ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ชีวิตติดล้อ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗
www.nakhonforum.com
www.facebook.com/rakbaankerd
อุ
ทกภัยหลังการฉลองเทศกาล วันขึน้ ปีใหม่ ๒๕๖๐ ทีเ่ กิดใน ๒๓ อ�ำเภอจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็ น เหตุ ก ารณ์ น ่ า ตื่ น กลั ว และผิดความคาดหมาย ชาวนคร วางใจว่าหลังน�้ำท่วมครั้งแรกช่วง ต้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๙ ขึ้นปี ใหม่ฝนจะหยุดตก บางคนท�ำนายว่าฤดูรอ้ นปี ๒๕๖๐ จะรุนแรง กว่าปี ๒๕๕๙ ที่ขาดแคลนน�้ำอย่างรุนแรง ทว่า กลิ่นงานเฉลิม ฉลองยังไม่ทันจาง ลูกหลานกลับมาเยือนบ้านยังไม่กลับ แต่ฝน ที่ตกครอบคลุมเทือกเขาหลวงตั้งแต่วันที่ ๒ มกราคม จนถึงวัน ที่ ๙-๑๐ มกราคม เกินก�ำลังของป่าจะเก็บอุ้มน�้ำไว้ได้ กระแส
น�้ำขุ่นทะลักลงคลองสายหลักไหลหลากตลอดสองฟากเทือกเขา ท่วมบ้านเรือนในอ�ำเภอทุ่งสง พิปูน ฉวาง ช้างกลาง ลานสกา ร่อนพิบลู ย์ ชะอวด หัวไทร เชียรใหญ่ ปากพนัง เมือง และทุกๆ อ�ำเภอ >> อ่านรายงานหน้า ๖ ภาพโดย : นพ.รังสิต ทองสมัคร์
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๒
(bunchar.com การพระศาสนา, เพื่อแผ่นดินเกิด 20160520)
อุทกภัยหลังเทศกาลฉลองปีใหม่ ๒๕๖๐ ในจังหวัด นครศรีธรรมราชเป็นประสบการณ์ร้ายและดีที่น่าขบคิด ใคร่ครวญยิ่ง ประสบการณ์ร้ายได้แก่ การสูญเสียชีวิต ทรัพย์สิน งบประมาณ ความไม่คล่องตัวของหน่วย งานรัฐ ตลอดจนความเพิกเฉยและการฉวยโอกาสของ ท้องถิ่นท้องที่ อุทกภัยครั้งนี้มีผู้เสียชีวิต บ้านเรือน และทรัพย์สิน การค้าชะงักและภาคเกษตรกรรมสูญ เสียและเสียหาย จังหวัดไม่สามารถเปิดรับบริจาคเงิน ช่วยเหลือเพราะความไม่คล่องตัวงานด้านการคลัง ด้านดีเป็นผลมาจากด้านร้าย เนื่องจากน�้ำท่วมเป็น วงกว้างและมีปริมาณมากกว่า ความเดือดร้อนเกิด เป็นเงาตามตัว เมื่อหน่วยงานรัฐเชื่องช้า องค์กร สาธารณกุศล นักธุรกิจ กลุ่มบุคคล สถานประกอบ การ บริษัท ห้างร้านและบุคคล เกิดการตื่นตัวขึ้น มาระดมความช่วยเหลือเท่าที่สามารถท�ำได้ อาศัย โซเชี่ยลมีเดียและสื่อออนไลน์ขอบริจาคเครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรคและอาหารน�ำไปแจกจ่ายแก่ผู้ประสบภัย ขนานกับหน่วยงานรัฐที่มีส่วนรับผิดชอบ ด้วยสิ่งที่ เรียกว่าจิตอาสา ซึ่งเป็นนิมิตรหมายที่ดีงาม หรือเป็น แสงเรืองรองที่สามารถชี้น�ำเมืองนครกลับไปสู่ความ เจริญก้าวหน้าอย่างในอดีต การวิเคราะห์สาเหตุของอุทกภัยเพื่อหาทางป้องกันใน ระยะยาวเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ ซึ่งต้องรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนอย่างเห็นความส�ำคัญ แต่ ส�ำหรับชาวนครหลังอุทกภัยอันสาหัสครั้งนี้ทุกคนต้อง ช่วยกันคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้พลังแห่งจิตอาสาคงอยู่ ต่ อ ไปและเติ บ โตขึ้ น โดยไม่ ต ้ อ งอาศั ย ภั ย พิ บ ั ต ิ เ ป็ น เครื่องกระตุ้น องค์กรเอกชน บริษัท ห้างร้าน สถาน ประกอบการ กลุ่มบุคคลและบุคคลต้องช่วยกันฟูมฟัก รักษาพลังแห่งจิตอาสาและท�ำให้เติบโตขึ้นไปเรื่อยๆ เมื่อเริ่มต้นอย่างสวยงามก็ควรจะช่วยรดน�้ำพรวนดิน ให้จิตอาสาแตกกิ่งก้านเขียวขจีเป็นร่มเงาให้แก่สังคม และเป็ น พลั ง ผลั ก ดั น เมื อ งนครให้ ก ้ า วหน้ า เป็ น ที ่ ยกย่องชื่นชมตลอดไป
สิ้
นปี ๕๙ ต้นปี ๖๐ นีม้ นี ำ�้ หลากท่วมเมืองนคร ๒ รอบ รอบแรกเมื่อต้นเดือนธันวาคมหนักพอสมควร ครั้น หลังปีใหม่เพียง ๕ วันนั้นหนักมากหลากท่วมเกือบทั่วทั้ง เมืองนครตลอดจนถึงทั้งภาคใต้ โดยในรอบแรกนั้นทาง รัฐบาลถึงกับประกาศทุ่มจะท�ำสารพัดด้วยโครงการตาม แนวพระราชด�ำริฯ ทีค่ า้ งเติง่ มานานมาก ได้ขา่ วว่าจะใช้งบ ประมาณเป็นหมืน่ ล้าน มาครัง้ หลังนีย้ งั ไม่ได้ยนิ ข่าวว่าจะมี การเปลีย่ นแปลงอะไรอีกไหม แต่ได้ยนิ มีคนเปรียบเปรยว่า น�ำ้ ท่วมนครหลายรอบแล้วแต่ยงั ไม่มปี ฏิบตั กิ ารอะไรให้เห็น ผล สูท้ ชี่ มุ พรกับหาดใหญ่ไม่ได้ มีโครงการพระราชด�ำริแล้ว ท�ำกันทันทีจนน�ำ้ ทีเ่ คยท่วมถีก่ เ็ บาบางลงไปได้ อันที่จริงเมืองนครเรานี้มีโครงการพระราชด�ำริไม่ น้ อ ย เช่ น คลองไม้ เ สี ย บนั้ น ก็ ใ ช่ ที่ ท ่ า ดี - คี รี ว งก็ มี แต่ ที่ ใหญ่มากจนคนรู้จักกันทั่วก็คือโครงการประตูระบายน�้ำ ปากพนังและระบบชลประทานที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งคลอง ส่งน�้ำแพรกเมืองด้วย ส่วนที่จ�ำเพาะเจาะจงเรื่องป้องกัน อุทกภัยนั้น ถ้าจ�ำไม่ผิด พระเจ้าอยู่หัวทรงให้แนวพระ ราชด�ำริเป็นชุดใหญ่ตั้งแต่เมื่อคราวอุทกธรณีภัยใหญ่ ปี ๒๕๓๑ ที่เขาถล่มที่คีรีวง - กะทูน - พิปูน - ฉวาง และดู เหมือนว่าจะรวมถึงการจัดการน�้ำทั้งระบบ กล่าวคือแก้
ทั้งน�้ำแล้งและป้องกันน�้ำท่วมไปด้วยกัน ซึ่งบางอย่างก็ได้ ด�ำเนินไปบ้างแล้ว แต่ดูเหมือน (อีกเหมือนกัน) ว่าจะไม่ ครอบคลุมทั้งระบบ ด้วยมีอุปสรรคข้อปัญหามาก จน กระทั่งมีการปัดฝุ่นน�ำเสนอและดูเหมือนว่าจะสั่งการกัน แบบด่วนจี๋จนผมเองก็อดห่วงไม่ได้ ด้วยหลายเหตุ โดย เฉพาะน�ำ้ ทีท่ ว่ มรอบนี้ มีเหตุและปัจจัยทีเ่ ปลีย่ นไปจากเดิม หลายประการ ทั้งเรื่องภูมิอากาศของโลกและภูมิภาค ทั้ง ภูมิสัณฐานตลอดจนภูมิศาสตร์และการพัฒนาสารพัดของ พื้นที่ต่างๆ ไม่ว่าจะบนพื้นที่ป่าเขาสูงชัน ที่ราบไหล่เขา จนถึงที่ลุ่มล�ำน�้ำ ลงมาถึงที่ราบลุ่ม ทุ่งนา สันดอนทราย บึง จนถึงชายทะเลและชายฝั่ง เฉพาะฝนฟ้าเรื่องเดียวก็ ดูเหมือนว่าจะบอกไม่ถูกว่าคือพายุโซนร้อนอย่างแฮเรียต เมื่อปี ๒๕๐๕ หรือฟอเรสต์เมื่อปี ๒๕๓๖ หรือดีเปรสชั่น ก็ไม่ใช่ จะเป็นร่องความกดอากาศต�่ำก�ำลังแรงอย่างเมื่อ ปี ๒๕๓๑ ก็ไม่ใช่ เท่าที่ผมถามหลายท่านก็บอกกันคนละ อย่างสองอย่างที่ “คาดผิดคิดไม่ออกบอกได้ยาก” แต่ที่ แน่ๆ คือฝนตกหนักมากอย่างต่อเนื่องจนปริมาณน�้ำที่ลง มาในแต่ละพื้นที่รับน�้ำนั้นล้นแล้วก็หลากท่วมถล่มทั้งป่า เขา เรือกสวน ไร่นา ถนน สะพานและคอ ตลอดจนบ้าน ช่องและสิ่งปลูกสร้างทั้งหลาย ที่พวกเราถมสร้างกันไว้ อย่างไร้ระบบจนน�้ำที่พยายามไหลลงสู่ที่ต�่ำก็ล้นทะลักไป ตามแต่ละช่องเท่าที่มีเหลือ หรือไม่ก็ล้นท้นและขังรอเวลา จนกว่าจะหมด จนผมก็ไม่ใคร่แน่ใจว่านานาโครงการที่น�ำ เสนออย่างด่วนจี๋และได้รับการจี้เร่งทันทีนี้จะตรงต่อเหตุ และสภาพปัญหาอย่างถูกถ้วนแท้จริง ก่อนหน้านี้ เมือ่ หน้าแล้งทีเ่ พิง่ ผ่านมา เมืองนครก็เพิง่ ผ่านอีกวิกฤตที่เป็นอีกที่สุดอย่างเหลือเชื่อ คือแล้งไปทั้ง จังหวัดจนขาดน�้ำอย่างทั่วหน้า แล้วเทศบาลฯ ก็ท�ำท่าว่า เร่งรัดจะท�ำโครงการพิเศษเป็นพันล้านแบบผูกพันกันนาน มาก แต่เกิดการทัดทานจนเทศบาล (อ่านต่อหน้า ๙)
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๓
น�ำ้
ท่ ว มเมื อ งนครต้ น ปี ๒๕๖๐ ช่ า งหนั ก หนาสาหั ส และเกิ น ก�ำลังรับ พระบุญฤทธิ์ หงส์ประสาธน์ ประธานมูลนิธิประชาร่วมใจ อายุ ๘๑ เดินทางไปแจกข้าวของถึงแหล่งน�้ำท่วม กับทีมงานหลายพื้นที่หลายอ�ำเภอบอก เล่ากับผมว่า ไปพบชาวบ้านร้องห่มร้องไห้ บอกว่าน�้ำท่วมเที่ยวนี้สิ้นเนื้อประดาตัว ท่านบอกว่า...ยังไม่สนิ้ เนือ้ ประดาตัว บ้าน เรือนยังมี ข้าวของสูญหาย นาไร่ย่อยยับ ก็จริง แต่ยังมีที่อยู่อาศัย ถ้าไฟไหม้นั่น แหละจะล�ำบาก เพราะไร้ที่อยู่อาศัย น�้ำ ท่วมก็ช่วยเหลือบรรเทากันไป พอคิดได้ รอยยิม้ ก็คอ่ ยๆ ผุดขึน้ มา ประชาร่วมใจเป็นองค์กรสาธารณกุ ศ ลที่ มี อุ ป กรณ์ คน และจิ ต ใจอาสา ช่วยเหลือพร้อม แตกต่างจากบริษัท ผู้ ประกอบการ เอกชน กลุ ่ ม บุ ค คลและ ปั จ เจกบุ ค คล ที่ ต ่ า งคนต่ า งประกอบ อาชีพของตน บางคนไม่สามารถลงไป ช่วยเหลือได้ด้วยตัวเอง ก็สละทรัพย์สิน เกื้อกูล เช่น ห้างทองแสงสุวรรณที่หุง ข้าวใส่กล่องแจกจ่ายผู้เดือดร้อนช่วงน�้ำ ท่วมปลายปี ร้านผ้าโชคดีทแี่ จกข้าวปลา อาหารกล่อง ร้านผ้าจิมมี่ที่ปรุงอาหาร และสั่งซื้ออาหารกล่องให้กองทัพภาค ๔ น�ำไปแจกจ่ายแก่ผปู้ ระสบภัยในเมืองและ รอบนอก ดร.กณพ เกตุชาติ (ดร.โจ) และ ทีมเยาวชนจิตอาสาลุยน�้ำลงพื้นที่น�ำน�้ำ ข้าวปลาอาหารและเสื้อผ้า ไปตามชุมชน ที่เดือดร้อนตลอดเดือน ดีเจ.นายลูกหมี กั บ อภิ ช าติ ศั ก ดิ์ เ ศรษฐ์ , ประสิ ท ธิ์ คงทอง, พวงรัตน์ วิชัยดิษฐ์, ป้าจอย, นนทิ ว รรธน์ นนทภั ก ดิ์ กลุ ่ ม เพื่ อ นๆ
ปากพนัง, สัมพันธ์ กุย้ เส้ง ลุยช่วยชาวบ้าน, กลุม่ หอการค้า วาริน ชิณวงศ์ ร้านสลัดน�ำ้ , อารยา สารคุณ ฮอนด้าศรีนครกับกลุ่ม เพื่อนๆ จัดหาและขนข้าวของเครื่องใช้ไป แจกจ่าย, กรกต เตติรานนท์, โรงแรมราวดี ให้ที่พักแก่ชาวบ้านฟรี, อุ้ม โรงแรมลิกอร์ ชวนพนั ก งานจั ด หาข้ า วของไปแจกจ่ า ย และให้ลานจอดรถโรงแรมแก่คนไร้ที่จอด, คุณโจ้ สิงห์อรฉัตร, คุณพิชยั ร้านคันทรีโฮม, ตุ ด นาคร, ศิ ริ ว ร แก้ ว กาญจน์ นักเขียน, ณรงค์ ธีระกุลและชาวคลืน่ และ ทีวีมีดี, อาทิตย์ เพชรเศรษฐ์ ร้านเหล้า แสงจันทร์, คุณหมอรังสิต ทองสมัคร์ กับ
ชาวนครที่ถูกสบประมาทว่า ‘ดีแต่ปาก เก่งแต่พูด มีเสียงดัง แต่หาตัวไปไม่พบ ท� ำ งานเป็ น พวกได้ แต่ ท� ำ งานเป็ น ที ม เหลว’ เที่ ย วนี้ ค นหนุ ่ ม สาวและผู ้ สู ง วั ย แสดงออกซึง่ ความมีจติ อาสา อาสาบ�ำบัด ทุกข์ของชาวบ้านออกไป บางคนเอาก�ำลัง กาย ก�ำลังใจ บางคนทุ่มให้ทั้งทรัพย์สิน เงินทอง เวลา และแรงกายแรงใจ ท�ำงาน ใหญ่ให้สงั คมนครศรีธรรมราชอยูไ่ ด้ สังคม นครศรีธรรมราชแบบดัง้ เดิม คือช่วยเหลือ กัน มันหายไปนานแล้ว เราอย่าไปฟืน้ ฝอย หาตะเข็บเลยว่ามันหายไปเมือ่ ไร เมื่อมันกลับมาอยู่ในมือ ในใจของ คนรุ่นใหม่ ก็ใช้จิตอาสาที่มีอยู่นี่แหละ สร้างเมืองของเรา สร้างบ้านของเราให้ ก้าวหน้าอย่างทีต่ อ้ งการ ผมขออนุญาตกราบที่หน้าอกงามๆ ของทุกท่าน ทัง้ ท่านทีเ่ อ่ยนาม และท่านที่ ไม่ได้เอ่ยนาม
ลูกชาย เจ้าของร้านพิคเซล หน้าวัดพระ มหาธาตุฯ อดิศักดิ์ เดชสถิตย์ ช่างภาพที่ เปลี่ยนหน้าที่มาแบกมาขนข้าวของ ฯลฯ เมื่อรวมกับหน่วยงานรัฐ ความช่วยเหลือ ต่างๆ ไปถึงชาวบ้าน ผมไม่ ข อพู ด ถึ ง พฤติ ก รรมอั น ไม่ พึ ง ประสงค์ของผูใ้ หญ่บา้ นกับทีมงานบางพืน้ ที่ ตามทีผ่ นู้ ำ� ข้าวของไปแจกจ่ายเล่ามา ทีเ่ ห็น แก่ตัวเห็นแก่พรรคพวก ไม่เห็นแก่ลูกบ้าน ทีเ่ ดือดร้อน พฤติกรรมอย่างนีท้ �ำลายจิตใจ ทีบ่ ริสทุ ธิข์ องจิตอาสาจนไม่อยากเข้าใกล้ ภาพจากเฟซบุ๊คของหลายๆ ท่าน น�้ ำ ท่ ว มใหญ่ ค รั้ ง นี้ ไ ด้ ดึ ง เอาจิ ต ใจ ของชาวนครแท้ๆ ออกมาจากคนรุ่นหลัง ขอบคุณมา ณ ทีน่ ี้
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๔
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รกั บ้านเกิด ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๖๒ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ หลังชาวนครเผชิญอุทกภัยแสนสาหัส...
