หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช

Page 1

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม ๒๕๕๕

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ดีเจ.สาวชวนเพื่อนๆ สืบทอดประเพณีที่ ถูกลืม ‘ขันหมากปฐม’ จับคู่แต่งงาน ใน งานทอดกฐินวัดคงคาเลียบ

เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ พฤศิ จ กายน ๒๕๕๕ โสปรินญา ไชยพลบาล ดีเจ.ชื่อดังสถานีแสงจันทร์เรดิโอ ชักชวนเพื่อนนักจัดรายการวิทยุ

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๗

ในนาม ‘ชมรมผ้าถุงเมืองนคร’ อาท-อรอุมา เรียบร้อย, ฐนปณัฐศ์ ไรวา, สุ ภ าวดี ทองแก้ ว , เพื่ อ นๆ สื่ อ มวลชน และ พุ ท ธศาสนิ ก ชนพร้ อ มใจ กั น สื บ ทอดประเพณี ขั น หมากปฐม หรื อ ยกขั น หมากพระปฐม ซึ่ ง เป็ น ประเพณีโบราณที่ก�ำลังจะ สูญหายไป โดยอาศัยงาน ทอดกฐิ น วั ด คงคาเลี ย บ โสปรินญา ไชยพลบาล

(อ่านต่อหน้า ๘)

รองผู้ว่าฯ ทรงพล ประชุมแจ้งเรื่อง ‘สุดยอดหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ไทย’ สู่การพัฒนาคุณภาพ

เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ นาย ทรงพล สวาสดิ์ธรรม รองผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นประธานประชุมแจกแจง แนวทางคั ด สรร ‘สุ ด ยอดหนึ่ ง ต� ำ บล หนึ่ ง ผลิตภัณฑ์ไทย’ แก่คณะกรรมการและคณะ ท� ำ งานสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานให้ สามารถ พิ จ ารณาตรวจสอบกลั่ น กรองผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อย่างเหมาะสม (อ่านต่อหน้า ๙)


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

บัญชา พงษ์พานิช plearnstan@gmail.com สวนสร้างสรรค์ นาคร - บวรรัตน์ และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

ฉ มานี้

ณะผู ้ บ ริ ห ารเทศบาลนครนครศรี ธ รรมราช สมัย ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายก เทศมนตรี นับว่าเป็นคณะบุคคลโชคดี โชคดีหลังหลุด พ้นจากข้อกล่าวหาทุจริตเลือกตั้ง ตัวนายกเทศมนตรี สามารถกลับมาบริหารเทศบาล หลังแต่งตั้งรองนายก เทศมนตรีมาเซ็นหนังสือราชการแทนอยู่หลายเดือน โชคดีที่รอดพ้นจากภาวะภัยแล้งเพราะเทวดาส่งฝนมา ช่วยก่อนประชาชนจะขาดน�้ำอุปโภคบริโภค แต่กระนั้น ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลร่วม ๑๐๐,๐๐๐ คน ได้ เ ห็ น ความสามารถในการจั ด การบริ ห ารน�้ ำ ผ่ า นท่ อ น�้ ำ ที่ ต ่ อ ไปถึ ง ห้ อ งน�้ ำ ห้ อ งครั ว ที่ บ างวั น ขาดๆ หายๆ บางวันน�้ำที่ไปพร้อมกับดินทรายเป็นหลักฐานฟ้องร้อง อย่างดี ในหมู่บ้านขนาดใหญ่มูลค่าบ้านต่อหลัง ๓-๔ ล้านบาท เจ้าของใช้ปั๊มดูดน�้ำจากท่อ สร้างความขัด แย้งขัดใจเพื่อนบ้านบ้างแสดงออกด้วยค�ำพูด และบ้าง แสดงออกด้วยกริยาไม่พึงพอใจ ทั้งๆ เมื่อก่อนเคยยิ้ม ทักทายต่อกัน โชคดีที่ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล หน้าฝนในนครศรีธรรมราชจะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ป ลายเดื อ นตุ ล าคมถึ ง ปลาย ธันวาคม คูคลองสายต่างๆ ที่ขุดลอกผักตบชวาและขยะ ไม่แล้วเสร็จจึงไม่ได้พิสูจน์ว่าสามารถระบายน�้ำได้ดีหรือ ไม่ และโชคดีที่วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ฝนเริ่มตกลงมาให้ พอจัดงานประเพณีลอยกระทง เช้ า วั น ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ลู ก เสื อ ประกอบพิ ธี ร าช สดุ ดี เ นื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สวรรคตพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานก�ำเนิดลูกเสือ ไทย ณ บริเวณพระบรมรูปรัชกาลที่ ๕ ท่ามกลางสายฝน สนามหน้าเมืองที่เทศบาลอนุญาตให้กิจกรรมขายสินค้า และออกร้านมานานหลายเดือน กลายเป็นโคลนเลน และแหล่งฟักตัวของแมลงวัน แทนสวนอันร่มรื่นที่จะเป็น ปอดของเมือง เสียงของประชาชนที่แสดงความคิดด้วย เจตนาบริสุทธิ์ถูกมองเป็น ‘ฝ่ายตรงกัน’ ไม่ควรให้ความ ส�ำคัญ โปรดอย่าลืมว่าท่านก้าวขึ้นมาบริหารเทศบาลด้วย เสียงเล็กเสียงน้อยที่เดินไปกราบไหว้ร้องขอทั้งสิ้น

บับส่งท้ายปี ๒๕๕๕ นี้ ผมขอคิดถึง “ท่านอังคาร คน นคร” ที่เพิ่งละโลกไปเมื่อปลายเดือนสิงหาคมที่ผ่าน

คนส่วนมากจะชอบนึกถึงท่านอังคารจากบทกวี “วัก ทะเลเทใส่จาน” ที่สะท้อนหลายสิ่งอย่างจนกระทั่งถึงกิเลส ของมนุษย์ หรือบท “เสียเจ้าราวร้าวมณีรุ้ง” ที่สะท้อนการ สูญเสียคนรักอย่างเต็มไปด้วยอารมณ์อันสุนทรีย์ หรือบท เยินยอเมืองนครอันเป็นแดนเกิดในนิราศนครศรีธรรมราช หรือ บางกอกแก้วก�ำสรวลของท่านที่พรรณนาน�ำว่า ภาพวาดโดยอังคาร กัลยาณพงศ

กรุงศรีธรรมราชรุ้ง เรืองรุ่งวิเศษพุทธศาสน์ บริบูรณ์ซึ่งธรรมชาติ เมืองเก่าเกียรติเลอหล้า ปูนรัตน์นิวาศน์แก้ว น�้ำแจ่มวิสุทธิ์สะอาด หมากไม้หมู่พฤกษชาติ มั่งคั่งเมืองเฟื่องฟุ้ง

บรมธาตุ ไหว้เทอญ ปราชญ์ฟ้า ชุบชื่น ใจนา ค่าล�้ำมไหศวรรย์ ฯ อากาศ วิเศษแฮ อร่ามรุ้ง ธาตุแร่ นานา รุ่งเร้ารัศมี ฯ

แต่ผม ในฐานะคนย่านวัดจันท์ที่ท่าวัง เมืองนครด้วย กัน นึกถึงท่านอังคารในหลากหลายมิติเหลือเกิน โดยในที่นี้ ขอยกเท่าที่เคยสัมผัสมาเพียง ๓ ประการ คือ หนึ่ง เป็นเอกศิลปิน ศรี “ปราชญ์และกวีแก้ว” แห่งยุค สมัยที่ประกาศกล้าว่าเป็นกวีมาแต่ชาติปางก่อน สอง เป็น คนนครคนแรกที่ได้รับการขนานชื่อว่าคือ “คนดีศรีธรรมราช” และ สาม เป็นกัลยาณมิตรอาวุโสเสมือนญาติสนิท ผู้มีไมตรีจิตยิ่งคนหนึ่ง ความเป็น เอกศิลปิน ศรี “ปราชญ์กวีแก้ว” แห่ง ยุคสมัย นั้นส�ำหรับผมแล้ว อยู่ที่ความใฝ่รู้ ช่างจดจ�ำ น�ำ มาใช้เสมอ หากผู้ใดได้สนทนา หรือ ไปเยือนถึงบ้าน จะได้ สัมผัสในเรื่องนี้ในตัวของท่านอย่างไม่มีประมาณ ไม่เฉพาะ เพียงงานกวีนิพนธ์นานา และแทบทุกสรรพวิทยาการที่ ท่านใฝ่ติดตามศึกษาค้นคว้า เก็บไว้ในคลัง โดยเฉพาะความ จดจ�ำที่สามารถพรั่งพรูสาธยายอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มี ครั้งหนึ่งซึ่งผมน�ำหนังสือกาลานุกรม : พระพุทธศาสนาใน อารยธรรมโลก ของเจ้าประคุณพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ไปฝากที่บ้าน ท่านรีบเปิดไล่ดูเรียงหน้า แล้วเปรย อย่างสะเทือนใจว่า “ช่างค้นคว้าเรียบเรียงและพิมพ์ออกมา ได้เห็นแม้หน้าตาของไซรัส”

เป็ น คนนครคนแรกที่ ไ ด้ รั บ การเชิ ด ชู ว ่ า “ดี ศ รี ธรรมราช” เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ คือ ๒๒ ปีก่อน ขณะที่พวก เราปรารภถึงการเชิดชูคนดีศรีของเมืองนครศรีธรรมราช และมีการเสนอชื่อบุคคลต่าง ๆ มากมายนั้น พลันที่มีการ ยกชื่อท่านอังคารขึ้นมา ก็เป็นมติโดยเอกฉันท์ของที่ประชุม จนออกมาเป็นงานเฉลิมฉลองใหญ่ของเมือง ถึงกับก่อเป็น ขบวนแห่ ใ หญ่ “รั บ อั ง คารกลั บ บ้ า นเกิ ด ” ไปรอบเมื อ ง ด้วยรถเทรลเลอร์คันยาวขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พร้อมกับงาน “กินหฺมฺรับดับที่เคล้ากวี วักทะเลเทใส่จาน รั บ ประทานกั บ ข้ า วขาว” ครั้ ง ส� ำ คั ญ ที่ วั ด พระบรมธาตุ วรมหาวิหาร อย่างที่ไม่เคยท�ำมาก่อนและไม่มีใครท�ำได้อีก เป็น กัลยาณมิตรเสมือนญาติสนิทผู้มีไมตรีจิตยิ่ง นอกจากจะเป็นผู้ที่รักและผูกพันในเมืองนครอย่างยิ่งแล้ว การที่ท่านเป็นชาวท่าวังที่วัดจันทเช่นเดียวกับผม ไม่เพียง คุณพ่อ-แม่และพี่น้องของท่าน กับ บรรพบุรุษของฝ่ายผม จะสนิทสนมคุ้นเคยกันเสมือนญาติแล้ว ท่านยังเต็มไปด้วย เมตตาและไมตรีจิตเป็นกรณีพิเศษกับผม กล่าวคือไปนคร ครั้งใด เราจะได้ร่วมเดินทางไปที่นี่ที่นั่นกันเสมอ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการมุ่งมั่นดั้นด้นไปยังศิลาจารึกหุบเขาช่องคอย ที่ จารึกถึงเรื่องราวของคนดีศรีธรรมราชไว้เมื่อ ๑๕๐๐ ปีที่ แล้วว่า “ถ้าคนดีอยู่ในหมู่ของชนเหล่าใด ความสุขและผล จะปรากฏแก่ ชนเหล่านั้น” และไม่ ว่าครั้งใดที่ผมแวะไป เยี่ยมที่บ้านในกรุงเทพ ก็จะมีเรื่องราวเล่าบอกพร้อมสนทนา หารือไม่รู้จบ ครั้งใดที่ผมและเพื่อนจัดงานส�ำคัญ ท่านก็ เมตตามาอ่านบทกวีให้ ดังเช่นครั้งงานร�ำลึก อุทกธรณีภัย ๒๕๓๑ ที่เมืองนคร, งานขอบคุณผู้มีอุปการคุณในการฟื้นฟู ชีวิตชุมชนชาวประมงพื้นบ้านผู้ประสบคลื่นยักษ์สึนามิที่ ชายฝั่งทะเลอันดามัน และเสวนาที่สวนโมกขพลาราม ไชยา สุราษฎร์ธานี >> อ่านต่อหน้า ๑๐


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

โรงเรียนมุสลิมสันติธรรมมูลนิธิ

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

รื่องดีดีฉบับนี้เป็นเรื่องส่วนตัว เป็นประสบการณ์ส่วน ตัวล้วนๆ ผมได้รับการชักชวนจาก ลัดดา ประสาร อาจารย์ และฝ่ายประชาสัมพันธ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (SCT) ศิษย์เก่าวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ไป ถ่ายทอดประสบการณ์กับนักเรียนมัธยม ม. ๕ - ๖ หัวข้อ ‘การเขี ย นเชิ ง สร้ า งสรรค์ กั บ การพั ฒ นาความสามารถ ด้านการสื่อสารของเยาวชน’ กับนักเรียน ๘ โรงเรียนใน นครศรีธรรมราช และตรัง โครงการนี้ ดร.สรรค์นันธ์ ตันติอุโฆษกุล อัครวงศ์ รองอธิการบดีเป็นที่ปรึกษา วิทยาลัยมองเห็นว่าภาษา เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทุกคนมีติดตัวไว้ถ่ายทอดเรื่องราว ความคิด ความเชื่อ ความปรารถนา ฯลฯ ให้ผู้อื่นรับทราบ แต่ปัจจุบันเยาวชนจ�ำนวนมากไม่สามารถถ่ายทอดความ คิด ความเชื่อและความปรารถนาของตัวให้ปรากฏ ไม่ว่า พูดหรือเขียน บางครั้งการสื่อสารที่ผิดพลาด ทั้งถ้อยค�ำ และท่าทีสร้างความเข้าใจผิด หรือความขัดแย้งจนน�ำไป สู่ความร้าวฉาน บางรายอาจประทุษร้ายต่อกัน คนทุกคน ต้องสื่อสารกับผู้อื่นตั้งแต่เกิดจนโต ถ้าขาดความสามารถ ในการสื่อสาร ชีวิตจะยุ่งยากจนถึงไม่เติบโตในหน้าที่การ งาน เนื้อแท้คือเป็นโครงการประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ชั้น ม. ๖ รู้จักวิทยาลัย และทางเลือกที่เหมาะสมส�ำหรับ การตัดสินใจเรียนต่อระดับอุดมศึกษา ซึ่งแข่งขันกันอย่าง เข้ ม ข้ น ในโรงเรี ย นมั ธ ยมของรั ฐ หลายแห่ ง อนุ ญ าตให้ มหาวิทยาลัยเอกชนจากกรุงเทพฯ มาเปิดเคาน์เตอร์รับ สมัครในโรงเรียนด้วยซ�้ำไป อย่างที่บอก-- ว่าเป็นเรื่องส่วนตัว แต่การไปพูดกับ เด็กๆ ตามโรงเรียนต่างๆ ท�ำให้เห็นสภาพโรงเรียน น�้ำอก น�้ำใจของครูอาจารย์ ความเกื้อกูล ความร่วมมือใส่ใจ ที่ ส�ำคัญมาก คือ ได้รู้จัก ได้พูดคุยกับเด็กๆ ผมพูดคุยมาแล้ว ๓ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง นักเรียนเข้าฟังกว่า ๕๐๐ คน โรงเรียนมุสลิมสันติธรรม มูลนิธิ ๒๕๐ คน โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม ๓๐๐ คน หลัง จากนี้จะเป็นโรงเรียนร่อนพิบูลย์เกียรติสุนธราภิวัฒน์, โรงเรียนประทีปศาสน์, โรงเรียนก้างปลา, โรงเรียนทุ่งสง พานิชยการ และโรงเรียนรัฎษา จังหวัดตรัง การไปพู ด คุ ย ทางวิ ท ยาลั ย ติ ด ต่ อ ประสานกั บ ผู ้ บริหารโรงเรียน เพื่อขออนุญาต และมีอาจารย์รับผิดชอบ คอยประสานงานกับอาจารย์ผู้ควบคุมดูแลห้องประชุม เครื่องเสียงและเครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ ซึ่งอาจารย์ผู้รับ ผิดชอบให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี เด็กๆ นักเรียนทุ่งสงใช้เวลา ๑๐ นาที เขียนงาน

โรงเรียนทุ่งสง

สหกรณ์โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม

นักเรียนโรงเรียนทุ่งสง ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม

ส่งให้อ่านร่วม ๕๐๐ ชิ้น ภายในเวลา ๑๐ นาที เช่นเดียว กับโรงเรียนมุสลิมสันติธรรมมูลนิธิที่ส่งมา ๑๐๐ กว่าชิ้น โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคมเกือบ ๓๐๐ ชิ้น โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคมค่อนข้างพิเศษกว่าที่อื่นๆ ใน หัวของผมมองว่าเป็นโรงเรียนต่างอ�ำเภอ เด็กๆ คงทะโมน มอบแมมเกะกะไปตามประสา พอเข้าไปถึงสิ่งที่เห็นกลับ ตรงกันข้าม โรงเรียนกว้างใหญ่ อาคารสถานที่สีสันสดใส ภูมิทัศน์สะอาดสวยงาม เด็กๆ ร่าเริง และมีสัมมาคารวะ อาจารย์ผู้ประสานงานเล่าให้ฟังว่า ผอ.วัชรา พรหมศร พู ด กั บ นั ก เรี ย นหน้ า เสาธงว่ า -- ถ้ า เป็ น ไปได้ อ ยาก ให้ นั ก เรี ย น ม.๔ - ๕ ทุ ก คนเข้ า ฟั ง เผื่ อ ได้ รั บ ประโยชน์ นอกจากรับรู้และอนุญาต ผอ.วัชรายังชักชวนให้อีกด้วย อาจารย์สตรีผู้ประสานงานบอกเล่าด้วยความยินดี เมื่อผมสอบถามเรื่องสหกรณ์โรงเรียนที่เด็กเข้าออกตลอด เวลา ท่านเล่าว่าวันนี้ (๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕) ผู้อ�ำนวยการเพิ่งซื้อรถตู้โตโยต้าใหม่เอี่ยมราคา ๑.๔ ล้านบาท โดย เงินผลก�ำไรจากสหกรณ์ล้วนๆ ถามท่านว่า ผลก�ำไรกี่ปี ค�ำตอบคือ ๒ เทอม เด็กๆ ที่นี่กินเก่ง ผมเข้าไปคุยกับอาจารย์ซึ่งเป็นผู้จัดการและ อาจารย์ลงมาเปลี่ยนช่วงถึงเวรขายของ ได้ความรู้ละเอียด ลงไปอีกว่าเด็กๆ กินเก่งเพราะส่วนใหญ่เป็นลูกชาวสวน ยางพารากั บ สวนปาล์ ม ที่ พ ร้ อ มใจกั น อุ ด หนุ น สหกรณ์ โรงเรียนเพราะรู้ว่าโรงเรียนน�ำผลก�ำไรไปใช้ประโยชน์กับ โรงเรียนและนักเรียนจริงๆ อีกอย่าง ตลาดอยู่ไกล ตื่นเช้า มาโรงเรียนไม่ได้แวะตลาด เครื่องเขียนกับกระดาษรายงาน ก็ซื้อกันที่โรงเรียนเป็นส่วนใหญ่ นมเต้ า หู ้ เ ป็ น ของกิ น ถ้ ว ยโปรดของเด็ ก ๆ ตั ว แทน จ�ำหน่ายเปิดเผยกับอาจารย์ว่าในละแวกทุ่งใหญ่ โรงเรียน

