นสพ.รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช ฉบับที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556

Page 1

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

เครือสหไทยควักกระเป๋าซื้ออาคาร ‘บิ๊กซี’ เตรียมทุ่มทุนกว่า ๑๐๐ ล้าน หอบกระเช้าขอความช่วยเหลือ จาก ปธ.หอการค้า

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๗

นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร, นายสุริยัณห์ ปัญจคุณาธร มอบกระเช้าของขวัญแด่นายบุญทวี ริเริ่มสุนทร

เมื่ อ วั น ที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๖ นายกิ ติ พ งศ์ ปั ญ จคุ ณ าธร และนาย สุ ริ ยั ณ ห์ ปั ญ จคุ ณ าธร กรรมการ บริหารห้างสหไทย น�ำกระเช้าของขวัญ

ปี ใ หม่ ไ ปมอบแด่ น ายบุ ญ ทวี ริ เ ริ่ ม สุ น ทร ประธานกรรมการหอการค้ า จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมหารือ ให้หอการค้าจังหวัดฯ >> อ่านต่อหน้า ๘

รายงาน กงสุลใหญ่แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจ�ำจังหวัดสงขลา เดินทางเปิดอาคารมูลค่า ๒๐ ล้านบาท ที่นายฉาย รุ่งนิรันดรกุล สร้างให้โรงเรียนเจริญวิทย์ จันดี เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคา ๒๕๕๖ ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง (Mr.Xu Mingliang) กงสุ ล ใหญ่ แ ห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประจ� ำ จั ง หวั ด สงขลา (Consul General of the People’s Republic of China in Songkhla) ให้ เกียรติเดินทางมาเปิดอาคาร ‘ฉาย รุ่งนิรันดรกุล’ ที่นายฉาย รุ่งนิรันดรกุล คหบดีไทยเชื้อสายจีนบริจาคเงิน ๒๐ ล้านบาท >> อ่านต่อหน้า ๙


หน้า ๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

บัญชา พงษ์พานิช plearnstan@gmail.com สวนสร้างสรรค์ นาคร - บวรรัตน์ และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

ายเกรียงศักดิ์ ด่านคงรักษ์ นายกเทศมนตรี ต� ำ บลโพธิ์ เ สด็ จ ปรารภเรื่ อ งการบริ ห าร เทศบาลที่ เ พิ่ ง ยกระดั บ จากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต� ำ บลเป็ น เทศบาลต� ำ บล สื บ เนื่ อ งมาจากความ เติบโตของเมืองที่ขยายออกไปทุกทิศทาง ทางฝั่ง ตะวั น ออกตลอดแนวถนนพั ฒ นาการคู ข วาง ใน ต� ำ บลคลั ง และต� ำ บลในเมื อ ง ฝั ่ ง ตะวั น ออกเฉี ย ง เหนือถนนอ้อมค่าย ต�ำบลปากพูนและต�ำบลท่าซัก ทางใต้ ต�ำบลศาลามีชัย และตะวันตก ต�ำบลมะม่วง สองต้นกับต�ำบลโพธิ์เสด็จ ลั ก ษณะของต� ำ บลโพธิ์ เ สด็ จ เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม ตรงกลางระหว่ า งเชิ ง เขาหลวงกั บ หาดทรายแก้ ว เดิ ม เมื่ อ ถึ ง ฤดู น�้ ำ หลากน�้ ำ จะไหลหลากลงตาม ล� ำ คลอง และบ่ า ท้ น ท่ ว มบ้ า นเรื อ นตั้ ง แต่ อ� ำ เภอ ร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอ ท่ า ศาลา ก่ อ นไหลออกสู ่ อ ่ า วไทยทางคลองสาย ต่างๆ บริเวณตัวเมืองนครจะไหลทางคลองป่าเหล้า คลองหน้าเมือง คลองท่าวัง และคลองท่าแพทาง ทิศเหนือ เม็ดดินต�ำบลต่างๆ ในเขตเทศบาลนครนครฯ ชนเม็ดกับเม็ดดินต�ำบลมะม่วงสองต้น ต�ำบลโพธิ์ เสด็จและต�ำบลนาเคียนทางฝั่งตะวันตกซึ่งเป็นทาง น�้ำผ่านตามสภาพภูมิศาสตร์ ในอดีตล�ำคลองเป็น ของสายน�้ำตามธรรมชาติ คือเป็นทางของน�้ำ เมื่อ บ้ า นเมื อ งเจริ ญ มี ก ารขี ด กั น ปั น แบ่ ง เขตปกครอง ไม่เว้น แม้ทางที่น�้ ำ เคยไหลตามธรรมชาติ น�้ำไม่มี ทางออกจึ ง ท่ ว มบ้ า นเรื อ นและแช่ ขั ง จนเน่ า เหม็ น กลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค องค์กรปกครองที่เจริญแสดงออกโดยความ เมตตาอารีและเกื้อกูลต่อกัน โดยเรื่องที่ธรรมชาติ เป็นตัวบงการชี้ขาดอย่างการไหลจากที่สูงไปสู่ที่ต�่ำ ของน�้ำ ถ้าผู้อยู่ปลายน�้ำปิดทางหรือปิดกั้นทางออก ต�ำบลหรือชุมชนที่อยู่ตอนบนย่อมเดือดร้อน น�้ำไม่มี ทางไหลออกเกิดท่วมขังเอ่อท้น คนที่ถูกน�้ำท่วมยิ่ง นานวันความอดทนก็เอ่อท้นเหมือนกัน น�้ำใจ เข้าใจ และเห็นอกเห็นใจ คือทางออกของเรื่องนี้

มาร่วมกันปฏิบัติบูชา

“ญาณสังวร”

ฟังเพลงธรรม และ ชมนิทรรศการสุดพิเศษที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ในงานมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ปีนี้

สิ้

นเดือนกุมภาพันธ์ที่จะถึงซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ มาฆบูชาก�ำลังจะมาบรรจบ โดยเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคมที่ผ่านมา จังหวัดนครศรีธรรมราชได้จัดให้มีการประชุม เตรียมการกันที่ศาลากลางจังหวัด โดยยังก�ำหนดวัตถุประสงค์ ใ ห้ เ ป็ น งานนานาชาติ ต ่ อ เนื่ อ งจากที่ ไ ด้ พั ฒ นา ยกระดับมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๔ มีการน้อมน�ำเน้นการ ปฏิบัติบูชาตามโอวาทปาฏิโมกข์ พร้อมกับการสนับสนุน การน� ำ เสนอสู ่ ม รดกโลก รวมทั้ ง การส่ ง เสริ ม ตลาดการ ท่องเที่ยวเชิงศาสนาที่เน้นการรักษาและสร้างผ้าพระบฏ เป็นเครื่องพุทธบูชา จะจัดต่อเนื่อง ๕ วัน ระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ทั้งที่พระธาตุ สวนศรีธรรมาโศกราช และ ทุ่งท่าลาด ตามยกร่างโครงการจะมีตั้งแต่การสาธิต สร้างท�ำ แสดง สมโภช แห่และถวายผ้าพระบฏ กิจกรรม ตอบปัญหาธรรม สวดมนต์ ภาวนาปฏิบัติธรรม สวดด้าน กวนข้าวยาคู ตักบาตร การแสดงเวที ตลาดนัดโบราณ และสิ น ค้ า โอทอป พร้ อ มกั บ การสั ม มนาวิ ช าการและ การน� ำ เที่ ย วตามรอยธรรมต่ า งๆ โดยหอจดหมายเหตุ พุทธทาส ในฐานะที่มาร่วมขบคิดพัฒนาและน�ำร่องไว้เมื่อ ปี ๒๕๕๔ ไม่ได้เข้าร่วมประชุมด้วย ประกอบกับมาฆบูชา ปีนี้ น่าจะมีกิจให้ท�ำถึง ๔ แห่ง คือ ที่หอจดหมายเหตุฯ ที่ สวนโมกข์ไชยา ที่เมืองนคร และ ที่สวนปทุมวนานุรักษ์ ใจกลางกรุงเทพ จึงขอมีส่วนประสานด�ำเนินการสนับสนุน อย่างจริงจังส�ำหรับปีนี้ ๒ เรื่อง

หาดทรายแก้วและองค์พระบรมธาตุเจดีย์ยามค�่ำคืน

โอวาทปาฏิโมกข์ซึ่งถือเป็นหลักและอุดมการณ์พื้นฐาน ของชาวพุทธ โดยมีพระและผู้คนจ�ำนวนหนึ่งยังหยัดยืน ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเงี ย บๆ ควรที่ จ ะขยายวงในปี นี้ ซึ่ ง เป็ น ปี พิ เ ศษอยู ่ ใ นช่ ว งพุ ท ธชยั น ตี ๒๖๐๐ ปี แ ห่ ง การตรั ส รู ้ และยั ง เป็ น ปี ค รบรอบ ๑๐๐ ชั น ษา ของสมเด็ จ พระ ญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก อีกด้วย โดยได้ประสานกับ ๒ ส�ำนักปฏิบัติธรรมส�ำคัญ ของจั ง หวั ด คื อ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร และ วัดศรีทวี ซึ่งจัดปฏิบัติธรรมในระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๕ กุ ม ภาพั น ธ์ ด้ ว ยการร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช จัดการสวด มนต์ ฟังธรรม และ เจริญจิตภาวนา เป็นกรณีพิเศษขึ้น ณ หาดทรายแก้ ว เบื้ อ งหน้ า องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย ์ นครศรีธรรมราช และ พระวิหารหลวง ต่อเนื่อง ๓ คืน ระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๔ กุมภาพันธ์ ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ - ๒๓.๐๐ น. ประกอบด้วยการร่วมรับฟังบทเพลงธรรมะ ๑) การส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ บู ช าตามค� ำ สอนของ จากวงจี วั น แบนด์ แล้ ว ร่ ว มสวดมนต์ ท� ำ วั ต รเย็ น ก่ อ น พระพุทธเจ้าซึ่งถือเป็นการบูชาอย่างสูงสุดที่ทรงสรรเสริญ ที่ จ ะฟั ง ธรรมและน� ำ ภาวนาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ๓ คื น ๆ ละ และ ๓ ชั่วโมง โดยพระคุณเจ้า ๓ รูป รวม ๙ รูป ๙ ชั่วโมง ๒) การประสานกิจกรรมการแสดงพิเศษทางธรรม น�ำโดย พระเทพวินยาภรณ์ และ นานาครูบาอาจารย์ชั้นน�ำ บนเวทีกลาง ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ของเมืองนคร ปฏิบัติบูชา “ญาณสังวร” ดนตรีและละครแบบมีธรรม : การส่งเสริมการปฏิบัติบูชาตามค�ำสอนของพระพุทธเจ้า Dhamma Entertainment ซึ่งถือเป็นการบูชาอย่างสูงสุดที่ทรงสรรเสริญ : การประสานกิจกรรมการแสดงพิเศษทางธรรม ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว งานมาฆบู ช าที่ ท� ำ กั น มาก็ เ น้ น งาน บนเวทีกลาง ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ประเพณี รื่ น เริ ง บู ช า เข้ า วั ด ไหว้ พ ระเวี ย นเที ย นเท่ า นั้ น เป็นอีกกิจกรรมที่ได้รับการประสาน >> อ่านต่อหน้า ๑๐ ทั้ง ๆ ที่ควรจะเน้นการปฏิบัติบูชาตามค�ำสอนโดยเฉพาะ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นั

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

บแต่ ต ้ น เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ระหว่ า งวั น ที่ ๑-๑๐ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ ข่ า วการเดิ น เท้ า จากนครศรี ธ รรมราชสู ่ ก รุ ง เทพมหานคร น� ำ โดยผู ้ ใ หญ่ เ ฉลิ ม กาญจนพิทักษ์ พร้อมแกนน�ำชาวบ้านและอาสาสมัคร ๔๕ คน จาก (บ้ า นเก้ า กอ) ต� ำ บลทอนหงส์ อ� ำ เภอ พรหมคีรี จังหวัดนครศรีฯ จะปรากกฏทางสื่ออย่างต่อ เนื่อง และอาจเกิดแรงกระเพื่อมด้านการปราบปรามยา เสพติดที่น่าติดตาม ขบวนแถวโครงการ ‘จากเขาหลวงสู่เมืองหลวง’ ออกเดิ น ทางจากหาดทรายแก้ ว หน้ า พระวิ ห ารหลวง วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เวลา ๐๙.๐๐ น. หลั ง ผู้ร่วมเดินเท้าเข้าสักการะพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช ในพระวิ ห ารหลวง พระเทพวินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัด พระมหาธาตุ ฯ เป็ น ประธานสวดชยั น โตพร้ อ มกล่ า ว อ� ำ นวยพรให้ ก ารเดิ น ทางปลอดภั ย และประสบความ ส�ำเร็จตามความมุ่งหมาย บริเวณหาดทรายแก้วมีผู้มา ร่วมเป็นสักขีพยานและมอบปัจจัยสนับสนุนอย่างคับคั่ง อาทิ คุณพิชัย บุณยเกียรติ นายก อบจ. ที่รับปากว่า จะมอบเงิน ๒๐ ล้านบาท สนับสนุนการปราบปรามยา เสพติ ด นพ.อิ ส ระ หั ส ดิ น ทร์ ผู ้ บ ริ ห ารโรงพยาบาล นครพัฒน์ผู้ประสานงานด้านการรักษาพยาบาลกับโรง

พิชัย บุณยเกียรติ นายก อบจ. มอบเงินสนับสนุนโครงการปราบปรามยาเสพติดแก่ พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว ผบก.ภ.นครศรีฯ พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว ผบก.ภ.นครศรีฯ ผญ.เฉลิม กาญจนพิทักษ์ ร่วมรับมอบ ตีเกราะปล่อยขบวน

พยาบาลต่างๆ ตลอดเส้นทางในกรณีอาสาสมัครเดินเท้า เจ็บป่วยเป็นไข้ ดร.กณพ เกตุชาติ ผู้สนับสนุนเสื้อและ อุปกรณ์จ�ำเป็น ตลอดจนองค์กรเครือข่ายผู้ร่วมอุดมการณ์ ต่ อ ต้ า นขยั ด ยาเสพติ ด ที่ ไ ปให้ ก� ำ ลั ง ใจและคาดหวั ง ว่ า สี ข าวจะกลั บ คื น สู ่ ชุ ม ชน โดยชุ ม ชน หยุ ด เสพ หยุ ด ซื้ อ หยุดขาย ผู้ใหญ่เฉลิมกล่าวว่า สถานการณ์ยาเสพติดขณะนี้ รุ น แรงมาก และไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งของใครคนใดคนหนึ่ ง อี ก ต่ อ ไป ถึงเวลาที่ต้องเดินทางไปแจ้งข่าวต่อรัฐบาลเพื่อรณรงค์ ให้รัฐบาลเอาจริงกับการปราบปรามอย่างต่อเนื่อง ตนขอ อาสาเป็น ‘พลน�ำสาส์น’ ที่สรุปรวบรวมบทเรียนจากเครือ ข่ายตลอดเส้นทางไปส่งมอบแก่นายกรัฐมนตรี ผู้ใหญ่เฉลิมกล่าว “เราจะน�ำลูกหลานของเรากลับมา สู่อ้อมอกอันอบอุ่นของพ่อแม่” พล.ต.ต.รณพงศ์ ทรายแก้ว ผบก.ภ.นครศรีฯ ผู้ร่วม ร่างและผลักดันโครงการ กล่าวก่อนตีเกราะปล่อยขบวนว่า ชุมชนบ้านเก้ากอเปรียบเสมือนไข่แดงที่ต่อสู้กับยาเสพติด ได้อย่างเด็ดขาด ทว่าเป็นเพียงจุดเล็กๆ ขณะพื้นที่รายรอบ ยังคงเป็นปัญหา ต�ำรวจเมืองนครมีอยู่ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ คน

สักการะขอพรอนุสาวรีย์พ่อจ่าด�ำ

มีเพียงพอในการรับมือกับปัญหา การท�ำงานอุทิศอย่างไม่ คิดชีวิตของผู้ใหญ่เฉลิม ตนเองให้การสนับสนุนอย่างเต็ม ที่ ทั้งการจัดท�ำโครงการ มอบเงินทุน ให้รถน�ำขบวน และ ประสานกั บ สถานี ต� ำ รวจให้ ดู แ ลความปลอดภั ย ตลอด เส้นทาง ทั้งยินดีควักกระเป๋าตัวเองหากมีความจ�ำเป็น อื่นๆ ขบวนเดิ น ผ่ า นกองทั พ ภาคที่ ๔ ไปสั ก การะ อนุสาวรีย์วีรไทย ราชิต สุดพุ่ม นายอ�ำเภอเมืองน�ำคณะ จากเทศบาลต�ำบลท่าแพ ก�ำนันผู้ใหญ่บ้านต�ำบลปากพูน ผู้เดินและผู้ร่วมให้ก�ำลังใจ และนักเรียนโรงเรียนโยธินบ�ำรุงร่วมสาบานตนว่าจะไม่ ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จากนั้นคณะจึงเดินทางต่อไปยัง บ้ า นของก� ำ นั น ไกรวรา เข็ ม แดง ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ภาพเลี้ ย ง อาหารเที่ยงซึ่งเป็นอาหารมื้อแรกหลังออกเดินทาง ในขบวนมี ผู ้ ร ่ ว มเดิ น เท้ า ไปส่ ง จ� ำ นวนมาก หลั ง อาหารมื้ อ เที่ ย งยั ง มี ผู ้ เ ดิ น เท้ า ไปส่ ง ถึ ง อ� ำ เภอท่ า ศาลา ๔-๕ คน วั น ที่ ๙ กุ ม ภาพั น ธ์ ผู ้ ก ล้ า ๔๕ คนพร้ อ ม น�ำ ‘สาส์น’ ที่รวบรวมได้ไปส่งให้ถึงมือนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เชื่อว่าตลอดเส้นทางพวกเขาจะ ก� ำ นั น หญิ ง ไกรวรา เข็ ม แดง (ที่ ๓ จากซ้ า ย) เป็ น เจ้ า ภาพ ราชิ ต สุ ด พุ ่ ม นายอ� ำ เภอเมื อ งน� ำ ผู ้ ร ่ ว มเดิ น ผู ้ ส นั บ สนุ น และ ไม่เดินเท้าอย่างโดดเดี่ยว เลี้ยงอาหารเที่ยงมื้อแรก นักเรียนกว่า ๓๐๐ คน สาบานตนต่อ ‘พ่อจ่าด�ำ’ ว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยว เรื่องดีดีเรื่องนี้จุดประกายขึ้นที่เมืองนคร กับยาเสพติด


