รักบ้านเกิดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 30 มีนาคม 2557

Page 1

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม ๒๕๕๗

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

ดร.กณพ (ดร.โจ) กับพ่อสมนึก เกตุชาติ ยิ้มร่า เปิดโรง ไฟฟ้าชีวภาพก�ำลังผลิต ๑ เมกฯ เป็นโรงไฟฟ้าชีวภาพโรงแรกของ เมืองนคร เซ็นขายไฟฟ้าให้ กฟภ. เผยเตรียมขึ้นโครงการ ๒ ช่วย ชาวบ้านในพื้นที่ให้มีรายได้เพิ่ม เพื่อนพ้อง หัวคะแนน แห่ยินดี ล้นหลาม ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ

สมนึก เกตุชาติ

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ดร.กณพ เกตุชาติ

เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๗ นายสมนึ ก เกตุ ช าติ อดี ต นายกเทศมนตรี น ครนครศรี ธ รรมราช ประธานกรรมการ บริ ษั ท เกษตรลุ ่ ม น�้ ำ จ� ำ กั ด กั บ นายกณพ เกตุ ช าติ (ดร.โจ) กรรมการผู ้ จั ด การ ประกอบพิ ธี จ.นครศรีธรรมราช มีนักธุรกิจในเมืองนคร ข้าราชการ นักการ เดิ น เครื่ อ งเปิ ด โรงไฟฟ้ า ก๊ า ซชี ว ภาพก� ำ ลั ง ผลิ ต ๑ เมกะวั ต ต์ เมืองท้องถิ่น และประชาชนจากชุมชนต่างๆ รอบเขตเทศบาล >> อ่านต่อหน้า ๘ ณ ส� ำ นั ก งาน เลขที่ ๑๙๓ หมู ่ ๓ ต.ช้ า งซ้ า ย อ.พระพรหม ร่วมแสดงความยินดีประมาณ ๙๐๐ คน

˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓

รายงาน

รายงาน

˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

สสจ.นครฯ ชวนผู ้ ผ ลิ ต อาหารไทยก้าวสู่สากล เตรียม พร้อมแข่งขันก่อนเปิดประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘

เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เว็บไซต์ของส�ำนักงาน สาธารณสุ ข จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช (สสจ.) เผยแพร่ ข ่ า ว ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการผลิตอาหารแปรรูปบรรจุที่ใน ภาชนะพร้อมจ�ำหน่าย ต้องมีกระบวนการผลิตเป็นไปตามหลัก เกณฑ์สุขลักษณะเบื้องต้น (Primary GMP) >> อ่านต่อหน้า ๙

ศิลปินอาสา ๗ คน จาก ว.ช่ า งศิ ล ป์ นครฯ ซ่ อ มแซม เก๋งจีนวัดประดู่ จน ลวดลายเก่าแก่บน ไม้จ�ำหลักสวยงาม จับตา

เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ นายชูเกียรติ สุทิน รอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยช่างศิลป์นครศรีธรรมราช เปิดเผย ตามที่ส�ำนักกรมศิลปากร ที่ ๑๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช >> อ่านต่อหน้า ๙ มอบหมายให้วิทยาลัยฯ จัดการซ่อมแซม


หน้า ๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

-

หาเสียงจนได้ ๓) มีการคุยกันมากว่าไม่รู้จะเลือกใครดี ท�ำท่าว่าจะ เลื อ กเอาอย่ า งการเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปครั้ ง ที่ ผ ่ า นมา ที่ มี ทั้ ง ไม่ ไปเลือก ไปบอกว่าไม่เลือก แถมได้ข่าวว่ามีบางความคิด ของใครไม่รู้ บอกว่า ShutDown กันก่อนดีกว่า เมืองนคร บ้านเรา ถึ ง วั น นี้ ผ ลการเลื อ กตั้ ง ออกมาเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว

นั

บแต่กลางปี ๒๕๕๖ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ส่งน�้ำสกปรกทางท่อในนาม ‘น�้ำประปา’ ไปให้ผู้ บริโภคใช้อาบ ล้างภาชนะ และช�ำระร่างกายวันละ ๑ หรือ ๒ วันครั้งติดต่อกัน ล่วงเข้าปี ๒๕๕๗ น�้ำประปายัง ปนเปื้อนดินคราบโคลนไม่แล้วเสร็จ น�้ำปนเปื้อนคราบ ดินโคลนต้องเททิ้งสถานเดียว ใช้ซักเสื้อผ้าก็ไม่ได้ สิ้น เปลืองเงินทองบ้านละ ๓-๕ บาทต่อเดือน ถ้าหมื่นครัว เรือนนับเป็นเงินก็ไม่น้อยเลย น�้ ำ ปนเปื ้ อ นโคลนเททิ้ ง เปล่ า ๆ ยิ่ ง น่ า เสี ย ดาย เพราะเป็ น ต้ น ทุ น น�้ ำ ดิ บ ที่ ค วรผ่ า นกระบวนการท� ำ ให้ สะอาดและใช้ประโยชน์ได้ น�้ำดิบที่บ้านเรือนต่างๆ เท ทิ้งไปย่อมไม่ใช่น้อยเหมือนกัน เดือนเมษายนปี ๒๕๕๗ เค้าลางว่าจะขาดแคลนน�้ำชัดเจนขึ้น ปี ๒๕๕๖ ขณะร้อน แล้งฝนฟ้าตกได้น�้ำฝนน�้ำท่ามาช่วยเสียก่อน เทศบาล นครนครศรีธรรมราชเลยโชคดี น�้ ำ ประปาบริ โ ภคภายในเขตเทศบาลเป็ น หน้ า ที่ ของเทศบาลต้ อ งจั ด หามาสนองความต้ อ งการตาม หน้าที่ที่แถลงต่อประชาชน หาแหล่งน�้ำดิบให้เพียงพอ หากแหล่ ง น�้ ำ ดิ บ ไม่ เ พี ย งพอก็ ค วรสร้ า งที่ เ ก็ บ น�้ ำ ดิ บ เพิ่มขึ้น นโยบายเกี่ยวกับน�้ำประปาควรชัดเจน อย่ายก ความบกพร่องหรือมีปัญหาสืบเนื่องมาจากเทศบาลคณะ ก่อน อย่าหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบและกล้ายอมรับ ความจริง อย่ากล่าวว่าเทศบาลนครนครฯ ต้องแบ่งน�้ำ ประปาให้เทศบาลอื่นๆ หรือองค์การบริหารส่วนต�ำบล ใกล้เคียงเพราะไม่ได้ให้เปล่า อย่าท�ำให้ชาวบ้านในเขต เทศบาลนครนครฯ รู้สึกว่าตนถูกแย่งน�้ำ ปัญหาน�้ำกินน�้ำใช้ช่วงหน้าแล้งนับเป็นเรื่องใหญ่ เพราะธรรมชาติไม่ได้เอื้ออ�ำนวยเหมือนสมัยก่อน ถ้าถูก ประชาชนร้องเรียนหรือต�ำหนิผู้บริหารเทศบาลควรรับ ฟัง การบริหารจัดการน�้ำให้ครัวเรือนต่างๆ มีน�้ำใช้สะดวก บางครั้งผู้บริหารต้องตัดสินใจ ว่าจะจ่ายน�้ำให้ครัวเรือน หรือจะจ่ายให้ห้างสรรพสินค้า ช่วงหน้าแล้งนี้ประชาชน จะสังเกตเป็นพิเศษว่าเทศบาลนครนครฯ จะขนน�้ำดิบมา ป้อนโรงผลิตน�้ำหรือป้อนห้างสรรพสินค้าใหญ่ ขออย่าได้ ยกเรื่องแรงดันมาอ้างว่าเหตุที่น�้ำเดินทางไปยังบางครัว เรือนอย่างกระปริบกระปรอยเพราะไม่กล้าเปิดน�้ำเพราะ แรงดันท�ำให้ท่อแตก

ณะเขียนบทความนี้ (เช้าวันที่ ๒๓ กพ.) ผมเพิ่งไปลง คะแนนเลือกตั้งนายก อบจ.ที่วัดศรีทวีข้างบ้าน แล้ว แวะไปกินขนมจีนพี่นีสะพานยาวก่อนจะบินกลับไปรับท่าน อาจารย์ชยสาโรภิกขุที่มางาน “ตื่นรู้ : ส่องใน สว่างนอก” ครั้งที่ ๓ ของมูลนิธิปัญญาประทีปที่สวนโมกข์กรุงเทพ ผมเพิ่งลงมาจากกรุงเทพเมื่อเย็นวันเสาร์ (๒๒ กพ.) เพราะเมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ ๒๑ กพ.ไปประชุ ม เตรี ย ม “งานวั ด ลอยฟ้ า ๒ ญาณสั ง วร ๑๐๑ จิ ต ตนคร The Hidden Capital” ที่ศูนย์การค้าสยามพารากอนแล้วลงไปเดินที่เวที กปปส.ปทุมวัน พบแผงขายเหรียญ “พระเจ้าตากสินกู้ชาติ” จากวัดเขาขุนพนม เขาถามว่าจะลงไปเลือกตั้งนายก อบจ. ไหม ? โดยบนเครื่องพบนักธุรกิจใหญ่กลับมาจากเชียงใหม่ ถามได้ความว่า “ลืม” เหมือนกับผม ผมได้แวะกินข้าวและคุยกับคนหลายวงก่อนนอนและ หลังตื่นเช้า ทั้งแวดวงธุรกิจ ประชาสังคม วงน�้ำชากาแฟ ตลอดจนครูบาอาจารย์ในวัด รับทราบว่าการเลือกคณะผู้ บริหารจังหวัดรอบนี้ มีอะไรหลายอย่างที่น่าสนใจ ๑) เดิมที่มีข่าวการเตรียมลงสมัครประมาณ ๕ กลุ่ม นั้น พอถึงเวลาจริงๆ หายไป ๒ ราย รายหนึ่งหายไปเลย อีกรายหนึ่งปรากฎป้ายและการรณรงค์ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง อย่างการเลือกตั้งทั่วไปทั่วทั้งประเทศ ๒) ผู้สมัครทั้ง ๓ รายนั้น มีการหาเสียงกันหนัก ๒ รายแรก ซึ่งต่างก็เป็นน้องชายของอดีต สส. พรรคประชาธิปัตย์ มีการกล่าวร้ายอย่างแรงเหลือเชื่อ รายที่ ๓ นั้น ข่าวว่าประกาศไม่หาเสียงไม่ติดป้าย แล้วในที่สุดก็ติดป้าย

และ เมืองนครก็คงจะด�ำเนินการพัฒนากันต่อไปตามพิสัย ส�ำหรับผม หลังหยอดบัตรลงตู้ ได้ยินพระลงโบสถ์ ท� ำ วั ต รเช้ า จึ ง เข้ า ไปนั่ ง สมาธิ จ นจบบทปั จ จเวกขณ์ แ ละ แผ่ เ มตตาแล้ ว จึ ง ได้ เ ข้ า ไปกราบท่ า นเจ้ า คุ ณ พุ ท ธฯ เพื่ อ หารื อ ต่ อ ในเรื่ อ งที่ เ พิ่ ง กราบหารื อ ท่ า นพระครู สิ ริ ฯ ที่ วั ด พระธาตุมาเมื่อคืนก่อน ทั้ง ๒ ท่านบอกว่าเวลานี้งานหนักและ มากเหลือเกิน คนก็เข้าร่วมและต้องการกันมาก แต่คนช่วย โดยเฉพาะพระที่ พ ร้ อ มพอจะสอนกลั บ มี น ้ อ ยนั ก ชวนให้ นึกถึงแนวคิดการพัฒนาเมืองนครที่ก�ำลังใคร่ครวญถึงความ เป็นไปได้ และ จะมีใครเอาด้วยไหม ? นครเมื อ งธรรม คื อ กรอบความคิ ด ที่ ผ มคิ ด ว่ า ยิ่ ง ใหญ่ แ ละกว้ า งกว่ า กรอบความคิ ด เดิ ม ที่ เ คยแปลกั น ไว้ ว่า นครศรีธรรมราช คือ นครอันงามสง่าแห่งพระราชาผู้ ทรงธรรม เพราะอันที่จริง น่าจะกว้างถึงขนาด เมืองธรรม ที่ทั้งผู้คนและคนปกครองต่างก็มีธรรมเป็นหลักน�ำ ซึ่งเป็น กรอบความคิ ด เดี ย วกั น กั บ ที่ ก� ำ ลั ง ขบคิ ด กั น อยู ่ ที่ ก รุ ง เทพ ว่าจะปฏิรูปประเทศกันแนวไหนได้ ? อ�ำนาจนิยม ทุนนิยม วัตถุบริโภคนิยม สังคมนิยม หรือ ประชานิยม ? แล้วก็ออก มาเป็ น กรอบความคิ ด เบื้ อ งต้ น ว่ า น่ า จะลองเสนอแนวคิ ด “ธรรมนิยม” ที่มิใช่พวกคลั่งศาสนา และคับแคบแบบศาสนา ใดศาสนาหนึ่ง เพราะศาสนาแทบทั้งนั้นก็เลือกใช้ ธรรมเป็น ค�ำกลางกันแล้ว ทั้งพุทธธรรม คริสตธรรม อิสลามิกธรรม แถมทางโลกๆ ก็ใช้กันจนไม่ได้คิดว่าเป็นเรื่องศาสนากันมา นานแล้ว เช่น ยุติธรรม ความเป็นธรรม กระทั่งค�ำ ธรรมาภิบาล ที่เพิ่งเกิดใหม่ไม่นานมานี้ >> อ่านต่อหน้า ๙


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ดร.อุทัย ดุลยเกษม

กันลดการใช้พลังงาน โดยใช้รถประจ�ำทาง บ้าง ถ้าเราใช้พลังงานเยอะ เงินทองที่จะน�ำ ไปพัฒนาประเทศจะถูกแย่งชิงมาซื้อความ สะดวก น�้ำมัน ไฟฟ้า คนที่อาทรต่อสังคม ต้องคิดอย่างจริงจัง” ๕. การฉ้อราษฎร์บังหลวง “โกงกัน ทุกระดับ ผมอยู่ในแวดวงการศึกษาระดับ สูง ในมหาวิทยาลัยการโกงเกิดเยอะมาก นัก วิชาการหันมาเกี่ยวข้องกับการโกง ทุกวันนี้ เรื่องการโกงกลายเป็นเรื่องที่สังคมยอมรับ เอาความคุ้นเคยเป็นความถูกต้อง อ้างว่าคน โน้นก็ท�ำ คนนี้ก็ท�ำ” ดร.อุทัยยกตัวอย่างการเดินทางเป็น คณะไปต่างประเทศเพื่อเซ็นสัญญา ทั้งๆ ที่ สามารถเซ็ น เอกสารส่ ง ทางไปรษณี ย ์ ก็ ไ ด้ “เราต้องเอาความถูกต้อง เอาผลประโยชน์ ส่วนรวมมาคิดถึงจะแก้ได้ ระดับสูงขึ้นๆ ไป มีช่องทางฉ้อเยอะแยะ เลี่ยงโน่นนี่จัดงาน ช่วยกันไปช่วยกันมา—มันแก้ยาก และมีข้อ

ศ.ดร.นิตย์ศรี แสงเดือน อธิการบดี

ดร.อุทัย ดุลยเกษม - ดร.สรรค์นันธ์ ตันติอุโฆษกุล อัครวงศ์ รองอธิการบดี

๑๐๐ คน ๕๔ คนพ่อแม่เป็นวัยรุ่น การมีเพศ สัมพันธ์ในวัยรุ่นห้ามยากแล้ว กลายเป็นการ บริโภคอย่างหนึ่ง ในสถาบันอุดมศึกษาการ ห้ามปรามต้องท�ำต่อไป แต่การมีเพศสัมพันธ์ ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ควรให้เกิดความปลอดภัย เพราะจะลดการแพร่กระจายของโรค” ขณะนี้ผู้ติดเชื้อเอดส์ในประเทศไทยสูง เป็นอันดับ ๑๗ ของโลก ๓. ลัทธิบริโภคนิยม ยุคที่คนแข่งขันกัน สะสม “มือถือหกเดือนเปลี่ยนครั้ง ฟุ่มเฟือย กินอาหารแพง การแข่งกันมีรถ เสื้อผ้า กลาย เป็นปกติ มันเป็นเรื่องยุคสมัย ต้องท�ำความ เข้าใจ ในแง่ของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมมุ่ง ก�ำไรสูงสุด เขาโฆษณาให้อยากให้ซื้ออยู่เรื่อย ความสุขมาจากการกินมาก บริโภคมาก ใช้ จ่ายมากจะเป็นหนี้” ดร.อุทัยแนะน�ำว่า บุคคลทั่วไปควรซื้อ ของที่คุณประโยชน์ใช้จริง ไม่ใช่ซื้อตามแฟชั่น ๔. ปัญหาด้านพลังงาน “ปัญหาด้าน พลังงานเป็นปัญหาใหญ่ กระแสไฟฟ้าที่เรา ใช้ผลิตในประเทศไม่พอ เราซื้อจากมาเลเซีย จากลาว เราใช้อย่างไม่บันยะบันยัง แอร์ฯ เปิดตลอด จะสร้างเขื่อนก็บ่น สร้างโรงงาน ไฟฟ้าถ่านหินก็บ่น นิวเคลียร์ก็บ่น แม้พยายามหาพลั ง งานทางเลื อ ก เราจ่ า ยเงิ น ซื้ อ พลังงานมหาศาล ท�ำอย่างไรเราถึงจะช่วย

อ้างมากมาย กูไม่โกงมันมาให้กูเอง เอามา ให้หลังบ้าน นี่เป็นต้นตอความหายนะของ ประเทศ” ๖. ปั ญ หาด้ า นจริ ย ธรรม “คนไม่ รู ้ อะไรผิดถูกดีชั่วเพิ่มมากขึ้นๆ จริยธรรมแปล ว่ า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ มนุ ษ ย์ มนุษย์กับธรรมชาติ ถ้าปกติคือไม่เอาเปรียบ กัน ก็ถือว่ายังมีจริยธรรม ไม่โยนของเสียลง แม่น�้ำ ไม่ท�ำลายอากาศ แปลว่ายังมีจริยธรรม ปัจจุบันคุณค่าบางอย่างผิดไปจากแต่ ก่อน ความสัมพันธ์ทางเพศกลายเป็นปกติ จนเด็ ก แยกแยะไม่ ถู ก ปั ญ หาที่ ต ามมาคื อ การท�ำแท้ง” ๗. ปัญหาความขัดแย้งในสังคม ซึ่ง ขยายตัวมากยิ่งขึ้น ทั้งเกิดจากการแย่งชิง ทรั พ ยากรธรรมชาติ และการไม่ ย อมรั บ ความหลากหลาย “เราต้องยอมรับว่าความ หลากหลายมีอยู่จริง ถ้ายอมรับความหลาก หลายทางความคิด ความขัดแย้งจะลด การ แย่งชิงจะลดลง” ถ้าสถาบันอุดมศึกษามีความอาทรต่อ สังคม ก็สามารถน�ำวิชาความรู้ไปแสวงหา ความร่วมมือกับองค์กรท้องถิ่น ไม่ว่า อบต. เทศบาล หรือ อบจ. เพื่อหาทางแก้ปัญหาใน ระดับท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นการเริ่มต้นที่ดี อย่าง ที่ผมกล่าวไว้ตอนต้น

