ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน ๒๕๕๖
พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช
http://www.nakhonforum.com
แจ้งผู้ผลิต ผู้ประกอบการ จังหวัดนครศรีฯ พร้อมมอบตรารับรอง สินค้าและบริการคุณภาพ (NAKHONSI QUALITY BRAND) ผลิตภัณฑ์ นครศรี ดี-เด่น-โดน ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСÒญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์
˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓
นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์
เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ นายวิ โ รจน์ จิ ว ะรั ง สรรค์ ผู ้ ว ่ า ราชการ จังหวัดนครศรีฯ เปิดเผยว่า จังหวัดได้มอบ หมายให้ ส� ำ นั ก งานพาณิ ช ย์ จั ง หวั ด นครศรีฯ ด�ำเนินการจัดท�ำและประชาสัมพันธ์ ตราสัญลักษณ์สินค้าและบริการคุณภาพ (NAKHONSI QUALITY BRAND) ภายใต้ โครงการนครแห่งความพอเพียง ตามแผน ปฏิบัติราชการจังหวัดประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่อสร้างภาพลักษณ์ ส่งเสริม
ราคา ๒๐ บาท
NAKHONSI QUALITY BRAND
การตลาดของสินค้าและบริการทีไ่ ด้คณ ุ ภาพ และมาตรฐาน ภายใต้กรอบแนวคิดผลิตภัณฑ์นครศรี ดี-เด่น-โดน เพื่อให้ผู้บริโภค มีความมั่นใจในคุณภาพของสินค้า ผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งจังหวัดได้แต่งตั้งคณะ กรรมการบริหารเครื่องหมายรับรองสินค้า และบริ ก ารคุ ณ ภาพสิ น ค้ า นครศรี ฯ และ คณะท� ำ งานบริ ห ารการใช้ เ ครื่ อ งหมาย รับรองสินค้าและบริการคุณภาพนครศรีฯ ขึน้ มาโดยให้คณะท�ำงาน >> อ่านต่อหน้า ๘
รายงาน
˹éÒ ñ๗
นพ.ภาณุ ม าศ ญาณเวทย์ ส กุ ล ผอ.สคร. ๑๑ เตื อ นระวั ง วั ณ โรคติ ด ง่ า ยดู แ ลผิ ด อาจ ดื้ อ ยา ไข้ ห วั ด นกสายพั น ธุ ์ ใ หม่ อั น ตราย กว่าที่คิด
ว่า วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในหลายๆ ประเทศ รวมทั้ ง ประเทศไทยก็ เ ป็ น ๑ ใน ๒๒ ประเทศ ที่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลกจั ด ว่ า มี ป ั ญ หา วัณโรคสูง ปัจจุบันคนไทยป่วยรายใหม่ปีละกว่า นายแพทย์ ภ าณุ ม าศ ญาณเวทย์ ส กุ ล ผู ้ ๘๖,๖๐๐ คน ซึ่ ง วั ณ โรคสามารถแพร่ เ ชื้ อ ผ่ า น อ�ำนวยการส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๑ ทางการ ไอ จาม พูดคุย โดยไม่ปิดปาก เชื้อวัณโรค (ผอ.สคร.๑๑) จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช กล่ า ว จะออกมากับละอองเสมหะ >> อ่านต่อหน้า ๙
หน้า ๒
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
-
ครศรีธรรมราชอากาศร้อนอบอ้าวมาตั้งแต่ต้น ปีมีนาคม ๒๕๕๖ ลางแล้งปรากฏแล้วในหลาย พื้นที่ เกษตรจังหวัด เกษตรอ�ำเภอ เกษตรต�ำบล อย่านิ่งนอนใจ พืชผลทางการเกษตรของเกษตรกร อาจเสี ย หาย ป้ อ งกั น จั ง หวั ด หาทางรั บ มื อ กั บ ภั ย พิบัติและเตรียมพร้อมอย่างไร เพื่อลดความสูญเสีย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ป่ า พรุ ค วนเคร็ ง อาจมี ผู ้ ลั ก ลอบจุ ด ไฟ บุกรุกป่ าสงวน ฝ่ ายดูแลเข้มงวดเพีย งพอหรือ ยัง ขออย่าเอาหูไปนาเอาตาไปไร่ ถ้ารักหวงป่าพรุจริง เรื่ อ งน�้ ำ อุ ป โภคเทศบาลนครนครศรี ฯ อย่ า ปล่อยให้เกิดวิกฤตอย่างปีที่แล้ว ควรจัดหาแหล่ง น�้ำดิบ ให้เพียงพอ ทั้งบริห ารจัดการให้ชาวบ้านได้ ใช้น�้ำประปาสะอาดและไม่ขาดแคลน ประสานกับ การรณรงค์ให้ใช้น�้ำอย่างประหยัด ผู้บริหารเทศบาล ควรให้หลักประกันว่าโรงงานและบ้านเรือนจะมีน�้ำใช้ อย่างพอเพียง หรือหากขาดแคลนก็ควรแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้า อย่าเกิดปัญหาแย่งสูบปั๊มน�้ำกันอย่างน่า เวทนาในบางหมู่บ้าน เมษาหน้าร้อนเตรียมน�้ำ รถดับ เพลิงและคนให้พร้อมสรรพ ช่วงวันที่ ๔-๑๕ เมษายน แหล่งก๊าซยาดานา ซ่อมฐานเจาะหยุ ด ส่ ง ก๊าซให้ไทย ท�ำให้ไฟฟ้าที่ใ ช้ ก๊าซเป็นเชื้อเพลิงลดลงไป แต่โรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซจาก อ่าวไทยและน�้ำมันดีเซลเดินเครื่องอย่างเต็มที่ ข้อ สงสัยว่ าท� ำ ไมแหล่ งก๊าซยาดานาจึง ซ่อ มฐานเจาะ ช่วงไทยใช้ไฟฟ้าสูงสุด ค�ำตอบทางเทคนิค คือ ถ้า พ้นจากช่วงนี้ไปแล้วฝั่งอันดามันจะเข้าสู่ฤดูมรสุม การซ่อ มฐานเจาะประสบกับ ภัย ธรรมชาติและอาจ ใช้เวลานานกว่า ๑๐ วัน เมษายนนี้ประชาชนควร ประหยัดไฟอย่างเข้มข้น เพื่อให้ทุกครัวเรือนได้ใช้ไฟ ในการประกอบอาหารและอื่นๆ ในชีวิตประจ�ำวันโดย ไม่มีผลกระทบ เดินทางไกลขับรถยนต์โปรดส�ำรวจ อารมณ์ที่เป็นฟืนไฟและก�ำกับควบคุมให้สงบเย็น จะ ได้กลับไปร่วมท�ำบุญสงกรานต์-สักการะผู้ใหญ่อย่าง สุขกายสบายใจ
ไ
ม่ทราบว่ายังจ�ำกันได้หรือไม่ว่า เดือนเมษายนนี้นอกจากจะเป็น วันจักรี วันสงกรานต์ และวันครอบครัวแล้ว วันที่ ๒ อันตรงกับ ๓ ๒ ๔ วันประสูติของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๑ ยังถือว่าเป็นวันอนุรักษ์มรดกไทยอีกด้วย ผมเคยแนะน�ำไว้เมื่อ มาฆบูชาว่าอย่าพลาดไปชมนิทรรศการพิเศษที่พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ นครศรีธรรมราช โดยตลอดเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคมที่ผ่าน มา ผมได้น�ำหลายคณะบุคคลไปเยี่ยมชม และอยากชวนอย่างยิ่งว่า ท่านใดยังไม่ได้ไปชม ต้องไปอย่างยิ่งครับ ท�ำไมจึงได้กล่าวเช่นนี้ ? เพราะมีของดีที่อาจจะไม่มีอีกแล้วที่จะสามารถประมวลมาจัด แสดงได้อย่างนี้ ๖ ๗ เมื่อเดือนที่แล้ว ผมได้พบ อ.ดร.ปีเตอร์ สกิลลิ่ง ผู้เชี่ยวชาญ ๕ อั ก ขระโบราณระดั บ โลกซึ่ ง เข้ า ร่ ว มสั ม มนาว่ า ด้ ว ยหลั ก ฐาน โบราณคดีและหลักธรรมแรกในคาบสมุทรเอเชียอาคเนย์ เมื่อเดือน มกราคม ท่านบอกว่า ได้แนะน�ำให้หลายคนเดินทางมาดู ซึ่งพา กันลงมาแล้ว แล้วพวกเราในนคร หรือท่านที่มาถึงนครแล้วจะไม่ แวะไปดูดอกหรือ ? ๒) พระโพธิสัตว์เก่าแก่ที่สุด ผมขอแนะน�ำสัก ๔ - ๕ สิ่งส�ำคัญ ซึ่งหลายสิ่ง ผมเองก็เพิ่ง เฉพาะองค์ส�ำริดที่เหลือเพียงครึ่งองค์นี้ อาจเก่าถึงสมัย ได้เห็นเป็นครั้งแรก ปาละ กล่าวกันว่าเป็นหนึ่งในพระโพธิสัตว์ส�ำริดที่งดงามที่สุด พบ ที่พุนพิน สุราษฎร์ธานี เดิมจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ๑) พระพุทธรูปเก่าที่สุด สมเด็จพระนารายณ์ ลพบุรี และในการจัดนิทรรศการครั้งนี้ ได้ พระพุทธรูปทั้ง ๗ องค์นี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่อัญเชิญมาจัด อัญเชิญมาประดิษฐานถาวรที่นครศรีธรรมราช ในขณะที่มีพระพิมพ์ แสดง หลายองค์มีศิลปะอาจเก่าถึงสมัยอมราวดีในอินเดียโบราณ ดินดิบเป็นจ�ำนวนมากทั่วทั้งภาคใต้ที่พิมพ์รูปพระโพธิสัตว์ต่าง ๆ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๘ เก่าแก่กว่า ๓) ธรรมจักรเก่าที่สุด สมัยทวารวดี และ ศรีวิชัยที่เชื่อกันมาแต่ รู ป ธรรมจั ก รถื อ เป็ น หนึ่ ง เดิมว่าเป็นสมัยประวัติศาสตร์แรกๆ ของผืน ในสัญลักษณ์แทนพระธรรมหรือ แผ่นดินไทย องค์ที่ ๑, ๓, ๖ และ ๗ พบ การประกาศธรรมในพระพุ ท ธในนครศรีธรรมราช ที่ ต.นาสาร, อ.สิชล, ศาสนาที่นิยมสร้างท�ำในอินเดีย ต.จอมทอง และ วัดโมคลาน ตามล�ำดับ โบราณ และพบอย่างแพร่หลาย องค์ที่ ๒ พบที่พุนพิน องค์ที่ ๔ พบที่กระบี่ มากบนผื น แผ่ น ดิ น ไทยในสมั ย ๑ ทวารวดีที่นิยมแกะจ�ำหลักหินเป็น พระธรรมจั ก รดั ง ที่ พ บมากมาย ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สุพรรณบุรี ในลุ่มแม่น�้ำ ๑ ท่ า จี น -แม่ ก ลอง ต่ อ เนื่ อ งสู ่ ลุ ่ ม
๒
๕
๓
๖
๔
๒
๗
แม่น�้ำเจ้าพระยา ลพบุรี ป่าสัก และ บางปะกง จนข้ามสู่เขตพื้นที่ ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ในภาคใต้แม้จะพบน้อยและไม่ สมบูรณ์ แต่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งคือ เป็นรูปแบบที่อาจจะเก่ากว่า โดยเฉพาะ ๒ องค์แรก พบที่เมืองโบราณยะรัง ปัตตานี และ เขาศรี วิชัย สุราษฎร์ธานี ที่มีลักษณะเหมือนกัน รวมถึงภาพที่ ๓ และ ๔ ซึ่งเป็นธรรมจักรดินเผาโบราณ พบที่วัดมเหยงคณ์ (ร้าง) ในอ�ำเภอ ท่าศาลา ควรแก่การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมอย่างยิ่ง (ภาพที่ ๕ ชิ้น ส่วนธรรมจักรพบที่ไชยา) >> อ่านต่อหน้า ๙
๓
๔
๕
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๓
จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร
ช่
วงนี้ใครผ่านถนนหลังพระบรมธาตุฯ หรือไปตักบาตรที่ ตลาดท่าชี จะเห็นว่าศาลพระเสื้อเมืองก�ำลังอยู่ระหว่าง บูรณะ บุคคลต้นคิด คือ ณัฐวัฒน์ ภัทรสิริรดานันท์ (โกเต๋า) ประธานศาลพระเสือ้ เมือง ก่อนบูรณะศาลพระเสื้อเมืองช�ำรุดอย่างหนัก ปลวกกิน โครงไม้หลังคาเกรงว่าจะหักพังเป็นอันตรายแก่ผู้มาสักการะ ปี ๒๕๕๓ จึงประชุมคณะกรรมการขอมติบรู ณะและลงมือทันที วันหนึง่ คุณเจริญกับคุณหญิงวรรณา สิรวิ ฒ ั นภักดี เดิน ทางมาสักการะพระเสื้อเมืองและรูปตาขุนลก เนื่องในวันเกิด ของคุณหญิง มหาเศรษฐีระดับโลกชาวไทยมาพร้อมผู้รอบรู้ ด้านโบราณคดีท่านหนึ่ง ผู้รอบรู้สอบถามว่าได้ขออนุญาตกรม ศิลปากรหรือเปล่า เพราะว่าศาลแห่งนี้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรม ศิลปากร รูปแบบอาคารและแผนผังต้องได้รับการอนุมัติถึงจะ สร้างได้ การก่อสร้างต้องอยูใ่ นความควบคุมของส�ำนักศิลปากร ที่ ๑๔ นครศรีธรรมราช ณัฐวัฒน์จึงหยุดบูรณะแล้วท�ำหนังสือ ขออนุญาต นายเอนก สีหามาตย์ รองอธิบดีกรมศิลปากร ลงนาม นครศรีฯ สันนิษฐานว่าสร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา อนุญาตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ อาคารต่อเติมใหม่ ชวลิต อังวิทยาธร นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (เสียชีวิต) บางส่วนต้องทุบทิง้ บันทึกไว้ว่า พระเสื้อเมืองทรงเมืองเป็นคติความเชื่อดั้งเดิมของ ศาลพระเสื้ อ เมื อ งเป็ น เสมื อ นเทพารั ก ษ์ ป ระจ� ำ เมื อ ง สังคมเอเชีย ที่นี่เคยเป็นศาสนสถานของพราหมณ์ “สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาภานุพันธุ์วงศ์วรเดช ได้ทรง บันทึกในหนังสือชีวิวัฒน์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๗ (รัชกาลที่ ๕) ใน ตอนที่กล่าวถึงเมืองนครตอนหนึ่งว่า “…ข้างฟากถนนด้าน ตะวันตก ถัดบ้านพระยานคร (ศาลากลางจังหวัดปัจจุบนั ) ไป ประมาณ ๑๐ เส้น มีตลาดอีกแห่งหนึง่ เป็นตลาดร้านเพิงเป็น หลังๆ ขายผ้า เครือ่ งนุง่ ห่ม และเครือ่ งใช้สอยต่างๆ ประมาณ ๒๑-๒๒ ร้าน ที่นั้นมีโรงศาลเจ้าเสื้อเมืองหลังหนึ่ง มุงจากฝา ลูกกรงไม้ไผ่เหมือนโรงโป ในนัน้ มีกฏุ อิ ฐิ ๒ หน้า ข้างตะวันตก มีเทวรูปศิลาปิดทองยืนจมดินสูงสักศอกเศษ หน้าข้างตะวัน ออกมีเทวรูปศิลาปิดทองนั่งชันเข่าสูงสักศอกเศษหนึ่ง…” จะ เห็นได้วา่ ในบันทึกนีไ้ ม่ได้กล่าวถึงรูปเคารพอืน่ ๆ เลย มีเพียงพระ เสื้อทรงเมืองซึ่งลักษณะศิลปะแบบท้องถิ่นที่เป็นความเชื่อทาง ศาสนาพราหมณ์ ซึง่ ยังคงประดิษฐานอยูใ่ นศาลเจ้าในปัจจุบนั ชวลิตบันทึกต่อไปว่า “หลังจากนัน้ คือในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ หลั ก ฐานที่ ก ล่ า วถึ ง พระเสื้ อ เมื อ งปรากฏในหนั ง สื อ สาส์ น สมเด็จความตอนหนึ่งว่า ‘…ให้น�ำย้อนหลังไปดูศาลเจ้าพระ ตาขุนลก พระเสื้อเมือง เสื้อเมืองเป็นโรงใหญ่ ก�ำมะลอฝาขัดแตะกลางโรงมีกุฏิก่อ
เทพเจ้าไฉซิ้งเอี้ย
พระสังกัจจายน์
คุณหญิงวรรณาอุ้มตาขุนลก
อย่างจีน ดุจกุฏนิ กขุนทอง หน้ากุฏมิ โี ต๊ะพระเครือ่ งบูชาอย่าง จีนตัง้ ในกุฏพิ ระพุทธรูปรุน่ เก่า หลังกุฏมิ รี ปู ปัน้ เป็นเทวดานัง่ วิศวกรรมแต่มนี มดูจะเป็นนาง หลังโต๊ะมีโต๊ะเครือ่ งบูชาอย่าง จีนตัง้ อีกแห่งหนึง่ หลังโต๊ะแขวนรูปกวนอู เป็นทีน่ า่ สังเกตได้ ว่าศาลนีเ้ คยมีจนี มาปกครองแต่เดีย๋ วนีไ้ ม่มแี ล้ว ผูว้ า่ ราชการ ให้ผใู้ หญ่บา้ นทีอ่ ยูใ่ กล้มาดูแล’…” ชวลิตสัมภาษณ์คุณสมใจ ชินโอภาส ซึ่งเป็นทายาทรุ่น ที่ ๓ ของชาวจีนผูส้ ร้างศาลเจ้าแห่งนี้ ทราบว่าผูส้ ร้างคือ นาย ทับหิ้น แซ่ตี้ ชาวฮกเกี้ยน ราว พ.ศ. ๒๔๒๒-๒๓ ท่านเป็น พ่อค้าฐานะดีมาก ตั้งบ้านอยู่ตรงกันข้ามกับศาลพระเสื้อเมือง และเป็นที่พึ่งของคนยากจนละแวกนี้ ท่านเสียชีวิตราวปี พ.ศ. ๒๔๗๐-๗๒ ศาลเจ้าจึงขาดผู้ดูแลระยะหนึ่ง จนนายฮุนเซี๊ยะ บุตรชายที่ไปเรียนกลับจากเมืองจีนราวปี พ.ศ. ๒๔๗๕-๗๖ มาเป็นผู้จัดการดูแลรักษาศาลเจ้าจนวาระสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ คุณสมใจ ชินโอภาส บุตรีนายฮุนเซี๊ยะรับหน้าที่เป็นผู้ จัดการต่อจากบิดา ขณะเดียวกันก็มคี ณะกรรมการของศาลเจ้า เป็นผู้ดูแลและบริหารงาน โดยมีการคัดเลือกและผลัดเปลี่ยน คณะกันทุกปี “ศาลเจ้าเก่าที่เป็นไม้ถูกพายุพัดจนเสียหายทั้งหลังเมื่อ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๐๕ ชาวจีนในเมืองนครจึงได้ร่วมกันสร้าง ขึ้นใหม่เป็นอาคารคอนกรีต โดยมีนายฮุนเซี๊ยะเป็นแม่งาน จนส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว ง และได้ ท� ำ การ สมโภชอย่างเป็นทางการเมื่อ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๐๘ ภายในศาลเจ้า แบ่งเป็น ๓ ซุม้ คือ ซุม้ กลาง เป็น ซุ ้ ม ใหญ่ ป ระดิ ษ ฐานรู ป พระเสื้ อ เมืองและพระทรงเมือง ซึ่งเป็น รูปเก่าแก่ และมีปึงเถ่ากงและปึง เถ่าม่าแบบจีน ประดิษฐานเคียง คู่กัน (เทพแบบจีนเพิ่งจะน�ำเข้า มาในคราวทีส่ ร้างศาลใหม่) ความ จริงปึงเถ่ากงและปึงเถ่าม่าก็คอื