หน้า ๔

ชวนคชวดิ นคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

มื่ อ ปลายปี ที่ แ ล้ ว โดนไวรั ส ขึ้ น สมองเล่นงาน หนักหนาเอาการ เหมือนกัน ช่วงนี้ท�ำกายภาพบ�ำบัด อยู ่ คิ ด ว่ า กลางปี ค งกลั บ มาฟิ ต เหมือนเดิม ฉบั บ ก่ อ นมื อ ไม้ ส มองยั ง ไม่ เข้าที่เข้าทางเลยงดไป คุณจ�ำลอง ก็ ม าท� ำ หน้ า ที่ แ ทนได้ ร สชาติ ได้ บรรยากาศเหมือนๆ กัน เป็นเรื่อง ราวของโรงหนังในยุคก่อน ซึ่งผู้มี อายุ ๔๕ ขึ้นไปคงได้สัมผัสกันมา แล้ว คุณจ�ำลองเขียนได้สนุกน่าติดตามทีเดียว เรื่องราวแถวๆ ตลาดท่าวังสมัยก่อน มีอะไรอีกมาก น่าจะเขียนมาคุย มาเล่าสู่กันฟัง ระหว่างวิกหนังทั้งสอง คือวิกบนและวิกล่าง จะเป็นวงเวียนหลังสถานีรถไฟ เป็น ย่านความเจริญของเมือง มีสถานีรถไฟ โรงหนัง โรงแรม โรงสี ร้านทอง ร้านอาหาร ร้านน�้ำชา ซึ่งพ่อผมได้มาร่วม หุ้นเปิดที่นั่นด้วย เป็นร้านใหญ่ที่สุดของเมือง เปิดตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ เพิ่งปิดไปเมื่อสิบกว่าปีมานี่เอง ภาพวาดที่ ผ มลอกมาจากภาพถ่ายเก่าๆ เป็นหอ สู ง มากๆ ในยุ ค นั้ น คื อ หอการค้ า สร้ า งขึ้ น โดยกลุ ่ ม พ่อค้า ประมาณปี ๒๔๗๐ กว่าๆ สร้างขึ้นเพื่อเป็นหอ กระจายข่าวสารต่างๆ ของชุมชนในเขตท่าวัง ยุคนั้น เหล่ า บรรดาพ่ อ ค้ า มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ทางการค้ า กั บ ต่ า ง ประเทศ และในระดับประเทศ ต่างประเทศก็มีพ่อค้า ติดต่อการค้าโดยตรงกับ จีน มาเลเซีย สิงคโปร์ สถานี รถไฟจะมีผู้คนคับคั่ง ขบวนตู้สินค้ายาวเหยียด สินค้าใน ท้องถิ่น มีทั้งทางเรือ ทางรถ เป็นศูนย์กลางการค้าที่เจริญ ที่สุดของภาคใต้ในยุคนั้น เมื่อธุรกิจดีกลุ่มพ่อค้าก็เข้มแข็ง มีก�ำลังเงินก่อตั้ง สมาคมขนาดใหญ่ คือ สมาคมพานิชย์จีน หรือจะสร้าง สาธารณประโยชน์อื่นๆ รวมทั้งหอการค้าที่ใช้เพื่อการ กระจายข่าวสารเป็นต้น ปัจจุบันเราก็มีหอการค้าที่ได้รับการสนับสนุน ส่ง เสริมโดยภาครัฐให้ท�ำหน้าที่เป็นปากเป็นเสียงของบรรดา ภาคธุ ร กิ จ ของเอกชน บทบาทของสมาคมพานิ ช ย์ จี น ปัจจุบันลดบทบาทลงไปอย่างมาก คงเหลือไว้แต่การท�ำ กิจกรรมร่วมกับสมาคมต่างๆ ของชาวจีน ไม่เหลือบทบาท

ทางการค้าเองไว้เลย หอการค้ า ของนครศรี ธรรมราช จึ ง น่ า จะเป็ น องค์ ก ร หนึ่ ง ของภาคธุ ร กิ จ ซึ่ ง นั บ วั น แผ่ ก ว้ า งครอบคลุ ม ทั้ ง จั ง หวั ด ไม่ได้อยู่เฉพาะท่าวังอย่างเดียว เช่นอดีต แหล่งการค้าขยายไป ทุ ก พื้ น ที่ ข องเมื อ ง บทบาทของ หอการค้าปัจจุบันจึงตกหนักของ คนกลุ่มนี้ ผมเคยเข้ า ร่ ว มกลุ ่ ม ท� ำ กิ จ กรรมกั บ หอการค้ า อยู ่ ร ะยะ หนึ่ง ได้เข้าไปเห็นความล้มเหลว ของระบบในยุ ค นั้ น ท�ำงานไม่ตรงกับเป้า ห ม า ย ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ ควรจะเป็ น ท� ำ เพื่ อ ได้ เ ข้ า ไปใกล้ ชิ ด กั บ คนภาครัฐ เพื่อแสวง ประโยชน์ ธุ ร กิ จ ของ ตน เพื่ อ เล่ น การเมื อ ง หอการค้ า จึ ง ล้ ม ลุ ก คลุ ก คลาน มานาน ในพักหลังๆ เท่าที่ติดตามดู เป็นกลุ่มรุ่นหนุ่มสาว เป็ น ทายาทของนั ก ธุ ร กิ จ ใหญ่ เ มื่ อ อดี ต มากมาย มี ก าร ศึกษาดีฐานะทางธุรกิจมั่นคง กลิ่นอายของภาพทางการ เมือง หรือการแสวงประโยชน์ทางธุรกิจก็ยังมองไม่เห็น ภารกิ จ ของคนหนุ ่ ม สาวยุ ค ใหม่ ผ มดู ว ่ า หนั ก หนา เอาการ การรวมกลุ ่ ม ของเหล่ า นั ก ธุ ร กิ จ ซึ่ ง เป็ น คู ่ แ ข่ ง กันอยู่แล้วไม่ใช่เป็นงานง่าย งานภาคธุรกิจซึ่งล�้ำหน้ากว่า ความคิดของภาครัฐอยู่แล้ว จะประสานกันอย่างไรให้ ภาครัฐได้ผลักดันระเบียบนโยบาย หรือการส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจของเมืองมีความเข้มแข็ง เพื่อเป็นภูมิคุ้มกัน ธุรกิจของเมืองให้มั่นคงแข็งแกร่ง แม้ว่าจะเป็นเรื่องยาก อย่ า ว่ า แต่ ป ระเทศแถบอาเซี ย นจะรุ ก คื บ เข้ า มา ธุรกิจในประเทศบุกเข้ามายึดเมืองแทบจะทั้งตัว ตั้งแต่ การค้าขนาดใหญ่ จนถึงตรอกซอกซอย ห้างสรรพสินค้า ก็เริ่มแตกลูกออกมาเป็น สรรพไฟฟ้า สรรพเฟอร์นิเจอร์ วัสดุก่อสร้าง โชห่วยใหญ่ โชห่วยเล็ก ตลาดสดหมู ไก่ กุ้ง ปู ปลา เป็นคิวต่อไป แผงลอยอาหารต่างๆ ก็เริ่ม สั่งตรงจากส่วนกลางมากขึ้น ภาคธุรกิจ sme จะยังมี อะไรเหลือให้ท�ำบ้าง นอกจากเป็นกรรมกรขายแรง แต่อย่างไรก็ตามผมยังขอให้ก�ำลังใจกับภาคธุรกิจ รุ่นใหม่เข้ามาร่วมแรงร่วมใจ จับกันเป็นกลุ่มองค์กร ผลักดัน สร้างภูมิคุ้มกันให้ธุรกิจของเมืองนคร อันเป็น บ้านเกิดของพวกเราให้ก้าวหน้าทัดเทียมบ้านอื่นเมือง อื่นเขา

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มาถึงมือท่านผู้อ่านผู้มีอุปการคุณอีก แล้ ว เช่ น เดี ย วกั บ ท่ า นที่ ติ ด ตามอ่ า นฉบั บ E-book จาก ทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ก่ อ นอื่ น ต้ อ งเรี ย นขออภั ย กรณี รายงานข่ า วน� ำ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ระบุ วั น เวลาผิ ด พลาด จากวั น ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕ เป็น ‘วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖’ คลาดเคลื่ อ นไป ๑ ปี เ ต็ ม ๆ กุ ม ภาพั น ธ์ ป ี นี้ มี วันส�ำคัญๆ ติดต่อกันนับแต่ตรุษจีนวันที่ ๑๐ ซึ่งชาวไทย เชื้ อ สายจี น ในเมื อ งนครจะจั ด งานเทศกาลตรุ ษ จี น หน้ า สถานีรถไฟระหว่างวันที่ ๘-๑๐ อย่างยิ่งใหญ่ เทศกาลของ ฝรั่งวันที่ ๑๔ วันวาเลนไทน์ วันที่ ๒๕ วันมาฆบูชาที่องค์กร ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งเตรี ย มจั ด งานแห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ น านาชาติ ต อกย�้ ำ ความศรั ท ธา ความผู ก พั น ที่ ส าธุ ช นชาวพุ ท ธมี ต ่ อ องค์ พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ตรุ ษ จี น ปี ม ะเส็ ง ๒๕๕๖ จั ด บริ เ วณวงเวี ย นหน้ า สถานี ร ถไฟ วั น ที่ ๘ กุ ม ภาพั น ธ์ เวลา ๑๗.๐๐ น. ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรี พบปะประชาชน วันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ‘วันจ่าย’เวลา ๑๙.๐๐ น. ผู้ว่าฯ วิโรจน์ จิวะรังสรรค์ เปิดงาน มีการแสดงสิงโตและ มังกรไฟ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๐๖.๓๐ น. พระสงฆ์เจริญ พระพุทธมนต์ และบิณฑบาต ความคืบหน้าเรื่อง พระบรมธาตุเจดีย์สู่มรดกโลก ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ แจ้ ง ว่ า ขณะนี้ ฝ ่ า ยเขี ย นเอกสารประกอบ (Nomination Dossier) ทั้งภาษาไทยและอังกฤษก�ำเร่งเขียนให้เสร็จเรียบ เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการมรดกโลก นับแต่ ขึ้ น ปี ใ หม่ ๒๕๕๖ มี เสี ย งบ่ น เรื่ องการจราจรบนท้ องถนน ในเขตเทศบาลติดขัด โดยเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ พูดอย่าง เห็นใจเจ้าหน้าที่ เมื่อถนนมีจ�ำกัด ใครต่อใครก็มุ่งหน้าเข้า เมือง ทั้งจับจ่ายใช้สอยและขนลูกๆ ใส่รถมาป้อนโรงเรียน กวดวิ ช า ว่ า ที่ ร .ต.ฐิ ต วั ฒ น เชาวลิ ต รองผู ้ ว ่ า ฯ ประชุ ม ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายวางแนวทางแกปัญหา ฝาก ถึง พล.ต.ต.รณพงษ์ ทรายแก้ว ผบก.ภ.นศ. ช่วยตอกย�้ำ ก� ำ ชั บ ให้ จั บ ปรั บ ผู ้ จอดรถผิ ด ที่ บ นถนนสายหลั ก ผู ้ ขั บ ขี่ ไร้ วินัย กวดขันผู้ขับขี่จักรยานยนต์ไม่สวมหมวกกันน็อคและ โทรศั พท์ ข ณะขั บ ขี่ ซึ่ งท� ำ ให้ พื้น ผิ ว จราจรอั น ตรายน้ อยลง สุวลีย์ ชูขวัญ รักษาการขนส่งจังหวัดนครศรีฯ ก็ อย่ า นิ่ ง นอนใจ ช่ ว ยติ ด ตามดู แ ลความเรี ย บร้ อ ยของรถ โดยสารประจ� ำ ทางที่ ว างมาดเจ้ า ถนนอย่ า งเกาะติ ด ด้ ว ย หน้าบางกันจัง...เฉลิม กาญจนพิทักษ์ ผู้ใหญ่บ้าน รางวั ล ข้ า ราชการหั ว ใจสี ข าวน� ำ แกนน� ำ ต่ อ ต้ า นยาเสพติ ด และเครื อ ข่ า ยรวม ๔๕ คน เดิ น เท้ า จาก ‘เมื อ งนครสู ่


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ต้นเดือนนี้ สัณห์ เงินถาวร วิศวกรระดับ ๑๐ หัวหน้า ศูนย์ข้อมูลพัฒนาพลังงานไฟฟ้านครศรีฯ (กฟผ.) ย้ายเข้ากรุง ไปดูแลงานฝ่ายช่าง

ดร.กณพ เกตุชาติ

นพ.อิสระ หัสดินทร์

ไกรวรา เข็มแดง

กรุงเทพฯ’ เข้ายื่นหนังสือแก่ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ให้เร่งปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจัง บางคน กลับมองว่าท�ำให้ภาพจังหวัดเสื่อมเสีย...โธ่ เด็กอมมือยัง รู้ว่ายาเสพติดเต็มประเทศกวาดล้างไม่หมดไม่สิ้น ควรยินดี ที่ชาวนครเป็นผู้จุดประกายเร่งให้รัฐบาลและสังคมเอาจริง เรื่องขจัดยาเสพติด ราชิต สุดพุ่ม นายอ�ำเภอเมือง สมพงษ์ มากมณี นายอ�ำเภอพรหมคีรี ดร.กณพ เกตุชาติ ผู ้ ส นั บ สนุ น เสื้ อ และอุ ป กรณ์ จ� ำ เป็ น ในการเดิ น ทาง ร่ ว ม เดิ น จากวั ด พระมหาธาตุ ฯ ไปส่ ง จนถึ ง อนุ ส าวรี ย ์ วี ร ไทย นพ.อิ ส ระ หั ส ดิ น ทร์ ผู ้ บ ริ ห ารโรงพยาบาลนครพั ฒ น์ คอลั ม นิ ส ต์ กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ข อง ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ มอบ อุ ป กรณ์ เ ดิ น ทางและช่ ว ยประสานกั บ โรงพยาบาลต่ า งๆ ตลอดเส้นทางนครศรีฯ – กรุงเทพฯ ให้ได้รับความสะดวก ในการดู แ ลรั ก ษาหากผู ้ ร ่ ว มเดิ น ทางเจ็ บ ป่ ว ย ไกรวรา เข็มแดง ก�ำนันสตรีดีเด่นมารอต้อนรับที่อนุสาวรีย์ วีรไทยเป็นเจ้ามือเลี้ยงอาหารเที่ยง จัด ๒ งานใหญ่ ติดต่อกัน.. วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ วิทยาลัยเทคโนโลยี ภาคใต้ (เอสซีที) ประกอบพิธีมอบปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการ ศึกษา โดยฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรีเป็นประธาน ต่อด้วยงานประชุมวิชาการในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ อดีตอธิการบดี ม.สงขลานครินทร์ บรรยายเรื่ อง ‘การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาที่เชื่อมโยง การเข้าสู่อาเซียน’ และมีการน�ำเสนอบทความวิจัยทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์, การจัดการศึกษาและบริหารธุรกิจ ซึ่ง ‘รัก บ้านเกิด’ ร่วมสนับสนุนการประชุมด้วยความยินดียิ่ง วิรัตน์ จ�ำปา ผอ.ทางหลวงชนบทนครศรีฯ ย้ายไปรับต�ำแหน่ง เดี ยวกั น ที่ สุร าษฎร์ ธานี เพื่อนพ้องน�ำโดย บริ รั ก ษ์ ชู สิ ท ธิ์ พาณิชย์จังหวัด, พ.ต.อ.สุเชษฐ์ ทรัพย์มี ผกก.สภ.พระพรหม ฯลฯ เลี้ยงส่งที่ร้าน ๕ อมร ถนนพัฒนาการคูขวาง สัญญา ผลเกลี้ ย ง มาแสดงความยิ น ดี กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ ด ้ ว ย

บรรจง ชีวะพันธศักดื์ กรรมการบริหาร บ.ฮอนด้า ศรี น ครฯ จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ลงนาม ร่วมกับ ว.เทคนิคนครศรีฯ จัดโครงการ ‘หนึ่งร้านสร้างสรรค์ หนึ่งสถาบันสร้างสังคม’ (One Dealer One School) ล่าสุด มอบเครื่องยนต์ฮอนด้าเวฟไอ ๑๑๐ จ�ำนวน ๒๕๐ เครื่อง สนั บ สนุ น ให้ นั ก ศึ ก ษาประดิ ษ ฐ์ ร ถประหยั ด เชื้ อ เพลิ ง เข้ า แข่ ง ขั น ระดั บ ประเทศระหว่ า ง ๑๕-๑๖ ธั น วาคม ๒๕๕๕

วั น ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๖ โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ ราชวิทยาลัยนครศรีฯ จัดกิจกรรมทางวิชาการของนักเรียน ครั้ ง ที่ ๑๘ ‘ยกระดั บ คุ ณ ภาพวิ ช าการสู ่ ม าตรฐานสากล’ เสถียร สุคนธ์ ปธ.คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นประธาน เปิดงานและชมผลงานที่มีนักเรียนจาก ๙ สถาบันเข้าร่วม

ครอบครัวรุ่งนิรันดรกุล...วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๖ ในพิธีรับมอบอาคาร ‘ฉาย รุ่งนิรันดรกุล’ โรงเรียนเจริญวิทย์ (ในภาพ) รชยา-นวลละออ-นิพิฐพนธ์ -จินตนา (ภรรยา)ฉาย รุ่งนิรันดรกุล ถ่ายภาพร่วมกับ ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง กงสุลจีนประจ�ำจังหวัดสงขลา (ที่ ๓ จากขวา) ธนา และ สุธี รั กชาติ ช่ วยเกลี้ ยง ผู้ใหญ่บ้าน ม.๔ บ้านเนินหนองหงส์ ต.เกาะเพชร อ. หัวไทร จ.นครศรีฯ ผลงานดีเด่น จนมี ชื่ อ อยู ่ ใ นผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น ๗ คนสุ ด ท้ า ยของจั ง หวั ด ที่ จ ะถู ก ประเมินผลให้เหลือเพียง ๓ คน เพื่อรับรางวัล ‘แหนบทองค�ำ’ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ รักชาติ ช่วยเกลี้ยง ก่อนวันเด็กแห่งชาติประจ�ำปี ๑ วัน สโมสรเยาวชน ส� ำ นั ก ข่ า วเสี ย งเด็ ก โดย ยุ ท ธนา-สุ พิ น ดา ไกรเสม น� ำ สมาชิ ก มาเยี่ ย มและมอบของขวั ญ แก่ เ ด็ ก ที่ น อนป่ ว ยอยู ่ โรงพยาบาลมหาราช นครศรีฯ ไม่สามารถไปเที่ยวเล่นสนุก เหมือนเด็กอื่นๆ กิจกรรมนี้ท�ำติดต่อกันมาหลายปี โดยการ สนับสนุนของ ปตท.ผส., กฟผ., ปตท. และ บริษัทผลิต ไฟฟ้าเอ็กโก้ พบกันต้นมีนาคม สวัสดี.