สุธรรม ชยันต์เกียรติ
ผ
มได้เขียนเรือ่ ง 'น�ำ้ นอง น�ำ้ ท่วม' ลงใน 'รักบ้านเกิด' มาแล้วครัง้ หนึง่ เมือ่ ปลายปี ๒๕๕๗ (ฉบับที่ ๓๙) โดย ได้แสดงภาพแผนผังสายน�้ำส�ำคัญสามสายที่มีผลต่อตัว เมืองนคร โดยเฉพาะเขตอ�ำเภอเมืองเป็นหลัก วันนีก้ บั วัน นั้นสภาพการไหลของน�้ำเข้าเมืองผ่านเมืองก็ยังคงสภาพ เดิม ไม่ได้ขยับเตรียมการรองรับภับพิบัติที่จะเกิดขึ้นแต่ ประการใด น่ายินดีที่การช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย ท�ำได้คอ่ นข้างดีและรวดเร็ว แต่กม็ ผี เู้ สียชีวติ เกือบสิบคน เห็นข่าวทางพ่อเมือง (ผู้ว่าราชการจังหวัด) และ รัฐมนตรีเจ้ากระทรวงทบวงกรมออกมาให้ข่าวว่า เสร็จ สิ้นภารกิจการช่ยเหลือเบื้องต้นแล้ว จะบูรณาการยก เครือ่ งการแก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วมเมืองโดยจะทุม่ งบลงมาท�ำให้ โดยด่วนทีส่ ดุ ถ้าเป็นจริงอย่างทีเ่ ป็นข่าวของเจ้ากระทรวง ทุกข์พบิ ตั ภิ ยั ก็จะเบาบางลง ชาวบ้านชาวเมืองจะได้หาย หวาดผวากันเสียที ผมในฐานะคนเฒ่าคนแก่คนหนึ่ง เกิดที่นี่ โตที่นี่ ย่อมรูเ้ รือ่ งเหล่านีบ้ า้ งพอประมาณ จะเล่าความหลังแบบ คนเก่าคนแก่ให้ฟงั แม่เฒ่าผมเล่าความก่อนผมเกิดให้ฟงั ว่า น�ำ้ ท่วมหนักครัง้ หนึง่ คือ 'ปีโรงน�ำ้ แดง' หลังจากนีแ้ ก บอกว่าธรรมดาๆ หลังจากนั้นสักสิบกว่าปีมาหนักครั้ง หนึง่ อย่างสม�ำ่ เสมอ ผมจะเรียงล�ำดับปีให้ดู ๒๔๘๒ คือ ปี 'มะโรงน�้ำแดง' ที่คนแก่คนเฒ่ารุ่น โน้นเล่าให้ฟัง เนื่องจากน�้ำจากภูเขาคงไหลถล่มอย่าง หนัก น�ำ้ จึงแดงขุน่ มาถึงเขตเมือง และเต็มท้องทุง่ ซึง่ สมัย นัน้ คงมีปา่ พรุและท้องนาทีเ่ ก็บน�ำ้ ไว้มากมาย ในตัวเมือง ก็คงไม่มอี ะไรเสียหายใหญ่โตเหมือนสมัยนี้ ๒๔๙๔ เว้นออกมา ๑๒ ปี ครบปีนักษัตรปีมะโรง อีก ผู้คนต่างโจษจันกันว่า ปีมะโรงนาคให้น�้ำจะรุนแรง กว่าทุกปี ปีนนั้ เราได้เห็นภาพน�ำ้ ท่วมแถวท่าวัง ริมคลอง ราเมศวร์
๒๕๐๕ เว้นมาได้ ๑๑ ปี ยังไม่ถึงปีมะโรงเลยเกิด ภัยพิบัติครั้งใหญ่เป็น 'วาตภัย' แม้ไม่ใช่น�้ำโดยตรง แต่ ชาวแหลมตะลุมพุกก็เสียชีวติ เพราะน�ำ้ นับพันคน ๒๕๑๘ ผ่านมา ๑๓ ปี เกิดอุทกภัยทีต่ ำ� บลเขาแก้ว อ�ำเภอลานสกา หมู่บ้านร่อนก็หายไปกับดินโคลนถล่ม กวาดบ้านเรือนผูค้ นหมดทัง้ หมูบ่ า้ น เสียชีวติ เกือบสิบคน แต่จังหวัดหรือส่วนกลางกว่าจะเข้ามาถึง ก็ล่วงมาแล้ว เกือบสิบวัน สังคมภายนอกไม่คอ่ ยทราบข่าว แต่ภายหลัง ก็แก้ต้นเหตุ คือให้ยุติการท�ำเหมืองแร่บนภูเขาโดยเด็ด ขาด ๒๕๓๑ เกิดอุทกภัยครั้งส�ำคัญที่สังคมเริ่มรับรู้ นัก ข่าวทั้งวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ต่างประโคมข่าวเรื่อง ดินโคลนถล่มบ้านกะทูนที่พิปูนราบทั้งหมู่บ้าน ผู้คนล้ม ตายหลายสิ บ คน ตลาดคี รี ว งถู ก กระแสน�้ ำ เปลี่ ย นทิ ศ พุ่งเข้าหาตลาดกวาดบ้านเรือนร้านค้า ตลาดกลายเป็น ล�ำคลองจนถึงปัจจุบัน และชาวคีรีวงได้ท�ำให้ชาวโลกได้ เห็นถึงความสามัคคี ร่วมด้วยช่วยกันดูแลกันเอง ก่อนที่ ความช่วยเหลือของทางราชการจะคืบคลานเข้ามาถึง และกลายเป็นต้นแบบของชุมชนทั้งประเทศที่กล่าวถึง ชุมชนคีรวี ง และเกิดกระแสอนุรกั ษ์ปา่ ต้นน�ำ้ ตัง้ แต่บดั นัน้ ๒๕๕๔ ล่วงมาได้ ๑๔ ปี น�ำ้ ท่วมเมืองครัง้ ใหญ่ โดย เฉพาะในเขตเทศบาลและอ�ำเภอปากพนัง ผูค้ นยังมองไป ที่การตัดไม้ท�ำลายป่า ซึ่งจริงๆ แล้วการตัดไม้ท�ำลายป่า หยุ ด ชะงั ก ลงมากแล้ ว แต่ ต ้ น เหตุ ก ลั บ เป็ น ตั ว กั้ น น�้ ำ กี ด ขวางทางน�้ ำ เป็ น เรื่ อ งใหญ่ เพราะแถบภู เ ขาและ ชานเมืองไม่ประสบภัยอะไรเลย แต่เกิดเฉพาะตัวเมือง ผู้ต้องหาคือการถมที่ที่เคยเป็นที่เก็บกักน�้ำ เคยเป็นทาง น�ำ้ ผ่าน ถนนพัฒนาการคูขวางกลับกลายเป็นเขือ่ นขนาด ใหญ่ขวางทางน�้ำไว้ให้ตัวเมืองอยู่ในเขื่อน เช่นเดียวกับ ถนนย่อยๆ อีกหลายสายเป็นทาง >> อ่านต่อหน้า ๑๑
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร ทรงมีความห่วงใยต่อพสกนิกรที่ประสบอุทกภัย ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จึงทรงพระกรุณาโปรดให้มูลนิธิ ราชประชานุ เ คราะห์ ฯ น� ำ สิ ่ ง ของพระราชทานแก่ ผู ้ ป ระสบ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่มพื้นที่จังหวัดนครฯ ระหว่างวัน ที่ ๑๒-๑๕ มกราคม ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๑๔,๐๕๐ ชุด ในพืน้ ที่ ๑๒ อ�ำเภอ เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจและบรรเทาความเดือดร้อน เบือ้ งต้น และยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบอาหาร ส�ำเร็จรูปบรรจุกล่อง มอบแก่ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัด นครฯ ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๙ อ.ทุง่ สง ตัง้ แต่วนั ที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๐
วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.ไพบูลย์ คุม้ ฉายา องคมนตรี เป็นผูแ้ ทนพระองค์ตดิ ตาม สถานการณ์น�้ำและตรวจเยี่ยมราษฎรในพื้นที่จังหวัดนครฯ มี การประชุม ณ ศูนย์อ�ำนวยการและประสานงานการพัฒนา พืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนังฯ อ.ปากพนัง โดยมี ผูว้ า่ ฯจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา พร้อมหัวหน้าส่วนราชการหลายหน่วยงานเข้าชี้แจง ว่า โครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนังฯ จะต้องสร้างอ่างเก็บ น�ำ้ ๕ อ่าง ขณะนีม้ เี พียง ๑ อ่าง ถ้าครบ ๕ อ่าง จะช่วยแก้ ปัญหาน�้ำท่วมน�้ำแล้งได้ องคมนตรีตอบว่าจะช่วยประสานและ ผลักดันให้บรรลุผล
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๕
ความห่ ว งใยของพระบรมวงศานุ ว งศ์ . ..วั น ที ่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิตคิ ณ ุ พระราชทานถุงยังชีพบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรที่ ประสบอุทกภัยในพืน้ ที่ อ.ทุง่ สง ๕๐๐ ถุง และ อ.ชะอวด ๕๐๐ ถุง น�ำมาซึ่งความปลาบปลื้มและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็น ล้นพ้น
วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๐ วิจารย์ สิมาฉายา ปลัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ลงพื้นที่จังหวัดนครฯ มอบถุง ยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยพื้นที่ ณ ศาลหลวงศาลา ต้นไทร อ.เชียรใหญ่ ท่านปลัดฯ กล่าวในนามรัฐบาลว่าจะช่วย เหลือและต้องดูในเรื่องของการฟื้นฟูโดยเฉพาะในเรื่องของน�้ำ ทั้งน�้ำผิวดิน น�้ำบาดาลและปัญหาสิ่งแวดล้อม
เวลา ๙.๔๐ น. วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน จากกรุงเทพฯ มาปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจทีจ่ งั หวัดกระบี่ ต่อมา เวลา ๑๔.๒๐ น. เสด็จฯ พระราชทานเพลิงศพ นายสุชาติ ทรัพย์สิน จ.ภ. ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ณ เมรุชว่ั คราว วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ยังความ ปลาบปลืม้ แก่ลกู หลาน ญาติมติ รและผูไ้ ปร่วมพิธเี ป็นล้นพ้น
วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๐ พล.ท.ปิยวัฒน์ นาควานิช แม่ทัพภาคที่ ๔ ผู้อ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ พร้อมคณะและหน่วยงานภาคเอกชน ลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มเยียนให้กำ� ลัง ใจผู้ประสบภัย และส�ำรวจความเสียหายพบว่ามีบ้านที่เสียหาย บางส่วน ๙ หลัง เสียหายทัง้ หมด ๕ หลัง ซึง่ จะระดมความช่วย วั น ที ่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๐ พระเจ้ า หลานเธอ เหลือสร้างบ้านหลังใหม่ในล�ำดับต่อไป แต่จะช่วยเหลือเร่งด่วน พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เรื ่ อ งสิ ่ ง ของอุ ป โภคบริ โ ภครวมถึ ง สาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐาน ให้ ร.อ.ไพบูลย์ สุขเจตนี เป็นผู้แทนพระองค์เชิญถุงยังชีพ พระราชทาน 'สร' ๒,๐๐๐ ชุด มอบแก่ราษฎรที่ได้รับความ วันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐ พล.ต.ต. อรรถกฤษณ์ ธารี- เดือดร้อนจากอุทกภัย อ.ปากพนัง ณ อาคารอเนกประสงค์ ฉัตร เลขาธิการมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรี ย นอิ น ทร์ ธ านี ว ิ ท ยาคม ต.ปากแพรก สร้ า งความ เป็นประธานมอบสิ่งของพระราชทานมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ปลาบปลืม้ แก่ผไู้ ด้รบั เป็นล้นพ้น ในพระบรมราชูปถัมภ์ เบือ้ งหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แก่ผู้ประสบอุทกภัย ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครฯ ๓ อ�ำเภอ จุดแรกทีศ่ าลาประชาคม อบต. กรุงชิง อ.นบพิตำ� ๑,๐๐๐ ชุด จุดทีส่ องศาลาประชาคม อบต. นพ.เจษฏา โชคด�ำรงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรคลงพืน้ เสาเภา อ.สิชล ๑,๐๐๐ ชุด และทีศ่ าลาประชาคม อ.ท่าศาลา ที่รับฟังข้อมูลสถานการณ์อุทกภัย และยังมอบยาและเวชภัณฑ์ ๑,๐๐๐ ชุด ผูว้ า่ ฯจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา รายงานความเสียหาย ทีไ่ ม่ใช่ยา ๔๔๐ ชุด รองเท้าบูท๊ ๑๕๐ คู่ ให้รองผูว้ า่ ฯ สกล จันทรักษ์ น�ำไปเพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย
วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๐ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จทรงเยี่ยม และพระราชทานถุงยังชีพผู้ประสบอุทกภัยที่วัดมหิสสราราม ม.๑๐ ต.คลองกระบือ อ.ปากพนัง จ.นครฯ ผูว้ า่ ฯ จ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา หัวหน้าส่วนราชการพลเรือน ตุลาการ ทหารต�ำรวจ เหล่ากาชาดจังหวัด และประชาชนเฝ้ารับเสด็จฯ จ�ำนวนมาก
Find Us On :
Page เพชรทองซีกวง
วันที่ ๑๑ มกราคม ๑๕๖๐ พล.อ.ฉัตรชัย สาริกลั ยะ รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมคณะติดตามสถานการณ์อทุ กภัยในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครฯ ที่ อบต.ช้างซ้าย อ.พระพรหม และ ต.ท่าเรือ อ.เมือง เพื่อสั่งการให้ความช่วยเหลือ โดย น.อ.สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวงดิจิตอล รองผูว้ า่ ฯ ดนัย เจียมวิเศษสุข และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรายงาน เพื่อเศรษฐกิจและสังคม พร้อมผู้บริหาร บริษัท ทีโอที จ�ำกัด สถานการณ์ (มหาชน) น� ำ ถุ ง ยั ง ชี พ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย มอบของ ขวัญวันเด็ก อาหาร และขนมแก่เด็กๆ เนื่องในวันเด็กแห่ง ชาติ ที่โรงเรียนบ้านศาลาตะเคียน ต.การะเกด อ.เชียรใหญ่ และผ่านสื่อมวลชนว่าจะพัฒนาความพร้อมของโครงข่ายการ สื่อสารให้รองรับทุกสถานการณ์ได้ โดยเฉพาะการจัดการภัย พิบัติในภาวะฉุกเฉินและภาวะปกติ มีทั้งโครงข่าย CAT และ วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๐ พลเอกสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ TOT กรมอุ ตุ น ิ ย มวิ ท ยา ส� ำ นั ก งานสถิ ต ิ แ ห่ ง ชาติ เป็ น ต้ น รมว.ศึกษาธิการ และคณะ ได้ตรวจเยี่ยมศูนย์อาชีวะบริการ แม้ น�้ ำ ลดอั น ตรายจากน�้ ำ ท่ ว มยั ง มี ต ่ อ เนื ่ อ ง...พญ. (Fix It Center) ช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยภาคใต้ ทีโ่ รงเรียน ศิรลิ กั ษณ์ ไทยเจริญ ผอ.ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๑ จัง เกาะขันธ์ประชาภิบาล ต.เกาะขันธ์ อ.ชะอวด รองผูว้ า่ ฯ ดนัย หวัดนครฯ ให้ประชาชนระวังโรคน�ำ้ กัดเท้า โรคอุจจาระร่วง อาหาร เจียมวิเศษสุข และผูบ้ ริการสถานศึกษาในจังหวัดนครฯ ให้การ เป็นพิษ โรคฉีห่ นู ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคตาแดง โดยขอ ต้อนรับ ให้ยดึ หลักสะอาดและปลอดภัย...พบกันต้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๐
Seekuang BJ
Line ID : @Seekuang
Line ID : boonada
099-195-6996
