕ คน ต่อประชากรแสนคน หรืออยู่ที่ตัวเลข ประมาณ ๓,๔๕๘ คน จัดเป็นอันดับที่ ๗๑ ของโลก ภาคเหนือของไทยพบอัตราการ ฆ่าตัวตายสูงสุด และพบอัตราการฆ่าตัวตาย ต�ำ่ สุดทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มที่ฆ่าตัวตายส�ำเร็จมากกว่าร้อย ละ ๙๐ เป็นผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โดยผู้หญิง มีแนวโน้มพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้ชาย แต่ผู้ชายกลับมีอัตราการฆ่าตัวตายส�ำเร็จ สูงกว่าผู้หญิงถึงสามเท่า นอกจากนี้ยังพบ ว่าการฆ่าตัวตายของคนไทยยังสัมพันธ์กับ

การใช้สารเสพติดและสุรามากถึงร้อยละ ๕๐ และ ๓๕ ตามล�ำดับ ความเสี่ยงในกลุ่ม นี้จะมากขึ้นเพราะเมื่อใช้สารแล้วจะท�ำให้ ขาดการยับยั้งชั่งใจ โรคซึมเศร้าส่งผลกระทบอย่างมาก ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และความคิด อัน ได้ แ ก่ อารมณ์ เ ศร้ า เบื่ อ หน่ า ย ท้ อ แท้ อาการอ่อนเพลีย ไม่มีสมาธิ นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป กินไม่ได้จนน�้ำหนักลด มี ความคิดอยากตาย มองทุกอย่างในแง่ลบ ไม่ว่าจะเป็นตัวเองหรือสิ่งรอบตัว กระทบ มากถึงขนาดไม่สามารถไปท�ำงาน ไปเรียน หรือมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม ใน ครอบครัวได้ตามปกติ โรคซึมเศร้าสามารถ รักษาได้ด้วยยาและการท�ำจิตบ�ำบัด องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าใน ปี ๒๕๖๓ อาจมีอัตราผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มากเป็ น อั น ดั บ สอง รองจากโรคหลอด เลือดหัวใจอุดตัน จึงเป็นไปได้ว่าเราต้อง เจอกั บ ผู ้ ป ่ ว ยซึ่ ง เสี ย งต่ อ การฆ่ า ตั ว ตาย ส�ำเร็จมากขึ้นไปพร้อมๆ กัน ผู้ป่วยที่ฆ่าตัวตายจะรู้สึกทุกข์ใจและ สิ้นหวังอย่างมากจึงหนีปัญหาด้วยการฆ่า ตั ว ตายเพราะหวั ง ว่ า จะเป็ น ทางออกได้ ดั ง นั้ น ถ้ า ผู ้ ดู แ ลมี มุ ม มองต่ อ การฆ่ า ตั ว ตายในแง่ลบ จะยิ่งส่งผลต่อสัมพันธภาพ กับผู้ป่วยอันจะส่งผลตามมาในเรื่องการ

ประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ การรักษาต่อไป การถามผู ้ ป ่ ว ยเรื่ อ งความคิ ด อยาก ตายหรือการฆ่าตัวตายไม่ได้ท�ำให้ผู้ป่วย มี ค วามคิ ด อยากตายมากขึ้ น แต่ จ ะช่ ว ย ท�ำให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและหาทางออก ที่ดีขึ้น การประเมินความเสี่ยงในการฆ่าตัว ตายมีแนวทางในการช่วยประเมินความ เสี่ยงในการฆ่าตัวตายโดยมีประเด็นที่ต้อง ประเมินดังนี้ (ตามตาราง) แนวทางการดูแลรักษา - ประเมิ น อาการทางร่ า งกายว่ า จ�ำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือเร่งด่วนหรือ ไม่เช่น การล้างท้อง การให้ยาแก้พิษ หรือ ท�ำแผล ถ้ามีปัญหาต้องรีบน�ำส่ง รพ. ทันที - เมื่ อ อาการทางกายอยู ่ ใ นเกณฑ์ ปลอดภัยแล้ว ควรมีการประเมินความเสี่ยง ในการฆ่ า ตั ว ตายทั น ที ว ่ า อยู ่ ใ นระดั บ ใด เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่เหมาะสมต่อ ไป ไม่ควรให้ผู้ป่วยกลับบ้านโดยที่ยังไม่ ได้รับการประเมิน จากบุคลาการทางการ แพทย์ที่ช�ำนาญ ๑. ให้การดูแลที่เหมาะสมแก่ผู้ป่วย ต่อไปดังนี้ ๑.๑ หากผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงใน

แนวทางในการช่วยประเมินความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ประเด็นการประเมิน พฤติกรรมฆ่าตัวตาย สภาพจิต โรคทางจิตเวช โรคทางกาย ปัญหากดดัน สารเสพติด การเข้าถึงความช่วยเหลือ

ลักษณะความเสี่ยงสูง มี ค วามคิ ดอยากตายตลอดเวลา มี แ ผนการชั ดเจน เลือ ก วิ ธี ที่ รุ น แรง เช่ น การใช้ ป ื น การผู ก คอตาย เคยมี ก าร พยายามฆ่าตัวตายก่อนหน้านี้ไม่นาน ซึมเศร้ามาก รู้สึกผิดรุนแรง มีอาการทางจิตร่วมด้วย เช่น หวาดระแวง หรือมีเสียงหูแว่ว สั่งให้ท�ำร้ายตนเอง มีโรคทางจิตเวชอยู่เดิมเช่น โรคซึมเศร้า โรคจิตเภท โรค อารมณ์ ส องขั้ ว โรคติ ด สุ ร า หรื อ มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ หุ น หั น พลันแล่น เป็นโรคที่รุนแรง รักษาไม่หาย หรือเป็นที่รังเกียจ เช่น โรค มะเร็ง โรคเอดส์ มีภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาต ที่ต้องพึ่งพิง ผู้อื่น ปัญหานั้นยังคงรุนแรง ยังไม่สามารถหาทางออกได้ มีการใช้สารเสพติดที่ส่งผลต่อการยั้งคิดยั้งท�ำ ไม่มีครอบครัว เพื่อน หรือผู้ให้ค�ำปรึกษาได้ มีปัญหาเรื่อง สัมพันธภาพกับผู้อื่น

