แกะรอย...คนแกะไม้
เส้นทางการเดินทางตามหาเรือ่ งราวของเส้นสายและลายไม้แห่งล้านนาตะวันตก หนังสือนำ�เทีย่ วเส้นทางท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ด้านวิถวี ฒ ั นธรรม ด้านฝีมอื ช่าง แกะสลักไม้ ๔ หมูบ่ า้ น อัตลักษณ์วฒ ั นธรรมล้านนาตะวันตก บ้านหลุก | บ้านหนองยางฟ้า | บ้านกิว่ แลน้อย | อำ�เภอสบเมย ลำ�ปาง ลำ�พูน เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน
คำ�นำ� มรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต วิถวี ฒั นธรรมอันบ่งบอกถึงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ของแต่ละชุมชนนับเป็นทุนทางวัฒนธรรมที่มีค่า สามารถนำ�มาพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า สร้างเป็น รายได้ให้แก่ชุมชน ท้องถิ่น ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนด้วยมิติทางวัฒนธรรม สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง ตระหนักถึงคุณค่า ความสำ�คัญ และสอดคล้องกับ นโยบายของกระทรวงวัฒนธรรมด้านการนำ�ทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างมูลค่าเพิม่ จึงได้จดั ทำ�โครงการ เสริมสร้างเอกลักษณ์และอัตลักษณ์การท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรม ตามรอยอารยธรรมล้านนาตะวันตกเพือ่ การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม โดยได้รบั งบประมาณดำ�เนินการ จากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ดำ�เนินการด้วยการเชื่อมโยงเรื่องไม้แกะสลักล้านนาในพื้นที่ ๔ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดลำ�ปาง ลำ�พูน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสาน รักษามรดกภูมปิ ญั ญา ปราชญ์ทอ้ งถิน่ กระตุน้ ให้น�ำ รากวัฒนธรรมประจำ�ถิน่ และภูมปิ ญั ญาชาวบ้านมา จัดเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรูภ้ มู ปิ ญั ญาไว้เป็นคลังข้อมูล และส่งผ่านมรดกวัฒนธรรมของชาติสบื ทอด รุ่นสู่รุ่น ส่งเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรบุคคลทางด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ปราชญ์ชาวบ้านให้มสี ว่ นร่วมเป็นแม่พมิ พ์ (Role Model) ในการถ่ายทอดองค์ความรูม้ าพัฒนาต่อยอด สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจต่อไป สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปางได้จัดทำ�หนังสือ “แกะรอย คนแกะไม้” ขึ้น ด้วย ตระหนักถึงความสำ�คัญในการรวบรวมเรือ่ งราวอัตลักษณ์ มรดกภูมปิ ญั ญาด้านไม้แกะสลักล้านนาไว้ เพือ่ เป็นฐานข้อมูลองค์ความรูโ้ ดยเชื่อมโยงเส้นทางท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมของ ๔ จังหวัดภาคเหนือ ตอนบน ๑ และประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อไป ทั้งนี้ ได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งจากครูภูมิปัญญาไม้แกะสลักทั้ง ๔ จังหวัด ได้แก่ บ้านหลุก อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง บ้านหนองยางฟ้า อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน บ้านกิ่วแลน้อย อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ และอำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
(นายบพิตร วิทยาวิโรจน์) วัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
ล่องแม่นำ้ �ท่องเส้นสายลายไม้...เทีย่ วชุมชนคนแกะไม้ เรียนรูเ้ รือ่ งราวของการสืบต่อความรูใ้ นวิถแี ห่งบ้าน ทีม่ าแห่งประณีตศิลป์ลา้ นนา มาแกะรอย...คนแกะไม้ ไปด้วยกัน
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕
เที่ยวบ้านสล่าแกะไม้จากหลากลุ่มน้ำ�ในล้านนา การเดินทางมีความหมายหรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั คุณไปกับใคร และคุณเก็บเกีย่ วความสุข ความสนุก และความรูม้ าใส่บนั ทึกการเดินทางได้มากแค่ไหน หนังสือการเดินทางแกะรอย...คนแกะไม้เล่มนี้ จะพาคุณไปสัมผัสกับรากเหง้าของ ชุมชนผ่านเส้นสายลายไม้ ทำ�ความรูจ้ กั กับประณีตศิลป์แห่งล้านนาทีห่ ยัง่ รากลึกในพระพุทธ ศาสนาและกลายมาเป็นพาณิชย์ศลิ ป์ในปัจจุบนั งานไม้แกะสลักทีท่ �ำ หน้าทีจ่ รรโลงใจผูค้ น ทัง้ ในอดีตและปัจจุบนั สร้างงานสร้างรายได้หล่อเลีย้ งคนในชุมชนมาแล้วหลายรุน่ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง จึงอยากชวนไปเที่ยวชุมชนช่างเก่า ตามหา สล่าหรือช่างลุม่ น้�ำ จาง เรียนรูง้ านไม้ทบ่ี า้ นหลุก ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง หมูบ่ า้ นสล่าทีส่ ร้างผลงานมากมาย ข้ามแม่น�ำ้ ทาไปพูดคุยกับสล่าบ้านหนองยางฟ้า ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน บ้านที่แกะสลักช้างไม้จนเป็นที่ร่ำ�ลือ แวะเที่ยวฟาร์มสเตย์ กินอาหารเหนืออร่อยๆ ล่องแม่น้ำ�ปิงไปบ้านกิ่วแลน้อย ตำ�บลบ้านแม หมู่บ้านเล็กๆ ที่อำ�เภอสันป่าตอง ชมงานแกะสลักละเมียดละไม เดินตลาด จิบกาแฟ แล้วไปล่องเรือ แม่น�ำ้ สาละวินทีบ่ า้ นแม่สามแลบ บุกบ้านสล่าแกะไม้แห่งอำ�เภอสบเมย เรียนรูก้ ารแกะสลักไม้ ได้เที่ยวชมพระอาทิตย์ยามเช้าในเมืองสามหมอก เตรียมร่างกายให้พร้อม มาหัดจับสิ่วจับค้อน สร้างผลงานชิ้นเดียวในโลกของ ตัวเองกลับบ้าน พร้อมๆ กับเพลิดเพลินกับการเทีย่ วชมแหล่งท่องเทีย่ วใกล้เคียง ตีตว๋ั มาเทีย่ ว ครัง้ เดียวสนุกได้ทกุ มิต...ิ คุม้ แสนคุม้ บอกเลย
๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
สารบัญ คำ�นำ� บทนำ� เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เที่ยวบ้านสล่าบ้านหลุก แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง ชิม แชะ เช็คอิน ที่กินที่นอนที่บ้านหลุก โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านหลุก ๑ วัน
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง ชิม แชะ เช็คอิน บ้านหนองยางฟ้า โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านหนองยางฟ้า
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน จิบกาแฟ ชิมอาหาร บ้านกิ่วแลน้อย โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านกิ่วแลน้อย
เที่ยวบ้านสล่าอำ�เภอสบเมย แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง ชิม แชะ เช็คอิน ที่กินที่นอนที่สบเมย โปรแกรมท่องเที่ยวสบเมย ๑ วัน
๔ ๖ ๘ - ๓๓
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทาบ้านหนองยางฟ้า เที่ยวบ้านสล่า บ้านหนองยางฟ้า
๓๔ - ๕๓
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�แม่ระมิงค์ที่บ้านแม เที่ยวบ้านสล่าบ้านกิ่วแลน้อย
๕๔ - ๗๕
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
๗๔- ๙๗
บรรณานุกรม คณะผู้จัดทำ�
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
๙๘ - ๙๙ ๑๐๐ แกะรอย...คนแกะไม้
๗
๘ แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่ บ้านหลุก แม่น้ำ�จางเป็นหนึ่งในลุ่มน้ำ�สาขาแห่งแม่น้ำ�วัง ของจังหวัดลำ�ปาง พื้นที่ลุ่มแม่น้ำ�จางนั้นอุดมสมบูรณ์เป็นที่ ถวิลหาของคนทำ�การเพาะปลูก จึงมีชุมชนตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�จาง มากมาย หนึ่งในนั้นคือบ้านหลุก ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง อีกสิ่งหนึ่งที่มีมากในบริเวณนี้คือป่าไม้ ทำ�ให้คนที่นี่มีพื้นฐาน และเข้าใจในงานไม้แกะสลัก มาตั้งแต่อดีต
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๙
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
รู้จักบ้านหลุก
พื้นที่นี้แต่ก่อนมีป่าไม้มากมาย จนมีนทิ านพืน้ บ้านเกีย่ วกับนามเมืองกล่าวว่า ชาวบ้านทีอ่ ยู่ แถวริมน้�ำ จางไปช่วยกันล่าเสือตัวหนึง่ ตามเสือไปจนทันทีบ่ า้ นป่าตัน เมือ่ ยิงเสือตายจึงได้ช�ำ แหละเนือ้ “แบ่งคัว” ซึ่งหมายถึงแบ่งเนื้อเสือกันในพื้นทีี่ที่เรียกว่าบ้านนาครัวในปัจจุบัน อีกที่มาหนึ่งบอกว่า เมื่อก่อนพื้นที่นี้แห้งแล้งทำ�การเกษตรไม่ได้ ชาวบ้านก็เลยทำ�อาชีพอื่นคือทำ�เครื่องจักสาน หรือ คนเหนือเรียกว่าสานคัว ก็เลยเรียกที่นี่ว่านาคัว (พื้นที่ที่มีจักสานมาก) จากนั้นก็เพี้ยนมาเป็นนาครัว พอขยายชุมชนก็เลยแยกตัวออกมาเป็นบ้านหลุก จะเที่ยวบ้านหลุกก็ต้องรู้จักคำ�ว่า “หลุก” ก่อน หลุกคือระหัดวิดน้ำ� เนื่องมาจากหมู่บ้านนี้ อยู่สูงกว่าแม่น้ำ�เลยต้องประดิษฐ์ระหัดวิดน้ำ�มาเพื่อผันน้ำ�เข้าพื้นที่การเกษตร เมื่อก่อนบ้านหลุกนั้น อยู่รวมกับบ้านนาครัว จนขยายเติบโตบ้านนาครัวได้ยกฐานะเป็นตำ�บล บ้านหลุกแยกตัวออกมา ๓ หมูบ่ า้ น คือ บ้านหลุก หมูท่ ่ี ๖ บ้านหลุกแพะ หมูท่ ่ี ๑๑ และ บ้านหลุกใต้ หมูท่ ่ี ๑๒ เกิดการรวมตัวกัน ของสล่ายอดฝีมอื ด้านการทำ�ไม้แกะสลักถึง ๔๐ กลุม่ จากแต่กอ่ นทีม่ อี าชีพทำ�การเกษตรกันอย่างเดียว
๑๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
