หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน้า
หน้า
ขอแค่ พื้ น ที่ สั ก นิ ด ที่ เ ป็ น ของตน
อย่ า ให้ ก ารรั ก ษ์ โ ลกเป็ น เพี ย งการ
ชีวต ิ ของชายซ่อมรองเท้าในประเทศ
แสดงหนึ่งฉากแล้วจบไป ตามมาดู
อันไร้พื้นที่ให้คนจน
วิ ถี รั ก ษ์ โ ลกแบบยั่ ง ยื น ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น
4
nisitjournal
หน้า
8
เพียงแค่แฟชั่น
12
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | WEBSITE
@nisitjournal
nisitjournal.press
พื้นที่ความคิด
“จั ง หวั ด เราไม่ มี พื้ น ที่ ท างศิ ล ปะ” คนต่ า งจั ง หวั ด ท� ำ อย่ า งไรเพื่ อ ต่ อ ลมหายใจให้ กั บ โลกศิ ล ปะนอก เมืองกรุง
“ที่ของรัฐ สิทธิของใคร”
นักเคลื่อนไหวทางสังคมชี้ รัฐบีบวิถีชีวิตกะเหรี่ยงให้ไร้ทางเลือก เรื่อง : ไข่มุก อินทรวิชัย ภาพ : พชร คำ�ชำ�นาญ
ช า ว ก ะ เ ห รี่ ย ง พ ้ อ รั ฐ อ อ ก ก ฎ ห ม า ย ทั บ พื้ น ที่ อ ยู ่ อ า ศั ย แ ล ะ ท�ำ กิ น ก ร ะ ท บ วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ไ ม ่ ใ ห ้ สิ ท ธิ ค น อ ยู ่ ร ่ ว ม กั บ ป ่ า นั ก วิ ช า ก า ร เ ผ ย เหตุ รั ฐ ออกกฎหมายทั บ สิ ท ธิ และส่ ง ต่ อ ทั ศ นคติ ที่ ผิ ด ผ่ า นแบบเรี ย น เพราะต้องการรวมศูนย์อ�ำนาจ + พระราชบัญญัติอุทยาน พ.ศ.2504 : เมื่อที่อยู่อาศัยกลายเป็นเขตอุทยาน
“ค�ำว่าอุทยาน มันทับพื้นที่เรา จากที่เคยเป็นของเรา ก็กลายเป็นของรัฐ”
เศรษฐี พะโย ผู้ใหญ่บ้านป่าตึงงาม ต.ปิงโค้ง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ เล่าว่า “ค�ำว่าอุทยานมันทับพืน้ ทีเ่ รา จากทีเ่ คยเป็นของเรา ก็กลายเป็น ของรัฐ ช่วงปี 2541-2542 พ่อผมถูกเจ้าหน้าทีร่ ฐั จับไป แล้วก็ตอ่ สู้ กันด้วยศาล เราต่อสูม้ าสีป่ ี แต่เราไม่ชนะ เพราะต�ำรวจเองก็ไม่อยาก ท�ำคดี บอกให้พอ่ ผมปัม๊ ลายนิว้ มือไปเลย ไม่มอี ะไรหรอก จะได้จบๆ พ่อผมไม่รู้หนังสือก็ปั๊มไป ปั๊มไปปุ๊บกลายเป็นรับสารภาพข้อหา บุกรุกท�ำลายป่า” พระราชบั ญ ญั ติ ที่ ส ่ ง ผลต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวกะเหรี่ ย งเป็ น อย่างมากนัน่ คือ พระราชบัญญัตอิ ทุ ยาน พ.ศ.2504 ซึง่ ก�ำหนดว่า พืน้ ทีท่ ถี่ กู ประกาศให้เป็นอุทยานนัน้ ห้ามมิให้ผใู้ ดเข้าไปอยูอ่ าศัย ท�ำกิน ปัญหาคือ พื้นที่บางส่วนที่ถูกประกาศให้เป็นเขตอุทยาน กลับทับซ้อนกับพืน้ ทีข่ องชาวบ้านและกลุม่ ชาติพนั ธุท์ อี่ าศัย และ ท�ำไร่ในบริเวณนัน้ มาก่อนหน้าเป็นเวลานาน ส่งผลให้วถิ ชี วี ติ ของ พวกเขากลายเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมายไปโดยปริยาย จนกระทั่งวันที่ 30 มิถุนายน 2541 มีการปรับแก้ พ.ร.บ. ให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้มากขึ้น โดยใช้เกณฑ์ภาพถ่าย ทางอากาศพิสูจน์สิทธิในการอยู่อาศัยและท�ำกิน หากมีร่องรอย การใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีก่ อ่ นปี 2545 ก็สามารถอยูต่ อ่ ไปได้ แต่หาก ไม่มรี อ่ งรอย พืน้ ทีต่ รงนัน้ จะถูกทวงคืน และชาวบ้านต้องย้ายออก ทว่า ประยงค์ ดอกล�ำใย ประธานคณะกรรมการประสานงาน องค์กรพัฒนาเอกชนชีว้ า่ มตินไี้ ม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้จริง เนื่ อ งจากชาวกะเหรี่ ย งมี วั ฒ นธรรมการท� ำ ไร่ ห มุ น เวี ย น โดยเพาะปลูกไร่ละหนึง่ ปีตอ่ ครัง้ หลังจากเก็บเกีย่ วผลผลิตในไร่นนั้ เสร็จ ก็จะตัดต้นไม้ วัชพืช และเผากลบหน้าดินเพื่อปรับปรุงดิน จากนั้นจึงหมุนเวียนไปหาพื้นที่ใหม่ต่อไป ซึ่งชาวกะเหรี่ยงจะเว้น ช่วงทิง้ ไร่เก่าประมาณ 7-10 ปี เพือ่ รอให้พนื้ ทีเ่ ดิมฟืน้ ตัวกลายเป็น ป่าสมบูรณ์กอ่ น จึงจะกลับมาท�ำทีผ่ นื เดิมได้
“กรมอุทยานดันใช้พนื้ ทีภ่ าพถ่ายปีเดียว คือปี 2545 มาพิสจู น์ ร่องรอยการใช้งาน แต่สมมติปี 2545 เขาใช้พนื้ ทีต่ รงนี้ แต่อกี สีแ่ ปลง ที่ เ ขาทิ้ ง ไว้ ใ ห้ มั น ฟื ้ น ฟู ตั ว เอง มั น ก็ ไ ม่ เ ห็ น ร่ อ งรอยการใช้ ง าน เพราะป่ามันขึ้นหมดแล้ว กลายเป็นว่าสี่แปลงนั้นที่เขาเคยใช้มา ก่อนหน้านี้หลายปี ถูกตัดสินว่าไม่ใช่ของเขา เขาเหลือพื้นที่อยู่ แปลงเดียว มันก็ท�ำไร่หมุนเวียนแบบเดิมไม่ได้ ต้องเปลี่ยนมา ท�ำเกษตรบนพื้นที่เดิมซ�้ำๆ เช่น ปลูกข้าวโพด สุดท้ายหน้าดินมัน เสื่อม ก็ต้อง ใช้ปุ๋ย ใช้ยา ทั้งที่เมื่อก่อนเขาท�ำไร่หมุนเวียนกัน ไม่จำ� เป็นต้องใช้เลย” + นโยบายทวงคืนผืนป่า : ทวงคืนจากชาวบ้าน แต่ละเว้นนายทุน
อีกหนึ่งนโยบายที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงคือ นโยบายทวงคืนผืนป่า หนึ่งในนโยบายของรัฐบาลคสช. ภายใต้ การน�ำของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทีม่ เี ป้าหมายทวงคืนผืนป่า ให้เพิ่มกลับมาเป็นอย่างน้อยร้อยละ 40 ภายใน 10 ปี หลังจาก ก่อนหน้านีพ้ นื้ ทีป่ า่ ในไทยลดเหลือเพียงร้อยละ 32 โดยตามประกาศ นโยบายนี้ เน้นมุง่ เป้าไปทีก่ ารทวงคืนผืนป่าจากกลุม่ นายทุนใหญ่ และผู ้ มี อิ ท ธิ พ ลที่ ใ ช้ พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ ส ร้ า งรี ส อร์ ท ที่ พั ก หรื อ อื่ น ๆ เพือ่ ผลก�ำไรในเชิงธุรกิจ ซึง่ ในทีน่ รี้ วมถึงการบุกรุก แต่ในทางปฏิบตั ิ กลับเน้นทวงคืนผืนป่าจากชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นมา อย่างยาวนานแทน “ปี 2504 อ่างทอง ปทุมธานี อยุธยา และนนทบุรี มีพื้นที่ป่า 20 เปอร์เซ็นต์ แต่ปัจจุบันจังหวัดเหล่านี้ไม่มีป่าเลย พื้นที่ป่า กลายเป็นโรงงาน สิง่ ก่อสร้างเต็มไปหมด ค�ำถามคือ ท�ำไมรัฐถึงไม่ ไปทวงคืนผืนป่าจากจังหวัดเหล่านี้บ้าง เลือกทวงคืนแต่จากพืน้ ที่ บนเขาบนดอยซึง่ เหลือพืน้ ทีป่ า่ เยอะกว่าจังหวัดเหล่านัน้ อีก ท�ำไม ถึงบีบให้บางจังหวัดต้องอนุรักษ์ป่า 100 เปอร์เซ็นต์ ถ้าจะให้ เป็นธรรมคือต้องไปทวงคืนจากพืน้ ทีท่ เี่ คยมีปา่ แต่ตอนนีม้ นั หายไป หมด แล้วเฉลีย่ จ�ำนวนพืน้ ทีก่ นั ไปในแต่ละจังหวัด” ประยงค์กล่าว อ่านต่อหน้า 16
2
| ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
EDUCATION
พุทธศาสนา : วิชาที่โรงเรียนบังคับเลือก เรื่อง-ภาพ : บุญรักษา สาแสง
เสียงกริ่งก้องกังวานเรียกเด็กนักเรียนให้ออกมา เข้าแถวเคารพธงชาติ เสียงสวดมนต์เจื้อยแจ้ว ถูกบ้าง ผิ ด บ้ า ง ภาพเด็ ก นั ก เรี ย นยื น ฟั ง โอวาทจากครู ใ หญ่ ท่ า มกลางแสงแดดร้ อ นระอุ ย ามเช้ า ที่ ว ่ า กั น ว่ า เป็ น แหล่ ง ผลิ ต วิ ต ามิ น ดี น่ า จะเป็ น กิ จ กรรมที่ เ ราทุ ก คน เห็นกันจนชินตา
“เข้าแถวสวดมนต์ นั่งสมาธิ ฟังโอวาทกลางแดดทุกวันเลย พอขึน้ มัธยมต้น ทุกคนต้องยืนกลางแดดหมด ส่วนครูบางคนก็ยนื หลบในร่มบ้าง ใต้ต้นไม้บ้าง แล้วชุดนักเรียนก็เป็นเสื้อแขนยาว ใครเป็ น ลมก็ ห ามส่ ง ห้ อ งพยาบาลไป ไม่ รู ้ จ ะท� ำ ไปท� ำ ไม” มุ ก (นามสมมติ ) นักเรียนหญิงจากโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง เล่าถึงกิจวัตรประจ�ำวันของนักเรียนในตอนเข้าแถว นอกจากพิธกี รรมไหว้พระ สวดมนต์ นัง่ สมาธิในตอนเช้าแล้ว การเรียนการสอนของโรงเรียนส่วนใหญ่ในประเทศไทยก็ยงั บรรจุ วิชาพระพุทธศาสนาเป็นวิชาบังคับเรียน โดยเป็นส่วนหนึ่งของ หลั ก สู ต รในกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยจะมีเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาเป็นการ สอบปฏิบัติ สอบสวดมนต์ นั่งสมาธิ และมีการจัดพิธีกรรมใน วันส�ำคัญทางศาสนา รวมถึงวันพ่อ และวันแม่อีกด้วย จากการส�ำรวจโรงเรียนมัธยมในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ทั้งหมด 58 โรงเรียน พบว่า มีโรงเรียนที่บังคับให้นักเรียนเข้าแถว และสวดมนต์ตอนเช้าทั้งหมดร้อยละ 98 ให้นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมค่ายธรรมะ หรือค่ายอบรมจิตใจตามศาสนาของโรงเรียน ทั้ ง บั ง คั บ เข้ า และให้ ต ามความสมั ค รใจ ทั้ ง หมดร้ อ ยละ 65 มีการบังคับให้นงั่ สมาธิรอ้ ยละ 63 มีการสอบปฏิบตั ิ เช่น การสอบ นักธรรม สอบสวดมนต์ สอบกราบพระ อีกร้อยละ 39 และยังมี โรงเรี ย นที่ บั ง คั บ ให้ นั ก เรี ย นร่ ว มพิ ธี ก รรมปฏิ ญ าณตนเป็ น พุทธมามกะอีกร้อยละ 19 นอกจากนี้ยังพบว่า ในห้องเรียนหนึ่งๆ มักมีนักเรียนที่ไม่นับถือศาสนาพุทธอยู่ราวร้อยละ 10 “เราเป็นมุสลิมตั้งแต่เกิด บ้านเรานับถืออิสลามทั้งบ้านเลย แต่เรียนโรงเรียนพุทธเพราะมันใกล้บ้าน ตอนเด็กๆ มีพิธีวันแม่ ที่โรงเรียน ครูบอกให้ทุกคนกราบเท้ า แม่ แต่ ค นมุ สลิ ม กราบ อย่างอืน่ นอกจากพระเจ้าไม่ได้ เราได้แต่นงั่ เฉยๆ แต่ครูมาบอกว่า งั้นก็ก้มๆ หัวลงไปหน่อย เราไม่ยอม จนสุดท้ายแม่เราพาไป ลาออกจากโรงเรี ย น” อั ล วาณี ย ์ สถิ ต านนท์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า จาก โรงเรียนรัฐบาลในเขตปริมณฑลเล่าให้ฟัง อัลวาณีย์เสริมว่า ถึงแม้การเรียนการสอนพุทธศาสนาจะยัง เป็นเรื่องส�ำคัญต่อเยาวชนไทย แต่สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือการเข้าใจ และยอมรับในความเชื่อที่ต่างจากความเชื่อของตน
“เราเรี ย นโรงเรี ย นที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น โรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธ เขาโยง หลักธรรมในศาสนาพุทธมาไว้ในวิชาเรียนแทบทุกอย่างที่สอนเรา มีการเดินจงกรม สวดมนต์ ฟังเทศน์ทุกเช้า จริงๆ เคยมีเด็กคริสต์ เด็กอิสลามมาเรียนด้วย แต่พออยู่ไป เขาไม่รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง เขาก็ ล าออกไป” วชรรทร์ อั ศ วะประภา นั ก เรี ย นชั้ น ม.5 ในโรงเรียนเอกชนวิถีพุทธแห่งหนึ่งเล่าถึงชีวิตของเธอในโรงเรียน วชรรทร์ให้ความเห็นว่า ถึงตนจะนับถือศาสนาพุทธ แต่เธอกลับมอง พิ ธี ก รรมทางศาสนาในโรงเรี ย นส่ ว นใหญ่ ว ่ า เป็ น กิ จ วั ต ร ประจ�ำวันทีต่ อ้ งเข้าร่วมไปให้เสร็จ ไม่ได้รสู้ กึ อินกับสิง่ ทีต่ นท�ำ จากค� ำ กล่ า วของอั ล วาณี ย ์ แ ละวชรรทร์ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า การบังคับนักเรียนให้รว่ มพิธกี รรมทางศาสนานัน้ นอกจากจะท�ำให้ นักเรียนต่างศาสนารูส้ กึ แตกต่าง ไม่สามารถเป็นส่วนหนึง่ กับสังคม โรงเรียนแล้ว ยังมีสว่ นท�ำให้นกั เรียนส่วนใหญ่ทนี่ บั ถือศาสนาพุทธ ไม่เห็นแก่นแท้ของหลักธรรมทีจ่ ะใช้ในการด�ำเนินชีวติ เพราะถือว่า การเข้าร่วมพิธกี รรมต่างๆ เป็นเพียงการท�ำเพือ่ แลกคะแนน ไม่ได้ทำ� เพือ่ ให้เข้าถึงแก่นแท้ของหลักธรรมทางศาสนาเพิม่ ขึน้ การเรี ย นรู ้ ศ าสนาผ่ า นพิ ธี ก รรมและการเรี ย นการสอน ในโรงเรียน อาจมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจใน ศาสนา แต่ในปัจจุบัน ได้มีกลุ่มนักเรียนที่ตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับ การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาของโรงเรียน รวมถึงกฎข้อบังคับ ต่ า งๆ จนเกิ ด แฮชแท็ ก อย่ า ง #เกี ย มอุ ด ม #เสนโญ และอื่ น ๆ ที่แพร่หลายไปทั่วโลกออนไลน์ ทั้งยังตั้งค�ำถามกับหลักธรรม หรือ ต�ำนานเหนือธรรมชาติของศาสนาอยู่มากมาย เช่น จริงหรือไม่ ที่พระพุทธเจ้าประสูติแล้วทรงเดินได้เจ็ดก้าว จริงหรือไม่ที่พระเยซู ทรงบังเกิดโดยไม่ผา่ นการมีเพศสัมพันธ์ใดๆ ระหว่างบิดามารดาของ พระองค์ จนเกิดความคิดทีว่ า่ จ�ำเป็นแค่ไหนทีเ่ ราจะต้องกราบไหว้ หรือเชือ่ ถือในความศักดิส์ ทิ ธิข์ องสิง่ ทีพ่ สิ จู น์ไม่ได้ หรือกระทัง่ เริม่ มี ผูป้ ระกาศตนว่าจะไม่นบั ถือศาสนาใดๆ ปรากฏขึน้ เรือ่ ยๆ ส�ำหรับการเลือกไม่นบั ถือศาสนาของเยาวชนไทยนัน้ ศิริภัทร ชืน่ ค้า อาจารย์หวั หน้ากลุม่ วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย (ฝ่ า ยมั ธ ยม) ให้ความเห็นว่า “เราต้องเข้าใจเด็ก เรารูส้ กึ ว่าความเชือ่ เป็นเรือ่ งของ บุคคล เด็กก็เป็นบุคคล เราก็เป็นบุคคล ถ้าเราจะสอนเขา เราต้อง เคารพในความคิดเขา การสอนเรือ่ งศาสนาต้องสอนแบบมีเหตุมผี ล เพราะฉะนัน้ เราเลยสอนให้เขาพิสจู น์ความเชือ่ ของเขาเองก่อนว่า ถ้า เขาจะยื น ยั น ว่ า ตนเองไม่ มี ศ าสนา แล้ ว เขาเข้ า ใจไหมว่ า คนทีม่ ศี าสนาเขาเชือ่ อย่างไร ท�ำไมเขาถึงเชือ่ มีปจั จัยอะไรทีท่ ำ� ให้ ความเชื่อนี้เกิดขึ้น เราจะพูดคุยกับเขาตรงนี้”
อาจารย์ศิริภัทรเสริมว่า การสอนวิชาศาสนานั้น ไม่ได้สอน เพียงเพื่อให้นักเรียนเกิดความเคารพในตัวศาสนา พิธีกรรม หรือ ปาฏิหาริย์ แต่เรียนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจในสิทธิ และเคารพใน การเลือกนับถือศาสนาของผู้อื่นในสังคม นอกจากการเลื อ กนั บ ถื อ ศาสนาของเยาวชนไทยแล้ ว การผูกโยงคุณธรรมที่เยาวชนพึงกระท�ำ รวมเป็นเรื่องเดียวกับ การสอนหลักธรรมทางพุทธศาสนา ก็เป็นข้อสังเกตที่น่าสนใจอีก ประการหนึ่ง ผศ.ดร.ศริญญา อรุณขจรศักดิ์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ปรั ช ญา คณะอั ก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ใ ห้ ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การออกแบบเนื้ อ หาการสอนคุ ณ ธรรม แบบไทยๆ ว่า “แบบเรียนส่วนใหญ่ของไทยจะให้ค�ำแนะน�ำสั่งสอนชัดเจน ว่าคนดีต้องท�ำอะไรบ้าง ถ้าเราอยากเป็นเด็กดี ต้องท�ำตามค�ำ สอนของศาสนาพุทธ หน้าที่ของเด็กดี หน้าที่พลเมืองที่ดีมีกี่ข้อ มันเป็นสูตรส�ำเร็จ เป็นค่านิยม แต่ชีวิตคนเรามันมีเหตุปัจจัย มากกว่านั้น ต่อให้คนคนหนึ่งท�ำดี สุดท้ายก็จะท�ำได้ไม่เหมือน กับข้อที่ก�ำหนดไว้ทุกอย่าง” ผศ.ดร.ศริญญาให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า การเรียนการสอน พุทธศาสนานั้น ผู้เรียนควรได้เรียนรู้พุทธศาสนาในฐานะของ ความเชื่ออย่างหนึ่ง ไม่ได้เรียนเพื่อให้เป็นคนดีผ่านตัวหลักธรรม หรื อ ข้ อ บั ง คั บ ปฏิ บั ติ เ ท่ า นั้ น แต่ ผู ้ เ รี ย นต้ อ งเปิ ด ใจให้ ก ว้ า ง มองสิ่ งที่ เ ป็ น ไปด้ ว ยเหตุ ป ั จ จั ย ที่ ต ่ า งกั น และวิ พ ากษ์ วิจ ารณ์ อย่างมีเหตุผล อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ ผู้เรียนต้องอยู่ ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างสันติ กล่าวคือ ถึงแม้ความ เชื่อที่แตกต่างยังคงมีอยู่ แต่ทุกคนควรเคารพในความเชื่อเหล่า นั้น โดยไม่รุกล�้ำพื้นที่ส่วนตัวของกันและกัน “ผู ้ ใ หญ่ ยั ง คงอยู ่ กั บ ความคิ ด ที่ ว ่ า ทุ ก คนต้ อ งมี ศ าสนา แต่ เ ราว่ า ความส� ำ คั ญ อยู ่ ที่ แ ก่ น ค� ำ สอนของมั น ว่ า อะไรควร ปฏิบัติตาม อะไรควรให้เรายึดเป็นแนวทางของชีวิต มากกว่าจะ เป็นพิธีอะไร ใครต้องกราบไหว้ใคร” วชรรทร์กล่าวส่งท้าย หวังว่าในปีการศึกษาต่อๆ ไป เยาวชนไทยจะเรียนรู้และอยู่ กับความเชื่อทางศาสนาที่หลากหลายได้ โดยไม่ต้องแบ่งแยก ใคร และไม่ต้องถูกบังคับเรียน ทั้งนี้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควร ได้ ท บทวนถึ ง ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ การจั ด การศึ ก ษาที่ เหมาะสมส�ำหรับเยาวชนไทย
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | 3
EDITORIAL / OPINION
กองบรรณาธิการ
หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา : พิชัยวัฒน์ แสงประพาฬ, พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการเนือ้ หา : ไข่มกุ อินทรวิชยั , สุชานาถ กิตติสรุ นิ ทร์ กองบรรณาธิการ : จิตรสินี กิจปกครอง, นที ยืนยงวัฒนากูล, พสิษฐ์ มนัสเพียรเลิศ , อสมาภรณ์ พิริยะโภคานนท์, เอมอัยย์ พลพิทักษ์ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ : เพชรรัตน์ กลิ่นเทศ บรรณาธิการสร้างสรรค์สื่อออนไลน์ : บุญรักษา สาแสง, สาริศา เลิศวัฒนากิจกุล บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์โฆษณา : ผศ.ดร.ณรงค์ ข�ำวิจติ ร์ ที่อยู่ : 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร : 0-2218-2140 Facebook : www.facebook.com/nisitjournal Twitter : @nisitjournal Website : http://nisitjournal.press
บทบรรณาธิการ “กะเหรี่ยงท�ำไร่เลื่อนลอย” “เด็กดีต้องนับถือศาสนา” “เป็นศิษย์ต้องมีครู” สังคมไทยมีวาทกรรมมากมายที่ครอบง�ำความคิดของ คนในสังคม หล่อหลอมว่าความเชื่อเหล่านี้เป็นทั้งหมดของ เรื่องนั้นๆ เป็นสิ่งที่ถูกต้องโดยสมบูรณ์ ส่งผลให้คนไทยยึดติด กับความจริงเพียงด้านเดียว และปฏิเสธการมีอยูข่ องความจริง ในมุมอื่นๆ การส่ ง ต่ อ ชุ ด ความเชื่ อ ดั ง กล่ า วเอื้ อ ต่ อ การก� ำ หนด โครงสร้างทางสังคมที่บิดเบี้ยว เช่น การที่แบบเรียนระดับ มัธยมศึกษาท�ำหน้าที่ถ่ายทอดวาทกรรมที่ท�ำให้คนในสังคม เข้าใจว่ากะเหรี่ยงท�ำไร่เลื่อนลอย ตัดไม้ท�ำลายป่า จนน�ำไปสู่ การสนับสนุนนโยบายทวงคืนผืนป่าจากพวกเขา ซึง่ แท้จริงแล้ว นโยบายนีม้ นี ยั ยะในการลิดรอนสิทธิมนุษยชน เมือ่ รากฐานทาง สังคมคลอนแคลน คนตัวเล็กๆ หรือคนที่คิดต่างไปจากความ เชื่อหลัก ก็ค่อยๆ ถูกขับเบียดให้กลายเป็นคนชายขอบไปใน ที่สุด แม้ ก ระทั่ ง รั ฐ บาลเองที่ ค วรเป็ น สถาบั น ที่ ส นั บ สนุ น ให้ ทุกคนเท่าเทียมกัน ได้รับสิทธิและเสรีภาพตามที่พึงมี ทว่าใน ความจริ ง ผู ้ มี อ� ำ นาจกลั บ เป็ น ฝ่ า ยส่ ง เสริ ม มายาคติ แ ละ ความเชื่ อ (ง)ผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต วาทกรรมเอง อย่ า งการก� ำ หนดค่ า นิ ย มหลั ก ของคนไทย
