ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
http://www.nakhonforum.com
ราคา ๒๐ บาท
สุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) ‘กูรู’ ร้านอาหารเมืองนคร เปิดเผย ท�ำร้านโกปี๊เพราะเจ็บใจ จนโกปี๊กลายเป็นแบรนด์ดัง สร้างจุดขาย เป็นห้องรับแขกของเมืองนคร
¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСÒญ¨น์ รักสุขภาพ
นพ.อรรถกร วุฒิมานพ
เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๗ นางสาววาริน ชิณวงศ์ ประธาน หอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เชิ ญ นายสุ ธ รรม ชยั น ต์ เ กี ย รติ เจ้ า ของร้ า นอาหารและเบเกอรี่ ชื่ อ ดั ง ที่ มี ร ้ า นอาหารสาขามากที่ สุ ด ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เช่ น ลิ ก อร์ , เฮาค็ อ ฟฟี ่ , ครั ว นคร, คอนม และโกปี ๊ ไปบรรยายเรื่ อ ง ‘โกปี ๊ ก ล้ า ...ท้ า แบรนด์ โ ลก’ มี สมาชิ ก หอการค้ า ฯและประชาชนผู ้ ส นใจเข้ า ฟั ง กว่ า ๑๐๐ คน ณ ห้องอรพินธ์ โรงแรมทวินโลตัส นายสุธรรม ชยันต์เกียรติ หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า >> อ่านต่อหน้า ๘
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐
รายงาน
˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒
มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ˹éÒ ñ๖ ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ ˹éÒ ñ๗ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
หนังสือพิมพ์ประชาชาติธรุ กิจ ฉบับวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗ รายงานเรื่อง ‘ปักธงเมืองนคร’ เสนอความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ผู้ประกอบการ รายใหญ่จากส่วนกลาง ทีมงานประชาชาติธรุ กิจ ลง >> อ่านต่อหน้า ๙
หน้า ๒
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
ครบถ้วน รวมถึงท่านท้าวจตุคามและรามเทพ แถมใจกลาง องค์ พ ระธาตุ ยั ง วางภาพจ� ำ ลององค์ พ ระธาตุ ส มั ย ศรี วิ ชั ย ที่ เชื่อกันว่าเป็นองค์ก่อนการเข้ามาของศิลปลังกาที่เป็นสถูป ทรงโอคว�่ำอย่างทุกวันนี้ได้อย่างลงตัว
เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๗ เกิ ด โศกนาฏกรรมเรื อ เฟอร์ รี่ โ ดยสาร ชื่ อ ‘เซวอล’ ของ เกาหลี ใ ต้ บรรทุ ก ผู ้ โ ดยสารประมาณ ๔๗๖ คน รถยนต์ ๑๕๐ คัน ประสบเหตุล่มในทะเลทางตะวัน ตกเฉี ย งใต้ ใ กล้ เ กาะเจจู ซึ่ ง ได้ รั บ การพั ฒ นาและ ประชาสัมพันธ์ผ่านภาพยนตร์และสื่อต่างๆ ให้เป็น แหล่งท่องเที่ยว ในจ�ำนวนผู้โดยสารทั้งหมดมีคณะ ครูกับนักเรียนจากเมืองอินชอน ๓๓๘ คนที่ก�ำลังเดิน ทางไปทัศนศึกษาที่เกาะเจจู สัปดาห์ที่สองหลังเรือล่ม หน่วยกู้ภัยค้นพบร่างผู้เสียชีวิตกว่า ๑๐๐ คน การ ค้นหายังคงด�ำเนินต่อไป โศกนาฏกรรมทางทะเลครั้ ง นี้ ไ ด้ ส ร้ า งความ เศร้ า สลดแก่ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรง ทั้ ง ญาติ พี่ น ้ อ ง ของผู้เสียชีวิต ชาวเกาหลีใต้ รัฐบาลเกาหลีใต้ และ ประชาชนจากทั่วโลก ขณะการตรวจสอบหาสาเหตุ เรื อ เฟอร์ รี่ ล ่ ม ที่ แ ท้ จ ริ ง เกิ ด จากอะไรและจะหาทาง ป้องกันอย่างไร เกาหลีใต้จะกอบกู้ชื่อเสียงและภาพ ลักษณ์ให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ คือมีความปลอดภัยใน การเดินทางท่องเที่ยวเกาะเจจู แต่คงต้องใช้เวลาอีก นานจึงจะลบภาพน่าสะเทือนใจครั้งนี้ได้ ภาคใต้ของประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวทาง ทะเลที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งโดยสารเรื อ เฟอร์ รี่ ได้ แ ก่ เกาะสมุ ย เกาะพะงั น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ๒ เส้ น ทาง คื อ ดอนสั ก – เกาะสมุ ย – ดอนสั ก และ ดอนสั ก - เกาะพะงั น – ดอนสั ก ให้ บ ริ ก ารวั น ละ ประมาณ ๔๐ เที่ยว แม้ตลอดเวลาด�ำเนินการยังไม่ ประสบอุบัติเหตุร้ายแรง แต่โศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น ที่เกาหลีใต้น่าจะช่วยผู้บริหารเรือเฟอร์รี่หันกลับไป ตรวจสอบระบบความปลอดภัย ทั้งสภาพเรือ ความ เชี่ยวชาญของกัปตัน ระบบรักษาความปลอดภัยและ อุปกรณ์ช่วยชีวิตว่ายังสมบูรณ์พร้อมหรือไม่ และน่า จะประชาสั ม พั น ธ์ ต อกย�้ ำ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจแก่ นั ก ท่องเที่ยวและผู้โดยสารทั่วไป โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์อันเศร้าสลดที่เกาหลีใต้ครั้งนี้ ขณะผู้โดยสาร เองก็ควรเรียนรู้ระบบความปลอดภัยและปฏิบัติตาม กฎระเบียบการโดยสารเรืออย่างเคร่งครัดเช่นกัน
ช่
วงสงกรานต์ ที่ ผ ่ า นมา บั ณ ฑิ ต ใหม่ ส าขาจิ ต รกรรมไทย ประติมากรรม และ หัตถศิลป์ จากวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ๕๒ คน นัด กันน�ำผลงานศิลปนิพนธ์เพื่อการส�ำเร็จการศึกษาที่น�ำความรู้ ทักษะการสร้างสรรค์และสุนทรียภาพในสาขาวิชาศิลปะประจ�ำ ชาติ ซึ่ ง เน้ น ระบบความคิ ด คุ ณ ค่ า ทางพระพุ ท ธศาสนาและ ชีวิตจิตใจไปจัดแสดงที่หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ อย่างงดงามและยิ่งใหญ่เหลือเชื่อ ในนั้น มี ๕ คนจากเมืองนครซึ่งมีผลงานน่าสนใจ และ ขอน� ำ เสนอใน “นครดอนพระ” เพื่ อ การชื่ น ชมคนรุ ่ น ใหม่ ที่ ก�ำลังรังสรรค์สิ่งใหม่ให้โลก ประกอบด้วยสาขาจิตรกรรม ๒ คน ประติมากรรม ๓ คน
๒ ชิ้นแรกนี้ เป็น ของนางสาวกรรภิ ร มย์ ท อ ง มี สุ ข ช า ว สิ ช ล ต�ำบลเปลี่ยน เธอบอก ว่ า ชอบเทวดา ก็ เ ลย วาดภาพการชุมนุมเทวดาในชื่อภาพ “เทวสภา” ที่มีพระอินทร์เป็นประธาน พร้อมมเหสีทั้ง ๔ คื อ สุ ธ รรมา สุ จิ ต รา สุ นั น ทา และ สุ ช าดา โดยมี ท ้ า วจตุ โ ลกบาล อยู่ในวิมานที่น�ำผังมณฑลแบบแมนดาลาของ ทิ เ บตมาใช้ ดู ง ดงาม ลงตัว สมกับที่มาจากสิชลเมืองเทวดาแต่ดั้งเดิม ทั้งนี้เธอ ไม่ได้บอกหรอกว่าในคติพุทธเรานั้น เทวดาก็ยังไม่สู้มนุษย์ เพราะไม่สามารถพ้นทุกข์ถึงบรรลุนิพพานได้ แม้พระอินทร์ที่ เป็นเจ้าบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ก็ตาม อีก ๒ ชิ้นเป็นของนายณัฐพันธ์ ชงากรณ์ คนไชยมนตรี ที่ทวดทอง ตั้งชื่อภาพว่า “ประทักษิณ” ที่อัญเชิงองค์พระ บรมธาตุเจดีย์กับ ๔ เจดีย์บริวารบนฐานทักษิณมาวาดไว้เป็น ประธาน แวดล้อมด้วยเหล่าเทพเทวาฉัตรกั้นธงทิวอย่างที่ คุ้นตาในวิหารพระทรงม้ามหาภิเนษกรมณ์ มีผู้คนพระภิกษุ สงฆ์ก�ำลังประทักษิณอย่างเนืองแน่น โดยที่ฐานนั้นจัดวาง จตุโลกบาลและนานาเทพท้าวภาพยนต์ผู้พิทักษ์พระธาตุไว้
พระบรมธาตุนคร กับอีก ๓ ภาพ แสดงพุทธประเพณี ๔ ภาค ทักษิณ - อุดร - อีสาน - มัชฌิม
ส�ำหรับ ๓ ประติมากรใหม่เมืองนครนั้น ก็น่าสนใจไม่ น้อย มากัน ๓ แนว นายยศไกร กาญจนชัย คนคีรีวง ปั้นเป็น หน้าบันประดิษฐานองค์พระบรมธาตุรายล้อมด้วยเทพชุมนุม ชวนนึกถึงในวิหารพระทรงม้า พร้อมกับกวีนิพนธ์ตามแบบ ของตน ถึง “ต�ำนานพระบรมธาตุฯ” ว่า ศรีธรรมโศกราชเจ้า จอมอินทร์ สร้างพระธาตุกลางธรณิน แผ่นด้าว ธนกุมาร เหมชลาเชิญธาตุพระชินสี โอนเอย เทพไท้ท้ายทวารซ้อง อาศิรวาท เทอญ โดยคนไชยมนตรีเด็กน�้ำรอบอีกคน นายขวัญชัย เสียง กระโทก เลื อ กท� ำ เป็ น หุ ่ น นั ก เลง “เพลงบอก” ออกทอก ประกาศสงกรานต์สู้วัฒนธรรมใหม่ที่ก�ำลังทะลักเข้ามาสารพัด >> อ่านต่อหน้า ๑๙
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร
เ
ดือนละครั้งหรือสองเดือนครั้ง ที่ผม มีโอกาสนั่งพูดคุยแลกเปลี่ยนความ คิดกับ จิมมี่ ชวาลา เจ้าของห้างผ้า ‘จิมมี่’ ใกล้ๆ สี่แยกท่าวัง กลางตัวเมือง นครศรีธรรมราช (ความจริงชาวนคร ผู้เคยซื้อหาผ้าไปใช้ประโยชน์ต่างรู้จัก ร้านจิมมี่กันทั่วไป แต่ผมระบุสถานที่ เพราะต้ อ งการให้ ผู ้ อ ่ า นที่ บั ง เอิ ญ ได้ อ่าน ‘รักบ้านเกิด’ ฉบับ E-book ที่ อยู ่ ต ่ า งจั ง หวั ด หลั บ ตานึ ก ได้ ถู ก ต้ อ ง) แม้จิมมี่จะเคยก�ำชับว่าถ้าวันไหนข้าง นอกร้อนนัก ขอให้แวะมานั่งพัักในห้อง ท�ำงานของเขาสักห้านาที-สิบนาที ก็ได้ สองปี ที่ แ ล้ ว หมอตรวจพบว่ า จิมมี่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก ช่วงแรก เขาเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลใน กรุงเทพฯ กับนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และเปลี่ยนวิถีชีวิต ทั้งการท�ำงานซึ่ง แม้ ย ามป่ ว ยไข้ เ ขายั ง ท� ำ งานหนั ก วั น ละ ๑๔ - ๑๕ ชั่วโมง หรือมากกว่านั้น เขามีความทุกข์และบางครั้งเกิดความ กลัวอย่างปุถุชน จนนายแพทย์ผู้ให้การ รักษาล้อเล่นว่า “อย่างจิมมี่ยังกลัวอีก หรือ ?” ผมก็เหมือนผู้ที่รักใคร่ห่วงใยจิมมี่ คนอื่นๆ อีกนับร้อยที่เข้าไปเยี่ยมและ ให้ก�ำลังใจ แรกๆ ผมก็หาหนังสือวิธี พิชิตมะเร็งไปให้อ่าน หาทุเรียนน�้ำที่มี สรรพคุณในการก�ำจัดมะเร็ง บางวันถ้า เขาคิดถึงก็โทร.หาขอเวลา ๑๕ นาที ถ้าสะดวกให้แวะไปที่ร้าน ไม่มีอะไร มากกว่าการพูดคุย ดื่มกาแฟสักแก้ว เขาเปรยถึงภาพเขียนของรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบล มหาคุรุ ชาวอินเดีย ที่เขียนไว้ช่วงบั้นปลายชีวิต ประมาณ ๒,๐๐๐ ภาพ ปัจจุบันนี้กลาย เป็นของหายากไปแล้ว ถ้าใครอยากได้ ต้ อ งไปขอให้ บ ริ ษั ท คริ ส ตี้ ซึ่ ง เป็ น ผู ้
ธีรภัทร์ มีเดช น�ำนวนิยาย ‘สิทธาเศรษฐี’ ไปมอบ รูปหล่อพ่อท่านคล้าย น�ำมาให้ชาวนครสรงน�้ำที่ แก่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ หน้าร้านจิมมี่ เมื่อสงกรานต์ที่ผ่านมา
จัดประมูลที่มีชื่อเสียงจัดหาและน�ำมา ประมูล แล้วส่วนมากผู้ชนะประมูลก็ เป็นมหาเศรษฐีชาวอินเดีย หรือกองทุน อิ น เดี ย ที่ ต ้ อ งการรวบรวมศิ ล ปกรรม ล�้ำเลอค่าของมหาคุรุไปเก็บไว้ จิมมี่เป็นนักอ่าน เขาเคยแนะน�ำ ให้ ผ มอ่ า น ‘คี ต าญชลี ’ ของรพิ น ทรนาถ ฐากู ร เขาอ่ า นครั้ ง แล้ ว ครั้ ง เล่ า ด้วยความประทับใจ และสัมผัสความ สวยงามอ่อนโยนในงานชิ้นนี้ เมื่อเขา เปรยถึงภาพเขียน ผมแอบคิดว่า อาจถึง เวลาที่จิมมี่นึกสนใจภาพเขียนของมหา คุ รุ อ ย่ า งจริ ง จั ง ขึ้ น มาแล้ ว ผมกลั บ มา ค้นหาภาพในกูเกิ้ล ๑๑ - ๑๒ ภาพแล้ว ให้ภรรยาปริ้นต์บนกระดาษผิวมันน�ำไป ฝากให้เขา วันต่อมาเขาโทร.มาขอบคุณ “กรุณาพิมพ์อย่างเดิมให้อีกสักชุด” ผม ตอบว่ายินดี น�้ำเสียงเขามีความสุขมาก ถ้าเขามีของแท้สักชิ้น ผมไม่อาจหยั่งรู้ได้ ว่าเขาจะมีความสุขแค่ไหน ปัจจุบัน คน ธรรมดาๆ ไม่อาจครอบครองภาพของ รพินทรนาถ ฐากูร ได้ง่ายๆ อีกต่อไป จิมมี่ชอบเขียนภาพ เขาเคยให้ผมดูภาพ ที่เขาวาด ๓ - ๔ ภาพ ก่อนสงกรานต์ ๗ - ๘ วัน จิมมี่ โทร.ชวนผมไปนั่งจิบกาแฟอีกครั้ง ผม บอกเขาว่า—แบงค์ร้อยปึกใหญ่รัดยาง สี เ ขี ย วที่ เ ขาให้ ผ มก่ อ นนี้ ผมน� ำ ไปท� ำ
บุ ญ ในวั น ท� ำ บุ ญ และถวายพระในวั น ท� ำ บุ ญ ประจ� ำ ปี ข องสายตระกู ล แจก จ่ายแก่หลานๆ ร่วมสมทบทุนสร้างพระ พุ ท ธสิ หิ ง ค์ ป ระดิ ษ ฐานใน ม.ราชภั ฏ นครฯ และยังเหลือไว้สมทบเป็นเงิน ถวายพระในงานรดน�้ ำ ผู ้ เ ฒ่ า ที่ บ ้ า น เกิ ด เขายกมื อ ขึ้ น ประนมโมทนาสาธุ “ขอบคุณบุญกุศลที่พี่ และคนอื่นๆ ที่ ผมรักและเคารพกรุณาสวดมนตร์อุทิศ ให้ ตอนนี้ คุ ณ หมอบอกว่ า มะเร็ ง หาย ไปจากผมแล้ ว ” จิ ม มี่ เ ปิ ด เผยกั บ ผม ว่ า เขาจะสร้ า งศาลาพ่ อ ท่ า นคล้ า ย ที่ ต.บางจาก หลังใหม่ เพราะว่าถนน นครฯ - ปากพนังขยายกว้างขึ้น ศาลา ก็เก่าจ�ำเป็นต้องสร้างใหม่ เขาเปรยว่า ถ้าผู้มีจิตศรัทธาจะยินดีสมทบก็ไม่เกิน คนละ ๑๐๐ บาท แต่มีผู้รับรู้ล่วงหน้า โทร.มาหา-- ขอสมทบทุนกระเบื้องปูพื้น รอบๆ ศาลาแต่ผู้เดียว จิ ม มี่ ข อให้ ผ มจั ด พิ ม พ์ ‘สิ ท ธา เศรษฐี’ ที่ผมน�ำเอาประวัติคร่าวๆ ของ ต้นตระกูลชวาลา มีนายชม - นายราม – นางยานกี ชวาลา และตัวเขา เริ่มจาก วันแรกที่บรรพบุรุษออกตลาดขายผ้ามา เขียนเป็นนวนิยาย เขาต้องการให้พิมพ์ อี ก ครั้ ง เป็ น ครั้ ง ที่ ๕ ผมถามว่ า ฉบั บ พิมพ์ครั้งที่ ๔ ใกล้หมดแล้วหรือ เขา ตอบว่าใกล้แล้ว มีคนต้องการอยู่เรื่อยๆ
หน้า ๓
เกี่ยวกับ ‘สิทธาเศรษฐี’ ผมรับ รู้เรื่องน่าสนใจมาราวๆ ๔ – ๕ เดือน จากปากของจิมมี่ จิมมี่เล่าว่าวันหนึ่ง มีผู้ชายคนหนึ่งโทร.หา ผู้ชายคนนั้น พูดชื่นชมอย่างสุภาพ ว่าได้อ่านนิยาย ที่ นั ก เขี ย นน� ำ ประวั ติ ค รอบครั ว มา เขี ย น—ดี ใ จที่ มี ค นดี อ ย่ า งนี้ ขอให้ รักษาความดีเอาไว้ จิมมี่ไม่ได้ถามว่า ท่านเป็นใคร วันหนึ่งนึกอยากรู้ขึ้นมา เลยโทร.ไปที่เบอร์นั้นซึ่งอยู่ที่กรุงเทพฯ องค์การโทรศัพท์บอกว่าเป็นเบอร์ปิด-ไม่สามารถติดต่อได้ ไม่ น านนั ก จิ ม มี่ ไ ด้ รั บ ภาพถ่ า ย ธีรภัทร์ มีเดช วาทยากรและผู้ก่อตั้ง วงนครฯ เชมเบอร์ ออเคสตร้า ที่จิมมี่ เป็นผู้สนับสนุนการก่อตั้งอย่างส�ำคัญ น� ำ นวนิ ย าย ‘สิ ท ธาเศรษฐี ’ ขอไป มอบแก่ พลเอกเปรม ติ ณ สู ล านนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ที่บ้าน สี่เสาเทเวศน์ จิมมี่จึงทราบว่าผู้อ่านที่ ไม่ประกาศนาม คือ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นั่นเอง ‘สิทธาเศรษฐี’ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๕ จะเสร็จราวๆ ปลายเดือนเมษายน ๒๕๕๗ ผมจะเก็บไว้กับบ้านสัก ๒๐ - ๓๐ เล่ม อีก ๒,๐๐๐ เล่ม น�ำส่งร้านจิมมี่ เขาเป็นคนจ่ายค่าจัดพิมพ์และน� ำไป แจกจ่ายตามความปรารถนา การจัดพิมพ์ ‘สิทธาเศรษฐี’ ตาม ความต้ อ งการของจิ ม มี่ ชวาลา มี พี่ น้องบางคนเปรยว่า-- ผมคงได้รับค่า ลิขสิทธิ์ก้อนใหญ่ ขอตอบว่าผมไม่เคย รวมค่าลิขสิทธิ์เข้าไปด้วยเลย จิมมี่จะ ถามย�้ำทุกๆ ครั้งว่ายอดค่าใช้จ่ายจริงๆ มี เ ท่ า นี้ ห รื อ ผมก็ เ อาตั ว เลขจากโรง พิมพ์ให้ดู ผมต้องการท�ำบุญร่วมกับ เขา หวังผลบุญ และหวังให้หลายๆ คน มีโอกาสอ่านหนังสือเล่มนี้ ผมได้ ค วามรู ้ ความคิ ด สติ และสิ่ ง ดี ๆ อื่ น ๆ จากจิ ม มี่ ชวาลา มากมายแล้ว