หน้า ๖

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

จัดสรร อาคารพาณิชย์ ถนน ร้านค้า และบ้านเรือนในพื้นที่ ต� ำ บลโพธิ์ เ สด็ จ ที่ อ ยู ่ ท างฟากตะวั น ตกของตั ว เมื อ งนคร หรือทางตะวันตกของเทศบาลนครนครฯ นับแต่ด้านตะวัน ตกของศาลากลางจังหวัด จรดบ้านเตาหม้อใกล้สวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) พื้นที่โพธิ์เสด็จกลายเป็น ‘สังคมเมือง’ อย่างรวดเร็ว เกรียงศักดิ์พูดถึงการยกระดับจาก อบต.เป็นเทศบาล “เหตุที่เป็นเมืองเพราะความเจริญขยายเข้ามา เพราะเรา อยู่ติดกับเทศบาล ฝั่งตะวันตกขยายตัวอย่างรวดเร็ว แต่ งบประมาณจ�ำกัด ถ้าเป็น อบต.ค่าหัวต่อประชากร ๑ คน ๓๐๐ บาท ถ้าเป็นเทศบาลได้ ๗๐๐ บาท เป็น อบต.การ บริ ก ารประชาชนมี ขี ด จ� ำ กั ด มี ก ารท� ำ ประชาคมปี ก ว่ า ๆ ชาวบ้ า นเห็ น ชอบที่ จ ะยกฐานะเป็ น เทศบาลสวั ส ดิ ก าร ต่างๆ ก็ดีขึ้น”

งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโพธิ์ เ สด็ จ ยกฐานะเป็ น เทศบาลต�ำบลโพธิ์เสด็จ ตั้งแต่วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามความในมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติสภา ต�ำบลและองค์บริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ ส ภาต� ำ บลและองค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบล (ฉบับที่๕) พ.ศ.๒๕๔๖ และมาตรา ๗ แห่งพระ ราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ เกรียงศักดิ์ ด่านคงรักษ์ อดีตนายก อบต. ได้รับเลือกให้เป็นนายกเทศมนตรีต�ำบล โพธิ์เสด็จคนแรก ‘รักบ้านเกิด’ ฉบับนี้สนทนากับเกรียงศักดิ์ ด่านคง รักษ์ ด้วยตระหนักเห็นการขยายตัวและเติบโตของหมู่บ้าน

เกรี ย งศั ก ดิ์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกเทศมตรี ร ่ ว ม ๒ เดือน เขาโชคดีที่สมาชิกสภาเทศบาลที่ได้รับเลือกเข้ามา เป็นอดีตสมาชิก อบต. การประชุมเสนอเทศบัญญัติไม่มี อุปสรรค เขายอมรับว่าเทศบาลยกฐานะใหม่ยังมีปัญหาให้ บริหารจัดการ “รถขยะไม่พอ รถกระเช้าไม่มี รถพยาบาลไม่มี” แต่ปัญหาใหญ่และน่าวิตกที่สุด คือน�้ำ “ปัญหาเรื่อง น�้ำกินน�้ำใช้ น�้ำท่วมขัง การก่อสร้างต่างๆ ที่เราใช้กฎหมาย ดู แ ล หนั ก ที่ สุ ด คื อ น�้ ำ ที่ ผ มแก้ ไ ม่ ต ก แต่ ล ะครั้ ง ท่ ว มมาก พื้นที่รับน�้ำจมอยู่ ๕ หมู่บ้าน ช่วงรอยต่อหมู่ที่ ๖, ๗, ๘, ๙ และ ๒ น�้ำท่วม ๒-๓ เมตร เราคุยนอกรอบกัน ว่าเราต้อง

เร่งแก้ปัญหาเรื่องน�้ำ หลักใหญ่ๆ คือน�้ำไหลไปกองที่ปลาย ราง...ไปค้างอยู่แถวทุ่งท่าลาด ผมกับเทศบาลนครนครฯ ต้องร่วมมือกัน เพราะน�้ำบ้านผมต้องไหลไปเทศบาลนคร นครฯ ถ้าเขาไม่เปิดผมก็ลงไม่ได้” เกรียงศักดิ์ กล่าวอย่าง มีความหวัง เทศบั ญ ญั ติ เ พิ่ ง ผ่ า นสภาเกรี ย งศั ก ดิ์ ห วั ง ว่ า ต่ อ จาก นี้ไป การปลูกสร้างอาคารเจ้าของจะไม่ท�ำตามใจชอบ “เรา ท�ำผังเมือง เขียว เหลือง แดง ท�ำเต็มรูปแบบ การก่อสร้าง หมู่บ้าน อาคาร การถมที่ขวางกั้นทางน�้ำ การขออนุญาต ต่างๆ ที่ท�ำให้เกิดปัญหาน�้ำท่วมจะเคร่งครัดมากขึ้น ต่อไป จะใช้เทศบัญญัติผังเมืองแก้ไข ภายหน้าจะได้ประโยชน์” แผนระยะยาวเกรียงศักดิ์เตรียมขุดลอกแนววางท่อ ระบายน�้ำ “ผมจะขุดลอกวางท่อ แต่เทศบาลนครนครฯ ต้องปลายเปิด เพราะน�้ำผมต้องเข้าท่อเทศบาลให้ได้ ผม ก�ำลังพูดคุยกับรองนายกคธา รุ่งโรจน์รัตนกุล ว่าให้ช่วย ผมที ผมขอร้องมาหลายหน คุณต้องเปิดท่อให้ผมบ้าง บาง สายผมขอให้มาส�ำรวจร่วมกัน ถ้าท่านดูแลแต่ลูกเอง ข้าง นอกไม่ ย อมรั บ ปั ญ หาก็ เ รื้ อ รั ง ของคุ ณ ก็ จ มของผมก็ จ ม พู ด กั น หลายครั้ ง เทศบาลนครนครฯรั บ ปากจะเปิ ด ให้ ผมเข้าหมู่ที่ ๔ หมู่ที่ ๗ น�้ำต้องเข้าท่อของเขา ย่านถนน เทวบุรีหลังศาลากลาง ผมบอกให้เขามาวางท่อเชื่อมจาก คลองห้วย..น�้ำผมก็ได้ไป ของท่านก็ไม่ท่วม” ข้อติดขัดต่างๆ เกรียงศักดิ์ยอมรับว่าตนเองก็พูดไม่ ออก แต่ก็พยายามประสานขอความร่วมมือ เพราะการ ท�ำงานดูแลท้องถิ่นต้องร่วมมือกัน “ถ้าเครื่องไม้เครื่องมือ ผมไม่พอผมต้องขอความร่วมมือจากเทศบาลนครนครฯ อย่าลืมว่าผลกระทบมันเกิดทั้งจังหวัด” น�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภคก็มีปัญหา “ระบบประปา เรายื ม จมู ก เทศบาลนครนครฯหายใจ ขอสมั ย นายก สมนึก เกตุชาติ เราไม่มีแหล่งน�้ำดิบ เราได้ท�ำประปาผิวดิน ที่หมู่ ๕ บ้านโพธิ์ทอง ที่บ้านทุ่งแย้ และโพธิ์เสด็จใส่วาล์ว เข้าเชื่อม แก้ปัญหาไปได้เยอะ” ด้ า นสั ง คมชุ ม ชนเกรี ย งศั ก ดิ์ ย อมรั บ ว่ า มี ป ั ญ หายา เสพติดในหมู่ที่ ๕-๗-๘ อาชญากรรมน้อยลง “โดยเฉพาะ ย่ า นหลั ง ศาลากลางจั ง หวั ด ..เราพยายามติ ด ตามผู ้ ที่ เ ข้ า บ�ำบัด ที่คุมประพฤติ ผมท�ำโครงการครอบครัวสานใยรัก เอาผู้เข้าบ�ำบัดมาพูดคุยนั่งกินข้าวโต๊ะเดียว มีปัญหาทุกข์ สุขเอามาแก้ ซึ่งท�ำไปแล้ว ๔๐ ครอบครัว” แนวทางสนั บ สนุ น กลุ ่ ม อาชี พ ทั้ ง กลุ ่ ม ท� ำ ปุ ๋ ย กลุ ่ ม ย่านลิเพา กลุ่มไม้ดอกไม้ผล และกลุ่มเกษตรอื่นๆ ให้เงิน ๕๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท ตามศักยภาพไปบริหารจัดการ ครบวาระ ๑ ปีจึงประเมินผลงาน เทศบาลต� ำ บลโพธิ์ เ สด็ จ ก่ อ ตั้ ง กองทุ น สวั ส ดิ ก าร ชุ ม ชนโดยให้ ป ระชาชน ๑ คนน� ำ เงิ น สะสมเข้ า กองทุ น วันละ ๑ บาท เทศบาลสมทบ ๑ บาท รัฐบาล ๑ บาท ไว้ใช้ ยามเจ็บป่วย เสียชีวิตและเป็นทุนการศึกษา กองทุนมีเงิน สะสมเกือบ ๓ ล้านบาท กลุ่มออมทรัพย์ไสไทรมีสมาชิก ๓,๐๐๐ คน สมาชิก น�ำเงินมาฝากทุกเดือนมีเงินสะสมกว่า ๓๐ ล้านบาท กลุ่ม ออมทรั พ ย์ ห มู ่ ที่ ๔ มี ส มาชิ ก ๑,๐๐๐ คน มี เ งิ น สะสม กว่า ๑๐ ล้าน สิ้นปีมีเงินปันผล เกรี ย งศั ก ดิ์ ด่ า นคงรั ก ษ์ ส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาตรี ส าขา รั ฐ ประศาสนศาสตร์ จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธรรมราช ปริ ญ ญาโทสาขาเดี ย วกั น จากมหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ เขาน� ำ ความรู ้ จ ากต� ำ รามาประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งเต็ ม ความสามารถ


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

“มันเป็นเกมแลกเปลี่ยน” ที่เราแทบไม่มีทางเลือก นอกจากเราจะไม่ยอมรับ แล้วหาทางออกแบบยอมจ�ำนน “แค่นี้ก็พอแล้ว” ซึ่งทุกคนมีสิทธิ์เลือกครับ

ริ่ ม ปี ใ หม่ ๒๕๕๖ ผมเขี ย นบทความ “ทันโลกธุรกิจ” มาหลายปี ตั้งใจว่าปีนี้ จะเขียนเรื่องราวบทเรียนการท�ำธุรกิจของ ตัวเองจากการเป็นลูกจ้างมืออาชีพตลอด เวลาเกือบ ๓๐ ปี วันนี้ผมเกษียณตัวเอง มา ๓ ปีแล้ว ท�ำอาชีพอิสระรับจ้างเป็นที่ ปรึ ก ษาธุ ร กิ จ ต่ า งๆ และท� ำ ธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว เกี่ยวกับ Network Marketing มาได้ ๑ ปี ได้มีโอกาสพบกับผู้คนที่เขาส�ำเร็จในอาชีพ ต่างๆ มากมาย พบเห็นผู้ที่ไม่ประสบความ ส� ำ เร็ จมาก็ ม ากเช่ น กั น ได้มีโอกาสพูดคุย เรี ย นรู ้ ไ ปกั บ พวกเขา ท� ำ ให้ ผ มได้ เ รี ย นรู ้ อะไรมากมายในวัยเกษียณช่วงปลายของ ชีวิต หากเราแบ่ ง ช่ ว งของชี วิ ต ออกเป็ น ๓ ช่วง ช่วงที่ ๑ ๒๐ ปี เริ่มต้นชีวิต-การ ศึกษา (การพึ่งพา) ช่วงที่ ๒ ๔๐ ปี การ ท�ำงานหนัก (ค้นหา+สร้างชีวิต) ช่วงที่ ๓ ๖๐ ปี หยุด-พักผ่อน (ใช้ชีวิตที่เหลืออยู่) ค�ำถามที่ส�ำคัญก็คือ “วันนี้คุณออกแบบชีวิตไว้อย่างไร?” ท� ำ ไมผมต้ อ งเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยค� ำ ถามนี้ เพราะผมไม่ได้ตั้งค�ำถามนี้กับตัวเองเหมือน คนส่ ว นใหญ่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ตั้ ง ไว้ ว ่ า เกิ ด มาเรามี เป้าหมายว่าต้องการอะไร? เท่าไหร่? เมื่อ ไหร่? ท�ำเพื่อใคร? จะใช้ชีวิตอย่างไร? แต่ ผมกลั บ พบว่ า คนส� ำ เร็ จ ที่ ผ มเจอพวกเขา มีเป้าหมายของชีวิตชัดเจน และไม่ละทิ้ง เป้าหมายของตนเองไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น พวกเขายืนหยัดในความฝันและเป้าหมาย จนกว่ า จะส� ำ เร็ จ ในแวดวงธุ ร กิ จ ก็ มี นั ก ธุรกิจหลายคนประสบความส�ำเร็จแต่ก็ยัง ไม่อาจเกษียณตัวเองได้ เพราะไม่สามารถ ส่งต่อให้ลูกหลานได้ และก็มีหลายคนหวัง จะให้ ลู ก หลานดู แ ลเมื่ อ ตอนอายุ ม ากขึ้ น และมีไม่มากนักที่ประสบความส�ำเร็จแล้ว สามารถใช้ ชี วิ ต ตามความปรารถนาของ ตนเอง (Passion) ผมถามคนที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ สิ่ ง ส� ำ คั ญ อั น ดั บ แรกคื อ คุ ณ ต้ อ งมี เ ป้ า หมาย ชีวิตที่ชัดเจนและมีความมุ่งมั่นที่ไปถึงเป้าหมายให้ได้ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด ฟัง แล้วคุ้นๆ นะครับ ท�ำให้ผมนึกถึงเมื่อครั้งที่ ผมเป็นผู้บริหารรับจ้างที่ต้องท�ำแผนธุรกิจ น� ำ เสนอต่ อ เจ้ า ของกิ จ การ สิ่ ง ที่ พ วกเขา ต้องการคือต้องได้ตามที่เขียนไว้ในแผนนั้น

คื อ ก� ำไรสุ ท ธิต้องได้ตามเป้าหมาย ท� ำ ให้ ผมได้รับรู้ว่า ความอยากของคนเราที่จะถึง เป้าหมายมีหลายระดับ คนทั่วไปอยากได้ แต่ถ้าได้ก็ดี ไม่ได้ไม่เป็นไร? มีอีกกลุ่มหนึ่ง พวกเขาเลือกที่ประสบความส�ำเร็จ นั่นก็ คือ เขาได้ตัดสินใจแล้วว่าจะส�ำเร็จ กลุ่ม สุ ด ท้ า ยซึ่ ง ประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ เขามีความมุ่งมั่นที่จะประสบความ ส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ “เป็นการทุ่มเทแบบไม่มี ยั้ ง ” พวกเขาลงแรงลงใจเต็ ม ที่ ทุ ่ ม เท ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีด้วยความเต็มใจท�ำทุก อย่างที่ต้องท�ำด้วยเวลาทั้งหมดที่มี คุ ณ เห็ น หรื อ ยั ง ครั บ ว่ า นี่ คื อ ความ แตกต่างที่มีอยู่จริง เราจึงเห็นคนท�ำธุรกิจ มากมายแต่มีค นส่ว นน้อยที่ประสบความ ส�ำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ หลายคนอาจโต้แย้งก็ เพราะระบบนี้ไม่เอื้อต่อการท�ำให้รายเล็ก รายย่ อ ยเอาชนะคู ่ แ ข่ ง ขั น ที่ ใ หญ่ ก ว่ า ได้ (ปลาใหญ่-กินปลาเล็ก) แต่ก็ต้องยอมรับ ว่าทุกวันนี้เป็นอย่างไร? “มันเป็นเกมแลก เปลี่ยน” ที่เราแทบไม่มีทางเลือกนอกจาก เราจะไม่ยอมรับแล้วหาทางออกแบบยอม จ�ำนน “แค่นี้ก็พอแล้ว” ซึ่งทุกคนมีสิทธิ เลือกครับ ผมได้เรียนรู้จากผู้ประสบความ ส�ำเร็จอีกว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งส�ำคัญ เขาถามผมว่า “คุณรู้มั๊ยคนที่ท�ำเหมือนเดิม ในปัจจุบันคือการเอาอดีตมาใช้ คนที่ท�ำให้ เป็นปัจจุบัน โดยการหยิบเอาอนาคตมาใช้ คือคนที่ออกแบบชีวิต” เป็นการตอกย�้ำว่า ชี วิ ต ของคุ ณ ออกแบบไว้อ ย่ างไร? ท� ำ เอา ผมอึ้งไปเลยทีเดียว และเขายังอธิบายต่อ ไปเพราะเห็ น ผมยั ง ท� ำ หน้ า งงๆ อยู ่ เขา

บอกว่ า เช่ น เดี ย วกั บ การสร้ า งบ้ า นโดยมี การออกแบบบ้านจากอนาคต (ความฝั น ภาพวาดในอนาคต) มาลงมือท�ำตามแผน งานการสร้ า งบ้ า นในที่ สุ ด ก็ ไ ด้ บ ้ า นตาม แบบที่เขียนไว้ ผมนึกในใจก็จริงอย่างที่เขา ว่าแล้วย้อนถามตัวเองเราลืมเรื่องนี้ไปได้ อย่างไร? หรือเพราะเราติดกับดัก ต้องรับ ใช้เป้าหมายคนอื่นนานเกินไปเกือบ ๓๐ ปี จนแทบไม่มีเป้าหมายของตนเองเลย คิด แล้วได้แต่ปลอบใจตัวเองมันไม่สายกับชีวิต จะมาคิดได้ตอนนี้ก็ยังดีกว่าคิดไม่ได้เลยทั้ง ชีวิต ผมถามเขาต่อช่วยบอก Key to Success ของคุ ณ ให้ ฟ ั ง หน่ อ ยได้ มั๊ ย เพื่ อ ผม จะได้ใช้เป็นแนวทางในการท�ำธุ รกิ จ ส่ ว น ตัว คุณอยากรู้จริงหรือ? เอาเข้าแล้วสิ! เขา พยายามจะถามเพื่ อ ทดสอบผมว่ า ความ อยากของ ผมอยู่ระดับไหน? แค่อยากรู้เลือกแล้วจะเรียนรู้-มุ่งมั่นที่จะเรียนรู้อย่าง จริงจัง ผมตอบเขากลับ “เวลาที่เหลือ ของ ผมไม่มากนัก ผมไม่มีทางท�ำเล่น ๆ เด็ดขาด ผมมุ ่ ง มั่ น อย่ า งเต็ ม ที่ ค รั บ ” เขาพยั ก หน้ า และพูดเรื่อย ๆ คุณ ต้องมีสิ่งเหล่านี้ ๑. รู้จริง-รู้ชัด-เรียนรู้พัฒนาในสิ่งที่ คุณท�ำ ไม่ใช่แค่รู้จัก-รู้ผิวเผิน หรือเห็นคน

