นิสิตนักศึกษา ปีที่ 50 (พ.ศ.2560) ฉบับที่ 1

Page 1

หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

พื้นที่ความคิด

8

@nisit_journal

nisitjournal

หน้า ชวนถอดรหั ส “นั ด ยิ้ ม ” การมี เ พ ศ สั ม พั น ธ ์ กั บ ค น ใ น โ ล ก ออนไลน์ ท�ำความเข้าใจไปกับผูม ้ ี ประสบการณ์ตรง และผูเ้ ชีย ่ วชาญ ว่า ท�ำไมจึงต้องนั ด ยิ้ ม ?

TWITTER

FACEBOOK

หน้า

14

เ มื่ อ ง า น ศิ ล ป ะ ถู ก คุ ก คามใน ยุครัฐบาลทหาร อิสรภาพทาง ความคิดถูกปิดกั้น ศิลปินจะท� ำ อย่างไร หรือทางเลือกสุดท้าย คือต้องเซ็นเซอร์ตัวเอง?

WEBSITE

nisitjournal.press

หน้า

16

ร่วมท�ำความรูจ ้ ก ั กับอีกมุมหนึง ่ ของ “เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล” นิ สิ ต รั ฐ ศาสตร์ หั ว ก้ า วหน้ า แ ห ่ ง รั้ ว จ า ม จุ รี กั บ มุ ม ม อง ไลฟ์สไตล์ที่ไม่ใช่แค่การเมือง

ที่มาข้อมูล: iLaw

สถิ ติ เ ผย คสช. ใช้ ก ฎหมายเอาผิ ด คนคิ ด ต่ า ง

นั ก กม.ย�้ ำ คนไทยต้ อ งไม่ เ งี ย บเพื่ อ ปกป้ อ งเสรี ภ าพของตนเอง เรื่อง : พชร ค�ำช�ำนาญ ภาพ : สาริศา เลิศวัฒนากิจกุล

สถิตจิ ากไอลอว์ชี ้ตังแต่ ้ คสช. รัฐประหาร เมือ่ ปี 2557 มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีฐานยุยงปลุกปั่ น และละเมิดประกาศคสช. โดย เฉพาะเรื่ องการห้ ามชุมนุมทางการเมืองเพิ่มขึ ้น รวมทังมี ้ คดี การเมืองที่พลเรื อนต้ องขึน้ ศาลทหารกว่า 1,500 คดี นัก กฎหมายชี ้ รัฐบาลอ้ างกฎหมายความมัน่ คงเพื่อควบคุมคน เห็นต่าง รายงานของโครงการอินเทอร์ เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) พบว่า ตังแต่ ้ เมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2557 ที่คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ท�ำรัฐประหารและเข้ ามาเป็ นรัฐบาล จนถึงวันที่ 27 ส.ค. 2560 มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีกระท�ำความผิด ฐานยุยงปลุกปั่นตามกฎหมายอาญา มาตรา 116 แล้ว 27 คดี โดยเป็ นความผิดฐานวิจารณ์การรัฐประหารหรือ คสช. 20 คดี คิดเป็ นร้ อยละ 74 ของคดีทงหมด ั้ มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีทงหมด ั้ อย่างน้ อย 66 คน โดยปี 2557 มี 8 คน ปี 2558 มี 29 คน ปี 2559 มี 23 คน และปี 2560 มีอย่างน้ อย 6 คน นอกจากนี ้ ยังมีผ้ถู กู ตังข้​้ อหา ชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ซึ่งถื อเป็ น การฝ่ าฝื น ประกาศคสช. ฉบับที่ 7/2557 หรื อ ฝ่ าฝื นค�ำสัง่ หัวหน้ าคสช. ฉบับที่ 3/2558 ข้ อ 12 โดยในปี 2557 มีผ้ ถู กู ตังข้ ้ อหา 48 คน ปี 2558 มี 36 คน และปี 2559 เพิ่ม สูงถึง 184 คน รวมทังสิ ้ ้น 268 คนในรอบสามปี

ในยุครัฐบาล คสช. พลเรือนทีก่ ระท�ำความผิดในคดีการเมือง ได้ แก่ คดีความมัน่ คง คดีมีอาวุธไว้ ในครอบครอง และคดี ฝ่ าฝื นค�ำสัง่ หัวหน้ า คสช. จะต้ องเข้ ารับการพิจารณาคดีใน ศาลทหาร รายงานจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ระบุวา่ ตังแต่ ้ วนั ที่ คสช. ขึ ้นมาเป็ นรัฐบาลเมื่อปี 2557 จนถึง วันที่ 30 ก.ย. 2558 มีคดีการเมืองที่ผ้ ูต้องหาต้ องขึน้ ศาล ทหาร 1,020 คดี เมื่อสรุ ปสถิติอีกครั ง้ เมื่อ 31 พ.ค. 2559 พบว่ามี 1,434 คดี เพิ่มขึ ้นกว่า 400 คดีในรอบแปดเดือน ขณะที่ ส ถิ ติ ค รั ง้ ล่ า สุ ด เมื่ อ 30 พ.ย. 2559 พบว่ า มี ค ดี การเมืองที่ต้องขึน้ ศาลทหารเพิ่มขึน้ เป็ น 1,577 คดี ถึงแม้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา จะใช้ อ�ำนาจตามรัฐธรรมนูญ ชัว่ คราว มาตรา 44 ให้ การพิจารณาความผิดในคดีการเมือง กลับไปสูศ่ าลพลเรื อนตัง้ แต่วันที่ 12 ก.ย. 2559 แต่คดี ที่ การกระท�ำเกิดขึ ้นก่อนจะมีค�ำสัง่ หัวหน้ า คสช. ฉบับนี ้ และ คดีที่ถกู สัง่ ฟ้องศาลทหารไปก่อนหน้ านี ้ทังหมดก็ ้ ยงั ต้ องถูก น�ำขึ ้นพิจารณาในศาลทหาร ศิริกาญจน์ เจริ ญศิริ ที่ปรึ กษาพิเศษฝ่ ายคดีและฝ่ าย ข้ อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มองว่า การที่ ผู้เห็นต่างถูกด�ำเนินคดีถือเป็ น “ความรุนแรงของความเงียบ (Violence of Silence)” ซึ่ง เป็ นความรุ นแรงเชิ งระบบ

กล่าวคือ รั ฐบาลใช้ สิ่งที่หน้ าตาคล้ ายกฎหมายมาควบคุม การแสดงความคิดเห็นของประชาชน จนบางคนมองว่า ความเงียบนี ้คือความสงบ “ความเงียบไม่ใช่ความสงบ แต่มนั คือการละเมิดสิทธิของ คุณ สิ่ง ที่ เ ราท� ำได้ คือ อย่า เงี ย บ ความไม่เ งี ยบไม่ใช่ความ รุนแรง เราสามารถแสดงออกหลายอย่างได้ อย่างสันติ ออกมา แสดงว่ า ประชาชนไม่ เ ห็ น ด้ ว ยกับ การควบคุม สิ ท ธิ แ ละ เสรี ภ าพ มัน เป็ นเรื่ องของเราเองที่จะต้ องไม่ทนอยูก่ บั ความ เงียบนัน” ้ ศิริกาญจน์กล่าว นักกฎหมายจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิ มนุษยชนยัง มองว่า ภาคประชาชนสามารถแสดงออกอย่างสันติโดยการ รวมตัวกันยื่นชื่อเสนอแก้ ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ละเมิด สิทธิเสรี ภาพ แต่กระบวนการนี ้ต้ องรอให้ มีการเลือกตัง้ “สิง่ ที่สามารถเรี ยกร้ องได้ ตอนนี ้คือให้ เกิดการเลือกตังเร็ ้ ว ทีส่ ดุ หรือตามโรดแม็ปทีส่ ญ ั ญาไว้ ไม่ควรปล่อยให้ ดเี ลย์ไปอีก นีป่ ี ทสี่ แี่ ล้ ว หมายความว่าเราสูญเสียทังเวลา ้ ทังหลั ้ กประกัน สิทธิเสรี ภาพ และความถดถอยของประเทศ” ศิริกาญจน์ย� ้ำ


2

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Showcase

ไทยแลนด์ 2017 วั น นี้

เรื่อง - ภาพ : สิรารมย์ เตชะศรีอมรรัตน์, พชร ค�ำช�ำนาญ

มหานครสายไฟใต้ดิน ตอนนี้ถึงไหนแล้ว?

ปฎิรูปรถไฟราง ถกกันถึงไหนแล้ว?

QR Payment สังคมไร้เงินสดไทย ถึงไหนแล้ว?

หลังจากเมื่อกลางปี 2559 ที่ บิล เกตส์ มหาเศรษฐี โลก ได้ โพสต์ ภาพสายไฟฟ้าที่พันกันยุ่งเหยิงในประเทศไทยผ่าน เฟซบุ๊กส่วนตัว หลายคนก็หนั มาพูดถึงนโยบายเปลี่ยนระบบ สายไฟฟ้าอากาศเป็ นสายไฟฟ้าใต้ ดินของการไฟฟ้านครหลวง อีกครัง้ นโยบายนี ้เริ่ มตังแต่ ้ ปี 2527 โดยมีแผนว่า จะน�ำสายไฟ ลงดิน 88.3 กิโลเมตร แต่ผา่ นมา 33 ปี แล้ วเสร็ จไปเพียง 41.9 กิโลเมตรเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม รัฐบาล คสช. มีมติให้ น�ำสายไฟลงดินเพื่อ ให้ เ ป็ น ไปตามโครงการรองรั บ มหานครอาเซี ย นมาตัง้ แต่ ปี 2558 โดยตังเป้ ้ าว่า จะน�ำสายไฟลงดิน 127 กิโลเมตร ในสาม จังหวัด คือ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ และนนทบุรี ท�ำเสร็ จได้ ใน ห้ าปี ตามแผนนีน้ อกจากจะน�ำสายไฟฟ้าลงดินแล้ ว ยังมี นโยบายที่จะน�ำสายสื่อสารและสาธารณูปโภคอื่นๆ ลงดินด้ วย แต่ท�ำได้ ไม่งา่ ยนัก เพราะเหมือนเป็ นการบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบ การบริการเหล่านี ้ต้ องจ่ายเงินเช่าท่อใต้ ดนิ ของการไฟฟ้า เพือ่ พา สายต่างๆ ลงดินไปด้ วย เมื่อเดือน ก.ย. ที่ผา่ นมา ทีโอที รัฐวิสาหกิจผู้ให้ บริ การ โทรศัพท์บ้าน ได้ เสนอให้ รัฐบาลสัง่ การให้ ผ้ ปู ระกอบการต่างๆ มาเช่าท่อของที โอที เพื่ อน� ำ สายไฟลงดิน มนต์ ชั ย หนู สง กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.ที โ อที ชี แ้ จงกับสื่ อมวลชนว่า ถ้ าท�ำตามนี ้โครงการน�ำสายไฟลงดินจะใช้ เวลาไม่เกินสามปี

ในปี 2560 รัฐบาล คสช. ยังมีโครงการปฏิรูปรถไฟรางใน ประเทศอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้ วยสองโครงการ คือ รถไฟรางคู่ และรถไฟความเร็ วสูงที่ร่วมมือกับจีน ความเร็ ว 250 กิโลเมตร ต่อชัว่ โมง นักเศรษฐศาสตร์ บางส่วนมองว่า การปฏิรูปรถไฟราง เป็ นหนึ่งในการปฏิรูปภาคบริ การที่จะช่วยขับเคลื่อนการเจริ ญ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศให้ โตขึ ้นกว่าร้ อยละ 4 ในระยะ ยาวได้ อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตร์ บางส่วนกลับไม่เห็นด้ วย กับโครงการรถไฟความเร็วสูงจากจีน โดยตังค� ้ ำถามว่า ประเทศไทย ต้ องการรถไฟความเร็ วสูงซึง่ รัฐบาล คสช. ใช้ มาตรา 44 ผลักดัน ให้เกิดขึ ้นจริงหรือ รวมถึงมีการศึกษาหรือยังว่า การน�ำรถไฟความเร็ว สูงเข้ ามาในประเทศไทยจะคุ้มค่าและมีคนใช้ จริ ง เพราะเพียง รถไฟรางคูท่ ี่ราคาถูกกว่ามากก็อาจเพียงพอส�ำหรับคนไทยแล้ ว รศ.ดร.นวลน้ อย ตรี รั ต น์ หนึ่ ง ในนั ก วิ ช าการด้ าน เศรษฐศาสตร์ กล่าวในงานเสวนา “รถไฟไทย-จีน : ใครได้ ใคร เสีย” ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2560 ว่า โครงการนี ้มีโอกาสขาดทุนสูง เพราะยังไม่มีนโยบายรองรับให้ ระบบรถไฟความเร็ วสูงเชื่อมต่อกับระบบคมนาคมขนส่งอื่นๆ ท�ำให้ เดินทางได้ ไม่สะดวกถ้ าเทียบกับราคาต่อหัวที่สงู อีกทังยั ้ ง ชี ้ให้ มองรอบด้ านถึงผู้คนในพื ้นที่ที่ต้องเสียผลประโยชน์ หากถูก เวนคืนที่ไปท�ำทางรถไฟ

เมื่อเดือน ก.ย. ที่ผา่ นมา ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จับมือกับธนาคารพาณิชย์รายใหญ่เปิ ดตัว QR Paymant หรื อ ระบบการรับและช�ำระเงินด้ วยการสแกนคิวอาร์ โค้ ด (QR Code) ผ่านแอปพลิเคชัน โดยระบุวา่ ระบบนี ้จะช่วยเพิ่มความสะดวก รวดเร็ วให้ กบั ประชาชนในการจ่ายและโอนเงิน ลดปั ญหาผู้ค้า ไม่มเี งินทอน หรือขันตอนที ้ ย่ งุ่ ยากของเครื่องรูดบัตร รวมถึงช่วย เพิ่มความปลอดภัยในการท�ำธุรกรรม เพราะผู้ใช้ สามารถหลีก เลี่ยงการเปิ ดข้ อมูลส่วนตัวอย่างเลขที่บญ ั ชีได้ QR Payment เป็ นโครงการของ ธปท. ต่อเนื่องจาก โครงการพร้ อมเพย์ (PromtPay) ที่ชว่ ยลดรายจ่ายจากกิจกรรม ทางการเงิน เพื่อน�ำไทยเข้ าสูส่ งั คมไร้ เงินสด แต่จากผลส�ำรวจ ของกรุงเทพโพล ในหัวข้ อ “คนไทยพร้ อมหรือไม่กบั การใช้ PromptPay และ QR Code ช�ำระเงิน” พบว่า มีประชาชนเพียงร้ อยละ 57.4 ทีท่ ราบข่าวและเคยได้ยนิ เกีย่ วกับระบบดังกล่าว แต่ประชาชน ร้ อยละ 42.6 ไม่ทราบข่าวและไม่เคยได้ ยินมาก่อน รวมไปถึง เมื่อสอบถามถึงความกังวลเกี่ยวกับการใช้ ระบบดังกล่าว พบว่า ร้ อยละ 52.6 กังวลเกี่ยวกับความครอบคลุมของร้ านค้ า ร้ อยละ 52.2 กังวลเกีย่ วกับความปลอดภัย และร้ อยละ 45 กังวลเกีย่ วกับ ความรู้ความเข้ าใจในการใช้ ระบบ QR Code นอกจากนัน้ ประชาชนร้ อยละ 43.8 ระบุวา่ ยังไม่แน่ใจทีจ่ ะเปลีย่ นมาใช้ ระบบ PromptPay และ QR Code ช�ำระเงิน

นี่ ก็ 2017 แล้ ว ประเทศไทยยั ง ขาดอะไรอี ก ? เรื่อง : สิรารมย์ เตชะศรีอมรรัตน์

พิราภา วิทูรัตน์ นักศึกษา ม. เชียงใหม่

พิชชา รัตนพรรณา นิสิต จุฬาฯ

นิติธร สุรบัณฑิตย์ ผู้ด�ำเนินรายการข่าว

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ขาดการจัดการผังเมืองและระบบขนส่ง มวลชนที่ดี มันคือปั ญหาในระดับวาระ แห่ ง ชาติ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ทุก คนที่ ใ ช้ ชีวิตในเมืองเลยนะ ตังแต่ ้ รถเมล์ที่ไม่มี เวลาเข้ าออกทีแ่ น่นอน มารยาทของคน ขับรถตู้ ความปลอดภัยของผู้ใช้ บริ การ มอเตอร์ไซค์รบั จ้ าง ทุกอย่างมันเป็ นปัญหา ที่ เ รื อ้ รั ง มานานจนมัน กลายเป็ น อย่ า ง หนึง่ ที่ฝังในหัวไปแล้ วว่าต้ องมีรถส่วนตัว เราเลยมีถนนกี่เส้ นก็ไม่พอ

ประเทศไทยขาดเสรีภาพทางแฟชัน่ เพราะ สัง คมเราเป็ น สัง คมที่ จับ ต้ อ งมองและ ตัดสินคนจากรูปลักษณ์ภายนอก ซึง่ มัน ท�ำให้ เราไม่มีเสรี ภาพอย่างเต็มที่ในการ แต่งตัว อยากใส่เสื ้อผ้ าใหญ่ๆ สีสนั ฉูดฉาด อยากใส่เสื ้อสายเดี่ยว อยากใส่เสื ้อเปิ ด หลัง แต่เราก็ใส่ไม่ได้ เพราะทุกคนมาว่าเรา มาตัดสินเรา

สังคมไทยยังขาดความอดทน ไม่อดทนที่ จะฟั งความเห็นหรื อความจริ งที่แตกต่าง ไม่อดทนที่จะเพิ่​่มเติมข้ อมูลหรื อความรู้ ใหม่ๆ แม้ การเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารผ่านสือ่ หรื อช่องทางต่างๆ จะมากขึ ้น แต่เหมือน ว่าเราไม่ได้ใช้ประโยชน์จากมัน การถกเถียง เลยขาดข้ อมูล พอเราไม่มขี ้ อมูล ไม่มคี วาม อดทน การถกเถียงอะไรหลายๆ เรื่อง แทบ ไม่ได้ สาระหรือการต่อยอดจากเรื่องนันเลย ้

บ้ านเมืองของเรานันประสบกั ้ บภาวะ “บกพร่องทาง จิตวิญญาณ” หมายถึง จิตใจของคนไทยมีความ บกพร่องหรือขาดภูมคิ ้ มุ กันทางศีลธรรม เป็ นเหตุให้ สังคมมีปัญหา ผมไม่ได้ โทษประชาชน เพียงแต่วา่ เราต้องเตือนกันนะ (กล่าวใน “รายการศาสตร์พระราชา สูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” เมือ่ วันที่ 21 ก.ค. 2560) วราลีพรรณ อ�ำพล

นักศึกษา ม. ธรรมศาสตร์

ขาดนายกฯ ที่มาจากการ เลือกตัง้ เพราะประเทศไทย เป็ นประเทศประชาธิปไตย


3

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Showcase

บทบรรณาธิการ

รายชื ่ อ

กองบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ ฝึกปฏิบตั ิ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อาจารย์ ท่ ปี รึกษา : พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการเนือ้ หา : สิรารมย์ เตชะศรีอมรรัตน์, พชร ค�ำช�ำนาญ กองบรรณาธิการ : สิรารมย์ เตชะศรีอมรรัตน์, พชร ค�ำช�ำนาญ, นัจนันท์ เกตุสวุ รรณ, อมร จินดาทองดี, ณิชากร เอื ้อสุนทรวัฒนา, พรหมธิดา ฤกษ์ ฉวี, ศกลวรรณ ศรไชย, ปั ณฑารี ย์ สุจิตวรงค์, ธนัชชา กิจสนาโยธิน, ฐาปนี ทรัพยสาร, ธนภรณ์ ศิริโชคยนต์, มายพัชรินทร์ สัจจะ, ธนวัฒน์ จันทร์กระจาย, นวิยา ตันเต็มทรัพย์ สมฤดี โรจนสถิตโสภณ, ปี ย์วรา จิตรสุภา บรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ : มายพัชริ นทร์ สัจจะ บรรณาธิการสร้ างสรรค์ ส่ ือออนไลน์ : ศกลวรรณ ศรไชย, ปั ณฑารี ย์ สุจิตวรงค์ บรรณาธิการผู้พมิ พ์ ผ้ ูโฆษณา : ผศ.ดร.ณรงค์ ข�ำวิจิตร์

ที่อยู่ : 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร : 0-2218-2140 Facebook : www.facebook.com/nisitjournal Twitter : @nisitjournal Website: https://nisitjournal.press

ปี 2560 นี ้นับเป็ นปี ที่สามแล้ ว นับตังแต่ ้ คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ ายึดอ�ำนาจจากรัฐบาล น.ส.ยิ่ ง ลัก ษณ์ ชิ น วัต ร แม้ คสช. รั บ ปากว่ า จะคืน ประชาธิปไตยให้ ประชาชนชาวไทยอย่า งเร็ ว ที่ สุด แต่ ก�ำหนดการเลือกตังก็ ้ ถกู เลื่อนออกไปครัง้ แล้ วครัง้ เล่า และไม่มีท่าทีชดั เจนให้ ชื่นใจว่าเมื่อไหร่ ชาวไทยจะได้ ไปใช้ สทิ ธิ์ก�ำหนดชีวิตการเมืองของตัวเองเสียที การแช่ แข็ ง ทางการเมื อ งไม่ เ พี ย งท� ำ ให้ กระบวนการ ประชาธิปไตยต้ อ งหยุด ชะงัก แต่ยัง ส่ง ผลต่ออิสรภาพ ทางความคิดของผู้คน ซึ่งเป็ นรากฐานส�ำคัญของการ พัฒนาประชาธิปไตยอีกด้ วย การใช้ กฎหมายจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการ เข้ าถึงข้ อมูลข่าวสาร การควบคุมสือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่ ด้ วยการบังคับใช้ กฎระเบียบและกลไกภาครัฐ รวมถึง การใช้ กฎหมายเพือ่ ปรามและปิ ดกันผู ้ ้ เห็นต่าง ท�ำให้ เกิด บรรยากาศแห่งความกลัวทีแ่ ผ่ขยายไปทัว่ ดินแดน ส่งผล ให้ ประชาชนระงับตัวเองจากการแสดงความคิดเห็นใน ทุกด้ านของสังคม แถมสื่อมวลชนก็ต้องอยูใ่ นภาวะน� ้ำ ท่วมปากและหวาดระแวงอย่างต่อเนื่อง

ด้ วยบรรยากาศเช่นนี ้ จึงไม่แปลกที่ “ความเงียบ” จะเกาะกุมสังคมไทยมาเป็ นปี ที่สาม นักวิชาการบาง ส่วนลงความเห็ น ว่ า ปี นี เ้ ป็ น ปี ที่ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพไทย ตกต�่ำที่สุดทัง้ ในหมู่ประชาชนและสื่ อ มวลชน ทัง้ ที่ ตามหลักการประชาธิ ป ไตย “พื น้ ที่ ค วามคิ ด ” เป็ น เครื่ องมือส�ำคัญที่ท�ำให้ คนในสังคมได้ ร่วมกันส่งเสียง สะท้ อนความต้ องการและความเห็นของตนเข้ าไป เป็ นกลไกในการพัฒนาและ “ปฏิรูป” ประเทศ แต่เมื่อไม่มีพื ้นที่ ประเทศก็ไม่มีความคิด เมื่อไม่มี ความคิด ชีวิตและประเทศก็ไม่อาจเดินต่อ ก่อนทีจ่ ะครบวาระสีป่ ี คสช. ควรคืน “พื ้นทีค่ วามคิด” ให้ ประชาชน ถ้ าไม่อาจทนฟั งเสียงดังของคนคิดต่างได้ อย่างน้ อยก็ควรเปิ ดช่องทางให้ ประชาชนได้ ส่งเสียง ผ่านการเลือกตังเสี ้ ยที เพราะหากคูหาลงคะแนนถูก เลือ่ นห่างออกไปเรื่ อยๆ และผู้ที่เคยให้ สญ ั ญาไม่อาจ รักษาสั ญ ญาการเลื อ กตั ง้ ภายในปี 2561 นี ไ้ ด้ ประชาชนคงต้ องทนโดนปิ ดปาก เก็บซ่อนความคิด ทางการเมืองทังหมดไว้ ้ แล้ วทนมองประเทศก้ าวถอย หลังลงคลองไปพร้ อมกับประชาธิปไตยที่ไม่หวนคืน

ไทยแลนด์ 4.0 เป็ น ไปได้ ไ หม ในวั น ที่ ไ ร้ อิ ส ระทางความคิ ด เรื่อง : นัจนันท์ เกตุสุวรรณ

ประชารัฐ ช่วยเสริม ใช้เติมแต่ง ทุกหนแห่ง กิจกรรม ท�ำสร้างสรรค์ ไทยเจริญ ด้วยไทย ไปพร้อมกัน ท�ำความฝัน ต้องการ ให้เป็นจริง