คุณเจริญ-คุณหญิงวรรณาร่วมท�ำบุญ
(อ่านต่อหน้า ๙)
หน้า ๔
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ
วั
นนี้จะชวนคุยกันเรื่องวัฒนธรรมการ กินของคนนครอีกเรื่อง ขนมจีน เป็น อาหารที่หากินได้ทั่วประเทศไทย แต่ท�ำไม ขนมจี น จึ ง เป็ น อาหารยอดฮิ ต ของเมื อ ง นคร ถึงกับมีค�ำพูดกับผู้มาเยือนเมืองนคร ว่า “หากมาเมืองนคร ไม่ได้กนิ ขนมจีนเมือง นคร ถือว่ายังไม่ถงึ เมืองนคร” จะว่าไปดูคนนครเองเถอะ หากจาก บ้านจากเมืองไปไม่กี่วันกลับมาถึงนครต้อง รีบหาขนมจีนกินให้เต็มอิ่ม ทั้งที่ไปจังหวัด อื่ น ก็ มี ข นมจี น กิ น กั น ทุ ก เมื อ ง ดั ง นั้ น มั น จึงเป็นเหมือนธรรมเนียมการต้อนรับขับสู้ ของคนท้องถิ่น จึงต้องพาไปเลี้ยงขนมจีน
เป็นการต้อนรับเพื่อนฝูง ขนมจีนหากินง่าย มีอยู่ทั่วบ้าน ทัว่ เมือง งานการทีม่ ขี นาดไม่ใหญ่มกั นิยมเลีย้ งขนมจีน คน รับสมัครลงเลือกตัง้ ตัง้ แต่ผใู้ หญ่บา้ น อบต. สท. สจ. จนถึง สส. ก็ล้วนแล้วแต่ใช้ขนมจีนมัดใจผู้คน รักกันจริงจึงจะ เลีย้ งขนมจีน ว่างัน้ เถอะ สมัยก่อน ออกปากไหว้วานใครมาช่วยงานการที่ บ้าน อาหารรองท้องก่อนจะถึงมื้อใหญ่ไม่พ้นขนมจีน กิน เล่นๆ ก็ได้ กินเอาจริงเอาอิม่ ก็ได้ ใช้แกงเขียวหวานไก่เพิม่ น�้ำหนักลงไป ของคู่ขนมจีนเมืองนครเห็นจะไม่มีอะไรเกิน ผักเหนาะ (ผักเคียง, ผักแนม) นครเป็นเมืองทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ ในเรือ่ งผักพืน้ เมือง ทัง้ ยังเป็นคนใจกว้างเอามากๆ ทุกร้าน จะมีผักเหนาะให้กินฟรี ที่มีอยู่ทั่วไปเห็นจะเป็นถั่วฝักยาว แตงกวา กะเพรา ยอดยาร่วง ยอดตอเบา บางฤดูหรือบาง พืน้ ทีม่ ี ลูกเนียง สะตอ มะเขือพวง ลูกเหรียง ยอดมะม่วง ยอดจิก ยอดหมรุย ยอดมันปู บัวบก ยอดล�ำเพ็ง ลูกฉิง่ บาง ร้านก็มเี พิม่ ผักดอง ผักลวก ทีใ่ จป�ำ้ จริงๆ มีแกงพุงปลาแถม ทั้งหม้อให้ฟรีๆ แม่ค้าขนมจีนบางคนอาศัยผักริมรั้วข้าง บ้าน ไม่ตอ้ งซือ้ ต้องหาต้นทุนเลยต�ำ่ ขนมจีนเมืองนครจึงมี เสน่หก์ ว่าทีไ่ หนๆ ในเรือ่ งผักเหนาะ เรื่ อ งของน�้ ำ แกงก็ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ อ ย่ า งหนึ่ ง ของ ขนมจีนเมืองนคร น�ำ้ แกงขนมจีนทัว่ ไปจะมีตวั หลักอยูส่ าม อย่าง คือ น�ำ้ แกง เป็นน�ำ้ แกงใส่กะทิทเี่ รียกผิดเพีย้ นไปจาก นี้เนื่องจากเป็นคนถิ่นอื่น หรือคนถิ่นเราแต่นิยมชมชอบที่ จะเรียกอย่างอืน่ เช่น เรียกน�ำ้ ยาหรือน�ำ้ แกงกะทิ ตัวทีส่ อง
คือ น�้ำแกงเผ็ด หรือคนเมืองอื่นเรียกแกงป่า ของเราเผ็ด ตามชื่อ น�้ำแกงที่ใส่กะทิจะเผ็ดกลางๆ น�้ำแกงเผ็ดนี่จะ เผ็ดจัด ส่วนเผ็ดน้อยและออกหวาน คือ น�้ำพริก เหมาะส�ำหรับเด็กและคนไม่กนิ เผ็ด ปัจจุบนั จะแข่งขันกันเพิม่ น�ำ้ แกงขึน้ อีก มากมาย เช่น แกงเขียวหวานไก่ แกงเขียว หวานลูกชิ้นปลา แกงปู แกงเนื้อ (วัว) และอืน่ ๆ อีกเท่าทีส่ รรหา แต่ยงั ไม่เคย เห็นใครกินกับแกงส้มเลยสักราย จุดเด่นของน�้ำแกงเมืองนคร คือ ความเข้มข้นแบบดุดันจริงๆ โดยเฉพาะ น�้ำแกงและน�้ำแกงเผ็ด น�้ำแกงทั้งสองตัว นี้มักนิยมใส่พุงปลาหรือเคยปลาลงไปนิด หน่อย รสชาติจึงเข้มข้นเป็นเอกลักษณ์ แบบนคร ส่วนน�้ำพริก นิยมใส่พริกแดง ดอกใหญ่เป็นพริกแห้ง สีสันจึงน่ากิน ใส่ ถัว่ ลิสงคัว่ ทุบลงไปกินกรุบๆ กรอบๆ เด็กๆ จึงชอบกันนัก แต่วิธีการกินอีกอย่างคือ ใส่น�้ำแกงผสมกับน�้ำพริก เรียกว่า น�้ำปน อั น นี้ เ ผ็ ด ๆ หวานๆ ลดเผ็ ด ลงได้ เ ยอะ อร่อยไปอีกอย่าง แต่หากสอบถามโดย ทัว่ ไป ปัจจุบนั คนจะนิยมผสมแกงพุงปลา ลงไปรสชาติจงึ ครบสูตรขนมจีนคนนคร เส้นขนมจีน นับเป็นขั้นตอนที่ยุ่ง ยากมากที่สุด เริ่มด้วยการน�ำข้าวสารมาแช่น�้ำอย่างน้อย หนึ่งคืนก่อน แล้วน�ำมาโม่หรือบดกับครกบดหินจนเนื้อ ละเอียด รินใส่ผ้าขาวให้น�้ำสะเด็ด แล้วใช้ผ้าขาวห่อแป้ง ไว้ ทับด้วยของหนักเพื่อให้น�้ำสะเด็ดจนแห้ง น�ำแป้งมาปั้น เป็นก้อนเล็กขนาดลูกตะกร้อ แล้วน�ำไปนึ่งหรือต้มให้แป้ง อ่อนตัว จึงน�ำไปนวดหรือเชด้วยครก เมือ่ เนือ้ เหนียวเข้ากัน ดีแล้ว น�ำไปใส่ในกระบอกขนมจีน บางทีใช้ผ้าห่อตะแกรง บีบให้แป้งไหลออกมาจากรู เป็นเส้นโรยลงกระทะน�้ำเดือด ทีร่ องอยูด่ า้ นล่าง ต้มจนเส้นสุกดีจงึ ตักขึน้ ใส่นำ�้ เย็น แล้วรีบ จับเป็นชุด ชุดละประมานไม่เกินสิบเส้น วางเรียงในตะกร้า หรือกะชะทีม่ รี โู ปร่ง ปิดคลุมด้วยใบตอง เส้นจะชุม่ ไม่แห้ง หลายคนเคยถามผมว่าขนมจีนมาจากเมืองจีนหรือ เพราะมันใกล้เคียงกับเส้นหมี่ต่างๆ ของจีนมาก สอบถาม คนจีนรุน่ เก่าต่างยืนยันว่า เมืองจีนไม่มขี นมจีน เมื่ อ สามสิ บ ปี ก ่ อ น การท� ำ เส้ น ขนมจี น ขาย (ขาย เส้น) มีเฉพาะที่ท่ามอญ ท�ำส่งกันเป็นล�่ำเป็นสัน ทุกเจ้า ล้วนสืบเชือ้ สายมาจากชาวมอญแต่โบราณ เมือ่ ไม่นานมานี้ นิตยสารสารคดี ได้ลงเรื่องราวขนมจีนชาวมอญ โดยภาษา มอญเรียกว่า คนอมจิน คนอม ภาษาเขาหมายถึง เส้น สีขาวที่ท�ำจากแป้ง ส่วนค�ำว่า จิน หมายถึง สุก (จากการ ต้ม) ดังนั้นการที่ชาวท่ามอญของคนนครท�ำเส้นขนมจีน เป็นอาชีพมานมนาน แม้ประเพณีชาวมอญในนครจะไม่ได้ รับการสืบทอดอย่างคนมอญภาคกลาง แต่คนอมจินกลับ กลายเป็นวัฒนธรรมของเมืองนครไปแล้ว
โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือน เมษายน ๒๕๕๖ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อ�ำนวยการสภากาชาดไทย โปรดเกล้ า ฯ ให้ กิ จ กรรมยุ ว กาชาดจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นา เยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ เลื่อมใสศรัทธา และอาสา สมัครเป็นก�ำลังของสภากาชาดไทย โดยบ�ำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ตามหลักการกาชาดและยุวกาชาด จึง โปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าผูกคอยุวกาชาดนอกโรงเรียน เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องผู ้ ส� ำ เร็ จ การอบรมซึ่ ง แพร่ ห ลายไปยั ง เยาวชนกลุ่มต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาค
วณี จิวะรังสรรค์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนครศรีฯ ร่วมพิธี รับผ้าผูกคอพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี
ส�ำเร็จปริญญาแล้วต้องคืนเงินยืมเรียนให้รุ่นน้องๆ ได้ยืมสร้างอนาคต ช่วยลดปัญหายุ่งยากให้ศาลอีกด้วย ...มนัส อานามวัฒน์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงนครศรีฯ เป็นประธานเปิดโครงการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเงินกู้ยืมเพื่อ การศึกษา (กยศ.) ก่อนฟ้องคดี ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ โดยมี ดวงแข ตันติตยาพงษ์ ผอ.ฝ่ายบริหารจัดสรรและ กู้ยืมกองทุนฯ ร่วมประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้กู้ยืมเงิน กยศ. ที่มีหนี้ค้างช�ำระตั้งแต่ ๕ งวดขึ้นไปเข้าร่วมโครงการไกล่ เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดี บุกรุกหรือไม่ต้องเร่ง พิสูจน์...นายประยุทธ วรรณพรหม ผู้ประสานงานเครือข่าย ที่ดินน�ำชาวบ้าน ม. ๓-๔-๕ และ ๙ ต.นบพิต�ำ อ.นบพิต�ำกว่า ๒๐๐ คน มายื่นหนังสือกับศาลปกครองกรณีขอคุ้มครอง ชั่วคราว สืบเนื่องมาจากอุทยานแห่งชาติเขานันด�ำเนินการ ตัดโค่นพืชยืนต้นในพื้นที่ดังกล่าวโดยไม่มีการส�ำรวจตาม ข้อตกลง โดยทางอุทยานฯ อ้างว่าชาวบ้านบุกรุกพื้นที่จ�ำเป็น ต้องตัดโค่นพืชยืนต้น ๑,๐๒๐ ไร่ แต่ชาวบ้านไม่ยอมเพราะ พื้นที่ดังกล่าวตกทอดมาจากบรรพบุรุษ ผศ.เชาวน์ วั ศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรี น ครนครศรี ฯ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารสะพานราเมศวร์ แ ก่ ป ระชาชนได้
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๕
ว่ า ที่ ร .ต.ฐิ ต วั ฒ น เชาวลิ ต รองผู ้ ว ่ า ฯ รั บ หนั ง สื อ คั ด ค้ า นการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลั ง ชี ว มวลในเขตพื้ น ที่ ต.ทุ่งสัง อ.ทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีฯ เนื่องจากก่อสร้างในพื้นที่ ที่จะราษฎรอาศัยอยู่หนาแน่น
แมว ทุ่งสง และสมาชิกชมรมพระเครื่องพระบูชา และวัตถุมงคลนครศรีฯ มอบเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาทที่ได้จาก การจัดประกวดพระเครื่องฯ เมื่อต้นปี เข้ามอบแด่ ผู้ ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในงานราชการ
สั ญ จรก่ อ นวั น ที่ ๒๐ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๖ ซึ่ ง เป็ น วั น ส่ ง งาน จริง... ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีฯ ได้รับเลือกเป็นประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดชุดใหม่ พร้อมเปิดประชุมคณะกรรมการฯ หาแนวทางขับเคลื่อนการท�ำงานของสภาวัฒนธรรมจังหวัด และการร่ ว มอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมอั น ดี ง าม สภาวั ฒ นธรรม จังหวัดประกอบด้วยกรรมการ ๕๑ คน ด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ ๓ ปี แต่ละคนจะเป็นกี่สมัยก็ได้
(ภาพ : กาญจนา ประดู่ คลื่นมีดี)
เช้าวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๖ ชาวมาเลเซีย ๖๐ คัน รถบัสเดินทางสักการะพระบรมธาตุเจดีย์ฯ ด้วยความศรัทธา ยิ่งสู้ยิ่งมาก..ผู้ว่าฯวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เปิดการฝึก อบรมสมัชชาหมู่บ้านพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อ.ชะอวด รุ่นที่ ๓ ณ ที่ท�ำการก�ำนันต�ำบลเกาะขันธ์ ม.๗ ต.เกาะขันธ์ อ.ชะอวด ซึ่งมี นางเพ็ญศรี ทองบุญชู เป็นแกนน�ำน�ำชาวเกาะ ขันธ์ ๒๐๐ คนจาก ๑๐ หมู่บ้านเข้าร่วมอบรมเพื่อเป็นคณะ ท�ำงาน ที่ปากพนัง ศิริพัฒ พัฒกุล ปลัดจังหวัดนคร ศรีฯ ลงพื้นที่ติดตามการด�ำเนินงานสมัชชาหมู่บ้าน/ชุมชน พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดที่วัดแหลมตะลุมพุก...แกนน�ำ ล้วนเป็นผู้สูงวัย
ศิริพัฒ พัฒกุล - แกนน�ำเอาชนะยาเสพติด อ.ปากพนัง
วันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เป็นประธานเปิดปั๊มน�้ำมัน ปตท. ถนนอ้อมค่าย ของคุณยุทธ กิจ มานะจิตต์ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีฯ ฤดูร้อนปี ๒๕๕๖ ดรณ์ สมิตะเกษตริน นายอ�ำเภอ เฉลิ ม พระเกี ย รติ อาจมี ชื่ อ ปรากฏในหนั ง สื อ พิ ม พ์ หั ว สี ที่ กรุงเทพฯ บ่อยๆ หากเกิดภัยแล้งรุนแรงและชาวบ้านบุกรุก Mazda DAY 2013 มาสด้านครดีซี นครศรีฯ จัด เผาป่าพรุ...เตรียมรับมือแต่เนิ่นๆ งานเลี้ยงขอบคุณลูกค้าแจกรางวัลมากมายในงาน เมื่อวันที่ ๙ มีนาคมที่ผ่านมา
ฤกษ์ดีวันที่ ๒๒ มีนาคม สุธรรม (โกแอ๊ด) – ประภา ชยันต์เกียรติ จัดพิธีมงคลสมรส ณิชา ชยันต์เกียรติ กับ นพพร เดชรุ่งวรา บุตรของ บุญชัย-สุภาภรณ์ เดชรุ่งวรา ณ บ้านพังไพ ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา มีเพื่อนพ้องญาติมิตรของทั้ง สองฝ่ายไปร่วมแสดงความยินดีคับคั่ง
ฮอนด้าศรีนคร ออกหน่วยให้บริการประชาชน ใน งาน อบต.ไชยมนตรีพบประชาชน ระหว่างวันที่ ๒ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ มีกิจกรรมเปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครื่องราคา พิเศษ ๓๐ บาท ตรวจเช็ ค ทั่ ว ไปฟรี ๑๐ รายการ พร้ อม รณรงค์สวมหมวกนิรภัย ๑๐๐ %
หน้า ๖
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
ว