หน้า ๗

อื่นเขาท�ำ ขอย�้ำว่ามันต้อง เป็นกระบวน การลงมือท�ำและท�ำอย่างต่อเนื่อง ๒. รักในสิ่งที่คุณเลือก รักในอาชีพที่ คุณท�ำ รักตัวเอง-รักครอบครัว-รักผู้คน-รัก ความส�ำเร็จ ขอย�้ำความรักเป็นพลังที่ผลัก ดั น ให้ คุ ณ เดิ น อยู ่ บ นเส้ น ทางตลอดเวลา เพราะคุณรู้ว่าคุณท�ำเพื่อใคร? ๓. ยอมรั บ กล้ า ที่ จ ะรั บ เพื่ อ การ เปลี่ ย นแปลง รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลลั พ ธ์ ข อง ตนเอง เรี ย นรู ้ ที่ จ ะรั บ และให้ กั บ ผู ้ ค น เพราะคุณไม่สามารถส�ำเร็จได้ด้วยตัวคุณ คนเดียว ๔. ความเร็ว (Speed) การแข่งขัน ทางธุรกิจในยุคนี้ท�ำให้เราต้องแข่งกับเวลา คุ ณ ต้ อ งมี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น ที่ จ ะทุ ่ ม เท ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง แรงกายแรงใจท� ำ ให้ เ ร็ ว ที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ และส�ำคัญต้องคิดแบบ Proactive และยังย�้ำกับผมด้วยว่า “ยิ่งคุณ มีเวลาน้อยยิ่งต้องเร่งท�ำ คนอื่นๆก็เหมือน กัน เพราะเราไม่รู้ว่าพรุ่งนี้หรือชาติหน้า อันไหนมาก่อน” ฟังแล้วสะดุ้งเลยครับ ๕. ตัวคุณเอง (ตัวเอง) มีความอยาก ส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่หรือแค่อยากเฉย ๆ คุณมอง ตัวเองเป็นอย่างไร? คุณก็จะเป็นอย่างที่คุณ เป็ น ขอเพี ย งคุ ณ ไม่ ย อมละทิ้ ง เป้ า หมาย และไม่ยอมให้ใครมาขโมยความฝันและเป้า หมายในชีวิตคุณ และถ้าคุณกอดมันไว้มัน ก็จะอยู่กับคุณตลอดไป และที่ส�ำคัญที่สุดที่ จะท�ำให้คุณส�ำเร็จได้อยู่ที่ตัวคุณเอง สุดท้ายเขายังบอกอีกว่า “ทุกอาชีพ มีคนส�ำเร็จและไม่ส�ำเร็จ แต่ถ้าคุณต้องการ ความส�ำเร็จ คุณต้องไปถามคนส�ำเร็จ ไม่ สนใจว่ า จะมี ค นไม่ ส�ำ เร็ จ ๑ ล้ า นคน แต่ สนใจว่ามีคนส�ำเร็จเพียง ๑ คน ก็จะไปหา เขาให้เจอเพื่อความส�ำเร็จ” นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๖ มกราคม ๒๕๕๖


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

<< ต่อจากหน้า ๑

ท� ำ จดหมายรั บ รองความปลอดภั ย ใน ฐานะองค์กรภาคเอกชนที่ได้รับความ เชื่ อ ถื อ เพื่ อ น� ำ ไปยื น ยั น และชั ก ชวน เจ้ า ของกิ จ การระดั บ ชาติ แ ละระดั บ ภูมิภาคให้มาเปิดสาขาภายในห้างสหไทยสรรพสิ น ค้ า หลั ง เครื อ สหไทยซื้ อ อาคารห้ า งสรรพสิ น ค้ า บิ๊ ก ซี ป ั จ จุ บั น จากผู้ถือหุ้น ๒-๓ ราย แล้วตัดสินใจ ปรับปรุงให้ทันสมัย ทั้งเปลี่ยนชื่อจาก ห้ า งบิ๊ ก ซี เ ป็ น ห้ า งสหไทยเต็ ม รู ป แบบ เหมื อ นสหไทยพลาซ่ า ทุ ่ ง สง สหไทย พลาซ่ า สุ ร าษฏร์ ธ านี และสหไทย พลาซ่ า เพชรบุ รี ก� ำ หนดเปิ ด หลั ง กันเรียบร้อยแล้ว พอไปถึงทีมงานเขา มิถุนายน ๒๕๕๖ ยังติดขัดในแง่ของเรื่อง...คือเมืองนคร ยั ง มี ค นเข้ า ใจผิ ด อั น ตรายมั้ ย มี ก าร ก่ อ การร้ า ยมั้ ย เมื่ อ ก่ อ นเขาได้ ยิ น ว่ า เป็นเมืองคนดุ เข้าใจผิดกันเยอะ พอ มี เ หตุ ก ารณ์ ท างใต้ ที ม งานจึ ง ไม่ ค ่ อ ย มั่นใจ ตอนแรกผมท�ำจดหมายชี้แจงไป แล้ว แต่มีผู้ใหญ่เขาแนะน�ำว่าจดหมาย จากศู น ย์ ส หไทยมี น�้ ำ หนั ก ไม่ ม ากพอ เขาบอกว่าน่าจะมีจดหมายของหน่วย งานที่น่าเชื่อถือ เช่นหอการค้าจังหวัดฯ เพื่ อ ให้ มี น�้ ำ หนั ก มากขึ้ น ผมมาเรี ย น ปรึกษาท่านประธานฯ ขอความกรุณา ให้ช่วยท�ำจดหมายจะได้เอาเข้าไปโน้ม นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร กล่าว น้าวชักชวน” นายบุญทวี ริเริ่มสุนทร ประธาน ถึ ง แนวทางการปรั บ ปรุ ง ว่ า “หนึ่ ง ตั ว บิ๊ ก ซี เ องมี สิ น ค้ า วางจ� ำ หน่ า ยจ� ำ นวน หอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชให้ มาก เมื่ อ เครื อ เมเจอร์ ฯ คุ ณ ภาพโรง รั บ ปากพร้ อ มให้ ข ้ อ เสนอแนะ “ด้ ว ย กับคุณภาพหนังเชื่อถือได้มาเปิด การ ความยินดี ทางหอการค้าฯจะท�ำหนังสือ ตอบรั บ จึ ง ค่ อ นข้ า งดี ร้ า นสุ กี้ เ อ็ ม เคก็ แสดงข้ อ เท็ จ จริ ง จั ง หวั ด มี โ ครงการ ขายดีขึ้นกว่าเก่า ตรงนี้ถ้าคุณมีไฮเปอร์ ‘นครศรีดี๊ดี’ อยู่แล้ว ปี ๒๕๕๔ เทศบาล มาร์ เ ก็ ต มั น ก็ จ ะเกื้ อ กั น เมื่ อ ดู ตั ว เลข นครนครศรีธรรมราชได้รับการยกย่อง ผู้เข้าห้างพบว่ายังดีมาก เราจึงมีแผน เป็นเทศบาลน่าอยู่ ผมสามารถยืนยัน ปรับปรุงให้มีแฟชั่นใหม่ๆ เช่น ลีวายส์ โดยใช้ ข ้ อ มู ล ของต� ำ รวจ ที่ จ� ำ นวนคดี แม็ค โอเรียนตอลพริ้นเซส เข้ามา เรา อาชญากรรมลดลง เอาข้อมูลจากคลัง ไปชวนร้านอาหารหลายๆ ร้าน อย่าง จังหวัดยืนยันว่าเศรษฐกิจก็ดีขึ้น รวม โออิชิ ชาบูชิ ราเม็ง สเต็กชื่อเจฟเฟอร์ ถึ ง ลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ การร่ า ง เอสแอนด์ พี แดรี่ ค วี น ส์ รวมทั้ ง ฟู จิ จดหมายอย่างนี้เราอาจไม่ช�ำนาญพอ ซึ่งเป็นภัตตาคารอาหารญี่ปุ่ นที่มี ๒๗ จึงขอให้ทางสหไทยร่างมาก่อน” ประธานหอการค้าฯ จึงสอบถาม สาขาในกรุงเทพฯ ผมคิดว่าร้านอาหาร จะเป็ น ตั ว ดึ ง ดู ด และท� ำ ให้ มี ค นสนใจ ถึ ง แผนการปรั บ ปรุ ง ห้ า งหลั ง จาก มากขึ้น นครศรีธรรมราชเป็นเมืองใหญ่ อาคารเป็นของเครือสหไทยแต่ผู้เดียว นายกิติพงศ์ ปัญจคุณาธร ตอบว่า “ตึก สามารถรองรับได้” ต่ อ มาภั ต ตาคารอาหารญี่ ป ุ่ น ฟู จิ เป็นของสหไทยแล้ว เพียงแต่บิ๊กซีเป็น เริ่ ม ไม่ มี ค วามมั่ น ใจ “ส� ำ หรั บ ฟู จิ เ รา ผู้เช่า และเช่าค่อนข้างเยอะคือชั้น ๑ ตกลงกับเจ้าของคือคุณไดซากุ ทานะกะ จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร ที่เหลือ

๓๕,๐๐๐ ตารางเมตรเป็ น พื้ น ที่ ส หไทยบริหารทั้งหมด ร้านอาหารเราจะ จั ด ให้ อ ยู ่ ชั้ น ๒ เกี่ ย วกั บ การก่ อ สร้ า ง เดือนกุมภาพันธ์เราจะลงมือ ผู้รับเหมา ออกแบบเราใช้บริษัทจากกรุงเทพฯที่ เขาช� ำ นาญด้ า นออกแบบศู น ย์ ก ารค้ า โดยเฉพาะ” นายบุ ญ ทวี ริ เ ริ่ ม สุ น ทร ถามถึ ง โอกาสของร้ า นค้ า ท้ อ งถิ่ น ก็ ไ ด้ รั บ ค� ำ ตอบว่ า ร้ า นลิ ก อร์ แ ละรายอื่ น ๆ ที่ มี ศักยภาพยังคงอยู่ต่อไป และผู้บริหาร สหไทยตอบว่าเน้นขายรายใหญ่ๆ ราย ย่ อ ยๆ ให้ ก รอกใบสมั ค รแล้ ว เราจะ เลือก ลิกอร์อยู่ต่อส่วนรายย่อยก็จะเปิด รับสมัครคนรุ่นใหม่ที่ฝันอยากมีธุรกิจ ของตัวเอง

นายสุ ริ ยั ณ ห์ ปั ญ จคุ ณ าธร เล่ า ว่า เครือสหไทยขอซื้ออาคารจากผู้ร่วม ทุ น มาบริ ห ารเพี ย งผู ้ เ ดี ย ว โดยใช้ เ งิ น กว่ า ๑๐๐ ล้ า นบาท ประมาณเดื อ น มิถุนายน ๒๕๕๖ สหไทยพลาซ่าจะเปิด บริการเต็มรูปแบบ “สหไทยพลาซ่ า เป็ น ห้ า งส� ำ หรั บ คนไทย เป็นห้างที่ชาวนครสามารถเข้า มาซื้อของ พักผ่อน พบปะสังสรรค์ ถ้า วั น หนึ่ ง ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เจ้ า ใหญ่ จ าก กรุงเทพฯเข้ามาเราก็ต้องปรับปรุงให้ดี ขึ้นไปอีก เราต้องหากลุ่มลูกค้าของตัว เอง จัดหาสินค้าบริการตอบสนองกลุ่ม เรา อย่าไปชน หลีกเลี่ยงเขา ผมว่ายัง ไปกันได้” นายสุริยัณห์ ปัญจคุณาธร กล่าวในที่สุด


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๖ ร.ต.ฐิ ต วั ฒ น เชาวลิ ต รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็นประธานประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดงาน มาฆบู ช าแห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ น านาชาติ ประจ� ำ ปี ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

รายงาน

นครศรีธรรมราช

ที่ประชุมก�ำหนดจัด ๗ กิจกรรม ใน ๒ สถานที่ คือ บริเวณสวนศรีธรรมาโศกราช ได้แก่ กิจกรรมผ้าพระบฏ การสาธิตผลิตและทอผ้าพระบฎ ๔ ภาค และนิทรรศการ ศิลปกรรมเครื่องพุทธบูชา กิจกรรมสมโภช และแห่ผ้าขึ้น ธาตุ อาทิ พิธีส มโภชผ้าพระบฏพระราชทาน (ที่อ� ำเภอ ปากพนัง) การสมโภชและพุทธาภิเษกผ้าพระบฏไทยและ ผ้าพระบฏนานาชาติ พิธีรับผ้า แห่ผ้า และถวายผ้าพระบฏ พระราชทาน ภายในวัดพระมหาธาตุฯ กิจกรรมส่งเสริม พระพุทธศาสนา อาทิ การปฏิบัติธรรม เจริญไตรสิกขา และแสดงธรรม การสวดด้ า น การจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม พระพุทธศาสนาแก่เยาวชน เช่น การประกวดสวดมนต์ หมู่ท�ำนองสรภัญญะ การประกวดวาดภาพพุทธประวัติ ระบายสี การแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หาธรรมะ การประกวด การบรรยายธรรม กิจกรรมประเพณีท้องถิ่น อาทิ การ กวนข้ า วมธุ ป ายาส และการท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร และเวี ย น

หน้า ๙

เทียนมาฆบูชา กิจกรรมการแสดง สาธิตและจ�ำหน่าย อาทิ การแสดงบนเวที ข องไทยและนานาชาติ การ แสดงหุ ่ น ละครเล็ ก ชุ ด สื บ สานต� ำ นานศิ ล ป์ จากคณะ โจหลุยส์ การแสดงหนังตะลุง เพลงบอก มโนราห์ การ สาธิ ต และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน (OTOP) ตลาดนัดโบราณ และกิจกรรมวิชาการ อาทิ การสัมมนา ว่าด้วยพระพุทธศาสนาในภาคใต้ การท่องเที่ยวเชิงพุทธ เส้นทางพระพุทธศาสนาในนครศรีฯ และการท่องเที่ยว ตามรอยกินรีสามพิพิธภัณฑ์

<< ต่อจากหน้า ๑

ฉาย รุ่งนิรันดรกุล

ก่ อ สร้ า งอาคาร ๓ มอบให้ แ ก่ โ รงเรี ย นเจริ ญ วิ ท ย์ ต�ำบลไสหร้า อ�ำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มี ข้ า ราชการ ผู ้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ตั ว แทนสมาคมพ่ อ ค้ า จีน สมาคมชาวจีนและผู้ปกครองนักเรียนมาร่วมเป็น สักขีพยานประมาณ ๕๐๐ คน นายฉาย รุ ่ ง นิ รั น ดรกุ ล กล่ า วว่ า ตนเติ บ โตมา อย่ างยากล� ำ บาก แต่ อ าศั ย ความรู ้ ด ้ า นภาษาจี น เป็ น เครื่องมือประกอบอาชีพจนประสบความส�ำเร็จ จึงมี ความปรารถนาจะให้เด็กๆ ได้มีโอกาสเรียนภาษาและ ศึกษาวัฒนธรรมจีน เพราะต่อไปภายหน้าภาษาจีนจะมี ประโยชน์อย่างมาก ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง กล่าวว่า ตนมีความยินดี อย่างยิ่งที่ได้มาร่วมเปิดอาคารเรียนหลังใหม่ที่สวยงาม โรงเรียนเจริญวิทย์เป็นโรงเรียนเก่าแก่ เปิดสอนมานาน กว่า ๗๐ ปี ซึ่งเติบโตมาอย่างยากล�ำบากในช่วงแรกๆ ขอขอบพระคุณต่อคุณฉาย รุ่งนิรันดรกุล ที่ให้การส่ง

เสริมด้านการศึกษา ซึ่ง ต่ อ ไปในอนาคตจี น จะ มีอิทธิพลอย่างมาก เรา พยายามสนั บ สนุ น การ เรี ย นภาษาในโรงเรี ย น เจริ ญ วิ ท ย์ แ ละโรงเรี ย น ที่ ส อนภาษาจี น ในภาค ใต้ โดยเฉพาะโรงเรี ย น จีรวัฒน์ จิรัตน์ฐิกุล เจริญวิทย์มีครูชาวจีนมา สอนถึง ๗ คน ทั้งนี้จีนได้มอบเงินทุน ๕๐๐,๐๐๐ บาท สนับสนุนการสอนภาษาจีน ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง กล่าวขอบคุณครูชาวจีนที่ จากบ้านเกิดเมืองนอนมาอยู่ในที่ไม่คุ้นเคย และหวังว่า จะปรับตัวอยู่อย่างมีความสุข นายจีรวัฒน์ จิรัตน์ฐิกุล ประธานมูลนิธิจันดีการ ศึกษา กล่าวว่าโรงเรียนก่อตั้งมากว่า ๗๐ ปี โดยชาว

ฯพณฯ สุ่ย หมิง เลี่ยง

จั น ดี รุ ่ น ก่ อ นๆ หลายคน ซึ่ ง ต้ อ งเสี่ ย งกั บ ความไม่ ไ ว้ วางใจของรัฐบาล เพราะเป็นโรงเรียนที่สอนภาษาจีน แต่ในที่สุดโรงเรียนก็ผ่านอุปสรรคและเติบโตเรื่อยมา นางสาวสุ ว รรณา ล่ อ งประเสริ ฐ ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียน อดีตข้าราชการเกษียณอายุ ระดับ ๙ กล่าว ต่อผู้ร่วมงานว่า โรงเรียนเติบโตปีละ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ เพราะผู้ปกครองมอบความไว้วางใจน�ำบุตรหลานมา เข้าเรียน โรงเรียนจึงสร้างอาคารเรียนใหม่ขึ้นมาอีก หลัง ขณะนี้อยู่ระหว่างด�ำเนินการก่อสร้าง นายวิทยา ศรีพงศ์พันธุ์กุล กรรมการมูลนิธิจันดี การศึกษา อดีตผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกล่าวว่า ปัจจุบัน โรงเรียนมีนักเรียนกว่า ๑,๓๐๐ คน ซึ่งเป็นเด็กจาก อ� ำ เภอนาบอน อ� ำ เภอฉวาง อ� ำ เภอช้ า งกลาง และ อ� ำ เภอทุ ่ ง ใหญ่ สอนทั้ ง ภาษาจี น ภาษาอั ง กฤษและ ไทย ปีการศึกษา ๒๕๕๗ จะมีห้องไม่พอส�ำหรับรองรับ นักเรียนที่เลื่อนชั้นขึ้นไปเรื่อยๆ มูลนิธิจันดีการศึกษา ผู้ดูแ ลโรงเรี ย นจึ ง สร้ า งอาคารหลั ง ใหม่ ซึ่ ง อยากแจ้ ง ผ่าน ‘รักบ้านเกิด’ ถ้าศิษย์เก่าหรือผู้สนใจบริจาคเพื่อ สมทบทุนสร้างอาคารเรียนก็จะยินดีเป็นอย่างยิ่ง