หนึง่ ในใจความจากกลอนทีแ่ ต่งโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา เพือ่ อธิบายค�ำ ว่า ไทยแลนด์ 4.0 นโยบายเศรษฐกิจทีร่ ัฐบาล คสช. ประกาศว่าจะพาไทยไปสูก่ ารเป็ น ประเทศรายได้ สงู หลังจากติดอยู่ในกับดักประเทศรายได้ ปานกลางที่การเติบโตทาง เศรษฐกิจลดลงร้ อยละ 3-4 มาเป็ นเวลากว่า 20 ปี โดยมุง่ ใช้ “นวัตกรรม” เป็ นตัวแปร หลักในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจแทนสินค้ าโภคภัณฑ์ดงั เช่นทุกวันนี ้ รั ฐบาล คสช. เชื่อว่า “นวัตกรรม” จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้ ไปสูย่ คุ ที่ เรี ยกว่าไทยแลนด์ 4.0 ได้ ภายในเวลาห้ าปี Creative Economy ของเกาหลีใต้ Made in India ของอินเดีย หรือ A Nation of Makers ของสหรัฐฯ ล้วนแล้วแต่เป็ นต้ นแบบการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยใช้ นวัตกรรม เป็ นฟั นเฟื องหลักในการขับเคลื่อนที่รัฐบาลต้ องการให้ ไทยไปถึง กิตติรัตน์ ปิ ติพานิช รองผู้อ�ำนวยการศูนย์สร้ างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) กล่าวในเสวนา “ประเทศไทย 4.0: ผลกระทบเชิงสังคมและวัฒนธรรม” เมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2560 ว่า การสร้ างนวัตกรรมต้ องประกอบด้ วยสามส่วนหลักๆ คือ แรงงานที่มี ความสามารถ เงินทุนสนับสนุน และวัฒนธรรมการท�ำงานทีก่ อ่ ให้ เกิดความคิดสร้ างสรรค์ ภาครั ฐ จึ ง ทุ่ ม งบประมาณกว่ า 2 พัน ล้ า นบาทให้ กั บ งานวิ จั ย ต่ า งๆ ของ มหาวิทยาลัยและสร้ างศูนย์สร้ างสรรค์งานออกแบบกว่า 10 แห่งทัว่ กรุงเทพฯ หวังเพิ่ม ศักยภาพและติดอาวุธด้ านความคิดสร้ างสรรค์แก่คนรุ่นใหม่ และยังมีอกี หลายนโยบาย ที่พยายามส่งเสริ มให้ เกิดความคิดเชิงนวัตกรรมเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่อีก ปั จจัยที่มีความส�ำคัญไม่แพ้ นโยบายเหล่านี ้ ก็คือ “อิสระและเสรี ภาพทางความคิด” อิสราเอลเป็ นตัวอย่างที่ท�ำให้ เห็นว่า นอกจากการให้ ความส�ำคัญกับเทคโนโลยี และนโยบายด้านเงินทุนของรัฐทีเ่ อื ้อต่อการประกอบธุรกิจแล้ ว การเปิ ดโอกาสให้ประชาชน ได้ แสดงความคิดริ เริ่ ม กล้ าได้ กล้ าเสียอย่างอิสระ ก็เป็ นอีกสิง่ หนึง่ ที่รัฐบาลอิสราเอล สนับสนุนเพื่อให้ เกิดการสร้ างสรรค์นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ และนั่นท�ำให้ อิสราเอลมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ วจนถูกขนานนามว่าเป็ นประเทศแห่ง ธุรกิจสตาร์ ทอัพ (Startup Nation) ที่เป็ นรองแค่ ซิลคิ อน วัลลีย์ ของสหรัฐฯ

“การจะคิดใหม่ได้ นนั ้ ผู้คนในประเทศต้ องมีเสรี ภาพในการคิด ไม่ต้องมีคน มาคอยบอกว่าสิง่ ใดถูก สิง่ ใดผิด สิง่ ใดให้ คดิ สิง่ ใดไม่ให้ คดิ ” ข้ อความหนึ่งจากปาฐกถาของ ภิญ โญ ไตรสุ ริ ย ธรรมา นัก เขี ย นและ เจ้ าของส�ำนักพิมพ์ openbooks ในงานร้ อยปี ชาตกาล สืบสานปณิธานอาจารย์ป๋วย เมื่อวันที่ 16 ก.ย. 2560 ภิญโญยังกล่าวว่า พื ้นที่ที่เปิ ดส�ำหรับให้ แสดงความคิด ตังค� ้ ำถาม ลองผิดลองถูก และกล้ าคิด กล้ าท�ำสิง่ ใหม่ๆ ซึง่ เป็ นต้ นก�ำเนิดความ คิดสร้ างสรรค์ของคนหนุม่ สาวในยุคนี ้ ยังคงถูกจ�ำกัดด้ วยอ�ำนาจจากผู้เหนือกว่า ท�ำให้ ความกล้ าคิด กล้ าท�ำ กลายเป็ นเรื่องทีเ่ สีย่ งอันตรายมากกว่าการสร้ างสรรค์ สิง่ ใหม่ให้ แก่สงั คม เหตุการณ์จบั กุมนักวิชาการและนักศึกษา ม.เชียงใหม่จ�ำนวนห้ าคน ข้ อหา ร่วมกันมัว่ สุมหรื อชุมนุมทางการเมืองที่มีจ�ำนวนตังแต่ ้ ห้าคนขึ ้นไป จากการชู แผ่นป้าย “เวทีวิชาการ ไม่ใช่คา่ ยทหาร” ในงานประชุมไทยศึกษา เมื่อเดือน ส.ค. ที่ผ่านมา อีกทัง้ สถิติการปิ ดกัน้ และแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะ อาทิ เสวนา วิชาการกว่า 150 ครั ง้ นับตังแต่ ้ ปี 2557 สะท้ อนให้ เกิดค�ำถามว่า ในภาวะที่ ประเทศต้ องการที่จะเติบโตไปสู่ยคุ 4.0 โดยอาศัยพลังจากคนรุ่ นใหม่เป็ นแกน หลักนัน้ นอกจากงบประมาณและนโยบายส่งเสริ มความคิดสร้ างสรรค์แล้ ว พวก เขาได้ รับโอกาสและอิสระในการแสดงออกให้ มีความคิดริ เริ่ ม กล้ าคิด กล้ าท�ำ แบบที่ไม่ถกู ปิ ดกัน้ หรื อตัดสินจากผู้มีอ�ำนาจว่าสิง่ นันผิ ้ ด สิง่ นี ้ถูก แล้ วหรื อยัง เมื่อปฏิเสธไม่ได้ เลยว่า ทุกการกระท�ำ ทุกการตัดสินใจที่เกิดขึ ้นจากคนที่มี อ�ำนาจในวันนี ้ จะกลายเป็ นผลระยะยาวที่คนหนุม่ สาวจะต้ องใช้ ชีวิตอยูด่ ้ วยใน อีก 10-20 ปี ข้างหน้ า การเปิ ดโอกาสให้ คนรุ่นใหม่ได้ มีโอกาสคิดและตัดสินใจ เพื่ออนาคตที่จะเกิดขึ ้นกับตัวเองนัน้ พอจะเป็ นเหตุผลที่ใช้ หยิบยื่นอิสระและการ เปิ ดกว้ างทางความคิดให้ กบั พวกเขาได้ หรื อไม่ เพื่อให้ ค�ำว่า “ไทยแลนด์ 4.0” ไม่ ได้ เป็ นเพียงแค่ความฝันที่จะไม่มีวนั เกิดขึ ้นจริ ง


4

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Social Issue

ยอดดูซีรีส์วายพุ่งเกิน 600 ล.

คอซีรีส์-นิยายวายท้วงแค่ขายได้ แต่สังคมยังไม่ยอมรับ เรื่อง - ภาพ : นัจนันท์ เกตุสุวรรณ

ยอดดูซีรีส์วายบนไลน์ทีวี ปี 60 พุ่ง สูงสุดตอนละ 10 ล้านวิว ยอดรวม ทะลุ 600 ล้าน ผูผ ้ ลิตเชือ ่ สังคมมอง LGBTQ เป็นเรื่องปกติมากกว่าใน อดีต ด้านผูต ้ ด ิ ตามซีรส ี -์ นิยายวาย กว่า 10 ปีแย้งวายแพร่ ห ลาย แต่ สังคมไม่ได้เคารพความหลากหลาย ทางเพศจริง

ผู้สื่อข่าวส�ำรวจสถิติยอดชมซีรีส์วายทาง แอปพลิเ คชั น ไลน์ ที วี (LINE TV) ช่ ว งเดือน ก.ย. 2560 พบว่า ซีรีส์เรื่ อง เดือนเกีย้ วเดือน ซึง่ ออกอากาศในช่วงเดือน พ.ค. 2560 มียอด เข้ าชมสูงสุดกว่า 10 ล้านครัง้ ขณะทีซ่ รี ีสเ์ รื่อง Sotus พี่ว้ากตัวร้ ายกับนายปี หนึ่ง ซึ่งออก อากาศเมื่อปี 2559 มียอดเข้ าชมสูงสุดกว่าสี่ ล้ านครัง้ เว็บไซต์ Marketing oops ระบุว่า ในปี 2560 มีซรี ีสว์ ายทังหมด ้ 11 เรื่องบนแอปดัง กล่าว และมียอดดูรวมมากกว่า 600 ล้ านครัง้ นอกจากนี ้ วรรณกรรมทีม่ เี นื ้อหาลักษณะ เดียวกันก็ก�ำลังได้ รับความนิยม ตัวอย่างเช่น Sotus พี่ว้ากตัวร้ ายกับนายปี หนึ่ง ที่มียอด ตีพมิ พ์รวม 26,000 เล่มนับตังแต่ ้ ปี 2557 จนถึง ปี 2560 ในขณะที่มหกรรมนิยายวายแห่งชาติ หรือ วาย บุ๊ค แฟร์ ซึง่ มีขึ ้นเป็ นครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 1 ก.ค. 2560 มีสำ� นักพิมพ์และนักเขียนอิสระเข้า ร่ วมงานรวมกว่า 40 ราย และผู้เข้ าร่วมงาน ประมาณ 1,000 คน นอกจากนี ผู้ ้สอื่ ข่าวได้สำ� รวจ กลุม่ ผู้ใช้สอ่ื สังคมออนไลน์ จ�ำนวน 669 คน พบว่า ร้ อยละ 93 เคยชมซีรีสห์ รืออ่านนิยายวาย พลอยบุษรา ภัทราพรพิสฐิ นักเขียนอิสระ ผู้เขียนนิยายเรื่อง Sotus พี่ว้ากตัวร้ ายกับนายปี หนึ่ง เห็นว่า การที่สื่อวายแพร่หลายมากขึ ้นใน ปัจจุบนั มีสว่ นท�ำให้ สงั คมเปิ ดกว้ างต่อผู้เสพและ กลุม่ LGBTQ มากขึ ้น จากในอดีตทีน่ ยิ ายวายถูก มองว่าเป็ นสือ่ ลามกอนาจาร มีเจ้ าหน้ าทีต่ ำ� รวจ เข้ าไปจับการ์ ตนู วายกลางงานสัปดาห์หนังสือ แห่งชาติ การซื ้อ-ขายต้ องท�ำแบบไม่เปิ ดเผย ใน ขณะทีป่ ัจจุบนั ร้ านหนังสือชันน� ้ ำสามารถวางขาย

นิยายวายได้ บนชันหรื ้ อโซนทีแ่ ยกออกมาได้ แล้ ว หลากหลายทางเพศมารั กกัน ไม่ใช่ LGBTQ อีกทังสื ้ อ่ อืน่ ๆ ก็เริ่มเปิ ดกว้ างให้ กบั รสนิยมการรัก รูปแบบอืน่ ๆ จึงเป็ นการเสนอภาพเพียงด้ านเดียว เพศเดียวกันมากขึ ้นด้วย ในขณะเดียวกัน ผลกระทบเชิงบวกทีเ่ กิดขึ ้น คือ “การเปิ ดกว้ างของสื่อมันท�ำให้ LGBTQ ผู้เสพสื่อได้ มองเห็นอัตลักษณ์ ของบุคคลสอง ไม่ใช่เรื่ องแปลกประหลาดในสังคมอีกต่อไป เพศ (Bisexual) มากขึ ้น และได้ ร้ ูจกั ว่ายังมีคน ยกตัวอย่างนิยายและซีรีส์พี่ว้ากฯ เราไม่ได้ น�ำ บางกลุ่มที่นิยามตัวเองว่าสามารถรั กกับใคร เสนอเนื ้อหาที่ท�ำให้ ชายรักชายกลายเป็ นเรื่ อง ก็ได้ โดยไม่ได้ เอาเรื่ องเพศมาเป็ นปั จจัยหลัก ตลกหรื อ โยงเข้ า เรื่ อ งเพศแบบที่ ใ นอดี ต คน พิชญา สุขพัฒน์ นักเขียนนิยายวาย ชอบติดภาพ LGBTQ อยูส่ องแง่ คือ ไม่ลามก อิสระ เจ้ าของนามปากกา afterday เห็นพ้ อง ก็ตลก แต่เราให้ ภาพว่าเขาคือคนธรรมดาทัว่ ไป ว่า สือ่ มีอทิ ธิพลค่อนข้ างมากต่อการตัดสินและ มากกว่า” พลอยบุษรากล่าว ท�ำให้ คนติดภาพว่า LGBTQ จะเกี่ยวข้ องแต่ ด้ าน ดร.รณภูมิ สามัคคีรมย์ ประธาน กับเรื่ องเพศและความรุ นแรง ในขณะที่ผ้ เู สพ จะเข้ าใจฉากตบตีแย่งสามีกนั ในละครว่าใน มู ล นิ ธิ เ ครื อ ข่ า ยเพื่ อ นกะเทยไทยเพื่ อ สิ ท ธิ ชีวิตจริ งไม่ได้ เป็ นเช่นนัน้ ทัง้ หมด เป็ นเพราะ มนุษยชน มองว่า การแพร่หลายของสือ่ ประเภท ผู้ เสพรู้ จั ก และมี ข้ อมู ล ซีรีส์-นิยายวายใน เกี่ ย วกั บ เพศหญิ ง มาก “LGBTQ เหมื อ นใครสักคน ปั จจุบนั เกิดจาก เพี ย งพอ ในขณะที่ หาก ที ไ ่ ม่ เ คยรู ้ จ ั ก กั น มาก่ อ น การรู ้ จ ก ั เทคโนโลยีและการ เป็ นกลุ่ม LGBTQ ผู้เสพ กั น ครั้ ง แรกก็ ต ้ อ งอยากให้ ค น หลอมรวมของสือ่ ที่ บางคนไม่ ได้ มีโอกาสรู้จกั เห็ น ด้ า นที ด ่ ข ี องเขาก่ อ น แต่ พ อสื อ ่ ท� ำ ให้ ค นสามารถ หรื อมี ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ เสนอเรื่ อ งที่ เ ป็ น ด้ า นลบไป คนก็ มองเห็นสื่อได้ หลาย กลุ ่มคนเหล่า นี เ้ พี ย งพอ คิ ด ไปแล้ ว ว่ า พวกเขาเป็ น แบบนั น ้ ” ช่ อ งทางมากขึ น้ ที่ จ ะสามารถแยกแยะ รวมไปถึ ง กระแส พิชญา สุขพัฒน์ แ ล ะ ไ ม่ เ ห ม า ร ว ม ไ ด้ โลกาภิวตั น์ที่ท�ำให้ นักเขียนนิยายวายอิสระ สัง คมไทยได้ เ ห็ น “LGBTQ เหมื อ น พัฒ นาการการยอมรั บ กลุ่ ม LGBTQ ใน ใครสักคนที่ไม่เคยรู้ จกั กันมาก่อน การรู้ จกั กัน ต่างประเทศอย่างการมีกฎหมายการแต่งงาน ครัง้ แรกก็ต้องอยากให้ คนเห็นด้ านที่ดีของเขา เพศเดียวกัน ก่อน แต่พอสือ่ เสนอเรื่องทีเ่ ป็นด้านลบไป คนก็คดิ อีกปัจจัยที่ ดร.รณภูมมิ องว่าท�ำให้ สอื่ วาย ไปแล้ วว่าพวกเขาเป็ นแบบนัน้ ” พิชญากล่าว วริศรา ชัยศุจ ยากร ผู้ อ่ า นนิ ย ายวาย แพร่หลายในสังคม ได้ แก่ กระแสทุนนิยมทีเ่ ข้ า มาแปดปี กล่าวว่า การแพร่ หลายของสื่อวาย มาท�ำให้บริษทั ผลิตสือ่ ใหญ่ๆ หันมาสนใจรสนิยม ผู้บริโภคทีช่ อบความรักแบบชายรักชาย จึงเร่งหา ต่างๆ ท�ำให้ งา่ ยต่อการเข้ าถึงมากขึ ้นกว่าอดีต ผลก�ำไรผ่านสือ่ ซีรีส์ เมือ่ ทุนนิยมเข้ ามาประกอบ แต่ก็ท�ำให้ เกิดการประกอบสร้ างภาพ LGBTQ กับเทคโนโลยี รสนิ ย มการ “จิ น้ วาย” ที่มีอยู่ ทีบ่ ดิ เบือนจากความเป็ นจริ ง สร้ างชุดความคิด ของผู้เสพสื่อต่อกลุ่มคนเหล่านี ้ให้ มองว่าต้ อง แล้ วในอดีตจึงยิ่งเด่นชัดมากขึ ้นในปั จจุบนั ดร.รณภูมิ กล่าวว่า ผลกระทบเชิงลบของ มีรูปร่ างหน้ าตาที่ดี อีกทัง้ ให้ ความส�ำคัญกับ สือ่ เหล่านี คื้ อ การตีกรอบนิยามของกลุม่ LGBTQ เรื่ องเพศมากกว่าสื่อทัว่ ไป “มันไม่ไ ด้ ช่ว ยให้ สัง คมเข้ า ใจ LGBTQ ให้ แคบลง เนื่ อ งจากผู้ ผลิ ต มั ก ใช้ นั ก แสดง เป็ น ผู้ ช ายหน้ าตาดี ส องคนที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ค วาม มากขึ ้น แต่มนั สร้ างภาพให้ มองคนกลุม่ นี ้แบบ

ที่ซีรี ส์ ห รื อ นิ ย ายอยากให้ เ ป็ น อย่า งแรกคือ สวยหรู กว่าที่ควรจะเป็ น อีกอย่างคือเหมารวม คนเหล่านี ้โดยโยงกับเรื่องเพศตลอด” วริศรากล่าว ส่วน จักรพล ผลละออ ผู้ตดิ ตามซีรีส์ และนิยายวายมาเก้ าปี เผยว่า ตนมองว่าสือ่ วาย เป็ นสินค้ าที่ขายได้ ในระบบทุนนิยมมากกว่า เป็ นเครื่องมือทีท่ ำ� ให้ สงั คมเปิ ดกว้ างต่อ LGBTQ อีกทัง้ ปั จจุบนั สื่อเหล่านีจ้ ะมีกรอบที่ตวั ละคร ในเรื่องมักจะเป็นเด็กชนชันกลาง ้ ผิวขาว หน้าตาดี มีฐานะ เป็ นคนเมือง มีการศึกษา ไม่คอ่ ยมีการ เสนอภาพของเกย์ ในชนบท เกย์ ที่เป็ นชนชัน้ แรงงาน หรื อคนจน ท�ำให้ สดุ ท้ ายสื่อเหล่านี ้จะ สร้ างกรอบใหม่ในการมองเหมารวมเกย์และ เบียดขับเกย์ที่ไม่ตรงตามนันออกไป ้ ดร.รณภูมิ สามัคคีรมย์ ประธานมูลนิธิ เครื อข่ายเพื่อนกะเทยไทยเพื่อสิทธิ มนุษยชน กล่าวว่า แนวทางที่จะท�ำให้ ซีรีส์หรื อนิยายวาย ได้ สร้ างความเข้ าใจที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับ LGBTQ ประการแรกคือ การแสดงเจตจ�ำนงบนสื่อก่อน การออกอากาศว่าเรื่ องราวในเรื่ องเป็ นเพียง ส่วนหนึง่ ของชีวติ กลุม่ LGBTQ แต่ไม่ใช่ทงหมด ั้ ประการต่ อ มาคื อ การน� ำ เสนอเรื่ อ งราวให้ หลากหลายแง่ มุม มากขึน้ ให้ ค นดูไ ด้ เ ห็ นว่า LGBTQ มีหลายรูปแบบ การกระท�ำของตัวละคร เป็ นแค่พฤติกรรมบุคคล ไม่ได้ เกี่ยวกับรสนิยม ทางเพศ ประการสุดท้ ายคือ การจัดตังองค์ ้ กร เพื่อดูแลเนื ้อหาบนสื่อที่เกี่ยวกับ LGBTQ เพื่อ ให้ การยอมรับต่อ LGBTQ ได้ อยูใ่ นวงการสื่อ ไม่ใช่แค่ในแวดวงวิชาการ “ต้ องยอมรับว่าโลกใบนี ้มันมีเนื ้อหาเยอะ มากที่นา่ เอามาน�ำเสนอ แล้ วเป็ นปกติที่คนท�ำ สือ่ ก็ต้องอยากได้ กระแส เราเองก็อยากให้ มคี น อ่านงานของเราเยอะๆ แน่นอนว่าคนท�ำสื่อไม่ สามารถท�ำในสิง่ ที่คนไม่สนใจได้ แต่มนั ก็ต้อง ควบคู่ กั น ไประหว่ า งสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ องกั บ ความ ต้ องการของกระแสสังคม” พิชญา สุขพัฒน์ นักเขียนอิสระกล่าว


5

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Social Issue

เมื่ อ การศึ ก ษาไทย ต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ เ กมการเมื อ ง สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ง ชาติ (สทศ.) เผยคะแนนสอบโอเน็ตของ นักเรียนปี 2555-2560 ผลปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยห้าวิชาหลักคือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาตร์ และสังคมศึกษา ล้วนไม่ถึงร้อยละ 50 ของคะแนนทั้งหมด

ขณะทีก่ ารวัดผล PISA (Programme for International Student Assessment) ปี 2560 เด็กไทยอยูใ่ นล�ำดับที่ 55 จาก 70 ประเทศที่ เข้ าร่วมโครงการ ซึง่ ไม่ได้ ตามหลังแค่สงิ คโปร์ ที่อยูใ่ นอับดับหนึง่ ของอาเซี ยนเท่า นัน้ แต่ยงั ตามหลังเพื่อนบ้ านอย่างเวียดนามอีกด้ วย นอกจากนี ้ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เปิ ดเผยผลส�ำรวจจากโครงการ Education Watch ซึ่งวิเคราะห์ ร ะบบการ ศึกษาไทยในช่วงสามปี ที่ผา่ นมา พบว่า 1. ด้ านพฤติกรรมการเรียนด้ อยลงร้ อยละ 66 2. ความสามารถด้านวิชาการด้อยลงร้ อยละ 46 3. การปรับเปลี่ยนโครงสร้ างการบริ หาร กระทรวงฯ ด้ อยลงร้ อยละ 47 4. ผลงานการปฏิรูปการศึกษาโดยรวม ด้ อยลงร้ อยละ 44 ในรอบ 10 ปี ทผี่ า่ นมา ประเทศไทยเปลีย่ น รัฐบาลไปแล้ วสามชุด เปลี่ยนรัฐมนตรี ไปแล้ ว เก้าคน และเกือบทุกครัง้ ทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง นโยบายการศึกษาต้ องหยุดชะงัก และผลการ ศึกษาของเด็กไทยก็ไม่ได้ ดีขึ ้นเท่าไรจากสถิติที่ ผ่านมา เป็ นที่ น่ า สงสั ย ว่ า หรื อ เพราะการ ศึกษาไทยต้ องอยูภ่ ายใต้ เกมการเมือง? ผศ.ดร.ธนพั น ธ์ ไล่ ป ระกอบทรั พย์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย ให้ ค วามเห็ น ว่า กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เป็ นกระทรวงใหญ่ มีงบประมาณมาก การเปลีย่ นแปลงรัฐมนตรีบอ่ ย ครัง้ เพราะมีผ้ ตู ้ องการจะเป็ นรัฐมนตรี จ�ำนวน มากและพยายามเข้ ามาชิงต�ำแหน่ง รวมทัง้ ศธ. มีความหลากหลายทังในแง่ ้ ของโครงสร้ าง และความคิด ส่งผลให้ รัฐมนตรี เพียงคนเดียว