เราเป็นอะไรก็ได้ แม้ไร้ชื่อเรียก ในยุคทีก่ ารแสดงออกเพือ่ ความเท่าเทียมเป็นประเด็นหลัก ซึง่ ทัง้ โลกก�ำลังให้ความสนใจ หนึง่ ในการเคลือ่ นไหวทีถ่ กู กล่าวถึงและมีผเู้ ข้าร่วมมากมายทัว่ โลก คงหนีไม่พน้ การเรียกร้อง สิทธิเพื่อความเท่าเทียมของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือชาว LGBTQ โดยได้มี การก�ำหนดให้เดือนมิถุนายน เป็นเดือนแห่งความภาคภูมิใจ หรือ Pride Month ของ ชาว LGBTQ มาตั้งแต่ปี 2000 เกือบ 20 ปีผ่านไป ค�ำว่า LGBTQ ยังคงถูกใช้เคลื่อนไหวเชิงการเมืองเพื่อเรียกร้องความ เท่าเทียม แต่ขณะเดียวกัน มันกลับเป็นดาบสองคม เพราะคนอีกมากยังไม่เข้าใจความหมาย ในการต่อรองเชิงอ�ำนาจของค�ำว่า LGBTQ ที่ตั้งใจเป็นขั้วตรงข้ามกับหญิง-ชาย แต่มองว่า LGBTQ คือการนิยามความหลากหลายทางเพศต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย L-Lesbian ผู้ที่มีเพศ สภาพเป็นหญิงและมีความพึงใจกับผู้มีเพศสภาพหญิงด้วยกัน G-Gay ผู้ที่มีเพศสภาพเป็น ชายและมีความพึงใจกับผู้มีเพศสภาพชายด้วยกัน B-Bisexual ผู้ที่มีรสนิยมทางเพศกับผู้ที่ มีเพศสภาพทั้งชายและหญิง T-Transgender หรือ T-Transsexual ผู้ที่ท�ำการผ่าตัดเพื่อให้ มีเพศสภาพที่ตรงกับรสนิยมและความรู้สึกภายในใจ ทั้งหมดนี้ ท�ำให้การมีอยู่ของค�ำว่า LGBTQ กลายเป็นการกดดันให้เกิดความรู้สึกต้องการมีค�ำเรียกขานตน และหลายครั้งก็ไม่ แน่ใจว่าตนเองอยู่ในกลุ่มที่นิยามว่าเป็น LGBTQ หรือไม่ นั่นคืออีกความหมายที่ซ่อนอยู่ของ Q ที่พ่วงท้ายใน LGBTQ ตัวอักษร Q นอกจากจะ หมายถึง Queer อันได้แก่ผู้ท่ีไม่ต้องการจ�ำกัดความรสนิยมทางเพศของตนด้วยเพศใดเพศ หนึง่ แล้ว ยังหมายถึง Questioning หรือกลุม่ ผูท้ ยี่ งั ค้นหาและไม่มนั่ ใจในรสนิยมและลักษณะ ทางเพศของตน ส่งผลให้ไม่กล้าที่จะนิยามรสนิยมทางเพศด้วยค�ำนิยามใดๆ ที่มี แม้แต่กลุ่มคนที่ยังไม่แน่ใจในการนิยามตนเองก็ยังมีค�ำนิยาม เหมือนกับมีกล่องที่แปะ ป้ายชื่อด้วยค�ำนิยามและพยายามบรรจุเขาเหล่านั้นลงไป นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ หัวหน้ากลุ่ม งานวิจยั และพัฒนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร กล่าวว่า ไม่มที างทีเ่ ราจะสามารถนิยามคนใน ทุกลักษณะรสนิยมหรือพฤติกรรมได้หมด เพราะมนุษย์ทกุ คนล้วนมีลกั ษณะพฤติกรรมทีต่ า่ ง กัน ต่อให้สร้างกล่องขึน้ มาเพือ่ นิยาม มนุษย์กส็ ามารถกระโดดหนีออกนอกกล่องได้อยูต่ ลอด แต่กล่องเหล่านั้นก็หาได้ไร้ประโยชน์ หรือเป็นสิ่งที่แย่เสียทีเดียว หลายครั้งการมีกล่อง นิยามก็เป็นเหมือนการสร้างความอุน่ ใจทีไ่ ด้มตี วั ตน การอยูใ่ นกล่องยังเป็นการรวบรวมคนที่ มีลักษณะร่วมให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม เพื่อท�ำกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน แชร์ประสบการณ์บาง
12 ประการให้กับสังคม ซึ่งรัฐบาลคสช.เผยแพร่ออกมาในปี พ.ศ.2557 ค�ำถามคือ รัฐใช้มาตรฐานอะไรก�ำหนดว่าสิง่ ใดควร เป็นค่านิยมที่คนในสังคมต้องยึดถือ หากเราไม่ปฏิบัติตาม ค่านิยมที่รัฐก�ำหนดมา เช่น การนับถือศาสนา หรือการใช้ชีวิต อย่างพอเพียง นั่นแปลว่าเราไม่เป็นคนดี? หรือแท้จริงแล้ว คนดี ต ามความหมายของรั ฐ คื อ การปฏิ บั ติ ต นเพื่ อ เอื้ อ ต่ อ เสถียรภาพของรัฐ โดยไม่ค�ำนึงถึงความส�ำคัญของสิทธิและ เสรีภาพในการแสดงออกส่วนบุคคล จึงอาจกล่าวได้วา่ รัฐบาล คือส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นการลิดรอนสิทธิของคนทีเ่ ห็นต่าง ในสังคม กองบรรณาธิการ “นิสิตนักศึกษา” เห็นว่าเราไม่ควรยึดติด กับวาทกรรมใด และตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการตัง้ ค�ำถาม กับหลากหลายความเชื่อในสังคม เพราะหากเรายินยอมให้ วาทกรรมท�ำงานส�ำเร็จ ครอบง�ำการมองเห็นความจริงของเรา ได้ นั่นหมายถึงว่าเราก�ำลังปล่อยให้รัฐใช้เราเป็นเครื่องมือ ลิดรอนความหลากหลายของมนุษย์ อันจะน�ำไปสู่การลิดรอน สิทธิและเสรีภาพ ซึ่งไม่มีผู้ใดที่สมควรตกเป็นเครื่องมือของรัฐ ทีม่ องไม่เห็นนี้ ตามทีป่ ฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนกล่าว ไว้ว่า “มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ และไม่มีรัฐ กลุ่มคน หรือบุคคลใดที่มีสิทธิด�ำเนิน กิจกรรม หรือการกระท�ำอันมุง่ ต่อการท�ำลายสิทธิและอิสรภาพ”
เรื่อง : นที ยืนยงวัฒนากูล
อย่างร่วมกัน และ เคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องอะไรบางอย่าง เหมือนที่กล่องของ LGBTQ ถูกใช้ เพื่อเรียกร้องความเท่าเทียม เรียกร้องการแก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม การนิยามค�ำขึน้ มาบ่งชีร้ สนิยมทางเพศ มีฐานคิดแบบ Binary Opposition ทีม่ องทุกอย่าง แบบมีขั้วตรงข้ามเสมอ เช่น ทุกคนต้องอยู่ภายใต้ข้อจ�ำกัดว่าเป็นเพศใด หญิงหรือชาย รุกหรือรับ ทอมหรือดี้ แต่หากพิจารณาในอีกแง่รสนิยมหรือลักษณะพฤติกรรมทางเพศนัน้ เป็น สิง่ ทีล่ นื่ ไหลและสามารถมีเพิม่ ได้เรือ่ ย ๆ ไม่สนิ้ สุด และยากเกินกว่าจะนิยามให้ครอบคลุมได้ ภายหลังจึงเกิดแนวคิดแบบ Non-Binary ซึง่ เป็นการปฏิเสธแนวคิดข้างต้น โดยเชือ่ ว่าทุกคน ล้วนแตกต่างและไม่จำ� เป็นทีจ่ ะต้องมีคำ� นิยามในรสนิยมทางเพศก็ได้ หากเรามองรสนิยมทาง เพศตามแนวคิดแบบ Non-Binary แล้ว ก็จะไม่มีค�ำอย่าง Questioning ที่เป็นผลของ ความกดดันจากแนวคิดที่ว่าทุกคนต้องมีค�ำนิยามในการเรียกรสนิยมทางเพศไม่อย่างใดก็ อย่างหนึง่ นฤพนธ์ยงั กล่าวอีกว่า ในช่วงชีวติ ของคนหนึง่ คนสามารถกระโดดข้ามกล่องทีใ่ ช้เรียกเพศ ได้ตลอดเวลา การมีกล่องเป็นเพียงเครื่องมือที่มีนัยทางการเมืองเพื่อใช้ต่อรองกับสังคม แต่ เมื่อออกจากการต่อรองนั้น ๆ เราสามารถที่จะจัดการกับการอยู่ในกล่องหรือนอกกล่องได้ เสมอตามความต้องการ เช่น ในบางเวลาอยูใ่ นกล่องของ LGBTQ เพือ่ การเรียกร้องกฎหมาย ความเท่าเทียม แต่ไม่ได้จ�ำเป็นเลยว่าเมื่อจบจากการเคลื่อนไหวนั้นแล้วเราจะต้องอยู่ใน กล่องนั้นตลอดไป หมายความว่าเราต่างไม่จ�ำเป็นที่จะต้องกังวลหรือกดดันตัวเองในการนิยามมากนัก เพียงรู้เท่าทันการมีอยู่ รู้ประโยชน์จากการท�ำงานของกล่อง และไม่ตึงเครียดกับกล่องเหล่า นั้นมากเกินไป เพราะแม้เราจะพยายามนิยามรสนิยมทางเพศของตัวเองในตอนนี้ให้ชัดเจน เพียงใด ก็ไม่แน่วา่ ในปีหน้า เดือนหน้า วันหน้า หรืออาจจะในอีกไม่กชี่ วั่ โมงข้างหน้าเราจะยัง มี ร สนิ ย มแบบเดิ ม อยู ่ ห รื อ ไม่ เพราะรสนิ ย มนั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ลื่ น ไหล ดั ง ที่ น ฤพนธ์ ก ล่ า วว่ า เราสามารถจัดการและประนีประนอมกับกล่องได้ตลอดเวลา กล่องหรือค�ำนิยามเป็นเพียงสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยมนุษย์เพื่อจุดประสงค์บางอย่าง อย่าให้ผลผลิตเหล่านั้นมาครอบง�ำ และก�ำหนดความต้องการหรือรสนิยมในชีวิตที่เต็มไป ด้วยความซับซ้อน หลากหลาย และลื่นไหล “เพราะสุดท้ายแล้วเราจะเป็นอะไรก็ได้ โดยไม่ต้องมีชื่อเรียก”
4
| ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
SOCIAL ISSUE
เรื่อง-ภาพ : นที ยืนยงวัฒนากูล
ช่างซ่อมรองเท้า : พื้นที่เล็กๆ ที่ไม่อาจครอบครอง เปลี่ยนมาใช้มาตรการจัดระเบียบทางเท้าที่ เต็ ม วั น วั น ที่ เ หลื อ สมศั ก ดิ์ ก็ ใ ส่ เ สื้ อ วิ น รั บ ผู ้ เข้ ม ข้ น ก็ ท� ำ ให้ พ ่ อ ค้ า แม่ ข ายอั น รวมถึ ง ตั ว โดยสารทั้งช่วงเช้าและเย็นหลังปิดร้าน สมศั ก ดิ์ เ ดื อ ดร้ อ นเพราะไม่ ส ามารถหา ฤดู ฝ นจึ ง ถู กสมศั กดิ์ เดี ยดฉั นท์ เป็ นที่ สุ ด เลี้ยงชีพได้ หากอยากท�ำอาชีพค้าขายเหมือน เพราะรถมอเตอร์ไซค์ก็วิ่งไม่ได้ ร้านรองเท้าก็ เดิมก็ต้องไปหาพื้นที่ซึ่งอยู่ไกลบ้านมากขึ้น ต้องปิด ซ�้ำบางครั้งก็ต้องหลบตัวเองอยู่ใต้ร่ม “อยู่ตรงนี้ต้องเสียค่าปรับ ถ้าเขามาเก็บก็ ตึกใกล้ๆ เพราะร่มสนามไม่อาจกันฝนที่สาด ร้านของสมศักดิ์ตั้งอยู่ตรงข้ามกับปากซอย ต้องให้ ครั้งละ 500 แต่ก็ต้องยอมเพราะอยาก แรงได้ พอค้าขายไม่ได้ก็ยิ่งขาดแคลนรายได้ แห่งหนึ่งบนถนนบรรทัดทอง เป็นซุ้มเล็กๆ มี มีที่ท�ำมาหากิน” เข้าไปอีก ตู้เหล็กสีแดงเก่าๆ สนิมเขรอะ ติดล้อข้างใต้ ขนาดกว้างไม่ถึงครึ่งเมตร และสูงไม่ถึงเมตร ไว้ใส่อุปกรณ์ในการซ่อม รอบๆ ตู้ก็แปะด้วย “ที่เลือกตรงนี้เพราะมันไม่ใช่ถนนสายหลัก ผู้ใหญ่ไม่ สติกเกอร์ตัวเลขแสดงเวลาเปิด-ปิดร้านและ ค่อยผ่าน เทศกิจเลยอะลุ่มอล่วยไม่ได้ไล่ไปไหน เก็บแต่ เบอร์โทรศัพท์ ทั้งหมดอยู่ภายใต้รัศมี 40 นิ้ว ค่าปรับ เรารู้ว่าเขาเอาเปรียบเรา แต่เราไม่คิดอย่างนั้น ของร่มสนามสีเขียวเข้มที่ใช้กางเพื่อกันแดด เราคิดว่าเขากำ�ลังช่วยเรา” เมื่ อ มองจากปากซอยฝั ่ ง ตรงข้ า ม ร้ า นของ สมศักดิ์ พานไชย สมศักดิ์ช่างดูเล็กจ้อยจนแทบจะมองไม่เห็น จึงมีค�ำถามเกิดขึ้นว่า ท�ำไมสมศักดิ์จึงเลือก ทุ ก วั น นี้ ส มศั ก ดิ์ ต ้ อ งแวะซื้ อ ข้ า วกล่ อ งที่ “จากสมัยก่อนก็ขายของหน้าบ้าน แต่โดน มาเปิดร้านในหลืบตึกริมถนนสายรองเช่นนี้? ตลาดข้างโลตัสพระรามหนึ่งวันละสองกล่อง เขาไล่ตอนประมาณปี 2518 ตอนนั้นอายุ 11 เมื่ อ แรกที่ เ ข้ า ไปคุ ย สมศั ก ดิ์ มี น�้ ำ เสี ย ง เพราะตอนกลางวันจะได้ไม่ต้องออกห่างจาก ขวบ เขาจะสร้างเป็นศูนย์การค้ามาบุญครอง ห้วนแปร่งราวกับไม่อยากจะเสวนากับใครที่ ร้าน จะเข้าห้องน�้ำทีก็ต้องรีบขับมอเตอร์ไซค์ เลยต้องไปหาที่อยู่ใหม่ แต่พระโขนงที่ย้ายไป ไม่ใช่ลูกค้า แต่เมื่อคุยไปสักพักก็เหมือนจะสบ ไปปั๊มน�้ำมันละแวกถนนพระรามหนึ่ง เพราะ ก็ไม่มีลูกค้า” สมศักดิ์ตัดพ้อถึงโชคชะตาแต่ โอกาสที่จะได้ระบายเรื่องคับข้องใจออกมาให้ กลั ว ว่ า ร้ า นจะไม่ ป ลอดภั ย การเปิ ด ร้ า น หนหลัง พอบรรเทา เราจึงได้รู้ว่า เขาไม่ได้เลือกที่จะมา ริมถนนโดยไม่มีขอบเขตมั่นคงเป็นของตัวเอง ส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น จุ ฬ าฯ ตั ด สิ น ใจ เปิดร้านอยู่ที่นี่ด้วยความต้องการของตนเอง ท�ำให้สมศักดิ์ไม่สามารถปิดล็อกประตูตอนไม่ เปลี่ ย นพื้ น ที่ ชุ ม ชนเป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ผู ้ ค นใน แต่เพราะถูกบังคับให้เลือกจากการ “ไม่มที ที่ าง อยู่ หรือเข้าห้องน�้ำในร้านของตนได้เหมือน ชุมชนเก่าที่เคยอยู่อาศัยจึงต้องหาที่อยู่อาศัย เป็นของตัวเอง” สมศักดิ์บอกเช่นนั้น เจ้าของกิจการอื่นๆ ใหม่ ทั้ ง หมด สมศั ก ดิ์ เ องก็ เ ป็ น หนึ่ ง ใน “ก่ อ นหน้ า นี้ ข ายอยู ่ ห น้ า แว่ น ท็ อ ปเจริ ญ “ที่ เ ลื อ กตรงนี้ เ พราะมั น ไม่ ใ ช่ ถ นนสาย ครอบครั ว ที่ ถู ก บั ง คั บ ให้ ย ้ า ยออก แม้ ท าง ตรงข้ามมาบุญครอง แต่ก็โดนไล่ตั้งแต่หลังเขา หลักผู้ใหญ่ไม่ค่อยผ่าน เทศกิจเลยอะลุ่มอล่วย ส�ำนักงานทรัพย์สินจุฬาฯ จะยื่นข้อเสนอพื้นที่ รัฐประหารนั่นแหละ เขาเรียกว่า จัดระเบียบ ไม่ ไ ด้ ไ ล่ ไ ปไหน เก็ บ แต่ ค ่ า ปรั บ เรารู ้ ว ่ า เขา ละแวกวัดเทพลีลา แต่สมศักดิ์บอกว่าในช่วง ทางเท้า” เอาเปรียบเรา แต่เราไม่คิดอย่างนั้น เราคิดว่า เวลานั้ น วั ด เทพลี ล ายั ง เป็ น ย่ า นที่ มี ป ั ญ หา สมศักดิ์พูดเชิงประชดให้กับชื่อมาตรการ เขาก�ำลังช่วยเรา” ยาเสพติดชุกชุม ครอบครัวจึงตัดสินใจเลือก ที่ออกมาหลังช่วงรัฐประหาร ซึ่งส่งผลให้เขา สมศักดิ์เล่าว่าไม่เคยมีความต้องการที่จะ ย้ายไปอยู่แถวพระโขนงแทน ต้องหาที่ทางท�ำกินใหม่ เทศกิจไล่จัดระเบียบ มาอยู่ตรงนี้ หากสามารถท�ำมาค้าขายได้ปกติ “มีทั้ง โดนไล่ ทั้งไปเป็ นทหาร ทั้งเข้าคุก จนเขาต้ อ งย้ า ยมาอยู ่ บ นถนนบรรทั ด ทอง มีเงินพอเลี้ยงชีพก็ไม่อยากท�ำอะไรที่ละเมิด กลับออกมาก็ต้องย้ายอีก จนตอนนี้ก็เช่าบ้าน และเมื่ อ ถามถึ ง ทางเลื อ กที่ รั ฐ บาลมี ใ ห้ กฎหมาย เขาบอกว่าไม่มีใครอยากท�ำผิดแต่ก็ เขาอยู่” สมศักดิ์เล่าถึงชีวิตที่ระหกระเหินของ สมศักดิ์ก็ตอบอย่างหงอยๆ แต่ยังเสียงดังฟัง ต้องเอาตัวรอด ท�ำอาชีพนี้ก็ยังไม่พอที่จะเลี้ยง ตนอย่างคิดถึง ชัดว่า ที่ที่รัฐบาลจัดให้นั้นมีราคาแพง อีกทั้ง ครอบครั ว สมศั ก ดิ์ ต ้ อ งประกอบอาชี พ ปัจจุบันสมศักดิ์อาศัยอยู่ในบ้านเช่ากับ ยังไม่มีลูกค้าเหมือนที่เก่า ท�ำให้สู้ค่าเช่าไม่ วินมอเตอร์ไซค์ควบคู่ไปด้วยเพื่อเป็นรายได้ ครอบครัวละแวกประดิพัทธ์ จนแล้วจนรอด ไหว รัฐบาลก่อนเคยจัดจุดผ่อนผันให้ซึ่งแบบ อี ก ทาง จึ ง เป็ น เหตุ ใ ห้ ทุ ก วั น จั น ทร์ เ ขาจะไม่ สมศั ก ดิ์ ก็ ยั ง ไม่ เ คยมี ที่ ข องตั ว เองจริ ง ๆ เมื่ อ นั้นช่วยแก้ปัญหาได้มากกว่า แต่หลังจากที่ เปิ ด ร้ า น เพราะจะไปเป็ น วิ น มอเตอร์ ไ ซค์ ถามถึ ง โครงการบ้ า นเอื้ อ อาทร หนึ่ ง ใน “อยากมีบ้านเป็นของตัวเองไม่ต้อง ใหญ่ แค่เป็นของตัวเองจริง ๆ แต่มันก็ เป็นไปได้ยาก บ้านเอื้ออาทรก็ใช่ว่าจะซื้อ กันได้ง่ายๆ” สมศักดิ์ พานไชย ช่างซ่อม รองเท้ า ริ ม ถนนบรรทั ด ทองวั ย 55 ปี พูดด้วยน�้ำเสียงห้วนๆ อย่างหมดหวัง
นโยบายของรัฐที่เอื้ออ�ำนวยสวัสดิการพื้นฐาน ให้กับประชาชน สมศักดิ์ก็จะบอกว่า ต้องเป็น คนที่ มี เ ส้ น ถึ ง จะได้ ซื้ อ ไม่ ใ ช่ ว ่ า จะซื้ อ กั น ได้ ง่ายๆ แม้จะเป็นสวัสดิการที่เป็นนโยบายรัฐ แต่กลับไม่สามารถช่วยเหลือเจือจุนผูข้ าดแคลน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมศักดิ์มองว่าไม่มีใครสนใจคนจนอย่าง เขาหรอก รัฐก็เชื่อแต่นักวิชาการ แต่ไม่เคยมา ถามมาดูชีวิตเราจริงๆ ทั้งเรื่องที่อยู่อาศัยและ ที่ท�ำกิน แค่เส้นทางใหญ่ๆ มันสะอาดตาเขาก็ พอใจแล้ว “อาจจะฟังดูแปลกนะ แต่เราคิดว่าขนาด ต่างชาติอย่างจีนอย่างแขกยังมาท�ำมาหากิน แถวนี้ได้ ท�ำไมในที่ของเราเองที่โตมาถึงจะท�ำ มาหากินไม่ได้” นี่คือเหตุผลที่สมศักดิ์กลับมาสู้ละแวกนี้ ตลอด แม้ว่าประเทศนี้ไม่เคยให้ที่ทางกับชาย สูงวัยอย่างแท้จริงแต่เขาก็ยังมองว่า ที่นี่เป็น เหมื อ นที่ ข องเขา ยั ง อยากกลั บ มาประกอบ อาชีพในที่ที่เขาได้เติบโตมา น่ า สนใจเมื่ อ คิ ด ว่ า ทั้ ง สองอาชี พ ของ สมศักดิ์ ล้วนเกี่ยวกับการเดินทาง ทั้งเป็นวิน รับส่งคนด้วยมอเตอร์ไซค์ และรับซ่อมรองเท้า ให้คนเดินต่อไปได้อย่างสะดวก แต่ตัวสมศักดิ์ เองกลั บ ติ ด หล่ ม ของสารพั ด ปั ญ หา ไม่ อ าจ เดินทางออกจากความอับจนได้เลย เรื่องความฝันที่จะได้มีที่ทางของตัวเองคง ไกลเกินส�ำหรับสมศักดิ์ แต่หากขอได้ อยาก ให้มีอะไรที่ซุ้มริมถนนบรรทัดทองแห่งนี้ เขาก็ บอกว่ า ต้ อ งการห้ อ งน�้ ำ หรื อ อย่ า งน้ อ ยถ้ า ทางการอนุญาตให้ขายอย่างถูกต้อง ตั้งเป็น จุดผ่อนผัน ไม่มาปรับกัน สมศักดิ์จะได้อุ่นใจ และรู้สึกว่าที่นี่เป็นที่ท�ำกินอันสุจริตของเขา สักที สุดท้ายแล้วสมศักดิ์ก็ไม่ได้ต้องการอะไร ไปมากกว่ า โอกาสและการมองเห็ น ปั ญ หา จากผู้มีส่วนรับผิดชอบในบ้านเมืองนี้ทั้งหลาย แม้สมศักดิ์เองจะเป็นจุดเล็กๆ ที่อยู่ต�่ำต้อย และไม่เคยมีใครตั้งใจมองเลยก็ตาม
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | 5
SOCIAL ISSUE
รับรู้อย่างเข้าใจ... ใคร คือ ใครสำ�หรับคนพิเศษ เรื่อง-ภาพ : จิตรสินี กิจปกครอง
เด็ ก ชายอายุ ร าว 18 ปี ค่ อ ยปั ้ น ค่อยบรรจงนวดก้อนดิน แล้วพิถีพิถัน กับมันจนเป็นแผ่น คือภาพของน้องภูริ ผู ้ ก�ำลั ง ใจจดใจจ่ อ กั บ การปั ้ น ภาชนะ ดินเผาของเขา
