ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
http://www.nakhonforum.com
ราคา ๒๐ บาท
ผู ้ ว ่ า ฯ วิ โ รจน์ ย�้ ำ จุ ด ขายเมื อ งนคร คื อ ธรรมะ ธรรมชาติ ประเพณี วัฒนธรรม ผู้การรณพงษ์แนะเมือง คอนควรมีไนท์บาซาร์ ชี้ประตูลอด เหมาะจัดถนนคนเดิน และเล่นน�้ำ สงกรานต์อย่างถนนข้าวสาร ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСÒญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๗
เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ นายวิ โ รจน์ จิ ว ะรั ง สรรค์ ผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น ประธาน ประชุ ม คณะกรรมการร่ ว มภาครั ฐ และ เอกชน เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช (กรอ.จว.นศ) ครั้ ง ที่ ๑/๒๕๕๖ ณ ห้ อ งประชุ ม ศรี ปราชญ์ มีหัวหน้าส่วนราชการหลายฝ่าย ประธานสภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นคร ศรีฯ ประธานหอการค้าจังหวัดนครศรีฯ และประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จังหวัดนครศรีฯ เข้าร่วม
นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ กล่าวต่อ ที่ประชุมว่า สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ จั ง หวั ด นครศรี ฯ ภาคเกษตรกรรม ชะลอตั ว ภาคการบริ ก ารและการ ท่ อ งเที่ ย วขยายตั ว ดี ขึ้ น ตามล� ำ ดั บ ปี ๒๕๕๕ มี ผู ้ เ ดิ น ทางผ่ า นสนามบิ น นครศรีธรรมราช ๓.๖ แสนคน การใช้ ไฟฟ้ า ของโรงแรมในจั ง หวั ด นครศรี ฯ
เพิ่มขึ้น ๒๖ เปอร์เซ็นต์ ปี ๒๕๕๔ การ ท่องเที่ยวท�ำรายได้ประมาณ ๘,๓๐๐ ล้านบาท ภายหลังจัดแคมเปญ ‘นคร ศรีดี๊ดี’ ภายใต้ค�ำขวัญ ‘ที่เดียวเที่ยว ครบเครื่ อ ง เมื อ งเดี ย วเที่ ย วทั้ ง ปี ’ ท�ำให้นักท่องเที่ยว >> อ่านต่อหน้า ๘
รายงาน ผู้ว่าฯแจ้งที่ประชุม กรอ. เมืองนครจับมือเป็นเมืองพี่ เมืองน้องกับมณฑลซานตง เร่งประชุมหารือก�ำหนด นโยบายเชิงรุก
เมืองเหวยฟาง (Weifang) มณฑลซานตง
เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ นายวิ โ รจน์ จิ ว ะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็็นประธาน ประชุ ม คณะกรรมการร่ ว มภาครั ฐ และเอกชนเพื่ อ แก้ ไ ข >> อ่านต่อหน้า ๙ ปัญหาทางเศรษฐกิจจังหวัด
หน้า ๒
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
-
ฐมนตรีกระทรวงพลังงาน พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล เตรียมประกาศภาวะฉุกเฉินช่วงเดือนเมษายน ๒๕๕๖ ว่าประเทศไทยต้องเผชิญกับวิกฤติไฟฟ้า เพราะพม่าก�ำลัง จะซ่ อ มแท่ น ขุ ด เจาะแหล่ ง ก๊ า ซที่ ส ่ ง ให้ ไ ทย ท่ อ ก๊ า ซไทยมาเลย์เสียหายต้องซ่อมในเวลาเดียวกัน ท�ำให้ก๊าซหายไป จากระบบกว่า ๑.๑ พันล้านลูกบาศก์ฟุต การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ประเมินว่าจะมีการใช้ไฟฟ้ามาก ที่สุดในวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๖ ประมาณ ๒๖,๕๐๐ เมกะวัตต์ ขณะไฟฟ้าส�ำรองเหลือเพียง ๒ เปอร์เซ็นต์ หากมีเหตุ แทรกซ้อนไฟฟ้าอาจดับทั่วประเทศ นับเป็นเรื่องชวนขนหัวลุกส�ำหรับผู้ประกอบการ และ ผู้ใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจ�ำวันทุกคน ถ้าหากไฟฟ้าดับพร้อมกัน ทั่วประเทศ (Black Out) เพราะห่วงโซ่ชีวิตปัจจุบันผูกโยง กับกระแสไฟฟ้าอย่างไม่อาจตัดขาด เราจะเริ่มต้นตรงไหน ถ้าเกิดเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น หลับตาเห็นสัญญาณไฟจราจร ดับสนิทบริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิที่มีผู้สัญจรไปมาวันละ ๙๐๐,๐๐๐ คน รถทุกคันไม่สามารถขยับเคลื่อนตัว ไปข้าง หน้าหรือถอยหลังก็ท�ำไม่ได้ ผู้คนจะออกจากรถมายืนแช่ง ด่า อาชญากรเฝ้ารอนาทีวิกฤติกระชากสร้อย บุกจี้ปล้นร้าน สะดวกซื้อ ตามซอกซอยเปลี่ยวเกิดเหตุข่มขืนฆ่า ฯลฯ ไม่นับผู้ที่ติดอยู่ในคอนโดมิเนียม อพาร์ตเม้นต์ ตึกสูง หมู่บ้านจัดสรร และสถานศึกษาที่ต้องการออกไปรับอากาศ ข้างนอก หรือกลับสู่ที่พักอาศัยอย่างปลอดภัย ธนาคารไม่ สามารถท�ำธุรกรรมทางการเงินทุกกรณี ไม่อาจโอน ถอน สั่งซื้อหรือขาย โรงงานไม่สามารถผลิตสินค้าส่งให้ผู้ซื้อตรง เวลา วัตถุดิบเสื่อมคุณภาพ เน่าเปื่อยใช้การไม่ได้ต้องทิ้ง ถึงไม่อยากขาดทุนก็จ�ำยอม ทุกอย่างค�ำนวณไม่ได้ ท�ำนาย ไม่ถูก เพราะเหตุการณ์ยังไม่เกิด การรณรงค์ให้ประหยัด ไฟล้มเหลวทั้งในภาคราชการและภาคครัวเรือน เพราะติด ความสะดวกสบายและอ้างว่ามีเงินจ่ายค่าไฟ หรือรัฐเป็นผู้ จ่ายเสียอย่าง รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานมีวาระพิเศษอื่นๆ นอกจาก ตอกย�้ ำ ความจ� ำ เป็ น ในการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ที่ ไ ม่ ใ ช้ ก ๊ า ซ ธรรมชาติ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง โดยเฉพาะโรงไฟฟ้ า เทคโนโลยี ถ่านหินสะอาดที่ต้นทุนถูกกว่าก๊าซ อย่างไรก็ตาม กระทรวง พลั ง งานมี ค� ำ สั่ ง ให้ โ รงไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ บ างแห่ ง ก่อสร้างถังเก็บน�้ำมันส�ำหรับใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าอีกทาง ถ้า เมษายน ปี ๒๕๕๖ เกิด Black Out ขึ้นมาจริงๆ การกอบกู้ จะเริ่มที่เครื่องปั่นไฟฟ้าจากเขื่อนที่มีอยู่ไม่ถึง ๗ เปอร์เซ็นต์ ของไฟฟ้าในระบบ ติดแล้วค่อยๆ จ่ายไปยังจุดส�ำคัญ ขณะ โรงไฟฟ้าที่ใช้น�้ำมันดีเซลต้องใช้เวลาร่วม ๒ วันส�ำหรับจุด เตา โรงไฟฟ้าถ่านหินตามมาหลังสุด พลังงานแสงอาทิตย์ พลั ง งานลมและพลั ง งานทดแทนอื่ น ๆ จะให้ ค� ำ ตอบต่ อ สังคมว่า--มีศักยภาพเป็นไฟฟ้าได้แค่ไหน-เพียงไร
ผ
รูปเมืองนิพพานในสมุดภาพไตรภูมิฯ >
ศรี ม หาสมุ ท ” ซึ่ ง คื อ สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราชแห่ ง กรุงธนบุรี หลังกู้เอกราชได้ ๙ ปี ที่ทรงปรารภเรื่องศีลธรรม ของผู้คนและประสงค์ให้ได้รู้เรื่องไตรภูมิ แล้วทรง “ตรัสสั่ง เจ้าพญาศรีธรรมาธิราชผู้เป็นอรรคมหาเสนาธิบดี ให้จัดพระ สมุดเนื้อดีแล้วให้ส่งไปแก่ช่างเขียนให้เขียนไตรภูมิ ให้ไปเรียน ในส�ำนักสมเด็จพระสังฆราช ให้สมเด็จพระสังฆราชบอกกล่าว บังคับให้เขียนตามเรื่องราวมีในพระบาฬี แล้วให้คัดบาฬีปรทับ ลงไว้ ให้แจ้งใสทุกประการจได้เปนคติสืบไป” จากนั้นก็ขึ้นเรื่อง ว่าด้วยหลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธองค์โดยยกเอาเมือง นิพพานมาเป็นปฐมตามรูปแรกที่ยกมาให้ดูด้านบน ผมรีบพลิกดูเร็วๆ ก็เห็นเป็นเนื้อหาอย่างไตรภูมิแต่มี ความเด่นมากหลายประการ เช่น ลายมือเขียนงดงามมาก ภาพต่างๆ ก็ละเอียดและงดงามเช่นกัน เทียบเท่ากับของหลวง ซึ่งเป็นที่ชัดเจนแล้วว่าเป็นฉบับสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงให้ สร้างไว้ แต่ที่ท�ำให้คิดถึงเมืองนครนั้นมี ๒ ที่ คือ หนึ่ง เจ้า พญาศรีธรรมาธิราชผู้นี้คือผู้ใด ใช่เจ้าพระยานครท่านใดท่าน หนึ่งหรือไม่ หรือว่าเป็นเพียงต�ำแหน่งอรรคมหาเสนาธิบดีท่าน หนึ่งในส่วนกลางเท่านั้น หรือว่ามีสายสัมพันธ์เชื้อสายใดกับ เมืองนครหรือไม่ นี้เป็น เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ ต ้ อ งสื บ ค้ น ต่ อ แต่ ข ้ อ สองที่ พ ้ อ ง กันมากๆ คือ ทรงให้ไป เรี ย นในส� ำ นั ก สมเด็ จ พระสังฆราช ซึ่งเป็นที่รู้ กันว่า (ถ้าจ�ำไม่ผิด) ใน ช่วงที่การบ้านการเมือง ในกรุงศรีอยุธยาปัน่ ป่วน นั้น เหล่าประชาชนพลเมือง พระสงฆ์องค์เจ้า ^ บทน�ำในหน้าแรกของสมุดภาพไตรภูมิ ฉบับ สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ตลอดจนพ่ อ ค้ า วาณิ ช ในหน้าแรกซึ่งมักเขียนเป็นบทน� ำหรือค� ำปรารภในการ ข้าราชการ รวมทั้งทหารทั้งหลายพากันอพยพหลบออกไม่น้อย สร้างท�ำนั้น ระบุปีชัดว่า “พระพุทธศักราชล่วงแล้วได้ ๒๓๑๙ ดังที่สมเด็จพระเจ้าตากสินก็ออกไปตั้งหลักทางตะวันออก มี พระวะษาเศศสั ง ขยา ๒ เดื อ นกั บ ๒๖ วั น ” โดย “สมเด็ จ หลักฐานหลายทางว่า ที่เมืองนครมีพระผู้ใหญ่ชื่อสีแห่งวัด บรมกรษัตตราธิราชเสดจออกณพะธินั่งต�ำหนักแพ กรุงธนบุรี- พนัญเชิง ในพระนครศรีอยุธยา >> อ่านต่อหน้า ๑๙ มเพิ่ ง กลั บ มาจากไปงานจดหมายเหตุ ที่ ฝ รั่ ง เศสและ เยอรมั น เมื่ อ ไม่ กี่ วั น มานี้ คิ ด ถึ ง เมื อ งนครอยู ่ เ ป็ น ระยะ เพราะมี ห ลายสิ่ ง อย่ า งที่ ช วนคิ ด ถึ ง บ้ า นเกิ ด เมื อ งนอนเป็ น ธรรมดา ไปอยู่ ๑๓ วัน ในปารีส เบอร์ลิน วัพเพอร์ทาล ไมน์ ไฮเดลเบอร์ก และ แฟรงค์เฟิร์ต แต่ที่พอเทียบเคียงและ มีเรื่องให้คิดถึงเมืองนครมากที่สุดอยู่ที่ ๓ แห่ง คือที่ นคร เบอร์ลิน เมืองไฮเดลเบอร์ก และ เมืองไมนซ์ ในเยอรมัน ทั้งหมด ที่เบอร์ลินนั้น ตอนไปพบกับภัณฑารักษ์ของพิพิธภัณฑ์ ศิ ล ปะเอเซี ย ติ๊ ค ที่ มี ชื่ อ เสี ย งแห่ ง หนึ่ ง ในระดั บ โลกว่ า ด้ ว ย เอเซีย และได้พบเห็นเรียนรู้หลายอย่างนั้น มีสิ่งหนึ่งซึ่งเธอ ตั้งใจมากๆ ที่จะให้ช่วยเหลือ บอกว่าเป็นสมุดภาพไตรภูมิของ ไทย สมัย พ.ศ.๒๓๑๙ สวยมาก มีคนช่วยอ่านและแปลเป็น ภาษาเยอรมันแล้ว แต่อยากได้คนรู้เรื่องนี้ ทั้งกระดาษ ลายมือ ตัวหนังสือ ภาพ การวาดและสี ให้ช่วยศึกษาและรายงานออก มา รวมทั้งสอบทานค�ำแปลที่ถูกถ้วน พร้อมให้ทุนท�ำการศึกษา ค้นคว้าจริงจัง ตั้งใจจะพิมพ์เป็นหนังสือเล่ม จึงได้ขอดูแต่เขา เอาไปอนุรักษ์อยู่ ได้ดูแต่ภาพถ่าย
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร
เ
มื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เดินทาง มาเป็ น ประธานในพิ ธี ป ระสาทปริ ญ ญาบั ต รแก่ บั ณ ฑิ ต ปริ ญ ญาตรี แ ละปริ ญ ญา โท วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภ าคใต้ (เอสซี ที.) อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช และมอบทุนการศึกษา ‘รางวัลนายพ่วง สุ ว รรณรั ฐ ’ ที่ ม อบแก่ นั ก ศึ ก ษาเอสซี ที . ปีละ ๒ ทุนๆ ละ ๒๐,๐๐๐ บาท ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี
เมตตาเซ็นหนังสือที่มีคุณค่าเล่มหนึ่ง ชื่อ ‘หนึ่งร้อยปีชาต กาล พ่วง สุวรรณรัฐ’ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ปี ๒๕๑๕ ผมกล่าวขอบพระคุณและ รับปากว่าจะอ่านให้จบโดยไว ขอเรียนให้ทราบว่า ฯพณฯ องคมนตรีเป็นเลือดเนื้อ เชื้อไขของชาวปักษ์ใต้ ชาวนครศรีธรรมราช เพราะ ‘คุณ พ่อ’ นายพ่วง สุวรรณรัฐ หรือ ‘ข้าหลวงพ่วง’ ก�ำเนิดและ เติบโตเป็นหนุ่มน้อยเรียนหนังสือที่นครศรีธรรมราช หนั ง สื อ ที่ ผ มได้ รั บ บั น ทึ ก ไว้ ว ่ า ...บรรพบุ รุ ษ ของ ตระกูลสุวรรณรัฐ ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณหัวล�ำโพง สมัย ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ บุตรชายคนหนึ่งได้เลื่อนต�ำแหน่ง เป็ น เจ้ า เมื อ งสวี ที่ ขึ้ น กั บ เมื อ งชุ ม พรในสั ง กั ด สมุ ห พระ กลาโหม ต่อมารับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระสวี ภั ก ดี กาลต่ อ มาลู ก หลานในตระกู ล บางคนรั บ ราชการ เจริญก้าวหน้า เช่น สมุห์บัญชีที่อ�ำเภอเกาะสมุย อ�ำเภอ กะแดะหรือกาญจนดิษฐ์ เมืองไชยา และอ�ำเภอสิชล ประมาณ ๒-๓ ชั่วอายุคนปู่ทองมารับหน้าที่สมุห์ บัญชี อ�ำเภอสิชล เมืองนครศรีธรรมราช ได้รับบรรดาศักดิ์
ในท�ำเนียบเจ้าพระยานครเป็นที่หมื่นสมุทรคีรีรัฐ ตอนต้น สมัยที่มีนามสกุลใช้ คนในตระกูลนี้ใช้นามสกุล ‘สวีภักดี’ หรือ ‘ฉวีภักดี’ ต่อมาเมื่อมีกฎหมายนามสกุล พลเสือป่า ขุนศรีเลขการ (แจ้ง) บุตรคนสุดท้องของหมื่นสมุทรคีรีรัฐ ได้ขอประทานนามสกุลไว้สืบทอดวงศ์ตระกูล พลโท สมเด็จ พระเจ้าบรมวงส์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ อุ ป ราชปั ก ษ์ ใ ต้ นายพลเสื อ ป่ า รั ก ษาดิ น แดน ประทานนามสกุลให้เมื่อปี ๒๔๖๐ ว่า ‘สุวรรณรัฐ’ โดย อาศัยชื่อเดิมของหมื่นสมุทรคีรัฐหรือปู่ทอง ปู่ทองถึงแก่กรรมเมื่อปี ๒๔๖๑ นายรื่น สุวรรณรัฐ บุตรชายคนโตเข้ารับราชการเป็นทหารอยู่กับเจ้าพระยา นคร เคยร่วมกองทัพเมืองนครศรีธรรมราชไปตีเมืองมาลา ยูหลายครั้ง นายรื่นหลังลาออกจากทหารได้สมรสกับนาง ทองอยู่มีบุตรธิดา ๓ คน คือ ขุนสุวรรณรัตนราช (เชย) นาง แช่ม ณ นคร และนายพ่วง สุวรรณรัฐ นายรื่นกับนางทองอยู่วาสนาน้อย ถึงแก่กรรมขณะ อายุ ๔๒ และ ๔๐ ขณะบุตรคนสุดท้องคือนายพ่วงอายุ เพี ย ง ๓-๔ เดื อ น นายกลั่ น ผู ้ มี ศั ก ดิ์ เ ป็ น อากั บ นางทิ ม บ้านอยู่ต�ำบลทุ่งปรัง อ�ำเภอสิชล มารับไปเลี้ยงเป็นบุตร ปี ๒๔๖๕ นายพ่ ว ง เข้าเรียนชั้นประถมที่ โรงเรี ย นอ� ำ เภอสิ ช ล (ปัจจุบันคือโรงเรียน วัดถ�้ำเทียนถวาย) ครู ห้อม ชัยสมบัติ เป็น ครูใหญ่ ปี๒๔๖๖ ๒๔๗๐ เข้ า เรี ย นที่ โรงเรี ย นเบญจมรา-
หน้า ๓