อาจไม่ ส ามารถรั บ ผิ ด ชอบหรื อ แก้ ไ ขปั ญ หา ความแตกต่า งเหล่า นี ไ้ ด้ มากนัก นอกจากนี ้ รัฐมนตรี ศธ. แต่ละคนก็มแี นวทางทีแ่ ตกต่างกัน ท�ำให้ เกิดความขัดแย้ งในกระทรวงและความ ขัดแย้งของในแนวคิดการปฏิรปู การศึกษา รวมถึง ท�ำให้ การด�ำเนินนโยบายและการปฏิรูปการ ศึกษาไม่สามารถขับเคลื่อนไปได้ ผศ.ดร.ธนพัน ธ์ ยั ง เห็ น ว่ า ปั จ จั ย ทาง การเมืองส่งผลอย่างมากต่อระบบการศึกษาไทย โดยเฉพาะเรื่องการก�ำหนดนโยบาย ทังนโยบาย ้ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การศึ ก ษาและการพั ฒ นา คุณภาพของบุคลากรทางการศึกษา รวมไปถึง กระบวนการคัดเลือกผู้เข้ ามาด�ำรงต�ำแหน่ง กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากผู้ที่ เป็ นแกนน�ำของพรรคการเมือง และอาจจะไม่ ได้ มีความเชี่ยวชาญในเรื่ องการศึกษา นักวิชาการด้ านรัฐศาสตร์ระบุปัจจัยทีม่ ผี ล ต่อนโยบายด้ านการศึกษาสามประการ ได้ แก่

3. การจัดสรรงบประมาณ จะถูกใช้ ไปกับ เงินเดือนและโครงการก่อสร้ างเสียส่วนใหญ่ แต่งบฯ ทีน่ ำ� ไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพมีเพียง ร้ อยละ 20 เท่านัน้ แม้ เงินเดือนและการก่อสร้ าง จะจ�ำเป็น แต่ถ้าไม่มกี ารพัฒนาคุณภาพในเนื ้อหา สาระ สิง่ ก่อสร้ างเหล่านันก็ ้ จะไม่มีประโยชน์ ด้าน ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะ ครุ ศ าสตร์ จุฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย และ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ วิจัยและพัฒนาการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน กล่าวว่า เมื่อพูดถึงการ ศึก ษาของประเทศ ภาครั ฐ มัก เน้ นหรื อ ให้ ความส�ำคัญกับ การบริ ห ารจัด การโรงเรี ย น เพี ย งอย่ า งเดี ย วไม่ ไ ด้ สนใจนโยบายหรื อ กระบวนการต่างๆ ท�ำให้ เกิดปั ญหาการท�ำงาน ของนักการเมือง รัฐมนตรี หรือข้ าราชการทีเ่ ข้ ามา ด�ำเนิ น นโยบายในระยะสัน้ และก่ อ ให้ เ กิ ด ความเหลื่ อ มล� ้ำทางการศึกษา

เรื่อง : ศกลวรรณ ศรไชย

หนังสือเล่ม ส�ำนักพิมพ์ Open World และจบ การศึกษาปริญญาโทจากฟิ นแลนด์ ให้ ข้อมูลว่า ปั จ จั ย ทางการเมื อ งก็ มี ผ ลต่ อ การก� ำ หนด นโยบายและการด�ำเนินงานด้ านการศึกษาเช่น กัน แต่ตา่ งจากไทยตรงที่เป็ นผลเชิงบวก

“ในประเทศฟิ นแลนด์ รัฐมนตรี กระทรวง ศึกษาฯ เปลี่ยนไม่บ่อยนัก เพราะการเมืองมี เสถียรภาพสูงมาก ท�ำให้ มีการจัดท�ำนโยบาย ระยะยาวเสียส่วนใหญ่ และมีการส่งต่อนโยบาย กันระหว่างผลัดเปลี่ยนรั ฐบาล ยิ่งไปกว่านัน้ การศึกษาของฟิ นแลนด์ คื อ การเตรี ย มคนให้ ไปมีส่วนร่ วมในการสร้ างสังคม พลเมืองช่วย เหลือกัน เป็ นสังคมไม่ทอดทิ ้งกัน และเปิ ดโอกาส ให้ ผ้ ปู กครองหรื อหน่วยงานอื่นๆ เข้ ามามีสว่ น ร่วมได้ อกี ด้ วย” กัญญ์ชลากล่าว ผศ. อรรถพล เสนอแนะว่า ในการด�ำเนิน นโยบายด้ านการศึกษา ควรเปิ ดโอกาสให้ หลาย ภาคส่วนเข้ ามามีบทบาท และต้ องเกิดการลด ความเหลือ่ มล� ้ำทางการศึกษา รวมทังการเข้ ้ าไป “กระบวนการคั ด เลื อ กผู ้ เ ข้ า มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กระทรวง รั บ รู้ ถึ ง ปั ญ หาที่ แ ท้ จริ ง ของแต่ ล ะโรงเรี ย น ศึกษาธิการ ส่วนใหญ่มาจากผูท ้ เี่ ป็นแกนน�ำของพรรคการเมือง เพราะแต่ละที่มีปัญหาไม่เหมือนกัน นอกจากนี ้ และอาจจะไม่ได้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการศึกษา” ควรหาวิธีการว่าท�ำอย่างไรจะกระจายอ�ำนาจ ผศ.ดร.ธนพั น ธ์ ไล่ ป ระกอบทรั พย์ สัง่ การไปยังระดับภูมิภาคได้ บ้าง อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุ ฬ าฯ เมือ่ มองกลับมาทีป่ ระเทศไทย นักวิชาการ ด้ านครุศาสตร์ชี ้ว่า หากภาครัฐยังคงมองโรงเรียน 1. การเมืองในประเทศไทยไม่มเี สถียรภาพ กล่า วคื อ นโยบายจากภาครั ฐ ส่งถึงแค่ เป็นเพียงทางผ่านเช่นนี ้ต่อไป การปฏิรปู การศึกษา มีการเปลี่ ย นรั ฐ บาลบ่ อ ย อี ก ทัง้ วัฒ นธรรม โรงเรี ยนแกนน�ำ แต่กระจายออกไปสู่โรงเรียน ก็จะไม่ประสบความส�ำเร็จและยังคงย�ำ่ อยูท่ เี่ ดิม ทางการเมืองไทยเมื่อรัฐบาลใหม่ขึ ้นมามักจะ รอบนอกน้ อย “เราดูประเทศอื่นเป็ นแรงบันดาลใจได้ แต่ “นโยบายแต่เดิมเป็ นนโยบายระยะสันมาก ้ ไม่ ย อมรั บ นโยบายของรั ฐ บาลชุ ด เดิ ม หรื อ เรี ยกว่าล้ มกระดาน ท�ำให้ การก�ำหนดนโยบาย รัฐมนตรี ศธ. ต่างเข้ามาพร้ อมกับมุมมองทางการ อย่าไปเอามาเป็ นโมเดล เพราะไม่มปี ระเทศไหน ้ หกเดือน เหมื อ นกัน แต่สิ่ง ที่ ต้ อ งถอดออกมาให้ ไ ด้ คื อ ในระยะยาวไม่ ส ามารถเกิ ด ขึน้ ได้ ส่ง ผลให้ เมืองของแต่ละคน ระยะเวลาสันๆ ข้ าราชการประจ�ำซึง่ ต้ องน�ำนโยบายไปปฏิบตั ิ หรื อ หนึ่ ง ปี และแต่ ล ะคนก็ มี ธ งของตัว เอง เขาท�ำส�ำเร็ จได้ ด้วยภายใต้ เ งื่ อ นไขอะไร เช่น ้ ต้องเร่งเห็นผล ปัญหาบ้าน เขาสร้ างวิสยั ทัศน์เรื่องการศึกษาร่วมกันได้ และ เกิ ด ความสับสน และสงสัย ว่า นโยบายจะมี เพราะฉะนันนโยบายก็ เราคื อ นโยบายพวกนี ้ไม่ คอ่ ยกระจายตัว ไม่เคยไป มองว่านีค่ อื ปัญหาร่วมกัน” ผศ. อรรถพลกล่าว ทิศทางอย่างไรต่อไป ถึงโรงเรียนทีเ่ ป็ นส่วนใหญ่ของประเทศ มักไปถึง 2. การเมืองในประเทศไทยเป็ นการเมือง แค่โรงเรียนศักยภาพ โรงเรียนแกนน�ำ โรงเรี ยน “การน�ำไปสูก่ ารศึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาก เอื ้อผลประโยชน์ที่จบั ต้ องได้ คือ โครงการถูก ขับเคลื่อน น้ อยมากเลยที่จะทดลองนวัตกรรม ขึ ้น จะต้ องไม่ใช่คนเดียวทีจ่ ะแก้ ปัญหา ต้องมีการ คิ ด ขึ น้ เพื่ อ เอื อ้ ผลประโยชน์ ใ ห้ กั บ ผู้ มี ส่ ว น แล้ วแจกจ่ายไปทังประเทศ” ้ ผศ. อรรถพล กล่าว วางแผน พัฒนาด้ านการศึกษาร่ วมกันให้ ยงั่ ยืน เกี่ยวข้ อง จึงกลายเป็ นว่า นโยบายเหล่านันไม่ ้ หากเปรี ย บเที ย บกับ ประเทศที่ มี ร ะบบ และสื่อทัง้ หลายต้องไม่รายงานข่าวการศึกษาที่ ก่อประโยชน์ทางการศึกษา ไม่ได้ น�ำไปพัฒนา การศึกษาอยูใ่ นล�ำดับต้นๆ ของโลก เช่น ฟิ นแลนด์ ผลิตซ� ้ำแต่ความหมดหวัง มองให้ เห็นว่าปัญหา บุคลากรหรื อเนื ้อหาในด้ านการเรี ยนการสอน กัญ ญ์ ช ลา นาวานุ เ คราะห์ บรรณาธิ ก าร ลึกๆ คืออะไร” นักวิชาการด้ านการศึกษาสรุป


6

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Economics

เรื่อง : พรหมธิดา ฤกษ์ฉวี

จ่ า ยเท่ า ไหร่ ถึ ง จะได้ ติ ด ปี ก ? “เขาบอกว่าคอร์สเรียนราคาห้าหมื่น เท่ากับเงินเดือน เดือนเดียวเองนะ มีเพื่อนเราเอาไปบอกที่บ้านแบบนี้ สุดท้ายผู้ปกครองก็ยอมจ่าย”

การลงทุนด้านการศึกษาก็จำ� เป็น

คุณสมบัติที่จ�ำเป็ นของพนักงานต้ อนรับบนเครื่ องบินคือ ต้ องสือ่ สารภาษาอังกฤษได้ บุคคลิกภาพดี มีไหวพริบ และจิตใจ รักงานบริ การ นัน่ คือแนวคิดของ ณัฐรินทร์ กิตติธวีพนั ธ์ หรื อ ครู นก ผู้ก่อตังสถาบั ้ นพัฒนาบุคลิกภาพ Ready to Fly ครูนก กล่าวเพิม่ ว่า ผู้สมัครสามารถเลือกเส้ นทางฝึ กฝนด้ วยตัวเองก็ได้ แต่การเรี ยนกับสถาบันก็จะช่วยให้ มีความมัน่ ใจมากขึ ้น อีกทัง้ ยังเป็ นตัวเลือกที่ดีส�ำหรับคนที่มีประสบการณ์ในชีวิตน้ อย

หนึ่ง ในค� ำ บอกเล่า จากผู้ที่ มี ค วามฝั น อยากเป็ น พนัก งาน ต้ อนรับบนเครื่ องบิน แน่นอนว่าค่าคอร์ สเรี ยนกับทางสถาบัน ไม่ใช่สิ่งเดี ยวที่ เธอคนนี ย้ อมจ่า ย แต่ยัง รวมไปถึง การลงทุน เตรี ยมความพร้ อมในอี ก หลายด้ า น ที่ ค นมี ฝั น คิ ด ว่า ยัง ไงก็ คุ้มค่ากับผลลัพธ์ที่จะตามมา

“ส่วนใหญ่คนที่มาเรี ยนจะชัว่ โมงบินน้ อย เป็ นเด็กจบใหม่ ไม่คอ่ ยได้ ท�ำกิจกรรม ไม่ร้ ูวา่ จะต้ องตอบค�ำถามหรื อแก้ ปั ญหาเฉพาะหน้ าอย่างไร ทางสถาบันก็ช่วยแนะน�ำ รวมไปถึงผู้เรี ยนยังได้ สงั คมใหม่ๆ ได้ ร้ ู จกั เพื่อน ใหม่ที่มีความฝันเหมือนกัน” ครูนกบอก

ธุรกิจการบินเติบโต แต่อัตราการจ้างงานลูกเรือยังไม่เพียงพอ

ศูนย์วิจยั กสิกรไทยคาดการณ์วา่ ธุรกิจสายการบินของไทยในปี 2560 จะมี มูลค่า 288,700 ล้ านบาท และน่าจะแตะ 306,400 ล้ านบาท ในปี 2561 หากสามารถ แก้ ไขการติดธงแดงจากองค์กรพลเรื อนการบิน ระหว่างประเทศ (ICAO) และส�ำนักงานบริ หารการ บินแห่งชาติสหรัฐอเมริ กา (FAA) ได้ ส�ำเร็ จ เมื่อวันที่ 9 ต.ค. 60 ICAO ประกาศผ่านเว็บไซต์วา่ ได้ ปลดธงแดง หน้ าชื่ อประเทศไทยแล้ ว ซึ่ง จะท� ำ ให้ สายการบิน ของไทย สามารถขอขยายจุด บิ น หรื อ เปิ ด เส้ น ทางบิ น ใหม่ ๆ ในต่ า ง ประเทศได้ ตามปกติ ด้ วยเหตุนี ้หลายๆ สายการบินจึงเพิ่มอัตรา การจ้ างงานในต�ำแหน่งพนักงานต้ อนรับบนเครื่องบิน หรือลูกเรือ เพื่อให้ เพียงพอกับเส้ นทางบินที่จะเปิ ดใหม่ สายการบินแห่งชาติอย่าง การบินไทย (Thai Airways) เปิ ด รับสมัครจ�ำนวนลูกเรื อมากถึง 214 อัตรา ในปี 2560 นี ้ และ ล่าสุดมีผ้ สู มัครถึง 2,003 คน เท่ากับว่า อัตราการแข่งขันเพือ่ ติดปีก กับสายการบินนี ้ อยูท่ ่ี 1 ต่อ 100 คน เลยทีเดียว ตรงกับข้ อมูลของ เว็บไซต์ Crew Pang เว็บรวบรวมข้ อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ เปิ ดรับสมัครพนักงานต้ อนรับบนเครื่ องบินในไทย ซึง่ ก่อตังโดย ้ กนกวรรณ กรรณิกา หรือ แป้ง อดีตพนักงานต้ อนรับสายการบิน ทีร่ ะบุวา่ จ�ำนวนผู้สมัครมักอยูท่ ี่ 2,000-3,000 คนต่อการสมัคร ในหนึง่ รอบเสมอ แต่สายการบินจะเปิ ดรับสมัครต�ำแหน่งลูกเรือ รอบละไม่เกิน 30 คนโดยประมาณ เมือ ่ ความฝันและขัน ้ ตอนการเตรียมตัว ต้องมาพร้อม “เงิน”

พัชราภา ฤกษ์ ฉวี หรื อ ปูเปรี ย้ ว พนักงานต้ อนรับสาย การบิน Qatar Airways ระบุวา่ เมือ่ คิดมูลค่าของการลงทุนก่อน ติดปี กนัน้ นับว่าสูงถึง 50,000 บาทเลยทีเดียว โดยเป็ นค่าใช้ จา่ ยใน ขันตอนการพั ้ ฒนาบุคลิกภาพหรือกรูมมิง่ (Grooming) มากทีส่ ดุ ประมาณ 8,000 บาท ซึง่ เป็ นค่าสัง่ ตัดชุดสูท เนือ่ งจากต้ องมี มากกว่าหนึง่ ชุดเสมอ เพือ่ ให้ ตรงกับโทนสีของแต่ละสายการบิน “แต่วา่ ท�ำงานแค่เดือนเดียวก็ได้ ห้าหมื่นแล้ ว ส�ำหรับคนที่ อยากมาท� ำ อาชี พ นี เ้ ลยไม่ ไ ด้ ร้ ู สึก ว่ า มัน เป็ น การลงทุน เยอะ เพราะแค่ไม่นานก็คืนทุนแล้ ว” ปูเปรี ย้ วกล่าว ค่าใช้ จ่ายในการสมัครเป็ นพนักงานต้ อนรับบนเครื่ องบิน เริ่ มต้ นขันตอนแรกคื ้ อการกรอกใบสมัคร ผู้สมัครจะต้ องมีผล คะแนนวัดระดับภาษาอังกฤษ (TOEIC) มีคา่ ใช้จา่ ยต่อการสอบหนึง่ ครังอยู ้ ท่ ี่ 1,500 บาท ต่อมาคือรูปถ่าย ซึง่ มีราคาตังแต่ ้ 1,500 บาท ไปจนถึง 3,000 บาท หากต้ องการได้ รู ปภาพในหลากหลาย อิริยาบถ พร้ อมการแต่งหน้ าและท�ำผมจากสตูดโิ อแบบครบวงจร

การพัฒนาบุคลิกภาพก็นบั ว่าเป็ นขันตอนที ้ ส่ ำ� คัญ ผู้สมัคร หลายคนจึงมักหมดค่าใช้จา่ ยไปกับการปรับโฉม รูปลักษณ์ภายนอก ไล่ตงแต่ ั ้ การก�ำจดขน ไปจนถึงการดัดฟั น เช่น ค่าเลเซอร์ และ รักษาสิว ค่าเลเซอร์ ขนแขนและขา เริ่มต้ น 5,000 บาท การดัดฟั น และฟอกสีฟันราคาตังแต่ ้ 20,000 บาท นอกจากนี ้ยังมีคา่ ใช้ จา่ ย ส�ำหรับเครื่องประดับอืน่ ๆ ได้ แก่ ต่างหู ถุงน่อง และนาฬกิ า ซึง่ ต้ อง ให้ มคี วามคล้ายคลึงกับความต้ องการของสายการบินมากทีส่ ดุ ค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติ่มที่หลายคนนิยมจ่าย คือ ค่าคอร์ สเรี ยน เตรียมความพร้ อมการเป็ นพนักงานต้ อนรับบนเครื่องบิน เริ่มต้ นที่ 20,000 บาท และคอร์ สเรี ยนภาษาอังกฤษเริ่ มต้ น 5,000 บาท บางสถาบันจึงหัวใสรวมสองหลักสูตรนี ้เข้ าด้ วยกัน ท�ำให้ ราคาพุง่ สูงถึงเกือบ 50,000 บาทต่อหนึง่ คอร์ สเลยก็มี ถ้ าใครทีต่ ้ องการลง เรียนแบบครบถ้ วน ทังคอร์ ้ สหลักสูตรติวสอบสัมภาษณ์แบบเข้มข้น คอร์ สเตรี ยมความพร้ อมเฉพาะแต่ละสายการบิน และคอร์ สติว ภาษาอังกฤษ ก็เตรียมเงินล่วงหน้ าไว้ เลยอย่างน้ อย 80,000 บาท นอกเหนื อ จากที่ ก ล่า วมา ยังมี ค่า ใช้ จ่า ยอื่ นๆ เช่น บาง สายการบินมีการทดสอบว่ายน� ้ำ ดังนัน้ ถ้ าใครว่ายน� ้ำไม่เป็ นก็ ต้ องเตรี ยมเงินอย่างน้ อย 2,000 บาทเพื่อเรี ยนว่ายน� ้ำ หรื อถ้ า อยากเพิ่มทักษะภาษาที่สามเพื่อใช้ สมัครสายการบินต่างชาติ ก็ มี ค่า เล่า เรี ย นเริ่ มต้ นอยู่ที่ 8,000 บาท รวมไปถึงค่า คอร์ ส ออกก�ำลังกาย ในกรณีทผี่ ้ สู มัครต้ องการฟิ ตร่างกายให้ สวยทันวัน สัมภาษณ์ อีกกว่า 10,000 บาท สุดท้ ายในกรณีที่ต้องการไป สมัครสอบนอกภูมิล�ำเนา เพราะบางสายการบินไม่มาเปิ ดรับ สมัครลูกเรื อที่ประเทศไทย มีคา่ ใช้ จา่ ย 8,000 บาทเป็ นต้ นไปที่ รวมค่าที่พกั และตัว๋ เครื่ องบินเรี ยบร้ อย

ด้ าน ปรีดาภรณ์ ชื่นกลาง หรื อ ปุ๊ กปิ๊ ก นักศึกษา ชันปี ้ ที่ 4 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ใช้ เวลาร่วมปี ในการค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับสถาบันเตรี ยมความพร้ อม ว่าที่ไหนจะคุ้มค่าต่อราคาคอร์ สเรี ยนมากที่สดุ ทังสื ้ บค้ น ออนไลน์ และสอบถามจากคนรู้ จัก จึงค้ นพบว่าสถาบันส่วน ใหญ่มกั มีจดุ เด่นโดยการอ้ างอิงจากประสบการณ์จริ งของอดีต ลูกเรื อเพื่อดึงดูดผู้เรี ยน แต่สดุ ท้ ายปุ๊ กปิ๊ กก็ตดั สินใจไม่สมัคร เรี ยนกับสถาบันใดๆ เลย โดยให้ เหตุผลว่าจากการที่มีคนรู้จกั ท�ำงานเป็ นลูกเรื อ ท�ำให้ ได้ เรี ยนรู้เทคนิคที่คนนอกอาจจะไม่ร้ ู ซึง่ เทคนิคดังกล่าวมีความคล้ ายคลึงกับที่สถาบันสอน ด้ านสถาบันอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยก็เปิ ดหลักสูตร เพื่ อ รองรั บความต้ องการผู้ อยากไปประกอบอาชี พ นี ้ หนังสือพิมพ์ประชาชาติธรุ กิจ รายงานเมือ่ วันที่ 1 เม.ย. 59 เปิ ดเผย ว่าในปี 2559 มีจำ� นวนนักศึกษาหลักสูตรธุรกิจการบินกว่า 20,000 คนทัว่ ประเทศ เพิ่มขึ ้นจากปี 2556 ที่มีเพียง 5,000 คน โดยเฉลี่ย ค่าเล่าเรี ยนอยูท่ ี่ภาคการศึกษาละ 30,000-40,000 บาท อาจารย์ธนกร นรงค์วาณิช หัวหน้าผู้ฝึกสอนหลักสูตรธุรกิจ การบิน วิทยาลัยการท่องเทีย่ วและการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม อธิบายว่าหลักสูตรจัดการเรี ยนการสอนอย่างครอบคลุม ไม่ได้ เน้ นเพียงอาชีพลูกเรื อ แต่ยงั รวมถึงอาชีพที่เกี่ยวข้ องในวงการ ธุรกิจการบิน ท�ำให้เมือ่ นักศึกษาส�ำเร็ จการศึกษาไปแล้ ว สามารถ ต่อยอดท�ำอาชีพอื่นๆ ได้ อีกกว่า 20 แขนง “มีหลายคนที่สมัครเข้ าเรี ยนมาด้ วยความฝั น อยากเป็ น พนักงานต้ อนรับบนเครื่ องบินโดยตรง เราเลยต้ องสอนพวกเขา ด้ วยประสบการณ์จริ ง พยายามท�ำให้ เห็นว่าธุรกิจการบินไม่ได้ มีเพียงแค่อาชีพเดียวคือลูกเรื อ” อาจารย์ธนกรกล่าว กว่าร้ อยละ 30-40 ของนักศึกษาที่จบการศึกษาไปแล้ ว ท�ำงานอยู่ในแวดวงอุตสาหกรรมการบิน จะมีเพียงร้ อยละ 10 เท่านันที ้ ่สานต่อความฝันได้ เป็ นลูกเรื อ

ส�ำหรับคนที่ต้องเริ่ มจากศูนย์ ตังแต่ ้ สมัครสอบ TOEIC ไป จนถึงลงเรี ยนกับสถาบันเตรี ยมความพร้ อมต่างๆ รวมทังปรั ้ บ โฉมรูปลักษณ์ภายนอกและภายในตามทีก่ ล่าวมาทังหมดข้ ้ างต้ น นัน้ คิดเป็ นค่าใช้ จา่ ยสูงถึงกว่า 86,000 บาท และมูลค่าที่สงู ขนาดนี ก้ ็ ยัง ไม่ก ารั น ตี ว่า จะได้ ติด ปี ก เสมอไป อย่า งไรก็ ต าม แม้ วา่ การลงทุนจะมีราคาเรื อนหมื่นหรื อแสน แต่ความนิยมของ อาชี พนี ม้ ีแต่จะเพิ่มมากขึน้ เพราะโอกาสและก� ำไรที่ได้ มามี มูลค่าไม่น้อย


7

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

จงเลือกข้อที่ถูกต้อง

ก) ความจริงแล้วเราเป็นคนนอกนะคะ อย่าไปยุ่งเรื่องส่วนตัวเขาเลยคะ ข) ความจริงแล้วเราเป็นคนนอกนะคะ อย่าไปยุ่งเรื่องส่วนตัวเขาเลยค่ะ