เพชรทอง 1. ถนนเนรมิต ท่าวัง 2. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างโรบินสัน 3. ชั้ น 1 โซนเพชรทอง ห้างสหไทยพลาซ่ า ทอง 4. ชั้ น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา 5. ท่าม้า (ข้างศาลากลาง) 6. หัวอิฐ 7. คูขวาง (หน้า ธ.SME) 8. ตลาดเสาร์อาทิตย์ (มุม ซ.ศรีนคร) 9. สะพานยาว (ข้างโลตัสเอ็กเพรส เพชรทองออนไลน์ 10. www.facebook.com/BOONADA ทอง (หาดใหญ่) 11. ชวนเฮง ใกล้ ธ.กสิกรไทย ถ.ศุภสารรังสรรค์ ช่ องเขา มอ. หาดใหญ่
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๖
เรือ่ งจากปก
<< ต่อจากหน้า ๑
สถานการณ์น�้ำท่วมจังหวัดนครฯ
วั
นที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช รายงานแก่ พล.ต.ต.อรรถกฤษณ์ ธารี ฉั ต ร เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ร าชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ว่าจังหวัดนครศรีธรรมราชมีพื้นที่ประสบภัย ทั้ง ๒๓ อ�ำเภอ ๑๖๓ ต�ำบล ๑,๔๘๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ ๗๙๕,๓๐๔ คน ๒๔๘,๐๐๐ ครัวเรือน มีผเู้ สียชีวติ ๙ คน ความเสียหายเกิด แก่สงิ่ สาธารณะ ได้แก่ ถนน ๓๗๘ สาย คอสะพาน ๕๕ แห่ง สะพาน ๖ แห่ง ฝาย ๑๒ แห่ง ท่อระบายน�ำ้ ๗ แห่ง บ้าน เรือนเสียหายทัง้ หลัง ๑๖ หลัง เสียหายบางส่วน ๓๘๔ หลัง พืชสวน ๗๔,๓๔๒ ไร่ อืน่ ๆ เช่นการปศุสตั ว์ การประมงและ สิง่ สาธารณูปโภค อยูร่ ะหว่างการส�ำรวจความเสียหาย วันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๐ พล.อ.ฉัตรชัย สาริกลั ยะ รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้ อ มคณะเข้ า มา ติดตามสถานการณ์อทุ กภัยทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�ำบลช้าง ซ้าย อ.พระพรหม นายดนัย เจียมวิเศษสุข รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดฯ ให้การต้อนรับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรายงานว่า พื้นที่ในจังหวัดฯ ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย วาตภัย ดิน โคลนถล่ม ๒๓ อ�ำเภอ ๑๖๔ ต�ำบล พื้นที่ประสบภัยทั้ง ด้านพืช (ข้าว พืชไร่ พืชอืน่ ๆ) ๒๓ อ�ำเภอ ๑,๒๗๒ หมูบ่ า้ น เกษตรกร ๑๒๗,๔๑๔ ครัวเรือน พืน้ ทีเ่ พาะปลูกประสบภัย ๑,๒๗๖,๖๑๑ ไร่ คาดว่าได้รับความเสียหาย ๔๒๒,๘๐๕ ไร่ ด้านประมง (ปลา กุ้ง หอย กระชัง) เกษตรกรได้รับ ผลกระทบ ๘,๑๗๘ ราย ด้านปศุสัตว์ได้รับผลกระทบทั้ง โค กระบือ สุกร ๑๕๖,๘๖๐ ตัว สัตว์ปกี ๑,๗๘๑,๓๙๖ ตัว หน่วยงานชลประทานน�ำเครือ่ งสูบน�ำ้ เข้าจุดสูบ ๗๕ เครือ่ ง เครื่องผลักดันน�้ำ ๕๗ เครื่อง เพื่อเร่งระบายน�้ำออกจาก พื้นที่ และยังได้ขอรับสนับสนุนเพิ่มเติมเครื่องผลักดันน�้ำ ๕๐ เครือ่ งจากกองทัพเรือ ด้านปศุสตั ว์ได้แจกเสบียงอาหาร สัตว์ ๕๑,๐๐๐ กิโลกรัม ตั้งจุดอพยพสัตว์เพื่อเป็นสถาน พักพิงสัตว์ชวั่ คราว วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ ธาดา ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ฯ เปิ ด เผยว่ า ยั ง คงมี น�้ ำ ท่ ว ม ขังในพื้นที่ ๖ อ�ำเภอของลุ่มน�้ำปากพนัง ได้แก่ อ.เมือง อ.ปากพนัง อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.ชะอวด หัวไทร และ อ.เชียรใหญ่ แต่ปริมาณน�้ำก็ลดลงตามล�ำดับ เกือบจะต�่ำ กว่าขอบตลิ่งคลอง ซึ่งมีไม่เกิน ๓๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถผลักดันน�ำ้ ออกได้ประมาณ ๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อวัน หลังระดับน�ำ้ ลงถึงระดับคันคลองแล้ว ในพืน้ ทีล่ มุ่ ต�ำ่ ต้องใช้เครื่องสูบน�้ำตัวเล็ก ซึ่งได้ปรับแผนกับชลประทาน เอาเครื่องสูบน�้ำตัวเล็กเข้าไปประจ�ำจุดแล้วเพื่อสูบน�้ำออก มา ก็จะช่วยให้น�้ำลดเร็วขึ้น นอกจากนี้ต้องส�ำรวจเรื่อง น�้ำเน่าเสียด้วย ได้ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมมาช่วยหามาตรการในการแก้ไขปัญหา ถ้าน�ำ้ ท่วม ขังนานก็ทำ� ให้เน่าเสีย บางจุดต้องเติมสารอีเอ็ม (EM) แล้ว รีบสูบออกโดยเร็ว และขอให้ประชาชนให้ดูแลสุขภาพโดย
พล.ต.ต. กฤตธาพล ยี่สาคร ผู้บังคับการต�ำรวจน�้ำ พร้อมคณะน�ำถุงยังชีพ ๑,๐๐๐ ชุด เข้ามาแจกบางพื้นที่ และระดมก�ำลังพลหน่วยกู้ภัยใต้น�้ำและเรือยางมาช่วย เหลือ คณะครูอาจารย์และนักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิค สัตหีบ จ.ชลบุรี ๓๒ คน ได้ตงั้ ศูนย์ซอ่ มสร้างเพือ่ ชุมชนทัง้ รถจักรยานยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำ วัน นายบัญญัติ จันทน์เสนะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่ง ชาติ น�ำคณะฯ และมูลนิธิพัฒนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ อ.ปากพนัง นายนิวาส หล้าเต็ม ผอ.กศน. อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ น�ำคณะเจ้าหน้าที่ ๔๕ คน ลงพื้นที่ให้ ความช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยในพืน้ ที่ ต.ถ�ำ้ ใหญ่ อ.ทุง่ สง เช่น ท�ำความสะอาดบ้านเรือน ล้างดินโคลน เก็บกวาดขยะ และซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช�ำรุดเสียหาย นายพงศ์เทพ ไข่มุกด์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี (อดีตรองผู้ว่าฯ นครฯ) และนายปราโมทย์ ศรีวสิ ทุ ธิ์ ท้องถิน่ จังหวัดปัตตานี น�ำเครือ่ งอุปโภคบริโภคจ�ำนวน ๑ คันรถบรรทุกมาส่งมอบ แก่จงั หวัดฯ ไว้ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย
เฉพาะโรคทางเดินอาหาร โรคฉีห่ นู โรคทีม่ ากับน�ำ้ ต่างๆ จะ เร่งให้สาธารณสุขระดมคนเข้าไปดูแล ส่วนอาหารการกิน ที่ได้รับบริจาคถึงเวลานี้คงจะพอเพียง แต่พื้นที่ลึกๆ ที่ยังมี น�ำ้ ท่วมก็จะเติมให้เต็ม หลังจากนีจ้ ะเข้าสูก่ ารฟืน้ ฟู ทัง้ การ ซ่อมแซมบ้านซึ่งแยกเป็น ๒ ส่วน คือบ้านที่เสียหายบาง ส่วนซึ่งทีมส่วนราชการจะเข้าไปเป็นรายอ�ำเภอ หน่วยงาน เกี่ยวข้องที่มีก�ำลังคน มีเครื่องไม้เครื่องมือไปช่วยซ่อมบ้าน ด้วย ส่วนที่ ๒ ที่บ้านที่เสียหายทั้งหลัง ถ้ายังอยู่ที่เดิมได้ก็ จะไปท�ำให้เลย ถ้าที่อยู่ที่เดิมไม่ได้ นายอ�ำเภอร่วมกับผู้น�ำ ปากค�ำของจิตอาสาบุคคลภายใน ท้องถิน่ ท้องทีไ่ ปดูพนื้ ทีว่ า่ ตรงไหนจัดหาพืน้ ทีใ่ ห้ประชาชน ได้ โดยเฉพาะพื้นที่ธนารักษ์ หรือพื้นที่ที่จัดหาเองค่อย ก�ำหนดรูปแบบกัน ทางราชการก็จะสนับสนุนเรือ่ งของวัสดุ อุปกรณ์ ทางรัฐบาลก็มีนโยบายให้ก�ำลังพลของกองทัพ หรือหน่วยงานทีม่ ชี า่ งไม่วา่ จะเป็น สถานศึกษา หรือหน่วย งานอื่นๆ จะระดมความร่วมมือกัน มีการแบ่งแยกเป็น โซนๆ การท�ำงานจะเดินหน้าเต็มที่ จังหวัดฯ ก�ำหนดเอาวัน ศุกร์ที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๐ เป็นวันท�ำ 'Big Cleaning Day' หรือวันท�ำความสะอาดใหญ่ทกุ อ�ำเภอ วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๐ สถานการณ์คลีค่ ลายเข้า สู่สภาวะปกติ ๑๕ อ�ำเภอ ยังมีน�้ำท่วมขัง ๘ อ�ำเภอ คือ ชะอวด หัวไทร ปากพนัง เฉลิมพระเกียรติ เชียรใหญ่ พระ ดร.กณพ เกตุชาติ (ดร.โจทีมสมนึก) นักการเมืองและ พรหม ทุง่ สง และ อ.เมือง แต่กลางคืนวันที่ ๑๙ มกราคม ผูป้ ระกอบการโรงไฟฟ้าชีวมวลท�ำกิจกรรมช่วยเหลือชุมชน ๒๕๖๐ เกิดฝนตกลงมาอย่างหนักกระแสน�ำ้ ไหลเข้าท่วมซ�ำ้ มานานนับสิบปี ดร.โจ พร้อมทีมงานและกลุ่มเยาวชนจิต บางพื้นที่รวมถึงบริเวณชานเมือง วันที่ ๒๐ มกราคมจึงไม่ อาสาลงพืน้ ทีเ่ ข้าไปให้ความช่วยเหลือหลายรูปแบบ สามารถท�ำความสะอาดใหญ่ตามทีก่ ำ� หนดไว้ “น�ำ้ ท่วมบ้านเราสองรอบในหนึง่ เดือน รอบสามก�ำลัง มา เดือดร้อนกันทุกครอบครัว หนักเบาไม่เท่ากัน ที่หนัก น�้ำใจของบุคคลภายนอก สุดคือชาวบ้านริมคลอง ตัง้ แต่บอ่ ทรัพย์ ท่าช้าง หน้าสถานี ทกภัยครั้งนี้ทุกหน่วยงานราชการที่มีหน้าที่โดยตรงมี รถไฟ ป่าโล่ง สารีบตุ ร ประตูขาว มุมป้อม ท่าโพธิ์ การเคหะ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือ ไม่วา่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง น�ำ้ มาเร็วตัง้ ตัวไม่ทนั ผมและสมาชิกทีมสมนึกใช้ไลน์ตดิ ต่อ กลาโหม ฯลฯ เข้าไปช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยอย่างเต็มที่ แต่ กัน เมือ่ จัดการภารกิจยกของในบ้านเองเรียบร้อยแล้ว จึงได้ สังคมได้ประจักษ์ชัดในพลังของจิตอาสา ภาพพระสงฆ์ลุย นัดหมายมาออกช่วยชาวบ้าน เร่งด่วนคือช่วยย้ายคนป่วย น�้ำแจกข้าวของชาวบ้านในตัวเมืองซึ่งสังคมแทบไม่เคย ติดเตียงและคนแก่ตามบ้านที่รู้พิกัด หลังจากนั้น จึงจัดหา เห็น รวมถึงพระสงฆ์จากวัดนาคนิมติ กรุงเทพมหานครและ น�ำ้ สะอาดมาแจกกันตามบ้านทีเ่ ดือดร้อนออกมาไม่ได้ โดย คณะญาติธรรมที่น�ำสิ่งของบริจาคมาช่วยเหลือประชาชน ล่องเรือไปให้ เป็นน�้ำใจยามทุกข์ยาก ได้ทีมเยาวชนจิต พื้นที่หมู่ที่ ๗-๘-๑๑ และ ๑๒ บ้านการะเกด อ.เชียรใหญ่ อาสามาช่วยหลายสิบคน กระจายกันตามพืน้ ทีร่ มิ คลอง ทีม โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ อ.หาดใหญ่ จัดคาราวานธารน�้ำใจมา แม่ครัวตั้งครัวท�ำข้าวไข่เจียวที่ชุมชนป่าขอม หน้าโรงเรียน ท่าโพธิ์ วัดศรีทวี ข้างวัดท้าวโคตรและทีข่ า้ งโรงเรียนไตรภูมิ ช่วยผูป้ ระสบภัย อ.เชียรใหญ่
อุ
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
ช่วยกันเต็มที่ พอค�่ำจึงแยกย้ายกลับบ้าน ท�ำเช่นนี้กันอยู่ หลายวันจนน�ำ้ ลด น�ำ้ ท่วมครัง้ นี้ ภาคประชาชนออกมาช่วย กันอย่างคึกคักโดยไม่รอขัน้ ตอนราชการ รวมเงินกันได้แล้ว ก็ตั้งครัวผัดข้าวแจกจ่ายกันออกไป ท�ำบุญร่วมกันไม่ต้อง คิดมาก มีถ่ายรูปลงเฟสบุ๊คบ้างตามสมัยนิยม พระออกมา ตั้งโรงครัวและเดินแจกเอง คงย้อนเส้นทางที่เคยเดินบาตร ที่เห็นมีวัดบุญนารอบโดยพระมหาบวร วัดหน้าพระลาน และวัดพระนครโดยท่านเจ้าคุณไมตรี”
สัมพันธ์ กุ้ยเส้ง นักธุรกิจเจ้าของปั๊มน�้ำมัน ชาว ปากพนัง จัดหายารักษาโรคและลงแจกจ่ายถุงยังชีพร่วม กับทหารเรือพืน้ ทีป่ ากพนัง “วิกฤติครั้งนี้ผมมีโอกาสท�ำงานจิตอาสา เนื่องจาก เพื่อนที่เป็นบล็อกเกอร์ โอเคเนชั่น ได้ประสานมาเพื่อ ขอช่วยกระจายเวชภัณฑ์ยา เพื่อมอบให้กับพี่น้องในเขต เทศบาลและพื้นที่อ�ำเภอปากพนัง เขาไม่ได้เป็นเจ้าของ บริษทั แต่เป็นเพียงพนักงานคนหนึง่ โดยปกติแล้วบริษทั ยา ก็ไม่มีหน้าที่ต้องแจกจ่ายโดยไม่คิดเงิน เพราะกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่เปิดเพื่อแสวงหาผลก�ำไรมาแบ่งปันกันในบรรดาผู้ ถือหุ้น แต่บริษัท ยูนีซัน จ�ำกัด ไม่ได้คิดอย่างนั้น พวกเขา แบ่งปันให้กับผู้เดือดร้อนและผู้ยากไร้ การตอบแทนสังคม เป็นสิ่งที่บริษัทใหญ่ กิจการใหญ่ ควรพิจารณา การได้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสาที่ผ่านมา มีทหารเรือจิตอาสา กลุ่มหนึ่งลางานมาร่วมด้วย พวกเขาใช้รถยนต์ส่วนตัวเพื่อ บรรทุกข้าวของที่มีผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคกันมาถึงสาม คันรถกระบะ รถบางคันถูกตัดแปลงยกสูงเพื่อให้สามารถ เข้าถึงพืน้ ทีน่ ำ�้ ท่วมสูงได้... “ผมได้เห็นว่า พวกเขาท�ำงานกันอย่างไม่รู้จักเหน็ด-
เหนื่อย ไม่เที่ยวเตร่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ค�่ำที่ไหน นอนทีน่ นั่ ไม่สนใจการแต่งกายทีส่ วยงาม ไม่นยิ มอาหารร้าน หรู ผมถามเขาว่า เหนือ่ ยไหม เขาตอบว่า เห็นคนทีล่ ำ� บาก ได้รบั สิง่ ทีเ่ ราน�ำมาให้เขา ก็ดใี จ ชืน่ ใจ หายเหนือ่ ยแล้ว เมือ่ พวกเขามีความตั้งใจ ผมก็ต้องช่วยเหลือไม่ให้ทานที่ส่งมา ตกไป ผมต้องพาพวกเขาไปให้ถงึ ความเดือดร้อนให้ได้ พืน้ ที่ ต�ำบลป่าระก�ำ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติหนัก น�้ำยังไม่ลด รถทั่วไปเข้าไปไม่ถึงรถพี่ทหารเข้าไปถึง พื้นที่ต�ำบลเกาะ ทวด ต�ำบลบ้านใหม่ ท้องทีอ่ ำ� เภอปากพนัง ก็เป็นพืน้ ทีร่ าบ ลุม่ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพริก ปลูกผัก มะพร้าว ปาล์ม พวกเขามีความอิ่มใจ ที่เห็นผู้คนจากรอบ นอก มาให้ก�ำลังใจ เขามากันจากไหน ใครคนหนึ่งถามผม ใกล้ๆ ผมตอบเขาไปว่า มาจากกรุงเทพฯ เขาใจดีจงั นะ ผม ฟังแล้วน�ำ้ ตาซึม ใช่พวกเขาใจดี ผมไม่ได้ตอบแต่ยมิ้ ให้กบั คน ทีถ่ าม เพราะทีมจิตอาสายืนอยูใ่ กล้ๆ เขาก็คงไม่ตอ้ งการค�ำ ชมอะไร ได้เห็นพีน่ อ้ งทีล่ ำ� บากได้รบั การเยียวยา ด้วยอาหาร และเวชภัณฑ์ยาทีเ่ ขาน�ำมามอบให้พวกเขาก็สขุ ใจแล้ว ยังมี พืน้ ทีป่ ระสบภัยอีกมากทีก่ ารช่วยเหลือเข้าไปไม่ถงึ ”