หน้า ๔
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com
เ
มื่อปลายเดือนมีนาคม ผมได้มีโอกาสไปเที่ยวประเทศตุรกี เป็นประเทศที่ผมได้ยินชื่อบ่อย แต่ก็ไม่ค่อยรู้เรื่องประเทศ นี้ดีนัก เมื่อมีโอกาสได้ท�ำความรู้จักก็รู้สึกว่าเป็นประเทศที่น่า สนใจประเทศหนึ่งของเอเชียทีเดียว ก่ อ นหน้ า นี้ ผ มเข้ า ใจว่ า ตุ ร กี เ ป็ น ประเทศอยู ่ ใ นแถบ ยุโรป ดูจากการแบ่งโซนฟุตบอลโลก ตุรกีก็อยู่ในยุโรป นัก วอลเลย์บอลหญิงไทย หลายคนไปเล่นอาชีพอยู่ที่นั่น เขาก็ ว่าไปเล่นวอลเลย์บอลอาชีพในยุโรป ความเป็นจริง ตุรกีเป็น ประเทศในเอเชีย แต่เป็นประตูสู่ยุโรป มีพื้นที่ส่วนเล็กๆ ติด ในทวีปยุโรปอยู่นิดหน่อย พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย ตุรกี มีจ�ำนวนประชากรใกล้เคียงกับไทย แต่พื้นที่กว้างกว่ากันมาก พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นภูเขา อากาศมีทั้งร้อนทั้งหนาวและแห้ง แล้ง จนถึงเป็นทะเลทรายเสียบางส่วน สุดแผ่นดินเอเชียของตุรกีมีช่องแคบชื่อ บอสฟอรัส และ ช่องแคบ คาร์ดาแนล ฝั่งตรงข้ามช่องแคบก็เป็นฝั่งยุโรป ซึ่ง ตุรกีก็มีพื้นที่อยู่ฝั่งยุโรป ๓% ชายแดนตุรกีที่อยู่ฝั่งยุโรปติดกับ ประเทศกรีช บัลแกเรีย จอร์เจียและอาร์เมเนีย ไปจนสุดแดน เอเชียถึงจะได้รู้ ส่วนชายแดนตุรกีฝั่งเอเชียก็อยู่ติดกับอิหร่าน อิรัก และธีเรีย เป็นประเทศตะวันออกกลางของเอเชีย คนตุ ร กี ห น้ า ตาไปออกทางฝั ่ ง ยุ โ รปมากกว่ า พวก ตะวั น ออกกลาง ถึ ง แม้ ค นเกื อ บทั้ ง ประเทศนั บ ถื อ ศาสนา อิสลาม การแต่งกายก็เป็นแบบยุโรป ที่แต่งกายแบบมุสลิมมีไม่ มากนัก อุปนิสัยใจคอของผู้คนค่อนข้างดี ผู้ชายจะพูดจาสนุก ขี้เล่น ผู้หญิงจะใจดี หน้าตาดีเมื่อเปรียบเทียบกับผู้หญิงยุโรป โดยทั่วไป
ประวัติความเป็นมาของประเทศตุรกี คนตุรกีที่เรียกว่า ชาวเติร์ก เราคงได้ยินเรื่องราวอันเก่า แก่ของชนชาว เติร์ก ซึ่งแต่เดิมเป็นชนเผ่าเร่ร่อนท�ำสงคราม ต่อสู้กับชนชาติจีนเมื่อกว่า ๓,๐๐๐ ปีก่อน โดยเฉพาะ เผ่า มองโกล นับถือผีสางเทวดา ต่อมานับถือเทพแบบกรีซ และ บางพวกนับถือพุทธ เหมือนชนเผ่าอุยกูร์ในจีน มีศึกสงคราม แย่งชิงแผ่นดินอยู่ในการปกครองของจักรวรรดิต่างๆ ทั้งกรีซ และโรมันมานับพันปี กว่าจะก่อร่างสร้างประเทศได้อย่าง มั่นคง ก็ล่วงเข้ามาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ นี่เอง บ้านเมืองของตุรกีปัจจุบันรูปทรงหลังคาคือปั้นหยา ซึ่ง ป้องกันลมหนาว ลมฝุ่น ได้อย่างดี ส่วนบ้านเรือนเก่าแก่โบราณ ยังมีให้เห็นโดยทั่วไป เหตุที่อนุรักษ์อยู่ได้ก็เพราะเป็นหินที่ สะกัดมาจาก ภูเขา ผสมด้วยการก่ออิฐดินเผา มีไม้เป็นองค์ ประกอบน้อยมาก อาคารจึงคงทนอยู่ได้นับพันปี สิ่งที่ยังเหลือ
อยู่เช่น ปราสาทราชวังโบราณ ก�ำแพงเมือง ป้อมเมือง โบสถ์ วิหารของเทพต่างๆ จนถึงโบสถ์วิหารของคริสต์ศาสนา และ มัสยิด สุเหร่า ล้วนแล้วแต่อายุหลายร้อยปีถึงสองสามพันปี บ้านเมืองรุ่นเก่าได้รับการดูแลเป็นอย่างดี จัดท�ำเป็นแหล่งท่อง เที่ยว ชุมชนมีรายได้กันทั่วหน้า โดยเฉพาะโบราณสถานที่ได้ รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกหลายแห่งในตุรกี นักท่องเที่ยวมี ทั้งชาวจีน ญี่ปุ่น ไทย และยุโรป เข้าตุรกีวันนับหมื่นคน ตุรกี จึงมีรายได้หลักคือการท่องเที่ยว บางเมืองที่ผมไม่ได้ไป เช่น เมืองนาคักคาเล่ ซึ่งก็คือเมืองทรอย เก่า คงจะได้ยินได้เห็นจาก ภาพยนตร์ ม้าไม้เมืองทรอย ที่ผมได้เข้าใกล้ที่สุดก็มี แคปพาโดเซีย เมืองนี้เกิดขึ้นจากภูเขาไฟ เอเจียส ซึ่งระเบิดลาวา ครอบคลุมพื้นที่หลายร้อยไมล์ ลาวาเถ้าถ่านทับถมจนเกิดเป็น รูปร่างต่างๆ น่าพิศวง เวลาผ่านไปนับล้านปี ชนเผ่าโบราณ เจาะหินภูเขาเป็นที่อาศัย ยุคหลังๆ ก็สร้างโบสถ์สร้างวิหารขึ้น ตามถ�้ำเล็กๆ ไว้มากมาย ปัจจุบันได้ขึ้นทะเบียนมรดกโลกด้วย ชมความงามที่นี่เขานั่งบอลลูนขึ้นไปดูสวยงามมาก นอกจากการท� ำ มาหากิ น กั บ การท่ อ งเที่ ย วแล้ ว ใน หุบเขาต่างๆ ก็มีพื้นดินอุดมสมบูรณ์ที่เหมาะกับภูมิอากาศแบบ นั้น คนในแถบชนบทจึงไม่ขาดแคลนเรื่องพืชผักธัญญาหาร เมืองใหญ่ที่สุดของตุรกีที่เรารู้จักคือ กรุงอิสตัลบลู เป็น เมืองการค้าเจริญที่สุด มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั้งโลก ทั้งใน การศึกตั้งแต่สมัยโบราณ จนมีชื่อในภาพยนตร์หลายร้อยเรื่อง ที่เขาไปถ่ายท�ำ ผมเข้าใจว่าเป็นเมืองหลวงของตุรกี มีชื่อเสียง ด้านการค้าและงานสถาปัตยกรรมโบราณยุคต่างๆ มากมาย เมืองนี้รุ่งเรืองมาตั้งแต่ ๒,๐๐๐ กว่าปีก่อนสมัยบาเซนทาย มีชัยภูมิคล้ายกับกรุงโรม คือมีเนินเขาเจ็ดลูก ได้สร้างโบสถ์ คริสต์อันยิ่งใหญ่ ปกครองยาวนานถึง ๙๐๐ ปี ก่อนจะถูก ชาวอิสลามยึดครองได้โดย สุลต่านอาเหม็ด ผู้ยิ่งใหญ่ เมืองนี้ มีทะเล มาร์บาร่า และ ทะเลด�ำ กระหนาบทั้งสองด้าน และ ช่องแคบ บอสฟอรัส เชื่อมทะเลทั้งสองเข้าด้วยกัน อาหารการกิน กุ้ง หอย ปูปลา จึงอุดมสมบูรณ์ เป็นเมือง ที่มีเสน่ห์และน่ารัก ได้พบได้เจอคนไทยทั้งกลุ่มที่ไปท่องเที่ยว และเป็นผู้อาศัยท�ำมาค้าขายในเมืองอิสตันบูล เสียดายที่ไม่ได้ ไปเมืองหลวงของเขา เมืองหลวงของเขาชื่อเมือง อังการา.
หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๓ ฉบั บ ที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗ ควบคุมอากาศให้เย็นลงไม่ ได้ ก็พยายามควบคุมจิตใจให้เยือกเย็นเข้าไว้ ร้อนเร่า ภายในจะได้ทุเลาเบาบางลง วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๗ ผู ้ ว ่ า ฯ อภิ นั น ท์ ซื่ อ ธานุ ว งศ์ อั ญ เชิ ญ แจกั น ดอกไม้ พ ระราชทาน สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี พระราชทานแก่ นางสุ ม าลี พู ่ แสนสะอาด มารดาของ รศ.สุจิระ ขอจิตต์เมตต์ ผู้ช่วย อธิการบดี ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีที่มาเข้ารับการ รักษา ณ ตึกเฉลิมพระบารมี รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช
เมืองนครเป็นเมืองพระ--พระศรีธรรมประสาธน์ (ไมตรี ปภารตโน) เจ้ า อาวาสวั ด สวนป่ า น ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร แจ้งว่าวันวิสาขบูชา ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๓ พฤษภาคมนี้ จะมีกิจกรรม เช่น พิ ธี เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ เจริ ญ จิ ต ตภาวนา การปฏิ บั ติ ธรรมกรรมฐานถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า การประชุ ม ทาง วิชาการ ‘วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารสู่มรดกโลก’ พิธี สมโภชและถวายผ้ า พระบฏพระราชทาน พิ ธี ตั ก บาตร เวียนเทียน และนิทรรศการ ‘สถาปัตยกรรมพุทธศิลป์ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร’ จึ ง ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิกชนร่วมกันแต่งกายด้วยชุดสีขาว เข้าวัดปฏิบัติ ธรรม และลด ละ เลิ ก อบายมุ ข ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า นับแต่ต้นมีนาคม - กลางเมษา ปัญหาขาดแคลน น�้ ำ ในเขตเทศบาลนครนครฯ และพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งสร้ า ง ความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านอย่างรุนแรง เทศบาลภาย ใต้ ก ารน� ำ ของ ผศ.เชาวน์ วั ศ เสนพงศ์ พยายาม แก้ปัญหากันไป แต่ ‘ทีมสมนึก’ น�ำโดย ดร.โจ - กณพ เกตุชาติ และคณะ จัดรถบรรทุกน�้ำดื่มน�้ำใช้ไปแจกจ่าย ในชุมชนต่างๆ ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนกันไปอีกทาง
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
หน้า ๕
ข่าวประชุมวิชาการ ขอเชิญผู้ป่วย ผู้สนใจเข้า ร่วมประชุม ‘คิดถึง.....รูมาตอยด์’ ในวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้ อ งประชุ ม แจ่มไพบูลย์ ชั้น ๕ อาคารเฉลิมพระบารมี รพ.มหาราชนครฯ วิ ท ยากรประกอบด้ ว ย พญ.ภั ท ริ ย า มาลั ย ศรี , พญ.อัจฉรี แก้วทอง และ พญ.อังครัตน์ ศุภชัยศิริกุล งานนี้ ฟ รี - -สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ คุ ณ ต่ า ย ๐๙๑๘๑๘-๗๒๐๐ หรือ คุณบาส ๐๘๕-๓๒๖-๒๒๔๔
เขียนถึงพี่ๆ น้องๆ สุรโรจน์ นวลมังสอ บก. ‘นคร โพสต์’ เดินทาง กับ ททท. ไป ศรีลังกา-อินเดีย ๑๐ วัน ได้บันทึกภาพกับทัชมาฮัลกลับมาเป็นหลักฐาน เรื่องราว อื่นๆ ติดตามได้ใน ‘นครโพสต์’ รายเดือน วันที่ ๒๖ เมษายน หอการค้านครฯ เชิญ สุธรรม ชยันต์เกียรติ (โกแอ๊ด) ผู้บริหารและเจ้าของร้านโกปี๊ ไปพูดเรื่อง ‘โกปี๊ กล้า...ท้าแบรนด์โลก’ ที่โรงแรมทวินโลตัส นักธุรกิจที่สนใจ สร้ า งแบรนด์ ข องตนเองไปฟั ง ล้ น ห้ อ งอรพิ น ธ์
ศรีโรจน์ อนุตรเศรษฐ์ ปรับโฉมร้าน Plug & Play สาขาโรบิ น สั น โอเชี่ ย นนครฯ ให้ ดึ ง ดู ด ใจและเดิ น เลื อ ก สิ น ค้ า สะดวกสบายกว่ า เดิ ม ไปกิ น ข้ า วสนทนา กั บ พิ ชั ย ชู สุ ว รรณ ที่ ร ้ า นคั น ทรี่ โฮม ทราบว่ า ระหว่ า ง ๖ – ๑๒ พฤษภาคม ชมรมผู ้ ป ระกอบการค้ า อาหารจั ง หวั ด นครฯ กั บ คณะกรรมการอาสาพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว จังหวัดนครฯ จะจัดงาน ‘มหกรรมอาหารเมืองคอนฟู้ด แฟร์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗’ ที่ลานกิจกรรมหมู่บ้านราชพฤกษ์ อ.เมื อ ง จ.นครฯ ตรงข้ า มโรบิ น สั น โอเชี่ ย นเหมื อ นเดิ ม
วันที่ ๑๐ - ๑๑ เมษายน ฮอนด้าศรีนครร่วม ออกบูธแสดงรถจักรยานยนต์ และร่วมสนับสนุนกิจกรรม งานสงกรานต์ เ ทศบาลพบประชาชน ประจ� ำ ปี ๒๕๕๗ สหพันธ์ครอบครัวเพื่อความสามัคคีและสันติภาพ ณ วัดท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.นครฯ โลก จัดพบปะที่ศาลาประชาคมโรงละครสนามหน้าเมือง อย่าลืมไปร่วมบ�ำเพ็ญบุญกุศลในวันวิสาขบูชา... วันที่ ๒๕ พฤษภาคม สนใจดูรายละเอียดในโปสเตอร์ ต้นเดือนมิถุนา พบกันใหม่
วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ อารามหลวง วัด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช BOONADA จัด พิธพี ทุ ธาภิเษก จีพ้ ระบรมธาตุเจดียท์ องค�ำแท้ สูม่ รดกโลก ดังความหมาย “พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช” เป็ น ปู ช นี ย สถานที่ ส� ำ คั ญ เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ข ององค์ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ผู ้ ใ ดได้ ม า สักการบูชาย่อมเกิดสิริมงคลแก่ตนและครอบครัวอย่าง
หาที่สุดมิได้ “ดอกบัว” ในทางพุทธศาสนาเปรียบเหมือน ผู ้ รู ้ ผู ้ เ บิ ก บาน เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง การพ้ น น�้ ำ รู ป แบบ คล้ายการพนมมือ เหมือนการนบนอบ คารวะ และเป็น ดอกไม้ทยี่ นื หยัดทนแดด ทนฝน “พุทธคุณคุม้ ครองครอบ จักรวาล” ได้แก่ การมีความสุขความเจริญก้าวหน้า ร่มเย็น เป็นสุข เมตตามหานิยม โชคลาภ อ�ำนาจวาสนา บารมี แคล้วคลาด ปลอดภัย แก่ผทู้ อี่ าราธนาบูชาติดตัว
หน้า ๖
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
วั
นที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ สนามนครศรี ปาร์ค ฟุตซอล จะครบ ๑ ปี เปิดบริการ คอลัมน์สัมภาษณ์ของ ‘รัก บ้านเกิด’ แวะเวียนไปสนามฟุต ซอลในซอยใกล้ ๆ ฝั ่ ง เดี ย วกั บ ธนาคารกสิกรไทย สาขาหัวอิฐ กิ ต ติ พ งษ์ บุ ญ เมื อ ง (ปาร์ ค ) ให้ ก ารต้ อ นรั บ ด้ ว ยน�้ ำ ใจไมตรี ทั้งที่วุ่นๆ อยู่กับการรับสมัครนัก เตะรุ่นต่างๆ ที่เข้าร่วมแข่งขัน ฟุตบอลรายการ ‘ดร.โจ คัพ’ ปาร์ครักเกมฟุตบอล ตอนเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ ด้วยบุคลิกของผู้น�ำ เขาถูกเลือกเป็นกัปตันทีม โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ฝีเท้าพัฒนาจนติิดทีมจังหวัด เข้าแข่งขันกีฬาเขต เมื่อเข้าเรียนระดับปริญญาตรี คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง เขาเล่นทีมรามฯ ภาคใต้ ๓ ปี และยังคงเล่นให้ทีมจังหวัดนครฯ เรียนจบเข้าท�ำงานที่ธนาคารกสิรกรไทย สมัยนั้น ธนาคารตรารวงข้าวมีนโยบายสนับสนุนสโมสรฟุตบอล และสามารถครองแชมป์ถ้วยพระราชทาน ประเภท ก. ปาร์คเข้าท�ำงานที่ธนาคารกสิกรไทย สาขาหัวอิฐ ใน ฐานะนักฟุตบอลของทีมธนาคารกสิกรไทย สาขาภาคใต้ ชื่อทีม ‘บินหลา’ ที่ วิเชษฐ์ คงมาก เป็นผู้จัดการทีม ซึ่ง ได้ครองแชมป์ของธนาคารมาตลอด เลิกเล่นฟุตบอล ปาร์คมุ่งมั่นกับงานในหน้าที่จน เจริญก้าวหน้า ต�ำแหน่งสุดท้ายก่อนลาออก คือ ผู้ช่วย ผู้จัดการฝ่ายสินเชื่อ ธนาคารกสิกรไทย สาขาหัวอิฐ
“ผมคิดว่าจะลาออกมาช่วยกิจการของครอบครัว คือสวนปาล์มน�้ำมันประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ ที่กระบี่ คุณ พ่อคุณแม่อายุมาก ก่อนลาออกผมมองว่ามีธุรกิจอะไร บ้างที่พอท�ำเสริมได้ สวนปาล์มก็อยู่ตัวแล้ว ผมคิดจะท�ำ ธุ ร กิ จ ตั ว อื่ น ถ้ า ท� ำ อพาร์ ต เมนต์ เ ราก็ มี ที่ ดิ น ส่ ว นตั ว อยู ่ เราเป็นพนักงานธนาคาร เมื่อบวกลบคูณหารแล้ว เราไม่ อยากกู้มาเยอะ” ปาร์คบอกเล่าความเป็นมาก่อนลงทุนท�ำ สนามฟุตซอล “ผมเห็นว่ากีฬาฟุตซอลก�ำลังได้รับความนิยม สนาม ฟุ ต ซอลก็ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ก� ำ ลั ง ได้ รั บ ความนิ ย ม เรามี ที่ ดิ น ประมาณ ๕ ไร่เป็นสนามฟุตบอล ๓ ไร่กว่า แล้วเป็นของ น้าสาว ๒ ไร่ ก็ชวนมาเป็นหุ้นส่วน” ก่อนตัดสินใจก่อสร้าง ปาร์คไปเยี่ยมชมสนามฟุตซอลที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมในกรุงเทพฯ เช่น สนามซอคเกอร์ โปร สนามคริสตัลและสนามอื่นๆ อีก หลายสนาม “ผมดูสนาม ดูตลาด เมื่อเห็นว่าพอจะไปได้
