ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2555 (วารสารราย 2 เดือน )
เรื่องจากปก
นางสาวชลลดา ปานสีนนุ่ นางสาวนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2555
หอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช จั บ มื อ พั น ธมิ ต ร ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช สภาอุตสาหกรรมจังหวัด นครศรีธรรมราช บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม(บสย.) หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ และ อดีตประธานหอการค้า นครศรีธรรมราช หน้า 7 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ >> อ่านต่อหน้า 13
คุยกับประธานหอฯ ข่าวกิจกรรมหอฯ บุญทวี ริเริ่มสุนทร หน้า
3
หน้า
4
รายงาน
รัฐบาลกับชาวนคร ร่วมผลักดัน พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นมรดกโลก
50 ปี เชฟรอนประเทศไทย พัฒนาพลังงาน เชื่อมั่นพลังคน
บทความ หน้า
8
รูปแบบและคุณค่า งานสถาปัตยกรรม ของนครศรีธรรมราช หน้า
10
เยี่ยมเยือนสมาชิกหอนคร
กรกฎ เตติรานนท์ ผู้จัดการ โครงการบ้านวรรณา หน้า
11
1488 ซอยเอกนคร ถ.ศรีปราชญ์ ต.ท่าวัง อ.เมือง นครศรีธรรมราช
เจ้าของ หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช บรรณาธิการผู้อ�ำนวยการ บุญทวี ริเริ่มสุนทร ที่ปรึกษา จามร เจริญอภิบาล, รุจาทิตย์ สุชาโต, จักรพรรดิ์ ลีเลิศพันธ์, วาริน ชิณวงศ์, เดือนเพ็ญ ศรีเพชร, สุทธิภัทร ทัศน์นิยม สุรพงษ์ พจนเมธา บรรณาธิการอาวุโส จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร กองบรรณาธิการ มคธ เวสาลี นักเขียนรับเชิญ สุทธิภัทร ทัศน์นิยม พงษ์พิพัฒน์ ศิริตันตรานนท์ ศิลปกรรม อารี มุทุกันต์ ช่างภาพพิเศษ สายัณห์ ยรรยงค์นิเวศน์ เลขากองบรรณาธิการ รัชนี พิณทอง ส�ำนักงาน 6/24 หน้าโรงแรมทวินโลตัส ถ. พัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ. นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 0-7532-5223, 08-6478-1737 โทรสาร 0-7532-5224 อีเมล์ nakhonsichamber@hotmail.com ; pinthong.r@hotmail.com เว็บไซต์ www.nakhonsichamber.com พิมพ์ที่ โรพงพิมพ์ประยูรการพิมพ์ 5 สี่แยกหัวถนน-ศาลามีชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 075-446155 นายประยูร เงินพรหม ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา
สวัสดีครับ..... วารสารหอนครที่สดใส รูปแบบสวยงามและมีเนื้อหา สาระที่เป็นประโยชน์ต่อท่านผู้อ่าน คงถูกใจกันนะครับ นครศรีธรรมราชในวันนี้ ผมคิดว่ามีการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีหลายๆ อย่างด้วยกัน หน่วยงานหลายหน่วยงานได้ ร่วมกันท�ำงานแบบมีทิศทางที่มากขึ้น เป็นการประสานงาน ร่วมกันคิดเพื่อน�ำพาจังหวัดของเราให้เจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุ และจิตใจ เมื่อ 21 ตุลาคม 2555 ผมได้เข้าประชุม ครม.สัญจร ครั้งที่ 7 (กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย) ที่สมุย นครก็ได้ รั บ การเห็ น ชอบในหลายโครงการที่ ท างหอการค้ า ได้ เ สนอ เช่น การจัดตั้งศูนย์กลางทางการแพทย์ชั้นสูงที่มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ งบประมาณ 6,500 ล้านบาท, การเร่งรัดด�ำเนิน การโครงการ LOGISTIC ทางรางที่อ�ำเภอทุ่งสง งบประมาณ 825 ล้านบาท, ให้ศึกษาการก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำที่คลองวังหีบ อ.ทุ่งสง เพื่อผลิตน�้ำประปา, ศึกษาโครงการก่อสร้างท่าเรือ เอนกประสงค์ที่ อ.ปากพนัง เพื่อเชื่อมต่อระบบขนส่งทางรางที่ อ.ทุ่งสง, โครงการวงแหวนวงที่ 1 (จังหูน-บางปู), การผลักดัน ให้พระบรมธาตุเป็นมรดกโลก และอีกหลายๆ โครงการครับ เป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องหาเงินมาสนับสนุนครับ เราชาว นครก็ช่วยกันติดตามนะครับ วารสารฉบับนี้ออกก็คงพอดีกับงานฉลองครบรอบ 80 ปี หอการค้าไทย ซึ่งปีนี้เขาจัดกันที่ IMPACT เมืองทองธานี กรุงเทพฯ งานเริ่ม 16-23 พฤศจิกายน 2555 มีการประชุม หอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 30 ด้วย มีหัวข้อบรรยายที่น่า สนใจโดยมีนายกรัฐมนตรีภูฏาน เรื่อง “ภูฏาน : การพัฒนา ประเทศที่มุ่งเน้นความสุขมวลรวมประชาชาติ” และ ดร.ศุภชัย พาณิชภักดิ์ เลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ ค้าและการพัฒนา บรรยายเรื่อง “ทิศทางการพัฒนาให้มีการ เจริ ญ เติ บ โตอย่ า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น ภายใต้ แ นวคิ ด ปรั ช ญา
คุยกับประธานหอฯ บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีธรรมราช เศรษฐกิจพอเพียง : ทางออกของ สังคมโลก” แล้ววารสารนี้จะค่อยน�ำ สรุปบรรยายมาให้ทราบครับ ถ้าสมาชิกหอการค้าและผู้อ่าน สนใจก็ติดต่อที่หอการค้าได้ ประเทศเราถ้าท�ำได้ตามหัวข้อ เหล่านี้ เราคงมีความสุขไม่เบา สังคมคงนิ่งและสงบลงมาก สภาพเศรษฐกิจบ้านเราค่อนข้างจะซึมๆ นะครับ เรา มีปัจจัยเสี่ยงหลายๆ อย่าง ท�ำธุรกิจหรือจะลงทุนก็ขอให้ดู ข้อมูลและใช้เวลาในการตัดสินใจครับ ผมว่าการมีข้อมูลที่ชัด และเป้าหมายที่แน่นอนจะท�ำให้การวางกลยุทธิ์ไม่พลาดครับ เมื่อปลายเดือนตุลาคม 2555 เข้าประชุมที่หอการค้าไทย สภาพัฒน์บอกว่าประเทศสหรัฐ ปั๊มเงิน US DOLLAR ออก มาจาก QE1-3 และเงินเหล่านี้ ตอนนี้ไปอยู่ตามพันธบัตร รัฐบาลประเทศต่างๆ เช่น สวิส, ญี่ปุ่น, อเมริกา รอเรื่อง เศรษฐกิจชัดเจน เงินเหล่านี้จะมาซื้อทรัพย์สินและสินค้า โภคภัณฑ์ เช่น น�้ำมัน, ยาง ต้องติดตามนะ เงินเฟ้อจะสูง ขึ้นนะครับ ของจะแพงขึ้น มันก็มีสองด้านเสมอ ใกล้ปีใหม่ แล้วครับ มาตรการ 300 บาท ทั่วไทยจะท�ำให้ราคาสินค้า เป็นอย่างไร มีมาตรการรับมือแล้วหรือยังครับ ผลกระทบก็ ค่อยๆ เกิดขึ้นนะ ผมขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนลงโฆษณาในวารสาร ฉบั บ นี้ แ ละช่ ว ยกั น ต่ อ ไปเพื่ อ จะได้ มี ข ่ า วสารข้ อ มู ล ให้ กั บ สมาชิกหอการค้าและผู้อ่านได้ ผมอยากให้หอได้สื่อได้ให้ ข้ อ มู ล ซึ่ ง กั น และกั น ฉบั บ หน้ า พบกั น ใหม่ ฉ บั บ ปี ใ หม่ น ะ ครับ วางแผนพักผ่อนน�ำครอบครัวไปเที่ยวกันที่ไหนบ้าง นครศรีธรรมราช “นครศรีดี๊ดี” มีแหล่งเที่ยว - กิน - ท�ำบุญ มากมายนะครับ มาเที่ยวนครกันนะครับ