โสฬส ทองสมัคร์ เจ้าของร้าน PixZle caffe' หน้า วัดพระมหาธาตุฯ ภายในร้านถูกน�้ำท่วม ต่อมากลายเป็น สถานที่ รั บ บริ จ าคชั่ ว คราวและบรรจุ ถุ ง ยั ง ชี พ ที่ คุ ณ พ่ อ นพ.รังสิต ทองสมัคร์ และเครือข่ายระดมความช่วยเหลือ แล้วน�ำออกไปแจกจ่าย “ผมแอบซนไปสังเกตเหตุการณ์น�้ำท่วมที่ชะอวดอยู่ ๒-๓ วัน เห็นอาสากูภ้ ยั มากมายเข้ามาช่วยเหลือ บางกลุม่ มาไกลจากชลบุรกี ม็ ี น�ำ้ ใจจากทุกสารทิศหลัง่ ไหลมาพร้อม สายน�้ำเชี่ยวของแม่น�้ำชะอวด กลับมาถึงบ้าน นั่งไม่ติด รูส้ กึ ว่าอยากท�ำอะไรซักอย่าง จึงคุยกับคุณพ่อ ประสานไป ประสานมา ได้ความว่า ถุงยังชีพขนาดยังชีพได้ ๕-๗ วันยัง เป็นสิ่งจ�ำเป็น (มาก) เพราะการคมนาคมต่างๆ เริ่มใช้การ ไม่ได้ จึงแอบยึดพืน้ ทีช่ นั้ ๑ ทีร่ า้ นกาแฟของตัวเองเป็นศูนย์ รับบริจาคและแพคถุงยังชีพ ด้วยพลัง social media เพือ่ น บอกเพื่อน ของบริจาคมากมายหลั่งไหลเข้ามาที่ร้าน ทุกๆ ตอนเย็น เพือ่ นๆ หลายคนได้มารวมตัวกันเพือ่ จะแพ็คของ ลงถุงยังชีพ ท�ำให้ถงุ ยังชีพทีพ่ วกเราท�ำกันกว่าวันละ ๖๐๐ ถุง เสร็จในเวลาแค่ประมาณหนึ่งชั่วโมงเท่านั้น แพ็คเสร็จ ก็ต้องแจก แล้วจะไปที่ไหนดีหละ เนื่องด้วยโซนชะอวดใน เวลานั้น ความช่วยเหลือเริ่มเข้าไปกันเยอะแล้ว พวกเรา จึงเบนเข็มเข้าไปโซนปากพนัง อีกหนึง่ พืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งรับน�ำ้ ต่อ จากชะอวด ด้วยความที่กลัวว่าถุงยังชีพ จะไม่ได้แจกจ่าย ให้คนเดือนร้อนจริงๆ พวกเราจึงพยายามขับรถเข้าไปลึกๆ ให้ห่างถนนด�ำให้มากที่สุด ถามชาวบ้านถึงพื้นที่ที่ยังไม่มี หน่วยงานไหนเข้ามา แล้วน�ำไปมอบให้ชาวบ้านถึงที่ แจก จ่ายกันอยู่ประมาณ ๔-๕ วัน จนรู้สึกว่าสถานการณ์เบื้อง ต้นเริ่มคลี่คลาย จึงหยุดลงพื้นที่กัน แต่ก็ยังแพ็คของกัน ต่อ มีอีกหลายหน่วยงานที่ยังต้องการถุงยังชีพ เป็นเวลา ๔-๕ วันทีร่ สู้ กึ เหนือ่ ยกายเพลียใจ หลับตาลงข้างนึง เพือ่ ให้
หน้า ๗ วัตถุประสงค์ที่ต้องการช่วยเหลือชาวบ้านนั้นส�ำเร็จไปด้วย ดี งานอาสาช่วยเหลือ ไม่ใช่หน้าที่ แต่เป็นความรูส้ กึ ดีๆ ข้าง ในลึกๆ ทีไ่ ด้ทำ� ออกไป”
ศิริกมล แก้วแสงอ่อน (อุ้ม เมืองลิกอร์) ผู้บริหาร โรงแรมเมืองลิกอร์ สัมผัสกับประสบการณ์การเป็นจิตอาสา ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยพิบัติครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๕๔ ที่ ต.กรุงชิง อ.นบพิตำ� “ปี ๒๕๖๐ เราก็เป็นหนึ่งในผู้ประสบอุทกภัย แต่ ด้วยการเป็นผู้ประกอบการโรงแรม สิ่งแรกที่จะต้องค�ำนึง ถึงคือความรับผิดชอบและความปลอดภัยของชีวิตลูกค้า ฝนตกหนักอย่างต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ และเช้าวันที่ ๕ มกราคม จังหวัดนครฯ จมอยู่ใต้บาดาล เป็นอัมพาตทั้งเมือง สนามบินปิด ลูกค้าเดินทางกลับไม่ได้ ลูกค้าต้องพักต่อในโรงแรม พนักงานมาท�ำงานในวันรุ่งขึ้น เพียงแค่ ๘ คน เราตัง้ รับไม่ทนั ... “โชคดีทเี่ รายังสามารถสือ่ สารผ่านทางโซเชียลได้ อุม้ ติดตาม Facebook ของหลายๆ ท่าน อะไรที่เราสามารถ ช่วยประสานได้ จะด�ำเนินการให้ทันที ไม่ปฏิเสธทุกสาย ที่โทร.เข้ามา หลังจากนั้นก็เริ่มหารือกับกัลยาณมิตรใน หลายๆ กลุม่ เราเป็นอาสาสมัครอิสระทีร่ วมกลุม่ กันขึน้ มา เอง ระดมทุน รับบริจาค ซือ้ ของและแพ็คถุงยังชีพ เราเริม่ ลงพืน้ ทีค่ รัง้ แรก วันที่ ๘ มกราคม กับทีมสิงห์ SMEs รุน่ ที่ ๒๒ และหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา (นพค. ๔๓) จังหวัด พัทลุง แจกถุงยังชีพผู้ประสบอุทกภัย ที่ ม. ๑ ม. ๕ ม. ๑๐ ต. เคร็ง อ. ชะอวด โดยการประสานงานกับพีๆ่ ทีท่ ำ� ท่องเที่ยวในพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ที่ให้ข้อมูลเรื่องความเดือด ร้อนและความต้องการของลูกบ้านในแต่ละหลัง ซึ่งในการ ลงพืน้ ทีแ่ ต่ละครัง้ เรามักจะพบชาวบ้านทีแ่ ช่อยูใ่ นน�ำ้ นานๆ ประสบปัญหาเรือ่ งสุขภาพ โรคน�ำ้ กัดเท้า โรคผิวหนัง ผูป้ ว่ ย ติดเตียง หรือแม้แต่ ทารกไม่มนี มผงทาน... “การท�ำจิตอาสาทุกครั้ง เรามีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน คือ เราต้องไปให้ถึงบ้านที่ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือ ส่ง ถุงยังชีพให้ถึงมือชาวบ้านผู้ที่เดือดร้อนจริงๆ ด้วยมือเรา เอง การท�ำงานจิตอาสาควรมีการวางแผนก่อนลงพื้นที่ ศึกษาต�ำแหน่ง และพิกดั ของผูป้ ระสบภัย และควรเน้นการ ท�ำงานประสานงานกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่มีความ พร้อม เช่น หน่วยงานของทหาร เจ้าหน้าที่กู้ภัยมืออาชีพ ทีม่ คี วามพร้อมเรือ่ งเครือ่ งมือ ระบบการสือ่ สารทีด่ ี และสิง่ ส�ำคัญที่สุดในการวางแผนการท�ำงานคือสามารถลดความ ซ�้ำซ้อนในการช่วยเหลือ ไม่กระจุกอยู่แต่ในพื้นที่ใดพื้นที่ หนึ่ง และเป็นการช่วยเหลือที่ตรงกับความต้องการของผู้ ประสบภัยจริงๆ การที่เราได้สัมผัสกับชาวบ้านผู้เดือดร้อน เราไม่อยากเห็นน�้ำตาของผู้สูญเสีย แววตาของผู้เดือดร้อน รอคอยด้วยความหวัง เพราะถ้าเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นซ�้ำ แล้วซ�ำ้ เล่า โดยไม่มใี ครลุกขึน้ มาท�ำอะไรให้เป็นรูปธรรม จิต อาสาตัวเล็กๆ อย่างเรา ก็หวัน่ ใจว่า การเกิดภัยพิบตั ใิ นครัง้ ต่อไป เราจะตัง้ รับได้ดเี พียงใด” >> อ่านต่อหน้า ๘
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
<< ต่อจากหน้า ๗
อารยา สารคุณ ผู้บริหาร บ.ฮอนด้าศรีนคร จ�ำกัด รองเลขานุการ หอการค้านครฯ ส่งบันทึกเหตุการณ์ให้ 'รักบ้านเกิด' ก่อนขอตัวไปนอนพักหลังตะลุยลงพื้นที่ไป แจกข้าวของ “thu ๐๕.๐๑.๒๐๑๗ ฝนตกต่อเนื่อง ทุ่งสงน�้ำท่วม แล้ว ในเมืองระดับน�้ำในคลองเพิ่มสูงอย่างรวดเร็ว พนง. บางคนมาท�ำงานไม่ได้ตงั้ แต่เช้า ประกาศปิดบริษทั ฯ ตัง้ แต่ เวลา ๑๔.๐๐ น. เพือ่ ความปลอดภัยของทุกคน... “fri ๐๖.๐๑.๒๐๑๗ นอนไม่หลับตัง้ แต่เมือ่ คืน ตอน นี้เมืองนครเละไปด้วยน�้ำเต็มพิกัด ฮอนด้าศรีนครที่ว่าอยู่ บนทีส่ งู น�ำ้ ยังเข้าโชว์รมู สูงสุด ๑๐ ซม. ปิดบริษทั ฯต่อไป... “sat ๐๗.๐๑.๒๐๑๗ ตื่ น มาพบว่ า ระดั บ น�้ ำ ใน บ้านลดลง แต่ที่ถนนหน้าบ้านก็ยังเยอะ ขับรถไปท� ำงาน ท่ามกลางการจราจรที่ยังวุ่นวาย ท�ำงานถึง ๑๕.๐๐ น. ประกาศปิด เพราะฝนยังตกหนัก สถานการณ์ยังไม่ดี มี เพือ่ นๆ หลายคนโทร.มาสอบถามด้วยความห่วงใย “แต่ ๒๑.๐๐ น. เพื่อนจากหาดใหญ่ แจ้งมาว่ามีทีม จิตอาสากู้ภัยในชะอวด ขอความช่วยเหลือมาด่วน ให้ลอง คุย ได้ความว่า พืน้ ทีช่ ะอวด โดยเฉพาะ ต.เคร็ง มีชาวบ้าน ติดอยูข่ าดความช่วยเหลือใดๆ ทัง้ สิน้ มา ๓ วันแล้ว ต้องการ ถุงยังชีพ ๒๐๐ ถุง ลงพืน้ ทีใ่ ห้เร็วทีส่ ดุ ทีมงานทัพหน้าเขา เป็นนักเดินป่า ชือ่ พีว่ า ไปส�ำรวจมาแล้ว สามารถเข้าถึงได้ ทีมงานทัพหลัง ชื่อพี่บี อยู่กทม.มีเงินบริจาค แต่ขาดคน ประสานงานท�ำถุงจัดซื้อจัดส่ง สินค้าในพื้นที่ก็หาได้ยาก
เราได้ยนิ ดังนัน้ หลังจากประมวลหาทางออกทีพ่ อเป็นไปได้ แล้ว จึงอาสาจัดการให้เองดีกว่า เลยประสานงานไปทีอ่ อ๊ ด ยงเจริญซุปเปอร์มาเก็ตทุ่งสง สอบถามราคา เลือกสินค้า ส่งค�ำสั่งจัดท�ำถุงยังชีพ แบบพื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรง ชีพทีส่ ดุ พร้อมติดต่อรถบรรทุก ๖ ล้อทีจ่ ะมาจากสุราษฎร์ เพือ่ ช่วยล�ำเลียงของไป อ.ชะอวด ขณะนัน้ ในเวลาเดียวกัน น้องน�้ำฝน ANcondo ได้แจ้งมาว่า เพื่อน yec (young enterprenuer chamber) จากชะอวด ประสบปัญหา ขาดแคลนอาหารสด เครื่องปรุง และกางเกงในชาย ให้แก่ ทหารทีล่ ยุ น�ำ้ มาช่วยหลายวันแล้ว กางเกงในไม่แห้ง หน่วย งานไหนพอจะช่วยได้บ้างไหม เราเห็นว่าเป็นพื้นที่เดียวกัน หากเอาแต่รอ้ งขอ ไม่รเู้ มือ่ ไร ไม่รหู้ น่วยงานไหน จะเห็นใจ แล้วพวกเขาจะได้รับความช่วยเหลือ จึงตัดสินใจใช้บัญชี ธนาคารตัวเอง แจ้งขอรับบริจาคจากเพือ่ นๆทุกคนผ่านทาง เฟสบุคและไลน์ ตอนตี ๒ “sun ๐๘.๐๑.๒๐๑๗ มีเงินบริจาคเข้าบัญชีมาอย่าง รวดเร็วจ�ำนวนมาก เราจึงต้องรีบประสานงานต่อ ทั้งข้อ สรุปเรื่องจัดท�ำถุงยังชีพที่ทุ่งสง โดยน้องอ้อด ได้ให้ทีมงาน จัดเตรียมให้อย่างรวดเร็ว แพ็กเรียบร้อย ในราคาทุน แต่ ด้วยสินค้าบางยี่ห้อราคาสูง เพราะของราคาต�่ำขาดตลาด ถุงยังชีพทีไ่ ด้ จึงราคาเกินงบ ๕๐,๐๐๐ บ. แต่เราต้องรีบสัง่ ไปก่อน และประสานงานนัดเวลารถไปรับต่อ ทางด้านน�้ำ ฝน ทีจ่ ะจัดหาของสด ได้ประสานงานหาทีมงานทีจ่ ะไปกับ เราในวันนี้ แต่เห็นแล้วว่าหากไปรถเราคันเดียวจะล�ำบาก มาก (เราโทร.ขอยืมรถ ๔ WD จากพี่มน พี่เอฟมาแล้ว ๑ คัน) เราจึงประกาศหารถกะบะไปทั่ว ได้รถของพี่เอ ฉัตร ชมพู ทีต่ ัวอยู่หาดใหญ่ แต่ยนิ ดีส่งรถมาช่วย พร้อมทีมงาน โกชัย พี่โอ และน้องแก้ป ไปช่วยจ่ายตลาด จัดซื้อของสด หมู ไก่ ผัก ข้าวสาร น�ำ้ ในงบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ส่วน เราประสานต่อไปทีพ่ บี่ กิ๊ ห้างลักกี้ ให้ชว่ ยจัดหา กางเกงใน ชาย เซ็ตเครือ่ งปรุง (น�ำ้ มันพืช น�ำ้ ตาล น�ำ้ ปลา ซีอวิ้ ) ใช้เงิน ไป ๗,๐๐๐ กว่าบาท ระหว่างนัน้ มีเงินโอนเข้ามาตลอด เรา เห็นว่าไปแล้วควรเต็มรถ จึงแบ่งงบอีก ๗,๐๐๐ บาท แจ้งให้
พีบ่ กิ๊ จัดอุปกรณ์ยงั ชีพทีข่ าดแคลน เช่น นมเด็กเล็ก เด็กโต แพมเพิส รองเท้าบูท ผ้าอนามัย เพิม่ เติมให้ (คาดการณ์วา่ จะได้เงินบริจาคสัก ๒๐,๐๐๐) ระหว่างนัน้ มีเพือ่ นจิตอาสา จะขอร่วมเดินทางไปด้วย คือ เทรนเนอร์ยู ที่ระหว่างทาง ขับรถมา รถลุยน�ำ้ แล้วรถดับตายกลางทาง แต่กย็ งั มีสปิรติ จะไปกับเราต่อ เจ๊นอ้ ยหน่าทีโ่ ทร.มาพร้อมขอบริจาคน�ำ้ ดืม่ ไปด้วย ๕๐ แพ็ค และข้าวกล่อง ๕๐ กล่อง พร้อมขอส่ง น้องสาวคนสวยมาร่วมกับทีมงานด้วย และพี่บี kbank ที่ อยากอาสาจะไปช่วยด้วย เมื่อประสานงานทุกอย่างพร้อม ๑๑.๐๐ น. เราขับรถไปรับของที่พี่บิ๊ก ห้างลักกี้ ที่แสนจะ ใจดี จัดสินค้าราคาพิเศษ พร้อมลดแลกแจกแถมให้ จาก นัน้ ไปเอาป้ายไวนิลเพือ่ คลุมของทีฮ่ อนด้า แล้วไปรับน�ำ้ ดืม่ ข้าวกล่องและทีมงานที่โรงแรมเดอะพีค ในขณะนั้นรถ บรรทุกจากสุราษฏร์ได้ไปรับของจากทุ่งสงเรียบร้อย จาก นั้นนัดรถในทีมทุกคันให้ไปรวมพลที่ปั้ม ปทต.ศรีเพชร เก็ตเวย์ เพื่อทานข้าวทานกาแฟ โดยการสนับสนุนของพี่ ป้อมและน้องปลั้ก ก่อนที่จะเดินทางเข้าพื้นที่พร้อมกัน มี พี่ป้อมและทีมงานอาสากู้ภัย เดินทางไปกับเราด้วย มีพี่เอ และน้องแม็กขับรถกลับจากหาดใหญ่ เดินทางมาสมทบ”
ศุภกร วงศ์เมฆ หรือ ตุด นาคร รวบรวมทีมงานช่วย เหลือโรงเรียนถูกน�ำ้ ท่วมเสียหาย “มันเป็นฤดูกาลของภาคใต้ คนภาคใต้เข้าใจเรื่อง ราวเหล่านี้ดี แต่ปีนี้น�้ำมากกว่าปีใหนๆ และยังท่วมขังเป็น เวลานาน ถนนเป็นเขื่อนกั้นน�้ำได้ดีอีกอย่างหนึ่ง ท่วม เมืองท่วมทุ่งท่วมทุกที่ที่น�้ำไปถึง และสถานที่นี่ก็เป็นอีกที่ หนึง่ ซึง่ ได้ประสบภัยน�้ำท่วม อย่างหนัก โรงเรียนบ้านปากบางกลม ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครฯ โรงเรียนชัน้ ประถม อาคารไม้เก่า เด็กนักเรียน ๖๙ คน ครู ๕ คน ไม่มภี ารโรง อาคารสร้างด้วยฝีมือชาวบ้านที่ร่วมแรงร่วมใจกันให้เด็ก ได้เรียนในพื้นที่ไม่ต้องออกไปเรียนไกลบ้าน เราในนาม จิตอาสา ตุด นาคอน กลุ่มคนรักษ์ยิ้ม ส�ำนักข่าว MGR online ภาคใต้ ส�ำนักพิมพ์ผจญภัยโดย ศิรวิ ร แก้วกาญจน์ ตระหนักถึงเรื่องราวเหล่านี้ท�ำการลงพื้นที่ช่วยเหลือฟื้นฟู เพือ่ ให้โรงเรียนได้กลับมาเปิดเรียนได้ตามปกติ โดยร่วมกัน จัดท�ำโครงการร่วมบริจาคสมทบทุนเพื่อปรับปรุงซ่อมแซม โรงเรียน โดยการถ่ายทอดสดการแสดงดนตรีของศิลปินผม ทางช่อง MGR online ภาคใต้ และจ�ำหน่าย ซีดี หนังสือ ท�ำ กิจกรรมทุกวันเวลา ๕ โมงเย็นเป็นต้นไป เมือ่ ฝนยังไม่หยุดตก น�ำ้ ใจก็ยงั ไม่หยุดไหลอีกเช่นกัน” >> อ่านต่อหน้า ๑๘