หน้า ๑๐

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ๒.๖) ได้รับการยกย่อง ให้ได้รับพระราชทาน ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ โปรแกรมวิชา วัฒนธรรมศึกษา ประจ�ำปี ๒๕๔๑ จากสถาบันราชภัฏ นครศรีธรรมราช ค�ำประกาศเกียรติคุณในครั้งนั้น มีใจความส�ำคัญ ดังนี้ ๒.๖.๑) เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต นายสร้ อ ย ด� ำ แจ่ ม เป็ น ศิ ล ปิ น เพลงบอกที่ มี จิ ต วิ ญ ญาณของศิ ล ปิ น มี อั ธ ยาศั ย ไมตรี ต ่ อ ทุ ก คน ให้ ความส�ำคัญแก่ผู้อื่นจนเป็นที่ยอมรับนับถือของบรรดา ศิ ล ปิ น ด้ ว ยกั น และบุ ค คลโดยทั่ ว ไป เป็ น ผู ้ มี ค วาม ประพฤติดี ประพฤติชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต ตรง ต่อเวลา มีจรรยาบรรณของศิลปินไม่เห็นแก่ทรัพย์สิน เงิ น ทอง เมื่ อ รั บ ปากหรื อ ให้ ค� ำ มั่ น สั ญ ญากั บ ใครไว้ ก็ จะไปตามนัด แม้จะมีผู้มาติดต่อภายหลัง ได้เสนอค่า ตอบแทนให้สูงกว่าที่รับไว้แล้ว ก็ไม่เปลี่ยนแปลงค�ำมั่น สั ญ ญา เป็ น วั ต รปฏิ บั ติ ที่ ยึ ด ถื อ ตลอดมา ตั่ ง แต่ เ ริ่ ม เป็นศิลปินกระทั่งเป็นศิลปินแห่งชาติ โดยเฉพาะในช่วง ที่ เ ป็ น ผู ้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ทางด้ า นวั ฒ นธรรมและศิ ล ปิ น

ตอนที่ ๗ แห่งชาติ ซึ่งมีบทบาทส�ำคัญในการเสนอข้อมูลต่างๆ ทาง ด้านวัฒนธรรม ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติเป็นอย่างมาก และมีช่องทางมีโอกาสที่จะเอื้อ ประโยชน์ต่อตนเองและพวกพ้อง แต่นายสร้อย ด�ำแจ่ม ไม่เคยใช้โอกาสนั้นและ ได้ยึดถือความเที่ยงธรรมและ ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ตั้ง เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิลปิน และบุคคลทั่วไป ๒.๖.๒) เป็นบุคคลที่บ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อ สังคม เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป นายสร้อย ด�ำแจ่ม เป็นศิลปินของประชาชน จึงอุทิศ ตนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อชุมชนต่อสังคม เป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไปตลอดมา คือ ท่านได้ใช้วิชาชีพศิลปิน เพลง บอก ช่วยงานการกุศลทั้งที่เป็นงานวัด งานโรงเรียน งาน ของส่วนราชการ เพื่อนบ้าน ศิลปินและชุมชน ยิ่งไปกว่า นั้นยังมีส่วนส�ำคัญในการอนุรักษ์ พัฒนาส่งเสริม และเผย แพร่วัฒนธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมใน รูปลักษณ์ต่างๆ ทั้งที่เป็นส่วนตัวและองค์กรศิลปิน หลัง จากได้รับเกียรติ จากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ ให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมและศิลปิน แห่งชาติแล้ว งานบริการสังคมลักษณะนี้มีมากขึ้น ๒.๖.๓) เป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่นและเชี่ยวชาญ พิเศษในสาขาวัฒนธรรมศึกษา ตลอดระยะเวลา ๕๐ ปีเศษที่ นายสร้อย ด�ำแจ่ม ศิลปินเพลงบอก ได้สร้างสรรค์ผลงานวัฒนธรรมการแสดง พื้นบ้าน “เพลงบอก”

โดยปริ ม าณ นายสร้ อ ย ด� ำ แจ่ ม ว่ า เพลงบอก มาแล้วกว่าหมื่นๆ ครั้ง ครั้งละประมาณ ๒-๓ ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย ในช่วงเวลา ๕๐ ปีเศษที่ผ่านมา หาก บั น ทึ ก ไว้ เ ป็ น หลั ก ฐานก็ จ ะมี ป ระมาณไม่ น ้ อ ยกว่ า แปดหมื่ น หน้ า กระดาษพิ ม พ์ น่ า เสี ย ดายที่ มี บั น ทึ ก ไว้เพียงบ้างส่วน โดยคุ ณ ภาพ บทเพลงบอกของนายสร้ อ ย ด� ำ แจ่ ม มี คุ ณ ค่ า ยิ่ ง ต่ อ สั ง คม และได้ รั บ การยกย่ อ ง ชมเชยของคนทั่ ว ไปและหน่ ว ยงานราชการ เพราะ เพลงบอกสร้อยไม่ได้ว่าเพลงบอก แบบสุกเอาเผากิน ก่ อ นไปว่ า งานใด เขาจะต้ อ งศึ ก ษาความรู ้ จ ากต� ำ รา เอกสาร รวมกั บ ประสบการณ์ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ไป ว่ า เป็ น กลอนสดเสมอ ผลงานของเขาจึ ง มี ลั ก ษณะ สอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะงานทุ ก ครั้ ง ประกอบกั บ เขา ได้ รั บ การศึ ก ษาค่ อ นข้ า งสู ง (หากเปรี ย บเที ย บกั บ ศิลปินอื่นๆ ในขณะนั้น) มีศิลปะและชั้นเชิงเพลงบอก จากส�ำนักวัดท่าโพธิ์ ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรก ในภาคใต้ จึ งส่ งผลให้ ผ ลงานของเขามี คุ ณ ภาพอย่ า ง ยิ่ง นอกจากประชาชนในท้องถิ่นจะยอมรับและชื่นชม แล้ว สถาบันการศึกษายังขอให้นายสร้อย ด�ำแจ่ม ช่วย พัฒนาการศึกษา โดยใช้ผลงานเพลงบอกเป็นสื่อ คือ “ขับเพลงบอกทอกหัวได” (หนังสืออ่านส�ำหรับชาวบ้าน เล่มที่ ๑ ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนประจ�ำภาคใต้ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕) (อ่านต่อฉบับหน้า)

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒ จากการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย ส� ำ นั ก งานภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ช่วยสรรหากิจกรรมการแสดง บนเวที ก ลางที่ ส วนศรี ธ รรมาโศกราช ในคื น วั น ที่ ๒๓ และ ๒๔ ซึ่งได้ประสานคัดสรรเชิญ ๒ การแสดงส�ำคัญที่ มีธรรมมาร่วม ประกอบด้วย ดนตรีและเพลงธรรมะของ จีวันแบนด์ ผู้บุกเบิกเพลงธรรมแนวใหม่เมื่อครั้ง ๑๐๐ ปี ชาตกาลพุทธทาสภิกขุ ภายใต้การสนับสนุนส่งเสริมของ พระพรหมมังคลาจารย์ หรือ หลวงพ่อปัญญานันทะภิกขุ จนมีชื่อเสียง กับวงวัยรุ่น ภูมิจิต ที่เน้นเพลงดีมีข้อคิด กับ คณะหุ่นกระบอกไทยร่วมสมัย ที่จะเล่น เรื่องศีล ๕ กับเรื่อง การอยู่ร่วมที่สอดคล้องกับงานมาฆบูชาของชาวนคร นิทรรศการสุดพิเศษ ปฐมบทพระพุทธศาสนา ในคาบสมุทรเอเชียอาคเนย์ : ทัง้ เก่าก่อนและเพิง่ พบใหม่ ทีไ่ ม่เคยแสดงทีไ่ หนมาก่อน กิจกรรมอื่นๆ เนื่องในงานมาฆบูชาที่หอฯ เคยมีส่วน ร่ ว ม โดยเฉพาะงานแสดง สมโภช และ แห่ ผ ้ า พระบฏ

ผอ.พิพิธภัณฑ์ฯ น�ำ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ผู้เขียนรากเหง้าศิลปไทยชม

พระโพธิสัตว์องค์ส�ำคัญ

นานาชาติ นั้น เนื่องจากต้อง เตรียมการล่วงหน้าให้ดี แต่มไิ ด้ มีการประสานเตรียมการใด ๆ ไม่ ท ราบว่ า ปี นี้ ท างจั ง หวั ด เตรี ย มการอย่ า งไร และ เป็นนานาชาติเพียงไร ไม่อาจ ทราบได้ แต่ที่อยากเชิญชวน ให้ ไ ปชมให้ ม าที่ สุ ด เพราะมี ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกและน่ า จะ ครั้งเดียว ที่กรมศิลปากร โดย พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ

นิทรรศการ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช

นครศรี ธ รรมราช ได้ ร วบรวมหลั ก ฐานโบราณคดี ท างพระ พุทธศาสนาที่พบในภาคใต้ทั้งเก่าก่อน และที่เพิ่งค้นพบใหม่ ไม่เคยแสดงที่ไหนมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่ ที่สุด รอยพระพุทธศาสนา ธรรมจักร และอักขระที่เก่าแก่ ที่สุด รวมถึงหลักธรรมส�ำคัญที่ปรากฏบนจารึก ได้แก่คาถา เยธั ม มาฯ และ อริ ย สั จ สี่ ที่ เ ป็ น เสมื อ นหั ว ใจในพระ พุทธศาสนา ทราบมาว่าจากเดิมที่จะจัดแสดงถึงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ และตกลงขยายจนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์นั้น บัดนี้ ได้รับการขยายออกไปอีก ๓ เดือน เนื่องจากมีผู้เข้าชม อย่างต่อเนื่องเป็นจ�ำนวนมาก. ๑๙ มกราคม ๒๕๕๖


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

เครดิตภาพ www.gotonakhon.com

‘ค

ณะลั ง กาเดิ ม ’ หมายถึ ง คณะสงฆ์ หิ น ยาน ลั ท ธิ เ ถรวาทสายลั ง กาวงส์ ใ นภาคใต้ แ ละ นครศรี ธ รรมราช มี บ ทบาทในการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธ ศาสนา และรั กษาพระบรมธาตุ เจดี ย ์ ส� ำ นั ก เจ้ า คณะ อยู่ที่ใดยังไม่ปรากฏชัดเจนในขณะนี้ ก่ อ นที่ พุ ท ธศาสนาลั ง กาวงส์ จ ะเข้ า มาสู ่ ภ าคใต้ ชาวนครเคยนั บ ถื อ ศาสนาพราหมณ์ แ ละพุ ท ธศาสนา อยู ่ ก ่ อ นแล้ ว ดั ง เห็ น ได้ จ ากการพบศาสนสถานและ ศาสนวั ต ถุ ที่ เ กี่ ย วกั บ ศาสนาพราหมณ์ ใ นช่ ว งพุ ท ธ ศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ มาก ส่ ว นพุ ท ธศาสนานิ ก าย มหายานก็ พ บหลั ก ฐานในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๒- นั บ ถื อ พุ ท ธศาสนานิ ก ายหิ น ยาน ต่ อ มาราวพุ ท ธ- ๑๗๐๘) พุ ท ธศาสนาในลั ง กาจึ ง แยกเป็ น สามนิ ก าย ๑๖ มากเช่ น กั น โดยเฉพาะในอ� ำ เภอสิ ช ล และ ศตวรรษที่ ๘-๙ พุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายานจึ ง แพร่ คื อ นิ ก ายอภั ย คี รี วิ ห าร (มหายาน) นิ ก ายมหาวิ ห าร อ� ำ เภอท่ า ศาลา ส่ ว นในประเทศลั ง กานั้ น เดิ ม ที เข้ามา ต่อมาสมัยพระเจ้าศิริสงฆโพธิปรากรม (พ.ศ. (เป็ น หิ น ยาน) และนิ ก ายเชตวนวิ ห าร (เป็ น หิ น ยาน แบบสรวาสติวาท) นิ ก ายเชตวนวิ ห าร คื อ นิ ก ายสรวาทที่ เ กิ ด ขึ้ น หลังจากการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้ังแรก เป็นพวก หินยานที่ใช้ภาษาสันสกฤต มีหลักคิดแปลกแยกจาก พวกมหาวิหารตรงที่เห็นว่าอรหันต์อาจจะต้องเสื่อมจาก อรหันตภูมิได้ แม้ยังมีจิตที่สืบเนื่องกันอยู่เสมอ ส่วน การบันทึกหลักของนิกายนี้ล้วนแต่ใช้ภาษาสันสกฤต สมเด้ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมพระยาด� ำ รง หนูมีบ้านหนึ่งหลังบังแดดฝน มากผู้คน เช้าเดินเล่น เย็นเดินผ่าน ราชานุภาพ ทรงวินิจฉัยไว้ในเรื่อง ‘ต�ำนานคณะสงฆ์’ ว่า มีหลังคาเป็นฟ้ากว้าง ข้างสะพาน มีขอทานเป็นเพื่อนเที่ยวไม่เดียวดาย สงฆ์คณะกาเดิม (หรือลังกาเดิม) คือพระสงฆ์ลังกาที่ กองขยะที่ท�ำกินถิ่นของหนู ที่เรียนรู้ ทุน-ก�ำไร ได้ซื้อขาย เข้ามาอยู่ในภาคใต้ก่อนพระสงฆ์นิกายอื่น โดยน่าจะเข้า มีเศษเหรียญ แลกข้าวปลามาเลี้ยงกาย มีจุดหมาย แบบเพียงพอวันต่อวัน มาในช่วงก่อนที่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชจะสร้างพระ ป้ายประกาศเป็นหนังสือ ฝึกปรืออ่าน ไม้กระดานแทนกระดาษใช้วาดฝัน บรมธาตุนครศรีธรรมราชเล็กน้อย และอาจจะปรับแปลง ผลมะพร้าว คอยแบ่งเตะแข่งกัน เพียงเท่านั้น ก็สนุกทุกเวลา ตามนิกายเชตวนวิหาร (นิกายสรวาสติวาท) ซึ่งถือว่า บ้านมีอยู่อู่มีนอนหมอนมีหนุน นับเป็นบุญเหลือล้นคนรากหญ้า เป็นนิกายแบบลังกาที่เก่าแก่ที่สุดในดินแดนคาบสมุทร กินพออยู่สู้งานหนัก พักเป็นครา ยังดีกว่าหมดที่อยู่ให้หนูนอน สุวรรณภูมิ ด้วยเหตุนี้ชาวภาคใต้และชาวนครจึงเรียก หนูโตมาในสลัม ยังจ�ำได้ ต้องพอใจในความจนของตนก่อน พระสงฆ์ ค ณะนี้ ว ่ า ‘คณะลั ง กาเดิ ม ’ ครั้ น เวลาต่ อ มา ต้องเชื่อในโชคชะตาอย่าตัดรอน ต้องคอยสอนตนเสมอ เธอติดดิน พระสงฆ์ในนครศรีธรรมราชได้แยกออกเป็นสามคณะ หนูพอใจในสิ่งนี้ที่เป็นอยู่ ไยคนรวยจึงไม่รู้พอทรัพย์สิน คือคณะลังกาแก้ว คณะลังการาม และคณะลังกาชาติ ยึดที่นอนเป็นของเขา เผาที่กิน ทุกอย่างสิ้น เพราะคิดค้า หาก�ำไร ในขณะนี้ยังไม่พบหลักฐานที่บ่งชัดว่าคณะลังกา บ้านเคยอยู่ อู่เคยนอน หมอนเคยหนุน ถูกนายทุนกว้านซื้อ ถือเงินใหญ่ เดิ ม เคยมี ส� ำ นั ก อยู ่ ที่ ใ ด และยั ง ไม่ พ บว่ า มี ก ารพระจะเรียกร้องสิทธิ์เสรี จากที่ใด จะมีใครเห็นปัญหา ค่าคนจน ราชทานกั ล ปนาที่ ดิ น แก่ ค ณะนี้ เ ป็ น การเฉพาะ เพี ย ง ใครหนอใคร น่าเชื่อถือกุมมือหนู คืนที่อยู่ที่ท�ำกิน ถิ่นสร้างผล ปรากฏในต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชว่า คณะ ใครจะสร้าง ยุติธรรม ค�ำว่าคน ใครจะช่วยให้หลุดพ้นกลเงินตรา ลังกาเดิมมีหน้าที่รักษาพระบรมธาตุทางทิศเหนือ และ แม้สังคมแบ่งคนหลากชนชั้น ใช่เอาเปรียบต่อกัน มันไร้ค่า สี ป ระจ� ำ คณะนี้ คื อ สี ด� ำ ในชั้ น นี้ สั น นิ ษ ฐานว่ า ส� ำ นั ก ความเท่าเทียม คือสิ่งเดียวช่วยเยียวยา ส�ำนึกว่าจะรวยจน คนเหมือนกัน เจ้ า คณะน่ า จะอยู ่ ใ นเขตเมื อ งนครศรี ธ รรมราช หรื อ หนูมีบ้านหลังนี้ คือชีวิต ได้คืนสิทธิ์ คืนวิถีที่สุขสันต์ อาจเป็นในอ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ หรืออ�ำเภอไชยา จังหวัด อยู่พอดี ไม่ยื้อแย่ง ยึดแบ่งปัน เพื่อภาพฝันที่ร่มเย็น เป็นความจริง สุราษฎร์ธานี อารดา ขลิบแย้ม


หน้า ๑๒

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

วั

นนี้ ห มอขออนุ ญ าตตั ด ต่ อ ภาพมาจากเวป http:// www.thailandometers.mahidol.ac.th ส�ำหรับ ท่ า นที่ ส นใจเรื่ อ งสถิ ติ ข ้ อ มู ล ประเทศไทยที่ ส� ำ คั ญ ๆ ซึ่ ง “คณะท�ำงานฉายภาพประชากร” น�ำมาเสนอให้สามารถ ดูกันได้ตลอดเวลา เพราะเป็นสถิติที่น่าสนใจติดตาม และ สามารถติดตามได้ตลอดเวลา