เขาหยิบไม้แกะสลักมาเติมแต่งลวดลาย บนแผ่นดินเหนียว และมองดูภาพตัวอย่างอยู่ สักระยะ ก่อนจะเริ่มวาดลวดลายผลไม้แต่ละ ชนิดลงบนพื้นผิวภาชนะนั้น “ภู ริ เราก� ำ ลั ง วาดผลไม้ อ ะไรอยู ่ ค รั บ ” คุณครูถามเขา “ผม...ผมก�ำลังวาดแครอท...อยู่ครับ” ภูริ พยายามตอบอย่างชัดถ้อยชัดค�ำ “ภู ริ เราก� ำ ลั ง วาดผลไม้ อ ะไรอยู ่ ค รั บ ” คุณครูถามซ�้ำอีกเป็นครั้งที่สอง เขานิ่งคิด ก่อนจะตอบกลับไปว่า “ผม...ผม ก�ำลังวาดแครอท...อยู่ครับ” คุ ณ ครู ท วนค� ำ ถามเดิ ม ต่ อ เป็ น ครั้ ง ที่ ส าม บทสนทนาของพวกเขาดู เ หมื อ นเต็ ม ไปด้ ว ย ความอึดอัด แต่ใบหน้าของครูกลับเต็มไปด้วย รอยยิ้ม ผู้ถามตั้งตารอค�ำตอบโดยปราศจาก การคาดคั้น เพราะรู้ว่าค�ำตอบในแต่ละครั้งที่ ภูริให้ ยังคงเป็นค�ำพูดเดิม แต่สิ่งที่ครูตั้งตารอจะ ได้ ยิ น คื อ ความคาดหวั ง ว่ า จะเห็ น เด็ ก พิ เ ศษ คนหนึ่งมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีขึ้น และนี่คือส่วนหนึ่ง ของวิชาศิลปะบูรณาการ ++ ครู คือ ผู้เรียนรู้ “ศิลปะบูรณาการคือการเรียนศิลปะที่เปิด ให้ ผู ้ เ รี ย นได้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ อะไรที่ น� ำ ไปสู ่ การเรี ย นรู ้ ที่ มี มิ ติ ลึ ก ซึ้ ง มากเพี ย งพอ มั น จะมี การเยียวยาและการบ�ำบัดอยู่ในตัวของมัน เรา พยายามท� ำ ให้ เ ขาท� ำ ได้ ด ้ ว ยตั ว เอง เริ่ ม จาก เรื่องเล็กๆ เพียงเรารับฟัง และค่อยเป็นค่อยไป พร้อมกับเขา” สุ ริ ศ รา บั ว นิ ล หรือ ครู อ ้ อ ม หัวหน้าฝ่ายศิลปะและครูประจ�ำชั้นพิเศษ (คละ มัธยม) โรงเรียนรุ่งอรุณบอกเล่า ครู อ ้ อ มเล่ า อย่ า งเปิ ด ใจถึ ง กระบวนการ ถ่ายทอดทักษะความรู้แก่เด็กพิเศษว่า การที่เรา ต้องอยู่กับมนุษย์คนหนึ่งนั้นไม่ได้ใช้ทักษะอะไร เกินเลยไปกว่าการใช้ชีวิตตามปกติ แต่สิ่งที่เรา ต้องเพิ่มเติมให้แก่เด็กพิเศษคือ การใช้ความ ลึกซึ้งผ่านมิติด้านความรัก ความเอาใจใส่ และ การอยูร่ ว่ มกัน เพราะเด็กพิเศษคือ เด็กทีต่ อ้ งการ การดูแลช่วยเหลือ บ�ำบัดฟื้นฟู และให้การเรียน การสอนที่เหมาะสมกับลักษณะความจ�ำเป็น และความต้องการของเด็กแต่ละคน “เวลาเด็กพิเศษพูดอะไรออกมา เขามักจะ พู ด ตามความเคยชิ น ที่ เ ขาจ� ำ ได้ ” ครู อ ้ อ ม ขยายความ เวลาล่ ว งเลยไปสองชั่ ว โมง แต่สายตาอันแน่วแน่ของภูริยังคงจดจ่ออยู่กับ ปลายแหลมของไม้แกะสลัก
“หลายครั้ ง เด็ ก ไม่ เ ข้ า ใจที่ ค รู ถ าม เราจึ ง ต้ อ งพาเขาลงมื อ ท� ำ ใช้ เ วลาคลุ ก คลี กั บ เขา ชี้ให้เห็นภาพไปทีละเล็กละน้อย เพราะเขาจะ จดจ�ำมันได้ สิ่งที่ครูท�ำได้เมื่อเราอยู่กับเขา คือ พยายามค้นหาศักยภาพในตัวเด็ก เพื่อน�ำพา พวกเขาไปสู ่ เ ป้ า หมายในอนาคต การจั ด การเรี ย นการสอนก็ ต ้ อ งเปิ ด โอกาสให้ เ ขาได้ อธิบายความคิด ความเข้าใจ และความรู้สึก ของเขาควบคู่ไปด้วย เริ่มต้นจากค�ำตอบสั้นๆ เช่น ชอบ หรือ ไม่ชอบ แล้วอะไรคือสิ่งที่พวก เขาท�ำแล้วมีความสุข” ครูอ้อมเอ่ยต่อ เมื่ อ พู ด ถึ ง การศึ ก ษาที่ เ หมาะสมกั บ เด็ ก พิ เ ศษ ครู อ ้ อ มเล่ า ในฐานะครู ศิ ล ปะผู ้ มี ประสบการณ์ ส อนกว่ า 17 ปี ว ่ า การศึ ก ษา ที่แท้จริงคือการเปิดให้เด็กเข้าไปเรียนรู้ ขณะที่ ตัวครูทุกคนก็ต้องเป็นผู้เรียนรู้อยู่เสมอ ไม่ใช่ แค่เฉพาะครูการศึกษาพิเศษ ซึ่งครูการศึกษา พิ เ ศษในที่ นี้ หมายถึ ง ครู ที่ ดู แ ลและสอน บทเรียน รวมไปถึงทักษะการใช้ชีวิตให้แก่เด็ก พิเศษ “ครู จ� ำ เป็ น ต้ อ งเข้ า ใจและเรี ย นรู ้ ว ่ า เด็ ก แต่ ล ะคนเป็ น อย่ า งไร จึ ง จะสามารถเป็ น กัลยาณมิตรที่ดีแก่เด็กได้ เป็นแบบอย่าง และ สอนเรื่องที่ยากให้เด็กเข้าใจได้โดยง่าย มันควร เป็ น หน้ า ที่ ข องครู ทุ ก คนที่ ส ามารถแนะแนว เด็กได้ ไม่ว่าเด็กปกติหรือเด็กพิเศษ” ทั้งนี้ ครูอ้อมยังเชื่อว่า วุฒิการศึกษาของครู ไม่ส�ำคัญเท่ากับความสนใจที่ครูคนหนึ่งอยาก จะเข้ามาขับเคลื่อนให้การศึกษาเดินหน้าต่อ ครูอ้อมเสริมว่า การจะน�ำพาเด็กไปสู่เป้าหมาย อาชีพ เพื่อให้เขามีชีวิตอยู่ได้อย่างภาคภูมิใจ จะต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ จากหลายฝ่ า ย โดยเฉพาะจุดเริ่มต้นที่พ่อแม่ผู้ปกครอง “ผู ้ ป กครองต้ อ งเปิ ด มุ ม มองในการสร้ า ง อาชี พ ให้ กั บ ลู ก ว่ า งานที่ เ ขาจะท� ำ ในอนาคต ต้องเป็นงานที่เปิดให้เขาพึ่งพาตนเองได้ ไม่ใช่ พึ่งพาคนอื่น” ครูอ้อมกล่าว ++ ครอบครัว คือ จุดเริ่มต้น “แทนที่ จ ะคิ ด ว่ า ลู ก เราโชคร้ า ยที่ เ ป็ น ออทิสติก เราต้องคิดว่า เขาโชคดีที่เกิดมาเป็น ลูกของเรา เพราะเราจะสามารถช่วยเขาได้มาก ที่สุด” คุณแม่น้องฟาง (นามสมมติ) ผู้มีลูกเป็น เด็กออทิสติก พูดคุยอย่างเป็นมิตร คุณแม่เล่าว่า แม้ตนจะมีลูกเป็นเด็กพิเศษ แต่เธอเชื่อว่า ฟางเป็นเด็กที่น่ารักไม่ต่างจาก เด็กคนอื่นๆ เพราะด้วยวิธีคิด หรือจินตนาการ ที่พิเศษกว่าเด็กทั่วไป ซึ่งคุณแม่ยืนหยัดเสมอ ว่ า สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ ความหวั ง ความเข้ า ใจ และการยอมรับความจริง
น้องภูริ นักเรียนออทิสติกก�ำลังนวดดินเหนียว ส�ำหรับปั้นภาชนะดินเผา ในวิชาศิลปะบูรณาการ
“เขาเป็นเด็กน่ารักที่พร้อมจะท�ำให้เรายิ้ม ตลอดเวลา แต่ พ ่ อ แม่ จ ะต้ อ งเปิ ด ใจยอมรั บ ชื่นชมในสิ่งที่เขาเป็น ไม่กดดันหรือบังคับให้เขา เป็ น ในสิ่ ง ที่ เ ขาเป็ น ไม่ ไ ด้ ทุ ก ทางตั น ยั ง มี ทางออก ขอแค่ อ ย่ า หมดหวั ง ถ้ า เราช่ ว ยเขา เต็ ม ที่ เขาจะพั ฒ นาตั ว เองได้ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ เท่าที่จะเป็นไปได้” สิ่งที่ผู้ปกครองเด็กพิเศษคาดหวังต่อไปใน อนาคต คือความต้องการให้พวกเขาอยู่ร่วมกับ ผู ้ อื่ น ในสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข และค้ น พบ พรสวรรค์ หรื อ ความถนั ด ที่ จ ะสามารถสร้ า ง อาชีพระยะยาวให้แก่พวกเขาได้ “ความรัก ความอดทน และความตั้งใจไม่ เกินความสามารถที่พ่อแม่จะมีให้แก่ลูก การได้ เห็นลูกมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แม้ต้องใช้เวลา แต่ มันก็คุ้มค่าที่เราได้มอบความสุขในฐานะพ่อแม่ ที่อยากเป็นผู้ให้” คุณแม่น้องแฟง (นามสมมติ) ผู้มีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมพูดเสริม การให้เวลาดูแลเอาใจใส่ และแสดงออก ให้เขารับรู้ว่า เขายังคงเป็นที่รักในสายตาของ พ่อแม่ผู้พร้อมจะอยู่เคียงข้างเขาเสมอ นับเป็น อีกปัจจัยส�ำคัญที่คุณแม่น้องแฟงต้องการฝาก ความตั้งใจถึงพ่อแม่ทุกคนที่มีลูกเป็นเด็กพิเศษ ++ สื่อ คือ ผู้ขยายต่อ “เด็ ก วั ย รุ ่ น ชายคนหนึ่ ง เข้ า มาจั บ เส้ น ผม ผู ้ หญิ งบนรถเมล์ เธอตกใจกลั ว ว่ า เด็ ก คนนั้ น จะมาท� ำ อะไรเธอ แต่ เ มื่ อ เห็ น ว่ า เขาสวมเสื้ อ มูลนิธิออทิสติกไทย เธอเข้าใจ เขาเพียงแค่ชอบ ผู ้ ห ญิ ง ผมยาว แต่ เ ธอเป็ น กั ง วลว่ า ถ้ า หาก เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นกับบุคคลอื่นที่ไม่เข้าใจสิ่งที่ เขาเป็น เด็กพิเศษจะถูกตีตราว่าพวกเขาเป็น คนผิ ด ปกติ ” ชู ศั ก ดิ์ จั น ทยานนท์ ประธาน มูลนิธิออทิสติกไทย เปิดใจคุยถึงสถานการณ์ การใช้ชีวิตของเด็กพิเศษในสังคม “หากมีลูกเป็นเด็กพิเศษ เราอย่าได้ปล่อย ให้ เ ขาไปไหนมาไหนเพี ย งล� ำ พั ง แต่ เ ราต้ อ ง
พยายามสอนทักษะชีวิตให้เขาพร้อมที่จะอยู่ ร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น ในสั ง คม หากเราปล่ อ ยเขาไป ก็เท่ากับว่าเราก�ำลังพยายามท�ำร้ายสังคม และ ท�ำร้ายลูกของเราเอง” ชูศักดิ์เล่าต่อว่า มูลนิธิพยายามสร้างการ รับรู้ในเรื่องนี้มาหลายปี โดยในปี 2562 นับเป็น ปีที่ 9 แต่ก็ประสบความส�ำเร็จเพียงระดับเดียว “สิ่งที่เราท�ำให้สังคมรับรู้ได้ คือการสร้าง เวที ใ ห้ เ ด็ ก พิ เ ศษออกมาแสดงศั ก ยภาพ ขายสินค้า หรือผลิตภัณฑ์จากฝีมือเด็ก ซึ่งเรา พบว่าผู้ปกครองเปลี่ยนความคิดมากขึ้น แต่ใน เชิงปริมาณ เราเข้าถึงคนได้แค่หลักพัน จ�ำนวน คนที่ปรับเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อพวกเขาจึงยังมี จ�ำนวนน้อยนัก เรายังขาดแคลนสื่อที่จะช่วย ขยายผล” ชูศักดิ์กล่าวเสริมว่า ละครเพียงไม่กี่ตอนก็ สามารถปรับเปลี่ยนวิธีคิดของคนในสังคมได้ เ ช ่ น ล ะ ค ร เ รื่ อ ง วั ย แ ส บ ส า แ ห ร ก ข า ด ที่ ส ะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ แ ละลั ก ษณะ อาการของเด็ ก ออทิ ส ติ ก ซึ่ ง เปิ ด มุ ม มองให้ คนในสังคมรับรู้และเข้าใจพวกเขามากขึ้น “หากสังคมมีสื่อสร้างสรรค์เข้ามาช่วยใน ส่วนนี้ มันจะเป็นกลไกทีช่ ว่ ยปรับเปลีย่ นทัศนคติ ของคนในสังคมว่า It’s ok to be different (ไม่มี ปัญหาหากจะแตกต่าง)” การแก้ ป ั ญ หาที่ ถู ก จุ ด จึ ง ควรเริ่ ม ต้ น จาก การปรับเปลี่ยนความคิดที่มีต่อเด็กพิเศษของ พ่อแม่ ครอบครัว ครู หรือเพื่อนร่วมชั้น รวมไป ถึ ง การรั บ รู ้ ข องคนในสั ง คมที่ จ ะมองพวกเขา ด้วยความเข้าใจในความแตกต่าง ประเด็นนี้ยัง คงเป็นค�ำถามที่ต้องอาศัยแรงผลักดันต่อไปว่า จะท� ำ อย่ า งไรให้ สั ง คมเข้ า ใจ และยอมรั บ พวกเขามากขึ้น เพื่อส่งต่อไปถึงการแก้ปัญหา ในภาพกว้ า ง ทั้ ง ในแง่ ข องระบบการจั ด การ และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดขึ้นได้จริง
6
| ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
CULTURE
สิบนิ้วประนมก้มกราบครู... ด้วยใจหรืออำ�นาจใดที่พึงมี เรื่อง : จิตรสินี กิจปกครอง ภาพ : สุทิยา ตาปนานนท์
บอกเล่าถึงที่มาที่ไปของอ�ำนาจนิยมที่แอบแฝง อย่ า งกลมกลื น ขณะที่ ค นทั่ ว ไปกลั บ มองว่ า สิ่งนี้คือแบบแผนในการคัดเลือกผู้เรียน “ผมไม่ ได้หมายความว่า การกระท�ำนี้ดีหรือไม่ดี แต่ มันเป็นเพียงเส้นแบ่งที่ทับกันอยู่ โดยที่ไม่มีใคร สนใจว่ามันเป็นระบบอ�ำนาจนิยม” ขณะเดี ย วกั น การไหว้ ค รู อ าจไม่ ใ ช่ แ ค่ เพียงการน�ำเอาความกลัวมาสร้างอ�ำนาจ หรือ การบี บ บั ง คั บ แต่ ใ นอี ก มิ ติ ห นึ่ ง มั น อาจเป็ น การสร้างสายสัมพันธ์ และความเป็นหนึ่งเดียว ของคนที่อยู่ในวงการ “พิธีน้ีสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ครู กั บ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ซึ่ ง แตกต่ า งจากศาสตร์ อื่ น ที่ ผู ้ เ รี ย นมี ห น้ า ที่ เ รี ย น ผู ้ ส อนก็ มี ห น้ า ที่ ส อน ความหมายที่ ซ ่ อ นอยู ่ ใ นการไหว้ ค รู คื อ การสะท้อนถึงความศรัทธาในตัวครู ครูกับเด็ก นาฏศิ ล ป์ จึ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ แ น่ น แฟ้ น มากกว่าการเรียนที่จบคาบก็จบกันไป” ผศ.ดร. ภาวิ ณี บุ ญ เสริ ม หรื อ ครู ป ๊ อ ป อาจารย์ ประจ� ำ สาขาวิ ช าการละคร คณะศิ ล ปกรรม ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ บอกเล่ า มุ ม มองของตนในฐานะคนที่ อ ยู ่ ใ นวงการ นาฏศิลป์ไทยมากว่า 20 ปี
(รางวั ล ซี ไ รต์ ) ประจ� ำ ปี 2559 แบ่ ง ปั น ประสบการณ์ของเธอว่า ในศาสนาอิสลามไม่มี สิ่งที่เรียกว่า การไหว้ครู เพราะในแง่ของหลัก ศาสนา ชาวมุสลิมเคารพเพียงแต่พระเจ้าหนึ่ง เดี ย ว แต่ ใ นแง่ ข ององค์ ค วามรู ้ เราต่ า งมี ความเคารพกันอยู่ภายใน ด๊ ะ ฮ์ เ ล่ า ว่ า มุ ม มองของเธอเปลี่ ย นไป ภายหลั ง จากที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ ก ปฏิ บั ติ ก าร สื่ อ สารการแสดงลิ เ กสร้ า งสรรค์ ซึ่ ง จั ด โดย ประดิษฐ ประสาททอง ส�ำหรับเธอหากจะกล่าว ว่ า อ� ำ นาจนิ ย มคื อ ตั ว ชู โ รงในพิ ธี ก รรมและ กระบวนการถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ใ นวิ ช า นาฏศิลป์ก็อาจพูดได้ไม่เต็มปาก เพราะมันอาจ หมายถึงการท�ำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะด้วย เช่นกัน “เหตุผลส�ำคัญที่คนเรียนนาฏศิลป์จ�ำเป็น ต้องยึดถือและศรัทธาในตัวครู เพราะสิ่งที่ครู สอนคื อ สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความดี ค วามชอบมาแล้ ว ผู้ร�ำให้เกียรติเพื่อนที่อยู่ข้างหน้า ซึ่งเป็นผู้น�ำใน การร� ำ แม้ เ ขาจะร� ำ ผิ ด ท่ า แต่ ค นข้ า งหลั ง ก็ พร้ อ มที่ จ ะร� ำ ตาม เพราะนี่ คื อ การแสดงของ คณะเรา และเราต่ า งร่ ว มใจกั น แสดงอย่ า ง พร้อมเพรียง” ด๊ะฮ์เปิดใจคุย
“เราก็เก็บมันไว้เป็นเพียงพิธีกรรม หรือเป็นกิจกรรมทาง วัฒนธรรม หากใครอยากเข้าร่วมก็ร่วมได้ แต่ถ้าไม่เราต้อง ไม่บีบบังคับจิตใจใครให้กระท�ำ” พิเชษฐ กลั่นชื่น
“พับเพียบ ประนมมือกลางอก กราบ” ท่ า ที่ คุ ้ น หู คุ ้ น ตาเวลาเรี ย นวิ ช านาฏศิ ล ป์ เหล่ า นั ก เรี ย นชายหญิ ง นุ ่ ง โจงกระเบน แล้ ว คลานเข่ามาหยุดอยู่ต่อหน้าพระรัตนตรัย เพื่อ เริ่มต้นพิธีส�ำคัญก่อนการเรียน ซึ่งเราเรียกกัน ว่า “การไหว้ครู” การไหว้ครูของชนชาติอื่นอาจไม่มีลักษณะ เฉพาะที่ส�ำคัญ แต่ส�ำหรับคนไทย พิธีนี้กลับมี เอกลักษณ์ที่แฝงนัยยะถึงความภาคภูมิใจว่า “เราเป็นศิษย์มีครู” สวัสดิ์ จงกล ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นหอประวั ติ จุ ฬ าฯ บอกเล่ า ถึ ง ลั ก ษณะ ส� ำ คั ญ และความเป็ น มาของพิ ธี ไ หว้ ค รู ใน รายการ จามจุรีมีเรื่องเล่า เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา “เราเคารพครูและครูก็เมตตาต่อเรา การ ไหว้ครูถือเป็นความผูกพันระหว่างครูกับศิษย์ โดยเฉพาะกับครูดนตรี ศิลปะ และนาฏศิลป์ ไทย” อาจารย์สวัสดิ์เล่าเสริมพลางอธิบายถึง ล� ำ ดั บ พิ ธี ใ นการไหว้ ค รู ว ่ า สามารถแบ่ ง ออก เป็น 2 ส่วนส�ำคัญ โดยส่วนแรกคื อ การไหว้ พระศรีรัตนตรัย และเทพเจ้าเทวดาของศิลปะ แขนงนั้นๆ และอีกส่วนหนึ่งคือ การไหว้ครูใน ฐานะผู ้ ใ ห้ ค วามรู ้ ที่ เ ป็ น ปุ ถุ ช นธรรมดา ด้ ว ย ความเคารพรักที่เรามีต่อครู ด้ ว ยลั ก ษณะเฉพาะของพิ ธี ไ หว้ ค รู ข อง คนไทยซึ่งให้ความส�ำคัญกับการแสดงออกทาง
จิตใจ จึงเกิดค�ำถามน่าขบคิดตามมาว่าหาก ความเคารพนี้เป็นเพียงการแสดงออกที่ไม่ได้ มาจากความรู ้ สึ ก ภายในของผู ้ เ รี ย นแล้ ว พิธีกรรมดังกล่าวจะยังทรงคุณค่าอยู่หรือไม่ “ความนอบน้ อ มเป็ น สิ่ ง ที่ ต ามมาที ห ลั ง คนเรานอบน้อมเพราะอยากจะได้ และอยาก เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม การไหว้ครูส่งผลต่อ การแสดงออกของผู้เรียนว่า ถ้าคุณไม่เข้าพิธี ไหว้ครู คุณจะไม่ได้ต่อท่าร�ำ ไม่สามารถเข้าถึง ขบวนการชั้ น ต่ อ ไป มั น จึ ง เป็ น กติ ก าใน การจั ด การกั บ คน” พิ เ ชษฐ กลั่ น ชื่ น นาฏ ศิ ล ปิ น ไทยร่ ว มสมั ย ศิ ล ปิ น ศิ ล ปาธร สาขา ศิลปะการแสดง ประจ�ำปี 2549 แสดงความ คิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าว ในระบบการศึกษาทั่วไป ความสนใจของ เด็กเป็นเรื่องส�ำคัญที่ต้องพิจารณา เพื่อมองหา ว่ า สิ่ ง ใดคื อ ความสนใจที่ เ ด็ ก อยากได้ อยาก เป็น หรืออยากเรียนรู้ แต่ส�ำหรับวิชานาฏศิลป์ อาจไม่เป็นเช่นนั้น เพราะขั้นแรกของการเรียน ต้องอาศัยดุลพินิจจากการตัดสินใจของครู “เริ่มตั้งแต่วินาทีแรก ครูก็จะเป็นคนเลือก ว่า เธอเล่นเป็นยักษ์นะ เธอเล่นเป็นลิง เธอเล่น เป็นพระ ทุกบทบาทถูกตัดสินโดยครู แต่ไม่ได้ ถู ก เลื อ กโดยเรา หากครู ม องว่ า คนนี้ ตั ว เล็ ก เหมาะไปเป็ น ลิ ง คนนี้ ห น้ า ตาสวยเหมาะไป เป็ น พระเป็ น นาง ก็ ไ ม่ ต ่ า งอะไรจากการใช้ อ�ำนาจนิยมในการคัดสรรเราให้ไม่มีสิทธิ์ที่จะ เลือกว่า เราอยากจะเล่นเป็นตัวอะไร” พิเชษฐ
“ในวิ ช านาฏศิ ล ป์ ท่ า ทางในการแสดง ความเคารพ คือ ท่ากราบ เด็กที่เรียนร�ำก้มลง กราบครูจริง แต่พวกเขาไม่ได้กราบครูที่อยู่ตรง หน้าในฐานะที่เขาเป็นครู มันคือการไหว้ในสิ่ง ที่เขาก�ำลังจะเรียน” ครู ป ๊ อ ปยั ง เผยเพิ่ ม เติ ม ว่ า พิ ธี ไ หว้ ค รู ประจ� ำ ปี อ าจเปรี ย บได้ กั บ การมารวมตั ว กั น (Reunion) ในรูปแบบของพิธีกรรม พิธีนี้เป็น จุ ด สร้ า งความเชื่ อ มโยงที่ เ ปิ ด ให้ ทุ ก คนใน วงการกลับมาพบกันผ่านพิธีไหว้ครู “แต่ก่อนศิลปะการแสดงนิยมจัดขึ้นในวัง และตั ว แทนที่ จ ะออกไปแสดงเบื้ อ งหน้ า พระที่นั่ง ไม่ได้ไปแสดงในนามตัวเองคนเดียว แต่เขาก�ำลังแบกชื่อของครู และคณะไปแสดง ซึ่ ง หากการแสดงนั้ น เป็ น ที่ ถู ก ตาต้ อ งใจ เขา ย่ อ มได้ รั บ รางวั ล ปู น บ� ำ เหน็ จ แต่ ใ นขณะ เดียวกัน หากการแสดงไม่เป็นที่โปรดปรานก็ไม่ เพียงแต่เขาจะถูกลงโทษ แต่มันส่งผลกระทบ ถึงครูและคณะแสดง รวมไปถึงการตัดช่องทาง ท�ำมาหากิน” ประดิษฐ ประสาททอง ศิลปิน ศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ประจ�ำปี 2547 อภิปรายในการฝึกปฏิบัติการสื่อสารการแสดง ลิเกสร้างสรรค์ผ่านหัวข้อ “ร้อง ร�ำ อย่างไรจึง สร้ า งสรรค์ ใ นวั น นี้ ” ณ คณะนิ เ ทศศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เมื่ อ วั น ที่ 29 กันยายนที่ผ่านมา มิติของมุมมองที่แตกต่างจากคนในวงการ พึ ง สะท้ อ นความหมายที่ แ อบแฝงอยู ่ ภ ายใน พิ ธี ไ หว้ ค รู ไ ด้ อ ย่ า งหลากรส แต่ ใ นส่ ว นของ คนนอกวงการ การรับรู้ถึงพิธีกรรมนี้ก็น่าสนใจ ไม่แพ้กัน โรสนี แกสมาน หรือ ด๊ะฮ์ กวีนิพนธ์ หญิงชาวมุสลิม ผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าชิงรางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน
“พิธีกรรมนี้จะแสดงออกซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ หรือไม่ ถือเป็นความเชื่อส่วนบุคคลที่เราไม่อาจ ดู ถู ก ความเชื่ อ ของคนแต่ ล ะคนได้ ” ครู ป ๊ อ ป อธิบายเพิ่มเติมอย่างเข้าอกเข้าใจ และยอมรับ ในความแตกต่าง อาจารย์สวัสดิ์บอกเล่าต่อว่า การกราบไหว้ บู ช าครู เ ป็ น เรื่ อ งที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะ ซึ่ ง มี ความเชื่อกันว่า ความขลังภายในพิธีนี้ท�ำให้คน ที่เรียนศิลปะแต่ละแขนงมี “ครูลง” ได้ “เขาจะ ร�ำสวยผิดปกติ เล่นเครื่องดนตรีได้อย่างไพเราะ จับใจ จนคนจะสังเกตเห็นได้ว่า เขาสามารถ แสดงศักยภาพ ฝีไม้ลายมือได้มากกว่าความ สามารถจริงๆ ที่เขามี” ในขณะที่พิเชษฐกล่าวว่า ความเชื่อในเรื่อง การมีเทพปกป้องเป็นเรื่องส่วนบุคคล ‘เชื่อได้ แต่อย่าท�ำให้คนอื่นกลัว’ “เราไม่จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงชุดความ คิ ด นี้ แต่ เ ราต้ อ งพยายามท� ำ ความเข้ า ใจ ชุดความคิดเรื่องอ�ำนาจนิยมในพิธีไหว้ครูว่ามัน ถูกสร้างขึ้นมาท�ำไม และมีไว้เพื่อสิ่งใด แล้ว การน�ำมันมาใช้มีส่วนส่งผลร้ายต่อคนอื่นหรือ เปล่า ถ้าไม่ เราก็เก็บมันไว้เป็นเพียงพิธีกรรม หรือเป็นกิจกรรมทางวัฒนธรรม หากใครอยาก เข้าร่วมก็ร่วมได้ แต่ถ้าไม่เราต้องไม่บีบบังคับ จิตใจใครให้กระท�ำ” พิเชษฐกล่าวทิ้งท้าย การไหว้ครูในวิชานาฏศิลป์จึงเป็นหนึ่งใน รู ป แบบทางวั ฒ นธรรมในสั ง คมไทยที่ ค วรตั้ ง ค�ำถาม เพื่อมองหาแง่มุมที่หลากหลายมากเสีย กว่าการปฏิบัติตามกันไป ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า ยังมีความหมายอื่นที่แอบแฝงในพิธีไหว้ครูใน แง่มุมอื่นๆ อีก ที่เปิดให้ผู้เรียนเจริญงอกงาม และประสบความส�ำเร็จในสายอาชีพได้อย่าง ไร้โซ่ตรวน
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 |
CULTURE
7
วัฏจักรความรุนแรงในการเมืองไทย: ซ้ำ�แล้ว ซ้ำ�เล่า เหยื่อความเห็นต่างรอบปี 2562
เรื่อง : เอมอัยย์ พลพิทักษ์ ท ่ า ม ก ล า ง ค ว า ม ผั น ผ ว น ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ป ี 2 5 6 2 นี้ น อ ก จ า ก สถานการณ์ทางการเมืองที่ถูกหยิบยก ขึ้นมาสนทนาอย่างเข้มข้นแล้ว ประเด็น ค ว า ม ขั ด แ ย ้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ยั ง น� ำ ไ ป สู ่ การมุ ่ ง ท� ำ ร้ า ยผู ้ มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ า ง ทางการเมืองอีกด้วย
นั บ ตั้ ง แต่ ต ้ น ปี ที่ ทุ ก คนรู ้ ว ่ า ก� ำ ลั ง จะมี การเลื อ กตั้ ง อี ก ครั้ ง ความคิ ด เห็ น ทาง การเมืองก็เริ่มผลิดอกในทุกช่องทาง หลังจาก แน่นิ่งอยู่ใต้ผืนน�้ำแข็งทางการเมืองมากว่า ห้ า ปี นั ก กิ จ กรรมทางการเมื อ งแสดงออก อย่างหลากหลาย นับแต่ออกมาเคลื่อนไหว เรื่อง นาฬิกา ชุมนุมอยากเลือกตั้ง ร้องเรียน หรื อ รณรงค์ ถ อดถอน แต่ ก ระนั้ น ก็ มั ก จะมี ความรุนแรงตอบกลับความคิดเห็นเหล่านั้น เสมอ ใ น เ ดื อ น เ ม ษ า ย น แ ล ะ พ ฤ ษ ภ า ค ม เอกชัย หงส์กังวาน นักกิจกรรมทางการเมือง ผู ้ ถู ก คุ ก คามโดยการโดนเผารถเพื่ อ ท� ำ ลาย เอกสารการถอดถอนกกต. (1 เมษายน 2562) และยังคงถูกรุมท�ำร้ายซ�้ำอีกที่หน้าศาลอาญา (13 พฤษภาคม 2562) เพราะแสดงความ เห็นต่าง และต่อสู้กับรัฐบาลเผด็จการทหาร อย่างต่อเนื่อง โดยวิธีการเคลื่อนไหวเรียกร้อง ของเอกชัยมักเป็นการกระท�ำเชิงสัญลักษณ์ ทีเ่ สียดสีผมู้ อี ำ� นาจในเมืองไทย ทัง้ นี้ เอกชัยถูก ลอบท�ำร้ายเรือ่ ยมานับตัง้ แต่เรืม่ เคลือ่ นไหวใน ปี 2561 ทั้งราดปลาร้าใส่ ดักตีหัว ปลายเดื อ นมิ ถุ น ายน นายสิ ร วิ ช ญ์ เสรีธิวัฒน์ หรือ จ่านิว นักเคลื่อนไหวเรียก ร้องประชาธิปไตยวัย 27 ปี และแกนน�ำกลุ่ม คนอยากเลือกตั้ง ถูกลอบท�ำร้ายถึงสองครั้ง ในหนึ่งเดือน (2 และ 28 มิถุนายน 2562) หลัง จากรณรงค์ต่อต้านรัฐประหารอย่างต่อเนื่อง โดยการท� ำ ร้ า ยรุ ก คื บ ไปถึ ง ปากซอยบ้ า น ของเขาเอง แต่กระนั้นก็ยังไม่มีความคืบหน้า ในการสืบสวนเท่าใดนัก ต่ อ มาในเดื อ นกรกฏาคม พรรณิ ก าร์ วานิช หรือ ช่อ ส.ส.พรรคอนาคตใหม่ ถูกขุด คุ้ยประวัติเก่าๆ ในสื่อออนไลน์ จนตกเป็นเป้า ของการวิ จ ารณ์ จ ากกรณี ภ าพถ่ า ย และ สเตตั ส เฟซบุ ๊ ก ที่ มี ค วามเห็ น ส่ อ ไปในทาง มิบังควรส�ำหรับคนหลายกลุ่ม ท�ำให้เธอได้รับ การข่ ม ขู ่ ถึ ง ขั้ น ท� ำ ร้ า ยร่ า งกายจากสั ง คม ออนไลน์ ดั ง ที่ เ กิ ด กระแส #ดั ก ตบอี ช ่ อ (8 กรกฎาคม 2562) ในสังคมวงกว้าง กระแส ที่คนมีชื่อเสียงหลายๆ คนต่างกระโจนเข้าร่วม พร้อมต�ำหนิอย่างกราดเกรี้ยวต่อเธอ ช่ ว งคุ ก รุ ่ น หลั ง การเลื อ กตั้ ง ผ่ า นไป ใน เดือนกันยายน ข่าวการเสียชีวิตของ พอละจี รั ก จงเจริ ญ หรื อ บิ ล ลี่ นั ก ต่ อ สู ้ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนของกลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ ก ะเหรี่ ย ง
ก็ปรากฏตามสื่อต่างๆ โดยกรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ หรื อ DSI ได้ พ บชิ้ น ส่ ว นกระดู ก ใน ถั ง น�้ ำ มั น ที่ เ ขื่ อ นแก่ ง กระจาน (3 กั น ยายน 2 5 6 2 ) ซึ่ ง ไ ด ้ รั บ ก า ร ต ร ว จ พิ สู จ น ์ ท า ง นิติวิทยาศาสตร์ว่าเป็นของบิลลี่ผู้สูญหายไป ตั้ ง แต่ เ มษายน 2557 บิ ล ลี่ เ ป็ น หนึ่ ง ใน นั ก เคลื่ อ นไหวที่ พ ยายามสื่ อ สารและปรั บ ความเข้าใจใหม่ว่า คนกับป่าสามารถอยู่ร่วม กันได้อย่างปกติสุข อันขัดกับความเชื่อที่ว่า ชาวเขาทําลายป่าในสังคมไทย ชะตากรรม ของชายผู ้ นี้ สะท้ อ นภาพของสั ง คมอ� ำ นาจ นิ ย ม ซึ่ ง ผู ้ คิ ด ต่ า งอาจถู ก คุ ก คามได้ อ ย่ า ง ง่ายดาย ความรุ น แรงอั น มี ผ ลเกี่ ย วเนื่ อ งทาง การเมือง นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ในช่วงปีที่ผ่านมานี้ แสดงให้เห็นว่าคนไทย เรายั ง คงมองความเห็ น ต่ า งเป็ น เรื่ อ งที่ ต ้ อ ง ลงโทษ โดยมองความคิดเห็นตัวเองเป็นสิ่งที่ ต้องยึดมั่นถือมั่น เหตุการณ์ความรุนแรงต่างๆ นี้ ท�ำให้หวน คิดถึงบรรยากาศทางการเมืองก่อนเหตุการณ์ 6 ตุ ล า 2519 ซึ่ ง ขบวนการนั ก ศึ ก ษาและ ประชาชนถูกกระท�ำจากฝ่ายตรงข้ามหลาย ต่อหลายครั้ง จนกระทั่งน�ำไปสู่โศกนาฏกรรม ในเช้ามืดของวันที่ 6 ตุลา สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ยั ง ค ง เ ป ็ น แ ผ ล ใ น ประวั ติ ศ าสตร์ ก ารเมื อ งร่ ว มสมั ย ของไทย ผศ.ดร.พวงทอง ภวั ค รพั น ธุ ์ หั ว หน้ า โครงการบันทึก 6 ตุลาและ อาจารย์ประจ�ำ คณะรั ฐ ศาสตร์ จุ ฬ าฯ กล่ า วถึ ง เหตุ ก ารณ์ 6 ตุ ล าว่ า “เป็ น ปรากฏการณ์ ท างการเมื อ ง ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งของความรุ น แรงและส่ ง ผล กระทบถึ ง ชี วิ ต กั บ ผู ้ ค นจ� ำ นวนมาก รวมถึ ง ทิศทางของสังคมด้วย” สิ่งที่ 6 ตุลายังคงทิ้ง บทเรียนไว้กับสังคมไทยนั้นคือความรุนแรงที่ ประชาชนกระท� ำ กั บ ประชาชนเพี ย งเพราะ ความคิดเห็นที่แตกต่าง ในเหตุ การณ์ นี้ คนที่ ใ ช้ ค วามรุ น แรงคื อ เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ และมวลชนฝ่ า ยขวา ซึ่ ง ถู ก ปลุ ก ระดมให้ เ กิ ด ความเกลี ย ดชั ง นั ก ศึ ก ษา มองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสังคม ฉะนัน้ จึงสมควร ที่จะถูกขจัดไปโดยความรุนแรง “วิธีการที่ผู้มี อ�ำนาจในสังคมไทยใช้จัดการกับคนที่มีความ คิดเห็นทางการเมืองแตกต่างเป็นการใช้ความ รุ น แรงในการกดปราบความคิ ด เห็ น ต่ า ง ผ่านกลไกที่ท�ำงานกับประชาชน และเราก็จะ เห็นได้ว่าเกิดลักษณะแบบนี้ขึ้นในสังคมไทย หลายครั้ ง จนกระทั่ ง ถึ ง ทุ ก วั น นี้ ” อาจารย์ พวงทองกล่าวถึงภาพความรุนแรงในสังคมไทย เมื่อบวกกับที่ผู้มีอ�ำนาจในรัฐไทยเคยชิน กั บ การใช้ ค วามรุ น แรงจั ด การกั บ คนที่ มี ความคิ ด เห็ น แตกต่ า งทางการเมื อ งโดยที่
ไม่ต้องรับผิด และเชื่อว่ากระบวนการยุติธรรม จะปกป้ อ งเขาได้ จ ากการใช้ ค วามรุ น แรง จัดการกับประชาชน นี่คือสิ่งที่อันตรายทั้งต่อ ชี วิ ต ประชาชน และอั น ตรายต่ อ การพั ฒ นา ประชาธิปไตยของสังคม “เราอยากบอกกั บ สั ง คมว่ า ถ้ า เราไม่ เรี ย นรู ้ จ าก 6 ตุ ล า ว่ า ความเกลี ย ดชั ง หรื อ การหลงเชื่อในกลไกโฆษณาชวนเชื่อของรัฐ อย่างไม่ลืมหูลืมตาเนี่ย ในที่สุดแล้วประชาชน ด้ ว ยกั น เองจะกลายเป็ น เครื่ อ งมื อ สั ง หาร ประชาชนด้วยกันเอง” อาจารย์พวงทองกล่าว ทิ้งท้าย เมื่อตั้งค�ำถามว่า แล้วอะไรจะน�ำไปสู่จุด ที่ สั ง คมสามารถเรี ย นรู ้ ไ ด้ ผศ.ดร.บั ณ ฑิ ต จั นทร ์ โ ร จน กิ จ อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ศึกษา ความขัดแย้งทางการเมืองของไทย อีกทั้งยัง เคยเป็ น กรรมการของคณะกรรมการอิ ส ระ ตรวจสอบและค้ น หาความจริ ง เพื่ อ การ ปรองดองแห่งชาติ (คอป.) มองว่า หากพูดถึง สังคมที่มีความขัดแย้ง ทุกสังคมต้องเริ่มต้น โดยการยอมรับว่ามีอะไรเกิดขึ้นก่อน ซึ่งการ ยอมรับนั้นยังเกิดขึ้นน้อยมากในประเทศไทย ก่อนที่จะปรองดองหรือยุติการลากอาวุธออก มาท�ำร้ายคน เพียงเพราะเรามีความเห็นต่าง จะต้องเริ่มจากที่เรามีความจริงในสังคมก่อน จึงจะสามารถสร้างการยอมรับความคิดเห็น กันได้ “การอยู่ในสังคมไม่สามารถท�ำได้เพียง แค่ ฝ ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง ชนะ แต่ จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ตระหนักรู้ว่า ไม่สามารถเปลี่ยนให้ใครคิดเห็น ไปในทางเดียวกันได้” หากคนในสังคมไม่เริ่มเรียนรู้ที่จะยอมรับ ประวัติศาสตร์และความรุนแรงที่เคยเกิดขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรงต่อความเห็นต่าง ครั้งใหม่ในอนาคต เรียนรู้ที่จะยอมรับทัศนะ หลากหลาย เพื่อขับเคลื่อนสังคมประชาธิปไตย ของเราไปข้างหน้า ความเชื่อที่ไร้การโต้แย้ง ไร้การตั้งค�ำถาม จึงดูจะขัดแย้งกับประเทศซึ่งมีประชากรกว่า 65 ล้านคนซึ่งทุกคนต่างมีความเห็นเป็นของ ตัวเอง ดังนั้น การอยู่ร่วมกันภายใต้ความเห็น ต่ า ง และเรี ย นรู ้ ที่ จ ะรั บ ฟั ง ซึ่ ง กั น และกั น จึ ง เป็นสิ่งที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ บทเรี ย นต่ า งๆ ในสั ง คม ท� ำ ให้ เ ราได้ ตระหนักว่า หากจะยึดมั่นอยู่เพียงแต่เฉพาะ ตน และไม่ยอมรับฟังความเห็นอื่น ก็จะน�ำ มาสู่ความขัดแย้งทางความคิด บ่มเพาะไปถึง ความเกลียดชัง และเติบโตไปสู่ความรุนแรง อย่างไม่อาจจบสิ้น
หลังจากสาบสูญกว่า 5 ปี
ที่มาของภาพ : ข่าวสด (6 ตุลาคม 2561) และ เพจ “ข่าวช่องวัน” (24 ตุลาคม 2562)
8
| ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
MAIN COURSE
เทรนด์รักษ์โลก :
ผ่านมาแล้ว (โปรดอย่า) ผ่านไป เรื่อง-ภาพ : สุชานาถ กิตติสุรินทร์ และ อสมาภรณ์ พิริยะโภคานนท์ “ทุกวันนี้ก็พกขวดน�้ำตลอดนะคะ เวลาซื้อของกิน ก็บอกแม่คา้ ว่าไม่รบ ั ถุงหิว ้ ก็ไม่ได้เพิม ่ ความล�ำบากอะไร ขนาดนั้ น ทั้ ง สบายใจเราและได้ ช ่ ว ยโลกค่ ะ ” ชั ญ ญา กุลกัลยาพัชร์ นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ เล่าด้วยน�้ำเสียงภูมิใจ
เป็ น ที่ น ่ า ชื่ น อกชื่ น ใจส� ำ หรั บ สั ง คมไทยที่ ใ นที่ สุ ด กระแส รักษ์โลกก็กลับมามีบทบาทอีกครั้ง เห็นได้จากมาตรการที่เพิ่ม ความเข้มงวดขึน้ จากทีผ่ า่ นมา เช่น การร่วมมือกับห้างสรรพสินค้า และร้านค้าปลีกรายใหญ่ให้เลิกการแจกถุงพลาสติก โดยเริ่ม ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป หรือการที่กระทรวงทรัพยากร และสิง่ แวดล้อมตัง้ เป้ายกเลิกการใช้พลาสติกประเภทครัง้ เดียวทิง้ 4 ชนิดได้แก่ ถุงพลาสติกหูหิ้ว, หลอดพลาสติก, แก้วพลาสติกใช้ ครั้งเดียวทิ้ง และกล่องโฟม ให้หมดไปจากประเทศไทยภายในปี 2564-2565 ทั้งนี้ ยังรวมไปถึงภาคประชาชนที่เริ่มหันมาเห็นความส�ำคัญ ของการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ภาพคนสะพายกระเป๋ า ผ้ า และ ถือกระบอกน�้ำพลาสติกกลายเป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างชินตา อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์รักษ์โลกที่เกิดขึ้นทั้งหมดนั้นยัง ไม่สามารถกล่าวได้ว่าจะมีประสิทธิภาพและยั่งยืนในระยะยาว เนือ่ งจากส่วนใหญ่ยงั เป็นการขอความร่วมมือจากภาคเอกชนเสีย ทั้งหมด ซึ่งในขณะนี้รัฐบาลไทยยังไม่ด�ำเนินการออกกฎหมาย อย่างเป็นรูปธรรม โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nation Environment Programme : UNEP) ท�ำการส�ำรวจในปี 2561 และได้รายงานในปี 2562 ว่า จาก 192 ประเทศทีไ่ ด้ทำ� การส�ำรวจ มี 127 ประเทศทีป่ ระกาศใช้กฎหมายหรือข้อบังคับเพือ่ ลดปริมาณ ถุงพลาสติกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งใน 127 ประเทศดังกล่าวนั้น ไม่มีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย + กระแสที่ (ต้อง) มาพร้อมการสูญเสีย หลังจากข่าวร้ายของลูกพะยูนทัง้ สองตัวปรากฏขึน้ ในหน้าสือ่ และเป็นกระแสอย่างมากบนโลกออนไลน์ ประชาชนก็เริ่มหันมา ตืน่ ตัวและตระหนักถึงปัญหาขยะพลาสติกในท้องทะเลมากยิง่ ขึน้ ซึ่งปรากฏการณ์นี้ได้สะท้อนให้เห็นว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมมักจะ ถูกสนใจก็ต่อเมื่อมีการสูญเสียเกิดขึ้น ย้อนกลับไปในปี2533 เสียงปืนทีจ่ บชีวติ ของสืบ นาคะเสถียร ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้ง จ.อุทัยธานี คือเสียง เดียวกันที่สะท้อนดังเข้าไปในจิตใจของผู้คน ก่อเกิดเป็นคลื่น ความสนใจสิ่งแวดล้อมลูกแรกที่ซัดเข้ามาในประเทศไทย
สิ้ นเสี ยงปื นของสื บ ได้ หนึ่ งปี บริ ษัทเพลงยั กษ์ ใหญ่อ ย่ าง แกรมมี่ ก็ ไ ด้ อ อกอั ล บั้ ม รวมศิ ล ปิ น ชื่ อ ว่ า โลกสวยด้ ว ยมื อ เรา ชุด 1 โดยมีเพลงไตเติ้ลคือ โลกสวยด้วยมือเรา ที่คุ้นหูกันเป็น อย่างดี ร่วมด้วยเพลงจากศิลปินยอดนิยม อาทิ เบิร์ด ธงไชย, ใหม่ เจริญปุระ, นูโว และอีกมากมาย “ตัวชี้วัดก็คือว่า สมัยช่วงนั้น หน้าหนังสือพิมพ์มันมีหน้า สิ่งแวดล้อม มีนักข่าวสายสิ่งแวดล้อม มีโต๊ะสิ่งแวดล้อม ทุกฉบับ เลย” วั น ชั ย ตั น ติ วิ ท ยาพิ ทั ก ษ์ นักเขียนสารคดี นักวิจารณ์ ประเด็นสังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม เล่าถึงความเฟื่องฟูของ กระแสอนุรักษ์ในตอนนั้น ทว่า เส้นทางสูก่ ารเป็นประเทศอนุรกั ษ์กลับสิน้ สุดเร็วกว่าทีค่ ดิ เมือ่ ฟองสบูท่ เี่ คยสวยงามได้แตกกระจายในปี 2540 ประเทศไทย เข้ า สู ่ ภ าวะเศรษฐกิ จ พั ง ทลาย ระบบธนาคารไม่ ท� ำ งาน ภาคการผลิตหยุดชะงัก บริษทั ต่างๆ เลิกจ้างพนักงานจ�ำนวนมาก พิษเศรษฐกิจดังกล่าวได้แพร่กระจายไปทัว่ โลกในชือ่ ทีค่ นุ้ หูกนั ดีวา่ วิกฤตการณ์ตม้ ย�ำกุง้ วันชัยเสริมต่อว่า ในตอนนัน้ อุตสาหกรรมสือ่ อย่างหนังสือพิมพ์ ก็ โ ดนกระทบเช่ น เดี ย วกั น โดยโต๊ ะ สิ่ ง แวดล้ อ มนั้ น ถู ก ยุ บ เป็ น โต๊ะแรก เพราะในขณะนั้นทุกคนยังมองว่าสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่อง ไกลตัว และไม่ใช่เรื่องที่อยู่ในกระแสหลักที่ผู้คนจะให้ความสนใจ “ถ้าตัดโต๊ะบันเทิง ใครจะซื้อหนังสือพิมพ์”
เงินทั้งสิ้น 118,700.2 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.7 ของวงเงิน งบประมาณ เพื่อการพัฒนาทรัพยากรและการรักษาสิ่งแวดล้อม และการสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน “งบประมาณทีเ่ พิง่ ผ่านรัฐสภาไปมีสดั ส่วนของการแก้ปญ ั หา สิง่ แวดล้อมน้อยมาก แสดงว่าเจตจ�ำนงของทุกยุคทีผ่ า่ นมา เขาให้ ความส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งนี้ บ ้ า งหรื อ เปล่ า ไม่ มี เ ลย ไปดู ใ นแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ไม่เคยมีเรื่องเหล่านี้ Zero Waste ภายใน 20 ปี ไม่มีเลย” วันชัยให้ความเห็นเพิ่มเติมกับรูปการณ์การเมืองที่ผ่านมาว่า ไม่วา่ จะในยุคไหน นักการเมืองก็ตอ้ งการสร้างผลงาน การพูดเรือ่ ง ปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นเอามาใช้หาเสียงไม่ได้ เนื่องจากไม่เป็น รูปธรรมพอให้ประชาชนรู้สึกว่าบุคคลนี้มีผลงาน เขาอธิบายให้ เห็นภาพว่า ถ้าหากรัฐบาลสร้างเขื่อน นั่นนับเป็นผลงาน แต่ถ้า หากรั ฐ เพี ย งรณรงค์ เ รื่ อ งท� ำ ให้ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ ดี ขึ้ น หรื อ ท� ำ ให้ หมอกควั น พิ ษ มั น หายไปได้ สิ่ ง นั้ น กลั บ ไม่ ส ามารถช่ ว ยเป็ น ตัวชูโรงหาเสียง เพราะไม่มีผลลัพธ์ที่จับต้องได้ สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ชมรมนักวิชาการสิ่งแวดล้อมไทยให้ข้อมูลว่า รัฐบาลไทยเองก็ได้ พยายามรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกเรื่องสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด แต่ปริมาณขยะกลับเพิม่ ขึน้ ทุกปี โดยในขณะนีป้ ระเทศไทยมีขยะ พลาสติกมากเป็นอันดับที่ 6 ของโลก และมีขยะที่ทิ้งในทะเลเป็น อั น ดั บ ที่ 7 ของโลก ซึ่ ง ทั้ ง หมดล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ผลมาจาก + ขยะคือเรื่องการเมือง การไม่บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง หลั งฝ่ า ฟั นวิ ก ฤตการณ์ เ ศรษฐกิ จ มาได้ อ ย่ า งยากล� ำ บาก “ของเราไม่มีอะไรเลย รณรงค์จัดอีเวนท์ ชูป้ายวิ่งไปตาม รัฐบาลทุกยุคสมัยจึงตัง้ ธงเรือ่ งปัญหาปากท้องเป็นเป้าหมายหลัก ตลาดขอให้ประชาชนช่วย ผ่านไปเกือบ 27 ปี ก็ยังรณรงค์อยู่ ของประเทศที่ต้องเร่งแก้ไข เรื่องสิ่งแวดล้อมค่อยๆ ถูกหลงลืมมา อย่างนั้น แสดงว่าที่ผ่านมาท�ำงานไม่ได้ผลสิ รัฐบาลไม่ได้ช่วย จวบจนถึงปัจจุบันนี้ จากค�ำแถลงประกอบงบประมาณรายจ่าย อะไรเลย” สนธิกล่าวเสริม ประจ�ำปี 2563 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลง นั ก วิ ช าการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มได้ อ ธิ บ ายถึ ง ปั จ จั ย ที่ รั ฐ บาล ต่อสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม 2562 โดยมี ไม่ ส ามารถแก้ ป ั ญ หาขยะได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจาก สาระเกี่ยวกับการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2535 ฉบับที่ตราขึ้นมา โดย สิ่งแวดล้อมว่า รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นจ�ำนวน มาตรา 18 ได้บัญญัติไว้ว่า “การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
“การจัดการเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นตัวชี้วัดสติปัญญาของ รัฐบาล คือรัฐบาลต้องมีสติปัญญาถึงจะทำ�สิ่งเหล่านี้ได้ ถ้ารัฐบาลไม่มีคุณภาพ ก็จะมองว่าสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่อง ของเด็กเล่น” วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 |
MAIN COURSE
ในเขตราชการส่วนท้องถิ่นใด ให้เป็นอํานาจหน้าที่ของราชการ ส่วนท้องถิ่นนั้น” ซึ่งหมายความว่ า รั ฐบาลกลางจะไม่ มี ส่ ว น เกี่ยวข้องกับเรื่องขยะของชุมชน “สุดท้ายเทศบาลก็ไม่กล้าไปออกกฎหมาย เพราะมาจาก การเลือกตัง้ คุณไปออกกฎหมายบังคับ ชาวบ้านเขาก็ไม่เลือกคุณ มันเกี่ยวพันกับการเมืองไปหมด ไปขึ้นค่าเก็บขยะ ค่าก�ำจัดขยะ เขาก็ ไ ม่ เ ลื อ กคุ ณ เรื่ อ งขยะคื อ เรื่ อ งการเมื อ งด้ ว ยซ�้ ำ ไป” สนธิวิเคราะห์ + การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น เรื่ อ งของ คนมีวิสัยทัศน์ ในหลายๆ ประเทศ พรรคอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมหรือพรรคกรีน (Green Party) ถือว่าเป็นอีกหนึง่ พรรคการเมืองทางเลือกทีเ่ กิดขึน้ มาพร้อมกับการตระหนักรูถ้ งึ ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีโ่ ลกก�ำลังเผชิญ อยู่ โดยพรรคกรีนจะออกนโยบายทีใ่ ห้ความสนใจด้านสิง่ แวดล้อม ในทุกมิติ อาทิ ปัญหาขยะ, มลภาวะทางอากาศ, พื้นที่สีเขียว, การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต รวมไปถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ความนิยมของพรรคกรีนนั้นมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ตามกระแส สังคมโลก อย่างการเลือกตั้งครั้งล่าสุด (ปี 2562) พรรคกรีนของ สวิตเซอร์แลนด์ได้รบั คะแนนเสียงมากกว่าทีค่ าดการณ์ไว้ และได้ เก้ า อี้ ใ นสภามากถึ ง 28 ที่ นั่ ง ในส่ ว นคณะมนตรี แ ห่ ง ชาติ ซึ่ ง มากขึน้ กว่าเดิม 11 ทีน่ งั่ คิดเป็นร้อยละ 13.2 เรกูลา ริตซ์ ประธาน พรรคกรีนของสวิตเซอร์แลนด์บอกว่า นี่เป็นผลคะแนนที่มากเป็น ประวัติการณ์ส�ำหรับทางพรรค ซึ่งริตซ์มองว่าเป็นเพราะผู้คนหัน มาใส่ใจเรื่องวิกฤตโลกร้อนกันมากขึ้น พรรคกรี น ในหลายๆ ประเทศได้ เ ข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการ ผลักดันนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม จนสามารถออกเป็นประกาศ ระดับทางการได้ เช่น ในประเทศเยอรมนีมีการออกประกาศ ยกเลิกการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้ส�ำเร็จ ซึ่งเป็นผลอันเนื่อง มาจากการเสนอนโยบายของฝ่ายค้านซึ่งมีพรรคกรีนร่วมอยู่ด้วย “การจัดการเรือ่ งสิง่ แวดล้อมเป็นตัวชีว้ ดั สติปญ ั ญาของรัฐบาล คือรัฐบาลต้องมีสติปัญญาถึงจะท�ำสิ่งเหล่านี้ได้ ถ้ารัฐบาลไม่มี คุณภาพ ก็จะมองว่าสิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ งของเด็กเล่น” วันชัยกล่าวถึงประเด็นนี้ว่า การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่อง ของคนมีวิสัยทัศน์ การแก้ปัญหาย่อมเกิดจากการที่ประชาชน เห็ น ว่ า การเปลี่ ย นแปลงทางภู มิ อ ากาศนั้ น ส่ ง ผลต่ อ ทั้ ง โลก การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตจะส่งผลต่อมนุษย์ ขยะพลาสติกเป็น ปัญหาใหญ่ คนเหล่านี้ไม่ได้มองแค่ประเทศ แต่พวกเขามอง ทั้งโลก มองว่าถ้าโลกอยู่ไม่ได้ คนก็อยู่ไม่ได้
อย่างไรก็ดี วันชัยเสนอว่าหากจะให้การแก้ปัญหาขยะได้ผล จะต้ อ งมี ก ารบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย ไม่ ใ ช่ เ พี ย งขอความร่ ว มมื อ เนื่องจากการขอความร่วมมือช่วยได้เพียงระดับหนึ่ง แต่ไม่มีทาง ตามทันปัญหาความเสื่อมโทรม “ทุกวันนี้ภาวะโลกร้อนมันเป็น ชะตากรรมของมนุษย์ทั่วทั้งโลกแล้ว ถ้ามีเจตจ�ำนงแน่วแน่ว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมมันส�ำคัญ ก็ต้องอธิบายให้ประชาชนเข้าใจว่า ท�ำไมถึงต้องท�ำอย่างนี้ แม้ว่าจะโดนด่าก็ต้องยอม” เขากล่าว + จากกระแสสู่ความยั่งยืน “มันไม่ไหวแล้ว ถ้าไม่ท�ำอะไร ตายหมู่” วันชัยมองว่าปัญหา เรื่ อ งสภาวะโลกร้ อ นได้ ก ลายเป็ น ชะตากรรมร่ ว มกั น ของ มนุษยชาติ ซึ่งเขาเชื่อว่ากระแสอนุรักษ์ที่มีอยู่ตอนนี้จะไม่หายไป จากสังคมแน่นอน เพราะวิกฤตการณ์ที่เป็นอยู่ขณะนี้เลวร้ายกว่า ครั้งไหนๆ ที่เคยผ่านมา แม้ ว ่ า หนทางการไปสู ่ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี จ ะดู เ ลื อ นรางและ เต็มไปด้วยขวากหนาม ทว่า ในขณะเดียวกันก็มเี มล็ดพันธุต์ น้ ใหม่ อีกเป็นจ�ำนวนมากที่พร้อมจะเข้ามาเป็นความหวังให้กับโลกใบนี้ จริ น ทร์ พ ร จุ น เกี ย รติ นั ก แสดงและผู ้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง ศู น ย์ สิง่ แวดล้อมศึกษาประเทศไทย (Environment Education Center : EEC Thailand) ได้แสดงความเห็นในฐานะภาคเอกชนที่มี ส่วนร่วมในโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมว่า ในขณะนี้คงยังไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้ทั้งหมด เพราะอะไรที่ถูกท�ำลายไป แล้วก็คือสิ่งที่ถูกท�ำลายไปแล้ว สิ่งที่จะร่วมกันท�ำได้ในตอนนี้คือ ย่นระยะเวลาที่จะท�ำให้การถูกท�ำลายช้าลงได้บ้าง “แต่มันยังไม่ใช่ตอนนี้” นักแสดงสาวชี้แจง “คนสมัยนี้ใจร้อน อยากให้ทุกอย่างเปลี่ยนไปเลย อยากให้มันดีตอนนี้ มันเป็นไป ไม่ได้ มันขาดความอดทน” เธอยังเสริมว่า ความกรีนนั้นมีอยู่ ด้วยกันหลากหลายมิติ ดังนั้น เราจึงไม่สามารถตัดสินคนที่ยังใช้ พลาสติกอยู่ได้ เพราะสุดท้ายแล้วมันเป็นสิ่งที่ถูกสร้างมาเพื่อใช้ ประโยชน์ สิ่งที่เธอคาดหวังและอยากท�ำให้ได้จึงเป็นการร่วม กระตุ้นให้เกิดจิตส�ำนึกการลด ละ เลิกจากภายใน ในฐานะคนรุ่นใหม่ จรินทร์พรมองแนวทางการแก้ปัญหาว่า ควรเริ่ ม ที่ ก ารปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ เ ด็ ก ๆ โตขึ้ น แบบมี ค วามเป็ น นักอนุรักษ์อยู่ในใจ เพราะในอนาคตเด็กเหล่านี้ก็จะโตขึ้นไปเป็น ฟันเฟืองส�ำคัญของประเทศ “เพราะฉะนั้นการที่เราปลูกฝังเขาตั้งแต่ตอนเด็กๆ มันท�ำให้ ตอนเขาโตขึ้นไป ไม่ว่าเขาจะท�ำอะไรก็ตาม มันจะมีเรื่องของ สิ่งแวดล้อมในใจเขา” จรินทร์พรกล่าวทิ้งท้ายด้วยความหวัง
9
10 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
LITERATURE
เติบใหญ่ด้วยโครงคำ� วรรณกรรมธำ�รงหวัง
เรื่อง : พสิษฐ์ มนัสเพียรเลิศ ภาพ : อสมาภรณ์ พิริยะโภคานนท์
ถึงเวลาที่เจ้าตัวน้อยวัยสองขวบต้องเข้านอน ในโลกใบเล็กนี้มีคุณพ่อ คุณแม่ กับนิทานนับร้อย เล่มอยู่ด้วย เรื่องราวและรูปภาพแห่งจินตนาการ คือสิ่งที่เขาโปรดปรานก่อนหลับใหล
“ตอนเล็กๆ โนอาห์จะนอนยาก ต้องอ่านนิทานก่อนนอน ทุกคืน” ศรีสรุ างค์ บุญฤทธิ์ แม่ของน้องโนอาห์เล่าเรือ่ งราวเมือ่ เจ็ดปีก่อนด้วยรอยยิ้ม มี พ ่ อ แม่ จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยที่ ต อบสนองความจ� ำ เป็ น ทาง ปัญญาของลูกด้วยวรรณกรรมส�ำหรับเด็กเช่นนี้ ทว่า หนังสือที่ เขี ย นขึ้ น เพื่ อ เด็ ก อาจดู ไ ม่ ส ลั ก ส� ำ คั ญ อะไรนั ก ส� ำ หรั บ คน ส่วนใหญ่ รวมทั้งจากมุมมองของพ่อแม่คนอื่นๆ และบรรดา เด็กๆ เองก็ตาม อย่างที่ ธันยา พิทธยาพิทักษ์ ผู้สอนสาขาวิชา วรรณกรรมส�ำหรับเด็ก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แสดง ทัศนะไว้ “ส่วนใหญ่ครอบครัวทีเ่ ด็กเรียกร้องอยากจะซือ้ หนังสือ หรือ สนุกกับหนังสือเนี่ย จะเป็นครอบครัวที่พ่อแม่รักการอ่านอยู่ แล้ว” อาจารย์ธันยากล่าวถึงสภาพน่าเป็นห่วงของประชากร รุ ่ น ใหม่ ใ นบ้ า นเราว่ า โดยภาพรวม “น้ อ ยมากที่ จ ะเจอเด็ ก เรียกร้องที่จะซื้อหนังสือ” สอดคล้องกับความเห็นของ ปรีดา อัครจันทโชติ อาจารย์ ประจ�ำคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ชี้ว่า ปัจจุบันยิ่งเป็นยุคที่การอ่านอยู่ห่างไกลจากการเป็นที่นิยมของ เด็กๆ “สมัยนี้มันมีกิจกรรมมากที่มันจะเบียดบังเวลาจากเด็ก” ผู้เป็นพ่อของลูกสาวสองคนกล่าว ข้อท้าทายอีกประการของยุคนีค้ อื มีสอื่ รูปแบบใหม่ทดี่ งึ ดูด ใจเด็กรุ่นดิจิทัลตั้งแต่เกิด แม้กระทั่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มา กระทบวงการหนั ง สื อ เล่ ม ทั้ ง หมดจนซบเซาไปพอสมควร หนังสือส�ำหรับเด็กที่เป็นหนึ่งส่วนเล็กๆ ก็ต้องพลอยตกที่นั่ง ล� ำ บากไปด้ ว ย ซึ่ ง การปรั บ ตั ว ของธุ ร กิ จ นั บ เป็ น การแก้ ไ ขที่ ปลายทางเท่านั้น
“สิ่งที่วงการหนังสือจะต้องปรับตัวเนี่ยยังไม่ส�ำคัญเท่าท�ำ อย่ า งไรให้ ค นอ่ า นหนั ง สื อ ” อาจารย์ ป รี ด าแสดงทั ศ นะว่ า การสร้างสภาพแวดล้อมโดยผู้ใหญ่นั้นนับว่าจ�ำเป็นจริงๆ แม้วงการวรรณกรรมเด็กจะมีอุปสรรคเพียงใด แต่เราคงไม่ อาจปฏิเสธได้ว่า หนังสือมีคุณค่าต่อผู้อ่านวัยเยาว์ เช่น ท�ำให้ สมาธิดี หรือช่วยฝึกจินตนาการ ซึ่งหากมองลึกลงไป นั่นเป็น เพียงประโยชน์ส่วนหนึ่งที่วรรณกรรมจะมอบให้แก่เด็กได้ รพินทร (ณ ถลาง) คงสมบูรณ์ อาจารย์อกี ท่านจากสาขา วิชาวรรณกรรมส�ำหรับ เด็ก มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโ รฒ อธิบายว่า เด็กเล็กๆ จะได้ประโยชน์ระยะยาวในด้านพัฒนาการ ถ้าเขาเรียนรูถ้ อ้ ยค�ำต่างๆ ทีผ่ ใู้ หญ่เปล่งจากปากยามอ่านนิทาน และหนังสืออื่นที่เหมาะกับวัยด้วยกัน “เด็กที่มีผู้ใหญ่เล่านิทานให้ฟังจะเป็นเด็กที่มีพัฒนาการ ทางภาษาที่เร็วมาก และเขาจะอ่านหนังสือได้เร็ว” นอกจากนี้ อาจารย์ยังกล่าวว่า “เด็กต้องเตรียมพร้อมที่จะ รั บ รู ้ ค วามจริ ง ในชี วิ ต โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความจริ ง ที่ เ ขา หลีกเลี่ยงไม่ได้”
“การพัฒนาเด็กด้วยหนังสือ คือพื้นฐานของการพัฒนาสังคม” รพินทร (ณ ถลาง) คงสมบูรณ์
วรรณกรรมสามารถช่วยเด็กให้รับมือกับสภาพเป็นจริง อย่างเรื่องการสูญเสีย ผ่านเนื้อหาที่น�ำเสนอ ซึ่งอาจเรียกว่า การสร้างภูมิคุ้มกันทางใจ อาจารย์รพินทรลงความเห็นว่า ความเศร้าในวรรณกรรมจะ อยูก่ บั เด็ก โดยทีใ่ ห้บทเรียนกับเด็กได้อย่างลึกซึง้ และแนบเนียน ท�ำให้เขาค่อยๆ เรียนรู้ประเด็นที่ผู้ใหญ่อาจไม่แน่ใจว่าควรสอน อย่างไรดี อาจารย์ปรีดาผู้คลุกคลีกับการอ่านมาตั้งแต่เยาว์วัยเสริม ว่า หนังสือช่วยฝึกเด็กให้รู้จักการรอคอย ต่างจากสื่อยุคใหม่ที่ หล่อหลอมให้เด็กใจร้อนมากกว่าเดิม
เขายังกล่าวด้วยว่า การอ่านฝึกคนเราให้ ได้อยูก่ บั ตัวเอง ได้ ทบทวน ได้คุยกับตัวเอง (Self-talk) “พอเราได้อา่ นเรือ่ งราวของตัวละคร สมมติวา่ มันไปพ้องกับ เรา เราได้เก็บมาคิด” อาจารย์ยกตัวอย่างการสื่อสารภายใน บุคคล (Intrapersonal Communication) ที่สามารถเกิดขึ้น ขณะอ่านหนังสือ “เราได้ใคร่ครวญว่า ท�ำไมตัวละครเขาถึงเป็น แบบนี้ มันเหมือนกับเราเลย” ดังนั้น มนุษย์แต่ละคนจึงสมควร ได้รับประโยชน์เหล่านี้จากหนังสือตั้งแต่วัยเยาว์ “การพัฒนาเด็กด้วยหนังสือ คือพื้นฐานของการพัฒนา สั ง คม” อาจารย์ ร พิ น ทรกล่ า วถึ ง ค� ำ ขวั ญ ของสาขาวิ ช า วรรณกรรมส�ำหรับเด็กที่ตนประจ�ำอยู่ อันเป็นหลักสูตรเดียวใน ประเทศที่เน้นความส�ำคัญของการมีหนังสือซึ่งท�ำขึ้นเพื่อเด็ก โดยเฉพาะ ด้ ว ยอุ ด มการณ์ เ ช่ น นี้ อาจารย์ ร พิ น ทรเอ่ ย ว่ า ถ้ า ผู ้ ค น ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเลี้ยงเด็กด้วยหนังสือจริงๆ อย่างที่หลายคนทุ่มเทส่งเสริม “วรรณกรรมเด็กจะมีที่ยืนใน สังคมได้อย่างสบาย” เป้าหมายของผู้สอนจึงได้แก่ การสร้างสรรค์เนื้อหาสื่อด้วย ความเข้าใจเด็ก ซึ่งครูนักเล่านิทานอธิบายเพิ่มว่า ถึงธรรมชาติ ของความเป็นเด็กจะไม่เปลี่ยนไป แต่สังคมมีข้อท้าทายใหม่ๆ ท�ำให้เด็กต้องเจอโจทย์ที่ยากกว่าเก่า “เราต้องรู้เท่าทันเด็ก แล้วก็สร้างเนื้อหาที่มันตอบโจทย์กับ สังคมที่เด็กต้องเจอมากขึ้น” อาจารย์รพินทรเอ่ยอย่างมุ่งมั่นดังนี้ “ครูเชื่อว่า เราต้อง พยายามอยู่ให้ได้ เราต้องต่อสู้ให้ได้” ไม่ว่าอนาคตของวรรณกรรมส�ำหรับเด็กที่เราอาจพบได้ ตามร้ า นหนั ง สื อ หรื อ ห้ อ งสมุ ด จะเป็ น เช่ น ไร บรรดาพ่ อ แม่ ตลอดจนผู้ใหญ่ที่ห่วงใย ต่างก็คงอยากให้ผู้ผลิตสื่อกลุ่มนี้ยังมี ความหวังต่อไป เพือ่ เด็กในรุน่ ต่อๆ ไป จะได้รบั ประโยชน์จากเนือ้ หาบนหน้า หนังสือ และอมยิ้มก่อนด�ำดิ่งสู่ความเงียบสงบของวันที่จบลง อย่างมีความสุขชั่วนิรันดร์
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | 11
LITERATURE
นิยายแจ่มใส... กับการชอปปิงตัวตน เรื่อง : เอมอัยย์ พลพิทักษ์
ภาพ : Haemin และ kanapy
ถ้าหากลองกวาดตาไปบนชั้นหนังสือของ เด็กสาวในประเทศไทย คุณจะสะดุดตาเข้ากับ หนังสือเล่มบางบ้าง เล่มหนาบ้าง สันหนังสือ สีสดใสพลิกมาหน้าปกเป็นภาพวาดการ์ตน ู และ ภายในเป็นเรือ ่ งราวความรักพาฝัน ทีห ่ าไม่ได้ใน ชี วิ ต ประจ� ำ วั น โดยมั ก เล่ า ผ่ า นมุ ม มองของ นางเอกนิยายแจ่มใส ทีไ่ ด้พบเจอกับพระเอกผม สีควันบุหรี่ นัยน์ตาสีเฮเซลนัท
“พระเอกนิยายส่วนใหญ่ที่คนชอบจะเป็นผู้ชายแมนๆ ดูแล หากมองจากมุมผู้ผลิตอย่าง พราวนภา ภู่รัตนากรกุล หรือ นางเอกได้ พอเป็นอย่างนั้น นางเอกก็จะต้องไม่แกร่งเกินไป TheLittlefinger นามปากกาที่ใช้เขียนนิยายแจ่มใสกว่าห้าเล่ม ไม่ งั้นเขาจะดู แลไม่ ไ ด้ การประกอบสร้ า งนี้ เ ห็ นได้ ชั ดมากใน ต่อปี มาตั้งแต่ปี 2549 เมื่อถามว่านิยายแจ่มใสมีเนื้อหาที่สร้าง หนังสือนวนิยายประโลมโลก” อาจารย์ปิยฤดีกล่าว ตัวตนของผู้หญิงขึ้นมาหรือไม่ TheLittlefinger มองว่า นั่นเป็นรูป อาจารย์ดา้ นปรัชญาสตรียงั ระบุอกี ว่า หากพิจารณาลักษณะ แบบของนางเอกแต่ละยุคมากกว่า เมือ่ 10 ปีทแี่ ล้ว ก็จะมีรปู แบบ ของนางเอกในนวนิ ย ายแจ่ ม ใสจะต้ อ งตั ว เล็ ก และบอบบาง ที่คนชอบ แต่ตอนนี้ทุกอย่างที่คนรับรู้เปลี่ยนไป ทั้งเรื่องสิทธิสตรี ตัวละครในลักษณะนี้สะท้อนถึงความเปราะบาง และต้องได้รับ หรือการแบ่งแยกในสังคมก็ต่างกัน “ยุคนัน้ นางเอกโก๊ะๆ ซือ่ บือ้ ๆ และไม่สคู้ น จะมาแรง เขียนง่าย ความคุ้มครองจากตัวละครผู้ชาย การประกอบสร้างทางเพศของ ในช่วงเวลาที่นิยายจากส�ำนักพิมพ์แจ่มใสโด่งดังและเป็นที่ ผูห้ ญิงเช่นนี้ อาจส่งผลไปได้ถงึ การไม่กล้าแสดงออกถึงความรูส้ กึ โยนเข้าไปในเหตุการณ์ไหนก็ใหม่ไปหมด พระเอกก็จะเป็นคนทีไ่ ด้ พูดถึงมากทีส่ ดุ ในปี 2556-2557 จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ และความต้ อ งการของตั ว เอง เพื่ อ ท� ำ ให้ ผู ้ ช ายต้ อ งเป็ น ฝ่ า ย มี ซี น ปกป้ อ งนางเอก แต่ ห ลั ง จากนั้ น คิ ด ว่ า นางเอกมี ค วาม หลากหลายมากขึ้ น และคนก็ โ ตมากขึ้ น ตั ว ละครมั น โตตาม พบว่าส�ำนักพิมพ์แจ่มใสมีรายได้ถึงปีละ 370 ล้านบาท จากการ แสดงออก นักเขียนด้วย” พราวนภากล่าวถึง ขายหนังสือที่ราคาประมาณ 120-180 บาท นอกจากนั้ น “แจ่ ม ใส” ยั ง สามารถขายสิ น ค้ า พรี เ มี่ ย ม ของขวัญ เกี่ยวกับตัวละครในนิยายได้อีก 2-4 ล้านบาทต่อปี สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า แจ่มใสนั้นเข้าถึงตลาดผู้อ่านจ�ำนวน “นิยายมันมีผลอยู่แล้ว ตอนเป็นเด็กวัยรุ่นเนี่ย Sexuality มาก สามารถส่งเสริมการติดตาม และยังท�ำงานกับความรู้สึก ผู้อ่านได้เป็นอย่างมาก (เพศวิถี) ก็เป็นด้านหนึ่งที่สำ�คัญ เขาจะสร้างตัวตนของ “หนูอยากเป็นผู้หญิงแบบ สวย น่ารัก ผอม ผู้ชายชอบเยอะๆ มีแฟนแบบขี้หึง ขี้งอนเรา” ณัฐนิชา สาวน้อยวัย 13 ปีกล่าวด้วย สี ห น้ า เขิ น อายเมื่ อ ถามถึ ง คู ่ รั ก ในจิ น ตนาการ และเมื่ อ ถาม พิมพ์ณดา เด็กสาววัยไร่เรี่ยกัน ว่าอยากมีความรักเป็นอย่างไร เธอตอบว่า “อยากมีแฟน หล่อ น่ารัก เหมือนไอดอลเกาหลี อบอุ่น ดูแลเราได้”
