วารสารหอนคร ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2556

Page 1

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2556 (วารสารราย 2 เดือน )

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 กระทรวงมหาดไทยร่วม กั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ (สศช.) ณ ห้องประชุม 1 กระทรวงมหาดไทย ได้ จัดการประชุมทางไกลผ่านวิดีทัศน์ (Video Conference) เพื่อชี้แจงกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ IMT-GT (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT) ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ หน้า 8

หน้า 9

เรื่องจากปก

สุริยัณห์ - กิติพงศ์ ปัญจคุณาธร และ บุญทวี ริเริ่มสุนทร

คุยกับประธานหอฯ ข่าวกิจกรรมหอฯ บุญทวี ริเริ่มสุนทร หน้า

3

หน้า

4

เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2556 นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร กับนายสุริยัณห์ ปัญจคุณาธร 2 กรรมการบริหารห้าง สหไทย น�ำกระเช้าของขวัญปีใหม่ไปมอบแด่ นายบุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช อ่านต่อหน้า 5 ณ ส�ำนักงานหอการค้าจังหวัดฯ

รายงานข่าว

กงสุลจีน เปิดอาคาร ‘ฉาย รุ่งนิรันดรกุล’ หน้า

10

50 ปี เชฟรอนประเทศไทย พัฒนาพลังงาน เชื่อมั่นพลังคน

หน้า

8

กฎหมายใกล้ตัว แชร์ใครคิดว่าไม่ส�ำคัญ

หน้า

7 เยี่ยมเยือนสมาชิกหอนคร โรงพยาบาลนครพัฒน์ก้าวไกล นพ.พรชัย ลีลานิพนธ์ ผอ.โรงพยาบาลนครพัฒน์ หน้า

11


1488 ซอยเอกนคร ถ.ศรีปราชญ์ ต.ท่าวัง อ.เมือง นครศรีธรรมราช


เจ้าของ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช บรรณาธิการผู้อ�ำนวยการ บุญทวี ริเริ่มสุนทร ที่ปรึกษา จามร เจริญอภิบาล, รุจาทิตย์ สุชาโต, จักรพรรดิ์ ลีเลิศพันธ์, วาริน ชิณวงศ์, เดือนเพ็ญ ศรีเพชร, สุทธิภัทร ทัศน์นิยม สุรพงษ์ พจนเมธา บรรณาธิการอาวุโส จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร กองบรรณาธิการ มคธ เวสาลี นักเขียนรับเชิญ สุทธิภัทร ทัศน์นิยม พงษ์พิพัฒน์ ศิริตันตรานนท์ ศิลปกรรม อารี มุทุกันต์ ช่างภาพพิเศษ สายัณห์ ยรรยงค์นิเวศน์ เลขากองบรรณาธิการ รัชนี พิณทอง ส�ำนักงาน 6/24 หน้าโรงแรมทวินโลตัส ถ. พัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ. นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 0-7532-5223, 08-6478-1737 โทรสาร 0-7532-5224 อีเมล์ nakhonsichamber@hotmail.com ; pinthong.r@hotmail.com เว็บไซต์ www.nakhonsichamber.com พิมพ์ที่ โรพงพิมพ์ประยูรการพิมพ์ 5 สี่แยกหัวถนน-ศาลามีชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 075-446155 นายประยูร เงินพรหม ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา

ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดใช้ 2556” ในเทศกาลตรุ ษ จี น ปี นี้ ขอให้ ทุ ก ท่ า นมี ค วามสุ ข ความเจริ ญ ความ ร�่ ำ รวยและสุ ข ภาพที่ แ ข็ ง แรง มี ค วามรั ก และเอื้ออาทรกันมากๆ นะครับ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช ขอ แสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่งต่อท่านผู้ว่าฯ วิ โ รจน์ จิ ว ะรั ง สรรค์ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล จาก หอการค้ า ไทย “ส� ำ เภาทอง” อั น ดั บ 1 ประจ�ำปี 2555 ซึ่งเป็นผลงานที่แสดงให้เห็น ถึงความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งระหว่างภาค รัฐ - ภาคเอกชน ที่ท�ำงานกันอย่างใกล้ชิด ท่านเป็นคนขยันและติดตามงานจริงๆ ครับ แนวทางการพัฒนาประเทศไทยของ รัฐบาล จะมีจุดประสงค์หลัก คือ เพิ่มราย ได้ ลดค่าใช้จ่าย สร้างโอกาสและการแข่งขันใหม่ มุ่งสู่ AEC ครับ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แ ละกลยุ ท ธิ์ ข องจั ง หวั ด ก็ จ ะไปใน แนวทางเดียวกัน หลายๆ การประชุมทั้งใน ส่วนกลางและภูมิภาค เราจะเห็นว่าผู้บริหาร ประเทศจะเน้นและให้ความส�ำคัญทางด้าน เศรษฐกิ จ เป็ น อย่ า งมาก ประเทศของเรา ทะเลาะกันเองมานาน เพื่อนบ้านเขาสร้าง บ้านเสร็จหมดแล้ว เรายังไม่ได้ท�ำอะไร ช่วง นี้จึงเป็นเวลาของการเร่งรีบ ท�ำบ้านให้ทัน เขาครับ ทุกคนต้องช่วยกันครับ เวลาน้อย กรอบการท�ำงานต้องแคบและเป้าหมายต้อง มีชัดเจน เป็ น ความภาคภู มิ ใ จและดี ใ จของ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราชที่หน่วย งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยช่ ว ยกั น ผลั ก ดั น

โครงการที่หอการค้าฯ น�ำเสนอ 2 เรื่อง คือ 1. การประกาศให้สนาม บินนครศรีธรรมราชเป็นสนาม บิ น ศุ ล กากร ( CUSTOM AIRPORT) โดยให้ท�ำการน�ำของเข้า, ส่ ง ของออกและส่ ง ออกสิ่ ง ของ ที่ ข อคื น อากรขาเข้ า หรื อ ของที่ มี ทั ณ ฑ์ บ น ของสินค้าทุกประเภทได้ที่สนามบินนครศรีธรรมราช เป็นการเตรียมพร้อมส�ำหรับการ ค้ า ระหว่ า งประเทศ ต่ อ ไป ผลไม้ , อาหาร ทะเล, สิ น ค้ า หั ต ถกรรม, สิ น ค้ า แปรรู ป , สิ น ค้ า ตั ว อย่ า ง, พื ช ผลการเกษตร, สิ น ค้ า อุตสาหกรรม สามารถส่งออกและน� ำเข้าได้ ที่ ส นามบิ น นครศรี ธ รรมราชได้ แ ล้ ว นะครั บ ขอได้ใช้บริการกัน เราเตรียมพร้อมให้ทุกท่าน แล้วนะ 2. นครศรี ธ รรมราช ได้ เ ป็ น เมื อ งพี่ เมืองน้องกับมณฑลซานตง (Shandong) ของ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น มณฑลชานตง มี ประชากร 96,373, 000 คน มากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 20 ของ ประเทศ มีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มากมาย เช่ น อุ ต สาหกรรมรถยนต์ , ยางรถยนต์ , ปิ โ ตรเคมี , โรงงานเบี ย ร์ ชิ ง เต่ า (Tsingtao Beer), อุตสาหกรรมท่องเที่ยว อยู่ห่างจาก ปักกิ่ง 600 กิโลเมตร พื้นที่ติดทะเลตะวันออก ของจี น เป็ น เมื อ งที่ มี ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงาม คาดว่ า เมื่ อ เราได้ ล งนามความเป็ น เมื อ งพี่ เมืองน้องแล้ว จะมีการพัฒนาด้านการค้า การลงทุน - การท่องเที่ยว - การแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ระหว่างกัน มณฑลซานตงยังเป็น เมืองอุตสาหกรรมยางรถยนต์ที่ส�ำคัญของจีน มี “ศูนย์วิจัยเทคโนโลยียางรถยนต์แห่งชาติ” และมี แ ผนที่ จ ะสร้ า ง “ศู น ย์ ก ลางยางพารา ของจีนในเขตซื่อฟาง เมืองชิงเต่า เราคงจะได้ ค้าขายสินค้าต่อกันและกันครับ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 นี้ จังหวัด จะได้ มี ก ารจั ด ประชุ ม กรอ. จั ง หวั ด ขึ้ น

บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีธรรมราช

หอการค้าฯ จะขอให้ช่วยเร่งรัดจัดท� ำถนน สายผังเมืองที่ยังค้างอยู่ให้เสร็จโดยเร็ว เพื่อ เป็นการขยายถนน แก้ปัญหาจราจรครับ ปี นี้ อ ากาศเปลี่ ย นแปลงมาก ผลไม้ นอกฤดู ก าลออกมาจ� ำ นวนมาก และชาว สวนคาดว่าเป็นสัญญาณของความแห้งแล้ง สภาวะอากาศค่อนข้างจะเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว เราภาคธุรกิจก็ควรเผื่อความเสี่ยง เอาไว้ด้วย นครศรีธรรมราชเป็นเมืองแห่งศิลปะ เราเสียดายที่หลายฝ่ายไม่ได้ช่วยจัดท�ำภูมิ ทัศน์ของเมืองให้น่าดู น่าศึกษา มีแต่จะทุบ ท�ำลายลง เรามาช่วยกันสร้างและอนุรักษ์ให้ คงอยู่และดูสวยงามนะครับ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช ยัง เดินหน้าต่อไป อยากให้มาช่วยกันท�ำ มา ช่วยกันคิดให้กับบ้านเมืองของเราด้วยการ เป็นสมาชิกหอการค้า หรือประสงค์จะเป็น กรรมการหอการค้ า ฯก็ ข อเชิ ญ นะครั บ ... ขอบคุณครับ


รอ

บหอน

วารสารหอนคร ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2556 น�ำเสนอรายงานยาวๆ ‘ยุทธ์ศาสตร์ พั ฒ นา 14 จั ง หวั ด ภาคใต้ ’ ของ รัฐบาลในกรอบ IMT-GT รองรับการ เปิดประชาคมอาเซียน ปลายปี 2558 ข้อมูลโครงการขับเคลื่อนต่างๆ บาง ท่านอาจยังไม่ทราบรายละเอียด ปลายเดือนมกราคม ทรงพล สวาสดิ์ ธ รรม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ ประชุมเตรียมความพร้อมหัวหน้าส่วนราชการและหน่วย งานที่เกี่ยวข้องเตรียมเสนอแผนงาน/กิจกรรมของจังหวัด เข้าสู่กรอบยุทธศาสตร์กรอบแผนงาน IMT-GT พร้อมแผน กลยุทธ์และแผนธุรกิจระดับพื้นที่เชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค IMT-GT อาเซียน เป้าหมาย คือ ‘การเพิ่มรายได้ ลดราย จ่าย ขยายโอกาส เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน’ ใน 3 แนวทาง ได้ แ ก่ เมื อ งท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ แ ละ วัฒนธรรม, เมืองเกษตรสุขภาพ/คุณภาพ และศูนย์กลาง ตลาดสินค้าเกษตร และศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ที่ทุ่งสง ซึ่งบุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ เรี ย กร้ อ งและผลั ก ดั น มาตั้ ง แต่ ต ้ น แผนยุ ท ธศาสตร์ IMT-GT ยังประกอบด้วยโครงการพระบรมธาตุเจดีย์ วัด พระมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นมรดกโลก ที่เริ่มก่อรูปก่อร่าง สมัย ภาณุ อุทัยรัตน์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดผ่านกลุ่มสื่อ ท้องถิ่น น�ำโดย สุรโรจน์ นวลมังสอ (นสพ.นครโพสต์) ไพฑูรย์ อินทศิลา (เดลินิวส์) กับโครงการพัฒนาแหล่งท่อง เที่ยวที่ผู้ประกอบการต้องสามัคคีมีปากเสียง อย่าให้ส่วน ราชการคิดเองท�ำเองแต่ฝ่ายเดียว