การเดินทางไปบ้านหลุก เดินทางจากตัวอำ�เภอเมืองลำ�ปาง ที่สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดลำ�ปาง ใช้เส้นทางหมายเลข ๑๐๓๖ ระยะทางประมาณ ๒๕ กิโลเมตร ถึงตัวอำ�เภอแม่ทะ มุ่งหน้าทางตะวันออกเฉียงเหนือ ไปยังถนนหมายเลข ๑๑ ถึงทางแยกที่ทำ�การตำ�รวจ ตำ�บลแม่ทะ ให้เลี้ยวซ้าย ตามหมายเลข ๑๐๓๖ อีกครั้ง ระยะทาง ๓ กิโลเมตร ขับรถผ่านโรงพยาบาลแม่ทะ ตรงไปก็จะเจอวัดบ้านหลุกศูนย์กลางของชุมชน
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๑๑
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
แกะรอย...คนแกะไม้บ้านหลุก ว่ากันว่า ปัจจุบันเป็นกุญแจไขอดีต หลายคนอาจจะคิดว่าอาชีพการทำ�ไม้แกะสลัก ที่บ้านหลุกเพิ่งจะโด่งดังและเป็นที่รู้จักในไม่กี่ สิบปีมานี้ แต่ทักษะเรื่องการแกะไม้นั้นน่าจะอยู่ ในสายเลือดของคนบ้านหลุกมานาน หากลอง เที่ยวชมวัดบ้านหลุก ดูหลักฐานแวดล้อมแล้ว จะรู้ว่า ศิลปะการแกะสลักไม้ ความรู้ในเชิงช่าง แกะสลักนัน้ ได้หยัง่ รากฝังลึกในชุมชนนีม้ าช้านาน หลักฐานอยูท่ ว่ี ดั บ้านหลุก หากเดินเข้าไป ทีก่ ฏุ ธิ รรมจริยะและโรงเรียนปริยตั ธิ รรมอริยศาสตร์ แล้วจะพบเห็นงานซุม้ ประตูโขงไม้แกะสลักเก่าแก่ ลายวิจติ รอยูบ่ นกุฏไิ ม้ และยังมีงานไม้เก่าแกะสลัก ประดับหัวบันได ประดั บทั่วไปบนอาคารไม้ ฝัง่ ตรงข้ามกับกุฏธิ รรมจริยะ คือ โรงเรียนปริยตั ธิ รรม อริยศาสตร์ อาคารปูนเก่าแก่ที่กำ�ลังปรับปรุงเพื่อ เป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน ก็เก็บงานไม้แกะสลักงาน โบราณหายากที่สวยงามไว้ทั้ง บุษบก เครื่องสูง สัตตภัณฑ์ บันไดแก้วบันไดเงิน พระไม้แกะสลัก และอีกมากมาย ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการสร้างงาน ของสล่ า ท้ อ งถิ่ น ที่ ทำ � เพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า ของโบราณทัง้ หมดนีน้ �ำ มาจากวัดห่างหรือวัดร้าง ที่อยู่ติดแม่น�้ำ จาง ห่างจากวัดบ้านหลุกไปทาง ทิศเหนือราว ๕๐๐ เมตร เป็นที่น่าเสียดายที่ งานแกะสลักไม้นน้ั ไม่อยูค่ งทนดังเช่นงานทีท่ �ำ ด้วย วัสดุอื่นๆ เราจึงไม่ได้เห็นงานไม้โบราณมากนัก ตัวอย่างเช่นงานแกะสลักพระเจ้าไม้ที่แกะสลัก ชือ่ ของตัวเองและครอบครัวไว้ใต้ฐานพระพุทธรูป แต่ละครอบครัวแกะสลักขึ้นเพื่อถวายวัด ๑๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
๕ สล่าในตำ�นาน บ้ า นหลุ ก เริ่ ม มาแกะสลั ก ไม้ เ ป็ น อุตสาหกรรมในครัวเรือน โดยการขับเคลือ่ นของ คนสำ�คัญในชุมชน ๕ คน ภาษาเหนือเรียกว่า เป็น “เก๊า” คือเป็นผู้ริเริ่มทำ�งานแกะสลัก และ เอางานแกะสลักเชิงพานิชย์นี้มาเผยแพร่ ทำ�ให้ หลายๆ บ้านที่ทำ�นาไม่ได้ผลหันมาประกอบ อาชีพนี้แทน สล่าพ่อครูต้นแบบทั้ง ๕ คนนี้คือ พ่อจันทร์ดี แก้วชุม่ พ่อตืน่ แก้วเตียม พ่ออินทร์แก้ว ชมพูเขียว พ่อก๊ำ� หมื่นชุ่ม และพ่อจันทร์ มาปัน
เริ่มจากพ่อจันทร์ดี ซื้อช้างและม้า แกะสลักมาอย่างละหนึ่งตัว เพื่อนำ�มาเป็นแบบ ในการแกะสลัก โดยใช้ไม้ฉำ�ฉามาเป็นวัตถุดิบ แล้วก็ชวนเพื่อนๆ มาแกะด้วยกัน ด้วยความที่ พวกเขามีพื้นฐานในด้านการแกะสลักไม้อยู่แล้ว จึงทำ�ให้งานของพวกเขาเป็นที่ต้องการ จากนั้น งานแกะสักไม้ของบ้านหลุกก็เป็นทีร่ จู้ กั กว้างขวาง มีชาวบ้านเริม่ ทำ�งานแกะสลักไม้มากขึน้ ปัจจุบนั สล่า เป็นคำ�สรรพนาม ทีใ่ ช้เรียกขานกันในภาษาถิน ่ ภาคเหนือ ๕ สล่าในตำ�นานเหลือเพียง พ่อตื่น แก้วเตียม แปลว่า ช่าง หมายถึง ผู้ชำ�นาญงานฝีมือ ที่ยังคงทำ�งานอยู่ พ่อจันทร์ดีและพ่อก๊ำ� บุญชุ่ม งานศิลปหัตถกรรม จนถึงดนตรี ได้เสียชีวิตด้วยโรคชรา พ่ออินแก้ว ชมพูเขียว การขับร้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ และพ่อจันทร์ มาปัน ก็ไม่ได้ทำ�งานแกะสลักอีกแล้ว สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๑๓
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เที่ยวบ้านสล่าบ้านหลุก สล่าที่ทำ�งานเกี่ยวกับไม้ที่บ้านหลุกนั้นมีอยู่หลายกลุ่ม คือกลุ่มที่ทำ�งานแกะสลักพระ กลุ่มทำ�งานแกะสลักเฟอร์นิเจอร์ กลุ่มทำ�ครก กลุ่มทำ�ดอกไม้ และเครื่องใช้จิปาถะ
๑๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้าน “เก๊า” สล่าแห่งบ้านหลุก พ่อครูสล่าตื่น แก้วเตียม
พ่อครูสล่าตืน่ ทำ�งานแกะสลักไม้มาร่วม ๕๒ ปี เป็นหนึง่ ในห้าสล่าพ่อครูต�ำ นานของบ้านหลุก ที่ยังสร้างผลงานอยู่ มีลูกศิษย์ลูกหาในหมู่บ้าน มากมาย เผยแพร่งานแกะสลักไม้ไปมากว่า ๒๐๐ ครัวเรือน ปัจจุบันพ่อครูสล่าตื่นทำ�งานที่บ้าน เหมือนเดิมและยังสร้างสรรค์ผลงานที่ไม่ยึดติด กับรูปแบบของตลาด นักท่องเที่ยวสามารถไป เยี่ยมชมพื้นที่ทำ�งานของพ่อครูสล่าตื่นได้ โดย การติดต่อล่วงหน้า : บ้านเลขที่ ๑๙/๖ หมู่ ๖ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง : ๐๘ ๔๔๘๑ ๕๗๘๔, ๐๘ ๒๙๖๔ ๓๖๔๐
เยีย่ มบ้านสล่าสมบูรณ์ ปิงวัง
ชมงานแกะช้างไทยและช้างแอฟริกา
ปางไม้ที่เจ้าของใจดี มีรอยยิ้มให้กับ ทุกคนเสมอ บ้านพ่อครูสล่าสมบูรณ์ ร่มรื่นด้วย ต้นไม้ พ่อครูสล่าสมบูรณ์เรียนรู้งานแกะไม้จาก พ่อครูจันทร์ดี แก้วชุ่ม จนวันแรกจนวันนี้ ก็ร่วม ๔๐ ปีแล้ว ในปางไม้ของพ่อครูมีคนทำ�งานราว สี่ห้าคน ที่นี่เราจะได้เห็นการทำ�งานแทบทุก กระบวนการ ตั้งแต่การแหกไม้หรือผ่าไม้ และ การโกลนหุ่นขึ้นงาน การทำ�พื้นผิวงาน โดย พ่อครูสล่าสมบูรณ์ เล่าให้ฟงั ทุกกระบวนการไม่มหี วง สนใจเรียนรู้เรื่องกระบวนการแกะสลักไม้ กรุณา ติดต่อล่วงหน้า : บ้านเลขที่ ๑๓๗ หมู่ที่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๘ ๖๑๑๗ ๔๐๗๘ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๑๕
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้านสล่าเฮือน โสภาแปง
สล่าแกะไม้บ้านริมน้ำ� จากบ้านพ่อครู สล่าเฮือนเราก็สามารถเดินข้ามสะพานแม่น�ำ้ จางได้ อยูไ่ ม่ไกลจากข่วงหลุก สล่าเฮือน โสภาแปง เป็น ลูกหม้อหรือลูกศิษย์ของพ่อครูสล่าจันทร์ดี ร่ำ�ลือ กันว่าเขาเป็นสล่าที่แกะม้าไม้ได้สวยที่สุดใน บ้านหลุก ทีบ่ า้ นพ่อครูสล่าเฮือนมีเครือ่ งมือภูมปิ ญั ญา แบบล้านนนาทีเ่ รียกว่าไม้มอ่ ก ถ้าอยากรูว้ า่ ไม้มอ่ ก เป็นอย่างไร ต้องไปลองทำ�ความรูจ้ กั กับเครือ่ งมือ ล้านนานีด้ สู กั ครัง้ สนใจเรียนรูเ้ รือ่ งงานไม้ ติดต่อ พ่อครูสล่าเฮือนล่วงหน้า : บ้านเลขที่ ๑๔๑/๑ หมู่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๙ ๙๒๔๑ ๕๖๘๔
เยีย่ มบ้านสล่าเกษม เครือฟอง
ชมงานแกะสลักไม้รูปสัตว์เสมือนจริง แบบลอยตัวชิน้ ใหญ่และเครือ่ งเรือน ลักษณะงาน ของสล่าเกษมเป็นงานแกะสลักไม้ทด่ี จู ากภาพวาด แล้วนำ�มาวาดลงบนไม้ แกะสลักออกมาเป็นแนว เสมือนจริงทั้งกล้ามเนื้อและพื้นผิว ที่นี่แกะสลัก ทั้งม้า ช้าง และกระทิง : บ้านเลขที่ ๑๘๕ หมู่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๘ ๖๑๗๙ ๖๐๒๐
๑๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้านสล่าจรูญ คำ�ตัน ๋ มูล
บ้านหัววัวไม้ สิงโต ช้าง และแรด ทีม่ ี ลักษณะลืน่ ไหลเป็นธรรมชาติ สล่าจรูญเป็นศิษย์ ลูกหม้อของพ่อครูสล่าตื่น แก้วเตียม ตั้งแต่อายุ ๑๒ ปี และยังทำ�งานไม้อยู่จนทุกวันนี้ : บ้านเลขที่ ๑๓๘/๒ หมู่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๙ ๖๕๐๓ ๑๕๕๒
เยีย่ มบ้านสล่าสมศักดิ์ จินาวงศ์
ชมงานแกะสลักไม้แบบลอยตัวรูปสิงโต อินเดียแดง และคาวบอย สล่าสมศักดิ์เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการแกะหัวอินเดียแดงมากว่า ๓๐ ปีแล้ว เคยคิดจะเลิกแกะสลักแล้วไปทำ�ครก แต่ก็นึกถึงคำ�สอนของพ่อครู ได้วา่ เราควรใช้ไม้ ทุกส่วนให้เป็นประโยชน์ รูจ้ กั คุณค่าของไม้ทกุ ส่วน จึงกลับมาแกะสลักไม้เหมือนเดิม : บ้านเลขที่ ๕๙ หมู่ ๑๑ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๙ ๓๑๙๗ ๔๗๒๑
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๑๗
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้านสล่าสุชาติ แก้วชุม่
ที่ บ้ า นสล่ า สุ ช าติ เ ป็ น ทั้ ง ปางไม้ แ ละ ศูนย์เรียนรูก้ ารแกะสลักไม้ของบ้านหลุก ทีเ่ ปิดรับ ทุกคนที่สนใจการแกะสลักไม้ สล่าสุชาติเป็น ลูกชายคนโตของพ่อครูสล่าจันทร์ดี แก้วชุ่ม มีพี่น้องอีกสองคนที่ทำ�งานแกะสลักเช่นเดียวกัน งานส่วนใหญ่ของเขาเป็นงานแกะสลักไม้แบบ ลอยตัว รูปสัตว์ พระพุทธรูป หรือเทพเจ้า : บ้านเลขที่ ๑๒๐ หมู่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๙ ๗๒๗๓ ๙๓๒๓
เยีย่ มบ้านสล่าโสภณ จรันรัก
สล่าอารมณ์ดีท่ีเรียกได้ว่าแกะกวาง ได้หน้าตาน่าเอ็นดูทส่ี ดุ สล่าโสภณเริม่ ต้นแกะสลัก หัวช้างและได้พฒั นามาแกะสลักช้างทัง้ ตัว จากนัน้ ก็หนั มาแกะสลักกวาง และได้ยดึ ถือการแกะสลักไม้ เป็นอาชีพหลักจนถึงปัจจุบัน : บ้านเลขที่ ๑๘๒/๒ หมูท่ ่ ี ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๖ ๑๙๐๒ ๒๔๒๔
๑๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้านสล่าไพบูลย์ พรมฟอง