แล้วเราถนัดในด้านนี้อยู่บ้างก็เลยสร้าง ผมว่าจ้างบริษัท เทิร์ฟเท็คมาเป็นผู้ออกแบบ เขามาดูที่ดินก่อน เขาใช้ หญ้าเทียมของฮอลแลนด์ซึ่งใช้ได้ประมาณ ๕ ปี เพื่อนที่ เรียนมาด้วยกันเป็นคนออกแบบให้ทั้งหมด” แล้วสนนราคาของหญ้าเทียมเล่า “ค่าหญ้าเทียม ๒ สนามประมาณ ๔ ล้าน ยังมี ระบบระบายน�้ำ หลังคาประมาณ ๒ – ๓ ล้าน คลับเฮ้าส์ ๓ ล้าน รวมแล้วลงทุนไปประมาณ ๑๒ – ๑๓ ล้าน ไม่ รวมราคาที่ดิน” ต้ น ทุ น ไม่ สู ง มาก แต่ ก็ ไ ม่ น ้ อ ย บ้ า นเรามี ค วาม ต้องการสนามฟุตซอลขนาด ๕ - ๗ คน มากพอที่จะหล่อ เลี้ยงสนามให้ยืนอยู่ได้อย่างมั่นคง ปาร์คตอบข้อสงสัย “ผู้ใช้บริการสนามส่วนใหญ่ เป็นพวกออกก�ำลังกายตอนเย็นๆ เป็นทีมออกก�ำลัง เขา จองชั่วโมง การแข่งขันแบบทัวร์นาเม้นต์ก็มีคนมาจัด เขา มาเช่าสนาม ถ้าไม่มีรายการแข่งขันสนามก็จัดเอง และ รับจัดด้วย อย่าง ‘นนทิวรรธน์ คัพ’ เป็นต้น” ปาร์คเล่าต่อไปว่า “บางรายการสนามจัดเอง เช่น ‘มั ธ ยม คั พ ’ ทางสนามมี น โยบายจั ด ให้ เ ยาวชนก่ อ น อยากเน้นไปที่เยาวชน ในนครมีคนเล่นฟุตซอลเยอะครับ มีคนสมัครเป็น ๑๐ ทีม ทุกช่วงอายุ ราวๆ ๖๐ – ๗๐ ทีม” สนามนครศรี ป าร์ ค ฟุ ต ซอลพยายามพั ฒ นาให้ มี มาตรฐาน ทั้งกฎระเบียบและกรรมการที่เชิญมาตัดสิน เกมที่เป็นการแข่งขัน “กรรมการส่วนใหญ่เป็นกรรมการจากการกีฬา แห่งประเทศไทยที่นครฯ นี่แหละ มีประกาศนียบัตร ท�ำให้นักเตะเชื่อมั่น ผู้จัดก็เชื่อมั่นสนามของเรา แต่ถ้า เด็กจัดทีมเล่นกันสนุกเขาก็ดูกันเอง เว้นแต่มีการแข่งขัน แล้วเขามาขอกรรมการเราก็จะจัดหาให้” การเช่าสนามมีค่าใช้จ่าย ซึ่งผู้เช่ายินดีจ่าย ตาม ปกติสนามเปิดตลอดวัน กลางวันถ้าเป็นวันหยุดเป็น นักเรียนจะมาเล่น ถ้าเป็นคนท�ำงานก็หลังงานเลิกราวๆ ๕ โมงถึง ๔ ทุ่ม สนามเปิด ๘ โมง ถ้าจะมา-สนามมีร้าน อาหาร ค่าเช่าสนามหนึ่ง ๘๐๐ กลางคืน ๑,๒๐๐ มีค่า ไฟเพิ่ม ส่วนสนามกลางแจ้ง ๖๐๐ กลางคืน ๙๐๐ บาท” ปาร์คเล่า เด็กๆ จะแชร์ค่าเช่ากัน ทีมหนึ่ง ๖ - ๗ คน ผลัดกันเล่น ๓ ทีมก็ประมาณ ๒๐ คน ค่าใช้จ่ายต่อ คน ตกราว ๓๐ – ๔๐ บาท “คนที่รักฟุตซอลเขาพอใจที่จะจ่าย ผมเองถ้าเป็น นักเรียนผมไม่ค่อยเก็บราคาเต็ม ช่วงปิดเทอมกลางวัน ชั่วโมงละ ๕๐๐ บาท หารกันแล้วต่อคนตกชั่วโมงละ ๓๐ บาท เขาสามารถเล่นได้ วันเสาร์อาทิตย์ชั่วโมงเช่า มากกว่า นักฟุตบอลสร้างทีมได้ เราสร้างให้เขาเล่น ให้ เขาออกก�ำลัง พัฒนาการเล่น บางทีมผมพอช่วยแนะน�ำ เบสิคต่างๆ ได้” สนามนครศรีปาร์คฟุตซอลมีร้านอาหาร เครื่องดื่ม และอุปกรณ์ พวกเสื้อผ้า ซึ่งขณะนี้เสื้อผ้าชุดฟุตบอลโลก ที่บราซิลก�ำลังขายดี สนามมีบริการถุงเท้า รองเท้า สนับ แข้ง ซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้” นอกจากจัดแข่งขันมัธยมลีก สนามยังจัดเมมเบอร์ ลีก “สนามมีกรรมการให้เฉพาะ และคัดเลือกสมาชิกที่ ระดับฝีเท้าใกล้เคียงกัน ท�ำให้เกมการแข่งขันสนุกขึ้น เรา จะแข่งขันกันทุกวันเสาร์ ซึ่งมี ๑๐ ทีม เป็นทัวร์นาเม้นท์ ไม่มีเหย้าเยือน” (อ่านต่อหน้า ๙) อีกรายการ คือ พรีเมียร์ลีก
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
หน้า ๗
การตั้งค�ำถามกับตัวเองหรือทะเลาะกับตัวเราเองให้จบว่าจริงๆ แล้ว เป้าหมายความฝันของเราจริงๆ ที่อยากได้..อยากมี..อยากเป็น..นั้นคืออะไร? และเราต้องการมันจริงๆ แล้วจะครอบครองสิ่งนั้นได้ หรือได้มาภายในระยะเวลาเท่าไร? ในทางธุรกิจก็คือ “เป้าหมายของธุรกิจของคุณคืออะไร? และจบภายในเวลากี่ปี?”
ใ
นทุ ก เทศกาลผู ้ ค นมั ก จะส่ ง ค� ำ อวยพรให้ มี ค วามสุ ข เทศกาล สงกรานต์ในเดือนเมษายนที่ผ่านมาก็ เป็นช่วงเทศกาลแห่งความสุข แต่การ ได้ ม าซึ่ ง ความส� ำ เร็ จ และความสุ ข ซึ่ ง เป็นเป้าหมายปลายทางของชีวิตผู้คน นั้น ย่อมมีความแตกต่างตามการนิยาม ความสุขในบริบทที่แตกต่างกันไป และ หนึ่งในความสุขนั้นก็อาจหมายรวมถึง “การบรรลุเป้าหมายของตัวเอง” หรือ การท�ำให้ความฝันของตนเองเป็นจริง ให้เกิดขึ้นได้ ในทางธุรกิจนักธุรกิจก็มัก จะใช้เป้าหมายของตัวเองและธุรกิจมา เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ และความสุ ข เช่ น กั น ผมได้ มี โ อกาสไปเรี ย นรู ้ เ รื่ อ ง การท� ำ ให้ เ ป้ า หมายในชี วิ ต ประสบ ความส� ำ เร็ จ พู ด ให้ ง ่ า ยๆ ก็ คื อ “ท� ำ ฝันให้เป็นจริง” ที่สิงค์โปร์กับผู้ส�ำเร็จ ในชีวิตจากธุรกิจ Network Marketing มาถ่ า ยทอดประสบการณ์ แ ละ การปรั บ เปลี่ ย นความคิ ด ให้ ม องเห็ น ความเป็นไปได้ส�ำหรับตัวเองที่จะลงมือ ท� ำ ธุ ร กิ จ ให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ จึ ง ขอใช้พื้นที่แบ่งปันกับท่านผู้อ่าน เพื่อ เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้ มาในอีกมุมมองหนึ่ง เพราะผมเชื่อว่า ทุกท่านก็อยากได้ อยากมี ความสุข ซึ่ง เป็นปลายทางความส�ำเร็จของธุรกิจที่ ท�ำอยู่ทุกวันนี้
1. มั น ดี พ อ - และคุ ณ อยากได้ - คุณต้องการมันจริงและมีเท่านี้จริงๆ ไม่มีอย่างอื่นอีกแล้ว คือคุณต้องชัดเจน ในเป้าหมายความฝัน 2. มันมีอยู่จริง เป็นจริงได้ พิสูจน์ สิ่งส�ำคัญที่ได้จากการไปเรียน ได้ เป็นเหตุเป็นผลได้ ๒ วัน (๑๗ – ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗) ก็ 3. มั น มี ค วามเป็ น ไปได้ ส� ำ หรั บ คือการตั้งค�ำถามกับตัวเองหรือทะเลาะ คุณ.. (ไม่ใช่ส�ำหรับคนอื่น) กับตัวเราเองให้จบว่าจริงๆ แล้ว เป้า หมายความฝั น ของเราจริ ง ๆ ที่ อ ยาก ประเด็นส�ำคัญก็คือ คุณต้องเลือก ได้.. อยากมี.. อยากเป็น..นั้นคืออะไร? ที่ เ ป้ า หมายและมองเห็ น ความเป็ น ไป และเราต้องการมันจริงๆ แล้วจะครอบ ได้ว่าคุณท�ำได้ แล้วจากนั้นไปก�ำหนด ครองสิ่งนั้นได้ หรือได้มาภายในระยะ เวลาและแผนการท� ำ งานในแต่ ล ะวั น เวลาเท่าไร? ในทางธุรกิจก็คือ “เป้า- เพื่อให้บรรลุเป้าหมายจนส�ำเร็จภายใน หมายของธุรกิจของคุณคืออะไร? และ ระยะเวลาที่ก�ำหนด มันก็คล้ายๆ กับ จบภายในเวลากี่ ป ี ? ” ความยากของ การท�ำโครงการต่างๆ ของธุรกิจที่นัก มันก็คือ ถ้าเราไม่มีเป้าหมายความฝัน ธุรกิจทั่วไปท�ำกันอยู่ แต่การให้ความ ที่ชัดเจน เราก็ไม่สามารถตอบค�ำถาม ส�ำคัญกับความคิดที่ถูกต้อง - คิดใหญ่ ตัวเองได้ว่าจริงแล้ว เป้าหมายในชีวิต คิดบวก เพราะการใช้ชีวิตที่ต้องก้าวไป เราคืออะไร? ผู้สอนให้ทุกคนที่เข้าเรียน ข้ า งหน้ า ต้ อ งใช้ พ ลั ง ในการขั บ เคลื่ อ น ถามตัวเองให้ได้และหาค�ำตอบให้กับตัว เราต้ อ งมี ค วามเชื่ อ ว่ า มั น ถู ก ต้ อ ง มั น เองให้ชัดเจนว่า.... ท�ำไมคุณจึงเลือก เป็นไปได้ หลังจากเราชัดเจนใน ๓ ข้อ เป้าหมายความฝันนั้น? ข้างบนแล้ว จะท�ำให้เราต้องพาตัวเอง
เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗ วันอังคารที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๖ วันอังคารที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ ตรงกับ วันวิสาชบูชา วันพุธที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๖ วันพุธที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖
ไปลงมือท�ำภายในเวลาที่มีอยู่ในแต่ละ วัน เพราะจริงๆ แล้วคนเราก็มีเวลาเท่า กันทุกคน แต่ความส�ำเร็จเกิดจากการ กระท�ำใครท�ำก่อน - ท�ำเร็ว ก็ส�ำเร็จ ก่อนและเร็วกว่าเป็นธรรมชาติ แล้วอะไรคือสาเหตุที่ท�ำให้เราไม่ สามารถท�ำให้ส�ำเร็จได้ ก็มาจากตัวเรา เองที่ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงความคิด พูด ให้ง่ายก็คือ ติดอยู่กับตัวเอง - กลัวท�ำ ไม่ ไ ด้ - มั น ไม่ เ หมาะส� ำ หรั บ เราบ้ า ง และเงื่ อ นไขต่ า งๆ มากมายที่ ค อย ตอกย�้ ำ กั บ ตั ว เองว่ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ เพราะ ติ ด ปั ญ หาโน้ น - ปั ญ หานี้ มี เ งื่ อ นไข มากมายเพื่อท�ำให้รู้สึกดีที่ได้ลงมือท�ำ แต่ไม่ส�ำเร็จจนสุดท้ายก็เลิกราไปเอง ก็ ยังมีเหตุผลมาอธิบายกับตัวเองที่ท�ำไม่ ได้เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่อยากท�ำ - อยาก ได้ สุดท้ายก็กลับมาค�ำถามเดิม แสดง ว่า ข้อ ๑ ในเป้าหมายความฝันของเรา ไม่ดีพอ และเราแค่อยากได้เหมือนคน อื่นๆ แต่เราไม่ต้องการมันจริงๆ หรือไม่ ก็เป็นข้อ ๓ เป็นไปได้ส�ำหรับ “เขา พวกเขา แต่ไม่ใช่ฉัน” กลับมาที่กรอบ ความคิดของตัวเราเองอีกครั้ง ตกลง เราคิดถูก - คิดใหญ่ - คิดบวกหรือไม่? ค�ำตอบอยู่ที่ตัวเราเองครับ ไพโรจน์ เพชรคง ๒๑ เมษายน ๒๕๕๗
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
<< ต่อจากหน้า ๑
‘โกแอ๊ ด ’ ซึ่ ง เป็ น อดี ต กรรมการหอการค้ า ฯ ยุ ค แรกๆ เกริ่นว่า “ผมไม่ได้เรียนมหาวิทยาลัย ผมจบประถม ๒ ผม ได้เรียนการค้าการขาย รู้เรื่องการตลาด การขาย การ ท�ำธุรกิจเพราะมันล้มแล้วล้มอีก ท�ำให้มีความรู้..ผมได้ ปริญญากิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครฯ ผม บ่ น ๆ ว่ า ผมไม่ ไ ด้ เ รี ย น อาจารย์ ก็ บ อกว่ า คุ ณ น่ ะ เรี ย น มากกว่าคนอื่นๆ คนอื่นก�ำลังเรียนประวัติศาสตร์ คุณ เรียนเรื่องการค้าการขายตั้งแต่อายุ ๑๒ ปี จนประสบ ความส� ำ เร็ จ ทางธุ ร กิ จ เพราะไปเรี ย นการท� ำ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น จริ ง อยากฝากนั ก ธุ ร กิ จ ที่ ขึ้ น มาใหม่ เรี ย นจบ มหาวิทยาลัยอย่าได้เข้าใจว่าวิชาที่เรียนดีที่สุด ต� ำราเขา เขียนไว้นานแล้ว เขาสรุปไว้ กว่าจะมาถึงรุ่นเรา ธุรกิจ มีการเปลี่ยนแปลงตลอด เปลี่ยนทุกวัน ผมเคยบรรยาย ให้ มหาวิทยาลัยต่างๆ ในนครฯ เรื่องที่ผมพูดบางเรื่องให้ ถือว่าเป็นจริงและเป็นไปได้แค่ ๖ เดือน อย่ายึดถือ เพราะ ว่า ๖ เดือนมันก็เปลี่ยนแล้ว” โกแอ๊ ด บอกว่ า อั น ที่ จ ริ ง จะมาคุ ย เรื่ อ งการสร้ า ง แบรนด์ แต่การสื่อสารบางอย่างคลาดเคลื่อน เลยกลาย เป็น’โกปี๊กล้า..ท้าแบรนด์โลก’ ซึ่งบางทีคนอื่นๆ อาจจะ หาว่าอวดเก่ง “โกปี๊เปิดที่นครฯ ให้สตาร์บัคส์มาตั้งเรา กั้นลวดหนามสี่ด้านเราชกได้ การสร้างแบรนด์ต้องอาศัย ประสบการณ์ แบรนด์ดั้งเดิมของตระกูลผม คือตังหน�ำ, สินโอชา เปลี่ยนมาเป็นโกปี๊ แตกไลน์มาเป็นเฮาค็อฟฟี่ ครัวนคร และคอนม แต่ละธุรกิจไม่เหมือนกัน” โกแอ๊ด เล่าความเป็นมาของร้านลิกอร์ โฮมเบเกอรี่ “ผมเปิดร้านที่บวรบาร์ซา ร้านอยู่ริมถนนชื่อลิกอร์ โฮมเบเกอรี่ แต่เดิมใช้ชื่อว่า สินโอชา เบเกอรี่ ผมเปิดร้าน ท�ำขนมเกรด เอ. บอกว่าร้านนี้ต้องท�ำให้เยี่ยมที่สุด แต่ง ร้านให้สวยกว่าสินโอชาอื่นๆ แล้วขายเบเกอรี่แพงกว่า ปกติ ผู้หญิงคนหนึ่งมากิน เรื่องนี้เมื่อ ๓๐ ปีก่อนนะครับ ...มานั่งกินขนม ผมถามอร่อยมั้ย..อร่อยแต่ไม่เกรด เอ. เทียบกับสินโอชา อร่อยแต่ไม่เกรด เอ. คุณหมอบัญชา พงศ์พานิช ก็ถามในนครฯ มีเบเกอรี่เกรด เอ. บ้างไหม ผมบอกของผมนี่ แ หละ..ขนมเกรดเอ แต่ มั น ไม่ เอ. ท�ำไมวะ ผมมานั่งคิด มันเกี่ยวกับยี่ห้อหรือเปล่า..ตอนนั้น ยังไม่เรียกแบรนด์..ผมเลยลองเปลี่ยน ผมตั้งชื่อ ผมเป็น คนนคร ผมสนใจประวัติศาสตร์ ผมตั้งชื่อ ลิกอร์ โฮม-
เบเกอรี่ ท�ำขนมอบร้อนๆ น่ากิน จับเสน่ห์ใส่ลงไป ลิกอร์ บ้านท�ำขนม รุ่งเช้าหลังเปลี่ยนเอาป้ายสินโอชาลง เอา ป้ายลิกอร์ขึ้น ยอดขายขึ้นวันเดียว ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ นับ แต่วันนั้น ผมเลยกลับไปค้นคว้าต่อว่าท�ำไมๆๆๆ มีค�ำถาม ต่อไปเรื่อยๆ” โกแอ๊ดเล่าย้อนกลับวันที่ตัดสินใจเปิดเฮาค็อฟฟี่ที่ อยู่ด้านในของบวรบาร์ซ่า “ผมเปิดแล้วขึ้นแบรนด์เฮา คอฟฟี่ ผมคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้คนเข้า ผมเลยต้องถาม ตัวเองว่าคนที่มากินกาแฟร้านเฮาคอฟฟี่นี่ ท�ำไมถึงมากิน ในนี้ ถามลูกค้า เขารู้ได้ยังไง เราท�ำธุรกิจทุกคนจะต้อง ถามๆ ตัวเองก่อนว่า ลูกค้ามาใช้บริการของเรา..ท�ำไม.. ผมเลยตกแต่ ง ร้ า นเป็ น ร้ า นกาแฟที่ เ อาของเก่ า มาโชว์ แต่งเป็นร้านฝรั่ง ๓๐ ปีที่แล้วไม่มีร้านกาแฟร้านไหนที่ ตกแต่งอย่างนี้ ตอนนั้นร้านกาแฟสดไม่มี ของเราเป็น ร้านแรก จะมีอีกที่คือไทยโฮเต็ล ลูกค้ากลุ่มแรกเข้ามา วันแรกเราขาย ๕๐๐ บาท เขารู้สึกทึ่ง ร้านตกแต่งแปลก กาแฟรสชาติพอได้ อาหารก็พอกินได้ เลยไปบอกเพื่อนๆ แล้วก็ชวนกันมา วันที่สอง ๗๐๐ – ๘๐๐ ขึ้นมาเรื่อยๆ จนได้ระดับที่เราพอใจ นั่นคือชื่อของเฮา ตอนนั้นเรายังไม่ เน้นค�ำว่าแบรนด์” โกแอ๊ด กล่าวเน้นว่า ผู้คนมักหลงประเด็นเรื่องการ ตั้ ง ชื่ อ ว่ า ตั้ ง ชื่ อ ดี ก็ เ ยี่ ย มแล้ ว ตั้ ง ให้ มั น ฉู ด ฉาดทั น สมั ย ไว้ก่อน คิดว่าจะดึงลูกค้าได้ “องค์ประกอบเรื่องสร้าง แบรนด์ เราอย่านึกว่าแบรนด์คือชื่อเพียงอย่างเดียว แม้ ชื่ อ จะส� ำ คั ญ ก็ ต าม ร้ า นโกปี ๊ ผ มตั้ ง เมื่ อ ก่ อ นไม่ ใ ช่ โ กปี ๊ เฉยๆ แต่เป็นโกปี๊ตังหน�ำ ผมจะท�ำป้ายแล้ว แต่เพื่อนฝูง บอกว่า ตั้งหน�ำมันยาวไป มันเลยกลายเป็นชื่อโกปี๊” โกปี ๊ ร ้ า นแรกอยู ่ ที่ ห ลั ง ห้ า งสรรพสิ น ค้ า โรบิ น สั น โอเชียน ร้านที่ ๒ อยู่ข้างศาลา กลางจั ง หวั ด โกแอ๊ ด ก� ำ ลั ง จะเปิดร้านที่ ๓ ที่หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา การสร้ า งแบรนด์ ต ้ อ ง ท�ำให้คนรู้จัก จดจ�ำ น่าเชื่อถือ และผูกพัน “อย่างที่ผมบอก...องค์ ประกอบของแบรนด์ที่จะขาย ได้ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ ชื่ อ อย่ า งเดี ย ว มี เรื่ อ งของอารมณ์ ค วามรู ้ สึ ก เข้ามาเกี่ยว เปิดร้านแล้วท�ำ ให้คนมีอารมณ์ร่วมได้”