รอ
บหอน
วารสารหอนคร ปีที่ 1 ฉบับ ที่ 1 เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2555 ปรากฏโฉมพร้ อ มภาพ นางสาวนครศรี ธ รรมราช สวย สดใสบนปก บุ ญ ทวี ริ เ ริ่ ม สุ น ทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ปรารถนาให้หนัง สือบางๆ ฉบับ นี้ สื่อสารเรื่องราวเกี่ยวกับการค้าการลงทุน สถานการณ์ การค้า ความเคลื่อนไหวของผู้ประกอบการ สาระน่ารู้ กิจกรรมต่างๆ ของ ‘หอนคร’ และสมาชิก วารสารหอนคร ฉบับปฐมฤกษ์ ‘ประธานฯ บุญทวี’ ตั้งใจน�ำไปประชาสัมพันธ์ในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 80 ปี แห่งการก่อตั้งหอการค้าไทยระหว่างวันที่ 16 - 23 พฤศจิกายน 2555 ณ อาคาร ชาเลนเจอร์ 1 - 3 ศูนย์ แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี งานเฉลิ ม ฉลองในวาระส� ำ คั ญ ยิ่ ง นี้ พงษ์ ศั ก ดิ์ อัสสกุล ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เผย ว่ า จั ด ขึ้ น ภายใต้ แ นวคิ ด ‘การพั ฒ นาให้ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น ภายใต้ แ นวคิ ด ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ทางออกของสังคมโลก’ ซึ่งนอกจาก การจัดงานแสดงสินค้าแล้ว ยังเป็นการแสดงบทบาท ในฐานะองค์ ก รหลั ก ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ของประเทศ ต่อสาธารณชน เพื่อเป็นแนวทางให้กับภาคธุรกิจของ ประเทศได้ น� ำ ไปปรั บ ใช้ เพื่ อ เตรี ย มรั บ มื อ กั บ ภาวะ ความผั น ผวนของเศรษฐกิ จ โลก และรองรั บ การเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคต ย้อนกลับไปวันที่ 29 สิงหาคม 2555 หอการค้า นครฯ ร่ ว มกั บ บรรษั ท ประกั น สิ น เชื่ อ อุ ต สาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จ�ำกัด (เครดิตบูโร) ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้ จัดงาน ‘คลินิกค�้ำประกันสินเชื่อและการเข้าถึงแหล่ง เงินทุน’ แก่ผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) นักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องร่วมเสวนาหัวข้อ ‘กู้ อย่างไรให้ได้เงิน’ ณ ห้องบงกชรัตน์ โรงแรมทวินโลตัส มีผู้ประกอบการเข้าร่วมกว่า 300 คน
และธุรกิจ ม.หอการค้าไทย และนางสาวปนัดดา วงศ์ผู้ดี ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ bsc panadda บริษัท ไอ.ซี.ซี อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) มาถ่ายถอดความรู้ หอการค้านครฯ ร่วมสนับสนุน ‘คอนเสิร์ต 20 ปี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เทิดไท้ 80 พรรษา มหาราชินี’ ในวาระ 20 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัย เมื่อวัน ที่ 28 ตุลาคม 2555 ณ อาคารไทยบุรี รายได้ทูลเกล้าฯ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เพื่อทรง (ซ้าย) สุรพล โอภาสเสถียร ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ข้อมูล ใช้ ส อยตามพระราชอั ธ ยาศั ย และสมทบกองทุ น สร้ า ง เครดิตแห่งชาติ จ�ำกัด, ชาญชัย เลิศมหรรพฤฒิ ผู้อ�ำนวย- ศูนย์การแพทย์ ม.วลัยลักษณ์ การสาขา บสย., วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผวจ.นครศรีฯ, พฤทธิพงศ์ ศรีมาจันทร์ ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ธนาคารแห่ง ประเทศไทย สาขาภาคใต้, บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธาน หอการค้ า นครศรี ฯ และ พั น ธศั ก ดิ์ ลี ล าวรรณกุ ล ศิ ริ Senior Vice President พัฒนาธุรกิจ SMEs ธนาคาร กรงุเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ในงานประชุมสัมมนา ‘คลินิก ค�้ำประกันสินเชื่อและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน’
จิตตนา หนูณะ ปชส.ม.วลัยลักษณ์, ครูแมน- ธีรภัทร มีเดช ผู้อ�ำนวยเพลง ‘คอนเสิร์ต 20 ปี มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ เทิดไท้ 80 พรรษา มหาราชินี’ จิรายุณัฐ อัจฉริยะขจร, จามร เจริญอภิบาล, วาริน ชิณวงศ์ รอง ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ, บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ และ กรกฎ เตติรานนท์ กรรมการหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ยุ ท ธกิ จ มานะจิ ต ต์ ประธานสภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นครศรีฯ กล่าวต้อนรับผู้ร่วมสัมมนา หัวข้อ ‘ยุทธศาสตร์ การค้าและการลงทุน เพื่อความส�ำเร็จของ SMEs ไทย’
วันที่ 25 ตุลาคม 2555 หอการค้านครศรีฯ ร่วมกับ จั ง หวั ด นครศรี ฯ สภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นครศรี ฯ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) นสพ.ฐานเศรษฐกิ จ และ ม.วลั ย ลั ก ษณ์ จั ด สั ม มนา หัวข้อ ‘ยุทธศาสตร์การค้าและการลงทุน เพื่อความ ส�ำเร็จของ SMEs ไทย’ ณ สถานที่เดิมอีกครั้ง ครั้งนี้ ดวงกมล ลิ ม ป์ พ วงทิ พ ย์ ผู ้ จั ด การฝ่ า ยอาวุ โ ส และ ผู้จัดการฝ่าย สายงานลูกค้าธุรกิจ SMEs สาขาภูมิภาค ธนาคารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาจ� ำ กั ด (มหาชน) นายวิ บู ล ย์ เพิ่ม-อารยวงศ์ กรรมการและผู้จัดการทั่วไป บรรษัท ประกัน สินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย), ดร.ธน วรรธน์ พลวิชัย ผู้อ�ำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ
บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ให้เกียรติเป็นประธานเปิดศูนย์รับสร้างบ้าน PD House สาขาที่ 30 นครศรีฯ (บริษัท นครศรี โฮมบิลเดอร์ จ�ำกัด) ภายใต้การบริหารของ จักรกฤษณ์ นามเกิด