ทุ่งใหญ่วิทยาคมยอดส่งมากที่สุด เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ ฟาร์มเฮ้าส์ที่รถจากบริษัทมาส่งลูกค้า ๑,๔๐๐ คน ทุก สัปดาห์ แต่นักเรียนคงไม่มีก�ำลังซื้อที่แข็งแกร่งทุกคน อาคารสนามบาสเกตบอลเพียงพอกับผู้ฟัง ๔๐๐ ๕๐๐ คน เป็นอาคารหลังคาสูง มีผนังก็จริง แต่ประตูเปิด โล่งกว้างทั้งด้านหลังด้านข้างเป็นช่องลมอย่างดี นักเรียน ที่นั่งแถวหน้าอาจฟังชัด แต่ข้างหลังไม่ได้ยิน นักเรียนจะ หมดสมาธิและเริ่มพูดคุยกันเอง อาจารย์ ผู ้ ป ระสานงานบอกว่ า ยั ง มี ห ้ อ งประชุ ม จามจุรีที่รองรับผู้ฟังราวๆ ๓๐๐ - ๓๕๐ คน ถ้าให้นั่งกับ เพื่อน อาจารย์ลัดดากับน้องๆ จากเอสซีทีเห็นดีเห็นงาม ด้วย จึงเคลื่อนย้ายเข้าไปในห้องประชุมที่สวยงาม เครื่อง เสียงดี และอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีใจกรุณาน�ำเครื่องฉาย โปรเจ็คเตอร์มาติดตั้งเชื่อมต่อทันเวลาพอดี เด็กๆ ทยอย เข้าฟังจนเต็มห้อง ทุกคนตั้งใจฟังและเขียนงาน การบรรยายใช้วีดิโอสั้นๆ ประกอบ เรียกร้อยยิ้ม เสี ย งหั ว เราะและอารมณ์ ตื้ น ตั น ผมไม่ ไ ด้ พู ด อะไรมาก นอกจากอธิบายน�ำและเพิ่มเติมเพียงเล็กน้อย “ถ้าเธอมี ความคิดสร้างสรรค์ แต่ไม่สามารถสื่อให้คนอื่นเข้าใจได้ก็ น่าเสียดาย” ผมให้นักเรียนเขียนความคิดคนละ ๒-๓ บรรทัด แล้วยื่นให้เพื่อนๆ อ่าน แล้วช่วยกัน Like เอาอย่าง Face book ใครถูก Like มาก หรือน้อย ผมจะอ่านแล้วมอบ นวนิยาย ‘สิทธาเศรษฐี’ กับเสื้อของวิทยาลัยเป็นรางวัล ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นที่ แ สดงความคิ ด เห็ น หรื อ ตอบ ค�ำถามระหว่างบรรยาย ผมให้เลือกระหว่างเสื้อกับหนังสือ ทุกคนบอกอยากได้หนังสือ ซึ่งน่าคิดและน่าดีใจ พู ด จบเดิ น ออกมาจากห้ อ งประชุ ม นั ก เรี ย นหญิ ง ๔ - ๕ คน ยืนกระมิดกระเมี้ยนอยู่ใกล้ๆ คนหนึ่งตัดสินใจ ถาม “หนูขอลายเซ็นได้มั้ยคะ ?” ตอบไปว่า “ด้วยความ ยินดี” แจกลายเซ็นกับข้อความดีๆ ให้ไป ๓ คน คนหนึ่ง ถามว่า “หนูขอถ่ายรูปกับคุณลุงได้มั้ยคะ ?” เดี๋ยวนี้ ถ้าไม่ถ่ายรูปกันบ้าง ชีวิตเหมือนขาดอะไร ไปสักอย่าง เด็กๆ ทุกคนมีมือถือทันสมัยกว่านายแบบชนิด เทียบกันไม่ได้เลย


หน้า ๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ครศรี ธ รรมราช เป็ น เมื อ ง เก่าแก่ มีอายุสืบเนื่องต่อกัน ยาวนานนับพันปี ไม่ได้มีการละ ถิ่นฐานบ้านเมืองจนไร้ผู้คนอาศัย ด้วยมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้คน คือ พระบรมธาตุ เจดีย์ อีกทั้งท�ำเลที่ตั้งก็เป็นชัยภูมิที่มั่นคง กล่าวคือ ด้านหน้าจะเป็นทะเลมหาสมุทร ด้านหลังโอบล้อมด้วย เทือกเขาหลวง เป็นก�ำแพงเมืองขนาดมหึมา ยากที่จะมี กองทัพใดเอาชนะได้ง่ายๆ การที่มีบ้านเมืองอายุสืบเนื่องต่อกันอย่างยาวนาน มีพุทธสถานตั้งอยู่อย่างมั่นคง เป็นเมืองที่เหล่าชาวพุทธ ทั่ ว ทั้ ง แผ่ น ดิ น ต่ า งมุ ่ ง มาเพื่ อ แสวงบุ ญ ยั ง พุ ท ธภู มิ แห่งนี้ วิถีชีวิตของผู้คนในเมืองนี้จึงมีการเกี่ยวพันฝักใฝ่ อยูแ่ ต่ในทางธรรม จารีตประเพณีตา่ งๆ ทีม่ กี นั แทบตลอด ปี ล้วนแล้วแต่เกิดจากวัฒนธรรมวิธีพุทธของชาวเมือง ดังจะเรียบเรียงประเพณีของชาวนครเมื่อร้อยปีก่อน เท่าที่พอจะสืบค้นได้ เดือนอ้าย แรม ๑ ค�่ำ เป็นพิธี แห่นางดาน พิธี ของพราหมณ์เมืองนคร ค�ำเรียกเป็นทางการคือ พิธี ตรียัมปวาย และ ย�ำปวาย เดือนยี่ ประเพณีให้ทานไฟ ซึ่งอยู่ในช่วงเดือน ธันวาคมต้นเดือนมกราคม อันเป็นช่วงที่มีอากาศหนาว ชาวบ้านก็จะนิยมขนฟืนเข้าวัดก่อกองไฟในเวลาย�่ำรุ่ง ท�ำขนมร้อนๆ ถวายความอบอุ่นด้วยกองไฟ และอาหาร ร้อนๆ แด่พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ในวัดของตน เดือน ๓ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ อันนี้เป็นงานของชาวบ้าน ที่ส�ำคัญยิ่ง คือ มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ เป็นประเพณีที่ สืบต่อกันมาหลายร้อยปี แห่ผ้าพระบฏผืนยาวขึ้นห่ม องค์พระบรมธาตุ ทั้งมีการชุมนุมร่วมกันในวันขึ้น ๑๓ ค�่ำ ให้สาวพรหมจารีมากวนข้าวมธุปายาส แจกจ่ายกันกิน เพื่อเป็นอาหารทิพย์อาหารมงคล เดือน ๔ แรม ๑๑ ค�่ำ อันนี้เป็นงานของทางบ้าน เมืองถูกยกเลิกไปแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ คือ พิธี อาฏ นา โดยการเชิญน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของเมืองจากห้วยน�้ำปาก นาคราช มาประกอบพิธีกันที่พระบรมธาตุ เพื่อให้หมู่ ข้าราชการเข้าพิธี ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา อันเข้มขลัง เดื อ น ๕ ประเพณี บุ ญ เดื อ น ๕ เป็ น งานของ ชาวบ้านชาวเมือง เชื่อกันว่าเป็นวันผลัดเปลี่ยนเทวดา

nagara@nakhonforum.com

ผู้รักษาชะตาเมือง ปัจจุบันก�ำหนดเวลาเอาวันที่ ๑๓ เมษายน เป็นวันส่งเจ้าเมืองเก่า วันที่ ๑๔ เมษายน เป็น วันว่างเทวดา ไปวัดท�ำบุญ สรงน�้ำพระ อาบน�้ำผู้เฒ่า ผู้แก่ วันที่ ๑๕ เป็นวันรับเจ้าเมืองใหม่ ผู้คนจะจัดงาน รื่นเริงพบปะญาติมิตรเลี้ยงสังสรรค์ เปลี่ยนผ้าใหม่ให้คน เฒ่าคนแก่ เดือน ๖ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ วันวิสาขบูชา วันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ชาวบ้านชาวเมือง จะจัดตกแต่งบ้านเรือนด้วย เปรียงและโคมไฟ ในยาม ค�่ำคืนอย่างสว่างไสว เวลาบ่ายก็จะเดินแห่ผ้ามาห่มองค์ พระธาตุ ทุกวัดก็จะมีการเวียนเทียน บ้านเรือนจะถูก ประดับด้วยโคมเปรียงสวยงาม เดือน ๗ แรม ๗ ค�่ำ เป็นกิจกรรมของชาวบ้าน ร่วมกับวัด ปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว คือ อัฏฐมีบูชา เป็น วัน “ถวายพระเพลิงพุทธสรีระ” ไม่มีงานรื่นเริงใดๆ มี เฉพาะแต่งานบุญ ฟังเทศน์ ฟังธรรม เพื่อระลึกถึงองค์ สัมมาสัมพุทธเจ้า เดือน ๘ แรม ๑ ค�่ำ วันอาสาฬหบูชา หรือวันเข้า พรรษา ถึงฤดูจ�ำพรรษาของพระ ซึ่งเราได้บวชเรียนลูก หลานกันแล้ว เมื่อวันก่อนเข้าพรรษา นับเป็นธรรมเนียม ประเพณีที่ยังสืบต่อกันมาอย่างยาวนาน เดือน ๙ มีธรรมเนียมประเพณีเล็กๆ ของชาวพุทธ ในนคร คือ พิธีคั่วตอกใส่วัด อันรับเอาธรรมเนียมจาก พราหมณ์ เมื่อกิจกรรมของพราหมณ์ลดลง ผู้คนที่นับถือ ศาสนาพราหมณ์ หันมานับถือพุทธ ก็เอากิจกรรมนี้ติด มาด้วย เดื อ น ๑๐ แรม ๑๕ ค�่ ำ ประเพณี บุ ญ สารท เดือนสิบ เป็นงานประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของชาวนครที่สืบ วัฒ นธรรมนี้ม าแต่โ บราณ อัน เป็น การแสดงถึงความ กตัญญูต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว รวมทั้งผู้ที่ล่วงลับ ไปแล้วที่ตกนรกเป็นเปรตไร้ญาติ ผู้คนต่างก็ท�ำบุญอุทิศ ส่ว นกุศลไปให้ มีการยกหมฺรับ แห่แหนกันไปท� ำ บุญ อย่างเนืองแน่นทุกวัดทั้งเมือง >> อ่านต่อหน้า ๘

หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือน ธั น วาคม ๒๕๕๕ เนื่ อ งในวาระครบรอบ ๖๐ ปี ความสัมพันธ์ไทย - อินโดนีเซีย H.E. MR. Lutfi Ruaf เอกอัครราชทูตอินโดนีเซียประจ�ำประเทศไทยพร้อมคณะ เดินทางมาหารือกับ ผู้ว่าฯวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เพื่อใช้ในการ เชื่อมความสัมพันธ์ทางการทูต และกระชับความสัมพันธ์ ทางด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ทั้งยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และพลังงาน ซึ่งรัฐบาล ๒ ประเทศรัฐบาลจะประชุมหารือ กั น กลางเดื อ นธั น วาคม มี ตั ว เลขที่ น ่ า สนใจ และไม่ ค วร มองข้าม ปี ๒๕๕๔ นักท่องเที่ยวอินโดนีเซีย ๑.๕ แสน คน เดินทางมาเที่ยวประเทศไทย ปี ๒๕๕๕ น่าจะสูงกว่า ๔ แสนคน ในงานประชุ ม หอการค้ า ไทยที่ เ มื อ ง ทองธานี วั น ที่ ๑๘ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๕ ผู ้ ว ่ า ฯ วิ โ รจน์ จิวะรังสรรค์ เข้ารับรางวัล ‘ส�ำเภาทอง’ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ ฯพณฯ จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รมว.กระทรวงมหาดไทยพร้อม ผู้ว่าฯอีก ๘ จังหวัด ในฐานะให้ความร่วมมือและสนับสนุน การท� ำ งานระหว่ า งองค์ ก รภาครั ฐ และภาคเอกชนดี เ ด่ น

รองผู้ว่าฯ สุทธิพงษ์ เทิดรัตนพงศ์ เร่งประชุมคณะ อนุ ก รรมการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภคและคณะท� ำ งานที่ จั ง หวั ด แต่งตั้ง เพื่อซักซ้อมความเข้าใจ ในการออกปฏิบัติงานตาม โครงการติ ด ตามและตรวจสอบการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ สินค้าที่ควบคุมฉลาก โฆษณา สัญญา ธุรกิจขายตรง และ ตลาดแบบตรง เพื่อป้องกันการโกหกหลอกลวงผู้บริโภค รองผู้ว่าฯ ทรงพล สวาสดิ์ธรรม เร่งผลักดันกลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด เงาะ ส้มโอลุ่มน�้ำปากพนัง (ทับทิม สยาม) ให้ พั ฒ นาคุ ณ ภาพเพื่ อ ติ ด ตรารั บ ประกั น คุ ณ ภาพ ‘นครศรีดี๊ดี’


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ทวินโลตัส ผู้บริหารและพนักงานโรงแรมทวินโลตัส ร่วมท�ำบุญ คอนเสิ ร ์ ต ‘เฉลิ ม พระเกี ย รติ ๘๐ พรรษามหาราชิ นี ’ ณ ทอดกฐิ น สามั ค คี สร้ า งอุ โ บสถ ณ วั ด มั ช ฌิ ม เขตชลาราม ม.วลัยลักษณ์ เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๕ (วั ด ลาว) ต.ชะเมา อ.ปากพนั ง จ.นครศรี ฯ ‘ดร.สุ นั น ทา’ จัดเลี้ยงอาหาร และมอบของขวัญตราดอกบัวคู่แก่ผู้ไปร่วม บุญอีกด้วย

ดร.กี ร ์ รั ต น์ สงวนไทร อธิ ก ารบดี ม.วลั ย ลั ก ษณ์ กั บ Dr.Jekuk Chang อธิ ก ารบดี Deongseo University ลงนามความร่วมมือพัฒนาวิชาการทั้ง ๒ สถาบัน โดย มี รศ.ดร.พู ล พงศ์ บุ ญ พราหมณ์ คณบดี วิ ช าสารสนเทศ ศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์ และคณะผู้บริหาร Deongseo University เป็นสักขีพยานระหว่างการประชุม ๑๑ th. Asian University Presidents Forum ที่เมืองปูซาน เกาหลีใต้

รองรับพระบรมธาตุฯเป็นมรดกโลก...คธา รุ่งโรจน์รัตกุล รองนายกเทศมนตรี รับผิดชอบกองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม พร้อม พรพิณ วัชรากร รองปลัดเทศบาล และ สมพร กาญจนโสภาค ผอ.กองสาธารณสุขฯ ร่วมประชุมท�ำ ความเข้าใจผู้ประกอบการหน้าวัดพระมหาธาตุวรฯ จะไปด้วยดี หรือไปไม่ดีต้องรอ ว่ากันตามเนื้อผ้า...ชาวบ้านบางงัน ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ลงคะแนนเลื อก ทีม ผศ.เชาววั ศ น์ เสนพงศ์ เข้ า บริ ห ารเทศบาล จึ ง เฉื อ นผลั ก ไสให้ ไ ปขึ้ น กั บ เทศบาล ต� ำ บลท่ า ซั ก ในอนาคต จะอธิ บ ายอย่ า งไรชาวบ้ า นก็ ไ ม่ เ ชื่ อ ส่วนเรื่องการใช้สนามหน้าเมืองจัดงานต่างๆ จามร เจริ ญ อภิ บ าล ที่ ป รึ ก ษานายกเทศมนตรี เ ปิ ด เผยว่ า ปี ใ หม่ ๒๕๕๖ เทศบาลจะยุ ติ กิ จ กรรมและเริ่ ม บู ร ณะให้ ส วยงาม ดร.สุนันทา ลีเลิศพันธ์ ประธานกลุ่มบริษัทดอกบัวคู่ จ� ำ กั ด จั ก รพรรดิ์ ลี เ ลิ ศ พั น ธ์ กรรมการผู ้ จั ด การโรงแรม

ผอ.สุ พ จน์ อภิ ศั ก ดิ์ ม นตรี แสดงความยิ น ดี แ ก่ นางสาวเสาวภาคย์ รั ต นพงศ์ - น้ อ งกู ้ นั ก เรี ย นชั้ น ม.๕ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช ผู้ชนะเลิศการประกวดการพูด วั น ที่ ๑๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๕ ลู ก ๆ หลานๆ สุนทรพจน์ ของ ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต บรรดาลูกศิษ ย์และญาติมิตรร่วมจัดงานฉลองอายุ ๙๐ ปี แห่งชาติ (ปปช) ประจ�ำปี ๒๕๕๕ ในหัวข้อ ‘พรสามประการ ให้ อาจารย์กิจ รักกมล ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี ผู้แสดง สานความโปร่งใส’ เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕ มุทิตาจิตร่วมอวยพรและรับพรกันทั่วหน้า มูลนิธิประชาร่วมใจเขียนชื่อผู้ร่วมบริจาคสมทบทุน สร้ า งรั้ ว และก� ำ แพงดิ น ต� ำ หนั ก พระมหาโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมและอาคารศู น ย์ บ รรเทาสาธารณภั ย ถ. เฉลิ ม พระเกี ย รติ ต.ปากนคร อ.เมื อ ง จ.นครศรี ฯ รายละ ๒๐,๐๐๐ บาท ดังนี้ ก๊ก-ผ่องศรี ด่านสุวรรณ, นิทัศน์ นราสวั ส ดิ์ และครอบครั ว , ยุ ้ ย ล้ ง นคร, ครอบครั ว มิ ต รกรณ์ , กัญญาณี ศรีคงแก้ว, ไชยวัฒน์ สัตยพานิช, ศันสนีย์ จารุชัย และครอบครัว, นพ.วีรยุทธ ไชยวัฒนเจริญ, สุรินทร์ - วิไล สุ ว รรณองค์ กิ จ , วั ฒ น์ เลิ ศ สั น ติ , สมบู ร ณ์ ชิ โ นทั ย กุ ล , วรรณกร ธรรมกุลาเลิศ, กาญจนา งามสันติ, จักริน - สุธาทิพ บุญอรุณรักษา, บ้าน ส.วาสนา, เชื่อง - จารี สมศิริ, วิไลรัตน์ กุลสุรเกรียงไกร, สมฤทธิ์ - ยุพา ชีวเกรียงไกร, วีระชัย - กัลยา ไกรวพันธ์, ศิริรัตน์ เต็มบุญศรัณย์, พรชัย ลีลา นั ก ศึ ก ษา ม.ชี วิ ต วิ ท ยาเขตนครศรี ฯ น� ำ ผลงาน ประเสริฐวงศ์, เพ็ญศรี เลาหอารีดิลก และครอบครัว, ธ�ำรงค์ ออกแสดงและร่วมจัดกิจกรรม ณ ลานหน้า OTOP ปลาย - จุฑามาศ เสือทอง, สุนทร ยิ่งยงค�ำภิรมย์ และครอบครัว เดื อ นตุ ล าคมที่ ผ ่ า นมา วั น ที่ ๑๐ ธั น วาคม ๒๕,๐๐๐ บาท, อุ ทิ ศ เลิ ศ ไพบู ล ย์ (โรงแรมไทยโฮเต็ ล ) ลู ก แม่ โ ดม ‘ธรรมศาสตร์ ’ ที่ อ ยู ่ ใ นเมื อ งนครทุ ก ท่ า น ๔๐,๐๐๐ บาท, ธี ร นุ ช ธนานุ กิ จ ๕๐,๐๐๐ บาท, แสวง วิ โ รจน์ จิ ว ะรั ง สรรค์ นายกสมาคมเชิ ญ พบปะสั ง สรรค์ ชี ว เกรี ย งไกร และครอบครัว ๖๐,๐๐๐ บาท และศิ ริ รั ต น์ ที่โรงแรมทักษิณ ตั้งแต่ ๑๘.๐๐ น. เป็นต้นไป สอบถาม รายละเอียดที่ฝ่ายเลขานุการ โทรศัพท์ ๐๘๔-๐๖๕๕๕๖๙ วิชภาภรณ์กุล ๑๐๐,๐๐๐ บาท ปีใหม่ ๒๕๕๖ ขอสิ่งศักดิ์คู่บ้านคู่เมืองอ�ำนวยพรชัย จดบั น ทึ ก ต้ น เดื อ นพฤศจิ ก าให้ทุกท่านประสบความส�ำเร็จสมปรารถนา สุขภาพกายใจ ยน ชื่ อ ผู ้ บ ริ จ าคที ห ลั ง ตกหล่ น สมบูรณ์แข็งแรง แคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวง ต้ อ งขออภั ย นพ.สุ ธี ร ์ รุ จิ ว ณิ ช ย์ กุ ล กรรมการชมรม ถ้าคุณหลงรักร่มสีสวย ดุ ริ ย างค์ น ครศรี ธ รรมราชเป็ น คุณภาพดีแบบนี้ มาที่ทุกท�ำเล ตัวแทน จิมมี่ ชวาลา ประธาน เพชรทองของซีกวง BJ กรุ๊ป ชมรมฯ ขึ้นรับโล่เกียรติยศจาก ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ประธาน ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น โทร คุณปาลิกา (บุ๋น) ๐๘๑-๕๙๗-๕๕๓๕