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
จดหมายข่าว
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการมรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช
เป็นที่ยอมรับกันในวงวิชาการด้านประวิติศาสตร์ว่า ประเทศอินเดีย และจีนเป็นอู่อารยธรรมของเอเชีย ทั้งสองชาติต่างใช้เส้นทางบกและ ทางทะเล โดยเฉพาะทางทะเลซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมที่สะดวก เพื่อการค้าขายควบคู่ กับการเผยแผ่ศาสนา จึงเป็นเหตุให้เกิดเมืองส�ำคัญริมฝั่งทะเลแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้หลายเมือง เมืองเหล่านีถ้ อื ได้วา่ เป็นเขตอิทธิพลจากอารยธรรมดังกล่าว เส้นทาง ทีท่ งั้ สองชาตินยิ มให้กนั มากมีสองทาง เส้นทางแรก คือ เส้นทางเลียบฝั่งมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่อ่าวเบงกอลตะวันออก แล่นจากอ่าวเบงกอลลงใต้ไปยังศรีลังกา ตัดเข้าเกาะนิโคบาร์เข้าสู่เมืองท่าทางตะวันตก ของคาบสมุทรมลายู (คือเมือง kalah) แล้วข้ามช่องแคบมะละกาเข้ามายังอ่าวไทย จากนั้นจึงตัดอ่าวไทยไปยังเวียดนามแล้วไปยังจีน เส้นทางนี้มีหลักฐานว่าใช้กันมาก่อน พุทธศตวรรษที่ ๑๐ ทั้งนี้พิจารณาจากหลักฐานการเดินทางของหลวงจีนฟาเสียน (Fa-Hsien) ในระหว่าง พ.ศ.๙๕๖-๙๕๗ เส้นทางที่สอง คือเส้นทางจากเมือง kalah ผ่านช่องแคบมะละกาไปยังเกาะ สุมาตราและเกาะชวา นิยมพักเรือเพือ่ เตรียมเสบียงทีเ่ มืองในฝัง่ ตะวันออกของคาบสมุทร มลายู แล้วตัดเข้าจามปาและเวียดนามกลาง และมุ่งไปยังท่าบนฝั่งทะเลด้านตะวันออก ของจีน เส้นทางนีม้ หี ลักฐานว่าเริม่ ใช้ตงั้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ ๑๐ เรือจากอินเดียก็ดี จากจีนก็ดี ได้นำ� เอาวัฒนธรรมการค้าและวัฒนธรรมการนับถือ ศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์มาเผยแผ่แทบทุกเมืองที่เป็น 'สถานีการค้าทางทะเล' ซึ่งในที่สุดพระพุทธศาสนาเถรวาทลังกาวงศ์ก็ได้ใช้เส้นทางทั้งสองเส้นทางนี้เผยแผ่ มายัง 'นครศรีธรรมราช' ในศตวรรษต่อมาด้วย
ภาพเรือเดินสมุทรที่ถ�้ำอชันตา ประเทศอินเดีย อายุประมาณ พ.ศ.๑,๑๐๐ ใบเรือเป็นแบบสี่เหลี่ยม
ภาพเรืออินเดียจากเอกสารตัวเขียนอีรัก (สมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๘) ใบเรือเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส�ำหรับรับลมมรสุมได้ทุกทิศ เรือขนาดค่อนข้าง ใหญ่บรรทุกสินค้าและผู้เดินทาง
ภาพและเรื่ อ งอ้ า งอิ ง มาจาก รศ.ดร.ธิ ด า สาระ ยา ประวัติศาสตร์มหาสมุทรอินเดีย, เมืองโบราณ ๒๕๕๖, หน้า ๔๗๗
เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ วันเสาร์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือนสาม(๓) ปีวอก วันเสาร์ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสาม(๓) ปีวอก วันมาฆบูชา วันอาทิตย์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ แรม ๘ ค�่ำ เดือนสาม(๓) ปีวอก วันเสาร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือนสาม(๓) ปีวอก
หน้า ๙ การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึน้ บัญชีเป็นมรดกโลก ขณะนีค้ ณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ได้ด�ำเนินการคืบหน้าจนถึงขั้นตอนจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dosier) แล้ว และเห็นสมควรที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านสื่อมวลชน จึง ได้จัดท�ำเป็นจดหมายข่าวทั้งข้อมูลความรู้และกิจกรรมให้ประชาชนทราบเป็นระยะ
บนเส้นทางการค้าทางทะเลของอินเดียและจีนในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ ๑๒-๑๓ สินค้าทีจ่ ดั ว่ามีมากในเรือแต่ละล�ำหรือแต่ละเทีย่ ว นัน่ คือ 'สินค้าเกีย่ วกับพระพุทธศาสนา' รศ.ดร.ธิดา สาระยา ได้กล่าวถึงสินค้าทางพุทธศาสนาในพุทธศตวรรษที่ ๑๒๑๓ ว่าเป็นสินค้าเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเป็นที่ต้องการส�ำหรับแลกเปลี่ยนค้าขายใน ตลาดจีน (หลังจากรับพระพุทธศาสนาจากอินเดีย) โดยเฉพาะสินค้าโภคภัณฑ์จาก อินเดียทีใ่ ช้ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา พระพุทธรูปและการสร้างสถูปเจดีย์ สินค้าโภคภัณฑ์ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นวัตถุศักดิ์สิทธิ์และเป็นสินค้าที่ต้องการ มากที่สุดคือพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าและพระธาตุของพระสาวก รวม ทั้งสินค้าอื่นซึ่งใช้ในพิธีกรรมบูชา คือ อัญมณี ทองค�ำ เงิน และแก้ว ๗ ชนิดที่เรียก 'สัตตรัตนะ' ส�ำหรับใช้ตกแต่งประดับที่บูชาพระพุทธเจ้าเพื่อให้ได้บุญสูงสุด สินค้า ที่ต้องการรองลงมาใช้ประดับตกแต่ง 'สถูป' ได้แก่ ไข่มุก (นิยมใช้เพื่อตกแต่งสถูป) ปะการัง (นิยมใช้ประดับ เป็นสัญลักษณ์ความอมตะในลัทธิเต๋า) สินค้าเหล่านี้อินเดีย รับมาจากเขตเมดิเตอร์เรเนียนแล้วส่งไปยังจีนอีกต่อหนึ่งหรือมาจากน่านน�้ำมหาสมุทร อินเดียเอง โดยเรืออินเดียส่งไปขาย ล่วงมาถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ 'พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ' ของพระสั ม มา สั ม พุ ท ธเจ้ า และ 'พระธาตุ ' ของพระ สงฆ์ ส าวกกลายเป็ น ที่ นิ ย มของพ่ อ ค้ า และนั ก บวชซึ่ ง แสวงหากั น อย่ า งกว้ า ง ขวาง โดยเฉพาะช่วงลัทธิบูชาสถูปที่มี การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุตามแบบ พระเจ้าอโศกได้แพร่หลายไปทั่วเอเชีย ตะวั น ออกไกล และเอเชี ย ตะวั น ออก เฉี ย งใต้ สิ น ค้ า เหล่ า นี้ จึ ง มี ผู ้ น� ำ ไปกั บ เรื อ ตามเส้ น ทางการค้ า ทางทะเลของ อิ น เดี ย และจี น ความเชื่ อ ในลั ท ธิ ก าร บูชานี่เองจึงเป็นที่มาของการสร้างสถูป หลายแคว้น รวมทัง้ 'พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช' แห่งอาณาจักรตามพร ลิงค์หรือนครศรีธรรมราชด้วย ภาพและเรื่องอ้างอิงมาจาก รศ.ดร.ธิดา สาระยา ประวัติศาสตร์มหาสมุทรอินเดีย, เมืองโบราณ ๒๕๕๖, หน้า ๔๙๓-๔๙๔
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๐
(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)
๖
พระวิหารหลวง ในต�ำนานพระบรม ธาตุ น ครศรี ธ รรมราช ได้ ก ล่ า วถึ ง การสร้าง 'พระวิหารหลวง' ในปี พ.ศ. ๒๑๗๑ เป็ น ปี สุ ด ท้ า ยของ 'พระเจ้ า ทรงธรรม' ได้ทรงสร้างพระวิหารหลวง ขึ้น การสร้างครั้งนั้นพระวิหารหลวงไม่ ได้ มี รู ป ร่ า งเหมื อ นอย่ า งปั จ จุ บั น นี้ แต่ เป็ น การสร้ า งรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม ทางพุ ท ธศาสนาอย่ า งลั ง กาที่ เ รี ย กว่ า 'ถูปาฆระ' คือการสร้างสถูปเจดีย์แล้วมี วิหารมีหลังคาคลุมอีกชั้นหนึ่ง ในสมัยนั้น มีการสร้างวิหารยอดมณฑปขนาดใหญ่โต อย่างวิหารหลวงพระบรมธาตุอยู่แล้ว ๒ องค์ คือ พระวิหารยอดมณฑปประดิษฐาน 'พระมงคลบพิ ต ร' และพระวิ ห ารยอด มณฑปประดิษฐาน 'พระพุทธบาทสระบุร'ี ช่างหลวงสมัยนั้นจึงมีความเชี่ยวชาญการ ก่อสร้างลักษณะนี้ 'พระวิหารหลวง' ของพระบรมธาตุ นครศรี ธ รรมราชยุ ค ก่ อ นนั้ น ภายในมี 'พระสถูปเจดีย์' สูงถึง ๗ วา อยู่ภายใน รอบเจดีย์ทั้งสี่ด้าน ประดิษฐานพระพุทธรูปด้านละ ๘ องค์ แล้วยังมีพระพุทธรูป ประธานอีกด้านละ ๑ องค์ รวมทั้งสิ้นมี พระพุทธรูปอยู่ภายในวิหารทรงมณฑปนี้ ถึง ๓๖ องค์ 'พระวิ ห ารหลวง' ทรงมณฑปแต่
เดิ ม นั้ น มิ ไ ด้ เ ป็ น โบสถ์ จนเมื่ อ 'สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า กรมพระยาภาณุ พั น ธุ ว งศ์ ว รเดช' ได้สร้างเสมาขึ้นโดยรอบวิหารหลวงเมื่อ ๑๐๐ กว่าปีมานี้เอง พระวิหารหลวงอัน เดิมทรงมณฑปนั้นมีอายุได้ ๒๐๐ กว่าปี
ก็ มี ส ภาพทรุ ด โทรมลง จนมาถึ ง สมั ย 'เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย)' ในช่วง พ.ศ.๒๓๕๔-๒๓๘๒ ได้มีการก่อสร้างวิหาร หลวงรูปทรงใหม่ เปลีย่ นแปลงรูปแบบใหม่ หมด อย่างที่เราเห็นในปัจจุบัน เมื่อ 'พระ
วิหารหลวง' ถูกสร้างใบเสมาขึ้นมาโดย รอบ เปลี่ยนสถานะมาเป็นโบสถ์ด้วยนั้น นับเป็นพระอุโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน ภาคใต้ รูปแบบสถาปัตย์เป็นแบบอยุธยา ตอนปลาย หลังคาลดสามชัน้ มีมขุ ประเจิด ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง หน้าบันเป็นไม้ แกะสลักรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ อันวิจิตรตระการตา อีกด้านหนึ่งสลักรูป พระนารายณ์ ท รงครุ ฑ มี เ สากลมรอบ อาคารรวมสามสิบกว่าต้นไว้รองรับชายคา ตั้ ง เอี ย งสอบเข้ า หาผนั ง โบสถ์ นั บ เป็ น อาคารสถาปัตย์ที่ยอดเยี่ยมมาก สามารถ รองรับอาคารสูงใหญ่ได้อย่างมั่นคงแข็ง แรงขึน้ ผนังมีการก่ออิฐเรียงกันหลายแผ่น มีความหนามาก ใช้ป้องกันความร้อนได้ ดี หน้าต่างเจาะช่องสี่เหลี่ยมเปิดเข้าด้าน ใน อากาศภายในจึงเย็นฉ�่ำ แม้อากาศ ภายนอกจะร้อนรุม่ เพียงใดก็ตาม พระประธานภายในพระวิหารเป็น พระพุทธรูปนั่ง ปางมารวิชัย ขนาดหน้า ตัก ๓ วา ๑ ศอก ๑๒ นิว้ เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิดทอง มีสร้อยสังวาลย์ทองค�ำ ประดับพลอย ๙ สีอนั งดงาม ประดิษฐาน อยู ่ ต รงกลางพระวิ ห ารบนแท่ น สู ง ด้ ว ย ความยาวของวิ ห ารด้ า นหลั ง ของวิ ห าร จึงเท่ากับด้านหน้า และประตูด้านหลัง ก็เหมือนกันด้านหน้า ผู้คนที่เดินเข้าทาง ประตูหลังพระวิหารจึงมีความรู้สึกเหมือน เข้าด้านหน้าเหมือนกัน แต่ต้องประหลาด ใจ เมื่อเห็นพระประธานใบโบสถ์นั่งหัน หลังให้ ลองเดินเข้าไปดูสกั ครัง้ สิครับ
“ดิน น�้ำ ไฟ ลม” เ
กวัฏฏะ ! เรื่องเคยมีมาแล้ว : ภิกษุรูปหนึ่งในหมู่ภิกษุ นี้เอง เกิดความสงสัยขึ้นในใจว่า “มหาภูตสี่ คือ ดิน น�ำ้ ไฟ ลม เหล่านี้ ย่อมดับสนิท ไม่มเี ศษเหลือในทีไ่ หน หนอ” ดังนี.้ (ความว่า ภิกษุรูปนั้นได้เข้าสมาธิอันอาจน�ำ ไปสู่ เทวโลก ได้น�ำเอาปัญหาข้อที่ตนสงสัยนั้นไปเที่ยวถาม เทวดาพวกจาตุมหาราชิกา, เมื่อไม่มีใครตอบได้ ก็เลย ไปถามเทวดาในชั้นดาวดึงส์, เทวดาชั้นนั้นโยนให้ไป ถามท้าวสักกะ, ท้าวสุยามะ, ท้าวสันตุสิตะ, ท้าวสุนิมมิ ตะ, ท้าวปรนิมมิตวสวัตตี, ถามเทพ พวกพรหมกายิกา กระทั่งท้าวมหาพรหมในที่สุด, ท้าวมหาพรหมพยายาม หลีกเลี่ยง เบี่ยงบ่ายที่จะไม่ตอบอยู่พักหนึ่ง แล้วในที่สุด ได้ ส ารภาพว่ า พวกเทวดาทั้ ง หลาย พากั น คิ ด ว่ า ท้ า ว มหาพรหมเองเป็นผู้รู้เห็นไปทุกสิ่งทุกอย่าง แต่ที่จริงไม่รู้ ในปัญหาที่ว่า มหาภูตรูปจักดับไปในที่ไหนนั้นเลย มัน เป็นความผิดของภิกษุนั้นเอง ที่ไม่ไปทูลถามพระผู้มีพระ
ก็ยงั ต้องย้อนมาหาเราอีก. ภิกษุ ! ในปัญหาของเธอนัน้ เธอ ไม่ควรตัง้ ค�ำถามขึน้ ว่า “มหาภูตสี่ คือ ดิน น�้ำ ไฟ ลมเหล่านี้ ย่อมดับสนิท ไม่มเี ศษเหลือในทีไ่ หน ” ดังนีเ้ ลย, อัน ที่จริง เธอควรจะตั้งค�ำถามขึ้นอย่าง นีว้ า่ : “ดิน น�ำ้ ไฟ ลม ไม่หยัง่ ลงได้ในทีไ่ หน ความยาว ความสัน้ ความเล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม ไม่ หยัง่ ลงได้ในทีไ่ หน นามรูป ย่อมดับสนิท ไม่มเี ศษเหลือใน ทีไ่ หน” ดังนี้ ต่างหาก. ภิกษุ ! ในปัญหานัน้ ค�ำตอบมีดงั นี้ : “สิ่ง” สิ่งหนึ่ง ซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง เป็นสิ่งที่ไม่มี ปรากฏการณ์ ไม่มที สี่ ดุ แต่มที างปฏิบตั เิ ข้ามาถึงได้โดย รอบนัน้ มีอยู.่ ใน “สิง่ ” นัน้ แหละ ดิน น�ำ้ ไฟ ลม ไม่หยัง่ ลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ ความยาว ความสั้น ความ เล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม ไม่หยัง่ ลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ นามรูป ย่อมดับสนิท ไม่มี เศษเหลือ นามรูปดับสนิท ใน “สิ่ง” นี้ เพราะการดับสนิทของวิญญาณ; ดังนี”้ .