ชู ทิ ศ โดยนายกลั่ น น� ำ นายพ่ ว งไปฝากไว้ กั บ พระรั ต นธั ช มุ นี ศ รี ธ รรมราช (แบน คณฐาภรโณ - เปรียญ) เจ้าอาวาส วั ด มเหยงคณ์ ที่ เ คยบวชเรี ย นมา ด้วยกัน ปี ๒๔๗๑ นายพ่วงย้าย ไปเรี ย นมั ธ ยม ๖ ที่ โ รงเรี ย น วั ด ราชบพิ ธ พระรั ต นธั ช มุ นี ฝากให้ไปอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร กั บ พระครู อ เนก สาระวั น ปี ๒๔๗๒-๒๔๗๔ เข้ า โรงเรี ย น สวนกุหลาบวิทยาลัย นายพ่วงเข้า โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ภาค ๑ และเข้าเรียนที่คณะข้าราชการ พลเรื อ น จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย คณะ นิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชีวิตราชการปี ๒๔๗๗ บรรจุเป็นปลัดอ�ำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ปี ๒๔๘๘ เลื่อนเป็นปลัดจังหวัดนครปฐม ต่อด้วยปลัดจังหวัดนครสวรรค์ ปี ๒๔๙๐ เป็นนายอ�ำเภอ มุ ก ดาหาร จั ง หวั ด นครพนม ปี ๒๔๙๑ เป็ น ข้ า หลวง ประจ�ำจังหวัดธนบุรี ข้าหลวงประจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ริเริ่ม ก่อสร้างโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด ข้าหลวงประจ�ำจังหวัด พิษณุโลก ปี ๒๔๙๔ ทางการย้ายไปเป็นข้าหลวงประจ�ำ จังหวัดล�ำปางเพื่อปราบปรามนักเลงอิทธิพลจนราบคาบ ปี ๒๔๙๕ ล่องลงมาเป็นข้าหลวงประจ�ำจังหวัดสงขลา ‘ข้าหลวงพ่วง’ เดินน�ำหน้าปราบปรามโจรลุ่มทะเลสาบ สงขลา หลายก๊กยินยอมเข้ามอบตัว แต่หน่วยเหนือผู้มี อ�ำนาจในขณะนั้นไม่พอใจแนวทางจับกุมที่ใช้การเจรจา เงินเดือนจึงไม่ปรับขึ้นอยู่ระยะหนึ่ง ความดีปิดไม่มิด ต่อมามีผู้รู้เห็นและเข้าใจ ต�ำแหน่ง หน้าที่ก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะความสามารถด้าน ด�ำ เนิ น การรั บ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น เยี่ ย มหั ว เมื อ งต่ า งๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จนเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัย ชีวิตราชการเจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด ความผูกพันกับแผ่นดินเกิด นายพ่วงได้ด�ำเนินการ สร้างโบสถ์ใหม่น�ำพระพุทธสุพรรณรังษีที่ได้บูรณะขึ้นใหม่ จากวัดพระญาติการาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาด หน้าตักกว้าง ๒ เมตร สูง ๓ เมตรเศษ น�ำไปเป็นพระ ประธานในโบสถ์วัดประทุมทายการาม อ�ำเภอสิชล เมื่อ วันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๑๒ ปี ๒๕๑๔ สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงพระกรุณา เสด็จฯ ไปประกอบพิธียกช่อฟ้าพระอุโบสถ ฯพณฯ พลากร มี ด� ำ ริ ม อบทุ น การศึ ก ษารางวั ล ‘นายพ่วง สุวรรรัฐ’ แก่นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาค ใต้ ทั้งนี้เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ ‘คุณพ่อ’ ของท่าน โดย พิจารณาทั้งตัวนักศึกษาและครอบครัว ที่จะต้องเป็นผู้ช่วย เหลือสังคม มีจิตสาธารณะ ตามแบบอย่างการด�ำเนินชีวิต ของนายพ่วง สุวรรณรัฐ ที่รับราชการอย่างซื่อสัตย์สุจริต เป็นแบบอย่างของคนมหาดไทยและข้าราชการทั่วไป
หน้า ๔
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
โดย : นครา
ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ
nagara@nakhonforum.com
เ
ดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมามีงานใหญ่ๆ เกิดขึ้นในเมือง นครของเราสองงาน งานแรกคือตรุษจีน ปีนี้เทศบาล นครจัดใหญ่ ขนาดปิดถนนกันทีเดียว ตลาดท่าวังมีสีสัน ดูดี๊ดีขึ้นเยอะ งานที่สองคืองานมาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุ นานาชาติ ที่ เ มื อ งนคร ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น กิ จ กรรมที่ ท� ำ มา หลายร้ อยปี สื บ เนื่ องกันมา โดยอ้างอิง เอาจากต�ำนาน พระบรมธาตุ น ครศรี ธ รรมราช โดยระบุ ว ่ า “ผขาว อริยพงษ์ อยู่เมืองหงสา กับผู้คน ๑๐๐ หนึ่ง พาพระบด ไปถวายพระบาทในหลวงลงกา ต้องลมร้าย ส�ำเภาแตก พระบดถูกซัดเกยหาดที่ปากพนัง ชาวปากน�้ำจึงน�ำผ้า ขึ้นมาถวายพระยาศรีธรรมาโศกราช พระญาสั่งให้เอา พระบด มากางไว้ที่ท้องพระโรง แลผขาวอริยพงษ์กับผู้ที่ รอดชีวิตอีก ๑๐ คน ถูกซัดขึ้นที่ปากพูน เดินตามริมชเลมา จนถึงปากน�้ำพญาน้อย ชาวปากน�้ำจึงพาตัวมาเฝ้า ผขาว เห็นพระบดก็ร้องไห้ พระญาก็ถามผขาวๆ ก็เล่าความดัง แต่ต้นมา พระญาจึงแต่งส�ำเภาให้ผขาวกลับไปยังเมือง หงสา แล้วน�ำพระบดขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์” และ กลายเป็นประเพณีแห่ผ้าขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุจวบจน ปัจจุบัน นับเวลาได้เกือบ ๘๐๐ ปี ในปี ๒๕๕๓ องค์กรต่างๆ ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม บุญประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุให้เข้มข้นขึ้น ทั้งส่งเสริมการ ท่ อ งเที่ ย วเมื องนคร และในวาระที่พระบรมธาตุจ ะถูก ยกให้เป็นมรดกโลก (ที่จริงก็เป็นอยู่แล้ว) เลยจัดเป็น แห่ผ้า (พระบฏ) นานาชาติ เริ่มจากเชิญประเทศที่นับถือ พระพุ ท ธศาสนาใกล้ เ คี ย งมาร่ ว มแห่ ผ ้ า พระบฏของ ประเทศตนมาบูชาพระบรมธาตุนคร ซึ่งก็ได้รับการตอบ รับจากนานาชาติพอสมควร กิ จ กรรมที่ ส� ำ คั ญ ในงานแห่ ผ ้ า ก็ ต ้ อ งเป็ น เรื่ อ งผ้ า พระบฏ ผมเองนั้ น เมื่ อ ก่ อ นเข้ า ใจว่ า ผ้ า พระบฏต้ อ งมี ลักษณะผืนยาว ทั้งยังไม่เคยเห็นจังหวัดใดในประเทศมี กิจกรรมประเพณีนี้ จึงเหมาเอาว่า ต้องมีเฉพาะที่นคร ครั้นเมื่อได้มีโอกาสศึกษา และติดตามเรื่องผ้าพระบฏ ถึงจะรู้ว่า เมืองที่นับถือพุทธศาสนาเขาก็มีกันทุกที่ แต่ เรียกชื่อต่างกันไป ทางเหนือไทยเรียกตุง ทางลาวเรียก พระเวท ทิเบตเรียกถังกา โดยเฉพาะทิเบตนิยมท�ำผ้า พระบฏกันมาก ทุกบ้านเรือนจะต้องมีผ้าพระบฏแขวน ไว้บูชาพระพุทธคุณ เดินทางไปไหนจะพกติดตัวไปเสมอ ถึงที่พักก็น�ำมาแขวนสวดมนต์บูชา ของนครเรานิยมแห่
ผ้าขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุใหญ่ๆ ปีละ ๒ ครั้ง คือวัน มาฆบูชา และวันวิสาขบูชา เพื่อเป็นการบูชาสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ในงานแห่ผ ้าทุกปีจะน�ำผ้าพระบฏของชาติต่างๆ มากมายหลายแบบมาจัดแสดงให้เราได้ดู ได้เกิดความรู้ กิจกรรมเด่นอีกอย่างที่นิยมจัดในวันมาฆบูชา คือ การกวนข้าวยาคู ภาคกลางนิยมเรียกข้าวมธุปายาส เป็น ประเพณีสืบเนื่องมาจากเรื่องราวต�ำนานของพุทธประวัติ ประเพณี อั น มี ท� ำ กั น อยู ่ เ ฉพาะเมื อ งนครศรี ธ รรมราช เท่านั้น จังหวัดอื่นๆ ไม่มีการจัดกันแล้ว ต�ำนานเล่าว่าครั้งพุทธกาล นางสุชาดา บุตรสาว เศรษฐี บ ้ า นเสนานิ ค ม ได้ บ รวงสรวงต่ อ เทวดาประจ� ำ ต้นไทรเพื่อขอให้ได้ลูกชาย ครั้นได้สมประสงค์ก็น�ำข้าวยา คูมธุปายาสไปถวาย เห็นเจ้าชายสิทธัตถะนั่งอยู่ รัศมีเปล่ง ประกายเป็นสง่า เข้าใจว่าเป็นรุขเทวดาจึงน�ำเข้าไปถวาย ครั้นทราบว่าเป็นเจ้าชายสิทธัตถะก็ยิ่งเพิ่มความศรัทธา น้อมถวายพร้อมถาดทองค�ำไปด้วย เมื่อพระองค์ได้เสวย ข้าวยาคูมธุปายาสแล้วได้ลอยถาดลงไปในแม่น�้ำ พร้อม อธิษฐานให้ได้บรรลุธรรม และคืนนั้นเอง พระองค์ได้บรรลุ พระสัมมาสัมโพธิญาณ ตรงกับคืนวันเพ็ญเดือน ๖ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ จึงท�ำให้ชาวพุทธทุกคนเชื่อว่า ข้าวยาคูมธุปายาส เป็นอาหารวิเศษ กินแล้วจะมีสติปัญญาดี มีวาสนา เป็น >> อ่านต่อหน้า ๑๐ สิริมงคล
หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือน มีนาคม ๒๕๕๖ อยู่ในมือของผู้มีอุปการคุณ เช่นเดียวกับ ฉบับ E-book ที่มีผู้อ่านและช่วยกันแชร์ไปสู่ชาวนครไกล บ้านได้รับรู้เรื่องราวของแผ่นดินเกิด วั น ที่ ๑๑ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯเยี่ยมโรงเรียน ต� ำ รวจตระเวนชายแดนบ้ า นเขาวั ง ม. ๑๒ ต.หิ น ตก อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีฯ ในสังกัดกองร้อยต�ำรวจตระเวน ชายแดนที่ ๔๒๒ กองก� ำ กั บ การต� ำ รวจตระเวนชายแดน ที่ ๔๒ เพื่อทอดพระเนตรกิจกรรมต่างๆ พร้อมพระราชทาน สิ่ ง ของแก่ ค รู ผู ้ แ ทนนั ก เรี ย นและเยี่ ย มราษฎรที่ ม ารอ รับเสด็จ โรงเรียนแห่งนี้เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึง ป. ๖ มีนักเรียน ๘๑ คน ครู ๙ คน สมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ ท รงงานในพื้ น ที่ จั ง หวั ด นครศรี ฯ และทรงมี พ ระราชด� ำ รั ส ถามเรื่ อ งป่ า พรุ ควนเคร็ ง ที่ ถู ก เผาบุ ก รุ ก และเรื่ อ งการปลู ก ข้ า วในลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง วั น ที่ ๒๑ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ ผู ้ ว ่ า ฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ จึงประชุมคณะอนุกรรมการประสาน การด� ำ เนิ น งานโครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง อั น เนื่องมาจากพระราชด�ำริ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ พร้อม โกวิทย์ เพ่งวาณิชย์ รองเลขาธิการ กปร. หัวหน้าหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนเพื่อรับทราบความก้าวหน้าการด�ำเนินงาน ตามแผนแม่บทพัฒนาสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๕๖ ส่วนมาตรการ ป้ อ งกั น ควบคุ ม ไฟป่ า พรุ ค วนเคร็ ง ให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้องได้บูรณาการท�ำงานกันตั้งแต่เดือนมีนาคม โดย ส�ำนักงาน กปร. ได้สนับสนุนงบประมาณในการป้องกันกว่า ๑๔ ล้านบาท ส�ำหรับซ่อมแซมประตูระบายน�้ำ ท�ำนบดิน คั น กั้ น น�้ ำ เพื่ อ รั ก ษาระดั บ น�้ ำ ในป่ า พรุ ค วนเคร็ ง ให้ ส มดุ ล ขณะกรมชลประทานสนั บ สนุ น เครื่ อ งสู บ น�้ ำ ไว้ พ ร้ อ มแล้ ว เช่นกัน...โปรดจับตาไฟป่าพรุควนเคร็งไว้ให้ดีๆ
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
สงขลา ที่เทศบาลหน้าสตล อ.หัวไทร ตามโครงการ ‘ปะการังเทียม กรม ประมงเพื่ อ ความมั่ น คงทางอาหาร ของประชาชน’ โดยมี ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี ฐิตวัฒน เชาวลิต รองผู้ว่านครศรีฯ และ พิรสิญจ์ พันธุ์เพ็ง รองผู้ว่าฯ สงขลา ร่ ว มรั บ มอบ เชื่ อ ว่ า แท่ ง ปะการั ง เที ย มจะเพิ่ ม ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องสั ต ว์ น�้ ำ และยั ง ช่ ว ย ป ้ อ ง กั น เ ค รื่ อ ง มื อ ป ร ะ ม ง ที่ ผิ ด กฎหมายและมี ก ารท� ำ ลายล้ า งสู ง ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ นางสาวพนิดา ศกุนตะประเสริฐ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัด ในอนาคตอาจก่ อ ให้ เ กิ ด อาชี พ ใหม่ นครศรีฯ และพลโทอุดมชัย ธรรมสาโรรัชต์ แม่ทัพภาคที่ ๔ ถวายการต้อนรับสมเด็จ เช่ น มั ค คุ เ ทศก์ นั ก ด� ำ น�้ ำ การ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช จ�ำหน่ายอาหาร ที่พัก สินค้าที่ระลึก ในรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ ซึ่ ง ช่ ว ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ชีวิตชาวบ้านด้วย พูดเรื่องรถติดในเขตเทศบาล นครนครศรี ฯ ที ไ รปวด กบาลกันไปทุกฝ่าย เพราะ ว ่ า ยั ง ไ ม ่ มี ตั ว ‘ ข น ส ่ ง จังหวัด’ ผู้มีอ�ำนาจเต็ม ที่ ประชุ ม กรอ.จั ง หวั ด มี ม ติ ให้ท�ำหนังสือถึงอธิบดี กรมการขนส่ ง ทางบกให้ วั น ที่ ๒๒ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ วิ ม ล จั น ทรโรทั ย ส่งคนมารับต�ำแหน่งโดยเร็ว พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว อธิ บ ดี ก รมประมง เป็ น ประธานในพิ ธี ส ่ ง มอบ และจั ด วาง ผู้บังคับการต�ำรวจภูธร จ.นครศรีฯ จะท�ำงานแก้ปัญหาได้ ปะการังเทียม ๑,๑๑๕ แท่ง ระหว่างทะเลรอยต่อนครศรีฯ- มากกว่านี้
หน้า ๕
ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด นครศรี ฯ ร่ ว มกั บ พุ ท ธสมาคมนครศรี ฯ และศิ ษ ย์ ก รรมฐาน ท่ า น เจ้ า คุ ณ อาจารย์ พระสาสนโสภณ (พิ จิ ต ร ฐิ ต วณุ โ ณ) เจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) จัดโครงการปฏิบัติ ธรรมกรรมฐานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๘๖ พรรษา ก�ำหนดฝึกอบรมระหว่างวันที่ ๒๕ - ๓๑ มี น าคม ๒๕๕๖ ณ ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด นครศรีฯ วัดพระมหาธาตุฯ โดย พระสาสนโสภณ (พิจิตร) ฐิ ต วณฺ โ ณ) เจ้ า อาวาสวั ด โสมนั ส วิ ห าร จะเป็ น ประธาน อ�ำนวยการในการฝึกอบรมด้วยตัวเอง ผู้สนใจเชิญสมัคร ที่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธฯ (ตรงข้ า มสวนศรี ธ รรมาโศกราช) โทรฯ ๐๗๕-๗๕๗๘๕๖, ๐๗๕-๓๕๗๘๐๐ ตั้งแต่บัดนี้ถึง วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖
ล้างเสียเอง...คธา รุ่งโรจน์รัตกุล รองนายกเทศมนตรี พรพิณ วัชรากร รองปลัดเทศบาล น�ำเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม ๒๐ คน ร่วมล้างสิ่งสกปรกบนฟุตบาทด้านหน้า ห้างโรบินสันโอเชี่ยนเพราะพ่อค้าแม่ค้าไม่รักษาความสะอาด
เมื่ อ วั น ที่ ๖ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ เหล่ากาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่ ว มกั บ โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช และบริษัทฮอนด้า ศรีนคร จ�ำกัด รับบริจาคโลหิต ณ ส�ำนักงานฮอนด้าศรีนคร ตลาดแม่ สมจิตร เพื่อแก้ปัญหาเลือดไม่พอใช้ และส� ำ รองไว้ ช ่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ยโรง พยาบาลมหาราชนครศรี ธ รรมราช ให้เพียงพอและต่อเนื่อง ตามโครงการ ๖๕ ล้ า นดวงใจ ร่ ว มบริ จ าค โลหิตถวายพ่อของแผ่นดิน มีนักเรียน และประชาชนทั่วไปมาร่วมบริจาค จ� ำ นวนมาก งานนี้ บรรจง ชี ว ะพันธศักดิ์ กรรมการบริหาร บริษัท ฮอนด้าศรีนคร จ�ำกัด น�ำหมวกนิรภัย และเสื้อมาแจกเป็นของที่ระลึกแก่ ผู้ที่มาร่วมบริจาคทุกคน