ค) ความจริงแล้วเราเป็นคนนอกนะค่ะ อย่าไปยุ่งเรื่องส่วนตัวเขาเลยค่ะ

ถ้ าคุณตอบข้ อ ข) คุณคือร้ อยละ 93 ของ ผู้ที่ตอบแบบสอบถามการใช้ คะ/ค่ะ ของ นิสติ นักศึกษา และคุณผันวรรณยุกต์ถกู แล้ว ถ้าคุณตอบข้อ ก) หรือ ค) คุณคือร้ อยละ 7 ทีอ่ าจยังสับสนกับการผันวรรณยุกต์อยู่ แต่ไม่วา่ คุณจะตอบข้ อไหน อยากให้ ลองอ่านต่อสักนิด นางสาวเอ (นามสมมติ) มีความเห็นว่า การสะกด คะ/ค่ะ ผิดไม่ใช่ปัญหาในการสือ่ สาร เพราะเชือ่ ว่าผู้ทส่ี อ่ื สารด้ วยเข้ าใจสิง่ ทีต่ นต้ อง การสือ่ สารอยูแ่ ล้ว ส่วนสาเหตุทสี่ บั สนในการ เลือกใช้ คะ/ค่ะ เอก็ยงั ไม่ทราบแน่ชดั เคยสงสัยกันบ้ างไหม ว่าท�ำไมคนจ�ำนวน หนึง่ ถึงยังใช้ คะ/ค่ะ ไม่ตรงกับลักษณะประโยค แล้ วจะมีวิธีแก้ ไขได้ อย่างไรบ้ าง ผศ.ดร.พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ อาจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์วา่ การใช้ คะ/ค่ะ ไม่ตรงกับลักษณะประโยค อาจเกิด จากการไม่สามารถเชื่อมโยงการสะกดกับ เสียงของค�ำได้

Education

“ขอตังสมมติ ้ ฐานว่า คะ/ค่ะ ไม่เหมือนค�ำ อื่นๆ ในภาษาไทย ค�ำอื่นไปปรากฏอยูท่ ี่ไหนก็ หน้าตาเหมือนเดิมไม่เคยเปลีย่ น เช่น ปิง้ อยูท่ ไี่ หน ก็เป็ นปิ ง้ แต่ คะ/ค่ะ การออกเสียงจะเป็ นไป ตามบริ บทของประโยคที่ตา่ งกัน แต่คนสะกด ไม่ได้ ค�ำนึงถึงเสียง ดูแค่รูป หรื อถ้ าพยายามจะ ใช้ ให้ ถกู อาจใช้ วิธีการจ�ำ ซึง่ พอจ�ำก็เลือกใช้ ไม่ ถูกเพราะไม่ได้ ฟังว่าพูดแล้ วใช้ เสียงอะไร” ด้ าน ผศ.ซ่อนกลิน่ วิรตั น์โยสินธร์ ครูสอน ภาษาไทยระดับชันประถมศึ ้ กษา โรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ ายประถม กล่าวว่า สาเหตุของการสะกดผิดเป็ นเรื่ องของระบบการ เรี ยนการสอน โดยปั ญหาคือหลายๆ โรงเรี ยน จะสอนอ่านจับใจความควบคูไ่ ปกับหลักภาษา ท�ำให้ การเน้ นเรื่องสระ พยัญชนะ เบื ้องต้ นต่างๆ ไม่แน่น เด็กไม่เข้ าใจพื ้นฐานโครงสร้ างของค�ำ “จริ ง ๆ ต้ อ งเริ่ ม จากการสอนไตรยางศ์ (อักษรสามหมู่ ประกอบด้วยอักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต�ำ่ ) ก่อน เพือ่ ให้ เด็กผันวรรณยุกต์ได้ ถูกต้ อง พอผันวรรณยุกต์ได้ แล้ วก็สอนให้ จบั เสียงให้ ได้ ” ผศ. ซ่อนกลิน่ อธิบายถึงวิธีการสอน การเขียน คะ/ค่ะ ให้ ถกู ต้ อง ขณะที่ อ.ประไพพรรณ พึ่งฉิม อาจารย์ ภาคภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เห็นว่า สาเหตุของการสะกด คะ/ค่ะ ผิดส่วนหนึ่งอาจเกิดจากการสอนเรื่ องการผัน วรรณยุกต์ทไี่ ม่มปี ระสิทธิภาพในระบบการศึกษา แต่ก็เป็ นไปได้ วา่ ผู้สะกดผิดไม่ใส่ใจ เพราะมัก มองว่าสามารถสื่อสารได้ เหมือนกัน

“จบตรีแล้วไปไหน” เป็ น ค� ำ ถามที่ นิ สิต นัก ศึก ษา

หลายคนตัง้ ค� ำ ถามและคิ ด กัน ไม่ต กว่า หลัง จากจบชี วิ ต ในรั ว้ มหาวิทยาลัยไปแล้ วจะต้ องท�ำอย่างไรต่อกับชีวติ โดย ทัว่ ไปบัณฑิตจบใหม่จะแปรสภาพมาเป็ น first jobber แต่ก็ ยังมีอีกจ�ำนวนไม่น้อยที่เลือกจะศึกษาต่อในระดับปริ ญญา โทต่อไป แล้ วปริ ญญาโทสาขาใดเล่าที่จะตอบโจทย์ความ ต้ องการของตลาดแรงงานของประเทศไทยในปั จจุบนั สถิตขิ องส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ระบุวา่ ใน ช่วงสามปี ทผี่ า่ นมา มีผ้ สู ำ� เร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท ประมาณ 30,000 คนต่อปี ในจ�ำนวนนี ้หลักสูตรที่มีผ้ สู �ำเร็ จ การศึกษาเป็ นอันดับหนึง่ ในทุกปี การศึกษา คือ หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) คิดเป็ นกว่าร้ อยละ 20 ของ ผู้จบการศึกษาระดับปริ ญญาโททังหมด ้ เบญจาภรณ์ องค์ มงคลกุล ผู้ส�ำเร็ จการศึกษาหลักสูตร บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต จากสถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า การเรี ยนต่อ MBA นั น้ ช่ ว ยคนที่ ไ ม่ ไ ด้ เรี ย นด้ านบริ ห ารมาโดยตรง เนื่ องจากตนเองจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางด้ าน เภสัชศาสตร์ แต่ปัจจุบนั ท�ำธุรกิจโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ การเรียน MBA จึงช่วยเปลี่ยนแปลงความคิดและเพิ่มเติม ความรู้ ด้านการบริ หารโรงเรี ยนให้ ดียิ่งขึ ้น ประยุกต์ใช้ กบั ธุรกิจส่วนตัวได้ จริ ง รวมไปถึงได้ ฝึกบริ หารเวลาของตัวเอง ทังเรื ้ ่ องเรี ยน ท�ำงานกลุ่มของชันเรี ้ ยน และท�ำงานส่วนตัว ได้ อย่างเป็ นระบบ ด้ าน ไชยรั ต น์ บุ ต รพรม ผู้ ช่ ว ยผู้ อ� ำ นวยการฝ่ าย ทรั พ ยากรบุ ค คลและธุ ร กิ จ สั ม พั น ธ์ บริ ษั ท อนั น ดา ดี เวลลอปเม้ นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริ ษัทอสังหาริ มทรัพย์ เจ้ าของโครงการคอนโดมิเนียมติดรถไฟฟ้า เล่าให้ ฟังว่า บริ ษัทให้ ความส�ำคัญและให้ การสนับสนุนกลุ่มสตาร์ ทอัพ

นอกจากนี ้ สาเหตุของการสะกด คะ/ค่ะ ไม่ถูกต้ องอาจเกิดได้ จากทังการอ่ ้ านและการ เขียน อ.ประไพพรรณเสริ มว่า อาจเป็ นเพราะ คนอ่านหนังสือน้ อยลง ท�ำให้ ไม่เห็นว่าสิ่งทีถ่ กู ต้ องเป็ นอย่างไร ส่วน ผศ.ดร.พิทยาวัฒน์เชื่อ ว่าการที่คนเขียนน้ อยลงก็มีสว่ นเช่นกัน “ไม่ ใ ช่ ว่ า คนไม่ ส นใจการสะกดผิ ด ถู ก ปั ญหาคือ คนสะกดผิดส่วนใหญ่ไม่มโี อกาสได้ เขียน อย่าลืมว่าทุกวันนี ้คนเขียนน้ อยมาก เขียน แค่สเตตัสเฟซบุ๊ก ซึ่งไม่มีผลกระทบอะไรกับ ชีวิตมากมาย” แต่ ใ ช่ ว่ า แนวทางการแก้ ไขปั ญ หาการ สะกด คะ/ค่ะ นี ้จะไม่มี ผศ.ซ่อนกลิน่ เห็นว่า ต้ องเริ่มแก้ ทคี่ รู ควรสอนหลักภาษาแยกกับการ จับใจความ และปูพืน้ ฐานเรื่ องไตรยางศ์ กบั การผันวรรณยุกต์ให้ แม่นย�ำ หากเด็กสะกดผิด ครู และผู้ปกครองควรแก้ ไขให้ ถูกต้ อง รวมถึง ส่งเสริ มการรักการอ่าน ด้ าน ผศ.ดร. พิทยาวัฒน์ เสนอแนะว่า ใน ระยะสัน้ อาจมีการชี ้แจงและให้ความรู้ในวงกว้าง ส่วนการแก้ ปัญหาระยะยาว โรงเรี ยนต้ องปรับ วิ ธี ก ารสอนให้ ส อดคล้ อ งกับ ระบบการเขี ย น และธรรมชาติการเรี ยนรู้ของคนด้ วย “ทุกวันนี ค้ นเขี ยนผิ ดไม่มีใครให้ ความรู้ กลับถูกต่อว่า หรื อถึงจะมีการให้ ความรู้ ก็มกั บอกเพียงว่าประโยคค�ำถามใช้ คะ ส่วนประโยค บอกเล่าใช้ คะ่ ซึง่ คนก็ต้องจ�ำอยูด่ ี แต่ปัญหา จริ งๆ คือคนไม่ฟังว่าตัวเองพูดอะไร”

ท� ำ ไม นะค่ ะ ?

เรื่อง - ภาพ : ปัณฑารีย์ สุจิตวรงค์

คะ/ค่ะ สะท้อนอะไรในสังคมไทย

ผศ.ดร. ยุกติ มุกดาวิจติ ร อาจารย์ สาขาสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มองว่าการแยก ค�ำว่า “คะ” กับ “ค่ะ” เป็ นภาระของผู้หญิง มากเกินไป “ผมว่ามันเป็ นภาระของผู้หญิงที่ จะต้ องท�ำเสียงให้ แตกต่างออกไป ส่วนผู้ชาย สบายกว่า ไม่วา่ จะออกเสียงอย่างไร ก็เขียน แบบเดียว นี่เป็ นอุดมการณ์เพศที่แบ่งแยก หญิง-ชายในภาษา โดยคาดคันให้ ้ ผ้ หู ญิงมี ความล�ำบากในการใช้ ภาษามากกว่าอีก”

จบ ป.ตรี ต่ อ MBA

สูตรส�ำเร็จคนยุคใหม่ จ�ำเป็นแค่ไหนในตลาดแรงงาน เรื่อง : ณิชากร เอื้อสุนทรวัฒนา

ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นนักศึกษาจากสาขา MBA เพราะเห็นว่าคน รุ่ นใหม่ให้ ความสนใจและอยากเป็ นผู้ประกอบการมากกว่า พนักงานออฟฟิ ศ “ทีอ่ นันดา เราเรียกกลุม่ เด็ก MBA จบใหม่อายุประมาณ 24 - 25 ปี ที่ได้ รับต�ำแหน่งผู้บริ หารหน่วยงานว่า Digital Venture เรา จะฝึ กสอนให้ ท�ำเขาแผนธุรกิจ วางกลยุทธ์ และท�ำจริ ง ซึง่ ตอน นี ้มี 10 หน่วยงานที่ก�ำลังด�ำเนินธุรกิจที่มี Digital Venture อยู่ ภายใต้ อนันดา ถ้ าหากเล็งเห็นว่าหน่วยงานนีม้ ีโอกาสที่จะ เติบโต ผู้บริ หารก็อาจจะลงทุนเปิ ดเป็ นธุรกิจใหม่ แล้ วให้ เด็ก กลุม่ นี ้บริ หารไปเลย” ไชยรัตน์กล่าว แต่ พฤทธ์ อึง คะนึ ง เดชา ผู้อ� ำ นวยการฝ่ ายทรั พ ยากร บุคคล บริ ษัท ไมเนอร์ คอร์ เปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำเข้ า และตัวแทนจัดจ� ำหน่ายสินค้ าแฟชั่นและเครื่ องส�ำอางจาก ต่างประเทศ ให้ ความเห็ น ว่ า การขาดผู้ เชี่ ยวชาญเฉพาะ ทางในด้ านต่างๆ ก็เป็ นอีกปั ญหาส�ำคัญเพราะประเทศไทย ผลิตคนออกมาไม่ได้ ตรงกับความต้ องการของตลาด หลักสูตร MBA ผลิตผู้เชี่ยวชาญทางบริ หารธุรกิจออกมาจริ งแต่ก็ไม่ได้ เป็ นที่ต้องการของตลาดถึงขนาดนัน้ พฤทธ์อธิบายต่อว่า จากการสังเกตในหลายองค์กร คนจะ คิดว่างานสายอาชี พหรื อผู้เชี่ ยวชาญพิเศษต้ องเป็ นแค่สาย งานช่างหรื องานที่ไม่มีความก้ าวหน้ าและคิดว่าเรี ยน MBA ถึง จะประสบความส�ำเร็ จ แต่ตลาดแรงงานในเมืองไทยยังขาด แรงงานที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญมาก ซึ่งจะเป็ นคนที่ช่วยคิดค้ นสิ่ง ใหม่ ๆ ออกมา ยกตัว อย่ า งเช่ น โรงงานที่ มี แ ผนก R&D ก็

ต้ องการผู้เชี่ยวชาญสายอาชีพที่สามารถคิดสูตรหรื อผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ที่จะตอบโจทย์ ลูกค้ า ซึ่งคนที่จบ MBA ไม่สามารถคิด สูตรเหล่านี ้ได้ “ถ้ าจบมาโดยตรงมันก็ดีกว่าอยูแ่ ล้ ว เพราะเขาจะมีความรู้ที่ ลึกมาต่อยอดทักษะ แต่ถ้าการศึกษาเป็ นอย่างนี ้ พูดง่ายๆ ก็คือ ไม่มีทงความรู ั้ ้ และทักษะ ต้ องมาฝึ กกันใหม่ ถ้ าเป็ นเด็กจบใหม่ เข้ ามา เราจะดูวา่ มีทศั นคติการท�ำงานยังไง ถ้ าเป็ นคนที่พร้ อม เปิ ดรับ เรี ยนรู้สงิ่ ใหม่ๆ สุดท้ ายแล้ วมันก็ต้องยอมรับ เพราะว่า เมืองไทยมันหาคนที่เชี่ยวชาญโดยตรงไม่ได้ ” พฤทธ์กล่าว ดร. ยงยุทธ แฉล้ มวงศ์ ผู้อ�ำนวย การวิจยั ด้านการพัฒนาแรงงาน สถาบัน วิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เผยว่า ปี 2560 อัตราว่างงานไทยสูงขึ ้น เนือ่ งจากไม่ สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ สำ� เร็จ กว่าร้ อยละ 95 ธุรกิจในไทยเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดย่อม ซึง่ ใช้แรงงานระดับล่างมากเกินไป ต้องน�ำแรงงานต่างด้าว กว่าสามล้ านคนเข้ ามาท�ำงานเพือ่ ลดปัญหาขาดแรงงาน ระดับล่างทีเ่ รื ้อรังมาถึง 15 ปี ขณะเดียวกันอัตราว่างงาน ของผู้จบการศึกษาระดับมัธยมปลายและสายอาชีพอยูท่ ี่ ค่าเฉลีย่ ร้ อยละ 1.2 แต่ระดับอนุปริญญากลับมีคา่ สูงถึง ร้ อยละ 3.2 ถือเป็ นความสูญเปล่าทังผู ้ ้ จบการศึกษาและ ทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาลในยุคที่ก�ำลังแรงงานใหม่ เริ่มจะลดลง ทีม่ า : เว็บไซต์ TDRI วันที่ 10 ต.ค. 2560


ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Main Course

SEX WITH STRANGERS

“ นั ด ยิ้ ม ” ถอ ดรหั ส ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล ์ ใ ต ้ ส ะ ดื อ เรื่อง : อัฐานวัฒน์ ภัคภูริวัฒน์

โลกมืดเป็นโลกที่เลือกปฏิบัติกันมากๆ พอมันไม่มีการคัดกรอง

มันท�ำให้เราได้เห็นสันดานดิบของคน..

“ “

8

ทัศน์ (นามสมมติ) นักศึกษามหาวิทยาลัยและไบเซ็กชวล อายุ 24 ปี เล่าว่า คนเหงาในช่วงต้ นของยุคเว็บ 2.0 อาจนัดยิ ้ม กันผ่านเว็บบอร์ ดและ MSN ซึง่ เป็ นช่องทางที่ได้ รับความนิยม ในขณะนั น้ และยั ง บอกอี ก ว่ า “บอร์ ด ปาล์ ม พลาซ่ า ” เป็ น เว็บบอร์ ดของผู้มีความหลากหลายทางเพศที่ยงั หลงเหลือมา ถึงปั จจุบนั ซึง่ มีห้อง EViL เป็ นห้ องประจ�ำส�ำหรั บชาวนัดยิม้ ให้ นัด กัน ผ่า นการตัง้ กระทู้พร้ อมบอกพิกัดที่พวกเขาต้ องการ พบกัน และส่วนมากเป็นพื ้นทีส่ าธารณะอย่างห้องน� ้ำในศูนย์การค้า ความสะดวกของอินเทอร์ เน็ตยังช่วยให้ พวกเขาสามารถ “ยิ ้ม” ได้ โดยไม่ต้องเจอหน้ า ทัศน์เล่าว่า พวกเขาสามารถส�ำเร็ จ รักได้ งา่ ยๆ ด้ วยการ “แชทเสียว” หรื อใช้ กล้ องเว็บแคมเพื่อสร้ าง ความสุขให้ อีกฝ่ ายดูผ่านจอ “แคมฟรอก” โปรแกรมแชทแบบ + แอปเฉพาะกลุ่มหนุ่มขี้เหงา วิดโี อจึงกลายเป็นทีร่ ้ จู กั ดีสำ� หรับคนเปลีย่ วในยุคนัน้ ก่อนทีย่ คุ 3.0 ปริญ (นามสมมติ) นักศึกษามหาวิทยาลัย อายุ 23 ปี ผู้มี จะพัฒนาให้ โซเชียลมีเดีย รวมถึงสมาร์ ทโฟนรุ่นต่างๆ ช่วยให้ ผ้ ใู ช้ รสนิยมชายรักชาย เล่าว่า ช่องทางการหาคูน่ อนบนโลกออนไลน์ สามารถสือ่ สารได้ งา่ ยและเรียลไทม์มากขึ ้น จนเกิดแอปพลิเคชัน่ นันไม่ ้ ได้ มีแค่บนทวิตเตอร์ แต่ยงั มีแอปพลิเคชันอย่าง Hornet ส�ำหรั บการสนทนาอย่าง ไลน์ และแอปส�ำหรั บหาคู่ที่ใช้ อย่าง และ Jack’D ที่ออกแบบมาเพื่อการหาคูน่ อนโดยเฉพาะ และ แพร่หลายในปั จจุบนั เป็ นที่นิยมใช้ ในกลุม่ เกย์ + กดทับ – ปกปิด – ท้าทาย “ส�ำหรับผมแล้ วมันเป็ นเรื่ องที่สามารถเข้ าถึงได้ ง่ายมาก ปริ ญเล่าให้ ฟังว่า การมีอะไรกับคนแปลกหน้ าเปิ ดโอกาส ไม่วา่ จะเป็ นใคร อายุเท่าไหร่ เราสามารถหาคูน่ อนที่อยูบ่ ริ เวณ ให้ เขาได้ ท�ำอะไรที่สนุกกว่าการมีเซ็กส์ธรรมดา ทัง้ แปลกและ ใกล้ เคียงกับพิกดั GPS เราได้ คล้ ายๆ Tinder (แอปพลิเคชัน ท้ าทาย เหมือนเป็ นฉากหนึง่ ในภาพยนตร์ ส�ำหรับหาคูเ่ ดท) แต่มนั มี Feature (ลักษณะการใช้ งาน) ที่เรา “ยามถามว่าเราอยูห่ อนี ้ไหม ผมก็หลอกเขาไปว่า ‘(เคย)อยู’่ สามารถขออีกฝ่ ายเพือ่ ให้ เราดูรูปลับทีเ่ ขาซ่อนไว้ อยูไ่ ด้ ” ปริญกล่าว ทังๆ ้ ทีบ่ ตั รหอก็ไม่มี เนียนลงชือ่ ขึ ้นหอเพือ่ จะไปมีอะไรกับคนบนนัน้ ปริ ญเล่าขัน้ ตอนการนัดยิม้ ว่า เขาจะถามกันก่อนว่าหา ผมนัดเขาไปห้ องเก่าที่ผมเคยอยู่ ตอนนันมั ้ นเป็ นห้ องว่างแล้ ว เพื่อนคุย แฟน หรื อคูน่ อน แล้ วก็จะถามว่าเป็ นแบบไหน รุก รับ เป็ นความตืน่ เต้ นแปลกๆ กลัวคนจับได้ ” เขาบอก หรื อโบ๊ ท (Both หมายถึง ได้ ทงสองแบบ) ั้ บางคนก็เรื่ องมาก นอกจากนันปริ ้ ญกล่าวต่อว่า การที่สงั คมยังไม่เปิ ดกว้ าง หน่อย ถามว่า “ออกสาว” (มีทา่ ทางกระตุ้งกระติ ้ง) หรื อเปล่า ให้ คนพูดถึงเรื่องเซ็กส์ได้ อย่างอิสระ และมองว่าเป็ นเรื่องผิดปกติ อีกอย่างคือบางคนโชว์รูปตัวเอง แต่บางคนใช้ รูปอื่น เขาก็จะ ทางศีลธรรม บีบบังคับให้ คนที่มีความต้ องการทางเพศหนีไปใช้ ต้ องขอดูรูปก่อนว่าตรงตามที่ต้องการกันไหม แอคเคาท์แบบไม่เปิ ดเผยตัวตน ท�ำให้ พวกเขาสามารถแสดงออก การนั ด ยิ ม้ ออนไลน์ มี รู ป แบบที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตาม ความต้ อ งการทางเพศได้ อ ย่า งเต็ม ที่ จนมี ผ้ ูใ ช้ บ างรายฉวย พัฒนาการของเทคโนโลยีอนิ เทอร์ เน็ต ผู้ใช้ สามารถมีปฏิสมั พันธ์ โอกาสในการท�ำเรื่ องผิดศีลธรรม เช่น การล่อลวงเยาวชนหรื อ และแบ่งปั นข้ อมูลบนโลกออนไลน์ ทางโซเชียลเน็ตเวิร์ก อาทิ การค้ าประเวณี ท�ำให้ พื ้นที่นิรนามแห่งนี ้ถูกนิยามว่าเป็ นพื ้นที่ บล็อก เว็บบอร์ด มาจนถึงการเริ่ มต้ นของเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ แห่งความมืด “นั ด ยิ้ ม ” เป็ น ศั พ ท์ ย อดฮิ ต ในหมู ่ วั ย รุ ่ น ที่ ถู ก ใช้ อย่างแพร่หลายบนโซเชียลมีเดีย จากกระแสความนิยม ของซี รี ส ์ ไดอารี่ ตุ ๊ ด ซี่ ส ์ ที่ อ อกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ช่อง GMM 25 เมื่อปี 2559 หากค้นหาค�ำว่า “นัด ยิ้ ม ” ในกู เ กิ้ ล ดู ผลลั พ ธ์ ก ารค้ น หาล� ำ ดั บ แรกๆ คงหนีไม่พ้นข้อความชักชวนไปร่วมเพศด้วยอารมณ์ เปลี่ยว พร้อมระบุโลเคชั่นของเจ้าของแอคเคาท์บน ทวิต เตอร์ ภาพโชว์ อ าวุ ธ ประจ� ำ กาย และคลิ ป หนัง ตัว อย่ า งแบบ No Mosaic, No Sensor เป็ น เบาะแส ให้คนในละแวกใกล้ๆ มาคลายเหงากันแบบไม่ต้องมี ข้อผูกมัด