การท�ำร้ายตนเองซ�้ำ หรือไม่แน่ใจในความ ปลอดภัยเมื่อกลับบ้าน ควรพาผู้ป่วยมา รพ. เพื่อท�ำการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย ๑.๒ หากผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงไม่ มาก ญาติหรือผู้ดูแลควรปฎิบัติดังนี้ - ให้ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเมื่อ ให้กลับบ้านไป - เก็บสิ่งของ ที่ผู้ป่วยสามารถน�ำมา ท�ำร้ายตัวเองออกไป เช่น มีด, ปืน, เชือก หรือ ยา เป็นต้น - สั ง เกตอาการที่ บ ่ ง ชี้ ว ่ า ผู ้ ป ่ ว ยมี ความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น เช่น ซึมเศร้ามากขึ้น หงุดหงิดมากขึ้น เก็บตัว มากขึ้น หรืออาการดีขึ้นอย่างรวดเร็วจน ผิ ด ปกติ หรื อ เริ่ ม มี ก ารวางแผนท� ำ ร้ า ย ตนเองซ�้ำอีก ๒. หากพบว่าผู้ป่วยมีโรคทางจิตเวช ควรส่งพบจิตแพทย์ ๓. แนะน�ำวิธีการคลายเครียดเบื้อง ต้น ดังนี้ ฝึกการเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ โดย การนั่งในท่าสบาย เกร็งกล้ามเนื้อค้างไว้ ๑๐ วินาที แล้วคลายออก ท�ำซ�้ำไปเรื่อยๆ ประมาณ ๑๐ ครั้ง เช่น ก�ำมือเกร็งแขน ซ้ายขวา เลิกคิ้วสูงหรือขมวดคิ้วชิดแล้ว คลาย หลับตาปี๋ย่นจมูกแล้วคลาย หายใจ เข้าลึกๆ ยืดอก หลัง ไหล่ แล้วคลาย แขม่ว ท้อง ขมิบก้นแล้วคลาย กระดกปลายเท้า ขึ้น เกร็งเท้าซ้ายและขวาแล้วคลาย ทั้งนี้ เพื่อให้ได้รับรู้ความรู้สึกตึงเครียดจากการ เกร็งส่วนต่างๆ และรู้สึกสบายเมื่อคลาย กล้ามเนื้อ ฝึกการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม คือหายใจเข้าให้หน้าท้องพองออก และหายใจออกให้หน้าท้องยุบลง โดยให้ หายใจเข้าลึกๆ อย่างช้าๆ กลั้นไว้ชั่วครู่ แล้วจึงหายใจออก เพื่อให้ร่างกายได้รับ ออกซิเจนมากขึ้น และควรฝึกทุกวัน ท� ำ สมาธิ เ บื้ อ งต้ น เลื อ กสถานที่ ๆ ไม่มีคนรบกวน นั่งสมาธิหรือนั่งพับเพียบ ตามถนัด ก�ำหนดใจให้จดจ่อกับการหายใจ เข้าออก ซึ่งจะช่วยให้ขจัดความเครียดและ วิตกกังวลได้ ใช้เทคนิคความเงียบ โดยนอนหรือ นั่ ง ท่ า ที่ ส บาย ในสถานที่ ส ่ ว นตั ว แล้ ว หลับตา เพื่อขจัดสิ่งรบกวนภายนอก พร้อม กับหายใจเข้าออก ช้าๆ


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๓

มได้ยินค�ำว่า “ฝายมีชีวิต” มานาน พอสมควร เป็นเรื่องราวที่อยู่ในเมือง นครนี่เองและไม่รู้ว่าผมหลับไปอยู่ที่ไหน มาจึ ง ไม่ ไ ด้ ติ ด ตามข่ า วอย่ า งจริ ง จั ง จน กระทั่ ง ฤดู แ ล้ ง จั ด มาสั ม ผั ส ผู ้ ค นอี ก รอบ ท�ำให้ขาดแคลนน�้ำจนกระเทือนถึงผู้รับผิด ชอบโดยตรงที่ต้องออกมาแก้ปัญหาชุลมุน วุ่นวายกันไป แต่นับเป็นความโชคดีที่ยัง พอมีน�้ำให้ชาวเมืองได้ใช้บ้าง คนส่วนใหญ่ ยังไม่รู้เลยว่า น�้ำที่ได้มาส่วนหนึ่งเกิดจาก การจัดการของชาวบ้านธรรมดาๆ กับนัก วิ ช าการมาเป็ น เวลาแรมปี ในแนวคิ ด ที่ ว่าประเทศเราไม่ได้แห้งแล้งขาดแคลนน�้ำ ระยะยาวเป็นปีๆ เหมือนบางประเทศ แต่ โดยที่เราปล่อยน�้ำทิ้งลงทะเลไปในปริมาณ มากมาย มีการกักเก็บน�้ำไว้น้อยมาก และ รอความช่ ว ยเหลื อ จากภาครั ฐ ด้ า นเดี ย ว จากการสร้ า ง “ฝายมี ชี วิ ต ” นบเตี ย น ไชยมนตรีขึ้นมาในช่วงปี ๒๕๕๘ ได้ช่วย ให้ตัวเมืองนครมีน�้ำประปาใช้ในหน้าแล้ง แค่ฟังชื่อผมก็สนใจมาก เพราะเคยได้ยิน แต่ค�ำว่า “ฝาย” โดดๆ เท่านั้น แล้วมันมี ชีวิตอย่างไร ผมจึงได้เชิญนักวิชาการท่าน หนึ่งที่ดูแลเรื่องนี้และลงมือท�ำกับชาวบ้าน มาเป็นองค์ปาฐกเล่าเรื่องนี้ในการประชุม ประจ�ำเดือนพฤษภาคม ของ “ชมรมนิสิต เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครศรีธรรมราช” การบรรยายของท่านสร้าง ความตื่นเต้นให้ที่ประชุมมาก โดยคิดไม่ ถึงว่าโครงการนีไ้ ด้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ๆ ไม่ เ ฉพาะเรื่ อ งการจั ด การน�้ ำ อย่ า งเดี ย ว แต่มีมิติอื่นๆ ที่น่าจะเป็นทางออกในเรื่อง “ประชาธิปไตย” ที่เราพยายามค้นหากัน มาหลายชั่วอายุคนแล้ว ผมได้ขออนุญาต จากนั ก วิ ช าการท่ า นนี้ น� ำ บทความมาลง โดยไม่ได้ตัดต่อเสริมแต่งข้อความ เพื่อให้ เนื้อหาที่เป็นแนวคิดได้ต่อเนื่องลื่นไหลจน จบตอน ส่วนรายละเอียดเทคนิคในการ สร้างฝายผมคิดว่าคงปรากฏในสื่อต่างๆ ที่ ไปน�ำชม จึงขอทีจ่ ะไม่กล่าวถึงครับ

ได้อะไรในเชิงวิชาการจากฝายมีชีวิต โดย ดร.ด�ำรง โยธารักษ์ สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง

ทความนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์ ในการขั บ เคลื่ อ นฝายมี ชี วิ ต เนื้ อ หา ประกอบด้ ว ยผลที่ ไ ด้ จ ากการท� ำ ฝายมี ชีวิต ๖ ประเด็นด้วยกันคือ ประเด็นการ พัฒนา ประเด็นการขุดลอกคลอง ประเด็น

ปริมาณน�้ำที่เก็บได้และพื้นที่ท�ำการเกษตร ประเด็นเศรษฐกิจ ประเด็นนิตศิ าสตร์ และ ประเด็นการเมือง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๑. ในประเด็นของการพัฒนา ฝายมีชวี ติ เป็นกระบวนการเปลีย่ นวิธี คิดจากการพัฒนาที่เอาเงินน�ำหน้าปัญญา ตามหลังไปสู่การพัฒนาที่ต้องสร้างปัญญา ก่อนแล้วเงินจะตามมา กล่าวคือเป็นการ พัฒนาที่ต้องเริ่มจากกระบวนการเรียนรู้ที่ ท�ำให้เกิดปัญญาก่อน แล้วเงิน/งบประมาณ ความร่ ว มมื อ จากภายนอกก็ จ ะตามมา (การพัฒนาทีต่ อ้ งระเบิดจากข้างใน) ฝายมี ชี วิ ต ท� ำ ให้ ผ มเข้ า ใจว่ า การ พัฒนาชุมชน/หมู่บ้าน/ต�ำบล เงินแม้จะมี ความส�ำคัญแต่ไม่ควรน�ำมาเป็นตัวเริ่มต้น ในการท�ำงานเพราะผมไม่เคยได้ยินจากผู้ที่ เข้าใจกระบวนการท�ำฝายมีชีวิตบอกว่าท�ำ ไม่ได้หรอกเพราะไม่มีงบประมาณ แต่ใน ทางกลับกันเมื่อตั้งวงคุยกันหลายรอบจน ตกผลึกว่าตกลงร่วมใจกันท�ำแล้วก็เริ่มจาก ใครมีอะไรก็น�ำมาช่วย พอคนอื่นเห็นหรือ ทราบข่าวก็ช่วยเหลือ ไม่น่าเชื่อว่าฝายมี ชีวิตไชยมนตรีใช้งบไม่ต�่ำกว่าสองล้านบาท เสร็จด้วยการช่วยทั้งจากคนภายในชุมชน และนอกชุมชน ฝายมีชีวิตท�ำให้ผมเรียนรู้ว่า สังคม ไทยไม่ได้ขาดเงิน แต่ขาดปัญญาต่างหาก กล่าวคือ ชาวบ้านบริเวณหมู่ที่ ๑ บ้านนบ เตียนประสบปัญหาเรื่องการเวนคืนที่ดิน เพื่อการขุดคลองระบายน�้ำเลี่ยงเมืองลงสู่ ทะเลเพื่อไม่ให้น�้ำท่วมเมืองนครศรีธรรมราช สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง ได้ร่วมกับชาวบ้านเพื่อช่วยกันอนุเคราะห์ ข้อมูลเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาไม่