ไม่อาจหยั่งลงได้ในที่ไหน ภาคเจ้า ในทีส่ ดุ ก็ตอ้ งย้อนกลับมาเฝ้าพระผูม้ พี ระภาคเจ้า) เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้นได้กลับมาอภิวาทเรา นั่ง ณ ที่ ควร แล้วถามเราว่า “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! มหาภูตสี่ คือ ดิ น น�้ ำ ไฟ ลม เหล่ า นี้ ย่ อ มดั บ สนิ ท ไม่ มี เ ศษเหลื อ ในทีไ่ หน” ดังนี.้ เกวัฏฏะ ! เมือ่ เธอถามขึน้ อย่างนี้ เราได้กล่าวกะภิกษุ นัน้ ว่า แน่ะภิกษุ ! เรือ่ งเก่าแก่มอี ยูว่ า่ พวกค้าทางทะเล ได้ พานกส�ำหรับค้นหาฝั่งไปกับเรือค้าด้วย เมื่อเรือหลงทิศใน ทะเล และแลไม่เห็นฝัง่ พวกเขาปล่อยนกส�ำหรับค้นหาฝัง่ นั้นไป นกนั้นบินไปทางทิศตะวันออกบ้าง ทิศใต้บ้าง ทิศ ตะวันตกบ้าง ทิศเหนือบ้าง ทิศเบือ้ งบนบ้าง ทิศน้อยๆ บ้าง เมื่อมันเห็นฝั่งทางทิศใดแล้ว มันก็จะบินตรงไปยังทิศนั้น, แต่ถา้ ไม่เห็น ก็จกั บินกลับมาสูเ่ รือตามเดิม. ภิกษุ ! เช่นเดียวกับเธอนัน้ แหละ ได้เทีย่ วหาค�ำตอบ ของปัญหานี้ มาจนจบทัว่ กระทัง่ ถึงพรหมโลกแล้ว ในทีส่ ดุ
สี. ที. ๙/๒๗๗/๓๔๓.__
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๑
นพ.บัญชา พงษ์พานิช
นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒
หยุดพักไว้ ไม่ทราบเหมือนกันว่าถึงขณะนี้ ไปกันถึงไหนแล้ว ทั้ง ๒ สภาพปัญหาของเมืองนคร ณ ขณะนี้ คือมีครบทัง้ น�ำ้ ท่วมและน�ำ้ แล้ง ในแต่ละรอบปี สร้างผลกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ที่ดีซึ่งเป็นพื้นฐาน ของมนุษย์และสังคมตลอดจนชุมชนและ เมือง โดยเฉพาะ ๒ ปัจจัยหลักของชีวิต ที่ถูกกระทบตรงๆ คือ อาหารและที่อยู่ อาศัย ตลอดจนการประกอบอาชีพเพื่อ น�ำมาซึ่งปัจจัยนี้ และแน่นอนว่าต้องการ การทุ่มเทอย่างจริงจังจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะรัฐบาลกลางเสียที แต่ก็จ�ำเป็น ที่จะต้องท�ำให้ถูกถ้วนสมบูรณ์แบบและ บูรณาการ ซึง่ ผมคิดว่าไม่นา่ ทีจ่ ะสัง่ ปุบ๊ ได้ ปับ๊ ดังทีเ่ มือ่ น�ำ้ ท่วมตอนต้นเดือนธันวาคม แล้ ว รั ฐ บาลสั่ ง การ กลางเดื อ นก็ อ นุ มั ติ ๑ ทันทีได้เป็นอภิมหาโครงการหลายหมื่น ล้านบาท โดยยังไม่ทันได้ท�ำอะไรหลังสั่ง การ น�้ำก็ท่วมระลอกใหม่มากและหนัก หนากว่าเดิมเข้าไปอีก ฟังมาว่าจะมีถึง ๘ เขือ่ น กับ ๑ คลองส่งน�ำ้ ทีม่ หี ลายคนเรียก ว่าน่าจะเป็นแม่น�้ำ ซึ่งผมก็ไม่รู้เช่นกันว่า เป็นอย่างไรและจะอย่างไร ได้แต่งงๆ และ อดห่วงใยไม่ได้ ว่าจะลงเอยอย่างไร เมื่อครั้งก่อสร้างประตูร๒ะบายน�้ำที่ ปากพนัง ผมได้รับการร้องขอจากกรม ชลประทานและกองทัพภาคที่ ๔ ให้ช่วย เป็นพิธีกรด�ำเนินรายการประชาพิจารณ์ โครงการเขื่อนที่เปลี่ยนชื่อเรียกเป็นประตู ระบายน�ำ้ และผลออกมาว่าให้ดำ� เนินการ สร้างได้นนั้ ผมจ�ำได้วา่ ได้รอ้ งขอกับผูเ้ กีย่ ว-
ข้องว่า งานนี้ในเมื่ออ้างเอาพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นหลักชัย ขอให้ท�ำกันอย่างตรงไป ตรงมาและปลอดการทุจริตได้ไหม ? และ ที่จ�ำได้ไม่ลืมคือเรื่องบันไดปลาโจนที่มีคน ถามแล้วมีการตอบว่าได้ท�ำการศึกษาและ ออกแบบไว้พร้อมแล้วอย่างนัน้ อย่างนี้ โดย หลังเวทีผมได้ถามซ�้ำว่าแล้วที่อธิบายนั้น จะเป็นอย่างนัน้ หรือ ทีป่ ากพนัง ? ค�ำตอบ คือ ก็ไม่รู้ ลอกเอามาจากงานอืน่ ๆ โดยไม่มี ประสบการณ์ตรง และตอนนี้ที่สร้างเสร็จ มาจนถึงทุกวันนีเ้ ป็นอย่างไรผมก็ไม่รไู้ ด้ อีกครั้งหนึ่ง ถ้าจ�ำไม่ผิด ในชุดโครงการของกรมชลประทานที่ประมวลว่าเป็น โครงการพระราชด� ำ ริ เ รื่ อ งแก้ ป ั ญ หาน�้ ำ ท่วมและส�ำรองน�้ำใช้ของเมืองนครนั้น ดู
เหมือนจะมีเขื่อนที่กรุงชิงอยู่ด้วย โดยมี การส�ำรวจเตรียมการเวนคืนที่ดินด้วยแล้ว และคนกรุงชิงมีความเห็นเป็น ๒ ทาง เมือ่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ถูกขอให้เข้าไปจัด เวทีสาธารณะ ดูเหมือนว่าจะน�ำโดยท่าน อาจารย์เลิศชายเป็นผู้ดูแล และส่งคนมา ขอให้ผมเข้าไปเป็นผูด้ ำ� เนินรายการซึง่ ก่อน เปิดเวทีทุกคนบอกว่าเอาเลยคุณหมอ จน เมื่อผลที่ออกมาว่าให้พักโครงการไว้ก่อน หรือว่ายุตเิ ลยก็จำ� ไม่ได้แล้วนัน้ ทราบแต่วา่ ทุกคนกล่าวหาว่าผมอยู่ข้างฝ่ายที่เขาขัดใจ ทางการว่าผมเอนเอียงให้ชาวบ้าน ชาวบ้าน ที่ไม่ต้องการเขื่อนว่าผมเอนเอียงไปทาง การ ชาวบ้านที่ต้องการเขื่อนว่าผมอยู่ฝ่าย คัดค้าน โดย อ.เลิศชายกับอีกหลายคน
<< ต่อจากหน้า ๔
กักกันน�ำ้ ให้ไหลช้าลง ไม่ทนั กับมวลน�ำ้ จากเทือกเขาหลวง ซึง่ ไหลทะลักลงมาอย่างรวดเร็วโดยไม่มที รี่ องรับหรือทีพ่ กั เหมือนเมือ่ ก่อนอีกต่อไป ๒๕๕๙ - ต้นปี ๒๕๖๐ ฝนตกหนักทั่วทั้งแผ่นดิน ทางใต้ บนภูเขาตกหนักติดต่อกันสิบกว่าวัน ที่ราบฝั่ง ตะวันตกของเมืองก็ตกหนัก ในเมืองเองก็ตกติดต่อกัน นับสิบวัน มวลน�้ำจึงมากมายมหาศาล ท่วมหนักแทบทุก อ�ำเภอของจังหวัดนครและจังหวัดใกล้เคียง อีกสิบกว่าปีข้างหน้าคือปี ๒๕๗๐ กว่าๆ ผมน่าจะ
ไม่ได้อยู่ดูทันเป็นแน่ เห็นทีจะต้องร่วมด้วยช่วยกันระดม สมองระดมความคิด อย่าปล่อยให้กรมชลประทานท�ำฝ่าย เดียว คนท�ำถนนก็ท�ำไป คนถมดินสร้างบ้านผังเมืองหรือ ท้องถิ่นก็ไม่ว่าอะไร คนจะบุกรุกคูคลองก็ยังมีอยู่ คนบ้าน ป่าก็ชว่ ยกันปลูกป่าอยูแ่ ล้ว คนอยูเ่ ขาก็ไม่ได้ตดั ไม้จนภูเขา หัวโล้นเหมือนทางเมืองอื่นเขา เมื่อถมที่แก้มลิงหรือป่าพรุ จนหมดก็ลองหาวิธีอื่นดู จะขุดคลองระบายน�้ำที่มาจาก ภูเขาทางทิศตะวันตกผ่านเมืองไปออกทะเลสักสองสาย ก็ได้ อย่าท�ำเป็นท่อเป็นอุโมงค์เลย ดูถูกมวลน�้ำจากเขา
บอกว่า หมอด�ำเนินการได้ดี ส่งและทวง ค�ำถามตามที่แต่ละฝ่ายไถ่ถาม ปัญหา อยู่ที่การตอบของแต่ละฝ่าย ไม่ใช่ผม ที่ ส� ำ คั ญ คื อ เมื่ อ ทุ ก ฝ่ า ยต่ า งรู ้ สึ ก ว่ า ผมไม่ เข้าข้างเขา ก็ถือว่าท�ำหน้าที่ได้อย่างเป็น กลางแน่แล้ว ทีย่ ก ๒ กรณีนขี้ นึ้ มา ณ ขณะนี้ เพือ่ ชี้ว่า เรื่องนี้ยังมีอีกหลายนัยยะและขั้น ตอน ที่ส�ำคัญคือได้ท�ำการศึกษาทบทวน อย่างถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันเพียง พอต่ออนาคตข้างหน้าเพียงไหน เพราะ สิ่ ง นี้ ที่ จ ะเป็ น เครื่ อ งท� ำ ความเข้ า ใจจน พร้อมอกพร้อมใจกันทั่วทั้งเมืองนครว่า อะไรที่ต้องท�ำจะได้ช่วยกันท�ำ เพื่อไม่ให้ ผู้ที่ยากล�ำบากกับทั้งเรื่องน�้ำท่วมและน�้ำ แล้งอย่างซ�้ำซากมาหลายสิบปีนี้จะได้พ้น จากวังวนนี้เสียที ก่อนที่จะหนักหนากว่า นี้ หรือไม่ก็ได้ขัดแย้งวุ่นวายแถมน�้ำท่วม น�้ำแล้งอีกต่อหนึ่ง ซึ่งหากถึงขั้นนั้น ก็จะ เป็นทีน่ า่ อดสูอย่างยิง่ ส�ำหรับเมืองนครอีก ค�ำรบ ขอเรียกร้องและเชิญชวนให้มาร่วม กั น หาทางออกอย่ า งจริ ง จั ง และจริ ง ใจ วางอคติและประโยชน์ส่วนตัวทั้งหลาย ไว้แล้วเอาประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งให้ ได้ทางออกที่ดีร่วมกัน จะเป็นไปได้ไหม ครับ ? ๑๗ ม.ค. ๖๐
หลวงเกินไป ให้นกั วิชาการเขาคิดค�ำนวณดู ปริมาณฝนที่ หนักที่สุดในรอบ ๑๐๐ ปี คือตั้งแต่ปีมะโรงน�้ำแดงปี ๒๔๘๒ มันก็เกือบ ๑๐๐ ปีแล้วนะ จะเก็บเอาไว้ใช้ทงั้ ชาว เมืองและการเกษตรเท่าไร จะปล่อยทิ้งทะเลสักเท่าไร นักวิชาการเก่งๆ ก็คงมี แต่ต้องครอบคลุมรอบด้านกว่า เก่า ที่แล้วๆ มาพิสูจน์แล้วว่าผิดหรือถูกไม่ต้องแก้ตัว แก้ปญ ั หาไปข้างหน้า ไม่วา่ กัน แต่ควรจะระดมสมอง เอา ชาวเมืองตั้งแต่ต้นน�้ำ และตอนกลางซึ่งเป็นทุ่งนาที่เคย พักน�้ำ ชาวเมืองที่ตั้งอยู่บนสันทราย และปลายน�้ำซึ่งอยู่ เป็นทีร่ บั น�ำ้ ว่าเขาจะเอาอย่างไร เสียสละร่วมกัน รับผล ประโยชน์ร่วมกัน ไม่ใช่ได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ ฝ่ายเดียว บทเรียนของภัยพิบตั คิ รัง้ นี้ เป็นสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความ เสียหายอย่างใหญ่หลวง และทั้งเป็นส่วนที่ท�ำให้เกิดบท เรียน เกิดประสบการณ์ทใี่ ครมาสอนไม่ได้ เราพบมาด้วย ตนเอง คงท�ำให้พวกเราหันมามองปัญหาเหล่านี้ ว่ามันคือ ปัญหาของเราร่วมกัน ต้องร่วมช่วยกันแก้ อย่าโยนให้ หน่วยงานภาครัฐแก้ปัญหาแต่เพียงฝ่ายเดียว ผมก็อาสา จะช่วยครับ
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๒
เ
ราใช้ชีวิตวนเวียนไปตามฤดูกาล โรคที่ เกิดประจ�ำฤดูกาลก็มีตามความเปียก ชื้น ความร้อนหนาว แต่ก็เว้นโรคหลาย โรคที่ เ กิ ด ตลอดเวลา เช่ น เบาหวาน ความดัน มะเร็ง เป็นต้น เราชาวนครผ่านฤดูน�้ำท่วมขังอ่วม กันมาสองเดือน บางพื้นที่น�้ำยังท่วมขัง อยู่ หน้าร้อนก็ก�ำลังย่างกรายเข้ามา เรา ยังไม่รู้ล่วงหน้าว่าจะร้อนขนาดไหน ร้อน จนขาดน�้ำอย่างปีที่แล้ว ร้อนแห้งๆ หรือ ร้อนชื้นๆ ล้วนเหมาะกับการเจริญเติบโต ของเชื้ อ โรค โดยเฉพาะเชื้ อ แบคที เ รี ย ยิ่งพื้นที่ที่ขาดแคลนน�้ำดื่มน�้ำใช้สะอาด เสี่ยงเกิดการระบาดของโรคติดต่อทาง อาหารและน�้ำ กรมควบคุมโรคแนะน�ำให้ เคร่งครัดกับอาหารและน�้ำดื่มเป็นพิเศษ ถ้ า ยึ ด ถื อ ตามสโลแกน 'กิ น ร้ อ น ช้ อ น กลาง ล้างมือ' ท่องไว้ว่า น�้ำและอาหาร ต้ อ งสะอาด มื อ เราก็ ต ้ อ งสะอาดถึ ง จะ ปลอดภัย โรคประจ�ำฤดูร้อน ๖ โรค ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรค บิ ด โรคไข้ ไ ทฟอยด์ โรคอหิ ว าตกโรค และโรคพิษสุนัขบ้า จะว่าเป็นโรคๆ ไป ๑. โรคอุจจาระร่วง เกิดจากการ ติ ด เชื้ อ แบคที เ รี ย ไวรั ส และกลุ ่ ม เชื้ อ โปรโตซัวปนเปื้อนอยู่ในอาหารที่บูดเสีย จากอากาศร้อนจัด ถ้าบ้านเรือนหรือเรา ไม่ ส ะอาดก็ เ กิ ด ท้ อ งร่ ว งทรมานเพราะ
ขาดน�้ำ สูญเสียเกลือแร่ ควรมีเครื่องดื่ม เกลือแร่ชนิดซองติดบ้านไว้บ้าง เอาไว้ผสม น�้ำดื่ม ถ้าหนักก็ไปหาหมอ ๒. โรคอาหารเป็ น พิ ษ เป็ น โรค ติดต่อในระบบทางเดินอาหาร เกิดจากการ ทานอาหารปนเปื ้ อ นสารพิ ษ ที่ เ กิ ด จาก เชื้อบิด เชื้อสแตปฟีโลคอกคัส และเชื้อ บาซิลลัส พวกนี้หัวแข็งทนความร้อน ชอบ บริโภคไส้กรอก กุนเชียง ข้าวผัดต่างๆ ถึง
จะสุ ก ร้ อ น แต่ ถ ้ า ส่ ว นผสมก่ อ นปรุ ง บู ด เสีย ก็จะเป็นพิษได้ โดนพิษแล้วจะคลื่นไส้ อาเจี ย น ปวดท้ อ ง มี ไ ข้ หรื อ ปวดเมื่ อ ย อ่อนเพลีย ต้องรีบไปหาหมอ ๓. โรคบิด เกิดจากเชื้อแบคทีเรียปน เปื้อนในอาหาร โดนพิษผู้ป่วยจะถ่ายเป็น มูกปนเลือดบ่อยครั้ง และรู้สึกเหมือนถ่าย ไม่สุด ๔. โรคไข้ไทฟอยด์ หรือไข้รากสาด
(ต่อจากหน้า ๑๕)
๘. FinTech
ธนาคารในบ้านเราหลายๆ แห่งมี การตั้งหน่วย FinTech เพื่อพยายามหา นวัตกรรมใหม่ๆ ทีจ่ ะเข้ามาแทนทีร่ ปู แบบ การเงินแบบเดิมๆ ขณะที่มีผู้เล่นรายใหม่ ทีไ่ ม่ใช่สถาบันการเงินและกลุม่ Start-up
ที่สนใจเริ่มน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ งานด้านธุรกรรมการเงิน จนเริ่มมี การพูดกันว่าในอนาคตผู้คนจะใช้ เทคโนโลยีในการท�ำธุรกรรมทางการ เงิ น มากขึ้ น และอาจท� ำ ให้ จ� ำ นวน สาขาแบงค์น้อยลง สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์ มือถือจัดการแข่งขันกันหานวัตกรรมใหม่ๆ จากผู้เล่นที่เป็น Start-up โดยการเข้าไป ลงทุ น หรื อ จั ด ประกวดต่ า งๆ รวมถึ ง การ ศึกษาและหาช่องทางในการน�ำเทคโนโลยี ใหม่ๆ อย่าง Blockchain เข้ามาใช้งาน
๙. เทคโนโลยี AR และ VR และ ๓๖๐ องศา จากทีเ่ ห็นการมาแรงของ Pokemon GO!, HTC VIVE, Playstation VR ตลอด จนถึงแพลตฟอร์มของ Facebook ๓๖๐ องศา และการมาของ DayDream จาก Google ที่รองรับส�ำหรับ Content VR โลกเสมื อ นโดยเฉพาะในช่ ว งปี ๒๕๕๙ ท�ำให้น่าจับตามองว่าคอนเท้นต์เรื่อง AR, VR จะเป็นเทรนด์สื่อใหม่ที่ส�ำคัญในปีนี้ ทั้งผ่านทางอุปกรณ์มือถือ และเครื่อง VR Head Set
น้อย เชื้อปนเปื้อนมาเหมือนกับโรคอื่นๆ อาหารควรระวัง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากนม หอย ไข่ เนื้อสัตว์ น�้ำ ผู้ป่วยโรคนี้ สัปดาห์ แรกไข้มักไม่สูง อาจมีอาการปวดศีรษะ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว อาจมีอาการหนาวสั่น เซื่อง ซึมลง และ มีอาการเพ้อ ๕. โรคอหิ ว าตกโรค สาเหตุ ม า จากเชื้อแบคทีเรีย เข้าสู่ร่างกายโดยทาง อาหารและน�้ำที่มีเชื้อโรคปนเปื้อน เชื้อ จะสร้างพิษออกมาท�ำปฏิกิริยากับเยื่อบุ ผนังล�ำไส้เล็กท�ำให้เกิดอาการท้องร่วง อย่างรุนแรง อุจจาระเป็นสีน�้ำซาวข้าว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจ เสียชีวิตได้ ๖. โรคที่เกิดจากสัตว์เลี้ยง เช่น โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน�้ำ เป็นโรค ติ ด ต่ อ ร้ า ยแรงและผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ทุ ก ปี ตั ว พาหะคือสุนัข แมว ที่น�ำเชื้อไวรัสเรบี่ส์ ซึ่งติดโดยการกัด ข่วน หรือเลียผิวหนัง คนมีแผล เชื้อตัวนี้เมื่อปรากฏอาการจะ เสียชีวิตทุกราย กรมควบคุมโรคให้ยึด หลัก ๕ ย. ๑. อย่าแหย่ ให้สุนัขหรือสัตว์ต่างๆ โกรธ ๒. อย่าเหยียบ หาง หัว ตัว ขา หรือ ท�ำให้สุนัขหรือสัตว์ตกใจต่างๆ ตกใจ ๓. อย่าแยก สุนัขหรือสัตว์ต่างๆ ก�ำลังกัดกัน ด้วยมือเปล่า ๔. อย่าหยิบ จานข้าวหรือเคลื่อน ย้ า ยอาหารขณะที่ สุ นั ข หรื อ สั ต ว์ ต ่ า งๆ ก�ำลังกินอาหาร ๕. อย่ายุ่ง หรือ เข้าใกล้สุนัขหรือ สัตว์ต่างๆ ที่ไม่รู้จักหรือไม่มีเจ้าของ ๑๐. บริการตั๋วร่วมระบบขนส่งมวลชน (ตัว๋ แมงมุม) หลังจากที่เผยโฉมในงาน Digital Thailand แล้วแต่กไ็ ม่สามารถเปิดบริการ ได้ทันภายในช่วงหลังปีใหม่ ก็เลื่อนมา เปิดใช้งานจริงในช่วงกลางปี ๒๕๖๐ โดย ระยะแรกจะมีการเชือ่ มต่อระบบรถไฟฟ้า BTS รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT และรถไฟฟ้า แอร์พอร์ตเรลลิ้งก์ หลังจากทางด่วนและ มอเตอร์เวย์ทใี่ ช้ตวั๋ ร่วมน�ำร่องไปก่อนแล้ว และอนาคตจะสามารถใช้บัตรตั๋วแมงมุม ในการช� ำ ระสิ น ค้ า ต่ า งๆ ได้ ด ้ ว ย พอๆ กับบัตร EZ Link ซึ่งเป็นบัตรตั๋วร่วมใน สิงคโปร์ ทั้งหมดนี้คือเทรนด์เทคโนโลยีที่จะ เกิดขึ้นในประเทศไทยในปีนี้เตรียมรับมือ เรียนรูก้ นั ดีๆ นะครับ ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๓ ในอนาคตได้ ผมอยากเน้นที่ว่างผืนนี้เป็นพิเศษเนื่องด้วยสอดคล้องกับประโยชน์ของชาวเมืองและสิ่งแวดล้อมหลาย ประการ (แม้เรื่องนี้ผมเคยเขียนถึงหลายครั้งแล้วก็ตาม แต่ไม่แน่ใจว่าจะเข้าใจตรงกันหรือไม่ อาจจะมีโครงการ ก่อสร้างใดๆ ของทางราชการสร้างลงไปจนปรับแก้ไขไม่ ได้ในอนาคต) บทความนี้ถือว่าเป็นการเสนอความเห็น