ตัวเองขึ้นมา มันเป็นช่วงที่เขากำ�ลังจะต้องออกเดินทาง ไปในโลก แต่เขาจะไปพร้อมกับคำ�ว่าเขาจะเป็นใคร”
ส� ำ หรั บ หญิ ง สาวที่ เ ติ บ โตมากั บ การอ่ า นนิ ย ายแจ่ ม ใส “ในนิยาย พล็อตเรื่องจึงต้องพาไปติดฝนและลงเอยกัน และ หลายคนมองว่า นิยายนั้นมีพลังท�ำให้เธอชอบผู้ชายที่ดูดี เพราะ ต่ อ ให้ มีความสัมพันธ์กันก็ไม่ได้เป็นความผิดของผู้หญิง แต่เป็น พระเอกในนิยายนั้นหล่ออย่างไม่สามารถพบเจอได้ในชีวิตจริง เนือ่ งจากสถานการณ์ และนี่คือการกดขี่ทางเพศ” อาจารย์ปิยฤดี ทั้งยังมีส่วนให้เธอมีมุมมองทางเพศในความรัก เสริมว่า นวนิยายถูกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความคิดขึ้นมา ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น นิ ย ายแจ่ ม ใสยั ง สร้ า งความคาดหวั ง ใน มากไปกว่ า นั้ น การที่ มี ชุ ด ความคิ ด ที่ ว ่ า ผู ้ ห ญิ ง ไม่ ก ล้ า เผย ความรักให้กับผู้อ่าน เมธาวจี สาระคุณ อายุ 21 ปี ผู้เป็นแฟน ความต้องการ สามารถน�ำไปสู่การละเมิดสิทธิ์ในการตัดสินใจ นิยายมาตลอดชีวติ วัยรุน่ ของเธอตอบว่า นิยายรักคือคูม่ อื ความรัก ของผู้หญิงได้มากกว่าเดิม เล่มแรกของเธอ เพราะครอบครัว หรือผูใ้ หญ่ไม่ได้มกี ารมานัง่ สอน บทบาทส�ำคัญของนวนิยายรักอย่างนิยายแจ่มใส ทีส่ ง่ ผลต่อ เรื่องแบบนี้ แต่พอเริ่มโตขึ้นจึงทราบว่า ความจริงมันไม่ได้เหมือน ผู้หญิงไทยคือ การสร้างช่วงเวลาแห่งการตามหาตัวตน และ ในนิยายอีกต่อไป การเรี ย นรู ้ ว ่ า เราจะเป็ น คนแบบไหน ตามหลั ก จิ ต วิ ท ยา “รูส้ กึ ว่าตรรกะเราต่อเรือ่ งเพศมันก็มที ผี่ ดิ บ้าง ท�ำไมผูห้ ญิงไม่ ของซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) พบว่า เราจะเริ่มมีความ จีบผู้ชายก่อน โลกในแจ่มใสมันไม่มีแบบนั้น สรุปแล้วสิ่งที่ส่งผล สนใจทางเพศในช่วงอายุ 13-15 ปี เราจะเริ่มพยายามไปก่อรูป กับเราคือมุมมองบทบาททางเพศในความรัก แต่ก็อย่างว่า นิยาย อัตลักษณ์ของตัวเองขึ้นมา เพื่อเข้าร่วมสังคมที่ประกอบไปด้วย มันเป็นผลผลิตจากความคิดคนในสังคม เพราะสังคมคิดแบบนี้ เพศต่างๆ นิยายเลยถูกผลิตมาแบบนี้ ” เมธาวจีกล่าว “เมื่อเข้าสู่ช่วงมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้หญิงก็จะเริ่มไปไหน เทวรักษ์ รุ่งเรืองวิรัชกิจ อายุ 22 ปี พูดถึงความคาดหวังต่อ มาไหนกับกลุ่มเพื่อน ปรับเปลี่ยนความเป็นผู้หญิงของตน สังเกต ตนเองหลังอ่านนิยายแจ่มใสว่า “นิยายแจ่มใสมันชายหญิงมากๆ ความเป็นผู้ชาย และรับรู้ถึงความแตกต่าง ช่วงเวลาเหล่านี้ คือ มันเสริมให้การชอบ LGBTQ เป็นเรื่องแปลก ซึ่งส่งผลให้เราชอบ เวลาที่ผู้หญิงเริ่มเรียนรู้ภาพรวมของบทบาท เรียกว่า ‘Shopping เฉพาะเพศตรงข้าม เพราะเราอ่านมา ถูกปลูกฝังมา เราว่าอันนี้ Identity’ ” อาจารย์ปิยฤดีกล่าว กระทบต่อความรักเรากว่าการชอบคนหล่ออีก” การเลือกตัวตนนั้น เริ่มต้นได้หลายทาง ถ้ากรณีของคนที่ ดร.ปิยฤดี ไชยพร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาปรัชญา ผู้สอน ไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขที่สามารถ Shopping Identity ผ่านผู้หญิง วิชาปรัชญาสตรี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มากมายทีพ่ บเจอในชีวติ หรือผ่านคนรักทีเ่ ข้ามามีสว่ นให้สามารถ ชวนให้ ล องมองอิ ท ธิ พ ลของนิ ย ายแจ่ ม ใสกั บ การพั ฒ นาเชิ ง เรียนรู้ตัวตนได้ ก็จะไปศึกษาความรัก และการเป็นผู้หญิงได้จาก ความคิด อ้างอิงตามการศึกษาปรัชญาสตรี โดยอิทธิพลจากนิยาย นิยายพาฝัน โดยเลือกเอาตัวแบบมาจากสิ่งที่เราคาดหวังจะเป็น เหล่านี้สามารถอธิบายได้ผ่านทฤษฎีของแคเธอรีน แมคกินนอน เพื่อที่จะได้มีความรักในแบบที่ปรารถนา (Catherine Mckinnon) ซึ่งมีใจความว่า ผู้หญิงถูกประกอบสร้าง “นิยายมันมีผลอยู่แล้ว เพราะว่าตอนเป็นเด็กวัยรุ่น เพศวิถี ทางสังคมวัฒนธรรม มีกลไกหลักมาจากการประกอบสร้างผ่าน เพศวิ ถี เช่ น เราจะรั ก ผู ้ ช ายแบบไหน หรื อ เมื่ อ เราอยากมี รั ก ก็เป็นด้านหนึ่งที่ส�ำคัญ เขาจะสร้างตัวตนขึ้นมา เป็นช่วงที่จะต้อง โรแมนติก เราจะต้องมีภาพลักษณ์เป็นเช่นไร เพื่อที่จะให้ผล ออกเดินทางในโลก พร้อมกับค�ำถามว่า ‘เขาจะเป็นใคร’ ” อาจารย์ ปิยฤดีทิ้งท้าย สอดคล้องกับความรักแบบนั้น ผู้หญิงต้องสร้างตัวตนขึ้นมา
ดร.ปิยฤดี ไชยพร ท่ามกลางนิยายแจ่มใสที่ผลิตออกมาหลายร้อยเล่ม และ นักเขียนหลายร้อยคนทีเ่ หมือนว่าจะมีแนวทางการเขียนไปในทาง เดียวกัน แต่ ชลธิชา บุญรัตนพิทักษ์ หรือ นามปากกา ลูกชุบ กลับต่างออกไป ทัง้ แนวทางการเขียน โครงเรือ่ งทีใ่ หม่ และเนือ้ หา ที่จริงจังกว่า เธอเขียนนิยายภายใต้ส�ำนักพิมพ์มากว่า 56 เรื่อง และเป็นนักเขียนคนแรกที่ลาออกจากส�ำนักพิมพ์ เพื่อไปศึกษา ปริญญาโทด้านจิตวิทยาต่อที่สกอตแลนด์ “เราออกจากแจ่มใสมาเพราะแจ่มใสท�ำ ‘แนวเรท’ และเรา ไม่สบายใจกับทิศทางของส�ำนักพิมพ์ที่เกิดขึ้นตอนนี้ เรารู้สึกว่า เราใช้ เ วลาทั้ ง ชี วิ ต ในการท� ำ งาน หนี ค� ำ ว่ า ‘นิ ย ายลู ก กวาด เคลือบยาพิษ’ ” เธอพูดถึงเหตุผลหลักๆ ของเธอ ถึงแม้ลูกชุบจะออกมาจากส�ำนักพิมพ์แล้ว แต่เมื่อมองย้อน กลับไปถึง อิทธิพลของแจ่มใสต่อคนในสังคม เธอมองว่านั่นเป็น สิ่งที่มองข้ามไปไม่ได้เลย “ แจ่มใสคือวัฒนธรรมหนึ่งที่มันฝังไป แล้ว ถามว่าทุกวันนี้ละครในช่อง GMM แกรมมี่ ใครบอกว่า ไม่แจ่มใส นั่นก็คือบทละครที่ดัดแปลงจากนิยายแจ่มใส รู้สึกว่า แจ่มใสกลายเป็นค�ำขยายความไปแล้ว สมมติคณ ุ ดูฉาก สโลว์ซบ คุณยังพูดเลยว่าฉากนี้แจ่มใสมาก ต่อให้คุณชอบไม่ชอบเราไม่รู้ แต่ มั น กลายเป็ น ค� ำ ขยายความการกระท� ำ ไปแล้ ว มั น เป็ น ภาพเหมารวมที่สร้างโดยหนังสือในช่วงเวลา 7-10 ปีนี้” “แจ่มใสสร้างวัฒนธรรมการอ่านขึ้นมานะ บางคนก็เริ่มจาก แจ่มใสก่อน แล้วไปอ่านหนังสืออย่างอื่น เหมือนคุณเข้าสนาม แรกๆ คุณก็อ่านอะไรที่อ่านง่าย ย่อยง่าย พอโตไป คุณค่อยเริ่ม รูส้ กึ ว่า หนังสือมันเป็นแบบนี้ คุณค่อยเริม่ ขยับไปเป็นหนังสือทีม่ นั ตัวหนังสือเยอะขึ้น เนื้อหามันลึกซึ้งมากขึ้นได้อีก” ลูกชุบทิ้งท้าย ทุกวันนี้ ผู้อ่านหลายคนเติบโตขึ้น และอาจจะเปลี่ยนไปอ่าน วรรณกรรมรูปแบบอื่น แต่คงมีสาววัยแรกรุ่นอีกไม่น้อยที่กลาย เป็ น แฟนของนิ ย ายแจ่ ม ใสและมาชอปปิ ง ตั ว ตนต่ า งๆ ไป ปรากฏการณ์ดังกล่าวจึงชวนตั้งค�ำถามถึงความหลากหลายใน วงการวรรณกรรมวัยรุ่นไทยว่า เรามีซูเปอร์มาร์เก็ตใหญ่เพียงใด ให้วยั รุน่ ได้เลือกสรร เพือ่ พร้อมทีจ่ ะออกเดินไปในโลกทีก่ ว้างใหญ่
12 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ART
พลังของคนกลุ่มไหน
ที่ต่อลมหายใจให้โลกศิลปะนอกเมืองกรุง เรื่อง-ภาพ : เพชรรัตน์ กลิ่นเทศ
ทุกวันนี้กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทางศิลปะเกิดขึ้นให้เห็นเป็น รูปธรรมอย่างหลากหลาย มีทั้งหอศิลป์ไว้เป็นพื้นที่ในการจัด แสดงผลงานทางศิ ล ปะให้ แ ก่ ทั้ ง ศิ ล ปิ น เด็ ก และเยาวชน หลากหลายรูปแบบ มีร้านหนังสือ โรงละคร และโรงภาพยนตร์ อิสระเกิดขึ้นมากมาย จนคนในเมืองกรุงอาจไม่รู้สึกตื่นเต้นกับ การเกิดพื้นที่ทางศิลปะแห่งใหม่ๆ แต่ความรุ่มรวยทางศิลปะ ไม่ได้เกิดขึ้นกับพื้นที่นอกเมืองกรุงเท่าไรนัก บางจังหวัดพอมี พื้นที่ทางศิลปะอยู่บ้าง แต่บางจังหวัดกลับไม่มีพื้นที่เหล่านั้น เลยสักแห่ง “จังหวัดเราไม่มีทางเลือกในการเข้าถึงพื้นที่ทางศิลปะ โดย เฉพาะเรื่องที่เราสนใจอย่างดนตรี นอกจากไม่สามารถเข้าไป สัมผัสได้หลากหลายเท่ากับในกรุงเทพฯ แล้ว ยังไม่มีเวทีที่จะให้ เยาวชนได้แสดงความสามารถเลยด้วยซ�้ำ” ศุ ภ ชั ย นพสุ ว รรณ นั ก ศึ ก ษาคณะดุ ริ ย างคศิ ล ป์ สาขา ดนตรีแจ๊ส มหาวิทยาลัยศิลปากร เผยช่วงเวลาอันยากล�ำบาก ในการเข้าถึงการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับศิลปะและอุปสรรคของ การเข้าไม่ถึงพื้นที่ทางศิลปะในต่างจังหวัดขณะที่เขาเรียนอยู่ที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ การที่บางจังหวัดไม่มีพ้ืนที่ทางศิลปะที่จะช่วยส่งเสริมให้หู ตาของคนในพื้นที่กว้างไกล และไม่ มี เวที ส�ำหรั บแสดงความ สามารถในด้านนี้ ส่งผลให้เด็กต่างจังหวัดบางคนต้องดั้นด้นเพื่อ เข้าไปสัมผัสและเรียนรู้ศิลปะในเมืองกรุง ต้องใช้ต้นทุน เวลา และความพยายามอย่างสูง แต่กลับได้ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ เท่าใดนัก ศุภชัยจึงมองว่าในแต่ละจังหวัดควรมีพื้นที่เหล่านี้ให้ แก่คนในจังหวัด เพื่อให้พวกเขาสามารถเรียนรู้ และน�ำมาปรับ ใช้กับชีวิตประจ�ำวัน “คนต่างจังหวัดยังติดการมองภาพตั ว เองเป็ น คนไกลปื น เที่ยง แม้ปัจจุบันทิศทางของแวดวงศิลปะจะดีขึ้น แต่ทัศนคติที่ ถูกปลูกฝังยังคงอยู่ ยิ่งศิลปะยังกระจุกอยู่ในกรุงเทพฯ คนก็ยิ่ง มองว่าศิลปะเป็นเรื่องไกลตัว” ศุภชัยชี้แจงด้วยสีหน้าที่แสดงให้ เห็นถึงความสิ้นหวัง แม้โอกาสในการเข้าถึงพื้นที่ทางศิลปะในต่างจังหวัดจะไม่ เท่าเทียมกับกรุงเทพฯ ส่งผลให้คนในพื้นที่บางคนต้องดั้นด้น เพื่อเข้าไปศึกษาหรือประกอบอาชีพในเมืองหลวง แต่บางพื้นที่ ก็ยังมีพลังจากกลุ่มคนตัวเล็ กตั วน้ อยที่ ค อยขั บเคลื่ อนให้ เกิด พื้นที่เหล่านี้ในจังหวัดของตนเอง “อยากให้โคราชได้มีพื้น ที่ ที่ สามารถมอบประสบการณ์ ที่ เหมือนกับคนกรุงเทพฯ ได้รับ” ชลัท ศิริวาณิชย์ เป็นผู้ก่อตั้งห้องฉายหนังนอกกระแสใน จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้ชื่อ Homeflick ชลัทเติบโตและเรียน หนั ง สื อ ในเมื อ งโคราชมาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ จนกระทั่ ง เข้ า ไปเรี ย น มหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ และเล็งเห็นว่าบ้านเกิดของตนไม่มี พื้นที่ทางศิลปะให้กับคนในท้องถิ่นที่สนใจด้านนี้ เขาจึงน�ำสิ่งที่ เรียนในมหาวิทยาลัยมาประยุกต์ใช้กับการสร้างพื้นที่เหล่านี้ใน จังหวัดของตน
ภาพบรรยากาศนิทรรศการ Broken Threshold ที่ River City Bangkok เมื่อเดือนสิงหาคม 2562
“ในแต่ละจังหวัดมีกลุ่มคนที่สนใจในเรื่องที่แตกต่างกันไป แต่สิ่งที่เป็นอุปสรรคคือการไม่มีพื้นที่ส�ำหรับพวกเขา อย่างตัว เราเองชอบดูหนัง โดยเฉพาะหนังนอกกระแส เราเลยเริ่มจัด ฉายหนังนอกกระแสเพื่อผลักดันให้โคราชมีทางเลือกในการ เข้าถึง ภาพยนตร์ ซึ่งเป็นศิลปะอีกแขนงหนึ่งมากยิ่งขึ้น” แม้ชลัทจะมีความตั้งใจอันเปี่ยมล้นที่จะผลักดันให้โคราช มีทางเลือกในการเข้าถึงศิลปะมากยิ่งขึ้น โดยหวังว่าคนโคราช จะเห็นคุณค่า และสามารถสร้างวัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นของ ตนเองได้ แต่การไม่ได้รับแรงสนับสนุนจากภาครัฐหรือหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการไม่มีนโยบายเพื่อเพิ่มความรู้ความ เข้าใจให้กับคนในพื้นที่ ท�ำให้ความเจริญงอกงามของศิลปะใน ต่างจังหวัดเป็นไปได้อย่างล้าช้าและยากล�ำบาก “ผมรู ้ จั ก หลายคนมากที่ เ ขาไปเรี ย นกรุ ง เทพฯ แล้ ว พยายามจะกลับมาท�ำอะไรที่โคราช อย่างเช่นนิตยสารเกี่ยว กั บ ภาพยนตร์ แต่ ไ ปรอดได้ ย ากมาก ไม่ เ หลื อ สั ก ราย แล้ ว สุดท้ายก็กลับไปที่กรุงเทพฯ ค�ำถามก็เลยเกิดตลอดว่าภาครัฐ ไปไหน หรือคนที่ควรจะอุ้มคนพวกนี้ คนที่ควรจะมาส่องแสง สว่างให้คนเหล่านี้เป็นทรัพยากรที่ดีในจังหวัดตัวเองไปไหน ท�ำไมเขาถึงไม่รั้งคนพวกนี้ไว้เลย ท�ำไมเขาถึงปล่อยไปง่ายๆ” ชลัทตั้งค�ำถามเป็นการปิดท้าย
“พอเราไม่มีหอศิลป์ที่ดี เราก็จะไม่รู้ว่า อะไรมีค่า อะไรงาม อะไรเป็นศิลปะ”
ทวี รัชนีกร
ในเมื อ งโคราชยั งมี ทวี รั ช นี ก ร ศิ ล ปิ นแห่ งชาติ สาขา ทัศนศิลป์ ที่เข้ามาช่วยขับเคลื่อนโลกของศิลปะในจังหวัดนี้ ด้วยอีกแรง โดยการร่วมก่อตั้งแผนกศิลปกรรมที่แรกของภาค อีสานที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตตะวัน ออกเฉียงเหนือ และตั้งหอศิลป์ร่วมสมัยเพียงแห่งเดียวของ โคราชขึ้นภายใต้ชื่อของตนเองในเวลาต่อมา ทวี ใ ห้ ค วามเห็ น ว่ า ในประเทศไทยยั ง ไม่ มี ห อศิ ล ป์ ร่วมสมัยของรัฐที่ได้มาตรฐาน หากมองไปยังประเทศที่ศิลปะ เจริ ญ แล้ ว หอศิ ล ป์ ใ นเมื อ งนั้ น จะเก็ บ งานตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปัจจุบันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ดังนั้นรัฐไทยควรเป็นเจ้าของหอ ศิลป์แล้วเชิญนักวิชาการหรือผู้รู้ด้านศิลปะมาเลือกงานที่มี คุณค่าทางประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างคลังส�ำหรับการเรียนรู้ให้ คนไทยได้เข้าใจงานศิลปะ “เมื่อก่อนพูดถึงศิลปะที่โคราช คนไม่รู้เรื่องหรอก แต่เรา โทษคนดูไม่ได้ มันเป็นเพราะว่าเขาไม่คุ้นชิน พอเราไม่มีหอ ศิลป์ที่ดี เราก็จะไม่รู้ว่าอะไรมันมีค่า อะไรมันงาม อะไรมันเป็น ศิลปะ” ทวีเสริม ศิลปินแห่งชาติเล่าเพิ่มเติมว่า แม้ในปัจจุบันมุมมองที่มี ต่ อ ศิ ล ปะของคนในเมื อ งโคราชมี ทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น เนื่ อ งจากมี ภาคเอกชนอย่ า งอาจารย์ ท วี และคนในท้ อ นถิ่ น ช่ ว ยกั น
สร้างบรรยากาศ และผลักดันให้มีพื้นที่ในการจัดแสดงผลงาน ศิลปะ ส่งผลให้คนในพื้นที่ก็จะสามารถเข้าถึงพื้นที่ทางศิลปะ และ สามารถเข้าใจศิลปะได้มากยิ่งขึ้น แต่หากภาครัฐไม่เร่งผลักดัน ศิลปะในท้องถิ่นมากพอ ก็จะยิ่งท�ำให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ศิ ล ปะของคนเมื อ งเป็ น ไปได้ อ ย่ า งล่ า ช้ า ส่ ง ผลให้ ค นไทย ไม่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับศิลปวัฒนธรรมในไทยได้ “หวังว่ารัฐบาลรุ่นต่อๆ ไปจะเห็นความส�ำคัญ ส่วนตอนนี้รัฐ เขาก็ช่วยได้เท่าที่สติปัญญาเขามี เราก็ก้มหน้าก้มตาท�ำของเราไป เรื่อย ๆ แหละ” ทวีกล่าวปิดท้าย วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา หนึ่งในสมาชิกของ FILMVIRUS ผู ้ คั ด เลื อ กหนั ง สั้ น เพื่ อ น� ำ ไปฉายในเวที ต ่ า งๆ ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และต่ า งจั ง หวั ด ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ความไม่ เ ท่ า เทียมในการเข้าถึงพื้นที่ทางศิลปะว่า รัฐส่วนกลางอาจจะต้อง กระจายอ� ำ นาจไปยั ง ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ โ อกาสท้ อ งถิ่ น ได้ บ ริ ห าร จัดการกันเอง “ล่ า สุ ด เราไปเทศกาลภาพยนตร์ ส ารคดี ย ามากาตะ (YAMAGATA International Documentary Film Festival) ของประเทศญี่ปุ่น เป็นเทศกาลที่เกิดจากเมืองเล็กๆ ไม่เกี่ยวกับรัฐ ส่ ว นกลาง เป็ น เทศกาลที่ ค นท� ำ หนั ง สารคดี จ ากทั่ ว โลกอยาก ส่งเข้าไปประกวด มีรางวัลพิเศษจากนายกเทศมนตรี ช่วงที่เป็น เทศกาล คนในเมืองก็จะพูดถึงแต่เทศกาลนี้ และมีป้ายแปะไป ทั่วทั้งเมือง” วิวัฒน์อธิบายบรรยากาศการจัดงานในท้องถิ่นของ เมืองยามากาตะ ด้วยน�้ำเสียงตื่นเต้น ก่อนจะกล่าวเพิ่มเติมว่า “หากคนในท้องถิน่ สามารถเลือกนายกเทศมนตรีทจี่ ะมาบริหารบ้าน เมื อ งของตนเองได้ ก็ จ ะสามารถพั ฒ นาจั ง หวั ด ได้ อ ย่ า งถู ก จุ ด และสร้างการรับรู้ร่วมกันภายในเมืองได้” “ต่างจังหวัดขาดอย่างเดียวคือ ‘โอกาส’ มันเป็นเรื่องที่แย่นะ เหมือนกับเราขาดโอกาสไป 40 ปี พอเรามีโอกาส เราจะเท่าคนที่ รู ้ ม า 40 ปี เ ลยมั้ ย มั น ไม่ มี ท าง เพราะมั น ไม่ ใ ช่ ก ารไม่ เ ท่ า กั น ทางปัญญา มันเป็นความไม่เท่ากันทางโอกาส” วิวัฒน์เสริม แม้ จ ะมี ก ลุ ่ ม คนที่ พ ยายามเพิ่ ม โอกาสและสร้ า งพื้ น ที่ ท าง ศิ ล ปะให้ กั บ ท้ อ งถิ่ น อยู ่ ห ลายกลุ ่ ม แต่ ป ั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก ความไม่เท่าเทียมและการขาดโอกาสนี้กลับยังไม่ถูกพัฒนาอย่าง จริ ง จั ง จนส่ ง ผลกระทบเป็ น วงกว้ า งต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของคนใน ต่ า งจั ง หวั ด มาเป็ น เวลานาน บ้ า งไม่ รู ้ ไ ม่ เ ข้ า ใจศิ ล ปะจนน� ำ ไป สู่ทัศนคติที่มองศิลปะเป็นเรื่องห่างไกล บ้างย้ายถิ่นฐานเพื่อศึกษา ประกอบอาชีพ และเริ่มต้นชีวิตใหม่ในเมืองกรุงเพื่อหนีปัญหานี้ ทั้งยังไม่สามารถสร้างวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ศิ ล ปวั ฒ นธรรมในบ้ า นเมื อ งของตนได้ แต่ ก ารจะผลั ก ดั น ให้ เกิ ด พื้ น ที่ ท างศิ ล ปะขึ้ น ในแต่ ล ะท้ อ งที่ นั้ น กลั บ ต้ อ งเป็ น ภาระ ของคนตัวเล็กตัวน้อยในจังหวัด เพราะโครงสร้างในการสนับสนุน ศิลปวัฒนธรรมในไทยยังมีไม่เข้มแข็งพอ ค�ำถามที่มักจะเกิดขึ้นขณะพูดคุยกับคนตัวเล็กตัวน้อยเหล่านี้ ก็คือ รัฐท�ำอะไรเพื่อส่งเสริมศิลปะให้กับคนต่างจังหวัดบ้าง?