ประชากรไทย ณ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๐.๓๘.๔๓ น. เท่ากับ ๖๔,๕๐๗,๘๓๗ คน เป็นเด็กเกิดใหม่ ๔๓,๑๓๙ คน และมีคนตายไปแล้ว ๒๘,๘๔๙ คน เท่ากับว่า ๒๒ วันที่ผ่านมาประชากรไทยเพิ่มขึ้นอีก ๑๔,๒๙๐ คน ดังภาพต่อไปครับ ตามด้วยสถิติผู้สูงอายุ ซึ่งประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคม ผู้สูงวัยตามประเทศทางตะวันตกเข้าไปเรื่อยๆ

ตามด้วยสุขภาพอนามัย โรคภัยไข้เจ็บ

และสุดท้ายเป็นเรื่องสถานภาพทางครอบครัวครับ

ะหาดเป็นสมุนไพรโบราณ ที่มีสรรพคุณ หลายอย่ า ง ใช้ ใ นทางเภสั ช กรรมมา นานแล้ ว จากการวิ จั ย พบว่ า มะหาดมี ฤ ทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ซึ่งส่งผลต่อการผลิต เมลานิน (เม็ดสีสร้างจากเซลล์ผิวหนัง) แต่ก็ ยังมีสารสกัดในพืชอีกหลายชนิดที่มีสรรพคุณ ยับยั้งเอนไซม์ตัวนี้เช่นกัน เช่น อัลฟ่าอาร์บูติน

ผล Bearberry

ที่สกัดจากพืชหลายชนิดส่วนใหญ่จะมาจาก ต้น Bearberry, licorice หรือชะเอม ที่ปัจจุบัน ก็มีผสมอยู่ในเครื่องส�ำอางค์หลายยี่ห้อ โลชั่ น ที่ โ ฆษณาสรรพคุ ณ ว่ า ขาวได้ ทันใจภายใน ๕ วัน ถือว่าโฆษณาเกินจริง ท�ำ ให้ผิวขาวได้จริงแต่ที่ไม่ถูกต้องคือต้องใช้เวลา อย่างต�่ำ ๕ สัปดาห์ ครีม เซรั่ม อะไรก็ตามมี

หลายตัวช่วยให้ผิวดูเรียบเนียน ขาวขึ้นได้จริง แต่ก็ขาวได้แค่ส่วนที่ขาวที่สุดของลักษณะผิว ของผู้ใช้ และการทา ขัด ถู พวกนี้ต้องใช้เวลา นาน อย่างน้อย ๒๘-๓๐ วันตามรอบการผลัด เซลล์ ผิ ว และต้ อ งปกป้ อ งผิ ว จากแสงแดด แรงๆ รวมถึงต้องดูแลอาหารการกินไปด้วย ก่อนจะซื้อครีมสารพัดมะหาด ลองตั้ง ค�ำถามก่อนว่า ที่ขายกันเป็นกิโลๆ หรือหัว เชื้อมะหาดมีสารสกัดบริสุทธิ์จากแก่นมะหาด

‘ออกซิเรสเวอราทรอล’ (Oxyresveratrol) อยู่จริงหรือเปล่า ถ้ามี มีกี่เปอร์เซ็นต์เพียงพอ จะท�ำให้ผิวขาวได้หรือไม่ สารสกัดมะหาดไม่ค่อยคงตัว เก็บได้แค่ ๓-๖ เดือน ในทางเภสัชกรรมยังต้องคิดหา วิธีที่จะเก็บให้คงตัวได้นาน ถึงจะอาบมะหาด แช่มะหาดเราก็ขาวได้แค่ที่ผิวเราเป็นเท่านั้น แหละค่ะ ฉนั้นกินอย่างถูกวิธี ออกก�ำลังกาย บ้าง จะสวยใสขึ้นตามธรรมชาติค่ะ ข้อมูลจาก TrustMePleaseIamACat@facebook


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

ซิ

นเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดใช้ ๑๐ กุมภาพันธ์ ปี นี้ เ ป็ น วั น เฉลิ ม ฉลองปี ใ หม่ ข องชาว จีน ขอให้มีความสุขต่อเนื่องกันมาจากวัน ปี ใ หม่ ส ากลที่ เ พิ่ ง ผ่ า นมาเมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว กันทุกท่านนะครับ ในวันนี้ชาวจีนทั่วโลกมี ประเพณีที่เหมือนกันคือจะหยุดงานไปเที่ยว พักผ่อนหลังจากท�ำงานกันทั้งปี และจะไป สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสถานที่ต่างๆ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง สถานที่ ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระ โพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ซึ่ ง ถื อ เป็ น องค์ เ ทพแห่ ง ความเมตตา ซึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีอยู่หลายแห่ง และมีลักษณะการสร้างองค์ ที่แตกต่างกันไปทั้งวัสดุและปางต่างๆ ส่วน ใหญ่ก็จะอยู่ที่ศาลเจ้าหรือมูลนิธิช่วยเหลือ สาธารณะภัย และปัจจุบันก็นิยมสร้างในวัด ทางพุทธศาสนาไม่ว่าจะเป็นมหายานหรือ หินยานนิกาย ทั้งนี้เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึง เมตตาธรรม ตรุษจีนนี้ผมอยากแนะน�ำและ เชิ ญ ชวนให้ ไ ปสั ก การะองค์ พ ระโพธิ สั ต ว์ กวนอิมที่สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) นครศรีธรรมราช ที่มีความโดด เด่นหลายประการซึ่งผมเชื่อว่าชาวนครส่วน ใหญ่ยังไม่ทราบ โดยทั่ ว ไปนั้ น องค์ พ ระโพธิ สั ต ว์ จ ะ เป็นการปั้นด้วยปูน หรือหล่อด้วยคอนกรีต เสริ ม เหล็ ก หรื อ เป็ น โครงเหล็ ก หุ ้ ม ด้ ว ย แผ่ น โลหะ จึ ง สามารถสร้ า งตั ว องค์ ใ ห้ สู ง ใหญ่เท่าใดก็ได้ไม่ค่อยมีข้อจ�ำกัด แต่หาก เป็นการน�ำหินมาสลักก็จะมีข้อจ�ำกัดของ วั ส ดุ แ ละการขนส่ ง เช่ น ที่ เ ขาคอหงส์ ใ น สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ องค์ พระโพธิสัตว์ เป็นหินหยกขนาดใหญ่แกะ สลักสวยงามมาก แต่ไม่สามารถหาหินเป็น ชิ้ น เดี ย วได้ และการขนขึ้ น เขาที่ สู ง ชั น ไม่ สามารถหักเลี้ยว จึงจ�ำเป็นต้องแบ่งองค์เป็น หลายท่อนแล้วน�ำไปประกอบขึ้นใหม่ แต่ ส� ำ หรั บ องค์ พ ระโพธิ สั ต ว์ ที่ ส วนสมเด็ จ ฯ เป็นหินแกรนิตขาว ชิ้นเดียวที่สูง ๙ เมตร (ประมาณตึก ๓ ชั้น) จากแหล่งหินที่มีชื่อ เสี ย งในการสลั กองค์ พ ระของประเทศจี น แต่หากรวมฐานดอกบัวคว�่ำและหงายด้วย แล้ ว จะมี ค วามสู ง จากพื้ น ถึ ง ๑๓ เมตร และเท่ า ที่ ท ราบมาองค์ พ ระสลั ก ด้ ว ยหิ น เป็นชิ้นเดียวที่สูงถึง ๙ เมตร ยังไม่มีที่ใดใน

www.nakhonforum.com

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

ประเทศไทย หากท่านใดทราบว่า มีที่อื่นอีก กรุณาแจ้งให้ผมทราบ เป็นข้อมูลใหม่ทาง E-mail ด้วยจะ เป็นพระคุณอย่างสูง....นี่เป็นความ โดดเด่ น ขององค์ พ ระโพธิ สั ต ว์ ที่ สวนสมเด็จฯ ประการแรก หากท่านได้ไปเห็นองค์พระ ด้วยตา จะสามารถรับรู้ถึงความ เมตตาได้จากพระพักตร์ที่อิ่มเอิบ แฝงด้วยรอยยิ้ม และด้วยฝีมือการ สลักหินของช่างขั้นอาจารย์ ท่าน จะเห็นความละเอียดของการสลัก อาภรณ์ที่ดูเหมือนจะไหวพริ้วของ แพรพรรณ ล้ อ มรอบองค์ พ ระ

โพธิสัตว์จะมีองค์เทพหรือเซียนทั้ง ๘ องค์ เป็นหินสลักที่แสดงอารมณ์ดูเหมือนมีชีวิต นี่ เ ป็ น ความโดดเด่ น อี ก ประการทางด้ า น สลักหิน ซึ่งศิลปินและชาวเมืองนครไม่ควร จะพลาดไปชมนะครับ การสร้ า งอุ ท ยานพุ ท ธภู มิ ใ นสวน สมเด็จพระศรีนครินทร์ ๘๔ นับว่าเป็นแหล่ง เรี ย นรู ้ ท างพุ ท ธศาสนาที่ ดี ม ากๆ เพราะ ชาวพุ ท ธและเยาวชนจะสามารถเรี ย นรู ้ ประวัติของพระพุทธเจ้าจากสังเวชนียสถาน (จ�ำลอง) ได้อย่างน่าสนใจและไม่เบื่อหน่าย และการสร้างองค์พระโพธิสัตว์กวนอิมใน ปริมณฑลอุทยานพุทธภูมิแห่งนี้ เป็นการ เรี ย นรู ้ ถึ ง ความเชื่ อ ถื อ ทางพุ ท ธศาสนาที่ นิ ก ายแตกต่ า งกั น แต่ ห ลั ก ธรรมก็ ไ ปใน แนวทางเดียวกัน นับเป็นความโดดเด่นทาง ด้านการศึกษาประวัติ ผมอยากเล่ า เกร็ ด ความเป็ น มาของ การสร้างองค์โพธิสัตว์กวนอิมแห่งนี้โดยย่อ กล่าวคือกลุ่มนักธุรกิจชาวนครเชื้อสายจีน เห็นว่าอุทยานพุทธภูมิ อันเป็นที่ประดิษฐาน องค์พระพุทธสิรินครนาถ เฉลิมราชย์สัฏฐยานุสรณ์ ซึ่งทางเทศบาลฯ ได้สร้างขึ้นเพื่อ เฉลิมพระเกียรติในหลวงที่ทรงครองราชย์ ครบ ๖๐ ปี จึงได้ด�ำริที่จะสร้างองค์พระโพธิสั ต ว์ ก วนอิ ม ขึ้ น เพื่ อ ร่ ว มเฉลิ ม พระเกี ย รติ ด้วย และจะเป็นที่สักการะของชาวไทยเชื้อ สายจีนรวมทั้งผู้ที่นับถือ เมื่อได้รับอนุญาต จากคุ ณ สมนึ ก เกตุ ช าติ นายกเทศมนตรี เทศบาลนครนครศรีธรรมราชสมัยนั้น จึงได้ ตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ทั้งการหาทุน การจัดสร้างองค์พระ การออกแบบสถานที่ ฯลฯ โดยมีคุณสันติสุข อู่รังสิมาวงศ์ เป็น ประธาน ซึ่ ง พ่ อ ค้ า ประชาชนได้ ร ่ ว มกั น

บริจาคเงินรายใหญ่ๆ มากมายจนสามารถ ระดมทุนได้ส�ำเร็จ ส�ำหรับคณะกรรมการ ฝ่ายจัดสร้างองค์พระได้สรุปที่จะเลือกเป็น หินแกะสลักชิ้นเดียวขนาดใหญ่ที่ไม่เหมือน ที่อื่นที่มักจะเป็นงานปูนปั้น ซึ่งประธานฯ พร้ อ มด้ ว ยคุ ณ วิ ฑู ร ย์ อิ ส ระพิ ทั ก ษ์ กุ ล กรรมการชุดนี้ ได้เดินทางไปยังเมืองเซี่ยเหมิ น ประเทศจี น และไปต่ อ ยั ง ต� ำ บลที่ เป็ น แหล่ ง หิ น แกรนิ ต ชนิ ด ที่ เ หมาะสมกั บ การแกะสลักจนได้ตกลงจัดจ้างสร้างองค์ พระ แต่ เ มื่ อ ท� ำ เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยปรากฏว่ า ไม่ ส ามารถขนย้ า ยมายั ง ประเทศไทยได้ เพราะเรือเดินทะเลที่จะบรรทุกของที่ยาว ๙ เมตรไม่มี ต้องรอเรือที่มีขนาดใหญ่จาก ประเทศสิงคโปร์มารับ ท�ำให้ต้องใช้เวลา กว่าเดือนครึ่งจึงเดินทางมาถึง ณ สถานที่ ติดตั้ง และค่าใช้จ่ายสูงมาก นอกจากนี้ยังมี เกร็ดอื่นๆ ที่น่าตื่นเต้นเช่นการตั้งทิศมงคล เหตุการณ์ขณะยกองค์พระ เหตุอัศจรรย์ บางประการ ฯลฯ หากมีเวลาจะเล่าสู่กันฟัง ในโอกาสต่อไป ส�ำหรับสถานที่ประดิษฐานนี้ผมได้รับ มอบหมายให้ เ ป็ น ผู ้ อ อกแบบโดยก� ำ หนด ที่ดินปลายแหลมที่ยื่นเข้าไปในสระน�้ำขนาด ใหญ่ ด ้ า นหลั ง ของบริ เ วณอุ ท ยานพุ ท ธภู มิ ผมเห็ น ดอกบั ว ขึ้ น เต็ ม บริ เ วณนี้ ส วยงาม มาก ก็ เ ลยเสนอว่ า ที่ ดิ น ปลายแหลมนี้ น ่ า จะมีการขุดแต่งดินให้เป็นรูปเกาะวงกลม และตกแต่งสวนบนเกาะเป็นประเภทต้นไม้ ดั ด รู ป ทรงให้ เ หมื อ นกลี บ ดอกบั ว เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับฐานองค์พระที่เป็นหินสลักบัว คว�่ำบัวหงาย ผมเรียกของผมเองว่า “เกาะ บงกช” และเกาะนี้การเดินเชื่อมกับฝั่งจะ เดิ น ข้ า มสะพานคอนกรี ต ที่ มี หิ น แกะสลั ก

เป็นราวสะพาน ทั้งนี้เป็นการเพิ่มเรื่องราว ให้น่าสนใจยิ่งขึ้นและลดความพลุกพล่าน จากยานพาหนะ ส�ำหรับบนฝั่งตรงข้ามเกาะ นี้ผมเสนอให้สร้างเป็นชานคอนกรีตริมน�้ำ ยาวตลอดแนววางม้านั่งชมวิว และถ่ายภาพ เกาะบงกชได้มุมมองที่สวยงาม แนวคิดนี้ ได้รับการขานรับจากคณะกรรมการ และ คุณอาคม เหล่าธนถาวร วิศวกรของเทศ บาลฯ เป็นผู้ค�ำนวณออกแบบโครงสร้างจน เสร็จ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางประการ เนื่องจากการประดิษฐานองค์พระที่มีน�้ำหนักหลายสิบตันต้องใช้รถเครนยกหลาย ตัว ต้องอาศัยถนนเพื่อให้รถวิ่งเข้าไปยก องค์พระได้จึงยังไม่ได้ขุดเป็นเกาะ แต่เมื่อ งานติดตั้งเสร็จแล้วก็ยังไม่ได้ตัดดินออกให้ รูปร่างเป็นเกาะ และยังได้ราดยางแอสฟัลท์ เป็นถนนถาวร เลยไม่ได้สร้างสะพานและ ชานริมน�้ำ การที่ผมเล่าเกร็ดให้ทราบนี้เผื่อ ทางเทศบาลฯ อาจสนใจที่จะพัฒนาต่อตาม แนวคิดเดิม เพื่อให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว เชิงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่เหมือนที่อื่น โดยยังคง สิ่งแวดล้อมที่สวยงามและเป็นที่นั่งพักผ่อน ของประชาชนได้ อี ก บริ เ วณหนึ่ ง ส� ำ หรั บ ศาลาเอนกประสงค์ที่ออกแบบเป็นอาคาร ทรงจีนประยุกต์นั้น มุมมองของผมเห็นว่า สามารถใช้เป็นกิจกรรมทางพุทธศาสนาได้ ทุกนิกาย แต่ไม่ควรยึดท�ำเป็นศาลเจ้าที่ต้อง มีการจุดประทัดกันเป็นประจ�ำ เพราะขัด กับหลักการของสวนสาธารณะที่ต้ องการ ความสงบตามสมควร ฉบับนี้ขอเขย่าชาว เมื อ งให้ ตื่ น ขึ้ น มาช่ ว ยกั น คิ ด ในแง่ มุ ม ที่ ส่ ง เสริ ม หรื อ แตกต่ า งกั น ไปก็ ไ ด้ และขอ สะกิดกันเล็กๆ น้อยๆ ด้วยความปรารถนา ดีนะครับ


หน้า ๑๔

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

ตอนที่ ๒ จบ ขั้นตอนที่ ๖ การน�ำเสนอโครงงาน / เผยแพร่ /ประกวดโครงงาน การให้รางวัล เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เ รี ย นได้ น� ำ เสนอสิ่ ง ที่ ตนเองได้ศึกษาต่อสาธารณชน เป็นการสร้าง แรงจูงใจ และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจของ นั ก เรี ย นผู ้ ท� ำ โครงงาน โดยการน� ำ เสนอกั บ นักเรียนในโรงเรียนตนเอง ต่างโรงเรียน กลุ่ม ผู้ปกครองในชุมชน เป็นต้น ขั้นตอนที่ ๗ ส่งเสริมให้มีการน�ำความ รู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันเช่นโครงงานสุขศึกษามหัศจรรย์มะกรูด มีการผลิตเจลล้างมือ มะกรูด ยาสีฟันมะกรูด ยาสระผมมะกรูดใช้ ที่บ้านและที่โรงเรียน การปลูกผักปลอดสาร พิษ เพื่อใช้ในโครงการอาการกลางวันและน�ำ ไปบริโภคที่บ้าน เน้นการพึ่งพาตนเองตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โครงงานปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพจากใบไม้แห้งใน โรงเรียน นักเรียนชั้น ป.๖