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

ถานการณ์ บ ้ า นเมื อ งที่ ไ ม่ เ อื้ อ ให้ เ กิ ด ความสุข ณ เวลานี้ ไม่สามารถท�ำนาย ได้ว่าจะยุติลงเมื่อไร และจะสร้างความเสีย หายต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรมและ คุณภาพชีวิตมากมายอย่างไร วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอสซีที) อ.ทุ่งสง จ.นครฯ จัดงานวันวิชาการ ระหว่าง วันที่ ๑๒ - ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เชิญ ดร.อุทัย ดุลยเกษม อดีตอธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ปั จ จุ บั น เป็ น นายกสภา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ มาปาฐกถาเรื่อง ‘บทบาทของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษากั บ ความ อาทรต่อสังคม’ ผมไปร่วมฟังจนจบ เป็น ปาฐกถาที่มีคุณค่า จึงน�ำใจความส�ำคัญมา ถ่ายทอด เป็นแนวทางสร้างความร่วมมือ ระหว่างองค์กรทางสังคม หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับสถาบันอุดมศึกษา ซึ่ง ในบ้านเรามีอยู่หลายสถาบัน ประชาชนส่ ว นมากรั บ รู ้ ว ่ า สถาบั น อุดมศึกษามีหน้าที่ผลิตบัณฑิตออกสู่สังคม แต่ ลื ม หน้ า ที่ อี ก ๓ ประการของสถาบั น อุดมศึกษา ได้แก่ การวิจัยสร้างองค์ความ รู้ใหม่ๆ, บริการความรู้แก่ชุมชนตามวาระ และ การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ฒ นธรรม ทั้ ง กระท� ำ ร่ ว มกั บ สั ง คม (แห่ เ ที ย น แห่ ห มฺ รั บ เวี ย น เทียน) และในสถาบันซึ่งไม่เกี่ยวกับเนื้อหา ในหลักสูตร (เช่น จัดห้องละหมาดส�ำหรับ นักศึกษามุสลิม เป็นต้น) สถาบันอุดมศึกษาเป็นความคาดหวัง ของสั ง คม เพราะเป็ น แหล่ ง รวมผู ้ รู ้ ทุ ก ๆ สาขา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เมื่อเกิด ภาวะไม่ ป กติ ขึ้ น ในบ้ า นเมื อ ง สั ง คมจะตั้ ง ค�ำถามกับสถาบันอุดมศึกษาให้ช่วยท�ำวิจัย เพื่อเป็นแนวทางออกจากวิกฤต ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม ปั ญ หาประมง ชายฝั่งถูกรังแก หรือ ความจ�ำเป็นในการก่อ สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน อาจารย์มหาวิทยาลัย ท�ำวิจัยหรือยัง การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ให้เกิดประโยชน์ท�ำวิจัยและให้บริการทาง วิ ช าการแก่ สั ง คมหรื อ ยั ง มี ข ้ อ เสนอแนะ อะไรบ้าง มหาวิทยาลัยมีความอาทร (social concern) ต่อบ้านเมืองอย่างไร ท่ามกลาง ความเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และสลั บ ซับซ้อน ดร.อุทัย กล่าวถึงสภาพบ้านเมือง “เรา ก�ำลังเผชิญกับเรื่องที่น่าวิตก ถ้าเหตุการณ์ ยืดเยื้อไปอีก ๔ - ๕ เดือนข้างหน้า เศรษฐกิจ ของเราคงอาการหนัก การลงทุนก็ยุ่ง คนที่

สั่งซื้อของล่วงหน้าก็คงกังวล ต่อไปภายหน้า จะมีปัญหามาก มหาวิทยาลัยควรน�ำความรู้ ใหม่ๆ จากการวิจัยมาใช้ แต่มหาวิทยาลัยท�ำ วิจัยน้อยมาก คุณภาพก็แย่ ขณะนี้สังคมไทย ก�ำลังเผชิญปัญหาร้ายแรง และต้องแก้อย่าง รี บ ด่ ว น ซึ่ ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาต้ อ งเข้ า มามี บทบาท ถ้ายังมีความอาทรต่อสังคม” องค์ปาฐกกล่าวถึงปัญหาที่ก�ำลังเข้า สู่ภาวะวิกฤตของประเทศไทย ๗ ประการที่ ควรเร่งแก้ไข ดังนี้ ๑. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและระบบ นิ เ วศ ทั้ ง ในระดั บ ชุ ม ชนและระดั บ ชาติ ปั ญ หาน�้ ำ อากาศ ฝุ ่ น ละออง การท� ำ ลาย ต้นน�้ำ ป่าชายเลน ป่าพรุ ป่าชายเลน ท�ำลาย ปะการัง ภัยแล้ง และปัญหาขยะเป็นปัญหา ใหญ่ที่สุด ซึ่งจังหวัดมีปัญหาหมดแล้ว การแก้ ปัญหาโดยการถมกลบ ท�ำให้น�้ำใต้ดินเน่าเสีย เป็นแหล่งแมลงวันเต็ม ขยะก็ไม่มีการแยก จึ ง มี พิ ษ ขยะติ ด เชื้ อ จากโรงพยาบาล การ เผาค่าเผาสูงมาก ทั้งสร้างมลภาวะ การเผา ขยะไม่ใช่ทางออก สังคมควรลดปริมาณขยะ โดยเริ่มภายในองค์กร ลดขยะที่ตัวเองสร้าง ขึ้น เช่น บริโภคอาหารที่ห่อด้วยใบตอง ลด อาหารห่อพลาสติกเพราะพลาสติกย่อยสลาย ยาก เป็นต้น ๒. ความสัมพันธ์ทางเพศในกลุม่ วัยรุน่ ดร.อุทัย ท�ำงานร่วมกับกองทุนโลก (Global Fund) จึงมีโอกาสลงพื้นที่พบว่าชุมชนมุสลิม ในอ�ำเภอละงูมีผู้ติดเชื้อเอดส์สูงมาก “ปัญหา เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ที่น่าเป็นห่วงในชุมชนที่ เคร่งครัดศาสนา ติดเชื้อ HIV สูงมาก ชุมชน ไม่ยอมรับ ไม่กล้าหาหมอ ไม่ไปรับยา ไม่เปิด เผยตัวว่ามีปัญหา ท�ำให้การแพร่กระจายสู่ เมีย น่าเสียดายทรัพยากรบุคคล” ดร.อุ ทั ย เปิ ด เผยสถิ ต การหย่ า ร้ า งใน สังคมไทยว่า มีอัตราการหย่าร้างสูงถึง ๕๐ เปอร์เซ็นต์ “คนจนก็หย่า คนรวยก็หย่า การ ศึกษาสูงก็หย่า อ�ำมาตย์ไพร่ก็หย่า ครอบครัว ที่มีพ่อหรือแม่เลี้ยงลูกคนเดียวมีเยอะขึ้น เด็ก เกิดใหม่ลดลงเหลือปีละเจ็ดแสน เด็กเกิดใหม่

หน้า ๓


หน้า ๔

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์ รักบ้านเกิด ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือน มีนาคม ๒๕๕๗ กลางฤดูร้อนแล้งแห้งโหย หากเหตุกาณ์ บ้านเมืองยังไม่สงบสุข โปรดช่วยกันภาวนาอธิษฐานจิตขอ กลับคืนสู่ความร่มเย็นโดยเร็ว เศรษฐกิจที่ชะงักกลับมาฟื้นตัว ชาวประชาหน้าหมองหันยิ้มให้กันอีกครา ประเพณี มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุจังหวัดนครฯ จัดยิ่งใหญ่อลังการทุกๆ ปี ประชาชนนับแสนเดินทางมาแห่ผ้าขึ้นบูชาองค์พระบรมธาตุ เจดีย์ ปี ๒๕๕๗ ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็น ประธานเปิดงาน ‘วันมาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุ’ และให้เกียรติ เข้ า พั ก และรั บ ประทานอาหารที่ โ รงแรมทวิ น โลตั ส ปิ ย นุ ช เงินทอง ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ให้การต้อนรับ

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

วกเขาจับปลาด้วยการวาง “กัด” (ข่าย) ดักปลา สักครึ่งวันจึงไปกู้ ปลาที่ได้มาล้วนแต่ “แม่หมอ” ทั้งนั้น แล้วยังมีปลาช่อน, ปลาหมอช้างเหยียบ, ปลาหาง แดง, ปลาชะโอน (เนื้ออ่อน) อีก ปลาดุกก็มีแม้จะน้อย ตัวกว่า ยุคนั้นมีแต่ปลาไทยแท้ๆ ยังไม่มีปลานิล ปลา บางชนิด เช่น ปลาสลาดมักมาติดเป็นคู่ๆ ลูกเป็ดไข่ที่ฟักโดยแม่เป็ดวา (เป็ดวา = เป็ดชวา, เป็ดเทศ) บนสุ่มรองฟางในพ่าห์ (พาไล) ข้างบ้าน ออก เป็นตัวเอาเมื่อหัวน�้ำใหม่พอดี ก่อนหน้านี้คุณแม่อุ้มบุญ ผู้เสียสละไปไหนมาไหนด้วยการบินโดยไม่ลงน�้ำเลย มัน กลั ว ขนจะอุ ้ ม เอาความชื้ น มาเป็ น อั น ตรายต่ อ ไข่ ที่ ฟ ั ก อยู่ บางวันมันฟักไข่ทั้งวันไม่ยอมลงมากินข้าว (เปลือก) เมื่อลูกเป็ดแข็งแรงดีเราก็ปล่อยทั้งแม่ทั้งลูกลงน�้ำให้มัน พากันไปหากินอย่างเสรี ใครจะนึกว่าตอนเย็นลูกเป็ด เหลืองๆ ตัวหนึ่งกลับบ้านเหลือขาข้างเดียว ขาอีกข้าง ขาดตรงข้อเข่า รอยกัดนั้นคมเหมือนตัดด้วยมีด เชื่อกัน ว่าโดนปลาไหลตุบ (ฮุบ) แต่มันก็อุตส่าห์รอดชีวิตมาได้ เติบโตและออกไข่เหมือนเป็ดกากีตัวอื่นๆ ใต้ถุนบ้านมี “แม่หมอโพร่” (โพร่ = พรุ) สีด�ำสนิท หลายตัว ไม่แน่ชัดว่ามันหลุดมาจากพรุแห่งไหน มันคง อาศัยอยู่ในน�้ำแช่ใบไม้เน่านานหลายปีถึงได้ตัวโตและ ด�ำเป็นถ่านแบบนั้น แม่หมอโพร่เคลื่อนไหวเชื่องช้าแต่ ดั น ไม่ กิ น เบ็ ด แม้ จ ะหย่ อ นเหยื่ อ ลงตรงหน้ า มั น ก็ ต าม ปล่อยให้ปลาซิวเอาเหยื่อไปกินเสีย เป็นไปได้ไหมว่าที่ เคลื่อนไหวเชื่องช้าอาจเป็นเพราะมันตาบอด ?? ตาม ผิวน�้ำมีปลาซิวฝูงใหญ่คอยแย่งเหยื่อก่อนจะถึงมือปลา หมอ และคนแถวนี้ก็ไม่กินปลาซิว เพื่อนผมร�ำคาญปลา ซิวมันจึงนอนคว�่ำ หน้าลงบนนอกชาน เอามีดบางฟัน ฉับๆ ลงไปกลางฝูง ตัวที่โดนมีดขาดสองท่อนพลิกพลิ้ว เกล็ดสีเงินกระจายพร่างก่อนจะร่วงลงพื้นโคลน ใต้ฝูง ปลาซิวมักมีงูหวา (งูน�้ำจืดไม่มีพิษ ตัวโตตรงกลางแล้ว ค่ อ ยเรี ย วไปทางหั ว และหาง) ตั ว โตเท่ า หั ว แม่ ตี น แต่ หัวเล็กเท่าปลายนิ้วก้อย ท�ำคอหยักๆ ยืดหัวขึ้นมาคอย

ฉกลูกปลากิน เราตกเบ็ดใต้ถุนบ้านอยู่หลายวันจนปลาตัวโตๆ ร่อยหรอเหลือแต่ตัวเล็กๆ และมันเริ่มฉลาดตกยากขึ้น จึงลงเรือย้ายไปตกในสวนแทน สวนมะพร้าวของบิดา เรานั่นแหละ หย่อนเบ็ดลงตามโคนมะพร้าว กอกล้วย โคนสังแก (สะแก) ดูเหมือนจะมีปลาไปทุกหนแห่ง แต่ อย่าได้ไปตกในท้องน�้ำลึกๆ เชียว..ไม่มีปลา หัวน�้ำใหม่ ปลาทุกชนิดแห่ขึ้นที่ดอน..แปลกไหม..พฤติกรรมการ แพร่พันธุ์ของปลากินพืชนั้น จะอาศัยน�้ำตื้นในท้องทุ่ง กว้างๆ เช่น ลุ่มน�้ำปากพนังเป็นที่วางไข่ ลูกปลาเติบโต อยู ่ ใ นท้ อ งทุ ่ ง ตลอดหน้ า น�้ ำ หมดหน้ า น�้ ำ ก็ ส ะเด็ ด ลง คู ค ลองและแม่ น�้ ำ รอคอยฤดู น�้ ำ ล้ น ตลิ่ ง ปี ต ่ อ ไปเป็ น วัฏจักรอยู่เช่นนี้ ใน พศ. ๒๕๕๖ นี้เองมีข่าวเรื่องปลาชะโดระบาด ตามแหล่งน�้ำนิ่งขนาดใหญ่ ปลาชะโดเป็นปลาล่าเหยื่อ ชั้ น บนสุ ด ของห่ ว งโซ่ อ าหาร ในเขื่ อ นนั้ น น�้ ำ ลึ ก ขนาด ท่วมมิดยอดเขา ไม่ได้ตื้นอย่างน�้ำพ่าห์ในท้องทุ่งนาจึง ไม่เหมาะแก่การแพร่ขยายพันธุ์ของปลากินพืช ลูกปลา ชะโดเกิ ด มาเท่ า ไหร่ ก็ ร อดหมดแทบไม่ มี ศั ต รู ต าม ธรรมชาติเลย และปลากินพืชก็เกิดไม่ทัน มันจึงแพร่ ระบาดจนเป็นปัญหา คือท�ำให้สมดุลของระบบนิเวศ เสี ย ไป ลองคิ ด ดู ว ่ า ถ้ า ในสั ง คมของเรามี แ ต่ โ จรเต็ ม เมื อ งไปหมด จะเป็ น ยั ง ไง เพื่ อ นบ้ า นกั น ก็ จ ้ อ งแต่ จ ะ เล่นงานเรา หันไปหารถแท็กซี่ก็เจอโจร เรียกต� ำรวจ ต�ำรวจก็เป็นโจร นักการเมืองและรัฐบาลก็โจรอีก..เฮ้อ.. ประชาชนคนดีจะอยู่ได้อย่างไร..! ! ! !..(โฮ) หน้าน�้ำพ่าห์ ในคลองใหญ่ (แม่น�้ำปากพนัง) เมื่อ เอาเรือเล็กพายออกไป มันดูกว้างขวางจนน่ากลัวว่าถ้า เรือล่มเราจะรอดไหม ? ใต้พื้นน�้ำมีสัตว์อสูรกายชนิดใด รอกินคนอยู่หรือไม่ ? >> อ่านต่อหน้า ๑๐

ความเปลี่ ย นแปลงเป็ น นิ รั น ดร์ ผลการเลื อ กตั้ ง นายก อบจ. นครฯ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ พิชัย บุณยเกียรติ ได้ ๑๙๒,๐๖๒ คะแนน กลายเป็นอดีตนายกฯ ไปทันที เมื่อประชาชนมอบความไว้วางใจให้ มาโนช เสนพงศ์ ให้ ท� ำ หน้ า ที่ แ ทนถึ ง ๒๖๒,๙๔๓๔ คะแนน อบจ. นครฯ งบประมาณราวปีละ ๑,๐๐๐ ล้านบาท หากใช้จ่ายตาม นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สาธารณสุขและ กีฬาให้ชนะใจประชาชน พิชัย บุณยเกียรติ ที่ยังหนุ่มแน่น ไม่น่าว่างงานเร็ว หากระจกหกด้านคุณภาพคมชัดมาส่องทุก มุม ค้นหาจุดแข็งจุดอ่อนแล้วสรุปบทเรียน สมัยหน้ากลับ มาทวงเก้าอี้คืนอีกครั้ง ลูกชายตระกูล ‘เสนพงศ์’

มาโนช เสนพงศ์ คว้าเก้าอี้ นายก อบจ.นครฯ เข้าสู่แวดวง การเมืองอย่างมีบทบาทส�ำคัญ ต่อจาก เทพไท เสนพงศ์ รอง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครฯ โอกาสคว้าเก้าอี้นายก อบจ.นครฯ ของ ‘หมอไก่’ นพ.อิสระ หัสดินทร์ เลือนลาง มาตั้งแต่ก่อนตัดสินใจสมัคร ถ้าจะเรียกว่าพ่ายแพ้ยับเยิน ก็คงไม่ได้ เพราะต้นทุนท�ำแผ่นป้าย โปสเตอร์ ใบปลิว และ บัตรเล็กเทียบ ‘พิชัย’ กับ ‘มาโนช’ ไม่ได้เลย ก่อนเลือกตั้ง


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

๒ วัน เซียนพนันเปิดราคาให้เล่นได้เสีย ๒๐,๐๐๐ คะแนน ขึ้ น -ลง หลั ง เปิ ด หี บ ตรวจนั บ ‘หมอไก่ ’ ได้ รั บ ความเมตตา จากประชาชนกว่า ๒๓,๓๓๘ คน สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ส.ส.หลายสมั ย ที่ ป ระกาศขยั บ ขยายตั ว จากสภาใหญ่ จ ะเป็ น ปรึกษา นายก อบจ. คนใหม่ที่มีบทบาทจริงหรือแขวนไว้ลอยๆ พี่น้อง อ.เมืองตอนเหนือ อ.พรหมคีรี และ อ.นพพิต�ำ รอดูผล งานที่น่าจะชัดเจนกว่าบทบาท ส.ส.

รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล

เมืองนครเป็นแหล่งผลิตพืชผักและผลไม้รายใหญ่ ถ้า บริหารจัดการดีเม็ดเงินจะเข้าถึงมือเกษตรกรจ�ำนวนมหาศาล ขณะนี้ จั ง หวั ด สนั บ สนุ น งบฯ ๔ ล้ า นบาท เป็ น ทุ น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาตลาดกลางผั ก และผลไม้ โดยเม็ ด เงิ น ก้ อ นแรก ๑,๗๐๐,๐๐๐ บาท รณรงค์ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ เช่น โปสเตอร์ นิทรรศการ และจัดท�ำกล่องบรรจุภัณฑ์ ระหว่าง กรกฎาคม - สิงหาคม ๒๕๕๗ น่าจะเห็นชิ้นงาน ปชส. บ้าง ความคืบหน้าสืบถามที่ รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ส่วนหอการค้าจังหวัดนครฯ สมัยประธานวาริน ชิณวงศ์ รับไป ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท ไว้จัดกิจกรรมเชื่อมโยงกับนัก ธุรกิจรุ่นใหม่ YEC ป า ลิ ก า จึ ง ไพศาล เจ้ า ของแบรนด์ BOONADA ประสบความ ส� ำ เร็ จ อย่ า งงดงาม เมื่ อ จิ ว เวลรี่ ชุ ด พระบรมธาตุเจดีย์ (ทองค�ำ) ๒-๓ แบบมี ผู ้ สั่ ง จองอย่ า งน่ า พอใจ ญาติ มิ ต รและ อดีตสหาย ร่วมฌาปนกิจ ส.แปลก หรือ ถาวร จุฬเ ศ ว ต อ ดี ต นั ก ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และการเมื อ ง ผู ้ อุ ทิ ศ ตั ว ให้ แ ก่ ก ารเปลี่ ย นแปลง สังคมเพื่อประชาชนอยู่ดี กินดี และได้รับความยุติธรรมตลอดชี วิ ต ณ เมรุ วั ด ไสยาสน์ บ้ า นล� ำ นาว อ.บางขั น จ.นครฯ เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ กุ ม ภาพั น ธ์ ที่ ผ่ า นมา ของที่ ร ะลึ ก งาน ถาวร จุฬเศวต ฌาปนกิจ ไพโรจน์ เพชรคง เจ้าของคอลัมน์ ‘ทันโลกธุรกิจ’ สนับสนุน

พระปลั ด เลี ย บ ฐิ ต ะเมโธ (๕๒ พรรษา) วั ด นาวง ม. ๕ ต.ท่าซัก อ.เมือง จ.นครฯ จ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่ในการบูรณะ วั ด จึ ง ตั ด สิ น ใจแตกกรุ ที่ พิ ม พ์ พระสมเด็จ พระนางตรา พระ พิมพ์นาคปรก และปรกโพธิ์ ที่ได้พระราชทานมวลสารจาก สมเด็จพระสังฆราชฯ บรรจุไว้เมื่อปี ๒๕๔๙ ได้พระเครื่อง สภาพดีประมาณ ๑,๒๐๐ องค์ ทางวัดเปิดให้ผู้สนใจเช่าบูชา เพื่อน�ำปัจจัยไปสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และ เรือพระ (บุษบก) ที่วัดนาวงไม่ได้เข้าประเพณีชักพระนาน นับสิบปี ขอเชิญติดต่อเช่าบูชาโดยตรงที่วัด นับแต่ปลายมกราคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา ถ้าใคร เข้ า ไปกราบไหว้ เ ก๋ ง จี น ที่ วั ด ประดู ่ จะตื่ น ตากั บ ลวดลาย ดอกไม้ที่สวยงามผิดหูผิดตา ชูเกียรติ สุทิน แจ้งแก่ ‘รัก บ้านเกิด’ ว่าเป็นฝีมือของนักศึกษา ว.ช่างศิลป์นครฯ ที่เข้า ไปสร้างสรรค์ตามค�ำชักชวนของส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ นครฯ นครดีซี จัดโปรโมชั่นรับหน้าร้อน แจกทองทุ ก วั น มู ล ค่ า กว่ า ๑ ล้ า นบาท เมื่อซื้อสินค้าครบ ๑,๐๐๐ บาท รับสิทธิ์ ลุ้นทองค�ำทุกวัน ตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ นี้ รีบไปรับโชค ดับร้อนด่วน!

ดร.กณพ เกตุชาติ

สิริวัฒน์ ไกรสินธ์ุ

ดร.โจ-กณพ เกตุ ช าติ กับ สิริวัฒน์ ไกรสินธ์ุ จองหนังสือ รวมเรื่ อ งสั้ น เล่ ม ใหม่ ล ่ า สุ ด (ชุ ด ที่ ๑๔) ‘เรื่อง ผม เล่า’ ของ จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร ไปแจกจ่ายแก่เพื่อนพ้อง นักอ่านคนละ ๑๐๐ เล่ม นักเขียน ฝากขอบคุณมา ณ ที่นี้

ฮอนด้าศรีนคร ร่วมออกงานการอาชีพพรหมคีรีแฟร์ ในงาน อารยา สารคุณ กรรมการบริหาร รับโล่ห์เชิดชูเกียรติ จากผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด และร่ ว มพิ ธี ล งนามความร่ ว มมื อ ระหว่างวิทยาลัยและภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ สมาชิกฮอนด้าสกู๊ปปี้ไอคลับ โดยฮอนด้าศรีนคร จัดงาน Honda Scoopy-i DDay ครั้งที่ ๒๑ ร่วมกับ มีดี มีเดียกรุ๊ป น�ำอาหารกลางวัน อุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์กีฬา มอบให้แก่นักเรียนที่ขาดแคลน และร่วมสนุกเล่นเกมส์ ทาสี พัฒนาโรงเรียน ตามโครงการแบ่งฝันปันน�้ำใจให้น้อง ครั้ง ที่ ๓ ณ โรงเรียนวัดนาวง เมื่อ ๒๒ กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.


หน้า ๖

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

เขาหั น มาสนใจเก็ บ และซื้ อ หาของเก่ า จ� ำ พวก เหรียญกษาปณ์ เงินตราเก่าๆ ถ้วย ชาม หม้อ ไห จาน เชิง พระ เต้าปูน เครื่องทองเหลือง และตะบันหมาก ทองเหลือง (กระบอกยน) เมื่ อ ๓-๔ ปี ที่ แ ล้ ว ไทยธรรมเปิ ด ร้ า นขายของ เก่าบนชั้น ๓ ห้างคาร์ฟูร์ “ตอนแรกไม่ได้คิดว่าจะตั้ง ร้านเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อได้พบกับคนเล่นของเก่า นัก สะสม และคนมีของเก่าติดบ้านคนละสี่ห้าชิ้น คนเหล่า นี้ต้องการแลกเปลี่ยน ต้องการเก็บสะสมของชิ้นอื่นๆ จึงตัดสินใจตั้งร้านให้เป็นเรื่องเป็นราว ขายของที่ตัวเอง สะสมเอาไว้นับสิบปี และยินดีเป็นสื่อกลางพบปะคน ชอบสะสมของเก่า” ไทยธรรมตั้งชื่อร้านว่า Antiques and Used ปั จ จุ บั น ห้ า งคาร์ ฟู ร ์ ข ายกิ จ การและจนมาเป็ น สหไทย ด้ ว ยใจรั ก ไทยธรรมขนของเก่ า มาเปิ ด ท้ า ยทุ ก ๆ

ครศรี ธ รรมราชเป็ น เมื อ งเก่ า แก่ เช่ น เดี ย วกั บ กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา เชียงใหม่ ล�ำพูน หรือ สุพรรณบุรี เมืองเก่า อาณาจักรเก่า ย่อมมีสมบัติเก่าที่บรรพบุรุษใช้ปัญญาและทักษะทางศิลปะสร้างสรรค์เอาไว้ ทั้ง เพื่อสืบทอดพระศาสนาและใช้ในชีวิตประจ�ำวัน แม้ จ ะมี ส มบั ติ โ บราณอยู ่ ม าก แต่ น ่ า แปลกใจที่ เมืองนครไม่มีร้านประเภท Art & Antique อย่างเชียงใหม่ ภูเก็ต หรือกรุงเทพฯ ที่เป็นเมืองท่องเที่ยว

ผมได้สนทนากับ ไทยธรรม พรหมเดช นั ก สะสมของเก่ า ในท้ อ งถิ่ น ตั้ ง แต่ เ ครื่ อ ง ทองเหลื อ ง มี ด โบราณ จานกระเบื้ อ ง ชาม กระเบื้อง ช้อนเคลือบ นาฬิกา เต้าปูน กรรไกร และกริช ซึ่งตลาดมีความต้องการสูงมาก ไทยธรรม (เผือก) เล่าว่า เมื่อ ๗-๘ ปี ที่แล้วเขาเป็นเอเย่นต์ส่งนมสด นมข้นหวาน และนมเปรี้ยวพร้อมดื่มตามร้านและโรงเรียน ต่างๆ ปัจจุบันเลิกกิจการไปแล้ว เย็นย�่ำ วันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์ บริเวณหน้าวัดสวนหลวง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครฯ “ขายมาหลาย เดือนแล้วครับ มีเพื่อน-โกเล็กเอาของของเขาร่วมขาย ด้วย ท�ำให้สนุก มีคนมาดูมาซื้อ ผมเองขณะนี้ยังรับซื้อ ของเก่าอยู่ ของโบราณดีๆ เดี๋ยวนี้หายาก จะหาได้บ้าง ก็เครื่องใช้กระเบื้องเคลือบจากเมืองจีน เครื่องถมเมือง นครอายุ ๖๐-๗๐ ปีก็หายากแล้ว เครื่องดินเผา ช้อน สังกะสีเคลือบ ชามตราไก่ หรือ เต้าปูน พอหาซื้อได้” ไทยธรรม ฝากบอกว่า “ใครมีของเก่าเบื่อเก็บ อยากเปลี่ ย นเป็ น เงิ น สดในยุ ค เงิ น ฝื ด ก็ เ อามาฝาก ขายก็ได้ ตกลงราคาขายกับเปอร์เซ็นต์กันให้เรียบ เรียบร้อย” เมืองนครมีหมู่บ้านบ้านจัดสรรและคอนโดมีเนียม เจ้าของบ้านหรือคอนโดฯ ต้องการของเก่าไปประดับ ตกแต่ง ลองไปมองเลือกหาของเก่าสวยๆ ที่ตลาดเปิด ท้ า ยเชิ ง สะพานวั ด สวนหลวงเยื้ อ งพิ พิ ธ ธภั ณ ฑ์ ส ถาน แห่งชาติ บางทีอาจจะได้ของถูกใจราคาพอซื้อหาได้ กลับมาสัก ๒-๓ ชิ้น


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

สิ่งแรกที่เราต้องน�ำเสนอและสื่อสารไปยังพนักงานก็คือ หยุดการ “กล่าวโทษ การแก้ตัว และข้ออ้างต่างๆ ที่จะมาพูดกันในองค์กร” เพราะมันไม่ได้ท�ำให้อะไรดีขึ้น มากกว่าการหาเหตุผลมาสนับสนุน ว่าที่รายได้และยอดขายตกลงก็เท่านั้นเอง

วิ

กฤติความขัดแย้งทางการเมืองท�ำให้ ผู้น�ำในภาคธุรกิจต่างๆ ต้องกลับมา นั่งทบทวนทิศทางธุรกิจของตัวเอง เพื่อ การไปต่อให้ได้ภายใต้สถานการณ์ที่เป็น อยู่ พวกเขาถูกฝึกฝนและหล่อหลอมให้ คิ ด บนพื้ น ฐานของหลั ก การแห่ ง ความ มั่งคั่ง ด้วยการไม่กล่าวโทษ ไม่มีค�ำแก้ตัว และการพร�่ำบ่นเพราะมันไม่ได้ช่วยให้ ธุรกิจเดินต่อไปได้ มันอาจเป็นเพียงการ บรรเทาความเครี ย ดและความกดดั น จากความล้ ม เหลว ความเชื่ อ ของผู ้ น� ำ ทางธุ ร กิ จ ว่ า พวกเขาสามารถลิ ขิ ต ชี วิ ต ตัวเองและองค์กรทางธุรกิจให้เติบโตต่อ ไปได้ และด้วยความเชื่อมั่นเช่นนี้ ท�ำให้ ต้ อ งรี บ และเลิ ก จะใช้ พ ลั ง งานด้ า นลบ ในทั น ที หั น กลั บ มามองด้ ว ยทั ศ นคติ ที่ เป็นบวกเพื่อมองหาโอกาสและลู่ทางไป สู ่ ค วามส� ำ เร็ จ ใหม่ ๆ อยู ่ เ สมอ แม้ น ใน ความเป็นจริงสถานการณ์ความขัดแย้งยัง ไม่มีข้อยุติและนับวันรุนแรงมากขึ้น ดัง ที่คุณเทพชัย หย่อง จากเนชั่นฯ เขียน ไว้ “ไม่ว่าจะอยู่ฝ่ายไหนก็ตาม สิ่งหนึ่ง ที่ปฏิเสธไม่ได้ก็คือความขัดแย้งที่ก�ำลัง บานปลายออกไปทุกขณะ มีผลกระทบ อย่ า งรุ น แรงต่ อ ประเทศในทุ ก ๆ ด้ า น ความรู้สึกหดหู่สิ้นหวัง มีมานานแล้ว ตั้งแต่การเผชิญหน้าเริ่มขึ้น แต่ที่ก�ำลัง เสี ย หายอย่ า งมากก็ คื อ เศรษฐกิ จ ของ ประเทศ” (เนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗) ในขณะเดี ย วกั น “ยั ก ษ์ ค ้ า ปลี ก ” สวนการเมื อ งร้ อ น-เศรษฐกิ จ ซบ (ข่ า ว จาก นสพ. กรุงเทพธุรกิจ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗) “เซ็ น ทรั ล , เดอะมอลล์ , เซ เว่ น ฯ” เดิ น หน้ า ลงทุ น รั บ โอกาสระยะ ยาว พร้อมลุยจัดอีเวนท์-ลดแลกแจกแถม ถี่ พยุงบรรยากาศใช้จ่าย ลุ้นสถานการณ์ คลี่คลายในครึ่งปีแรก ปลุกความเชื่อมั่น ก� ำ ลั ง ซื้ อ ฟื ้ น ทั น ไฮซี ซั่ น ปั จ จั ย เสี่ ย งทั้ ง วิกฤติการเมือง เศรษฐกิจและก�ำลังซื้อ ซบเซา แม้จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ราย กลาง-รายย่อย แต่ส�ำหรับธุรกิจค้าปลีก ขนาดใหญ่ต่างมองเห็น “โอกาส” ระยะ ยาวในการช่ ว งชิ ง ท� ำ เลเกรด A ปั ก ธง

โครงการใหม่ที่ต้องใช้เวลาก่อสร้าง ๒ - ๓ ปี ให้ทันกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ นายทศ จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการบริหารบริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด ประเมินสถานการณ์ทางการเมืองว่า จะ ยืดเยื้อไม่เกิน ๖ เดือนแรกของปีนี้ แต่ หากเหตุการณ์คลี่คลายได้เร็วจะยิ่งส่งผล ดีต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การฟื้นตัว ของก�ำลังซื้อ ความเชื่อมั่นการลงทุนใน ภาพรวม “การเมืองช่วงที่แย่ที่สุดผ่าน ไปแล้วอาจจะมีข้อดีในแง่ความเคยชิน ท�ำให้ผู้บริโภคปรับตัว เมื่อเริ่มคุ้นและ เคยชินก็อาจกลับมาใช้จ่ายมากขึ้น” ในขณะที่ ส มาคมค้ า ปลี ก ชี้ ต ลาด ชะลอตัว ก่อนหน้านี้สมาคมผู้ค้าปลีกไทย ประเมินว่าความขัดแย้งทางการเมืองส่ง ผลกระทบต่อการบริโภคและภาคการค้า ปลีกมูลค่า ๑.๔ ล้านล้านบาท จะมีการ เติ บ โตแบบชะลอตั ว การเตรี ย มความ พร้ อ มและการหามาตรการต่ า งๆ เพื่ อ การน�ำพาธุรกิจของผู้น�ำจึงเป็นบทพิสูจน์ ถึ ง ความเข้ า ใจต่ อ โลกธุ ร กิ จ ที่ ต ้ อ งปรั บ ตัวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ผู้น�ำทาง ธุรกิจเรียนรู้และเข้าใจถึงสัจธรรมข้อนี้ได้ เป็นอย่างดีมีแต่ต้องยืนหยัด และคิดต่าง จากเดิม ปรับเปลี่ยนความคิด-ความเชื่อ แล้วกล้าลงมือท�ำสิ่งใหม่ๆ เพื่อเดินต่อ ไปให้ได้ พวกเขาเรียนรู้ว่าในภาวะเช่นนี้ จะมีโอกาสต่างๆ มากมายเกิดขึ้น เพียง แต่มีมุมมองใหม่ ให้ก�ำลังใจตัวเองและ พนักงานได้มองเห็นโอกาสใหม่ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจระดับรายย่อย-ราย กลาง ในภู มิ ภ าคและทุ น ท้ อ งถิ่ น ถ้ า สามารถพัฒนาขยายโครงการใหม่ๆ รูป แบบธุรกิจใหม่ๆ ในท่ามกลางวิกฤติใน เวลานี้ได้เท่ากับได้สร้างความเชื่อมั่น กับพนักงาน - คู่ค้า - ลูกค้าและสังคม ให้เชื่อมั่นองค์กรธุรกิจนั้นตามไปด้วย

ส� ำ คั ญ มากเมื่ อ มี ค วามเชื่ อ มั่ น เกิ ด ขึ้ น ผลลัพธ์ทางธุรกิจก็จะตามมา ในฐานะที่ ป รึ ก ษาธุ ร กิ จ ท้ อ งถิ่ น รายกลางในหลายจังหวัด โจทย์ใหญ่ที่ ผมและผู้น�ำทางธุรกิจต้องช่วยกันสร้าง ความเป็นไปได้ใหม่ และโอกาสใหม่ๆ ให้ เกิดขึ้นกับองค์กรธุรกิจจึงเป็นภารกิจเร่ง ด่วนที่จ�ำเป็นมาก สิ่งแรกที่เราต้องน�ำ เสนอและสื่ อ สารไปยั ง พนั ก งานก็ คื อ หยุดการ “กล่าวโทษ การแก้ตัว และ ข้ออ้างต่างๆ ที่จะมาพูดกันในองค์กร” เพราะมันไม่ได้ท�ำให้อะไรดีขึ้นมากกว่า การหาเหตุ ผ ลมาสนั บ สนุ น ว่ า ที่ ร าย ได้และยอดขายตกลงก็เท่านั้นเอง แต่ ค�ำถามใหญ่ที่ต้องถามก็คือ เราจะไปไหน กัน และไปถึงไหน? ถ้าเรามีความรับผิด ชอบร่วมกันเราต้องไปต่อให้ได้ จากนั้น ค�ำถามต่อมาก็คือ เราจะท�ำอย่างไรเพื่อ ให้ถึงเป้าหมาย? เราเชื่อมั่นในศักยภาพ ของทีมงานและระบบการท�ำงานของเรา หรื อ ไม่ ? ถ้ า เราเชื่ อ มั่ น และกล้ า ปรั บ

