หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช

Page 1

ขาย

ทุกเงื่อนไข

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

นายอนุชา อนันตศานต์

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๗

เครื่องผลิตไฟฟ้า บ้านวังลุง

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

ผอ. กลุ่มด�ำเนินการฯ กรมพลังงานทดแทนฯ ชี้โรงไฟฟ้าชุมชนต้อง มาจากความต้องการของประชาชน โรงไฟฟ้าคีรีวงชาวบ้านยังไม่พร้อม โรงไฟฟ้าบ้านวังลุงใกล้เปิด กังหันหัวไทรซ่อมแพง เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ นายอนุ ช า อนั น ตศานต์ ผู ้ อ� ำ นวยการ กลุ ่ ม ด� ำ เนิ น การและบ� ำ รุ ง รั ก ษา กรม พั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน เปิ ด เผย กับ ‘รักบ้านเกิด’ ณ ส�ำนักงานโครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ คลองล� ำ ปลอก

ต.โพรงจระเข้ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง เนื่อง ในโอกาสเดินทางมาตรวจเยี่ยมโรงไฟฟ้า แห่งนี้ ว่าโรงไฟฟ้าพลังน�้ำในภาคใต้ก�ำลัง จะเกิดขึ้นอีก แม้บางโรงจะประสบปัญหา เดินเครื่องไม่ได้ ซึ่งเป็นบทเรียนให้กรม พิจารณาตัดสิน ต่อไปโรงไฟฟ้าพลังน�้ำจะ >> อ่านต่อหน้า ๘ ต้องเกิดจาก

รายงาน ถนนเข้ า โครงการล่ ว งหน้ า ๓/๔ งานออกแบบราย ละเอียดและอื่นๆ อยู่ระหว่างด�ำเนินการจ้าง ค่าเช่าที่การ รถไฟแพงเกิน

วั น ที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ นายทรงพล สวาสดิ์ ธ รรม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ เป็นประธานประชุมคณะกรรมการประสานความร่ ว มมื อ แบบบู ร ณาการ และติ ด ตามผลการ >> อ่านต่อหน้า ๙ บริหารงานขับเคลื่อนโครงการพัฒนาศูนย์


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

ลุ่มทุนท้องถิ่น ๕-๖ รายลงทุนท�ำแผ่นป้ายพื้น ขาวหนาดใหญ่เขียนข้อความตัวหนังสือน�้ำตาล และสี ด� ำ ‘คนนครเท่ า นั้ น ที่ ท� ำ ให้ เ มื อ งนครน่ า อยู ่ ขอบคุณที่ ‘ลงมือท�ำ’ ให้นครน่าอยู่’ (ดูภาพในชุมชน คนนคร) ป้ายนี้ส่งสัญญาณด้วยนัยส�ำคัญหลายประการ ประการแรก สีน�้ำตาลที่ใช้กับ ‘คนนคร’ บอกว่าคน นครยังมีชีวิต กลุ่มทุนที่ร่วมกันส่งเสียงเป็นกลุ่มอนุรักษ์ หรือกลุ่มทุนเก่าที่สะสมทุนมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ยึดมั่น ในระเบียบประเพณีหรือสิ่งเก่าๆ และระมัดระวังเรื่องการ เปลี่ยนแปลงไปหาสิ่งใหม่ๆ ประการที่สอง ความหมายของค�ำ ‘คนนครเท่านั้น ที่ ท� ำ ให้ เ มื อ งนครน่ า อยู ่ ’ แสดงให้ เ ห็ น ความเชื่ อ มั่ น ที่ พวกเขามีต่อคนนคร และไม่เชื่อมั่นว่าคนอื่นจะท�ำให้ เมืองนครน่าอยู่ คนอื่นอาจหมายถึงนักลงทุนข้ามถิ่น ซึ่ง อาจหมายถึงทุน (ใหญ่ระดับ) ชาติหรือทุนข้ามชาติที่มา แสวงหาก�ำไรกลับส่วนกลางหรือต่างประเทศ ประการที่สาม ‘ขอบคุณที่ลงมือท�ำให้นครน่าอยู่’ น�้ำเสียงฟังได้ ๒ นัย คือเสียดสี วลี ‘ลงมือท�ำ’ ส่ง ตรงถึงผู้มีอ�ำนาจโดยต�ำแหน่งหน้าที่ หรือผู้ที่ประชาชน เลือกตั้งเข้าไป ทั้งสภาใหญ่และสภาท้องถิ่นให้ลงมือท�ำ เพราะที่ผ่านมาผู้มีอ�ำนาจมักเป็นคน ‘ดีแต่พูด’ และอีก นัยหนึ่ง คือการกล่าวขอบคุณอย่างจริงใจ ต่อผู้ที่ลงมือ ท� ำ ไปแล้ ว ตามหน้ า ที่ โ ดยเปิ ด เผยต่ อ สาธารณะหรื อ ปิดทองหลังพระส่วนบุคคล น�้ ำ เสี ย งและท่ า ที ข องผู ้ ส นั บ สนุ น ป้ า ยแผ่ น นี้ สุภาพและเป็นผู้ดี เลือกวาระที่เหมาะสมที่สุด คือ วาระ ที่ ค นนครดี แ ต่ พู ด ขณะบ้ า นเมื อ งก� ำ ลั ง ถดถอย นั บ เป็นการวิจารณ์อย่างรุนแรง แต่เต็มไปด้วยรสนิยม คน นครที่มีสติพึงสดับรับฟัง ผู้มีหน้าที่โดยตรงหรืออาสา ควรส�ำรวจตัวเอง ว่าได้ท�ำอะไรให้เมืองนครเต็มที่แล้ว หรือยัง ต่อไปนี้ ‘อย่าดีแต่พูด’ โปรด ‘ลงมือท�ำ’ จริงๆ เสียที เพราะว่าพวกเขาเฝ้าสังเกตอยู่ตลอดเวลา และไม่ สามารถนั่งเงียบๆ อีกต่อไป เนื้อความในแผ่นป้ายอ่านชัดเจนว่า กลุ่มทุนท้อง ถิ่นให้เกียรติและไว้วางใจคนนครด้วยกัน

มื่อวันที่ ๑ เมษายนที่ผ่านมาผมมีกิจชวนคิดหลายอย่าง ที่อยากจะบันทึกในนครดอนพระ มีทั้งกิจส่วนตัวและกิจ ของมิตร ตลอดจนของเมืองนครเราด้วยก็ได้หากจะนับ ช่ ว งเช้ า ผมแวะไปธุ ร ะของครอบครั ว ที่ส� ำ นั ก งาน โยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งผั ง เมื อ งรวมของ เมืองนครที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงใหม่ให้ตอบรับกับการ พัฒนาเมืองที่มีการขยายตัวอย่างยิ่งในระยะนี้ พบ ๓ เจ้า หน้าที่ที่ผมเห็นว่า “ดีจัง” กล่าวคือ คนหนึ่งต้อนรับด้วย ไมตรียิ่ง แล้วน�ำไปพบอีกคนหนึ่งที่เธอบอกว่าเกี่ยวข้อง โดยตรง ปรึกษาหารือจนได้ความแล้วท่านนี้ก็น�ำไปพบกับ ระดับอาวุโสอีกคนที่ดูแลและช่วยชี้แนะสารพัด พร้อมกับ ยังเอื้อต่อการประสานงานต่อในอนาคต แบบว่าประมาณ สถานราชการในฝัน หลังจากห่างหายการไปติดต่อด้วย ตนเองมานาน ตกบ่าย ผมไปที่สถานีต�ำรวจภูธร อ.เมือง เพื่อแจ้ง ใบขับขี่รถยนต์สูญหาย ซึ่งท่านผู้ก�ำกับเคยบอกไว้ว่าไป เมื่ อ ไหร่ ใ ห้ บ อก แต่ ผ มเห็ น ว่ า ไม่ น ่ า จะต้ อ งรบกวน ซึ่ ง พบว่าเหมือนฝัน ใช้เวลาเพียง ๕ นาที ทุกอย่างก็เสร็จ เรี ย บร้ อ ย อาจจะเพราะก� ำ ลั ง มี ห มอและพยาบาลกลุ ่ ม หนึ่งก�ำลังแจ้งความเรื่องรถถูกเฉี่ยวชนแล้วคู่กรณีหลบ หนี เกิดทักถามผมจนนายต�ำรวจรู้ว่าเป็นหมอ โดยทีแรก เข้าโรงพัก ท่านก็ทักทายด้วยไมตรีว่า “จ� ำหน้าได้ว่าคือ คนนคร มี ธุ ร ะอะไรครั บ ” ซึ่ ง ผมตอบแบบเสริ ม มุ ข แนว นอบน้อมว่า “มาหานาย แจ้งความใบขับขี่หายครับ” หลังจากนั้น ผมจึงตรงไปที่ส�ำนักงานขนส่งจังหวัด ในศูนย์ราชการนาพรุ ด้วยเวลาประมาณ ๑๕ นาทีถึง ซึ่ง ท�ำให้ทนไม่ได้ที่จะต้องเขียนถึง เพราะพบว่าไม่ใช่ฝันเสีย แล้ ว หน่ ว ยราชการเมื อ งนครทุ ก วั น นี้ น่ า จะเป็ น อย่ า ง นี้ ห มดแล้ ว กล่ า วคื อ เข้ า ส� ำ นั ก งานก็ พ บป้ า ยบอกห้ อง ติดต่อท�ำใบขับขี่ มีคนคอยบริการที่เคาน์เตอร์ ถามตอบ ๒ - ๓ ค�ำ ก็พิมพ์เอกสารให้ตรวจสอบลงนาม ช�ำระค่า ธรรมเนียมแล้วบอกให้นั่งรอ ครู่เดียวก็ได้คิวถ่ายรูปต่อ จากอีกคนหนึ่ง จากนั้นไม่ถึงนาทีก็ได้ใบขับขี่ฉบับใหม่โดย ไม่ทันได้ถามอะไรสักค�ำ และไม่รู้จักใครสักคน รวมแล้ว

ขับรถไป-กลับ ๓๐ นาที ท�ำใบขับขี่ไม่กี่นาทีเท่านั้น นี้คือเรื่องเหมือนฝันของผม ส่วนอีกเรื่องเหลือเชื่อ นั้นผมพบตอนเย็น เมื่อถูกตามไปร่วมต้อนรับคณะแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญจากกรุ ง เทพชุ ด ใหญ่ ที่ ม าปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษ ผ่ า ตั ด สมองการกุ ศ ลให้ กั บ คนนครที่ รพ.มหาราช น� ำ โดยอาจารย์หมอจ�ำชื่อไม่ได้ ชาวชะอวด จากคณะแพทย์ จุฬาฯ มีคุณหมอศัลยเวทย์ เลขะกุล ญาติผู้ใหญ่ของผม เป็นผู้ประสาน กับ อ.ภูธร ภูมะธน กัลยาณมิตรชาวนคร คนส�ำคัญเป็นผู้ดูแลต้อนรับขับสู้ ในฐานะแขกของ คุณ เจริญ - คุณหญิงวรรณา ศิริวัฒนภักดี หนึ่งในอภิมหา เศรษฐี เ มื อ งไทย ที่ เ ลื อ กมาท� ำ บุ ญ วั น เกิ ด ที่ เ มื อ งนคร ติดต่อกัน ๓ ปีแล้ว โดยจะอยู่เมืองนครถึงวันที่ ๔ ด้วย มุ ่ ง หมายท� ำ บุ ญ วั น เกิ ด ที่ วั ด พระธาตุ อี ก ครั้ ง พร้ อ มไหว้ พระ และ เที่ยวชมสถานที่ต่างๆ เชิงประวัติศาสตร์ และ หมู่บ้านคีรีวง โดยผมน�ำหนังสือ ตามรอยธรรมที่เมือง นคร ที่เขียนให้ ททท.ไปมอบแก่คณะ รวมทั้งแนะให้แวะ ศูนย์ศิลปาชีพเนินธัมมัง ที่ก�ำลังฟื้นฟูการทอผ้ายกดิ้นเงิน และทองของเมืองนครอยู่ งานนี้ผมได้พบเห็นสิ่งแปลก ตาคือ คุณเจริญและคุณหญิงวรรณา เที่ยวคอยบริการ ต้ อ นรั บ หมู ่ ห มอ แม้ ก ระทั่ ง ยกเก้ า อี้ ใ ห้ ด ้ ว ย รวมทั้ ง บท สนทนาบนโต๊ะอาหาร ว่าด้วยพระพุทธศาสนา การเจริญ สติภาวนา และ ปัญญา ตลอดจนเรื่องจิปาถะสารพัด มี หลายวลีจีนที่คุณเจริญยกค�ำอาม่ามาบอก เช่น ว่าด้วย ชื่อเสียงที่เมื่อมีมาก็พามาแต่ความยุ่งยาก แต่ที่ต้องบอก พี่น้องชาวนครคือการมุ่งมั่นตั้งใจยกคณะมาท�ำกุศลใหญ่ อย่างเงียบๆ ต่อเนื่องที่เมืองนคร ได้ยินเอ่ยถึงคุณค่าของ ความศักดิ์สิทธิ์บนฐานแห่งความดีงามหลายครั้ง รวมทั้ง การชื่นชอบนานาอาหารและการต้อนรับที่เมืองนคร พวกเราคนนครนิยมและชื่นชอบอย่างนี้ไหมครับ ? สุ ด ท้ า ย ก่ อ นสงกรานต์ ผมเอารถไปขึ้ น ทะเบี ย น ใหม่ ก็ ใ ช้ เ วลาเพี ย งชั่ ว โมงเดี ย ว ตรวจสภาพ แล้ ว ได้ ทะเบียนกลับมาอย่างสะดวกสบาย กบ ๖๕๕๕ ครับ เมษายน ๒๕๕๖


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

ม่ได้โปรโมทร้านอาหารหรือเมนูจานเด็ด เพราะร้านโกชินในซอยโรงแรมสุทธิ ใกล้ๆ วงเวี ย นหลั ง สถานี ร ถไฟเมื อ งนครก� ำ ลั ง จะ ครบ ๒๐ ปี ร้านนี้เลื่องชื่อมานานแล้ว ทั้งเรื่อง รสชาติและเจ้าของร้าน ‘เสียงดัง’ เป็นองค์ลง ผมไปนั่งคุยกับโกชิน หรือ สุชิน แซ่ซิ้ม กุ๊กที่ จะเป็นต�ำนานที่มีชีวิตอีกคน โกชินตื่นก่อนเที่ยงหรือบ่ายนิดๆ นั่งจิบ กาแฟสักพัก แล้วออกจากบ้านหน้าโรงแรม ทักษิณมาร้าน สมนิตย์-- ภรรยาตื่นเช้าไปจ่าย ตลาด ซื้อปลากะพงตัวใหญ่ๆ หนัก ๔-๕ กิโลฯ ได้เนื้อราวๆ ๒๐ กิโลฯ เนื้อหมู ๒๐ กิโลฯ แบ่ง ท�ำหมูแดงใส่ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ เกี๊ยว เย็นตาโฟ และท�ำอาหารอื่นๆ ซื้อกระดูกคาตั๊งกับโครงไก่มาต้มน�้ำซุป เส้นก๋วยเตี๋ยว ๑๐-๑๒ กิโลฯ หมี่เหลือง ๓-๔ กิโลฯ เลือกกุ้งทะเลตัวงามๆ ไม่เอากุ้งเลี้ยง เพราะมีสารตกค้าง เลือกผัก แล้วกลับมาท�ำ ปลากะพงหั่นชิ้นทอดสุกน�ำมาผึ่งพัดลมแล้ว เอาเข้าตู้เย็น ปอกกุ้งทอดสุกเก็บใส่ถุงเข้าตู้ เย็น ปลากะพงแบ่งไว้แกงส้ม ส่วนที่ทอดสุกไว้ ผัดเครื่องแกง ผัดคึ่นไฉ่ หรือผัดตามสั่ง สมนิตย์ปรุงแกงส้ม ต้มย�ำ ข้าวต้มปลา ก๋วยเตี๋ยว หมี่น�้ำ เย็นตาโฟ โกชินรับเหมาปรุง ด้วยกระทะ เช่น ข้าวผัด ราดหน้า ผัดซีอิ๊ว ผัด เครื่องแกง ซึ่งมีสุพรรณษา - ลูกสาวเป็นผู้ช่วย บ้ า นเตี่ ย อยู ่ ห ลั ง หม้ อ น�้ ำ รถไฟ (หลั ง ป่าช้าอิสลาม) เจ๊กเม้ง แซ่ซิว เป็นกุ๊กเก่งทาง ปรุงเป็ดพะโล้หาบขายในตลาดท่าวัง วันมีงิ้ว มาตั้งโรงแสดงหรือแสดงในศาล เจ๊กเม้งจะท�ำ ข้าวต้มปลาไปขายหน้าโรง แม่ชื่อสงวน เทพวารินทร์ เป็นแม่บ้าน โกชินเรียนที่โรงเรียน วัดศรีทวี เรียนมัธยมที่โรงเรียนพรสวัสดิ์วิทยา เรียนสองปีเริ่มไม่สนุกก็ลาออก โกชินไม่เคย เรียนรู้เคล็ดลับจากเตี่ย เตี่ยให้ช่วยถอนขน เป็ดไก่ก็ช่วยแบบช่วยงานบ้าน “แต่เรื่องรัก การท�ำอาหารเหมือนมาจากกระแสเลือด” โกชินเร่ไปตรังอยู่กับพี่สาว ได้งานเป็น ผู ้ ช ่ ว ยร้ า นก๋ ว ยเตี๋ ย วจนได้ เ ซ้ ง ร้ า นข้ า งถนน เป็นของตนเอง ค่าเซ้งเอาจักรเย็บผ้าเพื่อน พี่สาวไปจ�ำน�ำ ด้วยใจรักหมัดมวย ขายก๋วยเตี๋ยวเสร็จเข้าค่ายช�ำนาญยุทธไปฝึกมวย และ ได้ขึ้นเวทีตามงานสวนสนุก ๔-๕ ครั้ง พี่สาว ไม่ ช อบ เตี่ ย ก็ ไ ม่ ช อบ โกชิ น ให้ พี่ ส าวขาย ก๋วยเตี๋ยว ส่วนตัวเองไปอยู่กับพี่สาวอีกคนที่ กรุ ง เทพฯ ท� ำ งานก่ อ สร้ า งสามเดื อ นก็ ก ลั บ บ้าน

เจ๊กเม้งพาไปฝากเถ้าแก่ย่งติ่ง แซ่โค้ว เจ้าของร้านอาหารป่ากล้วย เถ้าแก่ย่งติ่งมัก ชวนเจ๊กเม้งมาช่วยปรุงพะโล้ช่วงมีงานเลี้ยง หรืองานแต่งงาน โกชินมาเป็นผู้ช่วยเถ้าแก่ ย่งติ่งคอยเตรียมของให้เถ้าแก่เอาลงกระทะ “แกท�ำเราดู เรายืนติดๆ แกท�ำอย่างไรเราก็ดู ที่ร้านลูกจ้างสิบกว่าคน ผมเป็นคนท�ำกับข้าว ให้กิน ตอนเที่ยงกับกลางคืนหลังเก็บร้าน ตรง นั้นได้ช่วยเรา แกไม่เคยต�ำหนิเวลาเราท�ำว่าดี ไม่ดี ท�ำแล้วก็พอใจ สิ่งไหนไม่แน่ใจเราก็ถาม” เมื่ อ ก่ อ นปลาจาระเม็ ด ปู ไม่ ต ้ อ งชั่ ง น�้ำหนัก เถ้าแก่ให้โกชินประมาณด้วยสายตา และคิดราคาเท่าไร “ผมเรียกเถ้าแก่ว่าอาเจ็ก.. แกอาจถามบ้ า ง..ตั ว ละกิ โ ลฯ แกถามมึ ง คิ ด เท่าไร..พอบอกแกก็ไม่ค้าน เมื่อก่อนร้านไม่มี จดเมนู เราใช้จ�ำ..ออกกับข้าวโต๊ะไหน ถ้าแขก มาก..สิบโต๊ะ เราก็เรียงตามล�ำดับ เขากินเหล้า กับข้าวกับแกล้มออกไปโต๊ะนั้นก่อนให้เขากิน เล่นๆ ท�ำให้จำ� แม่น..เราจ�ำได้หมดว่าอะไรบ้าง” หลังเป็นผู้ช่วยกุ๊ก ๕ ปี ปลายปี ๒๕๑๗ โกชิ น ลาออกมาเปิ ด ร้ า นที่ ห ้ อ งแถวตรงข้ า ม ร้านป่ากล้วย เถ้าแก่ยงติ่งกับพวงรัตน์ แสงพลสิ ท ธิ์ ผู ้ เ ป็ น ภรรยาก็ ยิ น ดี “ผมขายก๋ ว ยเตี๋ ย ว ราดหน้า ข้าวต้มปลา ผัดซีอิ้ว ข้าวผัด ไม่ได้ แข่งขันกับร้านป่ากล้วย” เปิดร้านได้ไม่นานเจ้าของที่ดินมีโครงการก่ อ สร้ า งอาคารพาณิ ช ย์ จึ ง ต้ อ งย้ า ยไป ขายที่หัวมุมตรงกันข้าม (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งร้าน เปเปอร์พลัส) พอคนเริ่มรู้จักเจ้าของจะก่อสร้าง อาคารจึงหยุด ขาย ว่ า งงานอยู ่ ร ่ ว มเดื อ นจน ไปยื่นซองประมูลที่ของการรถไฟและชนะการ ประมูล ปัจจุบันคือบริเวณโรงแรมมณเฑียร ร้านค้าที่ชานชาลาและพื้นที่หน้าโรงหนังสุรชัย โกชิ น เก็ บ ค่ า เช่ า ที่ พ อมี เ งิ น ให้ ร ถไฟเดื อ น