ช่างไม้มากฝีมอื ในด้านการแกะสลักไม้ รูปสัตว์เสมือนจริง ทัง้ มัดกล้ามเนือ้ ความเคลือ่ นไหว ดูลน่ื ไหลและเปีย่ มด้วยพลัง งานส่วนใหญ่เป็นงาน ที่ทำ�ตามความต้องการของลูกค้า : บ้านเลขที่ ๑๔๐ หมู่ ๑๑ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๖ ๑๕๒๔ ๑๐๗๕
เยีย่ มบ้านสล่าสุพจน์ เครือดวงชัย
เป็นบ้านที่มีงานแกะสลักหลากหลาย และดูสนุก มีทั้งงานแต่งบ้านชิ้นเล็กๆ เช่น หมู งานแกะสลักนูนต่�ำ หน้าคาวบอย และงานเฟอร์นเิ จอร์ รูปร่างแปลกๆ ตามจินตนาการ อันที่จริงเขา แกะได้หลายอย่าง เช่น รูปสัตว์ต่างๆ กวาง ช้าง เสือ สิงโต หงส์ พระพุทธรูป และตัวละคร ในชาดกหรือวรรณคดี เทพเจ้าในศาสนาต่างๆ เครื่องเรือน และเครื่องใช้ในครัวเรือน : บ้านเลขที่ ๒๓๒ หมู่ ๑๑ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๘ ๖๑๘๒ ๔๕๑๔ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๑๙
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เยีย่ มบ้านสล่าสุวน ิ เชือ้ คำ�ลือ
คนชอบของแต่ ง บ้ า นและของใช้ กระจุกกระจิกจะชอบทีน่ ่ี บ้านสล่าสุวนิ มีทง้ั ของใช้ ชิ้นเล็กๆ อย่างที่เปิดขวด ที่กั้นประตู หัวช้าง แต่งบ้านชิ้นไม่ใหญ่ : บ้านเลขที่ ๑๖๔ หมู่ที่ ๑๒ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
: ๐๖ ๒๓๐๘ ๔๘๑๒
สูค ่ วามหรรษาของแม่บา้ น เทีย่ วบ้านทำ�ครก
ในช่วงที่การทำ�ไม้แกะสลักเริ่มเฟ้อ และเศรษฐกิจไม่ดีเท่าที่ควร เชื่อหรือไม่ว่ามีคน หันมาทำ�ครกไม้มากกว่า ๔๐% ของหมู่บ้านใน เวลานัน้ บ้านหลุกจึงกลายเป็นสถานทีผ่ ลิตครกไม้ มากมายหลายขนาด ส่งขายไปทัว่ ประเทศ หนึง่ ในบ้านที่ทำ�ครกไม้ยุคแรกๆ คือ บ้านพี่กิ่งดาว สุกมอย เชีย่ วชาญการทำ�ครกเพราะทำ�มาแล้วกว่า ๑๕ ปี มีสากจากไม้ตาลซึ่งถือว่าเป็นราชาของ สากเลยก็ว่าได้ สนใจไปดูงานครกสากของบ้าน พี่กิ่งดาว กรุณาติดต่อล่วงหน้า : บ้านเลขที่ ๓๘ หมู่ ๖ ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง : ๐๘ ๓๔๗๖ ๔๗๙๙ ๒๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เดินเลียบแม่นำ้ �จางซือ้ ตะกร้า
ริมแม่นำ้�จางจะมีระเบียงมุงหลังคา ยื่นไปหาแม่น้ำ� สายลมเย็นวิวสวย เป็นสถานที่ ทำ�งานทีน่ า่ อิจฉาของกลุม่ ทำ�ตะกร้าของบ้านหลุก ตะกร้าที่นี่ทำ�จากต้นไคร้ พืชตระกูลเดียวกับ พวกต้นกก โดยใช้ต้นปอเป็นฐาน นั่งดูเขาทำ� ตะกร้าที่นี่แล้วคุณจะอิจฉาที่ทำ�งาน กลุ่มทำ�ตะกร้าบ้านหลุก : ๒๗๕ หมู่ ๑๒ บ้านหลุก ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง : ๐๘ ๖๙๑๙ ๕๘๙๙ (คุณแสงหล้า)
ช้อปแบบ Express ศูนย์แกะสลักไม้บา้ นหลุก ทีบ่ า้ นหลุกยังมีสล่าอีกหลายหลังคาเรือน แต่ถ้ามีเวลาน้อยก็ขอแนะนำ� ศูนย์แกะสลักไม้ บ้านหลุก สถานที่ “ปล่อยของ” ของสล่าบ้านหลุก อยู่ตรงข้ามวัดบ้านหลุก เป็นสถานที่รวบรวม งานไม้แกะสลักผลงานเด่นๆ ของสล่าแกะไม้ ทัง้ หมูบ่ า้ นมาไว้ทน่ี ท่ี เ่ี ดียว สามารถซือ้ ของได้ครบ พร้อมร้านอาหารร้านกาแฟให้นั่งเล่นพักเหนื่อย เปิดทำ�การ : ทุกวันเวลา ๐๘.๐๐ น. - ๑๗.๐๐ น. สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๒๑
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง
๒๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เทีย่ ววัดบ้านหลุก
วัดบ้านหลุกศูนย์รวมใจของชาวบ้านหลุก วัดบ้านหลุกได้รับการบูรณะมาหลายครั้ง ครัง้ ที่สำ�คัญที่สุดคงเป็นครั้งที่พระครูธรรมจริยคุณ เข้ามาบูรณะ ในอาณาบริเวณของวัดบ้านหลุก อีกด้านหนึ่งคือกุฏิธรรมจิรยะ เป็นกุฏิไม้โบราณ ประกอบด้วยเสา ๑๐๑ ต้น ภายนอกประดับ ด้วยงานไม้แกะสลักเก่าที่ได้มาจากวัดร้างทาง ด้านเหนื อ ของวั ด ด้านในมีซุ้มประตูโขงเก่า ลายประณีตงดงาม ฝั่งตรงข้ามเป็นโรงเรียน ปริยัติธรรมอริยศาสตร์ แหล่งเก็บของโบราณ ของบ้านหลุก
เดินเล่นกาดบ้านหลุก ตลาดชุมชนบ้านหลุกก่อตั้งโดยคนเก่าแก่ของบ้านหลุก คือพ่อจันทร์ จอมเอ้ย ปัจจุบัน เป็นมัคทายก ตลาดนีเ้ ดิมชือ่ ตลาดไพศาล ตอนนีพ้ อ่ จันทร์ไม่ได้ท�ำ ตลาดแล้วให้ลกู สาวมารับช่วงแทน ตลาดอยูไ่ ม่หา่ งจากวัดบ้านหลุก มีทง้ั ของสด อาหารปรุงสำ�เร็จ ขายในเวลาเช้าและเวลาเย็น ตอนเช้า ของจะหมดเร็วมาก ราวๆ ๐๘.๐๐ น. ตลาดก็ใกล้จะวายแล้ว อยากเก็บบรรยากาศ ต้องมาแต่เช้า สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๒๓
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เทีย่ วสำ�นักสงฆ์พระธาตุดอยผาปูน ถ่ายภาพจุดชมวิวแม่นำ้ �จาง
ขับรถขึ้นมาเพียงไม่กี่นาทีก็ได้พบกับ วิว ๓๖๐ องศา ที่นี่มีถ้ำ�อยู่ ๙ ถ้ำ� สักการะ พระสถูปเจดีย์ รอยพระบาทข้างซ้ายเหยียบบน ก้อนหินผา ชมธรรมชาติโดยรอบ ถ่ายภาพ ทีจ่ ดุ ชมวิว จากนัน้ ก็ลงไปถ่ายภาพจุดชมวิวน้�ำ จาง
เที่ยววัดน้ำ�โท้ง
ในหมู่บ้านใกล้เคียงคื อ บ้านน้ำ�โท้ง มีวัดใหญ่ที่น่าเข้าเยี่ยมชม เป็นวัดที่อยู่หมู่บ้าน ใกล้เคียง ๒๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
เที่ยวสำ�นักสงฆ์ถ้ำ�พระสบาย
ขับรถออกไปอีกราว ๒๐ นาทีก็จะไปถึงสำ�นักสงฆ์ถ้ำ�พระสบาย สถานที่ปฏิบัติธรรมที่ โอ่โถงกว้างขวาง มีพื้นที่แสดงนิทรรศการอัตชีวประวัติหลวงปู่แว่น หรือ พระครูภาวนาทัศนวิสุทธิ ด้านบนเป็นถ้ำ�เย็น ด้านในเป็นที่ประดิษฐานเจดีย์ บรรยากาศร่มรื่น ลมเย็น อากาศเย็นกว่า ด้านล่างมาก เหมาะแก่การมาบำ�บัดจิตใจ รับอากาศบริสุทธ์ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๒๕
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
ชิม แชะ เช็คอิน ที่กินที่นอนที่บ้านหลุก ชุมชนนี้เป็นชุมชนเล็กๆ ที่มีเกษตรกรพยายามทำ�การเกษตร แบบปลอดสารเพื่อให้ทุกคนได้กินข้าวดีๆ มีตลาดเล็กๆ ของชุมชนที่มีของหมุนเวียนไม่ได้ขาด มีร้านกาแฟสวยๆ ในชุมชนใกล้เคียงให้ไปนั่งเล่น มีร้านอาหารอร่อยๆ และที่พลาดไม่ได้ อาหารแบบเชฟเทบิ้ลแบบขันโตก ที่จะกินต้องสั่งเท่านั้น
๒๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
ร้านก๋วยเตี๋ยวจั๋นฟอง
เปิดตั้งแต่ ๐๘.๐๐ น. จนถึงของหมด
ร้านนู๋นา
เปิด: ๑๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. เยื้องปั๊มพีทีและการไฟฟ้าแม่ทะ โทรศัพท์: ๐๘ ๑๙๖๐ ๕๒๕๓ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๒๗
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
ร้านองุ่นหวาน
ร้านเปิด ๐๘.๐๐ น. - ๑๕.๐๐ น. โทรศัพท์: ๐๙ ๕๒๓๕ ๔๒๐๖
ปุ๊กุ้งโอ๊ะ สลัดโรล
อาหารเหนือตามสั่งโทรจองล่วงหน้า โทรศัพท์: ๐๘ ๗๗๘๙ ๕๑๖๒
๒๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
Hug Cup Cafe เปิด ๐๘.๓๐ น. - ๑๗.๐๐น. ปิดวันเสาร์ ร้านอยู่ข้างโรงเรียนแม่ทะวิทยา ลำ�ปาง โทรศัพท์: ๐๙ ๑๘๕๘ ๐๗๒๓ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๒๙
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านหลุก ๑ วัน
เช้า งลำ�ปาง ออกจากอำ�เภอเมือ OP บ้านหลุก เดินทางไปศูนย์ OT
กราบสักการะพระพุทธรูป ณ วิหารหลวง วัดบ้านหลุก เยี่ยมชมกุฎิ ไม้สักโบราณ เสา ๑๐๑ ต้น
ชมการแกะสลักไม้ ณ บ้านครูภ ูมิปัญญา ไม้แกะสลักบ้านหลุก บ้านสล่าสม บูรณ์ ปิงวัง และ บ้านสล่าเฮือน โสภาแปง
๓๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งลุ่มน้ำ�จางที่บ้านหลุก
อาหารว่าง
รับประทานอาหารว่าง ณ “ขัวไม้มุง” สะพานธรรมจริยคุณ (สะพานไม้ข้ามแม่น้ำ�จาง)
กลุ่มทำ�ครกไม้ บ้านหลุ
ก
เที่ยง พักรับประทานอาหาร ณ ร้านค ้าชุมชน ศูนย์ OTOP บ้านหลุก
เที่ยวบ้านสล่าทำ�ดอกบัว บ้านน้ำ�โท้ง หมู่ ๑
ชมวิถีเกษตรอินทรีย์ เศรษฐกิจพอเพียง บ้านน้ำ�โท้ง หมู่ ๑ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๓๑
แผนที่ชุมชนไม้แกะสลัก
บ้านหลุก
ตำ�บลนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง
๓๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๓๓
๓๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า แม่นำ้ �สายสำ�คัญทีไ่ หลผ่านทุกตำ�บลในอำ�เภอแม่ทาคือ แม่นำ้ �ทา เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงให้เกิด ความอุดมสมบูรณ์เพื่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำ� แม่น้ำ�ทามีต้นกำ�เนิดมาจากภูเขาสูงในเขตป่าเมี่ยงขุนทา ไหลผ่านชุมชนสำ�คัญในตำ�บลออนเหนือ ตำ�บลทาเหนือ อำ�เภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ และตำ�บลแม่ทา แล้วไหลสู่อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน โดยมีลำ�ห้วยสาขามากมายถึง ๑๙ สาย
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๓๕
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เที่ยวบ้านสล่า บ้านหนองยางฟ้า ในสมัยก่อนบ้านหนองยางฟ้าเต็มไปด้วยสล่าแกะสลักไม้ แต่ปัจจุบันคนรุ่นใหม่มองว่าการแกะสลักไม้เป็นงานที่ยาก อย่างไรก็ตามที่บ้านหนองยางฟ้าก็ยังคงมีกลุ่มสล่าแกะสลักไม้ที่ยังคง ถ่ายทอดภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านการแกะสลักไม้ต่อไป
๓๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เยี่ยมบ้านสล่าทวี คำ�พิกาศ