ให้ น�้ ำ ท่ ว มเมื อ งโดยวิ ธี อื่ น ที่ ช าวบ้ า นไชย มนตรีก็ไม่กระทบจึงเกิดแนวทางการสร้าง ฝายมีชีวิตว่าสามารถแก้ปัญหาน�้ำท่วม น�้ำ หลาก น�ำ้ แล้ง น�ำ้ ใต้ดนิ ได้ แต่จะท�ำอย่างไร ให้หน่วยงานชลประทานเชื่อ ชาวบ้านจึง คิดกันว่าต้องท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น ฝายมีชีวิต บ้านนบเตียนจึงเกิดขึ้น เป็นการลุกขึ้นมา จัดการน�้ำโดยชาวบ้านเองเมื่อใจตรงกัน ว่าต้องสร้างฝาย แล้วร่วมกันสร้างโดยใช้ ภูมิปัญญาจากผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนที่มีองค์ ความรู้ในการท�ำเล่ห์ (เครื่องมือดักปลาใน คลอง) มาช่วยสอนการปักไม้ในคลอง การ ผู ก เชื อ ก และเรี ย นรู ้ เ รื่ อ งต้ น ไม้ ที่ อ ยู ่ ริ ม คลอง เป็นต้น เป็นกระบวนการวิเคราะห์ ข้อมูลให้เป็นองค์ความรูแ้ ล้วน�ำสูก่ ารปฏิบตั ิ แล้วปรับปรุงแก้ไข ตรงนี้เกิดเป็นปัญญา เมื่อคนภายนอก/หน่วยงานต่างๆ มาเห็น หรือทราบข่าวก็เข้ามาสนับสนุนทั้งสิ่งของ งบประมาณ เป็ น ต้ น กล่ า วได้ ว ่ า ใจมา ปัญญาเกิด เมือ่ เกิดปัญญา คิดชอบ ท�ำชอบ แล้วเงิน/งบประมาณมาเอง โดยไม่ต้อง คอยงบประมาณของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ฝายมีชีวิตก�ำแพงเซาเกิดขึ้นจากการ ชวนชาวบ้านคุยเรื่องการคืนความหลาก หลายทางชี ว ภาพสู ่ ค ลองจากเวที ข อง โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการทาง เศรษฐศาสตร์ เ พื่ อ คงคุ ณ ค่ า ความหลาก หลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ (ECO – BEST) ในระดับต�ำบล ปรากฏว่าชาวบ้าน หมู่ที่ ๑ บ้านห้วยน�้ำซับกลับมาคิดต่อโดย การตั้งวงถกแถลงกันเพื่อคืนน�้ำสู่ห้วยลึก คุยกันจนตกผนึกเกิดส�ำนึกร่วมกันว่าจะ ต้องลุกขึ้นมาจัดการน�้ำด้วยชุมชนเอง และ จะท�ำให้เกิดฝายมีชวี ติ ตลอดห้วยลึกจ�ำนวน ๑๐ ตัวตลอดล�ำห้วย

ฝายมีชีวิตคีรีวงเกิดเกิดขึ้นจากการ ชวนชาวบ้านคุยเรื่องการคืนความหลาก หลายทางชี ว ภาพสู ่ ค ลองจากเวที ข อง โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการทาง เศรษฐศาสตร์ เ พื่ อ คงคุ ณ ค่ า ความหลาก หลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ (ECO – BEST) ในระดับต�ำบล ปรากฏว่าชาวบ้าน ได้ จั ด ประชุ ม ท� ำ ความเข้ า ใจเรื่ อ งคลอง พันธุ์ไม้ในคลอง ตลอดจนสาเหตุที่ท� ำให้ คลองตื้น เป็นต้น ต่อมาเรื่อยๆ อีกหลาย เดือนจนเกิดการลงมือท�ำฝายมีชวี ติ ผมเห็นศักยภาพของชาวบ้านบางคน ทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน แม้จะมีไม่มาก แต่ถา้ เราหา เจอด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้เราก็จะ เห็นศักยภาพดังกล่าว ดังนัน้ ข้าราชการไทย ควรเปลีย่ นวิธคี ดิ วิธมี องว่าชาวบ้าน โง่ จน เจ็บ ไปสูก่ ารมองว่าชาวบ้านมีศกั ยภาพ อยู่ ที่ว่าเราได้ให้โอกาสเขาได้เรียนรู้ร่วมกันกับ เราหรือเปล่า หรือเราได้ไปเรียนรู้ร่วมกัน กับเขาหรือเปล่า กล่าวได้วา่ ฝายมีชวี ติ ท�ำให้ผมได้รจู้ กั และเข้าใจค�ำคมหรือค�ำพูดหลายประโยค ที่ฟังดูแล้วไม่ค่อยเข้าใจ เช่น รศ.ดร.เสรี พงษ์พิศ กล่าวว่า “ที่ผ่านมาประเทศไทย แก้ปญ ั หาโดยใช้เงินน�ำหน้าปัญญาตามหลัง หรือเงินแก้ปัญหาไม่ได้เพราะถ้าแก้ปัญหา ได้ ป ระเทศไทยคงแก้ ป ั ญ หาได้ น านแล้ ว หรือ สังคมไทยไม่ได้ขาดเงินแต่ขาดปัญญา ต่างหาก” หรือทีล่ งุ สมพร แซ่โค้ว (ครูสอน ลิง) ทีก่ ล่าวว่า “ปัญญาก็คอื ภูมปิ ญ ั ญาท้อง ถิน่ ดังนัน้ การศึกษาทีล่ มื ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ก็จะเป็นการศึกษาที่ให้เฉพาะปริญญาแต่ ไม่ให้ปญ ั ญา” ๒. ในประเด็นของการขุดลอกคลอง ฝายมี ชี วิ ต ท� ำ ให้ เ ปลี่ ย นวิ ธี คิ ด จาก คลองยิ่ ง ขุ ด ยิ่ ง ลึ ก ไปเป็ น วิ ธี คิ ด ที่ ม องว่ า คลองยิ่งขุดยิ่งตื้น และไม่มีน�้ำขังยามหน้า แล้ง มิหน�ำซ�ำ้ น�ำ้ ของทัง้ สองฝัง่ ซึม (สะเด็ด) ลงคลอง เกิดปรากฏการณ์คลองก็แห้งน�้ำ ในดิ น ก็ ห มด ดั ง นั้ น ทางออกก็ คื อ ถ้ า จะ รักษาน�้ ำในคลองเพื่อใช้ยามหน้าแล้งจึง ต้ อ งยกระดั บ น�้ ำ ขึ้ น มาด้ ว ยการท� ำ ฝายมี ชีวิต ค�ำถามก็คือ ท�ำไมต้องเป็นฝายมีชีวิต เพราะต้องสร้างความสมดุลของระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นองค์ ประกอบของฝายมี ชี วิ ต จะไม่ ใ ช้ ปู น และ เหล็กเป็นองค์ประกอบ แต่จะใช้วัสดุตาม ธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ ไม้ กระถิน ไม้สน เป็นต้น มูลวัว ขุยมะพร้าว ต้นไทร อโศก เกว็ดมังเร มะเดือ่ พันธุต์ า่ งๆ ที่มีอยู่ในถิ่น (มะเดื่อช้าง มะเดื่อชุมพร ลูกฉิ่ง) เป็นต้น แล้วน�ำเอาไทรต้นใหญ่มา ปลูกสองข้างฝายเพื่อให้รากไทรเลื้อยลง คลองมากินอาหาร เมื่อรากไทรสานกันทั้ง สองฝั่งก็จะเกิดฝายมีชีวิต ตามหลักการ ตัวฝายเป็นตัวกักน�ำ้ ต้นไม้ ดิน เป็นตัวเก็บน�ำ้ (มีตอ่ ฉบับหน้า)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๔