9

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Main Course

เรื่อง: อัฐานวัฒน์ ภัคภูริวัฒน์ ภาพ: กาญจนาภรณ์ มีข�ำ

“ผมจะเกร็ ง ทุ ก ครั้ ง เวลาเจอคน ใหม่... เคยเจอประเภทกระตือรือร้น จนเราอึดอัดมากก็มี แต่การมีอะไร กั บ คนแปลกหน้ า มั น ท� ำ ให้ เ ราได้ รู ้ สึ ก มั น กว่ า เพราะเราได้ ท� ำ อะไร แปลกๆ ในห้ อ งนอนคนอื่ น หรื อ แอบยามขึ้ น หอเขา เหมื อ นว่ า เรา ก�ำลังอยู่ในหนัง กลัวว่าจะโดนจับได้ กลั ว ว่ า จะมี ค นเห็ น ”

+ ถูกใจไม่ผูกมัด? “โลกมืดเป็นโลกทีเ่ ลือกปฏิบตั กิ นั มากๆ พอมันไม่มกี ารคัดกรอง มันท�ำให้ เราได้ เห็นสันดานดิบของคน” ทัศน์บอก เมื่อกล่าวถึง ความพิเศษของการนัดยิ ้มที่พวกเขาสามารถสนุกกับคูน่ อนที่มี ลักษณะทางกายภาพตรงตามสเปกมากที่ สุดโดยปราศจาก การจ้ องมองจากสังคม เขาเล่าต่อ อี กว่า กลุ่มแชทบนไลน์ ข องชาวนัด ยิ ม้ ต้ อง มีการถ่ายรูปบัตรประชาชนเพื่อยืนยันว่า ไม่มีผ้ สู งู อายุคราวพ่อ แฝงตัวเข้ ามาร่วมสนุกด้ วย สะท้ อนให้ เห็นถึงการเลือกปฏิบตั ใิ นหมู่ ชาวนัดยิ ้มทีต่ ้องการให้ สงวนความส�ำราญไว้สำ� หรับคนหนุม่ เท่านัน้ เช่นเดียวกันกับปริญทีก่ ล่าวว่า รูปร่าง หน้ าตา และลักษณะ ทางกายภาพของอีกฝ่ ายถือเป็ นปั จจัยหลักในการเลือกลงเอย อย่างห้ ามไม่ได้ เพราะความรักกับเซ็กส์เป็ นเรื่ องเดียวกัน “สมมติเราเจอคนทีต่ รงสเปกมาก แต่เขาไม่สามารถเติมเต็ม เราในเรื่องนี ้(เซ็กส์) ได้ เขาก็ไม่ตอบโจทย์ชวี ติ รัก” ปริญยกตัวอย่าง ทัศน์ยงั เปิ ดเผยอีกว่า การมีอะไรกับคนแปลกหน้ าที่ไม่ร้ ูจกั เป็ น เรื่ อ งปกติ ม าก ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งสนทนาเพื่ อ ความคุ้น เคย หากมองแล้ วรู้ ว่าใช่ ก็เดินตามกันเข้ าห้ องน� ้ำ เริ่ มภารกิจ เสร็ จ แยกทาง ถ้ าถูกใจก็นดั ต่อ เป็ นวงจรไปเรื่ อยๆ + เทคโนโลยีใหม่ใจความเดิม

แม้ การนัดยิ ้มที่ก�ำลังเข้ าสูย่ คุ เว็บ 4.0 ดูจะมีความสะดวก กว่ายุคก่อนที่ช่วยให้ ผ้ ูใช้ สามารถหาคู่ขาที่อยู่ใกล้ เคียงและมี ไลฟ์ สไตล์ที่ตรงกันมากขึ ้น แต่การนัดเพื่อสานสัมพันธ์ทางกาย แบบไม่ร้ ูจกั ฉันไม่ร้ ูจกั เธอก็ไม่ใช่เรื่ องใหม่ เมือ่ ลองย้ อนวัฒนธรรมการนัดพบกันเพือ่ ร่วมรักฉาบฉวยใน สังคมไทย อาชญาสิทธิ์ ศรีสวุ รรณ ผู้เขียนวิทยานิพนธ์ปริญญาโท หัวข้ อ บุ รุษบันเทิง: สื่ อบัน เทิงกามารมณ์ ในสั งคมไทย ทศวรรษ 2450 – 2500 สาขาประวัติศ าสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ให้ ความเห็นเชิงประวัติศาสตร์ และวรรณกรรม เปรียบเทียบว่า ข้ อแตกต่างทีส่ ำ� คัญของการนัดยิ ้มในปัจจุบนั และ สมัยโบราณคือระดับการปฏิสัมพันธ์ ปั จจุบันคือนัดเพื่อมามี เซ็กส์กันอย่างเดียว ในขณะที่คนสมัยก่อนคือ การนัดพบเพื่อ มาพลอดรักกัน

“ในสมัยขุนช้ างขุนแผนเป็ นการนัดเพื่อมาพลอดรักคือการ กอดก่าย กระซิกกระซี ้กันเท่านัน้ ส่วนเซ็กส์จะเกิดขึ ้นก็ต่อเมื่อ ตัวละครเกิดอารมณ์ตอ่ เนือ่ งมากกว่า ในวรรณกรรมโรแมนซ์ ตัวละคร อาจแค่เจอกันแล้ วแยกย้ ายกลับบ้ าน ไม่ท�ำอะไรลึกซึ ้งกว่านัน้ เพราะพวกเขาอาจถูกควบคุมโดยบรรทัดฐานที่ก�ำหนดให้ ค่รู ัก ต้ องแต่งงานกันก่อน จึงจะสามารถมีเซ็กส์ ‘เพือ่ สืบวงศ์ตระกูล’ ได้ ” อาชญาสิทธิ์กล่าว

“ถ้ า พฤติก รรมที่ มี ค นท� ำ จ� ำ นวนมาก และไม่ไ ด้ ส ร้ าง ความเดือดร้ อนให้ ใครก็ไม่เรี ยกว่าเป็ นอาการทางจิต แต่ถ้า หมกมุน่ จนเสียงาน ก่อปั ญหา เช่น เป็ นโรคติดต่อทางเพศแล้ ว ไม่ ห ยุ ด จึ ง จะนั บ เป็ นอาการป่ วย การที่ บ อกว่ า ไม่ ใช่ พฤติ ก รรมที่ ผิ ด ปกติไม่ได้ หมายความว่าไม่เป็ นพฤติกรรมที่ ก่อให้ เกิดปัญหา” รวิตาวิเคราะห์

เขาอธิบายต่ออีกว่า ค่านิยมทางเพศแบบผัวเดียวเมียเดียว + เรื่องส่วนตัวที่ท้าทายวัฒนธรรม ของไทยทีไ่ ม่ให้ คนมีเซ็กส์กอ่ นแต่งงานยังหมือนกับการคลุมถุงชน แล้ วท� ำ ไมการที่ ช าวนั ด ยิ ม้ เลื อ กอยู่ ภ ายในบริ เ วณ เพราะการที่ครู่ ักไม่ทดลองศึกษาธรรมชาติทางเพศของอีกฝ่ าย “ส่วนตัว” ด้ วยแอคเคาท์ทางเลือกหรื อแอปเฉพาะกลุม่ จึงยัง อาจกลายเป็ นปั ญหาของความสัมพันธ์ เนื่องจากไม่สามารถ ถูกตัดสินจากสังคม ตอบสนองความต้ องการทางเพศที่ตรงกันได้ ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ ทอง นักวิชาการด้ านเพศวิถี และเพศสภาวะ มหาบัณฑิตจาก London School of Eco+ วิตถารหรือรสนิยมทางเพศ? nomics and Political Science อธิบายว่า เมื่อมนุษย์ถกู การเปิ ดเผยภาพจุดซ่อนเร้ นและท่วงท่าอันผาดโผนของ จ�ำกัดการแสดงออกทางเพศวิถีและรูปแบบการมีเพศสัมพันธ์ ชาวนัดยิ ้มบนโซเชียลมีเดียอาจเป็ นพฤติกรรมที่มีผ้ ูมองว่าขัด ทางเลือก การนัดยิ ้มจึงเป็ นการเติมเต็มความเป็ นมนุษย์ที่ถกู ต่อค่านิยมของสังคมไทย คนจ�ำนวนมากจึงตัดสินชาวนัดยิ ้มว่า จ� ำ กัด ผ่ า นความสะดวกของแอปพลิ เ คชั่น และเทคโนโลยี เป็ นพวกโรคจิตและภัยสังคม ทัง้ ที่พวกเขาอาจจะมีพฤติกรรม เป็ นการใช้ พืน้ ที่ อ อนไลน์ ที่ เ ข้ า ถึง ได้ โดยสาธารณชนมาท� ำ ประโยชน์เรื่ องส่วนตัว ทางสังคมอื่นๆ ที่ปกติ และเพียงต้ องการเล่นสนุกเท่านัน้ “การใช้ ทวิตเตอร์ และแอปพลิเคชันในการหาคู่และปลด พงศ์ มนัส บุศยประทีป นักวิชาการอิสระ นักเขียนและ ปล่ อ ยเพศวิ ถี ไม่ได้ เป็ นส่วนตัวอีกต่อไป มันเป็ นเรื่องกึง่ ส่วนตัว ผู้แปลหนังสือด้ านจิตวิทยา วิเคราะห์โดยใช้ มมุ มองทางจิตวิทยา และสัง คมวิ ท ยาว่ า สื่ อ วาบหวิ ว สามารถสือ่ สารได้ อย่างตรง (Semi-Private/Semi-Public) แต่มีแนวโน้ มว่าจะเป็ นเรื่ อง สาธารณะมากกว่า เหมือนเถียงกับเพื่อนว่าการโพสต์เฟซบุ๊ก ประเด็นว่า บุคคลนัน้ “เป็ นอย่างไร” และ “ก�ำลังมองหาอะไร” เป็ นเรื่ องสาธารณะหรื อส่วนตัว เพราะอย่างไรก็ตามก็มีคน “เป็ น ธรรมชาติ ข องมนุษ ย์ ที่ ต้ อ งการมี เ พศสัม พัน ธ์ กับ เห็นโพสต์หาคูห่ รือภาพโป๊ เปลือยทีใ่ ช้ บนไทม์ไลน์ หรือแม้ กระทัง่ บุคคลที่มีลกั ษณะทางกายภาพที่ดี และความเชื่อในสังคมยัง แอปทีม่ กี ารคัดกรองความเป็นส่วนตัวมาแล้วก็ตาม (เช่น การแชท บอกว่า คนเหล่านี ม้ ีโอกาสจะได้ คู่นอนมากกว่า ซึ่งหากคนที่ ในกล่องข้ อความส่วนตัว)” นักวิชาการด้ านเพศวิถอี ธิบาย หน้ าตาหรื อหุ่นไม่ดีก็มีแนวโน้ มในการใช้ รูปของคนอื่นหรื อใช้ แม้ ก ารนัด ยิ ม้ จะสวนทางกั บ ค่ า นิ ย มของสัง คมไทย สื่อลามกเป็ นสัญลักษณ์ในการดึงดูดมากกว่า” พงศ์มนัสกล่าว แต่ ว ฒ ั นธรรมนี ้ก็สะท้ อนให้ เห็นการกดทับเสรี ภาพของมนุษย์ ส่วนพฤติกรรมนี ้จัดเป็ นอาการทางจิตหรือไม่ รวิตา ระย้านิล นักจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่ า ผ่านการตัดสินทางศีลธรรมจากคนในสังคม “เราไม่อยากไปตัดสินเหมือนกันว่าสิ่งที่คนอื่นคิดนันผิ ้ ด มีข้อบ่งชี ้สองประการในการระบุอาการทางจิต ประการแรกคือ แปลกกว่ า สุ ด โต่ ง กว่ า หรื อ น้ อยกว่ า คนอื่ น มาก ถั ด มาคื อ แล้ ว เราเองก็ ไ ม่ อ ยากให้ เ ขาตัด สิ น เราเหมื อ นกัน ว่า เราผิ ด มันเป็ นสิทธิสว่ นส่วนบุคคล” ทัศน์กล่าว สร้ างความเดือดร้ อนให้ ตนเองและผู้อื่น


ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Environment

องแสน ล ค ี ป ยี่ นผ่านขอ แ

0 รเปล า ก 8 ะ

ิตร

สบ

ิม ส อง

ทร

คล ฝงั่

1 งจำจ แล

งชีว

อง

คว าม

10

เรื่อง - ภาพ : ธนัชชา กิจสนาโยธิน

หากพู ด ถึ ง คลองแสนแสบ

คนกรุงเทพฯ คงนึกถึงภาพเรือโดยสาร สัญจรไปมาบนสายน�ำ้ สีดำ� ทีม ่ ข ี ยะมูลฝอย จากครัวเรือนลอยอยูเ่ ต็มไปหมด มีกลิน ่ เน่า เหม็นคละคลุ้ง ซึ่ง อาจเป็ น ภาพจ� ำ ที่ ห ลาย คนติดตามากว่า 30 ปี แต่ในปีนี้ที่คลองแสบ แสบก�ำลังจะมีอายุครบ 180 ปี ในวันที่ 30 ธ.ค. หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและประชาชนในชุ ม ชน บริเวณคลองแสนแสบเห็นแนวโน้มที่ดีขึ้น ทั้งใน เชิงคุณภาพน�ำ้ และสภาพแวดล้อมริมสองฝัง ่ คลอง

เริ่มทีช่ มุ ชนท่าเรือสะพานเจริญผล หทัยรัตน์ เลขะสมาน อายุ 70 ปี ประกอบอาชีพขายข้ าวแกง เล่าว่า เธออาศัยอยู่ บริ เวณนี ้มากว่า 40 ปี แล้ ว ด้ วยคิดว่าอยูท่ ี่นี่แล้ วสบายใจ มีคลองไหลผ่านหน้ าบ้ าน เธอคิดว่า ความเปลี่ยนแปลงที่ เห็นได้ ชดั คือ มีขยะในคลองน้ อยลง แต่เรื่ องกลิน่ ไม่ได้ ดี กว่าแต่ก่อนสักเท่าไร “ที่พฒ ั นาคือขยะน้ อยลง แต่ก็ยงั พอมีลอยอยูน่ ะ มีคน มาทิ ้ง เมื่อก่อนขยะเต็มไปหมดเลย เช้ าขึ ้นมาก็ลอย ส่วน เรื่องกลิน่ ก็ยงั มีอยู่ ตอนน� ้ำเยอะก็ไม่เป็ นไรหรอก แต่พอน้ อย มันก็เหม็น ช่วงนีฝ้ นตกน�ำ้ เลยไหลเวียน ถ้ าฝนไม่ตกน� ้ำ น้ อยมันก็จะเหม็นเน่าเหมือนเดิม” หทัยรัตน์กล่าว นอกจากเรื่ องกลิ่นของน� ้ำแล้ ว อีกสิ่งที่เธอต้ องการให้ ปรั บปรุ งคือ ไฟริ มทางเดินริ มคลอง เพื่อช่วยเพิ่มความ ปลอดภัยให้ คนในท้ องถิ่นมากขึ ้น “มีไฟริ มทางก็ดี ให้ คนเดิน ชุมชนแถวนี ้ไม่มีไฟ มีแต่ไฟ จากบ้ านคน ถ้ าบ้ านไหนไม่เปิ ดไฟมันก็มืด ถ้ าเขาท�ำให้ ก็ ดีจะได้ สบายขึ ้น ถ้ ามีแสงสว่างมันคงสว่างดี ทางเดินจะ ได้ ไม่สว่างบ้ างมืดบ้ างแบบนี ้” หทัยรัตน์เสนอแนะ ด้ าน พวงเพ็ญ จันทร์ เปล่ ง อายุ 60 ปี ประกอบอาชีพ ขายอาหารแผงลอยบริเวณชุมชนท่าเรือหัวช้ าง เขตราชเทวี เห็นว่า น� ้ำเสียน้ อยลง สังเกตได้ จากสีของน� ้ำที่ไม่ด�ำเท่า แต่ก่อน และกลิน่ ของน� ้ำที่ลดความเหม็นลง เพราะเดี๋ยวนี ้ มีการระบายน� ้ำ เอาน� ้ำใหม่เข้ ามาแทน ระบายน� ้ำเสียออก แต่ที่ยงั แก้ ไม่หายคือ เรื่ องการปล่อยน� ้ำเสียลงคลอง

“เดี๋ยวนี ้คนไม่ค่อยทิ ้งขยะเพราะมีการรณรงค์ แต่ก็มีน� ้ำเสีย ปล่อยมาจากห้ างหรื อโรงแรม น� ้ำเสียมาทิ ้งลงคลองทังนั ้ นเลย ้ มันเลยเหม็นไปหมด โดนรบกวนเยอะมากจนเป็ นไซนัสกันหมด แล้ ว พอน� ้ำเน่าก็มาโทษว่าบ้ านเรื อนแถวนี ้ทิ ้งขยะ แต่ความจริ ง มันมาจากท่อใหญ่ๆ ทังนั ้ น” ้ พวงเพ็ญแสดงความเห็น ส�ำลี ยอดเกิด อายุ 67 ปี ชาวชุมชนโรงเจมักกะสัน เขต ราชเทวี ซึง่ เป็ นชุมชนแออัดที่อยู่ติดคลองแสนแสบ เธออาศัย อยู่ในชุมชนนี ้มากว่า 40 ปี และมีความเห็นว่าคุณภาพน� ้ำใน คลองดีขึ ้นมากจากเมื่อ 30 ปี ที่แล้ ว เพราะปั จจุบนั คนในชุมชน เห็นความส�ำคัญของคลองมากขึน้ จึงไม่ทิง้ สิ่งปฏิกูลลงใน คลองเหมือนแต่ก่อน “เห็นได้ ชดั ว่าน� ้ำเหม็นน้ อยลงจากสองปี ก่อน ขยะก็ไม่คอ่ ยมี ลอยแล้ ว มีปลาเยอะแยะ ตกปลาได้ ประจ�ำเลย ลูกชายป้าตก ทุกคืน เดี๋ยวนี ้ปลาสะอาด ไม่เหม็น เมื่อก่อนกินไม่ได้ เลย เหม็น น� ้ำมันเรื อ เดี๋ยวนี ้สะอาดขึ ้นเยอะ” ส�ำลีกล่าว เมือ่ สอบถามถึงสิง่ ทีอ่ ยากให้ พฒ ั นา ส�ำลีคดิ ว่า ต้ องเพิม่ ไฟทาง บริเวณนี ้มีคนเดินตกน� ้ำอยูห่ ลายครัง้ โดยเฉพาะคนต่างถิน่ เพราะ ทางเดินเวลากลางคืนจะมืดสนิท มองไม่เห็นจุดสิ ้นสุดของทางเท้ า “ถ้ าต่างชาติมาเดินเขาก็จะตกน�ำ้ กัน มีคนญี่ ปนเคยตกไป ุ่ แล้ ว แต่ดีที่มนั แคบ เขาเลยปี นขึ ้นมาได้ เมื่อก่อนหลานชอบเอา สเปรย์ไปฉีดลูกศรไว้ แต่พอน� ้ำขึ ้น ก็มองไม่เห็นแล้ ว” ส�ำลีเล่า ส่วน เกษม แดงเมน อายุ 56 ปี จากชุมชนมุสลิมหัวหมาก คิดว่า คุณภาพน� ้ำในคลองไม่ได้ ดไี ปกว่าเมือ่ 20 กว่าปี ทแี่ ล้ วสัก เท่าไร ตอนนี ้คลองแสนแสบเหมือนเป็ นเพียงคลองระบายน� ้ำ ท�ำให้ ปัญหาน� ้ำเสียยังคงอยู่

72

“ทุกวันนี ้มันเหมือนคลองระบายน� ้ำ คิดว่ามี การปล่อยน� ้ำเสียออกมาจากท่อ ช่วงหน้ าฝน น� ้ำก็จะดีขึ ้นหน่อย แต่ชว่ งอื่นน� ้ำก็จะขุน่ ด�ำ ทาง โรงเรี ยนใน กทม. ก็เอาน� ้ำชีวภาพมาให้ นกั เรี ยน เทอยูบ่ อ่ ยๆ แต่กร็ ้ ูสกึ ว่า มันไม่ชว่ ยอะไรเลย” เกษมกล่าว

เกษมเล่าถึงความทรงจ�ำวัยเด็กของเขากับคลองแสน แสบ เขาใช้ ชีวิตอยูก่ บั คลอง สามารถใช้ ประโยชน์จากน� ้ำ ได้ แต่ในช่วงเวลาหลายปี ทผี่ า่ นมานี ้น� ้ำในคลองไม่สามารถ ใช้ อปุ โภคบริ โภคในครัวเรื อนได้ อีกแล้ ว “สมัย ลุง วัย รุ่ น มัน ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ทุก อย่า ง ทัง้ ซัก ผ้ า หุงข้ าว แล้วก็จะมียอยกชายคลองสองฝั่งเพราะว่าไม่มเี รือวิง่ แต่เดีย๋ วนี ้ก็ทำ� ไม่ได้แล้ว ใครจะกินปลาก็ต้องไปหากินทีต่ ลาด ตกขึ ้นมาก็กินไม่คอ่ ยได้ เพราะมันไม่สะอาด” เกษมเล่า เมื่อสอบถามถึงการพัฒนาคุณภาพน� ้ำ เกษมไม่คดิ ว่า จะพัฒนาให้ กลับมาสามารถใช้ อปุ โภคบริ โภคได้ เหมือน เดิมอีก แต่เกษมคิดว่าความเจริ ญก�ำลังเข้ ามาสู่ชุมชน หัวหมาก ต่อไปคลองแสนแสบในความทรงจ�ำของคน บริ เวณนี ้อาจไม่มีเหลืออีกแล้ ว “ใจผมคิดว่า ต่อไปคลองแสนแสบคงมีถนนมอเตอร์ เวย์ ด้ านบน ข้ างล่างเป็ นเรื อวิ่ง มันมีโอกาสเป็ นไปได้ ในอีก 40-50 ปี ข้างหน้ า แต่ถนนข้ างล่างท�ำยาก เพราะมันต้ อง ใช้ งบประมาณเยอะ คงจะเป็ นถนนด้ านบนมากกว่า แต่ ผมคงไม่ทนั ได้ เห็นหรอก” เกษมกล่าว ถึงแม้ การสร้ างถนนหรื อเส้ นทางสัญจรทางบกขึน้ มา ทดแทนคลองแสนแสบจะมีด้านดีอยูบ่ ้ าง แต่ในมุมมองของ คนที่ใช้ ชีวิตอยู่กบั คลองแสนแสบมาตังแต่ ้ เกิดอย่างเกษม กลับไม่ต้องการความเจริญทีว่ า่ นัน้ ถึงแม้ จะเห็นว่าคุณภาพ น� ้ำไม่สามารถปรับปรุงได้ อีกแล้ ว แต่เขาเพียงต้ องการให้ คลองแสนแสบกลับไปเหมือนเมื่อ 20 กว่าปี ก่อน กลับคืน สูค่ วามเป็ นชนบทในกรุงเทพฯ อีกครัง้


11

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Travel & Culture

แสงแดด ถู ก บดบั ง ไว้

แม่ ก ลางหลวง

“รั ก ษ์ ไ ว้ ใ ต้ ม ่ า นหมอก” เรื่อง : ฐาปนี ทรัพยสาร ภาพ : ณัฐชา พฤกษอรุณ

ภายใต้ก้อนเมฆสีเทาทันทีที่เรา ก้าวขึ้นรถสองแถวสีเหลืองใน อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ปลายทางสูบ ่ า้ นแม่กลางหลวง ทีอ ่ ยูถ ่ ด ั ออกไปราวหนึง ่ ชัว ่ โมง ฉันได้ ยินชื่อแม่ กลางหลวงครัง้ แรกจากเว็บไซต์ แนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยว และถูกดึงดูดไว้ ด้วยการ นิยามท้ ายชือ่ ว่า “แหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์” มันเป็ น ค�ำแปลกตาที่ชวนให้ ตงค� ั ้ ำถามว่าการท่องเที่ยวกับ การอนุรักษ์จะเป็ นสิง่ ทีอ่ ยูด่ ้ วยกันได้ อย่างไร และนัน่ คือเหตุผลทีพ่ วกเราตัดสินใจเดินทาง น่าเสียดายทีว่ นั แรกของพวกเราในแม่กลางหลวงได้ รับการต้ อนรับด้ วยสายฝน ดังนันเราจึ ้ งใช้ เวลาทีเ่ หลือ ของวันอยูใ่ นทีพ่ กั ทว่ามันไม่ได้นา่ เบือ่ อย่างทีค่ ดิ เพราะ ภาพผืนนาเบื ้องหน้ าก�ำลังค่อยๆ น�ำพาเราไปพิสจู น์ เสน่หข์ องการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์อนั เลือ่ งลือ