ราห์ จันทร์เจ้า ลุกจากเก้าอี้ ผอ.ฝ่ายบริการ กฟต.๓ ยะลา มาเป็น ผอ. กฟต.๒ นครศรีฯ เมื่อปี ๒๕๕๓ กฟต.๒ มีพื้นที่ บริการ ๖ จังหวัด ได้แก่ นครศรีฯ สุราษฎร์ฯ พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง สภาพพื้นที่มีที่ราบ ภู เขาและเกาะใหญ่ ที่ ต ้ อ งวางเคเบิ ล ใต้ น�้ ำ แตกต่า งจาก กฟต.๓ มีพื้นที่บริการ ๖ จังหวัด ได้แก่ ยะลา พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี นราธิวาส ซึ่งมีการก่อความไม่สงบ
ศูนย์ควบคุมการกระจายไฟฟ้า เขต ๒ ภาคใต้
“ปี ๒๕๔๗-๔๘ แม้มีปัญหาเรื่องการระเบิดเสาไฟฟ้า ระเบิดหม้อแปลงในพื้นที่ เราพยายามบอกกับผู้เกี่ยวข้อง ว่า เราบริการประชาชน แต่เราต้องต่อสู้ทุกวิถีทางเพื่อให้ ไฟฟ้าอยู่กับประชาชน” แต่ กฟต.๓ ก็มีวิธีแก้ปัญหา “เรา ต้องแก้ปัญหาไฟฟ้าตลอด ๒๔ ชั่วโมง เราต้องมีคนตลอด ๒๔ ชั่วโมง เราได้ตกลงกับฝ่ายบ้านเมือง เมื่อเกิดเรื่องต้อง สื่อสารกันทางวิทยุหรือโทรศัพท์ เขาต้องมารับไปแก้ปัญหา
ภายในห้องควบคุมการกระจายไฟฟ้า
และแก้ได้อย่างรวดเร็ว” เมื่ อ ย้ า ยมาอยู ่ กฟต.๒ วราห์ พูด ถึ ง ความแตกต่ า ง ของพื้นที่บริการ “ฝั่งอันดามันเป็นเมืองท่องเที่ยวภูเก็ตกับ สุราษฎร์ฯ เกาะสมุยจะเป็นฮับการท่องเที่ยว การไฟฟ้าส่วน ภูมิภาคประกาศว่าจะจ่ายไฟเพิ่มไปเกาะสมุยให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐ ไฟฟ้าต้องแบ็คอัพการท่องเที่ยวที่เติบโต ๑๐ เปอร์เซ็นต์” วันที่ ๔-๖ ธันวาคม ๒๕๕๕ สายเคเบิลที่เกาะสมุย ระเบิดท�ำให้ไฟฟ้าเกาะสมุย เกาะพะงัน ดับ ๖๗ ชั่วโมง กฟต.๒ ต้องระดมรถปั่นไฟมาส�ำรองและเร่งวางสายเคเบิล ชุดใหม่ “การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคต้องลงทุนเคเบิลชุดใหม่ กว่า ๔,๐๐๐ ล้านบาท จ่ายไฟเพิ่มอีก ๑ วงจร คือ ๑๑๕ กิโลโวลต์ ท�ำให้สมุย พะงันมีแหล่งจ่ายไฟฟ้ากว่า ๑๐๐ เมกะวัตต์ ส่วนฝั่งภูเก็ตเราเพิ่มสถานีจ่ายไฟอีก ๑ สถานี ท่านจะเที่ยวสงกรานต์อย่างมีความสุข” กฟต.๒ ทดลองจ่ายไฟวงจรใหม่ตั้งแต่วันที่ ๓ มีนาคม และเปิดจ่ายอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๖ โดยนายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยเป็นประธาน “ผมให้ ค วามมั่ น ใจกั บ ชาวสมุ ย ว่ า ไฟฟ้ า จะไม่ ดั บ เรามีไฟจ่ายถึง ๒๐๐ เมกะวัตต์ แต่ผมต้องการเชิญชวน ประชาชนให้ประหยัดไฟตลอดเวลา เพราะนอกจากจะได้ กับตัวเอง ประเทศชาติก็ประหยัดด้วย ถ้าช่วยกันประหยัด ไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ไม่ต้องไปเตรียมส�ำรอง ไฟฟ้าให้มันเยอะแยะ การไฟฟ้าฯ ฝ่าย ผลิ ต ก็ ต ้ อ งลงทุ น เพิ่ ม มั น เป็ น เงิ น ของ ประเทศชาติ เราต้องการให้เกิดการจ่าย ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ” วราห์ แ นะน� ำ วิ ธี ป ระหยั ด ที่ ท� ำ ได้ ง่ า ยที่ สุด คื อ เครื่ อ งปรั บ อากาศ “ตาม ปกติ ๒๕ องศาเป็นอุณหภูมิสบายที่สุด ถ้าเราขยับไปที่ ๒๖ องศาก็ประหยัดได้ เยอะ บ้านเราแต่งตัวสบายก็ประหยัด ได้ ช่วง ๑๘.๐๐ น. เป็นต้นไปการใช้ไฟ ขึ้นสูงมากถ้าช่วยได้ก็ช่วยกันปิด ปั๊มน�้ำควรไปปั๊มตอนดึกๆ หรือตอนเช้า ไฟดวงที่ไม่ใช้ปิดไปเลย” วราห์ เ ป็ น คนขายไฟที่ ไ ม่ อ ยากเห็ น การใช้ ไ ฟอย่ า ง สุรุ่ยสุร่าย “ถ้าไม่ช่วยประหยัดเราก็ใช้อย่างสิ้นเปลือง การ ไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต ฯต้ อ งสร้ า งโรงไฟฟ้ า ให้ เ รา แล้ ว ก๊ า ซกั บ น�้ำมันที่เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าเราต้องน�ำเข้าด้วย พลังงานจากฟอสซิลท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน” ระหว่างวันที่ ๔-๑๕ เมษายน พม่าจะซ่อมฐานเจาะ และงดส่งก๊าซให้ไทย ซึ่งอาจท�ำให้ไฟฟ้าดับ “ช่วงหยุดสงกรานต์วันที่ ๑๕-๑๖-๑๗ เมษายน ผม จะอยู่ที่นี่ (ศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า กฟต.๒)ผมจะอยู่ เพื่อตัดสินใจ ถ้าเกิดวิกฤติเราจะท�ำอย่างไร แผนแรกชวน ประชาชนประหยัด ไม่ว่าเขตไหนของประเทศไทยแม้ก�ำลัง ผลิตจะลดลงเราก็ไม่ต้องดับไฟ แต่ถ้าเกิดวิกฤต..โรงไหน ช�ำรุดจะเกิดปัญหา เราจะเอาโหลดออก (ดับไฟ) บางส่วน ซึ่งจะท�ำอย่างเป็นขั้นตอน เราใช้เวลาไม่เกินครึ่งชั่วโมงที่ไฟ จะหายไป แต่เราจะเวียนไม่ให้เดือดร้อน..ไฟหายบางพื้นที่ ในเวลาจ�ำกัด ผมให้แนวทางไปยังศูนย์จ่ายไฟว่าจะไม่ให้ดับ ที่เกาะสมุยเด็ดขาด เพราะเกาะสมุยโดนมาหนักแล้ว แต่ จากประสบการณ์ของผมถ้าประชาชนให้ความร่วมมือ ผม ว่าการไฟฟ้าน่าจะควบคุมอยู่แม้ไฟลดลง”
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
หน้า ๗
(จบ)
ผ
มตัดสินใจไปหาคนส�ำเร็จคนเดิมอีก ครั้ง เพื่อขอให้เขาเป็นโค้ชให้ ค�ำถาม แรกที่เขาถามผมก็คือ “คุณพร้อมที่จะ เป็นนักเรียนรู้แล้วหรือยัง” แล้วเขาก็พูด ต่อ “สิ่งส�ำคัญที่คุณต้องท�ำมี ๓ เรื่องด้วย กันคือ การเรียนรู้ การส่งต่อ และลงมือ ท�ำด้วยความเต็มใจอย่างมีความสุข” อันดับแรกคือการยอมรับการโค้ช ใครที่คิดว่าตัวเองถูกโค้ชได้ การเปิดพื้นที่ การฟั ง พร้ อ มที่ จ ะเรี ย นรู ้ เ พราะการฟั ง แล้วไม่ท�ำ = ไม่ฟัง ฟังแล้วเถียงในใจไม่ ท�ำ = ไม่ได้ฟัง เมื่อฟังแล้วสงสัยให้ถาม ให้หายสงสัยเข้าใจแล้วลงมือท�ำ การให้ คนอื่นโค้ชส�ำคัญที่คุณจะไม่ต้องไปคาด เดาสิ่งที่อยู่ในหัวของโค้ชว่าเขามีความ รู ้ ม ากน้ อ ยแค่ ไ หน? จะท� ำ ให้ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ เท่ากับปัญญาในตัวเอง เพราะคุณไม่รู้ หรอกว่าก้อนผลึกที่อยู่ภายในของโค้ชว่า เป็นอย่างไร? และเมื่อเราเลือกให้เขาโค้ช เราก็ต้องยอมรับการโค้ชของเขา ถ้าไม่ Work ก็เลิกได้ ผลลัพธ์จากการกระท�ำ ของคุณมันเป็นของคุณเองไม่ใช่ของโค้ช ในช่ ว งเวลาการโค้ ช จะท� ำ ให้ เ กิ ด การ เรียนรู้สองทางไปพร้อมๆ กันที่ผู้โค้ช และผู้ถูกโค้ช ไม่มีอะไรผิด-ถูก ในขณะ ที่คุณได้รับการโค้ชและท�ำไปด้วยและมี ผลลัพธ์ก็จะท�ำให้คุณเข้าใจรูปแบบการ สร้ า งธุ ร กิ จ -การสร้ า งคน ทุ ก การฟั ง การโค้ชท�ำให้เราเติบโตมากขึ้น แต่ถ้า คุณเลือกที่จะฟังเท่ากับสติปัญญาของ ตัวเอง ผลลัพธ์ก็คือเท่าเดิม มาถึ ง ข้ อ นี้ ผ มเริ่ ม ถามตั ว เองว่ า ตกลงคนอย่างเรานี่โค้ชได้ไหม? เพราะ ในระหว่างการฟังผมมักเถียงในใจบ้าง สงสัยบ้าง แต่ผมก็โต้แย้งจนผมเคลียร์ และเข้ า ใจ ถ้ า เป็ น ก่ อ นหน้ า นี้ ผ มก็ จ ะ ปล่อยให้เขาพูดไปแล้วก็ไม่ท�ำตาม อย่าง ที่เขาบอกท�ำอย่างที่ผมเคยท�ำ ผลลัพธ์ ก็คือเหมือนเดิม ท�ำให้เข้าใจว่าการเปิด พื้นที่การฟังก็คือ ท�ำตัวให้เหมือนแก้วน�้ำ ที่ว่างเปล่าแล้วรับความคิดใหม่ๆ เข้ามา มีคนพูดกันมาก “ถ้าเรากล้าทิ้งบางสิ่ง เราจะได้สิ่งใหม่ๆ เข้ามา คนเราทุกวันนี้ ส่วนใหญ่มีแต่พูด มีแต่คิด แต่คนลงมือ ท�ำยังไม่กล้าพอ” หัวใจของการยอมรับ
นครศรีธรรมราช
ถ้าเรากล้าทิ้งบางสิ่ง เราจะได้สิ่งใหม่ๆ เข้ามา คนเราทุกวันนี้ส่วนใหญ่มีแต่พูด มีแต่คิด แต่คนลงมือท�ำยังไม่กล้าพอ การโค้ช ก็คือ การฟัง ลงมือท�ำ = ผล- อย่ า งมี ค วามสุ ข และเต็ ม ใจระหว่ า ง ลัพธ์ มันอยู่ที่คุณต้องการผลลัพธ์แบบ ยินยอมกับยินดีต่างกัน ต้องให้ทุกคน ไหน? ต่างหาก อยู่ที่การเลือกของคุณ ยินดีที่ได้ท�ำงาน ถ้าท�ำได้อย่างนี้องค์กร จะเดิ น หน้ า ไปอย่ า งมี พ ลั ง และเติ บ โต อันดับที่สอง การสอนงานและการ ต้องมีการวางแผนลงมือท�ำในสิ่งที่ตรง ส่งต่อ ในสิ่งที่รู้เข้าใจให้กับผู้อื่นในการ ต่อผลลัพธ์ ท�ำธุรกิจมันส�ำคัญมากเพราะคุณไม่ได้ท�ำ *ต้องเลือกกิจกรรม ทุกกิจกรรม คนเดียว แต่ต้องส่งต่อให้กับทีมงาน ยิ่ง ที่ท�ำ อะไรที่ส่งผลต่อเป้าหมาย อะไรที่ คุณสามารถถ่ายทอดให้กับผู้คนมากมาย ไม่ใช่ต้องแยกให้ชัดเจน เพื่อท�ำให้เกิด ก็ยิ่งท�ำให้เพิ่มศักยภาพขององค์กรของ ผลลัพธ์ที่ส่งผลต่อขวัญและก�ำลังใจทุกๆ คุณ งานสร้างคนจึงมีความส�ำคัญในการ ความส�ำเร็จเล็กๆ น้อยๆ คือการสะสม สร้างธุรกิจให้เติบโตได้ในอนาคต องค์กร พลังไปสู่ความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ที่ประสบความส�ำเร็จจึงให้ความส�ำคัญ *ลงมือท�ำแล้วดูผลลัพธ์ ถ้าไม่ใช่ กับการส่งต่อหรือการสร้างคนรุ่นแล้วรุ่น ต้องปรับปรุง-ปรับแผน เพราะไม่มีอะไร เล่าอย่างต่อเนื่อง ในธุรกิจครอบครัวก็ ๑๐๐% ขบวนการปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ เหมือนกันการส่งต่อจากรุ่นพ่อแม่ สู่รุ่น ลูก-หลาน ก็ส�ำคัญมากหากไม่สามารถส่ง ต่อได้ก็จะท�ำให้เดินต่อไปได้ยากล�ำบาก ล� ำ ดั บ ที่ ส าม ท� ำ งานด้ ว ยความ เต็มใจ ส�ำคัญมากการท�ำธุรกิจให้ประสบ ความส�ำเร็จมีผลลัพธ์มันมีความหมายต่อ การไปต่ออย่างยิ่ง เมื่อลงมือท�ำแล้วมัน ได้ผลก็มีก�ำลังใจเดินต่อไป มีความเชื่อมั่น เพิ่มมากขึ้น ก็ยิ่งมีพลัง ท�ำแล้วมีความสุข ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยต่างจากเมื่อท�ำแล้ว ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เริ่มไม่มั่นใจ ความเหนื่อย ท้อแท้ ปัญหา ต่างๆ ก็รุมเร้าเข้ามาจนเกิดความเครียด ส่งผลต่อขวัญและก�ำลังใจที่จะเดินต่อไป สิ่งส�ำคัญที่จะให้ทุกคนในองค์กรท�ำงาน
เกิ ด ผลลั พ ธ์ ส� ำ คั ญ มากต้ อ งกล้ า ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลงถ้าไม่ใช่จะไม่ดื้อ ทุกอย่าง เอาผลลัพธ์และเป้าหมายเป็นตัวตั้ง ไม่ ต้องยึดกับความคิด-ความเชื่อเดิมๆ รวม ถึงผลส�ำเร็จในอดีตที่เคยท�ำ *การท�ำงานรายวัน-รายสัปดาห์รายเดือน-รายปี จะต้องมีแผนงานและ มี ก ารติ ด ตามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเดิ น ไปตาม ตารางกิจกรรมการท�ำงานอย่างสม�่ำเสมอ *ยื น จนกว่ า จะได้ - ท่ อ งไว้ ใ นใจ เสมอ-ท� ำ ได้ อี ก เชื่ อ มั่ น ว่ า มั น ต้ อ งได้ แน่นอน การขยายพื้นที่ของตัวเองให้ใหญ่ ขึ้นเรื่อยๆ เท่ากับเปิดพื้นที่ความรับผิด ชอบที่มากขึ้น ผมสรุปปิดท้ายมาให้ท่านผู้อ่านได้ เท่านี้หลังจากฟังคนส�ำเร็จมาหลายครั้ง มันขึ้นอยู่กับการฟังของท่านด้วยนะครับ ว่าเปิดพื้นที่การฟัง (การอ่าน) ท�ำความ เข้าใจได้มากน้อยอย่างไร? เสียดายอย่าง เดี ย วท่ า นอ่ า นแล้ ว เถี ย งในใจ-สงสั ย ก็ ไม่ ไ ด้ ถ ามทั น ที เ หมื อ นผมเพราะนี่ เ ป็ น เพียงการสื่อสารทางเดียว ซึ่งไม่สามารถ Double Check สอบถามเพื่อเช็คความ เข้าใจให้แน่ใจว่าเข้าใจเหมือนกัน ผมส่ง ต่อให้ท่านได้เท่านี้จริงๆ ครับ นายไพโรจน์ เพชรคง Pairotpetkong784@gmail.com ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖
หน้า ๘
เรือ่ งจากปก
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
<< ต่อจากหน้า ๑
มีหน้าที่ก�ำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ข้อ บั ง คั บ การอนุ ญ าต และการเพิ ก ถอน การอนุญาต การใช้เครื่องหมายหรือตรา สัญลักษณ์ NAKHONSI QUALITY BRAND รวมทั้งการก�ำหนดค่าธรรมเนียม และการ ยกเว้ น หรื อ ยกเลิ ก อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย ม การขอใช้เครื่องหมาย และค่าธรรมเนียม การใช้เครื่องหมาย นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล ตรวจสอบข้ อ มู ล ศั ก ยภาพ การผลิ ต ตลอดจนการรั ก ษาคุ ณ ภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการ พร้ อ มทั้ ง สรุ ป ความเห็ น การอนุ ญ าตให้
ใช้ เ ครื่ อ งหมายรั บ รอง เสนอต่ อ คณะ กรรมการบริหารเครื่องหมายฯด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ กล่าวว่า ส� ำ หรั บ ลั ก ษณะของตราสั ญ ลั ก ษณ์ NAKHONSI QUALITY BRAND ใช้ ล ายนิ้ ว มื อ ซึ่ ง หมายถึ ง ความยอดเยี่ ย ม ดี เ ลิ ศ ทรง คุณค่า โดยมีรูปพระบรมธาตุเจดีย์อยู่ภาย ในมีสีเหลืองทอง ด้านล่างเขียนข้อความ ภาษาอังกฤษ NAKHONSI QUALITY BRAND ดังนั้น ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ สถาบัน/กลุ่ม เกษตรกร วิสาหกิจชุมชนที่อยู่ในจังหวัด นครศรีฯ ควรรีบติดต่อขอใช้ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ จั ด ท� ำ เพื่ อ รั บ รอง สินค้าและบริการที่มีคุณภาพของจังหวัด ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ และสร้ า ง ความมั่ น ใจแก่ ผู ้ บ ริ โ ภค เรื่ อ งคุ ณ ภาพ มาตรฐาน ปลอดภัยและสะท้อนถึงความ
เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดนครศรีฯ ดังนั้น จึงก�ำหนดหลักเกณฑ์การขออนุญาตให้ใช้ ตราสัญลักษณ์ ๑. คณะกรรมการบริ ห ารมี ค วาม เห็นชอบให้ใช้หรือปฏิเสธ โดยพิจารณา ตามหลักเกณฑ์ และผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการได้ขออนุญาตถูกต้อง ๒. ผู้ประสงค์จะขอใช้เครื่องหมาย ตราสัญลักษณ์ติดบนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ หรือ ตามบริษัท ห้าง ร้าน ให้ยื่นค�ำขอ ตามแบบที่ก�ำหนดและเอกสารประกอบ
เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ นาย ทรงพล สวาสดิ์ธรรม รองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด นครศรี ฯ ประชุ ม คณะท� ำ งาน ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลั ก ดั น พระบรมธาตุ สู ่ ม รดกโลก เพื่ อ ร่ ว มหารื อ และ ก� ำ หนดแผนการปฏิ บั ติ ง านสร้ า งความ เข้าใจและการมีส่วนร่วมของภาคส่วน ต่ า งๆ ในพื้ น ที่ เบื้ อ งต้ น ได้ มี ป ระกาศ จังหวัดเรื่องให้มีคณะกรรมการน�ำเสนอ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารขึ้ น บั ญ ชี เป็นมรดกโลก โดยแต่งตั้งคณะท�ำงาน ฝ่ายต่างๆ ๑๐ คณะ คณะท�ำงานฝ่าย ประชาสั ม พั น ธ์ ป ระกอบด้ ว ยภาค ผู ้ แทนหน่ ว ยงานภาคราชการ เอกชน และกลุ่มพลังมวลชนได้ด�ำเนินงานตาม ภารกิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ การจั ด ท� ำ ป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ ร ณรงค์ ติ ด ตั้ ง ใน จุ ด ต่ า งๆ ทั้ ง ในเขตจั ง หวั ด นครศรี ฯ และปริมณฑล โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จั ง หวั ด นครศรี ฯ และสภาวั ฒ นธรรม จั ง หวั ด นครศรี ฯ การออกพบปะสร้ าง ความเข้ า ใจกั บ ผู ้ ป ระกอบการร้ า นค้ า ภายในวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร รวม
ค�ำขอได้ที่ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดนครศรีฯ เพื่อเสนอขอรับตราสัญลักษณ์ ๓. เอกสารประกอบค�ำขอต้องแนบ ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์หรือบริการ ๓ ภาพ ใบแสดงผลิตภัณฑ์/แคตตาลอค หนังสือ ส� ำ เนาการจดทะเบี ย นเป็ น นิ ติ บุ ค คลฯ ส�ำเนาการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ส�ำเนาบัตรประชาชน ฯลฯ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖ นาย บริรักษ์ ชูสิทธิ์ พาณิชย์จังหวัดนครศรีฯ ทราบว่ า ขณะนี้ มี ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ ป ระกอบ การเข้ามารับเอกสารประกอบการขอแล้ว หลายราย จึงอยากเชิญชวนให้เข้ามาขอรับ เพราะในอนาคตจะเป็นประโยชน์อย่างมาก ติดต่อขอเอกสารประกอบค�ำขอ ที่ ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดนครศรีฯ เลขที่ ๘๖ ม. ๙ ถ.มะขามชุม ต.นาเคียน อ.เมือง จ.นครศรีฯ (ตรงข้ามสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ ทุ่งท่าลาด) หรือสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร.๐-๗๕๓๕๖๐๖๙ ในวันและเวลาราชการ
นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม
ทั้ ง จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ หารายได้ ส นั บ สนุ น การด�ำเนินงานในภาพรวม โดยมีวงเงิน กว่า ๙.๘ ล้านบาทเพื่อการนี้ ซึ่งเป็นงบ ประชาสัมพันธ์ ๔,๓๖๐,๐๐๐ บาท โดย มอบหมายให้ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์ จั ง หวั ด นครศรี ฯ และผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น การประชาสั ม พั น ธ์ จ ากทุ ก ภาคส่ ว น ร่ ว มก� ำ หนดแผนปฏิ บั ติ ก ารด้ า นการ ประชาสัมพันธ์ในเชิงรุกเพื่อขับเคลื่อน การท�ำงาน โดยแผนปฏิบัติการที่ได้จะ ถูกน�ำเสนอต่อคณะท�ำงานชุดใหญ่เพื่อ ร่วมด�ำเนินการต่อไป
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๙
<< ต่อจากหน้า ๒ ๔) จารึกหลักธรรมเก่าและหัวใจส�ำคัญที่สุด ๓ ๑
๕
๔
๒
๖
๗ ๘
นอกจากศิ ล าจารึ ก หลั ก ส� ำ คั ญ สมั ย ศรี วิ ชั ย หลายองค์ ซึ่งเป็นที่รู้จักแล้วนั้น ในภาคใต้พบจารึกอักขระหลักธรรมเป็น จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยอยู ่ บ นสถู ป และพระพิ ม พ์ โ ดยทั่ ว ไป ซึ่ ง แทบ ทั้งนั้น เป็นคาถาเยธัมมาฯ ในภาษาสันสกฤต อันเป็นหัวใจ พระพุ ท ธศาสนาที่ ว ่ า ด้ ว ยกฏแห่ ง ธรรมชาติ แ ละสรรพสิ่ ง ว่ า ทุกอย่างล้วนเป็นไปตามเหตุและปัจจัย โดยจารึกในรูปแบบ ต่างๆ เช่น เป็นบรรทัดในรอยประทับวงกลมหรือข้างองค์พระ (ภาพที่ ๒, ๖ และ ๘) เรียงตามวงโค้งรอบซุ้มองค์พระหรือ ข้างองค์พระ (ภาพที่ ๓ และ ๗) โดยมี อีก ๒ แบบ ซึ่งเพิ่ง ค้นพบใหม่และยังไม่เคยจัดแสดงหรือเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน และส�ำคัญมาก คือ ภาพที่ ๔ เป็นรอยเขียนอักขระด้านหลัง พระพิมพ์ พบที่ถ�้ำเขานุ้ย อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ด้วย ภาษาปรากฤต อ่านได้ว่า ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อันเป็นหลัก ธรรมส�ำคัญที่ทรงตรัสรู้และสอนสั่งส�ำหรับการรู้ เข้าใจและ ใช้ ดั บ ทุ ก ข์ และ ภาพที่ ๕ รอยจารึ ก อั ก ษร นะมะ ด้ า น หลั ง รู ป พระพิ ม พ์ แปลว่ า ขอนอบน้ อ มเคารพ พบที่ พุ น พิ น สุราษฎร์ธานี
<< ต่อจากหน้า ๓ พระเสื้อเมืองและพระทรงเมือง ซึ่งจีนรับอิทธิพลความเชื่อมา จากอินเดียนั่นเอง ซุ้มทางด้านซ้าย (ทิศตะวันออก) เป็นเทพ ไซ่เซ่งเอี้ย เทพแห่งความมั่งคั่งสมบูรณ์ ด้านขวา (ทิศตะวัน ตก) ประดิษฐานรูปปั้นพระสังกระจาย ๑ รูป พระจีนปูนปั้น ซึ่งมีขนาดสูงกว่าองค์อื่นๆ ในซุ้มเดียวกัน เป็นรูปจ�ำลองของ ตาขุนลก และมีรูปแกะสลักด้วยไม้จันทร์หอมของตาขุนลกใน อิรยิ าบถเดียวกับรูปปูนปัน้ (ท่านัง่ ) แต่มขี นาดเล็กกว่า” ตาขุนลกเป็นชาวจีนฮกเกี้ยนเข้ามารับราชการในกรมนา ที่เมืองนครสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. ๒๑๙๑ มี บรรดาศักดิ์เป็นพระหรือออกพระ นับถือศาสนาพุทธ ท่าน พัฒนาการท�ำนาของชาวนา จนมีขา้ วเลีย้ งเมืองให้อดุ มสมบูรณ์ ท่านเสียชีวติ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๒๐๖ หลุมศพตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ ๔ บ้าน มะม่วงสองต้น อ�ำเภอเมืองนครศรีฯ นีเ่ อง เรือ่ งตาขุนลกกับหลวงพ่อทวด - อนันต์ คณานุรกั ษ์ เขียน ไว้ในหนังสือ ‘ประวัตหิ ลวงพ่อทวดเหยียบน�ำ้ ทะเลจืด’ ดังนี้ “เมือ่ (หลวงปูท่ วด) บวชเณรเรียนจบการศึกษาธรรม บททศชาติที่บ้านเกิดแล้วก็ได้เดินทางมาเล่าเรียนพระธรรม
ประทั บ อั ก ขระจากคลองท่ อ ม ๒ ชิ้ น นี้ เป็ น อั ก ษรพราหมี ที่ ถื อ กั น ว่ า เก่ า แก่ ที่ สุ ด ของอิ น เดี ย โบราณ อายุ ป ระมาณ พุ ท ธศตวรรษที่ ๓ - ๕ หอสมุ ด แห่ ง ชาติ สิ ง คโปร์ เ คยยื ม ๓ ๔ ๕ ไปจั ด แสดงที่ สิ ง คโปร์ ใ นฐานะจารึ ก อั ก ษรที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ใน ๖ ๗ เอเซี ย อาคย์ ส่ ว นจี้ ห ้ อ ยคอทองค� ำ กั บ หิ น สี ส ้ ม จากเขา สามแก้ว ชุมพรนี้ เป็นที่นิยมสร้างท�ำและห้อยแขวนในหมู่ ผู้นับถือพุทธเพื่อแสดงถึงการรับไตรสรณาคมณ์ในสมัยหลัง ๕) รูปสัญญลักษณ์ อักขระ เงินตรา เก่าที่สุด สามสิ่ ง นี้ ถื อ เป็ น อั ก ขระ รอยพระพุ ท ธศาสนา และ พระเจ้าอโศกมหาราช ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๕ เรียกว่า เงินตรา ที่ถือกันว่าเก่าแก่ที่สุดไม่เพียงบนผืนแผ่นดินคาบสมุทร ตรี รั ต นะ ส� ำ หรั บ เหรี ย ญเงิ น ทั้ ง ๓ ด้ า นหนึ่ ง เป็ น รู ป คล้ า ย ภาคใต้ แต่ ข องภาคพื้ น เอเซี ย อาคเนย์ ด ้ ว ย แท่ ง หิ น ตรา พระอาทิตย์ครึ่งดวงฉายแสง กล่าวกันว่าเป็นเหรียญเงินที่นิยม สร้างท�ำและใช้อย่างแพร่หลายในสมัยฟูนัน ก่อนจะเข้าสู่ยุค ทวารวดีและศรีวิชัย ซึ่งพบเป็นจ�ำนวนมากที่ทุ่งน�้ำเค็ม ไม่ไกล จากวัดโมคลาน เมืองนคร ที่ผมเคยอ่านเรื่องราวมาแสนนาน แต่ไม่เคยได้เห็นของจริงมาก่อนเลย ทั้ ง ๕ นี้ จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ จ ะเสี ย ดายมากหากใครไม่ ไ ด้ ช ม เพราะได้ ท ราบว่ า พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ ยังขยายเวลาจัดแสดงออกไปอีกไม่มีก�ำหนด โดยเมื่อดูแล้ว อย่าพลาดสองตู้พิเศษจากเมือง โบราณยะรัง ที่ยกนานาข้าวของที่พบและเคย จั ด แสดงหลั ง การขุ ด ค้ น ทางโบราณคดี แล้ ว ถูกเผาท�ำลายในภายหลัง ทั้งรูปพระและนานา สถูปที่ถือเป็นอีกหลักฐานส�ำคัญของการเข้าถึง หัวใจในพระพุทธศาสนาของผู้คนเมื่อพันปีก่อน เห็นรอยเผาแล้วน่าจะเพิ่มแรงศรัทธาของพวก เราในการพระศาสนาในนครให้มากๆ นะครับ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๖ ๑
๒
กรุงศรีอยุธยา เมื่อหลวงปู่ทวดลาพระครูกาเดิม แล้วก็ได้ไปลาเจ้าอาวาสวัดท่าแพ ซึง่ อาจจะเป็น พระเถระในคณะอุปสมบทที่คลองท่าแพ (คลอง ปากพูน) ในครั้งนั้น แล้วเดินทางมาขึ้นเรือไป ราชธานี ครั้งนี้ ในระหว่างทางได้เกิดเหตุการณ์ ทีท่ ำ� ให้ทา่ นได้สมญานามว่า-เหยียบน�ำ้ ทะเลจืด” ณั ฐ วั ฒ น์ จั ด สร้ า งวั ต ถุ ม งคลหลวงพ่ อ ทวด ระดมทุนปรากฏว่ามีผู้สั่งจองกันมาก ภายหลังโก อัน เตติรานนท์ เจ้าของร้านทองโกอัน-วรรณา มอบเงินสมทบ ๑ ล้านบาท และคุณหมอผูศ้ รัทธา หลวงปูท่ วดสูงยิง่ ท่านหนึง่ จะหาเงินมาให้อกี ก้อน การบูรณะศาลใช้เงินประมาณ ๖.๘ ล้าน บาท ณัฐวัฒน์เตรียมสร้างวัตถุมงคลสมทบทุนอีกรุน่ หาทุนสร้าง ซุม้ ประตู ๑.๗ ล้านบาท เมือ่ บูรณะแล้วเสร็จปี ๒๕๕๗ จะร่วม กับททท.นครศรีฯ พัฒนาถนนหน้าศาลพระเสือ้ เมืองเป็นสถาน ทีต่ กั บาตรอย่างหลวงพระบาง และยังเป็นทีส่ กั การะขอพรของ นักท่องเทีย่ วชาวไทยและชาวต่างชาติ ตัวเขารับเอาความปีตทิ ี่ ได้ทำ� เรือ่ งดีดใี ห้บา้ นเมือง
วินัยชั้นสูงที่วัดเสมาเมือง นครศรีธรรมราช กับพระครูกาเดิม และเมื่ออายุได้ ๒๐ ปี ตาขุนลกพร้อมญาติพี่น้องจึงรับเป็น เจ้าภาพอุปถัมภ์การอุปสมบทตามประเพณีด้วยวิธีอุททกสีมา (ผูกด้วยเรือมาดตะเคียนมาดพะยอมและมาดยาง) โดย มีพระมหาเถรปิยทสุสีเป็นพระอุปัชฌาย์จารย์ พระมหาเถร พุทธสาครเป็นกรรมวาจาจารย์และพระมหาเถรศรีรัตนเป็น อนุคสู่ วด” ฯลฯ “เมือ่ ศึกษาพระธรรมวินยั จนจบหลักสูตรแล้ว ท่านประสงค์จะศึกษาพระธรรมชั้นสูงขึ้นไปอีก พระครูกาเดิม (ผูศ้ รัทธาสนใจร่วมบริจาคติดต่อโกเต๋าที่ ๐๘๑-๘๙๕๒๑๔๘) แห่งวัดเสมาเมืองจึงได้ฝากโดยสารเรือกับนายอินเดินทางเข้า
เปิดรับสมัครพนักงานประจ�ำสาขาทั่วภาคใต้
สวัสดิการดี มีที่พักสะดวกสบาย เบี้ยเลี้ยงและเบี้ยขยัน ประกันสังคม ฯลฯ จัดอบรมให้ บรรจุแล้วมีรายได้ขั้นต�่ำ ๑๒,๐๐๐ บาท/เดือน
โทร.๐๘๑-๑๒๓-๒๘๒๒
หน้า ๑๐
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
อ
ย่ า งไรก็ ต ามได้ มี ผู ้ ส นใจ (พจนาถ แสงประดั บ ) ศึกษาผลงาน การสร้างสรรค์กาพย์กลอน ของ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ได้ข้อสรุปที่น่าสนใจใน หลายประเด็น เช่น การจ�ำแนกประเภทเนื้อหา การ จ� ำ แนกแนวคิ ด ศิ ล ปะทางภาษา และการวิ เ คราะห์ คุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น กล่าวคือ ก. ประเภทเนื้อหา จ�ำแนกเป็น ๗ ประเภท ดังนี้ ๑) การสดุดีและยกย่องวีรกรรม ได้แก่ เนื้อหา ที่ เ กี่ ย วกั บ การสรรเสริ ญ บุ ค คลที่ เ ป็ น ผู ้ ค วรแก่ ก าร เคารพ เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชินี บิดามารดา ครู อาจารย์ ผู้ที่สร้างคุณงามความดีเป็นเกียรติเป็นศรี แก่ชาติ หรือผู้ที่ท�ำหน้าที่ปกป้องประเทศชาติ สละชีพ เพื่ อ ชาติ ซึ่ ง เนื้ อ หาอาจเป็ น การกล่ า วสรรเสริ ญ ถึ ง เกียรติคุณหรือวีรกรรม และการแสดงความรู้สึกซาบซึ้ง ในพระคุณของบุคคลเหล่านั้น เช่น เรื่องพระมหาราชา ๑๒ สิงหาราชินี มหาราชของไทย วีรชนของไทย ทหาร แนวหน้า เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
ตอนที่ ๙ ท่านให้น�้ำนมแล้วป้อนข้าว สองท่านได้เฝ้าสอนสั่ง ท่านช่วยวีช่วยพัดระมัดระวัง เหมือนพระเราทั้งสอง ร�ำลึกอุปัชฌาย์ครูอาจารย์ ยกพระคุณท่านขึ้นประคอง ท่านได้รับรองสอนศิษย์ โดยไม่ได้ปิดบัง ไหว้จอมกวีพ่อศรีปราชญ์ พ่อเอาเลือดรดราดแผ่นดิน จึงนครศรีเกิดมีนักศิลป์ ไม่มีได้สิ้นหวัง แล้วกราบแบ่งบุญพ่อสุนทรภู ่ บรมครูแสนดัง พ่อได้ฝากฝังความดีไว้ นับแล้วมากมายมี แล้วจะรอเอาไว้บทไหว้ครู แสดงความกตัญญูไว้ก่อน เป็นระเบียบการเล่นกลอน ของชาวนครศรีฯ กลับมากล่าวคิดติดตามผล ที่มานั่งลงบนเวที เพราะว่านี้ส�ำคัญ ต้องยกขึ้นพรรณนา ฯลฯ
ไหว้ครูบูชาศิลปิน
น้อมกราบรัตนังพระทั้งสาม สิ่งที่สวยงามผุดผ่อง เหมือนดังแสงทองพวยพุ่ง ที่โรจน์จรุงศรี ขอให้ปัญญาข้าแจ่มแจ้ง เหมือนดังแสงระวี แล้วกราบชนนีชนก สองท่านผู้ปกครอง ...............................................................