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ฉวี ว รรณได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จาก ไพศิษย์ เลาหะกุล ผู้จัดการธนาคารกรุงเทพ ในการท�ำหนังสือรับรอง (Bank Warranty) จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท จึงสั่งจักรยานยนต์ ฮอนด้ามาจ�ำหน่ายได้ ฉวีวรรณชวนพี่ชาย คนโต บรรจง ชีวะพันธ์ศักดิ์ มาร่วมเป็นก�ำลังอีกคน ปี ๒๕๒๘ หจก.ฮอนด้านครศรีธรรมราช เปิดเป็นทางการ โดยนายกเทศมนตรีสมนึก เกตุชาติ เป็นประธาน ปัจจุบันหน้าร้านเพิ่มเป็น ๘ ห้อง และขยายสาขาใหม่อีก ๔ สาขา ได้แก่ สาขาหัวไทร, สาขาตลาดหัวอิฐ ซึ่งเป็นส�ำนักงานใหญ่, สาขาหัวถนน และสาขาพระพรหม จนเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายรถ จักรยานยนต์ฮอนด้าใหญ่ที่สุดในเมืองนคร ปี ๒๕๕๖ ฮอนด้าศรีนครจะครบวาระ ๓๐ ปี ฉวีวรรณกับ บรรจงยังคงท�ำงานตามปกติ แม้จะแต่งตั้ง อารยา สารคุณ บุตร สาวคนเล็กของฉวีวรรณเป็นผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไปมาแบ่งเบาภาระ เพื่อน�ำพาธุรกิจที่ ‘รูปแบบครอบครัว’ ไปสู่ทศวรรษใหม่ที่การ แข่งขันเข้มข้นมากยิ่งขึ้น ฮอนด้าศรีนครก่อตั้งและเติบโตในยุคที่ลูกค้าซื้อเพราะความ สนิทสนมหรือความคุ้นเคยกับเจ้าของบริษัท ขาดส่งเงินผ่อนช�ำระ ๑-๒ เดือน บริษัทไม่ทวงถามหรือตามยึดรถ แค่มาบอกกล่าวแล้ว ส่งค่างวดต่อไปให้ครบ ปัจจุบันระบบไฟแนนซ์และการซื้อผ่าน บัตรเครดิต ลูกค้าขาดส่งรายเดือนจะถูกยื่นจดหมายทวงและ เร่งรัดให้ช�ำระ อารยายอมรับว่า ฮอนด้าศรีนคร ยืนอยู่ท่ามกลางความ

มื่อปี ๒๕๒๖ ฉวีวรรณ ชีวะพันธศักดิ์ (เจ๊หลุยส์) หลานสาวของ เทียมศักดิ์ ชีวะพันธศักดิ์ (โกคุ่ย) เจ้าของห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดร้าน ไทยสุนเซ่ง ผู้จ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ฮอนด้า แยกตัวมาสร้าง ธุรกิจของตัวเองโดยเซ็นสัญญาเช่าตึกแถว ๒ คูหาเยื้องตลาดแม่ สมจิตร โดยใช้เงินทุนของน้องสาว-สารภี ชีวะพันธ์ศักดิ์ เปิดขาย อะไหล่จักรยานยนต์อย่างเดียว ในนาม ‘ฮอนด้านคร’ ปีเดียวกันนั้นเอง ตลาดจักรยานยนต์ฮอนด้าในประเทศไทย ประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากรถรุ่น Lead กับ Custom ตลาดไม่ยอมรับเพราะเป็นรถสายพาน แบบสกูตเตอร์ เกียร์ออโต ที่ผู้ใช้ไม่กล้าขับขี่ ซาโจ้ คิตามุระ ประธานบริษัทกับคุณด�ำรง สั น สุ รี พ รรณ เดิ น ทางมาเยี่ ย มตลาดเมื อ งนครและได้ พ บกั บ ฉวีวรรณ เห็นว่าเป็นผู้มีอัธยาศัยดีจึงชักชวนให้ขายจักรยานยนต์ ฮอนด้าเพิ่มไปอีกรายการ

หรื อ สั่ ง งานได้ แต่ ทุ ก วั น นี้ เ ธอต้ อ งขั บ รถยนต์ตระเวนไปตามสาขาต่างๆ ยกเว้น สาขาหัวไทร เพื่อดูแลและร่วมแก้ปัญหา “ระบบครอบครัวแบบพี่น้องที่อยู่กันแข็งแกร่งมั่นคงมาก การน�ำระบบคอมพิวเตอร์ ที่ ส ะดวกทั น สมั ย มาใช้ จึ ง ค่ อ นข้ า งยาก คุณแม่เองก็ยังนั่งคิดตัวเลขแบบเก่า” นกปลีกเวลาไปเรียนหลักสูตร MBA ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทั้งตะลุยอ่าน หนังสือเกี่ยวกับการบริหารจัดการธุรกิจ สมัยใหม่เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ “ฮอนด้า ศรีนครเติบโตมาได้เพราะตัวผลิตภัณฑ์ที่ มีคุณภาพ และได้รับความนิยมจากลูกค้า มายาวนาน..เป็นเจ้าตลาดรถจักรยานยนต์ เป็นที่รู้กันว่าฮอนด้าประหยัดน�้ำมัน ใช้ทน และออกแบบรุ่นใหม่ๆ ที่ทันสมัยสวยงาม สู่ตลาดเสมอ” ยอดขายจั ก รยานยนต์ ฮ อนด้ า ใน นครศรี ฯ ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คั น ต่ อ ปี เป็นของฮอนด้าศรีนครประมาณ ๕,๐๐๐ คันหรือ ๑ ใน ๔ ส่วนอีก ๑๕,๐๐๐ คัน เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเจ้าอื่นๆ ที่มีกลยุทธ์ การสร้างตลาดของตัวเอง เมื่อเทศกาลเดือนสิบที่ผ่านมา นก ไปออกบู ธ ที่ ส นามหน้ า เมื อ ง “ออกไป บู ธ ..พารถรุ ่ น ใหม่ พาที ม การตลาดไป พบปะลูกค้าเก่าๆ ให้เขารู้ว่าเรายังอยู่นะ เรายั ง ไม่ ไ ด้ ห ายไป ไหน แล้วเปิดโอกาส ให้ ลู ก ค้ า ใหม่ ๆ ได้ รู ้ จั ก ฮอนด้ า ศรี น คร เพราะปั จ จุ บั น ลู ก ค้ า มั ก ตั ด สิ น ใจซื้ อ เพราะรู้จักชื่อ..ได้ยิน ชื่ อ บ่ อ ยๆ เราไม่ ไ ด้ ขายมากมาย แต่ ฉวีวรรณ ชีวะพันธศักดิ์ (เจ๊หลุยส์) ร่วมพัฒนาน�้ำตกพรหมโลก ลูกค้าให้ความสนใจ เปลี่ยนแปลงของการด�ำเนินการค้าสมัยใหม่ “ฮอนด้ า ศรี น คร มาก เราได้พูดคุย ได้ตอบค�ำถาม หรือแจ เติบโตมาจากระบบครอบครัวค่ะ คุณอาบรรจงกับคุณแม่ดูแล กโบรชัวร์ แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์สินค้า ลูกค้า การพบปะชาวบ้าน ชุมชนมาตลอด ระบบบริการยังเป็น และสาขาทุกสาขาให้ลูกค้ารู้จัก” แบบญาติ มิ ต รหรื อ คนรู ้ จั ก ซึ่ ง เป็ น จุ ด แข็ ง ของเรา กิ จ การจึ ง ตอนมารับหน้าที่ใหม่ๆ นกเข้าอบรม เติบโตไปได้เรื่อยๆ ผู้ร่วม หลักสูตรต่างๆ ที่บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด งานก็อยู่กันมาสามสิบปี ซึ่งเป็นบริษัทแม่เปิดอบรมระยะสั้นๆ ให้ เป็นพนักงานอาวุโส เป็น แก่ช่าง ฝ่ายการตลาด และตัวแทนจ�ำหน่าย ช่างอาวุโส การน�ำระบบ เพื่อเพิ่มพูนความรู้พื้นฐานเกี่ยวเครื่องยนต์ ใหม่ๆ มาใช้ยังท�ำไม่ได้” อะไหล่ ระบบการท�ำงาน และการตลาด อารยา หรื อ นก “อย่างน้อยเราสามารถพูดคุยเบื้องต้นกับ ส�ำเร็จปริญญาตรี สาขา ลูกค้าและผู้ใช้บริการได้” เธอเล่า ตลาดรถจักรยานยนต์ขยายตัวอย่าง วิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ จากมหาวิทยาลัยสงขลา- ต่ อ เนื่ อ ง จากรถคั น แรกประจ� ำ หมู ่ บ ้ า น นครินทร์ และปริญญาโท สู ่ ร ถของครอบครั ว ไปถึ ง รถส่ ว นบุ ค คล สาขาวิศวกรรมคอมพิว- ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น พร้ อ มกั บ ถนนหนทางที่ เ ชื่ อ ม เตอร์ จาก RMIT Univer- ต่อโยงใยกันในชนบทสู่ตัวเมือง ปัจจุบัน sity (Royal Melbourne ยอดจ� ำ หน่ า ยจั ก รยานยนต์ ส ะสมของ Institute of Techno- ประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ ๒๐ ล้านคัน l o g y ) รั ฐ วิ ค ต อ เ รี ย บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต แข่ ง กั น พั ฒ นาเทคโนโลยี ประเทศออสเตรเลีย ซึ่ง ใหม่ๆ และมองหาตลาดใหม่ๆ เช่น เอ.พี. สามารถสร้ า งโปรแกรม ฮอนด้า ผลิตฮอนด้าสกู๊ปปี้ไอ ลายลิขสิทธิ์ และควบคุมระบบเชื่ อ ม แท้ Liverpool FC – MUFC 2012 Limited โยงข้ อ มู ล ของทุ ก สาขา Edition เพื่อสนองตอบความต้องการของ >> อ่านต่อหน้า ๙ ที่เพียงคลิกดูก็แก้ปัญหา แฟนสโมสร


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๒ เดือนสุดท้ายของปีในช่วงเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคมของทุกปี ผมและ ที ม งานบริ ห ารของบริ ษั ท จะต้ อ งเตรี ย ม จัดแผนธุรกิจประจ�ำปี ๒๕๕๖ น�ำเสนอ คณะกรรมการบริษัทต่างๆ ที่ผมรับเป็นที่ ปรึกษาทางธุรกิจซึ่งตอนนี้มีอยู่ ๖ บริษัท ด้วยกัน บทบาทของผมเป็นเพียงโค้ชกับ ทีมบริหารของบริษัทต่างๆ เหตุผลส�ำคัญ ก็ เ พราะเจ้ า ของกิ จ การ โดยกรรมการ บริษัทฯ อยากรู้ว่าธุรกิจของเขาในปีหน้า จะมีทิศทางเป็นอย่างไร ? จะมียอดขาย เท่าไร ? จะมีค่าใช้จ่ายเท่าไร? จะมีก�ำไร สุทธิเท่าไร? กระแสเงินสดในปีหน้าจะเป็น อย่ า งไร? จะมี ก ารลงทุ น จ� ำ นวนเท่ า ไร? เพื่อให้สามารถวางแผนทางการเงินของ ธุรกิจของเขาได้ เป็นการฉายภาพอนาคต ออกมาให้เห็นทุกมิติเพื่อการตัดสินใจทาง ธุรกิจนั่นเอง ส่วนใหญ่ก่อนการจัดท�ำแผน ผมจะใช้ช่วงเวลาเดือน กันยายน - ตุลาคม – พฤศจิกายนของทุกปี เตรียมความพร้อม ให้ กั บ ที ม งานบริ ห ารเพื่ อ ให้ เ ขามี พ ลั ง ที่ จะคิดหากลยุทธ์ใหม่ๆ มาใช้ในการจัดท�ำ แผนด้วยการจัดกิจกรรมฝึกอบรมแบบเข้า แคมป์เพื่อสร้างความสามัคคี ความผูกพัน ของคนในองค์กร ส่งสัญญาณบอกให้เขารู้ ว่ามีแต่การช่วยกันระดมสมองท�ำงานเป็น ที มจะช่ ว ยให้ เ ราสามารถพาองค์ ก รไปสู ่ ความส�ำเร็จได้ กิจกรรมหลักๆ ส่วนใหญ่ เป็นการท่องเที่ยว เรียนรู้ดูงานจัดกิจกรรม แคมป์ค้างคืนใช้ชีวิตอยู่ด้วยกัน ถ้าเป็น ผู้บริหารระดับ Top manager ก็จะใช้ กิจกรรมท่องเที่ยวพักผ่อน ๕-๖ วัน ล่าสุด ผมพาทีมงานภูเก็ตไปเที่ยวเชียงใหม่ ๑๒๑๗ พ.ย. ที่ผ่านมา ปลายเดือน พ.ย.นี้ก็ จะมียกทีมไปเที่ยวอีสานใต้และชายแดน กั ม พู ช า ไปเที่ ย วพั ก ผ่ อ นและดู ส ภาพ เศรษฐกิ จ โดยรวมของภู มิ ภ าคต่ า งๆ ที่ เปลี่ยนแปลงไปให้พวกเขาได้อยู่ร่วมกัน ท�ำในสิ่งที่อยากท�ำ มีกิจกรรมสังสรรค์ใน หมู่ผู้บริหารเรียนรู้ด้วยกัน นอนด้วยกัน เป็นการพักผ่อนใช้ชีวิตเบาๆ สบายๆ เข้า วัดท�ำบุญปล่อยวางเพื่อเติมพลังใจ สร้าง ความสุขให้กับจิตวิญญาณ จากที่ผ่านมา ชีวิตต้องเร่งรีบต้องรีบท�ำโน่น ต้องรีบท�ำ นี่ จะพูดคุยจะสนทนาพาทีกับใครก็ต้อง เร่งรีบ ชีวิตอยู่กับการใช้เวลาในแต่ละวัน เผชิ ญ กั บปั ญ หารายวั นที่ ต ้ อ งแก้ ไ ข เกิ ด ความเครียด-ความกังวลใจ-พาลทุกข์ใจไม่ เว้นแต่ละวัน ผมจัดช่วงเวลานี้ให้พวกเขา เพื่อให้ได้หยุดพักใช้ชีวิตอย่างรื่นรมย์กับ สิ่งที่ชอบสิ่งที่รัก ภาพที่เห็นในการใช้ชีวิต

ในช่วงของการพักผ่อนจึงเห็นแต่รอยยิ้ม เสียงหัวเราะ ใบหน้าที่อิ่มเอิบไปด้วยความ สุขซึ่งไม่ค่อยพบเห็นในที่ท�ำงานมากนัก หลังจากเตรียมคน เตรียมความคิด จิตใจผู้บริหารแล้วจึงกลับสู่โลกความเป็น จริ ง ด้ ว ยพลั ง ที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มเพื่ อ การท�ำ งาน จัดท�ำเป้าหมายการขาย แน่นอนพวกเขา รู ้ ดี ว ่ า ต้ อ งท� ำ ให้ ดี ก ว่ า เดิ ม เพราะชี วิ ต ต้องการสิ่งที่ดีกว่านั่นเองเป็นความต้อง การร่วมกัน พนักงานลูกจ้างก็อยากให้ ชีวิตตนเองที่ดีกว่าเดิม-นายจ้างเจ้าของ กิจการ ก็อยากให้กิจการ ของตนดีกว่าเดิม ธุรกิจ ขายปลี ก -ขายส่ ง และ บริการ ยอดขาย+รายได้ จึงต้องเติบโตและเพิ่มขึ้น คือโจทย์แรกที่ต้องท� ำให้ ได้ ซึ่งนับวันก็เป็นงานยาก ขึ้นทุกที ปัจจัยที่ควบคุม ไม่ได้มีมากขึ้น คู่แข่งขันที่ เพิ่ ม ขึ้ น สภาพเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะในพื้นที่เกษตรกรรมของภาค ใต้ ปัญหายางพาราราคาต�่ำลงเกือบ ๔๐% ปาล์ ม ราคาตก ผลิ ต ผลทางการเกษตร ราคาตกต�่ำ ท�ำให้รายได้เกษตรกรลดลง ปัญหาหนี้สินและการบริโภคเกินตัวก�ำลัง เป็นบ่วงรัดคอในการจับจ่ายใช้สอย การ จั ด ท� ำ เป้ า หมายการขายโดยหลั ก แล้ ว เราต้องคิดถึงการเติบโต (Growth) ท�ำ อย่างไรจะให้เติบโต ข้อมูลชุดแรกก็คือมี อะไรบ้างที่เป็นโอกาส ที่จะท�ำให้เติบโต ได้ต้องช่วยกันระดมสมองออกมาให้ได้ ตรงนี้ขอเน้นส�ำคัญมาก ต้องช่วยกันหา ช่องทางของความเป็นไปได้ทุกช่องทาง ที่ จ ะท� ำ ให้ เ ห็ น โอกาสของความเติ บ โต ยอดขายเดิ ม ของปี นี้ แ ละปี ที่ แ ล้ ว เป็ น อย่างไร? มีสินค้ากลุ่มไหน? แบบไหน ? ที่เติบโต มีสินค้าใหม่เข้ามาเพิ่มบ้างหรือ ไม่ ? สิ น ค้ า Top ที่ ท� ำ ยอดขายได้ ดี คื อ อะไร? เป็ น การลงข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ราย SKU รายหมวดกั น เลย เพื่ อ ท� ำ การ วิเคราะห์ความเป็นไปได้และโอกาสที่จะ ท�ำยอดขายได้ การจัดท�ำข้อมูลเชิงเปรียบ เที ย บ ใช้ ข ้ อมูลปี ๒๕๕๔ ทั้งปี เปรียบ เที ย บกั บ ยอดขายจริ ง เดื อ นมกราคมกันยายน หรือตุลาคมก็ได้ บริษัทใหญ่ใช้ ๙ เดือน บริษัทฯ ขนาดกลาง ขนาดเล็กอาจ ใช้ มกราคม-ตุลาคม ๑๐ เดือน ที่เหลือ ใช้ forecast (เป้าหมายของปี ๕๕) เมื่อ เห็นยอดขายจริงปี ๕๔ ม.ค. –ธ.ค. เปรียบ ยอดขายจริงปี ๕๕ ๑๐ เดือน + เป้าหมาย

นครศรีธรรมราช

๒ เดือน ก็สามารถตั้งเป้าหมายยอดขาย ปี ๒๕๕๖ ได้ ถ้าระบบจัดเก็บข้อมูล ยอด ขายสามารถเก็บรายวันได้ ก็จะมีการน�ำ ยอดขายรายวันมาเปรียบเทียบวันต่อวัน สั ป ดาห์ ต ่ อ สั ป ดาห์ เดื อ นต่ อ เดื อ น ซึ่ ง ลงข้อมูลเชิงลึกมากเท่าไร? ก็ยิ่งมองเห็น โอกาสการเติบโตของแต่ละรายการสินค้า ได้ เห็นยอดขายรายวัน-รายสัปดาห์-ราย เดือนและรายปี ผู้อ่านอาจสงสัยว่าแล้วธุรกิจขนาด เล็กจะท�ำได้หรือ? โดยเฉพาะที่มีเจ้าของ

หน้า ๗

อย่างไร? การจัดเก็บข้อมูลการขายสินค้า รายตัว (SKU) รายหมวด-รายวัน จึงเป็น งานพื้นฐานที่คนท�ำธุรกิจ ขายปลีก-ขายส่ง +บริการ ต้องมีการจัดเก็บข้อมูล แม้แต่ ร้านอาหารตามสั่งก็ท�ำได้จะได้รู้ยอดขาย อาหารผั ด กระเพรา+ไข่ ด าว ขายดี ที่ สุ ด เป็นต้น มีประโยชน์ในการเตรียมสต๊อก สินค้าและวัตถุดิบประมาณการยอดขาย เพื่อการประมาณการสั่งซื้อและการเก็บ สต๊อกสินค้า จึงเป็นหัวใจของการขาย รู้จัก สินค้าขายดีของร้าน จัดซื้อสินค้าขายดีไม่

การจัดท�ำเป้าหมายการขายโดยหลักแล้ว เราต้องคิดถึงการเติบโต (Growth) ท�ำอย่างไรจะให้เติบโต ข้อมูลชุดแรกก็คือ มีอะไรบ้างที่เป็นโอกาส ที่จะท�ำให้เติบโตได้ ต้องช่วยกันหาช่องทางของความเป็นไปได้ ทุกช่องทางที่จะท�ำให้เห็นโอกาส ของความเติบโต คนเดียวท�ำทุกอย่าง ถ้าจะท�ำก็ท�ำได้เพียง แต่ต้องมีการบันทึกยอดขายรายวันด้วย ตนเองไว้เพื่อเป็นข้อมูล แต่ถ้าธุรกิจที่ใช้ ระบบ POS (เครื่ อ งเก็ บ เงิ น ด้ ว ยระบบ คอมพิ ว เตอร์ ) เก็ บ ข้ อ มู ล และยอดขาย รายวันได้ มาถึงตรงนี้ท�ำให้เราเห็นความ ส� ำ คั ญ ของการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล รายวั น มาก ขึ้น ยิ่งมีการจัดระบบเก็บข้อมูลเชิงลึกได้ มากเท่าไร ? ก็ยิ่งท�ำให้เราสามารถมอง เห็นโอกาสการท�ำยอดขายมากขึ้น แต่ ที่ผ่านมาเราไปสนใจแต่เรื่องใหญ่ ๆ ที่ เราควบคุมไม่ได้ และมองเห็นแต่ปัญหา หรื อ อุ ป สรรคเต็ ม ไปหมดจนแทบมอง ไม่เห็นโอกาสในการท�ำยอดขายเพิ่มได้