แจ้ ง ข่ า วล่ ว งหน้ า ... งานประเพณี ข องลู ก ชาวฟ้ า แดง ปากพนั ง ‘งานวั น ฟ้ า แดง’ ครั้ ง ที่ ๒๔ ในวั น ที่ ๑๔ เมษายนนี้ ณ โรงเรี ย นปากพนั ง ฯพณฯ ธี ร ะ วงศ์ ส มุ ท ร อดี ต รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงเกษตรฯ เป็ น ประธานจัดงาน ขอเชิญศิษย์เก่า ลูกฟ้าแดงทุกรุ่นทุกวัย ร่วมคารวะ ครู สั ง สรรค์ เชื่ อ มมิ ต รภาพใน หมู่เพื่อนฝูงและพี่น้อง ปีนี้ นศ.๓ รุ ่ น ๒๕๐๗ รั บ เป็ น เจ้ า ภาพ
หน้า ๖
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
‘รักบ้านเกิด’ ถึงเจตนาในการจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์ รุ่น ‘ป้องกันภัย’ วิโรจน์ ขวัญเกื้อ เปิดเผยว่า “การสร้างพุทธสิหิงค์ เรามองเห็นถึงความส�ำคัญของเมืองนคร เมืองที่มีวัด และส�ำนักสงฆ์กว่า ๔๐๐ แห่ง ฉะนั้น การท�ำกิจกรรม อันใดที่เป็นมงคลอย่างเช่นปี ๒๕๔๗ ถึงปี ๒๕๕๐ เรื่อง ของจตุคามรามเทพเทวดาผู้เฝ้าองค์พระบรมธาตุฯ ก็ เกิดจากการจัดสร้างขึ้นมา พระพุทธสิหิงค์เป็นพระเก่า แก่ ประมาณปีพุทธศักราช ๗๐๐ กล่าวกันว่ากษัตริย์ ศรีลังกาสร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้า คือ
วิ
โรจน์ ขวัญเกื้อ อดีตคณะท�ำงานฝ่ายติดตามการ ปฏิ บั ติ ร าชการ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ประธาน กลุ่มเกษตรกรพัฒนา จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ด� ำริ และลงมือจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์ น�ำไปประดิษฐาน ที่ ส� ำ นั ก สงฆ์ไ ทรงาม หรื อ วั ด ปากลง หมู ่ ที่ ๖ ต� ำบล กรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย จัดประกอบพิธีเททองและพุทธาภิเษก ณ ศาลาประดู่ หก เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เปิดใจสนทนากับ
พยายามสร้างให้เป็นรูปที่สวยคล้ายคลึงกับองค์จ�ำลอง มาจากพระพุทธเจ้า การกราบไหว้บูชาพระพุทธสิหิงค์ เหมือนได้กราบไหว้พระพุทธเจ้า” วิโรจน์ เล่าว่า พระพุทธสิหิงค์ที่พระเจ้ากรุงลังกา ถวายมายังประเทศไทย ๓ องค์ ปัจจุบันประดิษฐาน อยู่ที่หอพระสิหิงค์ ภายในศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช, พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ ก รุ ง เทพ และ วั ด พระสิ ง ห์ ที่ เ ชี ย งใหม่ “ยามใดที่ มี เ ทศกาลเช่ น สงกรานต์ ช าวพุ ท ธจะน� ำ พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ม าสรงน�้ ำ อธิ ษ ฐานขอฝนขอความ ร่ ม เย็ น ยามใดน�้ ำ ท่ ว ม เกิ ด ภั ย พิ บั ติ ก็ อ ธิ ษ ฐาน ขออย่ า ให้ เ กิ ด ความเสี ย หาย อย่าให้มีเหตุอันตราย พระพุทธสิหิงค์เป็นพระที่ มีเมตตาสูง” เดือนมีนาคม ๒๕๕๔ เกิ ด อุ ท กภั ย ครั้ ง ใหญ่ ที่ บ้านกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ วิโรจน์ เกื้อขวัญ, พระอาจารย์สุรินทร์ จันทโก และ ธนา รุ่งนิรันดรกุล บ้ า นเรื อ นราษฎรและ เรื อ กสวนได้ รั บ ความเสี ย หาย สะพานถู ก กระแสน�้ ำ ตัดขาด “ส�ำนักสงฆ์ไทรงามหรือวัดปากลงก็ถูกภัยพิบัติ น�้ำป่าท�ำลาย สูญเสียที่ดิน ๔ ไร่เศษ กุฏิ ๘ หลัง ชาว บ้านช่วยกันทอดผ้าป่าฟื้นฟูวัด ผมมาคิดว่าพระพุทธสิหิงค์ซึ่งเป็นพระเก่าแก่ไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ในวัดใหญ่โต เสมอไป อาราธนานิมนต์ไปอยู่วัดป่าอยู่กับต้นไม้ป่า เขาก็ได้ ในวัดมีต้นไทรใหญ่โตสวยงามที่สุด ถ้าน�ำพระ พุทธสิิงค์ไปประดิษฐานจะมีผู้ศรัทธาตามไปกราบไหว้ บูชา ผมจึงมีความเห็นว่าควรจัดหล่อพระพุทธสิหิงค์ไป ประดิษฐาน และหล่อให้คนน�ำไปบูชาที่บ้าน” วิ โ รจน์ อ ธิ บ ายว่ า ท� ำ ไมจึ ง ประกอบพิ ธี เ ททองที่ ศาลาประดู่หก ซึ่งอาจมีผู้สงสัย “ถ้าเราไปจัดในวัดจะ ต้องเดินทางไป ๗๐ กิโลเมตร ความสนใจของคนที่จะ ขึ้นไปอาจจะล�ำบาก เลยมาท�ำพิธีเททองหล่อที่ศาลา ประดู ่ ห ก โดยนิ ม นต์ พ ระเกจิ อ าจารย์ เข้ า ใจว่ า เป็ น พระสายเมตตามาจากหลายภาค การจั ด สร้ า งพระ พุ ท ธสิ หิ ง ค์ รุ ่ น ป้ อ งกั น ภั ย ก็ เ พื่ อ ให้ ผู ้ ศ รั ท ธาน� ำ ไปบู ช า ป้องกันภัยพิบัติ และเพื่อกราบไหว้ (อ่านต่อหน้า ๙)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
(๒)
ฉ
บับที่แล้วผมเขียนถึงค�ำถามที่ส�ำคัญ คื อ “วั น นี้ คุ ณ ออกแบบชี วิ ต ไว้ อย่างไร?” และทิ้งท้ายไว้ ทุกอาชีพมีคน ส�ำเร็จและไม่ส�ำเร็จ แต่ถ้าคุณต้องการ ความส�ำเร็จคุณต้องไปหาคนท�ำส�ำเร็จ แล้ ว เสร็ จ (เกษี ย ณได้ แ บบ ๑๐๐%) คือไม่มีความกังวลใดๆ ไปใช้ชีวิตตาม ที่ตนเองต้องการ (Passion) ผมถาม เขาว่าต้องเริ่มต้นจากอะไร? เขาบอกว่า “ความคิ ด ของคุ ณ เองส� ำ คั ญ มาก ต้ อ ง ตอบเองให้ได้ว่าคุณเป็นใคร? จะยืนอยู่ ตรงไหนของธุ ร กิ จ ที่ คุ ณ ท� ำ อยู ่ อยากมี รายได้เท่าไร? สิ่งที่ต้องท�ำคือ” ๑. การเลื อ กและมี เ ป้ า หมายที่ ชัดเจน ถื อ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ มากเพราะมั น เป็ น การก� ำ หนดจุ ด ยื น ของตั ว เองว่ า มี เป้าหมายอะไร? เท่าไร? และเมื่อไหร่ถึง จะได้ คุณต้องไม่สงสัยกับเป้าหมายของ ตัวคุณเอง มีความเชื่อมั่นว่าคุณท�ำได้ ๒. การเดิ น ทางบนโลกอาชี พ ที่ คุณเลือกกับระยะเวลาที่ตั้งไว้ต้องท�ำ ๒ อย่างคือ การเรียนรู้ และลงมือท�ำให้ เกิดผลลัพธ์ เปรี ย บเหมื อ นการขึ้ น ภู เ ขา จุ ด เริ่มต้นจากศูนย์ด้วยการไต่ระดับขึ้นไป เรื่อยๆ จนถึงจุดหมายในระหว่างที่ศึกษา เรียนรู้และลงมือท�ำนั้นก็จะประสบความ ส�ำเร็จ-ผิดพลาดเป็นระยะ และมีจุดพัก ความส�ำเร็จที่เราก�ำหนดไว้ แต่สิ่งที่ท�ำให้ เราเดินต่อไปไม่ได้หรือเดินช้าลงก็เพราะ เราหยุดพักนานเกินไป หรือเราพอใจกับ ผลส�ำเร็จในระยะสั้นๆ จนเผลอหยุดที่จะ เดินไปต่อ ระหว่างเส้นทางนี้ ทุกคนใช้ ต้นทุน หน่วยเวลา แรงกาย-สุขภาพ แลก กับผลลัพธ์อยู่ต่อตลอดเวลา ในขณะที่ เดินไปคุณจะเห็น กลุ่มที่ ๑ คนส�ำเร็จ แล้วเดินต่อไป กลุ่มที่ ๒ คนส�ำเร็จแล้ว หยุดพัก กลุ่มที่ ๓ คนที่เดินไม่ถึงแล้ว เดิ น ลงกลั บ ไปที่ เ ดิ ม นี่คือคน ๓ กลุ่ม ในการท�ำธุรกิจ เขาถามผมว่า “คุณรู้มั้ย
นครศรีธรรมราช
๓. การออกแบบธุรกิจ (Business Bluprint) การสร้างบ้าน อาคารสิ่งปลูกสร้าง ต้ อ งมี ก ารออกแบบทางด้ า นสถาปั ต ยกรรม-วิศวกรรม งานระบบต่างๆ รวม ถึงการตกแต่งภายใน-ภายนอก ซึ่งต้อง ใช้มืออาชีพที่รู้จริง เมื่อคุณตัดสินใจท�ำ ธุรกิจอะไรคุณต้องมีการออกแบบธุรกิจ ของคุณเองให้ชัดเจนเป็นไปตามอย่างคน ที่ส�ำเร็จเขาท�ำกัน การเรียนรู้ที่มากพอ ในเรื่องธุรกิจที่คุณเลือกจัดเป็นสิ่งส�ำคัญ มากคุ ณ อาจยื ม พลั ง ความสามารถจาก คนอื่นมาช่วยได้ในระยะสั้น แต่ส�ำคัญคือ พลั ง จากตั ว คุ ณ เองส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ผมถาม เขาว่าถึงขนาดต้องท�ำแผนธุรกิจเลยหรือ ผมเห็นหลายคนที่เขาส�ำเร็จไม่เห็นต้อง เขียนแผนธุรกิจ เขาย้อนกลับ “คุณรู้ได้ อย่างไร” เขาอาจไม่เขียนแผนแต่ก็มี แผนในสมองของเขาเรี ย บร้ อ ยแล้ ว เพี ย งแต่ ไ ม่ ส ามารถเขี ย นออกมาเป็ น เอกสารให้คุณเห็นได้ไม่มีใครท�ำไปโดย ไม่มีทิศทางเป้าหมายที่ชัดเจนหรอก” โดนเข้ า ไปอี ก ดอกใหญ่ จ นผมแทบไม่ อยากคุ ย กั บ เขาเหมื อ นกั น คุ ย กั บ คน ส�ำเร็จก็ยิ่งท�ำให้รู้สึกว่าตัวเองต้องเรียนรู้ และเปลี่ยนแปลงอีกมากมายอายุจะ ๖๐ ปี ต้องมาเรียนรู้แล้วเปลี่ยนแปลงตัวเอง อีกหรือ? ฉบับนี้เอาไว้แค่นี้ก่อนนะครับ ผมเริ่ ม เหนื่ อ ยกั บ การเป็ น นั ก เรี ย นรู ้ ที่ ส�ำเร็จในแต่ละช่วงของชีวิตก็พบจุดอ่อน ไม่ใช่คนเดิมอีกต่อไป เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นตลอด เวลา ส�ำหรับคนที่ส�ำเร็จระดับหนึ่งแล้ว นายไพโรจน์ เพชรคง หยุดพักเขาจะไม่เปลี่ยนแปลงจนกว่ามัน Pairotpetkong784@gmail.com จะเกิดวิกฤติขึ้นถูกสถานการณ์บังคับให้ ๑๙กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เปลี่ยนเพื่อไปต่อ ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงก็อยู่ กับที่รอวันถดถอยลงหรือเลิกราไปเอง นี่ คือกฎของธรรมชาติ
คนที่ส�ำเร็จเขากล้าเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่ส�ำเร็จ จะไม่รอเปลี่ยนแปลงเมื่อเกิดวิกฤติ ทุกครั้งที่ส�ำเร็จในแต่ละช่วงของชีวิต ก็พบจุดอ่อนเกิดขึ้น เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลา คนกลุ่มไหนมีมากที่สุด” ผมตอบ “กลุ่ม ที่ ๓ และกลุ่มที่ ๒ รองลงมาส่วนกลุ่ม ที่ ๑ จะมีน้อยมาก” เขาอธิบายต่อเหตุ ที่คนกลุ่มที่ ๓ เดินลงเพราะเขาตัดสินใจ เลือกเป้าหมายใหม่คือกลับมาที่เดิม ส่วน กลุ่มที่ ๒ เลือกใหม่เช่นกัน คือท�ำได้แค่ นี้ก็พอใจแล้วค่อยๆ ไป ไม่ต้องรีบ ถ้า มีโอกาส มีแรงค่อยไปต่อ แต่กลุ่มที่ ๓ เลื อ กที่ จ ะไปต่ อ เพราะเขายั ง ชั ด เจนใน เป้ า หมายเดิ ม ของตั ว เอง และยั ง ย�้ ำ ว่ า ไม่มีใครผิดใครถูกเพราะอยู่ที่การเลือก ของแต่ละคน เราต้องเคารพการเลือก ของเขา ผมก็แย้งไปว่าเป็นระบบแข่งขัน มันก็เป็นเช่นนี้แหละ ทุกสนามแข่งก็จะ มี ค นส� ำ เร็ จ เพี ย งส่ ว นน้ อ ยเท่ า นั้ น เขา ตอบกลับ แล้วคุณว่า “ธุรกิจคือเกมการ แข่งขันใช่หรือไม่” อยู่ที่คุณเลือกจะเข้า มาแล้วต้องการจะเป็นผู้ชนะตัวเอง คือ ได้ ต ามเป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้ ทุ ก กลุ ่ ม ก็ได้ตามที่ตัวเองตั้งเป้าไว้ไม่ใช่หรือ? มัน ก็จริงอย่างเขาว่า คนที่ส�ำเร็จเขากล้า เปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่ส�ำเร็จ จะไม่รอ เปลี่ ย นแปลงเมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤติ ทุ ก ครั้ ง ที่
หน้า ๗
หน้า ๘
นครศรีธรรมราช
เรือ่ งจากปก
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
<< ต่อจากหน้า ๑
นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์
เดิ น ทางสู ่ เ มื อ งนครเพิ่ ม มากขึ้ น โดย เฉพาะยอดการจั ด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ที่ สู ง ขึ้ น ทุ ก รายการ เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ ว ง เดียวกันระหว่างปี ๒๕๕๔ กับปี ๒๕๕๕ พร้อมขอความร่วมมือสื่อมวลชนช่วย ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่ดีงามของ จังหวัดและร่วมเป็นเจ้าบ้านที่ดี นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ กล่าวย�้ำ ต่อที่ประชุมว่า จังหวัดนครศรีฯ ไม่ใช่ สถานที่ที่จะมาดื่มกิน ใช้ชีวิตสรวลเส เฮฮายามค�่ ำ คื น แต่ มี จุ ด ขายที่ ชั ด เจน คื อ ธรรมะ ธรรมชาติ วั ฒ นธรรม ประเพณี “จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ไม่ เ หมาะกั บ การท่ อ งเที่ ย วดื่ ม กิ น ยาม ราตรี” พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ ว ผู ้ บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีฯ เข้าประชุม กรอ.เพราะต้องการความ ร่ ว มมื อ จากขนส่ ง จั ง หวั ด ในการแก้ ปั ญ หาการจราจร และจั ด ระเบี ย บ
นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เปิ ด เผยว่ า รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ได้ ล งนาม ในกฎกระทรวงก� ำ หนดลั ก ษณะเลื่ อ ย โซ่ ย นต์ และส่ ว นประกอบของเลื่ อ ย โซ่ ย นต์ พ.ศ.๒๕๕๕ และกฎกระทรวง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การขออนุ ญ าตและการออกใบอนุ ญ าต ให้ มี ผลิ ต หรื อน� ำ เข้ าเลื่อยโซ่ยนต์และ การเปลี่ยนแปลงเลื่อยโซ่ยนต์ให้มีก�ำลัง เครื่ อ งจั ก รกลเพิ่ ม ขึ้ น รวมทั้ ง คุ ณ สมบั ติ และลั ก ษณะต้ อ งห้ า มของผู ้ ข อรั บ ใบ อนุญาต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕ ตามมติ คณะรั ฐ มนตรี ที่ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบอนุ มั ติ หลั ก การให้ ก รมป่ า ไม้ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ขกฎ กระทรวงเดิม เพื่อบังคับใช้ตามกฎหมาย แล้ ว โดยมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๕ เป็นต้นไป ทั้งนี้เลื่อย
การขนส่ ง แต่ ก รมการ ขนส่งทางบกยังไม่ส่งผู้ใด มาเป็นขนส่งจังหวัดจึงไม่ อาจหารือปัญหาใดๆ พล.ต.ต.รณพงษ์ กล่าวว่า อีก ๒-๓ เดือน จะย้ า ยศู น ย์ ร ถตู ้ ไ ปอยู ่ ที่ ตลาดลี วั ฒ นา ถนนพั ฒ นาการคู ข วาง ซึ่ ง มี ก ารประสานงานไว้ แ ล้ ว ขณะนี้ ก�ำลังเร่งให้เจ้าของตลาดจัดท�ำห้องน�้ำ ให้เพียงพอ ซึ่งเมื่อศูนย์รถไปอยู่ที่นั่น การค้ า ขายจะเกิ ด ขึ้ น เหมื อ นจั ง หวั ด ภูเก็ตที่เอาศูนย์รถออกไปไว้นอกเมือง
ต่ อ จากนั้ น รถสองแถวจะมี เ ส้ น ทาง วิ่งเพิ่มขึ้น เช่น ตลาดลีวัฒนา-นาพรุเบญจมฯ-สนามบิ น รถสองแถวสาย หั ว ถนน-สนามกี ฬ ากว่ า ๔๐๐ คั น