เปลี่ยนเพื่อให้สามารถท�ำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพก็ลงมือท�ำทันที ท�ำให้มาก ขึ้นท�ำอย่างต่อเนื่อง และอดทนเพื่อบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ สะสมความส�ำเร็จใน ทุกเป้าหมายจากเล็กๆ ไปสู่เป้าหมายที่ ใหญ่ขึ้นตามล�ำดับ ผู้น�ำภาคธุรกิจจึงต้องเข้าใจธรรมชาติ ข องธุ ร กิ จ เรี ย นรู ้ บ ทเรี ย นในอดี ต ที่ ผ ่ า นมา เราผ่ า นความยากล� ำ บากมา หลายครั้ ง หลายหน แต่ เ ราก็ ยื น มาได้ ทุ ก วั น นี้ ก็ เ พราะเรามองเห็ น โอกาส ใหม่ ๆ เสมอในทุ ก วิ ก ฤติ และมั น ก็ จ ะ เป็นเช่นนี้ มีขึ้น-มีลง แต่เราต้องอยู่ต่อ ไปให้ได้ มันเป็นความรับผิดชอบในตัว เอง-ครอบครั ว -กั บ คนที่ เ ดิ น ตามเรามา (พนั ก งาน-ลู ก จ้ า ง) เพื่ อ น� ำ ทางองค์ ก ร ธุรกิจให้เติบโตต่อไปได้อย่างมั่งคั่งและ มั่นคงในอนาคต ไพโรจน์ เพชรคง ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

นายกณพ เกตุ ช าติ เปิ ด เผยว่ า เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด เปิด โรงงานสกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม มู ล ค่ า กว่ า ๑๐๐ ล้ า นบาท โดยใช้ เ ครื่ อ งจั ก รขนาด ๕,๑๓๐.๕๐ แรงม้ า ก� ำ ลั ง ผลิ ต ๓๐ ตั น /ชั่ ว โมง ในกระบวนการนึ่ ง ปาล์ ม เพื่ อ สกัดน�้ำมันท�ำให้เกิดกากและน�้ำเสีย ซึ่งบริษัทท�ำการ บ�ำบัดให้สะอาดโดยขุดบ่อบ�ำบัด ๗ บ่อ ก่อนปล่อยสู่ แหล่ ง น�้ ำ ธรรมชาติ ส่ ว นปฏิ กู ล อื่ น ๆ ได้ น� ำ ไปฝั ง กลบ เมื่ อ เปิ ด โรงงานสกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม ได้ ร าว ๒ ปี ตนใน ฐานะที่เป็นวิศวกรและอาจารย์คิดว่าน่าจะน�ำน�้ำเสีย จากกระบวนการสกัดมาผสมกับขี้วัว ซึ่งบริษัทมีฟาร์ม เลี้ยงราว ๒๐๐ ตัว จึงน� ำน�้ำเสียกับขี้วัวมาใส่ถังหมัก ให้ จุ ลิ น ทรี ย ์ ย ่ อ ยสลายจนเกิ ด แก๊ ซ หลายๆ ชนิ ด ใน จ�ำนวนนั้นมีแก๊ซมีเทนอยู่ด้วย จึงจัดการแยกและกรอง เฉพาะมีเทนส่งเข้าท่อไปเป็นเชื้อเพลิงให้เครื่องจักรผลิต ไฟฟ้าก็สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าซึ่งรัฐบาลมีนโยบาย สนับสนุนเอกชนให้ลงทุนผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนอยู่แล้ว “ผมตัดสินใจสร้างโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพก�ำลังผลิต ๑ เมกะวัตต์ ด้วยงบประมาณก่อสร้าง ๔๒ ล้านบาท เป็นเงินกู้จากธนาคาร ซึ่งทางธนาคารมองว่าไม่เป็นการ

เสี่ ย งในระบบการลงทุ น เพราะกระแสไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะรับซื้อทั้งหมด ภายใต้การท� ำ สัญญาอย่างเป็นระบบ ขณะที่อีกส่วนหนึ่งทางกระทรวง พลังงานก็ให้การสนับสนุนผ่านงบประมาณจ้างที่ปรึกษา โครงการฯ วิศวกรควบคุมการก่อสร้าง และงานระบบจน แล้วเสร็จและใช้งานได้จริง” ดร.กณพ เปิดเผยต่อไปว่า การก่อสร้างอาคารและ โรงเรือนต่างๆ ใช้เวลาประมาณ ๑ ปีครึ่ง “เครื่องจักรที่ ให้ก�ำเนิดกระแสไฟฟ้า ๒ เครื่อง สั่งซื้อจากประเทศจีน จุดคุ้มทุนจะอยู่ภายใน ๔ ปี เราพูดคุยบอกเล่ากับเขาว่า เราเองบรรพบุรุษก็มาจากไหหล�ำ เขาเลยให้การสนับสนุน เราเป็นอย่างดีขึ้นไปอีก และพร้อมจะสนับสนุนโครงการ ต่อไปของเราซึ่งอาจจะซื้อเครื่องจักรเพิ่มอีก ๔ ตัว”

มีนาคม ๒๕๕๗ วันเสาร์ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๔ วันเสาร์ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๗ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔ วันอาทิตย์ที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๔ วันอาทิตย์ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔

ข้ อ มู ล การใช้ ไ ฟฟ้ า เปิ ด เผยว่ า ขณะนี้ ภ าคใต้ มี ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าสูงสุดประมาณ ๒,๐๐๐ เมกะวั ต ต์ เชื้ อ เพลิ ง หลั ก ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต คื อ ก๊ า ซ ธรรมชาติ ซึ่ ง มี ค วามเสี่ ย งจากปริ ม าณที่ ล ดลงและจะ หมดภายในเวลา ๘-๑๐ ปี ซึ่งอาจจะเกิดวิกฤตไฟฟ้า ขาดแคลน รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานทดแทนให้มากขึ้น เพื่อความมั่นคงทางด้าน พลั ง งาน โดยเฉพาะโครงการผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิตย์ติดตั้งบนหลังคา หรือโซล่าร์ รูฟ ท็อป เพื่อใช้ ในบ้าน และขายให้การการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะรับซื้อ ไฟไม่เกิน ๑๐ กิโลวัตต์ ราคาหน่วยละ ๖.๙๖ บาท ถ้า เป็นอาคารธุรกิจขนาดเล็กไม่เกิน ๒๕ กิโลวัตต์ ราคา หน่วยละ ๖.๕๕ บาท อาคารขนาดกลาง และใหญ่ไม่ ถึง ๑,๐๐๐ กิโลวัตต์ ราคาหน่วยละ ๖.๑๖ บาท โดย ผู ้ ล งทุ น ต้ อ งไปขออนุ ญ าตโรงงานประกอบการ หรื อ รง.๔ จากกระทรวงอุตสาหกรรมที่ค่อนข้างยุ่งยาก จน กลายเป็นจุดอ่อนให้รัฐบาลถูกโจมตีว่าไม่สามารถสร้าง ความเข้าใจร่วมกันระหว่าง ๒ กระทรวง คือ กระทรวง พลังงานกับกระทรวงอุตสาหกรรม ดร.กณพ เปิ ด เผยความคื บ หน้ า โครงการผลิ ต กระแสไฟฟ้าโครงการต่อไป “โครงการในระยะที่ ๒ เราจะซื้อเครื่องจักรผลิต กระแสไฟฟ้าเพิ่มอีก ๔ เครื่อง โดยดึงพี่น้องประชาชนใน ต�ำบลช้างซ้าย และพื้นที่อื่นๆ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนปลู ก หญ้ า เนเปี ย ร์ ใ นพื้ น ที่ ที่รกร้าง หรือท้องนาที่ไม่สามารถปลูกข้าวได้ ปลูกแล้ว ตั ด มาขายเราจะรั บ ซื้ อ เราจะน� ำ หญ้ า มาสั บ ใส่ ถั ง ปู น กับน�้ำเสียจากโรงสกัดน�้ำมันหรือขี้วัว ๓๐ วันหญ้าหมัก จะเกิดแก๊ซมีเทนน�ำไปผลิตกระแสไฟฟ้าได้ เราจะรับ ซื้อหญ้าทั้งหมดเพื่อส่งเสริมให้พี่น้องประชาชนมีงาน มีรายได้ ปัจจุบันทางอีสานรับซื้อตันละ ๓๐๐ บาท ที่ดิน ๑-๒ ไร่ก็ปลูกได้ โครงการจะขึ้นแบบไหนค่อยจัดงาน เปิดแล้วชวนมาดูกันอีกที” โรงไฟฟ้าของบริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด เป็นโรง ไฟฟ้ า ชี ว ภาพแห่ ง แรกของจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชที่ ตกลงเซ็นสัญญาขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในฐานะวิศวกร ดร.กณพ เกตุชาติ กล่าวอย่างภาค ภูมิใจ ที่มีส่วนร่วมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้แก่ ประเทศและสร้างงานแก่ประชาชนในท้องถิ่น


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

รายงาน โดยสามารถขอค�ำปรึกษาเพื่อการพัฒนากระบวนการ ผลิ ต อาหารของท่ า น ได้ ที่ Primary GMP clinic ณ ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอทุกอ�ำเภอ และส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด ฯ มี ค วามห่ ว งใย ต่ อ ผู ้ ผ ลิ ต เนื่ อ งจากปี ๒๕๕๘ ประเทศภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (อาเซี ย น) จะเปิ ด รวมตั ว เป็ น ประชาคมเดียวกัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกประชาคม อาเซียน จะต้องเปิดประตูให้สินค้าต่างๆ ใน ๑๐ ประเทศ สมาชิกเข้ามาแข่งขันกันอย่างเสรี ขณะเดียวกันประเทศ ไทยยังส่งออกผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะอาหาร เป็นอันดับต้นๆ ของอาเชียน และมีเป้าหมายให้ประเทศ ไทยยกระดับเป็น ‘ครัวโลก’ จึงต้องมีการเตรียมความ พร้อมกับผู้ผลิตอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารพื้น เมืองของฝาก ให้มีมาตรฐานสามารถแข่งขันได้ในตลาด โลกและอาเซียน กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายในการยกระดับ มาตรฐานการผลิ ต อาหาร ได้ แ ก่ อาหารทั่ ว ไปที่ เ ป็ น

ของฝาก อาหารพื้นเมือง และสินค้า OTOP ให้มีความ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค มีมาตรฐานเชื่อถือได้ มีศักยภาพ ในการแข่งขันในตลาดสากล โดยออกประกาศกระทรวง สาธรณสุขจ�ำนวน ๒ ฉบับได้แก่ ประกาศฯ ฉบับที่ ๓๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการ ผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปพร้อมจ�ำหน่าย โดย ก�ำหนดให้ผู้ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อม จ�ำหน่ายต้องปฏิบัติตาม primary GMP และประกาศฯ ฉบับที่ ๓๔๓ พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่องฉลาก (ฉบับที่ ๓) ก�ำหนด ให้อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจ�ำหน่ายและ ผ่านมาตรฐาน primary GMP สามารถแสดงฉลากเลข สารบบอาหาร (เลข อย.) หลักเกณฑ์ primary GMP เป็นหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดกระบวนการผลิตอาหารให้เป็น ไปตาม สุขลักษณะทั่วไป มีข้อก�ำหนด ๖ ข้อ ประกอบ ด้ ว ย สถานที่ ตั้ ง และอาคารผลิ ต เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก ร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต การควบคุมกระบวนการ ผลิ ต การสุ ข าภิ บ าล การบ� ำ รุ ง รั ก ษาและการท� ำ ความ

สะอาด และ บุ ค ลากรและสุ ข ลั ก ษณะผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน ดังนั้น ผู้ประกอบการผู้ผลิตอาหารแปรรูปบรรจุที่ใน ภาชนะพร้อมจ�ำหน่าย ต้องมีกระบวนการผลิตเป็นไป ตามหลักเกณฑ์สุขลักษณะเบื้องต้น (Primary GMP) โดยสามารถขอค�ำปรึกษาเพื่อการพัฒนากระบวนการ ผลิ ต อาหารของท่ า น ได้ ที่ Primary GMP clinic ณ ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอทุกอ�ำเภอ หรือที่ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โทร ๐๗๕-๓๔๓-๔๐๙-๑๐ ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ โ ภค ก่ อ นเลื อ กซื้ อ อาหารส� ำ เร็ จ รู ป ขอให้ตรวจสอบข้อมูลบนฉลากอาหารให้ครบถ้วน เช่น ชื่ออาหาร ชื่อ-ที่ตั้งสถานที่ผลิตอาหาร ส่วนประกอบ ปริมาณสุทธิ วัน เดือน ปีที่ผลิต วันหมดอายุ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เลขสารบบอาหาร (เลข อย.) ซึ่งจะช่วยคัดกรอง ว่าสถานที่ผลิตอาหารดังกล่าวได้มีการตรวจประเมิน กระบวนการผลิตอาหารเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อให้ ท่านได้อาหารที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย

รายงาน ลวดลายที่เก๋งจีนภายในวัดประดู่พัฒนาราม ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้สวยงาม นาย อ�ำนวย นวลอนงค์ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยฯ ได้มอบหมาย ตนจัดคณะซ่อมแซม ๗ คน ประกอบด้วย อาจารย์สุกิจ ชูศรี และนักเรียนระดับ ปวช.๓ จ�ำนวน ๕ คน ได้แก่ นายศักดิ์พิรุณ โยธา, นายวิรายุทธ เสียงเพราะ, นาย

อนุ วั ฒ น์ อภิ มุ ข มงคล, นายนั น ทวุ ฒิ นุ ้ ย ผุ ด , นาย ศุภศักดิ์ ปรุงแต่ง รวมทั้งตนได้ร่วมออกแบบสีและเขียน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ และสายตระกูล ณ นคร “ขั้นตอนการท�ำงานก่อนนี้ส�ำนักศิลปากรที่ ๑๔ ได้ บูรณะซ่อมแซมตัวเก๋งเสร็จเรียบร้อย สิ่งที่เราไปเข้าท�ำคือ ลวดลายที่เป็นเครื่องไม้ ซึ่งพื้นเดิมของลวดลายจ�ำหลัก ถูกระบายทับด้วยสีแดง ก่อนจะลงสีต้องขัดสีน�้ำมันสีแดง ออกก่อนเพื่อเวลาลงสีจะท�ำให้เห็นลวดลายที่คมชัด คณะ ผู้ซ่อมแซมลงสีอะคริลิคลวดลายต่างๆ ก่อนลงสีอครีลิค คณะได้ ส เก็ ต ซ์ ภ าพโดยใช้ ข ้ อ มู ล จากสถานที่ ใ กล้ เ คี ย ง ร่วมสมัยและให้ผู้รู้ผู้คนที่เคยเห็นได้ดูแบบก่อน จากนั้น จึ ง ส่ ง ให้ อ ธิ บ ดี ก รมศิ ล ปากรลงนามอนุ มั ติ ” อาจารย์ ชูเกียรติ สุทิน อธิบายขั้นตอนการท�ำงาน ทั้งเสริมต่อไป

<< ต่อจากหน้า ๒ ท่ า นอาจารย์ พุ ท ธทาสที่ ส วนโมกข์ ให้ นิ ย ามความ หมายของธรรมะว่าคือ หน้ า ที่ ที่จะต้องท�ำให้ถูกต้องตาม ธรรมชาติที่มีกฏเกณฑ์ของธรรมชาติ อยู่จึงจะได้รับผลที่ ถูกต้องตามธรรมชาติ คือความสุข สงบ สันติ และการ บัญญัติชื่อของเมืองนครของเราว่า “ศรีธรรมราช” นั้น ก็ น่าจะมีความมุ่งหมายเช่นนี้ และพวกเราทั้งหลายก็ควรที่ จะมุ่งหวังให้เกิดในท�ำนองนี้ ดังที่ก�ำลังขบคิดขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศไทย ซึ่งคงต้องปฏิรูปที่เมืองนครของเรา ไปด้วยกัน ท่านเจ้าคุณบอกว่า มาร่วมกันสร้างพระให้วัดเมือง นคร ก่อนที่จะมีแต่วัด ไม่มีพระ กันไหม ? ท่ า นพระครู บ อกว่ า มาร่ ว มกั น พั ฒ นาชาวพุ ท ธ

ต้นแบบใส่เมืองนครกันไหม ? ผมรั บ ปากท่ า นว่ า ครั บ , ขณะนี้ ก� ำ ลั ง ท� ำ โครงการ พิเศษ “ธรรมวาที” ถวายพระภิกษุทั่วประเทศ ผู้มุ่งมั่น ศึกษา ปฏิบัติเพื่อสืบพระศาสนา มีจากเมืองนครไปร่วม ๓ รูป อาจจะจัดหลักสูตรพิเศษกันที่เมืองนครดู เพราะ พระครูสิริฯ ได้รับเลือกจากคณะเป็นประธานรุ่นด้วย และ อาจจะจัดหลักสูตรจิตตภาวนาลึกๆ กันที่เมืองนคร รวมทั้ง อยากจะชวนชาวนครที่สนใจมาเข้า “เครือข่ายธรรมนิยม” ด้วยกัน. จะได้ฟื้น “เมืองธรรมกันที่นคร” ในคราวนี้. ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ว่าสีอะคริลิคจะติดทนนานกว่าสีอื่นๆ และเมื่อเขียนสี ซ่อมแซมเสร็จเรียบร้อย คณะกรรมการตรวจแบบซึ่ง เป็นผู้มีความรู้เป็นผู้ตรวจรับ และผ่านการตรวจรับทุก ขั้นตอน


หน้า ๑๐

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

หลายครั้ง (งานสัมมนาประวัติศาสตร์ นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช จัดเป็นครั้งที่ ๘ เมื่อ ๑๓ – ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖) โดยเฉพาะ การสั ม มนาประวั ติ ศาสตร์นครศรีธรรมราช ครั้งที่ ๔ เรื่อง ศิลปวัฒนธรรมนครศรีธรรมราชกับการ เปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม

ตอนที่ ๒ ๕. อัตลักษณ์ที่โดดเด่น

หนังสุชาติ ทรัพย์สิน มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นเป็น พิเศษ ที่น่าสนใจศึกษาหลายประการ กล่าวคือ นอกจาก เป็ น ศิ ล ปิ น หนั ง ตะลุ ง แล้ ว เขายั ง เป็ น นั ก วิ ช าการ นั ก บริ ห ารจั ด การ นั ก ออกแบบ ฯลฯ เป็ น ที่ ย อมรั บ ของ ประชาคมกลุ่มอาชีพต่างๆ อีกด้วย ขอยกเอาอัตลักษณ์ บางประการมาน�ำเสนอแต่พอสังเขป เพื่อเป็นตัวอย่าง ให้เป็นที่ประจักษ์ ดังเช่น ๕.๑ หนังสุชาติ ทรัพย์สิน ในฐานะนักวิชาการ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช ได้ ส นใจศึ ก ษา และสั ม มนาประวั ติ ศ าสตร์ น ครศรี ธ รรมราช มาอย่ า ง ต่อเนื่อง ตั้งแต่สมัยยังมีฐานะเป็นวิทยาลัยครู จวบจน ปัจจุบัน วิทยากรที่ให้เกียรติมาน�ำเสนอบทความทาง วิชาการมีทั้งผู้ทรงคุณวุฒิชาวต่างประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิ ชาวไทยในสถาบันอุดมศึกษา องค์กรต่างๆ และวิทยากร ในท้องถิ่นนครศรีธรรมราช หนั ง สุ ช าติ ทรั พ ย์ สิ น นอกจากจะสนใจงาน วิ ช าการ และเข้ า ร่ ว มประชุ ม สั ม มนาในฐานะสั ม มนา สมาชิ ก แล้ ว ยั ง ได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เ ป็ น วิ ท ยากรอภิ ป ราย และน� ำ เสนอบทความทางวิ ช าการบนเวที ห ลายต่ อ << (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค น ชว ชวนคยุ เราจึงไม่ทะลึ่งพายออกไปกลางคลองและต้องระวังคลื่น ลูกโตๆ จากเรือยนต์อีกต่างหาก คนถือท้ายต้อง “รับ คลื่น” เป็นด้วย เรือที่เพียบถึงจะไม่ล่ม นายท้ายเรือ ยนต์บางล�ำก็เบาเครื่องลดความเร็วให้เมื่อเห็นเรือเล็ก เพียบแปล้จนดูเหมือนคนนั่งอยู่บนน�้ำแลแทบไม่เห็นล�ำ เรือ ใต้ล�ำน�้ำใหญ่ที่น�้ำเชี่ยวจัดในหน้านี้ยังมีปลาตะเพียน หลายชนิดเดินทางมากับน�้ำพ่าห์เรียกกันว่า “แม่ปลา” ตัวโตเท่ากระดานฝาเรือน เช่น ปลาโสด (กระสูบ), ปลา พรม อีกพันธุ์หนึ่ง (ไม่รู้จักชื่อ) เป็นปลาต่างถิ่นเกล็ดขาว อมเหลืองเหมือนปลาตะโกก แต่มันเดินอยู่ก้นคลองท้อง แม่น�้ำเท่านั้น วิธีจับแม่ปลา เขาจึงต้องวางข่ายตาใหญ่ๆ ถ่วงตะกั่วลงไปถึงหน้าดิน เล่ากันว่า (ในยุค 1 G) สมัย คุณตาผม สัตว์น�้ำยังมีมาก แค่ดักไซวางลอบไว้ริมคลอง ก็ได้แม่ปลาแล้ว ที่หน้าดินยังมีปลากดซึ่งต้องจับด้วย “ไซนู” (นู =ธนู) เรียกเช่นนี้เพราะมันเป็นไซที่มีคันยาวๆ

ของนครศรี ธ รรมราช จั ด ณ โรงแรม ไทยโฮเต็ล อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่ อ ๑๔–๑๗ สิ ง หาคม ๒๕๒๙ หนั ง สุ ช าติ ทรั พ ย์ สิ น ได้ น� ำ เสนอบทความทางวิชาการเรื่อง “ศิลป์ ประวัติศาสตร์” ไว้ดังนี้ ศิลปะต่างๆ ที่มีในโลกมนุษย์ ไม่ ว่าจะเป็นศิลปะหรือศิลปิน ไม่ได้มาจาก สถาบันการศึกษา หรือจากค�ำบรรยาย ของครูอาจารย์ ศิลปะเกิดขึ้นด้วยความเชื่อของมนุษย์ แต่ เดิมมาในสมัยดึกด�ำบรรพ์ งานศิลปะต่างๆ ที่มนุษย์สร้าง ขึ้นมาเพื่อบูชาพวกภูตผีปีศาจ หรือเทพเจ้าที่เกิดอยู่ในดิน ฟ้าอากาศ มนุษย์ในสมัยดึกด�ำบรรพ์เชื่อกันว่าธรรมชาติ ต่างๆ ที่ให้โทษและให้คุณต่อมนุษย์ เช่น แผ่นดินไหว ฟ้าผ่า น�้ำท่วม ฝนไม่ตก ไข้ห่า เป็นการกระท�ำของพวกภูตผี และ เทพเจ้าที่สถิตอยู่ดินฟ้าอากาศ จึงคิดเครื่องเซ่นสรวงบูชา ขึ้นด้วยการน�ำเอาดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปคน รูปสัตว์ หรือ น�ำเอาไม้แกะเป็นตัวแทนสิ่งที่ตนเชื่อถือไว้บูชา บังเกิดเป็น ประติมากรรมคิดหาค�ำพูดที่เพราะหูคล้องจองกันส�ำหรับ สวดสดุดี เกิดเป็นกวีนิพนธ์ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน การ ยื่นออกทั้ง ๒ ข้าง เมื่อขึ้นสาย แล้วทิ้งลงท้องแม่น�้ำ รอให้ปลา กดเข้ า มากิ น เหยื่ อ กลไกที่ เ ป็ น ลิ้นสลักจะหลุดออกคันธนูดีดผึง ขังปลาเคราะห์ร้ายไว้ข้างใน ปลากดน�้ำจืดแกงส้มกับยอด แมงค่า (ไม้ใหญ่ขึ้นริมน�้ำ ใบอ่อนสีขาวห้อยเป็นพวงมีรส เปรี้ยว) อร่อยจนลืมไม่ลง ปัจจุบันพืชพันธุ์ปลาบก (ปลาน�้ำจืด) รวมถึง กุ้ง ปู หอย..ฯลฯ.. ลดน้อยลงอย่างน่าใจหาย บางชนิดก็สูญพันธุ์ จริงๆ ไปเลย สาเหตุมาจากการท�ำนาสมัยใหม่ที่ต้องโหม สาดสารเคมีลงไปฆ่าหอยเชอรี่ ไหนจะยาฆ่าวัชพืช ยาฆ่า เพลี้ยกระโดดและปุ๋ยเคมีอีกต่างหาก ได้ข้าวผลผลิตน�้ ำ หนักมหาศาล แต่กลายเป็นต้นทุนเสียเกือบหมด กระดูก สันหลังอย่างชาวนาก็ยังคงผุๆ กรอบๆ อยู่ไม่ต่างจากเดิม ถ้าไม่ใช่เดือน ๑๑, ๑๒ น�้ำก็อาจพ่าห์ได้ในเดือน ๓ เดือน ๕ เรียกว่า “น�้ำพ่าห์เม” (เม = เมษายน คือเดือน ๕) น�้ำพ่าห์เมถ้าไม่เกิดจากฝนตกหนักนอกฤดูก็เกิดเพราะท้อง ทะเลเกิด “ผิดลม” น�้ำทะเลสูงขึ้นผิดปกติดันให้น�้ำคลอง (แม่น�้ำปากพนัง) ท้นล้นฝั่งพ่าห์เข้ามาท่วมนาข้าวที่ก�ำลัง

เอาไม้มาตีหรือเคาะจังหวะ หรือการน�ำเอาเขาสัตว์มา เป่าพร้อมกับท�ำนองสวดเพื่อการร่ายร�ำในพิธี ก็เกิด ศิลปะการแสดงและดนตรี โรงพิธีบูชาก็ประดับประดา อย่างสวยงาม ด้วยดอกไม้ ใบไม้ และรูปเขียน เกิดเป็น สถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นศิลปะทั้งท้าทายอย่างที่กล่าวมา ข้างต้นเป็นความคิดของมนุษย์ ที่มีความเชื่อทั้งสิ้น การที่ผู้เขียนได้น�ำเรื่องนี้มาเขียน ก็เพื่อจะชี้ให้ เห็นถึงการเริ่มสร้างศิลปะสาขาต่างๆ ขึ้นในสมัยก่อน ผลงานของเขายังมีเหลือให้พวกเราเห็นมากมายหลาย ชนิด เช่น ในประเทศอียิปต์และในประเทศจีน ส่วนใน ประเทศไทย ศิลาจารึกตลอดถึงเครื่องใช้ที่ท�ำด้วยหิน หรือเครื่องปั้นดินเผา สิ่งก่อสร้างในวัดวาอาราม บ้าน เมืองสมัยเก่า ยังพอมีเหลือให้พวกเรารุ่นหลังได้ทราบ และเข้าใจเรื่องศิลปะต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ในสมัยปัจจุบัน ความเชื่อถือเกี่ยวกับภูตผีปีศาจ ของคนในสมัยดึกด�ำบรรพ์ได้หมดไป จากโลกนี้ แ ล้ ว แต่ ดิ น ฟ้ า อากาศและ ศาสนา คติ นิ ย ม การเมื อ ง ก็ มี ส ่ ว น หล่อหลอมศิลปะอยู่ไม่น้อย ไม่ว่าจะ เป็นศิลปินหรือศิลปะ ศิลปินบางกลุ่ม เป็นเครื่องมือให้นักการเมืองด้วยการ ถู ก บี บ หรื อ ไม่ ศิ ล ปิ น มี ค วามคิ ด เห็ น คล้อยตามไปกับการเมืองในยุคสมัย ของตน ศิ ล ปิ น ก็ จ ะเขี ย นเรื่ อ งหรื อ แสดงเสนอผลงานต่ อ ผู ้ ช มให้ ส นใจ ระบบการเมืองนั้น เช่น หนังตะลุง มโนราห์ และเพลง บอกในนครศรีธรรมราช เมื่ อ พู ด ถึ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชทุ ก ท่ า นก็ ทราบดีว่ามีหนังตะลุง มโนราห์ เพลงบอก ได้แสดง กันมาหลายชั่วอายุคนแล้ว ถึงแม้ว่าในสมัยปัจจุบันนี้ จะมีภาพยนตร์และวงดนตรีเข้ามามีอิทธิพลในจังหวัด นครศรีธรรมราช แต่หนังตะลุง มโนราห์ และเพลงบอก ก็ ยั ง แสดงอยู ่ ไ ด้ ยั ง มี ค นชอบที่ จ ะชมการแสดงของ ศิลปะประเภทนี้อีกเป็นจ�ำนวนมาก.. (ตอนต่อฉบับหน้า ว่าด้วย..หนังตะลุง)

ออกรวงเหลืองอร่าม บางปีเกิดน�้ำพ่าห์เมนานนับเดือน เราต้องเก็บเกี่ยวข้าวกันกลางน�้ำแข่งกับปลาต่างๆ ที่ จะพากันมากินเมล็ดข้าวเสียหมด เลียงข้าว (ฟ่อนข้าว ที่มัดตรงคอรวง) ที่เก็บเกี่ยวแล้วก็ใส่เรือขนกลับบ้าน แทนการหาบ


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

อธิบดีกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล ติดตามความก้าวหน้าการขุดเจาะน�้ำบาดาลบ้านแสงวิมาน แก้วิกฤติภัยแล้งและช่วยการเกษตรปลูกส้มโอทับทิมสยาม เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ นายสุพจน์ เจิมสวัสดิ์พงษ์ อธิบดีกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล พร้อมด้วย นายทนงศักดิ์ ล้อชูสกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทรัพยากร น�้ำบาดาล เขต ๖ ตรัง ได้เดินทางที่บ้านแสงวิมาน หมู่ ที่ ๑๓ ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อ ติ ด ตามความก้ า วหน้ า การขุ ด เจาะน�้ ำ บาดาลแก้ วิ ก ฤติ ภั ย แล้ ง ที่ เ ตรี ย มไว้ ช ่ ว ยเหลื อ เกษตรกรซึ่ ง กรมทรั พ ยากรน�้ำบาดาลได้จัดสรรงบประมาณในการขุดเจาะน�้ำ บาดาลเพื่อการเกษตรที่ขาดแคลนน�้ำแบบเร่งด่วน โดย มีนายจรัส มาสทอง นายก อบต.คลองน้อย และตัวแทน ชาวบ้านแสงวิมาน ร่วมให้การต้อนรับ นายสุพจน์ เจิมสวัสดิ์พงษ์ อธิบดีกรมทรัพยากรน�้ำ บาดาล กล่าวว่า บ้านแสงวิมานถือเป็นพื้นที่ที่ปลูกส้มโอ พันธุ์ทับทิมสยาม ที่มีรสชาติอร่อยที่สุดในประเทศและ เป็นสินค้าโอท็อปที่มีชื่อเสียงของจังหวัด แต่มักประสบ ปัญหาภัยแล้ง ท�ำให้เกษตรกรได้รับความเสียหายทุกปี ดังนั้นในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ กรมทรัพยากรน�้ำ บาดาลจึ ง ได้ จั ด สรรงบประมาณให้ ขุ ด เจาะน�้ ำ บาดาล แบบเร่ ง ด่ ว น จ� ำ นวน ๑ บ่ อ เพื่ อ ป้ อ งกั น และแก้ ไ ข ปั ญ หาภั ย แล้ ง ในเบื้ อ งต้ น ขณะนี้ ก ารขุ ด เจาะที่ ค วาม ลึกประมาณ ๑๘๐ เมตร คาดว่าอีกประมาณ ประมาณ ปลายเดือนกุมภาพันธ์จะสามารถฝังท่อและติดตั้งเครื่อง ปั ๊ ม น�้ ำ ด้ ว ยระบบไฟฟ้ า ให้ เ กษตรกรสู บ น�้ ำ ขึ้ น มาใช้ ไ ด้ โครงการนี้ เ ป็ น โครงการน� ำ ร่ อ งแห่ ง แรกของจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช โดยในปี ๒๕๕๘ จะมีการจัดสรรงบ ประมาณเพิ่มเติมให้อีก ๒ บ่อ ซึ่งเป็นบ่อน�้ำบาดาลเพื่อ การเกษตรเชิงระบบ คือ สูบน�้ำจากบ่อขึ้นถังเก็บแล้ว ส่งจ่ายน�้ำผ่านระบบท่อ สามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้ ครอบคลุมพื้นที่ ๒๐๐ ไร่ อธิบดีกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล กล่าวด้วยว่า ในปี งบประมาณ ๒๕๕๗ กรมทรัพยากรน�้ำบาดาล มีโครงการ น�้ ำ บาดาลเพื่ อ การเกษตร เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรที่ ขาดแคลนแหล่งน�้ำเพื่อการเกษตรทั่วประเทศ ในช่วงฤดู แล้ง จ�ำนวน ๕๒๓ ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็น ๒ รูปแบบ คือ รูปแบบที่ ๑ น�้ำบาดาลเพื่อการเกษตรเชิงระบบ ๔๐ แห่ง รูปแบบที่ ๒ น�้ำบาดาลเพื่อการเกษตรที่ขาดแคลน น�้ำแบบเร่งด่วน ๑,๒๔๕ แห่ง นายทนงศักดิ์ ล้อชูสกุล กล่าวว่า โครงการพัฒนา แหล่ ง น�้ ำ บาดาลเพื่ อ การเกษตรปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของ ๘ จังหวัดภาคใต้ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของส�ำนักทรัพยากรน�้ำบาดาล เขต ๖ ตรัง คือ กระบี่ ชุ ม พร ตรั ง นครศรี ธ รรมราช พั ง งา ภู เ ก็ ต ระนอง สุราษฎร์ธานี รวม ๘๐ โครงการ ซึ่งบ่อบาดาลที่เจาะแล้ว ทางกรมฯจะถ่ายโอนให้กับท้องถิ่นบริหารจัดการ แต่ยัง คงเข้ามาให้ค�ำปรึกษาต่อไป นายจรัส มาสทอง นายก อบต.คลองน้อย กล่าว

ว่า พื้นที่บ้านแสงวิมาน เป็นพื้นที่ที่น�้ำของชลประทานไป ไม่ถึง การที่กรมทรัพยากรน�้ำบาดาลได้มาขุดบ่อบาดาล ให้จะสามารถบรรเทาความเดือดร้อน ของประชาชนใน พื้นที่ได้เป็นอย่างดี นายนิกร ซอแก้ว ตัวแทนชาวบ้านแสงวิมาน กล่าว ว่ า เดิ ม ชาวบ้ า นแสงวิ ม านปลู ก ส้ ม แต่ ป ระสบปั ญ หา น�้ำเค็มรุกล�้ำ ไม่ประสบความส�ำเร็จ จึงได้มีการขุดคัน กั้นน�้ำเค็มแล้วมาปลูกส้มโอพันธุ์ทับทิมสยามจึงประสบ ความส�ำเร็จ แต่มาประสบปัญหาภัยแล้ง ท�ำให้ผลผลิต

ได้รับความเสียหายเนื่องจากพื้นที่อยู่ปลายน�้ำ การส่ง น�้ำของชลประทานไม่เพียงพอ มีปัญหาการแย่งชิงน�้ำ กั บ พี่ น ้ อ งชาวนา ปั จ จุ บั น แสงวิ ม านมี พื้ น ที่ ป ลู ก ส้ ม โอ ประมาณ ๒๕๐ ไร่ ให้ผลผลิตแล้วประมาณ ๖๐ ไร่ เชื่อ มั่นว่าเมื่อกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล ได้มาเจาะบ่อบาดาล ให้แล้วทางคณะกรรมการเกษตรกรจะได้จัดสรรน�้ำให้แก่ เกษตรกรอย่างเป็นธรรม ซึ่งสามารถลดปัญหาความขัด แย้งระหว่างเกษตรกรลงได้ (เครดิตข่าว : ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์ จังหวัดนครฯ)

ศิลปะและวัฒนธรรมน�ำชีวิต จิตใจ มวล. ศิลปะและวัฒนธรรมสิ่งน�ำหน้า ช่วยชีวาชุบชีวิตสัมฤทธิ์ผล เป็นสิ่งคู่อยู่ส�ำหรับกับทุกคน บรรพชนได้คิดสร้างไว้อย่างดี ด้านอาหารการกินกลิ่นหอมหวาน รสซาบซ่านซึ้งงามอร่ามสี อีกสิ่งของเครื่องใช้มากมายมี เรือรถรับขับขี่กันไปมา ศิลปะการแสดงแสงสีเสียง ภาษาถ้อยร้อยเรียงเคียงอรรถา แสนเสนาะกรองกลั่นวรรณนา วรรณกรรมล�้ำค่าบ�ำรุงใจ อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ หน่วยงานศิลป์ฯ เป็นหลักสว่างไสว ทะนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้อ�ำไพ ม.วลัยลักษณ์ของไทยในแหลมทอง ดูแลศิลปะและวัฒนธรรมท�ำทุกอย่าง เพื่อสรรค์สร้างสิ่งดีมิมีสอง เริ่มก่อฐาน พ.ศ.๒๕๔๑ เพชรชวนมอง ฝ่ายบริหารให้ลองเดินงานดู ชื่อ “คณะกรรมการด�ำเนินงานศิลปะและวัฒนธรรม” ค่อยไหลลื่นเลื่อนล�้ำเลิศงามหรู ชื่อต่อมา “โครงการอาศรมวัฒนธรรม” คอยค�้ำชู ท่านรับรู้ผลงานที่ผ่านมา ครั้น เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ สิ่งงดงามก็ผงาดดั่งปรารถนา รศ.ดร.ไท ทิพย์สุวรรณกุล เสนอสู่สภา หน่วยงานศิลป์ฯ ก็เกิดมาเป็นทางการ ท่าน ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมน�ำเสนอ “อาศรมวัฒนธรรมฯ” เป็นชื่อสื่อแก่นสาร เอาชื่อนี้มีความหมายสายเนื้องาน กรรมการสภาฯ ทุกท่านต่างเห็นดี งานศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมมือกันพร้อมพรักสมศักดิ์ศรี หน่วยงานภายในทั้งหลายไม่รอรี เหล่าน้องพี่ มวล.ก่อกุมใจ ส่วนหน่วยงานราชการแวดวงนอก เอกชนเมื่อบอกไม่ผลักไส เป็นพลังทั้งภายนอกและภายใน จากท้องถิ่นก้าวไกลสู่สากล งานศิลปะและวัฒนธรรมจักล�้ำหน้า ต้องร่วมกันศึกษาหมั่นฝึกฝน ชาติใดเปี่ยมศิลปะและวัฒนธรรมฉ�่ำกมล ชาตินั้นคืออารยชนแห่งโลกา ชาวไทยจึงควรเอาใจใส่ในเรื่องนี้ อย่ารอรีงงงันหันซ้ายขวา เอาศิลปะและวัฒนธรรมน�ำชีวา เพื่อสร้างสรรค์คุณค่าแก่ปวงชน

อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ ประพันธ์ ศุกร์ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗


หน้า ๑๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

และใช้ ก ล้ า มเนื้ อ มั ด ใหญ่ เช่ น การ เดินออกก�ำลัง, การขี่จักรยานเป็นต้น ความถี่ สั ป ดาห์ ล ะ ๓-๕ ครั้ ง และ ควรมี ก ารวอร์ ม ก่ อ นเริ่ ม ออกก� ำ ลั ง ๕-๑๐ นาที ออกก�ำลังประมาณ ๒๐ นาที และหลั ง ออกก� ำ ลั ง ควรมี ก าร ผ่อนแรงลงอย่าหยุดทันที ประมาณ ๕-๑๐ นาที และควรเริ่ ม ออกก� ำ ลั ง ทีละน้อยก่อน แล้วค่อยเพิ่มขึ้นตาม สภาพร่างกายแต่ละรายโดยทั้งนี้ควร อยู่ภายใต้ค�ำแนะน�ำของแพทย์ ๓. ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดเส้น

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

- ยากลุ่ม ACEI และ ARB : ซึ่งนอกจากจะใช้ รักษาความดันโลหิตสูงแล้ว ยากลุ่มนี้ใช้ในโรคกล้าม เนื้อหัวใจขาดเลือดด้วย จะพิจารณาให้ยากลุ่ม ACEI ภายใน ๒๔ ชม.ในรายที่ความดันโลหิตยังดี ไม่ต�่ำ เกินไป หากผู้ป่วยทนต่อยาในกลุ่ม ACE Inhibitor ไม่ได้ (เช่นเกิดผลข้างเคียง ไอ) ก็ให้ยากลุ่ม angiotensin blocker แทน ยาในกลุ่มนี้มีหลายตัว กลุ่ม ACEI เช่น Captopril, enalapril, ramipril กลุ่ม ARB เช่น Valsatan, lorsatan, candesartan, omesatan เป็นต้น ผลข้างเคียง : การแพ้ยา ความดันโลหิตต�่ำ อาการไอจากกลุ่ม ACEI ค่าการท�ำงานของไตผิด ปกติในช่วงแรก - ยาขยายหลอดเลือด กลุ่ม ไนเตรด (Nitrate) เพื่อลดอาการแน่นหน้าอก และขยายหลอดเลือด เช่น Isosorbide mononitrate, isosorbide dinitrate ชนิดรับประทาน หรือ อมใต้ลิ้น ผลข้างเคียง : ความดันต�่ำ อาการมึนศีรษะ อาการปวดหัว และห้ามใช้ ถ้าต้องใช้ร่วมกับ กลุ่มยา เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ กลุ่ม sildenafil อาจท�ำให้ เกิดภาวะความดันต�่ำถึงขนาด ช้อคได้ - การหยุดสูบบุหรี่ พบว่าเป็นการรักษาที่ได้ผล ดีมาก ลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน และลดอัตรา การเสียชีวิตใน ๕ ปี ได้อย่างน้อย ๓๐ %

ส� ำ หรั บ กล้ า มเนื้ อ หั ว ใจขาดเลื อ ด แบบ non stemi การรักษาช่วงแรก จะรักษาด้วยยาคล้ายๆ กับ กลุ่มแรก ยกเว้น ไม่ให้ยาสลายลิ่มเลือด (Thrombolysis ) หลังจากนั้น ก็ต้องแบ่งกลุ่มผู้ป่วยว่าเป็น กลุ่มความเสี่ยงสูง ที่ต้องได้รับการตรวจสวนหัวใจ อัน ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการเจ็บหน้าอกอย่างต่อเนื่อง หรือ สัญญาณชีพไม่คงที่ผู้ที่เจ็บหน้าอกซ�้ำจากกล้ามเนื้อ หั ว ใจขาดเลื อ ด (recurrent angina) หรื อ ให้ ก าร รั ก ษาทางยาแล้ ว ไม่ ไ ด้ ผ ล หรื อ โดยตรวจพบจาก noninvasive stress test ภายหลั ง เช่ น การเดิ น สายพาน ( EST ) การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน หลังจากที่ได้รับการรักษาอาการดีขึ้นแล้ว เมื่อ ผู ้ ป ่ ว ยกลั บ บ้ า น ก็ ค วรจะรั ก ษาสุ ข ภาพต่ อ เพื่ อ ให้ อาการฟื้นตัวเร็วขึ้น และเกิดผลข้างเคียงน้อยที่สุด ๑. ควรทานยาอย่ า งสม�่ ำ เสมอตามค� ำ แนะน� ำ ของแพทย์ ๒. การฟื้นฟูสภาพหัวใจหลังการเกิดกล้ามเนื้อ หัวใจตาย โดยการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมคือเน้น การออกก� ำ ลั ง กายที่ มี ก ารเคลื่ อ นไหวของร่ า งกาย

เลือดหัวใจตีบ ๔. อารมณ์มีส่วนส�ำคัญต่อการก�ำเริบของโรค หัวใจ ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายควรหลีก เลี่ยงอารมณ์โกรธ หรือ โมโห, ความเครียดต่างๆ รวมทั้งความวิตกกังวลต่อโรคหัวใจ ๕. การมี เ พศสั ม พั น ธ์ ห ลั ง การเกิ ด กล้ า มเนื้ อ หัวใจตายเฉียบพลัน ควรเริ่มหลัง ๖ สัปดาห์จึงจะ ปลอดภัย แต่ถ้าเป็นผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อนร่วมด้วย เช่นมีภาวะหัวใจล้มเหลว ควรปรึกษาแพทย์อย่าง ใกล้ชิด ๖. ภาวะเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ มักเกิดขึ้น ได้ถึง ๓๐-๕๐ % ซึ่งอาจเป็นจากอารมณ์ซึมเศร้า, ความกลั ว หรื อ วิ ต กกั ง วลเกี่ ย วกั บ โรค รวมทั้ ง อาจ เป็นผลจากยาปิดกั้นเบต้าที่ใช้ที่ส�ำคัญคือห้ามใช้ยา ไวอากร้า เด็ดขาดในรายที่ใช้ยากลุ่มไนเตรท รวมทั้ง ยาอมใต้ลิ้นเพราะจะท�ำให้ความดันโลหิตต�่ำรุนแรง และอาจเสียชีวิตได้ ๗. ควรกลับไปพบแพทย์เพื่อประเมินหลังการ รักษา หรือ เมื่ออาการเปลี่ยนแปลง เมื่อเราได้ทราบดังนี้แล้ว การรักษาโรคกล้าม เนื้อหัวใจขาดเลือดฉับพลัน จึงเป็นสิ่งที่ไม่น่ากลัว น่ากังวล อีกต่อไป ถ้าได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง และทันเวลา


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

วั

นมาฆบูชาเพิ่งผ่านพ้นไป เราได้เห็น ภาพความศรัทธาแห่งพระพุทธศาสนา ของชาวนครรวมทั้ ง ชาวไทยและเทศที่ แห่แหนกันมาบูชาองค์พระบรมธาตุอย่าง มืดฟ้ามัวดิน อีกทั้งตรงกับวันวาเลนไทน์ อันเป็นเดือนแห่งความรักสากล (แต่ก็ไม่ ได้มีการประกาศเป็นสากลโดยองค์กรใด องค์กรหนึ่ง) เหตุการณ์ทางสังคมเหล่านี้ เป็นที่ประจักษ์แล้วว่าความเชื่อและความ ศรั ท ธาเป็ น พลั ง มหาศาลที่ เ กิ ด ผลทาง บวกหรื อ ทางลบก็ ไ ด้ ผมก็ ไ ด้ แ ต่ ภ าวนา ขอสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ ห้ ป ระเทศไทยผ่ า นพ้ น วิกฤตการณ์ต่างๆ ทางสังคมที่มนุษย์สร้าง ขึ้นโดยเร็ว เพื่อจะมีเวลารวมพลังในการ แก้ปัญหาที่เป็นวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งนับวันจะโหมเข้ามาถี่มากขึ้นอย่างหลีก เลี่ยงไม่ได้ จากข้อมูลข่าวสารปีนี้น่าเป็นห่วงว่า เราคงต้องเจอภัยแล้งที่ก�ำลังมา ขณะเขียน ต้นฉบับนี้กลางเดือนกุมภาพันธ์ ตัวเมือง นครน�้ ำ ประปาบางแห่ ง เริ่ ม หยุ ด ไหลมา หลายวันแล้วในช่วงวันมาฆบูชาจนนักท่อง เที่ ย วที่ เ ดิ น ทางมาถึ ง แล้ ว ต้ อ งหนี ไ ปพั ก จังหวัดอื่นกัน ทางอีสานน�้ำโขงชายแดน ไทย-ลาว น�้ำลดระดับจากตลิ่งถึง ๑๔ เมตร ทางภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และทางภาคใต้ที่จังหวัดตรัง และสงขลา บางอ�ำเภอต้องประกาศเป็นพื้นที่ประสบ ภัยแล้งกันแล้ว นักวิทยาศาสตร์สามารถ ติ ด ตามและพยากรณ์ ป รากฏการณ์ ที่ จ ะ เป็นอันตรายต่อมวลมนุษย์ได้อย่างแม่นย�ำ และได้ เ ตื อ นภั ย ให้ รู ้ กั น มาตลอด แต่ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ยั ง ไม่ ส ามารถไปสกั ด กั้ น ภั ย ธรรมชาติ เ หล่ า นั้ น ท� ำ ได้ แ ต่ แ นะน� ำ แนวทางที่จะลดหรือชะลอให้เกิดช้าลง ซึ่ง มีทั้งการร่วมกันสร้างสิ่งแวดล้อมให้สมดุล การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มี จ�ำกัด เป็นต้น ส�ำหรับจังหวัดนครฯ เมื่อไม่ กี่ ป ี ที่ ผ ่ า นมาก็ เ กิ ด ภั ย แล้ ง จนในตั ว เมื อ ง ขาดแคลนน�้ำอุปโภคและบริโภคกันร่วม เดือน ทั้งๆ ที่มีแหล่งต้นน�้ำอันอุดมสมบูรณ์ (ไม่แน่ใจว่าจริงไหม) ไม่เคยขาดน�้ำขนาดนี้ มาก่อน แม้ว่าการแก้ปัญหาหลักเป็นภารกิจของทางราชการ แต่เราในฐานะผู้ร่วม ชะตากรรมก็สามารถช่วยกันหาทางเตรียม ตัวรับมือกันได้ ผมขอคิดด้วยคนเฉพาะใน

www.nakhonforum.com

ตัวเมืองนครนะครับ (พื้นที่อื่นผมไม่ทราบ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์) การจัดหาแหล่งกักเก็บน�้ำธรรมชาติ เป็ น เรื่ อ งที่ น ่ า แปลกใจที่ ว ่ า ประเทศไทย เราในสถานที่เดียวกันเวลาหน้าน�้ำ เกิดภัย น�้ำท่วมต้องหนีขึ้นหลังคาบ้าน แต่พอหน้า แล้งก็แล้งสมชื่อไม่มีน�้ำเลย ในเมื่อสถานที่ นั้นๆ ไม่ได้แล้งถาวรอย่างเช่นประเทศที่มี แต่ทะเลทราย แล้วท�ำไมเราปล่อยน�้ำทิ้ง ลงทะเลในหน้าน�้ำเสียทั้งหมดล่ะ ในเขต เมื อ งนครที่ มี บึ ง ขนาดใหญ่ เ พื่ อ เป็ น องค์ ประกอบของสวนสาธารณะ ได้ แ ก่ ส วน สมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ วัตถุประสงค์ หลักคือการขุดดินน�ำมาใช้กั้นเป็นคันดิน โดยรอบป้องกันน�้ำท่วมจากด้านนอก แต่ ขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งน�้ำของเมืองใน กรณีที่มีเหตุฉุกเฉินเช่น สูบน�้ำใช้ในการ ดับเพลิงหรือใช้รดต้นไม้ในยามแล้ง หลัก การเดียวกันนีถ้ า้ มีการหาสถานทีก่ กั เก็บน�ำ้ (Reservoir) กระจายในที่สาธารณะหลายๆ แห่งโดยใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจไป ด้วยก็จะเป็นการส�ำรองน�้ำไว้ใช้ได้ตลอดปี พื้นที่สาธารณะเพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ดังกล่าว นี้ผมเห็นว่าควรบรรจุไว้ในผังการใช้พื้นที่ ของผังเมืองทุกอ�ำเภอ ส่วนคลองต่างๆ ที่ เป็นทางผ่านของน�้ำจากภูเขาลงสู่ทะเลก็ คงต้องมีการกั้นพนังท�ำประตูระบายน�้ำกัน ไม่ให้น�้ำในคลองแห้งขอด คลองท่าวัง (ที่มี สะพานราเมศวร์) ในอดีตจะมีน�้ำเต็มตลอด ปีใช้เป็นทางสัญจรทางเรือได้ แต่ปัจจุบัน บางปีน�้ำแห้งอย่างน่าตกใจ และในขณะนี้ ได้มีการกั้นผนังคอนกรีตสองฝั่งคลองสูงถึง พื้นชั้นสองของบ้านริมคลอง (หากยืนจาก สะพานก็ จ ะดู เ หมื อ นคู ร ะบายน�้ ำ ที่ ใ หญ่ ที่สุดในประเทศ) เข้าใจว่าเป็นการก่อสร้าง

เพื่อป้องกันน�้ำท่วมทุกปี โครงการนี้คิดว่า เป็นเรื่องดีส�ำหรับชาวเมือง แต่ถ้าได้น�ำ รายละเอียดการออกแบบและประโยชน์ ที่จะได้รับออกแสดงต่อสื่อต่างๆ ก็จะดียิ่ง ขึ้นนะครับ ชาวเมืองจะได้ไม่ต้องวิจารณ์ และคิดเอาเองว่าก�ำลังท�ำอะไรกัน และ ผมขอคิดต่อตามประสาสถาปนิกว่า อาจ สร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ปะบนผนั ง คอนกรี ต นี้ ในช่วงที่เป็นจุดท่องเที่ยว (เช่นบริเวณเชิง สะพานราเมศวร์)ให้ดูเหมือนสวนป่าเพื่อ ลดความแข็งกระด้างลงได้บ้าง การขุ ด บ่ อ ไว้ ใ ช้ ใ นครั ว เรื อ น ท่ า น อาจคิดว่าแนวคิดนี้น่าเป็นเรื่องโบราณคร�่ำ ครึสมัยที่ยังไม่มีระบบการประปา แต่ใคร จะคิดว่าในปัจจุบันน�้ำประปาในตัวเมืองก็ ไหลบ้างและไม่ไหลบ้าง บางครั้งน�้ำก็มีสี ขุ่น เหล่านี้ย่อมบ่งบอกถึงเหตุบางประการ ที่ ช าวเมื อ งต้ อ งเตรี ย มรั บ มื อ กั น เอง ผม ขอเล่ า เรื่ อ งอดี ต ให้ ฟ ั ง สมั ย ที่ ยั ง ไม่ มี ก าร ประปาของเทศบาล ที่บ้านเกิดของผม (ต�ำบลท่าวัง) ทุกบ้านจะต้องขุดบ่อใช้น�้ำ กันโดยขุดฝังบ่อซีเมนต์ประมาณ ๓ - ๔ ปล่อง (ปล่องละ ๕๐ เซนติเมตร) ก็มีน�้ำใส สะอาดใช้กันแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากมีน�้ำใต้ดิน ที่ผ่านการกรองจากชั้นสันทราย (Sand dune) บางบ้านที่ไม่มีบ่อก็จะเข็นรถใส่ ปี ๊ บ น�้ ำ มั น ก๊ า ดที่ ดั ด แปลงใส่ ไ ม้ ต รงกลาง ส�ำหรับหิ้วไปตักน�้ำตามบ่อน�้ำสาธารณะ เช่น วัดศรีทวี เป็นต้นและบางรายก็ขนน�้ำ นี้ไปขายตามบ้านต่างๆ ปัจจุบันหลายบ้าน (โดยเฉพาะอาคารโบราณแถวต�ำบลท่าวัง และต�ำบลในเมือง) ก็ยังเก็บรักษาบ่อไว้ และสภาพน�้ ำ ก็ ยั ง สะอาดใช้ ง านได้ แต่ ส่วนใหญ่ได้ถูกถมไปเนื่องจากการก่อสร้าง อาคารที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้งาน