ขอแสดงความเสี ย ใจต่ อ รุ จ าทิ ต ย์ สุ ช าโต รอง ประธานหอการค้าฝ่ายเศรษฐกิจและการค้า ที่สูญเสีย คุณแม่ซิ่วหอง แซ่ลี้ ไปเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน ขอกล่าวสวัสดีปีใหม่ 2556 ล่วงหน้า กลางเดือน รุ จ าธิ ต ย์ สุ ช าโต รองประธานหอการค้ า จั ง หวั ด มกราคม รออ่าน ‘หอนคร’ ฉบับใหม่. นครศรีฯ มอบของที่ระลึกแก่ ดวงกมล ลิมป์พวงทิพย์
คร
เรื่องจากปก
ต่อจากหน้า 1
นางสาววาริน ชิณวงศ์
งานเทศกาลสารทเดื อ นสิ บ ประจ� ำ ปี 2555 หอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ได้รับมอบหมาย จากจังหวัดให้เป็นเจ้าภาพจัดประกวดนางสาว นครศรีธรรมราช ร่วมกับสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่ง ประเทศไทยช่อง 11 เพราะ ‘หอนคร’ สมัยนาย บุญทวี ริเริ่มสุนทร เป็นประธานมีประสบการณ์ จัดประกวดมาแล้วเมือ่ ปี 2554 นางสาววาริน ชิณวงศ์ รองประธานฯ ฝ่ายเทคโนโลยี แ ละการพั ฒ นา กล่ า วว่ า “การประกวดปี นี้ เราได้ รั บ ความไว้ ว างใจและรั บ การสนั บ สนุ น จาก จังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด สายการบินนกแอร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สปอนเซอร์ ผู ้ ส ่ ง ประกวดอื่ น ๆ ที แ รกมี ผู ้ ม าสมั ค ร 62 คน วันตรวจสอบคุณสมบัติเหลือผู้ผ่านเข้าประกวด 36 เพราะผู้สมัครที่เป็นนักเรียนติดสอบแกต-แพท การ ประกวดปีนี้นางสาวนครศรีธรรมราชมีบทบาทเสมือน ‘ทูตวัฒนธรรมและการท่องเทีย่ ว’ ของจังหวัด” คณะกรรมการตัดสินฯ ประจ�ำปี 2555 ประกอบ ด้วยนางวณี จิวะรังสรรค์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดฯ, นพ.พรชัย ลีลานิพนธ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนคร พั ฒ น์ , สุ ร พงษ์ พจนเมธา รองประธานหอการค้ า จังหวัดฯ, นุชจรี แรกรุ่น นายกสมาคมผู้สื่อข่าวจังหวัด
นครศรีฯ, ผศ.ดร.ประกาศิต สิทธิธ์ ติ กิ ลุ ม.วลัยลักษณ์, ดร.ธนาภรณ์ เมืองมุงคุณ มรภ.นครศรีฯ, ดร.วาสนา บุญญาพิทักษ์ ผอ.ว.นาฏศิลปนครศรี, น�้ำเพชร ชิณวงศ์ รองมิสทิฟฟานี่ ปี 2010 และนายนิทัศน์ ธ� ำรง ดารานักแสดง นางสาววาริ น กล่ า วว่ า “ปี นี้ ผู ้ ใ ห้ เ กี ย รติ เ ป็ น กรรมการมีความรู้และน่าเชื่อถือ วันที่ 7 ตุลาเราให้ สาวงามไปรายงานตัวเพื่อท�ำกิจกรรมที่วัดพระมหา ธาตุฯ เป็นส่วนหนึง่ ของการโปรโมตการท่องเทีย่ ว จาก
นั้นก็ไปพระต�ำหนักปากพนัง ไปทานอาหารที่ร้านหมี่ เมืองนัง ข้ามฟากไปหัดท�ำขนมลาที่บ้านหอยราก ซึ่ง เป็นสินค้าโอท็อป ปีนี้กองประกวดมีแนวคิด ‘พูดใต้ ไหว้สวย’ เด็กๆ หลายคนพูดไม่ได้ตอ้ งกลับไปหัดพูด” วันที่ 13 ตุลาคม 2555 ประกวดนางสาวนครศรีฯ รอบเปิดตัว ณ เวทีสนามหน้าเมือง คณะกรรมการฯ ประกาศให้นางสาวพรวิกา พานุมาส หมายเลข 10 โรงเหล้าแสงจันทร์ ณ เมืองคอน ส่งประกวดครอง ต� ำ แหน่ ง ขวั ญ ใจประชาชน และนางสาวดวงกมล พรหมเพศ หมายเลข 28 หจก.ต.อะไหล่ยนต์ ทุง่ สง ส่งประกวด ครอง ต� ำ แหน่ ง ‘หุ ่ น สวย สุขภาพดี’ วันที่ 14 ตุลาคม 2555 ประกวดรอบ ตัดสิน ณ เวทีกลางทุ่ง ท่าลาด นางสาวฝนทิ พ ย์ วั ช รตระกู ล มิ ส ไทยแลนด์ยูนิเ วิร์ส ปี 2553 มาให้ก�ำลังใจผู้ เข้ า ประกวดและสวม
มงกุฎแก่สาวงามผู้ชนะการประกวด คณะกรรมการฯ ประกาศรายชื่อสาวงามที่เข้ารอบ 5 คนสุดท้าย และ รอบตัดสิน โดยน�ำคะแนนจากกรรมการแต่ละคนมา ประมวลด้ ว ยระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ล้ ว ส่ ง กลั บ ไปให้ กรรมการดูอกี ครัง้ ผลการตัดสิน นางสาวนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2555 ได้แก่ นางสาวชลลดา ปานสีนุ่น หมายเลข 14 ห้างทองซีกวงส่งประกวด รับรางวัลเงินสด 100,000 บาท พร้อมมงกุฎ สายสะพาย และถ้วยรางวัล, รอง
อั น ดั บ 1 นางสาวจิ ร ารั ฐ พิ ศ พรรณ หมายเลข 13 สมาคมสื่อมวลชนนครศรีฯส่งประกวด, รองอันดับ 2 นางสาวอรอนงค์ นาคแก้ว หมายเลข 3 เทศบาลเมือง ปากพนังส่งประกวด, รองอันดับ 3 นางสาวกัญญารัตน์ เงินมูล หมายเลข 25 หจก.ชูศกั ดิภ์ าคใต้พาราวูด้ ส่งประกวด พร้อมควบต�ำแหน่งขวัญใจช่างภาพสื่อ มวลชน และรองอันดับ 4 นางสาววราลี ไอยราคม หมายเลข 29 ชมรมก�ำนันผู้ใหญ่บ้านจังหวัดนครศรีฯ ส่งประกวด นางสาวชลลดา ปานศรีนุ่น ยังคว้าต�ำแหน่งชุด แต่งกายยอดเยีย่ มอีกด้วย ต�ำแหน่งผิวสวยสุขภาพดี ได้แก่ นางสาวศรัญญ่า มัชฌิมวงศ์ หมายเลข 18 ที่ว่าการอ�ำเภอทุ่งใหญ่ส่ง ประกวด บัตรก�ำนัลมูลค่า 7,000 บาท จากศูนย์ความ งามโอเรียนทอล บิวตี้ สาวงามที่ชนะการประกวดทุกต�ำแหน่งได้รับ รางวั ล เงิ น สดลดหลั่ น ลงไป แต่ ทุ ก ต� ำ แหน่ ง ได้ ตั๋ ว
เครือ่ งบินไปกลับนครศรีฯ – กรุงเทพฯ จากสายการบิน นกแอร์ และบัตรก�ำนัลจากราชเทวีคลินคิ นางสาวชลลดา ปานศรี นุ ่ น บ้ า นอยู ่ อ� ำ เภอ นาบอน เป็นนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ สาขา ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารสากล มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ นางสาววาริน กล่าวเพิ่มเติมว่า “ประทับใจการ ตัดสินของคณะกรรมการอย่างมาก ไม่มีเสียงวิพากษ์ วิจารณ์เป็นเชิงต�ำหนิเลย การประกวดได้รับความร่วม มือจากสือ่ ท้องถิน่ เป็นอย่างดี ขอขอบคุณไว้ ณ ทีน่ ”ี้ นายบุญทวี ริเริม่ สุนทร ประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีฯ กล่าวว่า การเป็นเจ้าภาพร่วมจัดประกวด ครั้ ง นี้ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น อย่ า งดี จ ากหลายๆ ฝ่ า ย “สิ่งที่ส ะท้ อ นกลั บมาก็ คื อ มี ผู้ แสดงความคิ ด เห็ น ว่ า การประกวดนางสาวนครศรีธรรมาชมีคุณภาพระดับ เดี ย วกั บ การประกวดสาวงามวิ สุ ท ธิ์ ก ษั ต ริ ย ์ และ นางสาวเชียงใหม่”
รายงานข่าว ต่อจากหน้า 1
จัดสัมมนาสนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในพืน้ ทีเ่ ป็นครัง้ ที่ 2 ในรอบปี วั น ที่ 25 ตุ ล าคม 2555 ที่ ห้ อ ง บงกชรั ต น์ โรงแรมทวิ น โลตั ส นาย ทรงพล สวาสดิ์ธรรม รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีฯ เป็นประธานในพิธีเปิด การสั ม มนา ‘ยุ ท ธศาสตร์ ก ารค้ า และ การลงทุน เพื่อความส�ำเร็จของ SMEs ไทย’ โดยมี นางดวงกมล ลิมป์พวงทิพย์ ผู ้ จั ด การฝ่ า ยอวุ โ ส และผู ้ จั ด การฝ่ า ย สายงานลูกค้าธุรกิจ SMEs สาขาภูมิภาค ธนาคารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาจ� ำ กั ด (มหาชน) กล่าวรายงานว่า การสัมมนาจัดขึ้นเพื่อ สนั บ สนุ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถใน
การแข่งขันของผู้ประกอบการ SMEs ใน ส่วนภูมิภาคให้มีความรู้ความเข้าใจที่เท่า ทันสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงการลงทุนที่ เหมาะสม โดยเฉพาะการเข้าถึงแหล่งเงิน ทุน ซึ่งนอกจากสถาบันการเงินภาครัฐจะ มีเป้าหมายให้การโอบอุ้มผู้ประกอบการ SMEs โดยตรงแล้ว ยังมีธนาคารพาณิชย์ ที่พร้อมจัดสินเชื่อด้วยเงื่อนไขที่เปิดกว้าง แก่ผู้ประกอบการ เพื่อสานความคิดความ ฝันของผู้ประกอบการ SME ให้เป็นจริง นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม กล่าวว่า การสัมมนาในครั้งนี้สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดนครศรีฯ ที่ ต ้ อ งการให้ ค นในท้ อ งถิ่ น ผู ้ ป ระกอบ การค้ า และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร เกิ ด วิ สั ย ทั ศ น์ ใหม่ๆ เพื่อเตรียมพร้อมรับการพัฒนาการ
เปลี่ยนแปลง หรือมีมุมมองใหม่ๆ ในด้าน การค้าและการลงทุน นางสาวปนัดดา วงศ์ผู้ดี พิธีกร นัก แสดง ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ bsc Panadda มาร่วมเสวนาเรื่องการแทรกตัวเข้าตลาด และการท�ำแบรนด์ให้เด่นและดัง และ การเสวนาประเด็นส�ำคัญๆ อาทิ คุณสมบั ติ ข อง SMEs ที่ จ ะมี โ อกาสแจ้ ง เกิ ด ท่ามกลางการแข่งขันของธุรกิจ การเข้า ถึงแหล่งเงินทุน และการบรรยายพิเศษ เศรษฐกิจภูธรกับความเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิ จ ไทย และเศรษฐกิ จ โลก โดย ดร.ธนวรรธน์ พลวิ ชั ย รองอธิ ก ารบดี ฝ่ายวิจัย และผู้อ�ำนวยการศูนย์พยากรณ์ เศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้าไทยด้วย
เมื่ อ วั น ที่ 29 สิ ง หาคม 2555 หอการค้าจังหวัดนครศรีฯ ร่วมกับบรรษัท ประกั น สิ น เชื่ อ อุ ต สาหกรรมขนาดย่ อ ม (บสย.) บริ ษั ท ข้ อ มู ล เครดิ ต แห่ ง ชาติ จ� ำ กั ด (เครดิ ต บู โ ร) และธนาคารแห่ ง ประเทศไทย สาขาภาคใต้ ได้ จั ด งาน ‘คลินิกค�้ำประกันสินเชื่อและการเข้าถึง แหล่งเงินทุน’ แก่ผู้ประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (ผู้ท�ำการผลิต การ ค้า และการบริการ) และการเสวนาหัวข้อ ‘กู ้ อ ย่ า งไรให้ ไ ด้ เ งิ น ’ พร้ อ มเปิ ด คลิ นิ ค ปรึกษาเรื่องการกู้เงินและการตรวจสอบ ข้ อ มู ล การเงิ น จากเครดิ ต บู โ ร ธนาคาร พาณิ ชย์ 5-6 ธนาคาร ร่ ว มออกบู ธ ให้ ค�ำปรึกษา มีผู้ประกอบการร่วมประชุม สัมมนาประมาณ 300 คน
ผู้บริหาร หจก.นครน�ำเจริญ ประกอบ ธุ ร กิ จ รี ไ ซเคิ ล และพั ฒ นาอสั ง หา ริ ม ทรั พ ย์ อดี ต ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรม 2 สมั ย ต่ อ เนื่ อ ง ระหว่างเมษายน 2548 - เมษายน 2552 ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษานายกเทศมนตรีนคร นครศรีธรรมราช ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ สมัยคุณจามรเป็นประธานหอฯ สถานการณ์ ก ารค้ า ในจั ง หวั ด นครศรี ฯ ช่วงนั้นเป็นอย่างไร ปี 2548-52 เรื่องการค้าปลีกค้าส่ง เป็นวาระส�ำคัญ เวลานั้นห้างต่างชาติเข้า มาบุกต่างจังหวัด ไม่ว่าโลตัส คาร์ฟูร์ บิ๊ก ซี เราพยายามต่อสู้ไม่ให้เขาเข้ามาอยู่ใน ตัวเมือง กันให้อยู่รอบนอก 15 กิโลฯ จน ห้างคาร์ฟูร์เข้ามาเปิดในเมือง เขาอ้างว่ามา ปรับปรุงสถานที่เก่าที่ท�ำค้างเอาไว้ ซึ่งกัน ไม่ได้ ปัจจุบันโลตัสเอ็กซ์เพรส เปิดเหมือน กับเซเว่นฯ เปิดเกือบทุกสี่แยกจนกลาย เป็นปกติ ท�ำให้โช่ห่วยล้มหายตายจากไป มาก รัฐบาลไม่ช่วยกีดกัน ทุนเล็กสู้ทุน ใหญ่ไม่ได้ เรื่องอื่นๆ ? เรื่ อ งยางพารากั บ ปั ญ หาเรื่ อ งราคา ผลไม้ เราพยายามช่ ว ย เราร่ ว มมื อ กั บ จั ง หวั ด ตราด กั บ ภาคเหนื อ ตกลงแลก เปลี่ ย นสิ น ค้ า กั น ตอนนั้ น มั ง คุ ด ล� ำ ไย
ราคาถูกมากๆ ไปซื้อที่สวนกิโลฯ 3 บาท คุ ย กั บ ทางองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด นายกวิฑูรย์ เดชเดชโช เขาให้รถบรรทุก ฟรี เติมน�้ำมันให้หมด จัดคาราวาน 10 คัน ขนเงาะ มังคุดไปขายที่สนามหลวง ขาย แถวทีวีช่อง 3 วิ่งไปภาคเหนือ เราพามังคุด ไปแลก แล้วขนล�ำไยลงมาขายที่สนามหน้า เมือง เราขายได้เยอะ ผมพามังคุดไปขาย ถึงมาเลเซีย ทางพาณิชย์จังหวัดให้งบฯ ค่า ขนส่ง เป็นการส่งเสริมกันระหว่างรัฐ ไป ขายที่ปีนัง ชาวปีนังบอกว่ามังคุดของเรา รสชาติดีมาก ดีกว่าของอินโดนีเซีย เราไป ขายอยู่ 2 ปี ช่วงนั้นราคายางพาราขยับขึ้น เป็นที่พอใจ เรื่องโครงสร้างด้านการคมนาคม? ปี 2549 ผมเปิ ด โครงการถนน เทอดพระเกียรติ นายกเทศมนตรีสมนึก เกตุชาติ ชวนไปคุยหารือกับผู้ว่าฯ วิชม ทองสง หาทางเจรจากับเจ้าของที่ดินที่ถนน ตั ด ผ่ า นขอจ่ า ยเงิ น ชดเชย โดยเทศบาล เป็นเจ้าภาพ เราสามารถขยายเส้นทางสาย ใหม่ อีกเส้นหนึ่งคือถนนเลียบรางรถไฟ ผมเสนอในที่ ป ระชุ ม กรอ.ทุ ก ครั้ ง ผม ท�ำหนังสือถึงการรถไฟฯ เขาก็ยินดี ผม ประสานกับทางหลวงชนบท ระยะทาง 6 กิโลฯ ถ้าแล้วเสร็จจะระบายรถได้ดี เพราะ เป็นช่วงกลางระหว่างถนนเส้นนครศรีฯ-
ทุ่งสง กับตัวเมือง เราก�ำลังรณรงค์ให้พระ บรมธาตุฯ เป็นมรดกโลก เรามีปัญหาเรื่อง ที่จอดรถแน่นอน เราน่าจะซื้อที่สัก 5-6 ไร่ ท�ำลานจอดรถ แล้วสร้างถนนเส้นเล็กๆ เข้าวัดพระธาตุฯ สองข้างทางเป็นร้านขาย สินค้าโอท็อป ผมน�ำเสนอมาหลายปี ตอน นี้ถนนเลียบรางรถไฟซึ่งเป็นถนน 4 เลน ก�ำลังก่อสร้าง 2-3 ปีหลังจังหวัดนครศรีฯ เปลี่ยน ไปมากไหม เปลี่ ย นไปเยอะ โดยเฉพาะถนน พัฒนาการคูขวางมีร้านค้ามาลงเยอะ ส่วน
ย่านถนนอ้อมค่ายที่ก�ำลังถมกันอยู่ เจ้า ใหญ่จากกรุงเทพฯ จะมาลง บริเวณนั้น จะเป็นหน้าตาด้านการค้าในอนาคต ถ้า ถนนวงแหวนรอบนอกเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย การเคลื่ อ นย้ า ยรถสะดวก รถที่ จ ะไป สุราษฎร์ธานี-สงขลา-พัทลุง ไม่ต้องผ่าน ตัวเมือง จะอ้อมไปทางถนนเทอดพระเกียรติ เส้นเบญจมฯ-สนามบิน ซึ่งก�ำลัง ขยายเป็นถนน 4 เลน ถ้าการคมนาคม สะดวกคนจะเข้ า มาท่ อ งเที่ ย ว สถานที่ ท่องเที่ยวหลายๆ แห่งยังไม่มีการปรับปรุง สะพานราเมศวร์ ใ นเขตเทศบาลยั ง ไม่ เสร็ จ ต่ อ ไปอาจขยายเป็ น ตลาดน�้ ำ ก็ ว ่ า กันไป การประชุม กรอ.ก่อนการประชุม ครม.ที่เกาะสมุยระหว่าง 21 - 22 ตุลาคม 2555 เราอยากได้อะไร เราอยากได้ ศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ที่ ทุ่งสง เราถือว่าทุ่งสงเป็นเซ็นเตอร์สามารถ เชื่ อ มต่ อ ได้ ห มด ซึ่ ง ก็ ผ ่ า น ครม. แล้ ว เงิ น ก็ เ ข้ า มาแล้ ว เรื่ อ งโรงพยาบาลที่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเปิดสอนไป แล้วและเตรียมอะไรหลายอย่างไว้รองรับ ถ้าให้สมบูรณ์จริงๆ ต้องท�ำเป็นศูนย์การ แพทย์ ภ าคใต้ ต อนกลาง หรื อ ตอนบน คุณณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เสนอถนนเส้นเขา พลายด� ำ -อ� ำ เภอขนอม ก็ ดี ผ มเห็ น ด้ ว ย มันสามารถช่วยการท่องเที่ยวได้ แต่เรื่อง ใหญ่ที่สุดคือศูนย์กระจายสินค้าที่ทุ่งสง เรื่องโรงพยาบาลศูนย์ฯ และการผลักดัน พระบรมธาตุฯ เป็นมรดกโลก ซึ่งต้องช่วย กันผลักดันให้ได้ ช่ ว ยมองอนาคต ของจั ง หวั ด นครศรีฯ กับการแข่งขันในระยะยาว
สัมภาษณ์
การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 จังหวัดนครศรีฯ ต้องเตรียม อี ก เยอะ เรื่ อ งภาษาส� ำ คั ญ มาก เรื่ อ ง งาน..เช่ น คุ ณ จบบั ญ ชี คุ ณ ต้ อ งพู ด ภาษา อังกฤษได้ เราต้องสามารถติดต่อค้าขาย คล่องแคล่ว ถ้าเราพูดไม่ได้ การแย่งงาน จะเกิดขึ้น เขาจะเอาชาวฟิลิปปินส์ที่พูด อังกฤษได้หรือพูดจีนได้มาท�ำ เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม ? จังหวัดนครศรีฯ ยังมีการลงทุนภาค อุตสาหกรรมน้อย ตอนนี้ที่นากลายเป็น สวนปาล์มจ�ำนวนมาก ผมอยากฝากไว้ ณ ที่นี้ ถ้าเป็นที่นาควรเอาไว้ปลูกข้าว ไม่ควร ปลูกปาล์ม คาดหวังอะไรกับคุณณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ที่ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ที่ผ่านมาเขาก็มีผลงาน การตัดสิน ใจ การเข้ามาแก้ปัญหา ผมคิดว่ามกราคม ปี 2556 ค่าแรงปรับขึ้น 300 บาท สินค้า ต้องปรับตัวขึ้นราคาแน่นอน ถ้าควบคุมได้ ก็น่าจะช่วยได้ ถ้ารัฐบาลลงมาช่วยให้เขา ได้ขายโดยตรงไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ก็จะช่วยได้เยอะ มองการค้าขายปี 2556 อย่างไร ราคาสินค้าปรับขึ้นเยอะแน่ ก�ำลัง รอขยั บ ..ตอนนี้ ข ้ อ อ้ า งยั ง ไม่ พ อ ปี ห น้ า ท�ำไมราคาถึงจะตรึงอยู่ได้ น�้ำมันขึ้น แก๊ส ก็จะขึ้น มันเหมือนระเบิดเวลา อะไรเป็น ประโยชน์ ข องท้ อ งถิ่ น เราหอการค้ า ฯ ก็ พยายามผลั ก ดั น เรามี ห น้ า ที่ รั บ เรื่ อ ง ร้องเรียน ถ้าช่วยได้ก็พยายามช่วย
รายงาน
เ
มื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2555 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางมาเป็นประธานในพิธีเปิดการรณรงค์สนับสนุนพระบรมธาตุเจดีย์ เป็นมรดกโลกในนามของรัฐบาลและชาวไทยทั้งประเทศ โดยร่วมโบกสะบัดธงชัย และปล่อยลูกโป่ง 2,600 ลูก ตีลั่นระฆัง และอัญเชิญผ้าพระบฏจากลานโพธิ์ ไปยัง วิหารพระทรงม้าเพื่อน�ำขึ้นห่มพระบรมธาตุเจดีย์ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2555 คณะ รัฐมนตรีรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร มี ม ติ เ ห็ น ชอบเสนอองค์ พ ระบรมธาตุ เจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช เข้ารับการจดทะเบียนเป็น มรดกโลก (World Heritage Site) ในนาม ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 องค์ การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก ประกาศ รั บ รองให้ อ งค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ฯ ขึ้ น บัญชีเบื้องต้น หรือบัญชีชั่วคราว (Tentative List) เพื่ อ เสนอเป็ น มรดกโลกทาง วั ฒ นธรรม เพราะมี คุ ณ สมบั ติ ผ ่ า นหลั ก เกณฑ์พิจารณา 3 ใน 10 ข้อดังนี้ ข้ อ ที่ 1.มี ลั ก ษณะโครงสร้ า งต่ า งๆ สะท้อนถึงอดีต เช่น งานทางสถาปัตยกรรม ผลงานที่เป็นอนุสรณ์ในเชิงจิตรกรรม หรือ ประติมากรรม โครงสร้างทางธรรมชาติที่ เป็นหลักฐานทางโบราณคดี หรือลักษณะ
ศาสตราจารย์โรนัลด์ ซิลวา ประธานกิตติมศักดิ์สภาการโบราณสถาน ระหว่างประเทศ เดินทางมาส�ำรวจพระบรมธาตุเจดีย์ฯ
อื่ น ๆ ซึ่ ง มี คุ ณ ค่ า และความส� ำ คั ญ ใน ระดับสากลทางประวัติศาสตร์ ศิลปะหรือ วิ ท ยาศาสตร์ สอดคล้ อ งกั บ หลั ก เกณฑ์ กรณี ที่ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น ผลงานชิ้ น เอกที่จัดท�ำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญ ฉลาดของมนุษย์
เกี่ ย วกั บ องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ระบุไว้ว่า พระเจ้า ธรรมาโศกราชทรงสร้ า งพระบรมธาตุ เจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและ สร้ า งเมื อ งนคร ราวพุ ท ธศตวรรษที่ 18 เชื่อกันว่าได้รับอิทธิพลมาจากเจดีย์แบบ ลังกา (ทรงระฆังคว�่ำ หรือ โอคว�่ำ) เป็น สั ญ ลั ก ษณ์ แ สดงความรุ ่ ง เรื อ งของเมื อ ง นครศรี ธ รรมราช ส่ ง อิ ท ธิ พ ลทางศิ ล ปสถาปัตยกรรมไปยังเจดีย์ในภาคกลางและ ภาคเหนือของไทย ข้ อ ที่ 2. เป็ น กลุ ่ ม อาคารที่ มี ค วาม กลมกลื น เป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น หรื อ ลักษณะทางภูมิสถาปัตย์ ที่มีคุณค่าหรือ ความส�ำคัญในระดับสากลไม่ว่าจะในทาง ประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร์ พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ อ ยู ่ ใ นวิ ห ารพระ ม้ า (พระทรงม้ า ) ที่ ผ นั ง มี ภ าพปู น ปั ้ น ‘มหาภิ เ นษกรม’ หรื อ เจ้ า ชายสิ ท ธั ต ถะ พิ จ ารณาละชี วิ ต คฤหั ส ถ์ ภาพพระนาง พิ ม พาบรรทมกั บ ราหุ ล กุ ม าร ลวดลาย ปิ ด ทองวิ จิ ต รสวยงาม ได้ รั บ การบู ร ณะ ในยุ ค กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตอนปลาย สมั ย พระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ ตรงบั น ไดทางขึ้ น ลานประทั ก ษิ ณ มี เ หล่ า ภาพยนต์ ผู ้ ป กปั ก รั ก ษาพระบรม-