โซ่ ย นต์ แ ละส่ ว นประกอบที่ มี เ ครื่ อ งต้ น ก� ำ ลั ง ตั้ ง แต่ ห นึ่ ง แรงม้ า และมี แ ผ่ น บั ง คั บ โซ่ ข นาดความยาวตั้ ง แต่ ๑๒ นิ้ ว มี ประสิทธิภาพสูงสามารถใช้ในการตัดไม้ ท� ำ ลายป่ า อย่ า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ผู ้ ค รอบครอง ทั้งประเภทบุคคล นิติบุคคล หรือ ส่ ว นราชการ จงรี บ ติ ด ต่ อ ขอรั บ ใบอนุ ญาต พร้ อ มส่ ง เอกสารและหลั ก ฐาน ประกอบค� ำ ขอรั บ ใบอนุ ญ าตได้ ที่ ส� ำ นั ก งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ถนนพระเงิ น ต�ำบลคลัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเลขโทรศั พ ท์ ๐๗๕๓๔๑๐๑๐ ตั้ ง แต่ บั ด นี้ จ นถึ ง วั น ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖
กล้ า ออกไปวิ่ ง เส้ น นอก เมื อ งนครถึ ง เวลามีแท็กซี่มิเตอร์ไว้บริการนักท่องเที่ยว เมื่อถึงเวลาก็จะมีผู้ลงทุน พล.ต.ต.รณพงษ์ กล่ า วว่ า การ ปรับปรุงทางเท้าจะส่งเสริมให้นครศรีฯ เป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย ว “ธรรมชาติ ข อง นักท่องเที่ยวเขาชอบเดิน ถนนคนเดิน ที่ท�ำอยู่ไม่เหมาะสม ผมเรียนว่าเราควร มีไนท์บาซาร์ ประตูลอดหรือที่เอกชน หน้าทวินโลตัสเกิดขึ้นทันที ธรรมชาติ นักท่องเที่ยวเขาลงเครื่องก่อนไปสมุย ให้เขานอนที่เราสักคืน ถนนประตูลอด ผมต้ อ งการให้ เ ป็ น จุ ด ขายเพราะสวย
ที่ สุ ด ปี ๒๕๕๖ ผมจะเสนอให้ ป ระตู ลอดเป็นถนนเล่นน�้ำสงกรานต์โดยการ เดิ น เท้ า ถ้ า เปลี่ ย นค่ า นิ ย มนั่ ง รถเล่ น น�้ำจะลดอุบัติเหตุได้มหาศาล และจะ เปลี่ยนค่านิยมนักธุรกิจ ส่วนรถแท็กซี่ ไม่น่ายุ่งยาก ถ้าหน่วยงานรับผิดชอบ ไม่ตั้งแง่ แท็กซี่มิเตอร์จ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนี้ ห ลั ง หนึ่ ง ทุ ่ ม ในตั ว เมื อ ง นครไม่มีรถโดยสารเลย” พล.ต.ต.รณพงษ์ ย�้ำว่า ถ้าตัดสิน ใจท� ำ จริ ง ๆ ยั ง พอมี เ วลาเตรี ย มงาน เตรียมความพร้อม
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
รายงาน
นครศรีธรรมราช
หน้า ๙
<< ต่อจากหน้า ๑
นครศรีธรรมราช (กรอ.จว.นศ) มี หัวหน้าส่วนราชการ ผู้น�ำองค์กร เครดิตภาพ : www.thaibizchina.com ธุ ร กิ จ เอกชนและนั ก ธุ ร กิ จ เข้ า ร่วมประมาณ ๔๐ คน น า ย วิ โ ร จ น ์ แ จ ้ ง ต ่ อ ที่ ประชุ ม ว่ า เมื่ อ เดื อ นมกราคม ๒๕๕๖ จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชุมร่วมกับหอการค้าจังหวัด นครศรี ธ รรมราชและตั ว แทน ผู ้ ป ระกอบการยางพารา เพื่ อ หารื อ ถึ ง แนวทางผลั ก ดั น สู ่ ก าร เป็ น เมื อ งยาง (Rubber City) การประชุ ม ครั้ ง นั้ น นายบุ ญ ทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้าฯ เปิ ด เผยว่ า ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นขั้ น ตอนการเป็ น เมื อ งพี่ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น จั ง หวั ด นครศรี ฯ จะมี เมื อ งน้ อ งกั บ มณฑลซานตง ประเทศสาธารณรั ฐ โอกาสมาก เพราะอ�ำเภอทุ่งสงจะเป็นศูนย์กลางการ ประชาชนจี น ที่ มีอุ ตสาหกรรมขนาดใหญ่มากมาย ขนส่งทางรางและโลจิสติกส์ โดยมีระบบคอนเทนเนอร์ เช่ น อุ ต สาหกรรมรถยนต์ , ยางรถยนต์ ส ่ ง ออกที่ ที่สามารถส่งออกไปยังประเทศต่างๆ เช่น มาเลเซีย ใช้ ย างพาราจ� ำ นวนมาก แต่ ม ณฑลซานตงไม่ ป ลู ก หรือจีนได้สะดวก ยางพารา แต่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ศู น ย์ วิ จั ย เทคโนโลยี ย าง นายวิโรจน์ เปิดเผยต่อที่ประชุม กรอ. ว่า สถาน รถยนต์ แ ห่ ง ชาติ , อุ ตสาหกรรมปิโตรเคมี, โรงงาน เอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประจ� ำ เบี ย ร์ ชิ ง เต่ า และอุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว เมื่ อ เปิ ด ประเทศไทย ได้คัดเลือกจังหวัดนครศรีฯ ว่ามีความ
เหมาะสม มีประวัติศาสตร์วัฒนธรรมร่วมกัน ในฐานะ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีเชื้อสายจีน แซ่แต้ ที่ ช าวจี น สนใจ เมื อ งซานตงก็ มี ต ระกู ล แซ่ เ ดี ย วกั น ขณะนี้ อ ยู ่ ใ นขั้ น รอการประกาศอย่ า งเป็ น ทางการ มณฑลซานตงมีจ�ำนวนประชากร ๙๖ ล้านคน “เศรษฐกิจภาคอื่นของนครศรีฯ หดตั ว สิ น ค้ า เกษตรตกต�่ ำ แต่ ก าร ท่ อ งเที่ ย วจะเพิ่ ม ขึ้ น เราจ� ำ เป็ น ต้ อ ง หาตลาดการท่ อ งเที่ ย วใหม่ ๆ โดย เพิ่ิ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น สร้ า งจี ดี พี ใ ห้ จั ง หวั ด ซานตงผลิ ต ยางรถยนต์ มากกว่า ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ส่ ง อเมริ ก าและญี่ ป ุ่ น ซานตงปลู ก แอปเปิ้ล แพร์ สาลี่ คนซานตงชอบทุเรียน มังคุด เรา ต้องเพิ่มรายได้ตรงนี้ ผมอยากให้ท่านประธานหอการ ค้าฯ ชมรมท่องเที่ยว ชมรมยาง ปาล์ม ผลไม้ ประชุม หารือว่าเราจะเสนออะไรให้เขา เราคงไม่รอให้เขามา เยือนเรา เราต้องไปเยือนเขา และก�ำหนดสิ่งที่จะไป เสนอ การก่อสร้างที่ขยายตัวอย่างมาก เราสามารถ ไปน�ำเสนอให้เขามาลงทุน เราต้องเดินไปข้างหน้า” ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ สรุป
<< ต่อจากหน้า ๖
ให้หายจากความทุ ก ข์ร ้อน พระพุท ธสิหิงค์ที่จะน�ำ ไปประดิ ษ ฐานที่ วั ด ปากลงองค์ พ ระขนาด ๔๐ นิ้ ว เนื้ อ โลหะทองเหลื อ งผสมทองแดง และยั ง มี ข นาด ๙ นิ้ ว ๗ นิ้ ว ให้ เ ช่ า ไปบู ช า เราไม่ ส ามารถจั ด ท� ำ จ� ำ นวนมากเพราะวั ด ไม่ มี ทุ น มี อ งค์ ข นาดเล็ ก ที่ ใ ห้ ประชาชนได้ท�ำบุญเป็นองค์ผ้าป่า” พระพุทธสิหิงค์จะน�ำไปประดิษฐานบนศาลาที่ จะก่อสร้างใหม่มูลค่าประมาณ ๑ ล้านบาท “วัดปากลงเป็นวัดป่า บอกตรงๆ ว่าการสร้าง พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ เ พื่ อ เป็ น จุ ด ให้ ค นไปกราบไหว้ ให้ นักท่องเที่ยวได้กราบไหว้ ประกอบกับเจ้าอาวาสเป็น
พระธุดงค์ที่ชาวบ้านนิมนต์ให้อยู่เผยแผ่ธรรมะ” ถามว่าการหล่อพระครั้งนี้ใช้งบประมาณเท่าไร วิโรจน์เปิดเผยว่าเฉพาะองค์ใหญ่ ๕ แสนบาท องค์ เล็กๆ ให้เช่าบูชา ๒ ล้านกว่า รวมค่าพิธีกรรมอื่นๆ เป็น เงินประมาณ ๓ ล้านบาท การหล่อพระไปประดิษฐาน ที่วัดชาวบ้านเห็นด้วยเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ “การน�ำประดิษฐานวันไหนอยู่ที่การตกแต่งพระ หลังเททอง การสร้างศาลาที่ประดิษฐานซึ่งต้องหาเงิน เพิ่ม ขณะนี้มีเงินอยู่ ๒ หมื่นบาท” พระอาจารย์ สุ ริ น ทร์ จั น ทโก หรื อ ที่ ช าวบ้ า น เรี ย กจนติ ด ปากว่ า ‘ท่ า นพร’ อดี ต นั ก มวยชื่ อ ดั ง
พรน้อย ศ.ท่ายาง กล่าวว่า “เมื่ออาตมาธุดงค์ผ่าน มาก� ำ นั น และญาติ โ ยมหมู ่ ๖ ขอนิ ม นต์ ใ ห้ อ ยู ่ ที่ นั่ น ให้ช่วยญาติโยมได้สนใจธรรมะ แต่เขาก็อยากได้สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ไปไว้ เขาเชื่อมาก เราจะให้ธรรมะ แต่เขา ต้องการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เขาจะได้กราบไหว้บูชามีก�ำลัง ใจเขาก็สบาย เขาได้บุญแล้ว อาตมาพยายามขัดเกลา โดยให้ธรรมะให้สติปัญญา ให้เขาท�ำความดีให้เขาได้ กราบพระที่เขาเชื่อถือ ใจจะได้เกิดบุญ เรื่องนี้อยู่ที่ ความเชื่อ ปัจจุบันวัดมีพระเณร ๗ - ๘ รูป” ‘รักบ้านเกิด’ หวังว่าทุกอย่างจะส�ำเร็จสมดัง เจตนา
หน้า ๑๐
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ค
วามมีชื่อเสียงของผลงาน คนทั่วไปรู้จักอย่างกว้าง ขวาง ในนาม “เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ” เพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ มีผลงานที่ได้รับการเผยแพร่ไป ทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร และประเทศมาเลเซีย ส่วนผลงานมุขปาฐะนั้น มีเทป บันทึกเสียงจ�ำหน่ายทั่วไป และการที่มีผู้รับไปว่าเพลง บอกในงานต่างๆ ไม่ได้ว่างเว้น เป็นหลักฐานอย่างหนึ่ง ที่ บ่งชี้ให้เห็นว่าผลงานมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของสังคม เพียงใด ด้ ว ยความสามารถทางวั ฒ นธรรมการแสดงพื้ น บ้าน “เพลงบอก” จนถึงขั้น เป็น “ศิลปินแห่งชาติ” และ ความมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้คนดัง กล่าวแล้ว จึงควรยกย่องให้บุคคลผู้นี้ได้รับพระราชทาน ปริญญากิตติมศักดิ์ สาขาวิชาศิลปะศาสตร์ โปรแกรม วัฒนธรรมศึกษา การได้รับเกียรติครั้งส�ำคัญๆ เหล่านี้ นอกจากจะ
เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ กับการรักษาวัฒนธรรมช่วยงานบุญของผู้มีคุณปการ
<< (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค ชวน ชวนคยุ
ตอนที่ ๘ เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง ให้ศิลปินเพลงบอกสร้อยเสียงเสนาะ แล้ว ยังท�ำให้สื่อมวลชนต่างๆ หันมาสนใจเพลงบอกกัน มากขึ้น มีนักข่าวจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคมาขอ สัมภาษณ์ บันทึกภาพ บันทึกเสียง จัดท�ำเป็นสารคดี เผย แพร่สู่สาธารณชนทั่วประเทศ งานบริการชุมชนเพิ่มมาก ขึ้น บ้านเพลงสร้อย เสียงเสนาะ กลายเป็นศูนย์รวมของ บรรดาศิลปิน นักวิชาการและบุคคลสาขาอาชีพต่างๆเพิ่ม มากขึ้น ๒. ประวัติผลงานของเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ๒.๑ ผลงานการสร้างสรรค์กาพย์กลอน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ กระทั่งถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็น ระยะเวลายาวนานเกินกึ่งศตวรรษที่เพลงบอกสร้อย เสียง เสนาะ ได้ใช้ชีวิตศิลปินเพลงบอกอาชีพอย่างต่อเนื่อง ได้ สร้างสรรค์งานกาพย์กลอนชาวบ้าน และถ่ายทอดศิลปะ การว่าเพลงบอกไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของสังคม ใน รูปลักษณ์ต่างๆเป็นจ�ำนวนมาก เช่นปรากฏในสมุดบันทึก ส่วนตัว ปรากฎในรายงานหรือวิทยานิพนธ์ของนักเรียน นักศึกษาระดับต่างๆ ปรากฏในหนังสือวารสาร หนังสือ ที่ระลึกในโอกาสต่างๆ ปรากฏในแถบบันทึกเสียง และอยู่ ในความทรงจ�ำของท่านเอง ของบรรดาศิษยานุศิษย์ และ มหาชนผู้สนใจกาพย์กลอนเพลงบอก เป็นต้น ผลงานในรู ป ลั ก ษณ์ ต ่ า งๆ เหล่ า นี้ ไ ด้ เ ผยแพร่ สู ่ สาธารณชน ทั้งในท้องถิ่น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้านใกล้ เคียง เช่น ประเทศมาเลเซีย เป็นต้น ผลงานเหล่านี้มีทั้ง มี ค นบางส่ ว นไม่ ก ล้ า เข้ า ไปกวน เพราะเข้ า ใจ ว่ า ต้ อ งเป็ น สาวพรหมจารี สอบถามจากผู้รู้ ท่านว่าผู้ที่ กวนควรจะถื อ พรหมจรรย์ อย่างน้อยก็ศีล ๕ ไม่ใช่สาว พรหมจารี เพราะนางสุชาดา มี บุ ต รแล้ ว ก็ ยั ง น� ำ ไปถวาย เป็นแค่ผู้ที่อยู่ในศีลในธรรม
ปัจจุบันข้าวยาคูมธุปายาสของชาวนครเรา ยังคง ส่วนประกอบหลัก ๙ อย่างเอาไว้ไม่เปลี่ยนแปลง ได้แก่ น�้ ำ นมข้ า ว น�้ ำ อ้ อ ย น�้ ำ ผึ้ ง นมสด น�้ ำ ตาลมะพร้ า ว ข้าวหม้าว เนย ถั่ว งา มีการแต่งกลิ่นด้วยเครื่องราเล็ก น้อย ส่วนที่พิเศษออกไปก็คือ ผลไม้ตามฤดูกาล เช่น ข้าวโพด ฟักทอง เงาะ ลองกอง ทุเรียน มังคุด จ�ำปาดะ ก็ ใ ส่ ไ ปด้ ว ย เป็ น การเพิ่ ม ปริ ม าณเพื่ อ เพี ย งพอในการ แจกจ่าย ผู้คนมักจะน�ำพืชผลแรกออกของตัวเองมาให้ นัยว่าเป็นมงคลในการท�ำมาหากิน ในการกวนข้ า วที่ ส วนศรี ธ รรมโศก เขาก็ คิ ด จั ด แปลกๆ ขึ้ น เป็ น เชิ ง การตลาดไปด้วย คือจัดกวน ๑๒ กวนข้าวทิพย์ ซึ่งเปรียบเสมือนอาหารที่เป็นมงคล ท�ำ กระทะ แต่ละกระทะเป็นปีนักษัตร ผู้คนก็จะสนุกเข้าไป จิตใจให้สงบระลึกถึงสิ่งดีๆ ก็คงกวนกันได้ ช่ ว ยกวนในปี นั กษั ต รตน ท�ำให้ทุก คนได้มีส่วนร่วมใน ประเพณี นี้ ยั ง คงเหลื อ อยู ่ เ ฉพาะที่ น ครเราแล้ ว กิจกรรม แทนที่จะยืนดูเขากวนข้าวกัน เท่านั้น ช่วยกันสืบสานต่อไป คงไม่เสียหาย
เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ กับการวิทยากรทางศิลปวัฒนธรรม
ลักษณะการว่าเดี่ยวและการว่าโต้ประชันขันแข่ง โดยปริมาณ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ว่าเพลง บอกมาแล้วกว่าหมื่นๆ ครั้ง ครั้งละประมาณ ๒ - ๓ ชั่วโมง เป็นอย่างน้อยในช่วงเวลา ๕๐ ปีเศษที่ผ่านมา หากบันทึก ไว้ เป็นหลักฐาน ก็จะมีประมาณไม่น้อยกว่าแปดหมื่น หน้ากระดาษพิมพ์ น่าเสียดายที่มีบันทึกไว้เพียงบางส่วน โดยคุณภาพ บทเพลงบอกของนายสร้อย เสียงเสนาะ มีคุณค่ายิ่งต่อสังคม และได้รับการยกย่องชมเชย ของคนทั่วไป และหน่วยงานราชการ เพราะเพลงบอก สร้อยไม่ได้ว่าเพลงบอกแบบสุกเอาเผากิน ก่อนไปว่า งานใด เขาจะต้องศึกษาความรู้ จากต�ำราเอกสารรวม กับประสบการณ์เพื่อใช้เป็นข้อมูลไปว่าเป็นกลอนสด เสมอ ผลงานของเขาจึงมีลักษณะสอดคล้องกับลักษณะ งานทุกครั้ง ประกอบกับเขาได้รับการศึกษาค่อนข้างสูง (เมื่อเปรียบเทียบกับศิลปินอื่น ๆ ในขณะนั้น) มีศิลปะ และชั้นเชิงเพลงบอกจากส�ำนัก วัดท่าโพธิ์วรวิหาร ซึ่ง เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในภาคใต้ จึงส่งผลให้ผล งานของเขามีคุณภาพอย่างยิ่ง นอกจากประชาชนใน ท้องถิ่น จะยอมรับและชื่นชมแล้ว สถาบันการศึกษายัง ขอให้เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ช่วยพัฒนาการศึกษา โดยใช้ผลงานเพลงบอกเป็นสื่อ คือ “ขับเพลงบอกทอก หั ว ได” (หนั ง สื อ อ่ า นส� ำ หรั บ ชาวบ้ า น เล่ ม ที่ ๑ ของ ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกโรงเรี ย นประจ� ำ ภาคใต้ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕) (อ่านต่อฉบับหน้า)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๑
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์
‘ค