หน้า ๑๓

ไปแล้ว และบางบ่อมีน�้ำเสียที่ไหลซึมไป ปะปนกับน�้ำในบ่อ แต่อย่างไรก็ตามหากมี การรื้อฟื้นการใช้น�้ำบ่อตามบ้านเรือนของ ประชาชน ก็ จ ะช่ ว ยลดภาระการจั ด หา น�้ำดิบของการประปาลงได้บ้าง เรื่องนี้ ผมก็ขอฝากผู้ที่สนใจไปศึกษาดูความเป็น ไปได้ก็แล้วกัน และขอตั้งข้อสังเกตเรื่อง บ่อน�้ำซับที่มีน�้ำใสไหลออกมาตลอดเวลา บนผิวพื้นทรายโดยไม่ต้องขุดลึกลงไป ซึ่ง มักมีกอไผ่ขึ้นอยู่ใกล้ๆ ว่ามีความสัมพันธ์ อะไรกับน�้ำใต้ดินหรือไม่ ซึ่งสมัยก่อนผม ยังได้เห็นหลายแห่ง เช่นบริเวณป่าสาคู มี กอไผ่หลังอาคารเรียนโรงเรียนเบญจมราชู ทิศ สมัยตั้งอยู่สนามหน้าเมือง และบริเวณ กอไผ่หลังบ้านพักแถวๆ ถนนหลังวัดใหญ่ เป็ น ต้ น (ปั จ จุ บั น มี ก ารเปลี่ ย นสภาพไป หมดแล้ ว แต่ เ ชื่ อ ว่ า ยั ง คงมี บ างแห่ ง ที่ มี ลักษณะดังกล่าวนี้) การหามาตรการประหยั ด น�้ ำ การ จั ด การหาน�้ ำ สะอาดเพื่ อ อุ ป โภคและ บริ โ ภคของประชาชนเป็ น หน้ า ที่ ข อง เทศบาล ซึ่งเป็นภาระที่หนักมากโดยชาว เมืองอาจไม่ทราบถึงความยากล�ำบากใน การผลิตน�้ำออกมาและงบประมาณที่ใช้ ไปในการนี้ ตลอดจนการจัดเก็บค่าใช้น�้ำ ประปาก็คงไม่ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยเพราะมี จุดรั่วไหลมาก ผมเองยังมองในแง่ดีที่จะให้ มีการรณรงค์ประหยัดน�้ำ โดยใช้น�้ำอย่าง เห็นคุณค่าและประหยัดทั้งของชาวเมือง และของหน่วยราชการ ผมเห็นตัวอย่าง งานออกแบบสถานทู ต ไทยในประเทศ ตะวันออกกลางที่มีการจัดภูมิทัศน์ภายใน บริเวณ จะต้องมีการน�ำเสนอชื่อต้นไม้ที่ ปลูกและปริมาณการใช้น�้ำรดต้นไม้และน�้ำ ใช้ในการอุปโภคเพื่อขออนุมัติต่อทางการ ของเขาก่อน ของเราคงไม่ต้องถึงขนาดนั้น หรอกครับ แต่ผมก็เห็นกรณีตัวอย่างการ ใช้น�้ำของพนักงานที่ต่อสายน�้ำประปาไป รดน�้ำให้ต้นไม้ในสวนสาธารณะของเทศ บาลทั้งๆ อยู่ใกล้สระน�้ำที่สามารถสูบน�้ำ โดยไม่จ�ำเป็นต้องผ่านการกรองไปใช้ในปริ มาตรมากๆ ซึ่งเห็นแล้วเสียดายน�้ำประปา ที่กว่าจะผลิตได้ก็ยากล�ำบากกว่า ส่วนใน ภาคประชาชนก็คงต้องหาแนวทางช่วยกัน ประหยัดน�้ำกันต่อไป หน้ า ร้ อ นเดื อ นนี้ ถ ้ า บ้ า นเราผ่ า น ภั ย แล้ ง ไปได้ โ ดยไม่ ข าดน�้ ำ ก็ ค งโชคดี ไ ป เพราะบทความนี้เป็นการเขียนล่วงหน้าที่ ไม่ใช่การท�ำนายอนาคตซึ่งอาจไม่เกิดขึ้น ก็ได้ แต่เพื่อความไม่ประมาทก็ควรหาถัง เก็ บ น�้ ำ ขนาดใหญ่ เ ตรี ย มไว้ บ ้ า งนะครั บ และหากแล้งลากยาวไปถึงเดือนเมษายน ในวันสงกรานต์ก็พอจะมีน�้ำไว้สาดเล่นแก้ ร้อนกันทุกบ้าน


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ย่างที่ได้เกริ่นกันไว้เมื่อฉบับที่แล้ว ว่า ฉบับนี้จะพามาแหงนหน้ามอง ท้องฟ้ากันนะคะ เราจะมาดูเมฆกันค่ะ ใน กิจกรรม “นักอุตุน้อย” เป็ น กิ จ กรรมที่ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบและ การแบ่ ง ชั้ น บรรยากาศ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างอุณหภูมิกับความชื้น ความดัน กระบวนการเกิดเมฆ ชนิดและลักษณะ ของเมฆ นอกจากนี้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม จะได้สังเกตและจ�ำแนกชนิดของเมฆบน ท้ อ งฟ้ า รวมทั้ ง วิ เ คราะห์ ก ราฟจากชุ ด ข้ อ มู ล สถานี พ ยากรณ์ อ ากาศอั ต โนมั ติ และน�ำเสนอข้อมูลพร้อมแสดงความคิด เห็น กิจกรรมนักอุตุน้อยจะใช้รูปแบบ 5 Es ของ สสวท. ประกอบด้วยขั้นสร้าง ความสนใจ (Engagement), ขั้นส�ำรวจ และค้นหา (Exploration), ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation), ขั้นขยาย ความรู ้ (Elaboration), ขั้ น ประเมิ น (Evaluation) โดยเริ่มจากให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมได้ร่วมกันท�ำงานกลุ่ม ร่วมกัน บอกความรู ้ เ ดิ ม เรื่ อ งอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาและ สิ่ ง ที่ อ ยากรู ้ และน� ำ เสนอ หลั ง จากนั้ น วิทยากรก็จะบรรยายและสรุป เมื่ อ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ ส� ำ รวจ ความรู ้ เ รื่ อ งอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาเสร็ จ แล้ ว

าธารณสุ ข เตื อ นเข้ า สู ่ ห น้ า ร้ อ น “ยุ ง ลาย” แพร่ พั น ธุ ์ ไ ด้ ร วดเร็ ว หวั่นโรคไข้เลือดออกระบาดหนัก ชี้ไข่ ยุ ง สุ ด อึ ด ทนได้ ทุ ก สภาพอากาศ เผย แค่เดือนกว่าๆ พบป่วยแล้ว ๑,๔๐๐ ราย ตาย ๑ ราย เร่งรณรงค์ประชาชน ท� ำ ลายแหล่ ง เพาะพั น ธุ ์ ยุ ง ลาย แนะ หากผู้ป่วยมีไข้สูงอาจเข้าสู่ภาวะช็อก ขอให้รีบพบแพทย์เพื่อรักษาอย่างทัน ท่วงที ป้องกันการเสียชีวิต นพ.ณรงค์ สหเมธาพั ฒ น์ ปลั ด กระทรวงสาธารณสุ ข (สธ.) กล่ า ว

วิทยากรก็จะบรรยายเรื่องเมฆ การแบ่ง ชนิ ด ของเมฆ ลั ก ษณะของเมฆ ชื่ อ เมฆ และให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ ป ระดิ ษ ฐ์ ว ง ล้ อ เมฆ และการใช้ ข องโครงการ Lisa Project เพื่อน�ำไปสังเกตเมฆบนท้องฟ้า แล้ ว วาดภาพชนิ ด ของเมฆที่ พ บ พร้ อ ม ชื่อ ลักษณะของเมฆที่พบ รวมถึงสังเกต ปริ ม าณเมฆที่ ป กคลุ ม ท้ อ งฟ้ า บั น ทึ ก ลง ในใบกิจกรรมในคู่มือค่ายฯ ทั้งนี้จะต้อง พยากรณ์อากาศจากข้อมูลเมฆที่สังเกตมา ได้ หรืออาจวิเคราะห์กราฟ (การวิเคราะห์ กราฟจะด�ำเนินการเฉพาะระดับมัธยมขึ้น ไป) กิจกรรมในกลุ่มป่าดินหินน�้ำ ยังไม่ หมดเท่านี้นะคะ ต้องติดตามกันฉบับหน้า ค่ะ ส่วนฉบับนี้ขอส่งท้ายด้วยข่าวกิจกรรม พิเศษในช่วงปิดเทอม Science Summer Camp # 2 วันที่ ๖ – ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เชิญ ชวนเยาวชนอายุ ๙ – ๑๒ ปี หรือก�ำลัง ศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ใช้ เวลาวั น หยุ ด ในช่ ว งปิ ด ภาคเรี ย นให้ เ ป็ น ประโยชน์ โดยได้มาร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อ

เพิ่มพูนประสบการณ์ใหม่กับเพื่อนใหม่ใน ช่วงปิดภาคเรียน ได้มีโอกาสสัมผัสตรงกับ กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วธรรมชาติ แ ละวิ ถี ชุมชน ที่ได้ทั้งความสนุกสนานเพลิดเพลิน พร้ อ มกั บ ซึ ม ซั บ ความรู ้ ไ ปในตั ว ในรู ป แบบการเข้ า ร่ ว มค่ า ยกิ จ กรรมการเรี ย น รู ้ วิ ท ยาศาสตร์ เน้ น ความสุ ข สนุ ก สนาน ได้แก่ • เล่ น และประดิ ษ ฐ์ ข องเล่ น พื้ น บ้ า นในกิ จ กรรมของเล่ น ไทยคุ ณ ค่ า ใหม่ วิทยาศาสตร์

• Walk Rally รอบเขาขุนพนม • Rally คลองนอกท่า • Discovery ชุมชนเขาขุนพนม (วิถีชุมชนชาวสวน) • เปิดเลนส์ส่องฟ้า • มัดเส้นเน้นลาย (มัดย้อม) • ท�ำถุงมือจากน�้ำยางพารา • เส้นสายลายเทียน (บาติก) • นักสืบสายน�้ำ • Adventure • เกมธรรมชาติ รับสมัครผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน ๔๐ คน เปิดรับสมัครถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗ ค่าใช้จา่ ย คนละ ๑,๐๐๐ บาท รวมค่า อาหาร ๗ มือ้ ทีพ่ กั อุปกรณ์กจิ กรรม ติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติมได้ที่ : ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา นครศรีธรรมราช ม.๓ ต.บ้านเกาะ อ.พรหมคีรี จ.นครศรีฯ ๘๐๓๒๐ โทรศัพท์ ๐-๗๕๓๙๗๕๓๙-๖๓๖๓ ต่อ ๑๕ มือถือ ๐๘-๑๘๒๔๘๘๘๐ อ.ทานตะวัน อีเมล์ jangtawan@ hotmail.com

ว่ า ขณะนี้ ไ ทยก� ำ ลั ง เข้ า สู ่ ฤดู ร ้ อ น อากาศอบอุ ่ น ขึ้ น จึ ง มี ผ ลต่ อ การเพิ่ ม จ� ำ นวนยุ ง ลาย ซึ่ ง เป็ น ตั ว การแพร่ เ ชื้ อ ไข้ เ ลื อ ด ออก เนื่องจากช่วงอากาศหนาวเย็นและ สภาพอากาศแห้ง ท�ำให้ระบบไหลเวียน เลื อ ดของยุ ง ไม่ ดี ไม่ มี แ รงบิ น ออกไป หากินเลือดคน จึงใช้ชีวิตแบบจ�ำศีล ไม่ เอื้อต่อการแพร่พันธุ์ แต่เมื่ออุณหภูมิสูง ขึ้นระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น ยุงลายจะ รีบออกมากินเลือดคน ท�ำให้โรคไข้เลือด ออกแพร่ ก ระจายรวดเร็ ว หากมี ฝ นตก

จะยิ่ ง เพิ่ ม แหล่ ง วางไข่ ยุ ง ลาย จึ ง ก� ำ ชั บ ให้ ส�ำนักงานสาธารณสุข ทุกจังหวัด (สสจ.) ทั่ว ประเทศ เร่ ง รณรงค์ ประชาชนก� ำ จั ด แหล่ ง เพาะพั น ธุ ์ ลู ก น�้ ำ ยุ ง ลาย โดยเฉพาะพื้ น ที่ ที่ พบผู ้ ป ่ว ยในปี ที่ผ่านมาให้ท�ำอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ นพ.ณรงค์ กล่าวอีกว่า แม้ปี ๒๕๕๗ ยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง แต่นักวิชาการคาดการณ์ว่าสถานการณ์ จะไม่รุนแรงเช่นปี ๒๕๕๖ ซึ่งพบผู้ป่วย ๑๕๒,๗๖๘ ราย เสี ย ชี วิ ต ๑๓๒ ราย สู ง สุ ด ในรอบ ๒๐ ปี โดยปี นี้ ค าดว่ า จ� ำ นวนผู ้ ป ่ ว ยอาจสู ง ถึ ง ๘๐,๐๐๐ -


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว (ต่อจากฉบับที่แล้ว) ๗. Naim Statement

๕. Sony Bravia X9 Sony ขึ้นชื่อในเรื่องของดีไซน์สวยคลาสสิค และ การคิดนอกกรอบ โดยเฉพาะในสายผลิตภัณฑ์ในวงการ ทีวี เพราะแทนที่จะเดินตามกระแสจอโค้ง Sony กลับ เลื อ กสร้ า งนวั ต กรรมใหม่ ด ้ า นการดี ไ ซน์ เพื่ อ มอบ ประสบการณ์ ใ นการดู ที วี ที่ ดี ที่ สุ ด ให้ กั บ คุ ณ แทน ที วี Bravia รุ่นปี ๒๐๑๔ จะมาพร้อมรูปลักษณ์ใหม่ในฐาน ทรงคล้ายลิ่ม ที่เป็นการยกระดับจากรูปทรงแท่นสีด�ำสุด คลาสสิคเดิมที่เคยมี ข้อดีของฐานแบบใหม่นี้ก็คือ หน้า จอยังสามารถใหญ่ขึ้นกว่านี้ได้อีกโดยไม่ต้องกลัวว่าจะ ล้มลงง่ายๆ (ถ้าหากคุณไม่ได้เอาทีวีไปติดผนัง) เพราะ ดีไซน์ทรงปริซึมเช่นนี้ท�ำให้จุดศูนย์ถ่วงของทีวีอยู่ต�่ำลง ด้วยนัน่ เอง อย่างทีส่ องก็คอื มันสามารถเพิม่ พืน้ ทีส่ �ำหรับ ล�ำโพงดีๆ ได้ ซึ่งก็หมายความว่า นอกจากภาพสวยๆ แล้ว คุณก็ยังจะได้ฟังเสียงคุณภาพดีๆ ด้วยเหมือนกัน Sony Bravia X9 มาพร้อมความละเอียดระดับ UHD / 4K หรือคุณอาจจะเลือกรุ่นรองลงมาที่ความละเอียด 1080p แบบธรรมดาก็ได้ ยังไม่มีการระบุราคาอย่างเป็น ทางการ แต่คาดว่าน่าจะวางขายภายในกลางปีนี้

๑๐๐,๐๐๐ ราย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ม.ค. - ๑๗ ก.พ.พบผู ้ ป ่ ว ยไข้ เ ลื อ ดออกแล้ ว ๑,๔๓๓ ราย เสียชีวิต ๑ ราย ที่น่าห่วงคือ ประชาชนยังเข้าใจผิดว่า การควบคุมยุง ลายเป็นหน้าที่ของ อสม.และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และเคยชินกับการมีลูกน�้ำ อยู ่ ใ นบ้ า น จึ ง ไม่ คิ ด ลงมื อ ก� ำ จั ด แหล่ ง เพาะพั น ธุ ์ ยุ ง ลายด้ ว ยตนเอง แต่ ร อให้ เจ้าหน้าที่มาพ่นเคมีฆ่ายุงตามท่อระบาย น�้ ำ และแอ่ ง น�้ ำ เสี ย ซึ่ ง เป็ น ที่ อ ยู ่ ข องยุ ง ร� ำ คาญที่ กั ด คนกลางคื น ตรงนี้ ต ้ อ งเร่ ง เปลี่ยนทัศนคติว่า บ้านตนเอง ครอบครัว ตนเอง คนในครอบครัวต้องดูแลเอง ด้ า น นพ.โสภณ เมฆธน อธิ บ ดี กรมควบคุมโรค (คร.) กล่าวว่า จากการ วิเคราะห์ข้อมูลโรคไข้เลือดออกปี ๒๕๕๖

นี่อาจจะเป็นของที่เราแทบทุกคนไม่น่าจะได้เป็น เจ้าของเลย เพราะ Naim Statement เปรียบได้ดั่ง ความฝันอันสูงสุดของนักฟังหูทองนี่คือสุดยอดแห่งชุด แอมป์พลิฟายเออร์ ที่ทุกชิ้นจะได้รับการปรับแต่งเฉพาะ ตามความต้องการของผู้สั่งซื้อ คุณต้องใช้พรีแอมป์ NAC ๖. Alienware Steam Machine S1 กับพาวเวอร์แอมป์ NAP S1 อีก ๒ ตัว รวมๆ ราคา Valve และ Dell จับมือกันเผยโฉมนวัตกรรมใหม่ กันแล้วก็ประมาณ ๖.๘ ล้านบาท!! (ยังไม่ได้คิดรวมภาษี) ที่ผสานเอาเกมคอนโซลกับคอมพีซีมารวมกัน ด้วยการ เปิดตัว Alienware Steam Machine ที่งาน CES 2014 Steam box คือเกมคอนโซลใหม่ที่คล้ายๆ กับ Xbox One และ PS4 แต่สามารถใช้เล่นเกมของเครื่องคอมพีซี ได้โดยเฉพาะ ภายในติดตั้งระบบปฏิบัติการ SteamOS ที่ออกแบบมาส�ำหรับการใช้เล่นเกมโดยเฉพาะ มาพร้อม จอยเกมพิเศษ Steam Controller ที่ออกแบบมาให้ใช้ เล่นเกมได้ทุกประเภทไม่ว่าจะขับรถหรือยิงอาวุธต่างๆ ในเกมประเภท FPSส�ำหรับ Steam box รุ่นนี้ได้รับการ ผลิตโดย Alienware ที่มี Dell เป็นเจ้าของ หมายความ ว่าอีกไม่นาน เราคงได้เห็น Steam box ลุยตลาดทั่ว โลกแน่นอน และบางทีนี่อาจจะเป็นการปฏิวัติวงการ เกมคอนโซลเลยก็ว่าได้เครื่อง Alienware Steam Ma- เงินมหาศาลทั้งหมดนั่นคือค่าตัวของเทคโนโลยีที่ต้อง chine มีขนาดประมาณ ๒๐ ซม. หนาอีกราว ๘ ซม. มี ใช้เวลาถึงกว่า ๑๐ ปีในการพัฒนา ทั้งชุดหนักรวมกัน พอร์ต USB 3.0 รวม ๔ ช่อง, HDMI-in และ-out, แลน ประมาณ ๒๐๐ กก. แต่เรื่องของคุณภาพเสียงก็คงไม่ต้อง Ethernet และ optical audio out ที่หมายความว่ามัน อธิบายอะไรกันให้มากความแล้ว จริงอยู่ที่คุณคงต้องไป สามารถเป็นกล่องศูนย์กลางความบันเทิงประจ�ำห้องนั่ง หาซื้อเครื่องเล่นแผ่นเสียง, ซีดี, ชุดล�ำโพงคุณภาพดีๆ มา เล่น ที่ใช้ได้ทั้งเล่นเกม, ดูหนัง, ทีวี ฟังเพลง ฯลฯ คาด อีก แต่ทั้งหมดนั่นคงกลายเป็นแค่เรื่องจิ๊บจ๊อยเมื่อเทียบ ว่าจะวางขายภายในช่วงปลายปี และน่าจะมีราคาไม่ห่าง กับค่าตัวของชุดแอมป์สุดอลังการงานสร้างชุดนี้ จากเครื่องเกมคอนโซลที่วางขายอยู่ ณ ตอนนี้มากนัก อ่านต่อฉบับหน้า