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์
ธาตุฯ เป็นยักษ์ ครุฆ นาค และสิงห์ เชิง บันไดเป็นรูปปูนปั้นเทวดารักษาพระบรมธาตุ ฯ 2 องค์ ด้ า นตะวั น ออกคื อ ท้ า ว ขัตตุคาม ด้านตะวันตก คือท้าวรามเทพ ประตู ไ ม้ แ กะสลั ก บ้ า นใหญ่ บานตะวั น ออก คือพระพรหม บานตะวันตก คือ พระ นารายณ์ ลานประทักษิณ คือลานวงกลมรอบ ฐานพระบรมธาตุฯ ล้อมรอบด้วยก�ำแพง แก้ว ตรงหัวมุมทั้งสี่ทิศชื่อรัตนเจดีย์ ฐาน เจดีย์ (ปากระฆังคว�่ำ) เส้นผ่าศูนย์กลาง 21.98 เมตร เมื่อก่อนอนุญาตให้ขึ้นเฉพาะ ผู้ทรงศีล และช่วงเทศกาลส�ำคัญ ปัจจุบัน เปิดให้ชาวพุทธขึ้นไปกราบไหว้แห่ผ้าเวียน รอบองค์พระเจดีย์ วิหารทับเกษตร หรือ ระเบียงตีนธาตุ (ทิพคีรี) คือ วิหารคลุมล้อมรอบฐานพระ บรมธาตุฯ งามวิจิตรด้วยงานปูนปั้นศิลปะ ทวารวดี ลพบุรี สุโขทัย และอยุธยา ผนัง โดยรอบมีซุ้มช้างโผล่หัวในซุ้มด้านละ 6 ตัว สลั บ กั บ พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ปางประทาน อภัยในซุ้มเรือนแก้วด้านละ 7 องค์ไม่ซ�้ำ
แบบ เชื่อว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์เมื่อปีพุทธศักราช 2312 องค์พระบรมธาตุเจดีย์ล้อมรอบด้วย พระมหาธาตุเจดีย์ 158 องค์ ข้ อ ที่ 6.มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งโดยตรง กับเหตุการณ์ ความคิด หรือความเชื่อที่มี ความส�ำคัญ และมีชื่อเสียงในระดับสากล ขั้นตอนล�ำดับต่อไปคณะกรรมการ ของจังหวัดต้องจัดท�ำ ‘แฟ้มข้อมูล’ (Nomination Dossier) น�ำเสนอคุณสมบัติอัน โดดเด่นของพระบรมธาตุเจดีย์ให้เสร็จก่อน วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 แล้วส่งให้สภา การโบราณสถานระหว่างประเทศ (ICOMOS) และสหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ (World Conservation Union) ตรวจสอบ ให้ ค� ำ แนะน� ำ และช่ ว ยเหลื อ ในการจั ด ท� ำ แฟ้้มข้อมูล ก่อนยื่นข้อเสนอแนะต่อคณะ กรรมการมรดกโลก ในการประชุมของคณะ กรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 38 หรือสมัยที่ 39 ระหว่างปี 2557-2558 เพื่อ ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2552 ศ.ดร. โรนัลด์ ซิลวา ประธานกิตติมศักดิ์สภาการ โบราณสถานระหว่างประเทศ (ICOMOS : International Council On Monuments and Sites) เป็นผู้มีประสบการณ์
และบทบาทอย่างส�ำคัญ ในขั้นตอนเสนอ รายชื่อเพื่อพิจารณาสถานที่ทางวัฒนธรรม เป็นมรดกโลก และคณะเดินทางมาส�ำรวจ องค์พระบรมธาตุเจดีย์พร้อมร่วมแห่ผ้าขึ้น ธาตุสาธิต และชมพระพุทธบาทจ�ำลอง ได้ กล่าวแนะน�ำว่าการจัดท�ำแฟ้มข้อมูลให้ชนะ ใจคณะกรรมการมีความส�ำคัญอย่างที่สุด และได้ชี้จุดเด่นให้ใส่ใจ ดังนี้ “พระบรมธาตุ เจดีย์แห่งเมืองนครศรีธรรมราชเป็นโบราณ สถานที่ยังมีชีวิต (Alive) เกี่ยวข้องกับวิถี ชีวิตของชาวพุทธตลอดปี” อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ได้ ว ่ า มี กิ จ กรรม เกี่ยวกับพระบรมธาตุเจดีย์ตลอดทั้งปี เช่น วันมาฆะบูชา (แห่ผ้าขึ้นธาตุและกวนข้าว มธุ ป ายาส) วั น วิ ส าขะบู ช า ที่ ป ระชาชน พร้ อ มใจกั น มาเวี ย นเที ย น เทศกาลบุ ญ
พระบรมธาตุเจดีย์ แห่งเมืองนครศรีธรรมราช เป็นโบราณสถาน ที่ยังมีชีวิต (Alive) เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ของชาวพุทธตลอดปี นายกรัฐมนตรี น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แห่ผ้าขึ้นธาตุ
สารทเดือนสิบ การเดินทางมาสักการะของ ชาวพุทธจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนการเดิน ทางมาสักการะและบวชเรียนของชาวไทย พุทธจากมาเลเซีย สรุปว่าไม่ใช่โบราณสถาน หรือ ศาสนสถานที่คงรูปเฉพาะอิฐปูน คณะของ ศ.ดร.โรนัลด์ ซิลวา ก�ำลัง จะเดินทางมาอีกครั้ง คราวนี้มาโดยไม่บอก กล่าวเป็นทางการ เพื่อส�ำรวจองค์พระบรม ธาตุเจดีย์อย่างถี่ถ้วนก่อนพิจารณาให้เป็น หรือถอนชื่อออกจากบัญชีเบื้องต้น ชาวนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่ก�ำลัง ตื่นเต้นยินดี ฝ่ายจังหวัดเร่งประชาสัมพันธ์ ให้ชาวบ้านรับทราบ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช นักประวัติศาสตร์ และหัวหน้าคณะจัดท�ำ ‘แฟ้มข้อมูล’ โดย กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมให้การ สนับสนุน เปิดเผยว่า “คณะกรรมการผลัก ดันพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชสู่มรดก โลกได้ก�ำหนดเขตพุทธาวาสไว้ตั้งแต่วิหาร หลวงถึงพระพุทธบาทจ�ำลอง วัดพระมหาธาตุฯ มีผืนทรายที่กว้างขวางสวยงาม อัน แสดงให้เห็นอดีตที่รุ่งเรืองในการก่อสร้าง เจดีย์และเมืองนครบนหาดทรายแก้ว จาก การส�ำรวจโดยกรมศิลปากรยืนยันว่า พื้น ดิ น ใต้ ฐ านองค์ พ ระบรมธาตุ ยั ง เหนี ย ว แน่นมั่นคง ไม่ยุบหรือทรุดอย่างแน่นอน ยกเว้น ได้รับแรงกระทบกระเทือนที่เกิด จากพลังงานจลน์”
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) คือ พลังงานที่เกิดจากวัตถุเคลื่อนที่ในระนาบ หรือแนวดิ่งในรูปการพัด การหมุน เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือแรงอัดของพลุและ ดอกไม้ไฟก็ส่งผลกระทบต่อองค์พระบรม ธาตุฯ แนวทางป้องกันคือห้ามรถยนต์ขนาด ใหญ่เข้าใกล้และห้ามจุดพลุในบริเวณใกล้ เคียง เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์เรื่องการ เสนอพระบรมธาตุฯ สู่มรดกโลก หน่วย งานต่างๆ และสื่อมวลชนต้องร่วมกันให้ ความรู้แก่ประชาชนถึงความส�ำคัญของการ เป็นมรดกโลก พร้อมความหมายและภูมิปั ญ ญาปริ ศ นาธรรมที่ บ รรพบุ รุ ษ ผู ้ ส ร้ า ง พระบรมธาตุเจดีย์แฝงเอาไว้ตั้งแต่ฐานถึง ปลียอด “คณะกรรมการผลักดันพระบรม ธาตุนครศรีธรรมราชสู่มรดกโลก ส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา และส�ำนักศิลปากรที่ 14 จะร่ ว มกั น จั ด ท� ำ พื้ น ที่ ภ ายใน ซึ่ ง ไม่ เ ป็ น งานยากจนเกินไป การเคลื่อนย้ายบางสิ่ง บางอย่างจากสี่แยกพานยมถึงสี่แยกประตู ชัย สิ่งก่อสร้างหรือสิ่งที่มีทัศนะอุจาดต้อง เปลี่ยน..ต้องมีคณะกรรมการก�ำกับควบคุม วัดที่อยู่รายรอบทั้ง 4 ได้แก่วัดหน้าพระ บรมธาตุ วัดหน้าพระลาน วัดพระนคร และ วั ด สระเรี ย ง ต้ อ งเลื อ กว่ า จะท� ำ อะไรให้ เป็นจุดเด่นให้เกิดประโยชน์และสามารถ เชื่อมโยงกัน ส่วนเรื่องต�ำแหน่ง 4 กา ที่ท�ำ หน้าที่ปกป้องดูแลพระบรมธาตุฯ มาตั้งแต่ สมัยโบราณปัจจุบันเหลือเพียง 2 กา คือ