คร

วั น ที่ 12-13 มกราคม 2556 จามร เจริ ญ อภิ บ าล ประธานกิตติมศักดิ์หอการค้าจังหวัดนครศรีฯพร้อมคณะ กรรมการหอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ฯ ร่ ว มประชุ ม คณะ กรรมการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ภาคใต้ หอการค้าไทย ครั้ง ที่ 4/2555 ที่โรงแรมแกรนด์แมนดาริน อ.เบตง จ.ยะลา ร่วม ปรึกษาหารือเสนอแนวคิดประเด็นยุทธศาสตร์หอการค้า กลุ่มจังหวัดอ่าวไทย เจ้าภาพจัดงาน DINNER TALK หัวข้อ ‘เชื่ อ มั่ น เศรษฐกิ จ ชายแดนใต้ ’ สร้ า งบรรยากาศการค้ า ก่อนเปิด AEC ที่ประชุมมีความเห็นร่วมกันว่าจะน�ำคณะ กรรมการหอการค้า 14 จังหวัดเดินทางไปสร้างความร่วม มือกับหอการค้าของมาเลเซียที่เมืองอิโปห์ รัฐเปรัคและ หอการค้าปีนัง เร็วๆนี้. การเติบโตของทุนท้องถิ่นอย่าง เครือสหไทยที่ต้องรับมือกับทุนส่วนกลางและทุนต่างชาติ กิตติพงศ์ ปัญจคุณาธร กับ สุริยัณห์ ปัญจคุณาธร กรรมการ

บริหารเครือสหไทย บอกเล่าถึงการ ‘เทคโอเวอร์’ ห้างบิ๊กซี นครศรีฯ มาปรับปรุงเป็นห้างสรรพสินค้าเต็มรูปแบบและ เปิดโอกาสให้คนหนุ่มสาวผู้ต้องการท�ำธุรกิจไปลงชื่อเช่า พื้นที่เสียแต่เนิ่นๆ วาริน ชิณวงค์ รองประธานหอการค้า จังหวัดนครศรีฯ เปรยเรื่องทุนส่วนกลาง ทุนต่างชาติ และ ทุ น สี เ ทา ที่ เ ข้ า มาในเมื อ งนครไว้ อ ย่ า งน่ า สั ง เกต พร้ อ ม ค�ำถาม--ท�ำอย่างไรจึงจะช่วยให้ทุนท้องถิ่นยืนอยู่ได้อย่าง แข็งแกร่ง ราคารังนกแอ่นจากแหล่งปากพนังเคยหอม ‘ของดีจังหวัดนครศรีธรรมราช’ ร้านอาหารบ้านบางรัก หวานส่งขายตลาดจีนกิโลกรัมละ 50,000 - 60,000 บาท ร่วงลงเหลือกิโลกรัมละ 12,000 -15,000 บาท รุจาธิตย์ ร้านเรินไม้ ของ สาธิต รักกมล (อ.เมือง) ร้านแดรี่ฮัท (สาขา สุชาโต รองประธานฝ่ายเศรษฐกิจหอการค้านครศรีฯ ใน อ.พระพรหม) ของ เสนอ ผั น แปรจิ ต ร ขั บ เคลื่ อ น แนวทางส่งเสริมและรับ ประกั น ร้ า นค้ า และร้ า น อาหาร บุ ญ ทวี ริ เ ริ่ ม สุ น ทร ประธานหอการ ค้ า นครศรี ฯ และคณะ กรรมการไปมอบป้ายรับ ประกั น ‘ของดี จั ง หวั ด รุจาธิตย์ สุชาโต ขณะให้สัมภาษณ์นักข่าวช่อง 7 นครศรี ธ รรมราช’ แก่ ร้ า นอาหารบ้ า นบางรั ก วั น ที ่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 บุญทวี ฐานะเจ้ า ของคอนโดนกให้ สั ม ภาษณ์ สื่ อ ท้ อ งถิ่ น และสื่ อ เมืองหลวงความว่ามีพ่อค้าใช้สารฟอกให้รังนกแอ่นกลาย ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ร่วมงาน เป็นสีแดง เพื่อให้ขายได้ในราคาสูง ซึ่งมีชาวจีนซื้อไปรับ สัมมนาระดมความคิดเห็นในระดับภูมิภาค (ภาคใต้) เรื่อง ประทานและเสียชีวิต ทางการจีนจึงเชื่อว่าในรังนกนางแอ่น ‘ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ 2 มีสารพิษเจือปนจึงชะลอการสั่งซื้อ ราคาจึงร่วงอย่างไม่เคย ทศวรรษหน้า’ เป็นมาก่อน จังหวัดนครศรีฯ ประกาศยุทธศาสตร์เป็น ‘เมือง รังนก’ ต้องเร่งกอบกู้ความเชื่อมั่นกลับคืน นโยบาย ปรับค่าแรง 300/วัน ส่งผลมหาศาล ยุทธกิจ มานะจิตต์ ประธานสภาอุตสาหกรรมนครศรีฯ มองว่าต่อไปผู้ประกอบ การ SME ที่กระทบมากอาจต้องจ่ายค่าแรงเป็นรายชิ้น และ น�ำเครื่องจักรมาแทนแรงคนซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนระบบ ผลิตและการจ้างงานเพื่อให้ยืนอยู่ได้ ทั้งเสนอรัฐบาลเรื่อง การประกันสังคมให้ลดเหลือ 2 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้สองฝ่าย จ่ายฝ่ายละ 1 เปอร์เซ็นต์ ถึงขาดระดับนโยบายเหลียวแล สรวิศ จันทร์แท่น รองประธานฝ่ายประสานงานภาค บริ รั ก ษ์ ชู สิ ท ธิ์ พาณิ ช ย์ จั ง หวั ด รัฐและเอกชนหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ร่วมการประชุม นครศรีฯ ยืนยันยังจัดกิจกรรม ‘ถนน กรรมการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ภาครัฐและเอกชน คนเดิน’ ทุกวันศุกร์ - วันเสาร์ ที่ ประจ�ำเดือนมกราคม 2556 สนามหน้ า เมื อ งภายใต้ แ คมเปญ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ‘นครศรี ดี๊ ดี ’ ต่ อ ไป โครงการ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครTO BE NUMBER ONE ของจังหวัดนคร ศรีฯ รับรางวัล ‘ส�ำเภา ศรีฯ ได้รับการคัดเลือกเป็นโครงการ ทอง’ จาก จารุ พ งศ์ บริรักษ์ ชูสิทธิ์ ประเภทดีเด่น ระดับภาค ผู้ว่าฯ เรื อ งสุ ว รรณ รัฐมนตรี วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ วางแนวทางสร้างและขยายเครือข่าย ว่าการกระทรวงมหาดป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามโครงการลงสู่ทุก ไทย ในฐานะผู้ให้ความ อ�ำเภอ โดยเฉพาะการตั้งชมรมในสถานประกอบการ โดย ร่ ว มมื อ และสนั บ สนุ น เริ่มที่ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ลาภทักษิณพลาสติก และห้างหุ้น การท�ำงานระหว่างองค์ส่วนผาทองทุ่งสง จ�ำกัด ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์ กรภาครั ฐ และเอกชน จังหวัดนครศรีฯ มอบป้ายร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือก ดี เ ด่ น ในงานสั ม มนา ใช้สินค้า Q (Q RESTAURANT) ประจ�ำปีงบประมาณ 2555 แก่ หอการค้ า ทั่ ว ประเทศครั้ ง ที่ 30 ณ อิ ม แพค อารี น ่ า ร้านอาหารเรือนผักกูด ของ กิตติ เจริญพานิช (อ.ช้างกลาง) เมืองทองธานี ปลายปี 2556


เรื่องจากปก

พร้อมปรึกษาหารือ และขอให้หอการค้าจังหวัดฯ ท�ำ จดหมายรั บ รองความปลอดภั ย ในฐานะองค์ ก รภาค เอกชนที่ได้รับความเชื่อถือ เพื่อน�ำไปยืนยันและชักชวน เจ้าของกิจการระดับชาติและระดับภูมิภาคให้มาเปิดสาขา ภายในห้างสหไทยสรรพสินค้า หลังเครือสหไทยซื้ออาคาร ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซีปัจจุบันจากผู้ถือหุ้น 3-4 ราย แล้ว ตัดสินใจปรับปรุงให้ทันสมัย ทั้งเปลี่ยนชื่อจากห้างบิ๊กซี เป็นห้างสหไทยเต็มรูปแบบเหมือนสหไทยพลาซ่าทุ่งสง สหไทยพลาซ่าสุราษฏร์ธานี และสหไทยพลาซ่าเพชรบุรี ก�ำหนดเปิดหลังมิถุนายน 2556 นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร บอกเล่าสภาพของห้าง บิ๊กซีหลังจากเครือสหไทยซื้อตัวอาคารจากผู้ถือหุ้นพบว่า บันไดเลื่อน 4 ตัวช�ำรุดใช้การไม่ได้เลย “เราโดนร้านค้าบ่น เราเพิ่งรับเข้ามาบริหารปลายๆ ปี 2555 โซ่บันไดเลื่อนตัว ละ 4 แสนเสียพร้อมๆ กัน 4 ตัว ปกติไม่เสียพร้อมๆ กัน เพราะไม่มีการดูแลรักษา เราพยายามแก้ไขปรากฏว่า โซ่ยืดแล้ว เราได้สั่งซื้ออะไหล่จากประเทศจีน สิ้นเดือน มีนาคมบันไดเลื่อนจะใช้ได้เป็นปกติ ที่ผ่านมาเราต้องยอม รับว่าชาวนครมีความอดทนสูงมาก ถ้าเป็นกรุงเทพฯ ลูกค้า

ไม่เข้าแน่นอน ซึ่งต้องกราบขอบพระคุณเป็นอย่างมาก” แม้บันไดเลื่อนจะใช้การไม่ได้ แต่หลังวันที่ 13 ธันวาคม 2555 ที่ เ ครื อ เมเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ เปิ ด ฉายรอบ ปฐมทัศน์ นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร กล่าวว่า “หนึ่งตัวบิ๊กซี เองมีสินค้าวางจ�ำหน่ายจ�ำนวนมาก เมื่อเครือเมเจอร์ฯ คุณภาพโรงกับคุณภาพหนังเชื่อถือได้มาเปิด การตอบ รับจึงค่อนข้างดี ร้านสุกี้เอ็มเคก็ขายดีขึ้นกว่าเก่า ตรงนี้ ถ้าคุณมีไฮเปอร์มาร์เก็ตมันก็จะเกื้อกัน เมื่อดูตัวเลขผู้เข้า ห้างพบว่ายังดีมาก เราจึงมีแผนผรับปรุงให้มีแฟชั่นใหม่ๆ เช่น ลีวายส์ แม็ค โอเรียนทอลพริ้นเซส เข้ามา เราไปชวน ร้านอาหารหลายๆ ร้าน อย่างโออิชิ ชาบูชิ ราเม็ง สเต็ก ชื่อเจฟเฟอร์ เอสแอนด์พี แดรี่ควีนส์ รวมทั้งฟูจิซึ่งเป็น ภัตตาคารอาหารญี่ปุ่นที่มี 27 สาขาในกรุงเทพฯ ผมคิดว่า ร้านอาหารจะเป็นตัวดึงดูดและท�ำให้มีคนสนใจมากขึ้น นครศรีธรรมราชเป็นเมืองใหญ่สามารถรองรับได้” ต่อมาภัตตาคารอาหารญี่ปุ่นฟูจิเริ่มไม่มีความมั่นใจ “ส�ำหรับฟูจิเราตกลงกับเจ้าของคือคุณไดซากุ ทานะกะ กันเรียบร้อยแล้ว พอไปถึงทีมงานเขายังติดขัดในแง่ของ เรื่อง...คือเมืองนครยังมีคนเข้าใจผิด อันตรายมั้ย มีการ ก่อการร้ายมั้ย เมื่อก่อนเขาได้ยินว่าเป็นเมืองคนดุ เข้าใจ ผิดกันเยอะ พอมีเหตุการณ์ทางใต้ ทีมงานจึงไม่ค่อยมั่นใจ ตอนแรกผมท� ำ จดหมายชี้ แ จงไปแล้ ว แต่ มี ผู ้ ใ หญ่ เ ขา แนะน�ำว่าจดหมายจากศูนย์สหไทยมีน�้ำหนักไม่มากพอ เขาบอกว่าน่าจะมีจดหมายของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ เช่น หอการค้าจังหวัดฯ เพื่อให้มีน�้ำหนักมากขึ้น ผมมาเรียน ปรึกษาท่านประธานฯ ขอความกรุณาให้ช่วยท�ำจดหมาย จะได้เอาเข้าไปโน้มน้าวชักชวน”