ประมาณ ๖,๐๐๐ บาท ตัวเองตั้งร้านรถเข็น ขายได้ไม่ทันครบ ๕ ปี การรถไฟยกเลิกสัญญา เตรียมสร้างโรงแรมและอาคารพาณิชย์ “ผม ย้ายไปอยู่หลังวิกดาว ผมย้ายครั้่งก็ขายดีครั้ง ยอดดีขึ้น” ขายได้ สั ก ระยะเทศบาลสมั ย อาจารย์ จรัส เสือทอง เป็นนายกเทศมนตรีให้ย้ายไป ตลาดยาว แต่พ่อค้าแม่ค้าไม่ยอม ฝ่ายต�ำรวจ จึงท�ำบันทึกผ่อนผัน ต่อมาผู้ก�ำกับฯ มาใหม่ ประกาศว่าถ้าขายก็จะจับเพราะเป็นถนนหลวง “ผมย้ายมาขายตรงข้างคิวรถตู้ทุ่งสงปากซอย สุทธิ น�้ำไฟไม่รู้จะเอาที่ไหน ร้านสินโอชาชีวิต ผมจะไม่ลืมบุญคุณของเขา ผมไม่รู้จักเขาแม้แต่ นิดเดียว ผมบอกโกอู้ด (น้องชายโกแอ๊ด-สุธรรม ชยันต์เกียรติ) ว่าขอต่อไฟขายก๋วยเตี๋ยว แกว่า มาต่อเลย ผมถามแล้วจะคิดผมเท่าไร..แกบอก ค่อยดูค่าบิลว่ามันขึ้นมาเท่าใด..ผมได้ขาย ชั่ว ชีวิตสินโอชาโกชินไม่ลืม” ขายที่ปากซอยสุทธิหลายปี จนเจ้าของ บ้านใกล้ๆ ขอให้ย้ายเพราะควันเข้าบ้าน จึง โยกมาต้นซอยข้างโรงแรมสุทธิจ่ายค่าเช่าน�้ำ ไฟเดือนละ ๘๐๐ บาท ค่าเช่าปรับขึ้นเรื่อยๆ ปี ๒๕๓๖ โกชินจึงไปขอเช่าสิทธิ์ห้องแถวใน ซอยซึ่งเป็นโกดังของร้านสหยนต์ ถอนเงินเก็บ ๗๓๐,๐๐๐ บาทจ่ายให้เขาไป ตอนต้นผมบอก ว่าร้านจะครบ ๒๐ ปี ผมหมายถึงร้านปัจจุบัน ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น คนเดิ ม ๆ จาก ระดับล่างถึงระดับกลาง เป็นคนในเมือง เป็นขา ประจ�ำจึงรู้ว่าร้านอยู่ในซอย คนไปอยู่ที่อื่นกลับ บ้านช่วงสงกรานต์หรืองานเดือนสิบจะมากิน เพราะเคยกินมาตั้งแต่สมัยเรียนหนังสือ เมื่อก่อนใช้เส้นก๋วยเตี๋ยวคืนละเกือบ ๕๐ กิโลฯ ปัจจุบันเหลือ ๑๐-๑๒ กิโลฯ เพราะว่า คนหั น ไปกิ น ข้ า วมากขึ้ น คื น หนึ่ ง ใช้ข้า วสาร

หน้า ๓

ราวๆ ๕๐ กิโลฯ โกชินเป็นคนพูดเสียงดังจน บางคนรู้สึกว่าหยาบ “ลูกค้าเคยถาม..เวลาไม่ ขายของกับขายของพูดผิดกัน..เวลาขายของ สมาธิอยู่ตรงนั้นอย่างอื่นผมทิ้งหมด ลูกค้า โกรธว่าเราหยาบ เราพูดไปตามนิสัยของเรา” โกชินจะยืนหน้าเตาตั้งแต่ ๑๗.๐๐ น. จนถึง ๒๒.๓๐ น. ที่พูดเสียงดังเพราะใช้สมาธิ จดจ�ำรายการอาหารที่ท�ำออกไป ตอนคิดเงิน อย่าไปขอรายการเพราะไม่ได้จด แต่คิดเงินไม่ เคยผิด คิดตามราคาไม่ว่าขาประจ�ำหรือขาจร ถ้าผิดแม้สิบบาทเที่ยวหน้ามาใหม่โกชินจะ บอกและคืนให้ ข้าวของลืมทิ้งไว้ไม่เคยหาย ถ้าเด็กในร้านเห็นและเก็บไว้ ใครเข้ า ร้ า นโกชิ น อยากกิ น เร็ ว ๆ ไม่ อยากนั่ ง รอก็ ใ ห้ ถ ามว่ า กระทะต่ อ ไปจะท� ำ อะไร โกชินจะบอกว่าข้าวผัด ราดหน้าหรือผัด ซีอิ้ว อยากกินเร็วทันใจก็สั่งข้าวผัด วิธีนี้คน มาก่อนเคยลุกออกจากร้านเพราะถูกตัดหน้า เดี๋ยวนี้เป็นที่รู้กันแล้ว ผัดอาหารมาหลายแสนจาน โกชินจะ ผัดซี้อิ๊วคราวละ ๑๐ จานก็ได้ แต่ไม่เคยท�ำ ถ้า สั่งมากๆ จะแบ่งคราวละ ๕-๗ “ผัดซีอิ้วได้ไม่ เกินเจ็ดจาน มากกว่านั้นมันเอาดีไม่ได้” ปรุงราดหน้า ผัดซีอิ๊ว เดี๋ยวนี้ไม่ต้องชิม แต่ผัดเครื่องแกงจะชิมบ้าง “เครื่องแกงเรา ซื้อมามันไม่แม่น เค็มไปบ้าง อ่อนไปบ้าง เรา ต้องให้มั่นใจ” น�้ำซุปต้มตอนเช้า โกชินมาดูแล้วปิด แก๊ส ค่อยเปิดอีกทีตอนปรุง ช่วงนั้นจะเปิด แก๊สเบาๆ คอยเติมน�้ำ ตักฟองทิ้ง ต้มไม่ให้ขุ่น “ท�ำอาหารต้องใช้น�้ำซุปที่หอมหวาน น�้ำซุป ดูแลเอง ลูกมาต้ม เดือดมาตักฟอง ตอนขาย อยู่ที่ผม ใช้ไฟอ่อนๆ ไม่อย่างนั้นน�้ำจะข้น” ขายอาหารจะครบ ๔๐ ปี อายุย่าง ๖๓ ปี โกชินพยายามหาเวลาพักผ่อน เก็บร้าน แล้วกลับบ้าน ไม่ไปแทงสนุ้กเกอร์จนสว่าง เหมือนตอนหนุ่มๆ “เดี๋ยวนี้สี่ทุ่มก็เริ่มเก็บ ร่างกายไม่ไหว” โกชิ น บอกว่ า ท� ำ อาหารให้ ลู ก ค้ า รั บ ประทานมานาน แต่ ฝ ี มื อ ปรุ ง ไม่ ไ ด้ พั ฒ นา ขึ้นเลย “วันก่อนนายทหารเกษียณอายุพา ลูกสาวมากินราดหน้า พอกินได้ไม่กี่ค�ำเธอ บอกว่ า กี่ ป ี ๆ รสมื อ โกชิ น ก็ ไ ม่ เ คยเปลี่ ย น” พูดแล้วหัวเราะ “ความจริงท�ำทุกวันควรจะ พัฒนาบ้าง” ลูกชายหญิง ๒ คน สุพรรณษาช่วยงาน ในร้าน พี่ชาย-กฤษณพงศ์ ปานพงษ์ ลาออก จากงานที่กรุงเทพฯ มาขายเสื้อผ้าแฟชั่นที่ บ้านดอน สุราษฎร์ธานี ร้านโกชินหาไม่ยาก สังเกตซอยใกล้ๆ วงเวียน สังเกตเห็นผู้คนเข้าๆ ออกๆ ถ้าได้ยิน คนพูดเสียงดังฟังชัดนั่นแหละใช่เลย –เข้า ซอยไปราวๆ ๑๕ เมตร


หน้า ๔

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

มื่ อ วั น ที่ ๑๒ เมษายน ที่ ผ ่ า นมา ผมมีโอกาสได้ร่วมกับชาวเขาแก้ว อ�ำเภอลานสกา ซึ่งน�ำโดยผู้ใหญ่บ้าน สุรพัฒน์ นครพัฒน์ เข้าร่วมขบวนแห่ น�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทัง้ ๖ แหล่งของเมืองนคร อั น มี น�้ ำ จากบ่ อ น�้ ำ วั ด หน้ า พระลาน บ่อน�้ำวัดเสมาเมือง บ่อน�้ำวัดเสมาไชย บ่อน�ำ้ วัดประตูขาว น�ำ้ จากห้วย มหาชัย และจากห้วยปากนาคราช ในขบวนแห่มชี าวบ้านนุง่ ผ้าแดง หาบน�้ำด้วยกระบอกไม้ไผ่ ปิดจุกด้วย ใบแร็ด ผูกกระบอกไม้ไผ่ด้วยหวายเล็ก น�ำขบวนโดยเชิด แห่นาคราชเป็นทีต่ นื่ ตาตืน่ ใจของผูไ้ ด้พบเห็น หลายท่านได้ สอบถามผมว่าได้น�ำแนวคิดขบวนแห่มาจากไหน มีที่มาที่ ไปอย่างไร วันนี้เลยขอถือโอกาสเล่าที่มาที่ไปใน “รักบ้าน เกิด” เสียเลย ปากนาคราช เป็นชื่อที่ทางราชการเรียกแหล่งน�้ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ต� ำ บลเขาแก้ ว อ� ำ เภอลานสกา จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช แต่ชาวบ้านเขาแก้วจะเรียก ห้วยเทวดา นาคราช ตัง้ แต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา ห้วยน�ำ้ นีท้ างราชการ ถือเป็นแหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของเมืองนคร เป็นน�้ำสิริมงคล และศักดิ์สิทธิ์มาก จึงได้น�ำน�้ำจากห้วยนี้ไปประกอบเป็น น�้ำพระพุทธมนต์ในพระราชพิธีต่างๆ เช่น พระราชพิธี อภิเษก บรมราชาภิเษก และน�้ำพิพัฒน์สัตยา ตรงจุดที่ใช้ ตักน�้ำนั้นเป็นแอ่งน�้ำกว้างและลึกพอประมาณ เหนือแอ่ง น�้ำมีโขดหินยื่นออกมาเป็นหัวพญานาค มีน�้ำไหลออกมา จากปากพญานาค นับเป็นแอ่งน�ำ้ ทีม่ หัศจรรย์อยูไ่ ม่นอ้ ย เมื่อประมาณปี ๒๕๓๕ ผมได้มีโอกาสอ่านหนังสือ เรื่ อ ง “จารี ต ประเพณี ง านรื่ น เริ ง เมื อ งนคร” ซึ่ ง เป็ น หนังสือเก่า พิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๗ พบประเพณีหนึ่งคือ การท�ำ “พิธีอาฏานา หรือ อัฏฏนา” โดยผมจะคัดลอก ออกมาโดยมีความดังนี้ “พิธีอาฏานา หรือ อัฏฏนา” เริ่มงานตั้งแต่วันแรม ๑๑ ค�่ำเดือน ๔ จนถึงวันแรม ๑๕ ค�่ำย�่ำรุ่ง ทั้งเป็นพิธี เกีย่ วเนือ่ งกับพิธศี รีสจั จปานกาลด้วย ในวัน ๑๑ ค�ำ่ เริม่ ตัง้ น�ำ้ วงด้าย แต่งปริมณฑลพิธกี าร เริม่ ด้วยพิธพี ราหมณ์กอ่ น และในวันนี้ พนักงานส่วยน�้ำ ส�ำหรับการถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา จะได้น�ำน�้ำซึ่งไปตักมาจาก ปากนาคราช (ไหลออก มาจากเขาลงคลองเขาแก้ว ตอนเหนือบ้านเขาแก้วใต้นำ�้ ตก

ปากนาคราช หรือ ห้วยเทวดานาคราช ของชาวเขาแก้ว ได้รับการยืนยัน จากผู้สูงอายุหลายท่านที่ยังมีชีวิตอยู่ ในปัจจุบันว่า ไม่ใช่เพียงแง่หิน จากแอ่งน�้ำมีรูปร่างคล้าย กับนาคราช แต่ห้วยนาคราชนั้น เคยมีงูขนาดใหญ่มหึมา อยู่จริง

กะโรม) โดยสมมตนิยมบรรจุลงในกระบอกไม้ไผ่ ซึ่งงอก อยู่ที่ปากนาคราช และปิดปากกระบอกด้วยใบแร็ดอันงอก ในน�้ำดุจกัน พนักงานส่วยน�้ำมี ๗ คน คนหนึ่งต้องหาบน�้ำ ไป ๑ หาบ จะมากน้อยพอแก่กำ� ลัง ซึง่ ไม่ตำ�่ กว่าคนละ ๒๐ กระบอก ผูบ้ ญ ั ชาการเมืองจัดคนถือสัปทนแดง และต�ำรวจ หวายหน้า ไปคอยรับอยูท่ หี่ น้าประตูปา่ (ศาลาสังกะสี) กัน้ สัปทนให้คนหาบน�้ำ และเดินเข้ากระบวนไปยังโรงพิธี ให้ พราหมณ์จัดการถ่ายน�้ำลงในคนโท ๙ ลูก เหลือนอกนั้น เท่าใด วางรอบอาสนะพระพุทธรูป พระพุทธรูปที่เข้าพิธีนี้ คือ พระพุทธสิหงิ ค์ เมื่อเสร็จการตั้งน�้ำวงด้ายสายสิญจน์แล้ว พราหมณ์ ก็ เ ริ่ ม พิ ธี ท างไสยศาสตร์ ร ่ า ยเวทอั ญ เชิ ญ เทพยดา ศิ ว ะ นารายณ์ เมื่อเช้าย�่ำรุ่ง ๑๒ ค�่ำ ลั่นฆ้องเป่าสังข์และมี เครื่ อ งประโคมพิ ณ พาทย์ เพื่ อ จุ ด เที ย นชั ย เริ่ ม พิ ธี ฝ ่ า ย พุทธศาสนา ผู้บัญชาการเมืองและอธิบดีฝ่ายสงฆ์เป็นผู้จุด เทียนชัย ทันใดนัน้ พระสวดพิธี ๕ องค์ขนึ้ อาสน์ ตัง้ ต้นสวด เรียกว่าสวดพิธี สวดทั้งกลางวันกลางคืนเวลา ๒ ยามวัน ๑๔ ค�ำ่ พราหมณ์ดบั กองกูณฑ์เสร็จพิธพี ราหมณ์ เช้า ๑๕ ค�ำ่ ดับเทียนชัย เสร็จพิธพี ระ ในการเข้าพิธีฝ่ายสงฆ์นี้ พระสงฆ์ ๔ องค์ขึ้นอาสน์ สวด องค์หนึง่ นัง่ ปรก มีการสับเปลีย่ นกันเป็น ๔ คณะ คือ คณะกาแก้ว คณะกาชาติ คณะการาม และคณะกาเดิม พิธีนี้มีราษฎร์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยคือ พิธีสมมติยมว่า เป็น พิธีขับผีที่เป็นเสนียดจัญไรร้ายกาจให้ออกจากบ้านเมือง เสียปีละครัง้ ราษฎร์จงึ ได้นำ� ตะบองเพชร ใบตาล และสาย มงคลไปขอร่วมเข้าพิธีด้วย เพื่อได้น�ำไปใช้ที่บ้านเรือนตน การนับถือน�้ำมนต์ ด้ายสายสิญจน์และตะบองเพชร ยังสืบ เนือ่ งจนทุกวันนี้ >> อ่านต่อหน้า ๑๐

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๖ เดือนพฤษภาคม โรงเรียนเปิด ภาคแรกประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ผู้ปกครองหลายคนยัง เหงื่อไหลกับการหาโรงเรียนให้ลูกๆ หรือไม่ก็เตรียมหาค่า ใช้จ่าย ทั้งค่าหนังสือ เสื้อผ้า ค่าบ�ำรุง และค่าเรียนพิเศษ ขอให้ ทุ ก อย่ า งราบรื่ น หวั ง ว่ า พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีฯ จะจัด ระเบียบการจราจรให้เอื้อประโยชน์ และความปลอดภัยแก่ นักเรียนให้มากที่สุด

สงกรานต์ที่ผ่าน ดร.สุนันทา ลีเลิศพันธ์ ผู้ดูแล บริษัท ดอกบัวคู่ จ�ำกัด แทน ดร.บุญกิจ ลีเลิศพันธ์ ประกอบ พิ ธี ท� ำ บุ ญ และมอบเงิ น แก่ ผู ้ สู ง อายุ นั บ ร้ อ ยคนที่ ป ากพนั ง ขณะ จั ก รพรรดิ์ ลี เ ลิ ศ พั น ธ์ ผู ้ บ ริ ห ารโรงแรมทวิ น โลตั ส บุตรชาย เตรียมจัดทุนการศึกษามอบแก่นักเรียนผลการ เรียนดีและลูกๆ ของพนักงาน

วั น ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ นพ.อิ ส ระ หั ส ดิ น ทร์ ประธานกรรมการผู ้ จั ด การกั บ นพ.พรชั ย ลี ล านิ พ นธ์ ผู้อ�ำนวยการ จัดงานครบรอบ ๕ ปี รพ.นครพัฒน์ อย่าง ยิ่งใหญ่ ณ ห้องบงกชรัตน์ โรงแรมทวินโลตัส นักธุรกิจและ ผู้มีเกียรติไปร่วมแสดงความยินดีล้นห้อง สนทนากับ ราชิต สุดพุ่ม นายอ�ำเภอเมือง ๒๐ นาที พูดเรื่องการแก้ปัญหายาเสพติดแล้วน่าเห็นใจ พ่อแม่ บางคนกลัวเสียหน้าคอยปกป้องช่วยเหลือไม่ให้ลูกเข้ารับ การอบรมหรือบ�ำบัด อีกด้านคือพยายามสนับสนุนสมัชชา