รายงาน
เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต กิตติมศักดิ์ วิชาเอกวัฒนธรรมศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช ปีการศึกษา ๒๕๔๑
๒) ศาสนาและความเชื่อ เนื้อหาส่วนหนึ่งของเพลง บอก จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พุทธศาสนา ซึ่งได้แก่ ศาสดา หลักธรรม ค�ำสั่งสอน หรือความเชื่อต่างๆ เช่น พระพุทธเจ้าออกบวช ประวัติงานเดือนสิบ นมแม่นมโค เป็นต้น ดังตัวอย่างเรื่อง พระพุทธเจ้าออกบวช กล่าวถึง สาเหตุของการที่เจ้าชายสิทธิธัตถะ สละราชสมบัติเพื่อ ออกบวชจนตรัสรู้ ได้เป็นพระพุทธเจ้าพระศาสดาของ พุทธศาสนา ๓) วัฒนธรรมประเพณี ได้แก่ เนื้อหาเกี่ยวกับวิถี ชีวิต และแบบแผนความประพฤติของคนในสังคม ค่า นิ ย มและขนบธรรมเนี ย มประเพณี จากตั ว อย่ า งเรื่ อ ง เพลงบอกสร้ อ ยสอนลู ก หลาน ซึ่ ง มี เ นื้ อ หากล่ า วถึ ง แบบแผนความประพฤติของกุลสตรี จะต้องรักนวลสงวน ตัว รู้จักเลือกคู่ครองที่ดีเหมาะสมกับตนรักเดียวใจเดียว มีความรักความซื่อสัตย์ต่อคู่ครองของตน
เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ท่ามกลางความปีติยินดีของภรรยา บุตรี บุตร-หลานสาว
(อ่านต่อฉบับหน้า)
นายแพทย์ ช ลน่ า น ศรี แ ก้ ว รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การ กระทรวงสาธารณสุ ข กล่ า วต่ อ สื่ อ ขณะนี้ เ ข้ า สู ่ ฤ ดู ร ้ อ น แล้ว ประกอบกับ โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นท�ำให้อุณหภูมิของ ประเทศไทยสูงตามไปด้วย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าคน ไทยได้รับผลกระทบจากความร้อนเพิ่มขึ้น ดังนี้ ในปี ๒๕๕๑ มีผู้ป่วย ๘๐ ราย เสียชีวิต ๔ ราย, ปี ๒๕๕๒ มีผู้ป่วย ๘๙ ราย เสียชีวิต ๘ ราย และในปี ๒๕๕๓ มีผู้ป่วย ๑๙๘ ราย และเสียชีวิต ๑๘ ราย โรคจากความร้อนที่ส�ำคัญ ได้แก่ ๑. โรคลมแดด (Heat Stroke) เกิดจากการอยู่ในที่ ความร้อนสูงเกิน ๔๐ องศาเซลเซียส ผิวหนังจะแดงร้อน และแห้ง ปราศจากเหงื่อ ชีพจรเต้นแรงและเร็ว อาการ สับสน ไม่รู้สึกตัว วิธีปฐมพยาบาลให้น�ำผู้มีอาการเข้าที่ร่ม ให้นอนราบ ถอดเสื้อผ้า ใช้ผ้าชุบน�้ำเย็นหรือน�้ำแข็งเช็ดตาม ตัวและซอกรักแร้ ซอกคอ หรือราดน�้ำเย็นลดอุณหภูมิแล้ว น�ำส่งโรงพยาบาลทันที ๒. โรคเพลียแดด (Heat Exhaustion) เป็นโรคที่เกิดใน ขณะที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง ๓๖-๓๗ องศาเซลเซียส ผู้ป่วยจะหน้าซีด วิงเวียน ปวดหัวหรือคลื่นไส้ อาเจียน วิธีปฐมพยาบาล ให้เข้าที่ร่ม เป่าพัดลม พ่นละอองน�้ำ บนตัวหรือใช้ผ้าชุบน�้ำเย็นเช็ดตัว ถ้ายังมีสติให้ดื่มน�้ำ หาก
มีอาการชักเกร็งให้เอาสิ่งที่อาจเป็นอันตรายออกห่าง หาก หมดสติและอาเจียนให้จับหันข้างป้องกันส�ำลัก ๓. โรคตะคริวแดด (Heat Cramps) มักเกิดในคน เสี ย เหงื่ อ มาก ระหว่ า งท� ำ งานหนั ก หรื อ ออกก� ำ ลั ง กาย ร่างกายสูญเสียน�้ำและเกลือแร่ ส่งผลให้เป็นตะคริว มี อาการปวดกล้ามเนื้อ หน้าท้อง แขน ขา มีอาการเกร็ง ผู้ ป่วยต้องหยุดออกก�ำลังกาย หรือหยุดใช้แรงทันที หาน�้ำผล ไม้หรือน�้ำเกลือแร่ดื่ม หากอาการไม่ดีรีบไปพบแพทย์ ๔. ผิวหนังไหม้แดด (Sunburn) ผู้ป่วยจะมีผิวหนัง เป็นรอยแดง จะปวดแสบร้อนเล็กน้อย โดยทั่วไปจะหาย ได้เองภายใน ๑ สัปดาห์ แต่ควรหลีกเลี่ยงออกแดดซ�้ำ ประคบเย็นหรือทาโลชั่น กลุ่มเสี่ยงต่อโรคจากความร้อน มี ๕ กลุ่ม ได้แก่ ๑. เด็กเล็ก ๒. ผู้สูงอายุเกิน ๖๕ ปี ๓. ผู้ที่ท้วมหรืออ้วน ๔. ผู้ใช้แรงงานอย่างหนัก หรือผู้ออกก�ำลังกายหนัก ๕. ผู้ที่ เป็นโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง หรือ ก�ำลังรับประทาน ยาบางชนิด เช่น ยารักษาภาวะซึมเศร้า นอนไม่หลับ การป้องกัน ควรดื่มน�้ำให้เพียงพอวันละ ๖-๘ แก้ว สวมเสื้อผ้าโปร่งสบาย สีอ่อน ละเว้นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ ไม่ควรออกก�ำลังกายหักโหม หลีกเลี่ยงอยู่ที่ที่ อากาศร้อน เด็กกับผู้สูงอายุควรได้รับสารน�้ำให้พอเพียง
<< ต่อจากหน้า ๑
และลอยอยู่ในอากาศ ทุกคนจึงมีโอกาสได้รับเชื้อได้ตลอด เวลา จึงควรหมั่นสังเกตตนเองและคนรอบข้างอยู่เสมอ หากพบว่ามีอาการ ไอติดต่อกันเกิน ๒ สัปดาห์ หรือไอปน เลือด มีไข้ตอนบ่ายๆ กลางคืนเหงื่อออกมาก น�้ำหนักลด อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บหน้าอก และเหนื่อยหอบง่าย ให้รีบพบแพทย์ทันที ปั จ จุ บั น ยารั ก ษาวั ณ โรคมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มาก สามารถรักษาผู้ป่วยให้หายได้เกือบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งกิ น ยาให้ ค รบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดการรั ก ษา ตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ก�ำกับดูแลการกินยา มิฉะนั้นแล้วเชื้อวัณโรค อาจตายไม่หมดผู้ป่วยจะกลับมาป่วยเป็นวัณโรคอีกครั้ง และเป็นวัณโรคดื้อยาได้ องค์การอนามัยโลก ก�ำหนดให้ ‘วันที่ ๒๔ มีนาคม’ ของทุกปีเป็นวันวัณโรคโลก (World TB Day) เพื่อร�ำลึก ถึง นายแพทย์ Robert Koch ผู้ค้นพบเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็นสาเหตุของวัณโรค และ การก้าวสู่การควบคุมวัณโรคยุคใหม่ และกระตุ้นเตือนถึง อันตรายจากวัณโรค ผอ.สคร.๑๑ จัดกิจกรรมรณรงค์วัน วัณโรคสากลในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เน้นค�ำขวัญ ‘Stop TB in my lifetime’ (เมืองไทย ปลอดวัณโรค)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๑
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์
ขออภัยเจ้าของบทกวีร่วมสมัย ขอภัยเจ้าของบทกวีร่วมสมัยทุกคน ผมเดินทางมาไกล เหนื่อยล้าและคอแห้ง เสียงที่เปล่งออกมาไม่รื่นหู และเหนื่อยล้าที่จะสู้รบกับใคร ขอผมนั่งพักในบ้านของท่านบ้างเถิด รับฟังเรื่องเล่าของผม เส้นทางมาซึ่งท่านเคยเดินผ่านมาแล้ว โปรดรับฟังเรื่องเล่าของผมสักนิด กวีร่วมสมัยทุกท่าน ถือว่าแลกเปลี่ยนเรื่องราวการเดินทาง ผมจะนั่งเล่าให้ท่านฟังตรงนี้ ชานบันไดขั้นล่างสุด นั่งเล่าบนพื้นทรายขณะท่านยืนฟังอยู่ข้างบน ไม่ต้องชงชามาต้อนรับ ขอแค่รับฟังและอาจกล่าวอะไรออกมาบ้าง จากนั้นค่อยหยิบเรื่องเล่าของท่านจากบนหิ้ง มาเล่าให้ผมฟัง ขออภัยกวีทุกท่าน ท่านไม่ต้องนับผมรวมอยู่ในรายชื่อของกวี ทั้งไม่ต้องเรียกเรื่องเล่าของผมว่าบทกวี ขอเพียงท่านรับฟัง และกล่าวอะไรออกมาบ้าง ด้วยถ้อยค�ำในแบบที่กวีชอบใช้ โดย : จเด็จ ก�ำจรเดช นักเขียนรางวัลซีไรต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๔ จากรวมเรื่องสั้น ‘แดดเช้าร้อนเกินกว่าจะนั่งจิบกาแฟ’
“ค
ณะลั ง การาม” หมายถึ ง คณะสงฆ์ หิ น ยาน ลั ท ธิ เ ถรวาทสายลั ง กาวงศ์ ใ นภาคใต้ และ นครศรีธรรมราชอีกคณะหนึ่ง เป็นคณะสงฆ์นิกายลังกา วงศ์ที่สืบสายมาจากประเทศรามัญ ในราว พ.ศ. ๒๐๐๐ มี วั ด ท่ า ช้ า งอารามหลวง ซึ่ ง เป็ น อารามฝ่ า ยอุ ด รของ เมืองนครศรีธรรมราช ณ ทิศตะวันออกของบ้านท่าประดู่ ประตูช้างเป็นหัวงานเอกของคณะสงฆ์คณะนี้ มีสมเด็จ เจ้ า โพธิ ส มภารโลกาจารญาณคั ม ภี ร ์ สี ย ์ สั ง ฆปริ น ายก มหาสามี เป็นเจ้าคณะรูปแรก และมีพระครูปลัด พ�ำนักที่ วัดเสมาทอง (วัดมเหยงคณ์) เป็นผู้ช่วยเจ้าคณะ
วัดมเหยงคณ์ปัจจุบัน
เอกสารโบราณเรื่ อ งการกั ล ปนาคณะลั ง การาม ซึ่ ง เป็ น หนั ง สื อ บุ ด เก่ า แก่ ที่ ดร.เดวิ ด เค.วั ย อาจ นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ช าวอเมริ กั น แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย คอร์ แ นล เป็ น ผู ้ ป ริ ว รรต มี ข ้ อ ความตอนหนึ่ ง ว่ า มี เ ศรษฐี จ าก เมื อ งหงสาวดี ชื่ อ โคตรคี รี เ ศรษฐี พร้ อ มภรรยาชื่ อ สุ ม ณทายเทวี มี ศ รั ท ธาต่ อ องค์ พ ระบรมธาตุ จึ ง แล่ น ส� ำ เภามาสู ่ เ มื อ งนครศรี ธ รรมราช พร้ อ มด้ ว ยข้ า ทาส บริวารรวม ๗๐๐ คนมีเศษ ได้น�ำเครื่องบรรณาการมา ถวายแค่เจ้าศรีธรรมาโศกราช (เจ้าเมือง) เพื่อขอที่ตั้ง บ้ า นเรื อ นอยู ่ อ ย่ า งถาวรที่ เ มื อ งนคร เจ้ า ศรี ธ รรมาโศก ราชจึงให้ตั้งบ้านเรือน ณ บริเวณ “ท่าประดู่ ประตูช้าง” ทางทิ ศ พายั พ ของตั ว เมื อ งนครฯ โคตรคี รี เ ศรษฐี พ ร้ อ ม ด้วย “ท้าวราช” และ “ท้าวศรี” พี่น้องร่วมท้องอีกสอง คนได้ตั้งบ้านขึ้นสามหมู่บ้าน ล้วนได้อ�ำนาจสิทธิ์ขาดในที่ ดังกล่าว ต่อมาพี่น้องทั้งสามคนนี้ได้น�ำทองค�ำคนละ ๑๐ ชั่ ง ทอง ถวายเจ้ า ศรี ธ รรมาโศกราชเพื่ อ ให้ ช ่ า งแผ่ ส วม ยอดพระบรมธาตุตามประเพณีชาวหงสาวดี โครตคีรีเศรษฐีมีบุตรชายชื่อ “นันทกุมาร” บุตรีชื่อ “เจ้ามาลา” ซึ่งเวลาต่อมาเจ้ามาลาได้อภิเษกสมรสกับ
ปัจจุบันวัดท่าช้างเป็นที่ตั้งมัสยิดซอลาฮุดดีน
เจ้าสุวรรณาซึ่งเป็นราชบุตรของเจ้าศรีธรรมโศกราช ทั้ง สองนี้มีบุตรชายชื่อว่า “เจ้าโพธกุมาร” เมื่อสมเด็จกุมาร มี อ ายุ ไ ด้ ๒๓ ปี เกิ ด มี น�้ ำ ใจศรั ทธาในพระพุ ทธศาสนา จึงบวชเป็นภิกษุ ได้เจริญรสพระธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระ เจ้าศรีธรรมาโศกราชได้สร้างวัดฉลองศรัทธาเป็นอาราม ฝ่ า ยอุ ด รของเมื อ งนครฯ ณ ทิ ศ ตะวั น ออกของบ้ า นท่ า ประดู่ประตูช้าง ให้ชื่อว่า “วัดท่าช้าง” โดยกัลปนาเป็น อารามหลวง แล้วสถาปนาเจ้าโพธกุมาร เป็น “สมเด็จ เจ้าโพธสมภารโลกจารญาณคัมภีร์สีย์สังฆ ปรินายกมหาสามีพระเจ้าท่าน” เป็นอธิการ วั ด ท่ า ช้ า งอารามหลวง และเป็ น เจ้ า คณะ ลังการาม หรือเป็นหัวงานเอกแก่พระสงฆ์ทั้ง ปวง พร้ อ มทั้ ง อุ ทิ ศ ที่ ซึ่ ง โคตรคี รี เ ศรษฐี เ บิ ก สร้างเป็นนาส�ำหรับตรุษสารท ซื้อรักซื้อทอง ปิดพระพุทธรูปส�ำหรับอารามวัดท่าช้าง ต่ อ มาโคตรคี รี เ ศรษฐี พ ร้ อ มด้ ว ยท้ า ว ราชและท้ า วสี ย ์ ไ ด้ ร ่ ว มกั น ขออนุ ญ าตสร้ า ง วั ด “เสมาทอง” ขึ้ น ฝ่ า ยทิ ศ ตะวั น ออก ของบ้ า น ได้ ก ่ อ ก� ำ แพงล้ อ มรอบทั้ ง สี่ ด ้ า น มี ส ถู ป สี่ อ งค์ สร้ า งพระวิ ห ารอุ โ บสถแม่ ป ระธานเจ็ ด ห้ อ ง มี เ ฉลี ย งซ้ า ยขวาให้ วั ด เสมาทอง (ปั จ จุ บั น คื อ วั ด มเหยงคณ์ ) ซึ่ ง ป็ น วั ด คู ่ กั บ วั ด ท่ า ช้ า ง ให้ ท าสเบิ ก เป็ น นาที่ต�ำบลทุ่งหัวทะเล ๑๑ ริ้ว (ปัจจุบันอยู่ในเขตต�ำบล ปากนคร) และเบิกนาต�ำบลบางพงัน ๙ ริ้ว (ปัจจุบันอยู่ ในเขตต�ำบลท่าซัก) ถวายเป็นที่กัลปนาส�ำหรับวัดเสมา ทอง พร้อมกับให้บวชมหาเครื่อง ผู้หลานของพระท้าว สีย์เป็นอธิการวัดเสมาทอง และเป็นพระครูปลัดสมเด็จ เจ้าโพธิสมภารวัดท่าช้าง ให้บังคับว่ากล่าวแก่พระสงฆ์ ที่ขึ้นกับวัดทั้งสองนี้จ�ำนวน ๙ อาราม จากเอกสารโบราณฉบั บ ดั ง กล่ า วสรุ ป ได้ ว ่ า คณะ ลั ง การามในนครศรี ธ รรมราชมี เ ชื้ อ สายมาจากรามั ญ แห่งหงสาวดี ส�ำนักเจ้าคณะอยู่ที่วัดท่าช้าง และส�ำนัก พระครู ป ลั ด อยู ่ ที่ วั ด เสมาทอง (วั ด มเหยงคณ์ ) การ กัลปนาครั้งแรกกระท�ำโดยเจ้าศรีธรรมาโศกราช แต่สมัย ต่ อ มาได้ เปลี่ ย นเป็ น พระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
หน้า ๑๒
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com
ความหมาย
แรกจะมี ก ารกลอกตาไปมาช้ า ๆ เรี ย กว่ า เป็นการนอนหลับที่มีการกลอกตาช้า หรือ Non REM (Non Rapid eye movement และรูปแบบที่ ๒ ก็จะเป็นช่วงที่มีการกลอก ตาไปมาอย่างรวดเร็ว หรือ REM (Rapid eye movement) Non REM จะแบ่งเป็น ๔ ระยะ ซึ่ง ๒ ระยะแรกจะเป็นการหลับตื้น ส่วนระยะ ที่ ๓ และ ๔ จะเป็นการหลับลึก ใช้เวลา ประมาณ ๔๐ นาที หลังจากนั้นก็จะเข้า สู ่ ก ารหลั บ แบบที่ มี ก ารกลอกตาเร็ ว หรื อ REM REM จะใช้เวลาสั้นๆ ๑๐ นาทีในรอบ รูปแบบของการนอนหลับ รูปแบบของการนอนหลับ ในทางการ ต้นๆ ของการนอน แต่ REM จะค่อยเพิ่มขึ้น แพทย์แบ่งออกเป็น ๒ รูปแบบโดยดูจาก ในรอบถัดไปเป็น ๒๕ – ๓๐ นาที การนอนหลับระยะ ๓ และ ๔ ของ การกลอกตาขณะนอนหลั บ โดยรู ป แบบ การนอนหลับเป็นธรรมขาติของมนุษย์ ที่จะต้องตื่น สลับกับการนอนหลับพักผ่อน ลดปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ใช้ พลังงานลดลง ไม่รสู้ กึ ตัวชัว่ ขณะ แต่เป็นช่วง ขณะที่ร่างกายซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และ เกิดกระบวนการในการจดจ�ำสิ่งต่างๆ เข้า สู่สมองอย่างเป็นระบบ จากความจ�ำระดับ ตื้น สู่ความทรงจ�ำในระดับลึก จึงนับเป็น ความจ�ำเป็นขัน้ พืน้ ฐานในการด�ำรงชีวติ หาก นอนหลับไม่เพียงพอ ก็จะท�ำให้พฤติกรรม เปลีย่ นแปลง ขาดสมาธิ เบือ่ หน่าย