ต่อจากหน้า 1

นายบุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัด นครศรี ธ รรมราช รั บ ปากพร้ อ มให้ ข ้ อ เสนอแนะ “ด้ ว ย ความยินดี ทางหอการค้าฯจะท�ำหนังสือแสดงข้อเท็จจริง จังหวัดมีโครงการ ‘นครศรีดี๊ดี’ อยู่แล้ว ปี 2544 เทศบาล นครนครศรีธรรมราชก็ได้รับการยกย่องเป็นเทศบาลน่า อยู่ ผมสามารถยืนยันโดยใช้ข้อมูลของต�ำรวจ ที่จ�ำนวน คดีอาชญากรรมลดลง เอาข้อมูลจากคลังจังหวัดยืนยันว่า เศรษฐกิจก็ดีขึ้น รวมถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์ การร่าง จดหมายอย่างนี้เราอาจไม่ช�ำนาญพอ จึงขอให้ทางสหไทย ร่างมาก่อน” ประธานหอการค้ า ฯ จึ ง สอบถามถึ ง แผนการ ปรับปรุงห้างหลังอาคารเป็นของเครือสหไทยแต่ผู้เดียว นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร ตอบว่า “ตึกเป็นของสหไทย แล้ว เพียงแต่บิ๊กซีเป็นผู้เช่า และเช่าค่อนข้างเยอะคือชั้น 1 จ�ำนวน 10,000 ตารางเมตร ที่เหลือ 35,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่สหไทยบริหารทั้งหมด ร้านอาหารเราจะจัดให้อยู่ ชั้น 2 เกี่ยวกับการก่อสร้าง เดือนกุมภาพันธ์เราจะลงมือ ผู ้ รั บ เหมา ผู ้ อ อกแบบเราใช้ บ ริ ษั ท จากกรุ ง เทพฯ ที่ เ ขา ช�ำนาญด้านออกแบบศูนย์การค้ามาก่อนโดยเฉพาะ เขา เคยท�ำเออร์เบิ้ล เอเชียติ๊ก เราท�ำทั้งโครงสร้าง และการ ตกแต่งภายนอกภายใน พลิกโฉมหน้าของห้างให้ทันสมัย เอาสินค้าแบรนด์เนมมาขายมากขึ้น บรรยากาศจะเป็น ศูนย์การค้ามากขึ้น บานานาไอทีก็จะมาเดือนมีนาคมเมษายน เราจะเริ่มประชาสัมพันธ์เพราะว่าเราเพิ่งชัดเจน เรื่องแผนงานหลังปีใหม่นี่เอง” นายบุญทวี ริเริ่มสุนทร ถามถึงโอกาสของร้านค้า ท้ อ งถิ่ น ก็ ไ ด้ รั บ ค� ำ ตอบว่ า ร้ า นลิ ก อร์ แ ละรายอื่ น ๆ ที่ มี

ศั ก ยภาพยั ง คงอยู ่ ต ่ อ ไป และผู ้ บริหารสหไทยตอบว่าเน้นขายราย ใหญ่ๆ รายย่อยๆ ให้กรอกไปสมัคร แล้วเราจะเลือก ลิกอร์อยู่ต่อส่วน รายย่อยก็จะเปิดรับสมัคร นายกิ ติ พ งศ์ ปั ญ จคุ ณ าธร กล่าวว่า “ผมมองว่าตอนนี้มีดีมานด์ คนท�ำธุรกิจ ขายเสื้อผ้า มือถือ คน สนใจมาเรื่ อ ยๆ คนอยากมี ธุ ร กิ จ ส่วนตัว มีดีมานด์เยอะในเมืองนคร ซึ่ ง เรามี พื้ น ที่ ร องรั บ คนที่ เ ริ่ ม ต้ น ธุรกิจพอสมควร ถ้าศูนย์เรียบร้อยมี ความพร้อมทั้งโรงหนัง ร้านอาหาร ดี ๆ บรรยากาศดี ก� ำ ลั ง ซื้ อ โอเค โลเกชั่นเราดีเพราะอยู่ในเมือง กลุ่ม นักเรียนนักศึกษา ข้าราชการ วัน ธรรมดานักเรียนนักศึกษาเข้าบ่อยๆ ข้าราชการพักเที่ยงมาทานข้าว ถ้า มีร้านค้าเยอะๆ อาจท�ำให้บิ๊กซีที่เช่า พื้นที่ขายได้ดีก็สามารถแข่งกับห้าง ต่างชาติได้” นายสุ ริ ยั ณ ห์ ปั ญ จคุ ณ าธร เล่าย้อนถึงความเป็นมาของอาคาร ที่เป็นห้างบิ๊กซีปัจจุบันว่า อาคารแห่งนี้ก่อสร้างเสร็จเมื่อ ปี 2539 โดยการร่วมทุนของกลุ่มพ่อค้าในจังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น เครือสหไทย ลัคกี้ดีพาร์ทเม้นต์สโตร์และ เครือสินอุดม เมื่อสร้างอาคารแล้วเสร็จ กลุ่มบิ๊กซีที่ยัง ไม่มีต่างชาติถือหุ้นจะเข้ามาถือหุ้น 51 เปอร์เซ็นต์ หลังเกิด วิกฤตทางการเงิน (ต้มย�ำกุ้ง) เมื่อปี 2540 กลุ่มบิ๊กซีจึง ไม่เสี่ยงร่วมทุน ผู้ลงทุนจึงเป็นหนี้ธนาคารประมาณ 300 ล้านบาท และไม่สามารถช�ำระหนี้ได้ ปี 2546 มีการเจรจา ประนอมหนี้ แ ละหาผู ้ เ ช่ า รายใหม่ กลุ ่ ม ทุ น กาสิ โ นจาก ประเทศฝรั่งเศสเข้ามาถือหุ้น 42 เปอร์เซ็นต์พร้อมเปิดห้าง คาร์ฟูร์ ต่อมากลุ่มคาสิโนขายกิจการให้บิ๊กซี กลุ่มผู้ถือหุ้น เดิมทั้งสหไทย ลัคกี้ฯ และเครือสินอุดมยังเป็นหนี้ธนาคาร พร้อมดอกเบี้ย ดังนั้น การะดมทุนครั้งใหม่เพื่อน�ำเงินมา ปรับปรุงห้างค่อนข้างยากเพราะต้องใช้หลักทรัพย์ กลุ่มผู้ ถือหุ้นจึงปรึกษาหารือร่วมกันในที่สุดเครือสหไทยตัดสินใจ ซื้ออาคารโดยใช้เงินกว่า 100 ล้านบาท ประมาณปลายเดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม 2556 ป้ายสหไทยพลาซ่าจะขึ้นแทนที่ป้ายบิ๊กซี และ เปิ ด บริ ก ารเต็ ม รู ป แบบ “สหไทยพลาซ่ า เป็ น ห้ า ง ส�ำหรับคนไทย เป็นห้างที่ชาวนครสามารถเข้ามาซื้อ ของ พักผ่อน พบปะสังสรรค์ ถ้าวันหนึ่งห้างสรรพ สินค้าเจ้าใหญ่จากกรุงเทพฯเข้ามา เราก็ต้องปรับปรุง ให้ดีขึ้นไปอีก เราต้องหากลุ่มลูกค้าของตัวเอง จัดหา สินค้าบริการตอบสนองกลุ่มเรา อย่าไปชน หลีกเลี่ยง เขา ผมว่ายังไปกันได้” นายสุริยัณห์ ปัญจคุณาธร กล่าวในที่สุด


รายงานข่าว กงสุลใหญ่แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน สงขลา ร่ ว มเป็ น ประธานเปิ ด อาคาร หลังใหม่มูลค่า 20 ล้านบาทที่โรงเรียน เจริญวิทย์ จันดี

เมื่อวันที่ 24 มกราคา 2556 ฯพณฯ สุ ่ ย หมิ ง เลี่ ย ง กงสุ ล ใหญ่ แ ห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน ประจ�ำจังหวัดสงขลาให้เกียรติ เปิดอาคาร ‘ฉาย รุ่งนิรันดรกุล’ ที่นายฉาย รุง่ นิรนั ดรกุล คหบดีชาวไทยเชือ้ สายจีนบริจาค เงิน 20 ล้านบาทก่อสร้างอาคาร 3 ชั้น มอบ ให้แก่โรงเรียนเจริญวิทย์ ต�ำบลไสหร้า อ�ำเภอ ฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีข้าราชการ ผู ้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ตั ว แทนสมาคมพ่ อ ค้ า จี น สมาคมชาวจีนและผู้ปกครองนักเรียนมาร่วม เป็นสักขีพยานประมาณ 500 คน นายฉาย รุ่งนิรันดรกุล เปิดเผยว่า ตน

ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง

เติบโตมาอย่างยากล�ำบาก แต่อาศัยความรู้ ด้านภาษาจีนเป็นเครื่องมือประกอบอาชีพ จนประสบความส�ำเร็จ จึงมีความปรารถนา จะให้เด็กๆ ได้มีโอกาสเรียนภาษาและศึกษา วั ฒ นธรรมจี น ซึ่ ง ในอนาคตภาษาจี น จะมี ประโยชน์ ด ้ า นการติ ด ต่ อ ค้ า ขายและสั ง คม อย่างมาก ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง กล่าวกับแขก ผูเ้ กียรติวา่ ตนมีความยินดีอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มาร่วม เปิดอาคารเรียนหลังใหม่ที่สวยงาม โรงเรียน เจริญวิทย์เป็นโรงเรียนเก่าแก่เปิดสอนมานาน กว่า 70 ปี และเติบโตอย่างยากล�ำบากในช่วง แรกๆ ขอขอบพระคุณต่อนายฉาย รุง่ นิรนั ดรกุล ทีใ่ ห้การส่งเสริมด้านการศึกษา ซึง่ ต่อไปใน อนาคตจีนจะมีอทิ ธิพลอย่างมาก เราพยายาม