ครศรีธรรมราชเป็นเมืองที่มีความ อุ ด มสมบู ร ณ์ ท างธรรมชาติ โดย เฉพาะพืน้ ทีป่ า่ เขาหลวง ป่าฝนแดนใต้ทมี่ ี ยอดสูงทีส่ ดุ ในภาคใต้ จึงเป็นแหล่งต้นน�ำ้ หลายสายที่งดงามและอุดมสมบูรณ์ตาม ธรรมชาติ ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ จนกระทัง่ ถึงปลาย น�้ ำ ออกสู ่ ท ะเล ระบบนิ เ วศยั ง สวยงาม ชัดเจนมาโดยตลอด จนกระทั่งเมื่อไม่กี่ เดือนที่ผ่านมา เราเริ่มจะเห็นสิ่งก่อสร้าง เกินความจ�ำเป็นที่ผิดธรรมชาติโดยฝืมือ มนุษย์ก� ำลังทยอยก่อเกิดขึ้นในหลายๆ สายน�ำ้ และเปลีย่ นแปลงสภาพธรรมชาติ ของนครศรี ธ รรมราช นั่ น คื อ ...การกั้ น ตลิ่งในสายน�้ำหลายสายบริเวณเขตพื้นที่ ชุมชน ทีเ่ ห็นได้ชดั คือ ภาพทีล่ ดทอนความ งามของธรรมชาติ แ ละวิ ถี ชี วิ ต เพราะ ต้องไปน�ำทรายที่แม่น�้ำมาเพื่อมาถมตลิ่ง ธรรมชาติที่งดงามอยู่แล้ว ภูมิทัศน์ที่เคย งดงาม เป็นธรรมชาติ ก็ถูกท�ำลายด้วย การขุ ด หิ น ที่ ค วรอยู ่ ใ นร่ อ งน�้ ำ ถมขึ้ น มา ตลอดแนว ต้นไม้ยืนต้นที่สามารถยืนอยู่ กลางน�้ ำ ได้ แ ม้ ใ นสภาวะน�้ ำ ท่ ว มใหญ่ ป ี ๒๕๕๔ ที่ยืนตระหง่านมาจนถึงปัจจุบัน ก็ถูกล้มลงเพื่อปรับสภาพคลองให้ได้ดั่งใจ มนุษย์ ไม่กีดขวางสายตา แน่นอนเด็กๆ และชาวบ้านไม่สามารถลงไปใช้ประโยชน์ จากล�ำน�้ำได้เหมือนอย่างที่เคยเป็นอีกต่อ

(ต่อจากหน้า ๑๕)

แหล่งเชื้อเพลิงชีวมวล

อุ ต สาหกรรมการเกษตรเป็ น แหล่ ง ผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลที่ ส� ำ คั ญ เพราะมี ปริมาณมากและเก็บรวบรวมได้ง่าย เช่น โรงสีข้าวได้แกลบ โรงงานน�้ำตาลได้กาก อ้อย โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มได้กากปาล์ม เปลือกปาล์ม และกะลาปาล์ม โรงเลื่อย ไม้ยางพาราและโรงงานผลิตไม้อัดได้เศษ ไม้และขี้เลื่อย การแยกเมล็ดข้าวโพดได้ซัง ข้าวโพด โรงงานผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ได้ ส่าเหล้า โรงงานแป้งมันส�ำปะหลังได้กาก มันส�ำปะหลัง โรงงานแปรรูปเนื้อมะพร้าว ได้กาบมะพร้าวและกะลามะพร้าว นอกจากนี้แหล่งที่มาของชีวมวลอีก แหล่งที่น่าศึกษาพัฒนา นั่นคือพื้นที่เพาะ ปลูก เช่น นาข้าวซึ่งมีฟางข้าวและต้นข้าว เหลืออยู่ ไร่อ้อยมีเศษใบอ้อยเหลือทิ้ง ไร่ มันส�ำปะหลังจะคงเหลือเหง้ามันส�ำปะหลัง

ไป เพราะหลังจากการก่อสร้าง หากขาด การดูแลย่อมเกิดความเสื่อมโทรมตามมา แน่นอน ลองมาดูกันว่าผลกระทบจากการท�ำ เขือ่ นกัน้ ตลิง่ นัน้ เป็นอย่างไรบ้าง • ด้านอุทกศาสตร์ การท�ำเขื่อนกั้น ตลิ่งท�ำให้พื้นผิวของตลิ่งมีความเรียบเสมอ กันไปหมด ดังนั้น จะส่งผลให้น�้ำไหลเร็ว และแรงขึน้ อาจส่งผลให้พนื้ ทีอ่ ยูท่ า้ ยเขือ่ น กั้ น ตลิ่ ง พั ง ทลายได้ โ ดยง่ า ย โดยเฉพาะ สภาพทางภู มิ ศ าสตร์ ข องเขาหลวง ที่ มี น�ำ้ ป่าไหลหลากอย่างเป็นธรรมชาติทกุ ปี ก็ จะเพิม่ ความแรงให้ทวียงิ่ ขึน้ • ด้านคุณภาพน�ำ้ เมือ่ น�ำ้ ไหลมาตาม ล�ำน�ำ้ และตลิง่ ธรรมชาติ ความไม่สม�ำ่ เสมอ กันของตลิ่ง รวมทั้งพืชพรรณที่เกิดขึ้นริม ตลิ่ง แต่ละจุดจะท�ำให้เกิดน�้ำวนบ้าง ซึ่ง น�้ำวนที่ว่านี้ จะท�ำให้ปริมาณออกซิเจน

ในน�้ำเพิ่มขึ้นและท�ำให้น�้ำมีคุณภาพดีขึ้น เช่ น เดี ย วกั บ การมี หิ น หลากหลายขนาด กระจายอยู่ทั่วคลองจะท�ำให้คุณภาพน�้ำดี อยู่เสมอจากการบ�ำบัดตามธรรมชาติ ดัง นั้นเมื่อในพื้นที่ที่ควรมีหินตามธรรมชาติ กลับกลายเป็นไม่มี น�ำ้ บริเวณนัน้ จึงนิง่ และ เน่าเสียได้งา่ ย • ด้านนิเวศวิทยา พืชพรรณริมน�้ำ ซึ่งอยู่ใต้น�้ำในบางช่วงของปี เป็นแหล่งท�ำ รังวางไข่ของปลาและกุ้งนานาชนิด ต้นไม้ หลายสายพันธุ์ที่ขึ้นริมน�้ำ เมื่อลูกไม้สุกจะ ร่วงหล่นลงน�้ำ กลายเป็นอาหารส�ำหรับ สัตว์น�้ำบางชนิด น�้ำที่ไหลเอื่อยอย่างช้าๆ ในฤดู แ ล้ ง จะใสมากขึ้ น ท� ำ ให้ แ สงแดด สามารถส่องลงมา เอื้อให้สาหร่ายเติบโต กลายเป็นแหล่งอาหารทั้งส�ำหรับคนและ สัตว์น�้ำ พืชพรรณที่เติบโตอยู่ริมตลิ่งก็เป็น แหล่งอาศัยและหลบภัยของนกน�้ำขนาด