ฉัน ตัด สิน ใจใช้ เ ช้ า วัน ใหม่ที่ ร้ านกาแฟแม่ก ลาง หลวง ฮิลล์ ซึง่ ตังอยู ้ บ่ นเนินสูงไม่ไกลจากทีพ่ กั เท่าไหร่นกั ตรงนันเองที ้ บ่ ทสนทนาของฉันกับ พี่ต๋ ยุ พงษ์ วรรณ ศุขโภคา นักท่องเทีย่ วจากกรุงเทพมหานครทีเ่ ยีย่ มเยียน แม่กลางหลวงแล้ วสามครัง้ ในเวลาสี่ปี เริ่มต้ นขึ ้น “ด้ วยความที่ชอบถ่ายรูป ก็จะวางแพลนไว้ ตลอด ตรงไหนเป็ นหมู่บ้านปกาเกอะญอก็จะเข้ าไปถ่ายรู ป วิถีชีวิต ระยะเวลาสี่ปีที่ผา่ นมาที่นี่เองก็เปลี่ยนแปลง ไปเยอะ ผมเห็นบ้ านขึ ้นใหม่ ตรงนาขันบั ้ นไดก็มีบ้าน ไปปลูก มันมีความรู้สกึ ว่ามันโดนรุกในจุดขายและที่ สวยงาม.. “จริ งๆ นักท่องเที่ยวมีอยูส่ องแบบ มีแบบที่เดินไป เรื่ อยๆ รักและอยากอนุรักษ์ ธรรมชาติจริ งๆ กับบาง ส่วนที่มาเที่ยวแล้ วทิ ้งซากไว้ ” พี่ตยุ๋ บอก เราพูด คุย กัน ต่ อ ไม่ น านก็ ต่ า งแยกย้ า ยไปสู่จุด หมายใหม่ ฉันเลือกเดินทางไปยังศาลากาแฟของน้ า สมศักดิ์ คีรีภมู ทิ อง ชาวปกาเกอะญอผู้มีชื่อเสียง แห่งบ้ านแม่กลางหลวง หวังจะได้ พดู คุยกับเจ้ าของ ศาลากาแฟซึง่ มีเอกลักษณ์คือช็อตกาแฟสดของที่นี่ ไม่มีการขาย แต่ให้ ผ้ มู าเยือนได้ ชิมกันฟรี ๆ เพื่อหา ค�ำตอบที่ว่า การเปลี่ยนหมู่บ้านให้ กลายเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวในสายตาของชาวบ้ านคือการบุกรุ กหรื อ ไม่ ทว่าต้ องผิดหวังเพราะน้ าสมศักดิ์ไม่อยู่ ฉันทิง้ ตัวลงนั่งพักเหนื่อยก่อนขอเด็กๆ ซึ่งก�ำลัง ทานแตงร้ านถ่ายรู ปโพลารอยด์ เหล่าเด็กหญิงต่าง ตื่ น เต้ น กั น เสี ย ยกใหญ่ เ มื่ อ ภาพถู ก พิ ม พ์ อ อกมา อย่างทันท่วงที “หนูขออันหนึ่งได้ ไหมคะ” หนึ่งใน เด็กหญิงเอ่ยขอพร้ อมรอยยิ ้ม ฉันจึงยกภาพรวมให้ เธอไปหนึง่ ใบ ก่อนได้ รับสิ่งตอบแทนมาเป็ นค�ำเชิญ ชวน “พี่อยากไปโรงเรี ยนกับพวกหนูไหมคะ” พวก เราตอบตกลงอย่างไม่ลงั เล แล้ วปล่อยให้ นุ้ย พอลลีน น� ้ำ และน� ้ำฝนพาเราเดินทางสูโ่ รงเรี ยน

ตลอดทางสู่โรงเรี ยนฉันเห็นภาพบ้ านไม้ ยกใต้ ถุน สูงซึง่ เป็ นบ้ านแบบดังเดิ ้ มของชาวปกาเกอะญอ ขณะ เดี ย วกั น ก็ พ บว่ า คนในหมู่บ้ า นนี ไ้ ด้ ผ สมผสานวิ ถี ปกาเกอะญอกับวิถีชีวิตของคนเมืองในปี 2560 ด้ วย เสื ้อผ้ าทีม่ ที งกางเกงยี ั้ นส์ทนั สมัย เข้ ากันดีกบั ผ้ าทอมือ อันเป็ นเอกลักษณ์ ไม่นานไกด์จำ� เป็ นก็พาเราเดินเข้ าไป ยังอาคารศูนย์เด็กเล็ก และเจอ คุณครู พัชราภรณ์ พฤกษาฉิมพลี ผู้บอกเล่าว่าการเรียนการสอนของทีน่ ี่ สอนด้ วยภาษาไทยผสมกับภาษาปกาเกอะญอ เนื่อง ด้ วยบางครัง้ เด็กเล็กอาจไม่สามารถเข้ าใจภาษาไทย ได้ อย่างชัดเจนแม้ ทกุ คนในหมูบ่ ้ านจะได้ รบั สัญชาติไทย มานานแล้ว เราเดินทางไปทีศ่ าลากาแฟอีกครัง้ คราวนี ้ เราได้ เจอน้ าสมศักดิ์เสียที พร้ อมเริ่ มต้ นพูดคุยถึงจุด เริ่มต้ นการปรับหมูบ่ ้ านให้ กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยว “น้ า เป็ น คนเริ่ ม ท� ำ รี ส อร์ ท คนแรกของที่ นี่ เพราะ มองว่า ท�ำไมชาวบ้ านตอนนันต้ ้ องท�ำลายทรัพยากร และมีปัญหากับสังคมและอุทยานที่ดูแลทรั พยากร ทังๆ ้ ที่เมื่อมองย้ อนไปว่าถ้ าไม่มีอทุ ยานแล้ วชาวบ้ าน จะอยู่ยงั ไง เพราะการท�ำลายทรัพยากรมีเยอะมาก และประชาชนที่เป็ นห่วงทรัพยากรก็มีอีกเยอะ แต่ส้ ู เขาไม่ได้ ..” น้ าสมศักดิ์เล่า “เมื่อตอนปี 37-38 ชาวบ้ านยังไม่เห็นด้ วยกับการ ท�ำรีสอร์ท พอปี 42 ผมก็เริ่มท�ำอีก ท�ำไปได้ 8-9 ปี ก็มคี น ไปลงหนังสือว่าทีน่ ไี่ ม่ปลอดภัยเพราะคิดว่าทีน่ ดี่ นิ ถล่ม ชาวบ้ านเลยหนีหมด แต่แล้ วอีกปี หนึง่ ผ่านไป คนก็เข้ า มาลงหุ้นเยอะเลย ทุกวันนี ้ผมเอารีสอร์ ททังหมดคื ้ นให้ เจ้ าของที่ แล้ วท�ำรี สอร์ ทส่วนตัวและยกให้ หลานๆ .. “ก�ำไรชีวติ ทีไ่ ด้ ไม่ใช่เงิน แต่ผมได้ สงิ่ แวดล้อมคืนมา” ชายวัยกลางคนย� ้ำด้ วยแววตาเป็ นประกาย “สัตว์ป่า หลายชนิดอพยพกลับมา แม้ อกี หลายชนิดจะยังไม่กลับ แต่ผมเชือ่ ว่ามันจะมาอีก เพราะชาวบ้ านไม่รุกทีป่ ่ าแล้ว” การพูดคุยกับชายเบื ้องหน้ าจุดประกายไฟบางอย่าง ให้ เกิดขึ ้นในใจ และท�ำลายก�ำแพงที่เคยมีให้ กบั การ ท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ ทอี่ าจท�ำลายวิถีชาวปกาเกอะญอ และสิง่ แวดล้ อม เราไม่มีสิทธิหยุดความเจริ ญที่จะเข้ ามาแทรกแซง ชีวิตได้ ในเมื่อคนกรุงมีสทิ ธิที่เจริ ญ ผู้คนบนยอดดอย ก็ มี สิ ท ธิ ใ ช้ ชี วิ ต ด้ วยความสะดวกสบายเช่ น กั น ปั จจุบนั ชาวปกาเกอะญออาจไม่ต้องทอผ้ าเพื่อสวม ใส่เองเหมือนในอดีต.. อาจเปิ ดร้ านกาแฟสูตรเดียวกัน กับเบื ้องล่างอย่างกรุงเทพมหานคร แต่ไม่วา่ เวลาจะ ผ่านไปนานเท่าใด ต่อให้ ความเจริ ญและนักท่องเที่ยว จะเข้ ามาปกคลุมวิถีชีวิตดังเดิ ้ มมากขนาดไหน แต่ถ้า หัวใจของเหล่าชาวบ้ านยังมอบความรักให้ ธรรมชาติ บัด นัน้ สิ่ ง แวดล้ อ มก็ จ ะยัง ถูก รั ก ษ์ ไ ว้ ใ ต้ ม่ า นหมอก เหมือนเช่นเคยไม่เปลี่ยนแปลง

น้ าสมศักดิ์ คีรีภมู ิทอง ชาวปกาเกอะญอ เจ้ าของศาลากาแฟแห่งบ้ านแม่กลางหลวง


12

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Architecture

คุ ณ ค่ า สถาปั ต ยกรรมยุ ค สมั ย ใหม่ คุ ้ ม ค่ า ไหมกั บ การเก็ บ รั ก ษา? เรื่อง-ภาพ : ธนภรณ์ ศิริโชคยนต์

โรงแรมดุสติ ธานี ก่อตังเมื ้ ่อปี 2513 อายุอาคาร 49 ปี อาคารคอนกรี ต สู ง รู ป ทรงเรขาคณิ ต เรี ย บง่ า ย แปลกตาตัง ้ ตระหง่านผ่านกาลเวลา ท�ำให้หวนนึกถึง ช่วงปี 2510 ที่ความเจริญรุ่งเรืองก�ำลังค่อยๆ คืบ คลานเข้ามาสู่ประเทศ

ตัวอย่างเช่น อาคารโชคชัยที่ตงอยู ั ้ ่บริ เวณถนนสุขมุ วิท โดดเด่ น ด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมประดับ กระจกทัง้ หมด หรื อ อาคารดุสิตธานีที่ตงตระหง่ ั้ านอยู่กลางสี่แยกสีลมและเป็ น ดัง่ สัญลักษณ์ ของยุคสมัย ล้ วนแต่เป็ นอาคารรู ปทรงแปลก ตาทีก่ ำ� ลังจะกลายเป็ นสิง่ แปลกแยก เพราะเมือ่ กาลเวลาผ่านไป ระบบสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เริ่ มไม่ทนั ยุคสมัย อาคาร สูงเหล่านี ้ต่างมีคณ ุ ค่าทางกาลเวลา แต่ไร้ คณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ การรื อ้ ถอนเพื่อสร้ างสิง่ ที่ดีกว่าจึงเป็ นค�ำตอบ ผศ.ดร.พีรศรี โพวาทอง อาจารย์ภาควิชาสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็นว่า อาคารสถาปั ตยกรรมยุค สมัยใหม่ที่ก�ำเนิดขึ ้นในช่วงศตวรรษที่ 20 เช่น อาคารโชคชัย หรื ออาคารดุสติ ธานี มีคณ ุ ค่าแน่ทงในแง่ ั้ ของวัฒนธรรมและ การเป็ นสัญลักษณ์ ส�ำคัญของกรุ งเทพฯ แต่ด้วยอายุตึกที่ สร้ างมาแล้ ว อย่ า งน้ อ ย 50 ปี มาตรฐานส� ำ นัก งานหรื อ ระบบปรับอากาศจึงไม่มปี ระสิทธิภาพ รวมถึงมาตรฐานเกีย่ วกับ สิง่ แวดล้อมอาจไม่ผ่านแล้ ว การแก้ ไขปั ญหาเหล่านี ้จึงไม่ค้ มุ ค่าเท่าการทุบแล้ วสร้ างใหม่ “เราต้ องอยูก่ บั ความเป็ นจริงว่าคุณค่าก็เรื่องหนึง่ แต่เรื่องการ อนุรักษ์ ถ้าราคาไม่ค้ มุ กับการเก็บก็ยาก” ผศ.ดร.พีรศรี กล่าว ไม่ใช่เรื่ องแปลกที่อาคารเก่าจะไม่ถกู เก็บไว้ เพราะคงไม่มี ใครอยากเก็บอาคารเก่าที่ ไ ม่ ทัน สมัย และไม่ เ อื อ้ ต่ อ การใช้ งาน แต่ก็ยงั มีผ้ ูเห็นว่าอาคารเก่าที่ก�ำลังถูกทุบทิ ้งเหล่านี ้มี ความส�ำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมไม่น้อยเลย

หนั ง สื อ สถาปั ตยกรรมโพสต์ โมเดิ ร์ น: จาก สถาปั ตยกรรมซื่อบือ้ ถึงสถาปั ตยกรรมอะไรก็ได้ ของ วิมลสิทธิ์ หรยางกูร ให้ นยิ ามสถาปัตยกรรมยุคโมเดิร์นไว้ วา่ “Less is more” เน้ นการออกแบบทีเ่ รียบง่าย ผู้เขียนอธิบาย ว่า หลังสงครามโลกครัง้ ที่สอง สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ได้ รับ ความนิยมไปทัว่ โลก และเข้ ามาสู่ เ มื อ งไทยช่ ว งปี 2510 โดยกลุ่ ม สถาปนิ ก นักเรี ยนนอกที่ต้องการน�ำความทันสมัย เข้ ามาสูป่ ระเทศไทย ด้ วยเหตุนี ้อาคารสูงรูปทรงเรขาคณิตไร้ การประดับตกแต่งจึงถือก�ำเนิดขึ ้นใจกลางกรุงเทพมหานคร อ.ชัยบูรณ์ ศิรธิ นะวัฒน์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็นว่า ปั ญหาของสถาปั ตยกรรม ยุคสมัยใหม่นนเริ ั ้ ่ มมาตังแต่ ้ นิยามที่ใช้ เรี ยก เนื่องจากชื่อของ สถาปั ตยกรรมยุคนี ้ไม่วา่ จะในภาษาอังกฤษหรื อภาษาไทยมี ความหมายว่า “ความใหม่” แต่ในความจริ ง สถาปั ตยกรรม ยุคสมัยใหม่ที่กล่าวถึงนัน้ เป็ นการพูดถึงสถาปั ตยกรรมของ ศตวรรษที่ผ่านมา ซึ่งในทางประวัติศาสตร์ ได้ เลยจุดสูงสุด ของยุคสมัยใหม่แล้ ว นิยามนี ้จึงท�ำให้ ร้ ูสกึ ว่าสถาปัตยกรรมยุค สมัยใหม่ยงั ไม่เก่าพอ และไม่ทรงคุณค่าพอที่จะรักษาเอาไว้ นอกจากปัญหาเรื่องนิยามแล้ ว ยังมีประเด็นทางวัฒนธรรม อ.ชัยบูรณ์อธิบายว่า เนื่องจากสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่นนมี ั้ อีกชือ่ เรียกว่า International Style (รูปแบบนานาชาติ) โดยที่ ชือ่ ก็ระบุชดั เจนแล้ วว่า เป็ นการออกแบบที่มีความเป็ นสากล ได้ รบั ความนิยมไปทัว่ โลก แต่ในปัจจุบนั หลายประเทศในโลกมี การกีดกันการค้า โดยมีทมี่ าจากปัญหาสงครามในตะวันออกกลาง จนท�ำให้ เกิดการอพยพลี ้ภัยมากมายในยุโรป ประเทศต่างๆ ใน ยุโรปจึงเปลี่ยนนโยบายมาสู่ “ชาตินยิ มเอกลักษณ์” ซึง่ เป็ น ปฏิปักษ์กบั การรักษาคุณค่าของสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่

เมื่ อ สถาปั ต ยกรรมเหล่า นี ไ้ ม่มี เ อกลัก ษณ์ ข องประเทศ คุณ ค่ า จึ ง น้ อยลง ค� ำ ถามคื อ ยั ง มี ปั จ จั ย ใดอี ก ที่ ท� ำ ให้ สถาปั ตยกรรมยุคนี ้ไม่ได้ รับการอนุรักษ์ เอาไว้ ? ผศ.ดร.เทียมสูรย์ สิริศรี ศักดิ์ อาจารย์คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร​์ ให้ ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ทจี่ ะได้ รับการอนุ รักษ์ในเมืองไทย จะ เกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ แต่ไม่ให้ความส�ำคัญกับคนหรือชุมชนเลย “อาคารโมเดิร์นเป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อย่างหนึง่ ที่ชีใ้ ห้ เห็นว่าประเทศเติบโตขึน้ มาอย่ า งไร เป็ นเรื่ องของ ความทรงจ�ำ ถ้ าเราไม่มีความทรงจ�ำกับมัน ก็ไม่มีวนั ที่เราจะ เห็นคุณค่า การเก็บไว้ คือการให้ ความส�ำคัญกับความทรงจ�ำ นัน้ แต่หากเก็บไว้ จะมีคนที่คิดว่า คนจะผู ก พันมากเกินแล้ ว เกิดสิ่งที่ ‘เขา’ ไม่อยากให้ เกิด เลยต้ อ งจ�ำกัดความทรงจ�ำ ของผู้คน เพราะไม่เช่นนันผู ้ ้ คนจะไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ไม่ยอมรับการพัฒนา ไม่ยอมรับระบบเวนคืน ไม่ยอมรับตึกสูง” ผศ.ดร. เทียมสูรย์ กล่าว เมื่อสถาปั ตยกรรมยุคสมัยใหม่ยงั ไม่มีคุณค่ามากพอใน ไทย การรื อ้ ถอนจึง เกิ ด ขึน้ อาจมี บ างกลุ่ม ที่ ร้ ู สึก เสี ย ดาย และพยายามรักษา แต่บางกลุ่ม ก็ร้ ู สึกว่าตึกเหล่านันไม่ ้ มี คุณค่ามากพอ จึงไม่เห็นว่าจ�ำเป็ นที่ต้องเก็บรักษาไว้ “ถ้ าหากสามารถรักษาตึกเก่าที่มีสถาปั ตยกรรมยุคสมัย ใหม่เอาไว้ ได้ กค็ งเป็ นการดี แต่จากปัจจัยหลายๆ อย่าง ท�ำให้ การอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรมยุคสมัยใหม่นนเป็ ั ้ นการยากที่จะ รักษาได้ อย่างสมบูรณ์แบบ สุดท้ ายการอนุรักษ์ อาจไม่ได้ อยู่ แค่ค�ำว่า คงสภาพเดิม เพราะรู ปภาพหรื อเอกสารข้ อมูลก็ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง ที่ เ ลื อ นหายไปเช่ น กั น ” ผศ.ดร.พีรศรี กล่าว


13

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Lifestyle

Androgynous

แฟชั่ น ไร้ เ พศ ไร้ ข ้ อ จ� ำ กั ด เรื่อง : นวิยา ตันเต็มทรัพย์ ภาพ: อมลญา เกษตรตระการ

วิ น าที ที่ เ รี ย วขาอั น เนี ย นนุ ่ ม ของผู ้ ห ญิ ง ได้ ถู ก ปกคลุ ม ด้ ว ยผ้ า หนาสี ด� ำ ที่ ตั ด เย็ บ เป็ น ก า ง เ ก ง ทรงฉกรรจ์ กับสูททักสิโดอันทะมัดทะแมงและแฝง ไปด้ ว ยเสน่ ห ์ แ บบ ชายชาตรี . . วิ น าที นั้ น อาจ กล่ า วได้ ว ่ า ‘ผู ้ ห ญิ ง ได้ ป ลดปล่ อ ยตั ว เองจาก พันธนาการ ที่ถูกรัดตึงไว้ในความคิดแบบอนุรักษ์ นิยมเสียที’

แฟชัน่ แบบ Androgynous (มีลกั ษณะของทังสองเพศ) ้ ถือก�ำเนิด ขึ ้นมาตังแต่ ้ ปี 2503 ซึง่ ยังเป็ นยุคที่แบ่งแยกความเป็ นผู้หญิงและ ความเป็ นผู้ชายไว้ อย่างชัดเจน ผู้หญิงจะต้ องผมยาว ผิวขาว มีสรีระ โค้ งเว้ ารั บกับกระโปรงสุ่ม ส่วนผู้ชายต้ องมีกล้ ามดูทะมัดทะแมง ใส่กางเกงกระฉับกระเฉง แต่สไตล์ Androgynous กลับก้ าวข้ ามกฎ เกณฑ์เหล่านี ้ สุชาย เชษฐ์ ชาติพรชัย Senior Fashion Editor จากนิตยสาร Cleo กล่าวว่า กระแส Androgynous ได้ รับความนิยมอย่างมากใน ตลาดแฟชั่ น ตั ง้ แต่ ปี 2558 เช่ น A-Land แบรนด์ แ ฟชั่ น จาก เกาหลีใต้ ที่ออกแบบเสื ้อผ้ าทีใ่ ส่ได้ ทงผู ั ้ ้ ชายและผู้หญิง หรือแม้ กระทัง่ แบรนด์ระดับสูงอย่าง Gucci ก็ออกคอลเล็คชั่นฤดูใบไม้ ผลิ 2017 โดยเล่นสีสนั ตกแต่งเสื ้อผ้ าผู้ชายด้ วยลายดอกไม้ และผ้ าชีฟอง “เทรนด์ Androgynous ก�ำลังได้ รับความนิยมอย่างมากในปี นี ้ ในปี ถดั ไปกลิน่ อายของเทรนด์นี ้จะไม่หายไปไหน เพียงแต่ลดความ หวือหวา และเป็ นแฟชัน่ แบบปั จเจกบุคคลมากยิง่ ขึ ้น” สุชายบอก ไม่ใช่แค่การแต่งกายเท่า นัน้ ที่ ไร้ ข้ อจ� ำ กัด ทางเพศ แต่แบรนด์ เครื่ องส�ำอางทังไทยและต่ ้ างประเทศก็ออกผลิตภัณฑ์เพือ่ เจาะตลาด กลุม่ ลูกค้ าชายเช่นกัน เช่น แบรนด์ ไทยอย่า งศรี จัน ทร์ ก็เพิ่ งออก ผลิตภัณฑ์ ศรี จันทร์ ฟอร์ -เมน แบลคเอดิช่ ั น ซึ่ง เป็ น แป้ง ฝุ่ น ควบคุมความมันที่ออกแบบมาเพื่อผิวผู้ชายโดยเฉพาะ

แฟชัน่ โชว์จากแบรนด์ Vickteerut ในงาน Elle Fashion Week Fall/Winter 2017

“เดีย๋ วนี ้แต่งหน้ าทาปากก็ไม่ได้ หมายความว่าเป็ นตุ๊ดเป็ นแต๋วสักหน่อย ตามผับทัว่ ไปเขายังมีแป้งฝุ่ น น� ้ำยาอุทยั ทิพย์วางไว้ หน้ ากระจกห้ องน� ้ำชาย เลย” สุภชัช ทวีสิน National Makeup Artist จาก YSL BEAUTÉ กล่าว เขายังเห็นว่า วงการความงามและแฟชั่น ทั่ว โลกในปี 2560 นิ ย ม กระแส Androgynous มาก การแต่งหน้ าแบบยูนิเซ็กส์จงึ เป็ นสิง่ ทีต่ อบ โจทย์กบั กระแสนี ้ คือการลดความเป็ นผู้หญิงและความเป็ นผู้ชายให้ ดู เป็ นกลางทีส่ ดุ จากทีผ่ ้ หู ญิงจะต้ องปัดขนตางอน ทาปากสีเข้ ม ก็ลดลงมา ให้ ดธู รรมชาติ เน้ นการแต่งผิวพรรณให้ ดเู ป็ นธรรมชาติ และเพิ่มมิตขิ อง ใบหน้ าให้ ดเู ป็ นผู้ชายมากยิ่งขึ ้น ในขณะที่นายแบบจะต้ องแต่งหน้ าให้ ดู หวานขึ ้นและดูเป็ นกึง่ กลางระหว่างผู้หญิงและผู้ชายมากที่สดุ “เทรนด์นี ้ไม่ใช่การท�ำให้ ผ้ ชู ายแต่งเป็ นผู้หญิง หรื อผู้หญิงแต่งเป็ นผู้ชาย แต่มนั คือการผสมผสานความงามระหว่างเพศให้ ดูเป็ นธรรมชาติและ เป็ นกลางที่สดุ ต่างหาก” สุภชัชบอก อ.อรรถพนธ์ พงษ์ เลาหพันธุ์ อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้เชี่ยวชาญด้ านแฟชั่น ให้ ความเห็นว่า สไตล์การแต่งตัวแบบ Androgynous คือ การหลอมรวมสัญญะทางเพศ ระหว่างชายกับหญิงจนกลายเป็ นสิ่งเดียวกัน สะท้ อนถึงความเท่าเทียม เทรนด์ นีเ้ กิ ดจากการเรี ยกร้ องของผู้หญิ งว่าอยากมี สิทธิ เท่าเที ยมกับ ผู้ชาย จนเวลาผ่านไป เทรนด์ผ้ หู ญิงใส่กางเกงตัดผมสันก็ ้ ถอื เป็ นเรื่องปกติ ในสังคม ผู้ชายก็สามารถใส่ผ้าซีฟองสีหวาน ไว้ ผมยาวได้ เช่นกัน กล่าวอีก นัยหนึง่ เทรนด์ Androgynous แสดงให้ เห็นว่า คนในสังคมต้ องการแสดง ความเป็ นปั จเจก ‘ท�ำไมฉันจะเป็ นฉัน ในแบบที่ฉนั อยากเป็ นไม่ได้ ?’ ส�ำหรับอนาคตของแฟชัน่ สไตล์ Androgynous อรรถพนธ์ให้ ความเห็นว่า เทรนด์นี ้จะคงอยู่ตอ่ ไป ถ้ ากระแสสังคมยังเรี ยกร้ องความเท่าเทียมทาง เพศและต้ องการทลายเรื่ องรู ปลักษณ์ทางเพศทีเ่ ป็ นเพียงกรอบของสังคม เพราะทุกคนล้ วนอยากเป็ นอิสระและเป็ นตัวเองที่สดุ จึงไม่มีการสร้ างข้ อ จ�ำกัดทางแฟชัน่ แม้ กระทัง่ ค�ำว่า ‘เพศ’