สนับสนุนการเรียนภาษาในโรงเรียนเจริญวิทย์ และโรงเรียนที่สอนภาษาจีนในภาคใต้ โดย เฉพาะโรงเรียนเจริญวิทย์มีครูชาวจีนมาสอน ถึง 7 คน ทัง้ นีจ้ นี ได้มอบเงินทุน 500,000 บาท สนับสนุนการสอนภาษาจีน และกล่าวขอบคุณ ครูชาวจีนที่จากบ้านเกิดมาอยู่ในที่ไม่คุ้นเคย ซึง่ หวังว่าจะอยูอ่ ย่างมีความสุข นายจีรวัฒน์ จิรตั น์ฐกิ ลุ ประธานมูลนิธิ จันดีการศึกษา กล่าวว่า โรงเรียนก่อตัง้ มากว่า 70 ปี โดยชาวจันดีรนุ่ ก่อนๆ ให้การสนับสนุน อย่างอดทน จนผ่านอุปสรรคมาได้ ปัจจุบัน โรงเรียนมีนักเรียนกว่า 1,300 คน เพิ่มขึ้น ปี ล ะ 30 เปอร์ เ ซ็ น ต์ มู ล นิ ธิ จั น ดี ฯ ผู ้ ดู แ ล โรงเรียนจึงสร้างอาคารหลังใหม่อกี หลังรองรับ นักเรียนทีจ่ ะเลือ่ นชัน้ ในปีการศึกษา 2557


วิ ศ วกรระดั บ 10 การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) หั ว หน้ า คณะท� ำ งาน ศูนย์ข้อมูลการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ลู ก หลานชาวหั ว ไทร-ชะอวด ศิษย์เก่าเบญจมราชูทิศและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (หาดใหญ่ ) ผู ้ พยายามสร้ า งความเข้ า ใจแก่ ท ้ อ งถิ่ น ถึ ง ความ จ�ำเป็นในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่อ�ำเภอ หัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช มานาน 3 ปี เมื่อกลางเดือนมกราคา 2556 มีการประท้วง คัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่จังหวัด กระบี่มีปัจจัยมาจากอะไร สภาพทะเลกระบี่มีความสมบูรณ์ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะหลั ง เกาะศรี บ อยาที่ อ าจใช้ เ ป็ น เส้ น ทางขนถ่ า นหิ น เรื่ อ งนี้ ต ้ อ งย้ อ นกลั บ ไปมอง การวางแผนด้ า นพลั ง งานที่ ต ้ อ งจริ ง จั ง มากขึ้ น พลังงานไฟฟ้าต้องแบ่งเป็นโซน โรงไฟฟ้าประเภท ไหนต้องตั้งที่ไหน เรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องการท่อง เที่ยว เรื่องการท�ำมาหากินของชาวบ้าน ก็ต้องดู ว่าพื้นที่ใช้สอยตรงนั้นใช้ประโยชน์อะไรบ้าง คน อยู่มากหรือน้อย อันที่จริงเรื่องการศึกษาพื้นที่ นอกจากด้ า นเทคนิ ค แล้ ว ต้ อ งดู อ ย่ า งอื่ น ด้ ว ย สมัยก่อนเราใช้ด้านเทคนิคเป็นหลัก กับเรื่องการ พัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นให้ค่าไฟถูก เพื่อดึงนัก ลงทุน ปัจจุบันมันมีปัจจัยหลายด้าน ความจริงมี การวิจัยเรื่องแผนที่แดดกับแผนที่ลมไว้แล้ว ตรง ไหนมีศักยภาพที่จะท�ำได้ การก่อสร้างโรงไฟฟ้า เหมือนการก�ำหนดผังเมือง เรายังไม่มีโซนนิ่งเรื่อง โรงไฟฟ้า เรื่องพลังงาน ซึ่งจัดการได้หมด และ ไม่มีข้อโต้แย้งในสังคม ปัจจุบันการใช้ไฟฟ้าในภาคใต้เป็นอย่างไร ภาคใต้ก�ำลังผลิตติดตั้ง 2,100 เมกะวัตต์

สัมภาษณ์ ไม่เพียงพอ โรงไฟฟ้าหลักๆ ที่เดินเครื่องตอนนี้ โรงไฟฟ้าจะนะ 700 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าขนอม 700 เมกะวั ต ต์ จากเขื่ อ นเชี่ ย วหลานกั บ เขื่ อ น บางลางเป็นตัวเสริมประมาณ 300 เมกะวัตต์ จาก กรุงเทพฯ อีก 600 เมกะวัตต์ ถ้าจากกรุงเทพฯ ไม่พอก็ติดเครื่องโรงไฟฟ้าน�้ำมันเตาที่กระบี่ 320 เมกะวัตต์ หากยังไม่พอต้องซื้อจากมาเลเซียถ้าเขา ขาย ถ้าเขาไม่ขายต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าดีเซลที่ สุราษฎร์ฯ 240 เมกะวัตต์ ถ้าใช้น�้ำมันดีเซลเป็น เชื้อเพลิงต้นทุนค่าไฟฟ้าจะตก 8 บาทต่อหน่วย ไฟฟ้า น�้ำมันเตาก็ราว 6 บาทต่อหน่วยไฟฟ้า เขื่อน ก็มีน�้ำน้อยทั้งยังใช้เพื่อการชลประทาน การประปา ใช้ผลักดันน�้ำเค็ม แล้วแต่คณะกรรมการลุ่มน�้ำเขา สั่งว่าวันนี้คุณปล่อยได้กี่ล้านคิวฯ เราต้องบริหาร ว่าจะเปิดตอนไหน ถ้าพม่างดส่งก๊าซเพื่อซ่อมท่อการไฟฟ้าฯมีแผน อย่างไร เราต้ อ งเดิ น เครื่ อ งโดยใช้ น�้ ำ มั น เตาที่ โ รง ไฟฟ้ า ราชบุ รี โรงไฟฟ้ า พระนครใต้ โรงไฟฟ้ า พระนครเหนือ โรงไฟฟ้าวังน้อยที่ใช้น�้ำมันเตาแทน ก๊าซได้ โรงไฟฟ้าอื่นๆ ก็ต้องเตรียมพร้อมหมด ใช้ น�้ำมันเตาโรงไฟฟ้ากระบี่เสริม..แต่โรงไฟฟ้าจะนะ กับขนอมใช้ไม่ได้ ต้องใช้ดีเซล... ถ้าไม่พอ ถ้าไม่พอต้องเอาจากกรุงเทพฯลงมา ซื้อจาก มาเลเซีย แต่จะส่งผลต่อค่าเอฟที องค์ประกอบ ของค่าไฟฟ้าปัจจุบันเกือบ 50 เปอร์เซ็นต์เป็นค่า เชื้อเพลิง ถ้าเราจ่ายเงิน 100 บาท 50 บาทเป็น ค่าเชื้อเพลิง ถ้าเชื้อเพลิงแพงขึ้นเราก็ต้องจ่ายเพิ่ม

ซึ่งคณะกรรมการฯจะพิจารณา 4 เดือนครั้ง ถ้า ใช้เชื้อเพลิงถูกค่าเอฟทีอาจจะลดลงก็ได้..ทุกวันนี้ บางคนยังไม่รู้ว่าโรงไฟฟ้าจะต้องหยุดซ่อม เหมือน รถยนต์พอวิ่งได้สักระยะก�ำหนดก็ต้องเปลี่ยนถ่าย น�้ำมันเครื่อง โรงไฟฟ้าแต่ละโรงก็เหมือนกัน ใน ภาคใต้มีปัญหามาก เวลาโรงไฟฟ้า เช่น โรงขนอม จะหยุด โรงจะนะจะหยุด เขาก็ต้องเตรียมโรง กระบี่ไว้เลย..น�้ำมันเตาก็ต้องส�ำรองเผื่อฉุกเฉิน อย่างเสาไฟล้ม ต้องมีส�ำรองไว้ให้ ..อุบัติเหตุเกิด ได้ตลอดเวลา ไม่ใช่ 100 เปอร์เซ็นต์ทั้งหมด ความจ�ำเป็นในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใน นครศรีฯ มีมากเพียงไร ตอนนี้ทั้งประเทศโรงไฟฟ้าใช้ก๊าซเป็นเชื้อ เพลิง 70 เปอร์เซ็นต์ และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ค่าไฟฟ้าเป็นค่าเชื้อเพลิงเสีย 50 เปอร์เซ็นต์ พอ ค่าเชื้อเพลิงสูงค่าไฟฟ้าขึ้น..เราจะท�ำอย่างไรถึง จะให้ เ กิ ด ความสมดุ ล เพราะฉะนั้ น เชื้ อ เพลิ ง ตัวไหนที่แนวโน้มในตลาดโลกราคาจะขึ้นช้า ถ้า เทคโนโลยีปัจจุบันก็คือถ่านหินกับนิวเคลียร์ โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ถูกที่สุดเชื้อเพลิงใส่ครั้งหนึ่งอยู่ได้ ปีครึ่ง โรงหนึ่งอยู่ได้ 60 ปี แต่ต้นทุนสูง 100,000 กว่าล้านบาทต่อ 1,000 เมกะวัตต์ โรงจะนะหรือ ขนอมอยู่ที่ 20,000 กว่าล้านบาท ถ่านหิน 30,000 ล้านนิดๆ แนวโน้มการใช้ไฟฟ้าในภาคใต้เป็นอย่างไร ประเด็นเรื่องภาคใต้ไฟฟ้าไม่พอ แนวโน้ม การใช้ไฟฟ้าของภาคใต้เพิ่มขึ้นทุกปีๆ ละ 6 เปอร์เซ็นต์หรือประมาณ 150 เมกะวัตต์ต่อปี เพราะ ว่านโนบายรัฐส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก เกาะสมุยกับเกาะพะงันใช้ 110 เมกะวัตต์ การพยากรณ์การใช้ไฟฟ้าเขาคิดว่า ปี 2555 จะใช้สัก 90 เมกะวัตต์ แต่มันกระโดด ขึ้นไปถึง 110 เมกะวัตต์ สายที่มีอยู่ไม่เพียงพอ พอโอเวอร์โหลดมันเกิดปัญหาได้ ปี 2553-54 ใช้ 25,000 เมกะวัตต์ พอปี 2555 ใช้ 26,000 เมกะวัต์ กระโดดสู ง มาก ไฟส� ำ รองมี ร วมทั้ ง หมดอยู ่ ที่ 31,000 เมกะวัตต์ รวมทุกโรง ถ้าโตแบบนี้เราสร้าง โรงไฟฟ้าโรงหนึ่งอย่างถ่านหินใช้เวลา 8 ปี จัด กระบวนการ 3 ปี ก่อสร้าง 5 ปี เพราะฉะนั้น ถ้า เพิ่มอย่างนี้ปีละ 1,000 เมกะวัตต์ เราต้องสร้างกัน ปีละโรงถึงจะพอใช้ ของภาคใต้ปีละ 150 เมกะวัต์ สมมติเราสร้างโรงถ่านหิน 800 เมกะวัตต์ กว่าจะ สร้างเสร็จการใช้ไฟฟ้าก็เพิ่มไปเรื่อยๆ 4 ปี ก็ 600 เมกะวัตต์ เราสร้าง 5 ปี โรงหนึ่ง 800 เมกะวัตต์ เท่ากับว่าตั้งแต่เราเริ่มสร้างจนสร้างเสร็จไฟฟ้าที่ เพิ่มขึ้นก็พอดี..ปัจจุบันมันขาดอยู่แล้ว ภาคใต้ปี 2555 ใช้กว่า 2,300 เมกะวัตต์ เพิ่มเพราะอะไร เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ขยายตัว ด้านการ เกษตรของจังหวัดนครศรีฯ อย่างสูบน�้ำใช้ไฟฟ้า หมด ใช้ กั น มากเพราะไฟฟ้ า เพื่ อ การเกษตร ราคา 2.70 บาทต่อหน่วยไฟฟ้า นากุ้งเปลี่ยนจาก เครื่องยนต์มาเป็นไฟฟ้าหมด สามารถลดค่าจ้าง แรงงานได้ คนหนึ่งคุมได้ 5 บ่อ เมื่อก่อนบ่อหนึ่ง ดูแลกัน 7-8 คน บ่อกุ้งตั้งแต่ปากพนังยันระโนด ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเดินสายให้ไม่ทัน-- ไฟฟ้าขาด ตามซอยในหมู่บ้านชาวบ้านร้องขอใช้ไฟฟ้าจน ท�ำให้ไม่ทัน.. ท�ำไมต้องที่หัวไทร เพราะว่ามีสภาพพื้นที่รกร้างว่างเปล่าอยู่ มาก บางครอบครั ว อยู ่ ไ ม่ ไ ด้ ต ้ อ งออกจากบ้ า น