โกแอ๊ดเป็นนักบาสเกตบอลทีมจังหวัดนครฯ ต่อมา เป็นโค้ชสอนนักบาสเกตบอลทีมจังหวัด ปีหนึ่งไปฝึกสอน นักบาสเกตบอลทีมเบญจมราชูทิศจนคว้าแชมป์ที่สนาม กี ฬ า “หลั ง ได้ แ ชมป์ เ ขารวมหั ว กั น ที่ ก ลางสนามแล้ ว ตะโกนว่าลิกอร์- ผมถามท�ำไมต้องเอาใจโค้ชขนาดนี้ เขา บอกไม่ใช่ เขาจะไปร้านลิกอร์ซึ่งเป็นสุดยอดของเด็กวัยรุ่น ขณะนั้น เขาประกาศให้วัยรุ่นทั้งสนามว่าคนอย่างฉันต้อง ไปลิกอร์ เลือกที่นั่งติดกระจกให้คนผ่านไปผ่านมาเห็น.. คุณใส่อารมณ์ความรู้สึกเข้าไป ยุคนี้เราไม่ได้ขายแค่สินค้า ยุคเตี่ยผมเขาแข่งเรื่องราคา คุณภาพดีได้ บริการดีก็ได้ ยุ ค นี้ เ ขาแข่ ง การออกแบบธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ไม่ แ ค่ ซื้ อ สิ น ค้ า แล้วนะ เขาเข้าไปเพื่อยกเกรด ยกระดับ ไปประกาศศักดา ของเขาในนั้น ความรู้สึกที่คุณไปร้านใหญ่ๆ อย่างแมคโดนัล นั่งต่างกันเยอะ กาแฟข้างถนนกับโกปี๊ต่างกันเยอะ นั่งโต๊ะหินอ่อนกับนั่งเก้าอี้เช็คโก แบรนด์มีความส�ำคัญต่อ การสร้างภาพพจน์ของคนด้วย” โกแอ๊ดย�้ำ คนสร้ า งแบรนด์ ต ้ อ งสร้ า งแตกต่ า ง โกแอ๊ ด ยก เรื่องการสร้างร้านครัวนครที่เอาเหล็กขูด (กระต่ายขูด มะพร้าว) ประมาณ ๑๐๐ ตัวมาตกแต่งร้านที่ขายเฉพาะ ขนมจีนกับข้าวแกง “ร้านครัวนคร ผมเอากุณฑีหรือหม้อน�้ำมนต์มาเป็น โลโก้ ตัวครัวนครใช้ลายมือของท่านอังคาร กัลยาณพงศ์ เขียน น�ำเหล็กขูดเป็น ๑๐๐ ตัว เหล็กขูดเป็นตัวขาย ทีวี หนังสือพิมพ์ ดาราดังๆ มานครฯต้องไปครัวนคร-ขนมจีนจานละ ๓ บาท ข้าวแกง ๕ บาท คนมาแน่น ร้าน ผมปูพื้นกระเบื้องให้นั่งสบายด้วย จุดขายของร้านคือ แสดงความเป็นคนนคร ร้านนี้เหล็กขูดเป็นพระเอก” โกแอ๊ดเล่าเรื่องการตั้งร้านคอนมที่ชั้นล่างของห้าง สรรพสินค้าโรบินสันโอเชี่ยน ที่จงใจเว้นพื้นที่กลางร้าน ให้เป็นเสมือน Cat Walk ที่หนุ่มๆ สาวๆ สามารถเดิน โชว์แฟชั่นให้คนในร้านและนอกร้านดูอย่างเพลินใจ นอก ร้านขายกาแฟส�ำหรับผู้ใหญ่ ที่ถือโอกาสนั่งดูเด็กๆ ใน ร้าน ส่วนนมสดโกแอ๊ดหาโคนม ๒ ตัวไปให้เจ้าของฟาร์ม ที่อ�ำเภอลาสกาเลี้ยงร่วมกับโคตัวอื่นๆ แล้วขอเปลี่ยนชื่อ ฟาร์มเก่าเป็นฟาร์มคอนมส�ำหรับการโฆษณาว่า “นมสดๆ ฟาร์มคอนม จากทุ่งหญ้าเขียวชะอุ่มในลานสกา นมสดมัน อยู่ในไลน์ของสุขภาพ คนสูงอายุพาลูกหลานมากิน” ตอนเปิดคอนมใหม่ๆ มีร้านคู่แข่งประมาณ ๒๑ ร้าน ปัจจุบันเหลือคอนมกับอีกร้านที่เปลี่ยนมาขายอาหารและ เครื่องดื่ม ย้อนกลับไปสู่ร้านโกปี๊ โกแอ๊ดเล่าด้วยอารมณ์ขัน “ผมว่ามันเหลือเชื่อ ผมไม่นึกว่าจะดังขนาดนั้น เพราะ เหตุจูงใจจากร้านน�้ำชาดังๆ เจ้าหนึ่ง เขาพูดว่าตั้งแต่ พวกเขามาขายน�้ำชาริมถนน คนจีนขายน�้ำชามันเจ๊งหมด เลย ผมคิดว่าไม่จริงน่า ผมคิดว่าลูกคนขายน�้ำชาเปลี่ยน ไปท�ำอย่างอื่น ไปเป็นนายอ�ำเภอ ผู้ว่าฯ เป็นโน่นนี่ สมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาให้ขายน�้ำชา ๓ สลึง รัฐบาล ต่อมาลืมกันหมด ขายกาแฟสมัยนั้นขายมากขาดทุนมาก หม้อต้มกาแฟจึงตั้งหลบๆ ไม่อยากให้ใครเห็น พอมาถึง สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ให้ลอยตัว ..ผมเองก็ไป ท�ำเบเกอรี่ แต่พอถูกสบประมาท ผมเลยมาท�ำร้านกาแฟ ผมคิดว่าน่าจะพิสูจน์ ท�ำให้เขารู้ว่าของจริงคืออะไร ถ้า ไม่คิดเรื่องแบบนี้มันแค่ท�ำร้านโกปี๊ขายกาแฟเฉยๆ แต่
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ท�ำอย่างนี้ต้องท�ำให้เขารู้ว่าของจริงเป็นยังไง เลยนึก ว่าจุดขายมันอยู่ตรงไหน จุดขายคือแสดงวิถีชีวิตการกิน ของชาวนคร ประกอบกับของในร้านมันอยู่ในยุคสมัยที่ คนแก่เขานิยมกัน ผมเลยเอามาโชว์ ตอนเปิดร้านใหม่ๆ ผมประทับใจมาก มีอาม่าคนหนึ่งกับลูกชายลูกสาวมากิน ที่ร้านหลังโอเชี่ยน—ผมหันไปดูแกนั่งร้องไห้ทั้งสามคน ผมลุกจากที่ชงกาแฟไปถาม ลูกชายว่า..สมัยก่อนเตี่ยมา นังที่ร้านโกปี๊ประจ� ำ มานั่งเล่นหลิ่วคิ้ว (ไพ่จีน) ที่ร้าน ลูกสองคนนึกถึงสภาพตอนเด็กๆ บอกว่าเขาวิ่งมาตาม เตี่ยในร้านกาแฟแบบเก่า เขายังจ�ำสภาพต่างๆ ได้ นั่งแล้ว นึกถึงพ่อ..ผมว่ามันให้คุณค่ากับชีวิตของลูกๆ ได้ระลึกถึง เตี่ยของตัวเอง เหมือนมีวิญญาณ” โกแอ๊ดบอกเล่าส่วนที่พอเรียกว่าวิญญาณของร้าน อาหารที่ถูกเชี่ยมโยงเข้ามาในการสร้างแบรนด์ให้มั่นคง และได้รับการยอมรับ “โกปี๊...เตี่ยผมคั่วกาแฟ แม่ยายปลูกกาแฟขาย— เตี่ยผมซื้อมาคั่วบดราวๆ ๒๔๘๔ เตี่ยผมชงกาแฟด้วย... วันที่ผมเกิดหมอต�ำแยไปที่บ้าน ผมเกิดในร้านโกปี๊ ผมพบ และรู้จักลูกค้าทุกคน ผมเสิร์ฟ ชงโกปี๊ตั้งแต่เอาไม้รองยืน โตขึ้นเอาไม้ออก ในนครใครจะรู้เรื่องกาแฟเท่าผม นี่มัน คือจุดแข็ง ร้านกาแฟสดในอิตาลี ในฝรั่งเศส ผมดูมาหมด แล้ว การท�ำธุรกิจอะไรก็ตาม ต้องหาจุดแข็งให้พบ แต่อย่า สร้างจุดขายให้เยอะ” ร้ า นโกปี ๊ มี อ าหารหลายตั ว ได้ รั บ ความนิ ย มสู ง ขึ้ น ทุกๆ วัน แต่การประชาสัมพันธ์จะเน้นไปที่โกปี๊กับจาก๊วย ซึ่งท�ำให้ธุรกิจมีรากเหง้า “เตี่ยเป็นกรรมกร แบกกาแฟไปเรือขุดแร่ ฝรั่งชวน ไปท�ำงานที่เหมือง เตี่ยคั่วกาแฟเป็น ท�ำขนมปัง ขนมเค้ก แล้วมาท�ำร้านกาแฟ ผมพยายามโยงเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องเล่า ถ้าเรามีเรื่องเล่าเยอะ เรื่องราวเหล่านี้มันสร้างแบรนด์ให้ ดังด้วย เราตั้งชื่อธุรกิจให้มันเกี่ยวข้องกับครอบครัวเรา สถานที่ ลองคิดกันดู..ชื่อของแบรนด์ให้เรียบง่าย ชื่อสั้น มันจ�ำง่าย แล้วอย่าลืมแบรนด์ไม่ใช่สินค้า มันเป็นที่แสดง ตัวตนของลูกค้าด้วย..มีตัวตนของฉันอยู่ด้วย สาขาที่จะ ไปเปิดที่หาดใหญ่ จะต้องเป็นที่แสดงตัวตน แสดงฐานะ ตัวเอง แสดงความเป็นคนมีระดับ อยากให้ลูกค้าเข้าไปใน ร้านเราแล้วเชิดหน้า แบรนด์ที่ดีสะท้อนบุคลิกของคนดี.. ผมสอนลูกให้เป็นคนดี ให้ช่วยเหลือสังคม ท�ำตัวเองให้ เป็นคนดีด้วย” ก่อนจบการบรรยายโกแอ๊ดตอกย�้ำเรื่องการสร้าง แบรนด์ อีกครั้ง “แบรนด์ที่ดีต้องจริงใจ ดูน่าเชื่อถือ เราเข้าโกปี๊ เรา น่าเชื่อถือ มีความรู้ มีระดับ ไม่ใช่ร้านกาแฟโง่ๆ เข้าแล้ว น่าเชื่อถือ..รู้ใจ รู้จริง ให้สิ่งที่มีคุณค่ากับลูกค้า..คุณค่ามีค่า กว่าคุ้มค่า สินค้าที่เราได้มาเป็นของที่มีคุณค่า คุณค่าทาง จิตใจ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ปากต่อปาก มา นครต้องมาร้านโกปี๊ ห้องรับแขกของเมืองนครให้เข้าไป อยู่ในสมองของลูกค้าก่อน ร้านโกปี๊ขายประสบการณ์ให้ คนได้รู้สึกภูมิใจว่าครั้งหนึ่งฉันเคยมานั่งร้านนี้แล้ว” เมื่อแบรนด์ได้รับความนิยมก็ไม่ควรประมาท โก แอ๊ดกล่าวเตือนว่า “แบรนด์โตได้ เสื่อมได้ ส่วนเกี่ยวกับ หัวข้อที่ตั้งเอาไว้...ผมคงไม่กล้าท้าแบรนด์โลก แต่ถ้า แบรนด์โลกมาเมืองนครผมกล้าท้า”
นครศรีธรรมราช
หน้า ๙
รายงาน ส�ำรวจถนนพัฒนาการคูขวาง ราชด�ำเนิน อ้อมค่าย และเฉลิ ม พระเกี ย รติ พบยั ก ษ์ ใ หญ่ ซี . พี . แลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) ผุดคอนโดฯ กัลปพฤกษ์ แกรนด์ บนพื้นที่ ๕ ไร่ ๒ อาคาร อาคารละ ๒๑๘ ยูนิต ราคา ๑.๑ ล้ า นบาท ใกล้ ห ้ า งโลตั ส ริ ม ถนนพั ฒ นาการ คู ข วาง เปิ ด จอง ๒ วั น ขายหมด การก่ อ สร้ า งจะ แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๘ ประชาชาติ ร ายงานต่ อ ไปว่ า เมื่ อ ปี ๒๕๕๖ กลุ ่ ม ทุ น ผู ้ พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า แฟชั่ น ไอส์ แ ลนด์ , เทอร์ มิ น อล ๒๑, เดอะ พรอมานาด และไลฟ์ เซ็นเตอร์ ได้มาซื้อที่ดินขนาด ๔๑ ไร่ในจังหวัดนครฯ ใกล้กับโฮมโปร เตรียมลงทุนพัฒนาโครงการเทอร์มินอล ๒๑ ใช้เงินลงทุนมูลค่า ๓,๐๐๐ ล้านบาท ใน ปี ๒๕๖๐ รูปแบบการพัฒนายังไม่แน่นอน แต่จะ ให้บริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) มา ช่ ว ยพั ฒ นา สาเหตุ ที่ ม าลงทุ น เพราะเชื่ อ ว่ า นครฯ เป็นจังหวัดที่พืชเศรษฐกิจก�ำลังเติบโต โดยยางพารา ประกอบกับราคาที่ดินค่อนข้างถูก และอยู่ในท�ำเล ที่เมืองก�ำลังขยายตัว ขณะถนนอ้ อ มค่ า ยที่ เ จริ ญ อย่ า งรวดเร็ ว สอง ฟากถนนเกิ ด โครงการอาคารพาณิ ช ย์ ทาวน์ โ ฮม และบ้านเดี่ยว ทั้งที่แล้วเสร็จและก�ำลังก่อสร้างร่วม ๑๐ โครงการ มู ล ค่ า โครงการรวม ๒,๐๐๐ ล้ า น บาท เช่น โครงการเดอะวินเทจ, หมู่บ้านกาญจนา, โครงการสุ ว รรณภู มิ ๑-๒ โครงการสุ ว รรณภู มิ แกรนด์ทาวน์ ซึ่งเป็นของกลุ่มทุนในจังหวัดนครฯ ผู้บริหารของบริษัท ศุภาลัย จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวกับประชาชาติ ว่าอยู่ระหว่างศึกษาการลงทุน
พัฒนาโครงการบ้านจัดสรรในจังหวัดนครฯ ที่สภาพ เศรษฐกิจโดยรวมมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็ น เมื อ งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ ต อนบน ถื อ ว่ า ศักยภาพของท�ำเลไม่แพ้จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท แสนสิริ จ� ำกัด (มหาชน) ก็ อ ยู ่ ร ะหว่ า งศึ ก ษาจะพั ฒ นาโครงการ ใหม่ในจังหวัดนครฯ โดยจะเป็นหนึ่งใน ๙ หัวเมือง ใหม่ ที่ บ ริ ษั ท ก� ำ ลั ง ศึ ก ษา เบื้ อ งต้ น คิ ด ว่ า จะลงทุ น โครงการคอนโดมิเนียม ปัจจุบันท�ำเลที่ราคาที่ดินสูงที่สุดได้แก่ ราคา แพงสุดประมาณ ๒-๓ แสนบาทต่อตารางวา โดย ปรับจาก ๒ ปีก่อนที่ประมาณ ๕-๖ หมื่นบาทต่อ ตารางวา ขณะบริเวณสี่แยกหัวถนนก็ก�ำลังเติบโต ราคาที่ดินพุ่งขึ้น ๕ เท่าตัว จากเดิม ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อตารางวา ปรับขึ้นเป็น ๕๐,๐๐๐ บาท ต่อตารางวา หลังเกิดกระแสข่าวว่ากลุ่มเซ็นทรัลจะมาลงทุน สร้างห้างสรรพสินค้า คณะกรรมการหอการจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมประชุมเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๗ ปัญหา ที่ ถู ก ยกขึ้ น มาพู ด อย่ า งให้ ค วามส� ำ คั ญ คื อ ปั ญ หา ขาดแคลนน�้ำอุปโภคและบริโภค ซึ่งผู้รับผิดชอบ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ได้ หมู ่ บ ้ า นจั ด สรรนอกตั ว เมื อ งประสบกั บ การ ขาดแคลนน�้ำหลายหมู่บ้าน ซึ่งอาจเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาโครงกางต่างๆ ของทุนจากส่วนกลาง ดังกล่าวมาแล้วก็ได้ (ขอบคุณประชาชาติธุรกิจ)
<< ต่อจากหน้า ๖
“พรีเมียร์ลีกที่จ�ำกัดอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ซึ่งได้รับ ความนิยมกัน เตะกันไปก็ดูพรีเมียร์ลีกของอังกฤษ พ่อมา เล่นก็พาเมียพาลูกมาเที่ยว ผมไม่รู้จะจัดสนามเด็กเล่น ตรงไหน ก็เอาลูกฟุตบอลให้เล่นกัน บางคนพาแฟนมานั่ง กินข้าวที่คลับ ด้านหน้าจอดรถได้ประมาณ ๓๐ คัน ด้าน หลัง ๓๐- ๔๐ คัน” ชื่อสนามฟุตซอลก็จริง แต่ใช้เล่นฟุตบอลเป็นหลัก เพราะฟุ ต บอลได้ รั บ ความนิ ย มมากกว่ า “เขาเรี ย ก ฟุตบอลสนามหญ้าเทียมมีการปรับกติกาให้เหมาะสม-ใช้ลูกฟุตบอลเบอร์ ๕ ในเมื อ งนครมี โ รงเรี ย นสอนฟุ ต บอล ๒ โรงที่ ม า
เช่าสนามสอนเด็กๆ ได้แก่ โรงเรียนมหาราชยูไนเต็ด เลิศชาย ทองสงค์ เล่นกันช่วง ๖ โมงทุกวัน อีกโรงคือ โรงเรียนสอนฟุตบอลนครศรีธรรมราช ของครูแดง ศุภกร มีกรณ์ อดีตนักเตะเยาวชนทีมชาติไทย “มีนักเรียนเยอะ และเขาเช่าสนามที่นี่กินข้าวกิน ปลาที่นี่ วันธรรมดาๆ มหาราชเช้า อาจารย์แดงตอน เย็นๆ เขาสอนเด็กป้อนโรงเรียนเด่นๆในกรุงเทพฯ ไป แล้วหลายคน ปัจจุบันเด็กๆ รู้ว่าการเล่นฟุตบอลมีช่อง ทางไป จากการเติบโตของลีกอาชีพในประเทศไทย” กิ ต ติ พ งษ์ บุ ญ เมื อ ง ยั ง นึ ก เสี ย ดายตอนที่ เ ขา โลดแล่ น อยู ่ ใ นสนามฟุ ต บอล ประเทศไทยยั ง ไม่ มี ฟุตบอลอาชีพ
หน้า ๑๐
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒.๓ บทนางสิบสองถูกขังอุโมงค์
รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ตอนที่ ๓
ได้คลอดลูกของตนทุกคนสิ้น แต่เภานุชที่เป็นน้องสุดท้องนาง ใช้ชีวิตพระรถเสนตามเชื้อสาย คล้ายกับองค์บิดาโสภาเดิน กตัญญูรู้บุญคุณของแม่ เที่ยวพนันชนไก่ไปทุกบ้าน สั่งให้ไปเล่นสกาชนะกษัตริย์
ฉีกเนื้อกินอัปรีย์เหมือนผีสาง ประคองร่างลูกตนจนเจริญ บุญท�ำไว้ตามส่งน่าสรรเสริญ จนเจริญได้แปดขวบประจวบการ ไกลหรือแค่เที่ยวหาซึ่งอาหาร กระทั่งท่านพระรถสิทธิ์ทราบกิจจา ในจังหวัดขึ้นชื่อลือฉาวฉา
๒.๔ บทพระรถเสนเตือนสติแม่และป้า
๒. เมื่อหนังตะลุงน�ำเรื่องราววรรณคดีต่างๆ แสดงในสมัยรัชกาลที่ ๖ การ แสดงหนังเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการแสดง โดยคณะหนังตะลุงชั้นครูหลายคณะน�ำ เอาเรื่องวรรณคดีต่างๆ ของไทยมาแสดง เช่น เรื่องพระโค แก้วหน้าม้า พระศรีสุธน พระรถเมรีพระอภัยมณี ฯลฯ แสดงแทนเรื่องรามเกียรติ์ - หนังทับบ้านกาพระ (อาจารย์หนังทอง ทหาร) ต.สระแก้ว อ.ท่าศาลา - หนังถึง (พ่อหนังพลอย หญิง) - หนังเรื่อย (ปู่หนังจ�ำเนียร ค�ำหวาน) - หนังสัง ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง - หนังล้อมเฒ่า (พ่อหนังสมหมาย) บ้านยางเตี้ย - หนังคลิ้ง สร้อยทอง (พ่อหนังคลิ้ง เสียงทอง) บ้านทุ่งส้าน อ.ทุ่งสง และยังมีอีกหลายคณะ ส่วนคณะที่ไม่ยอมเปลี่ยนการแสดง คือ หนังตุด แสดง เรื่องรามเกียรติ์จนตาย และหนังตุดคณะนี้เป็นคณะสุดท้ายในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่แสดงเรื่องรามเกียรติ์ ต่อจากนี้ผู้เขียนขอน�ำค�ำกลอนบางตอน จากเรื่องพระรถเมรี มาเขียนในที่นี้ด้วย เป็นการสดุดีศิลปินรุ่นเก่า และเพื่อเป็นแนวทางค้นคว้าของครูอาจารย์ในอันดับต่อไป ๒.๑ พระรถสิทธครองเมือง นามพระองค์ทรงฤทธิ์รถสิทธราช แบบกฎมณเฑียรบาลท่านทรงใช้ เป็นจ้าวท�ำอะไรใครไม่หาญ ใครท�ำให้พระองค์ทรงโกธา เพราะสมัยในยุคพระองค์นั้น ไม่มีผู้กล้าหาญวิจารณ์แจ้ง พระทรงยศรถสิทธิราชาชาติ นักสนมหุ้มห่อเป็นบริวาร บ�ำรุงองค์ให้ทรงเพลินไม่เหินห่าง ยังไม่มีราณีที่ร่วมใจ พอใกล้รุ่งพุ่งแสงสุริโย ยามอยู่เวรตีฆ้องก้องพระกรรณ สนมนางตื่นพร้อมคอยกล่อมขับ