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

บุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธานหอการค้านครศรีฯ กับ จามร เจริญอภิบาล ประธานกิตติมศักดิ์ และรุจาธิตย์ สุชาโต รองประธาน ต้อนรับและน�ำคณะนักศึกษาหลักสูตรการ ป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๕ และหลักสูตรการป้องกัน ราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๒๕ วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร สถาบันวิชาป้องกันประเทศ เนื่องในโอกาสดู กิจการและศึกษาภูมิประเทศภาคใต้ไปสักการะพระบรมธาตุฯ หมู ่ บ้ านต้ า นยาเสพติ ด สร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดย ขอความร่วมมือจากผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำศาสนา ผู้ปกครอง หา แนวใช้มาตรการจากเบาไปหาหนัก น�ำหลักศาสนาสร้างวิธีคิด เชื่อลดปริมาณผู้เสพได้..ล่าสุดเพิ่งน�ำเยาวชน ๔๐ กว่าคนเข้า อบรมที่ค่ายอาสาสมัคร ต.ท่าเรือ ‘นอภ.ราชิต’ เปิดอกพูดว่า กลัวเยาวชนติดยาบ้า ในอนาคตบ้านเมืองขาดคนคุณภาพ ที่ ทุ่มเทท�ำก็ไม่ได้คิดอะไรมากไปกว่า...เอาบุญ เ ข ้ า ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ กรรมการบริ ห ารงานจั ง หวั ด แบบบู ร ณาการจั ง หวั ด นครศรี ฯ รุ จ าธิ ต ย์ สุ ช าโต รอง ประธานหอการค้ า นครศรี ฯ เน้ น ตรงไปที่ ค วามคื บ หน้ า โครงการติ ด ตั้ ง ศู น ย์ ก ลาง ทางการแพทย์ (Medical Hub) ผู้ก่อความไม่สงบฉวยโอกาสเปลี่ยนแม่ทัพภาค ๔ สังหารข้าราชการและประชาชนแทบทุกวัน ก่อนนี้ข้าราชการ ชาวนครศรีฯ ระดับล่างๆ เสียสละชีวิตบ่อยๆ ต่อมา อิศรา ทองธวั ช รองผู ้ ว ่ า ฯยะลา กั บ เชาวลิ ต ไชยฤกษ์ ป้ อ งกั น จังหวัด ถูกระเบิดเสียชีวิต ปลายเดือนที่ผ่านมา พ.จ.อ.เรวัตร คงนาค ลู ก หลานชาวท่ า ศาลาเสี ย ชี วิ ต ไปอี ก รายจากเหตุ ระเบิดภายในฐานปฏิบัติการหน่วยเฉพาะกิจนราธิวาส ๓๒

พลตรีชาญประสิทธิ์ แสงนิล รองแม่ทัพภาคที่ ๔ แถลงข่าวการแข่งขันจักรยานทางไกลเพื่อการกุศล ในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จัดหารายได้มอบแก่ ทหาร ต�ำรวจ ครู และประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ไม่สงบใน สามจังหวัดภาคใต้ ซึ่งชมรมจักรยานนครศรีฯ เลือกเส้นทางที่ สวยงามแนวเทือกเขาหลวง โดยใช้สนามบินกองทัพภาคที่ ๔ เป็นจุดปล่อยตัว และเส้นชัย เจ้าภาพจัดรางวัลไว้มากมาย

เมื่อวันที่ ๖ เมษาที่ผ่านมา ฮอนด้าศรีนคร สปอนเซอร์หลักอย่างเป็นทางการ น�ำขบวนคาราวานลูกค้าเข้าร่วม มหกรรม Reggae on Street ที่ตลาดลีวัฒนา มีศิลปินเร้กเก้ มากมาย อาทิ JOB2DO จ๊อบ บรรจบ, Yakaya Ska Band, Somrom Band, 3RD-Ska Band มหกรรมคอนเสิร์ตที่เต็ม ไปด้วยรอยยิ้มแห่งมิตรภาพจริงๆ Peace and Music Party..

เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ สโมสรโรตารี่นครศรีธรรมราช ได้ให้เกียรติเชิญ คุ ณ ธิ ติ (โจ) ตระกู ล เมฆี จาก ห้างเพชรทองซีกวง BJ เป็นองค์ปาฐกให้ความรู้เรื่องอนาคต ทองค�ำแก่มวลสมาชิก

ป้ายนี้คือน�้ำเสียงจากผู้ประกอบการชาวนคร นครดี ซี ขอเชิ ญ ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ ช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยการบริ จ าคโลหิ ต วั น ที่ ๙ พ.ค. ๕๖ นี้ ที่ ร ้ า นนครดี ซี in the park สาขาใหม่ ถนนพัฒนาการคูขวาง มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการต่อ ลมหายใจให้กับใครอีกหลายคน

วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช และบริษัทฮอนด้า ศรี น ครจ� ำ กั ด ร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยประชาชนลดอุ บั ติ เ หตุ ช ่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ ๒๕๕๖ จัดกิจกรรมตรวจเช็คสภาพรถ ฟรี พร้อมเปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครื่องราคาพิเศษ และลดราคา อะไหล่ต่างๆ มากมาย ณ ปั้มสันทัด หัวอิฐ อ.เมือง นครศรีฯ วันที่ ๔-๕ พฤษภาคม เบญจภพ เบญจธรรมธร เชิญ ชวนเที่ยวงานมนต์เสน่ห์ทะเลนคร ย้อนอดีตสิชล-ท่าศาลา ณ ชายหาดหิ น งาม อ.สิ ช ล ไปชมวิ ถี ชี วิ ต ริ ม ทะเล ซื้ อ ของจากทะเล สินค้าท�ำมือและดูคอนเสิร์ตศิลปินชื่อดัง


หน้า ๖

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

อุไรวรรณ พรหมศร พยาบาลหัวหน้าแผนกนรีเวช โรงพยาบาลมหาราชนครศรีฯ ให้ค�ำจ�ำกัดความ ‘นรีเวช’ ว่า “นรีเวชว่าด้วยโรคเฉพาะของสตรีค่ะ เน้นไปที่ระบบ สืบพันธุ์ เช่น มดลูก รังไข่ ปีกมดลูก ช่องคลอด คนไข้อายุ ครรภ์ไม่เกิน ๒๘ สัปดาห์ ถ้าแท้งจะอยู่ที่เรา ถ้าเกิน ๒๘ สัปดาห์จะส่งไปห้องคลอด เราแบ่งกันที่ ๒๘ สัปดาห์”

นักศึกษาฝึกงาน

โรคที่ เ ป็ น มากที่ สุ ด คื อ การ แท้งบุตร สาเหตุมาจากแม่เป็นโรค เบาหวาน ความดั น โลหิ ต โรคถ่ า ย ทอดทางพันธุกรรม การยกของหนัก ลื่นล้มในห้องน�้ำ นั่งรถทางไกลเกิด กระเทื อ น ผ่ า นการคลอดลู ก หลาย คน และเคยขูดมดลูกหลายครั้ง อีก กลุ่มคือกลุ่มเนื้องอก เช่น เนื้องอก ในมดลูก หรือรังไข่ วิธีรักษาคือการ ผ่าตัด ซึ่งเนื้องอกมีทั้งถุงน�้ำหรือก้อน เลือด ผู้ป่วยมาหาหมออย่างฉุกเฉิน หรือมาตรวจ “โรคที่ เ กิ ด มี ส องรู ป แบบ คื อ คนไข้ฉุกเฉิน และมาแบบคนไข้ปกติ (Elective Case) “คนไข้ประเภทหลัง เรามีโอกาสให้เขาได้เตรียมตัว เขามี โอกาสดี คือได้รู้ล่วงหน้า...ความเสี่ยง น้อย” ห้องนรีเวชรับผู้ป่วยเข้ามาดูแล ทั้ ง คนไข้ ที่ แ พทย์ นั ด ให้ ม านอนโรง พยาบาลเพื่อเตรียมผ่าตัดหรือตรวจ ละเอียดว่าต้องผ่าตัดหรือไม่ “ถ้าคนไข้ต้องเข้ารับการผ่าตัด เป็นคนที่ไม่เคยผ่าตัด เราก็สอนว่าคุณจะเจอสภาพอย่างไร จะปฏิบัติตัวอย่างไร ให้ผ่อนคลาย..หลังผ่าตัดเป็นวิกฤติชีวิตอย่างหนึ่ง คนไข้ต้อง หายใจเองได้ คนไข้ต้องรู้สึกตัว ต้องไม่มีภาวะแทรกซ้อน ขณะผ่าตัด บางคนเลือดออกในช่องท้อง ท้องอืด ไม่สบาย

ประชุมพยาบาล

ทุกข์ทรมาน บางคนว่ามากกว่าปวดท้อง” ก่ อ นรั บ คนไข้ จ ากห้ อ งผ่ า ตั ด มี ขั้ น ตอนดู แ ลรั ก ษาที่ ส�ำคัญ “ก่อนคนไข้ฟื้น วิสัญญีพยาบาลจะประสานมาทางเรา ว่าคนไข้คนนี้ต้องการออกซิเยน เราต้องเตรียมไว้ ถ้าคนไข้ ต้องการเลือดเราต้องเตรียมอะไร คนไข้หายใจช้า คนไข้ หัวใจเต้นช้า เขาบอกเราๆ จะได้เตรียมพร้อม พอเข้ามา ปุ๊บเราจะดูการหายใจ ดูสัญญาณชีพที่เป็นความเสี่ยงของ ชีวิต-- ดูระดับความรู้สึกตัว ถ้าคนไข้มีแผลผ่าตัดหน้าท้องก็ ต้องดูว่ามีเลือดไหลหรือเปล่า ท้องอืดหรือไม่ อีก ๑๕ หรือ ๒๐ นาทีต้องประเมินซ�้ำเพราะถ้าเลือดออกในช่องท้องจะ อันตรายอย่างยิ่ง ท้องจะอืด เราต้องเช็คบ่อยๆ หลังออก จากห้องผ่าตัด ดูว่าคนไข้ได้สารน�้ำอะไร ปริมาณเท่าไร สิ่งที่ คามากับคนไข้ทั้งหมด เช่น สายสวนปัสสาวะ สายระบายน�้ำ ต้องเช็คหมด และต้องประเมินซ�้ำเป็นระยะๆ” ทุกเช้าจะประชุมพยาบาล “ช่วงต่อเวรต้องส่งข้อมูล คนไข้ สิ่งที่ต้องระวังต่อเนื่องในคนไข้แต่ละราย..วันนี้คุณได้ รับมอบหมายคนไข้ ๖ เตียง คุณต้องรู้เรื่องและดูแลคนไข้ ให้ดีที่สุด มีอะไรก็สอบถาม ถ้าพยาบาลคนก่อนหน้าออก เวรแล้วจะติดต่อล�ำบาก..เป็นบันทึกส่งเวร..เล่าข้อมูลผู้ป่วย อาการที่ต้องเฝ้าระวัง สิ่งที่ต้องท�ำวันนี้ หรือเคสนี้ส่งปรึกษา แพทย์อายุรกรรม หรือเคสนี้ต้องส่งต่อ” ปกติ ก รณี เ หล่ า นี้ จ ะเกิ ด ยาก อุ ไ รวรรณบอกว่ า พยาบาลทุกคนต้องระมัดระวัง “เคสที่มีเลือดออกในช่อง ท้อง หลังรับมาจากห้องผ่าตัดคนไข้ปกติ แต่หลังจากนั้น ๑ ชั่วโมงเลือดทะลักทางหน้าท้อง แสดงว่าคนนี้มีแผลมาจาก การผ่าตัด ต้องห้ามเลือดและรายงานแพทย์ทันที ประสาน ห้องผ่าตัดเพื่อตรวจใหม่ อาจเป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการ ผ่าตัด..ตัดโดนอะไร เย็บหมดไหม เส้นเลือดเส้นไหนไม่โอเค ไปผ่าตัดใหม่ หมอไปรื้อหา...เปิดใหม่ ตัดอะไรไม่เรียบร้อย” ห้องนรีเวชพยาบาลอาวุโสมีหน้าที่ถ่ายทอดประสบการณ์ให้พยาบาลรุ่นน้องและนักศึกษาฝึกงาน ทั้งการระวัง หน้าท้อง ดูแลสัญญาณชีพ การให้น�้ำเกลือ ภาวะท้องอืด หรือล�ำไส้ต้องปรึกษาศัลยแพทย์ ถามว่ากรณีฉุกเฉินที่หมอต้องช่วยเหลือทันทีมีอะไร บ้าง อุไรวรรณตอบทันที “ท้องนอกมดลูก แตกมาแล้ว ช็อกมาแล้ว เราต้อง ท�ำอย่างเร่งด่วน เราจึงต้องมีระบบทางลัด ไม่เช่นนั้นเราจะ ช่วยเขาไม่ทัน” . ห้องนรีเวชรับคนไข้กว่า ๒๐๐ คน ต่อเดือน ปีละ ๒,๔๐๐ - ๒,๕๐๐ คนไข้แท้งมากที่สุด ใน ๒๐๐ จะแท้ง ราว ๗๐ คน กลุ่มที่ยุ่งยากคือกลุ่มท�ำแท้งมา ซึ่งมีความเสี่ยง จากการติดเชื้อ ตกเลือด การติดเชื้อในกระแสเลือด เคยมี คนเสียชีวิต” ในจ�ำนวน ๗๐ คน ประมาณ ๑๒ - ๑๕ คน เป็นวัย รุ่น ซึ่งไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการซักประวัติ เพราะกลัว หลายๆ อย่าง อุไรวรรณต้องปรับทัศนคติของพยาบาล ซึ่ง บางคนอาจรับพฤติกรรมวัยรุ่นไม่ได้ ปรับให้พยาบาลเข้าใจ สิ่งที่เกิดขึ้น ห้องนรีเวชมีพยาบาล ๙ คน ที่ต้องดูแลบังคับบัญชา “แต่ ล ะคนไม่ เ หมื อ นกั น ดิ ฉั น รู ้ จั ก น้ อ งๆ ทุ ก คน รู ้ จั ก ครอบครัว..ก็ให้โอกาส ทุกคนช่วยกันส่งเสริม กระบวนการ คุณภาพเราต้องไปด้วยกัน สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้พูดคุย มีอะไรพูดกันเลย ปัญหาจะได้รับการแก้ไข เราจะได้รู้ว่าเขา คิดอะไร ใช้มติว่าเรื่องนี้เราจะเป็นอย่างนี้ ไปกันอย่างนี้” งานพยาบาลเป็นงานหนัก เพราะเกี่ยวข้องกับความ เจ็ บ ปวด ความเป็ น ความตาย บางครั้ ง ญาติ ผู ้ ป ่ ว ยอาจ หยาบคายกับพยาบาล เนื่องจากไม่เข้าใจกระบวนดูแลการ รักษา พยาบาลตอบโต้ไม่ได้ สิ่งที่ท�ำได้คือรับฟังและค่อยๆ ท�ำความเข้าใจ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ากการท�ำงานในองค์กรกับชีวิตนัก บริหารมืออาชีพ (ลูกจ้าง) มาเกือบ ๓๐ ปี และอาชีพที่ปรึกษาองค์กรธุรกิจ ค้าปลีกอีกหลายบริษัทในภาคใต้ หลาย คนอาจคิดว่าผมประสบความส� ำเร็จใน อาชีพ แต่อีกด้านหนึ่งของเหรียญผมกลับ ล้ ม เหลวผิ ด พลาดมากมายและเพิ่ ม ขึ้ น วันที่ผมตัดสินใจเกษียณจากอาชีพลูกจ้าง เมื่อปี ๒๕๕๒ แล้วมาท�ำอาชีพที่ปรึกษา และท�ำธุรกิจ Network Marketing ได้ ๑ ปีเต็ม ในโลกอาชีพใหม่ที่ไม่เหมือนเดิม ผมได้เรียนรู้ว่าการจะท�ำให้เราพัฒนาการ เรียนรู้นั้น กรอบความคิดของเราส�ำคัญ มาก เบื้องต้นคือการปรับแนวคิดให้มีมุม มองเชิงบวกให้มากขึ้นค่อยๆ ลดความ คิดเชิงลบในตัวเองที่ติดเป็นนิสัยมานาน กับการท�ำงานในระบบเดิมๆ เป็นเรื่องที่ ต้องใช้เวลาในการขัดเกลาแต่งเหลี่ยมอยู่ ทุกวินาที นาที- ชั่วโมง- ทุกวัน มีบ่อย ครั้งที่เรามักจะหลุดไปกับความเคยชิน เดิมๆ เช่น โกรธง่าย- หายเร็ว- หุนหันตัดสินใจเร็ว- ขาดสติ- มองปัญหาเป็น อุปสรรค- โทษคนอื่น- รอคอยความหวังน้อยใจ- เสียใจ- หมกมุ่น อีกสารพัดความ คิดลบที่ไม่ช่วยให้เราพัฒนาตัวเองได้ตาม ที่เราต้องการ เป็ น เพราะว่ า ผมท� ำ ผิ ด พลาดมามากเพียงแต่ยอมรับความผิด พลาด เรียนรู้จากความผิดพลาดแล้ว เดิ น หน้ า ต่ อ ไป ท� ำ ผิ ด พลาดต่ อ ไปอี ก และคงเพิ่มมากขึ้นอีกในอนาคต ผมเชื่อ ว่าเราจะไม่มีทางที่จะเปลี่ยนอนาคตให้ ดีขึ้น ถ้าเราไม่เต็มใจที่จะท�ำบางสิ่งบาง อย่างใหม่ๆ และเสี่ยงที่จะท�ำความผิด จากการเรียนรู้สิ่งนั้น ผมถามตัวเองอยู่ เสมอว่ากับเวลาที่เหลืออยู่ซึ่งไม่สามารถ ก�ำหนดได้ว่านานเพียงใด? จากนี้ไปถ้า เราจะปรับเปลี่ยนกรอบความคิดเสียใหม่ ให้มีทัศนคติเชิงบวกต้องท�ำอย่างไรบ้าง? ๑. พาตัวเองเข้าไปอยู่ในกลุ่มคน ที่คิดบวก แล้วมีองค์กรไหนบ้าง? ที่มีคน เช่นนี้อยู่มาก มีชุมชนไหนบ้าง? ผมจะไป ร่วมท�ำธุรกิจกับพวกเขา ผมกลับพบว่าใน การท�ำธุรกิจ Network ที่ถูกกฎหมายไม่ ผิดศีลธรรม และมีจรรยาบรรณ ผู้คนที่ผม สัมผัสวัฒนธรรมองค์กรที่ได้เข้าไปร่วม

นครศรีธรรมราช

“เป็นผู้ให้ที่ดีได้ จึงเป็นผู้สร้างได้ ถ้าฝึกฝนจนผ่านเป็นผู้สร้างได้ ก็จะเป็นผู้สร้างและผู้ให้ได้” เชื่อมั่นในการสร้างตนเองให้เป็นคนดีได้ ก็จะอยู่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่ดีได้เช่นกัน

กลับมีทัศนคติเชิงบวกเป็นด้านหลัก เป็น องค์กรแห่งการแบ่งปันและการให้ไม่มีที่ สิ้นสุด วัฒนธรรมองค์กรสอนให้ทุกคน เรียนรู้ที่จะมองปัญหาเป็นโอกาส มองคน ทุกคนมีศักยภาพที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลง ไปสู่สิ่งที่ดีกว่า ให้โอกาส - ให้อภัย - ให้ ความหวัง ให้ก�ำลังใจแก่กันและกันเสมอ ไม่ได้แบ่งแยกความแตกต่างทางฐานะ อาชีพ ความรู้ประสบการณ์ อื่นๆ จริงอยู่ อาจมีองค์กรอื่นๆ อีกมากมายในสังคมนี้ แต่ผมไม่ได้มีโอกาสเข้าไปร่วมท�ำงานด้วย ๒. ฝึ ก ฝนตนเองด้ ว ยการเรี ย นรู ้ อ่านหนังสือที่สอนให้คิดบวก พูดคุยกับ คนในเชิงบวก ฝึกสมาธิ และมีสติที่ขจัด ความคิดเชิงลบในตัวเองให้ได้มากที่สุด ลงมือฝึกฝน ท�ำซ�้ำๆ ในเรื่องที่สนับสนุน ความคิดเชิงบวก อดกลั้นระงับใจในการ ท� ำ เรื่ อ งที่ ถู ก ต้ อ งกั บ เรื่ อ งที่ ถู ก ใจ อั น นี้ ส� ำ คั ญ มาก บ่ อ ยครั้ ง ที่ เ รามั ก ท� ำ เรื่ อ ง ที่ ถู ก ใจเรา โดยไม่ ส นใจว่ า มั น จะถู ก ต้อง เหมาะสม และท�ำให้คนอื่นๆ รู้สึก อย่ า งไร? ส� ำ รวมกาย- วาจา- ใจ อยู ่ ตลอดเวลา คิ ด ก่ อ นพู ด ก่ อ นท� ำ อะไร ลงไป ค� ำ นึ ง กั บ ความรู ้ สึ ก คนอื่ น ๆ ให้ มาก ฝึกฝนการเรียนรู้ทั้ง ๔ ด้าน คือสติ