ไปท�ำสวน การเกษตรโซนทะเลล่มมาจากท�ำนา กุ้ง ปัจจุบันนากุ้งบ่อขนาด 4 ไร่ เช่าท�ำปีละ 5,000 บาท ซึ่งไม่มีความมั่นคง จังหวัดนครฯ อยู่ตรง กลางของภาคใต้ หัวไทรเป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง นครฯกับสงขลา ถ้าก่อสร้างโรงไฟฟ้าแล้วพัฒนา หลายๆ อย่างให้เป็นจุดแวะพัก ชาวบ้านมีอาชีพมี เงินกองทุนรอบโรงไฟฟ้าโรงละเกือบ 200 ล้านบาท ถ้า 2 โรงประมาณ 300 ล้านกว่าบาทต่อปี เม็ด เงินจ�ำนวนมากจะกระจายลงไปยังชุมชนแล้วแต่ ชุมชนก�ำหนด ปกติตามกฎหมายชุมชนรายรอบ 5 กิโลเมตร แต่อาจเกินไปบ้างก็แล้วแต่การตกลง กับชุมชน อย่างที่อ�ำเภอจะนะขยายคลุมหมดทั้ง อ�ำเภอ แล้วแต่ชุมชน..ชุมชนได้ทุกปี ไม่ต้องไป วิ่งขอใคร เงินกองทุนจากโรงไฟฟ้าจะไปเสริมงบ ประมาณของทางราชการ ทางผู้น�ำศาสนาบอกว่า เขาสบายใจเพราะมีเงินบ�ำรุงศาสนาวัฒนธรรมทั้ง ชาวพุทธ-ชาวมุสลิม เรื่องการศึกษาจะเข้ามาเสริม เพราะ อบต.งบประมาณน้อย องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น มองเห็ น โอกาส เพราะว่าเราพาไปดูงานที่แม่เมาะหรือที่อื่นๆ ผู้น�ำ ท้ อ งถิ่ น มี วิ สั ย ทั ศ น์ เขามองเห็ น โอกาสที่ จ ะได้ เม็ ด เงิ น มาพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ตั ว เอง..บางครั้ ง เขาก็ ไม่รู้จะท�ำอย่างไร มีวิสัยทัศน์แต่ขับเคลื่อนไม่ได้ เพราะงบฯน้อย..อบจ.ดูทั้งจังหวัดมี 1,000 ล้าน กว่าบาท แต่ต้องดูแล 23 อ�ำเภอ ในอนาคตไฟฟ้า จะมีบทบาทด้านการคมนาคม เราอาจใช้ไฟฟ้า ส�ำหรับรถยนต์ที่ใช้แบตเตอรี่ ลดมลภาวะ ต่อไป เราจะใช้ไฟฟ้ากันหมด ปัจจุบันโรงเรียน สถาน ที่ท�ำงาน ตามบ้านติดแอร์ฯ กันหมด ชาวนาก็ จะติดแอร์ฯ ถ้ามีเงิน เมื่อก่อนเอาแสงสว่าง ได้ แล้วก็โทรทัศน์ พัดลม หม้อหุงข้าว กาต้มน�้ำร้อน ตู้เย็น ไมโครเวฟ เครื่องท�ำน�้ำอุ่นเอาไว้ผ่อนคลาย เมื่อก่อนบ้านเรือนหม้อไฟฟ้า 5 แอมป์ ปัจจุบัน ต้อง 15 แอมป์ ตู้เย็นเมื่อก่อน 5 คิวปัจจุบัน 10 คิว ไฟฟ้าหน้าบ้านก็อยากติด อบต.ทุก อบต.ต้องการ ไฟถนนเพื่อความปลอดภัย มันจ�ำเป็นมาก ถ้าตัด ไฟถนนหมดไฟฟ้าก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้มากขนาด นี้ แต่เรื่องอุบัติเหตุ ความปลอดภัยเป็นสิ่งส�ำคัญ ที่สุด ยังมีหลายๆ เรื่องที่ไฟฟ้าสัมพันธ์กับชีวิต อย่างแยกไม่ออก อนาคตยั ง ไงก็ ต ้ อ งเพิ่ ม ..ต่ อ ไปเครื่ อ งวั ด คุ ณ ภาพแบบเรี ย ลไทม์ ท างอิ น เตอร์ เ นต ดู โ รง ไฟฟ้า หรือดูการปล่อยมลภาวะเชื่อมโยงกันได้ ดูได้หมด ไม่เหมือนโรงงานทั่วไป จังหวัดนครฯ หอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรม และทุกภาคส่วน ต้องร่วมกันผลักดัน


3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ า น การค้าและการลงทุน

เรื่องจากปก

รวมทั้ ง แนวทางการจั ด ท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ / แผนการลงทุ น เชิ ง ธุ ร กิ จ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย และอนุภูมิภาค ข้างเคียงและโลก โดย นายจารุพงศ์ เรือง สุวรรณ และนายนิวัฒน์ธ�ำรง บุญทรงไพศาล นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เลขาธิการ สศช. น�ำเสนอหัวข้อการประชุม เรื่อง ‘มิติในปัจจุบัน และอนาคตของการพั ฒ นาภายใต้ ก รอบ แผนงาน IMT-GT กับโอกาสของ 14 จังหวัด ภาคใต้ของไทย และแนวทางการจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา พร้อมด้วยแผนกลยุทธ์ และแผนการลงทุ น ภายใต้ ก รอบแผนงาน IMT-GT’ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดมีบทบาทใน การเสนอยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่ แผนกลยุทธ์ และ แผนการลงทุนเชิงธุรกิจในพืน้ ที่ แนวทางจั ด ท� ำ ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการขั บ เคลื่อนก�ำหนดไว้ 7 ยุทธศาสตร์ดังนี้

1.ยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นในภาพรวม

กลุ ่ ม โครงการขั บ เคลื่ อ นเป็ น กลุ ่ ม ที่ ผ่านประชาคมระดับจังหวัดหรือรัฐ ร่วมกับ สภาธุ ร กิ จ ภาคใต้ IMT-GT โดยพิ จ ารณา ด้านการเชื่อมโยงทั้งในมิติ IMT-GT และมิติ ภูมิภาคอื่นๆ ในอาเซียนและใกล้เคียง โดย ใช้ 4 แผนกลยุ ท ธ์ ได้ แ ก่ ( 1 ) การพั ฒ นา แบบมีส่วนร่วม (Inclusive Growth) โดย ประสานใกล้ ชิ ด กั บ ภาคี ก ารพั ฒ นาพื้ น ที่ มุ่งประโยชน์อันจะเกิดแก่ประชาชน และมี ความยั่ ง ยื น เป็ น ฐานการพั ฒ นาระยะต่ อ ไป ( 2 ) การพั ฒ นาแบบเอื้ อ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Green) เพื่อลดการต่อต้านในรูปแบบ NTBs (Non-tariff Barrier-NBTs/มาตรการที่ไม่ใช่ ภาษี) จากตลาดภายนอก และไม่ส่งผลต่อ สุ ข ภาพและสิ่ ง แวดล้ อ ม ( 3 ) เป็ น แนวทาง การพัฒนาโครงการร่วมกันใน IMT-GT เพื่อ ความยั่งยืนและเพิ่มขีดความสามารถด้านการ แข่งขันในระดับอนุภูมิภาค (4) เสริมสร้างผล ประโยชน์ของประเทศอย่างเท่าเทียมกับเพื่อน บ้าน โดยเน้นกระบวนการแปรรูปวัตถุดิบเพื่อ เพิ่มมูลค่าส่งข้ามแดน

2. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ า น ยุทธศาสตร์นี้ใช้ 6 แผนกลยุทธ์ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐาน และการคมนาคม (1) บู ร ณาการแผนพั ฒ นาด่ า นศุ ล กากรใน ขนส่ง พื้นที่ต่อเนื่อง และเชื่อมโยงบริการด่านชายกลุ่มโครงการที่ใช้ขับเคลื่อนมี 4 กลุ่ม ได้ แ ก่ การพั ฒ นาชายแดนพื้ น ที่ ต ่ อ เนื่ อ ง กั บ ด่ า นและผั ง ชุ ม ชนรอบด่ า น เช่ น การ ขยายพื้นที่ด่านสะเดา การก่อสร้างด่านบ้าน ประกอบ การปรั บ ปรุ ง ด่ า นตากใบ พร้ อ ม การท�ำแผนชุมชนและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ, กลุ่มโครงการขนส่งทางบก เช่น สะพานข้าม แม่ น�้ ำ โกลกที่ ต ากใบ ทางพิ เ ศษหาดใหญ่ - สะเดา ระบบถนนเชื่ อ มโยงจากตรั ง สู ่ วั ง ประจันให้เป็นประตูสู่การส่งออกและเชื่อม โยงกระบวนการแปรรูปกับต่างประเทศ, กลุ่ม โครงการขนส่งทางทะเล เช่น ท่าเรือนาเกลือ ท่าเรือกันตัง (ตรัง) ท่าเรือต�ำมะลัง (สตูล) เพื่อรองรับระบบทั้ง Intra IMT-GT และเชื่อม โยงกับภายนอก สุดท้ายคือกลุ่มโครงการด้าน ขนส่งทางอากาศ เพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสินค้าพิเศษ

แดนและพัฒนาพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อความสะดวก ประหยัดเวลาและลดต้นทุน การขนส่ง/ระบบโลจิสติกส์และความมั่นคง ปลอดภัย (2) บูรณาการแผนพัฒนาระหว่าง ประเทศให้เป็นประตูสู่การส่งออกควบคู่กับ ด่ า นศุ ล กากร (3) จั ด โครงการในรู ป แบบ คณะกรรมการระหว่างประเทศจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และให้เป็นไปตามผลการเยือน ต่างประเทศ และการตกลงร่วมกับประมุข ของแต่ ล ะประเทศของนายกรั ฐ มนตรี (4) เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพการเชื่ อ มโยงโครงข่ า ย ลอจิสติกส์ภายในกับต่างประเทศ เช่น ICD (Inland Container Depot) หรือสถานที่ที่มี อุปกรณ์ไว้รองรับคอนเทนเนอร์ปีละ 400,000600,000 อีทียู ที่ทุ่งสงเชื่อมโยงด้วยระบบราง สู่ท่าเรือฝั่งอันดามัน (5) ลดต้นทุนการขนส่ง โดยรวมโดยระบบ Multi-model (การรับส่ง ต่อเนื่องหลายรูปแบบตามข้อตกลงระหว่างผู้ ส่งกับเจ้าของสินค้า) ที่เชื่อมโยงกับตลาดใน อนุภูมิภาค และ (6) พลักดันให้ขนส่งด้วย สายการบินเอกชนโดยใช้เสรีภาพที่ 5 เพิ่มขึ้น (FifthFreedom/สิทธิที่ใหโดยรัฐหนึ่งแกอีก รัฐหนึ่งในการขนขึ้นและขนลงซึ่งการจราจร ที่มาจากหรือมุงไปยังรัฐที่สาม ในอาณาเขต ของรัฐแรก)