ให้ขาดสต๊อก โอกาสขายมีมาก ยอดขาย ก็เพิ่มขึ้น ขอบอกว่ า ถ้ า เจ้ า ของธุ ร กิ จ ขนาด กลางที่ต้องอาศัยทีมงานลูกจ้างจัดท�ำให้ อย่าลืมโปรแกรมการเตรียมตัวก่อนการ ท�ำแผนธุรกิจที่ผมเสนอไว้ ทดลองใช้ก็ได้ ครับ แล้วจะพบว่าพนักงานของคุณมีความ รู้ความสามารถมากทีเดียว พวกเขาคือทีม ของคุณครับ (ไว้ต่อฉบับหน้านะครับจะมา พูดถึงการบริหารค่าใช้จ่ายและสร้างก�ำไร ได้อย่างไร?) นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ต.ท่าซัก อ.เมือง จ.นครศรีฯ เป็นสถานที่ประกอบพิธี มีหนุ่มสาวและเด็กๆ จับคู่แต่งงานสมมติ ๗ คู่ เป็นหนุ่ม สาว ๓ คู่ เด็กๆ ๔ คู่ มีพุทธศาสนิกชนมาร่วมพิธีและ ร่วมถวายผ้ากฐินล้นวัด สร้างความอบอุ่นและประทับใจ อย่างมาก โสปรินญา ไชยพลบาล ผู้เป็นต้นคิดกล่าวกับ ‘รักบ้านเกิด’ ว่า ตอนเป็นเด็กอายุ ๔-๕ ขวบ คุณยายพาไปท�ำบุญไหว้พระและร่วมพิธีขันหมากปฐมที่วัดทุ่งไหม้ อ.ชะอวด จ.นครศรีฯ และวัดอื่นๆ ที่อยู่ใกล้บ้านอีกหลายวัดอายุ ๘-๙ ปี เมื่อเข้ามาเรียนหนังสือ และประกอบอาชีพในตัวจังหวัดนานร่วม ๒๐ ปี จึงไม่ได้เห็นประเพณีขันหมากปฐม ที่วัดไหนอีกเลย “ตามปกติวันเสาร์-วันอาทิตย์ดิฉันไปท�ำบุญที่วัดคงคาเลียบอยู่เป็นประจ�ำ จึงคิด ว่าเราน่าจะสืบทอดประเพณีโบราณที่ดีงามเอาไว้ แต่คิดอยู่คนเดียว จนได้พบพูดคุย กั บ สุ ภ าพสตรี ท ่ า นหนึ่ ง ชื่ อ ป้ า น้ อ ยทางเฟซบุ ๊ ค ชื่ อ จริ ง ท่ า นคื อ ป้ า พอตา พั ฒ น์ ม ณี ซึ่ ง ท่ า นนิ ย มนุ ่ ง ผ้ า ถุ ง เหมื อ นกั น ดิ ฉั น ถามท่ า นว่ า เคยได้ ยิ น ประเพณี ขั น หมากปฐม หรือเปล่า ท่านบอกว่าเคยได้ยิน ดิฉันจึงเล่าให้ฟังว่าอยากท�ำ ท่านบอกว่าท�ำเลย” โสปริญญา กล่าวว่า เธอมีแต่ความคิดและความปรารถนาดีเพราะเห็นคุณค่า ของประเพณี จึงหารือกับเพื่อนนักจัดรายการในชมรมผ้าถุงเมืองนคร ได้แก่ อรอุมา เรียบร้อย, ฐนปณัฐศ์ ไรวา และสุภาวดี ทองแก้ว เพื่อนๆ ยินดีร่วมด้วย แต่การท�ำงาน ต้องมีเจ้าภาพซึ่งเป็นเสมือนญาติผู้ใหญ่มาเป็นสักขีพยาน เธอจึงชักชวนนายนนทิวรรธน์ นนทภักดิ์ ประธานชมเพื่อนนครทันสมัย ซึ่งนายนนทิวรรธน์ก็ตอบรับด้วยความยินดี

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ จึงลงทุนพิมพ์บัตรเชิญร่วมพิธีแต่งงาน ยกขั น หมากปฐม ระหว่ า ง ‘สมชายสมหญิ ง ’ นายเวี ย ง เพชรช่ ว ย รอง ประธานสภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด นครศรี ฯ เป็ น ประธาน ในวั น เสาร์ ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ วัดคงคาเลียบ ต.ท่ า ซั ก อ.เมื อ ง จ.นครศรี ฯ พร้ อ ม ชักชวนพี่น้องชาวพุทธมาร่วมงานโดย พร้อมเพรียง นอกจากนี้ โสปริ น ญา ยั ง เชิ ญ นางจิ ร ายุ ณั ฐ สุ ว รรณรั ต น์ หรื อ ‘คุณนายนุช’ ภรรยา พล.ต.ต.กระจ่าง สุ ว รรณรั ต น์ รองผบช.ภ.๘ มาเป็ น เกี ย รติ ‘คุ ณ นายนุ ช ’ เห็ น ว่ า การสื บ ทอดวั ฒ นธรรม ประเพณีเป็นสิ่งดีงามจึงไปเชิญนายเวียง เพชรช่วย รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด นครศรีฯ มาเป็นประธาน โสปริ น ญา เล่ า ว่ า “ดิ ฉั น ไปท� ำ บุ ญ ที่ วั ด คงคาเลี ย บ แล้ ว เรี ย นกั บ พระอาจารย์ เ สก มหิทฺธิโก เจ้าอาวาส ซึ่งท่านเป็นนักคิดนักพัฒนาเล่าความเป็นมาให้ฟังการจัดท่านก็ยินดี

<< ต่อจากหน้า ๔

เดือน ๑๑ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เป็น วันออก พรรษา นับเป็นเอกลักษณ์พิเศษของชาว นครหรือชาวใต้ ที่ได้รับประเพณีจากชาว ลังกา คือ ประเพณีการชักพระ หรือ ลาก พระ ซึ่งมีทั้งลากพระบก ลากพระน�้ำ เป็น สุธรรม ชยันต์เกียรติ กิจกรรมที่สนุกสนานของชาวบ้าน ทุกวัด จะตกแต่งเรือพระหรือพนมพระอย่างสวยงาม ร่วมมือกันทั้งพระและชาวบ้าน มีการ ชุมนุมเรือพระ ประกวดประชันกันเป็นที่สนุกสนาน เดือน ๑๒ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เป็น ประเพณีลอยกระเคราะห์ ปัจจุบันเรียกลอยกระทง อย่างภาคกลาง เพื่อขอขมาและระลึกพระคุณของแม่คงคาที่ทั้งปีได้ท�ำสิ่งไม่เหมาะสม ทิ้งสิ่งสกปรกปฏิกูลลงในแม่คงคา ทั้งยังมีกิจกรรมการแข่งเรือเพรียวแทบทุกคุ้งน�้ำ ปัจจุบันกิจกรรมประเพณีในแต่ละเดือน ก็สูญหายเลิกราไป บางอย่างก็ยังมีอยู่ บางอย่างก็รื้อฟื้นขึ้นมาใหม่ วัฒนธรรมตะวันตกรุกคืบเข้ามาทางสื่อ จนเข้ามาแทนที่ วัฒนธรรมดั้งเดิมของผู้คนในท้องถิ่นเรา ประเพณีเล็กๆ ในชุมชน เช่น ท�ำขวัญข้าว งานออกปาก งานบวช งานแต่ง งานศพ ถูกวัฒนธรรมอื่นเข้ามากลืนจนเปลี่ยนรูป แบบไปหมด จ�ำเค้าเดิมไม่ได้ ที่สูญหายไป เช่น ร้องเรือกล่อมเด็ก ประเพณีขึ้นเปล เปิดปากเด็ก ย่างดิน ขึ้นเรือนลงเรือน และอื่นๆ อีกมากมาย สูญหายไปจนนึกไม่ออก ใครจะเป็นผู้รื้อฟื้นขึ้นมาใหม่ หากทุกคนลงมือท�ำในสิ่งที่พอจะท�ำได้ วัฒนธรรมอัน ดีงามของชุมชน วัฒนธรรมที่ให้ความสุข ให้ความรัก ให้ความอบอุ่น คงจะกลับมา น�ำความสุข ความรัก ความอบอุ่น กลับมาสู่ครอบครัวเรา สังคมเรา อีกครั้ง

ชวนคชวดิ นคยุ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

รายงาน

ให้จัดพร้อมกันในวันทอดกฐิน” ประเพณีการยกขันหมากปฐม บางท้องถิ่น อาจเรียกว่า ‘ยกขันหมากพระถม’ จัดเป็นการ กุ ศ ลเพื่ อ ระดมทุ น ถวายวั ด คล้ า ยกั บ การทอด ผ้าป่าหรือทอดกฐิน ประเพณียกขันหมากปฐม เป็นไปตามความพร้อมของชาวบ้าน ซึ่งสามารถ จัดได้ตลอดปี ยกเว้นเทศกาลเข้าพรรษา บางแห่ง นิยมจัดตั้ง แต่เ ดือนมีนาคม ซึ่งเป็นช่ว งหลังฤดู เก็บเกี่ยว ที่ชาวบ้านจะน�ำผลผลิตใหม่ๆ ไปถวาย พระด้วย ประเพณียกขันหมากปฐมเป็นการสมมติพิธีแต่งงานโดยมีเค้าโครงเรื่องมาจาก พุทธประวัติตอนวิวาห์มงคล ระหว่างพระเจ้าสุทโธทนะกับพระนางสิริมหามายา ซึ่งเป็น พระพุทธบิดาและพระพุทธมารดา พิธีขันหมากพระปฐมจัดตามพิธีแต่งงานของท้องถิ่น อย่างครบถ้วน เงินสินสอดจากขันหมาก รวมทั้งเงินผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายและผู้ร่วมงานบริจาค ทั้งหมดน�ำถวายวัดเพื่อใช้บ�ำรุงพระพุทธศาสนา เมื่อเสร็จพิธีแต่งงานผู้เข้าร่วมงานร่วมกัน ฟังเทศน์ ร่วมถวายผ้าป่าหรือกฐินพร้อมกัน โสปรินญา กล่าวถึงคุณค่าทางสังคมอื่นๆ ของประเพณี ว่า “สอนให้เด็กๆ รู้ว่า ประเพณีไทยต้องแต่งงานกัน อย่าไปหยบรักแอบลักลอบได้เสียกันก่อน เพราะว่าสมัยก่อน เด็กๆ มักจะตามปู่ย่าตายายไปวัด ใช้วัดเป็นสถานที่ขัดเกลาและสอนให้รู้ในเรื่องดีงาม” นายนนทิวรรธน์ นนทภิกดิ์ เล่าว่า โสปรินญาโทรศัพท์มาปรึกษาว่าจะจัดพิธียก ขันหมากปฐมและขอให้ไปเป็นผู้ใหญ่ของงาน ตัวเองเห็นว่าเป็นสิ่งดีงามก็ยินดี “ผมบอก ว่าให้ไปเป็นหัวขันหมากก็ยินดี เงินสักพันสักหมื่นพอวิ่งหาสมทบได้ แต่อย่าให้มาก ผมไป เห็นชาวบ้านที่มาร่วมงานแล้วดีใจ ดีใจที่ตัดสินใจเข้าร่วมฟื้นฟูประเพณีที่ดีงามไว้คู่จังหวัด นครศรีธรรมราชของเรา” โสปรินญา ไชยพลบาล หรือ ดีเจเอ๋ กล่าวย�้ำกับ ‘รักบ้านเกิด’ ว่าปีหน้าจะจัดงาน ประเพณีขันหมากปฐมสืบทอดต่อไป ส�ำหรับเงินจากขันหมากที่ได้รับได้น�ำไปถวายวัด พร้อมเงินที่ได้จากการทอดกฐินประจ�ำปี ๒๕๕๕ รวมทั้งสิ้น ๔.๕ แสนบาทเพื่อสมทบทุน สร้างโบสถ์ต่อไป

เลขที่ ๖/๑๐ อาคารพาณิชย์หน้าโรงแรมทวินโลตัส โทร. ๐๘๗-๒๙๔-๐๖๗๓

หน้า ๙

<< ต่อจากหน้า ๑

หลังได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินการโครงการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และการคัดสรร ‘สุดยอดหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย’ ปี ๒๕๕๕ ที่ส�ำนักงาน พั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด นครศรี ฯ ประชุ ม แจ้ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารลงทะเบี ย นผู ้ ผ ลิ ต ผู ้ ประกอบการ OTOP ซึ่งจังหวัดนครศรีฯ เปิดรับสมัครระหว่างวันที่ ๒๖-๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค อ�ำเภอเมือง โดยเน้น ๕ กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อ การคัดสรร ได้แก่ อาหาร, เครื่องดื่ม, ผ้า เครื่องแต่งกาย, ของใช้ ของตกแต่ง ของ ที่ระลึก และสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร เนื่องจากรัฐบาลต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการ ‘หนึ่ง ต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์’ เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชนได้ใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ โดยเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาด ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจังหวัดนครศรีฯ มุ้งเน้นเรื่องการแปรรูปผลไม้ ข้าว สัตว์น�้ำ ที่ดึงนักวิจัยมาร่วมพัฒนาให้เป็นของฝาก เช่น ปลากระบอกร้า ปลากุเลา และกะปิ ส่วนบรรจุภัณฑ์จะออกแบบให้สามารถน�ำขึ้นเครื่องบิน ส�ำหรับเครื่องประดับ และ ผ้า พัฒนาให้ทันสมัยสามารถวางจ�ำหน่าย ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา << ต่อจากหน้า ๖

ฟุตบอลชื่อดัง ที่นอกเหนือไปจากรถเพื่อความจ�ำเป็นมาเป็นรถที่สามารถบอกกับคน ทั่วๆ ไปว่า ‘คุณเป็นใคร’ ซึ่งเป็นตลาดรสนิยม และอาจเป็นจักรยานยนต์คันที่ ๒ หรือ ๓ ของบางคน การสร้างและรักษาตลาดยุคใหม่จึงละเอียดมากยิ่งขึ้น ฮอนด้าศรีนครจึงน�ำ ระบบ CSR (Corporate Social Responsibility) มาใช้ตามนโยบายของบริษัทแม่ CSR หมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมขององค์กร ที่ต้องด�ำเนินธุรกิจ ภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบสังคมและสิ่งเเวดล้อมทั้งใน ระดับไกลและใกล้ อันน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน “ที่ผ่านมาท�ำงานเรื่องนี้เยอะมาก ทั้งการปลูกป่า ชักชวนพนักงานและลูกค้า ร่วมบริจาคเลือดให้กาชาด การเก็บเศษขยะท�ำความสะอาดน�้ำตกพรหมโลก หรือจัด กิจกรรมการแข่งขันฮอนด้าประหยัดเชื้อเพลิงร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาที่เราสนับสนุนมาสิบห้าปี อารยา สารคุณ ได้รับเกียรติจากวิทยาลัยการอาชีพนครศรีฯ แต่งตั้งให้เป็น กรรมการสถานศึกษา จนน�ำไปสู่การเซ็นสัญญาความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยกับ ฮอนด้าศรีนคร ในการเปิดศูนย์ที่วิทยาลัยเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และรองรับความ สนใจด้านการฝึกงานของนักเรียนแผนกช่างยนต์ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง การขยายตัวของตลาดและการแข่งขันที่แหลมคม ยิ่งขึ้น ในฐานะผู้บริหารรุ่นใหม่ของตัวแทนจ�ำหน่ายเก่าแก่ อารยากับผู้ก่อตั้งต้อง ทุ่มเทพลังความคิดความสามารถน�ำพาฮอนด้าศรีนครให้เติบโตและก้าวสู่ทศวรรษที่ ๔ อย่างมั่นคง


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ากกรณีตัวอย่างชีวิตศิลปินเพลงบอกอาชีพของเพลง บอกสร้อย ด�ำแจ่ม ท่านได้ใช้ชีวิตศิลปินเพลงบอก อาชีพ ตั้งแต่อายุ ๑๗ ปี ต่อเนื่องกันมากระทั่งถึงวัยชรา (๘๑ ปี) อาชีพศิลปินเพลงบอกของท่าน สามารถสร้าง ความสุข ความอบอุ่น ให้ภรรยาและบุตร - ธิดา อีก ๔ คน ได้อย่างน่าชื่นชม ท่านสามารถเลี้ยงดูส่งเสียให้บุตร - ธิดา ทั้ง ๔ คน ได้รับการศึกษา ประกอบอาชีพ และสร้าง ครอบครัวให้เจริญก้าวหน้า นอกจากนั้นท่านยังได้สั่งสม ทรัพย์สินไว้ให้ลูกหลานได้อีกจ�ำนวนไม่น้อย เฉพาะที่ดิน ท่านมีอยู่ถึง ๕๐ ไร่ โดยประมาณ ด้วยความเชื่อมั่นและศรัทธา ในแนวคิดที่ว่า “การ ใดก็ตามหากเกิดจากศรัทธาที่มั่นคงและมีความเพียร เป็นปัจจัย เป็นพลัง ความส�ำเร็จ ความสมหวังจะเกิด ขึ้นแน่นอน” ท่านจึงฝาก ร้อยกรองของกวีเอกแห่งกรุง รัตนโกสินทร์ไว้ให้เป็นข้อคิด และข้อปฏิบัติโดยทั่วกันว่า

เพลงบอกสร้อย (คนกลาง) กับลูกคู่

ตอนที่ ๕ เพลงบอกสร้อยกับส่วนหนึ่งของรางวัลที่ได้รับในโอกาสต่างๆ

“อันความรู้รู้กระจ่างเพียงอย่างเดียว แต่ให้เชี่ยวชาญเถิด จะเกิดผล” ๑.๕ เกียรติคุณที่ได้รับและความภูมิใจ เพลงบอกสร้อย ด�ำแจ่ม นอกจากจะเป็นศิลปินเพลง บอกอาชีพ ที่ประสบผลส�ำเร็จในการประกอบอาชีพศิลปิน เพลงบอก อย่างสง่างามแล้ว ท่านยังได้รับเกียรติอย่างสูง จากบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรต่างๆหลากหลาย ทั้งที่ เห็นเป็นนามธรรมและรูปธรรมซึ่งสามารถสัมผัสได้ กล่าว คือ ๑) เกียรติคุณที่ได้รับจากมหาชน ศิลปินจะทรงคุณค่าแห่งศิลปินอยู่ได้ก็เพราะ “ศิลปิน มี ดี อ ยู ่ ใ นเนื้ อ ” และศิ ล ปิ น ที่ มี ดี อ ยู ่ ใ นเนื้ อ นี้ เ องจะได้ รั บ ความนิ ย มชมชอบ จากมหาชนตลอดกาล เพราะเมื่ อ มหาชนได้ สั ม ผั ส กั บ ศิ ล ปิ น แล้ ว ท� ำ ให้ เ ขาเกิ ด “เจริ ญ หู เจริญตา เจริญใจ” มหาชนย่อมยกย่อง ให้เป็นศิลปินใน ดวงใจอย่างยั่งยืนถาวร เมื่ อ ศิ ล ปิ น สามารถสร้ า งสรรค์ คุ ณ ลั ก ษณ์ จ นถึ ง ขั้ น “เป็นศิลปินในดวงใจ” ของมหาชนแล้ว มหาชนจะให้ เกี ย รติ แ ละยกย่ อ งตามวิ ถี ท างของเขา เพลงบอกสร้ อ ย ด�ำแจ่ม ได้รับเกียรติจากมหาชนชาวนครศรีธรรมราช ด้วย การมีสร้อยชื่อว่า “เสียงเสนาะ” ชื่อ “เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ” เป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างกว้างขวาง ยิ่งกว่า

“เพลงบอกสร้อย ด�ำแจ่ม” มายาวนาน สิ่งที่ดีในเนื้อของเพลงบอกสร้อย ซึ่งเป็นเหตุปัจจัย ให้มหาชนชาวนครศรีธรรมราชได้คัดสรรสร้อยชื่อ ให้ว่า “เสียงเสนาะ” ก็คือท่านสามารถใช้ค�ำกลอนกล่อมเกลา โน้มน้าวใจท่านผู้ชมผู้ฟังได้ดีเป็นพิเศษ เช่น ว่าเพลงบอกเพื่อขอเงินเข้าวัดท�ำบุญ หรือมีส่วน ร่วม ขนาดผู้เขียนชื่อผู้ให้ ธนบัตร จะเขียนไม่ทัน มีเสียง เพราะอย่างหาตัวจับยาก เป็นเสียงธรรมชาติที่ไม่ต้อง พึ่ ง พายาใดๆ ท่ ว งท� ำ นอง ลี ล ากลอนเป็ น ของตนเอง เฉพาะ ไม่เอาเยี่ยงอย่างใคร ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ นักวิชาการกรมศิลปากรได้ กล่าวถึงเพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ไว้ดังนี้ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ เป็นเพลงบอกที่มีชื่อ เสียงโด่งดังมาก เหตุที่คนทั่วไปเรียกชื่อติดปากว่า “เพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ” เพราะเหตุว่า เพลงบอกสร้อย เป็นนักเพลงบอกผู้มีเสียงดังเด่น เอกลักษณ์พิเศษเฉพาะ ตัว คือ มีน�้ำเสียงที่ไพเราะเป็นที่ยิ่ง ใครได้ฟังเสียงแล้ว จะต้องชื่นชมทุกคนไป ได้ฟังแล้วก็อยากฟังอีก ดังนั้น ชาวบ้านทั่วไปจึงขนานนามให้ว่า “เสียงเสนาะ” ต่อ ท้ายชื่อ..”