ปัญญา-ร่างกาย-อารมณ์-จิตวิญญาณ ๓. ฝึกให้มองมาที่ตัวเอง เมื่อเกิด ข้อผิดพลาด ให้ชี้นิ้วกลับมาที่ตัวเอง ต้อง ล้มล้างความคิดที่มองคนอื่นเป็นอุปสรรค คนอื่นผิด ทุกปัญหามีทั้งปัญหาแท้ และ ปัญหาเทียม ปัญหาแท้คือสิ่งที่แก้ไขได้ ปัญหาเทียมคือไม่สามารถแก้ไขได้ก็ตัด ทิ้งไปก่อน ไม่ตีโพย ตีพาย ด่าว่าคนอื่น แยกแยะทุกปัญหามีทางออกค่อยๆ คิด อย่างมีเหตุ-ผล อยู่บนความเข้าใจที่ว่า

หน้า ๗

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่โกหกต้นเหตุเสมอ ๔. มี ค วามเชื่ อ ที่ ว ่ า คนประสบความส� ำ เร็ จ กั บ คนที่ ล ้ ม เหลวต่ า งกั น คนส� ำ เร็ จ จะเห็ น ความแปลกใหม่ แ ละ ปัญหาเป็นสิ่งท้าทาย น่าสนใจ แต่คนล้ม เหลวหรือล้มเลิกกลับมองเป็นอุปสรรค ที่ไม่ต้องการท�ำและหาเหตุผลท�ำไปก็ไม่ Work หรือฉันท�ำไม่ได้ มันไม่เหมาะกับ ฉัน จริงแล้วก็คือ เขาไม่ได้ท�ำนั่นเอง คน ส�ำเร็จจะเชื่อว่า “ความล้มเหลวไม่มี มีแต่ล้มเลิก” ๕. คนส� ำ เร็ จ มี ค วามเชื่ อ ว่ า ตน เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร เป็นส่วนหนึ่ง ของทีม เชื่อมั่นในการสร้างตนเอง ด้วย การผ่านด่านการเป็นผู้ให้ เรียนรู้ที่จะ เป็นผู้รับที่ดี เชื่อบนหลักการอยู่ร่วมกัน “เป็นผู้ให้ที่ดีได้ จึงเป็นผู้สร้ างได้ ถ้า ฝึกฝนจนผ่านเป็นผู้สร้างได้ ก็จะเป็นผู้ สร้างและผู้ให้ได้” เชื่อมั่นในการสร้าง ตนเองให้เป็นคนดีได้ก็จะอยู่ร่วมเป็นส่วน หนึ่งขององค์กรที่ดีได้เช่นกัน ผมสรุปมาให้ท่านผู้อ่านได้เท่านี้ ไว้ ฉบับหน้าค่อยว่ากันต่อนะครับ แต่ทุก อย่างต้องฝึกฝนท�ำทุกวันครับ เพราะผม เองใช้เวลามา ๑ ปี ก็ยังมีสนิมค้างอยู่เต็ม ไปหมด พูดง่ายๆ หลุดอยู่บ่อยๆ ครับ นายไพโรจน์ เพชรคง Pairotpetkong784@gmail.com ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

<< ต่อจากหน้า ๑

นายอนุ ช าเปิ ด เผย ๒๕๓๒ โรงไฟฟ้าไอกาเปาะ อ.สุคีริน ว่ า ขณะนี้ ก รมพลั ง งาน จ.นราธิวาส ก�ำลังผลิต ๒๐๐ กิโลวัตต์ ทดแทนและอนุรักษ์พลัง- เดิ น เครื่ อ งจ่ า ยไฟฟ้ า เมื่ อ ปี ๒๕๒๘ งานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลัง โครงการคลองดุสน อ.คนกาหลง จ.สตูล น�้ำตกคลองล�ำปลอก น�้ำขนาดเล็กในภาคใต้ไป ก�ำลังผลิต ๔๔.๗๕ เมกะวัตต์ เดินเครื่อง ความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง แล้ ว หลายโรง ได้ แ ก่ โครงการคลอง จ่ายไฟฟ้าเมื่อปี ๒๕๓๔ โครงการห้วย นายอนุ ช าลงมาตรวจเยี่ ย มและ ล�ำปลอก อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง ก�ำลัง ล�ำสินธุ์ อ.กงหรา จ.พัทลุง ก�ำลังผลิต ดู ส ภาพของโรงไฟฟ้ า คลองล� ำ ปลอก ผลิ ต ๑,๑๘๒ กิ โ ลวั ต ต์ ก่ อ สร้ า งเมื่ อ ๙๕๘ เมกะวัตต์ เดินเครื่องจ่ายไฟฟ้า เนื่ อ งจากหน้ า แล้ ง ที่ ผ ่ า นมาความ ปี ๒๕๒๗ เดินเครื่องจ่ายไฟฟ้าเมื่อปี เมือปี ๒๕๓๙ ส่วนโครงการโรงไฟฟ้า สามารถในการผลิตกระแสไฟฟ้ า ลดลงเนื่ อ งจาก ภาวะฝนแล้ ง ปริ ม าณน�้ ำ ไม่ เ พี ย งพอจนต้ อ งเดิ น เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่มีอยู่ ๒ เครื่ อ งให้ เ หลื อ เพี ย ง เครื่องเดียว หรือลดการ ผลิตลงเหลือเพียง ๕๐๐ ๕๙๑ เมกะวัตต์ ตนจึงมา ดูและรับทราบปัญหา โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชน บ้านวังลุง อ.พรหมคีรี

โรงไฟฟ้าบ้านวังลุง

พลั ง น�้ ำ ชุ ม ชนในภาคใต้ มี โ ครงการ หนองเหรียง อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง ก� ำ ลั ง ผลิ ต ๓๐ กิ โ ลวั ต ต์ โครงการ ล� ำ พิ กุ ล อ.ย่ า นตาขาว จ.ตรั ง ก� ำ ลั ง ผลิต ๕๐ กิโลวัตต์ ในจังหวัดนครศรีฯ มีโครงการคีรีวงที่ก่อสร้างแล้วเสร็จใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ก�ำลังผลิต ๑๑๐ กิโลวัตต์ โครงการที่อยู่ระหว่างด�ำเนิน การก่อสร้างในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ คื อ โครงการวั ง ลุ ง อ.พรหมคี รี ก� ำ ลั ง ผลิต ๑๓๓ กิโลวัตต์ โรงไฟฟ้าโครงการ วังลุงกระบวนการต่างๆ ยังไม่แล้วเสร็จ โดยเฉพาะรู ป แบบการบริ ห ารจั ด การ ที่ ถู ก ต้ อ งเหมาะสม ตลอดจนการ บ�ำรุงรักษา แต่โครงการคีรีวงแม้กรม พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จะส่งมอบให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น รับผิดชอบไปแล้ว แต่ยังไม่สามารถผลิต กระแสไฟฟ้ า ได้ โครงการมี อุ ป สรรค ด้านการบริหารจัดการ การเดินสายส่ง

กังหันลม ของกระทรวงพลังงาน ที่อ�ำเภอหัวไทร

นายทนงศักดิ์ ชูแก้ว

และความพร้ อ มของชุ ม ชน ซึ่ ง ต่ อ ไป การก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนจะสนั บ สนุ น โครงการที่ ม าจากความต้ อ งการ ของชุมชนอย่างแท้จริง ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งและมี ป ระสบการณ์ ในการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนแสดง ความคิ ด เห็ น กั บ ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ ว่ า กรมพลั ง งานทดแทนฯ จะต้ อ งแก้ ก ฎ ระเบียบอีกหลายข้อ โดยเฉพาะอ�ำนาจ ในการบริ ห ารจั ด การ งบประมาณใน การดูแลรักษา ซ่อมบ�ำรุง การถ่ายทอด เทคโนโลยี และการจัดเก็บรายได้ ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ โ รงไฟฟ้ า ชุ ม ชนเกิ ด ประโยชน์ อย่างแท้จริง ไม่ใช่ละลายงบประมาณ ให้สูญเปล่า ส่วนเรื่องกังหันลมของกระทรวง พลั ง งานที่ อ.หั ว ไทร จ.นครศรี ฯ ซึ่ ง หยุดหมุนมาหลายเดือน นายทนงศักดิ์ ชู แ ก้ ว นายช่ า งหั ว หน้ า โรงจั ก รไฟฟ้ า พลังน�้ำคลองล�ำปลอกผู้ดูแลกังหันลม ที่ อ.หัวไทร เปิดเผยว่าอะไหล่บางตัว ช�ำรุดจะต้องสั่งจากประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน การซ่อมบ�ำรุงต้องใช้เงิน อย่างน้อย ๒ ล้านบาท เฉพาะค่าเช่า เครนตกวันละ ๑ ล้านบาท


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

รายงาน

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

<< ต่อจากหน้า ๑

กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสง ประกอบด้วยตัวแทนจาก หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ โครงการพัฒนาศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสง จัดตั้งตามความต้องการระบบการขนส่งทางราง เพื่อลด ต้นทุนด้านการขนส่ง ส่งเสริมการลงทุน สนองนโยบาย รัฐบาลในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์รองรับการเปิดเสรี ทางการค้า และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ เพราะว่าอุตสาหกรรมไทยเสียเปรียบคู่แข่งขันประเทศ อื่ น ๆ เนื่ อ งจากขาดระบบโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ ส ามารถช่ ว ยลด ต้นทุนและท่าเรือน�้ำลึก จากการศึกษาพบว่าค่าใช้จ่าย ระบบขนส่งทางรางถูกกว่าการขนส่งทางถนนประมาณ ๒ เท่า โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมยางพารา ซึ่งเป็น ผู ้ ผ ลิ ต รายใหญ่ ที่ มี ก ารขนส่ ง สิ น ค้ า ๑๒ โรงงาน ใน ๔ อ� ำ เภอของจั ง หวั ด นครศรี ฯ พบว่ า ปริ ม าณการส่ ง ออกกลุ ่ ม สิ น ค้ า ยางพารา ไม้ ย างพาราและปริ ม าณ สิ นค้ าประมาณ ๑๕,๐๐๐ ตั นต่ อ เดื อ น หรื อ ๖๘๐ ตู ้ คอนเทนเนอร์ต่อเดือน เมื่อเทียบค่าขนส่งทางรถไฟจาก ศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสงไปท่าเรือปีนังใช้ต้นทุน ประมาณ ๑๙,๖๐๐ บาทต่อตู้ การขนส่งทางรางจะถูก กว่าราว ๒,๐๐๐ บาทต่อตู้ ท�ำให้จังหวัดนครศรีฯมีราย ได้รวมกว่า ๑๕๙ ล้านบาทต่อปี ซึ่งจะการคุ้มทุนภายใน ระยะเวลา ๘-๑๐ ปี

โครงการพัฒนาศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสงจะ ก่ อ สร้ า งขึ้ น บริ เ วณหมวดศิ ล า (รอยต่ อ ต� ำ บลปากแพรก และต�ำบลชะมาย) อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีฯ บนที่ดิน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย เนื้อที่ ๘๕.๔๓ ไร่ โดย แบ่ ง พื้ น ที่ เ ป็ น ๓ ส่ ว น คื อ พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ทางรถไฟและ ถนนเลียบทางรถไฟเพื่อการขนย้ายตู้คอนเทนเนอร์,ลาน ตู้คอนเทนเนอร์ อันประกอบด้วยลานวางตู้ ลานบรรจุถ่ายสิน ค้ า ลานซ่อมแซม และ อาคารส� ำ นักงาน โกดัง สินค้า คลังสินค้า อาคารบรรจุ-ถ่ายสินค้าเข้า-ออกตู้ และ อาคารศุลกากร ใช้งบประมาณ ๘๐๐ ล้านบาท ขณะนี้ งานก่อสร้างถนนทางเข้าโครงการพร้อมลานคอนเทนเนอร์

ก้าวหน้ากว่า ๗๒ เปอร์เซ็นต์ ด้าน งานส�ำรวจออกแบบรายละเอียดก่อ สร้างศูนย์ฯ และงานก่อสร้างอื่นๆ อยู่ระหว่างการด�ำเนินการจ้าง คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตรา ค่ า ธรรมเนี ย มและอั ต ราค่ า เช่ า ที่ การรถไฟฯ เสนอต่อเทศบาลเมือง ทุ่งสงที่ค่อนข้างสูง จึงได้เสนอขอ ใช้ สิ ท ธิ์ พิ เ ศษจากคณะกรรมการ บริหารการรถไฟฯ เพื่อพิจารณาลด อัตราค่าเช่าลงมาเป็นแบบรัฐต่อรัฐ การก่อสร้างศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้-ทุ่งสง เป็น ยุทธศาสตร์เสริมสร้างศักยภาพการเชื่อมโยงโครงข่าย ลอจิ ส ติ ก ส์ ภ ายในกั บ ต่ า งประเทศ เช่ น ICD (Inland Container Depot) หรือสถานที่ที่มีอุปกรณ์ไว้รองรับ คอนเทนเนอร์ปีละ ๔๐๐,๐๐๐ – ๖๐๐,๐๐๐ อีทียู โดย เชื่ อ มโยงด้ ว ยระบบรางสู ่ ท ่ า เรื อ ฝั ่ ง อั น ดามั น เพื่ อ ลด ต้นทุนการขนส่งโดยรวมโดยระบบ Multi-model (การ รับ ส่ ง ต่ อ เนื่ อ งหลายรู ป แบบตามข้ อ ตกลงระหว่ า งผู ้ ส ่ ง กับเจ้าของสินค้า) ที่เชื่อมโยงกับตลาดในอนุภูมิภาคใน อาเซียน

จังหวัดนครศรีธรรมราชเตรียมจัดงานสัปดาห์ แห่ ง การส่ ง เสริ ม การเผยแพร่ พ ระพุ ท ธศาสนา ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๑๘-๒๔ พฤษภาคม ซึ่งนายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการจังหวัดได้ ประชุ ม ภาคส่ ว นต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตั้ ง แต่ ป ลาย เดือนมีนาคม วันวิสาขบูชาหรือวันเพ็ญเดือน ๖ เป็นวันส�ำคัญ ที่สุดในพระพุทธศาสนาเพราะเป็นวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีค�ำเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘วันพระพุทธเจ้า’ ซึ่งชาว

ภาพ : ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธทุกนิกายพร้อมใจกันจัดพิธีบูชาพร้อมกันทั่วโลก โดยที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติได้ยกย่องให้วัน วิสาขบูชาเป็น ‘วันส�ำคัญสากลนานาชาติ’ (International Day) หรือ ‘วันส�ำคัญของโลก’ ตามค�ำประกาศ ของที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติ ครั้งที่ ๕๔ ลง วันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ กิ จ กรรมที่ จั ง หวั ด นครศรี ฯ เตรี ย มจั ด ตลอด สั ป ดาห์ อั น ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ นิ ท รรศการประวั ติ แ ละ ความส�ำคัญของวันวิสาขบูชา, ภาพยนตร์แอนิเมชั่น

‘พุ ท ธศาสดา’, การแสดง แสง สี เสี ย ง บู ช าพระบรมธาตุ, พิธีท�ำบุญตักบาตร, พิธีเจริญพระพุทธมนต์, พิธีเจริญจิตภาวนา, การประชุมสัมมนาทางวิชาการ, เวียนเทียน เรียนรู้ บูชาพระบรมธาตุ, กิจกรรมเดิน-วิ่ง สมาธิ วิสาขพุทธบูชา, การปฏิบัติธรรมถวายเป็นพุทธ บูชา และการเทศน์สามธรรมาสน์ เป็นต้น ขอเชิ ญ ร่ ว มกิ จ กรรมดั ง ที่ ก ล่ า วมา ณ วั ด พระมหาธาตุวรมหาวิหารและสถานที่ต่างๆ ที่จังหวัด จะประกาศให้ทราบภายหลัง

เปิดรับสมัครพนักงานประจ�ำสาขาทั่วภาคใต้

สวัสดิการดี มีที่พักสะดวกสบาย เบี้ยเลี้ยงและเบี้ยขยัน ประกันสังคม ฯลฯ จัดอบรมให้ บรรจุแล้วมีรายได้ขั้นต�่ำ ๑๒,๐๐๐ บาท/เดือน

โทร.๐๘๑-๑๒๓-๒๘๒๒


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

โปรดพิจารณาศึกษาตัวอย่างบทเพลงบอก ต่อไปนี้

นมแม่นมโค พูดถึงเด็กเด็กในสมัยก่อน ค�ำพูดของเขาอ่อนน้อม ช่างเพียบพร้อมกิริยา เราน่าจะเชยขวัญ ทั้งมีความเคารพทั้งมีความรัก ในเมื่อได้รู้จักกัน ทั้งได้ผูกพันเป็นหลัก ให้เกิดความสามัคคี ทั้งรู้จักคุณผู้ที่ได้ ของผู้ที่ให้ก�ำเนิด รู้จักทูนเทิดเคารพรัก พอสมกับศักดิ์ศรี ทั้งเขามีความเมตตา รู้จักทั้งเอื้ออารี เขารู้จักพี่รู้จักน้อง ไปตามที่ต้องการ รู้จักบุญคุณค่า ของครูอาจารย์ เขาไม่ทะยานเย่อหยิ่ง ในสิ่งที่หยาบคาย ทั้งไม่คิดแย้งไม่แข็งข้อ ที่จะให้เกิดก่อเคืองขัด เขารักประวัติชื่อเสียง หลีกเลี่ยงความเสียหาย ................................................. เพราะสมัยก่อนคนเขานิยม ให้เด็กกินนมแม่ มันเป็นนมแท้ที่สะอาด นมแม่นั้นมาตรฐาน เอานมคนมาเลี้ยงคน ความดีมันจึงดลบันดาล ถึงจะเป็นพาลสักหนึ่ง ในร้อยของเปอร์เซ็นต์ ................................................. เห็นเด็กวัยรุ่นมันเติบใหญ่ ในสมัยนี้ ถ้าดูท่วงทีท่าทาง มองแล้วมันช่างน่าขัน บางคนยิ่งมีความรู้ เสร็จแล้วมักจะดุจะดัน ถ้ามองในขั้นมารยาท ยังขาดการอบรม เช่นพ่อแม่แกสอนสั่ง ตัวมันก็ยังโต้เถียง ตวาดเปรี้ยงเปรี้ยงขึ้นหน้า มันว่ามันทับถม

ตอนที่ ๑๐ ลุงหรือป้าหรือน้าก็ตาม มันไม่มีความนิยม มันใช้คารมดุดัน ติดอยู่ในสันดาน คุณครูที่สอนวิชาให้ โดยมากมันไม่เคารพ มันยังพูดลบให้เขาสูญ ค่าบวกลบคูณหาร ทั้งจริตและนิสัย หัวใจชอบพาล มันมีการจะรบจะรา ชอบแต่เรื่องฆ่าฟัน ลุงยิงหลานหลานแทงน้า หรือว่าน้องฆ่าคนพี่ สมัยนี้ประหลาด มีแต่จะหวาดหวั่น ................................................. ที่สร้อยกล่าวมานี้ ผมชี้ให้เห็นอย่างเด่นชัด กินนมสัตว์ลูกหญิงชาย มันมักจะร้ายผล เหมือนเอาใจสัตว์เขามาใส่ เข้าไว้ในใจคน พืชยืนต้นถ้าทาบกิ่ง มันเกิดสิ่งที่เปลี่ยนแปลง สร้อยแสดงไว้เพียงนี้ ให้คนฟังจงมีชัย ฯลฯ ๔) เศรษฐกิจและการเมืองการปกครอง ได้แก่ เนื้อหา เกี่ ย วกั บ สภาพการยั ง ชี พ การค้ า ขายและการเมื อ งการ ปกครอง มีเนื้อหาประเภทนี้ปรากฏอย่างชัดเจน โดยเฉพาะ เพลงบอกที่แต่งขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาเกี่ยว กับการสะท้อนปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง เช่น เรื่องหัวอกชาวนา กล่าวถึงปัญหาของชาวนาที่ยากจน และเดือดร้อนเนื่องจากราคาผลผลิตต�่ำ แต่ต้นทุนการผลิต สู ง นอกจากนี้ ยั ง ถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บจากพ่ อ ค้ า คนกลาง ราคาสินค้าอุปโภคก็สูงขึ้น เรื่องการเลือกผู้แทน ได้กล่าวถึง ปัญหาของการเลือกตั้ง เพื่อให้ได้นักการเมืองเข้าไปช่วยกัน