เมื่อชาวบ้านขุดหัวมันแล้ว สวนมะพร้าวที่ มีเศษลูกมะพร้าว สวนยางพาราที่มีตอและ รากของไม้ยางพาราอยู่เมื่อมีการตัดโค่นเพื่อ ท�ำการเพาะปลูกใหม่ซึ่งต้องมีการปลูกใหม่ ทุก ๒๕ ปี เป็นต้น เศษชีวมวลจากพื้นที่ เพาะปลูกนี้หากมีการน�ำมาใช้เป็นพลังงาน ชีวมวลจะก่อรายได้แก่เกษตรกรโดยตรง นับ เป็นการสร้างรายได้เสริม สามารถท�ำให้ภาค การเกษตรของไทยมีความเข้มแข็งขึ้นได้ จึง เห็ น ได้ ว ่ า ปริ ม าณชี ว มวลที่ ผ ลิ ต ได้ ภ ายใน ประเทศ ขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตทางการ เกษตรและมีหลายชนิดที่เป็นผลิตผลเหลือ ใช้ จ ากโรงงานแปรรู ป ทางเกษตรกร จึ ง สมควรพิจารณาความเหมาะสมของชีวมวล แต่ละประเภททีจ่ ะน�ำมาเป็นเชือ้ เพลิงในการ ผลิตไฟฟ้า ดังนี้ กากอ้อย ได้จากโรงงานน�้ำตาล โรงงานน�ำ้ ตาลทีม่ เี ครือ่ งจักรทีผ่ ลิตไฟฟ้าอยูแ่ ล้ว หากมีการดัดแปลงเครื่องจักรเพื่อผลิตไฟฟ้า

นอกฤดูหีบอ้อย ก็จะลงทุนไม่มากและได้ผล ตอบแทนค่อนข้างดี แต่ปริมาณกากอ้อยที่ เหลือจากการผลิตน�้ำตาลต้องมีปริมาณมาก พอ หรือหากมีเครื่องจักรอยู่แล้ว ถ้ามีขนาด ใหญ่เกินไป ควรหาเชื้อเพลิงอื่นมาเสริมเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพให้สามารถท�ำงานได้มาก ขึน้ ซึง่ อาจใช้ชวี มวลชนิดอืน่ มาเผาร่วมกันได้ แกลบ แกลบถือว่าเป็นเชื้อเพลิงชีว มวลทีด่ ที สี่ ดุ เพราะมีความชืน้ ต�ำ่ ไม่ตอ้ งผ่าน เครื่องย่อยก่อนน�ำไปเผาไหม้ มีสัดส่วนขี้เถ้า มากกว่าชีวมวลชนิดอื่น และการน�ำแกลบ มาใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า มีข้อจ�ำกัดอยู่ ทีก่ ารรวบรวมจากโรงสีซงึ่ อยูก่ ระจัดกระจาย กากปาล์ ม โดยทั่ ว ไปโรงงานสกั ด น�้ำมันปาล์มมีเครื่องจักรผลิตกระแสไฟฟ้า อยู่แล้ว แต่ส่วนใหญ่จะออกแบบขนาดของ การผลิ ต ไว้ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการใช้ ภายในโรงงาน จึงยังมีกากปาล์มเหลืออยูเ่ ป็น จ�ำนวนมาก ดังนั้น การน�ำกากปาล์มมาใช้ ผลิตไฟฟ้าให้มากขึ้น จึงเป็นทางหนึ่งในการ ก�ำจัดกากปาล์ม และน�ำไฟฟ้าส่วนที่ผลิตได้

เล็ก หลายชนิด บทบาทหน้าที่ของตลิ่ง ธรรมชาติ จ ะเลื อ นหายไปทั น ที ห ากถู ก ทดแทนด้วยเขือ่ น • ด้านสังคมและสุขภาพ น�้ำที่ไหล แรงและเร็วผ่านพื้นผิวเรียบของเขื่อนหิน เป็นอันตรายต่อเด็กๆ ที่จะลงเล่นน�้ำ ไม้ ยืนต้นทีเ่ คยตัง้ ตระหง่านอยูร่ มิ ตลิง่ ก็จะถูก โค่นทิ้งไป เพื่อใช้พื้นที่ในการสร้างเขื่อน ความงามอั น อ่ อ นโยนและขอบโค้ ง เว้ า งดงามของตลิ่ ง ธรรมชาติ จ ะถู ก แทนที่ ด้วยภาพของหินอันหยาบกระด้าง ไร้ซึ่ง สุนทรียภาพ • ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการสร้าง เขื่ อ นกั้ น ตลิ่ ง โดยทั่ ว ไปมี ร าคาที่ สู ง มาก นอกจากนัน้ ยังมีตน้ ทุนแฝงทีส่ งั คมไม่เคย น�ำมาคิดค�ำนวณร่วมด้วย อันมีสาเหตุมา จากคุณค่าทางสุนทรีภาพและการท่องเที่ยวที่ลดลง เด็กและเยาวชนขาดโอกาส และไมมีพื้นที่เล่นและพักผ่อนหย่อนใจ ริ ม แม่ น�้ ำ พื้ น ที่ ท� ำ รั ง วางไข่ ข องสั ต ว์ น�้ ำ และนกหายไป ผลกระทบต่อระบบห่วง โซ่อาหารและโอกาสในการหาปลาของ ชาวบ้ า น รวมทั้ ง การพั ง ทลายของตลิ่ ง บริเวณพื้นที่ท้าย นอกจากนี้แล้ว ความ งามของธรรมชาติและวิถีชีวิตริมน�้ำที่เป็น จุดดึงดูดให้นักท่องเที่ยวจาก ทั่วทุกภาค ของประเทศ รวมทั้งจากต่างประเทศเดิน ทางมาชืน่ ชม ก็จะค่อยๆ หมดไป ในเวลานี้ อ าจไม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ต ้ อ ง ยอมรับการเปลี่ยนแปลง แต่เราคงต้อง เรี ย นรู ้ ก ารเอาชี วิ ต รอดจากภั ย พิ บั ติ ที่ ม นุ ษ ย์ เ ราเป็ น ผู ้ เ พิ่ ม ความรุ น แรงให้ ธรรมชาติอกี ด้วย

เกินมาขายภายนอก ไม่เพียงแต่ใช้ภายใน โรงงานเพียงอย่างเดียว เศษไม้ ส่วนใหญ่เราได้จากยางพารา ซึ่งมีมากทางภาคใต้ เศษไม้มีความชื้นสูง และแหล่งที่ได้อยู่กระจัดกระจาย ต้นทุน ของเศษไม้จึงสูงกว่าเชื้อเพลิงชีวมวลอื่นๆ และผลตอบแทนไม่สงู นัก ซังข้าวโพดและกาบมะพร้าว ยังมี ปริมาณไม่มาก และอยูก่ ระจัดกระจาย ใน ขณะนี้ จึ ง เหมาะที่ จ ะเป็ น เชื้ อ เพลิ ง เสริ ม มากกว่าจะใช้เป็นเชือ้ เพลิงหลักในการผลิต ไฟฟ้า อีกหนึ่งเชื้อเพลิงที่ก�ำลังได้รับความ นิยมคือ หญ้าเนเปียร์ ซึง่ เริม่ มีการปลูกกัน มากทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อน บ้ า นโดยนั ก ลงทุ น ชาวไทย ดั ง นั้ น หากดู ด้านศักยภาพจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมี ศักยภาพในเรือ่ งของแหล่งเชือ้ เพลิงชีวมวล อย่างมากแต่ปจั จุบนั ยังอยูใ่ นระยะของการ ศึกษาเพื่อหันมาใช้ชีวมวลอย่างกว้างขวาง และมีประสิทธิภาพ (อ่านต่อฉบับหน้า)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๕