พระครูกาชาดกับพระครูกาแก้ว ต�ำแหน่ง พระครูการาม กับพระครูกาเดิม ก�ำลังจัด ท�ำเรื่องขอแต่งตั้งผ่านทางส�ำนักพระพุทธ ศาสนา” ผศ.ฉัตรชัยชี้แจงรายละเอียดเพิ่ม เติมว่าคณะท�ำงานจะรับฟังความเห็นจาก ประชาชน สร้างความเข้าใจ ขอความเห็น ร่วมอันจะเกิดความกลมเกลียว อยากให้ ภาพที่ปรากฏออกไปเป็นภาพเชิงบวก “มรดกโลกอื่นๆ ในประเทศไทยเสนอ โดยส่ ว นราชการ แต่ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เป็นการน�ำเสนอโดยประชาชน นับว่าเป็น โมเดลที่แปลกที่สุดจะเป็นตัวอย่างให้ท้องถิ่ น อื่ น ๆ จะเป็ น เกี ย รติ ย ศ เป็ น ประวั ติ ศาสตร์ เราจะยกย่องพระบรมธาตุฯ อีกมิติ ซึ่งทั่วโลกไม่มีโมเดลลักษณะนี้” คณะท� ำ งานจะได้ ว างแผนจั ด ท� ำ เอกสารฉบับสมบูรณ์ทั้งฉบับภาษาไทยและ ฉบับภาษาอังกฤษไปพร้อมๆ กัน ให้เสร็จ สมบูรณ์ภายในเดือนธันวาคม 2557 โดย จะจัดหานักแปลที่มีความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษที่เหมาะสมสอดคล้องกับเรื่อง ราวมากที่สุด มาแปลแฟ้มข้อมูล ก่ อ นเสนอแฟ้ ม ข้ อ มู ล เข้ า สู ่ ก าร พิ จ ารณาคณะกรรมการมรดกโลกจะจั ด ประชุมสัมมนาโดยเชิญนักวิชากรผู้เชี่ยวชาญจากอินเดีย ศรีลังกา พม่า และชาว ยุโรป รวม 17 คนมาแสดงความคิดเห็น เพื่อปรับแก้แฟ้มข้อมูลให้ถูกต้องสมบูรณ์ ที่สุด
บทความ
โดย : พงษ์พิพัฒน์ ศิริตันตรานนท์ ภาพรวมของสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ทั้งอสังหา ริมทรัพย์และตึกรามบ้านช่อง รวมทั้งที่มีอยู่ เดิมและที่ก�ำลังปลูกสร้าง ในมุมมองของผม เห็นว่ามีความหลากหลายทางสถาปัตย์ อีกทัง้ บาง อาคารไม่อยากเรียกว่าเป็นงานสถาปัตย์ด้วยซ�้ำ เรียกได้วา่ ทัศนะอุจาด หรือ Visual Pollution
เนื่องด้วยบริบท รวมถึงภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ของภาคใต้ของประเทศไทย ค่อนข้างพิเศษและเป็น เอกลักษณ์ประจ�ำถิน่ ทีแ่ น่ๆ ‘ฝนแปด แดดสี’่ ในสมัย ก่อนช่างพืน้ ถิน่ ได้สรรค์สร้างผลงานทางสถาปัตยกรรม ที่เป็นเอกลักษณ์และทรงคุณค่าของภาคใต้เอาไว้ เฉก เช่นกับภาคอืน่ ๆ มีรายละเอียดแตกต่างกันไปบ้างตาม วัฒนธรรม แต่เหมือนกันทีป่ ระโยชน์ใช้สอย แต่ในปัจจุบันสิ่งเหล่านั้นเลือนหายไปมาก อาจ เนื่องด้วยผังเมืองที่ก�ำลังขยายตัวเป็นแนวยาวตาม ภูมิศาสตร์ และขยายตัวแนวกว้างไม่ได้มาก การจัด รูปที่ดินจึงค่อนข้างยาก อีกทั้งการรับกับเทคโนโลยี ใหม่ๆ ยังต้องใช้เวลา ประกอบกับการที่บทบาทของ ‘สถาปนิก’ ยังมีไม่มากเท่าทีค่ วร เพราะการผูกขาดของ องค์กรภาครัฐ ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้เลยว่าสถาปนิก คืออะไร ท�ำอะไรบ้าง ท�ำไมต้องใช้สถาปนิก จึงท�ำให้เกิดสภาวะ ‘สถาปัตยกรรม แปรผัน’ แปรผันตามกระแสสังคมที่ยังยึดติดกับภาพลักษณ์ เดิมๆ ของงานสถาปัตยกรรมที่ไม่เหมาะสม ประกอบ กั บ การที่ น� ำ เอาแบบแปลนจากนิ ต ยสาร หรื อ จาก แหล่งอื่นมาใส่ในพื้นที่ดินของตัวเอง โดยไม่ค�ำนึงถึง ความเหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ประโยชน์ใช้สอย, ศักยภาพการประหยัดพลังงานของอาคาร, เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม และ ความเหมาสมระหว่างความต้องการ กับเงินทุน เป็นต้น จึงท�ำให้ผคู้ นมักคิดว่า อย่างนีส้ วยแล้วเหมาะสม แล้ว ทั้งที่ความเป็นจริง อาจจะเรียกว่าผนังก่ออิฐที่มี หลังคาคลุมมากกว่าอาคารน่าอยู่ ผมไม่ได้หมายความ ว่าแบบอืน่ ๆ ไม่ดี เพียงแต่วา่ รูปแบบและความเหมาะ สมต่างหากทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั คุณค่าของงานนัน้ ๆ งานสถาปัตยกรรมควรจะเป็นไปในทางที่ควร จะเป็น และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ และสามารถ สร้างคุณค่าให้แก่ตัวมันเองเมื่อกาลเวลาผ่านไป มิใช่ เป็น ‘ทั ศ นะอุ จ าด’ ที่กล่าวไว้ข้างต้น ซึ่งหมายถึง สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ มี ลั ก ษณะทางกายภาพที่ ไ ม่ มี ค วาม สุนทรียภาพทางสถาปัตยกรรม ที่เด่นชัดคืออาคารที่ เกิดมีการท�ำซ�้ำๆ จากแบบชุดเดียวกัน บางทีมีน้อยก็ ดี มีมากไปก็เกิดความเบือ่ หน่าย เสน่หห์ ายไปหมด ใน มุมมองของผมเองคิดว่างานสถาปัตยกรรม คืองาน
ศิลปะ + วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง จู่ๆ จะเอาดินเหนียว มาปั้นให้เป็นบ้านหลังหนึ่งคงมิได้ มันต้องอาศัยหลัก การก่อสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง ประกอบกับความต้องการของผูใ้ ช้ สิง่ เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ ได้ดว้ ยปัจจัยง่ายๆ คือ ‘อาหาร จะอร่อย ต้องใช้เครือ่ งปรุงทีด่ ’ี เปรียบอาหารเหมือนกับ การจะสร้างบ้าน 1 หลัง ต้องประกอบด้วย - ความต้องการ และต้นทุนของผูว้ า่ จ้าง - สถาปนิก ทีส่ ามารถตอบโจทย์ของผูว้ า่ จ้าง
- วิศวกร ผูค้ วบคุมงานทีช่ ำ� นาญและมีประสิทธิภาพ - ผูร้ บั เหมาทีม่ คี วามช�ำนาญและรับผิดชอบ ถ้าขาดข้อใดข้อหนึ่งไป รับรองอาหารจานนี้ ‘ไม่ หรอย’ แน่นอน “บ้านเมืองจะสวยงามน่าอยู่ จะเกิดขึ้นจาก การเห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน ถ้าพวกเรา ช่วยกันพัฒนาด้วยความเข้าใจ ไม่จำ� เป็นต้องราคา แพง เพียงแค่ให้สมราคา และมีความสุนทรีย์ทาง สถาปัตยกรรม เท่านี้คุณค่าจะเกิดกับผลงานชิ้น นัน้ เอง”