บริหารประเทศ ๕) ประวัติศาสตร์และต�ำนาน ได้แก่ เนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ของชาติที่มีการบันทึกไว้ รวม ทั้งเรื่องราวซึ่งมักมีเค้าความเป็นจริง ต�ำนานเกี่ยวกับโบราณ สถาน โบราณวัตถุ เนื้อหา อาจเป็นการเล่าเหตุการณ์ใน อดีตที่ประทับใจ หรือเรื่องราวที่คนในสังคมสนใจ หรือเล่า ถึงประวัติความเป็นมา เช่นสาเหตุที่สร้าง เนื้อหาดังกล่าวนี้ อาจมีความคิดเห็นของผู้แต่งแทรกอยู่บ้าง แต่มักเป็นความ คิดเห็นที่คล้อยตามค่านิยม หรือกฏเกณฑ์ของสังคม ๖) การสาธารณสุ ข ได้ แ ก่ เนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วกั บ การ สุขาภิบาล น�้ำดื่มน�้ำใช้ การเกิดโรคระบาด โรคติดต่อ และ มลภาวะที่เกิดจากการใช้สารเคมีของเกษตรกร ที่ใช้อย่างไม่ ถูกวิธี กระทรวงสาธารณสุข ต้องการให้ชาวบ้านมีความรู้ใน เรื่องต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว วรรณกรรมเพลงบอกของเพลง บอกสร้อย เสียงเสนาะ เรื่องสารเคมีและการสาธารณสุข ได้ กล่าวถึงเรื่องนี้อย่างชัดเจน ๗) การพั ฒ นาสั ง คม ได้ แ ก่ เนื้ อ หาที่ ก ล่ า วว่ า การ พัฒนาสังคมให้เจริญรุ่งเรืองนั้น ต้องพัฒนาจิตใจของคน ควบคู่ไปกับการพัฒนาวัตถุ โดยการพัฒนาจิตใจคนนั้นได้ ยึ ด เอาหลั ก ค� ำ สอนของพระพุ ท ธศาสนา เป็ น แนวปฏิ บั ติ เพื่อพัฒนาให้คนในชาติมีคุณภาพ และส่งผลอยู่กันอย่าง สันติสุข (อ่านต่อฉบับหน้า)

๙ ลูก ราชศาสตราวุธในพิธนี คี้ อื ห้าว หอก ดาบ แทงน�ำ้ แล้ว ให้พราหมณ์เป็นผูแ้ จกน�ำ้ ให้แก่ขา้ ราชการดืม่ ” พิ ธี อ าฏานา และการถื อ น�้ ำ ยกเลิ ก เสี ย แล้ ว เมื่ อ ปี ๒๔๗๕ ปัจจุบนั ทางเทศบาลได้รอื้ ฟืน้ เฉพาะพิธปี ลุกเสกน�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์ และได้น�ำน�้ำศักดิ์สิทธิ์ทั้ง ๖ บ่อของเมืองนครมา เข้าพิธี แหล่งน�ำ้ จากปากนาคราช ยังคงจ�ำลองวิธกี ารตักน�ำ้ ตามแบบอย่างโบราณมาใช้ นับว่าน่าดูเป็นอย่างยิง่ ปากนาคราช หรือ ห้วยเทวดานาคราช ของชาว เขาแก้ว ได้รับการยืนยันจากผู้สูงอายุหลายท่านที่ยังมีชีวิต อยู่ในปัจจุบันว่า ไม่ใช่เพียงแง่หินจากแอ่งน�้ำมีรูปร่างคล้าย กับนาคราช แต่ห้วยนาคราชนั้น เคยมีงูขนาดใหญ่มหึมาอยู่ จริง เช่นคุณยายหนูนเพิ่งเสียชีวิตไปเมื่ออายุ ๑๐๒ ปี คุณ ยายละไม้ ธัญพืช ปัจจุบนั อายุ ๙๑ ปี คุณครูพศิ ชูยงค์ อายุ ๘๗ ปี ผูใ้ หญ่เปล่ง เปล่งแสง อายุ ๘๕ ปี ล้วนเป็นคนมีบา้ น เรือนอยู่ใกล้ ห้วยเทวดานาคราช ทั้งสิ้น ปัจจุบันล้วนยังมี ชีวิตอยู่ ส่วนงูเหล่านี้ ชาวบ้านจะเรียกว่า เทดา ไม่ได้เรียก ว่า งู

คุณยายละไม้ เล่าให้ฟังเฉพาะเรื่องราวที่ประสบกับ ตนเองเท่านั้นว่า เทดานั้นตัวขนาดใหญ่เท่าต้นมะพร้าว เบา ผิวสีเหมือนปลาโสด มีหงอนบนหัวและใต้คางสีแดง เหมือนไก่ ไม่เคยท�ำร้ายคน มีเด็กหนุม่ วัยรุน่ ชือ่ นายเถีย้ ง (ปัจจุบนั เสียชีวติ แล้ว) เป็นเพือ่ นเล่นกับเทดา โดยนายเถีย้ ง มาเล่นน�ำ้ ในวังเทดา ซึง่ เป็นวังน�ำ้ ใหญ่และลึก นายเถีย้ งจะ เรียก เทดา มาเล่นน�้ำด้วยกัน เทดา ก็จะลงมาด�ำผุดด�ำ ว่าย นายเถี้ยงจะกอดคอเล่นน�้ำด้วยกัน พูดคุยเหมือนกับ พูดกับคน บางครั้งนอนพักหาเห็บบนหงอนให้เทดา ส่วน เด็กอื่นๆ รวมทั้งยายละไม้ ต้องแอบยืนดูบนโขดหินไกลๆ ด้วยความกลัว คณะหนังตลุง มโนราห์ เดินทางผ่านก็จะตีกลองร�ำ ถวาย เทดาก็จะปรากฏกายบน หลาเทดา มาดูการละ เล่น บางครั้งขึ้นไปนอนบนเรือเหนือที่จอดอยู่ริมน�้ำ ชาว เหนือก็จะถือว่าเป็นสิริมงคล เรื่องราวของ เทดานาคราช ชาวบ้านยังเล่าเรื่องราวสืบต่อกันมามากมาย ได้มีการปั้น รูปนาคราช ขนาดใหญ่ไว้ในล�ำห้วย สร้างศาลาเอาไว้มี ผู้คนมาสักการะบูชาไมได้ขาด มีงานฉลองนาคราชทุกปีใน วันที่ ๑๑ เมษายน และน�ำน�้ำจากปากนาคราชไปแห่แหน เข้าร่วมพิธเี สกน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ของเมืองทุกวันที่ ๑๒ เมษายน ของทุกๆ ปี

<< (ต่อจากหน้า ๔) ิ ด ค น ชว ชวนคยุ วัน ๑๕ ค�่ำเลิกงาน ตอนบ่ายผู้บัญชาการเมืองจะ ต้องจัดช้างพลาย ๒ เชือก แต่งเครือ่ งพร้อม ให้พระสงฆ์ ที่เข้าพิธีคณะละองค์ นั่งช้างละ ๒ องค์ น�ำหม้อน�้ำมนต์ ช้างละคนโท พร้อมด้วยตะบองเพชร ด้ายสายสิญจน์ ใบ หญ้าคาถัก น�ำไปกระท�ำที่ประตูเมืองทั้ง ๔ คือผูกด้าย และหญ้าคาพาดข้ามบนประตูเมือง และเหน็บตะบอง เพชรริมประตูข้างบน ข้างละอัน ประพรมน�้ำมนต์เป็น อันเสร็จพิธขี บั ผี ในวันรุง่ ขึน้ ขึน้ ๑ ค�ำ่ เดือน ๕ น�ำน�ำ้ ทัง้ ๙ คนโทขึน้ ราชยาน กัน้ สัปทน เข้าขบวนแห่ดว้ ยหวายหน้า และอาวุธ ยุทธภัณฑ์ พร้อมด้วยชีพ่อพราหมณ์และข้าราชการซึ่ง แต่งเครื่องเต็มยศขาว ไปยังพระวิหารหลวงวัดพระบรมธาตุ เพือ่ กระท�ำพิธถี อื น�ำ้ พิพฒ ั น์สตั ยาในวันนัน้ ในพิธถี อื น�ำ้ มีพระสงฆ์สวดชยันโต มีเครือ่ งประโคม ฝ่ายพราหมณ์ เป่าสังข์ เคาะบัณเฑาะว์ ก่อนแจกน�้ำให้ ข้าราชการ อธิบดีพราหมณ์ ต้องอ่านโองการแช่งน�ำ้ และ แทงน�ำ้ ด้วยศาสตราวุธ ๓ ชนิดๆ ละ ๓ ครัง้ ทุกๆ คนโททัง้

เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ (ที่สองจากขวา) กับเกียรติคุณที่ได้ รับ ปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ วิชาเอกวัฒนธรรม ศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ในจ�ำนวนเมืองสิบสองนักษัตร ซึ่งมีเรื่องปรากฎในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช มีชื่อเมืองเก่าไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอยู่สองเมือง คือเมืองบันไทยสมอ (ถือตราวานรหรือลิง) และเมืองสะอุเลา (ถือตราไก่)

นดิน แดนภาคใต้ ข องเราในสมัย โบราณ โดยเฉพาะ กองควบคุ ม ไพร่ ส ่ ว ยต่ า งๆ บรรทุ ก เรื อ ล่ อ งไปยั ง เมื อ ง นครศรีธรรมราชซึ่งเป็น “อาณาจักรเก่าแก่” ในดิน นครศรี ธ รรมราชท้ อ งที่ เ มื อ งทั้ ง สองไม่ มี แ ร่ ดี บุ ก จึ ง ส่ ง แดนคาบสมุทรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มี “เมืองเก่าที่ ไพร่ พ ลไปขุ ด หามาจากฝั ่ ง ตะวั น ตกทะเลหน้ า นอกใน เล่าขาน” อยู่มาก บางเมืองยังมีชีวิตอยู่ แต่หลายเมือง น่าจะเป็นเมืองกาญจนดิษฐ์ในปัจจุบัน ทั้งสองเมืองผูก ท้องที่ตะกั่วป่า ตะกั่วทุ่ง จึงปรากฏพบแร่ดีบุกหล่นอยู่ สู ญ หายไปกั บ กาลเวลา เหลื อ อยู ่ ก็ แ ต่ เ พี ย งชื่ อ ให้ ค น ส่ ว ยขึ้ น พระคลั ง หลวงแก่ เ มื อ งนครศรี ธ รรมราช ส่ ว ย ตามเส้นทางเดินบกข้ามแหลมมลายูมาแต่โบราณ ทั้งใน รุ่นปัจจุบันได้รับรู้และเล่าขาน โดยที่แทบไม่เห็นร่องรอย ที่จัดส่งเป็นดีบุกที่หลอมเป็นแท่งเป็นแผ่นแล้ว มีนาย ล�ำน�้ำและบนบกอยู่เสมอ ให้ประจักษ์ เมืองเก่าเหล่านี้จึงกลายเป็นปริศนาที่ควรได้ ๒๖ เม.ย. ๒๕๕๖ รับการเฉลย ฉบับนี้จึงได้น�ำ “เมืองเก่าที่เล่าขาน” มา น� ำ เสนอพอเป็ น สั ง เขป โดยจะเริ่ ม จากเมื อ งในต� ำ นาน สิบสองนักษัตรเป็นล�ำดับแรกๆ ในจ�ำนวนเมืองสิบสอง นักษัตรซึ่งมีเรื่องปรากฎในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช มีชื่อเมืองเก่าไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอยู่สองเมือง คือเมือง บันไทยสมอ (ถือตราวานรหรือลิง) และเมืองสะอุเลา (ถือ ตราไก่) ท�ำให้มีผู้สันนิษฐานไว้แตกต่างกันไปไม่ยุติ บาง ท่านเชื่อว่าเมืองบันไทยสมอ คือเมืองกระบี่ เมืองสะอุเลา คือเมืองสงขลา อันที่จริงสมัย พระเจ้าศรีธรรมโศกราช คิดตั้งเมืองสิบสองนักษัตรในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เมือง จนเย็นย�่ำ เหล่านี้อาจจะยังไม่เกิด เมืองสงขลาเพิ่งพัฒนาขยายตัว จึงโผลงจับกิ่งไม้ยืนซาก แยกออกไปจากเมืองพัทลุง เมืองกระบี่ก็ยังเป็นชุมชน นกเอี้ยง... เล็กๆ ไม่น่าจะมีฐานะเป็นเมืองในยุคนั้น ฝูงชีวิตบนกิ่งไม้ ตรี อมาตยกุล สันนิษฐานไว้ในหนังสือ “นครศรีคล้ายจะเล่าเส้นทางการบินในท่ามแวดล้อมเพื่อนฝูง ธรรมราช” ซึ่ ง ตี พิ ม พ์ เ มื่ อ พ.ศ. ๒๔๙๔ ว่ า เมื อ งบั น เมื่อบทเพลงปีกได้ผ่อนพัก ไทยสมอ คื อ เมื อ งสงขลา ม.จ.จั น ทร์ จิ ร ายุ รั ช นี ทรง และจะงอยปากนั้นเพลาจากการจิกกินฝูงเห็บและเรือดริ้นวัว การสนทนาในแสงพลบค�่ำเล่าเส้นทางของปีก สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองกระบี่ ในขณะที่ วิเชียร ณ เรื่องราวมากมายคลับคล้ายกลมกลืน นคร สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเป็ น เมื อ งท่ า ชนะ โดยอาศั ย สภาพของเมื อ งซึ่ ง มี ภู เ ขาสู ง ลู ก หนึ่ ง (คื อ เขาประสงค์ ) สาระแห่งการด�ำรงอยู่คือสิ่งใด เป็ น แนวสั น นิ ษ ฐาน และสอดคล้ อ งกั บ ค� ำ ว่ า “สมอ” ไม่มีนกเอี้ยงไหนสนใจจะตอบ ซึ่งแปลว่า หินในภาษาเขมร ส่วนประทุม ชุ่มเพ็ง พัน ธุ์ หากมีแต่ผู้วนเวียนตั้งค�ำถาม สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองไชยา ดั่งจะยอกย�้ำถึงวันวายของกิ่งไม้ผุที่เหล่าฝูงนกเกาะจับอยู่ อย่ า งไรก็ ดี จนถึ ง ขณะนี้ ก ารสรุ ป หรื อ ก� ำ หนดว่ า คุณค่าของการแสวงหาคืออะไร เมื อ งบั น ไทยสมอควรอยู ่ จุ ด ใดต� ำ แหน่ ง ใด ยั ง ไม่ อ าจ ไม่มีนกตัวเอี้ยงใดเข้าใจค�ำถาม ท�ำได้หรือไม่อาจยุติได้ คล้ายความคลุมเครือแห่งบทสนทนา ตัวตนของนกนั้นเล่าอยู่ที่ใด ต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราชตอนหนึ่งได้กล่าวถึง ปีกที่ทะยานต้านลม หรือจะงอยที่จิกกินเลี้ยงชีวิต และเท้าที่กุมเกาะ “เมืองบันไทยสมอ” ไว้ว่า ชาวสวยอยูเมอิ่งบันไทสมอ แม้ทั้งมวลแห่งขนนุ่มที่อบอุ่นกายก็มิปรารถนาสาธยายแยกแยะ ศรีเมอิ่ง ไชยญา แมขุนศรี ๑ แมด�ำ ๑ แมญด ๑ แมปราง ๑ แมไอย ความมืดลบเลือนภาพของฝูงนกบนกิ่งไม้ซาก ตามข้อความดังกล่าวเมืองบันไทยสมอน่าจะเป็น แต่ยังคงเสียงสนทนาแห่งฝูงนกไว้. เมืองไชยา (จังหวัดสุราษฎร์ธานีปัจจุบัน) โดยมีขุนไชย รมณา โรชา กุมารเป็นเจ้าเมือง ส่วนเมืองข้างเคียงคือเมืองสะอุเลา

ฝูงนก


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

วามหมาย เป็นโรคซึ่งเป็นผลจากการที่เชื้อจุลชีพ ก่อโรค อาทิ ไวรัส แบคทีเรีย สไปโรขีต รา โพรโทซั ว ปรสิ ต หรื อ แม้ ก ระทั่ ง โปรตี น พิเศษเช่นพรีออน เชื้อดังกล่าวอาจก่อให้ เกิ ด โรคในสั ต ว์ ห รื อ พื ช ได้ โรคติ ด เชื้ อ จั ด เป็นโรคติดต่อ (Contagious diseases, Communicable diseases) เนื่ อ งจาก สามารถติดต่อไปยังบุคคลอื่นหรือระหว่าง สิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกัน การติดต่อของ โรคติดเชื้ออาจเกิดได้มากกว่า ๑ ทาง รวม ถึงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จุลชีพก่อโรค อาจถ่ า ยทอดไปโดยสารน�้ ำ ในร่ า งกาย อาหาร น�้ ำ ดื่ ม วั ต ถุ ที่ มี เ ชื้ อ ปนเปื ้ อ น ลม หายใจ หรือผ่านพาหะอื่นๆ เชื้อโรคในตัวคน ตามปกติในร่างกายมนุษย์จะมีเชื้ออยู่ ในหลายอวัยวะอยู่แล้ว โดยที่ไม่ท�ำให้เกิด โรค ลักษณะของเชื้อที่อยู่ในร่างกายที่ไม่ ท�ำให้เกิดโรคนั้นเรียกว่าเชื้อประจ�ำถิ่น หรือ Normal Flora อวัยวะของร่างกายที่พบ เชื้อประจ�ำถิ่นได้แก่ ผิวหนัง ทางเดินหายใจ ส่วนบน ช่องปาก ล�ำไส้เล็ก ล�ำไส้ใหญ่ ช่อง คลอด ส่วนบริเวณที่พบเชื้อน้อยมาก ได้แก่ ตา กระเพาะอาหาร อวั ย วะที่ ไ ม่ พ บเชื้ อ ประจ� ำ ถิ่ น เลยได้ แ ก่ ทางเดิ น หายใจส่ ว น ล่าง กล้ามเนื้อ เลือดและสารน�้ำในเลือด น�้ำ ไขสันหลัง เยื่อบุช่องท้อง เยื่อบุหัวใจ เยื่อ หุ้มสมอง

เชื้ อ ไม่ ก ่ อ โรคในร่ า งกายมนุ ษ ย์ มี ประโยชน์หลายอย่าง เช่น เชื้อ E. Coli ใน ล� ำ ไส้ ช่ ว ยสั ง เคราะห์ วิ ต ามิ น เค, เชื้ อ ไม่ ก่อโรคช่วยในการเตรียมพร้อมร่างกายใน การสร้างภูมิต้านทานต่อเชื้อก่อโรค หรือ สิ่งแปลกปลอม, และการสร้างอาณาจักร ของมั น เป็ น ตั ว ช่ ว ยป้ อ งกั น การรุ ก ราน (แทรกซึม หรือแอบเข้ามาสร้างอาณาจักร) จากเชื้ อ ก่ อ โรคได้ อย่ า งไรก็ ต ามในคนที่ ภู มิ ต ้ า นทานอ่ อ นแอ หรื อ ภู มิ ต ้ า นทาน บกพร่อง เช่นกรณีผู้ป่วยโรคเอดส์ เชื้อไม่ ก่ อ โรคเหล่ า นี้ ก็ ส ามารถท� ำ ให้ เ กิ ด โรคได้ เช่ น กั น ที่ เ รี ย กว่ า การติ ด เชื้ อ ฉวยโอกาส (opportunistic infection) ระยะของการติดเชื้อ การติดเชื้อโดยทั่วไปสามารถแบ่งเป็น ระยะต่างๆ ดังนี้ ก. ระยะการรับเชื้อ (Entry of Pathogen) เชื้อจะเข้าตามอวัยวะต่างๆ ตามระบบ ข. ระยะแบ่งตัวของเชื้อ (Colonization) โดยทั่วไปจะอยู่ในบริเวณที่รับเชื้อ ค. ระยะฟักเชื้อ (Incubation Period) ระยะนี้เป็นระยะที่ไม่มีอาการเป็นระยะที่ เริ่มตั้งแต่รับเชื้อจนเริ่มมีอาการ ง. ระยะที่ มี อ าการน� ำ (Prodomal Symptoms) เป็ น อาการที่ พ บได้ ก ่ อ นมี อาการอย่างเต็มที่

เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ วันศุกร์ที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๕ วันพฤหัสบดี ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๕ วันศุกร์ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๖ วันศุกร์ที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ ตรงกับ วันวิสาขบูชา

จ. ระยะลุกลาม (Invasive Period) อาการในระยะนี้จะประกอบด้วย อาการ ของโรคที่รุนแรงขึ้น ไข้สูง มีร่องรอยการ อักเสบชัดเจนขึ้นอาจมีการบวม เนื้อเยื่อจะ ถูกท�ำลายมากขึ้น การอักเสบอาจลุกลาม ไปอวัยวะอื่นในร่างกาย อาการจะเป็นมาก ที่สุดในระยะนี้ และในบางกรณี หากไม่ได้ รับการรักษา อาจถึงแก่ชีวิตได้ ฉ. ระยะการอักเสบลดลง (Decline of Infection) การอักเสบเริ่มลดลง อาการ ทั่วไปของผู้ป่วยจะดีขึ้น มักพบในกรณีเชื้อ ไวรัส ช. ระยะพักฟี้น (Convalecscence) เมื่อการอักเสบลดลง ผู้ป่วยจะเริ่มฟื้นตัวขึ้น และค่อยๆ หายตามปกติ ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของโรค ปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ เชื้ อ มี อ าการ รุนแรงหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ ๑. ความต้ า นทานของผู ้ ป ่ ว ย เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ มาก ยกตั ว อย่ า งแพทย์ พยาบาล ล้วนต้องสัมผัสกับผู้ป่วย หรือเชื้อ โรคโดยตรงอยู่ทุกวัน หากความต้านทาน หรือสุขภาพโดยรวมไม่ดี ก็อาจจะต้องป่วย ตามผู้ป่วยได้ทุกวัน ในขณะที่เด็กอายุน้อย กว่ า ๕ ขวบ หรื อ ผู ้ สู ง อายุ มั ก จะมี ค วาม ต้านทานต�่ำ ไม่เหมาะในการไปเยี่ยมผู้ป่วย ๒. จ�ำนวนของเชื้อโรคที่ได้รับเข้าไป ซึ่งเรียกว่า Infectious dose เช่นผู้ป่วยโรค เอดส์ ซึ่งสามารถตรวจพบเชื้ออยู่ในน�้ำลาย ในเลือด ในน�้ำเชื้อของผู้ชาย และน�้ำคัดหลั่งในช่องคลอด แต่การติดต่อจากน�้ำลาย ไปสู่ผู้อื่นได้นั้น ต้องใช้น�้ำลายประมาณ ๒ ลิ ต ร จึ ง จะมี ป ริ ม าณเชื้ อ มากพอถึ ง ระดั บ Infectious dose ในขณะที่การสัมผัสเลือด โดยตรง หรื อ การมี เ พศสั ม พั น ธ์ สั ม ผั ส กั บ น�้ ำ เชื้ อ ของผู ้ ช าย หรื อ น�้ ำ คั ด หลั่ ง ในช่ อ งคลอด เพียงเล็กน้อย ก็จะมีเชื้อมากถึงระดับ Infectious dose ที่จะติดต่อได้ทันที ๓. ความรุ น แรงของเชื้ อ หรื อ เอ็ น ซั ย ม์ ที่ เ ชื้ อ โรคผลิ ต ขึ้ น เช่ น Coagluase (Staphylococcus aureus) Streptokinase (Streptococcus pyogenes) Hyaluronidase (Many pathogens) Collagenase (Many pathogens) Leucocidin (Many pathogens) Hemolysin (Many pathogens)

๔. ความสามารถของเชื้อโรคที่สร้าง สารที่จะจับกับเซลล์ของร่างกายมนุษย์ เช่น Protein A (Staphylococcus aureus) Protein M (Streptococcus pyogenes) ๕. สารพิ ษ ที่ เ ชื้ อ โรคสร้ า งขึ้ น ซึ่ ง มี ผลต่อร่างกายมนุษย์ สารพิษนั้นสามารถ แบ่งได้เป็น ๒ ชนิดได้แก่ Exotoxins เป็นสารพิษที่สร้างโดย แบคทีเรียได้จากทั้งแบคทีเรียกรัมบวกและ กรัมลบ สามารถท�ำให้เกิดพิษได้แม้ว่าใน ขณะนั้ น ตั ว แบคที เ รี ย จะไม่ อ ยู ่ แ ล้ ว ก็ ต าม องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตีนหรือส่วน ประกอบของโปรตีน ถูกท�ำลายได้ง่ายด้วย ความร้อน ยกเว้น enterotoxin ที่สร้างโดย Staphylococcus aureus ที่ท�ำให้เกิดโรค อาหารเป็นพิษ Exotoxins มีฤทธิ์ต่อระบบ ต่างๆ ของร่างกายได้ ดังนี้ Neurotoxins ออกฤทธิ์ขัดขวางการท�ำงานที่ปมประสาท Cytotoxins ออกฤทธิ์ขัดขวางการท�ำงาน บางอย่ า งในเซลล์ เช่ น การสั ง เคราะห์ โปรตีน ท�ำให้เซลล์ได้รับอันตราย Enterotoxins ออกฤทธิ์ขัดขวางการดูดซึมน�้ ำใน ล�ำไส้ใหญ่ และท�ำให้เกิดการระคายเคือง ของเยื่อบุทางเดินอาหาร Endotoxins เป็นสารพิษที่สร้างโดย แบคทีเรียกรัมลบเท่านั้น เนื่องจากเป็นส่วน ประกอบของผนังเซลล์ของแบคทีเรียกรัม ลบ การก่อพิษจะพบเมื่อมีการแตกท�ำลาย เซลล์ของแบคทีเรียเท่านั้น องค์ประกอบ ของสารพิ ษ จะเป็ น ไขมั น ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ชั้น lipopolysaccharides การเกิด พิษจะเกิดจากการระคายเคือง (Irritation) ท�ำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุ (inflammation of epithelium) การอักเสบของทาง เดินอาหาร หลอดเลือดฝอย และ อาจเกิด เลือดออก (hemorrhaging) การป้องกัน และการรักษาโรคติดเชื้อ การป้ อ งกั น ที่ ดี ที่ สุ ด ก็ คื อ การดู แ ล รักษาร่างกายให้มีความต้านทานปรกติ ทั้ง เรื่องอาหาร ๕ หมู่ การออกก�ำลังกาย และ หากรู้ว่าร่างกายมีความต้านทานต�่ำ หรือแม้ บางกรณีที่ความต้านทานปรกติ ก็ต้องหลีก เลี่ยงการสัมผัสเชื้อ หรือพาหะน�ำเชื้อ เช่น ยุงลายน�ำไข้เลือดออก ยุงก้นปล่องน�ำเชื้อ ไข้มาลาเรีย อาหาร-น�้ำไม่สะอาดมีเชื้อโรค มากมายเป็นต้น ส่วนการรักษานั้น หากพบแพทย์ทัน เวลา และรู้ว่าติดเชื้ออะไรจากการตรวจโดย ละเอียดแล้ว ก็เป็นเรื่องไม่ยากนัก และมัก จะไม่เป็นโรคเรื้อรังเหมือนโรคไม่ติดต่อเช่น เบาหวาน ความดันสูง ไขมันสูง ที่ต้องรักษา ต่อเนื่องตลอดชีวิต


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

ดือนเมษายนปีนี้ พรรคพวกผมหลายคน ที่จากบ้านเกิดไปนานกลับมาเยี่ยมบ้าน วั น สงกรานต์ ได้ นั ด พบปะสนทนากั น เพื่อนๆ ถามผมด้วยความตื่นเต้นว่า “โอ้ มายก็อด บ้านเราพัฒนาไปเร็วขนาดนี้หรือ” แต่ ล ะคนก็ เ ล่ า เรื่ อ งที่ ไ ปเห็ น มาว่ า ถนน ทุ ก สายมี ก ารเปลี่ ย นแปลงเปลี่ ย นโฉมไป แทบจ�ำไม่ได้ เช่นเห็นการขยายสะพานราเมศวร์ สนามหน้าเมืองเห็นการปลูกต้นไม้ ใหญ่ท�ำเป็นสวนกลางเมือง เห็นการจัดงาน สงกรานต์ ที่ เ รื อ นจ� ำ เก่ า และที่ ศ าลากลาง จั ง หวั ด หมู ่ บ ้ า นจั ด สรรเกิ ด ขึ้ น มากจนจ� ำ ชื่ อ โครงการไม่ ไ ด้ แถมยั ง มี โ ฆษณาขาย คอนโดมิเนียมผุดขึ้นมาในช่วงเวลานี้แทบ ต้องเปิดต�ำราวิเคราะห์กันเลย มีห้างใหญ่ สร้างใหม่ให้เดินเล่น ฯลฯ ผมถามว่าแล้ว เป็นเรื่องดีหรือไม่ดีอย่างไร เพื่อนๆ บอก ว่าก็ดีชาวนครจะได้ไม่ต้องไปกรุงเทพฯให้ เปลื อ งเงิ น ฯลฯ ท� ำ ให้ ผ มฉุก คิดขึ้นมาว่า เราเองอยู่ติดที่กับเมืองนครมาทุกวัน อาจ ไม่ได้สังเกตการเปลี่ยนแปลงจนเป็นประเด็นให้พลอยตื่นเต้นไปกับเขาด้วย แล้วการ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นสัญญาณที่จะบอก อะไรแก่ชาวเมือง ซึ่งตลอดระยะเวลาเกือบ ๒ ปี ที่ ผ มเขี ย นเรื่ อ งมุ ม มองเกี่ ย วกั บ บ้ า น เมื อ งนครก็ คิ ด ว่ า ได้ แ สดงทั ศ นะในแต่ ล ะ สถานที่โดยเฉพาะพอสมควร ฉบับนี้ก็อยาก มองในภาพรวมของมิติต่างๆ อีกสักครั้งเพื่อ ให้ชาวเมืองช่วยคิดกันต่อเผื่อจะได้เตรียม ตัวเตรียมใจกันได้ทัน มิติแห่งเอกลักษณ์เมืองนคร ผมคิด ว่าชาวนครรับรู้และภูมิใจในความเป็นเมือง ที่ยิ่งใหญ่อันยาวนานโดยผ่านเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์และทางสิ่งก่อสร้างที่ยังหลง เหลืออยู่ ทางราชการก็ตื่นตัวจัดบางพื้นที่ เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แต่ผมก็ไม่แน่ใจว่า ชาวเมืองจะตื่นตัวไปพร้อมๆ กันหรือเปล่า ยกตัวอย่างเช่น ปริมณฑลวัดพระบรมธาตุ ที่มีภาคเอกชนขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ผู้ที่เกี่ยวข้องได้มีการเชิญชวนให้ค�ำนึงถึง การออกแบบที่ ก ลมกลื น กั บ เรื่ อ งราวทาง

www.nakhonforum.com

ประวัติศาสตร์ หรือเอกลักษณ์ท้องถิ่นหรือ ไม่ ความจริงแล้วพระราชบัญญัติควบคุม การก่อสร้างไม่ระบุรายละเอียดในข้อควร ปฏิบัติ มีแต่ข้อห้ามในเรื่องที่จะไปล�้ำสิทธิ หรือเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน แต่ ในมิติของการดูแลเรื่องเอกลักษณ์ของเมือง กลับไม่มี เลยกลายเป็นเรื่องของตัวใครตัว ท่ า นไป เมื อ งอื่ น ๆ ที่ เ ขาตระหนั ก เรื่ อ งนี้ ก็จ ะขอแก้ไ ขกฎหมายท้องถิ่นเพื่อรองรับ (ซึ่งสามารถท�ำได้ หากไม่ขัดกับกฎหมาย ส่วนกลาง) เช่นเมืองเชียงใหม่ในเขตก�ำแพง เมืองเก่า ท�ำให้มีเสน่ห์ที่ใครๆ ก็อยากไป เที่ยวชมกัน ส่วนในภาคราชการหากจะมี การพัฒนาหรือปรับปรุงอะไรเกี่ยวข้องกับ สถานที่ ป ระวั ติ ศ าสตร์ อ าจจะต้ อ งศึ ก ษา ประวัติความเป็นมาให้ถึงแก่น เพื่อคงความ เป็นเอกลักษณ์และวัตถุประสงค์ของเมือง ให้ได้

ได้) แล้วขายดอกไม้ ของกินเล่น หรือของ ที่ ร ะลึ ก ถ้ า กระท� ำ โดยกิ ริ ย าที่ น ่ า รั ก ก็ น ่ า จะไปด้ ว ยกั น ได้ ความสะอาดและความ สวยงามน่าดูของสถานที่ต่างๆ ที่แสดงถึง อารยธรรมของเมือง เป็นเรื่องที่คุยกันมา ทุกยุคทุกสมัยจะสามารถท�ำส�ำเร็จในสมัย นี้ไหมหนอ ? หากปล่อยให้หมักหมมกลับ เป็นภาพลบที่คนไปกล่าวขานกันจนไม่มีใคร อยากมาอีกต่อไป มิ ติ แ ห่ ง เศรษฐกิ จ คงปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า การย้ า ยถิ่ น ฐานของผู ้ ค นเข้ า มาในตั ว เมืองไม่ว่าจะเป็นการท�ำมาหากิน การศึกษา เล่าเรียนของบุตรหลานต่างถิ่น การท่องเที่ยวของคนต่างแดน ล้วนแล้วมีส่วนช่วย ให้เศรษฐกิจของจังหวัดเฟื่องฟู มีการก่อสร้างต่างๆ ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าพลิกโฉม บ้านพลิกโฉมเมืองกันทีเดียว จึงต้องมีการ เฝ้าระวังในเรื่องอุปสงค์และอุปทาน (demand & supply) ว่ า เป็ น ของจริ ง หรื อ ภาพลวงตา ทางภาควิชาการเศรษฐศาสตร์ ของนครน่าจะศึกษาวิเคราะห์และส่งสัญญาณเตื อ นกั น บ้ า ง เพราะคนรุ ่ น ผมก็ มี ประสบการณ์อันเจ็บปวดจากยุคเศรษฐกิจ ฟองสบู่และยุคต้มย�ำกุ้งกันมาแล้ว เรื่องนี้ มิใช่เป็นการสร้างภาพให้น่ากลัว แต่ควรเป็น อุทาหรณ์ให้คนรุ่นใหม่ตระหนักมากกว่า

มิ ติ แ ห่ ง วั ฒ นธรรมและอารยธรรม เราโชคดี ที่ มี ป ระเพณี ที่ ดี สื บ ทอดกั น มา จนถึงทุกวันนี้ ไม่ว่าประเพณีสารทเดือนสิบ ที่ร�ำลึกถึงพระคุณบรรพบุรุษ (คล้ายวันเช็ง เม้งของจีน) ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุที่ร�ำลึก ถึงพระคุณพระพุทธเจ้า เป็นต้น ล้วนแล้ว เป็นเรื่องที่กล่าวขานกันให้ผู้คนหลั่งไหลมา เมืองนครมากขึ้นทุกวัน (ข้อมูลสนับสนุน เรื่องนี้จากการมีผู้ก่อสร้างโรงแรมและห้อง มิติแห่งชาวเมืองรุ่นใหม่ ผมเคยพูด พักเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมากใน ถึงการรวมตัวของกลุ่มคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ที่ ขณะนี้) แต่สิ่งที่น่ากังวลคือวัฒนธรรมการ ต้อนรับขับสู้ของชาวนครที่เป็นมิตรและมี น�้ำใจต่อแขกต่างถิ่นเราได้มีการตระหนัก และท�ำอะไรไปบ้างแล้วหรือยัง เช่นการจอด รถรับผู้โดยสารอย่างเป็นระเบียบ การท�ำ มาหากินประเภทช่วยโบกรถให้เข้าที่จอด ริ ม ถนนสาธารณะ (ความจริ ง ตู ก็ จ อดเอง

หน้า ๑๓

จะมารับไม้ถือต่อธุรกิจของครอบครัว โดยมี เป้าหมายที่พยายามท�ำความรู้จักเมืองของ ตัวเองว่ามีสิ่งดีเด่นอะไรบ้าง และสร้างสาย สัมพันธ์ที่จะร่วมกันก�ำหนดทิศทางอนาคต ไปสู ่ เ มื อ งที่ น ่ า อยู ่ โ ดยอาศั ย มรดกที่ บ รรพ ชนทิ้งไว้ ทั้งนี้ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด ทรงพล สวาสดิ์ธรรมได้เคยร่วมวงเสวนา กับกลุ่มนี้แล้ว ที่ผ่านมาผมเองยอมรับว่าใน ความเป็นสถาปนิกผู้ออกแบบอาคารให้คน รุ่นใหม่ บางครั้งก็รู้สึกเหนื่อยต่อการจูงใจ ให้ตระหนักต่อสิ่งที่มีคุณค่าในอดีต แต่ครั้งนี้ ท�ำให้ผมมองเห็นความหวังการพัฒนาเมือง ที่ควรจะเป็น และก็หวังว่าทางจังหวัดจะ เข้ามาสนับสนุนแนวคิดนี้ให้เป็นวาระของ จังหวัด การพั ฒ นาเมื อ งทางกายภาพให้ สวยงามไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยากนั ก แต่ ก ารสร้ า ง จิ ต ส� ำ นึ ก และการสร้ า งวิ นั ย ให้ ช าวเมื อ งก็ ไม่ใช่เรื่องง่าย ผมได้อ้างบ่อยถึงสิงคโปร์ ว่ า เขาท� ำ ส� ำ เร็ จ ในเรื่ อ งนี้ เ พราะท� ำ จริ ง จั ง อย่างต่อเนื่องจนเป็นความเคยชินของชาว เมืองไปแล้ว การอ้างว่าสิงคโปร์ที่สามารถ ท�ำส�ำเร็จเพราะเป็นประเทศเล็กๆ ก็ย่อม ได้ แต่ของเราเอาเฉพาะในเขตเทศบาลนคร ที่มีทั้งพื้นที่และพลเมืองน้อยกว่าเขาจะไม่ ลองเริ่มต้นหรือ เรียนฝากท่านประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดคนใหม่ ฉัตรชัย ศุกระ กาญจน์ ช่วยหาหนทางในการสร้างวินัยคู่ การพัฒนาแก่ชาวเมืองด้วยนะครับ ก่อนจบฉบับนี้ผมมีตัวอย่างดีดีที่เห็น มา คือเมื่อเดือนที่แล้วไปร่วมการเปิดอาคาร นครดี ซี แ ห่ ง ใหม่ (Nakhon DC in the Park) ของคุณธนวัฒน์ - คุณประสานศรี ลีละพันธุ ผู้อาวุโสที่ผมนับถือในวิสัยทัศน์ ได้เห็นภาพธุรกิจที่ควรจะเป็นคือการรักษา ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่เดิมให้ร่วมกัน ได้กับอาคารสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน ผม ได้ยินค�ำว่า “ธุรกิจที่ค�ำนึงถึงสังคม” (Social Enterprise) นับเป็นแบบอย่างที่ผม อยากเห็ น ก็ ข อเรี ย กเอาเองว่ า “นครดี ซี โมเดล หนึ่งในนครศรีดี๊ดี” “บ้านเมืองที่น่าอยู่ ผู้คนต้องมีวินัย”