แฟชัน่ โชว์จากแบรนด์ Q design and play ในงาน Boys of Bangkok Autumn/Winter 2017

“เค้าว่ากันว่าว๊อยซ์แข็งแรงไม่แตกเป็นผุย เพือ ่ นกูเลยส่งสิง ่ นีม ้ าให้ #พีคคือของไม่แตก จริง #อร่อยไปแดก #ถ้าแตกไม่ใช่วอยซ์” “นอกจากวันที่ไม่ตรง น�้ำหนักก็ไม่ตรงจ้า แครกเกอร์หนักห่อละ 20 ก. พัสดุหนัก 80 ก. แปลว่า ในกล่องมีแครกเกอร์ได้ไม่เกิน 4 ห่อ #ถ้าแตกไม่ใช่วอยซ์”

สองข้ อความข้ างต้ นจากแฮชแท็ก ‘ถ้ าแตกไม่ใช่วอยซ์’ ติดท็อปเทรนด์ทวิตเตอร์ ของไทยในช่วงกลางปี ที่ผา่ นมา ข้ อความแรกโพสต์โดยผู้ใช้ ทวิตเตอร์ ท่านหนึ่งซึง่ มียอด ผู้ตดิ ตามจ�ำนวนมาก แต่กลับถูกผู้ใช้ทวิตเตอร์อกี ท่านหนึง่ จับ “โป๊ ะ” ว่ า เป็ นการกล่าวเกินจริงในข้ อความถัดมา ท�ำให้ แบรนด์ขนมยี่ห้อดังกล่าวถูกวิพากษ์ วิจารณ์ถึงความผิด พลาดในการใช้ ก ารตลาดเชิ ง อิ ท ธิ พ ล หรื อ ที่ เ รี ย กว่า “Influencer Marketing” ปัจจุบนั นักการตลาดนิยมใช้ Influencer Marketing เพราะโซเชียลมีเดียเข้ ามาเป็ นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�ำวัน จึงเป็ นตัวเลือกหลักของนักการตลาดในการใช้ ผ้ มู ีอทิ ธิพล ทางสือ่ ออนไลน์ เช่น เจ้ าของเพจ Lowcostcosplay ผู้ เปิ ดเพจแชร์ รูปภาพตนแต่งกายคอสเพลย์ ด้วยไอเดียที่ แหวกแนว เล่ า ว่ า เมื่ อ เพจได้ รั บ ความนิ ย มมากขึน้ เกื อ บทุ ก โพสต์ จ ะได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากแบรนด์ ต่างๆ โดยจะต้ องใส่ไอเดียของแบรนด์ตามทีไ่ ด้ รบั โจทย์ มา คล้ายกับการโฆษณาแฝงหรือการไทอิน (tie-in)

นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา สอบถามความเห็ น ผู้ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต จ�ำนวน 200 คนผ่านแบบสอบถามออนไลน์ พบว่า Influencer Marketing ช่วยกระตุ้นให้ อยากลองหรือใช้ สนิ ค้ า นอกจากนี ้ การเห็นสินค้ าทางสื่อออนไลน์ ก็สร้ างการรั บรู้ แบรนด์ และ มองว่า ความเห็นจาก Influencer น่าเชื่อถือ ร้ อยละ 89 ของ ผู้ตอบแบบสอบถามจึงต้ องดูรีวิวก่อนซื ้อสินค้ า ศิวัตร เชาวรี ยวงษ์ ผู้บ ริ หารบริ ษั ทดิ จิ ทัล มี เ ดี ย เอ็ม อินเทอร์แอคชัน่ หนึง่ ในดิจทิ ลั เอเจนซีท่ ใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย กล่า วว่า Influencer Marketing ได้ ผ ลเสมอ เพราะเป็ น ธรรมชาติของมนุษย์ ที่ต้องการความคิดเห็นคนอื่น “ไม่ว่า อย่างไรก็ต้องมีคนทีไ่ ปกินข้ าวร้ านนี ้แล้ วอร่อย แล้ วมาเขียนว่า ‘ข้ าวร้ านนี อ้ ร่ อ ยมาก’ แล้ ว ก็ ต้ องมีอีกร้ านที่ไปติดต่อคน นี ้ ‘ลองมากินร้ านฉันบ้ างสิ’ ถ้ าเราไม่ไปตีกรอบว่าสิง่ เหล่านี ้คือ Influencer Marketing มันก็เป็ นสิง่ ทีอ่ ยูค่ กู่ บั โลกเรามาตังนาน ้ แล้ ว อย่างมิชิลนิ สตาร์ หรื อเชลล์ชวนชิม” ศิวตั รยกตัวอย่าง อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีผ้ ตู อบแบบสอบถามร้ อยละ 8 ทีไ่ ม่เชือ่ Influencer เพราะรู้วา่ ได้ รับการสนับสนุนจากแบรนด์ ดูออก ว่าเป็ นการโฆษณา ซึง่ อาจมีการบิดเบือนความจริง หรือแสดง แต่ด้านดีของผลิตภัณฑ์ ความคิดเห็นบางส่วนยังกล่าวอีกว่า การใช้ Influencer Marketing เริ่ มมีจ�ำนวนมากเกินไป ท�ำให้ ไม่น่าเชื่อถือ ความเห็นเหล่านี ้สอดคล้ องกับปรากฏการณ์ ‘ถ้ าแตกไม่ใช่วอยซ์’ ที่เมื่อเสนอแต่ด้านดีที่ดเู กินจริ ง แต่ภาย หลังคนจับได้ วา่ ไม่ใช่ความจริ ง จะมีผลทางลบต่อตัวแบรนด์ และ Influencer ทันที ด้ าน อ.วิไลรักษ์ สันติกลุ นักวิชาการด้ านการโฆษณา และ การสื่อสารการตลาด กล่าวถึงการที่ผ้ บู ริ โภคในปั จจุบนั รู้ทนั Influencer Marketing ว่า ถึงจะเริ่ มไม่น่าเชื่อถือ แต่อย่าง

Influencer Marketing เปรี้ ย งหรื อ โป๊ ะ เรื่อง : ปีย์วรา จิตรสุภา

น้ อยก็ชว่ ยกระตุ้นความสนใจผู้บริ โภคได้ แต่ความสามารถ ในการดึงดูดโน้ มน้ าวของ Influencer Marketing อาจไม่ มากเท่าในอดีต เพราะเขาหาข้ อมูลเยอะขึ ้น มีการเปรี ยบ เทียบข้ อมูลจากแหล่งต่างๆ มากขึ ้น นี่อาจเป็ นค�ำตอบว่าเหตุใด Influencer Marketing จึงยัง เป็ นวิ ธีที่ ไ ด้ รับ ความนิ ย มจากนัก การตลาด แม้ ผ้ ูค นส่ว น ใหญ่จะรู้ เท่าทันแล้ วว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของการโฆษณา อ.วิไลรักษ์ ยังเสริมว่า การเลือกใช้ Influencer Marketing ใน อนาคตให้ ไ ม่ โ ป๊ ะ แบรนด์ ต้ อ งพิ จ ารณาความเหมาะสม และก� ำหนดเนื อ้ หาที่ จะสื่อสารทัง้ จากตัวแบรนด์ เองและ ผ่าน Influencer เช่น หากเป็ นแบรนด์เครื่องส�ำอาง ควรเลือก ใช้ ใคร ที่ผ้ บู ริ โภคที่เราต้ องการเชื่อถือ และจะสื่อสารอย่างไร เพือ่ ถ่ายทอดความจริงออกมาได้ นา่ สนใจ หรือหากสือ่ สารออก ไปแล้ วเกิดข้ อผิดพลาด แบรนด์กค็ วรทีจ่ ะต้ องออกมาขอโทษ “วิธีบริ หารแบรนด์ที่ดีต้องควบคุมเนื ้อหาที่จะสือ่ สารออก ไป ถ้ าไม่ควบคุมให้ ดีก็จะเกิดผลลบตีกลับมาที่แบรนด์ได้ ” อ.วิไลรักษ์ กล่าว


14

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Art & Culture

ภาพ

Hea

ven

Gat

อิ ส รภาพในงานศิ ล ปะมี แ ค่ ไ หน ในยุ ค รั ฐ บาลทหาร?

e โด

ยหฤ

ษฎ ์ ศรี

ขาว

เรื่อง : ธนวัฒน์ จันทร์กระจาย

ในยุคที่ทหารปกครองบ้านเมือง อาจ ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งแปลกที่ จ ะเห็ น ทหารตาม สถานที่ต่างๆ ไม่เว้นแม้แต่ในแกลเลอรี แสดงผลงานศิลปะก็ตาม

เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ทีผ่ า่ นมา มีเจ้ าหน้ าทีท่ หาร เข้ าไปตรวจสอบผลงานศิลปะใน Gallery Ver ซึง่ เป็ นหนึง่ ในแกลอรี่ ของชุมชน N22 เวิ ้งศิลปะใน ซอยนราธิวาส 22 เจ้าหน้าทีอ่ ้างว่า ได้รบั ทราบข่าว เกีย่ วกับการแสดงผลงานศิลปะทางการเมืองที่นี่ ก่อนจะสัง่ ปลดผลงานกว่า 10 ชิ ้นลง จิรัสย์ รัฐวงศ์จริ กุล ผู้อำ� นวยการ Gallery Ver เล่าถึงเหตุการณ์วนั นันให้ ้ ฟังว่า เดิมทีเจ้ าหน้ าที่ ทหารตัง้ ใจไปตรวจสอบ Cartel Artspace แกลเลอรี อีกแห่งในละแวกเดียวกัน ซึ่งเป็ นที่ จัดแสดงผลงานภาพถ่ายของ ธาดา เฮงทรัพย์กลู ศิลปิ นที่นิตยสาร Forbes ยกให้ เป็ นหนึ่งใน ศิลปิ นที่น่าจับตาในปี 2559 ผลงานดังกล่าว ถูกวิพากษ์ วิจารณ์ทางโลกโซเชียลจากผู้ที่เป็ น นักเคลื่อนไหวทางการเมือง แต่ภายหลังธาดา ตัดสินใจปลดผลงานนันลง ้ เมื่ อ ทหารไปตรวจแล้ ว ไม่ พ บจึง เข้ า ตรวจ สอบในแกลเลอรี ใกล้ เคียงแทน หนึง่ ในนันคื ้ อ Gallery Ver เจ้ าหน้ าที่ทหารเข้ าไปพบผลงาน ศิ ล ปะชื่ อ ว่ า Whitewash ไร้ มลทิ น ของ หฤษฏ์ ศรี ขาว ศิลปิ นภาพถ่ายรุน่ ใหม่ ทีไ่ ด้จดั แสดงผลงานทังในและนอกประเทศ ้ ภาพดัง กล่าวมี เนื อ้ หาเกี่ ยวกับการซักฟอกอดีตหลัง ผ่านเหตุการณ์ ทางการเมือง โดยเฉพาะการ รัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมือ่ ปี 2557 และเหตุการณ์สลายการชุมนุม เมือ่ ปี 2553 ในสมัยรัฐบาลอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ หลังจากตรวจสอบแล้ ว เจ้ าหน้ าทีไ่ ด้ สงั่ ให้ ปลด ภาพที่ จัด แสดงทัง้ หมดสามชิ น้ ลง รวมถึ ง กระดาษบันทึกข้ อความเกี่ยวกับผลงานของ ศิลปิ นอี ก 6-7 ชิ น้ ด้ วยเหตุผลว่า อาจสร้ าง ความแตกแยกให้ คนในสังคมได้ “จริงๆ มันไม่คอ่ ยเหนือความคาดหมายเท่าไหร่ แต่กเ็ ป็ นครังแรกเหมื ้ อนกันทีโ่ ดนอะไรแบบนี ้ คือ จริ งๆ งานผมมันไม่ได้ การเมืองขนาดนัน้ มัน โรแมนติกด้ วยซ� ้ำไป คือมันเป็ นเรื่ องส่วนตัว เรื่ องวัยรุ่น เรื่ องความทรงจ�ำ” หฤษฏ์ ศิลปิ น เจ้ าของผลงานกล่าว ในขณะที่ ธาดาตัดสินใจปลดผลงานที่ จัด แสดงใน Cartel Artspace ออกด้ วยตนเอง งานนันมี ้ ชื่อว่า The Shards Would Shatter At Touch สุ ขสลาย เป็ น ผลงานที่ น� ำ คนที่

เคลื่อนไหวทาง การเมือง 49 คน และ ข้ อมูลเหตุการณ์ทางการเมือง ต่างๆ ของบุคคลนันๆ ้ จากเว็บไซต์ iLaw มาพิมพ์ลงบนภาพ แต่มีบคุ คลหนึง่ ไม่พอใจ ที่มีภาพของตนปรากฏอยูใ่ นงานศิลปะ และได้ เขี ย นข้ อ ความวิพากษ์ วิจารณ์งานศิลปะชิ ้นนี ้ ลงพื ้นทีอ่ อนไลน์ จึงเป็นเหตุให้ เจ้ าหน้ าทีท่ หารขอ เข้ ามาตรวจสอบที่แกลเลอรี “พอออกข่าวมา ก็ไม่สบายใจ อยากเก็บงาน งานต้ องการให้ ข้อมูลคนมากกว่า ไม่ได้ ต้องการ จะสร้ างความไม่พอใจให้ กบั ใคร” ธาดากล่าว

นอกจากนัน้ จิ รั ส ย์ ยัง มองว่ า ปรากฏการณ์นี ้ท�ำให้ แกลเลอรีอนื่ ๆ ทีจ่ ดั แสดงผลงาน ทางการเมืองเริ่ มกลัว ต้ องระมัดระวัง ในการจัดแสดงผลงานมากขึน้ และการ เซ็นเซอร์ ตวั เองอาจเป็ นทางออกเดียวที่ท�ำได้ ไม่เช่นนันอาจถู ้ กสัง่ ปิ ด + ในบ้านเมืองยุคเซ็นเซอร์ ศิลปินจ�ำเป็น “ถ้าทหารเข้ามาแกลเลอรีนี ้ได้ นัน่ แปลว่าทหาร ต้องเซ็นเซอร์เพื่อความอยู่รอด? ก็ ไ ปแกลเลอรี อนื่ ได้ นีเ่ ป็ นอะไรทีส่ ง่ ผลต่อวงการ ความคิดทีว่ า่ ศิลปิ นก�ำลังถูกลิดรอนสิทธิและ เสรี ภาพในการแสดงออกเกิดขึ ้นกับธาดา หลัง ศิลปะ อีกอย่างในเมือ่ ทหารกล้ าก้ าวข้ ามเข้ ามา จากที่การวิพากษ์ วิจารณ์ผลงานของเขาออกสู่ ในเขตแดน แล้วทหารรู้แล้วว่าเขตแดนนี ้เป็นเขตที่ ทหารไม่เคยเข้ ามาส�ำรวจ ทหารเห็นว่ามันมีอะไร โลกออนไลน์ ท�ำให้ เขาต้ องตัดสินใจน�ำผลงาน ครังต่ ้ อไปทหารก็จะมาอีก ซึง่ เป็นเหตุให้แกลเลอรี ตัวเองลงก่อนที่เจ้ าหน้ าที่จะเข้ ามาตรวจสอบ โดยส่วนใหญ่ต้องเกิดการ Self Censorship “รู้สกึ ว่าสิทธิมนุษย์ขนพื ั ้ ้นฐานมันหายไปเลย (การเซ็นเซอร์ตวั เอง) หรือการเลือกงานศิลปะเข้ า เราได้ ยินเสียงแม้ กระทัง่ ลมหายใจของตัวเอง มาจัดแสดง” จิรัสย์กล่าวด้ วยความกังวล เสียงของเข็มนาฬกิ าทีเ่ ดินด้วยซ� ้ำ ช่วงนันทุ ้ กอย่าง มันถูกหน่วงเอาไว้ เหมือนแม่น� ้ำ 10 สายไหลเข้ า + ศิลปะกับการเป็นพื้นที่เสรีในการ แสดงความเห็น มาในหัว” ธาดากล่าวถึงความกังวลใจในเวลานัน้ ส�ำหรับจิรัสย์ การพูดและแสดงออกทางช่อง ธาดายังแสดงความกังวลต่อวงการศิลปะไทย หลังจากได้ ศกึ ษากรณีของเวียดนาม ที่รัฐบาล ทางอืน่ อาจถูกจ�ำกัดในสมัยรัฐบาลทหาร แต่งาน ทหารควบคุมผลงานศิลปะอย่างเข้มงวด ตลอดจน ศิลปะเป็ นพื ้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ที่ทหารไม่ควรก้ าวล� ้ำ เข้ ามา ศิลปิ นควรมีอิสระในการสร้ างสรรค์งาน มีการหมายหัวศิลปิ นและน�ำมาปรับทัศนคติ ของตนเอง “กลัวว่าไทยจะเป็ นแบบนันหรื ้ อเปล่า ถ้ าเป็ น “เพราะแก่นแท้ ของศิลปะ เป็ นเรื่องของความ แบบนัน้ จะไม่เหลือพืน้ ที่ให้ คนแสดงออกเลย คิดสร้ างสรรค์ ความคิดสร้ างสรรค์กช็ ดั เจนในตัว อี กหน่อยจะกลายเป็ นแค่งานศิลปะที่ โชว์ ใน เองว่าต้ องมีอสิ ระในการคิด มันถึงเรียกว่าความ โลกออนไลน์อย่างเดียว” ธาดาเปรย คิดสร้ างสรรค์ ถ้ าคุณท�ำงานเกี่ยวกับความคิด ด้ านจิรัสย์ ผู้อำ� นวยการ Gallery Ver มองว่า สร้ างสรรค์ แล้ วคุณยังไม่สามารถแสดงความคิด ปรากฏการณ์นี ้ไม่เคยเกิดขึ ้นมาก่อน เพราะที่ สร้ างสรรค์ได้ มันก็ไม่ควรถูกเรี ยกว่างานความ ผ่านมา งานศิลปะเป็ นงานที่มีสิทธิเสรีภาพใน คิดสร้ างสรรค์” ผู้อ�ำนวยการ Gallery Ver ย� ้ำ การแสดงออกได้ ระดับหนึง่ ไม่เคยถูกใครก้ าว ขณะที่ศิลปิ นอาจไม่สามารถแสดงความคิด ล� ้ำเข้ ามาลิดรอนเช่นนี ้ ออกมาอย่างโจ่งแจ้ งในงานศิลปะของตน ผู้ชม “ข้ อดีอย่างหนึ่งที่ศิลปะเป็ นชนกลุ่มน้ อยก็ ผลงานก็มีอสิ รภาพในการรับชมและคิดตีความ คือ คล้ า ยๆ จะมี เ ขตชายแดนประมาณหนึ่ ง เอง ไม่ควรถูกจ�ำกัดกรอบความคิดจากผู้มอี ำ� นาจ ที่ผา่ นมา ทหารหรื อรัฐบาล เขาแค่เฉี่ยว แต่ไม่ “จริ งๆ แล้ วประเด็นอิสระในการแสดงออก เคยข้ ามเข้ ามา แต่นี่มันเป็ นครั ง้ แรกที่บอกให้ ไม่จ�ำเป็ นที่จะต้ องอยูเ่ ฉพาะในแวดวงศิลปะ ปลดงานลง เพราะฉะนันอั ้ นนี ้เป็ นครัง้ แรกใน เท่านัน้ เพราะแม้ แต่ในสังคมทัว่ ไปก็ไม่ควรตี ประวัติศาสตร์ ศิลปะโลกสมัยใหม่ที่ทหารเข้ า กรอบหรื อสร้ างกฎเกณฑ์จ�ำกัดอิสรภาพทาง มาสัง่ ให้ ปลดงานศิลปะลง” จิรัสย์กล่าว ความคิด” จิรัสย์กล่าว

ส�ำหรับศิลปิ น รุ่นใหม่อย่างธาดา การใช้ อ�ำนาจแบบเผด็จการ ทหารมาควบคุมอิสรภาพในการ สร้ างสรรค์งานศิลปะนันเป็ ้ นปั ญหา เพราะ ศิลปิ นจะไม่สามารถสื่อสารออกมาได้ อย่าง ตรงประเด็น “พอโดนแบบนี ้ งานมันต้องเปลีย่ นความหมาย บางอย่าง เราต้ องซ่อนสัญญะอีก ซึง่ มันไม่ควร ต้ อ งมี สัญ ญะ การต้ อ งมาออกแบบสัญ ญะ แบบนีค้ ือการต้ องหลบหลีก จริ งๆ มันควรจะ ท�ำได้ แบบเปิ ดเผย” ธาดากล่าว ส�ำหรับธาดา การจ�ำกัดกรอบความคิดของ ตัวเองเป็ นปั ญหาในเชิงโครงสร้ างทางสังคม เพราะท�ำให้ มนุษย์มองโลกแคบลง ไม่เปิ ดใจ ให้ สิ่งที่อยู่นอกเหนื อการรั บรู้ การควบคุมใน แบบเผด็ จ การนี เ้ องเป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ปั ญ หานี ้ ไม่เคยหมดไป และฝั งรากลึกอยู่ในสัง คมไทย อย่างยากจะแก้ ไข เช่นเดียวกับ หฤษฏ์ ที่ มองว่าไม่ว่าอย่างไร การแสดงออกทางความคิดก็ไม่ควรถูกจ�ำกัด ไม่ ว่ า จะทัง้ ในแวดวงศิ ล ปะหรื อ สัง คมทั่ว ไป ก็ตาม “อิสรภาพมันเป็ นสิง่ ที่ควรจะมี เป็ นสิง่ สากล ไม่วา่ ประเทศอะไรก็ควรจะมี หมายถึงว่า ถ้ าเป็ น hate speech หรื อสบประมาทใคร อาจจะเกิด การฟ้องร้ องกันได้ แต่ไม่ใช่แบบนี ้ เราต้ องมี เพราะเราก็เป็ นพลเมือง” ศิลปิ นเจ้ าของผลงาน ที่ถกู ปลดกล่าว ส�ำหรับหฤษฎ์ การที่คนในสังคมต้ องมาตัง้ ค�ำถามว่า ท�ำไมต้ องมีอิสรภาพทางความคิด เป็ นเรื่ องที่นา่ เศร้ าที่สดุ ในสังคมไทยปั จจุบนั


15

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

Art & Entertainment เรื่อง : สมฤดี โรจนสถิตโสภณ

หนั ง สั้ น ช้ า งเผื อ ก

พื้ น ที่ แ ห่ ง การแสดงออกของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ด้ านนักวิชาการด้ านภาพยนตร์ อย่าง ผศ.ดร.โสภาวรรณ บุญนิมิตร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาพยนตร์ และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า หนึง่ ใน สาเหตุที่ ท� ำ ให้ นิ สิ ต นัก ศึก ษาอยากเล่า เรื่ อ งสะท้ อ นสภาพ สังคมทีพ่ วกเขาก�ำลังเผชิญอยูค่ อื การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง บ่อยครัง้ ในระยะสิบปี ที่ผา่ นมา ช่วงเวลาดังกล่าวเป็ นภาวะหัว เลี ้ยวหัวต่อส�ำคัญของการเมืองไทยที่สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อ คนในสังคม รวมถึง กลุ่ม นิ สิต นัก ศึก ษาด้ ว ย ขณะเดี ย วกัน ปั จจัยจากวงการภาพยนตร์ ในต่างประเทศก็เข้ ามามีอิทธิพล ต่อการผลิตผลงานของกลุม่ คนเรี ยนท�ำหนังด้ วย

“การเดินทางของลูกเสือหมู่กะลาที่ได้พบ กับพิราบระหว่างทางไปแสนแสบในเมือง Bangkok Dystopia”