ณะลังกาชาติ’ หมายถึงคณะสงฆ์หินยาน ลัทธิ เถรวาทสายลั งกาวงส์ใ นภาคใต้และในนครศรีธรรมราชอี ก คณะหนึ่ ง ถื อ เป็ น คณะสงฆ์ อี ก คณะหนึ่ ง ที่ มี บ ทบาทในการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาและรั ก ษาพระ บรมธาตุนครศรีธรรมราชเป็นอย่างมาก มีส�ำนักเจ้าคณะ อยู่ที่วัดพะโคะ (หรือวัดพระราชดิษฐาน) วัดนี้เดิมอยู่ใน เขตปกครองท้องที่เมืองพัทลุง ปัจจุบันอยู่ในเขตอ�ำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา จากหลักฐานต�ำนานกัลปนาวัดในจังหวัดพัทลุง และ พงศาวดารเมื อ งพั ท ลุ ง ฉบั บ หอสมุ ด แห่ ง ชาติ ตอน ที่ ๒ ท�ำให้ทราบได้ว่า คณะลังกาชาติเข้ามาในภาคใต้
วัดพะโคะ จ.สงขลา
เมื่อราว พ.ศ. ๒๐๕๗ (จ.ศ.๘๗๖) ตรงกับสมัยสมเด็จ พระรามาธิ บ ดี ที่ ๒ แห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ดั ง ข้ อ ความที่ ว่ า “ครั้ น กาลล่ ว งมาราว พ.ศ.๒๐๕๗ ล่ ว งแล้ ว ครั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาโบราณ ปรากฏว่ า พญาธรรมลั ง คั ล เป็ น เจ้ า เมื องพั ท ลุ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ จ ะทิ้ ง พระ พญาธรรมลั ง คั ล ได้
ขณะล่องเรือ เหนือสาละวิน นกป่าตัวหนึ่งบินตัดหน้า จากฝั่งพม่ามาไทย
ข้าเสียใจ ที่กล่าวหาว่าเจ้า หลบหนีเข้าประเทศ เพราะหัวใจข้า จ่อมจมอยู่กับพรมแดน ศิริวร แก้วกาญจน์ นักเขียนรางวัลศิลปาธร (จากรวมบทกวี : เก็บความเศร้าไว้ให้พ้นมือเด็ก)
นิมนต์พระมหาอโนมทัสสีไปเชิญพระมหาธาตุเจ้ามาแต่ ลังกาทวีป มาก่อพระเจดีย์สูงหนึ่งเส้น บรรจุพระมหาธาตุ แล้วสร้างวัดท�ำอุโบสถศาลาวิหาร และก่อก�ำแพงล้อม เป็ น เขตวั ด สู ง หกศอก ณ เชิ ง เขาพิ พั ท สิ ง ห์ เรี ย กว่ า วัดหลวง (วัดพะโคะ)” คณะลั ง กาชาติ มี ห น้ า ที่ รั ก ษาพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ทิ ศ ตะวั น ตก มี สั ญ ลั ก ษณ์ รู ป กาสี แ ดง ซึ่ ง เที ย บได้ กั บ สี ข องวรรณะกษั ต ริ ย ์ ใ นสมั ย โบราณ ที่ เ รี ย กว่ า “ลั ง กา ชาติ ” ซึ่ ง อาจตั้ ง ตามกลุ ่ ม พระสงฆ์ ที่ มี พื้ น เพลั ง กาซึ่ ง เข้ามาอยู่ในเมืองนครศรีธรรมราชหรือภาคใต้ คณะนี้มี บทบาทจนถึ ง สมั ย กรุ ง ธนบุ รี แ ละกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ดั ง หลั ก ฐานที่ จ ารึ ก แผ่ น ทองจารึ ก ที่ ๑๕ ซึ่ ง หุ ้ ม ปลี ย อด พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชใจความว่า “ศุภมัสดุ พระพุ ท ธศั ก ราชล่ ว งแล้ ว ๒๓๒๑ พระวั ส สา วั น ศุ ก ร์ เดื อ นแปด แรม ๒ ค�่ ำ ปี จ อ สั ม ฤทธิ ศ ก สมเด็ จ เจ้ า สังฆราชา ลังกาชาติ ว่าที่คณะลังการามวัดประตูขาว แล สมเด็จพระเจ้าขัตยประเทศราชฐานพระนคร แลเจ้ากรม ฝ่ายในราชเทวะได้ชักชวนสัปปุรุษทายก เรี่ยไรได้ทองชั่ง เศษหุ้มลงมาเถิงบัวได้รอบหนึ่ง วงลวดอกไก่บัวรอบหนึ่ง เป็นสองรอบ พลอยด้วยหัวแหวน” เป็นที่น่าสังเกตว่า ในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช กล่าวว่า “พระมหาเถรมังคลาธารรื้อญาติโยมมาแต่กุฎี หลวงสร้ า งวั ด หรดี พ ระธาตุ ” วั ด กุ ฎี ห ลวงที่ ป รากฎใน เอกสารสมัยกรุงศรีอยุธยาและเก่ากว่านั้นคือวัดดีหลวง (ซึ่งอยู่ใกล้วัดพะโคะในปัจจุบัน) และในสมัยที่วัดพะโคะ เป็นวัดลังกาชาตินั้น วัดกุฎีหลวงก็ขึ้นกับคณะลังกาชาติ อาจเป็ น ไปได้ ที่ ว ่ า การ “รื้ อ ญาติ โ ยมมาแต่ กุ ฎี ห ลวง” ซึ่ ง เป็ น คณะลั ง กาชาติ นี้ เ อง เป็ น เหตุ ใ ห้ พ ระครู ที่ รั ก ษา พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชฝ่ายทิศตะวันตก (ใกล้ ทิศหรดี) มีสมณศักดิ์เป็นพระครูกาชาติ ส่วนทิศอื่นก็คง มี ขึ้ น เพื่ อ แบ่ ง หน้ า ที่ กั น ช่ ว ยดู แ ลก็ ค งมี ก ารรื้ อ ญาติ โ ยม ของคณะนั้นๆ มาจากที่ตั้งคณะดั้งเดิมบางส่วนเข้ามาใน โอกาสเดียวกันนี้
หน้า ๑๒
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com
บุ
หรี่ยังคงได้รับความนิยมอย่างสูงในโลกใบนี้ นับเป็นเครือข่ายอุปสงค์ (Demand Network) ที่สร้างวงจรผลประโยชน์ให้แก่เครือข่ายอุปทาน (Supply Chain) ตั้งแต่ชาวไร่ใบยาสูบ แรงงานแปรรูปขั้นต้น สู่โรงงานผลิต พนักงานโรงงานยาสูบ และ ผลประโยชน์ ม หาศาลในแต่ ล ะปี ข องบริ ษั ท บุ ห รี่ ทั้ ง ยั ก ษ์ เ ล็ ก -ยั ก ษ์ ใ หญ่ นั่ น คื อ ด้ า นดี ของอุตสาหกรรมบุหรี่ แต่อีกด้านหนึ่งนั้น ในทางการแพทย์ได้พบข้อพิสูจน์ที่ชัดเจนว่า พิษจากควันบุหรี่ ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมายเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อ หัวใจตาย (Heart attacks) อัมพฤกษ์ อัมพาต (Strokes) ถุงลมปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema) ตลอดจนมะเร็ง (Cancer) ชนิดต่างๆ เช่นมะเร็งปอด, มะเร็งตับอ่อน, มะเร็งช่องปาก และกล่องเสียงต้องตัดกล่องเสียงทิ้งพูดออกเสียงไม่ได้ เป็นต้น ท�ำไมควันบุหรี่ถึงก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของทั้งผู้สูบ และคนใกล้ชิดที่เรียก ว่าผู้สูบบุหรี่มือสอง (Second hand smoker) ได้มากขนาดนั้น ก็เพราะว่าในควันบุหรี่ ประกอบไปด้วยสารเคมี ๔,๐๐๐ กว่าชนิด เรียกว่านับกันไม่ถ้วน จ�ำกันไม่หมด หากจะ ยกรายชื่อมาให้ดูทั้งหมด ก็คงจะหลายหน้ากระดาษ แต่ก็อยากจะแสดงให้เห็นเพียงเป็น ตัวอย่างของสารเคมีเหล่านั้นว่าได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีอยู่จริง เอาเฉพาะสารที่มีชื่อขึ้น ต้นด้วยอักษร A จ�ำนวน ๔๕ ตัวเท่านั้นดังนี้ครับ
และในจ�ำนวนสารเคมีที่พบในควันบุหรี่กว่า ๔,๐๐๐ ชนิดดังกล่าว มีอยู่จ�ำนวน ๓๓ ชนิด ที่เป็นสารก่อมะเร็งครับ สารก่อมะเร็ง จ�ำนวน ๓๓ ชนิด จากจ�ำนวนสารทั้งหมดกว่า ๔,๐๐๐ ชนิดที่พบในควันบุหรี่ • Acetaldehyde • Acrylonitrile • 4-Aminobiphenyl • o-Anisidine hydrochloride • Arsenic • Benzene • Beryllium • 1,3-Butadiene • Cadmium • 1,1-Dimethylhydrazine • Ethylene oxide • Formaldehyde • Furan • Heterocyclic amines • Hydrazine • Isoprene • Lead • 2-Naphthylamine • Nitromethane • N-Nitrosodi-n-butylamine • N-Nitrosodiethanolamine • N-Nitrosodiethylamine • N-Nitrosodimethylamine • N-Nitrosodi-n-propylamine • N-Nitrosonornicotine • N-Nitrosopiperidine • N-Nitrosopyrrolidine • N-Nitrososarcosine • Polonium-210 • Polycyclic aromatic hydrocarbons • o-Toluidine • Vinyl chloride • 4-(N-Nitrosomethylamino)- 1-(3-pyridyl)-1-butanone
นั บ เป็ น เรื่ อ งแปลก ที่ ห มอมั ก จะได้ รั บ ค� ำ ถามอยู ่ ทุ ก วั น ๆ ละหลายครั้ ง โดย เฉพาะจากผู้ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่นโรค หัวใจ ไขมัน เบาหวาน โรคตับ โรคไต โรค ตัวอย่างสารที่ตรวจพบในควันบุหรี่ เฉพาะที่มีชื่อน�ำหน้าดัวยอักษร A เก๊าท์ ลมชัก รวมทั้งจากญาติและคนใกล้ชิด ซึ่งหากรวมทุกตัวจาก A-Z จ�ำนวนมากกว่า ๔,๐๐๐ ชนิด ของผู้ป่วย ทั้งอาจจะเรียกได้ว่าแปลกมาก • Acetanisole • Acetic acid • Acetoin • Acetophenone • 6-Acetoxydihydrotheaspirane • 2-Acetyl-3-Ethylpyrazine ขึ้ น ไปอี ก ที่ ค นที่ ถ ามส่ ว นใหญ่ เ ป็ น คนที่ • 2-Acetyl-5-Methylfuran • Acetylpyrazine • 2-Acetylpyridine สู บ บุ ห รี่ ค รั บ เป็ น ค� ำ ถามที่ เ กิ ด จากความ • 3-Acetylpyridine • 2-Acetylthiazole • Aconitic Acid • dl-Alanine • Alfalfa Extract • Allspice Extract, กังวล หรือกลัวว่า หากต้องรับประทานยา Oleoresin, and Oil เพื่อควบคุมโรคเหล่านั้นนานๆ หรือตลอด • Allyl Hexanoate • Allyl Ionone • Almond Bitter Oil • Ambergris Tincture • Ammonia • Ammonium Bicarbonate อายุ ขั ย ยาเหล่ า นั้ น จะเป็ น อั น ตรายกั บ • Ammonium Hydroxide • Diammonium phosphate • Ammonium sulfide ร่างกายหรือไม่ แต่ลืมไปว่าพิษจากควันบุหรี่ที่สูบอยู่ทุกวันนั่นแหละ มีอันตรายชัดเจน • Amyl Alcohol • Amyl Butyrate • Amyl Formate • Amyl Octanoate • alpha-Amylcinnamaldehyde • Amyris Oil ส่วนการรับประทานยาสม�่ำเสมอ ร่วมกับการปฏิบัติตน ออกก�ำลังกาย ควบคุมอาหารตาม • trans-Anethole • Angelica Root Extract, แพทย์สั่ง และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง หยุดสูบบุหรี่เสียให้ได้ ร่างกายจะเข้าสู่ภาวะปรกติ ท�ำให้ Oil & Seed Oil • Anise • Anise Star, Extract and Oils • Anisyl Acetate • Anisyl Alcohol มีอายุยืนยาวทัดเทียมคนปรกติ ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง • Anisyl Formate • Anisyl Phenylatate • Apple Juice Conc, เหล่านั้น และจะเกิดผลอย่างตรงกันข้ามกับผู้ป่วยที่ปล่อยปละละเลย หรือหยุดทานยาเสีย Extract, and Skins • Apricot Extract and Juice Conc. • L-Arginine • Asafetida Fluid Extract เฉยๆ อย่างมีนัยยะส�ำคัญ And Oil หมอคงไม่น่าจะต้องเรียนซ�้ำนะครับว่าร่างกายจะได้รับความเสียหายอย่างไร กับ • Ascorbic Acid • L-Asparagine Monohydrate • L-Aspartic Acid การที่ร่างกายจะต้องได้รับสารเคมีเหล่านั้นจากควันบุหรี่ผ่านถุงลมปอดเข้าสู่กระแสเลือด วันละเล็ก วันละน้อย ทั้งนี้ หากร่างกายเองไม่มีความสามารถในการท�ำลาย และก�ำจัด สารแปลกปลอมเหล่านี้ออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรืออาจจะเรียกได้ว่า เป็นความมหัศจรรย์ของธรรมชาติด้วยซ�้ำ สารเคมีเหล่านี้ก็คงจะท�ำลายชีวิตผู้สูบบุหรี่ได้ ภายในเวลาไม่กี่เดือนด้วยซ�้ำ มิใช่หลายๆ ปีอย่างที่ร่างกายคนเราสามารถ “ทนได้” และ นั่นคือเหตุผลหลักที่ผู้สูบบุหรี่ไม่สามารถตระหนักรู้ถึงพิษภัยจากควันบุหรี่เสียที ทั้งนี้รวม วันอังคารที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๖ ถึงแพทย์ หรือบุคลากรทางการแพทย์ส่วนหนึ่งก็ยังเสพสุขจากบุหรี่อยู่เช่นกัน หากจะ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๓ แก้ตัวแทนแพทย์ที่สูบบุหรี่ ก็คงเถียงได้เพียงว่าอายุรแพทย์ โดยเฉพาะอายุรแพทย์โรค ปอดที่เห็นผู้ป่วยที่เป็นโรคถุงลมโป่งพองจากพิษบุหรี่อยู่ทุกวันๆ จะเป็นแพทย์ที่ไม่สูบบุหรี่ วันจันทร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖ แน่นอนครับ หรืออาจจะพูดได้ว่า “รู้ทุกอย่าง แต่ไม่ท�ำ หรือท�ำบางอย่าง” ก็ได้ครับ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๓ ในเมื่อความสามารถในการก�ำจัดสารเคมีของร่างกายท�ำหน้าที่ได้ไม่ถึง ๑๐๐% สาร เคมีดังกล่าวก็จะค่อยๆ ท�ำลายหลอดเลือดทุกหนทุกแห่ง ผนังหลอดเลือดจะค่อยๆ เสื่อม สูญ วันอังคารที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ เสียความยืดหยุ่น ผนังด้านในก็จะหนาตัวขึ้นเรื่อยๆ ในที่สุดก็จะตีบ หรือกรณีหลอดเลือด เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๔ แข็ง ก็จะเปราะและแตก หากเป็นหลอดเลือดที่สมอง ก็เกิดอัมพฤกษ์-อัมพาต หลอดเลือด ที่หัวใจตีบ ก็เกิดเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย หลอดเลือดที่ไตเสื่อม ก็เกิดโรคไต วันอังคารที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ วาย ต้องฟอกไต หลอดเลือดที่ตาเสื่อม ตาก็มองไม่ชัด สารพัดทุกอวัยวะ เพราะล้วนแล้ว เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔ แต่ต้องมีหลอดเลือดไปเลี้ยงกันถ้วนทั่ว แล้วแต่ว่าจะเกิดช้า หรือเร็วเท่านั้นครับ
เดือนมีนาคม ๒๕๕๖
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
สุเมธ รุจิวณิชย์กุล
sumet_arch@hotmail.com
เ
มื่อปี พ.ศ.๒๕๔๒ ผมและคณะสถาปนิก ได้รับเชิญจากท่านอธิการบดี วิเชียร แก้วบุญส่ง สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช (ชื่อ ในขณะนั้น) ให้มาเล่าเรื่องการวางผังแม่บท ทางกายภาพ (Physical master plan) ที่ สถาบันฯ เนื่องจากท่านทราบว่าทางผมได้ เคยออกแบบไว้หลายแห่ง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการวางผังที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตเขาท่าเพชร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ เป็นพื้นที่เปิดใหม่และทางคณะเราเป็นผู้ชนะ การประกวดแบบ ในวันนั้นผมพูดเล่นในที่ ประชุมว่าผมได้เดินทางจากตัวเมืองนครมา ถึงสถาบันฯ ระยะทางประมาณ ๑๓ กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ ๑๕ นาที แต่เมื่อมาถึงหน้า สถาบันฯ กลับต้องเสียเวลาประมาณ เกือบ ๑๐ นาทีในการหาตึกอธิการบดี (อาคาร ๑๒) ที่ ใ ช้ เ ป็ น สถานที่ ป ระชุ ม นั่ น หมายถึ ง ที่ ตั้ ง ส�ำนักงานอธิการดีไม่ได้อยู่ในต�ำแหน่งที่ควร จะเป็ น และบุ ค คลภายนอกที่ ม าติ ด ต่ อ จะ ต้องขับรถผ่านเข้าไปในเขตการศึกษาที่จะ ท� ำ ให้ เ กิ ด มลภาวะทั้ ง เสี ย งและไอเสี ย จาก ยานพาหนะ ผมได้ น� ำเสนอตั ว อย่ า งแบบ ผังแม่บทที่เขาท่าเพชรเพื่อชี้ให้เห็นถึงความ ส�ำคัญในการที่ต้องแบ่งเป็นเขตกิจกรรมต่างๆ (Zoning) ซึ่งการบรรยายครั้งนั้นท�ำให้เกิด ความตื่นตัวของชาวราชภัฏนคร จนในที่สุด ทางสถาบันฯ จึงได้มอบหมายให้ผมและคณะ เป็นผู้ออกแบบวางผังแม่บทของสถาบันฯ ใน พื้นที่ประมาณ ๓๐๐ ไร่ โดยมีโจทย์ที่ค่อน ข้างยากเนื่องจากเป็นสถาบันการศึกษาเก่า แก่กว่า ๕๕ ปีที่มีอาคารอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้ง มี การสร้ า งขึ้ นใหม่ เรื่ อยๆ ในพื้ นที่ ว่ า งตาม ความต้องการของคณะภาควิชาต่างๆ อีกทั้ง บางกลุ่มมีความรู้สึกยึดติดความเป็นอยู่เดิมๆ ที่กลัวว่าเมื่อเปลี่ยนแปลงแล้วจะแย่กว่าเก่า เป็ น ความโชคดี ที่ ผ มได้ เ ชิ ญ ผู ้ ช� ำ นาญการ ระดับประเทศมาร่วมงานหลายท่าน อาทิ เช่น ศาสตราจารย์ ดร.วิมลสิทธิ์ หรยางกูร สถาปนิกผู้มีผลงานวางผังแม่บทมหาวิทยาลัย หลายแห่ง รองศาสตราจารย์ ดร.จักรกริศน์ กนกกันฑพงษ์ วิศวกรผู้ช�ำนาญการด้านการ จราจร ฯลฯ ซึ่งต้องใช้เวลาท�ำงานประมาณ ๑ ปีในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์อาคารเดิม และพื้นที่ที่มีความส�ำคัญและคุณค่าในระดับ ต่างๆ กัน วิเคราะห์ความต้องการใช้พื้นที่