“บ้าน” คือวิมานดับร้อน วิญญาณ สงบคิดนฤมิตงาน ใหม่แพร้ว ประโยชน์ใหญ่ไพศาล มนุษยโลก สยามแล รวมถึงงานเปิดหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ที่สวน เลือด “ศิริธรรมราชแก้ว” ค่าฟ้าอกาลิโก ฯ วชิรเบญจทัศ กรุงเทพมหานคร เมื่อ ๒ ปีที่แล้ว ไมตรีจิตที่ส�ำคัญสุดของท่านแก่ผมนั้น คือการที่ท่าน “ทางช้างเผือก” ระยับระย้า “นาฬิกา” แก้วมณี เมตตาแต่งโคลงอันไพเราะและล�้ำค่าให้ครอบครัวของเรา เสนอชั่วโมงปฐพี ค่าหล้า คราวสร้างหมู่ “บ้านท่าวัง” เพื่ออยู่อาศัยในกรุงเทพเพื่อ อุดมคติประเสริฐศรี วิเศษเสน่ห์ ดาวนา ร�ำลึกถึงถิ่นฐานบ้านเกิด แล้วผมขอท่านช่วยให้พรแก่ “บ้าน ชีพผ่านอนิจจ์ท้า กฎฟ้า”อนัตตา” ฯ ท่าวัง” ซึ่งคือชื่อของชุมชนถิ่นฐานบ้านของท่านเองนั้น ค�ำพร “ทางช้างเผือก” พร่างแพร้ว “มโนมัย” มิติไหว สุดวิเศษนั้นท่านให้ไว้ว่า บุปผชาติเกียรติยศใจ เสน่ห์ซึ้ง ฤดูมธุรสหอมสมัย ปีติทิพย์ วิญญาณ บ้านท่าวัง ผ่านทุกข์โศกโลกอึ้ง อู่น�้ำตา”อนัตตา” ฯ “นครฯ” เมืองพระพุทธเจ้า อรหันต์ “สีหิงค์” “ท่าวัง” ภวังค์ทิพย์ให้ พลังสวรรค์ จักรวาฬ “บรมธาตุฯ” ทิพย์มิ่งขวัญ หยาดฟ้า ถวิลรุ่งโพธิญาณขวัญ แว่นแก้ว พรั่งพร้อมรัตนตรัยอัน ศักดิ์สิทธิ์ กายสิทธิ์ วิเศษยิ่ง สยามเอย สิบทิศเทพฯ พิทักษ์หล้า เลิศแล้วสยามสวรรค์ ฯ ชีพเพื่อโลกเกษมสันติ์ โอมพร่างเพชรใจแพร้ว “ผ่องแผ้ว “สูญญตา” ฯ “ท่าวัง” “นครฯ” บ้านเกิด เมืองนอน เมืองปู่ฯ ตาฯ บิดามารดร พี่น้อง อังคาร กัลยาณพงศ์ ใจมอบพุทธเจ้าสอน อริยสัจจ์ วิเศษนา พฤหัสบดี ๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๒ ชาติหนึ่งภัยกิเลสพ้อง มนุษย์ตอ้ ง “โพธิญาณ” ฯ แรม ๓ ค�่ำ เดือน ๑๒ ปีฉลู นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

อ่านต่อฉบับหน้า โดยเหนื อ กว่ า นั้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ที่ ผ ม ละวางจากงานประจ�ำรับจ้างทางโลกออกแสวงแนว วิถีชีวิตแบบใหม่อย่างอาสาสมัครอิสระสาธารณประโยชน์ ก่อนที่จะมาลงตัวที่งานธรรมขององค์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านงานของพระเดชพระคุณ ท่านอาจารย์พุทธทาสที่สวนโมกข์นั้น ท่านอังคาร ยังเมตตาเขียนภาพด้วยถ่านให้ผมไว้อีก ๑ ภาพ ทั้ง ๆ ที่ขณะนั้นสายตาของท่านอ่อนก�ำลังมากและ เลิกเขียนภาพท�ำนองนี้มานานแล้ว ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกราบวันทนาหนึ่งใน คนดีศรีธรรมราชปราชญ์แก้วกัลยาณมิตรอีกครั้ง หากท่ านหลุ ดพ้ น แล้ ว ก็พลอยยิน ดี แต่ หากจะยั ง กลับมาเกิดอีกที โปรดกลับมาเป็นแก้วกวีศรีปราชญ์ อีกสักชาตินะครับ. บ้านท่าวัง สุทธิสาร สะพานควาย กรุงเทพมหานคร พฤศจิกายน ๒๕๕๕


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

าลากลางจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชเป็ น ศู น ย์ ก ลางการ บริ ห ารราชการส่ ว นภู มิ ภ าคประจ� ำ จั ง หวั ด ตั้ ง อยู ่ ใ น ท้องที่ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วยอาคารทรงไทยประยุกต์สองหลัง หลังแรกเป็น อาคาร ค.ส.ล. สองชั้น หลังคาทรงปั้นหยาแปลง (ปั้นหยา กลาย) มุ ง กระเบื้ อ งคอนกรี ต (ซี แ พค) สี แ ดงก�่ ำ ผนั ง ทาสี ขาว หันหน้าอาคารไปทางถนนราชด�ำเนิน หลังที่สองเป็น อาคาร ค.ส.ล.ห้าชั้น หลังคาทรงปั้นหยาประยุกต์ มุงกระเบื้อง คอนกรีตสีน�้ำตาลไหม้ ผนังทาสีขาวหันหน้าอาคารไปทางถนน ศรีธรรมราช สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๒ มีรั้วรอบทั้งสี่ด้าน อยู่บน พื้นที่ ๔๖ ไร่ ก่อนจะมาเป็นศาลากลางจังหวัดเช่นในปัจจุบัน เดิมเคย เป็น “วังเจ้าเมือง” ของเจ้าผู้ครองนครศรีธรรมราชมาตั้งแต่ ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พื้นที่ด้านทิศเหนือเป็นสวนไม้ ดอกของ พระยานครกุลเชษฐ (เอียด ณ นคร) ในสวนนี้มี อาคารใหญ่อยู่หลังหนึ่ง เรียกว่า “บ้านในสวน” รอบบ้านในสวน มีก�ำแพงเตี้ยล้อมรอบทั้งสี่ด้านทิศใต้มีโรงเรือนซึ่งมีเฉลียงรอบ ใช้เป็นที่สวดมนต์ เรียกว่า “โรงพิธี” ทิศตะวันตกมีโรงเรือน ใช้เป็นที่เก็บกระสุนปืนใหญ่ ดาบ หอก และสิ่งของเครื่องใช้ ในพิธีสงฆ์ เรียกว่า “โรงแสง” ถัดมาเป็นโรงเรือนใช้เป็นที่ท�ำ ทองรูปพรรณ เรียกว่า “โรงทอง” ถัดไปอีกหลังเป็นโรงเรือนใช้ เป็นที่ท�ำงานช่างเรียกว่า “โรงงาน” และเฉียงไปทางทิศตะวัน ตกเล็กน้อยมีโรงเรือนใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำวัง เรียกว่า “หอพระพุทธสิหิงค์” ส่วนด้านหน้าศาลามีประตู และ มีโรงเรือนส�ำหรับเก็บฆ้องตีบอกเวลา เรียกว่า “โรงฆ้อง” ส่วน ก�ำแพงด้านหน้าเป็นที่โล่งกว้างประมาณ ๑๐ วา มีต้นประดู่ ใหญ่หลายต้นเรียงรายจากทิศเหนือจรดใต้ ส่วนก�ำแพงด้าน หลังมีศาลายกพื้นปูกระดาน หลังคามุงจาก ใช้เป็นที่ช�ำระคดี ความมีต้นจันทน์ใหญ่อยู่ต้นหนึ่งใกล้ศาลา เรียกว่า “ศาลาต้น จันทน์” ทั้งหมดรวมเรียกว่า “ศาลากลาง” ถือเป็นทรัพย์สิน ของเจ้าเมืองนครที่สืบทอดมาหลายชั่วอายุคน ในช่วงสมัย รัชกาลที่ ๓-๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ใช้เป็นที่ว่าราชการของเจ้า เมืองเรียกว่า “ศาลาว่าการ” ครั้น พ.ศ.๒๔๔๔ เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม ณ นคร) เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชได้ลาออกจากต�ำแหน่ง กระทรวงมหาดไทยจึงแต่งตั้งพระยาสุนทราทรธุรกิจ (หมี ณ ถลาง) มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด และได้ย้ายศาลาว่าการ จากโรงพิ ธีไ ปปลู ก สร้ า งขึ้ นใหม่ใกล้ส นามหน้าเมือง คือใน ดงมะม่วง (โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชปัจจุบัน) เป็นโรง เรือนชั้นเดียว เสาอิฐ ยกพื้นไม้ ฝากั้นกระดาน พื้นล่างปูอิฐ หลังคามุงกระเบื้อง มุขหน้าอยู่ทางทิศตะวันตก มุขหลัง ยกพื้นปูกระดานเสมอตัวอาคารเมื่อสร้างเสร็จผู้ว่าราชการ จังหวัดก็ไปปฏิบัติงานประจ�ำอยู่ที่อาคารใหม่แห่งนี้ ส่วนศาลา กลางเมืองซึ่งถือเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคลของเจ้าเมืองมิได้รื้อ ถอน แต่มิได้ใช้งาน ครั้นเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีถึงแก่อสัญกรรมใน พ.ศ. ๒๔๕๐ ทายาทจึ ง ได้ ย กที่ ดิ น และอาคารศาลากลางเมื อ ง ให้แก่ทางราชการตามเจตจ�ำนงของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี กระทรวงมหาดไทยจึงรื้อถอนอาคารหลังเดิมแล้วก่อสร้าง อาคารศาลากลางจังหวัดขึ้นในปลายปี พ.ศ.๒๔๕๔ เป็น อาคาร ค.ส.ล. สองชั้นมีมุขหน้าสามมุข ใช้เป็นที่ท�ำการของ หน่วยราชการหลายหน่วย และต่อเติมไปทางตะวันตกอีกหลัง

หนึ่งเพื่อใช้เป็นที่ท�ำการคลังจังหวัด สรรพากรจังหวัด สรรพ สามิตจังหวัด และสัสดีจังหวัด รวมเรียกว่า “ศาลากลาง จังหวัด” นับเป็นอาคารที่ใหญ่โตที่สุดของจังหวัดในเวลานั้น ครั้นวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๔ เวลา ๑๗.๐๐ น. ได้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ ขึ้ น บริ เ วณที่ ท� ำ การสรรพากรจั ง หวั ด ลุกลามไปยังอาคารที่ท�ำการอื่น ๆ ข้างเคียงจนเสียหายหมด คงเหลือแต่ตึกหลังใหญ่ด้านหน้า กระทรวงมหาดไทยเป็นว่า อาคารหลังนี้เริ่มช�ำรุดประกอบกับคับแคบและใช้งานมาเป็น เวลา ๕๐ ปี สมควรที่จะรื้อและปลูกสร้างเสียใหม่ให้กว้าง ขวางมั่นคงถาวรกว่าเดิม กรมโยธาเทศบาล (ชื่อเวลานั้น) จึง ออกแบบอาคารศาลากลางใหม่เป็นอาคาร ค.ส.ล. สองชั้น ทรงไทยประยุกต์ ขนาดกว้าง ๓๘ เมตร ยาว ๗๔ เมตร รวม

พื้นที่ ๒,๘๑๒ ตารางเมตร กระทรวงมหาดไทยได้ประกวด ราคาจ้างก่อสร้าง ปรากฏว่าบริษัทพัฒนาการจ�ำกัด ชนะการ ประกวดในราคา ๒,๘๘๗,๐๐๐ บาท เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ แล้วเสร็จเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๐๗ ประกอบพิธีเปิดเมื่อ วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๐๗ โดยนายทวี แรงข�ำ รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นประธานในพิธี ล่วงมาถึงวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ คณะรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ได้มีมติเห็นชอบต่อแผนการใช้ ที่ ดิ น ของหน่ ว ยงานรั ฐ ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ในฐานะ เมื อ งศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ของภาคใต้ โดยให้ ป รั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ศู น ย์ บ ริ ห ารราชการของจั ง หวั ด คื อ บริ เ วณอาคาร ศาลากลางจั ง หวั ด ปั จ จุ บั น และพื้ น ที่ ต ่ อ เนื่ อ งรวม ๔๖ ไร่ เ สี ย ใหม่ ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ มี เฉพาะอาคารส� ำ หรั บ หน่ ว ย งานบริ ห ารเท่ า นั้ น จึ ง ให้ ก ่ อ สร้ า งอาคารศาลากลางหลั ง ใหม่ ขึ้ น อี กหลั งหนึ่ งที่ ด ้ า นหลั งอาคารเดิ ม ทั้ งนี้ โ ดยให้ มีรูป แบบสถาปัตยกรรมสอดคล้องกับอาคารเดิม อาคารใหม่นี้ สูง ๕ ชั้น พื้นที่ใช้สอย ๗,๒๐๐ ตารางเมตร มีทางเดินต่อ เชื่อมกับอาคารศาลากลางหลังเดิม เพื่อความสะดวกในการ ติดต่อประสานงาน และการรักษาความปลอดภัย ในการนี้ ได้ว่าจ้างบริษัท ๓๓ ก่อสร้างจ�ำกัด ท�ำการก่อสร้างเมื่อเดือน ธันวาคม ๒๕๔๒ ในวงเงิน ๑๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท สร้างแล้ว เสร็ จ เมื่ อ วั น ที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๕ โดยเริ่ ม เปิ ด ท� ำ การเมื่ อ วั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๔๕ ในสมั ย นายสวั ส ดิ์ กฤตรัชตนันต์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช วัฒนธรรมงดงามความภูมิใจ งามพระธาตุทองค�ำค�้ำจุนจิต งามศาสตร์ศิลป์ประเพณีมีสืบมา วัดพระธาตุวรมหาวิหาร มรดกชาวนครกระฉ่อนนาม เจดีย์ทรงลังกาค่าวิลาศ อัญเชิญมาบรรจุอยู่ภายใน เมืองธรรมะคู่แผ่นดินถิ่นด้ามขวาน เมืองสงบเมืองคนดีมีครบครัน “พระธาตุทองค�ำ” สิ่งล�้ำค่า ด้วยชาวเมืองศรัทธามายาวนาน วัดพระธาตุควรค่า มรดกโลก เป็นเส้นทางบอกเรื่องราวความก้าวไกล เป็นศูนย์รวมร่วมเสริมส่งธ�ำรงศาสน์ เป็นเมืองพระชนนับถือสื่อนิยาม

หน้า ๑๑

ประวัติศาสตร์ยาวนานผ่านสมัย ด�ำรงไว้หยัดอยู่คู่เวลา งามชีวิตวิถีพุทธพิสุทธิ์ค่า งามวัดวารุ่งเรืองเป็นเมืองงาม สืบต�ำนานแห่งแผ่นดินถิ่นสยาม ทั่วเขตคามบูชาร่วมศูนย์รวมใจ พระสารีริกธาตุอันยิ่งใหญ่ สืบมั่นไว้ยืนหยัดถึงปัจจุบัน เมืองอุดมอันโอฬารปานสวรรค์ เมืองส�ำคัญเกียรติก�ำจรแต่ก่อนกาล ศาสนาคู่วิถีที่สืบสาน ชั่วลูกหลานยังสืบทอดตลอดไป นับเป็นโชคประกาศนามความยิ่งใหญ่ เราภูมิใจ “วัดพระธาตุ” ประกาศนาม เป็นศิลป์ชาติเกริกไกรให้เกรงขาม มรดกงาม ลือเลื่อง เมืองนคร. ทิชากร


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ การขยายหลอดเลือดหัวใจ ด้ ว ยบอลลู น (Percutaneous Coronary Intervention) หากผลการฉีดสีตรวจหลอดเลือด หัวใจพบว่าหลอดเลือดหัวใจตีบ สามารถ ให้การรักษาด้วยการใช้ลูกโป่ง (บอลลูน) ถ่ า งขยายหลอดเลื อ ดหั ว ใจตี บ และใส่ ขดลวดได้ในครั้งเดียวกัน การตรวจสวน หั ว ใจนี้ เป็ น การรั ก ษาที่ ไ ม่ ต ้ อ งผ่ า ตั ด สามารถท� ำ การรั ก ษาได้ ใ นขณะหั ว ใจ ก�ำลังเต้นอยู่ และมีความเสี่ยงน้อยมาก ใช้เวลาพักฟื้นเพียง ๑ - ๒ วัน หากไม่มี อาการแทรกซ้อน ก็สามารถกลับสู่ชีวิต ประจ�ำวันได้ตามปกติ

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

บับนี้ กระผมในนามของโรงพยาบาล นครพัฒน์ และอายุรแพทย์โรคหัวใจ นพ.พรชัย ลีลานิพนธ์ ต้องขออนุญาต เรียนข่าวดีของคนนคร และจังหวัดใกล้ เคียง ว่าความฝันของโรงพยาบาลนครพัฒน์ ในการที่จะเติมเต็มบริการส่วนขาด โดยเฉพาะในส่วนที่กระทรวงสาธารณสุข ยังไม่มีนโยบายที่จะเปิดให้บริการภาค รั ฐ ขึ้ น ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช คื อ

ประโยชน์ในการรักษาโรคหัวใจ อื่นๆ โดยเครื่องสวนหัวใจ

บริ ก ารรั ก ษาโรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจตี บ ทั้ ง เรื้ อ รั ง และเฉี ย บพลั น ที่ ก ระทรวง สาธารณสุขก�ำหนดให้เปิดบริการเพียง ๒ แห่ ง ในภาคใต้ คื อ รพ.ยะลา (ปิ ด ไปแล้ว) กับ รพ.สุราษฏร์ธานี รวมทั้ง รพ.มอ.อี ก ๑ แห่ ง (ปั จ จุ บั น สั ง กั ด กระทรวงศึกษาธิการ) เท่านั้น คนนครจึง ตกระหว่างกลาง (ภาษาบ้านเราเรียกว่า เข้า-หวาง) หันไปทาง มอ.ก็เต็ม หันไป ทางสุราษฏร์ธานี ก็ไกล มานานพอควร และนั บ เป็ น ความโชคดี ที่ ที ม แพทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญ และมี ป ระสบการณ์ สู ง จาก Smart Heart ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การติ ด ตั้ ง เครื่องสวนหัวใจ ฉีดสี ใส่บอลลูน-ขดลวด

ท�ำไมจึงต้องสวนหัวใจ และฉีดสี ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกเนื่อง จากหลอดเลือดหัวใจตีบ จนกล้ามเนื้อ หั ว ใจตายนั้ น แพทย์ ส ามารถให้ ก าร วิ นิ จ ฉั ย ได้ โ ดยการซั ก ประวั ติ ตรวจ ร่างกาย ตรวจเลือด ตรวจคลื่นหัวใจ ก็จะ สามารถด�ำเนินการให้การรักษาได้ทันที และเมื่อพ้นจากภาวะฉุกเฉินแล้ว จึงจะ มาประเมินต่อว่าจะต้องส่งผู้ป่วยไปสวน หัวใจ ฉีดสีหรือไม่ ด้วยการวิ่งสายพาน และการตรวจ Echo หากผลการตรวจ ดังกล่าวบ่งบอกว่าเส้นเลือดหัวใจตีบมาก มี ภ าวะเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ภาวะวิ ก ฤติ ขึ้ น ได้ ตลอดเวลา ไม่ช้า ก็เร็ว ก็มีความจ�ำเป็น

แพทย์มักจะต้องเตรียมการไว้ก่อนแล้ว การสวนหั ว ใจและหลอดเลื อ ด (Cardiac Catheterization) เป็นการ ตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคทางหัวใจ โดยการ ใส่สายสวนขนาดเล็กเข้าไปในห้องหัวใจ ผ่ า นรู เ ข็ ม ขนาดเล็ ก ซึ่ ง แทงเข้ า หลอด เลื อ ดแดงหรื อ ด� ำ บริ เ วณขาหนี บ หรื อ ที่ข้อมือ สวนย้อนขึ้นไปที่หัวใจ (หลอด

และคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ก่อนปีใหม่ ๒๕๕๖ ที่ ร พ.นครพั ฒ น์ โดยคุ ณ หมอ พรชัยแจ้งว่าขณะนี้มีผู้ป่วยรอฉีดสี สวน หัวใจ และอาจจะต้องใส่บอลลูน +/- ขด ลวด อยู่ประมาณ ๕๐-๘๐ คน โดยทุก คนรอคิวอยู่กับ รพ.มอ., รพ.สุราษฎร์ธานี และรพ.ในกรุงเทพอีกหลายแห่งมาแล้ว ระยะหนึ่ง

ต้องส่งไปสวนหัวใจ ฉีดสี เพื่อให้ทราบ ต�ำแหน่งที่แน่นอน รวมทั้งระดับความ รุนแรง (ตีบมาก – น้อย) ประกอบการ ตัดสินใจว่าจะต้องขยายหลอดเลือดด้วย บอลลู น และใส่ ข ดลวดเอาไว้ ( ป้ อ งกั น การตีบซ�้ำ) และการใส่บอลลูน/ขดลวด ดังกล่าว สามารถท�ำต่อเนื่องกันไปได้เลย ในการสวนหั ว ใจคราวเดี ย วกั น เพราะ

เลือดด�ำ วิ่งเข้าหาหัวใจ หลอดเลือดแดง ก็ออกมาจากหัวใจ) เพื่อตรวจลักษณะ ของหลอดเลื อ ดโดยการฉี ด สารทึ บ รั ง สี ท�ำให้สามารถมองเห็นผนังหลอดเลือดหัวใจได้ ส่วนไหนที่สีไม่ผ่าน หรือผ่าน น้อย ก็หมายถึงหลอดเลือดตีบมาก–น้อย ขณะเดียวกันยังสามารถวัดความดันหรือ ระดับออกซิเจนในห้องหัวใจได้

สามารถใช้เครื่อง และเทคนิคนี้มา รักษาโรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด หรือรูรั่ว ของหัวใจได้โดยไม่ต้องผ่าตัด (ในอดีต ต้องรักษาโดยการผ่าตัดเท่านั้น) เช่น ๑. การปิ ด ผนั ง รู รั่ ว ในห้ อ งหั ว ใจ ด้านบน (ASD) ด้วยอุปกรณ์พิเศษ ๒. การปิ ด หลอดเลื อ ดที่ เ ชื่ อ มต่ อ ระหว่ างหลอดเลื อ ดแดงใหญ่ กับ หลอด เลือดด�ำใหญ่ ที่ปอด (PDA) ๓. การปิดหลอดเลือดที่มีปริมาณ มากกว่าปกติ (pulmonary AVM) หรือ ขนาดที่ใหญ่ผิดปกติ เช่น aneurysm ๔. การถ่างขยายโรคภาวะลิ้นหัวใจ ที่ตีบแต่ก�ำเนิด เช่น pulmonic valve stenosis ๕. การถ่างขยายลิ้นหัวใจไมตรัลที่ มีการตีบ (mitral stenosis) โดยเฉพาะ โรคหัวใจรูมาติกส์ ๖. การปิดรูรั่วระหว่างผนังกั้นหัวใจ ห้องล่างตั้งแต่ก�ำเนิด(ยังอยู่ในช่วงการ พัฒนาเพื่อการรักษาที่ดีมากขึ้น) ๗. การถ่ า งขยายลิ้ น หั ว ใจชนิ ด เอ-ออติกส์ที่ตีบรุนแรง(severe aortic stenosis) ที่ มี ป ั จ จั ย เสี่ ย งสู ง จากการ ผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

มได้ ทิ้ ง ค้ า งไว้ ใ นฉบั บ ที่ แ ล้ ว เกี่ ย วกั บ ความเป็นมาของการวางผังแม่บทสวน สาธารณะ ‘ศรีธรรมโศกราช’ อันเป็นสถานที่ ประดิษฐานขององค์พระเจ้าศรีธรรมโศกราช ให้เป็นสวนเฉลิมพระเกียรติ ( Royal Honor Park ) ผมก็ขอว่าต่อถึงแนวคิดใน การออกแบบ ( Conceptual Design ) ซึ่ ง ตอนเริ่ ม ต้ น เป็ น ชื่ อ “โครงการสวน สาธารณะอุทยานศรีธรรมโศกราช” โดย ก�ำหนดความต้องการของโครงการไว้ดังนี้ ๑. เป็นสวนสาธารณะส�ำหรับการพัก ผ่อนของชาวเมือง ๒. เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และเฉลิมพระเกียรติ ๓. เป็นสถานที่แสดงกิจกรรมและการ แสดงทางประเพณีและวัฒนธรรม ๔. เป็นสถานที่อนุรักษ์บางส่วนของ กรมราชทัณฑ์และกรมศิลปากร โดยมี ข ้ อ ก� ำ หนดและข้ อ จ� ำ กั ด อยู ่ หลายเรื่องที่ต้องพิจารณา เช่น - ต�ำแหน่งที่ตั้งของอนุสาวรีย์พระเจ้า ศรีธรรมโศกราชจะต้องไม่อยู่ภายในขอบเขตรั้วเรือนจ�ำ (ตามประชามติชาวเมือง) จึ ง ได้ ว างไว้ บ นถนนระหว่ า งเรื อ นจ� ำ กั บ ที่ ท�ำการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคฯ และพระพักตร์ ขององค์พระรูปต้องหันไปทางทิศใต้อันเป็น ที่ตั้งเมืองพระเวียง (ตามเงื่อนไขของกรม ศิลปากร) - จะต้องอนุรักษ์บางส่วนของอาคาร เรือนจ�ำคือป้อมรักษาการณ์ด้านหน้า และ อาคารเรื อ นขั ง ด้ า นหลั ง ๒ หลั ง (ตาม เงื่อนไขของกรมราชทัณฑ์) - ก�ำหนดให้มีสะพานเดินเชื่อมต่อจาก สวนแห่งนี้ไปยังสนามหน้าเมืองได้โดยตรง และให้ มี ล านจอดรถยนต์ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ ง เที่ ย วและผู ้ ม าใช้ บ ริ ก ารสวนแห่ ง นี้ ฯลฯ เป็นต้น จากโจทย์ ดั ง กล่ า วจึ ง มี ก ารก� ำ หนด พื้ น ที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ ( Zoning ) ไว้ ดั ง นี้ (กรุณาดูจากผังบริเวณประกอบด้วยครับ) พื้นที่ ๑ บริเวณอนุสาวรีย์พระเจ้าศรี ธรรมโศกราช เป็นต�ำแหน่งที่ถูกก�ำหนดไว้ แล้วโดยคณะกรรมการก�ำกับผังฯ

www.nakhonforum.com

รูปแบบฐานจะเป็นผังย่อมุม ๑๒ มี ทางเดินรอบองค์พระรูป และมีน�้ำล้อมรอบ โดยมีแท่นประติมากรรมรูป ๑๒ นักษัตร ที่สื่อถึงราชอาณาจักร ๑๒ เมือง (ปัจจุบัน สร้างได้เพียง ๖ แท่น และยังไม่มีประติมากรรมใดๆ) พื้ น ที่ ๒ บริ เ วณลานทางเข้ า หลั ก เป็ น ทางแยกจั ตุ รั ส กระจายไปยั ง บริ เ วณ ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ โดยมี ป ระติ ม ากรรมที่ เ ป็ น เชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ใ นการเฉลิ ม พระเกี ย รติ หรือกิจกรรม เช่น รูปพานพุ่มเครื่องราช บรรณาการ มีประติมากรรมประกอบ เช่น รูปท่าร�ำมโนราห์ หรือสัญลักษณ์ น โม ฯลฯ (ปัจจุบันยังไม่มีประติมากรรม และเป็นที่ ปีนป่ายของเด็กๆ ) พื้นที่ ๓ บริเวณสนามและสวนตกแต่ง เป็นการจัดสวนเพื่อเน้นและส่งเสริมบริเวณ ให้อนุสาวรีย์ดูเด่น โดยจัดให้มีรูปแบบเป็น ทางการในการเฉลิมพระเกียรติ ( Formal Style) เช่นการจัดสวนไม้ดอก การปลูกต้น ชาดัดที่สามารถตัดแต่งให้เป็นรูปทรงต่างๆ ได้ รวมทั้งการปลูกต้นไม้รูปทรงแบบฉัตร ปลูก ๒ ข้างทางเดินเพื่อเป็นการน�ำสายตา ไปสู่อนุสาวรีย์ (ปัจจุบันเป็นที่วางเต็นท์จัด กิจกรรมในเทศกาลต่างๆ)

พื้ น ที่ ๔ บริ เ วณป้ อ มรั ก ษาการณ์ ด้านหน้า ปรับปรุงให้เป็นสถานที่การเรียน รู้สิ่งก่อสร้างเชิงประวัติศาสตร์ และขยาย ทางเท้าให้กว้างขึ้น ออกแบบให้มีที่นั่งพัก และสระน�้ ำ พุ เ พิ่ ม ความรู ้ สึ ก ที่ เ ย็ น แก่ ผู ้ ที่ สัญจร พื้ น ที่ ๕ บริ เ วณเนิ น ก� ำ แพงเมื อ ง จ�ำลอง สร้างขึ้นใหม่เพื่อเป็นฉากหลังให้ เกิดบรรยากาศแบบโบราณที่นักท่องเที่ยว สามารถขึ้นไปถ่ายรูปสวนมุมสูงได้ อีกทั้งยัง เป็นเวทีกลางแจ้งในกิจกรรมทางวัฒนธรรม และเพื่อแบ่งเขตอาคารเรือนขังเก่าที่ยังคง อนุรักษ์ไว้ (ใต้เนินนี้เป็นห้องน�้ำสาธารณะ แต่ปัจจุบันไม่มีผู้ดูแลจึงปิดตายไว้) พื้ น ที่ ๖ บริ เ วณลานกิ จ กรรม เป็ น ลานโล่งระหว่างอาคารเรือนขังที่ต้องการ อนุรักษ์ ๒ หลัง ซึ่งอาจปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์กรมราชทัณฑ์ หรือขายสินค้าที่ระลึก แก่นักท่องเที่ยว ( ปัจจุบันเหลือหลังเดียว ) บริ เ วณลานนี้ ส ามารถจั ด การแสดงทาง ประเพณีวัฒนธรรมตามเทศกาล หรือตลาด นัดชุมชนได้ พื้นที่ ๗ บริเวณลานจอดรถยนต์ และ รถทัวร์นักท่องเที่ยว ( ปัจจุบันบางเวลาใช้ เป็นลานกีฬา )

พื้นที่ ๘ บริเวณการแสดงกลางแจ้ง (Amphi Theater ) จั ด สร้ า งเป็ น ป้ อ ม ก�ำแพงเมืองที่เป็นทั้งเวทีและขั้นบันไดนั่ง ชม (ปัจจุบันมีโรงละครขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดแล้วอาจไม่จ�ำเป็นต้องสร้าง) พื้นที่ ๙ บริเวณป้อมและก�ำแพงเมือง ที่สร้างขึ้นใหม่บางส่วน เพื่อให้สอดรับกับ ก�ำแพงเมืองเก่าอีกฝั่งถนน พื้นที่ ๑๐ บริเวณสะพานคนเดินข้าม คลองไปยังสนามหน้าเมือง ผั ง แม่ บ ทที่ น� ำ มาแสดงนี้ เ ป็ น การ ออกแบบหลังจากทางเทศบาลนครนครศรีธรรมราชได้รับมอบพื้นที่ให้ดูแล เมื่อมีการ ก่อสร้างจริงก็มีการเปลี่ยนแปลงบางบริเวณ หรือสร้างได้ไม่ครบองค์ประกอบ ซึ่งก็คง เป็นไปตามนโยบายแต่ละยุคสมัยของผู้ที่ มีหน้าที่ดูแล แต่ก็อยากให้ได้รับทราบถึง วัตถุประสงค์หลักที่ชาวนครได้เรียกร้องให้มี การสร้างอนุสาวรีย์นี้ขึ้นมาเพื่อความภูมิใจ ในความยิ่งใหญ่ของราชอาณาจักรในอดีต จึงควรทบทวนในการปรับปรุงให้สมบูรณ์ แบบ รวมทั้ ง การใช้ ส ถานที่ ใ ห้ เ หมาะสม กับความเป็น “สวนเฉลิมพระเกียรติแห่ง พระเจ้าศรีธรรมโศกราช”


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

ต่อจากฉบับที่แล้ว บทบาทของผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู และ สายสนับสนุน หลังจากปรับเปลี่ยนบริบทแล้ว บุคลากรที่รับผิดชอบการใช้แท็บเล็ต จ�ำเป็น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นบทบาทของตนให้ ส อดคล้องไปด้วย ๑. บทบาทผู้บริหาร ๑) เปลี่ ย นทั ศ นคติ ใ นการเป็ น ผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการ เน้ น เรื่ อ งเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่จะน�ำมาใช้ในการศึกษา มีความ ตระหนั ก ให้ ค วามส� ำ คั ญ และจริ ง ใจกั บ แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ๒) ริเริ่ม ด�ำเนินการ สนับสนุนติดตาม และศึ กษาหาความรู ้ ค วามเข้าใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อน�ำมาปรับใช้ใน งานบริหารและจัดการ และบริการ ๓) จั ด ระบบการน� ำ แท็ บ เล็ ต ไป จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ตามแนว CIPOF Model ได้แก่ การปรับบริบท การ จัดหาจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้า การก�ำกับดูแล กระบวนการ การติดตามและประเมินผลลัพธ์ และผลย้อนกลับและผลกระทบของ การใช้ คอมพิวเตอร์พกพา เพื่อการศึกษา ๔) สร้างเครือข่ายพันธมิตร และการ

เชื่อมโยมแลกเปลี่ยนเรียนความรู้ ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์และสื่อสังคม ๕) ก�ำกับดูแลการประกันคุณภาพของ ระบบการเรียนการสอนที่ใช้แท็บเล็ตเป็น เครื่องมือขับเคลื่อน ๒. บทบาทศึกษานิเทศก์ในการใช้แท็บเล็ตเพื่อ การศึกษา ศึกษานิเทศก์มีหน้าที่นิเทศการศึกษา แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้อง กับการเรียนการสอน ดังนั้น ศึกษานิเทศก์ จึงต้องมีความรู้และสมรรถนะในเรื่องที่จะ ไปนิเทศครู ส�ำหรับโครงการใช้ แท็บเล็ตเพือ่ การศึกษา ศึกษานิเทศก์มบี ทบาทดังนี้ ๑) ต้ อ งมี ทั ศ นคติ มี ค วามรู ้ ความ เข้าใจในการใช้คอมพิวเตอร์พกพา ๒) พั ฒ นาระบบการเรี ย นการสอน โดยใช้ คอมพิวเตอร์พกพา ทั้งที่เป็นสื่อหลัก และสื่อเสริม ท�ำการทดสอบและประเมิน เพื่อสร้างความเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้ แท็บเล็ต เพื่อการศึกษา ๓) สนับสนุนการใช้ คอมพิวเตอร์พก พา ในโรงเรียนและห้องเรียน ด้วยการจัดหา แหล่งความรู้ อย่างหลากหลาย เพื่อใช้ใน การน� ำ ไปจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ตาม ๘ กลุ่มสาระ ๔) ติดตามตรวจสอบ แก้ไข ช่วยเหลือ สนับสนุน ประเมินผลการใช้แท็บเล็ต อย่าง น้อย ๓ ครั้งต่อหนึ่งภาคเรียน

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๕) แนะน� ำ และส่ ง เสริ ม การประกั น คุ ณ ภาพของระบบการเรี ย นการสอนที่ ใ ช้ คอมพิวเตอร์พกพา เพื่อน�ำมาเป็นข้อมูลใน การปรับปรุงการใช้แท็บเล็ต ให้ดีขึ้น ๓. บทบาทครูในการใช้ แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ๑) ปรับเปลี่ยน ทัศนคติ และวิธีการ สอนในการใช้แท็บเล็ต ๒) มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจในการใช้ แท็บเล็ต ๓) จัดหาสื่อ ศูนย์หรือแหล่งความรู้ที่ หลากหลายไว้เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนตามกลุ่มสาระ ๔) เตรียม และปรับเปลี่ยนห้องเรียน ให้ เ อื้ อ ต่ อ การใช้ แท็ บ เล็ ต ในการจั ด กิจกรรมการเรียนการสอน ๕) ก�ำกับ ดูแล รักษา ติดตาม และ ประเมินผลในการใช้ คอมพิวเตอร์พกพาใน ชั้นเรียนของตนเอง ๖) ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการประกั น คุ ณ ภาพของระบบการเรี ย นการสอนที่ ใ ช้ แท็บเล็ตด้วยการวิจัยในห้องเรียน การเก็บ ข้อมูลและเพื่อน�ำมาใช้ในการปรับปรุงการ ใช้แท็บเล็ตให้ดีขึ้น ๔. บทบาทนักเรียนในการใช้แท็บเล็ตเพื่อการ ศึกษา ๑) ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ ของการใช้แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ๒) ใช้ประโยชน์ คอมพิวเตอร์พกพา

เพื่อเป็นแหล่งความรู้ แหล่งปฏิบัติการ และ การท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้ความรู้ หลัก การใช้งานแท็บเล็ต ๓) ศึ ก ษาค� ำ ชี้ แ จงหลั ก การท� ำ งาน เครื่องมือ การเข้าใช้งานในคอมพิวเตอร์พก พาและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำอย่างตั้งใจ ๔) ดูแล และเก็บรักษาแท็บเล็ตให้อยู่ ในสภาพดี ไม่ท�ำลายหรือปล่อยปละละเลย ให้เสียหาย หรือสูญหาย ๕. บทบาทบุคลากรสายสนับสนุนในการใช้คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการศึกษา บุคลากรสายสนับสนุนได้แก่ บุคลากร โรงเรียนที่ไม่ใช่ผู้บริหารและสายสอน อาทิ บรรณารักษ์ นักเทคโนโลยีการศึกษา เจ้า หน้าที่บริหารและธุรการ บทบาทบุคลากร สายสนับสนุน คือ ๑) ศึกษาหาความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับ แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา (ทุกฝ่าย และทุกคน) ๒) ศึกษาบทบาทการให้การสนับสนุน การใช้แท็บเล็ตเพื่อการศึกษาตามขอบข่าย หน้าที่ (นักเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา) ๓) ให้การสนับสนุนในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนกับองค์กร ท้องถิน่ ทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้อง (ทุกฝ่ายทุกคน) ๔) จัดหาแหล่งการเรียนในชุมชน บน เครือข่ายการใช้แท็บเล็ตเพือ่ การศึกษา (บรรณารักษ์และนักเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา) ๕) ให้ ก ารสนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการใช้ คอมพิ ว เตอร์ พ กพา เพื่ อ การศึ ก ษาตามบทบาทของฝ่ า ยสนั บ สนุ น แต่ละฝ่าย (ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิชาการ ฝ่าย เทคโนโลยีการศึกษา)

เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งอาเซียน ในประเทศไทยจัดขึ้นเป็นครั้งที่ ๘ ก�ำลังเริ่มต้นขึ้นแล้ว ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ถึงวันที่ ๑๐ ธันวาคม ศกนี้!