หากใครได้ไปเทศกาลภาพยนตร์ สนั ้ ครัง้ ที่ 21 ประจ�ำปี 2560 น่าจะคุ้นหูกบั ข้ อความข้ างต้ น เนือ่ งจากประกอบด้ วยชือ่ หนังสัน้ ที่เข้ าชิ งรางวัลช้ างเผื อ กประจ� ำ ปี นีถ้ ึง ห้ า เรื่ องด้ วยกั น ได้ แก่ การเดินทางของลูกเสือหมู่กะลา พิราบ ระหว่างทาง แสนแสบ และ Bangkok Dystopia การประกวดหนังสันรางวั ้ ลช้ างเผือก เป็ นพื ้นที่หนึง่ ที่นิสิตนักศึกษาเลือกใช้ ในการแสดงความคิดเห็น ทางการเมือง รวมถึงหนังสันห้ ้ าเรื่ องดังกล่าวนี ้ด้ วย สิง่ ทีน่ า่ สนใจในรางวัลช้ างเผือกปี นี ้ คือการท�ำหนังสันที ้ ม่ บี ริบท ทางสัง คมและการเมื อ งไทยสะท้ อ นให้ เ ห็ น มุม มองใดของ นั ก ศึ ก ษา และการแสดงออกครั ้ง นี ก้ � ำ ลั ง บอกถึ ง การ เปลี่ยนแปลงของกลุม่ คนรุ่นใหม่อย่างไร นายปฎิพล ทีฆายุวัฒน์ หรื อ เอส บัณฑิตใหม่จากคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง เป็ นผู้ชนะเลิศรางวัลช้ างเผือกประจ�ำปี นี ้ เขากล่าวว่า หนังสัน้ เรื่อง Bangkok Dsytopia เป็ นสารนิพนธ์เพือ่ จบการศึกษา และมี แรงบันดาลใจจากเหตุการณ์เมื่อปี 2557 ที่เขาไม่สามารถเดิน ทางกลับบ้ านได้ หลังจากงานเทศกาลฉายหนังย่านฝั่งธนฯ จบลง เนื่ อ งจากช่ ว งเวลาดั ง กล่ า วมี ก ารประกาศห้ ามออกนอก เคหสถานในเวลาค�่ำคืน เอสเล่าต่อว่า เขาแปลกใจและข้ องใจต่อเหตุการณ์ ครัง้ นัน้ เพราะเป็ นเรื่ องที่น้อยคนจะได้ เจอ จึงน�ำประสบการณ์ในวันนัน้ มาดัดแปลงเป็ นจุดเริ่ มต้ นของเรื่ อง พร้ อมสอดแทรกมุมมอง ของเขาต่อเหตุการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ ้นในสังคมไทยอีกด้ วย

เรื่อง : อมร จินดาทองดี “อันตัวเรานั้นคือทศกัณฐ์ พระราชาแห่งกรุงลงกา เอิงเงิงเงยไม่เก่งภาษา เจรจา ให้ไพเราะ เท่าไรนัก ข้าไม่เคยจะร้องเพลงแร็พหรือรู้จัก ข้าไม่เคยจะร้องเพลงร็อคถ้าจะรัก ร้องเป็นเพียงก็แต่จะเอิงเงิงเงย ที่เธออาจมองดูว่ามันเชย” ส่วนหนึ่งจากเพลง “หัวใจทศกัณฑ์” โดย เก่ง ธชย ft.ทศกัณฐ์

จากเนื ้อเพลงข้ างต้ น อาจเห็นได้ วา่ ผู้แต่งเปรียบเทียบทศกัณฑ์ เป็ นตัวแทนของความเก่า ความเชย ความยึดติดกับอะไรเดิมๆ ส่งผลให้ “เธอ” เฉยเมยไม่เหลียวแล และถ้ าลองน�ำมาตีความต่อ อาจจะพบว่า “เธอ” ในบทเพลง สอดคล้ องกับบริ บทของ “เหล่าคนรุ่ นใหม่” ที่ชื่นชอบความ ทันสมัย การร้ องเอื ้อนแบบไทยเดิมจึงไม่สามารถดึงดูดใจของ พวกเขาได้ อีกต่อไป ถ้ าทศกัณฐ์ ไม่ปรับตัว ดึงดันที่จะร้ องเอื ้อน แบบดังเดิ ้ ม ก็ดจู ะไม่มีวนั มัดหัวใจของพวกเขาได้ ชะตากรรม ของทศกัณ ฐ์ ก็ ดูจ ะต้ อ งประสบกับ ความเจ็ บ ปวดเหมื อ นดั่ง เนื ้อหาในบทเพลงอยูร่ �่ ำไป แต่บางทีสาเหตุที่ทศกัณฑ์ ต้องรู้ สึกเศร้ าใจ อาจไม่ได้ เป็ น เพราะทศกัณฑ์ไม่ยอมปรับตัว แต่เป็ นเพราะทศกัณฑ์ไม่ได้ รับ อนุญาตให้ ก้าวลงจากหิง้ เพื่อมาสื่อสารทักทายกับคนรุ่ นใหม่ ตังแต่ ้ แรกแล้ วหรื อเปล่า

ภาพยนตร์ ที่เข้ าประกวดในเทศกาลหนังสัน้ ครัง้ ที่ 2 ปี 2560

“หนั ง นอกกระแสที่ โ ยงเข้ ากั บ สภาพสัง คมและบริ บ ท ทางการเมื องประสบความส�ำเร็ จในเทศกาลหนังต่างประเทศ “หนังสันนิ ้ สติ นักศึกษาเป็ นตัวสะท้ อนความคิดของคนรุ่นราว คราวเดียวกับเขาได้ อย่างดีวา่ มองสภาพสังคมทีเ่ ป็ นอยู่ ณ ขณะ จ�ำนวนมากอาจเป็ นอีกแรงกระตุ้นที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ ้นของ ้ สติ นักศึกษาประเภทนี ้” ผศ.ดร. โสภาวรรณอธิบาย นันอย่ ้ างไร” เอสกล่าว “เสน่ห์ของหนังสันนิ ้ สติ นักศึกษาอย่าง หนังสันนิ เรา คือ ความกล้ าที่จะสื่อสารกับคนอื่นเพื่อบอกเล่าความรู้สกึ หนังสันนิ ้ สิตนักศึกษาในการประกวดรางวัลช้ างเผือกครัง้ นี ้ และความคิดต่อเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ โดยเฉพาะเรื่ องที่ไม่ได้ ถกู พูด ยังสะท้ อนมิติของความเป็ นมนุษย์ และโครงสร้ างทางสังคม ถึงอย่างการเมือง ทังนี ้ ้น่าจะมาจากคนในรุ่นเราเติบโตมาพร้ อม ไทยออกมาด้ วย กับสถานการณ์บ้านเมืองที่ไม่นิ่งและมีปัญหามาตลอด” ภัทรภร ภู่ทอง นักวิชาการด้ านสังคมศาสตร์ นักวิจยั และผู้ อีกหนึ่งผู้ก�ำกับนักศึกษาอย่าง โสภณั ฐ โสมขันเงิน หรื อ สร้ างสารคดี โ ครงการบัน ทึ ก 6 ตุล า เห็ น ว่ า หนัง สัน้ นิ สิ ต แม็กกี ้ จบการศึกษาจากคณะวารสารศาสตร์ และสือ่ สารมวลชน นักศึกษาเป็ นตัวอย่างที่ดีที่สามารถเปลี่ยนความคิดของคนใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนังสันของเขาเรื ้ ่ อง การเดินทาง สังคมได้ ไม่มากก็น้อยและผู้ที่ได้ รับอิทธิพลมากทีส่ ดุ น่าจะเป็ น ของลูกเสือหมู่กะลา ได้ เข้ าชิงรางวัลช้ างเผือกครัง้ นี ้ด้ วย เขา ตัวผู้ก�ำกับและเพื่อนร่วมทีมที่จะมีความชัดเจนในมุมมองและ เล่าว่า นอกเหนือจากการท�ำหนังแล้ ว เขายังสนใจข่าวสารและ ประเด็นที่พวกเขาสนใจมากขึ ้น นอกจากนี ้ การเปลีย่ นแปลง การเมือง ท�ำให้ เลือกท�ำหนังสันที ้ เ่ ล่าประเด็นทางการเมืองอย่าง จากตัวเองเป็ นพื ้นฐานส�ำคัญที่จะก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง การใช้ อำ� นาจและความเป็ นเผด็จการทีส่ งั คมไทยก�ำลังเผชิญอยู่ และแรงสะเทือนในสังคมไทยต่อไป “เมื่อเราอยู่ในยุคที่มีการแสดงออกทางความคิดเป็ นไปอย่าง จ�ำกัด เราจะเริ่ มเก็บกดและอัดอันใจจนต้ ้ องหาทางออกในการ ถ่ายทอด และการท�ำหนังสันก็ ้ ตอบโจทย์ตวั เราเอง” แม็กกี ้กล่าว

ดึ ง ลงจากหิ้ ง ต่ อ ชี วิ ต วั ฒ นธรรมไทย เมือ่ ปี ทแี่ ล้ ว เที่ยวไทยมีเฮ มิวสิควิดโี อโปรโมทการท่องเทีย่ ว ประเทศไทย ถูกผู้ทรงคุณวุฒแิ ละนักวิชาการจากสถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ ออกมาวิพากษ์วจิ ารณ์วา่ ผู้จดั ท�ำน�ำเสนอตัวละครทศกัณฑ์ ซึง่ ถือเป็ นราชาแห่งยักษ์ทงปวงออกมาได้ ั้ ไม่เหมาะสม เช่น การน�ำ พญายักษ์ มาหยอดขนมครก ขับโกคาร์ ท ถ่ายเซลฟี่ หรื อขี่บงไฟ ั้ เหตุก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึน้ น� ำ ไปสู่ค� ำ ถามที่ ว่า อะไรคื อ มาตรวัด ความเป็ นไทยทีถ่ กู ต้ องเหมาะสม คนธรรมดาอย่างเราๆ สามารถ เอาวัฒนธรรมลงมาจากหิ ้งได้ มากน้ อยแค่ไหนกันแน่ สิทธิชัย จูอี ้ นักวิจยั อิสระที่ศกึ ษาเรื่ องต�ำนานปรัมปราและ วรรณคดีของไทย เห็นว่า แท้ จริ งแล้ วการน�ำเอาวัฒนธรรมลงมา จากหิ ้งนันเป็ ้ นเรื่องทีส่ ามารถท�ำได้ ไม่ได้ ผดิ หลักการใดๆ เพราะ “นาฏยศาสตร์ ” ซึง่ เป็ นรากฐานของ “นาฏศิลป์ ” มีจดุ เริ่ มต้ นมา จากการแหวกขนบธรรมเนียมดังเดิ ้ มและดัดแปลงต่อยอดเพื่อ ให้ องค์ความรู้ประการต่างๆ เข้ าถึงผู้คนมาตังแต่ ้ แรกแล้ ว “ในหนังสือ นาฏยเวท ที่เขียนโดย พ่อแก่ (ภรตมุนี) ครู อาจารย์ที่เป็ นที่นบั ถือสูงสุดของวงการนาฎศิลป์ บอกไว้ วา่ พระ พรหมรู้สกึ ว่าหลักค�ำสอนในพระเวทนัน้ คนวรรณะศูทรไม่สามารถ เข้ าถึงได้ ท่านจึงได้ ดดั แปลงและผสมผสานพระเวท สี่เล่มแรก ให้ ออกมาเป็ น ‘นาฎย’ วิชาที่จะสามารถเข้ าถึงคนได้ ทกุ ชนชัน้ แต่ก็ยงั ไม่สามารถเข้ าถึงมนุษย์ได้ พระพรหมจึงต้ องน�ำ ‘นาฎย’ หรื อ พระเวทฉบับดัดแปลงนี ้ ให้ พอ่ แก่แก้ ไขปรับปรุงอีกทอด หนึง่ จึงจะสามารถเข้ าถึงผู้คนได้ ” สิทธิชยั อธิบาย

การอุ้มชูส่งเสริ มให้ วฒ ั นธรรมอยู่แต่บนหิ ้งนัน้ นอกจากจะ สร้ างผลกระทบต่อ ผู้ค นที่ ท� ำ งานในวงการดนตรี แ ละมิ ว สิค วิดโี อแล้ว ยังมีผลกระทบต่อผู้ทที่ ำ� งานในวงการภาพยนตร์อกี ด้ วย อธิษฐาน อินทเคหะ ผู้อำ� นวยการสร้ างโครงการภาพยนตร์ เรื่อง Teen ยักษ์ น�ำความเป็ นยักษ์แบบไทยๆ มาตีความใหม่ ตัวอย่างภาพยนตร์ ฉบับทดลองที่ อ อกอากาศทางสื่อสังคม ออนไลน์ในปี ที่ผา่ นมามียอดชมในเพจเฟซบุ๊กมากถึง 812,582 ครัง้ และมียอดแชร์ สงู ถึง 10,441 ครัง้ แต่ถงึ กระนันโครงการนี ้ ้ ก็ยงั ไม่มีสตูดโิ อไหนให้ ทนุ สร้ างเป็ นภาพยนตร์ ขนาดยาว แต่ก็ ยังไม่ได้ ยตุ ลิ ง และยังคงเดินหน้ าพัฒนากันต่อไป “รัฐบาลหรื อกระทรวงวัฒนธรรมไม่จ�ำเป็ นต้ องเข้ ามาให้ การ สนับสนุนก็ได้ แต่อยากให้ ทกุ คนเปิ ดใจ เพราะเราท�ำมันด้ วย เจตนาที่ดี เราต้ องการดึงศิลปวัฒนธรรมที่มนั จะตายอยู่บน หิ ้งให้ ลงมาอยูก่ บั วัยรุ่น” อธิษฐานกล่าว สอดคล้ องกับแนวคิดของ ขจิตธรรม พาทยกุล ทายาท ศิลปิ นแห่งชาติ เจ้ าของกิจการโรงเรี ยนดนตรี และนาฏศิลป์ พาทยกุล ผู้คดิ ค้ น Thai Fit การออกก�ำลังกายแนวใหม่ ที่น�ำ เอานาฏศิลป์ การร� ำพื ้นบ้ าน และศิลปะการป้องกันตัวของไทย มาประยุกต์เคยให้ สมั ภาษณ์ไว้ ในเว็บไซต์เจาะใจออนไลน์เมื่อ วันที่ 2 ก.ค. 2560 “เราว่ามันออกจะใจแคบเกินไปที่จะคิดว่าสิ่งใหม่จะต้ อง มาท�ำลายสิง่ เก่า ไม่ใช่แค่นาฏศิลป์ ไทย แต่คอื ทุกอย่างในสังคม มันคือการปรับตัวให้ เข้ ากับสังคมที่เปลี่ยนไป” ขจิตธรรมกล่าว


16

ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560

ปี 2017 นี้ พักประเด็นร้อนทางการเมือง แล้ว มาท�ำความรู้จักกับ “เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล” ผ่านแนวคิดและอุดมการณ์ของเขา ในฐานะ “นิสิตนักศึกษา” คนหนึ่งกันดีกว่า

1

Current&Future Issue

เนติวิทย์เป็ นคนน่าสงสารครับ เพิ่งถูกปลดออกจาก ต�ำแหน่งประธานสภานิสิต ซึ่งมีความตังใจมากที ้ ่จะอยู่ ในต�ำแหน่งนีแ้ ล้ วท�ำงาน ตอนนีเ้ นติวิทย์ เลยเป็ นคนน่า สงสารคนหนึง่ ที่ถกู สังคมภายนอกและภายในบีบคัน้ มองเห็นเนติวท ิ ย์ในอีก 10 ปีขา้ งหน้าเป็นอย่างไร

ถ้ ายังมีชีวิตอยูต่ อนนัน้ ก็อยากท�ำสิง่ ที่เป็ นประโยชน์ ต่อสถาบันการศึกษาสักแห่ง ท�ำในสิ่งที่ฝันไว้ เกี่ ยวกับ โมเดลต่างๆ ว่าโรงเรี ยนที่ดี ระบบการศึกษาที่ดี หรื อระบบ ครูอาจารย์ที่ดีควรจะเป็ นอย่างไร แต่ก็ไม่แน่ หากตอนนัน้ เนติวทิ ย์ไม่สามารถอยูป่ ระเทศไทยได้ ก็คงไปอยูป่ ระเทศอืน่ อย่างแฮปปี ้ คิดว่าอยากไปขายไอติมอยูเ่ หมือนกัน ไม่กไ็ ป เป็ นชาวนาชาวไร่ ได้ มเี วลาอ่านหนังสือ เขียนหนังสือ หรือ ไปท�ำอย่างอืน่ เพือ่ พัฒนาตัวเอง

2

Social Issue

เป็นสังคมทีค่ นอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสงบสุข ไม่จำ� เป็นต้องเห็น พ้องกันเสมอไป แต่เข้าใจว่าท�ำไมเขาคิดต่าง หรือถ้ าเขาเลือก ท�ำในสิง่ ทีต่ า่ งไป อีกฝ่ ายก็มคี วามอดทนอดกลันเพี ้ ยงพอ คนรุ่นเราเองในอนาคตพออายุมากขึ ้น คนทีต่ ามหลังเรา มาก็คงคิดต่างจากเรา ดังนันเราไม่ ้ จ�ำเป็ นต้ องคิดเหมือน ผู้ใหญ่ตอนนี ้เสมอไป แต่ผ้ใู หญ่ตอนนี ้คิดแทนเด็ก เราไม่ควรคิด แทนคนทีต่ ามหลังเรามา ต้องให้พื ้นทีเ่ ขาเคารพซึง่ กันและกัน

3

Economics

คิดว่ามีปัญหาอยู่ หากเทียบเป็ นตัวเลข จะเห็นว่า GDP เติบโตช้ ามากตังแต่ ้ คสช. ขึ ้นมา สมัยคุณยิง่ ลักษณ์ เติบโต ร้ อยละ 5-6 ต่อปี แต่ชว่ ง คสช. ก็ลดลงเป็ นร้ อยละ 1-2 ต่อปี อีกอย่างที่บอกได้ คือเศรษฐกิจของประเทศในระยะ ยาวมี โ อกาสแข่ ง ขัน กับ ประเทศอื่ น ค่ อ นข้ า งยากมาก เนือ่ งจากพื ้นฐานสาธารณูปโภคของเราไม่ได้ ดพี อ แม้ กระทัง่ แนวคิด 4.0 ทีบ่ อกว่าต้ องการพัฒนาเศรษฐกิจ ก็ยงั ไม่ได้ มี แผนการทีเ่ ป็ นรูปธรรมพอ แต่สงิ่ ทีเ่ ห็นตอนนี ้คือ รัฐท�ำเหมือน รู้ทกุ อย่างอยูฝ่ ่ ายเดียว คอยบอกประชาชนว่าต้ องท�ำแบบนัน้ แบบนี ้เมือ่ เป็ นเช่นนี ้จึงไม่สามารถน�ำไปสูก่ ารต่อยอดได้ จริง

4

Education

แน่นอนว่าทุกคนรักลูก ผมก็คงรักลูกตัวเองเช่นกัน และ ผมไม่ อ ยากให้ ลู ก ต้ องมี ชี วิ ต ล� ำ บากในโรงเรี ย นไทย ยอมรับว่ามีประสบการณ์ในโรงเรียนไทยทีไ่ ม่คอ่ ยดี ถ้ านึกถึง อนาคตลูกจริ งๆ สมัยนี ้ไม่ใช่เรื่ องยากในการเข้ าโรงเรี ยน นานาชาติ หรือแม้ แต่การเรี ยนด้ วยตนเอง สามารถเข้ าถึง ความรู้ได้ งา่ ยขึ ้นมาก แต่ในอีกมุมหนึ่งก็คิดว่า อยากให้ ลกู ได้ รับรู้ ถึงปั ญหา ระบบการศึกษาไทย เผือ่ เขาจะมีไฟในการท�ำอะไรบางอย่าง และโรงเรี ยนไทยก็ ไม่ได้ มี แค่ข้อเสี ย แต่ท�ำ ให้ ได้ สัม ผัส การใช้ ชีวิตในสังคมจริ ง

Interview

5

เรื่อง - ภาพ : มายพัชรินทร์ สัจจะ

เนติวิทย์ LIVE IN

1 0 7 2

Lifestyle

ถ้ าท�ำงานทีส่ ามารถท�ำทังสองอย่ ้ างนี ้พร้ อมกันได้ กจ็ ะดีมาก หากในอนาคตเปิ ดสถาบันเกี่ยวกับการพัฒนาคน ก็อาจให้ ลูกและครอบครั วมาเป็ นส่วนหนึ่ง มองว่าชีวิตส่วนตัวและ ชีวติ การท�ำงานไม่ได้ แยกออกจากกันเลย การท�ำงานก็คือการ มีชีวิตสองอย่างไปพร้ อมกัน

6

Entertainment

จริ งๆ ชอบ Captain America เป็ นคนหัวเก่าๆ หน่อย ผมก็ไม่ได้ เป็ นคนหัวใหม่อะไรมากในหลายๆ แง่ แต่ก็ไม่ได้ ปิ ดกันความคิ ้ ด และผมคิดว่า Captain America ค่อนข้ างมี ตรงนี ้เหมือนกัน คือไม่ได้เป็นคนทันสมัยเสียทุกอย่าง แต่กเ็ ข้าใจ ในสิง่ ทีเ่ ป็ นไป ผมว่าเวลาดีลกับผู้คนเขาท�ำได้ ดกี ว่า Iron Man รู้สกึ ประทับใจในความรักชาติที่อยูบ่ นเหตุผลของเขา สมัยนี ้ หาคนรักชาติยาก ประกอบกับการรับฟังความคิดเห็นและการ ท�ำงานเป็นทีม ผมว่า Captain America ตอบโจทย์มากกว่า

7

Travel

เมืองลาดัค ประเทศอินเดียครับ ประทับใจดินแดนสวย บริ สทุ ธิ์ อากาศดี ใช้ เวลาเดินทางไปสองสามวัน อันตราย มาก อาจพลัดตกเหวตายได้ ผมไปมาคนเดียวเมื่อปี 2557 เพื่อศึกษาดูงาน อยูท่ ี่นนั่ เกือบ 20 วัน อีกอย่างที่ประทับใจ มากคือโรงเรียนทีน่ นั่ แห่งหนึง่ เป็นโรงเรียนทีค่ ดั เลือกแต่นกั เรียน ที่เรี ยนไม่เก่งของเมืองมาใช้ ชีวิตอยู่ร่วมกัน ซึง่ เด็กพวกนัน้ สามารถบริหารจัดการชีวติ ตัวเองได้ ทงหมดในสถาบั ั้ น โดยจะ มีครูต่างชาติเข้ ามาสอนเรื่ องต่างๆ อย่างเรื่ องโลกาภิวตั น์ ตลอดจนเรื่ องเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ า ล�ำ้ สมัย โดยรวมแล้ ว ผู้คนน่ารัก มนุษยสัมพันธ์ดมี าก ยิ ้มแย้ มแจ่มใส

8

Culture

ภูมิใจในวัฒนธรรมไทยทุกอย่างเลยครับ แต่ไม่เคยภูมิ ใ จ ในการหยุดนิง่ ของวัฒนธรรม ช่วงหลังมารู้สกึ ว่าวัฒนธรรมไทย ถูกแช่แข็งเยอะ อย่างเวลาเห็นการแสดงร� ำในงานวันพ่อที่ โรงเรี ยน ก็คดิ ว่าท�ำไมต้ องร� ำเหมือนกันทุกปี รู้สกึ ว่าหากเกิด การปรับเปลี่ยนบ้ าง ก็สามารถเกิดความงดงามอีกรู ปแบบ เหมือนอย่างทีค่ ณ ุ พิเชษฐ์ กลัน่ ชืน่ ได้ นำ� โขนมาประยุกต์ ผม รู้สกึ ว่านัน่ แหละ คือการรักษาวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมของเรามีรายละเอียดยิบย่อยมาก แม้ กระทัง่ วัฒนธรรมของชาวบ้านเอง เทศกาลต่างๆ ก็มอี ะไรน่าสนใจเยอะ แต่การทีเ่ ราหยุดนิง่ มันไว้ แค่ในต�ำรา ท�ำให้ หมดเสน่ห์ในตัวลง ซึง่ ผมอยากจะอนุรักษ์ ไว้ แต่ไม่ใช่วฒ ั นธรรมไทยในปั จจุบนั

9 9

Interview

อยากสัมภาษณ์ Noam Chomsky เป็ นนักอักษรศาสตร์ ชอื่ ดัง เขาเพิง่ อีเมล มาให้ กำ� ลังใจผมกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึ ้นเร็วๆ นี ้ ผมเลยรู้สกึ ว่าเกิดคอนเน็กชัน่ บาง อย่างขึ ้นต่อกัน ท่านเป็ นผู้ปฏิวตั วิ งการภาษาศาสตร์ และเป็ นอาจารย์สอนที่ MIT สถาบันทางการศึกษาชันน� ้ ำของโลก ได้ รบั เงินเดือนเยอะมาก มีชวี ติ ทีด่ แี ละสบาย อยูแ่ ล้ ว แต่เขาก็เลือกที่จะออกไปเดินขบวน ท�ำสิง่ ต่างๆ เพือ่ เรียกร้ องสันติภาพ อย่างตอนสงครามเวียดนามก็ออกไปจนสุดท้ายถูกจับด้วย ผมว่าชีวติ เขาน่าสนใจมาก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.