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

บับที่แล้วได้กล่าวถึงปัญหาด้านต่างๆ ของโรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ ปัญหา ด้านคุณภาพนักเรียน ปัญหาด้านงบประมาณ และปั ญ หาด้ า นบุ ค ลากร และผม ได้ตั้งประเด็นค�ำถามว่า “แล้วเราจะช่วย แก้ปัญหาเรื่องนี้อย่างไร” ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนด แผนการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการศึ ก ษา โรงเรียนขนาดเล็ก ระยะที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔-๒๕๕๖ เป้าหมาย คือ รวมโรงเรียน ที่มีจ�ำนวนนักเรียนตั้งแต่ ๐ - ๒๐ คน ใน ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔ รวมโรงเรี ย นที่ มี จ�ำนวน ๒๑ - ๔๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ และรวมโรงเรียนที่มีจ�ำนวนนักเรียน ๔๑ ๖๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ระยะที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ รวมโรงเรียนที่ มีนักเรียน ๖๑ - ๑๐๐ คน และระยะที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ รวมโรงเรียนที่ มีนักเรียน ๑๐๑ - ๑๒๐ คน ในส่ ว นของส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ ได้ก�ำหนดเป้าหมายการบริหารจัดการ รวมโรงเรียน โดยการรวมเป็นรายชั้นเรียน รายช่วงชั้น หรือทุกชั้นเรียน ก�ำหนดไว้ ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ (ปีการศึกษา ๒๕๕๖๒๕๕๘) ปีการศึกษา ๒๕๕๖ รวมโรงเรียน

ยั

ที่ มี นั ก เรี ย นไม่ เ กิ น ๒๐ คน ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๗ รวมโรงเรียนที่มีนักเรียน ๒๑ - ๔๐ คน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ รวมโรงเรียนที่มี นักเรียน ๔๑ - ๖๐ คน ระยะที่ ๒ (ปีการ ศึ ก ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑) รวมโรงเรี ย นที่ มี นักเรียน ๖๑-๑๒๐ คน ในกรณีศึกษาได้ยุบ โรงเรี ย นวั ด หั ว ล� ำ ภู ม า เรียนรวมกับโรงเรียนบ้าน ศาลาแก้ ว ซึ่ ง ได้ ด� ำ เนิ น การมาตั้ ง แต่ ป ี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๕ ดังนี้ ๑. ศึ ก ษ า ส ภ า พ ปั จ จุ บั น ปั ญ หา ในด้ า น คุ ณ ภาพนั ก เรี ย น พบว่ า ผลการสอบ O-NET ชั้ น

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

งมีอีกสองกิจกรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มของ Play & Learn ในค่ายกิจกรรมการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชค่ะ พิชิตโลกร้อน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ส� ำรวจกิจวัตร ประจ� ำ วั น ของตนเองที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกอั น เป็ น สาเหตุ ข อง การเกิดภาวะโลกร้อน พร้อมทั้งการค�ำนวณ หาปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปลด ปล่อยออกมาจากการใช้พลังงานไฟฟ้าในบ้าน เรือนของตนเอง และยกตัวอย่างเปรียบเทียบ

การใช้ทรัพยากรและพลังงานในกระบวนการ และขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นก็ ร่วมกันอธิบายแนวทางและวิธีการลดภาวะโลก ร้อนในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน วิทยากรร่วมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุย และอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาโลกร้อน แล้วน�ำ เข้าสู่กิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรมคือ กิจกรรมที่ ๑ นาฬิกาพลังงาน ผู้เข้าร่วม

ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านศาลาแก้วได้คะแนนเฉลี่ย ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓๔.๙๐ ล�ำดับที่ ๒๔๗ โรงเรี ย นวั ด หั ว ล� ำ ภู ได้ ๓๐.๒๖ ล� ำ ดั บ ที่ ๒๕๐ จากจ�ำนวนโรงเรียนทั้งหมด ๒๕๓ โรง

กิจกรรมรวมกลุ่มกันเพื่อระดมความคิดแล้ว สร้างสรรค์นาฬิกาพลังงานขึ้นมา ใส่กิจวัตร ประจ�ำวันของตัวเองลงไปตามช่วงเวลาต่างๆ จนครบทั้ ง ๒๔ ชั่ ว โมง เมื่ อ เสร็ จ ก็จะน�ำเสนอแลก เปลี่ยนกันระหว่าง กลุ่ม เพื่อให้ผู้เข้า ร่ ว มกิ จ กรรมส� ำ รวจว่า ในกิจวัตร ป ร ะ จ� ำ วั น ข อ ง ตั ว เอง ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ไ ด ้ ท� ำ อะไรและใช้พลังงานอะไรบ้าง กิ จ กรรมที่ ๒ การค� ำ นวณค่ า การใช้ ไฟฟ้ากับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผู้ เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนบอกอุปกรณ์ไฟฟ้า ของบ้านตัวเองแล้วน�ำมาใส่ในตารางกิจกรรม ในคู่มือค่ายฯ พร้อมทั้งค�ำนวณหาค่าจ�ำนวน หน่วยการใช้ไฟฟ้าต่อเดือน และค�ำนวณหาค่า ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปลดปล่อยออก

๒. นิ เ ทศ ติ ด ตาม โดยคณะนิ เ ทศ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย รองผู ้ อ� ำ นวยการพื้ น ที่ การศึ ก ษา ประธานกลุ ่ ม เครื อ ข่ า ย และ ศึกษานิเทศก์ ได้จัดประชุมการนิเทศครั้งที่ ๑ สรุปให้โรงเรียนวัดหัวล�ำภู ได้พัฒนาการ เรี ย นการสอน การใช้ ห ้ อ งเรี ย นแบบคละ ชั้ น การสอนทางไกลผ่ า นดาวเที ย ม เพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ใ ห้ เ ท่ า กั บ หรื อ สู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ ตามเกณฑ์ ข อง ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐาน การนิ เ ทศครั้ ง ที่ ๒ ได้ ส รุ ป ผลการ นิเทศให้โรงเรียนนัดประชุมผู้ปกครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การนิเทศครั้งที่ ๓ ได้เยี่ยมชั้นเรียนสอบถาม นักเรียนเกี่ยวกับโรงเรียนวัดหัวล�ำภู และ โรงเรียนอื่นๆ ต่างกันอย่างไร ถ้านักเรียน จะไปเรียนที่โรงเรียนอื่น ควรไปโรงเรียนใด ปรากฏว่า นักเรียนเลือกไปเรียนโรงเรียน หัวไทร (เรือนประชาบาล) จ�ำนวน ๓ คน โรงเรียนวัดอิมอญ จ�ำนวน ๓ คน โรงเรียน บ้านศาลาแก้ว จ�ำนวน ๖ คน ให้นักเรียน เข้ากลุ่มเป็นสายโรงเรียน แล้วอภิปรายร่วม กันว่าโรงเรียนเราดีอย่างไร แล้วน� ำเสนอ หน้ า ชั้ น หลั ง จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย นเข้ า กลุ ่ ม ใหม่ สรุปว่านักเรียนส่วนใหญ่ต้องการไป เรียนที่โรงเรียนบ้านศาลาแก้ว ผมถามว่า “นักเรียนอยากไปดูโรงเรียนบ้านศาลาแก้ว ไหม” วันนั้นเราใช้เวลา ๑ วัน ในการไป ศึกษานอกสถานที่ ณ โรงเรียนบ้านศาลา แก้ ว และชายทะเลวั ด หน้ า สตน นั ก เรี ย น กลั บ มาเขี ย นเรื่ อ งที่ ป ระทั บ ใจจากการไป ศึกษานอกสถานที่ ทุกคนเขียนได้ตามความ สามารถแต่ ละช่ ว งชั้ น แล้ ว ออกมาอ่ า นให้ เพื่อนฟังได้ (อ่านต่อฉบับหน้า)

มา เพื่ อ น� ำ เสนอว่ า บ้ า นใครปลดปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกมากน้อยแค่ไหน จากนั้นวิทยากร จึงสรุป กิจกรรมที่ ๓ การประเมินวัฏจักรชีวิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมแต่ ล ะกลุ ่ ม ช่วยกันคิดว่า ถ้ากลุ่มของตัวเองจะท�ำการผลิต ผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง จะต้องใช้วัตถุดิบ อะไรบ้าง มีขั้นตอนการผลิตอย่างไรบ้าง และ ผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น ทั้งนี้ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นว่า ผลิตภัณฑ์แต่ละ ชนิ ด ท� ำ ให้ เ กิ ด การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก แตกต่ า งกั น เพื่ อ ชี้ ป ระเด็ น ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ เ ห็ น ว่ า ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ควรจะใช้ อะไรเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ของเล่นไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เล่นและอธิบาย ความดันอากาศ แรงพยุงของของเหลว การ ลอยตัวของวัตถุ แรงเสียดทาน การเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง พลังงานและกฎอนุรักษ์ พลั ง งาน การหาแรงลั พ ธ์ ข องแรง ๒ แรงที่ กระท� ำ ต่ อ วั ต ถุ แ ละท� ำ ให้ วั ต ถุ เ คลื่ อ นที่ จ าก


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

อาจารย์แก้ว

บับนี้กระผมจะพูดถึงการบริหารจัดการ พลังงานไฟฟ้าในอนาคตครับ เพราะมี หลายท่านให้ความสนใจสอบถามมากันเยอะ บ้างถามว่าท�ำไมค่าไฟถึงได้แพงขึ้น ไฟฟ้า จะดับไหม ถ้าไฟดับจริงเราจะมีพลังงานทาง เลื อ กไหม ซึ่ ง หน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ ก� ำ กั บ ดูแลคือกระทรวงพลังงาน ส่วนหน่วยงานที่ ท�ำหน้าที่ผลิตและส่งจ่ายระบบไฟฟ้าคือการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิต ซึ่งต่างจังหวัดก็มีการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาครับผิดชอบอยู่ ซึ่งในอนาคตอัน ใกล้รูปแบบการบริหารการจัดการไฟฟ้าจะ เป็นอย่างไรเรามาติดตามกัน

โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)

โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ หรือ Smart Grid เป็ น โครงข่ า ยไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศ และสื่ อ สารมาบริ ห ารจั ด การ ควบคุมการผลิต ส่ง และจ่ายพลังงานไฟฟ้า สามารถรองรับการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าจาก แหล่งพลังงานทางเลือกที่สะอาดที่กระจาย อยู่ทั่วไป (Distributed Energy Resource : DER) และระบบบริหารการใช้สินทรัพย์ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งให้บริการกับผู้ เชื่อมต่อกับโครงข่ายผ่านมิเตอร์อัจฉริยะได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคง ปลอดภัย เชื่อถือได้ มีคุณภาพไฟฟ้าได้มาตรฐานสากล ความอัจฉริยะนี้ เกิดจากการเชื่อมโยง ระบบไฟฟ้า ระบบสารสนเทศ ระบบสื่อสาร เข้าไว้ด้วยกันเป็นโครงข่าย ซึ่งโครงข่ายดัง กล่าวจะสนับสนุนการท�ำงานซึ่งกันและกัน อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีส�ำคัญ ๓ ด้าน ได้แก่

ของเล่นพื้นบ้าน กิจกรรมของเล่นไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษานครศรีธรรมราช ได้ร่วมกับคณะครู ภูมิปัญญาท้องถิ่น วิจัยเพื่อสร้างองค์ความ รู้ทางวิทยาศาสตร์จากของเล่นพื้นบ้าน โดย เฉพาะของเล่นพื้นบ้านภาคใต้ วิ ท ยากรพู ด คุ ย แนะน� ำ ความเป็ น มา ของกิจกรรม และยกตัวอย่างของเล่นพื้นบ้าน ชนิ ด ต่ า งๆ เช่ น ขาสู ง หรื อ ทองโย่ ง ลู ก ข่ า ง

• รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle, EV) ซึ่งมีแบตเตอรี่ที่ เก็บสะสมพลังงานไฟฟ้า • โรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plant, VPP) เป็นการจัดการกลุ่มแหล่งจ่าย พลั ง งานขนาดเล็ ก ด้ ว ยเทคโนโลยี ค วบคุ ม สั่ ง การระยะ ไกลด้ ว ยระบบคอมพิ ว เตอร์ สามารถจ่ายไฟจากกลุ่มแหล่ง จ่ า ยไฟข้ า งต้ น เข้ า โครงข่ า ย ๑. อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละระบบฝั ง ตั ว ไฟฟ้ า เสมื อ นหนึ่ ง จ่ า ยจากโรงไฟฟ้ า ขนาด (Electronics and Embedded Systems) ใหญ่ในอดีต ๒. ระบบควบคุมอัตโนมัติ (System ระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrical Control and Automation) ๓. สารสนเทศและการสื่อสาร (Infor- Power System) นอกจากแหล่ ง จ่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ า mation and Communication) อัจฉริยะข้างต้นแล้ว โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart ยั ง รวมไปถึ ง ระบบไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะที่ จ ะเอื้ อ Electrical Energy Supply/Source) อ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าอีกด้วย นอกจากประกอบด้ ว ยโรงไฟฟ้ า ตาม โดยคุณสมบัติของระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ ได้แก่ • สามารถท�ำงานได้เองโดยอัตโนมัติ รูปแบบดั้งเดิม เช่นโรงไฟฟ้าถ่านหิน, ก๊าซ, เขื่อนพลังงานนํ้าขนาดใหญ่ เป็นต้นแล้ว รูป (Automation) ทั้งสภาวะปกติ และสภาวะ แบบแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า และแนวคิดที่มี ฉุกเฉิน • สามารถตรวจวั ด สภาวะของระบบ บทบาทมากขึ้นในอนาคต ได้แก่ • พลังงานทดแทน (Renewable En- (Sense and Monitor) ณ เวลาจริง • สามารถสื่อสารข้อมูลโต้ตอบ (Data ergy) เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวภาพ Integration, Interoperability, Two-way ชีวมวล พลังน�้ำขนาดเล็ก เป็นต้น • แหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กที่กระจาย Communication/Interactive) กับบุคคล อยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ (Distributed Genera- อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า และระบบงานต่างๆ tion) เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ขนาดเล็ก ติดตั้ง ทั้งภายในการไฟฟ้า • สามารถขายและซื้อไฟฟ้ากับคู่สัญญา บนหลังคาเรือน (Rooftop Photo Voltaic ) กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (Small Wind ซึ่ ง อาจจะเป็ น ทั้ ง ผู ้ ใ ช้ ไ ฟและผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ขนาดเล็กมาก (Producer & Consumer or Turbine) เป็นต้น • แหล่งกักเก็บพลังงาน (Energy Stor- Prosumer) • รองรับการใช้รถยนต์ไฟฟ้า (Electric age) เช่ น ตั ว เก็ บ ประจุ ไ ฟฟ้ า ชนิ ด อุ ล ตร้ า (Ultra capacitor), วงล้อ Flywheel, และ Vehicle, EV) • ร อ ง รั บ บ ้ า น เ รื อ น ที่ พั ก อ า ศั ย แบตเตอรี่ เป็นต้น ส�ำนักงาน และอาคารอัจฉริยะ (Smart and Green Offi ce/Building/Home) เดินกะลา ลูกผัด ก�ำหมุน เป็นต้น แบ่งกลุ่มให้ผู้เข้า Smart Energy : การใช้พลังงานอย่าง ร่วมกิจกรรมได้ฝึกเล่นของ ชาญฉลาดและรู้คุณค่า เล่นพื้นบ้านเหล่านั้น กลุ่ม ด้วยประสิทธิภาพของโครงข่ายไฟฟ้า ละ ๑ ชนิด ในขณะที่เล่น อั จ ฉริ ย ะ (Smart Grid) โลกของเราจะ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้อง สามารถพั ฒ นาพลั ง งานไฟฟ้ า เพื่ อ การใช้ บอกหลักการวิทยาศาสตร์ งานอย่างชาญฉลาด ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของ ที่เกี่ยวข้องด้วย พร้อมทั้ง การผลิ ต และส่ ง จ่ า ยพลั ง งานสู ่ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า วาดภาพของเล่นพื้นบ้าน (Supply side) รวมทั้งด้านของผู้ใช้ไฟฟ้า บั น ทึ ก รายละเอี ย ดต่ า งๆ (Demand side) ลงในใบกิ จ กรรม แล้ ว จึ ง น�ำเสนอหลักการวิทยาศาสตร์ของของเล่น Smart Life : เพื่อชีวิตที่สะดวกสบาย พื้นบ้าน เพื่อแลกเปลี่ยนกับกลุ่มอื่นๆ ผู้คนมีวิถีชีวิตในแต่ละวันอยู่ที่บ้าน ที่ กิ จ กรรมนี้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ ท�ำงาน แหล่งเรียนรู้ ออกก�ำลังกาย ฝึกจิตใจ ประดิ ษ ฐ์ ข องเล่ น พื้ น บ้ า นที่ ใ ช้ วั ส ดุ จ าก และพั ก ผ่ อ นตามสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ศาสน ธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ก�ำหมุนจากลูก สถาน และแหล่ ง บั น เทิ ง ต่ า งๆ โครงข่ า ย ยางพารา การประดิษฐ์ลูกหวือจากลูกประ ไฟฟ้าอัจฉริยะรองรับบ้านเรือนที่พักอาศัย การประดิษฐ์แมงบี้จากใบมะพร้าว หรือของ ส�ำนักงาน และอาคารอัจฉริยะ (Smart and เล่นอื่นๆ ตามฤดูกาล Green Offi ce/Building/Home) ผู้ใช้ไฟ ฉบับหน้าจะน�ำเสนอกิจกรรมในรูปแบบ สามารถมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการใช้ ของ “พลังคน พลังคิด” อย่าลืมติดตามนะคะ ไฟฟ้าได้มากขึ้น (Active Consumer Par-

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๕

ticipation (Motivated and Includes the Customer))

บ้านอัจฉริยะ (Smart Home)

• ประกอบด้ ว ยเครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า ที่ส มา ร์ทหลากหลายชนิด ที่มีสมองกลฝังตัว (Embedded System) ซึ่งจะใช้พลังงานไฟฟ้า น้อย ไม่ก่อปัญหามลภาวะ • สามารถควบคุ ม การใช้ ง านได้ จ าก ระยะไกลผ่ า นอุ ป กรณ์ สื่ อ สารไร้ ส ายแบบ พกพา หรือผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เช่นมือ ถือ, PDA, Smart Phone, Tablet, ระบบ อินเตอร์เน็ตในที่ท�ำงาน, ร้านอินเตอร์เน็ต ทั่วไป เป็นต้น) • รองรับรถยนต์ไฟฟ้า • ติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ขนาดเล็ ก เช่น Rooftop PV, Small Wind Turbine เป็นต้น ลักษณะดังกล่าวที่เกิดขึ้นท�ำให้ผู้ใช้ ไฟเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าพร้อมกันในเวลาเดียวกัน • การไฟฟ้ า จะติ ด ตั้ ง มิ เ ตอร์ อั จ ฉริ ย ะ (Smart Meter) และอุปกรณ์เก็บรวบรวม ข้อมูล (Data Concentrator Unit, DCU) สามารถส่งและรับข้อมูลต่างๆ จากบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ท�ำให้เจ้าของบ้านสามารถทราบ ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า ค่าไฟที่เกิดขึ้นจากการใช้ ในขณะนั้น ท�ำให้การไฟฟ้าและเจ้าของบ้าน สามารถร่วมกันจัดการการใช้ไฟฟ้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เจ้าของบ้านสามารถลดการใช้ ไฟฟ้าที่ไม่จ�ำเป็น ปรับเปลี่ยนช่วงเวลาการใช้ ไฟไปใช้ไฟในช่วงที่ค่าไฟถูก

Smart Community : สู่สังคมและโลก ที่น่าอยู่ในอนาคต

ชุ ม ชนที่ ส มาร์ ท หรื อ สั ง คมที่ ส มาร์ ท (Smart Community or Society) หมายถึง • ชุมชนที่สมาชิกสามารถติดต่อสื่อสาร ถึ ง กั น ได้ อ ย่ า งอิ ส ระผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ดิจิตอล (Digital Social Network) • มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การสภาพ แวดล้อมที่ดี จ�ำกัดการก่อมลภาวะ ก�ำจัดสิ่ง เหลือใช้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ พร้อม การเพิ่มพื้นที่สีเขียว • มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • จัดให้มีระบบสถานีบริการไฟฟ้าให้ บริการแก่ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้า จักรยานไฟฟ้า จักรยานยนต์ไฟฟ้าและรถขนส่งมวลชนที่ใช้ พลังงานไฟฟ้า • มีระบบการควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ของสมาชิกในชุมชนที่ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ พลั ง งานลม ชี ว ภาพ ชี ว มวล ด้ ว ยเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ขนาดจิ๋ ว (Micro Turbine) เพื่อสร้างโรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plant, VPP) • รวมกลุ่มเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลังงานทดแทนที่เป็นทางเลือกอื่นๆ เพื่อลด การใช้น�้ำมันและก๊าซเชื้อเพลิงลดการน�ำเข้า น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ท้า ยนี้ผู้เ ขียนขอขอบคุณข้อ มูล ความ รู ้ จ ากการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคที่ อ ยู ่ เ คี ย งข้ า ง ประชาชนเสมอมาและตลอดไป ด้วยความปรารถนาดี