เดือนเมษายน ๒๕๕๖ วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๔ วันพุธที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๕ วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๕
Non REM จะเป็ น ช่ ว ง เวลาในการส่งเสริม และ เยี ย วยาทางด้ า นร่ า งกาย (Physical Healing) โดย มี ก ารหลั่ ง ฮอร์ โ มนแห่ ง การเจริญเติบโต (Growth Hormone) เพิ่มขึ้น ช่วย ในการสั ง เคราะห์ โ ปรตี น และการแบ่งเซลล์ ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่ ว ยเสริ ม ระบบภู มิ คุ ้ ม กั น โดยการยั บ ยั้ ง การหลั่ง Cortisol (ฮอร์โมนที่จะยับยั้งการ ท� ำ งานของเซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดขาวที่ ค อยท� ำ หน้าที่รักษาและป้องกันการติดเชื้อ) การนอนหลับในแบบ REM จะเป็น ช่วงเวลาแห่งการเยียวยาทางด้านอารมณ์ (Emotional Healing) คือการเรียนรู้ การ ปรับตัวและการจ�ำ และที่ส�ำคัญคือเป็นช่วง ที่คนเราจะมีการฝันเกิดขึ้น ซึ่งแม้ซิกมันด์ ฟรอยด์ จ ะบอกว่ า ความฝั น คื อ ภาพแห่ ง จิตใต้ส�ำนึก ความคิดและแรงจูงใจ (representation of unconscious desires, thoughts and motivations) แต่เราก็ยัง ไม่ทราบเหตุผลในการฝันที่แท้จริง
คุณภาพของการนอนหลับ
ต้ อ งเรี ย นว่ า การประเมิ น คุ ณ ภาพ ของการนอนนั้น แพทย์จะประเมินในเชิง ปริมาณ และเชิงคุณภาพ ดังนี้ ๑. การประเมิ น การนอนหลั บ เชิ ง ปริมาณ มีตัวแปรดังนี้ ๑.๑. ระยะเวลานับจากการเข้านอน จนกระทั่งหลับ (Sleep latency) ประมาณ ๑๕ – ๓๐ นาที ๑.๒. ระยะเวลาการนอนหลั บ ใน แต่ ล ะคื น โดยไม่ ร วมระยะเวลาที่ ตื่ น ระหว่างการนอนหลับ โดยที่ผู้สูงวัย ควรจะ มีเวลานอนหลับประมาณ ๕ – ๖ ชม. แต่ ทั้งนี้ ระยะการนอนหลับของแต่ละคนอาจ จะไม่ เ ท่ า กั น ขึ้ น กั บ คุ ณ ภาพการนอนว่ า สามารถหลับได้ลึกมากน้อยแค่ไหน ๑.๓. จ�ำนวนครั้งที่ถูกรบกวน ถ้าตื่น นานกว่า ๑๕ วินาที เกิน ๓ ครั้งต่อคืน จะ ถือว่าเป็นการนอนหลับที่ไม่ต่อเนื่อง ๑.๔. ประสิ ท ธิ ภ าพการนอนหลั บ (Sleep Efficacy) คืออัตราส่วนที่หลับจริง ต่อระยะเวลาการนอนบนเตียง ถ้ามากกว่า ๗๕ % ก็จะถือว่าเป็นการนอนหลับปรกติ แต่ในผู้สูงวัย อาจจะลดลงเหลือพียง ๖๗ – ๗๐ % ๒. การประเมิ น การนอนหลั บ เชิ ง คุณภาพ มีตัวแปรดังนี้ ๒.๑. ความรู ้ สึ ก ต่ อ การนอนหลั บ เช่นรู้สึกสดชื่นตอนตื่นเช้า หรืออ่อนเพลีย อยากหลับต่อแสดงว่าหลับไม่ดี หลายครั้ง ที่คุณตา คุณยายบอกหมอว่านอนไม่หลับ แต่ ลู ก หลานที่ พ าคุ ณ ตา คุ ณ ยายมากลั บ บอกว่าเห็นหลับทั้งวันทั้งคืน ก็เป็นข้อบ่งชี้ ว่าแม้จะนอนบนเตียง คล้ายกับหลับตลอด
เวลา แต่เป็นการนอนที่ไม่มีคุณภาพ ๒.๒. ผลกระทบต่อกิจกรรมประจ�ำ วัน เป็นผลต่อเนื่องจากการหลับไม่ดี ท�ำให้ มีอาการง่วงเหงาหาวนอน ขาดสมาธิในการ ท�ำงาน และพบว่าการงีบ ในตอนกลางวัน จะช่วยลดผลข้างเคียงของการนอนไม่พอ แต่จะไม่ส่งผลต่อการนอนหลับในคืนถัดไป
เครื่องมือประเมินการนอนหลับ
๑.เครื่องมือวัดการนอนหลับ ๑.๑. เครื่องมือ PSG. (Polysomnography) เป็นเครื่องมือที่ใช้ติดกับตัวผู้ป่วย ในขณะที่ เ ข้ า รั บ การตรวจในห้ อ งทดสอบ การนอนหลับ (Sleep lab) ประกอบด้วย การวั ด คลื่ น สมอง (EEG) ขณะนอน การ เคลื่ อ นไหวของลู ก ตา (Extraoccular movement) การเคลื่ อ นไหวของกล้ า ม เนื้อหน้า และคาง และการวัดสัญญาณชีพ ตลอดจนระดับออกซิเจนในเลือดที่จะช่วย วินิจฉัยเรื่องการอุดกั้นทางเดินหายใจในผู้ ป่วยที่ลิ้นตกเวลาหลับ หรืออ้วน นอนกรน ๑.๒. การวั ด การเคลื่ อ นไหวของ ร่างกาย(Body movement measurement) ด้วยเครื่องไนท์แคป(Night cap) หรือ ริสท์ เอคทิกราฟ (Wrist Actigraph) ทั้ง ๒ ชนิดเป็นเครื่องชนิดพกพา ติดตั้งไป กับผู้ป่วย แล้วค่อยน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ แม้ว่าความละเอียดไม่เท่ากับเครื่อง PSG. และต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการแปร ผล แต่ราคาถูกกว่ากัน ๒. การประเมินการหลับจากการบอก เล่า ซึ่งก็ยังได้ผลดี และไม่มีค่าใช้จ่าย แม้ว่าเราจะทราบรายละเอียดในเรื่อง การนอนพอสมควร แต่ก็ไม่ได้ช่วยในการ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยที่ น อนไม่ ห ลั บ มากนั ก แพทย์ ยังคงต้องใส่ใจในสาเหตุทางกายภาพ โรค ประจ�ำตัวของผู้ป่วยที่อาจจะขัดขวางการ นอนเช่ น โรคกล้ า มเนื้ อ หั ว ใจพิ ก าร การ บี บ ตั ว ไม่ ดี สู บ ฉี ด เลื อ ดได้ ไ ม่ เ ต็ ม ที่ หรื อ โรคถุ ง ลมปอดโป่ ง พอง ถุ ง ลมปอดไม่ สามารถแลกเปลี่ ย นออกซิ เ จน หรื อ ขั บ คาร์บอนไดออกไซด์ออกได้หมด ก็จะเกิด อาการเหนื่อย ร่างกายขาดออกซิเจน นอก จากนั้นก็ยังมีความเจ็บป่วยอีกหลายระบบ ที่ติดตามมาด้วยภาวการณ์นอนไม่หลับ ผลลัพธ์ที่ไ ด้จ ากการทดสอบในห้อ ง ทดสอบการนอนหลับ (Sleep lab) ในผู้ที่ นอนกรน หากพบว่ามีการตีบแคบของทาง เดิ น หายใจ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ภาวะขาดออกซิเจน ในปัจจุบันสามารถแก้ได้โดยใช้เครื่อง CPAP ซึ่งเป็นเครื่องสร้างแรงลม ส่งเข้าสู่ หน้ากากที่ครอบใบหน้า ปากและจมูก เอา ไว้ขณะนอน เครื่องจะส่งอากาศในความ แรงและปริ ม าณที่ ส ามารถถ่ า งทางเดิ น หายใจส่ ว นบนเอาไว้ มิ ใ ห้ ตี บ แคบ ท� ำ ให้ สามารถหายใจโล่ง จนผู้ป่วยส่วนใหญ่พึง พอใจหลับได้ลึก ตื่นด้วยความสดชื่น และ ยอมรับการใช้เครื่องจนเป็นนิสัยในที่สุด
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
สุเมธ รุจิวณิชย์กุล
sumet_arch@hotmail.com
เ
มื่อกลางเดือนที่แล้ว ผมได้ชวนอาจารย์ สมพุทธ ธุระเจน ผู้สนใจประวัติศ าสตร์ ท้ อ งถิ่ น เมื อ งนคร และคุ ณ สรวิ ศ จั น ทร์ แท่น เจ้าของโรงแรมรุ่นใหม่ที่ประสบความ ส�ำเร็จคนหนึ่งไปนั่งกินลมชมเลกันที่ริมน�้ำ ปากนคร ตั้งใจว่ามาส�ำรวจพื้นที่ล่วงหน้า เพื่อพาครอบครัวมาทานอาหารทะเลรับลม เย็นๆ ในเดือนเมษายนที่คาดว่าจะร้อนจัด อีกปีหนึ่ง เลยมีโอกาสนั่งคุยสัพเพเหระกับ เจ้าของร้านอาหารที่นั่น ทราบว่ามีลูกค้า แวะมากินอาหารเป็นประจ�ำมากพอสมควร แต่ ก็ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด หลายเรื่ อ งที่ เ จ้ า ของพื้ น ที่ เล่าให้ฟังที่ผมเองอยากขยายความต่อไป อาจารย์สมพุทธเล่าให้ฟังว่าเส้นทาง ปากนครเป็นถนนสายโบราณที่เรือบรรทุก สิ น ค้ า สมั ย ก่ อ นใช้ ล� ำ เลี ย งสิ น ค้ า เข้ า สู ่ ตั ว เมืองนครทางบก (เห็นทางเทศบาลปั้นรูป เรือส�ำเภาสองกระโดงไว้ที่วงเวียน น่าจะ ต้องการสื่อถึงเรื่องนี้กระมัง) ส่วนทางน�้ำก็ สามารถเข้าทางคลองใหญ่ถึงใจกลางเมือง เช่นกัน หากสืบสาวราวเรื่องปากนครแล้ว น่ า จะเป็ น เมื อ งปากน�้ ำ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ใน อดีตอย่างแน่นอน ความจริงผมเองก็เคย ขั บ รถมาทานอาหารทะเลที่ นี่ ม านานพอ สมควร แต่ เ นื่ อ งจากตอนขากลั บ ที่ เ ป็ น ช่ ว งกลางคื น ถนนมื ด มิ ด เกรงว่ า จะเกิ ด อันตรายก็เลยไม่ค่อยได้มาอีก และตอนนี้ เห็ น มี ก ารขยายถนนลาดยางต่ อ เชื่ อ มกั บ ถนนคอนกรีตในเขตตัวเมืองจึงมีความรู้สึก ที่อยากมาดูกันอีกครั้ง ซึ่งถนนก็ขยายไปได้ ช่วงหนึ่งเท่านั้นก็คาดว่าคงท�ำต่อไปจนถึง ปากนครในไม่ช้า จึงขอแสดงความยินดีกับ ชาวปากนครด้วยนะครับ ผมเคยถามพรรคพวกที่ อ ยู ่ ตั ว เมื อ ง นครว่า ถ้าจะมาปากนครจะนึกถึงอะไรที่ เป็นจุดเด่น เกือบทุกคนพูดถึงการไปกิน อาหารซีฟู๊ด นั่นแสดงว่าน�้ำหนักเทไปให้การ กิ น อาหารทะเลที่ มี ค วามสดจากทะเลทุ ก วั น โดยเฉพาะหอยนางรมที่ เ จ้ า ของร้ า น
www.nakhonforum.com
อาหารยืนยันว่าอร่อยไม่แพ้ที่อื่น แต่มีบ้าง ที่บ่นถึงไม่มีร้านตัวเลือก เรื่องราคา เรื่อง รสชาติ หรือเรื่องที่ต้องรอที่นั่งในร้ านที่มี จ�ำกัด แม้ว่าเป็นเรื่องธรรมดาของผู้บริโภค แต่ก็น่าจะเป็นข้อมูลที่น่าเก็บไปคิด ส�ำหรับ คนที่ ไ ม่ พู ด เรื่ อ งอาหารก็ บ อกว่ า อยากไป สัมผัสกับไอน�้ำทะเล (คงเค็มๆ หน่อย) สูด อากาศบริสุทธิ์ที่ในตัวเมืองนครไม่ค่อยจะ มี เ พราะเทพื้ น คอนกรี ต เสี ย ส่ ว นใหญ่ ผม ว่าน่าจะจริงครับ เพราะเพียงชั่วโมงเดียว ที่เรานั่งกินกาแฟชมต้นไม้ป่าชายเลนที่ยัง สมบูรณ์ ผมสัมผัสได้ถึงอากาศที่สูดเข้าเต็ม ปอดไม่เจือปนมลพิษ แม้ว่าจะได้ยินเสียง เครื่องยนต์จากเรือหางยาวผมก็ว่าเป็นเสน่ห์ อย่ า งหนึ่ ง ของพื้ น ที่ ค นที่ มี อ าชี พ ประมง ริมฝั่ง ถ้าไม่ได้ยินเสียงอะไรเลยนี่ซิครับคง เหงาๆ เหมือนนั่งร้านกาแฟสดแต่ไม่ได้ยิน เสียงเครื่องบดกาแฟฉันใดก็ฉันนั้น ส�ำหรับ เรื่องอื่นๆ เพื่อนๆ เขายังคิดไม่ออกบอกไม่ได้ ว่ามีอะไรเด่น ก็เลยอยากฝากชาวปากนคร ช่วยค้นหาตัวเองและช่วยประชาสัมพันธ์กัน หน่อย เพราะสืบค้นใน GOOGLE เองก็มี ข้อมูลน้อยมาก แต่ผมเชื่อว่าองค์กรบริหาร ส่วนท้องถิ่นก็คงมีโครงการอยู่แล้วเพียงแต่ รอเวลาการพัฒนาก็เป็นได้ ในฐานะที่เป็น คนนอกพื้นที่และเป็นผู้บริโภคคนหนึ่ง ผมมี มุมมองด้านที่เป็นเสน่ห์ของปากนครที่อยาก เห็นดังนี้ครับ
• อยากเห็นเทศบาลสร้างเอกลักษณ์ ที่เป็นประวัติศาสตร์การเดินเรือส�ำเภาที่เข้า มาในอดีต และจัดภูมิทัศน์ให้สวยงามน่า เก็บภาพประทับใจไว้เป็นที่ระลึก • อยากเห็นการอนุรักษ์ต้นไม้ป่าชาย เลน และมีการน�ำเที่ยวเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยสะพานคนเดิ น หรื อ นั่ ง เรื อ ลั ด เลาะไป ตามแมกไม้ดูชีวิตสัตว์น�้ำ • อยากเห็นการส่งเสริมให้ เ พิ่ ม ร้ า น อาหารทะเลเป็นตัวเลือกของลูกค้ากันมาก ขึ้ น (แนวทางเดี ย วกั บ ร้ า นอาหารทะเลที่ ปากน�้ำสุราษฎร์ธานีที่เขาท�ำได้ส�ำเร็จ) โดย มีการเกื้อกูลกันในด้านต่างๆ เช่น ลานจอด รถยนต์ ส ่ ว นกลาง สะพานคนเดิ น เชื่ อ ม ระหว่างร้านต่างๆ ฯลฯ • อยากเห็ น มาตรฐานอาหารทะเล ที่ทุกคนต้องกล่าวขวัญถึงความสด ความ อร่อย และความสมราคา • อยากเห็ น กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งความ ศรั ท ธาในการมาสั ก การะหลวงปู ่ ท วดที่ ศาลากลางน�้ำ
หน้า ๑๓
• อยากเห็ น ร้ า นขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ชาวบ้ า นอย่ า งมี รู ป แบบที่ น ่ า ซื้ อ กลั บ ที่ มี การรับรองคุณภาพโดยองค์กรหรือชมรม แม่บ้านท้องถิ่น • อยากเห็นการเพิ่มความปลอดภัยแก่ ผู้มาใช้บริการทั้งด้านการเดินทางและด้าน ทรัพย์สิน • อยากเห็นชือ่ ปากนครปรากฏในบัญชี แหล่งท่องเที่ยวของ ททท.ที่ไม่ควรพลาด ก็ต้องยอมรับว่าอาจจะต้องใช้เวลาใน การพัฒนา แต่หากคนท้องถิ่นและผู้บริหาร องค์กรท้องถิ่นก้าวข้ามเรื่องการเมืองและ ร่วมมือกันหาจุดเด่นเข่นจุดด้อย ผมก็เชื่อ ในศักยภาพของสถานที่ที่มีบรรยากาศดีมี เสน่ห์ ระยะทางเพียง ๑๐ กิโลเมตรจาก ตั ว เมื อ งที่ ผ ่ า นหมู ่ บ ้ า นจั ด สรรชั้ น ดี ห ลาย โครงการ ลูกค้าไม่ต้องเดินทางไกลไปบริโภค ถึงต่างอ�ำเภอที่ไกลกว่ามาก ซึ่งเป็นเรื่องของ ชาวปากนครที่ต้องประชาสัมพันธ์เห็นภาพ ให้ได้ก็ไม่ใช่เรื่องไกลเกินฝัน ส�ำหรับในส่วน ราชการหากจะของบประมาณพัฒนาโดย มีโครงการที่ชัดเจนและได้ประโยชน์ตกสู่ ชาวบ้านส่วนใหญ่ ผมเชื่อว่าการอนุมัติงบ ประมาณมีความเป็นไปได้สูง ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นเรื่องสนับสนุนเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การขยายถนน การปรับแก้คอสะพาน ให้เป็นทางลาดที่รถโดยสารขนาดใหญ่ผ่าน สะดวก การหาพื้นที่จอดรถยนต์ส่วนกลาง การเพิ่มแสงสว่างแก่ถนนในเวลาค�่ำคืน การ ท�ำโครงการเรียนรู้อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การ อบรมธุรกิจ Sea food - Good service การก�ำจัดขยะ เป็นต้น ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของโครงการ เบื้ อ งต้ น คื อ การวางผั ง แม่ บ ท (Master Plan) เพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพรวมทั้ ง หมดใน อนาคตว่าเป็นอย่างไร โดยต้องค้นหาความ ต้ อ งการของชุ ม ชนผ่ า นการมี ส ่ ว นร่ ว มใน การแสดงความคิดเห็นให้ได้ ผมได้ชี้ให้เห็น ความส�ำคัญเรื่องนี้ในข้อเขียน “ราชภัฏนคร โมเดล ผังแม่บทที่เป็นจริง” ลงหนังสือพิมพ์ รักบ้านเกิดฉบับที่แล้ว ลองไปหาอ่านดูก็ แล้วกันเผื่อเป็นประโยชน์บ้าง
หน้า ๑๔
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ณรงค์ หิตโกเมท
หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓
๒.