www.nakhonforum.com
ในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งการน�ำความ รู ้ แ ละประสบการณ์ เ สนอแบบร่ า งเพื่ อ ท� ำ ประชาพิจารณ์หลายครั้งจนได้ข้อสรุปที่ลงตัว เป็ น ผั ง แม่ บ ท โดยผั ง นี้ จ ะยั ง ประโยชน์ ต ่ อ สถาบันนี้โดยหลักใหญ่ๆ คือ • มีพื้นที่ใช้ประโยชน์อย่างเป็นสัดส่วน ที่สามารถรองรับการขยายตัวในอนาคต ๒๐ ปีได้ • มีระบบการจราจรภายในที่คล่องตัว ปลอดภัย และประหยัดเวลาเดินทางไปยัง อาคารต่างๆ • มี ร ะบบสาธารณู ป โภคและสาธารณูปการที่สอดคล้องกับการบริโภคในอนาคต • มีระบบป้องกันน�้ำท่วมบริเวณต่างๆ ที่เคยท่วมเป็นประจ�ำ • มีระบบดูแลรักษาความปลอดภัยจาก สาธารณะภัยต่างๆ เช่น ไฟไหม้ โจรกรรม • มีการสร้างเอกลักษณ์ในภาพรวมของ สถาปัตยกรรมท้องถิ่น ส�ำหรับรายละเอียดต่างๆ ท่านที่สนใจ สามารถไปคุ ย หรื อ สอบถามจากผู ้ บ ริ ห าร สถาบันแห่งนี้ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น “มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช” โดยมี อธิการบดีคนใหม่คือ รองศาสตราจารย์วิมล ด� ำ ศรี ผู ้ เ ขี ย นเรื่ อ งศิ ล ปิ น ถิ่ น นคร ลงใน หนังสือพิมพ์รายเดือน “รักบ้านเกิดนครศรีธรรมราช” ที่ท่านก�ำลังอ่านอยู่นี้ ผลสัมฤทธิ์ ที่ปรากฎในปัจจุบันที่เด่นชัดจากผังแม่บทนี้ เริ่มใช้ในยุคท่านอธิการบดี ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ซึ่ ง ผมนั บ ถื อ ว่ า เป็ น ผู ้ ที่ มี ค วาม สามารถในการบริหารมาก เพราะประเด็น ส�ำคัญของผังแม่บทก็คือจะต้องน�ำไปสู่การ ใช้จริงให้ได้ ตัวอย่างที่เป็นจริงเช่น อาคาร ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี ไ ด้ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ ที่ เ ด่ น
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๓
ระดับผังชุมชน (Urban plan) เช่น ศาลา กลางจั ง หวั ด สวนสาธารณะต่ า งๆ เช่ น ที่ ส วนสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทร์ ๘๔, สวน เฉลิ ม พระเกี ย รติ ร.๙, สวนศรี ธ รรมโศก ราช ฯลฯ เราจะเห็ น ความสะดวกคล่ อ ง ตัวและสวยงาม เช่นที่ศาลากลางจังหวัดก็มี การรื้อย้ายอาคารเก่าที่ว่าการอ�ำเภอ ที่ดิน จั ง หวั ด ฯลฯ (พื้ น ที่ อ าคารเดิ ม คั บ แคบต่ อ การให้บริการประชาชน) กลายเป็นพื้นที่โล่ง ส� ำ หรั บ จั ด ภู มิ ทั ศ น์ แ ละจอดรถได้ เ พี ย งพอ กับการใช้บริการ เป็นตัวอย่างที่เราได้เห็น ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในการยึดถือผัง แม่บทอย่างถูกต้อง การไม่มีผังแม่บทหรือมี แต่ไม่เดินตามผังแม่บทอาจจะเกิดผลเสียต่อ องค์รวมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่นเกิดความ อัดแอจากการสร้างอาคารเพิ่มเติมอย่างไร้ ทิศทาง ขาดพื้นที่โล่งเพื่อเป็นบริเวณระบาย อากาศและเป็นปอดของเมือง ขาดพื้นที่จอด รถในการมาใช้บริการ หรือจะเป็นการท�ำลาย ต่อคุณค่าของพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ เช่น บริเวณสวนศรีธรรมโศกราชในเขตเมืองเก่า หรือเป็นพื้นที่อนุรักษ์เพื่อกิจการใดกิจการ หนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อชาวเมือง เช่น บริเวณ สนามหน้าเมือง เป็นต้น มิฉะนั้นแทนที่จะ เป็นการพัฒนาอาจกลายเป็นการสร้างปัญหา ดังนั้น กระบวนการวางผังแม่บทจึงเป็นการ รวมองค์ความรู้ทั้งหมดนับตั้งแต่เริ่มต้นที่ต้อง ศึกษาประวัติความเป็นมา ศึกษาสิ่งที่มีอยู่ ก่อนไม่ว่าเป็นสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติในระดับความส�ำคัญต่างๆ ตลอด จนวิเคราะห์ความต้องการที่อยากได้อยากมี ว่าท�ำได้ขนาดไหน และประการส�ำคัญที่สุด คือจะต้องให้คนที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามี ส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจตาม หลักประชาธิปไตย ชาวเมืองนครครับ...ผมว่าเป็นความ โชคดีของเมืองนครที่เรายังมีผู้บริหารเมือง ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการคิ ด จะสร้ า งสรรค์ อ ะไร ใหม่ๆ ให้แก่บ้านเมือง และผมก็คาดหวังที่ จะเห็นชาวเมืองแสดงความคิดเห็นเช่นเดียว กั บ ผมมากขึ้ น ทางสื่ อ ต่ า งๆ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ก็ มี ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ที่ ส ร้ า งสรรค์ ข องคนรุ ่ น ใหม่ หลายฉบับที่แสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนา เมือง อาทิเช่น นิตยสาร South Side Society, นิตยสาร Say Hi และผมเชื่อเหลือ เกินว่าผู้บริหารบ้านเมืองจะรับฟังเสียงจาก ประชาชนไม่ว่าเป็นกลุ่มไหนเพราะเขาเหล่า นั้นก็เป็นพลเมืองคนหนึ่งเหมือนกัน
ชั ด เป็ น สง่ า ซึ่ ง ผู ้ ม าติ ด ต่ อ งานไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเข้ า ไปขั บ รถเวี ย นทั ก ษิ ณ าวั ต รภายใน จึ ง จะหาเจอ เพราะอยู ่ ใ นเขตทางเข้า ใหญ่ ที่ออกแบบถนนหลักให้กว้างขวางสวยงาม โดยมี ที่ ห มายตา (Landmark) เป็ น องค์ พระพุทธสิหิงค์องค์ใหญ่อยู่เบื้องหน้า กลุ่ม หอพักนักศึกษาที่เคยอยู่กระจัดกระจายได้ ออกแบบให้มารวมกันเป็นอาณาเขตหอพัก ชายและหอพั ก หญิ ง ที่ ชั ด เจนมี รั้ ว รอบขอบ ชิ ด และประหยั ด เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความ ปลอดภั ย อาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาที่ เ คยเดิ น กันว่อนข้ามคณะเมื่อเปลี่ยนชั่วโมงวิชาเรียน เพราะใช้ ห ้ อ งเรี ย นข้ า มตึ ก ก็ ไ ด้ มี ก ารสั บ เปลี่ยนให้อยู่ภายในอาณาเขตคณะเดียวกัน สนามด้ า นหน้ า มหาวิ ท ยาลั ย ที่ น�้ ำ ท่ ว มเข้ า ตึกคณะวิทยาศาสตร์ทุกปี ก็กลายเป็นสระ แก้มลิงที่รองรับน�้ำหลากจากเชิงเขาด้านหลัง ก่ อ นทยอยกั น ไหลออกสู ่ ท างระบายน�้ ำ ริ ม ทางหลวง ซึ่ ง ตรงตามหลั ก ฮวงจุ ้ ย ที่ ด ้ า น หลังเป็นเขาด้านหน้าเป็นน�้ำส่งเสริมให้เจริญ รุ ่ ง เรื อ งกั น ต่ อ ๆ ไป (แหะๆ..เรื่ อ งนี้ ผ มว่ า เองนะครับ ไม่ได้พูดไว้ในผังแม่บทหรอก ครับ) และที่ส�ำคัญทางมหาวิทยาลัยสามารถ หยิ บ ยกโครงการที่ จ ะของบประมาณสร้ า ง ตามผั ง ที่ ก� ำ หนดไว้ ล ่ ว งหน้ า อย่ า งมี เ หตุ ผ ล เช่นโครงการก่อสร้าง sport complex นี่เป็น ตัวอย่างส่วนหนึ่งที่ผมยกขึ้นมาเป็น “ราชภัฏ นครโมเดล” เพื่อให้เห็นความส�ำคัญของการ มีผังแม่บท ซึ่งเปรียบเสมือนการต้องมีแปลน บ้านก่อนการสร้างจริง ที่ต้องรู้ว่าจะใช้พื้นที่ อย่างไรจึงจะอยู่สุขสบาย แก้ไขฉบับที่แล้วหน้า ๑๓ ข้อเขียนของ ในส่วนราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ผมเรื่องพระโพธิสัตว์กวนอิม ได้ข้อมูลจากคุณ ได้ มี ก ารวางผั ง แม่ บ ททั้ ง พื้ น ที่ เ ปิ ด ใหม่ แ ละ วิฑูรย์ อิสระพิทักษ์กุลว่า องค์พระหินแกรนิต พื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์แล้วหลายแห่งใน มีความสูงที่ถูกต้องคือ ๙.๙๐ เมตร
หน้า ๑๔
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ฐานก�ำหนดเกณฑ์ไว้ว่า ถ้านักเรียนมีจ�ำนวน ๔๐ คน มี ผู ้ บ ริ ห ารได้ ๑ คน ครู ๒ คน โรงเรี ย นจึ ง ต้ อ งจั ด การเรี ย นเรี ย นการสอน แบบรวมชั้น (รวม ๒ หรือ ๓ ชั้น มาไว้ใน ชั้ น เดี ย วกั น แล้ ว ครู ก็ ส อนแต่ ล ะชั้ น โดยใช้ หนังสือเรียน และ สื่อการเรียนการสอนเป็น รายชั้น เพียงแต่มารวมกันเพื่อให้สะดวกใน การควบคุมดูแลเท่านั้น) บางโรงเรียนจัดการ เรียนการสอนแบบคละชั้น (รวม ๒ ชั้นมา ไว้ในชั้นเดียวกัน จัดการเรียนการสอนโดย ใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ๒ ชั้น ครูใช้ หนั ง สื อ เรี ย น และ สื่ อ การเรี ย นการสอน ตามหน่วยการเรียนรู้นั้น ซึ่งชิ้นงาน และ ผล งานของนักเรียนแต่ละชั้นมีความยาก ง่าย
ณรงค์ หิตโกเมท
หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓
โ
รงเรี ย นขนาดเล็ ก คื อ โรงเรี ย นที่ มี นักเรียนต�่ำกว่า ๑๒๐ คน ลงมา จากการ ก�ำหนดขนาดโรงเรียนโดยใช้จ�ำนวนนักเรียน เป็ น เกณฑ์ ของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โรงเรียนระดับ ประถมศึกษา และ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร รั บ ผิ ด ชอบมีจ�ำนวนโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้นทุกปี อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ปีการศึกษา ๒๕๔๖ มีจ�ำนวน ๑๐,๘๗๗ โรงเรียน คิดเป็นร้อย ละ ๓๓.๒๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ มีจ�ำนวน ๑๔,๓๙๗ โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๘๒ ในส่ ว นของส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึ ก ษานครศรี ธ รรมราช เขต ๓ ปี การศึกษา ๒๕๓๓ มีจ�ำนวนโรงเรียนขนาด เล็ก ๑๔๙ โรง และ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มี จ�ำนวน ๑๖๔ โรง คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๓๑ ซึ่ง เป็นส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีโรงเรียน ขนาดเล็ ก มากที่ สุ ด ในประเทศไทย สาเหตุ
เกิดจากจ�ำนวนกลุ่มประชากรวัยเรียนลดลง เป็นเพราะนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่ว่า “หญิง ชาย ก็ดี มีแค่สอง” เห็นผลนะ ครั บ ประกอบกั บ โรงเรี ย นเอกชน มี ก าร ประชาสัมพันธ์ที่ดี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชาติ O-NET สูงกว่าโรงเรียนรัฐบาล และ บริ ก ารรั บ – ส่ ง นั ก เรี ย นที่ ดี ท� ำ ให้ ผู ้ ปกครองประทั บ ใจ จึ ง ส่ ง บุ ต รหลานเข้ า เรี ย นตั้ ง แต่ ชั้ น อนุ บ าล จ� ำ นวนนั ก เรี ย น ของโรงเรียนเอกชนจึงเพิ่มขึ้น ในส่วนของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จ� ำ นวนนั ก เรี ย นลดลง ส่ ง ผลให้ มี โรงเรียนขนาดเล็กจ�ำนวนมากดังกล่าว ท�ำให้ การศึกษาไม่สามารถสะท้อนคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพได้เพียงพอ กล่าวคือ เกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่า มีข้อจ�ำกัดด้านการ ใช้ครู หรือ ไม่สามารถจัดครูได้ครบชั้น และ ขาดแคลนสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่ง ผลให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาด เล็ ก ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง เกิ ด ค� ำ ถามว่ า “แล้วเราจะช่วยกันแก้ปัญหาเรื่องนี้อย่างไร” ก่อนอื่นต้องกลับมาทบทวนก่อนว่า ปัญหา ที่แท้จริงคืออะไรกันแน่ ซึ่งในที่นี้จะน�ำเสนอ ปัญหาเป็นข้อๆ ดังนี้ ๑. ปั ญ หาคุ ณ ภาพนั ก เรี ย น เกิ ด จาก การจั ด การเรี ย นการสอนที่ ค รู ไ ม่ ค รบชั้ น ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น
ห
นึ่ ง ในภารกิ จ หลั ก ของศู น ย์ วิ ท ย์ เ มื อ ง คอน ที่เข้าไปอยู่ในหัวใจของโรงเรียน และหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งภาคใต้ นั่นคือ ค่าย กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ถือเป็นผล งานดีเด่นที่สุด ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่ตั้ง ของศูนย์วิทย์เมืองคอน มีลักษณะที่เหมาะ ต่ อ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที่ เ ชื่ อ มโยง กั บ ธรรมชาติ ที่ แ วดล้ อ มด้ ว ยป่ า เขาชุ ม ชน วิ ถี เ กษตร ที่ ยั ง คงรั ก ษาวั ฒ นธรรมและวิ ถี ชี วิ ต แบบดั้ ง เดิ ม สอดคล้ อ งกั บ การจั ด การ ศึ ก ษาในยุ ค ปฏิ รู ป การศึ ก ษา ที่ ต ้ อ งการให้ ผู ้ ร ่ ว มกิ จ กรรมได้ เ รี ย นรู ้ สั ม ผั ส เชื่ อ มโยง สร้ า งองค์ ค วามรู ้ ด ้ ว ยตนเอง เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ กระบวนการเรียนรู้ที่ยั่งยืน เราจึงใช้ธรรม-
ชาติของ “เขาขุนพนม” เป็นห้องเรียนวิทยาศาสตร์ มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ ได้พัฒนาทั้งรูปแบบ วิ ธี ก าร หลั ก สู ต ร มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ ส ร้ า ง ความเชื่ อ มั่ น และศรั ท ธา ให้ ผู ้ รั บ บริ ก าร อย่างมาก จากปี ๒๕๔๖ จั ด ค่ า ยเพี ย ง ๓๖ ครั้ง จ�ำนวน ๓,๐๐๐ คน ปีต่อๆ มาจ�ำนวน ผู้รับบริการได้เพิ่มขึ้นเป็นล� ำดับ และเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว เป็นไม่น้อยกว่า ๑๒,๐๐๐ คน