ท่าเรือกันตัง (ตรัง)

ภาพจาก : www.marinerthai.com

กลุ่มโครงการที่ใช้ขับเคลื่อนมี 3 กลุ่ม ได้ แ ก่ กลุ ่ ม โครงการด้ า นการจั ด ตั้ ง เขต เศรษฐกิจชายแดน, กลุ่มโครงการด้านการ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ธุ ร กิ จ ในพื้ น ที่ และ กลุ่มโครงการด้านการอ�ำนวยความสะดวกใน พิธีการผ่านแดน ยุทธศาสตร์นี้ใช้ 4 แผนกลยุทธ์ ได้แก่ (1) บู ร ณาการเชื่ อ มโยงสายการผลิ ต เพื่ อ เพิ่มมูลค่าสินค้าข้ามแดนจากพื้นที่ชายแดน เช่น สะเดา-บูกายูฮิตัม กลุ่มผู้ประกอบการ (คลั ส เตอร์ ) ในปั ต ตานี ยะลา นราธิ ว าสกลั น ตั น โดยใช้ แ นวทางที่ น ายกรั ฐ มนตรี ตกลงกับผู้น�ำของแต่ละประเทศระหว่างการ เยือนอย่างเป็นทางการ (2) บูรณาการแผน พัฒนาระดับชาติระหว่างประเทศ ได้แก่ แผน พัฒนา Northern Corridor Economic Region/ East Coast Economic Region ของมาเลเซียกับยุทธศาสตร์ภาคใต้ของไทย เพื่ อ เชื่ อ มโยงการพั ฒ นาที่ มี ศั ก ยภาพ เช่ น ระบบแลนบริดจ์พลังงาน การแปรรูปเกษตร มู ล ค่ า เพิ่ ม เพื่ อ สร้ า งรายได้ แ ก่ เ กษตรกร เป็นต้น (3) สร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจใหม่ กับพื้นที่ของมาเลเซียและอินโดนีเซียที่พัฒนา โครงสร้างพื้นฐานใหม่ๆ (4) เร่งรัดการอนุวัตร สารตามข้ อ ตกลงระหว่ า งประเทศในกรอบ อาเซียน

4. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการ ท่องเที่ยว

กลุ ่ ม โครงการขั บ เคลื่ อ นมี 2 กลุ ่ ม ได้ แ ก่ กลุ ่ ม โครงการด้ า นการเชื่ อ มโยง Thematic Route (เส้นทางท่องเที่ยวเชื่อม โยงในประเทศ) กับกลุ่มโครงการด้านบริการ การตลาด Niche Market (ตลาดเฉพาะหรือ กลุ่มลูกค้าเฉพาะ) ยุทธศาตร์นี้ใช้ 2 แผนกลยุทธ์ได้แก่ (1) สร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ่ อ งเที่ ย วใหม่ ๆ ร่ ว ม กั น เช่ น การท่ อ งเที่ ย วเส้ น ทางหลวงปู ่ ทวดในรัฐเปรัค-รัฐเกดะห์-สงขลา-ปัตตานี (2) สร้างผลิตภัณฑ์ที่ IMT-GT มีศักยภาพ ร่วมกันแต่แตกต่างกันในทักษะความเป็นเลิศ และความหลากหลาย เช่น สปา การท่องเที่ยว เชิ ง การแพทย์ wellness Eco-tourism Home-stay

5. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ า น ผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล

กลุ่มโครงการที่ใช้ขับเคลื่อนมี 3 กลุ่ม ได้ แ ก่ กลุ ่ ม ความร่ ว มมื อ เชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ การตรวจรับรองฮาลาล และฮาลาลโลจิสติกส์, การอบรม Hal-Q System (ระบบบริ ห าร จัดการเพื่อจัดเตรียมอาหารฮาลาลปลอดภัย)


เป็นต้น, กลุ่มประยุกต์ด้านผลิตภัณฑ์และ บริการฮาลาล และกลุ่มเปิดโอกาสการตลาด ฮาลาลใน IMT-GT เช่ น Certified Halal Restaurant and Hotel

ยุทธศาสตร์นี้ใช้ 3 แผนกลยุทธ์ ได้แก่ (1) ส่งเสริมความร่วมมือด้านเทคโนโลยีตรวจ รั บ รองฮาลาล ซึ่ ง ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ ฮ าลาล จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด เพื่ อ ยกระดั บ การยอมรั บ สิ น ค้ า และบริ ก าร ฮาลาลควบคู่กับประเทศ IMT-GT ในตลาด ใหม่ๆ (2) ส่งเสริมการน�ำมาตรฐานฮาลาลมา ใช้แปรรูปสินค้าไทย เพื่อรองรับการบริการ ในอนุภูมิภาค ในประเภทที่ขาดแคลน เช่น ระบบปศุสัตว์เพื่อแปรรูปแบบฮาลาล หรือ เครื่องส�ำอางฮาลาล (3) สนับสนุนกิจกรรมกับ ส่งเสริมความเชื่อมั่นด้านฮาลาลของประเทศ เช่น การจัดงาน World Halal Forum หรือ World Halal Research Summit เป็นต้น

6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ า น พัฒนาทรัพยากรมนุษย์

กลุ่มโครงการที่ใช้ขับเคลื่อนมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มด้านการแลกเปลี่ยนการฝึกอบรม ในลั ก ษณะ Capacity Building คื อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถและความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ บุคลากรและองค์กรปฏิบัติงาน กับกลุ่มขับ-

เคลื่อนด้านการยอมรับมาตรฐานฝีมือแรงงาน ระหว่างกัน และการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี เพื่อรองรับปัญหาขาดแคลนแรงงานในสังคม สูงอายุ ยุ ท ธศาสตร์ นี้ ใ ช้ 2 แผนกลยุ ท ธ์ ได้แก่ (1) ร่วมพัฒนาฝีมือแรงงานในสาขาที่ ขาดแคลนรองรับสายการผลิต การแปรรูป สินค้าในพื้นที่ชายแดน โดยแลกเปลี่ยนการ อบรมในประทศที่ มี ศั ก ยภาพ ( 2 ) เร่ ง การ ยอมรั บ ในลั ก ษณะ Mutual Recognition Arrangement หรือข้อตกลงยอมรับร่วม ใน สาขาอาเซี ย น ยอมรั บ ว่ า เป็ น แรงงานฝี มื อ พร้อมกับเร่งผลิตแรงงานกึ่งฝีมือและเตรียม ข้อตกลงทวิภาคีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน ไร้ฝีมือ โดยค�ำนึงถึงความมั่นคงปลอดภัย ของประเทศในระยะยาว

7. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการ เกษตรแปรรูปและสิ่งแวดล้อม

โดยกลุ ่ ม เร่ ง พั ฒ นาฐานวั ต ถุ ดิ บ การ เกษตรเพื่ อ รองรั บ การแปรรู ป ในเขตผลิ ต ชายแดนและเขตทั่วไปอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์นี้ใช้ 2 แผนกลยุทธ์ ได้แก่ (1) เร่งรัดโครงการพัฒนาด้านปศุสัตว์สาย พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงเพื่อรองรับการบริโภคใน อนุภูมิภาค (2) จัดตั้งศูนย์แปรรูปการเกษตร ที่ใช้ Green Technology เพื่อเป็นต้นแบบ ของ IMT-GT และยกระดับขีดความสามารถ ด้านการแข่งขันในอนุภูมิภาค ผลจากการประชุ ม ท� ำ ความเข้ า ใจ ผู้ว่าราชการจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้จะต้อง น�ำกรอบแนวทางไปหารือกับภาคีพัฒนาใน จังหวัด และน�ำเสนอยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่ แผนกลยุทธ์และแผนการลงทุนเชิงธุรกิจใน พื้นที่แต่ละจังหวัด และการบูรณาการระดับ คลัสเตอร์ ในการประชุมสัญจร 3 คลัสเตอร์ ภาคใต้ ปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2556

จากหน้า 1

เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ร.ต.ฐิตวัฒน เชาวลิต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดงานมาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติ ประจ�ำปี 2556 ระหว่าง วันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมก�ำหนดจัด 7 กิจกรรม ในสถานที่ หลักๆ ที่วัดพระมหาธาตุฯ สวนศรีธรรมโศกราช และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) ดังนี้ กิจกรรมผ้าพระบฏ, สมโภชและแห่ผ้าขึ้น ธาตุ, กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา, กิจกรรม ประเพณีท้องถิ่น, การแสดง ตลาดนัดโบราณ, กิจกรรมวิชาการ และ การท่องเที่ยวเชิงพุทธเส้น ทางพระพุทธศาสนาในนครศรีธรรมราช

ก�ำหนดการและสถานที่จัดกิจกรรม วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 10.00 น. พิ ธี เ ปิ ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธ ศาสนา ณ วั ด พระมหาธาตุ ฯ /วั ด สระเรียง/วัดบุญนารอบ 10.00 น. การสวดด้าน ณ วัดพระมหาธาตุฯ 17.00 น. พิธีเปิดนิทรรศการผ้าพระบฏ/ตลาด นัดโบราณ ณ สวนศรีฯ 19.00 น. การแสดงธรรม ณ วัดสระเรียง 19.00 น. แสงสีเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีฯ

มหาธาตุฯ/วัดศาลามีชัย/วัดสวนป่าน 17.00 น. พิธกี วนข้าวมธุปายาส 12 ราศี ณ สวนศรีฯ 18.00 น. พิธสี มโภชผ้าพระบฏนานาชาติ ณ สวนศรีฯ 19.00 น. พิ ธี ส มโภชผ้ า พระบฏพระราชทาน ณ โรงเรียนปากพนัง 19.00 น. แสงสีเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีฯ 19.00 น. สวดมนต์/ท�ำวัตรเย็น/ฟังธรรม ณ ลาน ทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ 19.00 น. ดนตรีธรรมะ ณ วัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ 1) ณ ลาน ทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. ดนตรีธรรมะ ณ สวนศรีฯ 20.00 น. หุ่นกระบอกไทย (ศีลห้า) ณ สวนศรีฯ 21.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ 2) ณ วัด พระมหาธาตุฯ วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 06.00 น. พิธีตักบาตรวันมาฆบูชา (1,250 รูป) ณ ถนนราชด�ำเนิน (หน้าวัดพระมหาธาตุฯ) 10.00 น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วัด พระมหาธาตุฯ /วัดสระเรียง/วัดบุญนารอบ 16.00 น. พิธีรับผ้าพระบฏพระราชทานจากปาก พนัง ณ สวนศรีฯ 17.00 น. พิธีพุทธาภิเษกและสมโภช ณ สวนศรีฯ ผ้ า พระบฏพระราชทาน- ผ้ า พระบฏ นานาชาติ - ผ้ า พระบฏจากหน่ ว ยงาน และเอกชน 18.30 น. การแจกจ่ายข้าวมธุปายาส ณ สวนศรีฯ 19.00 น. แสงสีเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีฯ 19.00 น. สวดมนต์ ฟังธรรม ณ วัดพระมหาธาตุฯ 19.30 น. ดนตรีธรรมะ ณ วัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม ณ วัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. ดนตรีธรรมะ ณ สวนศรีฯ 20.30 น. หุ่นกระบอก (เรื่องการอยู่ร่วมกัน - การ ช่วยเหลือกันในสังคม) ณ สวนศรีฯ 21.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ 2) ณ ลาน ทราย วัดพระมหาธาตุฯ

วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 10.00 น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วั ด พระมหาธาตุ ฯ /วั ด สระเรี ย ง/ วัดบุญนารอบ 10.00 น. การสวดด้าน ณ วัดพระมหาธาตุฯ 13.00 น. การเขี ย นผ้ า พระบฏ ณ โรงเรี ย น ปากพนัง 17.00 น นิทรรศการผ้าพระบฏ ณ สวนศรีฯ 17.00 น. ลานคนลานธรรม ณ สวนศรีฯ 17.00 น. การแสดงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีฯ 19.00 น. การสวดมนต์ / ท� ำ วั ต รเย็ น /ฟั ง ธรรม น�ำภาวนา ณ วัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ 1) ณ วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2556 วัดพระมหาธาตุฯ 06.00 น. พิธีตักบาตร หน้าวัดพระมหาธาตุฯ 20.00 น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ 2) ณ 10.00 น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วัด วัดพระมหาธาตุฯ พระมหาธาตุฯ /วัดสระเรียง/วัดบุญนารอบ 14.00 น. ลงทะเบียนขบวนแห่ผ้าพระบฏ ณ ศาลา วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 ประดู่หก 04.00 น. พิธใี ห้ทานไฟ ณ ลานวัดพระมหาธาตุฯ 10.00 น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ 15.00 น. พิ ธี เ ปิ ด งาน และปล่ อ ยขบวนแห่ ผ ้ า พระบฏ ณ ศาลาประดู่หก วั ด พระมหาธาตุ ฯ /วั ด สระเรี ย ง/วั ด 17.00 น. พิธีถวายผ้าพระบฏเป็นพุทธบูชา ณ วัด บุญนารอบ พระมหาธาตุฯ 10.00 น. การสวดด้าน ณ วัดพระมหาธาตุฯ 18.00 น. พิธีเวียนเทียน ณ วัดพระมหาธาตุฯ 17.00 น. ตลาดนัดโบราณ ณ สวนศรีฯ 17.00 น. พิ ธี ก วนข้ า วมธุ ป ายาส ณ วั ด พระ- 19.00 น. เสร็จพิธี


กฎหมายใกล้ตัว โดย : สุทธิภัทร ทัศน์นิยม

ปี

คอลัมน์นเี้ ป็นเรือ่ งกฎหมายใกล้ตวั ซึง่ ผมได้รบั มอบ หมายจากหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราชให้มา น�ำเสนอ ขอขอบคุณหอการค้าฯ ทีใ่ ห้โอกาสครับ ในภาวะปัจจุบันที่มนุษย์เราต้องท�ำมาหากินปากกัด ตีนถีบในการใช้ชีวิตและการแข่งขันทางด้านธุรกิจ การเอา ตัวรอดในด้านการค้า แต่เมื่อมาอยู่ร่วมกันเป็นสังคมก็จะ มีการช่วยเหลือในกิจการงานบางอย่างจึงได้มีการร่วมมือ ร่วมใจกัน อย่างเช่นประเพณีไทยที่มีการลงแขกปลูกข้าว การร่วมมือกันปลูกสร้างบ้านเรือนที่สมาชิกในสังคมร่วม มือร่วมใจกันท�ำงานเพื่อส่วนรวม และส่วนตนให้ส�ำเร็จ ลุล่วงไปโดยการประหยัดเวลาและแรงงาน ในการที่มีกลุ่มบุคคลร่วมมือร่วมใจกันรวมเงินกัน เป็นกลุ่มเป็นก้อน เพื่อน�ำเงินนั้นมาร่วมลงในวงแชร์เพื่อ น�ำเงินไปใช้ในกิจการของตน หากสมาชิกผู้เข้าเล่นร่วม ลงทุนเป็นผู้ซื่อสัตย์ไม่ล้มเลิกหลอกลวงฉ้อโกงก็จะบรรลุ ผลส�ำเร็จร่วมกันของวงแชร์นั้นๆ แต่มนุษย์เป็นสัตว์สังคมย่อมดีชั่วปะปนกัน จึงอาจ มีการล่อลวงฉ้อฉลหรือเอารัดเอาเปรียบ หรือบางครั้งมี การผิดนัดผิดสัญญาก็อาจเป็นไปได้ ดังนั้น การเล่นแชร์ หัวใจส�ำคัญที่สุดก็คือความไว้วางใจ ความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติตามข้อตกลงหรือสัญญา ซึ่งเท่าที่ผ่านมา การเล่นแชร์มีการโกงลวงล่อฉ้อฉล การล้มแชร์ จนเกิดการ ฆาตกรรม ฟ้องร้องด�ำเนินคดีจึงมีให้เห็นกันอยู่บ่อยๆ ค�ำว่าแชร์ หมายถึง หุ้นส่วนในกิจการใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นค�ำพันทางผสมระหว่างอังกฤษกับจีน ส่วนค�ำว่า เปีย หมายถึง การประมูลในราคาสูงสุดหรือแบ่งปันให้ ราคาสูงกว่า การเล่นแชร์ หมายถึง การที่คนกลุ่มหนึ่งตกลงกัน ระหว่างผู้เล่นออกเงินเป็นรายเดือน รายสัปดาห์หรือราย วัน คนละเท่าๆ กัน รวมเข้ากับเป็นเงินกองกลาง แล้วผลัด กันประมูลและชักทุนกองกลางนั้นไปใช้โดยผู้เปียได้จะ เสียดอกเบี้ยอัตราสูงสุดประจ�ำระยะเวลานั้นๆ ตามประเพณีการเล่นแชร์นายมือหรือนายวงเรียก เก็บเงินงวดแรกจากลูกวงได้ แล้วมีสิทธิเอาเงินไปใช้ก่อน โดยไม่ต้องประมูลและไม่ต้องเสียดอกเบี้ย แต่นายวงแชร์ มีหน้าที่ต้องรวบรวมเงินจากลูกวงให้ครบถ้วน ทั้งต้อง ท�ำหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบ ในการเรียกเก็บเงินจากลูกวง แชร์ ถ้าลูกวงแชร์ไม่ช�ำระก็ต้องรับผิดช�ำระแทนและดูแล ควบคุ ม รวมถึ ง การด� ำ เนิ น การเปี ย แชร์ ใ ห้ เ ป็ น ไปด้ ว ย ความเรียบร้อยเที่ยงธรรม ในประเทศเพื่อนบ้านของเรา เรียกวงแชร์ว่าวงผลัดกันเอา ซึ่งก็ชัดเจนดีไม่ต้องตีความ หมาย การประมูลแชร์มีวิธีคิดหักดอกเบี้ยไว้ก่อนจ่ายเงิน ให้ลูกวงที่เปียได้ (ดอกหัก) หรือจ่ายดอกเบี้ยรวมกับเงิน แชร์งวดต่อไป (ดอกตาม) โดยวิธีจับฉลากหรือประมูล กันตามแต่จะตกลงกันโดยวิธีใด ซึ่งผู้ที่ประมูล (เปีย) ได้ ก็ถือว่าเป็นผู้โชคดี ต้องจัดเลี้ยงสุราอาหารให้เป็นที่เบิก บานใจแก่คณะที่ร่วมเล่นแชร์ทั้งหมด ซึ่งเรามักจะได้ยิน กันบ่อยๆ เรื่องการเลี้ยงแชร์ หรือ กินโต๊ะแชร์

นอกจากนี้ การเล่นแชร์อาจจะมีวิธีเล่นกันโดยใช้เช็ค หรือที่เรียกกันว่าเช็คแชร์ โดยแทนที่จะเก็บเป็นเงินสดก็มี การเก็บเป็นเช็ค ซึ่งมีผลบังคับกันได้ตามกฎหมาย ผลดีและผลเสียของการเล่นแชร์ ท่านทั้งหลายที่เคย มีประสบการณ์คงจะพอทรา บกั น ดี อ ยู ่ บ ้ า ง ซึ่ ง จะมี บ าง ครั้งที่เท้าแชร์แอบเปียหรือกุ หรืออุปโลกน์ชื่อลูกวงที่ไม่มี ตัวตนขึ้นมาว่าคนนั้นคนนี้ร่วมเล่นด้วย แล้วเท้าแชร์แอบ ล้มบ้าง แอบเปียเอาเสียเองบ้าง หรือกรณีลูกวงใช้ชื่อเพื่อน เปีย อ้างเหตุจ�ำเป็นทางการเงินขอใช้ชื่อเพื่อนในวงเปีย ก่อน แล้วไม่ส่งแชร์กลับโยนให้ไปเอาที่เท้า หรือให้ไปเอา ที่คนเปีย ซึ่งท�ำให้เกิดปัญหากันบ่อยๆ ความเสี่ยงในการเล่นแชร์ไม่ขึ้นอยู่กับตัวสัญญา หรือเอกสาร แต่ขึ้นอยู่กับผู้ที่เป็นเท้าหรือลูกวง ว่ามีความ ซื่อสัตย์รับผิดชอบหรือไม่ แต่ที่ส�ำคัญที่สุดอยู่ที่คนที่เป็น เท้าแชร์ ซึ่งเป็นตัวปัจจัยก�ำหนดว่ามีการเสี่ยงมากหรือ น้อย จึงพึงสังวรณ์ถึงตัวเท้าแชร์ให้แน่ใจเสียก่อนว่ามี ความรับผิดชอบแค่ไหนเพียงใด ในครั้ ง ต่ อ ไปจะมาพู ด ถึ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเล่นแชร์ โปรดติดตามตอนต่อไปนะครับ และหาก ท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายเรื่องใด คอลัมน์นี้บริการ ให้ค�ำปรึกษาทางโทรศัพท์ 081-5693715 หรือส�ำนักงาน ทนายความ 075-356231 หรื อ ส่ ง จดหมายที่ บ ้ า นเลข ที่ 2 ซอยคลังแสง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีฯ 80000 หรือ อีเมล์ suthipatlawyer2005@yahoo.com