หลานชายของสล่าซอน จินะปัญโญ สล่าเก๊าแห่งลุ่มน้ำ�ทาที่ย้ายจากบ้านดอยแช่ มาอยูบ่ า้ นหนองยางฟ้า พร้อมกับฝีมอื การแกะสลัก ที่ผู้เป็นตาคอยสอน สล่ า ทวี เ รี ย นรู้ ง านไม้ แ กะสลั ก และ สามารถแกะสลักช้างขนาดกลางได้ต้ังแต่อายุ ๑๘ ปี ส่งไปขายที่ตลาดวโรรสหรือกาดหลวง จากนัน้ ก็พฒั นาฝีมอื เรือ่ ยมาจนสามารถแกะสลัก พระพุท ธรูป ได้ ถือเป็นสล่าที่มีฝีไม้ล ายมื อ ด้านการแกะสลักพระที่หาตัวจับยาก : บ้านเลขที่ ๒๓/๓ หมูท่ ่ี ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน : ๐๘ ๑๐๒๔ ๒๙๘๙
เยี่ยมบ้านสล่าไพศาล คำ�กาศ
สล่าไพศาล คำ�กาศ มีชื่อในวงการว่า “สล่าไวพระนอน” เพราะเชี ่ ย วชาญเรื ่ อ งการ แกะสลักพระ ทัง้ พระนอน พระยืน และพระนัง่ ซึ่งเป็นผลพวงของการเข้าไปทำ�งานที่โรงงาน แกะสลักในอำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ง เต็มไปด้วยช่างแกะสลักพระมากฝีมือ ทำ�ให้ได้ เรียนรู้การแกะสลักพระพุทธรูปไม้หลายรูปแบบ : บ้านเลขที่ ๕/๓ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๖๑๑๖ ๘๙๐๐
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๓๗
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เยี่ยมบ้านสล่าบุญทวี ปัญโญ
ความเก่งกาจของสล่าบุ ญ ทวี คื อ เพียงแค่ดูรูปก็สามารถแกะสลักไม้ออกมาได้ อย่างเหมือนจริง เริ่มต้นจากการรับจ้างแกะสลักไม้ใน โรงงาน โดยเริม่ ทีก่ ารแกะพุทธสาวก พัฒนาฝีมอื ของตัวเองจนสามารถแกะสลักพระพุทธรูปและ ส่งขายให้กับบ้านถวาย อำ�เภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่ ต่อมาเปิดกิจการแกะสลักไม้ของตัวเอง และเปิดรับคนที่สนใจในการทำ�งานไม้เข้ามา ทำ�งานพร้อมกับสอนงานคนงานเหล่านั้นไปด้วย สุดท้ายโรงงานก็ต้องปิดตัวลง แต่สล่าบุญทวีก็ ยังคงทำ�งานแกะสลักไม้อยู่ที่บ้านจนถึงปัจจุบัน : บ้านเลขที่ ๕๑/๔ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน : ๐๘ ๒๑๘๓ ๒๑๐๑
เยี่ยมบ้านสล่าอุทัย ทาใจกาศ
สล่าอีกท่านหนึง่ ทีพ่ ลิกแพลงงานแกะสลัก ให้แตกต่าง เพราะในสมัยนัน้ การแกะสลักไม้เป็น รูปช้างหรือพระพุทธรูปมีมาก สล่าอุทัยจึงคิด แกะสลักไม้ฉำ�ฉาให้เป็นรูปม้า โดยทำ�เป็นม้านั่ง เสียส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังมีม้ารูปแบบต่างๆ เช่น ม้าอังกฤษ ม้าสกีหรือม้าโยก : บ้านเลขที่ ๑๗๙ หมูท่ ่ี ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๐๙๙๓ ๑๐๔๖
๓๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เยี่ยมบ้านสล่ากิจเกษม แก้วกาศ
สล่ากิจเกษม คือสล่าคนแรกของตำ�บล ทาทุง่ หลวงทีไ่ ด้ไปร่วมงาน OTOP ทีเ่ มืองทองธานี กรุงเทพฯ ผลงานแกะสลักขึน้ ชือ่ และขายดีสว่ นใหญ่ เป็นของใช้ในบ้าน เช่น โคมไฟช้าง เชิงเทียน ที่ใส่ปากกา ที่แขวนผ้า และยังไม่หยุดพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพือ่ สนองความต้องการของตลาด : บ้านเลขที่ ๑๙๖ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๓๓๒๔ ๕๘๖๙
เยี่ยมบ้านสล่าอุทิศ ปาระมีกาศ
เริ่ ม แกะสลั ก เป็ น สั ต ว์ รู ป สั ต ว์ ต่ า งๆ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย ตั้งแต่เป็นเด็ก โดยมีพ่อ คือ สล่าแสน ปาระมีกาศ เป็นผูส้ อนวิชา จากนัน้ ก็เข้าไปทำ�งานทีโ่ รงงานของสล่าประดิษฐ์ ทะกาศ ทำ�ให้ได้มโี อกาสแกะสลักพระพุทธรูปและรูปเคารพ อื่นๆ จากนั้นก็เริ่มศึกษาเทคนิคใหม่ๆ ของการ แกะสลักรูปพระและออกมาเปิดกิจการไม้แกะ สลักของตนเอง เพือ่ จะได้ท�ำ งานพุทธศิลป์ทช่ี อบ งานของสล่าอุทิศ จึงเป็นงานแกะสลักลอยตัว รูปพระพุทธรูปและสาวก และรูปเคารพต่างๆ : บ้านเลขที่ ๑๖๑ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๙ ๕๑๔๖ ๑๓๑๒
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้ ๓๙
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เยี่ยมบ้านสล่าพิสุตร เนตรสุวรรณ
สล่าอีกหนึ่งท่านที่มีความชำ�นาญด้าน งานแกะสลักลอยตัวรูปพระพุทธรูปปางต่างๆ หลากหลายขนาด เริ่มต้นทำ�งานแกะสลักตั้งแต่ เด็กตามรอยพ่อ โดยเริ่มต้นจากการแกะเป็น รูปช้างขนาดเล็กและขนาดกลาง จากนัน้ ก็เรียนรู้ เรื่องการแกะสลักพระพุทธรูปปางต่างๆ จนเกิด ความชำ�นาญจนสามารถแกะสลักพระพุทธรูป ได้เหมือนรูปภาพ : บ้านเลขที่ ๔ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๕๗๐๖ ๓๒๗๑
เยี่ยมบ้านสล่าไกรศร ตันกาศ
ทีบ่ า้ นของสล่าไกรศร ตันกาศ เน้นเรือ่ ง งานทำ � สี พ ระพุ ท ธรู ป และรู ป เคารพต่ า งๆ เชี่ยวชาญเฉพาะทางเรื่องงานพุทธศิลป์ล้านนา ประเภทพระพุทธรูป ทั้งแบบศิลปะเชียงแสน ศิลปะล้านนา พม่า ฯลฯ ศึกษาและค้นคว้า เรื่องงานแกะสลักพระพุทธรูปไม้จากตำ�ราและ เอกสารมากมายด้วยตัวเอง งานพระพุทธรูปของ สล่าไกรศรจึงมักจะเป็นงานศิลปะตามประเพณีเดิม และปัจจุบันได้เน้นเรื่องการทำ�สีเก็บรายละเอียด เป็นส่วนใหญ่ : บ้านเลขที่ ๒๗๘ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๑๙๕๒ ๔๕๔๕, ๐๘ ๓๘๖๑ ๓๖๕๗
๔๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เยีย่ มบ้านสล่าจุฬาลักษณ์ แก้วกาศ
โรงงานเดียวในหมู่บ้านหนองยางฟ้า ทีม่ กี ารทำ�สีและพ่นสีอย่างเต็มรูปแบบ ก่อตัง้ กิจการ ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นโรงงานแกะสลักไม้ทำ�สี แบบครบวงจร เนือ่ งจากในตอนนัน้ งานแกะสลัก ของบ้ า นหนองยางฟ้ า ส่ ว นใหญ่ จ ะต้ อ งส่ ง ไป ทำ�สีที่อื่นต่อมาสล่าจุฬาลักษณ์จึงปรับโรงงาน มารับทำ�สีและเก็บรายละเอียดงานไม้แกะสลัก เพียงอย่างเดียว โดยงานทีส่ ล่าจุฬาลักษณ์รบั ทำ� สีนั้นส่วนใหญ่เป็นงานขนาดเล็กและขนาดกลาง เป็นงานแกะสลักลอยตัวประเภทรูปสัตว์ต่างๆ รวมถึงข้าวของเครือ่ งใช้ในครัวเรือน ของประดับ ตกแต่งบ้าน : บ้านเลขที่ ๑๙๖/๑ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๔๑๐๑ ๕๒๘๙
เยี่ยมบ้านสล่าดวงนภา ใหม่กาศ
เริม่ ต้นทำ�งานแกะสลักไม้ดว้ ยการแกะ ช้างขนาดเล็กโดยการรับจ้างในโรงงานแกะสลักไม้ ทำ�ได้กว่า ๑๐ จึงตัดสินใจออกมาเปิดร้านรับ แกะสลักไม้ดว้ ยตัวเอง ชือ่ ‘ดวงนภาไม้แกะสลัก’ ขายของประเภทตุ๊กตารูปช้าง ม้า นกฮูก แมว เต่าทอง ฯลฯ และด้านหลังร้านยังเป็นโรงงาน ทีม่ เี ครือ่ งไม้เครือ่ งมือครบครัน ตั้งแต่ไม้เป็นท่อน จนกระทั่งเสร็จสิ้นกระบวนการทำ�สี : บ้านเลขที่ ๒๘๖ หมู่ ๕ ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๘ ๖๗๑๗ ๘๔๖๓ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๔๑
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง
๔๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
ชมเงาพระธาตุในพระอุโบสถ วัดทาหนองยางไคล
วัดทาหนองยางไคลสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยพระเถาว์ คนธํโส ได้นำ�คณะศรัทธา จำ�นวน ๓๐ หลังคาเรือน มาช่วยกันก่อสร้างวัด เหตุที่ได้ชื่อว่า หนองยางไคล มีเรื่องเล่าว่า ในสมัย เจ้าแม่จามเทวี มีพระธุดงค์รปู หนึง่ ได้มาหยุดพักรักษาโรคไข้หวัด (ภาษาพืน้ เมืองเรียกว่าพักยัง้ ไข้) ใน บริเวณหนองน้ำ�แห่งนี้ นับแต่นั้นมาหนองน้ำ�แห่งนี้จึงถูกเรียกว่าหนองยั้งไข้ หนองยังไคร จนเพี้ยน มาเป็นหนองยางไคลในที่สุด บ้างก็เล่าว่ามิใช่พระธุดงค์ แต่เป็นเจ้าแม่จามเทวีทม่ี าหยุดพัก ณ ทีแ่ ห่งนี้ ในครัง้ ทีจ่ ะเดินทาง ไปเขลางค์นครและเกิดอาการประชวรระหว่างทาง ภายในวัดมีสง่ิ น่าสนใจมากมาย ได้แก่ เงาของพระธาตุในวิหาร รอยพระบาทขนาด ๑ นิว้ พระพุทธรูปไม้แกะสลักอายุกว่า ๕๐๐ ปีมากกว่า ๑๐ องค์ และรูปจำ�ลองของเจ้าแม่จามเทวีทแ่ี กะสลัก ด้วยไม้สัก อายุกว่า ๕๐๐ ปี : หมู่ ๔ บ้านหนองยางไคล ตำ�บลทาทุ่งหลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
: ๐๙ ๓๓๑๕ ๖๘๐๙
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๔๓
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เดินชมของป่า ของพืน ้ บ้าน กาดแม่ทา (ตลาดบ้านทาดอยแก้ว)
แวะศึกษาวิถชี วี ติ ผ่านวัฒนธรรมการกิน ของชาวบ้านทาที่ตลาดทาดอยแก้วหรือกาด แม่ทา จำ�หน่ายทั้งของสดอย่างพืชผักพื้นบ้าน ของป่า เช่น รังผึ้ง รังต่อ เนื้อสัตว์ต่างๆ ทั้ง ปลา ไก่ นก กบ ของกินพื้นบ้าน แมลงทอด และอาหารป่าหน้าตาไม่คนุ้ เคย แค่เดินเล่นก็ดเู พลิน เพราะมีของแปลกตามากมาย ทีอ่ ยู่ : เลียบถนนซูเปอร์ไฮเวย์ลำ�ปาง-ลำ�พูน อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน : ๐๘.๐๐ น. – ๒๒.๐๐ น (พ่อค้าแม่ค้าจะเริ่มวางขายเต็มรูปแบบ ตั้งแต่ราวบ่าย ๒ โมงเป็นต้นไป)
กาดหลวงเหมืองลึก
หรื อ กาดทาเหมือ งลึก หรือ ตลาด บ้านทาเหมืองลึก เป็นตลาดสดของบ้านเหมืองลึก ตำ�บลทาทุง่ หลวง จำ�หน่ายทัง้ เนือ้ สัตว์บก สัตว์ทะเล ผักพื้นบ้าน ผลไม้ อาหาร และขนมโบราณราคา ไม่แพงทีใ่ ช้ใบเปาหรือใบของต้นรังหน้าตาคล้าย ใบสัก แทนการห่อใบตอง ที่อยู่ : บ้านเหมืองลึก อำ�เภอทาทุ่งหลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน ช่วงเช้า : ๐๕.๐๐ น. – ๐๗.๐๐ น. ช่วงบ่าย : ๑๐.๐๐ น. – ๑๘.๐๐ น.