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

ถึงหกตัว เพิ่งจะเดินผ่านตรงนี้ไปชนิดกลิ่น ยังฉุนกึก “ตามรอยไป ดูซิมันไปทางไหนตอนนี้ เราอยู่ใต้ลมมัน” ชนิดรู้มือกันดี ผมกะเอ็กซ์ สาวรอยตามทันที “....มันอ้อมขึ้นเนินนั่นพี่ มันแยกไป ทางนี้ แล้ว...เอ่อ ไปทางนั้นด้วย เอ๊ะ มัน...” บางสิ่งมันไม่ใช่ซะแล้ว “เงียบ..........” ผมส่งสัญญาณให้เอ็กซ์ หยุดทันที ขณะก�ำลังตามรอยเข้าไปในซุ้ม รกทึบตอนหนึ่ง “....................” เรามั่นใจว่า ตอนแรก เราอยู่ใต้ลมมันตลอด แต่พอขึ้นเนินมา ลม ก็เริ่มเปลี่ยนทิศ หมอกด�ำก็ยิ่งกดลงถึงพื้น ผมกะเอ็กซ์ยืนซุ่มห่างกันไม่กี่ก้าว แต่ก็แทบ มองหากันไม่เห็น “นิ่งไว้น้อง มันอยู่บนเนิน” ผมเรียก เอ็กซ์เข้ามากระซิบ มันไม่สวยเลย ขณะมัน ซุ่มเงียบอยู่บนเนิน แต่เราก�ำลังสาวรอยขึ้น ไป แล้วมีซุ้มเฟิร์นหนาๆ ขวางกั้นอยู่เช่นนี้ ผมหวนนึกถึงคราก่อนที่ไป...ป่าระนอง มัน แบบนี้แหละ เราเหมือนถูกล่อให้เข้าไปใน ซุ้มที่กลับตัวอยาก “นี่เอ็กซ์....” ผมหยิบก้อนขี้ช้างเล็กๆ ขึ้นมาให้เอ็กซ์ดู มันขนาดก�ำปั้นเท่านั้นเอง “ลูกอ่อน...เอางัยดีพี่” เอ็กซ์เข้าใจขีด อันตรายที่เพิ่มขึ้นทันที “ถอยดีกว่าน้อง....ไม่เข้าท่าแน่ ท�ำเล

างป่าโขลงหนึ่ง ซึ่งเรากะประมาณเอา ว่า มันอยู่ห่างไปไม่เกิน ๑๐๐ เมตร ส่ง สัญญาณแจ้งเตือนอาณาเขตหรือเขตแดน ของสายพันธุ์ มนุษย์ตัวจ้อย ๔ ชีวิต ก�ำลัง ตกอยู ่ ท ่ า มกลางผื น ป่ า ดิ บ ด� ำ อั น ไกลโพ้ น และหลุดลึกเข้ามาเกินกว่าป่าที่นักเดินป่า เคยเจอ ณ ริมผาแห่งขุนเขาช่องลมใต้ ประตู ด่านสุดท้ายก่อนที่ใครจะเหยียบย่างเข้าสู่ ผืนป่า “สันเย็น” ป่าผืนนี้มีเจ้าอาณาจักร เป็นเหล่าคชสาร แน่นอนว่า ...แค่เหยียบมา ถึงหน้าประตู เจ้าบ้านก็เข้ามาทักทายอย่าง ฉับพลันนั้น รหัสนี้ เราจะถอดกันอย่างไร “....อืม เจ้าบ้านร้องทักทายแล้ว เอ! นั่ น เสี ย งเต็ ม ใจต้ อ นรั บ หรื อ ...เรี ย กมาตื๊ บ หว่า” ผมอยากมีอารมณ์ข�ำ แต่ก็ได้แต่ส่าย หน้า ถอนใจยาวๆ “...เอ้อ เอาอีกแล้ว !! .....นอนนี่แหละ ดูเขาจะไม่ค่อยต้อนรับเราสักเท่าไหร่ อาจ จะมีปัญหาครอบครัวกันอยู่ นอนนี้ดีกว่า วิว

แจ่มดี” ผมเดาไม่ออกว่า เขา...กระสากลิ่น เราได้อย่างไร “ตรงหน้ า ผาเนี่ ย แหละ ลงมื อ ท� ำ หลังคาได้เลย โน่นมืดตึ๊บมาแล้ว คืนนี้ลมฝน แห่งป่าสันเย็นมาถล่มแน่” สายลมที่พัดแรง หอบเอาเมฆมากมายมาตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่รู้ มั น ปกคลุ ม ไปทั้ ง หน้ า ผา รวมทั้ ง แนวป่ า โบราณเบื้องหน้านั้นด้วย “...แหม ให้มันได้อย่างนี้ ดีนะที่ร้อง เตือนกันก่อน เข้าไปตอนนี้ละก้อ มีหวังได้

เดินชนกันมั่งแหละ” ผมจินตนาการออก ยามหมอกด� ำ เข้ า ปกคลุ ม ...สั น เย็ น ก็ จ ะดู ราวกับป่าในจินตนิยาย “เอ็กซ์ เดี๋ยวเราคงต้องไปเอาน�้ำข้าง ในนั่น ...เตรียมตัวให้พร้อม สาวๆ เฝ้าบ้าน นะ” สร้างบ้านหลังน้อยริมผาเสร็จ ผมกะ เอ็กซ์ ก็จ�ำใจเสี่ยงออกไปหาน�้ำไว้ส�ำหรับ คืนนี้ ตอนแรกคิดว่าจะเอาสาวๆ ไปด้วย แต่ ดูว่า...ศึกนี้ออกจะหนักเกินไปซะแล้ว “โน่นตามร่องนั้นไปก็น่าจะมีนะ” แค่ สิบนาที เพียงเข้าเขตสันเย็น เราก็ได้น�้ำจาก ล�ำธารเล็กๆ แล้ว แค่บ่ายสองแต่ป่ามืดครึ้ม จนแทบต้ อ งใช้ ไ ฟฉาย หมอกด� ำ เข้ า คลุ ม ส่ ง ผลให้ ทั้ ง ป่ า พราวไปด้ ว ยหยดน�้ ำ ค้ า ง ราวกับฝนหลงฤดู “พี่ บ อย....เราลองไปดู . ..เสี ย งนั่ น กันม๊ะ” เอ็กซ์คิดเช่นเดียวกับผม “ไป...ตั ว ต่ อ ตั ว แบบนี้ แ หละ รอมา นานแล้ว” ผมเตรียมใจมาตั้งแต่ได้ยินเสียง นั่นแล้ว ด้วยความคุ้นมือ ผมกับเอ็กซ์ ตัด ตรงข้ามเนินไปหาเสียงที่ได้ยินเมื่ อ สั ก พั ก ใหญ่ๆ นั้นทันที เราตัดไปตามด่าน ข้ามไป เพียงเนินเดียว ก็ได้ค�ำตอบ “รอยใหม่อยู่เลยพี่....นี่มันนอนชุมนุม กันตรงนี้นี่นา มิน่า ถึงได้กลิ่นเราก่อน จมูก ดีจริงๆ” ท่านขุนหรือช้างป่า ไม่ต�่ำกว่าห้า

มันดีกว่าเรา ...แต่เอ ! รู้สึกมั้ยที่เราเดินมา เนี่ย มันอ้อมๆ วนๆ ไปทางแค้มป์เรานะ พี่ ว่าข้ามเนินนี้ก็จุดเราเอาน�้ำนั่นเอง” ผมเริ่ม ฉุกคิด ความเป็นห่วงแว๊บหนึ่งก็เข้ามาใน สมองทันที “ถอยเอ็กซ์ ย้อนกลับไปที่เป้น�้ำที่เรา ทิ้งไว้ก่อน มันอาจจะวนผ่านไปทางนั้น หาก มั น ดั น จะข้ า มไปทางหน้ า ผา...ไม่ ส วยแน่ น้อง” ผมคิดถึงสาวๆ ที่ก�ำลังนั่งชมวิวอยู่ แล้วหากบังเอิญช้างโขลงหนึ่ง ก�ำลังหลบเรา และย้อนไปทางเก่าของมัน จะท�ำอย่างไร เราถอยกรูด ย้อนกลับไปตามด่านเดิม ช่วงเดินกลับหลุดด่านไปบ้าง เพราะก�ำลัง ตื่นเต้น ต้องแกะหารอยกันวุ่นวาย “อี๋ย พี่บอย” ขณะน�ำหน้าอยู่เอ็กซ์ ชงักกึก


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

“...รอยเจ้ายักษ์ เมื่อกี้มันไม่มีเลย แล้วขี้กองนี้ มันมาจากไหน” ขี้ช้างกองมหึมา มันขวางอยู่กลาง ด่านที่เราก�ำลังเดินกลับ “เงียบน้อง....” ผมดึงเอ็กซ์ให้นั่งลง และแทบ จะหันหลังชนกันทันที เราจับรหัสอยู่พักใหญ่ ป่าทั้ง ป่าเงียบสนิทชนิดใบไม้ก็ไม่กระดิก มีเพียงแมลงหวี่ ฝูงใหญ่เท่านั้นที่หึ่งๆ อยู่ข้างหูผม และนั่น....ยิ่งท�ำให้ หัวใจผมระทึก “...ไม่ได้การแล้วน้องเอ๋ย มันเล่นตลบหลังกัน แบบนี้ ...อืม ดูเหมือนเจ้ายักษ์มันอยู่ตรงนี้นะ ตอน เราซุ่มอยู่เนินนั้น เราอยู่ใต้ลมมันชัดๆ เลยนะ โน่นดู มันกดต้นไม้นั่นหักไว้ด้วย” การอยู่ใต้เหนือลม สัมผัส ด้านเสียงของสิ่งที่อยู่ใต้ลมเรา จะท�ำให้เราแทบไม่ ได้ยินเสียงมันเลย “มันข่มต้นนี้ตอนไหนนะ ดูดิ ใช้งางัดเลย ช่วง สูงมาก” มันไม่ดีเลย ...ผมรู้สึกว่าเราก�ำลังตกเป็นเบี้ย ล่างของเกมนี้ซะแล้ว “ถอยกลับด่วนเลยเอ็กซ์ รีบไปตั้งหลักที่แค้มป์ ดีกว่า มืดตึ๊บแบบนี้เราไม่ทันมันแน่ เห็นตัวก็ถ่ายรูป ไม่ได้ แถมมันยังรู้ตัวก่อนอีก ดูซิมันหนีเอ็งซะเมื่อไหร่ ท้ารบซะงั้น” ผมตัดสินใจสาวรอยกลับอย่างรวดเร็ว ใจหนึ่งอดเป็นห่วงสาวๆ ไม่ได้ “เป็ น ไง วิ ว สวยมั้ ย ” สองสาวนั่ ง คุ ย กะหนุ ง กะหนิงกันอยู่อย่างไม่ประสีประสา “เป็นไงพี่ ไปนานเชียวได้นำ�้ มัย้ แล้วเจออะไรมัง่ ” “ก็เนี่ย เต็มเป้เลย น�้ำอยู่ใกล้ๆ เนี่ยแหละ แต่ไป เดินเล่นกันนิดหน่อย” “มิลล์ว่าแล้ว พี่บอยกะเอ็กซ์ต้องไปตามเสียง ช้างแน่เลย” มิลล์ดูจะรู้ทัน “ก็...นิดหน่อย ไปดูมันเรียกท�ำไมน่ะ แต่...เอิกกก มันไม่ยอมอยู่ให้ถาม โถ! แค่ใกล้ๆ เอง” ผมไม่ได้บอก ทั้งหมด และพยายามปล่อยมุกฝืดๆ “เกือบแล้ว ...เจอเพื่อนเก่าพี่บอยด้วย มหายักษ์ เลย ” เอ๊กซ์กลับรู้สึกสนุกไปตามวัยคะนอง “คืนนี้นอนนี่แหละเนอะ วิวน่าจะแจ่มนะ จะได้ นอนดูดาวเลย” แม้เมฆด�ำเข้าปกคลุมและยึดอ�ำนาจ ไปเบ็ดเสร็จ แต่เราก็คาดหวังว่า คืนนี้จะเปิดให้ได้เห็น ดาวบ้าง ส่วนเรื่องเจ้าบ้าน...แห่งสันเย็น เอาเป็นว่า พรุ่งนี้ ถึงไหนถึงกัน....

นครศรีธรรมราช

นพ.รังสิต ทองสมัคร์ ผมรู้จัก เขาวัง ว่าเป็นที่ตั้งของโรงเรียน ตชด. ที่อยู่บนสันเขาสูงในเขตอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จึงชวนน้องกลุ่มถ่ายภาพไปเที่ยวด้วยความซน ซนจนไปเจอมุมหนึ่งที่ท�ำเอาทุกคนตกตะลึงกับความงาม ผมจึงน�ำสิ่งสวยงามเหล่านี้มาฝากทุกคนด้วย เขาวัง....ดินแดนสวรรค์ชัดชัด

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นภสร มีบุญ

อ ลั่ ล ล้ า พากิ น พาเที่ ย วฉบั บ นี้ .. ขอหลีกหนีความร้อนในเมืองใหญ่ ล้อหมุนไปตามหาอุ่นไอของสายน�้ำ ท่าม กลางอ้ อ มกอดของภู เ ขา และบรรยากาศพื้นบ้านที่แสนจะอบอุ่น จากมิตรภาพของคนในพื้ น ที่ อ.พิ ปู น อ� ำ เภอที่ เต็มไปด้วยเรื่องเล่าขานในอดีต การเดิน ทางรอบนี้ แ ม้ จ ะดู ว ่ า ไกลห่ า งจากเส้ น ทางจุ ด เริ่ ม ต้ น แต่ ก็ คุ ้ ม ค่ า กั บ ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ลั่ ล ล้ า อี ก ครั้ ง ค่ ะ โอออกเดิ น ทางจาก ตั ว เมื อ งช่ ว งบ่ า ยๆ หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น ภารกิจส่ ว นตั ว มาถึ ง พื้นที่อ�ำเภอพิปูน ก็ ไ ด้ พ บกั บ บรรยากาศ แดดร่ ม ลมตก พอดีเชียว ..สภาพอากาศก�ำลังสบายๆ ได้ รั บ การบอกเล่ า จากพี่ จิ๋ ม และพี่ ย าว (ร้านตะวันแดงรีสอร์ท) ที่มุ่งมั่นกลับมา พัฒนาบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง ซึ่ง รอต้อนรับด้วยความน่ารักและโทรศัพท์ ประสานงานเป็นระยะว่า วันนี้ชาวบ้าน เสร็จจากภารกิจในการเก็บข้าวพอดี เลย

อีกหนึ่งเมนูอร่อยของคนที่นี่ .. อร่อยสม กับที่ลิ้มลองเป็นครั้งแรกในชีวิต ขอบคุณ เจ้าบ้านที่แสนดี ชาวอ�ำเภอพิปูนทุกท่าน ค่ะ สบายท้องกันไปแล้ว ก็ไปขับรถเล่น ชมวิ ว ริ ม อ่ า งเก็ บ น�้ ำ กะทู น กั น ดี ก ว่ า .. อากาศในช่วงเย็น เย็นสบายทีเดียวเชียว

ปลากะพงผัดฉ่า

เชิญชวนให้มาชิม ข้าวหลามกับน�้ำพริก ขย�ำ (หย�ำ) (หย�ำ คือ ภาษาท้องถิ่นใต้ ค่ะ ลักษณะคือน�ำเครื่องปรุงของน�้ำพริก ที่จัดท�ำมาคลุกเคล้าและใช้มือขย�ำๆ ให้ เข้ า กั น กั บ ลู ก ตะลิ ง ปิ ง หั่ น บางๆ) แล้ ว รับประทานคู่กับปลาสีเสียดทอด ซึ่งเป็น

มองเวิ้ ง น�้ ำ ด้ า นล่ า งจากเนิ น เขา สวย สบายตา สีฟ้าของขอบฟ้าเป็นสีฟ้าที่ ท� ำ ให้ ชื่ น ใจและหายเหน็ ด เหนื่ อ ยจาก การขับรถมาไกลในทันที นั่งพักริมเนิน เขาที่ ร ้ า นกาแฟสด อากาศก� ำ ลั ง ดี ค�่ ำ คืนนี้เราจะพักกันที่นี่ค่ะ ‘บ้านชมดาว’ น�้ำพริกขย�ำ รีสอร์ทเล็กๆ น่ารักๆ ของคนชาวพิปูน

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ปลาสีเสียดทอด

ที่มาสร้างไว้เพื่อให้คุณพ่อที่เกษียณอายุ ได้มีอะไรท�ำในยามเหงา คุ ณ ลุ ง น่ า รั ก มากค่ ะ ห้ อ งพั ก มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกพร้ อ มสรรพ ห้ อ ง พักกว้างเตียงใหญ่นุ่มสะอาดตา ของใช้ ในห้อ งกระจุ ๋ มกระจิ๋ มและสวยงามเข้า กับการตกแต่งที่ลงตัว เสมือนบอกให้เรา รู้ว่าเจ้าของไม่น่าจะธรรมดา หลังจากที่

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

จริ ง ๆ เรี ย กน�้ ำ ย่ อ ยกั น ด้ ว ยเมี่ ย งปลา ทับทิม ตามมาด้วยปลากะพงผัดฉ่า และ ปิ ด ท้ า ยเมนู ป ลาที่ น ่ า อร่ อ ยด้ ว ย ปลา ทั บ ทิ ม ซ้ อ สพริ ก มะขาม โดยเชฟชื่ อ ดั ง สั่งตรงมาจากภูเก็ต กลับมาด้วยความรัก บ้านเกิด .. อย่างแท้จริง กับทริปที่ลงตัว กับหัวใจรักบ้านเกิดกันจริงๆ หมดพื้นที่ เมี่ยงปลาทับทิม ปลาทับทิมซ้อสพริกมะขาม จะลั่ลล้าซะแล้ว พบกันใหม่ฉบับหน้า ได้โทรศัพท์ไปพูดคุย ก็เป็นเช่นที่เราได้ ใหญ่ๆ การจัดจานและรสชาติสูสีกับเชฟ นะคะ .. คิดไว้ในใจค่ ะ เจ้ า ของกิ จการผ่ า นการ มื อ อาชี พ ที่ ค ่ า ตั ว แพงๆ ได้ อ ย่ า งสบาย ท�ำงานด้านการโรงแรม การจัดห้องและ การเลือกของใช้ต่างๆ จึงดูลงตัวไปหมด อ่าน นสพ.รักบ้านเกิดฉบับนี้ รับส่วนลดทันที อาหารและเครื่องดื่ม ๑๐ % ที่ตะวันแดงรีสอร์ท กดไลค์ให้ทันทีค่ะ โทร.คุณยินดี ๐๘๖-๒๗๑-๘๑๕๙ คุณโสภณ ๐๘๕-๗๘๙-๒๕๑๘ ..ส่ ว นอาหารค�่ ำ ที่ ท างพี่ ย าวและ ๒๓๙ ม.๒ ต.กะทูน อ.พิปูน ริมอ่างเก็บน�้ำกะทูน พี่จิ๋ม ตะวันแดงรีสอร์ทก�ำชับนักหนาว่า ขอบคุณ : พี่จิ๋ม พี่ยาว พี่ๆ ชาวบ้านที่แสนใจดีชาวพิปูนค่ะ : เชฟโสภณส�ำหรับเมนูแสนอร่อยและการต้อนรับที่น่ารัก ห้ามพลาดก็ไม่ผิดหวังจริงๆ ค่ะ สามจาน


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.