“ม

นุ ษ ย์ กั บ ปลาอยู ่ ด ้ ว ยกั น ได้ ไ หม ที่ใต้ทะเล” “ในอนาคตเราจะมี รถยนต์ที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมอีกต่อไปได้ จริงหรือ” “การล้างมือนั้นส�ำคัญไฉนและ สบู่มีประสิทธิภาพอย่างไร” “อะไรจะเกิด ขึ้นหากมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างไร้การควบคุมในช่วง ๑๐๐ ถึง ๓๐๐ ปี ข้างหน้า” “จริงหรือไม่ที่ในอนาคตของมนุษย์เราอาจไม่ได้ท�ำสงครามเพื่อแย่งชิงน�้ำมัน แต่เพื่อแย่งชิงน�้ำ” “จริงหรือที่วัยรุ่นเป็นวัยที่เห็นแก่ตัว สะเพร่า ไร้เหตุผล ขี้โมโห” นี่คือ ตัวอย่างค�ำถามคร่าวๆ ที่คุณสามารถหาค�ำตอบได้ใน เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อ การเรียนรู้ที่ก�ำลังจะเริ่มขึ้น หัวข้อส�ำหรับเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์แห่งอาเซียนใน ปี ๒๕๕๕ นี้ คือ “น�้ำ” เทศกาลฯ ได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรอย่างเป็นทางการกับองค์การ สหประชาชาติที่ก�ำหนดให้ปี พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๘ เป็นปีทศวรรษสากลว่าด้วยน�้ำเพื่อชีวิต เพื่อท�ำให้เด็กยุคใหม่เกิดการเรียนรู้ เข้าใจและเห็นความส�ำคัญของทรัพยากรน�้ำที่ก�ำลัง เป็นประเด็นที่ส�ำคัญในปัจจุบันโดยผ่านสื่อภาพยนตร์ เทศกาลภาพยนตร์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การเรี ย นรู ้ แ ห่ ง อาเซี ย นนี้ เ ป็ น เทศกาล ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในแง่ของจ�ำนวนผู้เข้าชมเทศกาล โดยมีจุด ประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ผ่านสื่อภาพยนตร์โดยเน้นกลุ่มเยาวชนเป็น

หลักและเพื่อช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ ให้กับ ผู้ที่สนใจที่จะผลิตภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ หรื อ เพื่ อ เป็ น สื่ อ การเรี ย น การสอนจุ ด เด่ น ของเทศกาลภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์แห่งอาเซียนนี้คือการจัดฉาย ภาพยนตร์ วิ ท ยาศาสตร์ ผ นวกกั บ การจั ด กิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับเนื้อหา ภาพยนตร์ซึ่งจะให้ผู้เข้าชมเทศกาลฯ ได้ ร่ ว มตอบค� ำ ถาม ท� ำ การทดลอง เพื่ อ ให้ เกิดกระบวนการการเรียนรู้ที่เข้าถึงความรู้ และความจริ ง ด้ ว ยตนเอง ในปี ที่ ผ ่ า นมา มีผู้เข้าร่วมเทศกาลฯ กว่า ๒๔๐,๐๐๐ คน ทั่วภูมิภาคอาเซียน (กัมพูชา อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และปีนี้ลาว และพม่า ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกใหม่) โดยจัด ขึ้นปีละหนึ่งครั้ง ภาพยนตร์ทุกเรื่องพากย์เป็นภาษาประจ�ำชาติของประเทศนั้นๆ ในปีนี้มี ภาพยนตร์ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าฉายในประเทศไทยจ�ำนวน ๒๔ เรื่อง จาก ๑๐ ประเทศ ทั่วโลก แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์สาระบันเทิง ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยี และภาพยนตร์วิทยาศาสตร์วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ในงานเทศกาลฯ ได้มีการจัด ประกวดภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลโดยมีหัวข้อรางวัลดังต่อไปนี้ รางวัลภาพยอดเยี่ยม รางวัล ภาพยนตร์เพื่อการศึกษา รางวัลภาพยนตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ เพื่อการค้นพบ รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาชีวิตและรางวัลพิเศษจาก คณะกรรมการ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งอาเซียนในประเทศไทย จัดขึ้น ณ ศูนย์จัดฉายดังต่อไปนี้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา / นานมีบุ๊คส์-


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

อาจารย์แก้ว

ตอนที่ ๒

หลักการท�ำงาน ของเครื่องรับโทรทัศน์แต่ละรูปแบบ ๑. Cathode Ray Tube (CRT) หรือ จอแสดงผลแบบหลอดภาพ การท� ำ งานของจอ CRT จะท� ำ งาน อยู ่ ภ ายในหลอดสุ ญ ญากาศ โดยภายใน จะมี Heater Element (ไส้หลอด) เมื่อ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน จะเกิดความร้อน ขึ้น ท�ำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากวงโคจร รอบนิวเคลียสของอะตอม ในโมเลกุลของ ก๊าซที่บรรจุอยู่ภายในหลอดภาพ แล้วจึง ถู ก สนามไฟฟ้ า จากแผ่ น โลหะที่ มี รู ที่ เ จาะ เอาไว้วางอยู่ด้านหน้า Element นี้ ซึ่งรับ แรงดันไฟฟ้าด้วยแรงดันที่สูง (High Volts) ซึ่งจะท�ำให้เกิดการแตกตัวของอิออนของ ก๊าซเฉื่อย แล้วเกิดการเรืองแสงเป็นสีน�้ำเงิน ขึ้นที่บริเวณผิวหน้าของจอภาพ อันเนื่อง มาจากพลังงานของล�ำอิเล็กตรอนที่พุ่งไป ตกกระทบผิวจอ โดยเราควบคุมขนาด และ ต� ำ แหน่ ง การตกกระทบของอิ เ ล็ ก ตรอน

ได้ ด้วยการใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือใช้ สนามแม่เหล็กคล่อมที่ความกว้างของหลอด ภาพ ต่อมาได้พัฒนาให้เพิ่มความสามารถ ด้ า นความคมชั ด และความละเอี ย ดของ สี ด้ ว ยการใช้ ป ื น อิ เ ล็ ก ตรอน (Electron Gun) พร้อมทั้ง เพิ่มจ�ำนวนสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าขึ้นที่บริเวณคอของหลอดภาพ เมื่อ ล�ำแสงอิเล็กตรอนพุ่งผ่านคอไปแล้ว จะถูก ควบคุมด้วยการกราดตรวจ (Scan) ล�ำแสง อิ เ ล็ ก ตรอนในการพุ ่ ง ไปตกกระทบผิ ว จอ หลอดภาพ ณ ต�ำแหน่งที่ต้องการ ด้วยการ

เลิ ร ์ น นิ ง เซ็ น เตอร์ สุ ขุ ม วิ ท ๓๑ / ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย / โรงภาพยนตร์ ศรีศาลายา หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) / องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ คลอง ๕ / องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ณ จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อาคาร จามจุรีสแควร์ / อุทยานการเรียนรู้ทีเค พาร์ค / อุทยานการเรียนรู้นครศรีธรรมราช / สสวท.ร่ ว มกั บ ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษาท้ อ งฟ้ า จ� ำ ลองและศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ๑๕ แห่งทั่วประเทศ ได้แก่ ตรัง อุบลราชธานี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครราชสีมา สระแก้ว ขอนแก่น นครสวรรค์ สมุทรสาคร ล�ำปาง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นครศรีธรรมราช ยะลา และร้อยเอ็ด เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์แห่งอาเซียนที่จัดขึ้นในประเทศไทยได้รับความ ร่วมมือจากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และได้รับการสนับสนุนจากบริษัท ซีเมนส์ จ�ำกัด ประเทศไทย องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) และ CGIAR Challenge Program on Water and Food รวมถึงศูนย์จัดฉายและองค์กรร่วมจัดทุกแห่ง ขอเรียนเชิญสื่อมวลชนทุกท่านเข้าร่วม พิธีเปิดเทศกาลฯ วันศุกร์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาท้องฟ้าจ�ำลอง เอกมัย พิธีมอบรางวัล วันอังคารที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาท้องฟ้าจ�ำลอง เอกมัย (ในปีนี้ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ในแต่ละรางวัลจะ เป็นผู้เข้ารับรางวัลด้วยตนเอง) www.goethe.de/sciencefilmfestival สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ sciencefilmsecretary@bangkok.goethe.org เบอร์โทรศัพท์ ๐๒-๒๘๗-๐๙๔๒ ต่อ ๑๗

ใช้ ข ดลวดแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ให้ เ บี่ ย งเบนไป ตามความต้องการ หลังจากอิเล็กตรอนพุ่ง ไปตกบนผิวจอภาพ ที่มีการฉาบเคลือบผิว ด้วยสารฟอสฟอร์ (Phosphor คือ สารเคมี ที่จ ะเรืองแสงเมื่อมีอิเล็กตรอนมาตกกระ ทบ) ท�ำให้เกิดเป็นจุดแสงที่สว่างและมืด บนจอได้ ส�ำหรับจอสี ล�ำของอิเล็กตรอนที่ ยิงออกมาก่อนจะถึงฟอสฟอร์จะต้องผ่าน ส่วนที่เรียกว่า หน้ากาก (Shadow Mask) ซึ่ ง แผ่ น โลหะมี รู อ ยู ่ ต ามจุ ด ของฟอสฟอร์ เมื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ช ่ ว ยให้ ล� ำ แสงอิ เ ล็ ก ตรอนมี ความแม่นย�ำสูงขึ้นแล้ว ระยะระหว่างรูบน หน้ากาก ก็คือ ระยะระหว่างแต่ละจุดที่จะ ปรากฏบนจอด้วย โดยเราจะเรียกว่า dot pitch จอภาพที่มีระยะ dot pitch ต�่ำจะ มีความคมชัดสูงกว่า แต่ละจุดบนจอภาพสี จะประกอบด้วยฟอสฟอร์ ๓ จุด คือ สีแดง สีเขียว และสีน�้ำเงิน อย่างละหนึ่งจุดการยิง อิเล็กตรอนจะเริ่มจากมุมซ้ายบนและไล่ไป ตามแนวนอน เมื่อสิ้นสุดจอก็จะกลับไปเริ่ม ต้นที่แถวถัดไป ซึ่งการย้ายแนวอิเล็กตรอน จากท้ายแถวหนึ่งไปยังจุดเริ่มต้นของแถว ถัดไปนี้ เราเรียกว่า การกราดตรวจแบบแร สเตอร์ (Raster Scanning) ๒. จอ LCD (Liquid Crystal Display) การท�ำงาน LCD ส่วนประกอบหลักๆ ของจอภาพจะมี ๗ ส่วน ชั้นในสุดจะเป็น หลอดฟลู อ อเรสเซนส์ เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ใ ห้ แสงสว่างออกมา (ดังนั้นบางทีจึงเรียกกัน ว่าเป็นจอแบบ backlight คือให้แสงจาก ด้านหลัง ซึ่งต่างจากจอ LCD ที่เราพบใน อุ ป กรณ์ ข นาดเล็ ก ทั่ ว ไป ที่ มั ก จะเป็ น จอ ขาว-ด�ำที่ไม่มีแหล่งก�ำเนิดแสง แต่ใช้แสง ที่ส่องจากด้านหน้าจอเข้าไปสะท้อนที่ฉาก หลังออกมา ซึ่งไม่สว่างมากแต่ก็ประหยัด

หน้า ๑๕

ไฟกว่า เครื่องคิดเลขเล็กๆ นาฬิกา หรือ แม้แต่คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กบางรุ่น เช่น palm ก็ ยั ง ใช้ จ อแบบนี้ ) ถั ด มาเป็ น ส่ ว น ของ diffuser หรือกระจกฝ้าที่ท�ำให้แสงที่ กระจายออกมามีความสว่างสม�่ำเสมอ ส่วน ที่สามจะเป็น polarizer ซึ่งก็คือฟิลเตอร์ ชนิดหนึ่งที่ยอมให้คลื่นแสงในแนวใดแนว หนึ่งผ่านได้ แต่จะไม่ยอมให้คลื่นแสงในอีก แนวหนึ่งผ่านไปได้ ซึ่งส่วนมากนิยมวางให้ คลื่นแสงในแนวนอนผ่านออกมาได้ ต่อมา ก็จะเป็นชั้นของแก้วหรือ glass substrate ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นฐานส�ำหรับขั้ว electrode (ขั้วไฟฟ้า) ชั้นนอกถัดออกมาอีกก็จะเป็นชั้น ของ liquid crystal หรือชั้นของผลึกเหลว โดยจะมีชั้นถัดมาเป็นแผ่นแก้วปิดเอาไว้เพื่อ ไม่ให้ผลึกเหลวไหลออกมาได้ ส่วนชั้นนอก สุดจะเป็น polarizer อีกชั้นหนึ่งซึ่งนิยมวาง ให้ท�ำมุม ๙๐ องศากับ polarizer ตัวแรก ส่วนถ้าเป็นจอสีก็จะมีฟิลเตอร์สี (แดง เขียว และน�้ำเงิน) คั่นอยู่ก่อนที่จะถึง polarizer ตัวนอกสุดส่วนการท�ำงานของจอภาพแบบ นี้ จะเป็นดังนี้ เริ่มแรกแสงที่เปล่งออกมา จากหลอดฟลูออเรสเซนส์ จะส่องผ่าน diffuser ออกมา แสงที่ผ่านออกมานี้จะมีคลื่น แสงกระจายอยู่ทุกทิศทุกทาง เมื่อน�ำแสงนี้ มากระทบกับ polarize ตัว polarizer จะ กรองให้เหลือแต่คลื่นแสงในแนวนอนผ่าน ออกมาได้ เมื่อแสงผ่าน polarizer ออก มาแล้วก็จะมาถึงชั้นของผลึกเหลว ซึ่งจะ ถูกกระตุ้น (charge) ด้วยกระแสไฟจาก ขั้วไฟฟ้าบน glass substrate ผลึกเหลว ที่กระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าแล้วจะเกิดการ บิดตัวของโมเลกุล ซึ่งจะมากหรือน้อยขึ้น อยู่กับกระแสไฟฟ้าที่ปล่อยเข้าไป โดยจุด ที่ถูก charge มากที่สุดจะบิดตัวได้ถึง ๙๐ องศา เมื่อแสงผ่านชั้นของผลึกเหลวนี้แล้วก็ จะบิดตัวไปตาม โมเลกุลของผลึกเหลวด้วย ต่อมาเมื่อแสงเดินทางมาถึง polarizer ตัว นอกสุดซึ่งจะยอมให้เฉพาะคลื่นแสงในแนว ตั้งเท่านั้น ผ่านออกมาได้ คลื่นแสงที่ถูกบิด ตัวคามผลึกเหลวถึง ๙๐ องศาก็จะผ่านตัว polarizer ออกมาได้มากที่สุดกลายเป็นจุด สว่างให้เรามองเห็น ส่วนคลื่นแสงที่ถูกบิด ตัวน้อยก็จะผ่านออกมาได้น้อย ท�ำให้เรา เห็นเป็นจุดที่มีความสว่างน้อย ส่วนคลื่น แสงส่วนที่ไม่ถูกบิดตัวเลย ก็จะไม่สามารถ ผ่าน polarizer ออกมาได้ ท�ำให้กลายเป็น จุดมืดบนจอภาพ ส่วนถ้าเป็นจอแบบ LCD สี ก่อนที่แสงจะมาถึง polarizer ตัวที่สองก็ จะมีฟิลเตอร์สีท�ำให้แสงที่ออกมานั้นมีสีตาม ฟิลเตอร์นั้นด้วย (อ่านต่อฉบับหน้า)


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

Tarzanboy

รายังคงอัดทางชันไปยาวๆ จนตลอดสุด สันเขา เส้นทางจึงเปลี่ยนมาขึ้นๆ ลงๆ แต่ยังคงไปตามแนวสันที่พาดผ่านจากตะวัน ออกมุง่ หน้าตะวันตก “โน่นๆ ดู หากเราอยู่สูง บางทีเราก็ อาจจะต้องจ�ำภูมิประเทศเบื้องล่างไว้บ้าง นั่นหน้าผาหินสีแดงๆ นั่นคือเขาหน้าแดง คือจุดที่เราเริ่มเดินขึ้นมาเมื่อเช้า จ�ำไว้ให้ดี บางทีอาจจะต้องใช้” จะอย่างไรก็ตาม เวลา เดินป่า เราจะเผลอไปพูดไปคุย เรือ่ งอืน่ ๆ ที่ ไม่เกี่ยวกับป่ามากไม่ได้ หากเรายังไม่กลืน กับป่าได้ดี จนสามารถแยกประสาทสัมผัสไป คิดเรือ่ งอืน่ ได้ ทุกเวลา ในทุกสถานการณ์ก็ ยังคงต้องฝึกดู ฝึกจ�ำ และเก็บรายละเอียด ของป่าให้ได้มากทีส่ ดุ “เสียงน�้ำด้านซ้าย” เอ็กซ์เป็นอีกคนที่

ประสาทสัมผัสไวมาก “คราวก่อน พีล่ งไปนอนแถวนัน้ แหละ แต่คราวนี้ เราลองอัดยาวไปตามสันนี่ก่อน ไม่รวู้ า่ สุดตรงไหน” “พีบ่ อย แต่ทางมันเบีย่ งๆ ไปทิศใต้อยู่ นะ แล้วเราจะไปตะวันตกได้อย่างไร” มิลล์ ซึง่ ดูจริงจังกับการเรียนรูค้ รัง้ นี้ ตัง้ ข้อสังเกต “ใช่ บางครั้งเราจ�ำต้องเดินตามสัน หรือตัดข้ามไปมา สันเขามันพาเราวนอ้อมไป ในทิศที่ไม่ต้องการ ต้องท�ำอย่างไร ก็ไม่ต้อง คิดมาก ไปตามสันแต่ให้มีสติและคิดว่าเรา ได้เบีย่ งจากเป้าหมายเดิมแล้ว หากมันมีทาง ที่เบี่ยงเข้าหาได้ ค่อยวกเข้าไป แต่ถ้ายังไม่ ได้ ก็ให้จำ� ไว้เพียงเราเบีย่ งไปทางไหน แล้ว... ถ้ า มั น เบี่ ย งไปต่ อ จนถึ ง ตะวั น ออกผิ ด ทิ ศ ผิดทางไปไกล ก็ไม่นา่ จะใช่แล้ว คือถ้าเรายัง จ�ำทิศหลักได้ จะไปไหน อย่างไร ถึงตอนนัน้ ใจมันจะประเมินออกมาเองว่า...ใช่หรือไม่ใช่ ซะแล้ว”

“ต๊ อ บจ� ำ ไม่ ไ ด้ เ ลยฮ่ ะ พี่ หลงได้ แ น่ เลย” ต๊อบท�ำหน้าเด๋อด๋า เราแบ่งวิธีการ เดินออกเป็นคู่ ผมกะมิลล์ ต๊อบกะเอ็กซ์ เพือ่ ประโยชน์ในการถ่ายทอดประสบการณ์แบบ ใกล้ชดิ และก้าวต่อก้าว “สงสัยอะไรต๊อบถามเอ็กซ์น่ะ ถ้าหลง ก็...อีกสิบวันเจอกัน ฮ่า ๆ ๆ” “ใช่สนั มันทอดไปซ้าย เอ้ย ทิศใต้แล้ว แต่ป่าสวยดีเนอะ ใหญ่ครึ้มดี แถมมีขี้ช้าง ด้วย”มิลล์ยงั ใจจดจ่อกับเส้นทางและป่ารอบ ข้าง “ใช่ ขีท้ า่ นขุดหลายวันแล้ว หวังแต่วา่ มันจะไม่มรี อยใหม่ขนึ้ ๆ นะ ได้วงิ่ กันป่าราบ อีกแน่ แถวนี้ถิ่นมันแหละ” ทั้งรอยช้างและ รอยพราน เปรอะไปหมด บางครั้งท�ำให้เรา หลงและหลุดออกจากเส้นทางหลักได้ง่ายๆ เหมือนกัน “จุ๊ๆ โน่น” ผมกระซิบพร้อมชี้มือไป เหนือยอดไม้ ค่างสองสามตัวกระโจนตืน่ ด้วย ความตกใจ

“อ้าว !! แล้วนั่นมันดิ่งพสุธาท�ำไมละ พี่” ค่างหนึ่งในนั้น พุ่งดิ่งลงมาจากยอดสูง ลิบลิว่ ไม่มตี น้ ไม้อนื่ ในเป้าหมายมันเลย “พลั่ก..” เสียงดังฟังชัด แต่ก็มีเสียง คลานต่อหายไปในพงทึบอย่างรวดเร็ว “อี ก ตั ว แระ...พลั่ ก .” ค่ า งอี ก ตั ว ท� ำ เหมือนกัน คือกระโจนลงมาจากยอดไม้ใน แบบโล่งๆ ไม่มอี ะไรรองรับ เราพากันยืนมอง ด้วยความงงๆ “เออ นัน่ ดิ ท�ำไรของมันกัน...คงตกใจ เรา ไปกันเหอะ สงสารมัน” สิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก ของการเข้าป่า คือบางครั้งเราเป็นตัวส�ำคัญ ในการรบกวนหรือท�ำให้ปา่ และสัตว์ปา่ แตก ตื่น นั่นเพราะส่วนหนึ่งคือนักเดินป่ามือใหม่ ยังไม่สามารถท�ำตัวให้กลมกลืนหรือเงียบพอ เราวกลงสันที่เชื่อมต่อกันในร่องหุบ ได้ยิน เสียงน�้ำชัดเจนใกล้มาก จึงแวะลงไปเติมน�้ำ กัน พบว่า มันเป็นโป่งสัตว์ที่สมบูรณ์ทีเดียว มีทั้งรอยช้างป่า สมเสร็จ หมูป่า เปรอะไป หมด บริเวณนีน้ ำ�้ ดี และถือเป็นล�ำธารใหญ่ที่ ซ่อนอยูบ่ นไหล่เขาได้อย่างน่าแปลกใจ “เออ เอ้ย มันมีล�ำธารไหลใกล้สันเขา ขนาดนีเ้ ชียวรึ ข้างหน้าก็ไม่ได้สงู ไปกว่านี้ ดูดิ น�้ำเยอะด้วย ปลา กบ และสัตว์ใหญ่เพียบ เลย”ผมไม่เคยผ่านทางนี้ก็ออกจะงงๆ อยู่ เหมือนกัน “นอนนี่มั้ยพี่บอย ปลาเพียบเลย น่า นอนๆ” เอ็กซ์เสนอแนะมาอย่างกระหยิ่ม ยิม้ ย่อง “แต่..ตอนนี้บ่ายสามเอง ไปต่อดีกว่า มั้ ย เนี่ ย แพคน�้ ำ ให้ เ ต็ ม ที่ ค�่ ำ ไหนนอนนั่ น รึเอางัยสองสาว” “เอาไงเอากันพี่ ไม่มืดไม่นอน” แม้ มือใหม่ แต่ดเู ธอทัง้ สองเรีย่ วแรงยังเหลือเฟือ