๔๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เช็คอินที่ สะพานขาวทาชมภู
อีกหนึ่งสถานที่เช็คอินที่ต้องห้ามพลาดเมื่อมาถึงอำ�เภอแม่ทา สะพานขาวรูปทรงโค้ง สถาปัตยกรรมแบบตะวันตก สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๖๑ แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๖๓ เป็นสะพานประวัตศิ าสตร์ทส่ี ร้างขึน้ ระหว่างภาวะสงครามจึงไม่สามารถหาเหล็กมาสร้างสะพาน ได้เพียงพอ สะพานแห่งนี้จึงเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก แต่ด้วยการคำ�นวณและควบคุมงานที่ ยอดเยี่ยมของนายพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำ�แพงเพชร อัครโยธินได้ ทำ�ให้สะพานขาวทาชมภูยังแข็งแรงและสามารถใช้งานได้จนถึงปัจจุบัน ที่อยู่ : หมู่ ๔ บ้านทาชมพู ตำ�บลทาปลาดุก อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน (อยู่ระหว่างสถานีขุนตานกับสถานีทาชมพู)
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๔๕
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
ชิม แชะ เช็คอิน
๔๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
Feel Good
ที่อยู่ : ๑๔๑/๑ หมู่ ๑๐ ตำ�บลทาสบเส้า อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน โซนกาแฟ : ๐๘.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. โซนร้านอาหาร : ๑๐.๐๐ น. – ๒๓.๐๐ น. (ครัวปิด ๒๒.๐๐ น.) โทรศัพท์ : ๐๙ ๕๖๙๒ ๖๔๙๖, ๐ ๕๓๐๙ ๖๔๗๖
VespaHome
ที่อยู่ : ๙๑ หมู่ ๙ บ้านป่าบง ตำ�บลศรีบัวบาน อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน : ๐๕.๓๐ น. – ๒๑.๓๐ น. โทรศัพท์ : ๐๙ ๗๙๒๙ ๙๙๔๐ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๔๗
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
ทีน ่ บ ่ี า้ นทา...กาแฟหน้าบ้าน
ที่อยู่ : สามแยกบ้านหนองยางฟ้า (ใกล้ปั๊มน้ำ�มัน) อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน : ๐๘.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น. โทรศัพท์ : ๐๖ ๒๔๒๘ ๒๔๑๙
ฟาร์มบ้านสวนตายาย
ที่อยู่ : ๑๓๓/๑ หมู่ ๓ ตำ�บลทาสบเส้า อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน : ๑๐.๐๐ น. – ๒๒.๐๐ น. โทรศัพท์ : ๐๘ ๑๖๘๑ ๙๙๑๖
๔๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
ลาบไก่หมืน ่ ข้าว
ที่อยู่ : ๒๗๘ หมู่ ๔ ตำ�บลทากาศ อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน เปิดทุกวัน : ๐๙.๐๐ น. – ๑๙.๐๐ น. (ปิดทุกวันเสาร์) โทรศัพท์ : ๐ ๕๓๕๗ ๔๒๘๙ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๔๙
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
ยางฟ้า ง อ น ห น า ้ บ ว เที่ย โปรแกรมท่อง เช้า เดน ิ ทางออกจากอำ�เภอเมืองเ ชียงใหม่ ไปยังบ้านหนองยางฟา้ ตำ�บ ลทาทงุ่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวด ั ลำ�พน ู สักการะพระประธาน ชมเงาพระธาตุ ในพระอุโบสถ ณ วัดทาหนองยางไคล
ชมการแกะสลกั ไม้ ณ บา้ นครูภมู ป ิ ญ ั ญาไมแ้ กะสลกั บา้ นสลา่ ทวี คำ�พกิ าศ บ า้ นสลา่ ไพศาล คำ�กาศ บา้ นสลา่ อุทยั ทาใจกาศ บา้ นสลา่ กจิ เกษม แกว้ ก าศ
๕๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
เที่ยง
รับประทานอาหารที่ ร้าน ลาบไก่หมื่นข้าว
แวะดืม่ กาแฟ ชมน้องแพะที่ ฟาร์มบ้านสวนตายาย
ถ่ายรูปเช็คอินที่ สะพานขาวทาชมภู
เย็น
เดินเที่ยวกาดแม่ทา (ตลาดบ้านทาดอยแก้ว) ็ ท่ี ารเยน ั ประทานอาห รบ od รา้ น Feel Go สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕๑
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
แผนที่ชุมชนไม้แกะสลัก
บ้านหนองยางฟ้า อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน
๕๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�ทา บ้านหนองยางฟ้า
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕๓
๕๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าลุ่มน้ำ�แม่ระมิงค์ ที่บ้านแม “แม่ระมิงค์” คืออีกชื่อหนึ่งของแม่น้ำ�ปิง แม่น้ำ�สายสำ�คัญของจังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์กลางแห่งอาณาจักรล้านนา หากย้อนกลับไปในยุค ของการก่อตัง้ พญามังราย ปฐมกษัตริยแ์ ห่งอาณาจักรล้านนา ได้นำ�ช่างฝีมือหลายแขนงมาช่วยสร้างบ้านแปงเมือง และหนึ่งในกลุ่มช่างที่ถูกนำ�เข้ามาก็คือ ช่างแกะสลักไม้ ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณบ้านวัวลาย ภายหลังมีชาวบ้านส่วนหนึ่งแยกย้ายไปอยู่แถบอำ�เภอหางดง และสันป่าตองที่ตําบลบ้านแม ทำ�ให้บ้านแมมีชาวไทเขินอาศัยอยู่ กระจัดกระจายรวมกับชาวลัวะและคนเมืองหรือไทยวน จึงมีดังคำ�ขวัญของบ้านแมที่ว่า “ชุมชนคนสามเผ่า ตำ�นานเก่าอำ�เภอใหญ่ ครูบานามลือไกล หอมหัวใหญ่ ไม้แกะสลักงาม”
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕๕
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
หมูบ ่ า้ นแกะสลัก บ้านกิว่ แลน้อย ที่ตำ�บลบ้านแมมีหมู่บ้านแกะสลัก “บ้านกิ่วแลน้อย” ซึ่งเต็มไปด้วยสล่าไม้แกะสลักมากฝีมือ หลายท่านทีร่ �ำ่ เรียนวิชาการแกะสลักไม้มาจากพ่อครูสล่าทีถ่ อื เป็น “สล่าเก๊า” คือพ่อครูสล่าบุญมี ท้าวปินตา พ่อครูสล่าใจ มโนแก้ว และ พ่อครูสล่าตา ธรรมรังสี โดยเฉพาะพ่อครูสล่าบุญมี ถือเป็นผู้นำ�วิชาการ แกะสลักไม้มาสู่บ้านกิ่วแลน้อย แม้ไม่ใช่คนกิ่วแลน้อยโดยกำ�เนิด เป็นเพียงเขยที่แต่งงานและย้ายถิ่นฐาน มาอยู่ที่นี่ แต่ด้วยใจรักในงานศิลปะจึงเริ่มฝึกฝนงานแกะสลักไม้ด้วยตนเองจนสามารถสร้างรายได้ให้กับ ครอบครัว จากนั้นจึงนำ�ความรู้เกี่ยวกับการแกะสลักไม้ โดยเฉพาะการแกะสลักช้างมาเผยแพร่ในชุมชน พ่อครูสล่าใจ มโนแก้ว และ พ่อครูสล่าตา ธรรมรังสี คือ ๒ ท่านที่ถูกเชื้อเชิญให้เข้ามาสอนงาน แกะสลักไม้ จนผลงานแกะสลักไม้บ้านกิ่วแลน้อยสวยงามและหลากหลายขึ้น และยังมี พ่อหนานธงชัย กิ่วแก้ว ที่เชี่ยวชาญการแกะลายพุทธประวัติและวรรณคดี ที่ได้ถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ลูกหาในชุมชน จำ�นวนมาก บ้านกิ่วแลน้อยจึงมีช่างแกะสลักที่สร้างสรรค์ผลงานจนมีชื่อเสียงและได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานต่างๆ จนได้รับเลือกให้เป็น “หมู่บ้านหัตถกรรมเพื่อการท่องเที่ยวหรือหมู่บ้านต้นแบบ (OTOP)” พ.ศ. ๒๕๔๘ และยังเป็นที่ตั้งของ “ศูนย์หัตถกรรมการแกะสลักไม้ของอำ�เภอสันป่าตอง” อีกด้วย ๕๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย เกือบทั้งหมู่บ้านกิ่วแลน้อยทำ�อาชีพแกะสลักไม้ ทั้งทำ�เป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม หากได้ลองไปเยี่ยมชมบ้านสล่า จะได้เห็นความมหัศจรรย์ของฝีมือการแกะสลักที่มีทั้งงานขนาดใหญ่ ไปจนถึงขนาดจิ๋วแต่ลงรายละเอียดลวดลายได้อย่างสวยงามสมจริง
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕๗
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยีย่ มบ้านสล่าอำ�พร ศรีหาตา ร้านขายของเกี่ยวกับงานไม้แกะสลักทีม่ ี ตัง้ แต่โต๊ะ เก้าอี้ ไปจนถึงของฝากชิ้นเล็กชิ้นน้อยให้ นักท่องเที่ยวได้ซื้อติดมือกลับบ้านของสล่าอำ�พร ศรีหาตา ด้านหลังเป็นโรงงานแกะสลักที่มีลูกน้อง ประจำ�หลายสิบคน และยังยินดีเปิดบ้านต้อนรับ นักเรียน นักศึกษา รวมถึงนักท่องเที่ยวทั่วไปให้มา ชมมาสัมผัสกับวิถีชีวิตแห่งการแกะสลักไม้ : บ้านเลขที่ ๓๐/๒ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ : ๐๘ ๑๘๘๕ ๐๐๗๕
เยีย่ มบ้านสล่าบัวเกีย๋ ง กิว่ แก้ว ร้านขายงานไม้แกะสลัก โรงเรียนสอน วิชาการแกะสลักให้กับเด็กๆ ที่สนใจ และที่พัก สำ�หรับผู้ที่ต้องการค้างอ้างแรม ทั้งหมดนี้รวมอยู่ที่ บ้านของสล่าบัวเกี๋ยง กิ่วแก้ว อดีตนางงามขวัญใจ บ้านกาดที่ผันตัวมาเปิดร้านเสริมสวย ก่อนจะมา เริม่ หัดแกะสลักไม้จากสล่าธงชัย กิว่ แก้ว และทำ�งาน แกะสลักมานานกว่า ๕๐ ปี หลงใหลลายไทยโบราณ และลายวรรณคดีต่างๆ ศึกษาความละเอียดของ ลวดลายและฝึกฝนจนชำ�นาญจากตำ�ราโบราณ นอกจากนี้ ยั ง รั บ แกะสลั ก งานตามสั่ ง จากลู ก ค้ า ทั่วไปด้วย : บ้านเลขที่ ๒๔๕ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ : ๐๘ ๗๑๘๒ ๑๙๖๒ ๕๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยีย่ มบ้านสล่าเจน นวลสุภา
ครูศลิ ป์ของแผ่นดิน ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
หากได้ยนิ เสียงเห่าประสานของสุนขั หลายตัวทีค่ อยต้นรับผูม้ าเยือน แปลว่าเราเดินทาง มาถึงบ้านของสล่าเจน นวลสุภา แล้ว รางวัลครูศิลป์ของแผ่นดิน ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ประเภทเครื่องไม้ (แกะสลักไม้) จาก ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) คือรางวัลล่าสุดที่การันตีได้ถึงคุณค่าและ คุณภาพของงานไม้แกะสลักฝีมือสล่าเจน ยังไม่นับอีกหลายรางวัลที่ตั้งโชว์อยู่ภายในบริเวณบ้าน แม้อายุจะมากขึน้ ตามกาลเวลา แต่งานของสล่าเจนก็ยงั อ่อนช้อยงดงามตามประสบการณ์ท่ี ได้ฝึกฝน สล่าเจนรับแกะสลักงานตามความต้องการของลูกค้าบ้าง และยังเต็มใจที่จะถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านงานแกะสลักไม้ให้กับนักเรียน นักศึกษา รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจ : บ้านเลขที่ ๑๙๕ หมูท่ ่ี ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ : ๐๙ ๓๑๓๗ ๓๙๐๘ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๕๙
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยีย่ มบ้านสล่าอนันต์ มณีทองง
สล่าอนันต์ มณีทอง เคยเปิดโรงงานเป็น ของตัวเอง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ ทำ�ได้ ๕ ปีก็ปิด ตัวลง ต่อมาจึงได้ไปรับจ้างเป็นหัวหน้าสล่าแกะไม้ ประจำ�ทีโ่ รงงานไม้แห่งหนึง่ จนกระทัง่ พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงได้กลับมาทำ�งานที่บ้าน งานที่สล่าอนันต์ทำ� ส่วนใหญ่เป็นการแกะสลักช้างลอยตัวหรือช้างลีลา ในลักษณะต่างๆ ทีเ่ ลียนแบบธรรมชาติ ขนาดใหญ่ ไปจนถึงขนาดกลาง
: บ้านเลขที่ ๒๐๐ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๙ ๓๘๖๐ ๔๔๗๐
เยีย่ มบ้านสล่าอำ�ภรณ์ ปินตาวงค์
เคยทำ � งานเป็ น หั ว หน้ า คนงานใน โรงงานแกะสลักของชาวจีน มีหน้าที่แกะสลัก ต้นแบบให้กับคนอื่นๆ นำ�ไปแกะสลักต่อ งาน ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น งานแกะสลั ก นู น ต่ำ � บนแผ่ น ไม้ เป็นรูปเจ้าแม่กวนอิม ปลาทอง ปัจจุบันยังคง ทำ�งานแกะสลักไม้ เป็นงานแกะสลักนูนต่ำ�และ นูนสูงลายไทย ลายกนก ลายป่า ลายชนบท ลายช้าง งานแกะสลักตกแต่งเครื่องเรือน และ ของตกแต่งบ้าน เช่น ไม้พาย ชุดรับแขก เป็นต้น : บ้านเลขที่ ๒๖ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๕๗๗๕ ๑๙๐๖
๖๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยีย่ มบ้านสล่าอำ�พรรณ มูลคำ�
เริ่มต้นจากการแกะสลักลายดอกไม้ บนเครื่องเรือน แล้วจึงมาแกะลายดอกไม้ท�ำ เป็น กรอบรูป ต่อมาจึงฝึกแกะสลักลายไทย ภาพ วิถีชีวิต และภาพเรื่องราวในวรรณคดีจนฝีมือดี จนสามารถแกะสลักภาพรามเกียรติ์ และได้รับ รางวัลเกี่ยวกับงานแกะสลักไม้มากมาย : บ้านเลขที่ ๑๔๖ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๕๐๕๘ ๕๙๗๕