ดร.วิชญายุทธ บุญชิต รักษาการ ผอ.ส�ำนักยุทธศาสตร์ และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักงานคณะกรรม การพัมนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวถึงแนวโน้ม เศรษฐกิจไทยปี 2556 ว่า ปัจจัยภายนอก-ไตรมาสที่ 4 ของ ปี 2555 เศรษฐกิจโลกจะฟืน้ ตัวอย่างช้าๆ และฟืน้ ตัวชัดเจน ในครึง่ ปีหลังของปี 2556 วิกฤติเศรษฐกิจยุโรปลดลงและเป็น เงือ่ นไขต่อการฟืน้ ตัว ไตรมาสที่ 3 เศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มมีเสถียรภาพ การ ฟืน้ ตัวจะชัดเจนไตรมาสที่ 4 ของปี 2556 เนือ่ งจากการฟืน้ ตัว ของภาคอสังหาริมทรัพย์และการอ่อนตัวของดอลลาร์สหรัฐฯ เศรษฐกิ จ จี น เริ่ ม ทรงตั ว และส่ ง สั ญ ญาณฟื ้ น ตั ว ใน ไตรมาสที่ 4 ของปี 2555 และเร่งตัวในปี 2556 บวกกับการ แก้ไขวิกฤติเศรษฐกิจยุโรปโดยเฉพาะสเปนกับกรีซคืบหน้า ไปมาก ซึง่ ช่วยสนับสนุนการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจไทย แต่การ แข็งค่าของเงินบาทและแรงกดดันจากการขึน้ ราคาน�ำ้ มันและ ราคาสินค้า ครึง่ หลังของปี 2556 จึงอยูใ่ นความเสีย่ ง เศรษฐกิ จ ไทยปี 2556 ขยายตั ว ในเกณฑ์ น ่ า พอใจ ภาคการส่งออกจากการขยายตัวของเศรฐกิจโลกและการ ฟื้นตัวของภาคการผลิต การบริโภคในครัวเรือนขยายตัวใน เกณฑ์ดีจากปัจจัยที่กล่าวมาแล้ว การลงทุนภาคเอกชนมี แนวโน้มขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง การใช้จ่ายภาครัฐสามารถ ขับ-เคลื่อนเศรษฐกิจ หากสามารถเร่งรัดการเบิกจ่าย และ การด�ำเนินโครงการลงทุนภายใต้กรอบงบประมาณ 3.5 แสน ล้านบาท และ 2.27 แสนล้านบาท แต่พงึ ระวังความเสีย่ งจาก นโยบายพลังงานและภัยแล้ง การผลิตภาคเกษตรได้แรงหนุนจากการปรับตัวของ ราคาในตลาดโลก การผลิตภาคอุตสาหกรรม เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ มีแนวโน้มขยายตัว ในเกณฑ์ดี อุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว ขณะตลาดส่งออก ฟืน้ ตัวช้าๆ การท่องเทีย่ วมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์นา่ พอใจ แม้คา่ แรงจะสูงขึน้ ปัจจัยเสี่ยง ภัยแล้งที่อาจส่งผลกระทบต่อการผลิต สินค้าเกษตรและรายได้ของเกษตรกร ราคาน�ำ้ มันอาจปรับตัว ขึน้ สูง และความตึงเครียดระหว่างจีน ญีป่ นุ่ เวียดนาม
เยี่ยมเยือน โดย : มคธ เวสาลี
กรกฎ ส�ำเร็จปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมโยธา จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สะสม ประสบการณ์ในฐานะผู้รับเหมา ก่อน กลับมาพัฒนาที่ดินในโครงการบ้าน วรรณา (บ้านเดี่ยว) ราคา 3-4 ล้าน ต้นๆ ด้วยแนวคิด ‘Value & Concept House’ ติดถนนปากนคร ทางด้าน ตะวันออกของตัวเมือง และโครงการ บ้านวรรณา (ทาวน์เฮ้าส์) ราคา 2.29 ล้าน ติดถนนพัฒนาการ–วัดโบสถ์ ซึ่งขายไปได้เรื่อยๆ กรกฎเริ่มถมที่ดิน 30 กว่าไร่ อยู่ ถนนพัฒนาการคูขวางทางตะวันออก ของตลาดเสาร์-อาทิตย์ จัดท�ำโครงการ ที่เอื้อต่อชุมชน สร้างลานกิจกรรม กึ่ง สันทนาการ จัดอีเว้นท์ ที่ค่าใช้จ่ายค่อน ข้างต�่ำ หรือเป็นเวทีของเยาวชน ก่อสร้าง อพาร์ตเม้นต์ให้เช่าขนาด 80 ห้องใต้ถุน เป็นศูนย์อาหารเล็กๆ “พยายามที่จะรักษาวัฒนธรรมและ พฤติกรรม ชาวบ้านสามารถเก็บของจาก บ้านมาขาย มาแลกกับคนเมือง ผมท�ำ เล็กๆ แต่มีเอกลักษณ์ ค่อยๆ ท�ำไปจน เป็นรูปเป็นร่างไปเรื่อยๆ” โครงการโรงงานน�้ำมันปาล์มที่บ้าน หัวตรุด ต�ำบลท่าไร่ อ�ำเภอเมือง เดินหน้า ไปแล้วประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ “โรงงานน�้ำมันปาล์มเนื้อที่ไม่ถึง 5 ไร่ เป็นโรงงานสกัดแห้ง อบด้วยลม ผม วางไลน์เครื่องจักรพอเหมาะกับวัตถุดิบ
50 ตันต่อวัน สูงสุด 400 ตันต่อวัน” ข้อดีของโรงงานน�้ำมันปาล์มแบบ สกัดแห้ง คือกากของผลปาล์มใช้เป็น อาหารสัตว์ที่ให้ไขมัน 5 เปอร์เซ็นต์ และ โปรตีนเกือบ 7 เปอร์เซ็นต์ “ผมอยาก ขยายความเข้าใจแก่คนทางใต้ โดยเฉพาะ กลุ่มเลี้ยงโคขุนว่าสามารถใช้กากปาล์ม เป็นอาหารได้ ยิ่งสดเท่าไรยิ่งมีโปรตีนมาก เท่านั้น” โรงงานสกัดแห้งพื้นที่ในร่มส�ำคัญ อย่างยิ่ง “ของผมพื้นที่ในร่มเกือบ 2 ไร่ ของเราไม่ยุ่งกับน�้ำ น�้ำเป็นต้นทุนอีกตัว ช่วงแล้งโรงงานไหนมีหม้อต้มจะยุ่งยาก มาก น�้ำกับน�้ำมันปนเปื้อนกัน ผลิตภัณฑ์ สุดท้ายความชื้นจะสูง กระบวนการนี้ ความชื้นของน�้ำมันปาล์มจะต�่ำ” เรื่องตลาดน�้ำมันปาล์มไม่น่าเป็น ห่วง เพราะจีนกับอินเดียสั่งน�ำเข้าเพิ่มขึ้น กรกฎเป็นสมาชิกและเป็นกรรมการ หอการค้าจังหวัดนครศรีฯ “ผมเข้ามาสองปีกว่านับแต่ท�ำ โครงการหมู่บ้านวรรณา แต่คุณพ่อเป็น สมาชิกหอฯอยู่แล้ว ผมเข้าร่วมกิจกรรม กับหอฯบ่อยๆ สิ่งที่เราได้คือมุมมอง กับวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับเมืองนคร หอฯ ต้องการคนเข้ามาร่วมผลักดัน ผลที่เราได้ ทางตรง ในการประชุมหลายๆ ครั้ง ผมได้รู้ว่าเมืองนครจะเติบโตไปทางไหน เราทุกคนจะได้รู้เหมือนกันไม่มีใครได้มาก หรือน้อย” การคิดออกแบบโครงการแต่ละ
ทายาท บริษัท โกอัน-วรรณากรุ๊ป จ�ำกัด ผู้ประกอบอาชีพค้าทองค�ำรูปพรรณที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการสามารถน�ำข้อมูลจากการ ประชุมมาใช้ประโยชน์ได้มาก “เวลาไปประชุมกับผู้ว่าราชการ จังหวัด รองผู้ว่าฯ หรือผู้น�ำ เขามอง ว่าเมืองจะเติบโตไปทางด้านนี้ หอฯ พยายามผลักดัน หอฯโชคดีที่ทางราชการ เขายอมรับ ถ้าทุกคนเข้ามาเป็นสมาชิก น�ำความคิดเห็นมาแชร์ คนที่ท�ำการค้า โดยตรง โดยอ้อม ราชการก็เป็นสมาชิก หอการค้าได้ มารับข่าวสารจากเรา”
กรกฎ เตติรานนท์ กล่าวว่า ถ้า องค์กรธุรกิจเอกชน 3 องค์กร ประกอบด้วย หอการค้าจังหวัดนครศรีฯ สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีฯ และ ชมรมท่องเที่ยวนครศรีฯ ที่หน่วยงาน ราชการให้การยอมรับร่วมมือกันอย่าง เข้มแข็งจะเป็นก�ำลังผลักดันให้การค้าและ การลงทุนของจังหวัดนครศรีฯ เติบโต และแข็งแกร่งไปในทิศทางที่ต้องการ มากยิ่งขึ้น
เดือนเพ็ญ ศรีเพชร ด�ำเนินงาน 108 ม.1 ถ.ร่อนพิบูลย์-ทุ่งสง ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช 80130 โทร./โทรสาร : 075-442829 มือถือ : 086-272-9955