อาจารย์แก้ว

ฟฟ้ า เป็ น พลั ง งานที่ ส� ำ คั ญ ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น มี บ ทบาทต่ อ การพั ฒ นา ประเทศและมี บ ทบาทต่ อ เศรษฐกิ จ และ สั ง คมอย่ า งมาก การผลิ ต ไฟฟ้ า ของไทย เท่าที่ผ่านมาเราผูกพันกับการใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิ ล ซึ่ ง ต้ อ งน� ำ เข้ า จากต่ า งประเทศ ท�ำให้ต้องสูญเสียเงินตราเป็นจ�ำนวนมาก และด้วยข้อจ�ำกัดของเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่ง เป็นแหล่งพลังงานที่ธรรมชาติสะสมไว้ การ ที่จะเกิดขึ้นใหม่ต้องใช้เวลานานมากการน�ำ ทรั พ ยากรที่ ธ รรมชาติ เ ก็ บ สะสมไว้ ม าใช้ นั้นย่อมหมายถึงว่าวันใดวันหนึ่งไม่นานนัก แหล่งทรัพยากรดังกล่าวย่อมหมดลงหรือ มีราคาสูงมาก ด้วยเงื่อนไขนี้เองประกอบ กับปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจึงเป็นแรง ผลักดันให้เรามุ่งหาเชื้อเพลิงประเภทอื่นมา เป็นทางเลือกเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล แม้ในการเริ่มต้นจะไม่สามารถทดแทนได้ ทั้งหมด แต่ก็จะช่วยบรรเทาความสิ้นเปลือง ของการใช้ลงได้ โรงไฟฟ้าชีวมวลเป็นทาง เลือกหนึ่งของการใช้พลังงานทดแทน ซึ่ง จะมีผลดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมทั้งในระดับประเทศและชุมชน จึงมีความจ�ำเป็นที่เราต้องศึกษาถึงประโยชน์ ข องการใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวล เพื่ อ พัฒนาโรงไฟฟ้าประเภทนี้ และเพิ่มสัดส่วน การใช้ให้มีจ�ำนวนมากขึ้นในอนาคต ในพื้น ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชเองก็มีโรงไฟฟ้า พลังงานชีวมวลเกิดขึ้นใหม่หลายแห่ง

พลังงานชีวมวล

“พลังงาน” เป็นสิ่งส�ำคัญในการด�ำรง ชีพของมนุษย์มาช้านานแล้ว ชีวมวลเป็น พลังงานแหล่งแรกๆ ของคนเรา เราใช้ชีว มวลในการหุงต้มอาหารและให้ความอบอุ่น แต่เมื่อเรามีความก้าวหน้าทางวิทยาการ มากขึ้ น จึ ง ได้ น� ำ เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล มาใช้ เป็นแหล่งผลิตพลังงาน ซึ่งมีความสะดวก มากกว่า ในที่สุดก็กลายเป็นแหล่งพลังงาน หลักจนท�ำให้ชีวมวลลดความส�ำคัญลง พลั ง งานชี ว มวลยั ง คงเป็ น แหล่ ง พลังงานที่มีความส�ำคัญเป็นอันดับที่สี่ของ การใช้ในโลกของเรา โดยมีสัดส่วนเป็นร้อย ละ ๑๕ ของพลังงานทั้งหมดที่ใช้อยู่ในโลก นอกจากนี้ ชีวมวลยังเป็นแหล่งพลังงาน

ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นา ประมาณกันว่า ประชากรกว่าร้อยละ ๔๐ ของประชากรโลก ยังอาศัยชีวมวลในการหุง ต้มและให้ความอบอุ่น ประเทศก�ำลังพัฒนา หลายประเทศในเอเชียและแอฟริกาใช้ชีว มวลเป็นแหล่งพลังงานถึงร้อยละ ๘๐ ส่วน ประเทศไทยของเรามีการใช้ชีวมวลเพื่อเป็น เชื้อเพลิงมากเป็นอันดับที่สี่ รองจาก น�้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ เราได้ชีวมวล จากผลิตผลภายในประเทศค่อนข้างมาก แต่ ปริมาณที่ได้ไม่คงที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลิตผล ทางการเกษตรในแต่ละปี หลังจากที่เราใช้ เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล มาผลิ ต พลั ง งานกั น เป็ น เวลานาน หลายปีที่ผ่านมาจึงได้ตระหนัก ถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการ ใช้เชื้อเพลิงประเภทนี้ โดยเฉพาะการท�ำให้ เกิดการสะสมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในชั้นบรรยากาศ น�ำไปสู่การเกิดปฏิกิริยา เรื อ นกระจก และท� ำ ให้ อุ ณ หภู มิ ข องโลก สูงขึ้น การใช้ชีวมวลเป็นพลังงานจะไม่เพิ่ม

ปริมาณสุทธิของคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้น บรรยากาศ หากมี ก ารผลิ ต ชี ว มวลขึ้ น มา ทดแทนชีวมวลที่ใช้ไปแล้วเพราะการเกิด ชีวมวลใหม่จะใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เท่ า กั บ ปริ ม าณที่ อ อกมาจากการเผาไหม้ ชี ว มวล นอกจากนี้ ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี แปรรูปชีวมวลไปเป็นพลังงานต่างๆ เช่น ก๊าซ เชื้อเพลิงเหลว และพลังงานไฟฟ้า มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น จึงได้รับความสนใจและ หันมาใช้กันมากขึ้น

ชีวมวลคืออะไร

ชี ว มวล (Biomass) หรื อ เชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ที่ ไ ด้ ม าจากอิ น ทรี ย ์ สารหรือสิ่งมีชีวิต เช่น จากผลผลิตทางการ เกษตรต่ า งๆ เช่ น แกลบ ฟาง กากอ้ อ ย ต้นอ้อย กะลาปาล์ม ทะลายปาล์ม กะลา มะพร้าว เศษไม้ เศษหญ้า นอกจากนี้ยัง รวมถึงมูลสัตว์ที่ใช้ในการเกษตร เช่น โค และสุกร และของเสียจากโรงงานแปรรูป