เยีย่ มบ้านสล่าสมพร ใหม่จน ั แดง
เชี่ยวชาญด้านงานแกะลอยตัวรูปช้าง จากเล็กทีส่ ดุ ไปจนใหญ่ทส่ี ดุ งานแกะหน้าพระ เชิงเทียน ลายชนบทหรือลายท้องถิ่น ฐานพระปางต่างๆ รูปเหมือน แกะสัตว์ประจำ�ปีเกิด (๑๒ นักษัตร) และ แกะป้ายหมู่บ้านหรือป้ายร้านค้าต่างๆ นอกจากนี้ สล่าสมพรยังสามารถแกะสลักงานได้หลายรูปแบบ เช่น ช้างลีลา ช้างจิ๋ว ช้างแอฟริกา หรือการแยก ส่วนต่างๆ ของช้าง เพื่อประยุกต์ให้เข้ากับสิ่งของ เครือ่ งใช้ ทำ�ให้มโี อกาสร่วมแสดงงานในงานจัดแสดง สินค้าหลายแห่ง และเข้าร่วมกิจกรรมความรู้ด้าน ไม้แกะสลักของหลายหน่วยงาน : บ้านเลขที่ ๒ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๗๑๘๐ ๔๘๕๒
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๖๑
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยี่ยมบ้านสล่าดวงทิตย์ คำ�เมือง สะสมประสบการณ์จากการเรียนรูผ้ ่าน
ครูสล่าหลายๆ คน อาศัยวิธคี รูพกั ลักจำ� นำ�ข้อดี ของงานผูอ้ น่ื มาต่อยอดกับงานแกะสลักไม้ของตน อีกทัง้ เรียนรูจ้ ากหนังสือลายไทยต่างๆ ด้วยตัวเอง ทำ�ให้งานมีลวดลายทีส่ วยงามมากขึน้ เชีย่ วชาญ งานแกะสลักภาพนูนต่�ำ บนแผ่นไม้แบบ ๓ มิติ เรื่อง รามเกียรติ์ แผ่นป้ายชื่อ และงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ : บ้านเลขที่ ๒๒๓ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๓๑๕๔ ๘๑๓๘
เยี่ยมบ้านสล่าประดับ บุญศรี คุ้ น เคยกั บ งานแกะสลั ก มาตั้ ง แต่ เ ล็ ก โดยพ่อและแม่เป็นคนถ่ายทอด พัฒนาทักษะและ องค์ความรู้ด้านการแกะสลักลายไทยโบราณจาก สล่านายธงชัยและสล่าบัวเกีย๋ ง ๕ ปี ก่อนจะเดินทาง ไปฝึกอบรมทักษะงานที่ไต้หวันกับบริษัทสัญชาติ ญี่ปุ่นที่กรุงเทพฯ จากนั้นก็กลับมาอยู่บ้านเกิดถาวร เริ่มเก็บเศษไม้สักแผ่นมาแกะสลักลวดลายสัตว์ นานาชนิดและลายไทยกับลายพืน้ เมืองล้านนาส่งขาย ด้วยตนเองจนถึงปัจจุบันนี้ : บ้านเลขที่ ๑๔๙/๓ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๗๑๘๓ ๔๖๕๗
๖๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยี่ยมบ้านสล่าทวี ทองจ่าม ข้าราชการทหารเกษียณอายุราชการที่มี องค์ความรู้เรื่องการแกะสลักไม้ตั้งแต่อายุ ๖-๗ ปี โดยเรียนรู้จากพี่ชาย ผลงานการแกะสลักส่วนใหญ่ ของสล่าทวีจะเป็นการแกะสลักเพื่อเป็นของขวัญ ให้แก่ผู้บังคับบัญชา มักจะเป็นรูปช้างนูนสูงที่แกะ จากเปลือกไม้ และปัจจุบันก็ยังคงทำ�งานแกะสลัก เป็นอาชีพเสริม โดยจะแกะจากคำ�สั่งซื้อจากลูกค้า เพียงไม่กี่รายเท่านั้น
มหัศจรรย์ช้างตัวจิ๋วที่บ้าน สล่าเขียมทอง สวนแยง
: บ้านเลขที่ ๑๐๐ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๘ ๑๗๖๐ ๕๐๒๒
เศษไม้ชิ้นเล็กๆ ถูกนำ�มาแกะสลัก เป็นช้างตัวจิว๋ ขนาดเท่าเหรียญบาท ใครเห็นก็ตอ้ งทึง่ ในฝีมอื ของสล่าเขียมทอง สวนแยง แม้จะอายุ มากถึง ๗๖ ปีแล้ว แต่สายตาและฝีมอื ก็ยงั เฉียบขาด สามารถแกะสลักช้างพร้อมลงรายละเอียดของ ลวดลายผิวหนังได้อย่างสมจริง ใครชอบใจสามารถ อุดหนุนช้างจิ๋วทั้งครอบครัวของสล่าเขียมทอง ติดมือกลับไปเป็นของที่ระลึกหรือของฝากได้ หากเดินทางมาเยี่ยมสล่าเขียมทองที่ บ้าน ยังสามารถเดินไปเยีย่ มเยือนบ้านสล่าดวงต๋า สิทธิวัง และ สล่าพรหม ก้อนแก้ว ที่แกะสลัก ช้างจิ๋วได้เช่นกัน : บ้านเลขที่ ๒๐๑ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๙ ๓๑๘๖ ๖๐๒๑
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๖๓
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เยีย่ มบ้านสล่าดวงต๋า สิทธิวงั
ในอดีตสล่าดวงต๋า สิทธิวังสามารถ แกะสลักไม้เป็นรูปช้างขนาด ๓๐-๔๐ นิ้ว แต่ ปัจจุบันแกะสลักไม้เป็นรูปช้างได้ขนาดเล็กลง เหลือเพียง ๓-๕ นิ้ว และแกะได้เพียงวันละ ๑ ตัวเท่านั้น เนื่องด้วยปัญหาสุขภาพทางด้าน สายตาและอายุที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ความคล่องตัวใน การแกะสลักลดลง : บ้านเลขที่ ๒๘/๑ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ :-
เยีย่ มบ้านสล่าพรหม ก้อนแก้ว
เชี่ ย วชาญงานแกะสลั ก ไม้ เ ป็ น รู ป ช้างแบบลอยตัว ประเภทช้างจิ๋ว โดยได้เรียนรู้ วิชาการแกะสลักช้างมาจากสล่าดวงต๋า และแม้วา่ ปัจจุบันสล่าพรหมจะมีอายุ ๘๕ ปี ก็ยงั คงทำ�งาน แกะสลักช้างอยู่ แต่จะทำ�เฉพาะในช่วงเวลาที่ เว้นว่างจากการเกษตรเท่านั้น
: บ้านเลขที่ ๒๘ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐๙ ๓๒๕๑ ๖๘๖๙ ๖๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๖๕
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
วัดกิ่วแลน้อย
สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๕ โดย ศรัทธาชาวบ้านกิ่วแลน้อย ภายในประกอบด้วย วิหารทรงโบราณแบบล้านนา ภายในมีพระประธาน ก่ออิฐถือปูนปางมารวิชัยพร้อมพระพุทธรูปซ้าย ขวา มีศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์
: ๑๖๗ หมู่ ๑๐ ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
: ๐ ๕๓๘๒ ๒๖๔๗
กาดงัว (ตลาดนัดทุ่งฟ้าบด)
“งัว” คือภาษาเหนือ หมายถึง “วัว” แต่ เ ดิ ม เป็ น ตลาดนั ด สำ � หรั บ ซื้ อ ขายวั ว ที่ มี ม า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๒ แต่ปัจจุบันมีมากกว่านั้น คือมีทง้ั ของกินของใช้จ�ำ หน่ายมากมาย เป็นตลาดนัด อีกแห่งหนึ่งที่ใหญ่และได้กลิ่นอายของความ เป็นตลาดนัดท้องถิน่ เราสามารถพบเห็นได้ตง้ั แต่ สัตว์ เช่น วัว ไก่ เป็ด ห่าน ฯลฯ ผัก ผลไม้ อาหารพื้นเมือง เสื้อผ้า ไปจนถึงพระเครื่องและ รถจักรยานยนต์ : บ้านกิ่วแลหลวง หมู่ที่ ๔ ตำ�บลยุหว่า อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ : ๐๘ ๕๘๖๓ ๐๑๙๑ เปิดเฉพาะวันเสาร์ ๐๕.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ๖๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
กาดกิ่วแลหลวง (ตลาดเช้าบ้านกิ่วแลหลวง)
เดินชมบรรยากาศของตลาดชุมชน ช้อปปิ้งผักพื้นเมือง ผลไม้สดตามฤดูกาล อาหารและขนมโบราณที่หาชิมได้ยาก
: ๙๕ หมู่ที่ ๑๐ ตำ�บลยุหว่า อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๖๗
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
จิบกาแฟ ชิมอาหาร บ้านกิ่วแลน้อย ไม่ได้มีเพียงบ้านสล่าแกะสลักไม้หรือร้านขายงานไม้แกะสลัก ที่น่าเที่ยวชมเท่านั้น แต่บ้านกิ่วแลน้อย อำ�เภอสันป่าตอง ยังมีคาเฟ่เท่ๆ และร้านอาหารสวยๆ ไว้คอยต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือน
๖๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
สุขมุ คาเฟ่ (SUKHUM Caffe) ที่อยู่ : ๓๒๐ หมู่ที่ ๕ ตำ�บลทุ่งต้อม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดทุกวัน : ๐๗.๐๐ น. – ๑๘.๐๐ น. โทรศัพท์ : ๐๙ ๗๑๖๗ ๘๗๓๘
จัดแจ๋งแป๋งงาม
ที่อยู่ : ๕๑๔ ถนนมะจำ�โรง ตำ�บลยุหว่า อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดทุกวัน : ๑๐.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น. (หากมีงานเลี้ยงจะปิดให้บริการ) โทรศัพท์ : ๐๘ ๗๕๔๗ ๑๒๙๕
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๖๙
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
ก๋วยเตี๋ยวรสเด็ดแยกท้าวบุญเรือง สาขา ๒
ที่อยู่ : ใกล้สามแยกสันป่าตอง ติดกับนิ่มซี่เส็ง ก่อนถึงไฟแดงแรก (แยกท่ากระดาษ) ตำ�บลทุ่งต้อม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดทุกวัน : ๐๗.๐๐ น. – ๑๕.๐๐ น. (ร้านหยุดเดือนละ ๑-๒ ครั้ง) โทรศัพท์ : ๐๘ ๗๕๒๔ ๔๓๐๑
สล่ากาแฟ
ทีอ่ ยู่ : ติดกับร้านก๋วยเตีย๋ วรสเด็ดแยกท้าวบุญเรือง สาขา ๒ เปิดทุกวัน : ๐๘.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น. (ปิดทุกวันอังคารที่ ๔ ของเดือน) โทรศัพท์ : ๐๘ ๔๙๘๗ ๒๕๓๓
๗๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
ระเบียงเข้าท่า
ที่อยู่ : ๘๒/๑ ถนนเลี่ยงเมืองสันป่าตอง ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดทุกวัน : ๑๑.๐๐ น. – ๒๓.๐๐ น. โทรศัพท์ : ๐๘ ๑๔๗๒ ๕๙๕๘
คาเฟ่โรงบ่ม
ที่อยู่ : ในโรงแรมเก๊าไม้ล้านนา เลขที่ ๑ หมู่ ๖ ถนนเชียงใหม่ – ฮอด ตำ�บลบ้านกลาง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดทุกวัน : ๐๘.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น. โทรศัพท์ : ๐ ๕๓๘๓ ๔๔๗๐ - ๒
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้ ๗๑
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านกิ่วแลน้อย
เช้า เดินทางออกจากอำ�เภอเมืองเชียงใหม่ไปยัง บ้านกิ่วแลน้อย ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง แวะสักการะพระพุทธรูป ณ วิหารหลวง วัดกิ่วแล น้อย
ชมการแกะสลักไม้ ณ บ้านครูภูมิปัญญาไม้แกะสลัก บ้านสล่าบัวเกี๋ยง กิ่วแก้ว บ้านสล่าเจน นวลสุภา บ้านสล่าเขียมทอง สวนแยง
๗๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
เที่ยง
รับประทานอาหารที่ร้านก๋วยเตี๋ยวรสเด็ด แยกท้าวบุญเรือง สาขา ๒
แวะดื่มกาแฟที่ร้านสล่ากาแฟ
เยี่ยมชมศูนย์ไม้แกะสลักบ้านกิ่วแลน้ อยของ สล่าอำ�พร ศรีหาตา
เที่ยวพิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณ จัดแจ๋งแป๋งงาม
เย็น รับประทานอาหารเย็นที่ร้านระเบียงเข้าท่า ก่อนกลับยังสามารถตื่นเช้าไป ช้อปปิ้งของท้องถิ่นที่ ตลาดเช้าบ้านกิ่วแลหลวง หรือหากมาตรงกับวันเสาร์ก็ค วร แวะเที่ยวกาดงัว
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้ ๗๓
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
แผนที่ชุมชนไม้แกะสลัก
บ้านกิ่วแลน้อย
ตำ�บลบ้านแม อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
๗๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่า บ้านกิ่วแลน้อย
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๗๕
๗๖
แกะรอย...คนแกะไม้ แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักกงานวั งานวัฒ ฒนธรรมจั นธรรมจังงหวั หวัดดลำ�ปาง ลำ�ปาง สำ�นั
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย ชือ่ “สบเมย” นัน้ หมายถึงพืน้ ทีท่ แ่ ี ม่นำ้ �สาละวินและแม่นำ้ �เมย มาบรรจบกัน กว่า ๙๘% ของพื้นที่เป็นพื้นที่ป่า ช่วงที่ มีการสัมปทานป่าไม้ในอดีต ที่นี่เป็นแหล่งสัมปทานไม้สัก และเป็นเส้นทางลากไม้จากแม่ฮ่องสอนไปยังเชียงใหม่ ซึ่งปัจจุบันนี้ยังมีตอไม้สักและไม้สักที่หลงเหลือจาก การสัมปทานในครัง้ นัน ้ ว่ากันว่าหากเดินเลาะไปตามลำ�น้ำ� ก็สามารถหาไม้สักมาแกะสลักงานได้เลย
สำ�นักกงานวั งานวัฒ ฒนธรรมจั นธรรมจังงหวั หวัดดลำ�ปาง ลำ�ปาง สำ�นั
แกะรอย...คนแกะไม้ ๗๗ แกะรอย...คนแกะไม้
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
เมื่ อ วั ต ถุ ดิบ พร้ อ มทางอำ � เภอและ สำ�นักงานพัฒนาชุมชนเล็งเห็นถึงการนำ�ไม้เหล่านี้ มาก่อให้เกิดมูลค่า และสร้างงานให้กับชุมชน จัดการอบรมการแกะสลักไม้เพือ่ พัฒนาฝีมอื สล่า โดยให้สล่าที่มีฝีมือจากจังหวัดเชียงใหม่มาสอน จากนัน้ สล่าก็ประยุกต์น�ำ เทคนิคต่างๆ มาใช้ จน กลายเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ทีน่ เ่ี ราจะได้เรียนรู้ การแกะสลัก พร้อมกับการเที่ยวชมป่าเขาของ เมืองสามหมอกไปในคราวเดียวกัน