๑๔๔ ครั้ง ในปี ๒๕๕๕ และยังมีรางวัลการันตี คุณภาพการให้บริการมากมาย ได้แก่ • รางวั ล “หลั ก สู ต รค่ า ยกิ จ กรรมการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์” รางวัลนวัตกรรมประเภท หลั ก สู ต รดี เ ด่ น ส� ำ นั ก งาน กศน. ประจ� ำ ปี ๒๕๕๒ • รางวั ล อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วไทย ครั้งที่ ๘ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ผลงาน “พิพิธภัณฑ์
แตกต่างกันตามความสามารถของนักเรียน) คุ ณ ครู ต ้ อ งเป็ น คนเก่ ง มี ค วามสามารถใน การจัดการชั้นเรียน จัดการเรียนการสอนที่ ยากกว่า ต้องสอนทั้ง ๒ หรือ ๓ ชั้นในเวลา เดี ย วกั น อย่ า ว่ า จะให้ ค รู เ ตรี ย มการสอน เตรียมเนื้อหา สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร เลย แม้แต่จะท�ำอย่างไรให้เด็กได้ท�ำงาน ท�ำ แบบฝึกหัด อ่านหนังสือเรียน หรือดูโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมของโรงเรียนไกลกังวลก็แสน ยาก เมื่ อ มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพระดั บ ชาติ O-NET ผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก เรี ย นก็ ต�่ ำ กว่ า โรงเรียนขนาดอื่นๆ ซึ่งมีครูครบชั้นแน่นอน (อ่านต่อฉบับหน้า)
มีชิวิต” รางวัลดีเด่นระดับประเทศ ประเภท แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วนั น ทนาการเพื่ อ การเรี ย นรู ้ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย • รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ ๒ สถาน ศึ ก ษาดี เ ด่ น ระดั บ ประเทศ ประเภทสถาน ศึ ก ษาขึ้ น ตรง ส� ำ นั ก งาน กศน. ประจ� ำ ปี ๒๕๕๔ • รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ สถานศึกษา ดีเด่นระดับประเทศ ประเภทสถานศึกษาขึ้น ตรง ส�ำนักงาน กศน. ประจ�ำปี ๒๕๕๕ • รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับประเทศ “นายบัญญัติ ลายพยัคฆ์” ผู้อ�ำนวยการสถาน ศึกษาขึ้นตรงส�ำนักงาน กศน.ดีเด่น ประจ�ำปี ๒๕๕๕ ในด้านพื้นที่รับผิดชอบ ศูนย์วิทย์เมือง คอน มีพื้นที่รับผิดชอบตามประกาศกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ๔ จั ง หวั ด คื อ สุ ร าษฎร์ ธ านี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา แต่พบ ว่าผู้รับบริการมาจากทุกจังหวัดของภาคใต้ ใน
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
อาจารย์แก้ว
ตอนที่ ๒ (จบ) จอด�ำกับทีวีดาวเทียม
จอด�ำเกิดจากการที่เครื่องรับโทรทัศน์ รั บ ชมสั ญ ญาณโทรทั ศ น์ ผ ่ า นดาวเที ย มไม่ ไ ด้ เพราะเจ้ า ของสถานี ส ่ ง สั ญ ญาณได้ เ ข้ า รหั ส สัญญาณไว้ (ช่องสัญญาณพิเศษ) กล่าวคือผู้ ที่จะรับสัญญาณได้ต้องทราบรหัสผ่านหรือมี อุปกรณ์รับสัญญาณจากผู้ผลิต(ผู้ถือลิขสิทธิ์) และให้บริการของช่องรายการนั้นเท่านั้นจะ เป็ น เพราะประโยชน์ ท างธุ ร กิ จ หรื อ เหตุ ผ ล ทางความมั่ น คง ป้ อ งกั น ข้ อ มู ล รั่ ว ไหลข้ า ม อาณาเขตประเทศก็ขึ้นกับดุลยพินิจของผู้อ่าน แต่ผู้บริโภคอย่างเราๆ รู้สึกอึดอัดและร�ำคาญ กั บ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บ่ อ ยๆ หรื อ จะให้ เ รา สรรหาช่องทางรับชมสัญญาณดาวเทียมอีกกี่ รูปแบบ ต้องซื้อกล่องรับสัญญาณอีกกี่ยี่ห้อถึง จะหายจากอาการจอด�ำ เมื่อมีรายการ กีฬา ส�ำคัญๆ เช่น โอลิมปิก ฟุตบอลโลก ผู้จัดงาน ต้ อ งการขายลิ ข สิท ธิ์ก ารถ่ ายทอด นายทุน ผู้ ประมู ล สั ญ ญาณถ่ า ยทอดต้ อ งหวั ง ท� ำ ก� ำ ไร
ปี ๒๕๕๕ เรียงล�ำดับ ๑๐ จังหวัด ที่มาใช้ บริ ก ารมากที่ สุ ด ดั ง นี้ ๑.นครศรี ธ รรมราช ๒.สงขลา ๓. ตรัง ๔. สุราษฎร์ธานี ๕. พัทลุง ๖.กระบี่ ๗.ภูเก็ต ๘.สตูล ๙.ปัตตานีและยะลา ๑๐. ระนอง ชุมพร และนราธิวาส กลุ ่ ม เป้ า หมายที่ ม าใช้ บ ริ ก ารมี ทั้ ง นักเรียนในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน ทุ ก ระดั บ การศึ ก ษา ประชาชนและนั ก ท่ อ งเที่ยวผู้สนใจทั่วไป ทั้งนี้ ยังสามารถให้บริการ กลุ ่ ม เป้ า หมายได้ ทุ ก วั น โดยไม่ มี วั น หยุ ด ราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ บริการตาม ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย จนสามารถ จัดค่ายซ้อนทับ (๒ ค่าย ซ้อนวันจัดทับกัน) หรือ ซ้อนเหลื่อมวัน (๒ - ๓ ค่ายมีวันเข้า และ วันออกไม่ตรงกัน แต่มีบางวันซ้อนกัน) ท�ำให้ ทุกเดือน ตลอดทั้งปีจัดค่ายทุกวัน โดยเฉลี่ย เดือนละ ๒๐ ครั้ง โดยมี การบริหารหลักสูตรกิจกรรมค่าย ทุกกิจกรรมจะสนองตอบตามหลักการศึกษา ของชาติ ตัวชี้วัดชั้นปี และสมรรถนะส�ำคัญ ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ การจัดท�ำจุดประสงค์
จากผู้บริโภคก็ต้องหาช่องทางท�ำเงินให้ได้มาก ที่ สุ ด ผลกรรมก็ ต ้ อ งตกมาที่ ผู ้ บ ริ โ ภควั น ยั ง ค�่ำ อย่าลืมว่าเราลงทุนติดตั้งจานรับสัญญาณ ดาวเทียมแล้วจะต้องกลับมาหาซื้อเสาอากาศ หรือหนวดกุ้งมาต่อเพิ่มอีกเพื่อรับชมรายการ โปรดตามค�ำแนะน�ำของผู้ผลิตรายการ มันจะ สิ้ น เปลื อ งและยุ ่ ง ยากวุ ่ น วายอย่ า งนี้ อี ก นาน แค่ไหนถึงจะปลดพันธนาการเหล่านี้ออกจาก สถานีโทรทัศน์บ้านเราไปได้ ก็คงต้องรอความ หวังจากหน่วยงานของรัฐผู้ควบคุมดูแลคลื่น ความถี่อย่าง คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ เรี ย กติ ด ปากกั น ในนาม “กสทช.” เข้ า มา จัดการปัญหานี้เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค
นครศรีธรรมราช
ดูช่องพิเศษท�ำอย่างไร
สัญญาณจากทรูวิชั่นเท่านั้น ล่าสุดผู้กุมลิขสิทธิ์ ถ่ายทอดฤดูกาลแข่งขัน ๒๐๑๓ ถึง ๒๐๑๕ คือบริษัท CTH ของคุณวิชัย ทองแตง ชึ่งจับ มือกับทางทายาทไทยรัฐ ร่วมกันถือลิขสิทธ์ ถ่ายทอด) คอยดูกันว่าจะมีอะไรดีๆ ตกมาสู่ ผู้บริโภคบ้าง ส่วนรายการฟุตบอลจากประเทศอื่นๆ ที่ได้รับความนิยมรองๆลงมา เช่น ลาลีกาจาก สเปน บุนเลสลีกาจากเยอรมัน กัลโช่ซีรี่เอ จากอิตาลี ลีกเอิงจากฝรั่งเศสก็มีนายทุนแย่ง ถื อ ลิ ข สิ ท ธิ์ กั น หมดแล้ ว หรื อ เราจะต้ อ งซื้ อ กล่องรับสัญญาณเพื่อรับชมช่องรายการพิเศษ กันทุกปี
การเรียนรู้แต่ละกิจกรรมยังบูรณาการ ตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ สาระ และมาตรฐาน การเรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ และมาตรฐานการ เรี ย นรู ้ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และทุ ก กิ จ กรรม ได้ พั ฒ นาจากความต้ อ งการของผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรม เหตุ ก ารณ์ ท างสั ง คม และความ จ�ำเป็นในการเรียนรู้อีกด้วย ทั้ ง นี้ กิ จ กรรมค่ า ยได้ พั ฒ นาให้ ชั ด เจน รัดกุมมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมกระชับ เสร็จ สิ้ น ภายใน ๓ ชั่ ว โมงทุ ก กิ จ กรรม แบ่ ง กลุ ่ ม
กิจกรรมตามแนวคิดและวิธีการที่ใกล้เคียงกัน ได้เป็น ๖ กลุ่ม คือ ๑. Play & Learn ได้ แ ก่ กิ จ กรรม Science Show, กิ จ กรรม Math Magic, กิจกรรมพิชิตโลกร้อน และกิจกรรมของเล่น ไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ ๒. พลั ง คนพลั ง คิ ด ได้ แ ก่ กิ จ กรรม Inquiry, กิ จ กรรม Discovery, กิ จ กรรม Walk Rally กิจกรรมจ�ำน�ำฝัน และกิจกรรม ล่าฆาตกร ๓. ฝีไม้ลายมือ ได้แก่ กิจกรรมเส้นสาย
ช่องพิเศษหมายถึงช่องสัญญาณที่มีการ เข้ารหัสสัญญาณการถ่ายทอดผู้รับชมต้องซื้อ อุ ป กรณ์ รั บ สั ญ ญาณ หรื อ กล่ อ งรั บ สั ญ ญาณ จากผู้ถือลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสัญญาณเท่านั้น ซึ่ง กล่องรับสัญญาณเหล่านี้ท�ำการเข้ารหัสรับชม ไว้เรียบร้อยแล้วแค่น�ำมาต่อแทนอุปกรณ์หรือ กล่องรับสัญญาณเดิมที่เรามีอยู่ก็สามารถรับ ชมช่องรายการพิเศษนั้นๆ ได้เลย ช่องพิเศษ ที่ ว ่ า เช่ น รายการกี ฬ าจากต่ า งประเทศเช่ น ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก จากอังกฤษ (ผู้ถือลิขสิทธิ์ เดิมคือทรูวิชั่น ซึ่งต้องรับชมผ่านอุปกรณ์รับ
หน้า ๑๕
กล่องรับสัญญาณเก่าออก ๒. เปลี่ยนกล่องรับสัญญาณใหม่ เสียบ ปลั๊กซ์และสายสัญญาณเหมือนเดิม ๓. เปิดสวิทซ์ไฟ รอสัญญาณปรากฏที่ หน้าจอโทรทัศน์ ๔. โทรไปที่ เ จ้ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ ห รื อ ผู ้ ใ ห้ บริการกล่องสัญญาณนั้นๆ เพื่อเปิดสัญญาณ ให้บริการ เป็ น อั น เสร็ จ ขั้ น ตอนการติ ด ตั้ ง กล่ อ ง รั บ สั ญ ญาณช่ อ งรายการพิ เ ศษ อย่ า ลื ม ว่ า การลงทุ น กั บ การเปลี่ ย นกล่ อ งรั บ สั ญ ญาณ วัตถุประสงค์เพื่อช่องรายการพิเศษเท่านั้น แต่ ขั้นตอนการติดตั้งกล่องรับสัญญาณ ช่ อ งรายการพื้ น ฐานเดิ ม ยั ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง การติดตั้งกล่องรับสัญญาณใหม่เพื่อรับ สามารถรับชมได้ปกติเหมือนกันทุกกล่องรับ ชมช่องรายการพิเศษมี ๔ ขั้นตอนง่ายๆดังนี้ สัญญาณ ณ ตอนนี้ซึ่งมีสุญญากาศเกี่ยวกับการ ๑. ถอดปลั๊ ก ซ์ และสายสั ญ ญาณของ ควบคุมดูแลการส่งสัญ ญาณผ่า นดาวเทียมผู้ เขียนแนะน�ำว่าเราไม่จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนกล่อง รับสัญญาณอยู่บ่อยๆ ตามนายทุนผู้ฉวยโอกาส เพราะช่ อ งทางการรั บ ชมสั ญ ญาณถ่ า ยทอด ช่องพิเศษไม่ได้มีแค่ช่องทางเดียว เรายังรับชม รายการได้ทางอินเทอร์เน็ต เพียงแค่เราต้อง เสาะหาช่องทางกันเองทาง Serch Engine ต่างๆ ครับ ขอย�้ำว่าโปรดใช้วิจารณญาณใน การเลือกบริการและการรับชมครับ ลายเที ย น, กิ จ กรรมมั ด เส้ น เน้ น ลาย และ กิจกรรมพาราพาเรียน ๔. ป่าดินหินน�้ำ ได้แก่ กิจกรรมตะลุย ป่าหลังคาแดนใต้, กิจกรรมคนค้นป่า กิจกรรม นั ก สื บ สายน�้ ำ , กิ จ กรรมนั ก ธรณี น ้ อ ย, กิจกรรมนักอุตุน้อย และกิจกรรมปีนหน้าผา ๕. ถอดรหัสฟ้า ได้แก่ กิจกรรมเปิด เลนส์ส่องฟ้า ๖. Science for kids ส�ำหรับเด็ก ๓ - ๘ ปี ได้แก่ กิจกรรม Magic Science, กิจกรรมอากาศมหัศจรรย์, กิจกรรม Test Body, กิ จ กรรมของเล่ น กั บ ความลั บ , กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทะลุจอ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารพั ฒ นากิ จ กรรม นันทนาการอย่างเป็นระบบชัดเจน เป็นรูป แบบเอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ และเป็ น มาตรฐาน เดี ย วกั น อั น เป็ น กิ จ กรรมที่ จ ะสร้ า งความ ลื่ น ไหลกลมกลื น ให้ แ ก่ กิ จ กรรมหลั ก อย่ า ง ลงตัวสร้างความประทับใจในการเข้าค่ายได้ ง่ายขึ้น ฉบั บ หน้ า มาท� ำ ความรู ้ จั ก แต่ ล ะ กิจกรรมกันต่อนะคะ
หน้า ๑๖
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
Tarzanboy
ลักสูตรถอดรหัสป่านั้น ก่อนที่เราจะ เข้าถึงหัวใจแห่งป่าจนสามารถอ่านรหัส ถอดความ และอยู่ร่วมอย่างกลมกลืนได้ เรา ต้องเรียนรู้หลักของการด�ำรงชีพในป่าซะก่อน นั่นหมายถึง การกินอยู่ หลับนอน ซึ่งเหล่า นี้เป็นการเลือกใช้ประโยชน์จากป่าเพื่อการ ด�ำรงชีวติ อย่างพอดี
“เอาล่ะ เมื่อเราได้ท�ำเลที่พักสวยขนาด นี้ เราพักกันที่นี่สัก ๒ คืน และมาเริ่มเรียนรู้ การท�ำมาหากินในป่าดีกว่า” “เย้ๆ พักนานกว่านี้ก็ได้พี่ ว่าแต่เราจะ เริ่มเรียนเรื่องไหนกันก่อนล่ะ” สองสาวแสดง อาการดีใจจนออกนอกหน้า “เริ่มที่สร้างบ้านใบไม้กันก่อนดีกว่า....” ผมเริม่ บทเรียนแรกของวัน “ยังงัยพี่ !!?? ” สมาชิกสาวๆ ได้แต่ท�ำ หน้างง ๆ “สมมุติว่าเราไม่มีเต้นท์ ไม่มีเปล เราก็ ต้องเรียนรู้ที่จะสร้างที่หลับที่นอนชั่วคราวไว้ โน่น ! ตามน้องเอ๊กซ์ไป ตัดไม้งา่ มยาวๆ สีอ่ นั แล้วโน่นอีก ใบเฟิรน์ ...เอามาเลยเยอะๆ” ใบ เฟิรน์ ทีม่ ที รงแบนๆ เหมาะสุด ใช้ได้ทงั้ หลังคา และรองนอน “ทรง....สุนัขแหงนใช่มั้ยพี่บอย” เอ็กซ์ ยืน่ แบบประมูลการก่อสร้าง “ช่ายๆ ส�ำหรับลูกหมา ๑ ลูกหมู ๒ และคนเลี้ยงอีก ๑ เอิ๊กกก” บ้านหลังแรก
ของสาวๆ ที่แบบไม่ต้องพึ่งพาอุปกรณ์จาก ภายนอกมากนัก “ไง แจ่มม๊ะ รับรองฝนตกก็ไม่รั่ว แต่ อาจจะยุบลงเป็นซุ้มหมูป่า ๕๕๕!!!” เพิงพัก ชั่ ว คราวที่ ท� ำ จากใบไม้ เ สร็ จ ลงในเวลาอั น รวดเร็ว “ต่อไป...ถึงเวลาหาเสบียงเพิม่ แล้ว ตก ปลากันดีกว่า” พวกเขาต้องเรียนรูไ้ ว้ แม้จะไม่ ได้อยากท�ำอย่างนัน้ จริงๆ ในป่า...อะไรๆ มันก็ ไม่ได้หวังพึง่ ทีแ่ บกมานัน่ เสมอไป “ท�ำไมน้องเอ็กซ์หย่อนเบ็ดได้...หย่อน ได้ ปลากินเบ็ดตลอดเลย น้องเขาใจบาป หรือ ต๊อบบุญไม่ถึงเนี่ย” สาวน้อยนักเรียนตัวป่วน เกิดข้อสงสัยในเทคนิคการตกปลาน�ำ้ ตก “โธ่ พี่ต๊อบ ก็พี่เล่นเอาเหยื่อชิ้นใหญ่ กว่าปากปลาซะอีก ฉลามยังงาบไม่เข้าเลยพี”่ เอ็กซ์แซวกลับข�ำๆ เราใช้เหยื่อจากปลาหมึก แห้ง คันเบ็ดจากก้านหวาย และเบ็ด...ซึง่ มีอยู่ เสมอในเป้ผมยามเข้าป่า “อืม พอแล้วล่ะ แค่นพี้ อ เอาแค่พอรูจ้ กั
ว่า มันจะหาปลาได้อย่างไร” “แล้วถ้าไม่มเี บ็ดล่ะพี่ ท�ำไง” จริงๆ ถ้า ไม่มมี นั จะตอบค�ำถามนีง้ า่ ยกว่า “เอ็กซ์ จัดการสิ...” อย่างรูก้ นั เด็กหนุม่ ลูกไพรแต่ก�ำเนิดจึงแสดงให้ลูกศิษย์จากเมือง ไกลเห็นในศักยภาพทีแ่ ตกต่าง “อ่ะ หา !!! จับปลามือเปล่ารึนนั่ ” จริงๆ เป็นเรือ่ งธรรมดาส�ำหรับพรานป่าบ้านนอก “...ก็แค่ท�ำให้มันตกใจ มันจะวิ่งหารู แอบเราเอง เมื่อนั้นก็...เสร็จโก๋ แต่มือต้องเห นียวจริงๆ” ผมสรุปอธิบายคร่าวๆ และลอง ให้สาวๆ ท�ำกันดู พอเริม่ จับทางได้ การไล่จบั ปลามือเปล่าก็อลหม่านไปทั้งล�ำน�้ำ อีกวิธีคือ หาใบไม้มาสุมๆ ให้ปลาเข้ามาหลบ แล้วเอา เปลสนาม หรือผ้าขาวม้าเข้าไปต้อนอีกที “มื้อนี้ต้องสุดหรูแน่ๆ ต๊อบอยากกินต้ม ย�ำๆ ๆ” ใครจะรูว้ า่ เนีย่ เราก�ำลังอยูท่ า่ มกลาง ป่าลึก และภัยอันตรายรอบด้าน ก่อนจะถึงมื้อเย็น เราไม่ลืมเตรียมฟืน กองใหญ่ ส�ำหรับการอยูเ่ วรอยูย่ ามคืนนี้ และ