ทางการเกษตร เช่น เปลือกสับปะรด จาก โรงงานสับปะรดกระป๋อง หรือน�้ำเสียจาก โรงงานเป็นต้นจะเห็นได้ว่า ชีวมวล เป็นสิ่ง ที่เราพบเห็นได้ทั่วไปรอบๆ ตัวเรานั่นเอง และเป็นเชื้อเพลิงที่คนเรารู้จักและใช้กัน มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ใช้ในครัวเรือนในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ฟืน ถ่าน จนถึงปัจจุบันก็ยังมีใช้กันอยู่ แม้จะ ไม่แพร่หลาย เพราะมีเชื้อเพลิงอื่นเข้ามา แทนที่ ประกอบกับมีความยุ่งยากในการ ใช้เชื้อเพลิงชนิดนี้ แต่ก็นับว่า ชีวมวลยัง เป็นเชื้อเพลิงที่ใกล้ชิดกับชีวิตคนเรามากที เดียว การที่ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงหมุนเวียน รูปแบบหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นใหม่ทดแทน ได้ตลอดเวลา ใช้แล้วไม่หมดไปอย่างเชื้อ เพลิงฟอสซิล จึงมีการศึกษาพัฒนาเพื่อ ส่งเสริมให้มีการใช้ชีวมวล โดยเฉพาะชีว มวลจากการเกษตร ซึ่งสามารถน�ำมาเป็น เชื้อเพลิงส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรือ น�ำมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า ท�ำให้สามารถ ลดปริมาณการน�ำเข้าเชื้อเพลิง ฟอสซิล จากต่ า งประเทศ และประหยั ด เงิ น ตรา จ� ำ นวนมาก หากมี ก ารน� ำ ชี ว มวลมาใช้ เพื่อการผลิตไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบและมี ประสิทธิภาพ จะเกิดประโยชน์เบื้องต้นที่ เห็นได้ชัดเจน คือ - เศรษฐกิจท้องถิ่นจะเจริญเติบโต เกษตรกรจะมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจาก สามารถขายได้ทั้งผลิตผลทางการเกษตร และเศษเหลื อ จากการเกษตรที่ เ คยทิ้ ง และก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ กั บ ชุ ม ชนผ่ า นทาง ภาษีท้องที่ - มี ก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ ตามมา เนื่องจาก โครงการผลิตกระแส ไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวล สามารถช่วย พัฒนาอุตสาหกรรม ต่อเนื่องในท้องถิ่นได้ - ช่วยสร้างงานในท้องถิ่นนั้น เพราะ จะมีการจ้างงานเพื่อท�ำงานในโรงไฟฟ้า เกิดระบบเศรษฐกิจรอบแหล่งผลิต เงิน หมุนเวียนอยู่ในท้องถิ่น ประชาชนไม่ย้าย ถิ่นฐานเพื่อหางานท�ำที่อื่น - เป็ น ทางเลื อ กใหม่ ใ นการผลิ ต กระแสไฟฟ้า ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ความมั่ น คงในการผลิ ต กระแส ไฟฟ้าของประเทศจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมี โรงไฟฟ้ า พลั ง ชี ว มวลขนาดเล็ ก กระจาย อยู่ทั่วประเทศ ปัญหาไฟตกไฟดับในพื้นที่ ห่างไกลจะลดลงหากมี โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ไปอยู่ใกล้ๆ (อ่านต่อหน้า ๑๔)


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๖

ต้

Tarzanboy

องขออภัยไว้ล่วงหน้า หากพรานป่า อย่างผม จะแนะน�ำการปลูกป่าให้เป็น ป่าบ้าง นั่นเพราะค�ำแนะน�ำนี้ อาจจะยาก เข้าใจ กระทบ หรือขัดจริตเจตนาดีของ หลายๆ ท่าน ป่ า ...คื อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ ร วมกั น ต้นไม้เล็ก ใหญ่ วัชพืช สัตว์ แมลง ล�ำธาร และคน การรวมตัวกันจนเป็นป่านั้น คือ ความต่างระหว่างสายพันธุ์ รูปร่าง ต�ำแหน่ง และนิสัยการด�ำรงอยู่ จู่ๆ เราจะเอาต้นไม้ ต้นหนึ่ง...ปลูก...ลงตรงไหนนั้นไม่ได้หรอก ครับ ยิง่ เอาเมล็ดพันธุน์ บั ร้อยนับพัน หว่าน ปลูก แม้จะเฝ้าดูแล หรือทิง้ ขว้าง สิง่ ที่ เกิด ขึ้นนั้นมันไม่ใช่ป่า...อย่างที่ป่าเป็น รบกวน ลองท�ำความเข้าใจนะครับ ง่ายๆ จากการ ไปยืนดูป่าจริงๆ ให้แน่ใจ เราจะเห็นว่า .... ในป่านั้นต้นไม้ชนิดเดียวกัน ไม่สามารถยืน อยู่ใกล้กัน ไม่เคยมี...ต้นไม้แต่ละชนิด จะ เลือกต�ำแหน่งของตัวเอง ระยะห่าง ขนาด และอายุ ส่งผลให้เป็นความลดหลัน่ เกือ้ กูล และด�ำรงต�ำแหน่งในหน้าที่ของตนได้อย่าง พอดี ...ที่แดดจัดย่อมมีวัชพืช และที่มีร่ม เงา ย่อมมีความชื้น อัศจรรย์อีกอย่างที่เรา หลายคนไม่เคยรูค้ อื ...ความห่าง ความต่าง ของชนิดและสายพันธุน์ นั้ คือหัวใจของการ

เหมื อ นกั บ คนเราแหละครั บ จู ่ ๆ คุ ณ จะ เอาลูกคุณไปโยนไว้ในครอบครัวอื่น ถิ่นอื่น แล้ ว หวั ง ว่ า เขาจะยั ง เป็ น เขาเช่ น เดิ ม นั้ น คงเป็นไปไม่ได้ หรือคุณเอาพ่อแม่คุณไป โยนไว้ในบ้านพักคนชรา ...สุขกายสุขใจ ที่แท้มันจะเกิดได้อย่างไร นั่นแค่โรงเลี้ยง ไม่ใช่บ้าน นั่นไม่ใช่ป่า ....ยังไงก็ตามมีเรื่อง ทีน่ า่ สังเกตุอยูป่ ระการหนึง่ "ป่ า และธรรมชาติ แ ท้ อ ยู ่ ไ ด้ เ พราะ ด�ำรงอยู่ ต้นไม้ต้องห่างกันพอดี และต่าง เดิมเป็นอะไร ลูกหลานเค้าอยู่ไหน และ เขาต่างกัน ... แต่คนเราไม่ได้เป็นเช่นนั้น ชนิดกัน ช่องว่างระหว่างพุม่ จะแลกเปลีย่ น ล�ำธารหรือปุ๋ยหล่อเลี้ยงเขาเป็นยังไง ...ก็ ท�ำไม ???" โอโซน ช่องว่างระหว่างราก จะหาอาหาร ต่างกัน ใบไม้ทรี่ ว่ งหล่น เป็นปุย๋ ต่างชนิดกัน ถ้าเราเอาต้นไม้ชนิดเดียวกัน ปลูก และปลู ก มั น คื อ สวนป่ า ที่ เ ราต้ อ งดู แ ล ตลอดเวลา ไม่ งั้ น ก็ จ ะไม่ ไ ด้ ผ ล ถ้ า เรา ปลูกต้นไม้พร้อมๆ กัน มันจะโตใกล้เคียง กัน และไม่มีช่องว่างอันเป็นความลับของ มวลอากาศ แม้เราจะเลือกเว้นระยะห่าง ให้ต่างกัน ก็ไม่ใช่สูตรแห่งการเติบโตของ ป่า ...ดินเลือกไม้ และป่าเลือกที่จะ ...คัด เลือก...กันเอง จริงอยูเ่ ราต้องปลูกป่า ดีกว่า ไม่ทำ� อะไรเลย ทว่าหากเราเอาเอเลีย่ นสปีชี่ ย์ไปปล่อยด้วยเจตนาดี เท่ากับเราก�ำลัง ท�ำลาย ป่า...ในแบบที่ป่าควรเป็น เราต้อง ศึกษา เฝ้าดู และถอดรหัสให้ได้ว่า พื้นที่ บริเวณที่เราจะปลูกป่า เคยมีพืชพรรณไม้


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ ศาสนสถานแห่ งใหม่ ข องพี่น้อ งมุสลิม ตั้งอยู่ใกล้ตลาดช้อย เส้นทาง เบญจม ฯ - สนามบิน ภูมิสถาปัตย์และที่ตั้งลงตัวมากมาก เพราะหันหน้าไปทิศตะวันออก ด้านหลังเป็นแนวเทือกเขา นครศรีธรรมราช เป็นโลเคชั่นใหม่ที่คนชื่นชอบ การถ่ายภาพเฝ้ารอแสงเช้าแสงเย็น เพื่อบันทึกภาพได้อย่างไม่รู้จักเบื่อ ปัจจุบันยังอยู่ในช่วงการก่อสร้าง ถ้าเสร็จสมบูรณ์คงงดงาม ไม่แพ้มัสยิดกลางจังหวัดอื่น ๆ แน่นอน