แผ่อ�ำนาจน่าสยดทางกฎหมาย ติดไปฝ่ายลึกล�้ำปรัมปรา ใครคัดค้านต้องปลงลงโทษา ถูกสั่งฆ่ากันสิ้นโครตเหี้ยมโหดแรง คนส�ำคัญหาไม่เกือบทุกแห่ง ให้รู้แห่งถูกผิดแบบกิจการ แผ่อ�ำนาจคุมไพร่นายทหาร ล้วนสาคราญเสียงครวญเป็นนวลใย ล้วนแต่นางสาวสัณห์ทันสมัย กษัตริย์ใหม่สืบวงศ์เป็นพงศ์พันธุ์ กุกกุโตปรายเสียงส�ำเนียงขัน พระทรงธรรม์พลิกฟื้นตื่นบรรทม เสียงโทนทับดีดสีปี่ประสม
๒.๒ บทเศรษฐีนนทะกับนันทา การไปมาค้าขายกันและกัน ชายผู้นี้มีชื่อว่านนทะ รู้ประหยัดจัดงานมีการเพียร ช่อนันทาคายคมสมประกอบ สองเต้ากลมสมรับกันกับทรวง แก้มขวาซ้ายคล้ายกับมะปรางงอม ลักษณะท่าทางเป็นนางดี มีที่ดินมากครันหลายพันไร่ มีข้าไพร่ใช้สอยคอยรับนาง
ของทั้งนั้นมากหลายใช้ทุกเกวียน มีปัญยาแยบคายหลายกระเสียน พร้อมเนื้อเนียนภรรยาสุดาดวง เป็นที่ชอบใจชายไม่หายห่วง ย้อยเป็นพวงคือสมบัติของสตรี ยามชายหอมยิ้มหวานชวนเสียดสี สวยสมศรีทุกส่วนชวนชายมอง มีวัวควายหมากมะพร้าวและข้าวของ เพราะทั้งสองเมียผัวตั้งตัวดี
อย่าอาฆาตเอาผิดพระปิตุเรศ บาปลามกรกกว้างถางไม่เตียน ผู้ใดคิดอิจฉาหานานไม่ ผู้ท�ำชั่วอัปรีย์เหมือนสีด�ำ ดวงอาทิตย์ที่ส่องสว่างภพ ผู้ท�ำดีเหมือนสมุทรถึงสุดแล้ง
อย่าผูกกรรมน�ำเหตุจงหันเหียน เอาความเพียรเป็นดาบปราบอธรรม อันกรวดทรายผิดกับเพชรเม็ดสีข�ำ ซักถูซ�้ำสักปานใดไหนจะแดง วันเมฆกลบยังอับระยับแสง ถึงจะแห้งก็ไม่สิ้นวารินยัง
การเล่นส�ำนวนกลอน ในเรื่องพระรถเมรี นอกจากได้ความไพเราะแล้ว ทุกๆ บท ในค�ำกลอนยังแฝงไว้ด้วยความหมายทั้งสิ้น เช่น ตอนพระรถครองเมือง แบบกฎมณเฑียรบาลท่านทรงไว้ ติดไปฝ่ายลึกล�้ำปรัมปรา (และ) ไม่มีผู้กล้าวิจารณ์แจ้ง ให้รู้แห่งถูกผิดแบบกิจการฯ (หรือ) ยามอยู่เวรตีฆ้องก้องพระกรรณ พระทรงธรรมพลิกฟื้นตื่นบรรทมฯ ส่วนบทเศรษฐีนันทะกับนันทา เมื่อผู้ฟังได้ฟังก็ทราบได้ทันทีถึงการคมนาคมใน สมัยก่อน เช่น การไปมาค้าขายกันและกัน ของทั้งนั้นมากหลายใช้ทุกเกวียนฯ ศีลธรรมและคติพจน์ มีการสอดแทรกไว้ในค�ำกลอนมากมาย เช่น ตอนอาจารย์ สอนศิษย์ พ่อแม่สอนลูก บางครั้งลูกก็เป็นฝ่ายตักเตือนพ่อแม่ก็มี เช่น พระรถเสน เตือน สติแม่และป้า อย่าอาฆาตเอาผิดกับปิตุเรศ อย่าผูกกรรมน�ำเหตุจงหันเหียนฯ (หรือ) ผู้ท�ำดีเหมือนสมุทรถึงสุดแล้ง ถึงจะแห้งก็ไม่สิ้นวารินยัง (อ่านต่อฉบับหน้า)
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๑
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ล� ำ พู น ” ในการรั บ รู ้ ข องคนไทยปั จ จุ บั น หมาย หมายถึ ง จั ง หวั ด หนึ่ ง ในภาคเหนื อ ของประเทศ ไทย มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่ มีปูชนียสถานซึ่ง มีชื่อเสียงมานานคือ “พระธาตุหริภุญไชย” แต่ส�ำหรับ ชาวนครศรีธรรมราชรุ่นโบราณ รู้จักชื่อ “ล�ำพูน” ใน ฐานะเป็นอ�ำเภอหนึ่งของเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นต้นมา ซึ่งต่อมาอ�ำเภอนี้ ถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปลี่ยนชื่อเป็น “อ�ำเภอบ้านนาเดิม” ไปเสียแล้ว หลักฐานเก่าแก่ที่กล่าวถึง “ล�ำพูน” ก็คือท�ำเนียบ ข้ า ราชการเมื อ งนครศรี ธ รรมราชในสมั ย รั ช กาลที่ ๒ พ.ศ.๒๓๕๔ ในครั้งนี้มี “หลวงอินทรพิชัย” เป็นนาย ที่ (ผู้ปกครองท้องที่ เทียบได้กับนายอ�ำเภอในปัจจุบัน) ถือศักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้ายมี “ขุนเพชรก�ำแพง” เป็น ปลัด ถือศักดินา ๔๐๐ “หมื่นเทพรักษ์” เป็นรองนาย ที่ ถือศักดินา ๒๐๐ และ “หมื่นพรหมอักษร” เป็นสมุห์ บัญชี ถือศักดินา ๒๐๐ ล่วงมาถึง พ.ศ.๒๔๔๐ มีการจัด ระเบียบการปกครองท้องที่เสียใหม่ โดยจัดตั้ง “มณฑล นครศรี ธ รรมราช” ขึ้ น ล� ำ พู น ก็ ยั ง คงขึ้ น อยู ่ กั บ เมื อ ง นครศรีธรรมราช แต่มีฐานะเป็นแขวงชั้นนอก ซึ่งต่อแดน กับเมืองคีรีรัฐนิคมมี “นายเมก” เป็นนายอ�ำเภอ ตั้งที่ ว่าการอยู่ที่บ้านนา มีประชากร เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ (ร.ศ. ๑๑๖) จ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ คน มีจ�ำนวนหมู่บ้าน ๑๔๐ หมู่บ้าน ถือได้ว่าเป็นอ�ำเภอใหญ่ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง มากอ�ำเภอหนึ่งในสมัยนั้น ล่วงถึง พ.ศ.๒๔๔๒ พระยาสุขุมนัยวินิต ข้าหลวง เทศาภิ บ าลมณฑลนครศรี ธ รรมราชพิ จ ารณาเห็ น ว่ า อ�ำเภอล�ำพูนมีอาณาเขตกว้างขวาง ท�ำให้ฝ่ายปกครอง ดู แ ลพื้ น ที่ ไ ด้ ไ ม่ ทั่ ว ถึ ง จึ ง แยกพื้ น ที่ อ� ำ เภอล� ำ พู น ออก ไปเป็นกิ่งอ�ำเภอ ๒ กิ่ง คือกิ่งอ�ำเภอพระแสง และกิ่ง อ�ำเภอพนม ท�ำให้ท้องที่อ�ำเภอล�ำพูนเหลือพื้นที่เพียง ๘ ต�ำบล คือต�ำบลบ้านนา ต�ำบลท่าเรือ ต�ำบลกอบ แกบ ต�ำบลทุ่งเสา ต�ำบลทุ่งหลวง ต�ำบลท่าชี ต�ำบล เวียงสระ และต�ำบลนาสาร ในปี เ ดี ย วกั น นี้ เ อง (พ.ศ.๒๔๔๒) ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง โรงเรี ย นประถมศึ ก ษาขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกในเมื อ ง นครศรีธรรมราช พระสิริธรรมมุนี (พระรัตนธัชมุนี) ใน ฐานะผู้อ�ำนวยการจัดการศึกษามณฑลนครศรีธรรมราช ได้เปิดโรงเรียนขึ้นในเมืองนครศรีธรรมราชถึง ๘ อ�ำเภอ รวม ๑๑ โรง เช่น โรงเรียนสุขุมาภิบาล (โรงเรียนเบญจม ราชู ทิ ศ ในปั จ จุ บั น ) โรงเรี ย นไพบู ล ย์ บ� ำ รุ ง (โรงเรี ย น ปากพนังในปัจจุบัน) และโรงเรียนนิตยาภิรมย์ (โรงเรียน เทศบาลวัดชัยชุมพล ทุ่งสงในปัจจุบัน) เป็นต้น หนึ่งใน ๑๑ โรงที่จัดตั้งขึ้นครั้งนี้เป็นโรงเรียนในอ�ำเภอล�ำพูนรวม อยู่ด้วย คือ “โรงเรียนห้วยประดิษฐ์ผดุงผล” ชื่อตั้งอยู่ ที่วัดบ้านนา อ�ำเภอล�ำพูน โรงเรียนห้วยประดิษฐ์ผล อ�ำเภอล�ำพูน ในปีแรกตั้ง มีนักเรียนเพียง ๑๐ คน ครู ๑ คน เปิดสอนได้เพียงสาม เดือน นักเรียนได้ขอลาออก เพราะผู้ปกครองเห็นว่าไม่
เป็นอนาคตของเด็ก สู้ออกไปท�ำสวนท�ำนาไม่ได้ เพราะ เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวทันตาเห็น พระสิริธรรมมุนี จึงเปิดโรงเรียนขึ้นใหม่ที่วัดสวนป่าน อ� ำเภอกลางเมือง (อ� ำ เภอเมื อ งนครศรี ธ รรมราชในปั จ จุ บั น ) เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๔๓ และย้ายครูจากโรงเรียนห้วยประดิษฐ์ผดุงผล ไปท�ำการสอนที่โรงเรียนวัดสวนป่านแทนโรงเรียนเดิม อย่ า งไรก็ ดี พระสิ ริ ธ รรมมุ นี ก็ มิ ไ ด้ ย ่ อ ท้ อ ได้ พ ยายาม ติ ด ต่ อ กั บ เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นนา และนายอ� ำ เภอล� ำ พู น หลายครั้ง เพื่อช่วยชักชวนเกลี้ยกล่อมให้ชาวบ้านส่งลูก หลานเข้าเรียนให้จงได้ ผลปรากฏว่าใน พ.ศ.๒๔๔๕ (ร.ศ.๑๒๑) โรงเรียนห้วยประดิษฐ์ผล อ�ำเภอล�ำพูน ก็ สามารถเปิดสอนได้ โดยมีนักเรียนถึง ๓๐ คน และครู ๑ คน นับเป็นความส�ำเร็จที่น่าภูมิใจไม่น้อย
“ล�ำพูน” เป็นอ�ำเภอขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช จนถึง พ.ศ.๒๔๔๘ ก็ได้ไปขึ้นกับเมืองไชยา มณฑลชุมพร ครั้น พ.ศ.๒๔๖๐ ก็เปลี่ยนชื่อเป็น “อ�ำเภอบ้านนา” ตามต�ำบลที่ตั้งที่ว่าการอ�ำเภอ และใน พ.ศ.๒๕๓๓ ได้ เปลี่ยนชื่อเป็น “อ�ำเภอบ้านนาเดิม” มาถึงปัจจุบัน น่าสังเกตว่าการตั้งอ�ำเภอขึ้นใหม่ก็ดี การยุบเลิกก็ดี และการเปลี่ยนแปลงชื่อก็ดี ล้วนเกิดขึ้นอยู่เสมอตั้งแต่ โบราณกาลเป็นต้นมา สาเหตุส�ำคัญก็เพื่อความเหมาะ สมในทางการปกครองท้องที่ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการ บริหารราชการแผ่นดิน แต่สิ่งที่เหลืออยู่ไม่เปลี่ยนแปลง เลยก็คือประวัติศาสตร์และความทรงจ�ำที่ผู้คนแต่ละรุ่น กล่าวถึง
บางค�่ำ ความฝันอาจเลือนลาง ฟ้าสาง แสงเช้าอาจเลือนหาย หม่นหมอกฟ่องระบาย เหนือสถูปของความรัก ใครบางคนมักหวนค�ำนึงถึง เรือนเก่าที่อบอุ่น ขณะความฝันของวันวารดินทางมาถึง แล้วซุกตัวหลับใหลอยู่ในแผงอกอุ่นที่หวนหา ใต้หลังคาครัวเรือนแห่งเยาว์วัย, รมณา โรชา
หน้า ๑๒
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
๒. โรคอาหารเป็นพิษ จัดอยู่ในกลุ่มโรคติดต่อ ในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งพบได้มากในช่วงหน้าร้อน สาเหตุ ส� ำ คั ญ เกิ ด จากการทานอาหารที่ มี ก ารปนเปื ้ อ น ของเชื้อแบคทีเรีย หรือสารพิษ (toxin) ที่เกิดจากเชื้อ
นพ.อรรถกร วุฒิมานพ
อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด
ท่
ามกลางอุณหภูมิที่ร้อนอ้าวนี้ เราทุกคน ก็หาทาง ดั บ ร้ อ น ด้ ว ยวิ ธี ต ่ า งๆ แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ ค วร ระวังโรคที่มาพร้อมกับหน้าร้อนนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิ ความร้ อ นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ในช่ ว งหน้ า ร้ อ นจะท� ำ ให้ เชื้อโรคโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียเจริญเติบโตได้ดี ทาง กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศเตือน ๖ โรคที่ต้องเฝ้า ระวังเป็นพิเศษคือ อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ โรคบิด อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ และโรคตับอักเสบชนิดเอ จากข้ อ มู ล สถานการณ์ ข องโรคติ ด ต่ อ ทางอาหาร และน�้ำ ๖ โรค ในปี ๒๕๕๖ พบผู้ป่วยรวมทั้งหมด กว่า ๑.๒ ล้านราย เสียชีวิต ๑๓ ราย โรคอุจจาระร่วงพบผู้ป่วย มากสุดคือ ๑,๑๒๒,๙๙๑ ราย เสียชีวิต ๑๒ ราย รองลง มาโรคอาหารเป็นพิษ ๑๓๐,๖๕๓ ราย เสียชีวิต ๑ ราย โรคบิด ๒,๘๒๒ ราย โรคไทฟอยด์ ๒,๕๖๒ ราย โรค ไวรัสตับอักเสบ เอ ๓๗๒ ราย และโรคอหิวาตกโรค ๘ ราย ส่วนในปี ๒๕๕๗ นี้ ตั้งแต่ ม.ค.-ก.พ.พบผู้ป่วย ๖ โรค รวม ๒๐๖,๕๒๘ ราย ผู้ป่วยมากที่สุดคือโรคอุจจาระ ร่วง ๑๘๖,๒๙๘ ราย ดังนั้นเราจึงควรมาทราบข้อมูลโรค เหล่านี้กัน ๑. โรคอุจจาระร่วง หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยถ่าย เหลว มากกว่าวันละ ๓ ครั้ง หรือถ่ายเป็นมูกเลือดเพียง ครั้ ง เดี ย ว สาเหตุ เ กิ ด จากการติ ด เชื้ อ หลายประเภททั้ ง แบคทีเรีย ไวรัส และกลุ่มเชื้อโปรโตซัว ที่ปนเปื้อนอยู่
ในอาหารที่มีโอกาสบูดเสียได้ง่ายในอากาศที่ร้อนจัด กิน อาหารที่ไม่สุก และเมื่อรวมกับสุขอนามัยที่ไม่สะอาดแล้ว รวมทั้งภาชนะที่ปนเปื้อน สามารถก่อให้เกิดโรคอุจจาระ ร่วงในหน้าร้อนนี้ได้ ท�ำให้เกิดอาการท้องร่วงรุนแรง มี อาการขาดน�้ำ สูญเสียเกลือแร่ ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง ซึ่งสามารถให้การรักษาเบื้องต้นได้เองด้วยผงเกลือแร่ ผสมน�้ำดื่ม (ORS) หรือน�้ำแกงจืด แต่ไม่แนะน�ำให้ซื้อยา ปฏิชีวนะมาทานเองควรปรึกษาแพทย์ แต่ในเด็กและคน ชรา อาจมีอาการรุนแรงได้ ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษ การ ป้องกัน ควรล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ก่อนเตรียมอาหาร ก่อนกิน และหลังขับถ่าย ดื่มน�้ำสะอาด เช่นน�้ำต้มสุก หรือ น�้ำบรรจุขวด เลือกอาหารที่สะอาด ปรุงสุกใหม่ๆ ก�ำจัดสิ่ง ปฏิกูล ขยะมูลฝอย เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์
เครดิต “นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผู้อ�ำนวยการศูนย์เวชศาสตร์อายุรวัฒน์ นานาชาติ”
‘ดื่มให้พอ’ ดื่มเรื่อยๆ มีเทคนิคคือตั้งขวดน�้ำไว้หน้า โต๊ะท�ำงานแล้วปฏิญาณว่าวันนี้จะดื่มให้หมดขวด ในผู้ที่ ชอบออกก�ำลังฤดูนี้ต้องยั้งพลังไว้บ้าง แล้วดื่มน�้ำให้มาก ก่อนลงสนาม ‘รอเข้าวิน’ ขออย่าเพิ่งเข้าห้องปรับอากาศทุกครั้ง ร�่ำไป ถ้าเลี่ยงไม่ได้ก็ให้หาเสื้อไว้เปลี่ยน เผื่อถ้าเดินชื้น เหงื่อมาแล้วต้องเข้าออฟฟิศท�ำงานเลย จะท�ำให้ร่างกาย เย็นจนเป็นหวัดไม่สบาย ‘กินให้น้อย’ ขออย่าให้กินอิ่มเกินไป เพราะท�ำให้ อาหารไม่ย่อยและป่วยไข้ได้ ความร้อนท�ำให้อาหารบูดเสีย เร็วไม่เว้นแม้ในกระเพาะล�ำไส้ ‘ค่อยๆ ออก’ หมาย ถึงออกก�ำลังกายให้เพลาลง มี หลายท่านที่ช็อคแดดในหน้าร้อนในฟิตเนสกันมาแล้ว หา เอ็กเซอไซส์โหมดเบาๆ ให้เหมาะกับตัวเรา คือ ไม่เหนื่อย ลิ้นห้อย ‘บอกถ้าป่วย’ หากท่านมีโรคประจ�ำตัวอยู่ขอให้ คอยระวัง ไว้เวลาเหนื่อยแล้วต้อง ‘เพลา’ ลงบ้าง เพราะ โรคร้ายอย่างสโตร้ค อัมพฤกษ์ อัมพาต กับโรคหัวใจจะมา ถามหาเวลาร้อนจัด หากมีโรคประจ�ำตัวที่ว่าการหารือกับ คุณหมอไว้ก่อนให้ปรับยาก็จะดี ‘ช่วยนอนเร็ว’ การนอนช่วยดับร้อนได้ส่วนหนึ่ง คือ ช่วยให้ร่างกายได้พักผ่อนซ่อมแซมตัวเองหลังจากผจญไอ ร้อนมาทั้งวัน ความร้อนท�ำให้เสียน�้ำ, หัวใจเต้นเร็ว และ เสียเกลือแร่ในร่างกาย ตัวเราจะใช้เวลานอนนั้นในการ
‘ยกเครื่อง’ ปะผุพ่นสีใหม่ให้ตื่นมามีแรงอีกครั้ง ‘เจลลดไข้’ ใช้ได้ในเด็กที่ใกล้จะช็อคแดดหรือซึมลง จากอากาศร้อนเพราะช่วยลดได้ทันใจไม่อันตราย ดีกว่า จับอาบราดน�้ำเย็นเป็นเด็กลูกกรอกตัวสั่นฟันกระทบกึก ‘ไม่กินหวาน’ รสหวานถือเป็นการเร่งให้ร่างกาย ต้ อ งเผาผลาญอาหารที่ อุ ด มไปด้ ว ยน�้ ำ ตาล จะท� ำ ให้ ‘เครื่ อ งใน’ เกิ ด อาการป่ ว ยได้ เพราะในของหวานมี น�้ำตาลที่ท�ำให้เกิดกระบวนการ ‘ไกลเคชั่น’ อันท�ำให้เกิด เสื่อมอักเสบขึ้น เรียกว่าร้อนต่อร้อนมาเจอกันถึง ๒ เด้ง ‘อาหารเย็น’ เป็น เครื่องดับร้อนที่ควรเลือกหา จะรับเป็นแบบไทยๆ ก็มีแกงส้ม, ข้าวแช่, แตงไทยน�้ำ กะทิ, น�้ำมะตูม หรือแบบเทศก็มีเฉาก๊วย, สมู้ทตี้แตงโม, เก๊กฮวยเย็น, ต้มมะระ ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ สุดท้าย ‘เน้นธรรมชาติ’ คนไทยรุ่นใหม่ใช้แอร์ เป็ น เครื่ อ งดั บ ร้ อ นจึ ง ท� ำ ให้ ยิ่ง ‘ร้อนใน’ เพราะแอร์เป็น อากาศแห้ ง และเย็ น ท� ำ ให้ เกิ ด อั ก เสบทางเดิ น หายใจ ง่าย ที่ไหนมีแอร์ที่นั่นมีสิทธิ์ ป่วย ทั้งนี้ไม่ได้ให้งดใช้แอร์ แ ต ่ ล อ ง ส ลั บ ดู บ ้ า ง อย่างร้อนนักก็อาบน�้ำให้ชื่น ใจ หรื อ ใช้ แ ป้ ง เย็ น โรยตั ว ก็ได้.