“กุมภาพันธ์” เป็นเดือนแห่งความ รั ก และเดื อ นแห่ ง พระพุ ท ธศาสนาอี ก วาระหนึ่ง พระพุทธองค์ได้ชี้ให้เห็นว่า มนุษยชาติจะอยู่ร่วมโลกกันอย่างสันติสุขก็ดว้ ยความรักและเมตตาธรรมต่อกัน
กาลเวลาที่ ผ ่ า นมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น โลกเราได้ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ใน ทางวิบัติทั้งโดยธรรมชาติและโดยน�้ำมือ มนุษย์ จึงต้องมีการเรียนรู้และปกป้องภัย อันตรายที่เกิดขึ้นซึ่งมีมากมายหลายเรื่อง เรื่องที่ผมอยากพูดถึงในเดือนนี้คือการจรรโลงอารยธรรม ทางศาสนาและสถาปัตยกรรมโบราณที่บรรพบุรุษเรา ได้สร้างไว้ในเมืองนคร นั่นคือ “วัดพระบรมธาตุ” ที่ทาง คณะกรรมการพิ จ ารณาการขอขึ้ น ทะเบี ย นมรดกโลก จาก UNESCO เดินทางมาตรวจสถานที่ในเดือนนี้ โดย มีองค์พระเจดีย์สูงสง่างามเป็นประธาน นอกจากเจดีย์ องค์นี้แล้ว ยังมีเจดีย์สูงใหญ่รองลงมาที่เป็นหลักฐานว่า มีความส�ำคัญไม่น้อยเช่นกัน มิฉะนั้นคนสมัยนั้นคงไม่ ทุ่มเทก่อสร้างสูงใหญ่โตเช่นนั้น เจดีย์นี้เรียกกันทั่วไป ว่า “เจดีย์ยักษ์” สร้างอยู่ติดวัดพระเงินที่ปัจจุบันร้างไป แล้ว แม้ว่าตามต�ำนานจะกล่าวไว้อย่างไร จนไม่มีการ บูรณะเสริมเติมแต่งยอดที่หักไปก็ตาม แต่ย่อมมีประวัติ เชื่อมโยงกับองค์เจดีย์พระบรมธาตุที่มีทรวดทรงองค์เอว
ที่คล้ายคลึงกัน โชคดีที่เจดีย์ยักษ์แห่งนี้ทางกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว จึงสามารถปกป้องได้ระดับหนึ่ง เรา สามารถผูกเรื่องเชื่อมโยงอดีตกับการสร้างพระบรมธาตุ และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้ (คงต้องรบกวน นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ทั้ ง หลายครั บ ) และเมื่ อ หลายปี ม า แล้ว ทางมหาวิทยาลัยศิลปากรได้รับการมอบหมายจาก กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มา ส�ำรวจและเสนอแผนการจัดการเมืองเก่านครศรีธรรมราช ( ปีพ.ศ.๒๕๓๙) ก็ได้เห็นความส�ำคัญต่อเจดีย์องค์นี้ จึง แนะน� ำ ให้ เ ปิ ด มุ ม ทั ศ นี ย ภาพจากถนนราชด� ำ เนิ น โดย เสนอให้รื้ออาคารไม้เก่า(สมัยนั้น) ที่เป็นสถานีดับเพลิงใน เขตส�ำนักงานเทศบาลนครฯที่อยู่ติดกันย้ายออกไป (ภาพ ที่ ล งแสดงไว้ ใ นบทความนี้ จ ากรายงานแผนการจั ด การ เมืองเก่าฯ) ซึ่งไม่ได้รับการสนองตอบจากทางเทศบาลฯ แต่ได้รื้ออาคารไม้เก่าและก่อสร้างเป็นอาคารคอนกรีต กลับเข้ามาใหม่บังมุมมองศาลาพระและองค์เจดีย์ (เรื่อง เก่าที่แก้ไขอะไรไม่ได้แล้วครับ) เป็นความโชคดีประการหนึ่งของโบราณสถานแห่งนี้ ที่ทางเทศบาลฯ ชุดดังกล่าวนี้ได้ขอใช้สถานที่ว่างตรงข้าม วัดโบราณนี้จากราชพัสดุที่เป็นผู้ดูแลจัดเป็นลานคนเมือง เพื่อใช้เป็นพื้นที่เปิดโล่งเอนกประสงค์ของชาวเมือง (อ่าน ความหมายของ “พื้นที่เปิดโล่งของเมือง” จากคอลัมน์นี้ ในหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิดฉบับเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙) ท�ำให้เกิดมุมมองเห็นทัศนียภาพขององค์เจดีย์ยักษ์เด่น เป็นสง่า ซึ่งช่วงนั้นได้จัดเป็นลานคนเมือง หรือถนนคน เดินวันหยุดสุดสัปดาห์ เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนโดย ททท. นครศรีธรรมราช ส่วนกลางวันเป็นลานจอดรถสาธารณะ ที่คนมาติดต่องานที่เทศบาลฯหรือสถานศึกษาละแวกนี้ ได้อาศัยจอดรถมาจนถึงทุกวันนี้ และเริ่มมีชาวบ้านเข้า มายึดพื้นที่ตั้งร้านขายอาหารกันบ้างแล้ว หากไม่วางแผน จัดระเบียบการใช้ประโยชน์ก็จะเป็นปัญหาที่สางไม่ออก
ย�้ำซ�้ำเรื่องเดิมที่ให้ช่วยกันพิจารณากันต่ออย่างรอบคอบ โดยผมขอเสนอโครงการการใช้พื้นที่ในฐานะชาวเมือง นครคนหนึ่ง ดังนี้ครับ ชื่อโครงการ : ลานคนเมือง สวนพระเงิน เหตุผลในการเสนอโครงการ ๑. เพื่อจัดเป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติการขึ้น ครองราชย์ของรัชกาลที่ ๑๐ ๒. เพื่อเป็นพื้นที่เปิดโล่งของเมือง (Urban open space) จัดสวนสร้างสิ่งแวดล้อมในการระบายอากาศ ของเมื อ ง และเปิ ด มุ ม มองจากฝั ่ ง โครงการนี้ ใ ห้ เ ห็ น ทัศนียภาพของเจดีย์ยักษ์ดูสวยงาม ๓. เพื่ อ เป็ น พื้ น ที่ จ อดรถยนต์ ข องชาวเมื อ งที่ ม า ติ ด ต่ อ งานบริ เ วณนี้ ในช่ ว งกลางวั น และวั น ท� ำ การ ราชการ ๔. เพื่อเป็นลานกิจกรรมประจ�ำวันของชาวเมือง ในด้ า นนั น ทนาการ (เช่ น การพั ก ผ่ อ น ออกก� ำ ลั ง กาย สังสรรค์) ในช่วงเวลาตอนเย็นโดยให้ปิดการใช้เป็นพื้นที่ จอดรถ เพื่อความปลอดภัยจากรถและมลพิษ เป็นการ แบ่งเวลาใช้พื้นที่ให้เป็นประโยชน์เต็มที่ในแต่ละกิจกรรม (Time sharing) ๕. เพื่อเป็นลานกิจกรรมวันหยุดที่จะเป็นถนนคน เดิน ขายสินค้าชุมชนหรืออาหารท้องถิ่น ๖. เพื่อเป็นลานจัดกิจกรรมตามเทศกาลต่างๆ ของ เมือง โครงการที่ เ สนอนี้ ผ มเคารพต่ อ ความเห็ น ต่ อ ทุ ก ท่านที่มีความเห็นต่าง โดยจะได้ช่วยกันออกแบบวางผัง เสนอต่อท่านนายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราชอีก ทางหนึ่ง โดยหวังว่าเราจะได้พื้นที่เปิดโล่งในตัวเมืองมาก ขึ้น (ขณะนี้เราต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานของเมืองน่าอยู่) เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันหลายด้านมากขึ้น
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๔
ธันวาคม ๒๕๕๙ และจบรอบแรกที่ ๖ วัน ในวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๐ วันนั้นฝน เริม่ ซา หมอกเริม่ ลงมาเชิงเขา มีแสงแดด แซมเล็กน้อย แต่ คืนวันนัน้ เอง เสียงฝนก็ ตกมาในจังหวะของการเริ่มต้นมรสุมรอบ
ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม (ครูแจง) ห้องเรียนธรรมชาติบ้านลมฝน
ร
ะหว่างสายน�้ำที่บ่าไหลเข้าท่วมพื้นที่ ภาคใต้ กั บ สายน�้ ำ ใจที่ ห ลั่ ง ไหลมา ช่วยเหลือกันของคนไทย..โหมกระหน�่ำไม่ แพ้กนั หลายคนส่งเสียงให้ก�ำลังใจถามไถ่ ข่ า วคราวด้ ว ยความเป็ น ห่ ว ง...สิ่ ง หนึ่ ง ที่ อ ยากจะมาเขี ย นเพื่ อ จะได้ เ รี ย นรู ้ ไ ป พร้อมๆ กันคือ ค�ำถามจากเพือ่ นภาคอืน่ ๆ ทีว่ า่ ภูเขาภาคใต้ทำ� ไมรับน�ำ้ ไม่ไหว หรือ จะเป็นภูเขาหัวโล้นเหมือนภาคอื่นๆ ไป ซะแล้ว...จะพยายามไม่เขียนเป็นภาษา วิชาการนะคะ อยากให้อา่ นแล้วนึกภาพ ตามจะได้เข้าใจง่ายๆ ภูเขาภาคใต้เป็นป่าฝน ส่วนใหญ่ เป็นป่าดิบชื้นที่สมบูรณ์มาก ถ้ามองใน แผนที่ประเทศไทย ด้ามขวานยาวๆ จะมี แนวเทือกเขาตั้งเรียงตัวกันตลอดจนติด ประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยความทีต่ ั้งอยู่ใกล้ เขตศูนย์สูตรหรือเป็นพุงของโลกจึงรับ แสงอาทิตย์ได้มาก และมีทะเลขนาบทั้ง สองข้างของด้ามขวาน จึงมีสภาพอากาศ
ที่ร้อนชื้น มีลมมรสุม หรือ ลมฝน หอบ เอาความชื้นจากทะเลสลับกันเข้ามาปะทะ เทือกเขานีต้ ลอดทัง้ ปี ลมทางตะวันตกหรือ ลมอันดามันจะเข้ามาช่วงกลางปี ส่วนช่วง ปลายปีก็จะเป็นลมทางตะวันออกหรือทาง ทะเลอ่าวไทย ซึ่งเมื่อมีอิทธิพลความหนาว
เย็นของประเทศจีน ส่งต่อมาประเทศไทย ทางภาคเหนือถึงภาคกลาง หรือเมื่อไหร่ ที่ภาคกลางเริ่มอากาศเย็น ภาคใต้ทางฝั่ง ตะวันออกหรืออ่าวไทยก็จะมีฝนตกหนัก ถึงหนักมาก เป็นฤดูมรสุมปกติ เทือกเขา ทางใต้ก็จะรับน�้ำฝนได้เต็มๆ ประมาณไม่ เกิ น หนึ่ ง สั ป ดาห์ และจะมี วั น ฝนทิ้ ง ช่ ว ง ประมาณ ๓-๔ วัน น�ำ้ ก็จะระบายออกทะเล ได้พอดี แต่บริเวณที่เป็นพื้นที่รับน�้ำหรือ พืน้ ทีท่ รี่ อระบายอยูร่ มิ ทะเลก็จะอยูก่ บั น�ำ้ ที่ ท่วมขังนานกว่าพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เป็นประจ�ำทุกๆ ปี เป็นอยูอ่ ย่างนีป้ ระมาณ ๒-๓ เดือน ท� ำ ไมอ� ำ เภอชะอวดจึ ง ท่ ว มหนั ก เพราะเป็ น อ� ำ เภอที่ มี เ ทื อ กเขาบรรทั ด เป็นต้นน�้ำทางด้านตะวันตก รับฝนแล้วเท ลงมาทางฝั่งชะอวด เพื่อระบายออกทาง ตะวันออกที่ทะเล ผ่านอ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอปากพนัง และอ�ำเภอหัวไทร ในฤดู ก าลครั้ ง นี้ ฝนเริ่ ม เข้ า มาช้ า
กว่าทุกปี รอบแรกที่เริ่มหนักคือต้นเดือน ธันวาคม ๒๕๕๙ ที่ชะอวดน�้ำไหลเข้าท่วม ในเส้นทางปกติ ระดับที่ท่วมสูงกว่าทุกปี แต่ก็ยังไม่สูงเท่าน�้ำท่วมรอบที่สองเมื่อต้น เดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา ระดับน�ำ้ ขึน้ สูงกว่า เท่าตัว และขึ้นเร็วมาก ถ้าติดตามปริมาณ น�้ำฝนสะสมตั้งแต่ปลายปี ๕๙ ต่อเนื่องมา จนถึงต้นปี ๖๐ จะเห็นว่า ปริมาณน�้ำฝน ตรงอ� ำ เภอชะอวด(นครศรี ธ รรมราช) มี ปริมาณน�้ำฝนสะสมสูงสุดของประเทศไทย คือ ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร เพราะฝนจากมรสุม ฝั่งอ่าวไทยเริ่มตกในรอบนี้ตั้งแต่วันที่ ๒๙
ใหม่ทงั้ คืน แต่เป็นมรสุมทีม่ าจากทางด้าน ตะวันตกหรือทางอันดามัน เป็นความกด อากาศต�่ำซึ่งเมื่อขึ้นบกแล้วจะตกนิ่งและ นาน เคลือ่ นตัวออกช้า ดังนัน้ น�ำ้ ทีก่ ำ� ลังรอ ระบายก็ยงั ไม่ได้ระบายออก และมีนำ�้ จาก รอบใหม่เข้ามาสมทบเพิ่มขึ้นทันที ระดับ น�้ำจึงขึ้นสูงอย่างรวดเร็วตั้งแต่เย็นวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ฝนตกต่อ เนือ่ งกระทัง่ ถึงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ รวมเวลาที่ ฝ นตกต่ อ เนื่ อ งกั น ทั้ ง หมด ๑๓ วัน น�้ ำ จากล� ำ คลองหลายสายไหลลง มาจากเทือกเขาจะไหลผ่านชะอวดเป็น หลัก น�ำ้ จะถูกเก็บกักไว้เรือ่ ยๆ เพราะเป็นที่ ราบลุ ่ ม เมื่ อ น�้ ำ สะสมจนถึ ง ขี ด สุ ด น�้ ำ มหาศาลจึ ง เทลงชะอวดเป็ น หลั ก อี ก ปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ น�้ ำ ท่ ว มสู ง กว่ า ปกติ คื อ ปริ ม าณน�้ ำ ที่ ล ้ น ออกมาจากอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้วยน�้ำใส ซึ่งเป็นต้นน�้ำของคลองชะอวด รวมถึงสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ที่ถูกสร้างขึ้นสูง กว่าระดับพื้นที่ปกติ กั้นเหมือนเป็นเขื่อน ขวางทางน�้ำไว้ ท�ำให้มีการระบาย ได้ชา้ รู ้ ส าเหตุ แ ล้ ว ..ต่ อ ไปเราจะ รับมือหรือแก้ไขกันอย่างไร ความ เห็นส่วนตัวยังคงกังวลกับเรื่องสิ่ง ปลูกสร้างที่ผิดธรรมชาติ ชุมชน ที่ขยายตัวในพื้นที่ การออกแบบ เพื่อให้เป็นทางผ่านที่ดีของน�้ำเพื่อ รอการระบายน่าจะดีกว่าการถม ที่ให้สูงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้พ้นน�้ำ เพราะถึง อย่างไร มรสุมก็ต้องมาทุกๆ ปี และไม่ ว่าจะสูงหรือแข็งแรงแค่ไหนก็สู้พลังน�้ำ มหาศาลไม่ได้แน่นอน ที่ส�ำคัญปัจจัยที่ท�ำให้มรสุมหัวฟัด หัวเหวี่ยงหนักขึ้นทุกปีก็เกิดจากการใช้ ชีวิตของมนุษย์นั่นเองที่ท�ำให้โลกเราเสีย สมดุล น่ากลัวไหมล่ะคะ...ขนาดภูเขาที่ หัวไม่โล้น มีป่าแน่นขนัดยังรับมือมรสุม ทุกวันนี้ไม่ได้เลย นึกแล้วเสียดายป่าเมื่อ หลายปีกอ่ น
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๕
ต
ลอดปี ๒๕๕๙ ทีผ่ า่ นมามีเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เกิ ด ขึ้ น ให้ เ ราใช้ ม ากมาย หลายเทคโนโลยี ก็ ยั ง ให้ บ ริ ก ารไม่ เ ต็ ม รูปแบบ จ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวก มากขึ้ น หลายเทคโนโลยี ก็ ล ้ า สมั ย ไป เทรนด์ เ ทคโนโลยี ด ้ า นไอที ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในประเทศไทยปีนนี้ า่ จะมีอะไรบ้างเรามา ติดตามกันครับ
live ที่ท�ำให้คนสนใจสื่อถ่ายทอดสดทาง ออนไลน์มากขึน้ มากกว่าสือ่ ทีวใี นปัจจุบนั ซึ่งแนวโน้มจะมีมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อ ทีวแี ละวิทยุทตี่ อ้ งปรับตัวอีก แม้ว่าในไทยอาจจะไม่เป็นถึงขั้นรถยนต์ไร้ คนขับ แต่ภายในมีเทคโนโลยี Machine Learning เรียนรู้และปรับโหมดให้เหมาะ สมกับผูข้ บั รถมากขึน้
๔. การท�ำงานผ่าน Mobility
พฤติกรรมการท�ำงานของ คนรุ ่ น ใหม่ เ ปลี่ ย นไปใช้ Mobile ในการท�ำงานมากขึน้ ปรับ เทคโนโลยี และรู ป แบบการ ท�ำงานให้รองรับ Mobility มาก
๑. Cloud Computing