(ต่อจากฉบับที่แล้ว)
ปั ญ หาด้ า นงบประมาณ การ จั ด การเรี ย นการสอน ที่ ใ ช้ ผู ้ บริหาร ๑ คน ครู ๒ คน จัดการเรียนการ สอนให้นักเรียนไม่เกิน ๔๐ คน รัฐต้องใช้ งบประมาณเงิ น เดื อ นครู ๓ คนๆ ละ ประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท รวม ๑๐๕,๐๐๐ บาท ต่ อ เดื อ น หากรวมทั้ ง ปี คิ ด เป็ น เงิ น ๑,๒๖๐,๐๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายด้านสื่อการ เรี ย นการสอน หนั ง สื อ ห้ อ งสมุ ด ค่ า น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ในการตั ด หญ้ า ในสนาม ค่ า ครุ ภั ณ ฑ์ ซ ่ อ มแซมอาคารเรี ย น ส้ ว ม คอมพิ ว เตอร์ สนามเด็ ก เล่ น และค่ า สาธารณูปโภค ไฟฟ้า น�้ำประปา รวมทั้งปี โดยประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ยังไม่ รวมค่ารายหัวนักเรียนที่รัฐต้องจ่ายเป็นราย คน ค่าปัจจัยพื้นฐาน ค่าเสื้อผ้า รองเท้า
กระเป๋า หนังสือ ค่าทัศนศึกษาของนักเรียน และค่ า อาหารกลางวั น อาหารเสริ ม นม เพราะถือว่า ไม่ว่านักเรียนจะเรียนที่ไหน รัฐต้องจ่ายให้เป็นรายบุคคลอยู่แล้ว นี่คิด เฉพาะเงินเดือนครู และค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็น รวม ๑,๔๖๐,๐๐๐ บาทต่อปี ถ้าคิดโดย เฉลี่ยค่าใช้จ่ายส�ำหรับนักเรียนต่อคน ต่อปี เท่ากับ ๓๖,๕๐๐ บาท นี่คิดว่า ครู ๓ คน
Science Show
เ
พื่อนเรียนรู้ ฉบับนี้ขอน�ำเสนอกิจกรรม ต่างๆ ในค่ายกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของศูนย์วิทย์เมืองคอนตามที่ได้ทิ้ง ท้ายกันไว้เมื่อคราวก่อนนะคะ เราได้แบ่ง กลุ่มกิจกรรมตามแนวคิดและวิธีการที่ใกล้ เคียงกันได้เป็น ๖ กลุ่ม คือ Play & Learn พลังคนพลังคิด ฝีไม้ลายมือ ป่าดินหินน�้ำ ถอดรหัสฟ้า และ Science for kids กลุ่มแรกคือ Play & Learn ได้แก่ กิ จ กรรม Science Show, กิ จ กรรม Math Magic, กิ จ กรรมพิ ชิ ต โลกร้ อ น และกิ จ กรรมของเล่ น ไทยคุ ณ ค่ า ใหม่ วิทยาศาสตร์
การชมการ ทดลองกึ่งการแสดง เพื่ อ อธิ บ ายสมบั ติ ของสารเคมี การ เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ของสารเคมี ตั้ ง แต่ ๒ ชนิดขึ้น ไป การ เกิดความดันอากาศ ในท่ อ ปลายเปิ ด ปลายปิด ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับแรง เสียดทานที่เกิดจากสถานการณ์ต่างๆ และ การเพิ่มหรือลดแรงเสียดทาน แรงลัพธ์ของ แรง ๒ แรงที่กระท�ำต่อวัตถุ พร้อมทั้งการ สร้างเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และให้เห็น รูปแบบ วิธีการและเทคนิคของการจัดการ แสดงทางวิทยาศาสตร์ Science Show เป็ น กิ จ กรรมการ
ต่อนักเรียน ๔๐ คน ถ้านักเรียนน้อยกว่านี้ ค่าใช้จ่ายก็เพิ่มขึ้นอีกใช่ไหมครับ ถ้าเปรียบ เทียบกับโรงเรียนขนาดกลาง มีจ�ำนวนครู ๑๐ คน นักเรียน ๒๘๐ คน ค่าใช้จ่าย เงิน เดื อ นครู ๓๕๐,๐๐๐ บาท รวมทั้ ง ปี คิ ด เป็นเงิน ๔,๒๐๐,๐๐๐ บาท รวมค่าใช้จ่าย ที่จ�ำเป็นอีก ๒๐๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๔,๔๐๐,๐๐๐ บาท คิดค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย
ต่อคน ต่อปี เท่ากับ ๑๕,๗๑๔ บาท ซึ่งเป็น ค่ า ใช้ จ ่ า ยของโรงเรี ย นขนาดกลางที่ น ้ อ ย กว่ า โรงเรี ย นขนาดเล็ ก เท่ า กั บ ๒๐,๗๘๖ บาท ถ้าสามารถรวมโรงเรียนขนาดเล็กให้ มีนักเรียน ๑๒๐ คน มีครู ๗ คน คิดค่าใช้ จ่ายรวมทั้งสิ้น ๓,๑๔๐,๐๐๐ บาท คิดค่าใช้ จ่ายโดยเฉลี่ยต่อคน ต่อปีเท่ากับ ๒๖,๑๖๗ บาท เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ โรงเรี ย นที่ มี ค รู ๓ คน นักเรียน ๔๐ คน ก็สามารถประหยัด ได้ ๑๐,๓๓๓ บาทต่อคน ต่อปี ใช่ไหมครับ พอสรุปได้ว่า โรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๑๒๐ คน รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการ ศึ ก ษามากกว่ า โรงเรี ย นขนาดกลาง และ โรงเรียนขนาดใหญ่แน่นอน ๓. ปัญหาด้านความร่วมมือร่วมใจ ของผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ย ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน และ ประชาชนในละแวกนั้นไม่ต้องการให้ยุบเลิก โรงเรียน เพราะถือว่าเป็นมรดกที่บรรพบุรุษ รวมแรงร่วมใจสร้างไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษา เล่าเรียน ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๐ รวมระยะ เวลา ๗๐ กว่าปี ผู้ปกครองไม่อยากให้ลูก หลานเดินทางไกล ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ขึ้น คุณครูไม่ต้องการไปสอนที่อื่นเพราะมี ความผูกพันกับชุมชน และมีความพึงพอใจ สภาพที่เป็นอยู่ นักเรียน ๒๐ คน มีโทรทัศน์ ทุกห้อง มีสนามเด็กเล่น จัดอาหารกลาง วันโดยการซื้อแกงถุง เผ็ดอย่าง จืดอย่าง นักเรียนเอาข้าวมาจากบ้านก็สามารถอยู่ได้ แล้ว นักเรียนเองก็มีความกังวลใจ ไม่ค่อย ได้ไปศึกษา ดูงานที่อื่น ไม่มั่นใจต่อโรงเรียน แห่งใหม่ และครูคนใหม่ ในส่วนพระภิกษุ ไม่ต้องการให้โรงเรียนยุบเลิก เพราะ บวร มีบ้าน วัด และ โรงเรียน ถ้าขาดโรงเรียน ก็ จ ะไม่ ใ ช่ บวร นี่ คื อ สภาพปั ญ หาที่ ต ้ อ ง สร้างความเข้าใจร่วมกันในการรวมและเลิก โรงเรียนขนาดเล็กนะครับ
แสดงทางวิทยาศาสตร์หรือมายากลวิทยา- แสดงแต่ละชุด แต่ทั้งนี้คงเน้นให้เกิดความ ศาสตร์ ที่เน้นให้การทดลองวิทยาศาสตร์ สนุ ก สนาน มี ค วามรู ้ สึ ก ที่ ดี ต ่ อ การเรี ย น เป็นไปด้วยความสนุกสนาน ตื่นเต้น น่าทึ่ง วิทยาศาสตร์ บางคณะต้องการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้คิดค้นชุดการแสดงและทดลองแสดงด้วย จะต้องเลือกกิจกรรมนี้อย่างน้อย ๖ ชั่วโมง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีส่วนร่วมและ ฝึกการแสดงอย่างแท้จริง
Math Magic
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในรูปแบบของการแสดง (Show) โดยมี วิ ท ยากรที่ มี ค วามสามารถ เฉพาะด้านเป็นผู้แสดง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม อาจจะมีส่วนร่วมบ้างในบางขั้นตอนของชุด การแสดง เมื่ อ แสดงจบในแต่ ล ะชุ ด วิ ท ยากร และผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะร่วมกันสรุปหลัก การทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ ใ ช้ ค วามรู ้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมทั้งวิธีการที่หลากหลายใน การแก้ปัญหาเกม กิจกรรม อย่างมีความคิด สร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบายเหตุผล โดยการอ้างอิงความรู้ ข้อมูล หรือข้อเท็จ จริ ง การสร้ า งแผนภาพเชื่ อ มโยงความรู ้ เนื้อหาต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และน�ำความ รู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ การประยุกต์ใช้ ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และในการด�ำรงชีวิต วิ ท ยากรพู ด คุ ย คณิ ต ศาสตร์ ใ นชี วิ ต
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
แถว หน้ า จอเรติ น ่ า ดิ ส เพลย์ ๓๒๖ ppi และมีสิ่งที่ต้องการเพิ่มเติมจาก iPhone ๔ S ไม่ว่าจะเป็น ๔G LTE ซีพียู Apple A๖ ที่เร็วขึ้น ฟีเจอร์ turn by-turn navigation ขนาดยาวขึ้ น บาง เบา และความ เป็ น Apple ที่ ติ ด ลมบนไปแล้ ว ท� ำ ให้ มั น เป็นที่ต้องการอยู่มากโข ราคา ๑๖ GB ที่ ประมาณ ๒๒,๙๐๐ บาท
อาจารย์แก้ว
ฉ
บั บ นี้ ผมกลั บ มาพู ด ถึ ง สุ ด ยอดเทคโนโลยี ซึ่ ง มี ค นกล่ า วถึ ง กั น มากที่ สุ ด ในรอบปี ๒๕๕๕ ที่ ผ ่ า นมาจะเป็ น อย่ า ง อื่ น ไม่ ไ ด้ น อกจากเจ้ า ”สมาร์ ท โฟนและ แท็บเล็ต” ถ้าผู้อ่านได้เดินตามห้างสรรพ สินค้าหรือเจาะจงตามร้านขายมือถือและ คอมพิวเตอร์จะพบว่า ผู้ผลิตจากหลายๆ ค่ายทยอยเปิดตัวรุ่นใหม่ๆ ออกมาจ�ำหน่าย กั น เกลื่ อ นตลาดแต่ จ ะเลื อ กใช้ รุ ่ น ไหนให้ เหมาะสมและเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด กั บ เรา นั้ น วั น นี้ ผ มมี ข ้ อ เสนอแนะ ข้ อ เด่ น ของ แต่ละรุ่นเพื่อประกอบการตัดสินใจส�ำหรับ ท่านที่ก�ำลังเลือกหาและยังไม่ได้ตัดสินใจ ซื้อ
แท็บเล็ต
๑. Nokia Lumia ๙๒๐ รุ่นนี้สามารถ ท�ำให้ Windows Phone ถูกกล่าวถึงขึ้น มาบ้างหลังจากที่ปล่อยให้คู่แข่งน�ำหน้าไป หลายช่วงตัว ค่ายยักษ์ใหญ่จากฟินแลนด์ อดีตผู้น�ำตลาดมือถือก็คลอดรุ่นนี้ออกมาสู่ ตลาดแต่ก็ต้องลุ้นว่าจะสามารถเจาะตลาด บ้านเราได้ดีแค่ไหน ฟีเจอร์ที่โดดเด่น คือ การถ่ายภาพ ซึ่งใช้เทคโนโลยี Pure View เซนเซอร์ความละเอียด ๘.๗ ล้านพิกเซล การประยุกต์ใช้ AF-assist light ถ่ายในที่
แสงน้อย เลนส์ CarlZeiss รูรับแสง ๒.๐ พร้อมระบบกันสั่น ท�ำได้ดีใกล้เคียงกล้อง DSLR เลยทีเดียว ราคาประมาณ ๒๑,๕๐๐ บาท ๒. Samsung Galaxy Note ๒ มา พร้อมหน้าจอขนาดใหญ่ ๕.๕ นิ้ว เหมาะ กับการเล่นอินเทอร์เน็ต ดูหนัง เล่นเกมส์ และมี จุ ด ขายที่ ป ากกา S pen (Stylus) สามารถสร้างสรรค์งานต่างๆ ได้ดี หรือใช้ เป็นบลูทูธ (จ่ายเงินเพิ่ม) ที่ส�ำคัญคือระบบ ปฏิ บั ติ ก าร (OS) แอนดรอยด์ Android ๔.๑ Jelly Bean ซึ่งเป็น OS เดียวในขณะ นี้ที่ช่วยคุณวิสเปอร์กับแอพพลิเคชั่น และ การปรับแต่งงานต่างๆ ได้มากที่สุด ราคา ประมาณ ๒๒,๙๐๐ บาท ๓. HTC Droid DNA มีดีที่ห น้าจอ มีความละเอียดมากที่ ๑,๐๘๐ x ๑,๙๒๐ พิ ก เซล (๔๔๐ ppi) ขนาด ๕ นิ้ ว ใกล้ เคียงกับ Galaxy Note ๒ แต่ไม่มีปากกา Stylus ราคาประมาณ ๖,๐๐๐ บาท น่า สนใจเป็ น อย่ า งมากส� ำ หรั บ คุ ณ ภาพเมื่ อ เทียบกับราคา (ท�ำตลาดในไทยประมาณ ต้นปี ๒๕๕๖) ๔. LG Optimus G น่าตื่นตาตื่นใจ ตรงสเปคของเครื่อง ที่มีค วามแรงเพราะ
ประจ�ำวัน และฐานการเรียนรู้ต่างๆ โดยใน แต่ละฐานไม่ได้เน้นที่ตัวเลข แต่จะใช้เกม หรือกิจกรรม เช่น เจ็ดผู้สร้างสรรค์ วาด ภาพจากรูปทรงเรขาคณิต มาลัยรจนา ต่อ ให้เป็นรูป โมเดลคณิตศาสตร์ พาราโบลา จากปล้องไม้ไผ่ การคูณด้วยนิ้วมือ เป็นต้น วิ ท ยากรแบ่ ง กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมเพื่ อ เข้าฐาน ในแต่ละฐานวิทยากรประจ�ำฐาน จะชี้แจงรายละเอียดของฐานนั้นๆ ให้ผู้เข้า
ร่วมกิจกรรมรับทราบ แล้วจึงให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมได้ร่วมกันท�ำกิจกรรม หมุนเวียน กั น ครบทุ ก ฐาน วิ ท ยากรและผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรมร่ ว มกั น พู ด คุ ย อภิ ป รายเรื่ อ ง กระบวนการคิ ด และกระบวนการแก้ ปัญหา ยั ง มี กิ จ กรรมในกลุ ่ ม ของ Play & Learn อีกสองกิจกรรมนะคะ ติดตามกัน ต่อฉบับหน้าค่ะ
สมาร์ทโฟน
หน้า ๑๕
ใช้ซีพียู Snapdragon S๔ Pro ๑.๕ GHz Quad-Core สถาปัตยกรรม Cortex-A๑๕ ซึ่งแจ่มสุด ณ เพลานี้ (อนาคตอันใกล้จะมี Cortex-A๕๐ Series ที่เร็วกว่า ๓ เท่า) มา พร้อมแรม ๒ GB และจีพียู Adreno ๓๒๐ ดูหนัง ฟังเพลงไหลลื่นไม่สะดุด และใช้จอ เดียวกับไอโฟน ๕ เป็นแบบ in-cell touch กล้องขนาด ๑๓ ล้านพิกเซล พร้อม BSI และ LED Flash และตัวเครื่องหนาเพียง ๘.๔๕ มม. พื้นที่จัดเก็บข้อมูลภายใน ๓๒ GB และมี MHL (microUSB to HDMI) เชื่อมต่อมือถือดูหนัง full HD ไม่ต้องผ่าน คอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่น ราคาประมาณ ๒๘,๐๐๐ บาท ๕. Google Nexus ๔ สเป็คเหมือน กับ LG Optimus G ต่างกันตรงกล้องหลัง ที่มีเพียง ๘ ล้านพิกเซล แต่ที่พิเศษคือ Android ๔.๒ Jelly เจ้าแรกเจ้าเดียว ท�ำให้ มันเป็นที่ต้องการ วางตลาดต้นปี ๒๕๕๖ เช่นกัน ราคาประมาณ ๑๖,๐๐๐ บาท ๖. Motorola Droid Razr Maxx HD มีดีที่ขนาดของแบตเตอรี่ ๓๓๐๐ mAh สามารถดู ห นั ง ต่ อ เนื่ อ งได้ ถึ ง ๑๐-๕๐ ชั่วโมงย่อมไม่ธรรมดา พร้อมหน้าจอ HD Super AMOLED Capacitive Touchscreen ๑๖,๗๐๐,๐๐๐ สี ความละเอียด ๑,๒๘๐ x ๗๒๐ พิกเซล กว้าง ๔.๗ นิ้ว คงเป็นทางเลือกส�ำหรับผู้ต้องการใช้ ง าน ต่อเนื่องนานๆ คาดว่าปีหน้าจะมีจ�ำหน่าย อย่างเป็นทางการในไทย ส่วนราคาก็ต้อง ลุ้นเอา ๗. Apple iPhone ๕ ไม่ พู ด ถึ ง ไม่ ได้เพราะค่ายนี้สร้างปรากฏการณ์มากมาย ด้ ว ยยอดจองถล่ ม ทลายทุ ก รุ ่ น กว่ า จะ ได้เครื่องต้องรอคิวนานน่าดู จุดเด่นอยู่ที่ เสถี ย รภาพและประสบการณ์ ที่ ป ระสบ ความส�ำเร็จมาก่อน มาพร้อมระบบปฏิบัติการณ์ iOS ๖ สามารถเลือกดูได้แบบ ๕