ต่อมาถูกยกฐานะเป็น อำ�เภอเมืองยวม ตามชื่อ ลำ�น้ำ�ยวมที่ไหลผ่าน แต่ก็ไปพ้องกับอำ�เภอ ขุนยวมที่มีอยู่ก่อนแล้ว จึงเปลี่ยนเป็นอำ�เภอ แม่สะเรียง ตามชือ่ แม่น�ำ้ แม่สะเรียง ใน พ.ศ. ๒๕๒๗ ทางการได้แยกอำ�เภอแม่สะเรียงและกิ่งอำ�เภอ สบเมยออกจากกัน และกลายมาเป็นอำ�เภอสบเมย จนทุกวันนี้ ด้วยพื้นที่ที่เต็มไปด้วยป่าไม้แม่น้ำ� และขุนเขาจึงทำ�ให้อำ�เภอสบเมยยังคงมีสถานที่ ท่องเที่ยวตามธรรมชาติที่สมบูรณ์และสวยงาม นอกจากนี้ ด้ว ยความที่ อำ � เภอสบเมยมี เ ขต รู้จักอำ�เภอสบเมย ติดต่อกับพม่า ทำ�ให้มีความหลากหลายของ อำ � เ ภ อ ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ข อ ง จั ง ห วั ด ชาติพันธุ์ ทั้งคนเมือง ปาเกอญอ ไทใหญ่ อาศัย แม่ฮอ่ งสอนนีม้ ปี ระวัตยิ าวนานกว่า ๕๐๐ ปี ด้วย อยู่ร่วมกันเป็นสีสันที่สร้างเสน่ห์ให้กับเมือง เหตุที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของอำ�เภอแม่สะเรียง มาก่อน จึงมีประวัติที่เกี่ยวเนื่องกัน แต่ก่อน บริเวณนีเ้ ป็นเมืองหน้าด่านทีเ่ รียกว่า “เมืองยวมใต้” พ.ศ. ๑๙๙๗ มีชอ่ื เรียกว่าเมืองยวมตะวันตกของ เชียงใหม่ ในช่วงทีล่ า้ นนาปกครองโดยพม่า หลังจาก มี ก ารขั บ ไล่ พ ม่ า ออกจากพื้ น ที่ มี ก ารฟื้ น ฟู บ้านเมืองขึน้ มาใหม่เพราะหลายๆ เมืองถูกทิง้ ร้าง ไม่เว้นบริเวณเมืองแม่สะเรียงที่มีสภาพเกือบเป็น เมืองร้างใน พ.ศ. ๒๓๓๒ ตามหลักฐานในใบลาน หนังสือยวมกล่าวว่า ในเวลานั้นทั้งแปดหมู่บ้าน มีบ้านอยู่ประมาณ ๒๐๐ หลังคาเรือน เฉพาะใน ตัวเมืองมีคนอยู่ประมาณ ๑๐-๑๒ ครอบครัว เท่านัน้ เพราะถูกพวกยางแดงเข้าปล้นเป็นประจำ� ต่อมาเมืองได้เปลีย่ นชือ่ เป็น เมืองเชียงใหม่ตะวันตก ๗๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
แกะรอยคนแกะไม้อำ�เภอสบเมย
แม่ฮ่องสอนเป็นเมืองที่ถูกจัดอันดับว่าเป็นเมืองที่ประชากรมีรายได้ต่อครัวเรือนน้อยที่สุด ในประเทศ แต่มีดัชนีความสุขสูงที่สุดในประเทศเช่นกัน (ข้อมูลจาก รายงาน “ดัชนีความก้าวหน้า ของคน” สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ศสช.) พ.ศ. ๒๕๖๑) ที่อำ�เภอสบเมย นอกเหนือจากการทำ�การเกษตรแล้วก็มีรายได้จากการท่องเที่ยวแต่ก็ยังไม่เพียงพอ ทางราชการจึงคิดผันตอไม้และไม้ทเ่ี หลือจากการสัมปทานไม้ให้มาเป็นประโยขน์ ให้ชาวบ้านมีรายได้ เพิ่มขึ้น จึงเกิด “กลุ่มแกะสลักไม้บ้านแม่สามแลบ” โดยมีสล่าชัยวัฒน์ ทาตา เป็นผู้ก่อตั้งและเป็น หัวหน้ากลุม่ ปัจจุบนั มีสล่าแกะสลักไม้ตามบ้านเป็นอาชีพเสริมหลายหลัง และบางบ้านก็เป็นศูนย์รวม งานแกะสลักไม้ทส่ี ล่าหลายคนไปนัง่ ทำ�งานหรือเอางานไปรวมกันทีน่ น่ั งานแกะสลักไม้ของอำ�เภอสบเมยนัน้ ละเอียดประณีต มีทั้งแบบลอยตัว นูนสูง นูนต่ำ� และงานแกะสลักป้ายไม้ตามความต้องการ
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๗๙
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
เที่ยวบ้านสล่าอำ�เภอสบเมย อำ�เภอสบเมย มีทั้งหมด ๖ ตำ�บล อันได้แก่ ตำ�บลสบเมย ตำ�บลแม่คะตวน ตำ�บลกองก๋อย ตำ�บลแม่สวด ตำ�บลป่าโป่ง และตำ�บลแม่สามแลบ โดยชุมชนคนแกะไม้สว่ นใหญ่จะกระจุกตัวอยูท่ ต่ี ำ�บลแม่คะตวน ตำ�บลสบเมย และตำ�บลแม่สามแล กลุ่มที่รวมตัวกันได้ชัดเจนที่สุด คือ กลุ่มหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านคอนผึ้ง เพื่อไม่ให้เสียเที่ยวนอกจาก จะไปเที่ยวชมงานไม้และเรียนรู้การแกะสลักไม้ที่บ้านคอนผึ้งแล้ว ก็น่าจะถือโอกาสเที่ยวอำ�เภอสบเมยแบบครบครัน ได้ทั้งความรู้และเที่ยวไปพร้อมๆ กัน
๘๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
กลุ่มแกะสลักไม้บ้านคอนผึ้ง
กลุ่มสล่าแกะสลักไม้บ้านคอนผึ้งนั้นเกิดจากการรวมตัวกันของสล่าแกะไม้คอนผึ้ง โดยมี งานหลากหลายรูปแบบ อาทิ งานลอยตัว งานภาพนูนต่ำ�ลายธรรมชาติ และงานแกะสลักภาพสัตว์ ในวรรณคดีอย่างปลาอานนท์ : บ้านเลขที่ ๓๔ หมู่ที่ ๕ (บ้านคอนผึ้ง) ตำ�บลแม่คะตวน อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
: ๐๘ ๖๑๙๗ ๓๒๓๕ , ๐๘ ๕๗๐๗ ๐๗๓๑
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๘๑
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
รู้จักพ่อครูแกะสลักไม้บ้านคอนผึ้ง สล่าสมบูรณ์ ใจหลวง
พ่อครูสล่าสมบูรณ์ ใจหลวงเป็นลูกศิษย์ สล่าอ้น หรือสล่าชัยวัฒน์ ทาตา เริ่มเรียนการ แกะสลักไม้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ จากอาสาสมัคร รักษาดินแดน พ่อครูสล่าสมบูรณ์เปลี่ยนอาชีพ มาจับค้อนจับสิ่วโดยสมบูรณ์ เปิดบ้านให้เป็น กลุ่มแกะสลักไม้บ้านคอนผึ้ง ที่กลุ่มแกะสลักไม้ บ้านพ่อครูสล่าสมบูรณ์นั้น มีพื้นที่กว้างขวาง มีงานแกะสลักให้เลือกซื้อ และพ่อครูสมบูรณ์ ก็พร้อมที่จะสอนการเริ่มต้นแกะสลักไม้ให้กับ คนที่สนใจ ติดต่อ พ่อครูสล่าสมบูรณ์ล่วงหน้า ก่อนเข้าไปเรียนรู้การแกะไม้
สิบโทสง่า จอมปวง
ผู้เชี่ยวชาญด้านการแกะลายทิวทัศน์ สิบโทสง่า จอมปวง ยังคงเป็นทหารในหน่วย พัฒนาเคลื่อนที่ ๓๖ ซึ่งทำ�งานแกะสลักไม้เป็น อาชีพเสริ ม หลั ง เลิ ก งานมากว่า ๑๐ ปีแล้ว งานของสิบโทสง่า มีวางอยู่ที่ กลุ่มแกะสลักไม้ บ้านคอนผึ้ง
: บ้านเลขที่ ๓๔ หมูท ่ ่ี ๕ (บ้านคอนผึง้ ) ตำ�บลแม่คะตวน อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
: ๐๘ ๖๑๙๗ ๓๒๓๔, ๐๘ ๕๗๐๗ ๐๗๓๑
: บ้านเลขที่ ๒๐๐ หมู่ ๕ (บ้านคอนผึ้ง) ตำ�บลแม่คะตวน อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
: ๐๘ ๐๙๑๙ ๒๗๕๗ ๘๒
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
สล่าวิชาญ ไทยานันท์
ทำ�งานแกะสลักประเภทนูนต่� ำ ลายป่า ช้าง และป้ายชื่อร้าน งานแกะสลักประเภท ลอยตัวรูปช้าง และทำ�งานที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ บ้ า นสล่าวิชาญตั้งอยู่บนเนินเขาหากจะเข้าไป ต้องติดต่อล่วงหน้า : บ้านเลขที่ ๒๔๐ หมูท่ ่ี ๒ (บ้านแม่คะตวน) ตำ�บลสบเมย อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน : ๐๘ ๐๘๕๗ ๔๔๕๖
สล่าโกศล ใจคำ�
ด้วยฝีไม้ลายมือที่ประณีต จึงทำ�ให้ สล่าโกศลได้งานจากสำ�นักงานราชการต่างๆ งานที่เขาแกะสลัก ได้แก่ ภาพลอยตัวรูปครุฑ ภาพนูนต่ำ�รูปตัวสัตว์ในวรรณคดี และเทพเจ้า : บ้านเลขที่ ๕๑๔ หมู่ ๑ (บ้านผาผ่า) ตำ�บลแม่คะตวน อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน : ๐๙ ๓๑๖๕ ๕๐๙๒
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๘๓
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
รูจ้ กั พ่อครูแกะสลักไม้ตำ�บลแม่สวด พระจำ�ลอง ขนฺติจิตฺโต
สล่าจำ�ลอง หอมไพรวัลย์ (นามเดิม ของพระจำ�ลอง ขนฺติจิตฺโต) เริ่มทำ�งานไม้ตอน อายุ ๒๕ ปี งานแกะสลักส่วนใหญ่เป็นการ แกะสลักภาพนูนต่ำ�บนแผ่นไม้ อินเดียนแดง หน้าพระ ลายพญานาค ลายไทย และวิถีชีวิต พระจำ�ลอง เข้าสูร่ ม่ กาสาวพัสตร์อกี ครัง้ เมือ่ อายุ ได้ ๓๓ ปี และยังทำ�งานแกะสลักไม้ทว่ี ดั แม่เกาะ : วัดแม่เกาะ เลขที่ ๓ หมู่ ๘ ตำ�บลแม่สวด อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พระมุยโย ชัยพรมมณี
ส่วนใหญ่ พระมุยโยทำ�งานงานแกะสลัก ภาพนูนต่ำ�บนแผ่นไม้ เป็นแผ่นป้ายชื่อ และลาย วิถีชีวิต : วัดแม่เกาะ เลขที่ ๓ หมู่ ๘ ตำ�บลแม่สวด อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๘๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
รู้จักพ่อครูแกะสลักไม้ตำ�บลแม่ทะลุ สล่าสุเมธ พนาพงศ์ไพร ยึดอาชีพแกะสลักไม้เป็นอาชีพเสริม
ควบคู่กับการเป็นเกษตรกร โดยงานที่แกะสลัก ส่วนใหญ่เป็นรูปอินเดียนแดง อาปาเช่ รูปลายไทย หน้าพระ ลายท้องถิ่น ลายป่าเขา : บ้านเลขที่ ๗๔ หมูท ่ ่ี ๕ (บ้านแม่ทะลุ) ตำ�บลสบเมย อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
: ๐๖ ๑๓๖๙ ๓๒๗๐ รู้จักพ่อครูแกะสลักไม้ตำ�บลแม่สามแลบ เที่ยวพื้นที่เริ่มต้นของงานแกะสลักไม้บ้านสล่าอ้น (เดิม)
กลุม่ เฮือนไม้ ทีซ่ อ่ นตัวอยูใ่ นกลุม่ ต้นไม้ที่ เขียวขจี ด้านข้างมีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เป็น ที่ตั้งของสำ�นักสงฆ์บ้านสบเมย ตั้งอยู่บริเวณที่ สามารถมองเห็นวิวทีแ่ ม่น�ำ้ เมยและแม่น�ำ้ สาละวิน มาบรรจบกันพอดี แรกเริ่มเดิมทีในครั้งที่การ ท่องเทีย่ วของสบเมยเฟือ่ งฟู พืน้ ทีน่ ้ี คือ โฮมสเตย์ ชื่อบ้านสล่าแพง ซึ่งเป็นพ่อของสล่าอ้น ชัยวัฒน์ ทาตา ผู้ก่อตั้งกลุ่มแกะสลักไม้บ้านแม่สามแลบ นัน่ เอง โฮมสเตย์นเ้ี ดิมเป็นเรือนไม้ มีทง้ั หมด ๗ หลัง ปัจจุบันนี้เหลืออยู่เพียงไม่กี่หลัง พ่อสล่าแพง ได้สอนการแกะไม้ให้กบั สล่าอ้น และทีน่ ก่ี เ็ ป็นพืน้ ที่ สร้างงานยุคแรกๆ ของสล่าอ้น หากล่องเรือแม่น�ำ้ สาละวินมาเพื่อถ่ายภาพพื้นที่ที่สายน้ำ�บรรจบ กันแล้ว ก็แวะเที่ยวบ้านสบเมย และลองเข้าไป เยีย่ มชมสำ�นักสงฆ์ดไู ด้ เรือนไม้ของพ่อสล่าแพง
สวยงาม สมกับเป็นสล่าไม้ของสมัยนั้น ปัจจุบัน สล่าอ้นย้ายบ้านและทีท่ �ำ งานมาอยูท่ บ่ี า้ นแม่สามแลบ ตัง้ อยูร่ ะหว่างทางทีจ่ ะขึน้ ไปพระธาตุแม่สามแลบ สนใจเรียนรู้เรื่องการแกะสลักไม้ ติดต่อผู้ชาย แกะไม้อารมณ์ดีสล่าอ้นได้เลย : บ้านเลขที่ ๘๙ หมู่ ๑ บ้านแม่สามแลบ ตำ�บลแม่สามเเลบ อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
: ๐๘ ๐๐๓๓ ๑๒๕๗
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๘๕
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง
๘๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
ตำ�บลแม่คะตวน วัดคอนผึ้ง
บ้านคอนผึง้ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ คาดว่ า วั ด น่ า จะก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ใกล้ เ คี ย งกั บ ชุ ม ชน ชื่อคอนผึ้ง มาจากคำ�ว่า “หมู่บ้านเหล่ากอนผึ้ง” เพราะแต่เดิมเป็นป่าทีม่ รี งั ผึง้ อยูม่ าก ภายหลังผึ้ง ย้ายทีอ่ ยูเ่ หลือรังติดกิง่ ไม้เป็นจำ�นวนมาก จึงเรียก บ้านเหล่ากอนผึง้ ภายหลังเพี้ยนเป็นคอนผึ้งและ คำ�ว่าเหล่าหายไป วัดผาผ่า
วัดสำ�คัญวัดหนึ่งของตำ�บลแม่คะตวน แต่เดิมชื่อวัดดอยล้อมตามชื่อหมู่บ้านเดิม ซึ่ง หมายถึงหมูบ่ า้ นทีอ่ ยูก่ ลางหุบเขา เหตุทช่ี อ่ื ผาผ่านัน้ มีเรือ่ งเล่าว่า ในวันหนึง่ เกิดฝนฟ้าคะนอง ชาวบ้าน ได้ยินเสียงเหมือนภูเขาถล่ม พบว่าเป็นร่องรอย ของหินขนาดใหญ่ราว ๖ คนโอบตกครูดไถลลงมา ผ่านไปตามทางของหมูบ่ า้ น โดยหินทีว่ า่ นีม้ ลี กั ษณะ ขาวสลับดำ� จึงเรียกดอยที่หินกลิ้งตกลงมานั้น ว่าดอยผาลาย ตามลักษณะของหินที่เป็นลาย ทีว่ ดั นีเ้ ป็นทีป่ ระดิษฐานรูปเหมือนของครูบาผาผ่า หรือพระครูปัญญาวรวัตร เจ้าอาวาสวัดผาผ่า
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๘๗
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
อนุเสาวรีย์ครูบาผาผ่า
เป็นพื้นที่บริเวณพระราชทานเพลิงศพ ของครูบ าผาผ่า มีส ถูป เจดีย์แ ละรูปเหมือน ของท่านด้วย ภายในบริเวณเดียวกันทางทิศเหนือ มีเ ส้ น ทางเดิ น ขึ้ น พระเจดี ย์ ท ที่ บ รรจุ อั ฐิ ข อง ครูบาผาผ่า
อุโบสถเก่าวัดผาผ่า
อยู่ตรงข้ามกับอนุสาวรีย์ผาผ่า เป็น อุโบสถไม้อายุร่วม ๒๐๐ ปี ซึ่งใช้ประกอบ พิธกี ารทางศาสนาเมือ่ ครัง้ ครูบาผาผ่ายังมีชวี ติ อยู่ ๘๘
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
ตลาดเช้าห้าแยกกองซุม
ตลาดห้าแยกศาลากองซุม หมายถึง ตลาดห้าแยกศาลาที่มีคนมาชุมนุมกัน ชาวบ้าน จะเอาของมารวมกั น ขายที่ ศ าลาของชุ ม ชน ใครที่มีบ้านติดตลาดก็นั่งขายอยู่หน้าบ้าน มีผกั ของสด ขนม น้ำ�เต้าหู้ ตลาดเปิดเวลา ๐๔.๐๐ น - ๐๗.๐๐ น.