เราอัดยาวกันต่อ ขึ้นสันที่ราบ ทางยัง คงเบีย่ งไปทิศใต้ ผ่านไปจนเกือบสูงสุด ก็เริม่ มีสันเขาสับขาหลอก ที่ขาดเป็นช่วงๆ และ มีสันเล็กๆ มาต่อ แต่เส้นทางกลับวนพาไป คนละทิศกับเป้าหมายเลย “เอ้ย ไม่ใช่แล้ว พี่คุ้นๆ แถวนี้ คราว ก่อนรู้สึกเราก็มาลังเลตรงนี้ ปีนต้นไม้ดูด้วย ดูดีๆ มันจะมีต้นหนึ่ง มีลูกศรชี้ขึ้นต้นไม้” เมื่ อ เข้ า สู ่ ที่ เ ก่ า ๆ ในความทรงจ� ำ ภาพ บรรยากาศหรือเหตุการณ์เดิมๆ ก็จะผุดขึ้น มา นั่นหมายถึง เรามีพื้นฐานในด้านระบบ ความจ�ำทีด่ ี และใส่ใจในทุกระยะไม่เว้นเรือ่ ง เล็กน้อย “นีๆ่ พีบ่ อย ต้นนี”้ เอ็กซ์ชเี้ ป้า “ใช่ จากต้นนี้ครานั้นเราย้อนกลับไป นิดหนึ่ง มีด่านสามแยกแล้วไปตามด่านนั้น และมีด่านสามแยกซ้อนกันอีกที ทางมันจะ เหมือนวกขึน้ เหนือ แต่ปลายทางวกลงตะวัน ตก ใช่ๆ ตามมาทางนี้ ใช่แล้ว”ผมเรียบเรียง ความจ�ำเดิม และจ�ำได้ว่า คราวก่อนเขา พยายามเข้ามาตามเส้นทางนี้ คราวนั้นเรา เริ่มพบรอยช้างใหม่ๆ สดๆ แถวนี้ ก่อนจะ ตามมันไปจ๊ะเอ๋กนั ในหุบข้างหน้า มาคราวนี้ มี ร อยเท้ า เพื่ อ นเก่ า เรา เหมือนกัน ตัวเดียวเดินเดี่ยว น่าจะเมื่อสี่ห้า วันก่อนช่วงฝนตก รอยลืน่ ไถล ยังชัดเจนอยู่ “ตามรอยนี่ไป มันเข้าเขาวงกตแน่ นีๆ่ มีรอยพรานใหม่ๆ ด้วย ไปทางนัน้ เหมือน กัน” ตอนนี้เรามีโจทย์ให้แกะรอยถึงสอง ชนิด และด้วยสัญชาตญาณอันคุ้นเคย ผม มัน่ ใจว่ารอยของช้างป่าตัวทีเ่ ห็น น่าจะมีเป้า หมายทีเ่ ดียวกับเรา “เอ พีบ่ อย ท�ำไมมันใหม่จงั รอยพราน เนีย่ แล้วท�ำไมมันหักกิง่ ไม้ถจี่ งั ดูดิ สามสีก่ า้ ว หัก เหมือนเพิ่งเคยมา” ด้วยสัญชาติญาณ แบบคนอยูป่ า่ เอ็กซ์กเ็ ห็นอย่างเดียวกับผม “ยังไงพี่บอย” สองสาวเข้ามาสมทบ ร่วมแก้สมการ “คือ...ถ้าเห็นแบบนีพ้ เี่ ดาเอาว่า หมอนี่ เพิ่งเคยเข้ามา เพราะถ้าเขารู้จักเส้นทางดี จะไม่ท�ำรอยชัดเจนขนาดนี้ พรานป่าอาชีพ น่ะ ห้าสิบถึงร้อยเมตรจะท�ำสัญลักษณ์สัก ครัง้ เพราะเขาอ่านเทรลทะลุอยูแ่ ล้ว” ความ สงสัยต่าง ๆ มันต้องมีทมี่ าและเหตุผล “...ใคร มาท�ำอะไรเมื่อสองวันก่อน และก�ำลังจะไปไหน ตอนนี้พักอยู่ตรงไหน แล้วมากี่คน ใครบ้าง” แม้ค�ำตอบจะอยู่ข้าง หน้า แต่บางหลักฐานก็บอกค�ำตอบให้ก่อน แล้ว “...บางทีพวกท�ำทัวร์เดินป่าแถวพิปูน นะ เขามีโปรแกรมเขาช่องลมเหมือนทีเ่ ราจะ ไปเนี่ยเหมือนกัน ดูๆ เหมือนจะมีคนแปลก ถิ่นเข้ามาด้วย ท�ำรอยให้เห็นชัดเหลือเกิน คือพรานเดินกันเองจะไม่ทำ� ร่องรอยมาก แต่ นี่ท�ำรอยเหมือนดูแลใครเหมือนให้คนเดิน ตามเห็นชัดๆ ถ้ามากันเองก็ไม่จำ� เป็นต้องท�ำ ขนาดนี้ เดินกันเองได้อยูแ่ ล้ว” “โห เขาดูกนั ขนาดนีเ้ ลยหรือพี่ ...แล้ว เขาชื่ อ อะไร” เราต่ า งพากั น หั ว เราะก๊ า ก บรรยากาศผ่อนคลายลงไปทันที และนั่นก็ ด้วยค�ำถามซื่อๆ ของพยาบาลสาวนามว่า


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

น้องต๊อบ เราเลยเรียกเขาใหญ่ว่า ต๊อบสมองเบา! คือ ฉายาของเธอ “ฮ่า ๆ ๆ แหมนัน่ ซิ เขาชือ่ อะไรหว่า ...ไปๆ ถาม ดูกันดีกว่า” แม้จะเป็นเพียงมุขข�ำๆ แต่ในความเป็น จริง หากเราเจอรอยที่คุ้นเคยกันมาก่อน ไม่ว่าวิธีหัก ไม้ การใช้มดี ซ้ายรึขวา หยุดพักบริเวณแบบไหน และ ทิง้ อะไรไว้บา้ ง นัน่ จะท�ำให้เรารูไ้ ด้ทนั ทีวา่ ....เขาคือใคร เราเดินล่องลงหุบ ขึน้ สัน...ข้ามล�ำธารเล็กๆ และ ขึ้นสันอีก อ้อมไปทิศใต้ วกไปตะวันตก บางทีก็อ้อม ไปเหนือ ช่วงสั้นๆ เพราะทางรกและไม้ใหญ่ล้มขวาง ทาง แต่ก็พยายามเบนเข็มไปตะวันตกให้ได้ รอยท่าน ขุน (ช้างป่า) ยังคงทับรอยเดียวกันกับพรานป่านิรนาม ผมนั้นยึดรอยช้างเป็นหลัก แม้ว่ารอยพรานจะเห็น ชัดๆ จะๆ แต่ผมเป้าหมายเราอยู่ที่เจ้าจมูกยาวที่ก�ำลัง ไป เราข้ า มไปข้ า มมาไปหลายสั น เกื อ บจะห้ า โมง กว่าแล้ว ฟ้ายังสว่างอยู่ เพราะเรายังอยู่บนเนินที่สูง กว่า สัญญาณ แห่งรหัสป่าก็บอกเวลาของมันไปตาม ธรรมชาติ “แหง่งๆ ๆ ๆ” เสียงจักจั่นชนิดร้องตอนเย็น สื่อความบอกเราว่า อีกเนินเดียว ควรจะหาที่ตั้งแค้ม ได้แล้ว “ได้ยนิ มัย้ จ�ำเสียงนีไ้ ว้ให้ดี ชาวป่าเรียกปีเ่ ทวดา หรือเรไร บางทีเราไม่มีนาฬิกา ก็ต้องฟังเสียงแบบนี้ไว้ มันบอกให้เราหาทีน่ อนแล้ว ใกล้คำ�่ แล้ว”ต๊อบกับมิลล์ดู จะสนใจเป็นพิเศษ หยิบนาฬิกาขึน้ มาเทียบดู “มันร้องตอนใกล้หกโมงรึพ”ี่ “ไม่ . ..เริ่ ม จากสี่ โ มงกว่ า ๆ สั้ น ๆ และค่ อ ย ยาวๆ วังเวงๆ ขึ้นเรื่อยๆ” รหัสข้อนี้มันมีรายละเอียด ในน�ำ้ เสียงบอกความหมายต่างกัน ต้องฝึกจ�ำและฟังให้ ละเอียดก่อนทีจ่ ะสรุปความ “แล้วเราจะรู้ได้งัยพี่ เสียงมันเหมือนกันหมด ต๊อบได้ยนิ ทัง้ วันเลย” ดูเหมือนเธอจะเป็นคนเบาสมอง แต่ทว่าผมกะเอ็กซ์ก็เล็งเห็นว่า ค�ำถามแต่ละค�ำ มันมี เหตุผลชวนคิด ไม่แค่ชวนข�ำอย่างเดียว “ก็....เหมือนพี่กะต๊อบ คนละเสียงกัน มิลล์ รึ เอ็กซ์กเ็ หมือนกัน ฟังอย่างไรก็รวู้ า่ คนละคนกัน และถ้า ถึงเวลาของเรา เราก็จะส่งเสียงตามเสียงเราก็ไม่เหมือน คนอืน่ อยูแ่ ล้ว ฟังดีๆ จะรูว้ า่ มันคนละตัว คนละชนิด และ...คนละความถี่เสียง ...โลกนี้ไม่มีอะไรเหมือนกัน หรอก เดีย๋ วเราจะค่อยๆ รูส้ กึ เอง” เรือ่ งมันง่ายๆ แต่ อธิบายและแยกแยะในทางปฏิบตั ยิ าก นัน่ ส�ำหรับหูคน ที่อยู่แต่เมืองใหญ่มาชั่วชีวิต แต่ส�ำหรับคนอยู่ป่าอย่าง พวกเรามันต้องแยกได้ ...และนี่เป็นเหตุผลส�ำคัญที่เธอสองคนตั้งใจมา หาผม....ตั้งใจมาเรียนรู้วิถีของพรานป่า และตั้งใจมา หาธรรมชาติพิสุทธิ์เพื่อหลอมรวมชีวิตจิตใจเป็นหนึ่ง เดียวกัน

มได้ยินกิตติศัพท์ถึงความเรียบง่ายแบบ ดิบดิบ ทีไ่ ม่มไี ฟฟ้าใช้ ไม่มคี ลืน่ มือถือ ไม่มี สิง่ อ�ำนวยความสะดวกใดใด ของหน�ำนายเล็ก แห่งหุบเขาต้นน�ำ้ ของบ้านคีรวี งมานานแล้ว จนวันหนึ่ง..ท่ามกลางอากาศร้อนของ เดือนเมษา ผมหลีกหนีความวุน่ วายสับสนของ ตัวเมืองนคร มุง่ สูห่ บุ เขาในฝัน เมื่อ สุด ทางรถยนต์ที่น�้ำตกท่าหา ผม เลือกที่จะเดินเท้าแทนที่จะนั่งรถมอเตอร์ไซด์ แบบวิบากเข้าไป ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องสองข้ า งทาง เสียงน�้ำไหล เสียงนกร้องก้องป่า ท�ำให้หนึ่ง ชัว่ โมงผ่านไปอย่างรวดเร็ว ยิ่งเห็นขน�ำนายเล็กที่บรรจงสร้างริมน�้ำ อย่างลงตัว ยิง่ ท�ำให้คนเมืองหลายคนหลงร้อง ด้วยความดีใจ ยามพลบค�ำ่ บนเสือ่ กลางลานหน้าบ้าน เราได้ลิ้มลองรสชาติอาหารพื้นบ้านฝีมือคุณ แม่ของน้องเล็ก เป็นความทรงจ�ำทีว่ เิ ศษสุด คืนนั้น เรานอนฟังเสียงน�้ำไหล นอนดู

เมฆเคลื่อนไหลผ่านหน้าเราไป จะจับดาวลงใส่ในการ์ดกล้อง นอนฟัง เสียงป่าขับขานบทเพลงกล่อมนอนจนหลับใหล นครศรี เรา ดี๊ ดี เน๊อะ


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นภสร มีบุญ

กระหล�่ำปลีฮ่องเต้

อ ลั่ลล้า ฉบับนี้ขออนุญาตไปไหนไม่ ไกล ด้วยเพราะร่างกายยังไม่ฟื้นตัวดี นะคะ เลยต้ อ งหาที่ ส งบ แวดล้ อ มด้ ว ย ธรรมชาติ มาบ�ำบัดหัวใจให้ชมุ่ ชืน้ อีกครัง้ ค่ะ ..จากความวุ่นวายของรถยนต์ที่วิ่งผ่านใน ชั่วโมงเร่งด่วนบนถนนอ้อมค่ายวชิราวุธ ไม่ น่าเชื่อนะคะว่าเรายังสามารถหาสถานที่พัก ผ่อนอันสงบท่ามกลางความจอแจได้เช่นกัน ..ชีวิตมักเป็นเช่นนี้ค่ะ เมื่อมีวิกฤตก็ย่อมมี โอกาสมาด้วยเสมอ ล้ อ ที่ ห มุ น มาด้ ว ยความเร็ ว ตามที่ กฎหมายก�ำหนด มาหยุดตรงที่ป้ายสีเขียว และมีอักษรสีขาวน่ารักๆ เป็นภาษาอังกฤษ ..โรงแรมราวดี โรงแรมน้องใหม่หัวใจสีเขียว ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากความพยายามของนั ก ธุ ร กิ จ หนุม่ ทีแ่ อบหลงรักเสน่หข์ องงานบริการ จึง หันเหการท�ำธุรกิจที่ตนเองเคยถนัด มาท�ำ ในสิง่ ทีต่ นเองรักและมีความสุขกับสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� โรงแรมเล็ก ๆ ที่ห้องพักยังไม่ถึงหนึ่งร้อย ห้อง กับพื้นที่สวนที่พยายามตกแต่งให้เต็ม ไปด้วยต้นไม้ เพื่อเติมเต็มความเขียวให้กับ หับรรยากาศริ วใจของผูท้ มี่ ระเบี าพักยพร้ ง อมกับสิง่ อ�ำนวยความ

สะดวกครบครัน ภายในพืน้ ทีส่ เี ขียวสิบเก้าไร่ ของโรงแรมราวดี ประกอบด้วย ห้องพัก ห้องประชุม และห้องจัดเลีย้ ง รวมไปถึงการ จัดเลีย้ งสังสรรค์ ในสไตล์ บาร์บคี วิ พาร์ค ที่ ได้รับความนิยมจากลูกค้าด้วยบรรยากาศที่ รายล้อมด้วยธรรมชาติ และอากาศทีบ่ ริสทุ ธิ์ สูดหายใจได้อย่างเต็มปอด คือเสน่ห์ที่ท�ำให้ โรงแรมแห่งนี้มีลูกค้าเข้าใช้บริการอย่างต่อ เนือ่ ง และบอกต่อ ..ผลักประตูเข้ามาพบกับ ล็อบบี้เล็ก ๆ มีมุมพักผ่อน และมุมส�ำหรับ อ่ า นหนั ง สื อ พร้ อ มบริ ก าร wifi ส� ำ หรั บ ลูกค้าตลอดเวลา ระเบียงด้านนอกปกคลุม ด้วยต้นไม้ ดูรม่ รืน่ น่านัง่ พักผ่อนค่ะ อ่างปลา ขนาดใหญ่ กั บ ปลามั ง กรตั ว โตแหวกว่ า ย สายน�้ ำ ราวกั บ นางแบบที่ คอยโพสต์ ท ่ า สวยให้ ช วน มองอย่างเพลิดเพลิน แวดล้ อ มด้ ว ยต้ น ไม้ เ ขี ย วสลั บ ดอกส้ม ดูแล้วชีวิตช่างน่า อภิรมย์จริงๆ ส�ำหรับอาหาร เช้ า ของที่ นี่ บุ ฟ เฟ่ ต ์ เ ล็ ก ๆ ที่ มุ ม พั ก ผ่ อ น ส่ ว นอาหาร กลางวันก็สามารถสั่งได้ทุก เมนู อร่อยไม่แพ้กันทีเดียว ในวั น ที่ มี โ อกาสไปนั่ ง ชิ ม ฝี มื อ ของเชฟเราเริ่ ม เมนู แรกเรียกน�ำ้ ย่อยกับ ย�ำสาม กรอบ

กุ้งอบนมสด

แล้วสลับด้วยกุ้งอบนมสด กุ้งแม่น�้ ำ ตัวโต ตามด้วยห่อหมกราวดี (ที่คัดสรรหอย แมลงภู่นิวซีแลนด์คัดไซส์มาอย่างดี) เป็น ส่วนประกอบ แค่ค�ำแรกที่ตักก็อร่อยนุ่มลิ้น ซะแล้วค่ะ ส่วนรสชาติของย�ำสามกรอบก็ ออกรสกลมกล่อม ไม่จัดมาก แต่ก็ทานได้ เพลินค่ะ .. อาหารจานหลักโต๊ะจีน กะหล�ำ่ ปลี ฮ ่ อ งเต้ อร่ อ ยด้ ว ยสั ด ส่ ว นที่ ล งตั ว ของ เครือ่ งปรุงทีเ่ ลือกมาอย่างลงตัว ไม่วา่ จะเป็น

หมู ผั ด เครื่ อ งหมั ก น� ำ มา ผัดกับเกาลัด พุทรา แปะก๊วย เม็ดมะม่วงหิมพานต์ พริกทอด ฯลฯ แล้วน�ำมา ใส่กะหล�่ำปลีหัวใหญ่ ทาน ได้ทั้งหมด และหมดทั้งจาน พร้อมกับแกงพื้นบ้านรสจัด จ้านกับเมนูปลาดุกนาคั่วใบ ราที่ ทั้ ง หอมทั้ ง เผ็ ด ลงตั ว มากมายส� ำ หรั บ นั ก ชิ ม ที่ ชื่นชอบอาหารรสจัดค่ะ .. เรียกว่ามื้อนี้อาหารทั้งอร่อยและทั้งสวยงาม ตามมาตรฐานของเชฟชือ่ ดัง .. ..แอบกระซิบค่ะว่าตั้งใจจะแอบถาม ชื่อเชฟมาเล่าสู่กันฟัง แต่ทางโรงแรมค่อน ข้างหวง อิอิ (เลยต้องออกอาการเกรงใจ) ถ้าสนใจกันจริงๆ ลองแวะไปชิมที่ครัวราวดี ได้ทกุ มือ้ ค่ะ เปิดบริการตัง้ แต่ เวลา ๐๔.๐๐ - ๒๒.๐๐ ปิดรับการสั่งอาหาร .. ได้เวลาที่ หนังท้องเริ่มตึงแล้วก็ตามสไตล์ค่ะ คิดถึงที่ นอนนุม่ ๆ ห้องพักสวยๆ ท่ามกลางธรรมชาติ ของที่ นี่ ขึ้ น มาทั น ที โรงแรมราวดี พ ร้ อ ม เสมอที่จะบริการคุณดุจคนในครอบครัว .. หลับให้สบาย กระจายความสดชื่นให้กับ ปอดอย่ า งเต็ ม ที่ กั บ ที่ นี่ โรงแรมราวดี ที่ นครศรี ดี๊ ดี ค่ะ.. ขอขอบคุ ณ คุ ณ สรวิ ศ จั น ทร์ แ ท่ น กรรมการผู้จัดการ และทีมงานที่น่ารักทุก ท่านค่ะ ข่าวดีส�ำหรับผู้อ่าน นสพ.รักบ้านเกิด ทุกท่านค่ะ รับส่วนลดทันที ๑๐% ส�ำหรับอาหารและเครือ่ งดืม่ รับส่วนลด ห้องพัก ๒๐% ตลอดเดือนธันวาคม ส�ำรองที่พัก โทร.๐๗๕-๔๕๑-๘๙๙ โทรสาร ๐๗๕-๔๕๑-๙๒๕ E-mail : ravadeehotel@gmail.com ๓๗๕ หมู่ที่ ๕ ถนนอ้อมค่ายวชิราวุธ ต.ปากพูน อ.เมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๘๐๐๐๐


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.084-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.