หน้า ๑๗


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๘

ทั

กทายยามสายลมร้ อ นเริ่ ม ผ่ อ น คลาย .. ส่งท้ายบรรยากาศลมร้อน ของช่ ว งฤดู ร ้ อ นที่ มี ทั้ ง ร้ อ นและแล้ ง .. ต้ อ นรั บ สายลมบางเบากั บ การย่ า งเข้ า รับต้นฝนในเดือนหกกันนะคะ .. เอาใจ ช่วยทุกๆ หัวใจที่เฝ้ารอคอยน้องฝนจะ มาเยือนไปด้วยกันค่ะ เพื่อจะได้ดับความ ร้ อ นของอากาศ และความรุ ่ ม ร้ อ นใน หัวใจกับภัยแล้ง ... ว่ากันว่าเศรษฐกิจ เงียบเหงา ก็ขออย่าให้ธรรมชาติมาซ�้ำ เติมชาวสวนชาวไร่กันอีกเลย โอ ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ เ ลยขอท้ า คุ ณ ผู ้ อ่านไปชวนชิมอาหารอร่อยหลากหลาย เมนู กั บ ร้ า นที่ มี บ รรยากาศร่ ม รื่ น น่ า รื่นรมย์ ในพื้นที่สวนของบ้านราวไร่เศษๆ ติดถนนอ้อมค่ายค่ะ สามารถจอดรถริม ถนนได้ทันทีที่เกิดความหิว .. ซุ้มไม้ที่ตั้ง วาง สลับเก้าอี้ม้าหินอ่อน เกือบๆ ยี่สิบ ซุ้ม ส�ำหรับนั่งรับประทานอาหาร และ นั่ ง เล่ น แบบเย็ น สบายท่ า มกลางร่ ม ไม้ ใหญ่ หลบร้อนแบบอร่อยจนไม่อยาก วางช้ อ นกั บ เมนู อ าหารพื้ น บ้ า นนานา ชนิด พร้อมขนมจีน น�้ำยา น�้ำยากะทิ น�้ ำ พริ ก และแกงเขี ย วหวานรสชาติ เข้มข้น ขับรถตรงมาผ่านโรบินสัน ถึงสี่ แยกพัฒนาการคูขาง ขับตรงไปผ่านโรง พยาบาลนคริ น ทร์ ถนนเส้ น อ้ อ มค่ า ย วชิราวุธซึ่งรู้จักกันดี มองทางซ้ายมือ ติด กับร้านโกปี๊ สาขาอ้อมค่ายที่ก�ำลังจะเปิด บริการเร็วๆ นี้ แล้วหาที่จอดรถริมถนน ได้เลยค่ะ เห็นป้ายโค้กสีแดงสดใส ชื่อ ร้าน “ป้าใจ” ที่โดดเด่น ... เดินเข้าไป บริเวณซ้ายมือ แวะเลือกอาหารเมนูเด็ด ที่ท่านชื่นชอบ แล้วไปนั่งรอยังซุ้มไม้ที่จัด

วางเรียงรายอย่างสะอาดตาได้เลย เพียง แค่อึดใจเดียวอาหารก็มาถึง พร้อมผักสด และน�้ำพริกกะปิเข้มข้นอันถือเป็นจุดเด่น ของร้าน ที่ลูกค้าล้วนติดใจ .. ครัวของร้าน ป้าใจ จ่ายของกันทุกวันนะคะเพราะฉะนั้น มั่นใจได้เลยว่าลูกค้าที่มาใช้บริการที่นี่ได้ รับประทานของสดกันทุกวันค่ะ ปริ ม าณการประกอบอาหาร หลั ง จากที่ เ ปิ ด บริ ก ารมากว่ า สี่ ป ี ด้ ว ยความ ช� ำ นาญสามารถกะปริ ม าณการผลิ ต ต่ อ วันได้อย่างลงตัว ร้านป้าใจเปิดบริการมา ตั้งแต่วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดย การควบคุมดูแลของป้าใจ (คุณป้าสายใจ ศิริคณินทร์), ลูกสาวแสนสวยคุณแมว และ

ทีมงานเกือบสิบชีวิต ที่เน้นเรื่องคุณภาพ ทั้งวัตถุดิบและการปรุง การปรุงรสของที่ นี่จะไม่ใช้ผงปรุงรสส�ำเร็จรูปเข้าช่วย เน้น การใช้เกลือ น�้ำตาลปี๊บ และเครื่องปรุงรส ของแบบบ้านๆ สะอาด ปลอดภัยไร้สาร ตกค้าง สร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคได้ อย่างแน่นอน เมนูสุดฮิตติดปากของร้านก็ หลากหลายนะคะ ขึ้นอยู่กับความชื่นชอบ แต่ที่แน่แน่ครบครันด้วยสารอาหาร ไม่ ว่าจะเป็น ฟักทองผัดไข่, บวบผัดไข่, ผัด วุ้นเส้น, ต้มจืดต่างๆ, ไก่พะโล้, แกงส้ม ปลาหมอ ตัวโตๆ, ฉู่ฉี่ปลาทูตัวโต ทั้งหวาน และมัน, แกงพริกกระดูกหมู, ผัดกะเพรา, แกงไก่บ้านหยวกกล้วย,แกงคั่วปลาดุกนา

กับใบรา, แกงคั่วพริกปลากระเบน ซึ่ง หารับประทานยากในปัจจุบัน ส่วนขนม หวานทุ ก อย่ า งก็ ล ้ ว นน่ า ทาน ไม่ ว ่ า จะ เป็นลูกลานเชื่อม, ลูกตาลเชื่อม (ซึ่งอาจ จะหารับประทานได้บางฤดูกาล), ลอดช่องเขียว, รวมมิตร, ฟักทองเชื่อม, กวน ขาว, เฉาก๊วย ฯลฯ สลับสับเปลี่ยนกัน ในแต่ละวันค่ะ แค่อ่านเมนู ต่อมน�้ำลาย ก็เริ่มท�ำงานแล้วค่ะ อย่าได้รอช้า .. ว่า แล้วก็หยิบกุญแจรถขับตามกันมาเลยนะ คะ ร้านหาง่ายมากค่ะ .. อิ่มอร่อยแบบ คุณภาพ แต่ราคาเป็นกันเองกับร้านป้า ใจ ข้าวแกง ขนมจีน ขวัญใจคนนครฯ ค่ะ ร้ า นนี้ เ ปิ ด เช้ า มากๆ ค่ ะ เปิ ด ให้ บริการตั้งแเต่เวลา ๐๗.๓๐ ถึง ๑๕.๓๐ น. ทุ ก วั น ปิ ด เดื อ นละสองครั้ ง ในวั น ที่ ๑ และ ๑๖ ของเดือน (เนื่องจากสองวันนี้ ลูกค้าจะเงียบค่ะ) ทางร้านเลยขอพักผ่อน สามารถเข้าใช้บริการเป็นหมู่คณะได้นะ คะ ติ ด ต่ อ จองสถานที่ ไ ด้ ที่ โทร.๐๗๕๓๔๗-๘๘๙ อย่าลืมแวะมาลองชิม "ร้านป้าใจ ขนมจีน และข้าวแกงพื้นเมือง" อิ่มอร่อย แบบสบายกระเป๋าแน่นนอนค่ะ โอ ลั่ลล้า ฟันธง .. อิ่มแล้วก็ลากัน แล้วพบกันด้วย ความคิดถึงฉบับหน้านะคะ..


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.