ดอยพุยโค
ไปชมทะเลหมอกตามหาต้นเดียวดาย และสะพานไม้ ที่ดอยพุยโค เป็นภเูขาลูกเล็กๆ ทีส่ ามารถเดินขึน้ ได้ ระยะทางราวๆ ๘๔๐ เมตร ใช้เวลาเดินราวๆ ๒๐-๓๐ นาที (แล้วแต่สภาพ ร่างกายของแต่ละคน) ด้านบนมีพื้นที่กางเตนท์ และห้องน้ำ�สำ�หรับค้างแรม การเดินทาง: เริ่มต้นที่ตัวอำ�เภอสบเมย ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๐๐๔ มุ่งไปบ้านอุมดาเหนือ ผ่านบ้านแม่ออกใต้ราว ๕ กิโลเมตร ก็จะถึงจุดจอดรถ
ตำ�บลแม่สามแลบ ล่องเรือแม่สามแลบ
ชมทัศนียภาพสองฝั่งแม่น้ำ�สาละวิน สามารถล่องเรือทีบ่ า้ นแม่สามแลบไปบ้านสบเมย จุดทีแ่ ม่น�ำ้ เมยมาเจอแม่น�ำ้ สาละวิน ชมสำ�นักสงฆ์ และพระใหญ่รมิ น้�ำ บ้านสบเมย เดินเล่นในหมูบ่ า้ น สัมผัสวิถีชีวิตเรือนแพริมน้ำ�สาละวิน ล่องเรือได้ ตัง้ แต่เวลา ๐๘.๐๐ น - ๑๗.๐๐น ราคา เทีย่ วละ ๑,๕๐๐ บาท เวลาขาไป ๔๕ นาที ขากลับ ๑.๓๐ ชั่วโมง สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๘๙
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
จุดผ่อนปรนการค้าชายแดนแม่สามแลบ
เป็ น ตลาดที่ ท อดยาวขนานไปกั บ แม่น้ำ�สาละวินจรดทางออกที่จะไปขึ้นเรือ มีทั้ง อาหารสด อาหารปรุงสำ�เร็จ อาหารแห้ง เสื้อผ้า สินค้าจากฝัง่ พม่า โดยเฉพาะในวันศุกร์ชว่ งครึง่ เช้า จะคึกคักเป็นพิเศษ เพราะมีตลาดนัดยามเช้าทีม่ ี แม่คา้ จากตลาดอืน่ ๆ มาร่วมขายด้วย ตลาดเปิด ๐๖.๐๐ น.- ๑๘.๐๐ น.
วัดแม่สามแลบ
วัดไม้อาคารยกใต้ถุนสูง เป็นศิลปะ แบบไทใหญ่ อยูด่ า้ นหลัง กศน.บ้านแม่สามแลบ มี พ ระสงฆ์ ช าวไทใหญ่ จำ � วั ด อยู่ ส องสามรู ป บรรยากาศสงบร่มรื่น
พระธาตุแม่สามแลบ
ตัง้ อยูบ่ นดอยบริเวณทีต่ ง้ั พระธาตุสามารถมองเห็น แม่น�ำ้ สาละวินป่าไม้ฝง่ั พม่า และทัศนียภาพมุมสูง ของบ้านแม่สามแลบ ๙๐
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
ชิม แชะ เช็คอิน ทีก่ นิ ทีน่ อนทีส่ บเมย
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๙๑
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
ก๋วยเตี๋ยวป้ามล ข้างวัดผาผ่า
เปิด ๐๘.๐๐ น. - จนกว่าจะหมด
ข้าวแกงป้าอร บ้านผาผ่า
เปิด ๐๖.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. หยุดทุกวันพุธกลางเดือน โทรศัพท์: ๐๙ ๐๗๖๑ ๑๙๒๘
ครัวกั๊ตจัง
เปิด ๐๙.๐๐ น. - ๒๐.๐๐ น. ปิดวันเสาร์
๙๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
ร้านครัวทับทิม บ้านแม่สวด
ร้านอยู่ห่างจากโรงพักสบเมย ๕๐๐ เมตร เปิด ๐๗.๐๐ น. - ๒๐.๐๐ น. ปิดวันอาทิตย์ โทรศัพท์: ๐๙ ๓๒๗๘ ๘๘๓๖
อ๊อดสบเมย หน้าอำ�เภอสบเมย
เปิด ๑๖.๐๐ น. - ๒๐.๐๐ น. โทรศัพท์: ๐๘ ๒๑๘๖ ๘๔๕๕
ร้านกาแฟห้วยเคิ่ง
ร้านเปิด ๐๙.๐๐ น.- ๑๘.๐๐ น. โทรศัพท์: ๐๖ ๒๒๕๓ ๒๕๓๓
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๙๓
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
เมย ๑ วัน บ ส ว ย ่ ี เท ง อ ่ ท ม ร โปรแก
เช้า
เทีย่ ววัดคอนผึง้ สักการะพระประธานวัดดอนผึง้ ั ผาผ่า ้ ำ�นานบ้านผาผ่าทีว่ ด เรียนรูต
นมัสการอนุสาวรีย์ครูบาผาผ่า ชมจุดชมวิว ๓๖๐ องศา บนพระธาตุผาผ่า
๙๔
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
เที่ยง
รับประทานอาหารที่ ร้านกั๊ตจังใกล้สถานีตำ�รวจสบเมย
ออกเดินทางไปแม่สามแลบ เดินเล่นตลาดชายแดนแม่สาม แลบ ล่องเรือแม่น้ำ�สาละวินไปเที่ยวบ ้านสบเมย ชมพระอาทิตย์ตกดินที่พระธา ตุแม่สามแลบ
เย็น พักผ่อนที่โฮมสเตย์ ที่พักที่แม่สามแลบ สาละวินเกสท์เฮ้าส์ โทร. ๐๙ ๙๒๔๓ ๖๙๒๘ (ผู้ช่วยเปี๊ยก) ที่พักในตัวเมืองสบเมย ฮ่อมห้วยฮิมดอย โทร. ๐๘ ๐๖๗๓ ๗๔๒๐ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๙๕
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
แผนที่ชุมชนไม้แกะสลัก
อำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชัยวัฒน์ ทาตา
๘๙ ม.๑ บ้านแม่สามแลบ ต.แม่สามเเลบ
ศูนย์ OTOP แม่สามแล่บ
๙๖
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
เที่ยวบ้านสล่าแห่งแม่น้ำ�สองสาย
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
๙๗
บรรณานุกรม กิตติชยั วัฒนานิกร. (๒๕๕๘). ‘นายห้างป่าไม้’ สีสนั ชีวติ อดีตล้านนา. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. เชียงใหม่: สันติภาพแพ็คพริ้นท์. ชยันต์ วรรธนะภูติ. (๒๕๔๖). ความเชื่อพื้นบ้านล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง. ชาวบ้านย่านวัดเกต. (๒๕๔๙). บ้านต้าวัดเกต Baan Ta Wat Ket. เชียงใหม่: ชมพูการพิมพ์และถ่ายเอกสาร. ดาริกา มุสกิ ลุ , อภิชาต ภัทรธรรม และ สันติ สุขสอาด. (๒๕๕๒, กรกฎาคม-ตุลาคม). การตลาดของไม้แกะสลักในจังหวัดลำ�ปาง Marketing of Wood Carving in Lampang Province. วารสารการจัดการป่าไม้, ๓(๖), ๕๕-๕๖. ธิติ วิสารัตน์. (๒๕๕๖). องค์ความรู้ไม้สักไทย Thai teak knowledge. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้. น. ณ ปากนำ�้. (๒๕๖๐). วิวัฒนาการลายไทย. นนทบุรี: เมืองโบราณ. เนาวรัตน์ ฐิติชาญชัยกุล. (๒๕๕๕). ภูมิปัญญาศิลปหัตถกรรมการแกะสลักไม้ : กรณีศึกษาสหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้สันป่าตอง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (ศิลปศึกษา).กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา, พิธากรณ์ ธนิตเบญจสิทธิ์ และ สุชาดา เมฆพัฒน์. (ม.ป.ป). การพัฒนาสินค้าหัตถกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบ้านถวาย โดยชุมชน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. ไพศาล คำ�กาศ. (๒๕๕๖). การจัดการความรู้การแกะสลักพระพุทธรูปไม้ บ้าน หนองยางฟ้า ตำ�บลทาทุง่ หลวง อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้. ถ่ายเอกสาร. มณี พยอมยงค์ และ ศิริรัตน์ อาศนะ. (๒๕๔๙). เครื่องสักการะในล้านนาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒.เชียงใหม่: โรงพิมพ์ ส. ทรัพย์การพิมพ์. ลีโอโนเวนส์ และ แอนนา แฮร์เรียต. (๒๕๖๒). อ่านสยามตามแอนนา : การบ้าน และการเมืองในราชสำ�นักคิงมงกุฎ. แปลโดย สุภัตรา ภูมิประภาส และ สุภิตา แก้วสุขสมบัติ. ไม่ปรากฏเลขหน้า. วิมล จิโรจพันธ์, ประชิด สกุณะพัฒน์ และ กนิษฐา เชยกีวงศ์. (๒๕๕๑). มรดก ทางวัฒนธรรมภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: แสงดาว. วิลักษณ์ ศรีป่าซาง. (๒๕๕๔). พระเจ้าไม้ล้านนา. เชียงใหม่: สีสันพรรณไม้.
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
แกะรอย...คนแกะไม้
คณะผู้จัดทำ�
ที่ปรึกษา ๑. นายบพิตร วิทยาวิโรจน์ ๒. นางสิริยา บุญญศิริพฤกษ์ ๓. นายเสน่ห์ สายเย็นใจ ๔. นายสุรพันธ์ เจริญทรัพย์
วัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง วัฒนธรรมจังหวัดลำ�พูน วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ วัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญสิริ พันพาและคณะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล�ำ ปาง ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์โอฬาร รัตนภักดีและคณะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล�ำ ปาง ๓. นายพงษ์เลิศ เลิศชัยศักดิแ์ ละคณะ ทีป่ รึกษาสมาคม มัคคุเทศก์เชียงใหม่ ๔. นายภูเดช แสนสา ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ๕. นางจุลจิรา คำ�ปวง เลขานุการสมาคมมัคคุเทศก์เชียงใหม่ ๖. นายอุ่นคำ� แสนเมือง อาจารย์และไกด์ตน้ แบบ ภาคภาษาจีน วิทยาลัยอินเตอร์เทคลำ�ปาง / มัคคุเทศก์อสิ ระ คณะทำ�งาน ๑. นางอรทัย ทรงศรีสกุล ผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ยุทธศาสตร์และเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ๒. นางสาวหัทยา ตันป่าเหียง นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการ ๓. นางวนิดาพร ธิวงศ์ นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการ ๔. นางพรทิวา ขันธมาลา นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการ ๕. นางสาวจิรภา พงษ์กลาง นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการ Produced by
แกะรอย...คนแกะไม้
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง
สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำ�ปาง