ดูเหมือนว่า อากาศก�ำลังแปรปรวน หมู่เมฆที่ พาดผ่าน เคลือ่ นตัวเร็วและกระแสลมแรงขึน้ “มิลล์ ก่อไฟด้วย” ค�ำ่ คืนมาเยือน กอง ไฟในป่าคือสิง่ จ�ำเป็น “ก่อไฟน่ะ .....มันต้องเริ่มจากเตรียม เชื้อนิดหนึ่ง จากเศษยาง เทียน หรือเศษไม้ แห้งๆ เล็กๆ ก่อน แล้วค่อยๆ วางชิ้นใหญ่ๆ ขึ้น วางแผนจัดวางไว้ล่วงหน้า อย่าไปปิดทับ ยอดเปลวไฟมัน ปล่อยให้มันส�ำแดงเดชเต็ม ที่ ค่อยๆ ใส่ ค่อยๆ เต็ม อย่าไปใจร้อน ค่อยๆ เป่า ค่อยๆ พัดวี ...ช่วงแรกๆ ก่อแล้วทิง้ ไปก็ไม่ ได้ ไปวุน่ วายกะมันมากก็ไม่ดี ...มันขีใ้ จน้อย.... ก็เหมือนกับการดูแล...อ่า ความรักนั่นแหละ จุดไฟไว้แล้ว ทิง้ ไปก็ไม่ได้ ใกล้ไปก็ไม่ดี เอ้อ ! ผูห้ ญิงนะผูห้ ญิง” “....!!??......” “....ช่วยกันหลายคนก็ไม่ได้นะ” ต๊อบ จะเข้ า มาช่ ว ย ชะงั ก กึ ก ! ถื อ ฟื น มองหน้ า ตาค้าง “ก็ บ อกแล้ ว ไง การหั ด ก่ อ กองไฟก็ เหมือนกับความรักของคนสองคน ต้องดูแล ด้วยตัวเอง อย่าให้ใครเข้ามายุ่ง มาแหย่ มัน อ่อนไหว หากเติมฟืนมากไปก็ไม่ดี น้อยไปก็ ไม่ได้ คนก่อเท่านั้นที่ต้องรู้ด้วยตัวเอง” พอ นึกภาพออก มิลล์ก็เริ่มจับทางเทคนิคง่ายๆ อันแสนยากนี้ได้ จากนั้นไฟจากเชื้อเล็กๆ ก็ ลุกโชน “มั น เหมื อ นความรั ก ตรงไหนเนี่ ย พี่ ” ต๊อบจอมป่วนยังงงกับการเปรียบเปรย “ก็นั่นไง เราได้ความอบอุ่นกันทั่วหน้า ใช่มั้ย เพราะเราเลือกระยะที่พอดี ไฟน่ะใกล้ ไปก็ร้อน ไกลไปก็หนาว หากเราเลือกระยะที่ พอดี ไฟก็จะไม่ท�ำร้ายใคร ...ก็เหมือนกับเรา รักใครสักคนนัน่ แหละ ต้องเลือกอยูใ่ นระยะที่ พอดี อย่าไปวุน่ วายกับมันมาก” “อื ม ส� ำ -มะ-คั ญ เชี ย วนะทาร์ ซ าน บอย!!” “อยากกินน�้ำจากต้นไม้มั้ย” เอ็กซ์น�ำ เสนอวิชาใหม่ “เหรอ มีดว้ ยเหรอ” ต๊อบหน้าตาตืน่ “นีๆ่ ต้นนีแ้ หละ เค้าเรียกว่า มะเดือ่ น�ำ้ หากมีมันตรงไหน ไว้ใจได้เลยเรื่องน�้ำสะอาด จะเอาหุงข้าว ซักผ้า อาบน�ำ้ ...แหะๆ ไม่ขนาด นัน้ ” “...คือมันผลิตน�้ำสะอาดได้อย่างไม่น่า เชือ่ นัน่ ตามไปดู” เอ็กซ์หยิบมืด และสับเฉาะ เข้าไปที่ล�ำต้นของมะเดื่อน�้ำ แรกๆ มันจะมี ยางขาวๆ ออกมาก่อน แต่พอสักพัก ... เริ่ม จะมีน�้ำไสปิ้งไหลออกมา เมื่อนั้นเราก็เตรียม ภาชนะรองได้เลย “นัน่ ๆ ...ใช้ได้แล้ว เอาขวดน�ำ้ นัน่ แหละ ม้วนใบไม้ท�ำกรวยเข้า แล้ววางรองไว้ได้เลย รับรอง...เต็มขวด” มันถือเป็นต้นไม้มหัศจรรย์ แม้จะชอบขึ้นริมน�้ำอยู่แล้ว แต่บางครั้งเรา อาจจะใช้น�้ำนั้นไม่ได้ แต่เลือกเอาจากต้นนี้ได้ ถือว่าเป็นเครือ่ งกรองชัน้ ดี “อืม มันไหลจากแก่นเลยรึนนั่ ” ไม่นาน เราก็ได้น�้ำสะอาดจืดสนิทมาลิ้มลองกัน และ รองขวดน�ำ้ ไว้ตอ่ ถึงตอนเช้า “เอาล่ะ ต่อไปหุงข้าวจากกระบอกไม้ไผ่ วิชาสุดท้ายของวันนี้ อันนี้ส�ำคัญมากเพราะ
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
นพ.รังสิต ทองสมัคร์ หลังน�้ำท่วมใหญ่ เมื่อต้นปี ๒๕๕๔ ทุ่งท่าลาดดูทรุดโทรม ลงไปมาก สวนสาธารณะอันถือ เป็นปอดใหญ่สุดของ คนคอน ยามนี้… หลงเหลือแต่ความรกเรื้อ รุงรังของสิ่งก่อสร้าง กรงนก กรงสัตว์ขาดวิ่น คอกกวางพัง ไร้คนเหลียวแล
ฟืนไฟก็พร้อม ผักปลาก็พร้อม ท้องของอาจารย์กพ็ ร้อม สมควรแก่เวลาดินเน่อร์” สองสาวสองพรานก็พร้อมใจ กันตรงดิง่ ไปยังดงไผ่ปา่ ทันที “นี่ เราต้องเลือกล�ำไผ่ที่ไม่แก่ไม่อ่อนเกินไปนัก สังเกตจากที่เปลือกหุ้มตรงข้อไผ่ยังมีอยู่ เลือกตัดล�ำที่ สามารถดึงออกจากกอง่ายๆ จากนั้นริดใบออก ตัด เป็นปล้องๆ ให้ตดิ ข้อ นี่ ! ของใครของมัน จะเรียนรหัส ป่าต้องลงมือท�ำเองทุกขั้นตอน” ผมสาธิตการตัดไม้ไผ่ ส�ำหรับหุงเข้าให้ดู ก่อนจะส่งมีดเดินป่าให้สาวๆ คนละ เล่ม หมายถึง แค่ดูเฉยๆ นั่นยังไม่ใช่ ต้องลงมือท�ำด้วย ตัวเองถึงจะถูก “จากนั้น หากใบไม้ประเภทใบเร็ด ใบปุดหรือ ใบตองอ่อน เอาข้าวสารสักสองก�ำมือใส่ลงไปในใบไม้ นั้น ห่อกลมๆ ยาวๆ แล้วจึงใส่ลงไปในกระบอกไม้ไผ่ เติมน�้ำมาเต็มกระบอก ...ตั้งไฟ และคอยหมั่นปรับหมุน ไม้ไผ่โดนไฟสม�่ำเสมอ รอดูจนใบไม้ข้างในเริ่มเปลี่ยนสี แล้วค่อยเทน�ำ้ ออก ดงข้าวอีกสักพัก ...น่านแหละ ต้อง ปรับให้กระบอกโดนไฟทั่วๆ ไม่งั้นไฟกินไม้ไผ่ไหม้หมด ซะก่อน นี่แหละเหตุผลที่เราเลือกไม้ไผ่ไม่อ่อนไม่แก่ เพราะมันมีน�้ำอยู่ในเนื้อไม้อยู่บ้าง ไม่แห้งเกินไป เวลา โดนไฟจะไม่ไหม้เร็วเกินไป” มันส�ำคัญอยู่ในทุกขั้นตอน โดยเฉพาะการได้ลงมือท�ำเอง สองสาวผู้อยากเรียนรู้ หลักสูตรวิชาพราน ก็เริ่มเข้าใจและมีสมาธิในการเรียน รูม้ ากขึน้ “มันไม่ง่ายเลยเนอะ มีเทคนิคซับซ้อนอยู่ในทุก ขัน้ ตอน หนูเคยกินแต่ขา้ วหลามทีซ่ อื้ มา แต่วนั นีต้ อ้ งกิน ข้าวหลามฝีมอื ตัวเองให้ได้ คอยดู” กลิ่นข้าวสวยจากกระบอกไม้ไผ่ ลมเย็นๆ จาก ดงลึก นกเงือกโผกลับเข้ารัง น�้ำค้างกลั่นตัวพราว ตั้งแต่พลบค�่ำ มนุษย์ตัวจ้อย ๔ คน จึงกลืนไปกับผืน ป่าอย่างไม่รตู้ วั ณ ดงไกลไพรลึก ทุกส่วนประกอบของ ป่า จึงรวมกันเป็นป่า
แต่… ในความเสื่อมทรุดโทรม ผมกลับใช้เวลาของ เย็น/ค�่ำเดือนเพ็ญหนึ่ง เพื่อเก็บภาพในมุมงาม ที่พอจะท�ำให้ความรู้สึกดีดี ของทุ่งท่าลาดแห่งนี้ กลับคืนมาบ้าง… แม้เพียงเล็กน้อยก็ยังดี
หน้า ๑๗
หน้า ๑๘
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นภสร มีบุญ
อ ลั่ลล้า ฉบับนี้ขอพาท่านผู้อ่าน กลับ เข้าตัวเมืองหลังจากออกเดินสายกัน ไปในฉบั บ ของเทศกาลวั น แห่ ง ความรั ก เพื่ อ มาย้ อ นวั น หวานกั บ วั น วานที่ ผ ่ า นมา ด้วยความรักบ้านเกิดอีกครา กับการร่วม แสดงความยินดีในโอกาสครบรอบ ๑๘ ปี แห่ ง ความหลั ง กั บ ห้ อ งรั บ แขกห้ อ งใหญ่ ที่ เป็ น สมบั ติ ข องความภาคภูมิใ จ ของคน เมืองคอน จากวันเวลาที่หมุนผ่านตราบถึง ปัจจุบัน โรงแรมทวินโลตัส โรงแรมขนาด ใหญ่ ก ลางใจเมื อ งนครศรี ธ รรมราช ที่ ไ ด้ รับความไว้วางใจจากผู้มาเยือนด้วยดีโดย ตลอด ความทรงจ�ำกับความผูกพันที่ไม่อาจ ลืมเลือนท�ำให้อดคิดถึง ดร.บุญกิจ ลีเลิศพันธ์ และ ดร.สุนันทา ลีเลิศพันธ์ คู่รัก ผู้สร้างต�ำนานการลงทุนครั้งใหญ่ ด้วยหวัง เพียงเพื่อจะทดแทนบุญคุณแผ่นดินเกิด ซึ่ง ในอดีต ค�ำพูดของท่านประธาน ดร.บุญกิจ ยังคงก้องอยู่ในหูเสมอมากับค�ำพูดที่ว่า ถ้า เราจะสร้างโรงแรม เราจะสร้างให้ใหญ่ สร้าง เพื่อให้เป็นตลาดแรงงานของลูกหลานเรา พวกเขาจะได้ ไ ม่ ต ้ อ งไปเดื อ ดร้ อ น ไปหา งานท� ำ ที่ อื่ น ต่ า งบ้ า นต่ า งเมื อ ง เขาจะได้ อยู่กับบ้าน ดูแลและเลี้ยงดูพ่อแม่ มีงาน ที่ มั่ น คงท� ำ ในบ้ า นเกิ ด ครอบครั ว ก็ จ ะได้
อยู ่ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข พร้ อ มหน้ า กั น บริ ษั ท ดอกบัวคู่จึงเป็นรากฐานส�ำคัญของการก่อ ก�ำเนิดกิจการมูลค่าพันกว่าล้านบาท กับ การลงทุนในอดีตที่ผ่านมา แม้ตอนที่สร้าง เสร็ จ ใหม่ ๆ เราจะได้ ยิ น ค� ำ ล้ อ จากท่ า น ประธานว่า ดอกบัวคู่วิ่งรถผลิตภัณฑ์มาถม ที่ที่เมืองนครฯ ทุกเดือนเดือนละหลายคัน รถสิบล้อ เพราะในอดีตเราแทบนับดวงไฟ บนห้องพักจากตัวตึกโรงแรมที่สูงตระหง่าน มองได้ ใ นระยะไกล และเป็ น ที่ ฮื อ ฮาของ แขกที่มาเยือน เมื่อส�ำรองห้องพัก ก็จะได้ ฟังค�ำถามว่า ไม่ทราบจะรับห้องพักวิวไหน ดี ค ะ ระหว่ า งวิ ว ที่ ม องเห็ น องค์ พ ระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ กั บ วิ ว ท้ อ งนา ฮ่ า ๆๆ (ฟั ง แล้ ว
แปลกๆ มั๊ยคะ เพราะถ้าเป็นโรงแรมที่ตั้ง อยู่ในจังหวัดท่องเที่ยว พนักงานก็จะถาม ว่า จะพักห้องซีวิวหรือเปล่าคะ) แต่ถ้ามอง มุมบวก โรงแรมทวินโลตัสก็จะเป็นอีกหนึ่ง โรงแรมที่มีเสน่ห์ในจุดขายที่แตกต่างไปอีก แบบนะคะ .. ๑๘ ปี ที่ก้าวย่าง ด้วยการทุ่มเทใน การบริหารจัดการ ของกรรมการผู้จัดการ คนรุ่นใหม่ โดยคุณจักรพรรดิ์ ลีเลิศพันธ์ ทายาทหนุ ่ ม ดอกบั ว คู ่ ที่ ก ้ า วมาสานต่ อ ความฝันของบิดา จากกาลเวลาที่ผันผ่าน
ปัจจุบันถ้าจะเปรียบโรงแรมทวินโลตัสกับ ผู้หญิง ก็คงจะเปรียบเสมือนสาวแกร่ง ที่มี ทั้งความสวยสะพรั่ง และความแกร่ง จาก การเติบโต และการก้าวผ่านประสบการณ์ มาอย่างมากมาย ห้องรับแขกที่โอ่โถง กับ เสียงดนตรีไทยบรรเลงหวานๆ อย่างแผ่ว เบา ท�ำให้ผู้มาเยือนอดไม่ได้ที่จะหลงเสน่ห์ ของโรงแรมแบบง่ายๆ เช่นกัน อีกทั้งห้อง อาหาร และภัตตาคารจีน ที่คัดสรรอาหาร ไทย เทศ และจีน รสอร่อย (ถ้าศัพท์วัยรุ่น คงต้ อ งใช้ ว ่ า อร่ อ ยขั้ น เทพ) ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า ประจ�ำหลายๆ ท่าน ไม่อาจเปลี่ยนใจ รวม ไปถึงห้องออกก�ำลังกาย สระว่ายน�้ำ สปา และสถานบริการอย่างครบวงจรที่พร้อมจะ รองรับผู้มาเยือนได้อย่างลงตัว โรงแรมแห่ง นี้จึงยังคงเป็นห้องรับแขกประจ�ำจังหวัดได้ อย่างสมความภาคภูมิ .. นครศรี ดี๊ ดี ในวันนี้ บอกได้อย่าง ภาคภู มิ ใ จนะคะว่ า คุ ณ ภาพคั บ แก้ ว จริ ง ๆ ค่ะ ไม่ว่าจะเป็น ที่พัก สถานที่ท่องเที่ยว ทะเล ภู เ ขา ลุ ่ ม น�้ ำ และแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เชิงประวัติศาสตร์-วัฒนธรรม ดังค�ำกล่าวที่ ว่า เมืองคอนเมืองเดียวเที่ยวได้ตลอดปี ..บ้ า นเราดี จริ ง ๆ น๊ า มี เ วลาอย่ า ลื ม มา ลั่ลลลลลลลลล้า กันนะคะ..
ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นพ.บัญชา พงษ์พานิช
นครดอนพระ
นครศรีธรรมราช
<< ต่อจากหน้า ๒
หลบไปพ�ำนักอยู่ จนเมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินกู้แผ่นดิน ได้ แ ล้ ว ได้ อ าราธนานิ ม นต์ ก ลั บ พระนครสถาปนาเป็ น สมเด็ จ พระสั ง ฆราชสี เมื่ อ ปี ๒๓๑๒ สถิ ต ที่ วั ด ระฆั ง โฆสิ ต าราม โดยมี ห ลายหลั ก ฐานเช่ น กั น ว่ า นอกจากนั้ น สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงให้อัญเชิญพระไตรปิฎกหลักไป จากเมืองนครเช่นกัน เล่าต่อกันมาว่า น�ำไปจากวัดหอไตรที่ ร้างนานแล้ว จากทั้ ง หมดนี้ ไม่ ว ่ า จะเป็ น สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น สมเด็จพระสังฆราชสี ต�ำราพระพุทธศาสนาจากเมืองนคร ตลอดจนเจ้าพญาศรีธรรมธิราช ท�ำให้อาจสันนิษฐานไว้ก่อน ว่า สมุดภาพไตรภูมิเล่มนี้ มีส่วนแห่งเหตุและปัจจัยจาก เมืองนครไม่มากก็น้อย และเมื่อพลิกต่อๆ ไปในตอนท้าย ซึ่งมักท�ำเป็นภาพ แผนที่ ก ารจาริ ก แสวงบุ ญ สู ่ แ ดนนิ พ พาน ก็ ไ ด้ พ บมี เ มื อ ง นครปรากฎอยู่ด้วย เป็นเมืองชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ไล่จาก กุย ชุมภร สวี ปากน�้ำภูมเรียง ไชยา นคร สงขลา พัทลุง โดย หน้าเมืองนครมีชื่อชิคราม นอกทะเลออกไปมีเกาะบูรในย แล้วก็ มะลอกอฝารั่งน่าสนใจดี ที่ก้นอ่าวมีเมืองศรีอยุทธยา แต่ไม่มีกรุงธนบุรีศรีมหาสมุท ความจริงเท่านี้ก็มากพอต่อการได้พบเห็นเรียนรู้ รัก และภู มิ ใ จในเมื อ งนครที่ ใ นสมั ย ก่ อ นนั้ น เหมื อ นจะขาด “เมืองนครของเรา” ไม่ได้ แต่ยังต้องค้นคว้าต่อไปซึ่งอาจ จะพบอะไรที่ลึกและดีกว่านี้ก็ได้ ในอี ก ๒ เมื อ งที่ ช วนนึกถึงเมืองนครส�ำหรับ ผมนั้น
แผนที่การเดินทางจาริกแสวงบุญในอ่าวไทย สู่ลังกา
คือที่พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยาเมืองไฮเดลเบอร์ก ซึ่งตั้งอยู่ ที่พระต�ำหนักไวมาร์ที่รัชกาลที่ ๕ เคยเสด็จประทับนั้น เมื่อ ผอ.ทราบว่ามาจากเมืองไทย ก็เอาหลายสิ่งของออกมาให้ ช่วยดู พบสมุดไทยด�ำเล่มหนึ่ง เรื่องกฤษณาสอนน้องค�ำฉันท์ ฉบับหอสมุดพระวชิรญาณ พระนิพนธ์กรมสมเด็จพระปรมานุ ชิตชิโนรส ค�ำฉันท์นี้เท่าที่เคยอ่าน ถือว่าเป็นหนึ่งสุดยอดบท นิพนธ์แห่งชาติ และต้นฉบับกล่าวกันว่าหายนานแล้ว ที่เขา
หน้า ๑๙
นิ ย มอ้ า งอิ ง กั น ก็ ใ ช้ ฉ บั บ พิ ม พ์ อ นุ ส รณ์ ง าน ศพคุ ณ แม่ อิ่ ม ตั ญ ญพงศ์ ที่ วั ด จั น ทาราม เมืองนคร โดยลูกชาย คือขุนบวรรัตนารักษ์ คุณตาของผมเอง ส่วนที่เมืองไมนซ์ซึ่งเป็น เมืองใหญ่และมีประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมา เกือบ ๒ พันปี รุ่งเรืองมากสมัยโรมันนั้น มี โบสถ์กลางเมืองที่ใหญ่โตจนเขาเรียกกันว่า มหาวิหารขุนเขา (Mountain Cathedral) และกล่าวกันว่ามีพิพิธภัณฑ์เก็บรักษาแสดง สมบัติล�้ำค่านับกันว่าเป็นหนึ่งในความล�้ำค่า ชั้นน�ำของโลกตะวันตก ชวนให้ผมนึกถึงที่ วัดพระธาตุบ้านเรา จนต้องตีตั๋วเข้าไปขอดู พบว่าพิพิธภัณฑ์พระธาตุเมืองนครยิ่งใหญ่ กว่ามาก ทั้งจ�ำนวนข้าวของตลอดจนเรื่อง ราวความเป็ น มาที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยศรั ท ธาของ ผู้คนหลากหลาย ที่นี่เขามีเพียง ๓ กลุ่มของ และไม่มากด้วย คือ กลุ่มรูปพระเยซูและ คณะ, กลุ ่ ม หิ น สุ ส านศพ โดยในห้ อ งคลั ง สมบัตินั้น ล้วนแต่เครื่องประดับตกแต่งและ ประกอบพิธีในศาสนา เช่นหมวก มงกุฎ สร้อย จอก ต่างๆ ที่ พระท่านใช้ ที่ดูเป็นทองกับเพชรพลอย พออ่านก็พบว่าหลาย ชิ้นเป็นเพียงทองทา เอาเป็นว่าเท่านี้ เมืองนครเราแต่ก่อนเก่า บรรพชน ท่านท�ำอะไรไว้ยิ่งใหญ่นัก ยังแต่รุ่นเราเท่านั้นที่ว่าจะท�ำ อย่างไรกันต่อเพื่อส่งผ่านสู่คนรุ่นหน้า
หน้า ๒๐
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583