2556 เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง โดยอุปสงค์ ภายในเป็นแรงผลักดัน โดยเฉพาะยานยนต์ที่ได้รับแรง สนุนสนุนจากมาตรการรัฐ นโยบายจ�ำน�ำข้าว การปรับขึ้น ค่าแรงขั้นต�่ำ 300 บาท และการฟื้นฟูสิ่งปลูกสร้างจากน�้ำ ท่วมปลายปี 2554 การส่งออกฟื้นตัวเล็กน้อย เช่น การส่ง ออกสินค้าเกษตร เนื่องจากการฟื้นตัวและปรับตัวในทางที่ ดีของเศรฐกิจจีนและสหรัฐฯ น่าจะหนุนช่วยปริมาณการส่ง ออกยางพารา ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มปรับตัวขึ้น แต่ เวียดนาม พม่าและกัมพูชา ก�ำลังพัฒนาเป็นคู่แข่ง และอาจ ท�ำให้ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกลดลง สิ่งที่ผู้ส่งออกไทย ต้องค�ำนึงคือการสร้างความมั่นใจสินค้าเกษตรไทยต่อผู้บริโภค เริ่มจากกระบวนการเพาะปลูก การผลิต ผลิณภัณฑ์สุดท้ายที่ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ที่ส�ำคัญกว่านั้นคือการเร่งสร้าง นวัตกรรมทางการเกษตร โดยอาศัยการวิจัยและพัฒนา ปี 2556 เศรษฐกิ จ ยุ โ รปกั บ ญี่ ป ุ่ น ยั ง อ่ อ นแอ แต่ ภ าค ส่งออกยังมีความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน เช่น ปัญหาวัตถุดิบ ราคาน�้ำมันที่ขยับตัวสูงขึ้น รวมทั้งค่าแรง ความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยน ภัยธรรมชาติ และความไม่สงบทางการเมือง ปัญหาจากนโยบายจ�ำน�ำข้าว และความผันผวนของเศรฐกิจ โลกที่เป็นปัจจัยภายนอก ผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาด กลางควรรวมกลุ่มเป็นคลัสเตอร์ เพิ่มความเข้มแข็งเชื่อมโยง กับรายใหญ่ การท่ อ งเที่ ย ว การลงทุ น ภาคเอกชนขยายตั ว สภาพ ทางการเมือ งที่เริ่มมั่นคงสร้า งความเชื่อ มั่นแก่นักลงทุนทั้ง ไทยและต่างชาติ เช่น ญี่ปุ่นเปลี่ยนรัฐบาลเข้ามาแก้ปัญหา เศรษฐกิจ มีแนวโน้มว่านักลงทุนจากญี่ปุ่นจะเข้ามาลงทุนใน ประเทศไทยมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อตอบสนองการบริโภคภายใน โดยมีการใช้จ่ายภาครัฐอย่างงบประมาณบริหารจัดการน�้ำ 3.5 แสนล้านบาท ซึ่งงบประมาณสามารถเบิกจ่ายได้ 2.3 แสนล้านบาท เศรษฐกิจไทยปี 2556 มีโอกาสขยายตัว 4.5 เปอร์เซ็นต์ (ข้ อ มู ล จาก : บล.ทิ ส โก้ , สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย, ดร.จารึ ก สิ ง หปรี ช า ผอ.ศู น ย์ ติ ด ตามและพยากรณ์ เ ศรษฐกิ จ การเกษตร และ ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ฯ)


เยี่ยมเยือน นพ.พรชัย ลีลานิพนธ์ ผู้อ�ำนวยการโรง พยาบาลนครพั ฒ น์ เป็ น ชาวจั ง หวั ด ตรั ง ส�ำเร็จปริ​ิญาตรี สาขาอายุรกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี 2530 รับราชการใช้ทุนที่โรงพยาบาลอ�ำเภอ ศรีบรรพต และโรงพยาบาลอ�ำเภอควนขนุน อีก 2 ปี ก่อนไปศึกษาต่อสาขาอายุรกรรม โรคหัวใจที่สถาบันเดิมอีก 3 ปี โรงพยาบาลนครพัฒน์เป็นโรงพยาบาล เอกชนขนาด 59 เตียง ตั้งอยู่ถนนพัฒนาการ คูขวาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช เปิดบริการวันที่ 9 มีนาคม 2551 โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น โรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด โรคกระดู ก และ ข้อ โรคระบบประสาททางอายุรกรรม โรคไต โรคทางสูตินรีเวช โรคระบบหู ตา คอ จมูก โรคเลือด และคลินิกกุมารเวช มีนพ.อิสระ หัสดินทร์ เป็นประธานกรรมการผู้จัดการ เมื่อเดือนธันวาคม 2555 โรงพยาบาล นครพัฒน์เปิดศูนย์รักษาโรคหัวใจ นพ.พรชัย เป็นผู้รับผิดชอบเปิดเผยว่า เรื่องนี้เป็นความ ฝันของตนในการสร้างโรงพยาบาลทันสมัย สร้างมิติใหม่ในการรักษาโดยใช้เทคโนโลยีกับ ผู้เชี่ยวชาญ เพราะเชื่อว่าสามารถพลิกชะตา กรรมของคนไข้ ยืดอายุให้อยู่กับลูกหลานอีก 10-15 ปี ก่ อ นนี้ ศู น ย์ รั ก ษาโรคหั ว ใจในภาคใต้ มีอยู่แล้ว 4 ศูนย์ ได้แก่ โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ (มอ.) กับโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ซึ่ ง เป็ น ของรั ฐ และอี ก 2 ศู น ย์ ได้ แ ก่ โรง พยาบาลกรุ ง เทพหาดใหญ่ กั บ โรงพยาบาล

กรุงเทพภูเก็ตของเอกชน “ภาคใต้ ต อนกลางตั้ ง แต่ ชุ ม พรลงมา สุราษฎร์ฯ นครศรีฯ ประชากร 5-6 ล้านคน โดยเฉพาะโรงพยาบาลมหาราชนครศรีฯ มี คนไข้โรคเส้นเลือดหัวใจตีบปีละ 1,500 คน รอฉีดสี 800-900 คนต่อปี ยังไม่นับโรงพยาบาลอ�ำเภอต่างๆ กรุงเทพฯประชากร 12 ล้าน คนมีศูนย์โรคหัวใจราว 20 ศูนย์ ของเราถ้ามี คุณหมอระดับชาติ ระดับโลกมาบริการเราท�ำ ได้สบายๆ” นพ.พรชัย เปิดเผยว่าคิวรักษาของโรง พยาบาลรั ฐ บาลต้ อ งรอ 7-8 เดื อ น แต่ โ รง พยาบาลเอกชนใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์” ปัจจุบันศูนย์โรคหัวใจมีคนไข้เข้าคิวฉีด สี 60-70 คิว ช่วงปีใหม่ศูนย์ให้การรักษาไป แล้ว 7 คน 2 วันแรกมีการทดลองระบบ ซึ่ง หมายถึ ง ระบบบริ ก าร การคิ ด เงิ น ตามสิ ท ธิ ต่างๆ ให้ถูกต้อง เรื่องทีมเวิร์ค--นับแต่การ รับผู้ป่วย การประสานงานระหว่างทีม ทั้งทีม พยาบาลแบ็คอัพในห้องสวนหัวใจ การรับ-ส่ง สตาฟฟ์ ซึ่ ง เป็ น อาจารย์ ห มอจากกรุ ง เทพฯ เพื่ อ สร้ า งคุ ณ ภาพการรั ก ษา คุ ณ ภาพของ การให้ บ ริ ก ารและความถู ก ต้ อ งเรื่ อ งราคา ตามสิทธิต่างๆ เพราะค่า ใช้จ่ายค่อนข้างสูง นพ.พรชัย ยืนยัน ว่ า ค่ า ใช้ จ ่ า ยเบื้ อ งต้ น ศู น ย์ พ ยายามให้ ผู ้ ป ่ ว ย ได้ รั บ บริ ก ารที่ ดี แ ละ ราคาถูก ทุกคนเข้าถึงได้ และโรงพยาบาลอยู ่ ไ ด้ เช่น การฉีดสีมีค่าใช้จ่าย ประมาณ 3-3.5 หมื่ น บาท การสวนบอลลู น

ขึ้ น อยู ่ กั บ ชนิ ด ของบอลลู น กั บ ขดลวด และ ลักษณะของเส้นเลือดซึ่งเส้นแรกๆ จะอยู่ที่ 1.5 แสนบาท ในกรณีฉุกเฉินฝ่ายผู้ป่วยต้อง ยินดีช่วยค่าใช้จ่ายในการน�ำแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ที่มารักษา อาทิ รศ.นพ.วสันต์ อุทัยเฉลิม แพทย์ ผู เ ชี่ ย วชาญด้ า นโรคหั ว ใจและหลอด เลือด ประจ�ำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กับ นพ.อนุรักษ์ เจียมอนุกูลกิจ ผู้เชี่ยวชาญด้านการขยายหลอดเลือดหัวใจ ด้วยบอลลูน ภายในห้องสวนหัวใจมีระบบป้องกัน รั ง สี “อุ ป กรณ์ ใ นห้ อ งนี้ มี เ ครื่ อ งสวนหั ว ใจ ประกอบด้วยเตียงพิเศษที่ถ่ายให้เห็นหัวใจ เต้นตลอดเวลา มีเจนเนอเรเตอร์ (เครื่องปั่นไฟ ฟ้า) ซอฟต์แวร์ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ใน ห้ อ งควบคุ ม ที่ ต ้ อ งสื่ อ สารทางอิ น เตอร์ เ น็ ต ระหว่างกรุงเทพฯ กับบริษัทที่ปรึกษา ส่วน อุปกรณ์อื่นๆ เช่นสายสวนหัวใจ เข็มพิเศษ บอลลูน ซึ่งบางอย่างมี 5-6 รายการ บางอย่าง 20 กว่ารายการ เป็นเรื่องการจัดสรรสต็อก และการสนับสนุนด้านการรักษา” โรงพยาบาลนครพั ฒ น์ มี ศั ก ยภาพ ในการรองรั บ ผู ้ ป ่ ว ยชาวต่ า งชาติ ห รื อ กลุ ่ ม อาเซียนที่จะเปิดปลายปี 2558 “นครศรีธรรมราชมีศักยภาพที่จะเป็น Medical Hub เพราะว่าโลเกชั่นไม่ว่าแหล่ง ท่องเที่ยวที่เปิด หาดทราย ป่าเขา จากชุมพร ถึงสงขลามาที่เราได้ ตะวันออก-ตะวันตกมา

ที่เราได้ แต่เราต้องการความร่วมมือกันอย่าง น้ อ ย 4-5 ฝ่ า ย เริ่ ม จากจั ง หวั ด ส� ำ นั ก งาน สาธารณสุ ข จั ง หวั ด โรงพยาบาลมหาราช มหาวิทยาลัยอย่างมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่เปิดสอนด้านการแพทย์-พยาบาล องค์กร เอกชนอย่างหอการค้าจังหวัด อุตสาหกรรม จังหวัด สภาการท่องเที่ยวจังหวัด และท่อง เที่ยวจังหวัดก็ส�ำคัญ การเป็น Medical Hub ไม่ใช่แค่โรงพยาบาล หาดทราย อาหาร โรงแรม แต่มันมีอีกหลายมิติ เช่น ถ้าผู้ป่วยสักคน อยู่สแกนดิเนเวียวางแผนว่าหน้าร้อนจะชวน ลูกหลานไปพักผ่อนที่ประเทศไทย แล้วเดิน เข้าโรงพยาบาลให้หมอรักษาโรคหัวใจตามที่ ประสานงานกันไว้ล่วงหน้า ถ้าเราท�ำถึงจุดนั้น เราจะประสบความส�ำเร็จ” นพ.พรชัยให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “เมื่อเปิด ประชาคมอาเซียน จะมีคนไข้จากฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดฯ เข้ามาเราจะเติบโต อย่างอย่างยิ่งใหญ่ ค่ารักษาที่อเมริกาแพงกว่า เรา 20 เท่า ยุโรป 15 เท่​่า สิงคโปร์ 5-6 เท่า คุณภาพของแพทย์เรามาตรฐานเท่ายุโรป โรง พยาบาลเอกชนถ้าดึงหมอระดับชาติ ระดับ โลก เช่ น ศู น ย์ โ รคหั ว ใจของเรา ผมดึ ง ที ม อาจารย์ของผมจากจุฬาฯ ซึ่งเป็นมือระดับ ต้นๆ ของเอเชียเราจะเติบโตอย่างเข้มแข็ง เรา ต้องมองทุกมิติ ทั้งการแพทย์ทางเลือก การ แพทย์สมัยใหม่ คอสเมติก เราจะเอาเรื่องใด เรื่องหนึ่งมาเป็นต้นแบบก่อน”

เดือนเพ็ญ ศรีเพชร ด�ำเนินงาน 108 ม.1 ถ.ร่อนพิบูลย์-ทุ่งสง ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช 80130 โทร./โทรสาร : 075-442829 มือถือ : 086-272-9955



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.