หน่วยงานต่างๆ ไม่เว้นแม้กระทั่ง ตัวผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์เองก็ใช้ Cloud Computing ในการท�ำงาน ประเทศไทยใช้ ซอฟต์แวร์ Saas มากขึ้น ทั้งบริษัทต่างๆ และสถาบันการเงิน เช่น Salesforce, Google Apps และ Microsoft Office 365 นอกจากนี้ยังมีบริษัทซอฟต์แวร์รวม ถึงกลุ่ม Tech- Start up จ�ำนวนมาก ทีม่ าใช้ IaaS หรือ PaaS อย่าง Amazon Web Services หรือ Microsoft Azure เรือ่ ง cloud นีใ่ กล้ตวั ผูใ้ ช้อยูแ่ ล้วเพราะแค่ สมาร์ทโฟนก็มรี ะบบ cloud ให้ใช้กนั แต่ มันไม่ใช่แค่ฝากข้อมูลหรือ sync งานต่างๆ เท่านัน้ ยังมีระบบอืน่ ๆ ทีซ่ อ่ นอยูด่ ว้ ย เช่น Maching Learning บนมือถือ ก็เริ่มมา ใช้บนมือถือแล้วเช่น Nextbit Robin หรือ Huawei Mate 9
๒. Internet of Things (IoT)
IoT (Internet of Things) เป็น หนึ่ ง ในแนวโน้ ม เทคโนโลยี ที่ จ ะเข้ า มา เปลี่ยนแปลงโลกซึ่งจะชัดเจนที่บ้านก้าว สู่ Smart Home, Smart City, Smart Building มีกิจกรรมตั้งกลุ่มพัฒนาเรื่อง IoT รวมถึง ค่าย True และ AIS มีวิสัย ทัศน์ทจี่ ะลุยตลาดบริการด้าน IoT มากขึน้ และมีเรื่องรถอัจฉริยะ Smart Car ด้วย
๓. เทคโนโลยีการช�ำระเงินผ่านมือถือ ขึ้น เช่นการประชุมออนไลน์ การท�ำงาน และ PromptPay แบบร่วมกัน การแชร์ข้อมูลผ่าน Share ประเด็นวงการช�ำระเงินผ่านมือถือที่ ร้านแรงทีส่ ดุ คือ พร้อมเพย์ ทีค่ าดว่าจะเริม่ ใช้จริงภายในปีนี้ จากข่าวล่าสุดเรือ่ งการคืน ภาษีก็จะใช้ช่องทางใหม่คือ PromptPay เป็ น การลดการท� ำ ธุ ร กรรมการเงิ น โดย การใช้เงินสด แล้วหันไปใช้เลขประจ� ำตัว ประชาชน หรือเบอร์โทรศัพท์มือถือ แทน เลขที่บัญชีธนาคาร ในการท�ำธุรกรรมการ เงิน ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต แบงก์กงิ้ โมบายแบงก์กงิ้ เครือ่ งเอทีเอ็ม น่า จับตาว่า หลังเผยโฉมออกมาแล้วคนไทยจะ ใช้บริการนีม้ ากน้อยแค่ไหน และเรือ่ งส�ำคัญ ที่ต้องจับตา PromptPay คือด้านระบบ ความปลอดภัยบน Prompt Pay ในขณะที่ ต ลอดปี ๒๕๕๙ วงการ E-Commerce เริ่มเป็นประเด็นร้อนหลัง จากที่ Alibaba ซื้อกิจการ Lazada ซึ่ง ครอบคลุมทัว่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ เริม่ เปิดช�ำระเงินผ่าน Alipay ตลอดจนการ มาของ Tencent ผูใ้ ห้บริการ WeChat ก็ จะเตรียมเริ่มให้บริการ WeChat Pay ให้ ลูกค้าจีนที่ช้อปปิ้งที่ไทยด้วย ก็จะเริ่มให้ บริการเต็มรูปแบบในปีนี้ ไม่เพียงเท่านีก้ าร มาของ Samsung Pay ในปีที่แล้ว ก็เป็น ส่วนหนึง่ ทีด่ นั ให้ใช้มอื ถือช�ำระเงินแทนบัตร เครดิตและเงินสดมากขึน้ ในปีนดี้ ว้ ย
Drive หรือ การท�ำเอกสารแบบออนไลน์ โดยใช้เครือ่ งมืออย่าง Google Docs หรือ Office 365 การศึกษาก็สามารถเรียนต่อ ที่บ้าน หรือที่อื่นๆ ได้ผ่านทาง Youtube Live หรือ Facebook Live
๖. ด้านความปลอดภัย IT Security
องค์ ก รต่ า งๆ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ค วาม ตื่นตัวด้านความปลอดภัยของเทคโนโลยี สารสนเทศมากขึ้น ในช่วงปลายปีจะเห็น การโจมตีแฮกข้อมูลเว็บไซต์รัฐบาล หรือ เรือ่ งใกล้ตวั ก็มลั แวร์ Ransomware ท�ำให้ องค์กรต่างๆ ต้องตื่นตัวเรื่องระบบรักษา ความปลอดภัยภายในองค์กรมากขึน้ เพือ่ ลดความเสียหายของข้อมูลส�ำคัญภายใน องค์กรน้อยที่สุด หรือไม่ให้เกิดเสียหาย เลย หน่วยงานภาครัฐก็ตอ้ งให้ความส�ำคัญ เรือ่ งระบบความปลอดภัย และจับตาเรือ่ ง พรบ.คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ ทีจ่ ะบังคับใช้ ในช่วงต้นปี ๒๕๖๐ นี้ว่าจะช่วยให้ลดใน เรือ่ งการโจมตีผา่ นทางไซเบอร์ได้จริงมัย้
๗. Big Data Analytics ๕. Digital Transformation
ประเด็ น ร้ อ นของคนท� ำ งานที่ ต ้ อ ง ปรับตัว หลังการมาของบริการต่างๆ เช่น Uber, Agoda, iFlix, Netflix, Hollywood HD, หรือแม้กระทั่ง Apple Music และ JOOX และที่กระทบสุดๆ ต่อวงการทีวี คือ Facebook Live ท�ำให้องค์กรต่างๆ ก็ เริ่มที่จะต้องปรับตัวเองมีการน�ำเทคโนโลยี ดิจิตอลมาใช้มากขึ้น ทั้งในการบริหารงาน การบริการลูกค้า หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพราะตลอดปีที่ผ่านมา สื่อที่ได้รับผลกระ ทบจาก Digital Transformation ที่เห็น เด่นชัดคือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เทปและ ซีดี ร้านหนังสือการ์ตูน ที่เริ่มทยอยปิดตัว เพราะผลกระทบจากโลกออนไลน์ ที่ เ ร็ ว กว่า และดูได้ฟรี ผลกระทบจาก facebook
อุตสาหกรรมต่างๆ และสถาบันการ เงิน เริม่ มีการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานทาง ด้าน BIG DATA มากขึ้น ทั้งรัฐบาลและ เอกชน โดยภาครัฐจะให้ความส�ำคัญกับ เรื่องของ Open Data และมีนโยบายใน การทีจ่ ะพัฒนาข้อมูลขนาดใหญ่ในภาครัฐ ซึง่ ก็มี EGA ดูแลเรือ่ งนี้ องค์กรธุรกิจต่างๆ ให้ความสนใจกับการน�ำข้อมูลขนาดใหญ่ ไปวิเคราะห์ เพื่อดูพฤติกรรมลูกค้าและ ปรับปรุงรูปแบบบริการ ทีช่ ดั เจนอย่างเช่น ร้านค้าอัจฉริยะ Amazon GO ที่เกิดขึ้น แล้วในสหรัฐอเมริกา ทีส่ ามารถตรวจสอบ ความสนใจของสินค้าแค่การหยิบการวาง ก็ยังมีการบันทึกไว้ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล พฤติกรรมลูกค้า ทัง้ รายคน และภาพรวม (อ่านต่อหน้า ๑๔)
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๖ บัญญัติ ลายพยัคฆ์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช
จั
งหวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ก็ เ ป็ น อี ก แห่ ง หนึ่งที่นักปั่นให้ความสนใจไปปั่นกัน มาก ด้วยธรรมชาติมีทั้งภูเขา ทะเล เขื่อน ธรรมชาติโดยเฉพาะป่าไม้ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผมได้ไปปั่น เที่ยวในรายการ ปั่นให้หรอยใจเกินร้อย เมื อ งคนดี คนอื่ น ๆ อาจคิ ด ว่ า เป็ น การ แข่งขัน แต่ส�ำหรับผมแล้ว “ปั่นให้หรอย”
อย่างเดียว ปั่นเที่ยวชม ธรรมชาติสองข้าง ทางไปเรื่ อ ย เป็ น การทดสอบพลั ง และ สมรรถนะของตัวเองไปด้วย คราวนี้ใช้เส้นทาง ปล่อยตัวที่เกาะ ล�ำพู ไปทางท่าฉาง แล้วไปกลับตัวที่ไชยา ที่ ส� ำ คั ญ ได้ ไ ปถึ ง บ้ า นพุ ม เรี ย ง สถานที่ ที่ อยากไปมาก จักรยานน�ำพาไปยังสถานที่ ในฝันได้จริงๆ (๑๓ มกราคม ๒๕๖๐) คณะผูบ้ ริหาร บริ ษ ั ท ฮอนด้ า นครศรี ธ รรมราช ในนาม กองทุ น ฮอนด้ า เคี ย งข้ า งไทย ร่ ว มกั บ กรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มอบถุงยังชีพ ๑,๕๐๐ ชุด ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วมใน จังหวัดนครศรีธรรมราช
(๑๗ มกราคม ๒๕๖๐) ทีมงานฮอนด้า ศรีนคร น�ำ 'โกจ้อง' ลุยมอบถุงยังชีพทีบ่ ริษทั ฐิตกิ รจ�ำกัด (มหาชน) มอบผ่านฮอนด้าศรีนคร ๑๒๐ ชุด ไปมอบช่วยผู้ประสบภัยจมน�้ำนาน กว่า ๑๐ วัน ณ ชุมชนอิสลาม กว่า ๑๒๐ ครัว เรือน ทีห่ มูบ่ า้ นสีศ่ าลา ม.๘ ต.ท่าซัก อ.เมือง จังหวัดนครฯ รวมทั้ง ผ้าห่มนวม ๑๒๐ ชุด จากเงินบริจาคผ่านทางบัญชีอารยา สารคุณ ผู้บริหารฮอนด้าศรีนคร - ผ้าห่มสักกะหลาด ๒๐ ชุด จากปาลิกา จึงไพศาล ร้านทองซีกวง - เครือ่ งอุปโภค น�ำ้ ยาล้างจาน ผงซักฟอก ที่ หนีบผ้า ไม้แขวนเสือ้ จากเงินบริจาคผ่านกลุม่ เพือ่ นๆ โดยมีกลุม่ จิตอาสาลงไปช่วยเหลือ (๑๓ มกราคม ๒๕๖๐) บริ ษั ท ฮอนด้า เทิดพระเกียรติ จ�ำกัด สนับสนุน และส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี ว ิ ต ทุ ก ๆ ด้ า น ส่ ง พนั ก งานตั ว แทนมอบน�้ ำ ดื ่ ม และ ของที่ระลึกสนับสนุนการจัดกิจกรรมวันเด็ก ประจ�ำปี ๒๕๖๐ กว่า ๗,๕๐๐ บาท แก่สถาน สงเคราะห์บา้ นเด็กชายศรีธรรมราช
คนไทยไม่ทิ้งกัน มูลนิธิอาสาเพื่อน พึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย และ ส�ำนักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย ร่วมกับ มูลนิธริ ว่ มด้วยช่วยกันส�ำนึกรักบ้านเกิด มูลนิธิ กุศลศรัทธาสุราษฎร์ธานี ตั้งกองอ�ำนวยการ รับบริจาคสิง่ ของอุปโภค/บริโภค ท�ำข้าวกล่อง ส�ำเร็จรูปและบรรจุถงุ ยังชีพ ณ ร้านอาหารคัน ทรีโฮม ตัง้ แต่ ๘-๑๒ มกราคม ๒๕๖๐
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
หน้า ๑๗
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๘
เรือ่ งจากปก
<< ต่อจากหน้า ๘
นนธิวรรธ นนทภักดิ์ นักการเมืองท้องถิ่นและกลุ่ม อาสาสมัคร อ.ปากพนัง ระดมเครื่องอุปโภคบริโภคเข้าไป แจกในพืน้ ทีป่ ระสบภัยอย่างแข็งขัน “วันที่ ๒ มกราเวลาสิบเอ็ดโมง น�้ำยกระดับในเขต เทศบาลปากพนัง ตอนบ่ายประตูระบายน�้ำอุทกวิภาช ประสิทธิเ์ ปิดทุกบานประมาณ ๓๐ นาที ระดับน�ำ้ ลดลง วัน ที่ ๓ มกรา น�ำ้ เริม่ ยกระดับอีกครัง้ ตอนนีน้ ำ�้ ท่วมเชียรใหญ่ เฉลิมพระเกียรติ จุฬาภรณ์ ร่อนเพิบลู ย์... “ผมได้รับโทรศัพท์จากผู้น�ำท้องถิ่น ถามว่าประตู ระบายน�้ ำ เปิ ด ไหม ผมต้ อ งวิ่ ง ไปถ่ า ยรู ป ส่ ง ไลน์ ยื น ยั น ท่ามกลางกระแสน�้ำทุกคนไม่อยากย้ายออกจากบ้าน เช่น ชะอวดน�ำ้ ขึน้ ถึงชัน้ ๒ ต้องหาเรือไปช่วย บางทีย่ งั ออกมาไม่ ได้ ต่อไปท้องถิน่ ต้องมีเรือกูภ้ ยั ทุกอ�ำเภอ... “การผลักดันน�้ำ ระบบชลประทานชะอวด-แพรก เมืองสามารถช่วยระบายน�้ำให้ลงอ�ำเภอปากพนังได้อย่าง ดียิ่ง กองทัพเรือท�ำงานประสานกับชลประทานท�ำให้การ ผลักดันน�ำ้ รวดเร็วขึน้ ... “การแจกของบริจาคหรือถุงยังชีพอาจท�ำหลายๆ รอบเพราะหลั ง จากนี้ อี ก ไม่ รู ้ สั ก กี่ เ ดื อ นเขาถึ ง ประกอบ อาชีพได้ โดยเฉพาะชาวนาและเกษตรกรจะต้องมีข้าวสาร ไว้กินยามไม่มีรายได้ รัฐบาลต้องท�ำคลองระบายน�้ำขนาด ใหญ่เลีย่ งเมืองและสามารถเก็บน�ำ้ ไว้ใช้ในหน้าแล้งด้วย”
ณรงค์ ธีระกุล (ดาร์กี้) ผู้บริหารทีวีมีดี และนักข่าว หลายส�ำนัก “มองไปลึกแล้วที่มาของผู้ที่ได้ชื่อว่าจิตสาธารณะ ส�ำนึกร่วมที่เกิดจากอยากเข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้ ถึงมือทุกๆ พืน้ ทีโ่ ดยไม่จำ� เป็นต้องพึง่ กลไกรัฐ จากการเดิน ทางเข้าไปติดตามรายงานข่าวแต่ละพื้นที่พบว่าถุงยังชีพ ข้าวของเครื่องใช้เข้าไปถึงก่อนหน้านั้นแล้ว เริ่มต้นจาก สภาวะที่ประสบภัยธรรมชาติน�้ำท่วมมีจิตสาธารณะผู้คน เข้าไปผลิตอาหารพร้อมทานในแต่ละมื้อ ออกไปแจกจ่าย อย่างทั่วถึง เข้าใจดีว่าผู้ประสบภัยไม่สามารถช่วยเหลือตัว เองได้ในวันแรก แม้จะมีถุงยังชีพแต่เมื่อถูกตัดกระแสไฟไม่ พร้อมที่จะประกอบหาอาหารเองก็มีอาหารจากภายนอก เข้าไปช่วยเหลือ... “ถัดมาจะเห็นได้ว่ากลุ่มองค์กรเอกชนกลุ่มเพื่อนฝูง หรือแม้กระทั่งเพื่อนร่วมรุ่นศิษย์เก่าของสถาบันต่างๆ ยัง เรี่ยไรเงินท�ำเป็นถุงยังชีพ เดินทางโดยวิธีการต่างๆ เช่น รถโฟว์วิล เรือท้องแบน สกูตเตอร์หรือวิธีการอื่นๆ เพื่อให้ เข้าถึงผู้ประสบภัย เพราะทราบดีว่าการเข้าไปช่วยเหลือ ของเจ้าหน้าทีท่ ดี่ เู หมือนว่าจะเข้าถึงในหลายพืน้ ที่ แต่จริงๆ แล้วยังไม่ทวั่ ถึง เช่นว่ามีเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงทัง้ ในจังหวัดและ ระดับรัฐบาลกองทัพเข้าไปให้ความช่วยเหลือพบปะกันที่
จุดนัดหมายน�ำถุงยังชีพไปประมาณ ๑๕๐ ถึง ๒๐๐ ชุด แต่ เมื่อกลับออกมาแล้วผู้น�ำท้องที่ผู้น�ำท้องถิ่นไม่สามารถแยก จ่ายได้ เหตุผลเพราะในหมูบ่ า้ นต�ำบลนัน้ นัน้ มีประชากรอยู่ นับพันครัวเรือน ผูน้ ำ� ในท้องทีก่ ไ็ ม่สามารถทีจ่ ะแจกจ่ายให้ กับผู้ประสบภัยได้ ต้องรอให้ครบตามจ�ำนวนผู้ประสบภัย ที่แท้จริง ของเหล่านั้นจึงต้องค้างอยู่ที่บ้านของผู้น�ำหรือใน ส่วนกลาง ต้องรอผู้บริจาคเข้ามาสมทบให้ครบจ�ำนวนของ ผู้ประสบภัย เหตุนี้เองเรามักจะได้ยินว่าผู้น�ำไม่ยอมแจก จ่ายถุงยังชีพเก็บรักษาไว้อย่างมีเงือ่ นง�ำ...การตัง้ ผูใ้ หญ่บา้ น เป็นศูนย์บัญชาการช่วยเหลือระดับหมู่บ้านจึงเป็นเรื่องที่ บรรเทาความซ�้ำซ้อนของการช่วยเหลือได้บ้าง แต่บางครั้ง ยังถูกตั้งค�ำถามว่าการบริหารจัดการจะเป็นไปตามพวก พ้อง ญาติมติ ร และพรรคพวกกันเองหรือไม่” ประสบการณ์แจกจ่ายข้าวของและจิตอาสาครั้งนี้ เป็นปรากฏการณ์สำ� คัญของจังหวัดนครฯ แม้มอี ปุ สรรคแต่ ทุกฝ่ายก็พยายามท�ำอย่างเต็มความสามารถ 'รักบ้านเกิด' ทราบดีว่ายังมีจิตอาสาต่างอ�ำเภออีกมากมายที่ไม่สามารถ กล่าวถึงหรือน�ำมาถ่ายทอดด้วยเนือ้ ทีอ่ นั จ�ำกัด แต่ขอกล่าว ณ ที่นี้ว่า พลังของจิตอาสาจะน�ำพาจังหวัดนครฯ ไปสู่ ความเจริญและได้รบั การยกย่องในอนาคต
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า ๑๙
หน้า ๒๐
มูลนิธิ-ชมรมชาวปากพนัง (กรุงเทพมหานคร) น�ำโดย นพ.ยุ ค ล โรจนกิ จ ประธานมู ล นิ ธิ ฯ และ รศ.ดร.มณี เหมทานนท์ ประธานชมรมฯ เชิ ญ ชวนพรรคพวก ญาติมิตรในกรุงเทพฯ ช่วยกันบริจาคถุงยังชีพและเงินสด น� ำ มาแจกจ่ า ยแก่ พี่ น ้ อ งที่ ป ระสบอุ ท กภั ย ในเขตอ� ำ เภอ ปากพนัง เชียรใหญ่ ร่อนพิบูลย์ ฯลฯ เมื่อวันที่ ๑๘-๑๙ ม.ค.ที่ผ่านมา
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
จิตอาสา กลุ่ม ‘นักเดินป่าอาสากู้ภัย’ โดย ทาร์ซานบอย จิตอาสา กลุ่ม ‘ฝากฝันปันยิ้ม’ เปิดศูนย์รับบริจาคช่วยผู้ ครูแจง-ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม และเพื่อนๆ ประสบภัยน�ำ้ ท่วม ทีบ่ า้ นดนตรีครูเอ็ม หลังวัดพระมหาธาตุ