ครูและนักเรียนน�ำเสนอผลงานโครงงาน คุณธรรมภาคสงฆ์ที่ ๑๖ จ.ชุมพร

โครงงานคุณธรรมดูแลผู้สูงวัยในชุมชน

โครงงานเข้าวัดท�ำบุญนักเรียนชั้น ป.๖

คุณครูประไพ ยินเจริญ กล่าวว่า “ดิฉัน เชื่อว่าเด็กคือผ้าขาว ที่รอเวลาให้ครูเอาสีมา แต่งแต้มสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งผ้าขาวพร้อมที่ จะเป็นอะไรได้มากมายที่สวยงาม จึงเชื่อว่าเด็ก พร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ หากครู ให้การจัดการเรียนรู้ที่จริงจังและจริงใจ ผู้เรียน จึงมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรัก การเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ใช้ เวลาว่างในการท�ำโครงงาน ผู้เรียนสามารถไป ค้นคว้าความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่มีอยู่ในบุคคลที่เป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีความสามารถในการ

คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ คิ ด ไตร่ ต รองและมี วิ สั ย ทั ศ น์ สามารถที่ จ ะเขี ย นรายงาน และ มั่นใจในการน�ำเสนอโครงงานได้เป็นอย่างดี” โรงเรียนบ้านล�ำคลองได้รับเหรียญทองโครง งานสุขศึกษา ระดับชาติ ในงานศิลปหัตกรรม นั ก เรี ย น ในปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๓ และปีก าร ศึกษา ๒๕๕๔ ได้รับรางวัลเหรียญทองโครง งานคุณธรรมระดับภาคใต้จังหวัดตรังในปีการ ศึกษา ๒๕๕๓ และ ได้รับรางวัลเหรียญทอง โครงงานคุ ณ ธรรมระดั บ ชั้ น ป.๑-๓, ป. ๔-๖ ระดั บ ภาคใต้ จั ง หวั ด ชุ ม พร ในปี ก าร ศึ ก ษา ๒๕๕๔ ได้ รั บรางวั ล เหรี ยญเงิน การ

โครงงานปุ๋ยดีจากเศษอาหารกลางวัน

เผยแพร่ผลงานสู่ชุมชน

ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน

ผ่

แข่ ง ขั น โครงงานในระดั บ เขตพื้ น ที่ ในปี ก าร ศึกษา ๒๕๕๔ ได้รับรางวัลโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ เด็กไทยท�ำดีถวายในหลวง ระดับชั้น ป.๑-๓ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๔ จากสพป. นศ.๓ ได้รับเงินรางวัล ๕,๐๐๐ บาท ได้รับรางวัลโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ เด็กไทยท�ำดีถวายในหลวง ระดับชั้น ป.๔-๖ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๔ จากสพป. นศ.๓ ได้รับเงินรางวัล ๕,๐๐๐ บาท และได้รับรางวัล เหรี ย ญทองโครงงานสุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ชั้ น ป.๑-๖ โครงงานคุ ณ ธรรม ชั้ น ป.๑-๓ ในมหกรรมวิ ช าการ เปิ ด โลกการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐาน ครั้ง ๘ ของส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ ปั จ จั ย สนั บ สนุ น ในการจั ด การเรี ย นรู ้ แบบโครงงานใหเประสบผลส�ำเร็จ ดังนี้ - นักเรียนต้องมีกระบวนการท�ำงานเป็น ทีม มีความรับผิดชอบ และเสียสละเวลา - ครูที่ปรึกษาต้องให้การดูแล ค�ำแนะน�ำ ก�ำลังใจ และการให้รางวัลนับว่าเป็นยาบ�ำรุง ก�ำลัง กระตุ้นให้นักเรียนท�ำงานด้วยความุ่งมั่น ตั้งใจ - ชุมชนให้ความร่วมมือในด้านการเป็น วิยากร การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น

านมาแล้ ว สองครั้ ง กั บ ค่ า ยวิ ท ยาศาสตร์ ส� ำ หรั บ ครอบครั ว ใน บรรยากาศอบอวลไปด้วยความน่ารักของเด็กๆ และความอบอุ่น ของครอบครัวที่พร้อมเรียนรู้ในธรรมชาติไปพร้อมๆ กัน เหตุ เ พราะธรรมชาติ เ ป็ น ต้ น ทางของวิ ท ยาศาสตร์ ธรรมชาติ มี เหตุ แ ละผลที่ จ ะเกิ ด เสมอ เราได้ สังเกตท้องฟ้า เห็นความแตกต่างของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ ฝึกฟังเสียง จังหวะธรรมชาติที่เหมือนดนตรีต่างโทน สูดกลิ่นธรรมชาติอันบริสุทธิ์ เฝ้ามองหลายชีวิตที่เริงร่าในธรรมชาติ เห็นธรรมชาติวิถีชีวิตของผู้คน และที่ส�ำคัญเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างไม่เดือดเนื้อร้อนใจ เราสั่งสมความเข้มแข็งที่อ่อนโยนให้แก่ต้นกล้าน้อยๆ ของเราได้เติบโต และปรับตัวได้ในทุกสภาวะ... ยังไม่นับรวมอีกหลายๆ กิจกรรมที่ทีมงานได้เตรียมการไว้ ท�ำ ของเล่นด้วยกัน ทั้งของเล่นวิทยาศาสตร์ และของเล่นพื้นบ้านจาก ลูกไม้เล็กๆ ที่สอดแทรกหลักการวิทยาศาสตร์ ท�ำความรู้จักกับมังคุด.. แน่นอนเราได้เห็นและสัมผัสตั้งแต่ดอก ลูกอ่อน ลูกสุก และได้เก็บเอง สดๆ จากต้นกันเลย ก็เรานอนในบ้านชาวสวนผลไม้นี่นะ..จะไปยาก อะไร มาเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากขนมไทยกันด้วย จะได้รู้ว่าสีธรรมชาติ ที่ใช้ผสมอาหารแต่เก่าก่อนเราใช้อะไร ท�ำอย่างไร ฝึกกล้ามเนื้อมัด


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

อาจารย์แก้ว

ตอนที่ ๑

ปั

จจุบันการรับชมโทรทัศน์บ้านเรามีสิ่ง ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ไม่ว่าจะเป็น สถานีให้บริการ และช่องรายการที่เกิดขึ้น มากมาย สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดคืออุปกรณ์รับ สัญญาณของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ ว คื อ แต่ เ ดิ ม เราใช้ เ สาอากาศแบบ ก้ า งปลาที่ ติ ด ตั้ ง ไว้ ที่ สู ง ๆ เช่ น บนหลั ง คา บ้ า น หรื อ รู ป แบบของหนวดกุ ้ ง ที่ ติ ด ตั้ ง ใกล้ๆ กับโทรทัศน์ ปัจจุบันอุปกรณ์เหล่านี้ แทบจะหายไปจากตลาดเพราะการเข้ามา ของที วี ด าวเที ย ม และการรั บ สั ญ ญาณ ด้ ว ยจานดาวเที ย มซึ่ ง มี ใ ห้ บ ริ ก ารด้ ว ยกั น หลายราย ทั้งจานด�ำ จานสี จานเล็ก จาน ใหญ่ ซึ่งหลักๆ แล้วแบ่งเป็น ๒ แบบ คือ จานดาวเทียมที่รับสัญญาณในย่านความถี่ C-Band (จานด� ำ ใหญ่ ) และ Ku-Band (จานเล็ ก สี ต ่ า งๆ) ซึ่ ง การรั บ ชมสั ญ ญาณ โทรทั ศ น์ ด ้ ว ยจานดาวเที ย มจะมี ข ้ อ ดี ใ น เรื่ อ งของสั ญ ญาณครอบคลุ ม กว้ า งไกล มี ช่ อ งสั ญ ญาณมาก ซึ่ ง ต่ า งจากแบบเสา อากาศที่ติดปัญหาเรื่องพื้นที่รับสัญญาณที่ อยู่ไกลจากสถานีส่ง ท�ำให้การส่งสัญญาณ ไม่ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ บางพื้นที่อับ สัญ ญาณ และช่ อ งสั ญ ญาณก็ มี น ้ อ ย จากปั ญ หา

เล็กด้วยการปั้นลูกบัวลอย ทีนี้ก็มาเรียนรู้ ว่า ท�ำไมบัวลอยถึงลอยได้? ส่วนอาหารมื้อ หลักๆ ก็แน่นอนว่า เราได้ลิ้มรสอาหารพื้น บ้านของชาวพรหมคีรี ค�่ำคืน ฟ้าเปิด เราใช้ท้องฟ้าจริงเป็น กระดานดาว เรียนรู้เรื่องกลุ่มดาว หลับใหล ไปในบรรยากาศบ้านสวน รุ่งเช้าไปฝึกฝน จิ นตนาการกั น จากใบไม้ ห นึ่ ง ใบ ก้ อ นหิ น หนึ่ ง ก้ อ น จากนั้ น กิ จ กรรมเส้ น สายลาย เที ย นก็ ป ลดปล่ อ ยจิ น ตนาการนั้ น ให้ เ ป็ น ผลงานอั น น่ า ภาคภู มิ ใ จของตั ว เอง..เป็ น งานวิทย์และศิลป์ที่แสนจะลงตัว ยามสาย พากันลงคลองใสๆ ไปส�ำรวจตัวอ่อนสัตว์

ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ติ ด ตั้ ง จานดาวเที ย ม และสถานีให้บริการทีวีดาวเทียมตลอดจนผู้ ผลิตรายการผ่านดาวเทียมเกิดขึ้นมากมาย ก่อให้เกิดรายได้ (หลักๆ จากค่าโฆษณา) มากมายมหาศาลในธุ ร กิ จ เหล่ า นี้ บริ ษั ท ยั ก ษ์ ใ หญ่ ที่ เ รารู ้ จั ก คุ ้ น เคยเช่ น อาร์ เ อส โปรโมชั่น, แกรมมี่, เวิร์คพ้อยท์ ฯลฯ ต่าง เข้ามาจับธุรกิจด้านนี้เช่นเดียวกัน แต่สิ่ง ที่เกิดปัญหากับผู้บริโภคอย่างเราในช่วงปี ที่ผ่านมานี้คือบางช่วงเวลาท�ำไมถึงเกิดจอ ด� ำ กั บ โทรทั ศ น์ ข องเรา ช่ ว งแรกๆ ที่ เ กิ ด ปัญหาเราๆ ทั้งหลายคิดว่าจะมีการปฏิวัติ รัฐประหารขึ้นเสียอีก แต่พอเกิดขึ้นบ่อยๆ และมี ก ารแจ้ ง ให้ ช าวบ้ า นทราบผ่ า นข้ อ ความที่ ป รากฏหน้ า จอหรื อ ผ่ า นสื่ อ ต่ า งๆ ท�ำให้ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริง วันนี้ผมจะให้ ความกระจ่างกับท่านว่า “จอด�ำ” เกิดขึ้น ได้อย่างไร และจะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรครับ

นครศรีธรรมราช

การรับสัญญาณโทรทัศน์ปัจจุบันมี ด้วยกัน ๒ รูปแบบ คือ ๑. ภาคพื้ นดิน หลักการคือสถานี ส่งสัญญาณท�ำการส่งสัญญาณจากเสาส่ง สั ญ ญาณไปยั ง เสารั บ สั ญ ญาณตามบ้ า น เรือนแล้วเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องรับโทรทัศน์ แต่ละช่องสัญญาณก็จะมีความถี่ที่ต่างกัน ผู้รับชมก็ต้องจูนหาความถี่ช่องสถานีต่างๆ ที่ เ ครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น์ เ อาเอง ข้ อ เสี ย ของ ระบบนี้มีดังนี้

หน้า ๑๕

๑) การส่งสัญญาณจากสถานีส่งสัญญาณมีข้อจ�ำกัดเรื่องระยะทางเพราะพื้นที่ ห่างไกลจะไม่สามารถรับสัญญาณได้ ๒) การให้บริการไม่ครอบคลุมพื้นที่ ทั้งหมดเพราะผู้ให้บริการต้องสร้างสถานีส่ง สั ญ ญาณ,สถานี ท วนสั ญ ญาณและสถานี รับสัญญาณในพื้นที่ชุมชนใหญ่ๆ ก่อนเพื่อ ผลประโยชน์ทางธุรกิจ พื้นที่ห่างไกลจาก เสาส่ ง สั ญ ญาณจึ ง ไม่ ส ามารถรั บ ชมสั ญ ญาณโทรทัศน์ได้ ๓) ช่องสัญญาณมีน้อย อาจจะเป็น เพราะข้ อ จ� ำ กั ด เรื่ อ งช่ ว งของความถี่ ข อง การส่งสัญญาณหรือการลงทุนที่ต้องใช้เงิน ทุนมหาศาลในการสร้างสถานีต้องใช้เวลา นานกว่าจะถึงจุดคุ้มทุนของบรรดานายทุน ทั้ ง หลาย เราจึ ง เห็ น ช่ อ งสั ญ ญาณ แค่ ช่อง ๓ , ๕ , ๗ , ๙ และ ๑๑ ๒. ดาวเที ย ม หลั ก การคื อ สถานี ส ่ ง สั ญ ญาณส่ ง สั ญ ญาณจากภาคพื้ น ดิ น ขึ้ น สู ่ ดาวเที ย มในห้ ว งอวกาศแล้ ว ส่ ง สั ญ ญาณ กลั บ มายั ง อุ ป กรณ์ รั บ สั ญ ญาณ (จาน ดาวเที ย ม) บนพื้ น ดิ น แล้ ว เชื่ อ มต่ อ กั บ เครื่ อ งรั บ สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ โ ดยต่ อ ผ่ า น กล่ อ งรั บ สั ญ ญาณ (Receiver Box) ซึ่ ง วิธีการนี้สามารถแก้ปัญญาเรื่องระยะทาง พื้นที่บริการ และจ�ำนวนช่องสัญญาณที่มี มากมายหลายร้อยช่องในปัจจุบัน (อ่านต่อฉบับหน้า)

เล็ ก น�้ ำ จื ด กั น ให้ มั่ น ใจในความใสสะอาด บริ สุ ท ธิ์ ข องสายน�้ ำ ก่ อ นตั ด สิ น ใจลงไป แหวกว่าย...และกิจกรรมสุดท้ายทุกคนได้ บทเรียนส�ำคัญจากดินนั่นเอง Family Science Camp มีก�ำหนด จัดอย่างต่อเนื่องในปี ๒๕๕๖ นี้ โดยครั้ง ที่ ๓ จะจัดขึ้นในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ ๒-๓ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ ครั้ ง ที่ ๔ จะจั ด ขึ้ น ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ ที่ ๔-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และครั้ ง ที่ ๕ จะจั ด ขึ้ น ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ ที่ ๓-๔ สิ ง หาคม ๒๕๕๖ ทุ ก ครอบครั ว สามารถเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ท่ อ งเที่ ย วเรี ย นรู ้ ใ นรู ป แบบครอบครั ว นี้ ได้ ค รอบครั ว ละไม่ เ กิ น ๔ คน โดยต้ อ ง มีเด็กอายุระหว่าง ๓-๙ ปี อย่างน้อย ๑ คน รับสมัครเพียงครั้งละ ๒๐ ครอบครัว เท่านั้น สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.nakhonsci.com แล้วพบกันที่ Family Science Camp ณ ศูนย์วิทย์เมืองคอนค่ะ

เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ วันอาทิตย์ที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๒ วันอาทิตย์ที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๒ วันจันทร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๓ วันจันทร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๓ ตรงกับวันมาฆบูชา


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

นป่าเราตืน่ เช้าเสมอ เพราะส�ำหรับพราน ป่าเสียงแมลงบางชนิดบ่งบอกว่าอรุณรุ่ง มาเยือนแล้ว กิจกรรมของนักเรียนยามเช้าก็ด�ำเนิน ไปตามวิถปี า่ ก่อไฟ หุงข้าวปลาอาหาร เก็บ สัมภาระ “เอาล่ะ มื้อแรกของวันโดยปกติ เรา ต้องข้าวตั้งปลาก่อน” เช้านี้ เราจัดการเก็บ สัมภาระพร้อมจะเดินทางต่อเสร็จแล้วไป

บางส่วน ข้าวที่เหลือเมื่อคืนมาท�ำข้าวผัด ขมิน้ พริกไทย ข้าวหม้อใหม่ถกู หุงขึน้ เพือ่ เป็น เสบียงมือ้ เทีย่ ง “....นี่ ไปเอาใบไม้มาหนึ่งใบ ขนาด ไหนก็ได้ ...นีเ่ อาข้าวใหม่นะ ใส่ไปนิดหนึง่ ... อาหารปรุงใหม่ ของเก่าไม่เอานะ ...อ่ามัน ไม่ควร ใส่ไปอย่างละนิดอย่างละหน่อย แล้ว ใครก็ได้ไปหาที่วางไป๊..” นี่คือส่วนหนึ่งของ พิธกี รรมทีเ่ รียกว่า ขอสมาเจ้าป่าเจ้าเขา “อ่ า วางตรงไหนพี่ แล้ ว ต้ อ งพู ด อย่างไรพี่ เอ่อ มีคาถามัย้ ” มิลล์รบั อาสา แต่ ก็ยงั คงท�ำหน้างงๆ ตืน่ ๆ “ไม่ ต ้ อ งหรอก คาถงคาถาอะไรกั น ...พูดบอกอย่างที่เราพูดๆ เนี่ยแหละ ในใจ ก็ได้ ประมาณขอให้...โชคดีๆ ขออภัยหาก ล่ ว งเกิ น สิ่ ง ใด...แล้ ว หาต้ น ไม้ ใ หญ่ สุ ด ใกล้

แค้มป์เนีย่ แหละ วางไว้โคนต้น เจ้าป่าเจ้าเขา เขารู้แหละ คาถาไรกัน หึๆ” บางอย่างผม ก็ไม่อยากสอนให้ใครมากพิธี เราเพียงใช้จิต บริสุทธิ์สื่อสารกันเท่านั้น ก็เป็นอันเสร็จพิธี ที่ไม่ต้องมีรีตองอะไรมากมาย หลังทานข้าว เสร็จเราเก็บฟลายชีตเป็นอันดับสุดท้ายแล้ว ออกเดินทางกันต่อ เหตุผลที่เก็บฟลายชีท หรือผ้าใบหลังคา นี่เผื่อส�ำหรับกรณีฝนตก เก็บท้ายสุดเพือ่ ยังต้องใช้หลบฝน “ดูเหมือนเพื่อนเราจะไปทางเดียวกัน นะ ดูนั่นรอย หักกิ่งไม้บอกทางถี่ยิบอีกเช่น เคย ...นีๆ่ ว่าแล้ว น่าจะมีคนแปลกหน้า หรือ มือใหม่มาด้วย ดูดิ !!! กล่องนมไวตามิล้ ค์ นี่ มันแถมในรถทัวร์นี่นา” ของหลักฐานการ ผ่านไปของพรานนิรนามยังคงฟ้องตัวมันเอง