๑. Microsoft Surface จุ ด เด่ น อยู ่ ที่ ร ะบบปฏิ บั ติ ก ารใหม่ เ อี่ ย มและเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ล ่ า สุ ด ที่ ห ลาย คนให้ ค วามสนใจ รอยลโฉม จากไมโครซอฟท์ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ แ ล ะ ยั ง ผ ส า น กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี คี ย ์ บ อร์ ด ปิ ด หน้ า จอที่ เป็นเทคโนโลยีใหม่ ท�ำให้เป็น แท็บเล็ตที่เปิดตัวได้อย่างน่าตื่นตาตื่นใจ ๒. Google Nexus ๗, Nexus ๑๐ เป็นแท็บเล็ตตัวแรกของกูเกิล ซึ่งมีสเปคที่ดี แต่ราคาของมันถูกปรับลดลงมาจนเท่ากับ ระดับราคาของแท็บเล็ต Kindle Fire HD หรือทางกูเกิลต้องการส่วนแบ่งตลาดที่เร็ว ขึ้นจึงเอาสเปคมาข่มคู่แข่งทางการตลาด เช่นนี้ ผลดีคงตกที่บริโภคอย่างเราๆ เต็ม ๆ ๓. Apple iPad ๓, iPad mini แอปเปิ ้ ล ครองตลาดมานาน มี จุ ด ยื น ที่ แข็งแกร่ง ประสบการณ์เหลือเฟือ ฟีเจอร์ ที่มากับตัว iPad ๓ ก็ยังท�ำให้ผู้บริโภคตื่น ตาตื่นใจมากกว่าเดิม สเปคของเครื่องที่สูง ขึ้น ความละเอียดของหน้าจอแบบเรติน่า ท�ำให้แท็บเล็ตตัวอื่นๆ ดูหม่นหมองไปทันที ๔. Kindle Fire HD ขนาด ๘.๙ นิ้ว และ ๗ นิ้ ว เป็ น แท็ บ เล็ ต ที่ มี ค วามคุ ้ ม ค่ า เพราะราคาค่าตัวประมาณ ๙,๐๐๐ บาท และ ๖,๐๐๐ บาทตามล�ำดับ เมื่อเทียบกับ สเปคที่แรงไม่ใช่ย่อย ความละเอียดหน้าจอ ก็สูงถึง ๑,๙๒๐ x ๑,๒๐๐ พิกเซล น่าจะ เหมาะกับเด็กๆ และคนที่มีงบน้อยหน่อย ๕. Asus Vivo Tab RT เป็ น คู ่ ค ้ า กั บ ทางไมโครซอฟท์ ใช้ ร ะบบปฏิ บั ติ ก าร วินโดวส์ ๘ ซึ่งเอซุสเป็นผู้ผลิตรายแรกที่ ออกแท็บเล็ตวินโดวส์ ๘ ที่มีคุณภาพน่าใช้ งาน สามารถสร้างชื่อให้ทางไมโครซอฟท์ ได้ดีทีเดียว ๖. LeapPad ๒ เป็ น แท็ บ เล็ ต จาก ค่ า ย LeapFrog เหมาะส� ำ หรั บ เด็ ก เนื่องจากมีความทนทาน มีแอพพลิเคชั่น เพื่ อ การเรี ย นรู ้ ส� ำ หรั บ เด็ ก มากมาย รุ ่ น ที่ ๒ นี้เพิ่มกล้องทั้งด้านหน้าด้านหลัง เพิ่ม ความเร็วของเครื่องและความละเอียดของ หน้าจอ เด็กๆชอบใช้ท�ำให้ขาดตลาดหาซื้อ ได้ยากเป็นช่วงๆ
หน้า ๑๖
นครศรีธรรมราช
Tarzanboy
านมา ๕ วันเต็มแล้ว ในดงลึกที่ยาก เกินผู้คนทั่วไปย่ างกรายไปถึง สอง พรานป่าและหญิงสาวคนเมืองอีกสองคน ยังคงมุ่งมั่นศึกษาในวิชาพรานอันเรียกว่า “ถอดรหัสป่า” มันมีสิ่งที่ต้องเรียนรู้กันไม่ จบไม่สิ้น หลายสิ่งต้อง “ยอมรับและปรับ ตัว” และอีกหลายสิ่งก็ตระหนักได้ว่า การ “อ่อนน้อมถ่อมตนต่อป่า” เป็นหัวใจหลัก ของรหัสแห่งไพรลึกนี้ทั้งสิ้น “วันนี้ไปด้านไหนต่อพี่” “เราจะตั ด ขึ้ น สั น ช่ อ งลม มิ ล ล์ น� ำ ทางเลย” หลังจัดการอาหารเช้ารองท้อง นักเรียนของผมก็ได้มีโอกาสลองน�ำทางเอง เป็นครั้งแรก
“อ่ า ...สั น ที่ พี่ ว่ า มั นจะทอดตัวไปทิศ เหนือนั่นใช่ป่ะ” มิลล์ยังจ�ำภาพใหญ่ของ แผนการเราได้
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ที บางทีก็เบนหัวกลับทิศกับเป้ าหมายไป เลย มิลล์เริ่มลังเลในตอนแรกๆ และเข้าเส้น ทางผิดอยู่บ่อยครั้ง “มิลล์ ต้องดูทางให้เป็นทางก่อน ป่า มันโล่งมากแบบนี้ อาจจะเดินยากสักหน่อย ก่อนอื่นเราก็ต้องหาดูด่านสัตว์ก่อน จ�ำได้ มั้ย เราตามรอยช้างอยู่เมื่อวาน มันหายไป ในเขาวงกต...แต่มันก็จะขึ้นสันเย็นทางเดียว กับเราเนี่ยแหละ ลองหาดู พี่ว่าต้องเจอรอย มันแน่” ของจริงมันยากมาก ยิ่งในป่าทึบ เรือนยอดไม้สูงชะลูดชนิดบดบังแสงตะวัน ได้หมดจด ไม้เล็กๆ ไม่มีสิทธิ์ขึ้นได้เลย ทั้ง ป่าจึงมีแต่ไม้ใหญ่เบียดเสียดกัน พื้นล่างเต็ม ไปด้วยใบไม้ทับถมหนาเตอะ “....เนี่ยแหละป่า ป่าจริงๆ มันเป็น แบบนี้แหละ ไม่เห็นเดือนเห็นตะวัน” มิลล์น�ำตัดข้ามสันไปหลายลูก หลาย เนิน ทางด่านขนาบไปกับล�ำน�้ำ และแนว สันทุกแนว ก�ำลังชี้ขึ้นด้านบน ในที่สุด มิลล์ หารอยช้างเพื่อนเก่าเราเจอ มันใช้เส้นทาง ที่ ข นาบไปกั บ น�้ ำ นี้ และค่ อ ยๆ เดิ น สลั บ ฟันปลา ไต่ทางชันขึ้นยอด “มิลล์ ค่อยๆ ตามมันไปนั่นแหละ ไม่ ต้องตัดตรง มันอ้อมยังไง เราก็ท�ำตามมัน อย่างนั้น ไกลกว่านิดหนึ่งแต่เซฟก�ำลังได้ มากกว่า” มิลล์ยังคงเดินน�ำได้อย่างมั่นใจ แม้บางครั้งจะหลุดด่านไปบ้าง แต่ก็ถือว่า อยู่ในทางด่านเป้าหมาย ไม่นาน เราก็ขึ้นสู่ สันเขาที่ต้องการอย่างแม่นย�ำ “อืม ไม่น่าเชื่อ ทุกทีพี่มาแถวนี้ หลุด ไปสันโน้นบ้าง ติดหุบรกบ้าง แหม! คราวนี้ ตรงเผงเลย” โชคดีที่ฟ้าโปร่ง หากมีหมอก เข้า เราจะเห็นว่า มันไม่ง่ายเลยที่จะรู้ว่าภูมิ ประเทศจริงๆ มันเป็นอย่างไร “มีรอยพรานด้วยพี่ ใช่เพื่อนพี่ป่าว” รอยพรานนิรนาม โผล่มาบรรจบกับเราใน เส้นทางขึ้นสันเขาเหมือนกัน “หึๆ เขามีเป้าหมายเดียวกับเราจริงๆ “ใช่ ...ถัดจากนั้นเราจะเข้า...สันเย็น โดยใช้เพียงสัญชาติญาณและแผนที่ ใ นใจ ต้องหารอยต่อของสันช่องลมนี้ให้ได้” มัน คร่าวๆ เพราะยามเราอยู่ใต้ป่าครึ้ม แทบจะ รึนี่” “โห! พี่ บ อย ดู ช ้ า งนี่ เ ดิ น ซิ หน้า ผา เป็นการยากเอาการอยู่ ส�ำหรับการน�ำทาง ไม่รู้เลยว่า ทิศไหนเป็นทิศไหน วนซ้ายทีขวา
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ชัดๆ มันไปกันได้อย่างไร” เราไต่สันเขาบางเฉียบนั้น ไปเรื่อยๆ บางครั้งเป็นหน้าผาหินร่วนๆ สลับกับดงไม้ เตี้ยๆ กล้วยไม้เริ่มมีให้เห็นตามคาคบ ช้างโขลงหนึ่ง มี รอยเดินเล่นหากินอยู่รอบๆ หน้าผา “ใช่ ...นี่มันเล่นชมวิวเลยนะเนี่ย” หากไม่เห็น ของจริง เราแทบจะนึกภาพไม่ออกเลย ช้างทั้งโขลง เดินไต่สันเขาบางเฉียบได้อย่างไรกัน แถมบางช่วง เป็นหน้าผาชนิดที่แทบต้องปีนขึ้น แต่คุณกลับเจอรอย และขี้มันบนนั้น “นี่แสดงว่า มันใช้ด่านนี้เข้าและออกจากสันเย็น กันจริงๆ ให้ตายซิ หากนั่งเครื่องบินผ่าน ก็มองเห็นมัน ได้ชัดเจนเลยทีเดียว ......เราไปตามสันนี้เรื่อยๆ แหละ มีผาหินช่วงหนึ่งเห็นวิวได้หมดเลย เราจะไปพักเที่ยง แถวนั้น” แม้ตอนนี้เข้าบ่ายกว่าแล้ว แต่เรายังไม่ถึง เป้าหมายแรกของวันนี้ “โน่นๆ พี่บอย ถึงแล้ว โห! วิวแจ่มเลย” เอ็กซ์ ซึ่งปีนล่วงหน้าไปก่อน ตะโกนอย่างลิงโลด “อา !!! ใช่ตรงนี้แหละ ตรงนี้ ผาหินที่เต็มไป ด้วย...ปะการัง” มันคือฟองหิน หรือไลเคนปะการัง ดัชนีชี้สภาพความบริสุทธิ์ของอากาศ “สวยๆ ถ่ายรูปๆ” สาวๆ เริ่งร่ากันอีกครั้ง เราถ่ายรูปเล่นกันไปหลายช๊อต อาหารเที่ยงวัน นี้เป็นเพียงขนมและน�้ำเกลือแร่ผสมน�้ำจากต้นไม้ของ ต๊อบ “ไป เตรียมตัวเข้าสันเย็นกัน” ผมชวนสาวๆ ออกเดินทางต่อ เพราะถึงตรงนี้ ก็ถือว่า เรายืนอยู่ หน้าประตูสันเย็นแล้ว “แปร๋นนนนนนนน............” “อี๋ย !!!! เสียงช้าง....ช้างใช่มั้ยพี่ ใกล้มากเลย” ผมกะเอ็กซ์ชะงักกึกอยู่กับที่ พร้อมกับมองหน้ากัน โดยไม่ได้นัดหมาย บททดสอบชนิดใหม่ ส่งสัญญาณ ให้เราร่วมถอดรหัสอีกแล้ว ทว่าคราวนี้ มันคือ ...รหัส อันตราย !!
นครศรีธรรมราช
นพ.รังสิต ทองสมัคร์
หน้า ๑๗
นับจากโศกนาฏกรรมน�้ำท่วมกระทูนเมื่อปี ๒๕๓๑ พิปูนจึงเกิดอ่างเก็บน�้ำขึ้นมาสองแห่ง ทับถมอดีตแห่งคืนวันอันโหดร้ายไว้ใต้ผืนน�้ำ วันนี้....จากมุมมองง่ายๆ เหนือสันเขื่อน ภาพที่วิเศษก็เผยโฉมให้คนดั้นด้นไปหา พิปูน ...ไม่ไป ไม่เห็น
หน้า ๑๘
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช ปลาสองสายธาร
นภสร มีบุญ
มื่อถึงเวลาลั่ลล้ากับชีวิต ภารกิจที่ต้อง เดินทางก็กลับมาอีกครั้ง โอลั่ลล้าพากิน พาเที่ยวฉบับนี้จึงขอเหยียบคันเร่งเต็มพิกัด ตามอั ต ราที่ ก ฎหมายก� ำ หนด พาทุ ก ท่ า น ไปเยี่ยมชมตะวันดวงนี้ที่อ�ำเภอทุ่งใหญ่ ไป ไกลขนาดนี้ด้วยภารกิจส่วนตัวผสมผสาน กั บ ความอยากรู ้ อ ยากเห็ น ค่ ะ เลยได้ มี โอกาสไปพบร้านงามท่ามกลางป่าเขา ที่ไม่ เคยได้สัมผัส ร้านภูตะวัน ร้านอาหารขนาด ใหญ่ที่ตั้งอยู่ท่ามกลางความไกลจากอ�ำเภอ เมืองแต่สามารถเรียกลูกค้าระหว่างรอยต่อ ในพื้นที่จังหวัดนครฯ และจังหวัดกระบี่ได้ดี เลยทีเดียว อีกทั้งก็ยังคงสโลแกน นครศรีฯ ดี๊ดี ได้อย่างลงตัว กับการตะลอนทัวร์ ๒๓ อ�ำเภอของโอลั่ลล้า เชื่อแล้วค่ะว่ามีของดี ทุกอ�ำเภอจริงๆ นะ (ไม่ได้โม้วววววววว) ..รถจอดเที ย บหน้ า สายธารรี ส อร์ ท ของ ภู ต ะวั น ก็ เ มื่ อ ยามอาทิ ต ย์ อั ส ดงแล้ ว เข้ า
ไก่ตังหุน
ผักทอด
ห้องพักอาบน�้ำพักผ่อนประมาณครึ่งชั่วโมง ก็ อ อกเดิ น เล่ น มายั ง ตั ว อาคารของร้ า น อาหาร มองไปด้านในก็ต้องบอกว่าเป็นร้าน ขนาดใหญ่มากค่ะ ทั้งที่อยู่ห่างไกลตัวเมือง แอบคิดในใจเหมือนกันว่าเค้าจะมีลูกค้ารึ เปล่านะ ..แต่พอช่วงค�่ำได้มีโอกาสนั่งคุยกับ ผู้จัดการหนุ่มไฟแรง พี่ล้าน หรือ พี่เฉลิมรัตน์ โอราเมศ (ซึ่งเป็นรุ่นพี่ลูกนางฟ้าด้วย ย�ำสาวภูตะวัน กั น เลยคุ ย กั น ได้ อี ก ยาวค่ะ เพราะจบจาก รั้วโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชเหมือนกัน) น้องๆ พนักงาน ต้ อ นรั บ ด้ า นหน้ า ต่ า ง ต้ อ นรั บ ด้ ว ยรอยยิ้ ม ที่ ช วนมอง ที่ นี่ รั บ จั ด เลี้ ย งโต๊ ะ จี น , รั บ จั ด งานสั ม มนา และมี
ดนตรี ร� ำ วงเวี ย นครกไว้ เ พื่ อ มอบความ บันเทิงให้กับลูกค้า ก็เสน่ห์ของร�ำวงเวียน ครกนี่แหล่ะค่ะนางกวักส�ำคัญที่ขยันเรียก ลู ก ค้ า ให้ กั บ ทางร้ า นได้ เ ป็ น อย่ า งดี วง ดนตรีของที่นี่ก็น่ารักค่ะ ทั้งนักดนตรีและ นักร้อง ทั้งเล่น ทั้งฮากันได้ตลอด ..ลูกค้า ส่วนใหญ่จะเข้าร้านราวสองทุ่มกว่าๆ แล้ว ก็นั่งกันยาวกันไป เมนูส�ำหรับเราในวันนี้ค่ะ เดินทางกันมาไกลผู้จัดการเกรงว่าผู้เขียน จะหิวจัด ยกอาหารมาเต็มโต๊ะจนตาลาย เริ่มด้วยไส้กรอกภูตะวัน ตามด้วยผักทอด
ทานเล่นเรียกน�้ำย่อย ต่อด้วยเมนูชื่อน่ารัก ปลาสองสายธาร และไก่ตังหุน (ไก่อบยัด ไส้วุ้นเส้น) น่าอร่อยเชียวค่ะ ต่อด้วยย�ำสาว ภูตะวันยกมาเสิร์ฟพร้อมด้วยไฟสว่างไสว อลังการ ส่วนรสชาติไม่ต้องพูดถึงค่ะ แซ่บ ครบรส และปิดท้ายด้วยต้มย�ำหม้อไฟ อิอิ ภายในร้านสามารถรับรองลูกค้าได้ถึง ๖๐๐ คน หลังคาไม้ สูงใหญ่ ท�ำให้ภายใน นั่งสบาย พื้นที่ด้านหลังติดเขา ด้านข้างติด ริมธาร ด้านในตกแต่งด้วยน�้ำตก บ่อปลา เสียงน�้ำโอบล้อม เหมือนนั่งอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ ฟังเพลงไป ทานอาหารไป ช่าง เพลิดเพลินใจได้ดีจริงๆ อิ่มขนาดนี้แล้วขอไปเอนกายสบายๆ กับที่นอนนิ่มๆ ก่อนนะคะ แล้วพบกันฉบับ หน้า ..อย่าพลาดเชียวนะคะ บ๊าย บายค่ะ ..
ขอขอบคุณ.. ด.ต.สมพร สุขหวัง เจ้าของเรือนอาหารบ้านภูตะวันและสายธารรีสอร์ท ผู้จัดการ (พี่ล้าน) ที่แสนใจดี และน้องๆ พนักงานทุกคนที่ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น รับส่วนลด ๑๐% ส�ำหรับผู้อ่าน นสพ.รักบ้านเกิด ฉบับเดือนเมษายนทุกท่านค่ะ เพียงแสดง นสพ. คอลัมน์ โอลั่ลล้าหน้า ๑๘ เมื่อเข้าใช้บริการ สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://saitan-phutawan.webiz.co.th เปิดบริการตั้งแต่ ๑๗.๐๐-๐๑.๐๐ น. โทร.๐๗๕-๔๘๙-๔๘๐, สายธารรีสอร์ท ๐๗๕-๔๘๙-๐๒๓ Folk song เล่นตั้งแต่ ๒๐.๐๐ – ๒๒.๐๐ น. ส่วนวงเต็ม เล่นตั้งแต่ ๒๒.๐๐ น. เป็นต้นไป
ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
นครศรีธรรมราช
หน้า ๑๙
เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ๓ มี น า ค ม ๒ ๕ ๕ ๖ ธนวัฒน์ ลีละพันธุ ประธานเครือนครดีซี จัดพิธีเปิด ‘นครดีซี In The Park’ อย่าง เป็ น ทางการ นครดี ซี อิ น เดอะ พาร์ ค The Electrical Appliance Lifestyle Store
แห่งแรกในจังหวัดนครศรีธรรมราช ถนน พั ฒ นาการคู ข วาง มี ผู ้ ผ ลิ ต ตั ว แแทน จ�ำหน่ายและแขกผู้มีเกียรติไปร่วมแสดง ความยินดีและชมสินค้าเนืองแน่น
หน้า ๒๐
นครศรีธรรมราช
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๙ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583