พบว่า วัยรุ่นอายุ ๑๔-๒๔ ปีป่วยมากที่ สุดร้อยละ ๒๙ รองลงมาคือกลุ่มเด็กอายุ ๑๐-๑๔ ปีร้อยละ ๒๑ กลุ่มเด็กอายุ ๕-๙ ปีร้อยละ ๑๔ และกลุ่มผู้ใหญ่อายุ ๒๕๓๔ ปีร้อยละ ๑๓ โดยปี ๒๕๕๗ วัยรุ่น ยั ง เป็ น กลุ ่ ม เสี่ ย งสู ง เนื่ อ งจากวิ ถี ชี วิ ต มี ความเสี่ยงโดนยุงลายกัดเพิ่มมากขึ้น เช่น ท�ำกิจกรรมนอกห้องเรียน รวมกลุ่มเล่น เกมในร้านคอมพิวเตอร์ หรืออยู่สถานที่ บันเทิงเป็นเวลานานเป็นต้น “ที่น่าห่วงคือแม้บ้านจัดสรร ทาวน์เฮาส์ และคอนโดมี เ นี ย มสมั ย ใหม่ จ ะมี มุ้งลวดป้องกันยุงมิดชิด ไม่มีโอ่งเก็บน�้ำ ในบ้าน แต่ยุงลายสามารถพัฒนาตัวและ หาแหล่ ง วางไข่ ไ ด้ ที่ ต รวจพบคื อ ใน คอห่ า น ซิ ง ค์ น�้ ำ หรื อ อ่ า งล้ า งมื อ ล้ า ง

หน้าทั่วๆ ไป หากพบมียุงบินในบ้านเป็น สั ญ ญาณเตื อ นว่ า มี แ หล่ ง เพาะพั น ธุ ์ ยุ ง ลายในบ้านแน่นอน ขอให้นึกถึงซิงค์น�้ำ และรี บ ก� ำ จั ด ยุ ง ลายโดยต้ ม น�้ ำ ให้ เ ดื อ ด และเทราดลงในซิงค์น�้ำทุก ๕-๗ วัน เพื่อ ท�ำลายไข่ยุง นอกจากนี้ยังพบในจานรอง น�้ ำ ของเครื่ อ งท� ำ น�้ ำ เย็ น ชนิ ด คว�่ ำ ถั ง ซึ่ ง นิยมตามโรงเรียน โรงอาหารต่างๆ ซึ่งไข่ ยุงลายสามารถทนน�้ำเย็น ทนหิมะได้เป็น เวลานาน โดยไข่ จ ะสลบชั่ ว คราว หาก อุณหภูมิเปลี่ยน ก็กลายเป็นตัวยุงได้เช่น กัน” นพ.โสภณ กล่ า วด้ ว ยว่ า ขณะนี้ ยั ง ไม่ มี วั ค ซี น ป้ อ งกั น ไข้ เ ลื อ ดออก วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ การป้ อ งกั น ขอให้ ป ระชาชน ทุกคน ทุกครัวเรือน ช่วยกันก�ำจัดลูกน�้ำ

ยุ ง ลาย และป้ อ งกั น ตั ว เองไม่ ใ ห้ ยุ ง กั ด โดยสวมใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ใช้ ย าทากั น ยุ ง นอนในมุ ้ ง หากป่ ว ย มี อ าการไข้ สู ง ลอยทั้ ง ผู ้ ใ หญ่ แ ละเด็ ก กิ น ยาพาราเซตามอลแล้ ว ไข้ ยั ง ไม่ ล ด ไม่ไอ ไม่มีน�้ำมูก ซึ่งต่างจากการเป็นหวัด ที่ จ ะมี น�้ ำ มู ก ร่ ว มด้ ว ย ร่ ว มกั บ คลื่ น ไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร อาจมีจุดเลือดออก ที่ผิวหนัง ขอให้รีบไปพบแพทย์เพื่อรับ การตรวจรักษา หากเป็นไข้เลือดออก แล้ว ช่วงระยะไข้ลดลงในวันที่ ๓-๔ ของ การป่ ว ย หากผู ้ ป ่ ว ยมี อ าการเซื่ อ งซึ ม กินอาหารดื่มน�้ำไม่ได้ อาจเข้าสู่ภาวะ ช็อก ขอให้รีบพบแพทย์เพื่อรักษาอย่าง ทันท่วงที ป้องกันการเสียชีวิต ข้อมูลจาก สสส.


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

Tarzanboy

มว่ า จะมาเนิ น นี้ อี ก รอบ ตอน สงกรานต์ที่จะถึงเนี่ยแหละ กะจัด ทริปพักผ่อนเหมือนทุกปี” ขณะนอนตีพุง หลังมื้อเย็น ผมขยายแผนการกลางฤดูร้อน ให้สมาชิกฟัง “พอดีผมคิดว่า ตรงนี้เหมาะมากจะ เอา สะดือลูกชายมาฝากเจ้าป่าเจ้าเขาให้ ช่วยเลี้ยงหน่อย” ก่อนหน้านั้นผมแน่ใจ ว่าผมต้องได้ลูกชาย และแอบเล็งเนินนี้ไว้ แล้ว พิธีกรรมนั้น ลูกป่า ลูกเขาอย่างผมจ�ำ ต้องเรียนรู้ “เออ !!! เคยได้ยินเหมือนกัน ว่าเขา จะเอาสะดือเด็กมาฝังไว้ตามป่าตามเขา มั น เป็ น ไงอ่ ะ พี่ ” บางคนเริ่ ม สนใจซั ก ไช้ ไล่เลียง “คือ ว่า ...ตามโบราณแล้ว คนที่ได้ ลูกชาย หมายถึง ลูกพราน ลูกชาวบ้าน ป่าธรรมดาน่ะ เขาจะต้องบอกกล่าวและ ฝากฝังจิตหรือแทนสะดือนี่แหละ ไว้กับป่า เขา ยิ่งภูเขาสูงยิ่งดี เป็นกุศโลบายให้คน รู้จักเคารพ หรือให้ความรักต่อผืนป่า เช่น ว่านี่คือ ผืนดินของลูก หรือผืนดินที่เปรียบ ดั่งบิดามารดา” “ผมคิดว่าได้เวลาเปิดเทรลนี้ซะที ผม มาครั้งแรกเกือบสิบปีแล้ว ผมขึ้นมาจาก ด้านน�้ำตกอ้ายเขียวนี่ ตอนนั้นทั้งลมทั้งฝน ยืนยังแทบไม่ติด ผมเลยเรียกมันว่า เนิน ลมฝน ตั้งแต่นั้น” คราก่อนยังติดตากับ พายุเป็นเกลียวหอบเอาเมฆลงไปในหลุม อุกาบาตพร้อมกับฟ้าแลบ แปล๊บปล๊าบ ตามมา ผมไม่รู้มาก่อนว่า หลุมด�ำที่ลมดูด เมฆลงไปนั้นคือทุ่งหญ้าเขียวขจีในวันนี้ “เอ้า แล้วสงกรานต์ไม่ติดทริปอื่น เหรอ คนน่าจะมาเยอะน่ะ ช่วงท�ำเงินเลย นะนั่น” ใช่ ในตาราง

ทริป ผมแน่นไปด้วยทริปที่บรรจุไป ทุกยอด “ใช่ พี่ แต่ที่นี่ ผมกะท�ำเป็นทริป.... หาตั ง ค์ ใ ห้ ลู ก ชาย... แบบว่ า ใครจะจ่ า ย ไม่ จ ่ า ยก็ ไ ด้ จะมาเฉยๆ ก็ ไ ม่ ว ่ า ผมว่ า สงกรานต์ อ ะไรก็ ตั้ ง หน้ า จะชาร์ ต ราคา เพื่อนๆ ผมทั้งนั้นถือว่าเป็นของขวัญวันปี ใหม่ไทย หากใครอยากจ่ายก็จะเก็บเงิน ก้อนนั้นไว้ให้เจ้าลมฝน...จะมีบ้างถ้าหาก ต้องหา คนมาช่วย เหมือนเทียนเหมือน โต๊ดเนี่ยแหละ” ผมเหลือบไปมองเพื่อนร่วมทีม เทียน ซึ่งสาละวนอยู่กับการดูว่าผ้าใบหลังคาคืน นี้ จะรองรับพวกเราได้หมดมั้ย ส่วนโต๊ด ก็คอยหยิบโน่นหยิบนี่ให้บริการทั้งที่สั่งไว้ แล้วว่า ทุกคนกันเองทั้งนั้น “ผม ท� ำ ทั ว ร์ น ่ ะ ครั บ จริ ง ๆ ผมไม่ สามารถพาใครเข้าป่าโดยไม่รู้ว่าจะได้อะไร มั่ง แบบนั้นไม่ได้หรอกครับ มันเป็นงาน ของผม เหมือนงานของคนอื่นๆ หากสิ้น เดือนมา เจ้านายบอกว่า หารเฉลี่ยกันนะ ผมว่า... คุณคงช๊อค..!!!” ผมสนิทกับทุกคน จึงรู้สึกว่า บางสิ่งผมพูดได้ “คื อ ผมท� ำ งานต้ อ งได้ รั บ ผลตอบ แทน หากพูดให้ใครฟังเขาคงว่า หน้าเงิน ว่ะ อะไรท�ำนองนั้น แต่พวกพี่ดูซิ น้องๆ เด็กๆ ความจริง เขามีภาระทางบ้าน ภาระ ตัวเองเหมือนกับทุกคนมี นี่เป็นงานของ เขา ชวนคนป่ามาเที่ยวแล้วบอกว่า หาร เฉลี่ยกันไปเหมือนกรณีอื่นๆ ผมท� ำไม่ได้ หรอก ผมก็เหมือนเขา เราไม่ใช่นักท่อง เที่ยวหรอกครับ ผมเดินป่าแต่ที่นี่ ไม่เคย

ท่องไปตามใจฝันแบบนักท่องเที่ยว เรามัน ...แค่ชาวบ้านธรรมดา หาเช้ากินค�่ำ แค่ ลูกจ้างแรงงาน เพียงแต่งานเราก็ต้องยึด หลักยึดแนวที่ควรจะเป็นเหมือนกัน ไม่ใช่ ฟอร์เซลทุกอย่าง” “อิจฉาพี่บอยจัง” เบิร์ดเจ้าเก่านั่ง เป็นหมียักษ์อยู่ในถุงนอนไซด์เอ๊กซ์ๆ แอล เราไม่ได้เหนื่อยอะไรกันมาก อาการ ล้าๆ แบบขี้เกียจวันก่อนก็ดูเหมือนท�ำหล่น ลงเนินไหนไปแล้วก็ไม่รู้ จึงไม่มีใครอยาก นอน พอดีกับดาวบนดินและดาวจริงบน ฟ้าเริ่มเปิดเวทีประชันกัน ...ฟ้าสวยจริงๆ ทางช้างเผือกขาวนวล พาดผ่านไปจรด โน่น ทิวไกลพ้น โน่น!!! ไม่ รู้ว่าหนึ่งล้านจะมากแค่ไหน แต่บนฟ้า นี้มากกว่าสามล้านดวงแน่ นั่นอีกดาวดิน วาวระยับหลากสี พวกเรานอนโผล่คอยื่น หน้าออกไปราวกับว่า มองจากหน้าต่าง ห้องนอน น�้ำค้างเริ่มแรงยามลมสงบ คืนนี้ ไม่มี...ลมฝน ท่ามกลางฟ้าห่มดาวผมมอง ไปยังดาวดินเบื้องล่างนั่น “...ไหนกันนะ บ้านที่มีเจ้าลูกชายอยู่ ป่านนี้จะงอแงกับแม่มั้ย จะรู้มั้ยว่าพ่อยืน มองจากตรงนี้”.... ..............................


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

คืนหนาวนี้หนาวนัก แรมปีที่ก้าวผ่านขุนเขา ค้นหา แต่สิ่งมีค่านั่น...อยู่เบื้องล่าง หาใช่บนยอดสุดภูผา ตัวข้าเอ๋ย นี่แหละตัวข้า หาใช่หน้ากากแห่งเจ้าป่านัน้ ไม่ ล่าถอยเถิดปีนป่ายมายาภาพ อย่าหลงเมามนต์วนทนอ้อม สู่ที่สูง...แต่ใจไม่สูง หามีไม่หมู่มิตรอันจีรังยั่ง หัวใจเจ้า...คอยอยู่เบื้องล่าง คืนนี้คืนหนาวนัก หัวใจเจ้ายังคอยอยูเ่ บือ้ งล่าง แลนี่คือสาส์นในสายลมฝน....

“แล้ว ค�ำว่า ลมฝน หมายถึงแค่นี้เหรอ” ใคร บางคนส่งค�ำถามล้วงถึงใจใครบางคน หากยามใด ผมรู้สึก ต่อสิ่งใด มากกว่าปกติ หมายถึง มากกว่า สรรหาค�ำใดมาอธิบายความรู้สึกแห่งปรารถนาดีนั้น ได้ .....ลมฝน....จะแทนค�ำนั้น “ลมฝนครับทุกคน”

นครศรีธรรมราช

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

หน้า ๑๗

เป็นเส้นทางเดินป่าตามทางถนนเก่า (ที่โดนอุทกภัยขาดหมดแล้ว) ที่ตัดจากกรุงชิงผ่านเขาหลวงไปออกที่พิปูน จุดที่ไปพักกันเป็นชั้นน�้ำตกเล็กๆ เรียกว่า หนานคุเรียน เพราะมีต้นคุเรียนต้นใหญ่อยู่ใกล้น�้ำตก เป็ น ทริ ป สองวั น หนึ่ ง คื น ที่ ไ ด้ เ ห็ น ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ของป่าบ้านเราอีกครั้งหนึ่ง ไม่อยากคิดว่าถ้าถนนยังใช้งานได้อยู่ ป่ากรุงชิงจะโดนบุกรุกหนักแค่ไหน ขอบคุณอุทกภัยปี ๒๕๓๑


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นภสร มีบุญ

รบรอบสองปี กั บ การเปิ ด ตั ว ร้ า น อาหาร สไตล์ ชิว ชิว ของคนรุ่นใหม่ กับบรรยากาศนั่งสบาย โปร่ง โล่ง รับลม ชมดาวเคล้าเสียงดนตรี ร้านที่ดูเหมือนจะ เล็ก แต่ก็ไม่เล็ก ... เพราะลูกค้าที่มาส่วน ใหญ่ล้วนมาสร้างบรรยากาศให้ยิ่งดูอบอุ่น ห้องคาราโอเกะที่จุประมาณ ๒๐ คน บน ชั้น ๒ เป็นอีกหนึ่งบรรยากาศส�ำหรับคนที่ ต้องการความเป็นส่วนตัวได้อย่างลงตัวทั้ง มื้อเย็นและมื้อค�่ำ การก่อเกิดร้านอาหาร ร้ า นนี้ นั้ น เกิ ด จากความชอบส่ ว นตั ว ของ น้องชาติ เจ้าของร้าน (คุณอภิชาติ แก้วสุวรรณ) และรอคอยอย่างมีความหวังว่า จะมีร้านอาหารแบบนี้เกิดขึ้นที่เมืองคอน รอแล้วรอเล่าก้อไม่มีร้านแนวนี้ซักที จน อดรนทนไม่ไหวเลยต้องมาเปิดร้านของตัว เอง ยึดแนวที่ตัวเองชื่นชอบ และควบคุม จั ด การ พร้ อ มวางแผนงานทั้ ง หมดด้ ว ย ตนเองตามที่ หั ว ใจเรี ย กร้ อ งแต่ ที่ แ น่ ๆ เล็กๆ ไม่ (ไม่ใช่แนวของผมแน่นอน ตาม ด้ ว ยเสี ย งหั ว เราะเบาๆ ประสาคนหนุ ่ ม อารมณ์ดี) นั่งคุยกันได้ซักพักเจ้าของร้าน ก็สั่งน�้ำมะนาวให้ดื่มเพื่อดับกระหายจะได้

มีแรงสัมภาษณ์ต่อ แล้วก็ท�ำให้ได้รู้ข้อมูล เพิ่ ม เติ ม ว่ า ชายหนุ ่ ม ไฟแรงคนนี้ ยั ง คงมี โครงการใหม่และใหญ่ตามมาอีกในเร็วๆ นี้ค่ะ “De Bell Garden Restaurant” ในบริเวณข้างเคียงก็จะถือก�ำเนิดเปิดใหม่ อีกหนึ่งร้าน โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จก่อน เดือนเมษายน เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ให้ กั บ ลู ก ค้ า ซึ่ ง เป็ น ทางเลื อ กที่ แ สนจะ ลงตั ว อี ก หนึ่ ง ร้ า น เพราะจะมี บ ริ ก ารทั้ ง อาหารเช้าแบบพื้นบ้าน, อาหารเช้าแบบ

ตอนนี้บอกตรงๆ ค่ะ ว่าน�้ำย่อยเริ่มท�ำงาน เพราะกลิ่นอาหารรสอร่อยที่ทยอยมาวาง ตรงหน้า พร้อมเครื่องดื่มรสละมุน ยังไง คงอดใจที่จะลิ้มรสไม่ไหวแน่นอนค่ะ ไม่ ว่าจะเป็นเมนูจานฮิต ตะกร้าเดอเบลล์, ย�ำเดอเบลล์, เป็ดอบยอดผัก, แซลมอน กรี๊ ด มะนาว และที่ ลื ม ไม่ ไ ด้ ค ่ ะ ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ม าฉลองวั น เกิ ด ที่ ร ้ า น รั บ ผลไม้ จานพิเศษในโอกาสครบรอบวันเกิด ขอ กระซิบบอกไว้เลยว่าจัดได้น่ารักมากมาย .. อย่าพลาดนะคะเกี่ยวก้อยชวนคนพิเศษ ของคุ ณ แวะมาได้ ทุ ก วั น ค่ ะ ส� ำ หรั บ ที่ นี่ De’Bell @ เมื อ งคอน ส� ำ รองจองโต๊ ะ ผ่านผู้จัดการร้านคนสวย น้องผักบุ้งได้เลย นะคะ โทร.๐๘-๔๐๔๐-๔๔๐๖ ร้านเปิด บริการทุกวัน ตั้งแต่ช่วงเย็นแดดร่มลมตก อเมริกัน, อาหารกลางวัน, อาหาร (Halal จนถึงเที่ยงคืนค่ะ Food) ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมก่อน ใครเพื่อรองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ สิทธิพิเศษ : ของ AEC ภายใต้ แ บรนด์ “Golden ส�ำหรับแฟนคลับ นสพ.รักบ้านเกิด และ Camel Tea & Coffee” และยังมีบริการ ท่านผู้อ่านคอลัมน์ โอ ลั่ลล้า .. ห้องประชุม จุประมาณ ๓๐ ท่าน อีกทั้ง รับทันทีส่วนลด ๑๐% ค่ะ ยั ง รองรั บ งานจั ด เลี้ ย ง สั ง สรรค์ แ ละงาน ขอบคุณ : น้องอภิชาต แก้วสุวรรณ แต่ ง งานได้ อ ย่ า งครบวงจร ฟั ง ความคิ ด และครอบครัว และความมุ่งมั่นตลอดจนการวางแผนงาน น้องบุ้ง ผู้จัดการร้านคนสวย ของน้องชายคนนี้แล้ว ต้องขอชื่นชมและ พร้อมพนักงานทุกคนค่ะ ยกนิ้วให้ กับความเป็นนักธุรกิจหน้าใหม่ นักดนตรีทุกท่าน อย่ า งเต็ ม ตั ว ของเค้ า จริ ง ๆ ค่ ะ .. มาถึ ง ที่ส่งตรงความสุขทุกค�่ำคืน

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.