ไปตลอดทาง และซ�้ำรอยกับเราชนิดที่หลง วน หลงหาเส้นทางในอารมณ์เดียวกันตลอด “หนอย มันฟันตรงนี้ ลงไปนั่น แต่ พอดีว่าทิศมันเบี่ยงผิด มันก็ย้อนกลับ และ ตัดขึ้นเนินนี่ ...มันจ�ำทางไม่ได้เหมือนๆ กะ เรานั่นแหละ ...เขาคงพยายามเข้าเขาวงกต เหมือนเรา” ผมคาดคะเน “เขาวงกตเนี่ยประมาณไหนพี่” มิลล์ ซึ่งเดินคู่เป็นบัดดี้กับผมมาตลอด เริ่มสงสัย เป้าหมายวันนี้ “คื อ ....มั น เป็ น ที่ ร าบแอ่ ง กระทะ ที่ มีรอบซ้อนกันเป็นชั้นๆ หลายชั้นมาก เมื่อ เย็นวานเราอยู่บนขอบนอกสุด แต่ขณะนี้ เราหลุดเข้ามาอยู่กลางๆ ความจริงถ้าจะให้ ถูกเราต้องเข้าที่ประตูใหญ่ คือมันมีช่องผา

น�ำ้ ตกหนึง่ เรียกว่า...ประตูหนิ ขาว เป็นภูเขา หินตั้งๆ สองลูก ทีแรกพี่กะหาทางไปนั่นนะ แต่ว่า ...หมอนี่มันดันพาเราหลุดเข้ามาด้าน ในซะแล้ว” ผมหมายถึงรอยพรานนิรนามที่ เดินตามตลอดเช้านี้ “....หากเราไม่เข้าให้ตรงประตู และ มุดเข้าทางหน้าต่างแบบนี้ เท่ากับเราไม่รู้ว่า เราอยู่ส่วนไหนของบ้าน แถมบ้านหลังนี้ มี รางขนมครก นัน่ ไง เนินเล็กๆ นับร้อยๆ เนิน นั้น มันขวางอยู่เป็นชั้นๆ ก่อนเราจะถึงชั้น ในสุด ถ้าเลือกทางไม่ดี มีหวังเราต้องปีนๆ มุดๆ ขึน้ ๆ ลงๆ ร้อยเนินนีจ่ นหมด ก็ไม่แน่ใจ ว่าจะออกไปได้รเึ ปล่า” “แล้วทิศที่เราจะไปมันอยู่ทางนี้ใช่ม๊ะ ...ตะวันตก” มิลล์พยายามช่วยเต็มที่ “ใช่ๆ... น้อง แต่หากไม่มีเทรล เรา ก็ต้องดิ่งลงถึงน�้ำ และดิ่งขึ้นสุดสัน และดิ่ง ขึ้นๆ ลง อยู่แบบนี้แหละ” จนแล้วจนรอด การเลือกตามรอยคน มากกว่าตามรอยช้าง ของผม ก็เป็นการเลือกทีผ่ ดิ อีกเช่นเคย “เอ้ย นี่ๆ ดูหมอนี่มันหลงเหมือนเรา จริงๆ” รอยมันฟ้องชัด หลังจากผมจ�ำต้อง ลองของแบบมุ ด มั่ ว ๆ ไปทุ ก หุ บ ทุ ก สั น ก็ พบว่า พรานนิรนามเลือกทางผิด เช่นเดียว กับเรา “หนอย ตรูวา่ รอยมันหายไปไหนตอน แรก ทีแ่ ท้ ก็งมโข่งเหมือนกัน เชอะ” “....เอ้ย เอ็กซ์แบบนีไ่ ม่ไหวว่ะ พีด่ เู ส้น ทางมันจะวนกลับไปเริ่มต้นใหม่ที่เดิมนะ นี่ แหละฤทธิ์เดชเขาวงกต ไปตามด่านช้างดี กว่า หารอยมันให้เจอ ตามมันไปทุกก้าว อ้ อ มหน่ อ ยแต่ มั น ก็ ต ้ อ งเข้ า เขาวงกตและ ขึ้นสันเย็นแน่ๆ” ผมเปลี่ยนเนวิเกเตอร์ตัว ใหม่ หลังเนฯตัวแรก พาเราขึ้นๆ ลงๆ เนิน ขนมครกตัง้ แต่เช้าถึงเทีย่ ง ได้เส้นทางไม่เกิน หนึง่ กม. “นี่ๆ รอยเช้ามันอ้อมไปไปใต้ก่อนพี่ แล้วนัน่ มันวนใต้เนินไปเหนือ อ๋อ นัน่ ไง มี สันต่อเป็นร่องตลอดเลย มันเชื่อมกันทุก เนิน” นี่แหละเขาวงกต รูปทรงเหมือนไพ่ ดอกจิก เราต้องเดินจนเกือบครบรอบเนิน ถึงจะเจอทางเชื่อมไปอีกเนิน แต่ถ้าเลือกตัด ลงหุบ มันก็จะต้องตัดขึ้นสุดอีกเนินหนึ่ง ซึ่ง มันยากกว่าเดินอ้อมมากนัก “เอ้อ ...ตรูวา่ แล้ว งีท้ กุ ที เราต้องบ่าย ไปตามสันทีเ่ บนตะวันตก นีไ่ ปเรือ่ ย หากสัน จะเปลี่ยน รอยช้างก็จะเปลี่ยนข้ามเนินเช่น กัน” ทัง้ มิลล์ทงั้ ต๊อบและเอ็กซ์ ดูเหมือนเพิง่ จะเข้าใจในสถานการณ์ขณะนี้ “นั่นไงพี่บอย ผมจ�ำได้ เนินแหลมๆ นั้นไงที่เราดูจากเมื่อเย็นวาน แล้วพี่บอกว่า ล�ำธารใหญ่อยู่ใต้นั้น...มันอยู่ข้างล่างนี่แน่ๆ” บางครั้ ง การจดจ� ำ รู ป พรรณสั ณ ฐานภู เ ขา ก็นำ� มาใช้ประโยชน์ในยามแบบนี้ “อืม ต๊อบกะมิลล์ได้ยินมั๊ย นั่นเสียง น�้ำ...มันดังซู่ๆ แต่สม�่ำเสมอ นั่นแหละๆ น�้ำ ใหญ่ แต่นเี่ ราน่าจะเดินเลยประตูหนิ ขาวเข้า


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

มาไกลแล้ว ถ้ามาทางประตูจะง่ายกว่านีเ้ ยอะ เอ้า ดิง่ ลงไปเลย” ในที่สุดเราก็หลุดเข้าถึงใจกลางชั้นใน สุดของเขาวงกตจนได้ แม้มาแบบเดาสุ่ม แต่ การเดามันก็ต้องมีพื้นฐานกันบ้าง ไม่งั้นเรา ก็จะหลงวนไปวนมาจนหมดแรง “เอ้า...บ๊ะ นี่แค่ห้วยเล็กๆ เอง น�้ำใหญ่ อยู ่ ห ลั ง เนิ น นี่ อี ก ที ” นี่ ยิ่ ง เป็ น หลั ก ฐานถึ ง ภูมิประเทศเขาวงกตอย่างชัดเจนอีกที เรา ได้ยินเสียงน�้ำใหญ่อยู่หยกๆ ลงมาจากยอด เนิ น เจอแต่ ห ้ ว ยเล็ ก ๆ แถมยั ง มี เ นิ น เล็ ก ๆ ขวางอยูอ่ กี ที “ข้ามเนินนี้อีกทีแล้วกัน น่าจะไม่พลาด แล้ว” ล� ำ ธารเล็ ก ๆ ในทุ ก ร่ อ งหุ บ ของเนิ น ตารางหมากรุกนี้ ต่างไหลมารวมกันที่ล�ำธาร ใหญ่สายนี้ ผมพาพวกเขามาโผล่เอาตอนล่าง ของเป้าหมายไปนิดหน่อย จึงจ�ำเป็นเดินทวน สายน�ำ้ ขึน้ ไป ความจริงแล้ว...หลักของการเดินป่าที่ ถูก เราต้องตัดขึน้ เดินบนสันเขา ไปตามเทรล ที่สัตว์ป่าใช้ร่วมกันอยู่แล้ว การตัดสินใจเดิน ตามน�้ำ ตัดขึ้นลงหุบเพื่อย่นระยะ นี่ถือเป็น วิธที แี่ ย่ทสี่ ดุ ช้าสุด และเสีย่ งอันตรายมากสุด หลังจากกระโดดก้อนหินไปมาอยู่พัก ใหญ่ ในที่สุดเราก็ตรงลงลุยน�้ำ และบางครั้ง เราก็เลือกตัดเข้าป่า แล้ววกลงที่ต้นล�ำธาร ข้างหน้าเพื่อย่นระยะ และง่ายกว่าเดินตาม ล�ำธารมาก และแล้ว เราก็ถงึ เป้าหมายแค้มป์ ทีส่ อง ....หาดมะเดือ่ แห่งเขาวงกต มันเป็นจุดแค้มป์ท.ี่ ..สวยมาก หาดทรายขาวเนียน ล�ำธารไหลอ้อยอิ่ง ซอกซอน ท�ำใจนิง่ ๆ ...วางสัมภาระ เดินทอดน่อง เท้าเปล่าเปลือย นัง่ ลงลานทราย... กลิน่ ล�ำธารไหลเอือ่ ยตามลมสาย กาแฟสั กแก้ ว ...ตอนบ่ายๆ เช่นนี้... เต็ม !

ดอยสูงอันดับสี่แห่งแดนใต้ ความหลากหลายแห่งธรรมชาติ บ่อเกิดแหล่งอาหารเลี้ยงดูผู้คนมหาศาล เส้นทางผ่านสู่หุบเขากรุงชิงที่เคยยิ่งใหญ่ในโบราณกาล ?

เขานัน....โลกเร้นลับของเมืองคอน ที่ยังคงยืนตระหง่านค�้ำฟ้ารอผู้คนค้นหา


หน้า ๑๘

นภสร มีบุญ

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

อ ลั่ลล้า มากับความคิดถึงในฉบับต้อนรับปีมะเส็ง .. อากาศดีๆ อย่างนี้ขอพา ขึ้ น รถไปไกลหน่ อ ย หลบหนี พื้ น ที่ ค วาม วุ ่ น วายของอ� ำ เภอเมื อ งกั น ซั ก เล็ ก น้ อ ย .. เหยี ย บคั น เร่ ง กั น แบบสบายๆ ไปยั ง เป้ า หมาย ตามหาสายลมและกลิ่ น ไอทะเลที่ ห่างหายมาหลายฉบับ กับแหล่งท่องเที่ยว ที่ ยั ง คงมี พ ร้ อ มต้ อ นรั บ อี ก มากมายใน

สไตล์ของ นครศรีดี๊ดี กับอ�ำเภอที่แสนจะ บรรยากาศดี อ�ำเภอขนอมค่ะ ภาพที่มาถึง กับสิ่งที่มองเห็นจากความเปลี่ยนแปลงใน บรรยากาศของการท่องเที่ยว คือ ภาพของ รีสอร์ทใหญ่น้อย ที่ผุดขึ้นในหลายๆ พื้นที่ ของอ�ำเภอขนอม ไม่ว่าจะเป็นบรรยากาศ ติดริมทะเล หรือไม่ติดริมทะเลก็ดี เสมือน ค�ำตอบที่บอกกับเราว่า “ขนอม” ในวันนี้ ไม่ได้เงียบและเหงาเหมือนก่อนแล้ว อ�ำเภอ ขนอมในปั จ จุ บั น เริ่ ม เป็ น ที่ ก ล่ า วขวั ญ ถึ ง ความสวยงามและธรรมชาติที่ยังคงสมบูรณ์ นั่นเป็นสิ่งหนึ่งที่ยืนยันได้จากปากค�ำและ การบอกกล่าวของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย << บรรยากาศ Ample Moon Party หาดหน้าด่าน

และชาวต่างประเทศที่มาเยือน ..นอกจาก นั้นความสงบของสถานที่แห่งนี้ยังคงเป็น เสน่ห์ที่ยังไร้ซึ่งการปรุงแต่งของธรรมชาติ อันเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ท�ำให้คนมาเยือน หลงใหลในทะเลขนอม ขั บ รถเลยไปจน

เกือบจะสุดทางด้านหาดในเพลา ..จะพบ กับอีกหนึ่งสถานที่อันสวยงาม ของโรงแรม ราชาคี รี รี ส อร์ ท แอนด์ สปา โรงแรม ที่ เ หมื อ นจะเป็ น อดี ต ของความทรงจ� ำ ที่ สดสวย ..ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ใ นอดี ต เคยเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ใ นกลุ ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ชื่ น ชอบท้ อ งทะเล สี ค รามในนาม “ขนาบน�้ ำ รีสอร์ท” และหลังจากนั้น ก็ ม าปรั บ ปรุ ง แล้ ว เปลี่ ย น ชื่อเป็น “ราชาคีรี รีสอร์ท แอนด์ สปา” กั บ เจ้ า ของ ธุรกิจในวัยหนุ่มสาว ที่ผ่าน มาโรงแรมแห่ ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ เ ป็ น อย่ า งสู ง จาก การเสด็ จ มาเปิ ด โรงแรม อย่างเป็นทางการในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ลู ก ค้ า ของโรงแรม ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วและลู ก ค้ า จากต่ า ง พื้ น ที่ .. ภายในโรงแรม ตกแต่งสวยหรู แบบโคโลเนี ย ล (Colonial Style)

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

Pork Fillet Mignon

ซึ่ ง ได้ รั บ ความนิ ย มในสมั ย รั ช กาลที่ ๕-๖ ความโดดเด่ น ในเรื่ อ งของสถาปั ต ยกรรม ตัวอาคาร และพื้นที่ตั้งบนเนินเขาท�ำให้ได้ เปรียบในเรื่องของการมองเห็นทัศนียภาพ ของหาดขนอมได้สวยงาม อีกทั้งมองเห็น ท้องฟ้าและท้องทะเลสีครามได้กว้างไกล สุดสายตาห้องพักซีวิวที่มีระเบียง, ห้องพัก แบบวิลล่า จึงขายดีและเป็นที่ชื่นชอบของ ลูกค้า นอกจากห้องพัก สระว่ายน�้ำอันร่มรื่นภายในบริเวณโรงแรมก็ยังเป็นสถานที่ โปรดของเด็กๆ เช่นกัน ..ในปัจจุบันจะมี กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ห ่ ว งใยและใส่ ใ จในเรื่ อ งของ สุขภาพ ดังนั้น ราชาวดี สปา ของโรงแรม จึงเป็นอีกหนึ่งความสนใจของลูกค้าที่เดิน ทางมาพักผ่อน แพคเกจที่ได้รับความนิยม สู ง มี ห ลายแพคเกจที่ ข อพู ด ถึ ง แพคเกจ

ย�ำทะเลทอด

สวี ท ฮั น นี มู น ซึ่ ง ใช้ เ วลาประมาณสาม ชั่วโมงครึ่งถึงสี่ชั่วโมง ส�ำหรับการคืนสภาพ ผิวให้กับผู้เข้าใช้บริการ นอกจากจะผ่อน คลายแล้วยังคืนความสวยใสกลับมาอีกด้วย ได้ความงามได้ความสุขกันไปแล้ว .. ถึงเวลา มาอิ่มท้องกับเมนูอาหารรสเด็ดของเชฟใน วันนี้แล้วค่ะ เริ่มต้นกันด้วยน�้ำผลไม้ก่อน อาหารหลักครึ่งชั่วโมง เพื่อล้างสารพิษใน

ร่างกาย ตามด้วยเมนูอาหารเลื่องชื่อที่ได้รับ ความนิยมเสมอ ..ฟิเลมิยองสเต็กหมู Pork Fillet Mignon หอม อร่อยแบบอิ่มสุดๆ กั น ไปเลยค่ ะ ตามมาด้ ว ยอี ก ซั ก เมนู ย� ำ ทะเลทอดค่ะ มาถึงทะเลถ้าไม่ทานอาหาร ทะเลเดี๋ยวก็เกรงว่าจะเสียรสชาติ ปิดท้าย กั บ ผลไม้ ส ดๆ อี ก ซั ก หนึ่ ง จานก็ อิ่ ม แปล้ แล้ ว ค่ ะ แว๊ บ ไปอาบน�้ ำ แช่ ตั ว ในอ่ า งใหญ่ แสนสบาย แล้วก็แอบไปนอนพักซักงีบกับ ที่นอนแสนนุ่ม ห้องนอนสวยหรู ..แล้วพรุ่ง

หน้า ๑๙

นี้เราก็จะเจอกับบุฟเฟ่ต์อาหารเช้าแบบจัด เต็ม ซึ่งสามารถเลือกรับประทานอาหารได้ ตามใจชอบ อิ่มขนาดนี้แล้ว เช้าๆ ของวันนี้ เราเตรียมตัวล้อหมุนไปเก็บภาพสวยๆ และ ลงเรือไปท่องเที่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวใน หาดขนอมและล่องเรือเที่ยวชม ความงาม ของท้ อ งทะเลหมู ่ เ กาะทะเลใต้ , ชมโลมา สีชมพู, กราบนมัสการหลวงปู่ทวดเหยียบ น�้ำทะเลจืดกลางทะเล, เขาหินพับผ้า รวม ไปถึงกิจกรรม Ample Moon Party ที่ จัดกันทุกวันแรมหนึ่งค�่ำของทุกเดือน ฯลฯ เรียกว่าทั้งอิ่มท้อง สุขกาย สบายตา และ อิ่มใจในความสุขสดใสกับทัศนียภาพความ งดงามของทะเลขนอม .. ขนอมดี๊ดี จริง ๆ นะคะ

ขอขอบคุณ : โรงแรมราชาคีรี รีสอร์ท แอนด์สปา คุณสุมาลี ผู้จัดการโรงแรม และน้องๆ พนักงานบริการที่น่ารักทุกท่านค่ะ พิเศษ! : ฉบับนี้กับส่วนลด ๑๐% ของการเข้าใช้บริการในทุกส่วนบริการ ที่โรงแรมราชาคีรี รีสอร์ท แอนด์ สปา (เพียงท่านแสดง นสพ. รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖) ส�ำรองที่พัก : http://www.rachakiri.com ที่อยู่ : ราชาคีรี รีสอร์ท แอนด์ สปา (Racha Kiri Resort and Spa) หาดในเพลา ๙๙ ถ.ในเพลา ท้องหยี จ.นครศรีธรรมราช ๘๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐๘๖-๔๗๙-๒๔๙๑, ๖๖-(๐)-๗๕๓๐ ๐๒๔๕ โทรสาร ๖๖-(๐)-๗๕๓๐-๐๒๙๕ E-mail : sales@rachakiri.com


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.