บิ ด แบคที เ รี ย เช่ น เชื้ อ สแตปฟี โ ลคอกคั ส และเชื้ อ บาซิลลัส ซึ่งมักเป็นสารที่ทนต่อความร้อน พบบ่อยใน อาหารประเภทปรุงสุกๆ ดิบๆ ไส้กรอก ไข่ นมที่ปนเปื้อน กุนเชียง ข้าวผัดต่างๆ ถึงจะกินอาหารที่สุกร้อนแล้ว แต่ หากส่ ว นผสมก่ อ นน� ำ มาปรุ ง อาหารเกิ ด บู ด เสี ย ก่ อ น ก็ จะเกิดอาการเป็นพิษได้ จากสารพิษที่ทนความร้อนได้ อาการเกิดได้ตั้งแต่ ๑ ชม. จนถึง ๘ วันหลังรับประทาน อาการ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง มีไข้ หรือปวดเมื่อย อ่อนเพลีย จนถึงท้องร่วงรุนแรง การป้องกัน คือหลีก เลี่ยงอาหารที่มีความเสี่ยงเช่น อาหารกระป๋องที่หมดอายุ กระป๋องขึ้นสนิม โป่งพอง การรักษาเบื้องต้นเนื่องจาก อาการอาเจียนเป็นอาการเด่น ถ้าพอรับประทานได้ก็ให้ กิน น�้ำเกลือแร่ ถ้ารับประทานไม่ได้ หรือมีอาการไข้ ถ่าย อุจจาระปริมาณมาก ควรน�ำส่งโรงพยาบาล ๓. โรคบิ ด เกิ ด จากเชื้ อ ปนเปื ้ อ นในอาหารเช่ น เดียวกันมักเกิดการอักเสบที่ล�ำไส้ใหญ่ ท�ำให้มีอาการปวด ท้อง ปวดเบ่งถ่ายตลอดเวลา ผู้ป่วยจะถ่ายบ่อย และ อุจจาระปนมูกปนเลือด ถ่ายบ่อยครั้ง และรู้สึกเหมือน ถ่ายไม่สุด มีอาการไข้ ปวดหัว อุจจาระมีกลิ่นเหม็นคาว อาจมีการลุกลามของเชื้อเข้าสู่กระแสโลหิตได้ สาเหตุเกิด จากเชื้อ แบคทีเรีย ชิกเกลลา (Shigella) หรือ จากเชื้อ โปรโตซัว อะมีบา (Entamoeba Histolytica) ซึ่งสามารถ ติดต่อได้ทางน�้ำดื่ม และอาหารปนเปื้อนจากอุจจาระ เช่น ผักที่ปนเปื้อน น�้ำดื่ม การรักษาโดยการให้ยาฆ่าเชื้อ และ ให้สารน�้ำให้พอเพียง การป้องกัน การรับประทานอาหาร ที่ปรุงสะอาด ไม่มีแมลงวันตอม ล้างมือก่อนท�ำอาหาร ก่อนรับประทาน ระวังในการสัมผัสอุจจาระผู้ป่วย
๔. โรคไข้ไทฟอยด์ หรือที่รู้จักกันว่า ไข้รากสาดน้อย เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ (อ่านต่อหน้า ๑๔)
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช
สุเมธ รุจิวณิชย์กุล
sumet_arch@hotmail.com
ไ
ม่ ใ ช่ ชื่ อ หนั ง ที่ น� ำ มาตั้ ง ชื่ อ ให้ ตื่ น เต้ น หรอกครั บ แต่ ก็ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ผ มเขี ย น โยงกันมาสามเดือนต่อเนื่องกันที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาทางธรรมชาติตามชื่อเรื่อง และ เดือนที่แล้วชาวเมืองก็ประสบปัญหาการ ขาดแคลนน�้ำกันจริงๆ เฉลี่ยความล�ำบาก กั น ทั่ ว หน้ า กั น แต่ ยั ง ดี ที่ วั น สงกรานต์ ยั ง มี น�้ ำ ให้ เ ล่ น สาดกั น ชุ ่ ม ฉ�่ ำ รอดตั ว ไป อีกปี ผมเองก็ไม่แน่ใจว่ าความร้อนจาก เดื อ นเมษายนปี นี้ จ ะลากยาวจนมาถึ ง เดื อ นพฤษภาคมหรื อ ไม่ ซึ่ ง ปกติ แ ล้ ว จะ ย่ า งเข้ า ฤดู ฝ นอั น เป็ น ช่ ว งเปิ ด เทอมแรก ของนั ก เรี ย นที่ จ ะเจอฝนแทบทุ ก ปี แต่ ผมก็ไม่อยากตั้งชื่อเรื่องให้ล้อกับข้อเขียน ของผมเมื่ อ เดื อ นมี น าคมว่ า “ภั ย น�้ ำ มา แล้ว เตรียมตัวตั้งรับกันหรือยัง ?” เพียง แต่อยากเตือนกันไว้ว่าภัยพิบัติจาก ดิน น�้ำ ลม ไฟ ล้วนแล้วแต่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน หากไม่ตระหนักและไม่จัดการป้องกันล่วง หน้า เราคงต้องทนทุกข์กันซ�้ำซากทุกปี เมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว ผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่วมฟังบรรยายจากนักวิชาการในโครงการ ส่งเสริมการจัดการน�้ำในภาวะวิกฤตโดย การรักษาระบบนิเวศในพื้นที่ลุ่มน�้ำ ท�ำให้ ผมในฐานะประชาชนคนหนึ่ ง ทราบว่ า มี ห น่ ว ยงานต่ า งๆ มากมายที่ ค อยดู แ ล ปั ญ หา เรื่ อ งน�้ ำ เช่ น กรมทรั พ ยากรน�้ ำ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อม (ไม่ทราบว่ามีคนรู้จักมากน้อย เพี ย งใด) รวมทั้ ง องค์ ก รร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ประเทศของเยอรมันที่ผมเข้าร่วมฟังมีชื่อ ย่ อ ว่ า GIZ ได้ ค วามรู ้ แ ละข้ อ มู ล ต่ า งๆ มากมาย แต่ ผมเสี ย ดายว่ า หน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้องหลายแห่ง และประชาชนที่ สนใจเข้าฟังน้อยเกินไป เพราะเป็นเรื่อง ใกล้ตัวของพวกเราทุกคนที่ต้องมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหา และอาจช่วยวิกฤตเรื่อง น�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กร GIZ ได้น�ำเสนอแนวทางใหม่ในการใช้ธรรมชาติ เพื่อช่วยรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ซึ่งเรียกว่า “การปรับตัวโดย อาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem- Based
www.nakhonforum.com
Adaptation หรือ EbA)” โดยมีโครงการ น� ำ ร่ อ งที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น และจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชรายละเอียดถ้าต้องการ ทราบสามารถไปขอได้จากกรมทรัพยากร น�้ ำ นอกจากนี้ ข ้ อ มู ล ที่ ผ มเองรั บ ทราบ มาจากที่ ป ระชุ ม ว่ า นครศรี ธ รรมราช มี ป ริ ม าณน�้ ำ ฝนประมาณ ๗๐๐ ล้ า น ลูกบาศก์เมตรต่อปี แต่ความต้องการใช้น�้ำ เพียงประมาณ ๑๑๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อปี ค�ำถามว่านครศรีธรรมราชขาดน�้ำได้ อย่างไร หรือน�้ำส่วนที่ไม่ได้ใช้ไปอยู่ที่ไหน และมีข้อมูลอีกว่าเรามีลุ่มน�้ำที่สามารถกัก เก็บน�้ำได้เพียง ๔.๖๗ ล้านลูกบาศก์เมตร ตัวเลขการส�ำรวจของนักวิชาการหากถูก ต้องก็คงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ต้อง รีบรับไปด�ำเนินการต่อ หรืออาจมีแล้วแต่ ไม่ได้ประชาสัมพันธ์ให้ชาวเมืองรับทราบ ก็เป็นได้ ผมคิดว่าไม่น่าจะเป็นข้อมูลที่ ปกปิดอะไรในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับความเป็นอยู่ของพลเมือง อย่างน้อย ก็ได้รับทราบเพื่อที่จะเตรียมตัวหรือช่วย กันในหน่วยเล็กๆ ของครอบครัว มุ ม มองของผมเกี่ ย วกั บ การบริ ห าร จัดการทรัพยากรน�้ำของนครศรีธรรมราช ตามประสาคนไม่ใช่นักวิชาการด้านนี้ก็มี ค�ำถามเพื่อผู้ที่เกี่ยวข้องหาค�ำตอบว่า ๑. ตราบใดที่ เ รายั ง มี น�้ ำ เต็ ม แม่ น�้ ำ ปากพนัง เต็มคลองปากนคร และคลอง สายต่างๆ ยังมีน�้ำทั้งปี ก็แสดงว่าเรายัง ไม่ได้ขาดน�้ำจริงๆ แล้วเราสามารถผันน�้ำ
ไปใช้ได้หรือไม่ ไม่ว่าน�ำไปบ�ำบัดเพื่อการ บริโภคหรือเพื่อการเกษตร ๒. คลองในโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่ม น�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีปริมาณน�้ำดิบจ�ำนวนมาก แต่ทราบมา ว่าให้ใช้ส�ำหรับภาคการเกษตรเท่านั้น ไม่ สามารถน� ำ ไปใช้ เ พื่ อ การบริ โ ภคได้ จน เทศบาลเมืองปากพนังต้องหาซื้อที่ดินเพื่อ เป็นแหล่งเก็บน�้ำใช้บริโภค (ข้อมูลนี้ผมได้ มาจากค�ำบอกเล่า ไม่ยืนยันนะครับ) หาก ทบทวนแบ่งปันน�้ำจากภาคการเกษตรมา ใช้บริโภคจะได้หรือไม่ ๓. จากแหล่งน�้ำดิบใหญ่ๆ ดังกล่าว สามารถผันน�้ำหรือต่อท่อส่งน�้ำเข้ามายัง ตัวเมืองนครซึ่งมีปริมาณการใช้น�้ำมากได้ หรือไม่ นอกเหนือจากใช้แหล่งน�้ำคลอง ท่าดี ๔. นอกเหนื อ จากแหล่ ง น�้ ำ หรื อ ลุ ่ ม น�้ำที่สามารถกักเก็บน�้ำได้ตามธรรมชาติ แล้ว จะหาพื้นที่สร้างเป็นที่กักเก็บน�้ำย่อย (Catchment) เพิ่มขึ้น เช่นแนวที่ลุ่มซึ่ง เป็นที่ดินราชพัสดุขนานไปกับค่ายวชิราวุธ ด้านทิศตะวันตกจะได้หรือไม่ (ส�ำหรับการ ขุดเชิงเขาน�ำดินไปใช้ถมที่ และสนับสนุน
หน้า ๑๓
ให้ใช้แอ่งดินเป็นที่กักเก็บน�้ำไว้ใช้นั้น ควร พิจารณาปัญหาที่จะเป็นการส่งเสริมการ ท�ำลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือไม่ ) ๕. น�้ ำ ใต้ ดิ น ในแนวสั น ทรายมี ป ริ มาณมาก จะมี ก ารรณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชน หวนกลับมาใช้บ่อน�้ำประจ�ำบ้านอย่างใน อดี ต คู ่ กั บ การใช้ น�้ ำ ประปาของเทศบาล หรือของการประปาส่วนภูมิภาคจะเหมาะ สมหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตามหากมีการขุด บ่อบาดาลขนาดใหญ่เพื่อใช้ในปริมาณมาก อาจต้ อ งศึ ก ษาผลกระทบเรื่ อ งการขาด สมดุลของชั้นดินจนเป็นเหตุให้ดินทรุดดัง เช่นกรุงเทพมหานครได้ เดื อ นพฤษภาคมนี้ ผ มเองยั ง ไม่ ไ ด้ ตรวจสอบข้ อ มู ล จากกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา ว่าสภาพอากาศจะเป็นอย่างไร แต่หาก หน่วยงานราชการทราบเรื่อง ก็ต้องขอให้ ช่วยประชาสัมพันธ์ถึงการเตรียมตัวของ ประชาชนและการป้องกันโดยทางหน่วย งานราชการล่วงหน้าด้วยนะครับจะได้มี ความสูญเสียน้อยลง แต่ท างราชการจะ ช่วยได้ขนาดไหนก็คงไม่ว่ากัน ที่ผ่านมา ชาวเมื อ งส่ ว นใหญ่ ต ้ อ งช่ ว ยเหลื อ ตั ว เอง ตามยถากรรมไม่ว่าเรื่องขาดแคลนน�้ำหรือ น�้ำท่วม ส�ำหรับการแก้ปัญหาน�้ำท่วมซ�้ำซาก ในตั ว เมื อ งนคร ผมเข้ า ใจเอาเองว่ า ทาง ราชการคงมีแผนและโครงการไว้แล้ว ผม อยากขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยชี้แจง ทั้ ง ในด้ า นหลั ก การและด้ า นแผนปฏิ บั ติ การให้ประชาชนรับทราบด้วย เพราะที่ ผ่านมามีคนถามผมหลายเรื่องที่ผมเองก็ ตอบไม่ได้ เช่น เรื่องการก่อสร้างก�ำแพง คอนกรีตกั้นตลิ่งคลองท่าวัง การก่อสร้าง บ่ อ พั ก น�้ ำ ขนาดใหญ่ ก ลางถนน เป็ น ต้ น แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามผมเชื่ อ ว่ า หน่ ว ยงานที่ ก่อสร้างมีการศึกษาหาข้อมูลและมีความรู้ เป็นอย่างดี หากประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ และมีส่วนร่วมจะช่วยกันสนับสนุนในการ แก้ไข ปัญหาวิกฤตทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งในอนาคตจะเป็นเรื่องใหญ่มากกว่า ปัญหาทางด้านการเมือง
หน้า ๑๔
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
ฉ
บับนี้ขอแนะน�ำอีกหนึ่งกิจกรรมการ เรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ใ ช้ ห น้ า ผา ธรรมชาติของเขาขุนพนมซึ่งอยู่ด้านหลัง ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชเป็นพื้นที่ในการจัดกระบวน การเรียนรู้ ปีนหน้าผา-โรยตัว เป็นกีฬาที่เสี่ยง ที่สุด แต่ก็ปลอดภัยที่สุดเช่นกัน เนื่องจาก วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้มีความแข็งแรง ทนทาน รวมทั้งความพร้อมของสภาพร่างกายและ จิตใจ ซึ่งจะต้องเคลื่อนไหวโดยให้ร่างกาย นั้ น อยู ่ ใ นลั ก ษณะสมดุ ล กั น อาศั ย ความ มั่ น คงของมื อ และเท้ า ในการเกาะและ เหยียบ แต่ที่ส�ำคัญที่สุดในการโรยตัวคือ การมีสติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องบอกและ อธิบายคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ใน การปีนหน้าผา-โรยตัว หลักการของแรง เสี ย ดทานระหว่ า งเส้ น เชื อ กกั บ Figger Eight แรงลัพธ์ของแรงหลายแรง อภิปราย การเพิ่ ม และลดแรงเสี ย ดทานระหว่ า ง การโรยตัว และประโยชน์ที่ได้จากการปีน
หน้าผา-โรยตัว พร้อมทั้งบอกวิธีการปีน หน้าผา -โรยตัวที่ถูกต้อง กิจกรรมปีนหน้าผา -โรยตัว วิทยากร จะเลือกท�ำเฉพาะการโรยตัวลงจากหน้าผา วิ ท ยากรอธิ บ ายและสาธิ ต วั ส ดุ เท่ า นั้ น เนื่ อ งจากผู ้ ที่ จ ะปี น หน้ า ผาได้ อุปกรณ์ที่จะใช้ในการโรยตัว และวิธีการโรย จะต้อ งมีทักษะในการโรยตัวอย่างความ ตัวอย่างถูกต้อง ปลอดภัย กิจกรรมนี้ผู้เข้า ช�ำนาญก่อน ร่วมกิจกรรมจะต้องมีความพร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจ และต้องเกิดจากความสมัครใจ (๓ ชั่วโมงจะโรยตัวได้ประมาณ ๓๐ คน) การเริ่ ม ต้ น ของการโรยตั ว เริ่ ม ตั้ ง แต่ การแต่งกายโดยการสวมเสื้อไว้ในกางเกง ผู ก สายรองเท้ า ให้ ก ระชั บ (รองเท้ า ผ้ า ใบ หรือหุ้มส้น) และแต่งชุดอุปกรณ์การโรยตัว ที่ส�ำคัญได้แก่ สายรัดสะโพก (Harness) หมวกกันกระแทก (Helmets) คาราไบเนอร์ (Carabiner) ห่วงเลข ๘ Figger Eight โดย
นพ.อรรถกร วุฒิมานพ
อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด
(อ่านต่อจากหน้า ๑๒) ซาลโมเนลลา ไทฟี ่ (Salmonella typhi) เชื้อปนเปื้อนมาเหมือนกับโรค อื่นๆ อาหารส่วนใหญ่ที่มักพบว่าท�ำให้ เกิดโรค ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากนม หอย ไข่ เนื้ อ สั ต ว์ น�้ ำ ผู ้ ป ่ ว ยโรคนี้ สั ป ดาห์ แรกไข้สูง อาจมีอาการปวดศีรษะ เบื่อ อาหาร อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว อาจ มีอาการหนาวสั่นได้ ซึมลง และมีอาการ เพ้อ การรักษา ควรไปพบแพทย์ เพื่อรับ ยาฆ่าเชื้อ (แบบกิน หรือ ฉีด) และให้สาร น�้ำให้เพียงพอ ๕. โรคอหิ ว าตกโรค เป็ น โรค ติ ด ต่ อ ที่ มี ส าเหตุ ม าจากเชื้ อ แบคที เ รี ย ชื่อ วิบริโอ คอเลอรา (Vibrio Cholerae) เข้าสู่ร่างกายโดยทางอาหารและน�้ำที่มี เชื้อโรคปนเปื้อน (ซี่งมักอยุ่ในอุจจาระผู้ ป่วย) โดยมีแมลงวัน และมือของผู้ป่วย
เป็ น พาหะ เชื้ อ จะสร้ า งพิ ษ ออกมาท� ำ ปฏิกิริยากับเยื่อบุผนังล�ำไส้เล็กท�ำให้เกิด อาการท้องร่วงอย่างรุนแรง อุจจาระเป็น สีน�้ำซาวข้าว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่าง ทันท่วงที อาจท�ำให้เสียชีวิตได้ การรักษา โดยให้สารน�้ำ เช่น กิน ORS น�้ำข้าวต้ม น�้ำแกงจืด กินอาหารอ่อน ย่อยง่าย การ ป้องกันการแพร่กระจายโดย ถ่ายอุจจาระ ในส้วม ล้างมือให้สะอาด ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อจากผู้ป่วยโดยการก�ำจัด สิ่ง ขับถ่ายจากผู้ป่วยลงในส้วม ล้างและท�ำ ความสะอาด ฆ่าเชื้อ ในเครื่องใช้ผู้ป่วย ล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยทุกครั้ง ๖. โรคตับอักเสบ ชนิดเอ เกิดจาก การติดเชื้อไวรัส กลุ่ม picornavirus ถ้า เคยติ ด เชื้ อ ไวรั ส ตั บ อั ก เสบเอ แล้ ว จะมี ภูมิคุ้มกันตลอดชีวิต การติดต่อ จะติดทาง
น�้ำดื่ม หรือ อาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระผู้ป่วย อาหารเช่น หอยนางรม หอยกาบ ที่เก็บจาก บริเวณที่มีเชื้อ (ไม่ติดต่อทางน�้ำลาย หรือ ปัสสาวะ, การติดต่อทางเลือดพบได้น้อย) ในผู้ที่ได้รับเชื้อไป จะเกิดอาการมีไข้ เพลีย อาเจียน เบื่ออาหาร ถ่ายเหลว และมีอาการ ตัวเหลืองตาเหลือง และต่อมาจะเข้าสูระยะ ฟื้นตัว การรักษา ควรพักผ่อนให้เพียงพอ และระวังยาที่มีผลต่อตับ ในการป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ป ่ ว ยเป็ น โรค ติดต่อทางเดินอาหารในช่วงฤดูร้อนองค์การ อนามัยโลกได้กําหนดกฎทอง ๑๐ ประการ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการป้องกันตนเองให้ ปลอดภัยจากโรคอุจจาระร่วงคือ ๑. เลื อ กอาหารที่ ผ ่ า นกระบวนการ ผลิ ต อย่ า งปลอดภั ย เช่ น เลื อ กนมที่ ผ ่ า น กระบวนการพาสเจอร์ไรซ์ ผัก ผลไม้ ควร ล้างด้วยน�้ำปริมาณมากๆ ให้สะอาดทั่วถึง ๒. ปรุ ง อาหารให้ สุ ก ทั่ ว ถึ ง ก่ อ นรั บ ประทาน
มี Staff คอยช่ ว ยแต่ ง กายให้ มี ค วาม รัดกุม ถูกต้อง พร้อมแล้วจึงขึ้นไปยังจุด ปล่ อ ยตั ว ซึ่ ง มี ร ะดั บ ความสู ง ประมาณ ๒๐ เมตร จุดปล่อยตัวจะมี Staff ท� ำ หน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบความพร้อม และ ปล่อยตัวลงจากหน้าผา โดยการใช้เชือก โรยตัวใส่ใน Figger Eight (ห่วงเลข ๘) ที่มี Carabiner คล้องอยู่ที่เอวด้านหน้า มือที่ไม่ถนัดก�ำเชือกให้แน่นอยู่ใน Figger Eight มืออีกข้างที่ถนัดก�ำเชือกหลวมๆ อยู่บริเวณสะโพก ยืนหันหลังในท่าโรย ตั ว บริ เ วณหน้ า ผา กางเท้ า ทั้ ง สองข้ า ง ออกพอประมาณ เอนล�ำตัวให้ตั้งฉากกับ หน้าผา ก้าวถอยหลังลงจากหน้าผาที่ละ ก้าว โดยการปล่อยมือที่ก�ำเชือกใน Figger Eight ทีละนิดเป็นจังหวะจนลงถึง พื้น แล้วนั่งลงก่อนลุกขึ้นยืน ในการโรยตัวลงมาจากหน้าผา จะ มี Staff คอยช่ ว ยเหลื อ ตามจุ ด ต่ า งๆ ตลอดเส้นทาง เพื่อความปลอดภัยของผู้ เข้าร่วมกิจกรรม แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นตัวผู้เข้า ร่วมกิจกรรมเองจะต้องมีสติ รอบคอบ ไม่ประมาท เชื่อฟังค�ำสั่ง ค�ำแนะน�ำของ วิทยากรและ Staff อย่างเคร่งครัด ขณะโรยตัวลงจากหน้าผา ทั้งผู้เข้า ร่วมกิจกรรมที่ก�ำลังโรยตัวและไม่ได้โรย ตั ว จะต้ อ งสั ง เกตการโรยตั ว ของผู ้ โ รย ตัวลงมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะสามารถ อธิ บ ายหลั ก การทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เกี่ยวข้องได้ ๓. รั บ ประทานอาหารที่ ป รุ ง สุ ก ใหม่ๆ ๔. หากมี ค วามจํ า เป็ น ต้ อ งเก็ บ อาหารที่ปรุงสุกไว้นานกว่า ๔-๕ ชั่วโมง ควรเก็บไว้ในตู้เย็น ส่วนอาหารสําหรับ ทารกนั้นไม่ควรเก็บไว้ข้ามมื้อ ๕. ก่ อ นที่ จ ะนํ า อาหารมารั บ ประทานควรอุ่นให้ร้อน ๖. ไม่นําอาหารที่ปรุงสุกแล้วมา ปนกับอาหารดิบอีก เพราะอาหารที่สุก อาจปนเปื้อนเชื้อโรคได้ ๗. ล้างมือให้สะอาด ไม่ว่าจะเป็น ก่ อ นการปรุ ง อาหารก่ อ นรั บ ประทาน และโดยเฉพาะหลังการเข้าห้องน�้ำ ๘. ดูแลความสะอาดของพื้นที่สําห รับเตรียมอาหาร ล้างทําความสะอาด หลังการใช้ทุกครั้ง ๙. เก็ บ อาหารให้ ป ลอดภั ย จาก แมลงหนู หรือสัตว์อื่นๆ ๑๐. ใช้ น�้ ำ สะอาดในการปรุ ง อาหารและควรระวังเป็นพิเศษในการใช้ น�้ำเพื่อเตรียมอาหารเด็กทารกได้
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นครศรีธรรมราช หน้า
๑๕
อาจารย์แก้ว
ห
น้ า ร้ อ นที ไ รผู ้ บ ริ โ ภคอย่ า งเราต้ อ งหงุ ด หงิ ด กั บ น�้ ำ ประปาทุกที บ้างเจอปัญหาน�้ำไม่ไหล ไหลบ้างหยุด บ้าง บางเวลาพอเปิดก๊อกน�้ำก็มีแต่ลมออกมา แต่พอถึง เวลาเจ้าหน้าที่มาจ่ายใบแจ้งหนี้ท�ำไมค่าน�้ำไม่ลด หน�ำซ�้ำ อาจแพงกว่าเดิมอีก เคยมีใครลองบ้างไหมว่าเวลาที่น�้ำ ไม่ไหล ตัวมิเตอร์น�้ำยังคงหมุนหรือเปล่า สาเหตุที่มิเตอร์ หมุ น อาจเป็ น เพราะน�้ ำ รั่ ว หรื อ แรงดั น ลมในท่ อ น�้ ำ ประปา เราเองสามารถตรวจเช็คเบื้องต้นได้โดยการปิด ก๊อกน�้ำให้หมด ถ้ามิเตอร์ยังหมุนแสดงว่ามีจุดที่น�้ำรั่วต้อง รีบหาต้นตอแล้วซ่อมแซม (กรณีมีน�้ำไหลปกติ) และใน วันที่น�้ำไม่ไหลเลย มีแต่เสียงลม ลองปิดก๊อกน�้ำทั้งหมด ดู ถ้าไม่มีจุดรั่วมิเตอร์น�้ำจะต้องไม่หมุน และให้ลองเปิด ก๊อกดูถ้าพบว่าแรงดันลมในท่อประปาท�ำให้มิเตอร์น�้ำ หมุน แสดงว่าเราต้องจ่ายค่าน�้ำโดยไม่ได้ใช้น�้ำ ดังนั้นฝาก ไปยังทุกท่านว่าในกรณีที่น�้ำไม่ไหล หรือไม่ค่อยไหล อย่า พยายามเปิดก๊อกน�้ำทิ้งไว้ ให้รีบแจ้งการประปาที่ดูแลรับ ผิดชอบด่วนครับ เพราะมิเตอร์น�้ำตามบ้านเรือนทั่วไปยัง เป็นแบบอนาล็อกหรือแบบหมุน ซึ่งจะเกิดความผิดพลาด เช่นนี้บ่อย ยิ่งมีอายุการใช้งานนานยิ่งผิดพลาดเยอะ เพื่อให้การอ่านค่ามิเตอร์น�้ำประปา เกิดความถูก ต้อง และมีความแม่นย�ำสูงสุด ทางบริษัทชั้นน�ำได้จ้าง วิศวกรและผู้เชี่ยวชาญ ในการออกแบบระบบการอ่าน หน่วยมิเตอร์น�้ำประปาแบบอัตโนมัติ หรือ Automatic Meter Reading หรือ เรียกสั้นๆ ว่า AMR ส�ำหรับผู้ใช้ น�้ำประปาทั่วไป และอุตสาหกรรม เพื่อช่วยให้การอ่าน หน่วยการใช้น�้ำประปาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่ง เป็นการอ่านค่าหน่วยน�้ำประปาโดยตรงจาก มิเตอร์น�้ำ ประปาผ่านระบบสื่อสารแบบไร้สาย เพื่อน�ำข้อมูลเหล่า นั้น ไปคิดค�ำนวณค่าน�้ำประปา และพิมพ์บิลค่าน�้ำประปา อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ระบบมิ เ ตอร์ น�้ ำ ประปาแบบ AMR จะท� ำ หน้ า ที่ ในการอ่านข้อมูลโดยตรงจาก ตัวมิเตอร์น�้ำประปาผ่าน อุปกรณ์ GSM Module หรือผ่าน โครงข่ายโทรศัพท์ ไร้สาย Mobile Network GPRS / EDGE / 3G / 4G โดยระบบได้ถูกออกแบบให้ท�ำการส่งค่าหน่วยการใช้น�้ำ ประปาของ แต่ละราย ไปยังศูนย์กลาง Database หลัง จากนั้ น ระบบจะท� ำ การค� ำ นวณค่ า การใช้ น�้ ำ ประปา ของลูกค้าในแต่ละราย ให้หน่วยงาน หรือเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้อง และรับผิดชอบ ในการพิมพ์บิลค่าน�้ำประปาต่อ ไป และระบบยังถูกออกแบบให้สามารถแสดงผล ผ่าน ทาง Internet ซึ่งลูกค้าแต่ละรายยังสามารถที่จะตรวจ สอบค่าการใช้น�้ำประปาได้ด้วยตัวเอง ประโยชน์ที่จะได้รับเมื่อน�ำระบบ AMR มาใช้ในการ ติดตั้ง นอกจากจะช่วยให้ ผู้ผลิตน�้ำประปา ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่ายในการจดค่าน�้ำประปาแล้ว ยังจะช่วย ลดหน่วยสูญเสียของ ผู้ผลิตน�้ำประปาโดยสามารถที่จะ ตรวจสอบการท�ำงานของมิเตอร์น�้ำประปา หรือแม้กระ ทั้งสั่งตัดน�้ำประปาทาง Web Application ได้อีกด้วย ยิ่ง ไปกว่านั้น ยังสามารถที่จะน�ำข้อมูลการใช้น�้ำประปาไป ใช้ใน การก�ำหนดโครงสร้างอัตราค่าน�้ำประปา วางแผน การจ่ายน�้ำประปา วางแผนการซ่อมบ�ำรุงการส่ง และ สามารถน�ำไปพยากรณ์ที่จะก่อสร้างเพิ่มเติม เพื่อรองรับ
ปริมาณการใช้น�้ำประปาในอนาคต ซึ่งจะช่วยให้มีการ ใช้น�้ำประปาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยิ่งไปกว่า นั้น ยังสามารถออกแบบระบบเพิ่มเติมให้ผู้ใช้น�้ำประปา รับการแจ้งเรียกเก็บค่าน�้ำประปาประจ�ำเดือนผ่านทาง Internetหรือ e-payment ได้อีกด้วย ดังนั้นระบบ AMR จะท�ำให้มีการจัดการในการใช้ น�้ำประปาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะท�ำให้เกิดการ ประหยัดน�้ำประปาในภาพรวมของประเทศในที่สุด
รายละเอียดมิเตอร์น�้ำแบบต่างๆ
มิเตอร์น�้ำแบบหมุน ๑. ชิ้นส่วนภายในมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ๒. เมื่อใช้ไปในระยะเวลานานๆ ชิ้นส่วนภายในอาจ จะเป็นสนิม หรือ ติดขัด หรือ หลวมได้ ท�ำให้การอ่านค่า ไม่ถูกต้อง ๓. ส่งเจ้าหน้าที่ออกไปจดค่ามิเตอร์ที่หน้าปัดของ มิเตอร์ทุกเดือน ๔. เมื่ อ แรงดั น น�้ ำ ต�่ ำ หรื อ สู ง เกิ น ไป ท� ำ การค่ า มิเตอร์มีความผิดพลาด ๕. สามารถกันน�้ำได้ เมื่ออยู่ในสภาวะน�้ำท่วม ๖. อ่านค่าของอากาศที่อาจจะอยู่ภายในน�้ำประปา ๗. ไม่สามารถเชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ Internet ๘. ไม่มีความสามารถสื่อสารกับมิเตอร์ตัวอื่นๆ ได้ ๙. มีความล่าช้าในการเรียกเก็บเงิน ๑๐. ไม่สามารถออกแบบอะไรได้เพิ่มเติม ๑๑. ติดตั้งง่าย มิเตอร์น�้ำแบบกึ่งดิจิตอล ๑. ชิ้นส่วนภายในมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ๒. เมื่อใช้ไปในระยะเวลานานๆ ชิ้นส่วนภายในอาจ จะเป็นสนิม หรือ ติดขัด หรือ หลวมได้ ท�ำให้การอ่านค่า
ไม่ถูกต้อง ๓. ยั ง คงต้ อ งส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ อ อกไป จด หรื อ รั บ สัญญาณจากตัวมิเตอร์ เมื่ออยู่ในระยะใกล้ได้ ๔. เมื่ อ แรงดั น น�้ ำ ต�่ ำ หรื อ สู ง เกิ น ไป ท� ำ การค่ า มิเตอร์มีความผิดพลาด ๕. อาจจะไม่ ส ามารถกั น น�้ ำ ได้ เมื่ อ เกิ ด ภาวะน�้ ำ ท่วม ๖. อ่านค่าของอากาศที่อาจจะอยู่ภายในน�้ำประปา ๗. สามารถเชื่ อ มต่ อ กั บ ระบบคอมพิ ว เตอร์ หรื อ Internet ได้ ๘. ไม่มีความสามารถสื่อสารกับ มิเตอร์ตัวอื่นๆ ได้ ๙. มีความล่าช้าในการเก็บเงิน ๑๐. ไม่สามารถออกแบบอะไรได้เพิ่มเติม ๑๑. การติดตั้งค่อนข้างล่าช้า มิเตอร์น�้ำแบบดิจิตอล ๑. ไม่มีส่วนใดๆ เลยที่เคลื่อนไหว ๒. น�้ำ หรือ สิ่งเจือปนในน�้ำ เช่น กรวด / ทราย ไม่มีผลต่อการท�ำงานของ มิเตอร์แบบ ดิจิตอล ๑๐๐% ๓. ไม่ มี ก ารส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ อ อกไปจดค่ า มิเตอร์ท�ำให้สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น ๔. การอ่านค่ามิเตอร์มีความแม่นย�ำสูงไม่ ว่าแรงดันของน�้ำจะต�่ำ หรือสูง ๕. สามารถกันน�้ำได้ เมื่ออยู่ในสภาวะน�้ำท่วมและ ได้การรับรอง IP68 ๖. ไม่อ่านค่าของอากาศที่อยู่ในน�้ำประปา ๗. สามารถเชื่อมต่อกับระบบ คอมพิวเตอร์ หรือ Internet ได้ ๘. มีความสามารถสื่อสารกับมิเตอร์แบบเดียวกัน ได้ และส่งถ่ายข้อมูลได้ ๙. เรียกเก็บเงินจากผู้ใช้น�้ำได้เร็วขึ้น ๑๐. สามารถออกแบบเพิ่มเติม ในการสั่งปิดวาล์ว น�้ำได้ทาง Internet หรือ อื่นๆ ๑๑. ติดตั้งง่าย เหมือนกับมิเตอร์ทั่วไป ๑๒. มีความทันสมัย และส่งเสริมภาพลักษณ์ ของ องค์กร และ บุคลากรในองค์กร แม้ว่ามิเตอร์น�้ำแบบดิจิตอลจะสามารถแก้ปัญหา หลายอย่างจากแบบหมุน แต่ยังไม่ได้รับความนิยมแพร่ หลายเพราะราคายังสูงมาก มิหน�ำซ�้ำทางการประปาที่ ดูแลระบบการให้บริการก็ยังไม่มีแผนลงทุนให้ชาวบ้าน อยู่ดี ดังนั้นเจ้ามิเตอร์น�้ำยังมีความนิยมในวงแคบๆ เช่น เอกชนที่ให้บริการน�้ำ โรงแรม คอนโดมิเนียม เป็นต้น หวังว่าอนาคตอันใกล้ปวงชนชาวไทยทุกคนจะมีโอกาส ได้ เ ห็ น และได้ รั บ บริ ก ารที่ ช อบธรรมจากเทคโนโลยี นี้ เสียที ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว
หน้า ๑๖
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
Tarzanboy
ละก็ จ ริ ง ดั่ ง คาด เมื่ อ ชุ ด เดิ น ป่ า ชุ ด เดิมถูกเจ้าของจับสวมใส่อีกครั้ง การ ปีน มุด ลอด คลานก็เกิดขึ้นอีกวาระ คราว นี้ฝนมาทักทายเราต่อ และเริ่มหนักหน่วง ขึ้นอีกครั้ง เราลัดซ้ายอยู่ดีๆ ก็รู้สึกว่า มัน เอียงขวาทีละนิดๆ และก็ถึงบางอ้อ เมื่อ ทิวเขาที่เราหมายมั่นจะไปนั้น กลับชี้ยอด ไปทางหน้าผาสูงสุดกู่ และเมื่อเมฆยอม บอกใบ้เส้นทางให้โดยการเปิดแบบแว๊บๆ นั้น ท�ำให้เราเห็นว่า เรากลับเดินดิ่งขึ้นเนิน กลับไปยังทางเก่าอีกครั้ง ผิด แล้วก็ยอมรับผิด แต่ก็ต้องแก้ไข เอง นั่นคือกฎของการเดินป่าส�ำหรับผม ผมน� ำ ทางกลั บ ลงมาพร้ อ มกั บ สายน�้ ำ ซึ่ ง ไหลเป็นล�ำธารอยู่บนสันเขา ฝนหนักมาก ชนิ ด ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด เป็ น ล� ำ ธารน�้ ำ ฝนไปทั่ ว บริเวณ แถมน�้ำนั้นยังใสสะอาดจนไม่อยาก เชื่อว่า นี่มันไหลบนดินภูเขานะ สุดท้าย ผมจึงยึดแนวล�ำธารฝั่งตรงข้าม มุดไปตาม ร่องน�้ำที่ไหลดะลงมา ดงหวายทั้งนั้น ผม จ� ำ ต้ อ งหารอยเพื่ อ นเก่ า อี ก แล้ ว คราวนี้ คลานศอก กระดืบหลบหนามหวายไปที ละนิด จนในที่สุด ก็โผล่เอาบนหลังแปยอด หนึ่ง ซ้ายครับ ซ้าย ผมเดาทางจากรอย เท้าเพื่อนเก่า เราค่อยๆ ลัดเลาะไปตาม ด่านสมเสร็จ ซึ่งช่วงนี้แทบไม่ต้องคลาน แล้วเพราะป่าเริ่มสูงขึ้น ฝนหยุ ด แล้ ว ข้ า วเที่ ย งก็ ยั ง ไม่ หุ ง แน่นอนว่า....งด และไปตายเอาดาบหน้า ฝนหยุ ด แบบนี้ ท� ำ เอาผมเริ่ ม กั ง วล และ ก็ จ ริ ง ....ฝนหยุ ด หมอกสี ข าวนวลซึ่ ง เป็ น หมอกหลังฝน มันจะเริ่มและหนาขึ้นจน แทบมิดเส้นทาง ต้องงมมะงาหรากันอีก
แล้วตู ผม แน่ใจว่าซ้าย คือสันเขาที่เชื่อม ต่ อ เราไปสู ่ เ ป้ า หมาย ผ่ า นไปสามสี่ เ นิ น จนในที่สุด ผมแน่ใจว่า รอยมีดนี้รอยเก่า ของผม ครารหัสป่า ๓ รุ่น ๔ ผมเริ่มที่สัน ปลายอวน และย้อนมายังเส้นนี้ “จากนี้อีกไกลมาก กว่าจะถึงสันปัน น�้ำ” ผมแจ้งข่าว ซึ่งไม่รู้ว่าดีหรือร้าย “กลับบ้านเถอะ” เสียงใครคนหนึ่ง เอ่ยออกมาอย่างไม่มีปี่มีขลุ่ย “ฮ่ะๆ คือแบบว่า เก็บไว้เดินปีหน้า มั่ ง ก็ ไ ด้ นี่ ก็ ส าแก่ ใ จแล้ ว ” ใครคนเดิ ม อธิบายเหตุผล “ใช่ ไปและกลับก็ไม่ต่างกัน มันโหด มันฮาพอกันใช่มั้ยพรรคพวก ฮ่ะๆ” อีก คนเสริม “ใช่ ไ ปหาแค้ ม ป์ ส วยๆ ลานหิ น
กว้างๆ นอนถองลิกอร์กันดีกว่ามั้ย พี่บอย จะได้กลับไปหาลมฝนเร็วขึ้นด้วยว่ามั้ย” “โอเค เลย” ผมสรุปสุดท้าย เราดิ่งลงใต้ยอดพรหมโลก และเป็น อันพับโครงการใหญ่ไว้ต่อภาคสอง การดิ่ง ในแนวหุบปีกจึงเริ่มขึ้นอีกครั้ง ผมมุดผิดๆ ถูกๆ ไปในตอนแรก จนเจอรอยเพื่อนเก่า ซึ่งก็ต้องแปลกใจว่า เจ้าสมเสร็จที่ผมตาม รอยมาจากยอดพรหมโลก มันก็ตัดสินใจ ล่าถอยลงหุบเหมือนกับเรา ...มี ใ ครคอยอยู ่ ที่ บ ้ า นเหมื อ นเรารึ เปล่าเพื่อน
การนอนริ ม ล� ำ ธารใหญ่ ที่ น ่ า หวาด กลัวคือ ความหนาว เพราะไอเย็นจาก ล�ำธารผสมกับลมในหุบไพรนั้น หากใคร ครั่นเนื้อครั่นตัวก็อาจป่วยไข้ได้ง่ายๆ แต่ผมเห็นว่า แสงไฟของตัวเมือง ที่เรามองลอดผ่านและแลเห็นนั้น สร้าง ความเหงา ว้าเหว่ เข้าไปผสมโรงด้วยอย่าง หนาวลึกในจิต.... “...ล่าถอยเถิดปีนป่ายมายาภาพ อย่าหลงเมามนต์วนทนอ้อม สู่ที่สูง...แต่ใจไม่สูง หามิมีไม่หมู่มิตรอันจีรังยั่ง หัวใจเจ้า...คอยอยู่เบื้องล่าง คืนนี้คืนหนาวนัก หัวใจเจ้ายังคอยอยู่เบื้องล่าง แลนี่คือสาส์นในสายลมฝน....”
ดิ่งและดิ่ง นั่งพักริมล�ำธาร และดิ่ง ลงยังกะหุบปีกที่ว่า...สุดท้ายผมเลือกริม ล�ำธารสายใหญ่บนลานกว้างของ หน้าผา หิน แม้ไม่โล่งตา และดูยังเป็นป่าลึกสุดกู่ มาเป็นแค้มป์ส�ำหรับคืนที่ห้า เราผูกเปล กลางสายฝน หุงข้าว ก่อไฟ และนั่งหัวชน ผมแปะโป้งในความมืด หมายมั่นว่า กันใต้ฟลายชีตกลางสายฝนนั่นเอง ....แสงไฟนั้น พรุ่งนี้ถึง
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
ผมเคยผ่านบริเวณนี้มาแล้ว ดงกาแฟป่าและ ฝู ง ทาก ถั ด ไปต้ อ งเป็ น ต้ น หมาก และสวนมั ง คุ ด ข้ามน�้ำที่เป็นดงมะเดื่อ และผ่านดงมหาสด�ำอีกสอง ดงสวยๆ ...ความทรงจ�ำวันเก่าผุดขึ้นมาเป็นจังหวะ และนี่เป็นเข็มทิศชี้ทางส�ำหรับเช้าวันนี้ของการเดิน ดิ่งลงจากขุนเขาอีกครา มักมีคนถามผมว่า ใช้อะไรจ�ำเวลาเดินป่า ว่า ตรงนี้เป็นตรงนี้ ตรงนั้นเป็นตรงนั้น ผม ตอบไม่ได้ ว่า...อะไร แต่มันเหมือนมโนภาพแห่งความจ�ำจะ ค่อยๆ ผุดเป็นรายละเอียดขึ้นมาเองยามเมื่อผมมั่น ในสติ...และมันจะผุดขึ้นมาแบบ ละเอียดยิบ หินทุก ก้อน ต้นไม้ทุกต้น ใบไม้ทุกใบ ถึงตรงนี้...ผมจะนั่ง บนก้อนหินก้อนใด จะก้าวขาข้างใดขึ้นตรงนี้ จะจับ ใบใม้ชนิดใดขึ้นมาขยี้ดม จะมองไปทางใด ....ถ้าจะ ตอบค�ำถามนั้น ก็คงจะแบบนี้ “ข้ามล�ำธารและมุดใต้ก้อนหินนั่นไป ทางอยู่ หลั ง นั่ น แหละ ....ระวั ง บางก้ อ นหิ น จะขยั บ ” ผม สะกิดบอกและร้องเตือนเมื่อความจ�ำบางส่วนผุดขึ้น มาน�ำทาง “เราจะโผล่ตรงไหนเนี่ยบอย” “หน่ ว ยน�้ ำ ตกพรหมโลก อช.เขาหลวง นครศรี ครับผม !!” โอ้ยอดรัก...ฉันกลับมา จากขอบฟ้า ที่ไกลแสนไกล จากโคนรุ้ง ...ที่เนินไศล จากทิวไม้หลากสีสัน..... ผมเดินร้องเพลงนี้ลงจากยอดภูสูง ในแบบผิดๆ ถูกๆ แหกคีย์บ้าง ขณะแหกโค้งสะดุดหกล้ม แต่...ผม ก็เข้าใจความหมายมันดี “พ่อกลับมาแล้ว...” เสียงอารามดีใจของใคร บางคน หลังจากเห็นใครบางคนที่หน้าประตูบ้าน “เอ้ายังไม่ครบเจ็ดวันเลย ไปถีงไหน” ผมไม่ตอบเพียงแต่รับเด็กชายที่ห่อกลมอยู่ใน ผ้าอ้อมนั้นมาแนบอก “....แผนการใหญ่ที่เหลือเป็นของนายนะ.... ลมฝน”
ด้วยมิตรภาพ ทาร์ซานบอย
นครศรีธรรมราช
มุมมองใหม่วัดพระธาตุบ้านเรา จากริมถนนสายขนานรางรถไฟตรงบ้านมะม่วงสองต้น ยามเช้าแสงสวยมาก....รีบไปดู ไปสัมผัสความงดงามกันน่ะครับ ก่อนจะมีสิ่งก่อสร้างมาบดบัง
หน้า ๑๗
หน้า ๑๘
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ผั ก กู ด เรี ย กได้ ว ่ า ประสบ ความส� ำ เร็ จ และพร้ อ มเป็ น ตัวอย่างในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ให้กับชุมชน หมู่บ้าน หรือ ผู้ที่สนใจมาศึกษาเกี่ยว กั บ การจั ด การขยะแบบไร้ กลิ่นอีกด้วย จากความมุ่งมั่น ของคุณลุงกิตติ เจริญพานิช และศรีภรรยา (คุณป้าปุ๊ก) ที่ แสนใจดี และอั ธ ยาศั ย ที่ น ่ า รั ก ของทั้ ง คู ่ ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า ที่ ม า ต้ อ งกลั บ มาในครั้ ง ต่ อ ๆ ไป เสมอ .. ลองแวะไปชิ ม และ พักผ่อนกันดูนะคะ การันตีได้ ว่าจะเดินทางกลับด้วยความ ประทับใจที่ไม่อาจลืม จริงๆ ค่ะ .. บ๊าย บาย แล้วพบกัน ฉบับหน้านะคะ
นภสร มีบุญ
ท่
ามกลางอากาศที่ ร ้ อ นจั ด ในช่ ว ง เดือนเมษายน กับบรรยากาศที่ร้อน จัดแบบนี้ ..โอลั่ลล้า ขอพาท่านผู้อ่านหลบลี้ หนี ค วามร้ อ นของอากาศในเมื อ ง ไปหา ที่พักผ่อนต่างอ�ำเภอพร้อมกับชิมอาหาร จานอร่อยเพื่อสุขภาพกันดีกว่าค่ะ.. เดิน ทางผ่านเส้นทางสายหลัก ขับรถตรงไป ยังอ�ำเภอช้างกลาง ผ่านเขาผ่านสวนและ ต้นไม้ใหญ่สองข้างทาง ท�ำให้ลดความร้อน ภายในกายไปได้พอสมควรเลยทีเดียว .. ร้านอาหาร “เรื อ นผั ก กู ด ” ร้านอาหาร ขนาดพอดีๆ ตั้งอยู่ริมทาง มองเห็นเด่น
ชัด กับบรรยากาศภายในร้านที่ร่มรื่น .. ท่ามกลางต้นไม้น้อยใหญ่ และไม้ดอกสี สดสวย ที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดี จากเจ้าของ ห้องพัก บ้านพักแต่ละหลัง อยู ่ ติ ด ริ ม ธาร เพิ่ ม ความฉ�่ ำ เย็ น ให้ กั บ ผู ้ มาเยื อ น แม้ แ ต่ โ บกี้ ร ถไฟที่ ถู ก น� ำ มาวาง ตกแต่ ง อย่ า งลงตั ว ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบ และหลงใหลรถไฟ อากาศที่นี่เย็นสบาย ท่ามกลางขุนเขาและสายน�้ำ โดยไม่ต้อง พึ่งพาแอร์ แต่ทางร้านก็มีห้องแอร์ส�ำหรับ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการความสะดวกสบายให้ เ ป็ น อีกหนึ่งทางเลือก และที่เด็ดสุดของที่นี่ก็ คือ เข้ามาแล้ว .. มีแต่เรื่องดีๆ ส�ำหรับ ผู ้ ที่ รั ก สุ ข ภาพ เริ่ ม ตั้ ง แต่ น�้ ำ สมุ น ไพร ที่ มี ใ ห้ เ ลื อ กดื่ ม หลากหลาย อาทิ น�้ ำ ใบ บัวบก, น�้ำดาหลา, น�้ำอัญชัน, น�้ำตะไคร้ ติ ด ตามมาด้ ว ยเมนู อ าหารขึ้ น ชื่ อ ..เริ่ ม ด้วยอาหารเรียกน�้ ำย่อยแบบส่งเสริมสุข ภาพ “ชุ ด ดอกไม้ ท อด ลิ้ ม รสใบบั ว บก,
กลีบดอกเฟื่องฟ้าทอดกรอบ, ดอกอัญชัน ทอดกรอบ และผักอีกนานาชนิด ตามมา ติดๆ กับเมนูกับแกล้มเพื่อสุขภาพ ย�ำผัก กูด หรือ บัวบกหน้าหมู, แหนมปลีกล้วย, ปลาทอดสมุนไพร หรือหากมาท่านเดียวก็ คงต้องลองชิมจานนี้อาหารจานเดียวแสน อร่อย “หมี่บ้านนา” ส่วนอาหารที่ทาน พร้ อ มข้ า วยิ่ ง ไม่ ต ้ อ งพู ด ถึ ง เลยค่ ะ ไม่ ว ่ า จะเป็น เห็ดแครงคั่วกลิ้ง, ปลากะพงทอด สมุนไพร, แกงเลียงผักพื้นบ้าน, น�้ำพริก ดาหลา, ไข่เจียวหัวปลี ที่หอมกรุ่นกรอบ นอกในนุ่มอร่อยจริงๆ ฯลฯ แค่กล่าวถึง ต่อมน�้ำลายก็ท�ำงานแล้วค่ะ .. นอกจากจะ ได้สุขภาพที่ดีกับอาหารจานอร่อยที่หลาก หลายแล้ว ยังสามารถหาความรู้ในเรื่อง ของการก�ำจัดขยะแบบไร้กลิ่น และน�ำมา เป็นปุ๋ยอย่างดีให้กับพืชผักที่เจ้าของบ้าน ได้ปลูกไว้อีกด้วยค่ะ .. การเดินตามรอย ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของร้ า นเรื อ น
ขอขอบคุณร้านเรือนผักกูด สิ ท ธิ พิ เ ศษส� ำ หรั บ ผู ้ อ ่ า น นสพ. รักบ้านเกิด และแฟนคอลัมน์ โอลั่ลล้า รับทันทีส่วนลด ๑๐ % ร้านเรือนผักกูด เลขที่ ๒๓/๑ ม.๑๔ ต.ช้ า งกลาง อ.ช้ า งกลาง จ.นครศรี - ธรรม ราช ๘๐๒๕๐ ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณกิตติ เจริ ญ พานิ ช และ คุ ณ ไวยฐารั ฐ เจริ ญ พา นิช ... โทรศัพท์ : ๐๘๑-๑๒๔-๓๒๑๔ โทรสาร : ๐๗๕-๔๘๖-๙๑๘ Email : pakgood_resort@hotmail.com
ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
นพ.บัญชา พงษ์พานิช
นครดอนพระ
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๙
<< ต่อจากหน้า ๒
เพลองบอกภาคใต้ ผู้ประกาศสงกรานต์
พญาโคทักษิณชื่อ “เพชรเมืองพรหม”
รายที่ ๕ นี้ ม าจากบ้ า นเกาะ เขาขุ น พนม พรหมคีรี นายชรินทร์ ชูโชติ บอกว่า ซึมซับวิถีวัวชนมาตั้งแต่เด็ก โดยเฉพาะเจ้า “เพชรเมืองพรม” สุดยอดวัวชนในบ้านเกิด โดยน้องคนนี้บอกว่า จบแล้วจะกลับบ้านไป รังสรรค์งานต่อที่เมืองนคร เช่นเดียวกับคน อื่นๆ ที่บอกว่า งานทั้งหมดอยากเอาไปถวาย ติ ด ตั้ ง แสดงหรื อ ท� ำ ที่ บ ้ า นเกิ ด เมื อ งนคร
ทั้งนั้นซึ่งไม่ทราบว่าเมื่อไรจึงจะได้เวลา ผม จึงขอน�ำมาชวนชื่นชมและชมในที่นี้พลางๆ ก่อน พร้อมกับขอน�ำผลงานบางชิ้นจากคน นครอื่ น ๆ รวมทั้ งคนกรุงเทพมหานครและ คนใต้อื่นๆ ด้วย
๓ ภาพสะท้อนชีวิตของชาวกรุง
แม่ - ลูก แนวท่านอังคารคนนคร
๒ พระศรีอาริยเมตไตรย ผลงานของคนพังงา
สิงห์สัญชาติญาณ ... จัดการลูกเพื่อเอาแม่ ผลงานคนนครสวรรค์
ว่าด้วยความไคร่ ของคนนครปฐม หมากรุก (ไล่) เมืองไทยทุกวันนี้ กับกองทัพธรรม แบ่งพระธาตุ ที่กุสินารา ของคนตรัง
บัญชา พงษ์พานิช มหาสงกรานต์ ๑๓ เมษายน ๒๕๕๗
หน้า ๒๐
เ
นครศรีธรรมราช
มื่ อ วั น ที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๗ โรงแรมทวิ น โลตั ส นครศรี ธ รรมราช และ บ.ดอกบั ว คู ่ ส� ำ นึ ก แผ่ น ดิ น เกิด จัดโครงการมอบเงินผู้สูงอายุประจ�ำปี ๒๕๕๗ โดย
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
ดร.สุ นั น ทา ลี เ ลิ ศ พั น ธ์ ประธานกรรมการโรงแรม ทวิ น โลตั ส เป็ น ผู ้ ม อบ ทั้ ง นี้ เพื่อสานต่อเจตนารมณ์ของ อดีตประธานกรรมการ ดร. บุญกิจ ลีเลิศพันธ์ ที่จัดกิจกรรมต่อเนื่องมาร่วม ๒๐ ปี ปี ๒๕๕๗ มีผู้สูงอายุที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป และมีที่ อยู่ตามบัตรประจ�ำตัวประชาชนในพื้นที่อ�ำเภอปากพนัง มาร่วมประมาณ ๕,๐๐๐ คน นอกจากเงินสดรวม ๒ ล้าน บาท ผู้สูงอายุยังได้รับผลิตภัณฑ์ดอกบัวคู่อีกด้วย โรงแรม ทวินโลตัสถือเป็นการคืนก�ำไรสู่สังคมและเป็นขวัญก�ำลัง ใจผู้สูงอายุ เพราะโรงแรมทวินโลตัสเปรียบเสมือนโรงแรม ของชาวนครศรีธรรมราช