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | 13
ART
Art Market พื้นที่ของศิลปินรุ่นใหม่ เรื่อง-ภาพ : สาริศา เลิศวัฒนากิจกุล
ในยุ ค สมั ย ที่ ใ ครๆ ก็ ติ ด สติ ก เกอร์ บ น แล็ปท็อปส่วนตัว แถมบนโต๊ะท�ำงานก็ต้องมี โปสการ์ดทีต่ ดิ ด้วยมาสกิง้ เทปลายเก๋ “ตลาดนัด ศิ ล ปะ” หรื อ “Art Market” ที่ จั ด ขึ้ น แทบจะ สั ป ดาห์ เ ว้ น สั ป ดาห์ จึ ง กลายเป็ น ขุ ม ทรั พ ย์ ส�ำหรับนักสะสมของกุ๊กกิ๊กเหล่านี้ ตั้งแต่ต้นปี 2019 ที่ผ่านมา มีการจัดงาน ตลาดนั ด ศิ ล ปะมากถึ ง 21 งาน ทั้ ง ตลาดนั ด สติกเกอร์ งานคราฟต์ หนังสืออาร์ต และงาน ภาพประกอบ ซึ่งแต่ละงานมีความยาวในการ จัดแตกต่างกันไป ตั้งแต่ 1-4 วันเลยทีเดียว “อาร์ตมาร์เก็ตมันเหมือนเป็นโชว์แกลเลอรี ของศิ ล ปิ น นี่ คื อ โมเดลที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ที่ ค นจะ สามารถติดตามงานศิลปินได้” พฤทธิ์ สารถี ผู้ก่อตั้ง 10 Art Market หนึ่งในผู้จัดงานที่มาแรง ที่ สุ ด รายหนึ่ ง ในปี นี้ เล่ า ถึ ง ความพิ เ ศษของ ตลาดนัดศิลปะต่อศิลปินทีต่ อ้ งการพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ใน การลองผิดลองถูก ที่นี่จึงเป็นพื้นที่ที่ตอบโจทย์ มากกว่าการจัดนิทรรศการในแกลเลอรี ในมุ ม มองของพฤทธิ์ อั ต ราการเติ บ โต ชนิ ด ก้ า วกระโดดของตลาดนั ด ศิ ล ปะนั้ น มีปัจจัยส�ำคัญคือ ความต้องการทั้งฝ่ายศิลปิน และตลาดผู้ชม “ผมคิดว่าเขาเริ่มอยากสะสม ของกันนะ เพราะเขาอาจจะตามศิลปินอยู่บน โลกออนไลน์อยู่แล้ว” พฤทธิ์กล่าว
ภาพบรรยากาศงาน CARAWEENDAY Art Market เมื่อวันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม 2562
ตอนที่งานหนังสือจัดปีละสองครั้ง” เธอกล่าว เปรียบเทียบในมุมของผู้เข้าร่วมงาน ด้าน จิตกานต์ วงษาสนธิ์ นักวาดภาพ ประกอบผู้ออกบูธในตลาดนัดศิลปะเป็นประจ�ำ ระบุวา่ เวลาท�ำงานทีล่ ดลง จากการจัดงานถีเ่ กิน ไปนัน้ ก็สง่ ผลกระทบต่อศิลปินอยูไ่ ม่นอ้ ย “ส่วนที่มันนานคือกระบวนการผลิตที่ต้อง เข้าสู่โรงงานหรือโรงพิมพ์ ฐานผลิตบางอย่าง อาจจะไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นประเทศ และโรงงานที่ ตอบโจทย์ผู้ผลิตรายย่อยแบบเรามันก็มีน้อย”
“เราจ�ำเป็ น ต้ อ งพั ฒ นาสั ง คมของนั ก สะสม
เพื่อให้เขามีประสบการณ์ที่เข้มแข็งและลึกซึ้งขึ้น เขาควรได้ ดู ง านดี ๆ หรื อ ได้ อ ่ า นงานวิ จ ารณ์ ที่ลึกซึ้งและมีประโยชน์ วิภาช ภูริชานนท์
ปพิชญา ถนัดศีลธรรม ผู้ติดตามและ เข้าร่วมตลาดนัดศิลปะเป็นประจ�ำ คิดเห็นไป ในทิศทางเดียวกัน เพราะเธอเองก็เป็นคนหนึ่ง ที่ติดตามนักวาดบนโลกออนไลน์อยู่เสมอๆ สอดคล้องกับปัจจัยข้างต้น ดร.ให้ แ สง ชวนลิขกิ ร อาจารย์ประจ�ำคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อ�ำนวยการโครงการ CU ART4C เสนอว่า “มันคือการที่เขาใช้สื่อเป็น เพราะพวก อาร์ตมาร์เก็ตส่วนมากก็จะเป็นของเจ้าของกิจการ รุน่ ใหม่ ทีส่ ามารถหยิบจับ และใช้เทคโนโลยีเป็น มากขึน้ ” แต่ ก็ ใ ช่ ว ่ า ทุ ก งานที่ จ ะมี ก ระแสตอบรั บ ล้ น หลามเสมอไป ระยะหลั ง มานี้ จึ ง เริ่ ม เกิ ด กระแสตี ก ลั บ บนโลกออนไลน์ ผู ้ ค นออกมา แสดงความคิดเห็นว่า การจัดงานบ่อยเกินไป อาจส่งผลกระทบในหลายด้าน “การที่ ง านเยอะขึ้ น มั น ท� ำ ให้ เ รารู ้ สึ ก ว่ า เราจะไปเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ได้รู้สึกพิเศษขนาดนั้น สมมติ ว ่ า ถ้ า งานหนั ง สื อ จั ด ทุ ก เดื อ น เราก็ ค ง รูส้ กึ กระหายการซือ้ หนังสือน้อยลง เมือ่ เทียบกับ
“คนอาจจะมองว่ า มั น มี โ รงงานที่ ท� ำ ได้ เยอะ แต่ ส ่ ว นมากมั น เป็ น อุ ต สาหกรรมใหญ่ ท� ำ ให้ คิ ว การสั่ ง ผลิ ต งานมั น ก็ ไ ปรวมกั น อยู ่ ที่ ผู้ผลิตไม่กี่แห่ง” จิตกานต์อธิบายสาเหตุที่เธอ เองสามารถออกบู ธ ได้ เ พี ย ง 4-5 ครั้ ง เท่ า นั้ น ในปีที่ผ่านมา ยิ่งไปกว่านั้น ศิลปินยังต้องแบกรับต้นทุน และความเสี่ ย งเพิ่ ม ขึ้ น จากเดิ ม อี ก ด้ ว ย เอื้อมบุญ ศรีดี ฟรีแลนซ์นักวาดภาพประกอบ ผู้มีประสบการณ์ผลิตสินค้าขายในงานต่างๆ มากว่าแปดปีสะท้อนว่า “เวลาเราพิมพ์ของไว้ เราไม่รู้หรอกว่าคน ที่ ง านจะซื้ อ เยอะแค่ ไ หน ก็ ต ้ อ งพิ ม พ์ เ ผื่ อ ไว้ ล่าสุดเราขายพวงกุญแจห้าลาย เราก็ไม่รู้ว่า ที่งานคนจะซื้อลายไหนเท่าไหร่บ้าง บางลาย อาจจะขายไม่หมดด้วยซ�้ำ” ซึ่งนอกเหนือจาก ความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว เอื้ อ มบุ ญ ยั ง เสริ ม อี ก ว่ า ค่ า เสื่ อ มของอุ ป กรณ์ อ ย่ า งคอมพิ ว เตอร์ แ ละ แท็ บ เล็ ต รวมถึ ง ค่ า เสี ย เวลาในการประสาน งานก็เป็นต้นทุนที่ศิลปินต้องรับผิดชอบเช่นกัน
ค� ำ ถามส� ำ คั ญ ที่ สั ง คมในวงกว้ า งยั ง ไม่ เข้าใจนักคือ ผู้เข้าร่วมงานลักษณะนี้จะอุดหนุน ผลงานไปเพื่ออะไร ในเมื่อสินค้าบางชิ้น ซื้อไป ก็ไม่กล้าใช้ด้วยซ�้ำ แถมกว่าจะเข้าไปซื้อได้ก็ยัง ต้องเสียค่าเข้างานอีกต่างหาก “นั ก สะสมเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของระบบนิ เ วศ ศิ ล ปะ เมื่ อ มี ง านศิ ล ปะถู ก ผลิ ต ออกมาแล้ ว มั น ก็ ต ้ อ งมี ที่ ไ ป ถ้ า มั น ถู ก เอาไปโชว์ ใ น นิทรรศการต่างๆ แต่ไม่สามารถขายออกและ น�ำเงินกลับมาให้ศิลปินผลิตงานต่อไปได้ มันก็ จะท� ำ ให้ ว งจรการผลิ ตงานศิ ล ปะมั นไม่ ครบ” วิภาช ภูริชานนท์ ภัณฑารักษ์ และอาจารย์ ประจ� ำ ภาควิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ คณะ โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับความส�ำคัญของนักสะสม “เราต้ อ งอั ป เลเวลเขา เราจ� ำ เป็ น ต้ อ ง พั ฒ นาสั ง คมของนั ก สะสม เพื่ อ ให้ เ ขามี ประสบการณ์ที่เข้มแข็งและลึกซึ้งขึ้น เขาควร ได้ดูงานดีๆ หรือได้อ่านงานวิจารณ์ที่ลึกซึ้งและ มี ป ระโยชน์ ” อาจารย์ วิ ภ าชเสนอแนะแนว ทางในการพัฒนาวงการศิลปะไทย ในขณะที่ อาจารย์ให้แสงกล่าวว่า “การ พัฒนาวงการศิลปะที่แท้จริงคือ ตัวคนก็ต้อง ขวนขวายหาความรู้ด้วย ต้องอ่านหนังสือ ต้อง ไปนิทรรศการ ไม่ใช่ว่าไปแต่ซื้อของในอาร์ต มาร์เก็ตอย่างเดียวแล้วมันจะเพิ่มพูนความรู้ ด้านศิลปะ อันนั้นมันไม่ใช่” สิ ง คโปร์ นั บ ว่ า เป็ น อี ก หนึ่ ง ในโมเดลที่ น่าสนใจ ในแง่การพัฒนาวงการศิลปะ ย้อน กลับไปในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ได้มีการก่อตั้ง สภาศิ ล ปะแห่ ง ชาติ สิ ง คโปร์ (National Arts Council : NAC) พร้ อ มกั บ การวางแผนงบ ประมาณภาครัฐจ�ำนวนมากเพื่อสร้างประเทศ ให้ เ ป็ น Global City of the Arts ซึ่ ง ผลจาก นโยบายดังกล่าว มีตั้งแต่การสร้างพิพิธภัณฑ์ แห่งใหม่ โครงการพัฒนาพื้นที่แกลเลอรี และ การสร้ า ง School of the Arts, Singapore
(SOTA) ที่ใช้งบประมาณมหาศาล ตลอดจน นโยบายการลดภาษี ในการน� ำ เข้ า และ ส่งออกงานศิลปะอีกด้วย ในความเป็นจริงแล้ว การสนับสนุนวงการ ศิลปะไทยนั้นสามารถท�ำได้หลายรูปแบบมาก ตั้งแต่การสนับสนุนด้วยทุนทรัพย์ หรือการให้ พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ จั ด แสดงงานศิ ล ปะ ซึ่ ง ในส่ ว นนี้ อาจารย์ให้แสงกล่าวว่า แม้จะมีอยู่บ้างแล้ว แต่ก็ยังไม่เพียงพอ และจ�ำเป็นจะต้องกระจาย ให้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น “สิ่งหนึ่งที่สามารถช่วยได้เลยคือเรื่องภาษี เวลาศิลปินจะซื้อขายงาน ทุกวันนี้การที่เรายัง ให้ศิลปะเป็นของฟุ่มเฟือย ภาษี 30 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับรถยนต์ เรื่องนี้มันก็เป็นอะไรที่เขาน่าจะ ช่วยได้ รวมถึงน�ำเข้าหรือส่งออกงานศิลปะ” ในขณะที่ ผู ้ จั ด งานตลาดนั ด ศิ ล ปะอย่ า ง พฤทธิ์ แม้ จ ะไม่ ห วั ง การสนั บ สนุ น ด้ า น งบประมาณจากทางภาครัฐ แต่รฐั บาลก็สามารถ ช่วยเหลือเหล่าผูจ้ ดั งานได้ดว้ ยวิธอี นื่ ๆ เช่นกัน “เรามองว่า สิ่งที่เราอยากได้จากภาครัฐ คือการโปรโมตเรามากกว่า นี่น่าจะเป็นสิ่งที่เรา ต้องการจากภาครัฐมากที่สุดแล้ว ส่วนในเรื่อง ของค่าใช้จ่ายถ้ามีมาได้มันก็น่าจะดี เพราะถ้ามี เราก็อยากจะลดค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่ให้ กับศิลปิน” ในอนาคต ไม่ว่าตลาดนัดศิลปะจะเติบโต ต่ อ ไปได้ อ ย่ า งมั่ น คงหรื อ ไม่ แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ รา มั่ น ใจได้ คื อ งานทุ ก งานล้ ว นมี ส ่ ว นช่ ว ย ในการสื่ อ สารคุ ณ ค่ า ของศิ ล ปะออกสู ่ สั ง คม วงกว้าง และขยายขอบเขตของแวดวงศิลปะ ไทยให้ไกลออกไปขึ้นทีละนิด “ศิ ล ปะมั น คื อ พื้ น ฐานของความศิ วิ ไ ลซ์ ของมนุ ษ ย์ เป็ น สิ่ ง ที่ ค วรจะอยู ่ ใ นอั น ดั บ ต้ น ๆ ในขั้นตอนการฟูมฟักคนให้เป็นคนที่ดี เพราะ ถ้าเราเข้าใจว่าศิลปะชิ้นนี้มาจากไหน สะท้อน สั ง คมและวั ฒ นธรรมยั ง ไง จิ ต ใจเราก็ จ ะถู ก พั ฒ นาให้ ดี ขึ้ น ” อาจารย์ ใ ห้ แ สงกล่ า วถึ ง ความส�ำคัญของวงการศิลปะ
14 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
QUALITY OF LIFE
อย่ า งมั่ น ใจว่ า ไม่ ว ่ า จะในโปรดั ก ชั น ขนาดเล็ ก หรื อ ใหญ่ มาตรฐานสวัสดิการที่ดีของทีมงานสามารถเกิดขึ้นได้ ด้วยความตั้งใจที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างความ เป็นธรรมให้กับเพื่อนร่วมอาชีพ อัญชิษฐาจึงมีอีกหนึ่งต�ำแหน่ง หน้าที่ นัน่ คือ อุปนายกสมาคมผูป้ ระกอบอาชีพภาพยนตร์และสือ่ ดิจิทัล (Film & Digital Media Crew Association Thailand : FDCA) สมาคมที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการรวมตั ว ของกลุ ่ ม คนในงาน โปรดักชัน โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันสามประการ ได้แก่ พัฒนา และยกระดับอาชีพให้มมี าตรฐานในระดับสากล คุม้ ครองสมาชิก ให้ได้รับการปฏิบัติที่เป็นธรรม และส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ระหว่างบริษัทโปรดักชันกับทีมงาน กระนั้น เธอเองก็ยอมรับว่า เรื่องคุณภาพชีวิตของคนกองเป็นเรื่องใหม่ของวงการที่ไม่เคยถูก ให้ความส�ำคัญมาก่อน ดังนัน้ ในช่วงสามปีทสี่ มาคมถือก�ำเนิดขึน้ จึงยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่เห็นเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน
คนกอง :
เติบโตในกองถ่าย และตายในหน้าที่ เรื่อง : อสมาภรณ์ พิริยะโภคานนท์
ภาพ : เปมิกา จิระนารักษ์
เมื่อเกิดปัญหาเช่นนี้ การจัดตั้งสหภาพแรงงานเพื่อเรียกร้อง ความชอบธรรมจึ ง อาจเป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางการแก้ ไ ขปั ญ หา ด้านสวัสดิการและชั่วโมงการท�ำงานของเหล่าคนกอง
นอกเหนื อ ไปจากนั้ น ภาวะการแข่ ง ขั น ก็ บั ง คั บ ให้ เ หล่ า ทว่ า อั ญ ชิ ษ ฐากลั บ ชี้ แ จงว่ า เราก่ อ ตั้ ง สหภาพไม่ ไ ด้ ใ น บริษัทโปรดักชันต้องห�้ำหั่นราคาเพื่อให้ตัวเองมีลมหายใจต่อไป ประเทศไทย เนื่องจากยังขัดด้วยต่อข้อกฎหมายที่ยังไม่รองรับ หกโมงเช้า คือเวลาปกติที่ “คนกอง” จะต้องพาตัวเองไปอยู่ ในอุตสาหกรรมได้ เมื่อเม็ดเงินน้อยลง นั่นย่อมหมายถึงจะต้อง ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 หมวด 7 ณ สถานที่ถ่ายท�ำ หากเป็นกองถ่ายภาพยนตร์ เวลาท�ำงานจะ มี อ ะไรถู ก ลดทอนออกไป บ่ อ ยครั้ ง สิ่ ง ที่ ถู ก ตั ด ออกไปอย่ า ง มาตรา 88 ระบุว่า ผู้มีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานต้องเป็นลูกจ้าง สิ้นสุดที่หกโมงเย็น แต่ถ้าหากเป็นกองถ่ายละคร ทุกคนจะได้ น่าเศร้าใจ คือสวัสดิการและความอยู่ดีกินดีของทีมงาน ของนายจ้ างคนเดียวกัน หรือเป็นลูกจ้างซึ่งทํางานในกิจการ ตอกบัตรเลิกงานในเวลาสี่ทุ่ม การจัดการกองถ่าย งานแก้ปัญหาที่ไม่ได้พึ่งแค่ศาสตร์ ประเภทเดี ย วกั น โดยไม่ คํ า นึ ง ว่ า จะมี น ายจ้ า งกี่ ค น บรรลุ เวลาการท�ำงานหนึ่งคิวมาตรฐานเท่ากับ 12 ชั่วโมง หรือใน แต่ต้องมีศิลป์ เพราะพวกเขาจะเป็นคนตัดสินว่าเหล่าคนกองจะ นิติภาวะ และมีสัญชาติไทย บางกรณีก็ 16 ชั่วโมงต่อวัน นับว่าเป็นเวลาที่ยาวนานเมื่อเทียบ มีความเป็นอยู่อย่างไร ดร.ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์ อาจารย์ประจ�ำคณะนิติศาสตร์ กับอาชีพทั่วไป และในช่วงเวลาการท�ำงานนั้น เหล่าทีมงานต้อง คัทลียา เผ่าศรีเจริญ โปรดิวเซอร์ภาพยนตร์อิสระ ได้ให้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูเ้ ชีย่ วชาญกฎหมายแรงงานอธิบายว่า ใช้แรงงานมหาศาลเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลลัพธ์อันเป็นที่น่า พอใจ นั่นหมายถึง พวกเขาจะต้องใช้แรงกายแรงใจอย่างหนัก ความเห็นว่าหน้าที่ที่แท้จริงของโปรดิวเซอร์นอกจากเรื่องเงินแล้ว ค�ำว่าลูกจ้างที่จะเข้าในข้อกฎหมายดังกล่าวจะต้องเป็นแรงงาน ยังต้องสร้างกลไกอันก่อให้เกิดความยุติธรรมและดูแลความ ในระบบ แต่การท�ำงานในลักษณะกองถ่ายนั้นเข้าข่ายการเป็น เป็นเวลาต่อเนื่องติดต่อกันเกือบทุกวัน เป็นอยู่ของบุคลากร ทว่า หน้าที่ดังกล่าวนั้นไม่ค่อยปรากฏให้ได้ สัญญาจ้างเอกชน นั่นคือ งานในลักษณะที่นายจ้างมีอ�ำนาจ “ตอนนี้มันก็บอกแค่ใต้ตา แต่ก็ไม่รู้ว่าข้างในมันพังขนาด รับรู้ บังคับบัญชา แต่เวลาการท�ำงานไม่แน่นอน ซึ่งแรงงานในสัญญา ไหนแล้ว คิดว่าก็น่าจะพังนะ แต่ยังไม่เคยว่างไปตรวจสุขภาพ “ในกระบวนการของการถ่ายท�ำภาพยนตร์ มันท�ำให้ถึงตาย เช่นนี้จะถูกนับว่าเป็นแรงงานนอกระบบ ดังนั้นจึงไม่สามารถจัด คิดดูแล้วกัน” ชาคริต พวงมณี ฟรีแลนซ์เบื้องหลังกองถ่ายเผย ตั้งสหภาพได้ตามกฎหมาย ถึงช่วงเวลาอันเหน็ดเหนื่อยจากการท�ำงาน ชาคริตเล่าว่าในช่วง ได้นะคะ นั่งรถไปโลเคชัน รถตู้คว�่ำ รถทีมไฟตกเขา เครนล้ม คนตาย ช่างไฟโดนไฟดูด คนตาย งานมันผลักให้เราไปอยู่ใน สังเกตได้ว่า การแก้ปัญหามักจะมาจากการรับผิดชอบของ เวลาหนึ่งเดือนหรือ 30 วัน เขาเคยรับงานมากถึง 32 คิว สถานการณ์นั้นนะ ท�ำไมเราถึงไม่มีการคุยอะไรแบบนี้” คัทลียา ฝ่ายบุคคลและเอกชนเสียส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการพยายาม “ต้นเดือนมีคนมาจองวันที่ 15 แต่ว่าถัดมามีคนมาจองวันที่ มองว่า สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดและเป็นพื้นฐานของการจัดการกองถ่าย สร้ า งมาตรฐาน ทั้ ง แง่ คุ ณ ภาพงานและคุ ณ ภาพชี วิ ต หรื อ 14 บอกว่าจะเลิกหกโมงเย็น ก็รับไป แต่พอเอาเข้าจริงมันดันมี คือการพูดคุยและหาข้อตกลงร่วมกัน ทั้งนี้ ต้องไม่ลืมค�ำนวณว่า แม้ ก ระทั่ ง การพยายามจั ด ตั้ ง สมาคมอาชี พ เพื่ อ สร้ า งเสริ ม โอทีมโหฬาร เลิกมาตีสี่ แล้ววันที่ 15 ที่เรารับไว้ตั้งแต่ต้นเดือนล่ะ จ�ำนวนเงินที่ได้มาจะสามารถท�ำงานได้ในระดับไหน ความเข้มแข็งให้กับกลุ่มคนท�ำงาน เราก็ไม่รู้ว่าวันที่ 14 มันจะเลิกดึกขนาดนี้” เขาชี้แจงว่า ปัญหา เธอชี้ ว ่ า ถึ ง แม้ ใ นส่ ว นของตั ว เองจะพยายามดู แ ลที ม งาน เมื่ อ นโยบายทางกฎหมายไม่ ส ามารถเยี ย วยาปั ญ หาที่ การท�ำงานหนักเกินบางครั้ง ไม่ ได้ ม าจากการโหมรั บงานโดย ไม่ได้วางแผน แต่เพราะกองถ่ายเป็นงานประเภทที่ต้องท�ำให้จบ อย่างดี แต่นั่นก็อาจจะยังไม่เพียงพอ ดังนั้น จึงต้องอาศัยความ เกิดขึ้นในสนามการท�ำงานจริงได้ จึงเกิดเป็นค�ำถามที่ว่ารัฐบาล ในวันต่อวัน อีกทั้งยังต้องอาศัยคนจากหลายฝ่ายท�ำงานร่วมกัน ร่วมมือจากทุกฝ่าย ทุกโปรดักชัน ในการสร้างมาตรฐานการ มีการปรับปรุงแนวทางอย่างไรในสถานการณ์เช่นนี้ ดั ง นั้ น ถึ ง แม้ ว ่ า ที ม งานจะเหนื่ อ ยหรื อ ท� ำ งานเกิ น เวลา ก็ ไ ม่ ท�ำงานร่วมกัน “ปั ญ หาคื อ ยิ่ ง ย้ อ นกลั บ ไปเท่ า ไหร่ ยิ่ ง ไม่ เ ห็ น แสงสว่ า ง สามารถที่จะทิ้งงานกลับบ้านได้เหมือนสายงานอื่นๆ ย้ อ นกลั บ ไปไกลสุ ด คื อ รั ฐ บาล เขามี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ จ ะเห็ น ตรงนี้ หรือเปล่า ซึ่งไม่มีอยู่แล้ว” ธนกฤต ดวงมณีพร ผู้ก�ำกับและ หากลองมองไปรอบตัว ไม่ว่าจะในทิศทางใด สื่อภาพยนตร์ “ในกระบวนการของการถ่ายท�ำภาพยนตร์ มั น ท� ำ ให้ ถ ง ึ ตายได้ น ะคะ ... งานมั น ผลั ก ให้ เ รา ช่ า งภาพเลื อ ดใหม่ แ สดงความคิ ด เห็ น ต่ อ ประเด็ น ดั ง กล่ า ว จะปรากฏตัวให้เห็นโดยทั่วไป ป้ า ยบิ ลบอร์ ด ช่ องที วีดิ จิ ต อล ในฐานะของคนรุ่นใหม่ที่จะอยู่ในอุตสาหกรรมนี้ต่อไปอีกนาน ไปจนถึงไวรัลในสื่อออนไลน์ ซึ่งชิ้นงานทั้งหมดนั้นอาศัยมนุษย์ ไปอยู่ในสถานการณ์นั้นนะ ท�ำไมเราถึงไม่มี เขาจึ ง เป็ น กั ง วลกั บ สภาพความเป็ น อยู ่ ข องคนเบื้ อ งหลั ง การคุ ย อะไรแบบนี ” ้ ในการสรรค์สร้าง นั่นแสดงให้เห็นว่าสื่อรูปแบบภาพเคลื่อนไหว ที่ ดู เ หมื อ นจะยั ง ไม่ มี ท างออกที่ ชั ด เจน ธนกฤตมองว่ า ถึ ง แม้ คัทลียา เผ่าศรีเจริญ นี้ ไม่ ไ ด้ ป รากฏแค่ ใ นช่ อ งทางหลั ก อย่ า งโทรทั ศ น์ หรื อ ใน อุ ต สาหกรรมจะพร้ อ มแค่ ไ หน ถ้ า ผู ้ มี อ� ำ นาจมองไม่ เ ห็ น โรงภาพยนตร์ ดั่ ง ในอดี ต อี ก ต่ อ ไป ส่ ง ผลให้ ก ารแข่ ง ขั น ของ “ต่อให้เราไม่ใช่หนังต่างประเทศ มันเป็นส�ำนึกบางอย่างที่ ความส�ำคัญก็ไร้ประโยชน์ “มันก็แค่นั้น มันก็มีแค่ชื่อ สมาคม ผู้ผลิตสื่อเพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ผู้ก�ำกับ สมาคมนั่นนี่ มันไม่ได้แข็งแรง มันจะแข็งแรงก็ต่อเมื่อ “มันมีสิ่งที่เรียกว่าซีรีส์ ที่อยู่ระหว่างละครโทรทัศน์กับหนัง เราท�ำได้” คัทลียากล่าว รัฐมองเห็น” เขาชี้แจง อัญชิษฐา พงษ์ชุบ โปรดิวเซอร์รุ่นใหญ่ที่มักจะมีโอกาสได้ ซึ่งการถ่ายซีรีส์โดยมากจะเป็นผู้ก�ำกับภาพยนตร์หรือโฆษณา ทว่า ในความคลุมเครือก็ใช่จะไร้ซึ่งความหวัง อัญชิษฐา ร่วมงานกับกองถ่ายต่างประเทศอยูบ่ อ่ ยครัง้ เล่าว่า ในตลาดสากล มาท�ำ เขาก็ถ่ายแบบนั้น แต่คิวมันดันเป็นเหมือนคิวละคร” เน้ น ย� ้ำว่าทีมงานไทยมีความสามารถสูงมาก และมีการสั่งสม อนุชา บุญยวรรธนะ หรือ “นุชี่” ผู้ก�ำกับภาพยนตร์สาย จะเข้มงวดกับชั่วโมงการท�ำงาน และก�ำหนดมาตรฐานความ ประสบการณ์ ม าอย่ า งยาวนาน ดั ง นั้ น โปรดั ก ชั น ของ รางวัลซึ่งขณะนี้ผันตัวมาท�ำซีรีส์ อธิบายรูปการของวงการผลิต ปลอดภัยของคนในกองอย่างจริงจัง นับตั้งแต่เรื่องโครงสร้างที่ ต่ า งประเทศจึ ง เริ่ ม ให้ ค วามสนใจและเข้ า มาถ่ า ยท� ำ ใน สื่อในประเทศไทยว่า ในยุคสมัยนี้ผู้ก�ำกับบางคนอาจจะรับงาน ต้องมีวศิ วกรมาตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารก่อนทีแ่ ผนก ประเทศไทยมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสตูดิโอระดับฮอลลีวูด หรือ ทั้ ง ในรู ป แบบภาพยนตร์ แ ละรู ป แบบละคร เนื่ อ งจากผู ้ ช มใน ศิลป์จะเริ่มงานตกแต่งฉาก การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดให้กับ โปรดักชันของเน็ตฟลิกซ์ ซึ่งมีข้อก�ำหนดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต ยุคปัจจุบันไม่ได้มองว่าเป็นสื่อภาพยนตร์หรือละคร แต่มองว่า ทีมงานในฤดูไข้หวัดระบาด ไปจนถึงเรื่องเล็กๆ น้อยๆ เช่น การน�ำ ของบุ ค ลากรอย่ า งชั ด เจน เช่ น ก� ำ หนดชั่ ว โมงการท� ำ งาน ผ้ายางมาปูทับสายไฟเพื่อป้องกันการสะดุดล้ม ทุกอย่างคือเนื้อหา 12 ชั่วโมงต่อวัน, ห้ามถ่ายท�ำติดต่อกันตลอดเจ็ดวันต่อสัปดาห์, “มันไม่ใช่เรื่องความหรูไม่หรู มันเป็นเรื่องของการที่เราแคร์ ต้องมีทีมแพทย์ประจ�ำอยู่ในกองถ่าย ฯลฯ ดังนั้น การเข้ามา ดังนั้น การมาถึงของซีรีส์จึงท�ำให้รูปแบบการท�ำงานของ ของกองถ่ า ยต่ า งประเทศจึ ง ไม่ ไ ด้ น� ำ พามาซึ่ ง รายได้ เ พี ย ง ทีมงานเบื้องหลังกองถ่ายเริ่มเกิดปัญหา เนื่องจากมีลักษณะการ คนของเรา” เธอกล่าว นอกจากต�ำแหน่งในกองถ่ายต่างประเทศแล้ว อัญชิษฐายัง อย่างเดียว แต่มาพร้อมกับตัวอย่างการจัดการคุณภาพชีวิตของ ท�ำงานที่ยุ่งยากซับซ้อนเหมือนการถ่ายภาพยนตร์ แต่กลับพ่วง รับงานโฆษณาในโปรดักชันขนาดเล็กอีกด้วย ดังนั้นเธอจึงย�้ำ คนกอง ที่จะท�ำให้ทีมงานไทยเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมกัน มาด้วยชั่วโมงการท�ำงาน 16 ชั่วโมงแบบละคร “สวัสดิการกองถ่ายก็คงจะเป็น นอนน้อย เอ็มร้อยฟรี”
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 | 15
TRAVEL
ปิ่นเกล้า :
เล่ากาลเวลาและการเปลี่ยนผัน เรื่อง-ภาพ : พสิษฐ์ มนัสเพียรเลิศ จากชัน ้ บนสุดของอาคารหลังหนึง ่ แสงยามเย็นส่อง ผ่ า นตาข่ า ยลวดเห็ น เป็ น ประกายงดงาม เหมื อ นดวง อาทิตย์ก�ำลังบอกลาก่อนตกลับไป
สถานทีน่ ถี้ กู เรียกว่า สวนสัตว์ นักท่องเทีย่ วคนหนึง่ ยืนมองลิง สองตัวจากภายนอกกรง ลิงตัวเล็กขนขาวย้ายมาเกาะตรงมุมส่วน จัดแสดง ราวกับอยากสังเกตแขกต่างถิ่นใกล้ๆ ตาดวงน้อยคู่นั้น ชี้ ว ่ า มั น ยั ง เด็ ก มาก คงไม่ เ คยเห็ น บ้ า นแห่ ง นี้ ส มั ย ที่ มี ม นุ ษ ย์ มาเยี่ยมชมกันไม่ขาดสาย ตัวอาคารที่กล่าวถึงนี้คือ พาต้าปิ่นเกล้า ซึ่งตั้งอยู่ริมถนน สมเด็จพระปิน่ เกล้ามานานเกินสามทศวรรษ ถนนทีย่ าวเพียงหนึง่ กิโลเมตรกว่าๆ นี้เป็นส่วนหนึ่งของย่านที่เรียกกันว่า ปิ่นเกล้า ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ฝั่งธนบุรี ตั้งแต่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ แขวงอรุณอมรินทร์ ไปจนถึงตอนใต้ของแขวงบางยี่ขัน ถ้าพูดถึงปิ่นเกล้าในวันนี้ คนส่วนมากคงคุ้นกับเหล่าห้างดัง ประจ�ำถิน่ อย่างเซ็นทรัลปิน่ เกล้าและเมเจอร์ซนี เี พล็กซ์ แต่สำ� หรับ ผู้อยู่ในท้องที่มานาน พวกเขาสามารถบอกเล่าประสบการณ์ตรง ได้ว่า ความเจริญของปิ่นเกล้าแต่เดิมนั้นเริ่มต้นทางฝั่งบางยี่ขัน บนถนนอรุณอมรินทร์ที่ทอดสู่สะพานพระรามแปด เราจะ พบร้านสินชัยโภชนาซึ่งเริ่มต้อนรับลูกค้าเวลาห้าโมงเย็นของ ทุกวัน หฤษฎ์ ขุนเปีย ทายาทวัย 46 ปีของร้าน เล่าย้อนถึงตอน ที่ พ ่ อ แม่ เ พิ่ ง มาตั้ ง ธุ ร กิ จ ที่ นี่ ใ หม่ ๆ ว่ า แม้ ต อนนั้ น จะมี ถ นนตั ด ไปถึงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าแล้ว พื้นที่โดยรอบหลายส่วนก็ เป็นสวนหรือไร่อยู่ พอเทียบบรรยากาศรอบบ้านตนเวลานั้นกับอีกฝั่งแม่น�้ำซึ่ง เจริญล�้ำหน้า เขาจึงเรียกพื้นที่ตรงนี้ว่า ชายแดนกรุงเทพฯ ในยุคบุกเบิกความเจริญนั้น จุดที่นับว่าน่าสนใจที่สุดของ ปิ่นเกล้าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของบางยี่ขัน ได้แก่ พาต้า ปิ่นเกล้า ห้างสรรพสินค้าแห่งแรกในย่านซึ่งเปิดท�ำการเมื่อปลาย ปี 2525 บนชั้นหกและเจ็ดของห้างนี้เป็นที่ตั้งของสวนสัตว์พาต้า ซึ่ง เมื่อ 36 ปีก่อน ถือเป็นสวนสัตว์เอกชนแห่งเดียวในประเทศ และ เพิ่งเริ่มเปิดท�ำการ ปั จ จุ บั น สวนสั ต ว์ แ ห่ ง นี้ ยั ง คงด� ำ รงอยู ่ พ ร้ อ มกั บ สั ต ว์ หลากหลายถึง 100 สายพันธุ์ และมีการแสดงให้ชม เช่น กายกรรม มายากล รวมทั้งละครลิงคณะสุดท้ายของไทยซึ่งมีรอบแสดง ประจ�ำที่นี่ที่เดียวในกรุงเทพฯ การมี ลิ ฟ ต์ แ ก้ ว เลื่ อ นขึ้ น ลงอยู ่ ริ ม อาคารในยุ ค ที่ ลิ ฟ ต์ ข อง ห้างอื่นล้วนปิดทึบ และการมีสัตว์พื้นถิ่นของทวีปแอฟริกาอย่าง
กอริ ล ลา ซึ่ งคนนิ ย มเรี ย กกั นว่ า คิ งคอง เลี้ ย งเอาไว้ ให้ ช มบน ยอดตึก ท�ำให้พาต้าปิ่นเกล้ามีชื่อเสียงโด่งดัง อย่างที่ทายาท ร้านสินชัยโภชนาลงความเห็นว่า “เจ๋งที่สุดในบรรดาห้างทั่วๆ ไป ในตอนนั้น” บริเวณโดยรอบของห้างนีย้ งั มีหลายจุดเป็นเหมือนหมุดหมาย แห่งอดีต จากหน้าห้างเดินไปทางขวาไม่ถึง 200 เมตร จะพบร้าน จ�ำหน่ายอุปกรณ์การแพทย์จินดาโอสถ ซึ่งอยู่ตรงนี้มาก่อนห้าง เกิดเสียอีก และมีเรื่องราวมากมายในปิ่นเกล้าที่ผู้สืบทอดรุ่นสอง ของกิจการสามารถบอกเล่าได้
ภาพของห้างพาต้าปิ่นเกล้า ก่อนเปิดให้บริการเมื่อเดือนธันวาคม ปี 2525 ที่มาของภาพ : เพจ “ย้อนอดีต...วันวาน”
สุ ร เทพ เหลื อ งธาดา วั ย 77 ปี ย้ อ นความหลั ง ว่ า เดิมต�ำแหน่งที่ตั้งร้านเป็นสวนผลไม้ สมัยนั้นถนนภายนอกร้านมี เพียงสองเลน ไม่มีสะพานลอยตั้งอยู่อย่างปัจจุบัน กระทั่งความเจริญด้านสาธารณูปโภคเข้ามาเปลี่ยนโฉมหน้า พื้นที่โดยรอบ ถนนถูกปรับขยายจนกว้างสุดถึงหกเลน และเชื่อม ต่อถนนสายต่างๆ ท�ำให้การเดินทางสะดวกขึ้นมาก แถมมีห้างที่ เป็นกระแสนิยมในยุคหนึ่งมาเปิดใกล้บ้าน อย่างที่เขาบอกว่า “ฮิตมาก ใครๆ ก็มาพาต้า” ปัจจุบัน แม้หน้าห้างดังกล่าวมีผู้คนมารอรถประจ�ำทางอยู่ เป็นประจ�ำ แต่เจ้าของกิจการผู้เห็นความเป็นไปในท้องที่มา 45 ปี ให้ความเห็นว่า เนื่องจากผู้สัญจรผ่านมักเร่งรีบเกินกว่าจะแวะ จับจ่ายได้นานๆ จึงไม่ได้เอื้อให้เศรษฐกิจของย่านเฟื่องฟูมากนัก ทัง้ ยังมีภาวะแข่งขันทางการค้า ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจโดยรวม เป็นปัจจัยร่วมด้วย
หากเดินเปลี่ยนทิศกลับไปทางซ้ายมือของหน้าห้าง จะพบ ซอยที่มีร้านแมคโดนัลด์อยู่ติดถนนใหญ่ ซึ่งถ้าเดินจากแฟรนไชส์ จานด่ ว นลึ ก เข้ า ไปด้ า นใน เราจะพบแพนด้ า สุ กี้ ร้ า นอาหาร เก่าแก่ที่เกิดปีเดียวกับสวนสัตว์พาต้า แม้เป็ดย่างที่เสิร์ฟพร้อม ถั่วลิสงอบของร้านจะเป็นที่กล่าวขานบนโลกออนไลน์ แต่ส�ำหรับ ธนกฤต ปัญจพลาสม ผู้บริหารในวัยเลขหก สภาพทุกวันนี้เทียบ ไม่ได้เลยกับช่วงเปิดใหม่ๆ ที่ขายดีทุกวัน ส�ำหรับเรื่องที่ร้านเงียบไปนานก่อนที่กระแสการแชร์จะมา ช่วยไว้ เขาเอ่ยว่า “คนทั่วไปเข้าใจว่าร้านปิด” จากสภาพภายนอก ซึ่งไม่ได้ปรับปรุงจนมองไกลๆ เหมือนกับร้าง เขายั ง กล่ า วว่ า ตนเห็ น การเปลี่ ย นแปลงจากจุ ด ที่ ถ นน สมเด็จพระปิ่นเกล้ามีรถวิ่งไปมานับคันได้ ผ่านสมัยที่พาต้ายัง คราคร�่ำด้วยผู้คน จนถึงปัจจุบันที่ชุมชนละแวกนี้ดูสงบกว่าเก่า “ไม่คิดกังวล” ธนกฤตกล่าวถึงอนาคต “ขายไม่ได้ก็หยุด” การค้ า ในย่ า นอาจไม่ ใ ช่ สิ่ ง เดี ย วที่ ถ ดถอย บางยี่ ขั น ทั้ ง แขวงมีผู้อาศัยลดลงกว่าร้อยละ 40 ในเวลาเพียง 25 ปี (นับจากปี 2536 ถึง 2561) หรือลดลงเฉลี่ยปีละเกือบ 700 คน ซึ่งจ�ำนวน ประชากรที่น้อยลงจะหมายถึงความต้องการซื้อที่น้อยลง และมัก ตามมาด้วยห่วงโซ่ของปัญหา เช่น ธุรกิจต่างๆ มียอดขายต�่ำลง จนอาจต้องปรับลดราคาสินค้าหรือปิดกิจการ พอทั้งย่านมีโอกาส ท�ำก�ำไรได้น้อยก็ไม่ดึงดูดผู้ลงทุนรายใหม่ๆ การพัฒนาสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกในชุมชนก็อาจต้องชะลอลง เพราะงบประมาณ ถูกโยกไปให้พื้นที่ที่เติบโตมากกว่า ไม่ ว ่ า ผลพวงเช่ น นั้ น เกิ ด ขึ้ น อย่ า งไรกั บ พื้ น ที่ นี้ ผู ้ ค นก็ ยั ง ด�ำรงชีพต่อไปตามอัตภาพอย่างที่ผู้ไปเยือนจะพบเจอได้ เมื่อถามผู้จัดการร้านจินดาโอสถถึงสมัยที่บรรยากาศของ ย่ า นยั ง รื่ น รมย์ ขณะที่ ทุ ก วั น นี้ ก ลั บ จางหายไป เขาตอบว่ า ในความเป็นจริงแล้ว มันคงกลับไปเป็นแบบเดิมไม่ได้ ฝนเพิ่งหยุดตกไม่กี่ชั่วโมงก่อน ฝากความเปียกชุ่มไว้บน พื้นดาดฟ้าตึก นักท่องเที่ยวรายสุดท้ายก้าวพ้นประตูไป พ้นจาก สายตาสรรพชีวิตที่จะอยู่บนนี้ยามสิ้นแสงตะวัน การหมุ น รอบตั ว เองของโลกช่ ว ยพาเรากลั บ มาเจอ ภาพอาทิตย์อัสดงในทุกวัน แต่การเดินทางของเวลา ไม่เคยวนมา ที่เก่า ทันทีที่ผ่านพ้นไปแล้วก็ไม่เคยย้อนคืนได้อีก การผันเปลี่ยนยังคงด�ำเนินต่อไปกับปิ่นเกล้า จะมีสิ่งใดบ้าง ไหมในย่านนั้นที่จะวนกลับที่เก่า แบบที่แสงอาทิตย์ส่องฉายอีก ครั้งในวันใหม่
16 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ต่อจากหน้า 1
นโยบายทวงคื น ผื น ป่ า ส่ ง ผลกระทบให้ ช าวกะเหรี่ ย งใน หมู่บ้านน้อยพลังงาน ม.2 และบ้านมังปอย ม.16 ต�ำบลอมก๋อย อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดนทวงคืนพื้นที่ท�ำกินและที่อยู่ อาศั ย ทว่ า ในพื้ น ที่ ต� ำ บลเดี ย วกั น กลั บ พบบริ ษั ท เอกชนท� ำ เหมืองแร่ถ่านหินบนพื้นที่ป่าสงวนอมก๋อย ตามค�ำขอประทาน บัตรเลขที่ 1/2543 โดยมีเนื้อที่ทั้งหมด 284 ไร่ 30 ตร.วา ที่ได้รับ การอนุญาตจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ โดย บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ซึ่งชาวกะเหรี่ยงท�ำนาขั้นบันไดได้ผลดี เนือ่ งจากเป็นสภาพป่าทีส่ มบูรณ์ และเป็นพืน้ ทีน่ ำ�้ ซับซึม มีนำ�้ ไหล ตลอดทั้ ง ปี แต่ ห ากมี ก ารท� ำ เหมื อ งแร่ ถ ่ า นหิ น ย่ อ มก่ อ ให้ เ กิ ด ปัญหามลพิษในอากาศ ส่งผลกระทบทั้งด้านสิ่งแวดล้อม และ วิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงที่อาศัยอยู่กับธรรมชาติ นอกจากนั้นโครงการนี้ยังด�ำเนินการโดยไม่ได้แจ้งชาวบ้าน ล่ ว งหน้ า และไม่ ใ ห้ ช าวบ้ า นมี ส ่ ว นร่ ว มในขั้ น ตอนการอนุ มั ติ โครงการ ซึง่ แม้วา่ บริษทั จะอ้างว่ามีการประเมินสภาพสิง่ แวดล้อม ก่ อ นการอนุ มั ติ แต่ ยั ง คงเป็ น ที่ ถ กเถี ย งกั น อยู ่ ว ่ า สิ่ ง นี้ ขั ด ต่ อ หลักการ Free Prior Informed Consent (FPIC) หรือการให้ ความยินยอมโดยได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ มีการบอกแจ้งล่วง หน้า ผ่านกระบวนการตัดสินใจได้อย่างเป็นอิสระ และปราศจาก การถูกคุกคามหรือไม่ พระราชบัญญัติป่าชุมชน : การเปิดโอกาสที่แทบไม่มี โอกาสเป็นจริง เห็นได้วา่ ทีผ่ า่ นมาพระราชบัญญัตติ า่ งๆ มักเป็นการกีดกันคน ออกจากป่า แต่เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2561 คณะรัฐมนตรีได้ อนุมตั ริ า่ งพระราชบัญญัตปิ า่ ชุมชน เพือ่ เปิดโอกาสให้คนในชุมชน มีส่วนร่วมกันดูแลผืนป่า และใช้ประโยชน์จากป่าไม้ที่ร่วมกัน อนุรกั ษ์ได้ แต่ปญ ั หาของพ.ร.บ.นีค้ อื มีการก�ำหนดไว้วา่ ป่าทีจ่ ะน�ำ มาจัดตั้งเป็นป่าชุมชนตามพ.ร.บ.นี้ได้ ต้องอยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ (เขตที่ถูกประกาศเป็นพื้นที่คุ้มครองป่าไม้ตามพ.ร.บ.อุทยานแห่ง ชาติ และพ.ร.บ.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า) ส่งผลให้ชาวบ้านหลาย ชุมชนไม่สามารถยืน่ ค�ำขอจัดตัง้ ป่าชุมชนได้ เนือ่ งจากพืน้ ทีท่ ำ� มา หากิ น ของชาวบ้ า นถู ก ประกาศให้ เ ป็ น เขตป่ า อนุ รั ก ษ์ ตามพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติตั้งแต่ต้นแล้ว “การขอจัดตั้งป่าชุมชนต้องไม่เกิน 5,000 ไร่ด้วย แต่เราท�ำไร่ หมุนเวียน มันใช้พื้นที่เยอะ เราต้องดูพื้นที่ 20,000 กว่าไร่ มันคือ วิถีชีวิตของเรา เราพยายามออกมาเรียกร้อง บอกกับรัฐว่าเราอยู่ มาดั้งเดิม มีการจัดการป่ามาก่อน แล้วท�ำไมสิทธิตรงนั้นเราไม่มี” สมชาติ รั ก ษ์ ส องพลู ชาวกะเหรี่ ย งบ้ า นกลาง อ.แม่ เ มาะ จ.ล�ำปาง กล่าว ส่งต่อมายาคติจากภาครัฐสู่ประชาชน แม้ทกุ วันนีจ้ ะมีชาวบ้านกะเหรีย่ งบางกลุม่ ออกมาเคลือ่ นไหว ให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาเหล่านี้ แต่การเคลื่อนไหวก็ไม่ได้เป็นไป ด้วยความราบรืน่ นัก การเรียกร้องของพวกเขาไม่ได้รบั ความสนใจ จากสื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เนื่องจากคนในสังคมยังคง มี ทั ศ นคติ ที่ ผิ ด เกี่ ย วกั บ ชาวกะเหรี่ ย ง เข้ า ใจว่ า พวกเขาท� ำ ไร่เลือ่ นลอย ซึง่ ทัศนคติทผี่ ดิ ไปจากความจริงนี้ เป็นผลมาจากการ ส่งต่อข้อมูลที่บิดเบือนจากรัฐ โดยสุรพงษ์ กองจันทึก ประธาน มูลนิธิผสานวัฒนธรรม อธิบายว่า “สิ่งส�ำคัญสุดที่ท�ำให้การเคลื่อนไหวของชาวบ้านเป็นไปได้ ยาก คือมายาคติที่มองว่าชาวเขาเผาป่า ท�ำไร่เลื่อนลอย ซึ่งอันนี้ ปรากฏอยู่ในหนังสือเรียนระดับมัธยมด้วยซ�้ำ ว่าสาเหตุการลดลง ของพื้นที่ป่าคือชาวเขาตัดไม้ท�ำลายป่า ท�ำไร่เลื่อนลอย ปลูกฝิ่น มันท�ำให้คนในสังคมนี้มีทัศนคติแบบนั้น ทั้งที่จริงๆ มันไม่ใช่ ไร่เลื่อนลอย มันคือไร่หมุนเวียน” นอกจากจะส่งต่อชุดความคิดชาวกะเหรี่ยงท�ำไร่เลื่อนลอย ผ่านแบบเรียนระดับมัธยมศึกษาแล้ว ยังมีการผลิตซ�้ำชุดความ คิดที่ว่าคนไม่สามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ ผ่านหลักสูตรการสอนใน ระดับอุดมศึกษาอย่างคณะวนศาสตร์อีกด้วย “ทุกวันนี้ในไทยมีคณะวนศาสตร์อยู่ที่เดียว ท�ำให้วิชาการ ป่าไม้มันอยู่ในวงจ�ำกัด ถ้าหลายมหาวิทยาลัยมีคณะวนศาสตร์ วิชาการวนศาสตร์มันจะเป็นสหวิชาการที่แข่งขันกัน แต่พอมันมี ที่เดียว ความรู้มันเลยถูกผูกขาด หลักสูตรเขายังเน้นว่าคนอยู่กับ
ป่าไม่ได้ ขณะที่ทั่วโลกตอนนี้เขาเปลี่ยนแนวคิดกันแล้ว ว่าการ จัดการทรัพยากรที่ดีที่สุดคือต้องให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แต่ ต้องมีการจัดการที่ดี สุดท้ายกลายเป็นว่าหลักสูตรวนศาสตร์ ในไทยก็ผลิตนักวนศาสตร์ออกมาในวิธีคิดแบบเดิมๆ น�ำไปสู่ การก�ำหนด และสนับสนุนนโยบายที่พื้นที่อนุรักษ์ต้องปลอดคน” นายประยงค์เสริม สุรพงษ์ช้ีว่าทั้งการออกกฎหมายที่กดทับสิทธิชาวกะเหรี่ยง และการส่ ง ต่ อ ทั ศ นคติ ที่ ผิ ด เกี่ ย วกั บ ชาวกะเหรี่ ย งลงไปใน แบบเรียนนั้น จัดเป็นหนึ่งในวิธีการรวมศูนย์อ�ำนาจ อันเป็นผลมา จากการทีร่ ฐั ต้องการจะคงอ�ำนาจตัวเองไว้ เมือ่ ประชาชนมีอำ� นาจ น้อยกว่า รัฐก็จะสามารถลงไปจัดการโครงสร้างต่างๆ ได้ เช่น ทรัพยากร งบประมาณ “รัฐบอกเปิดโอกาสให้เราแสดงความเห็น แต่เปิดในเว็บไซต์ ซึ่งชาวบ้านหรือคนบนดอยเข้าไม่ถึง มันเหมือนเราจะสร้างบ้าน หลังหนึ่ง แต่มีคนออกแบบให้เราหมดแล้ว ไม่ถูกใจเราก็ต้องอยู่ ทั้งที่บ้านหลังนั้นเราออกแบบร่วมกันได้” สมชาติกล่าว สร้างบ้านร่วมกัน รัฐก็ยอมรับ ชาวบ้านก็ยินยอม ด้านณัฐพล สืบศักดิว์ งศ์ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรชาติพนั ธุ์ ม้ ง จากพรรคอนาคตใหม่ ชี้ ว ่ า รั ฐ ไทยรองรั บ ปฏิ ญ ญา สหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของชนเผ่าพื้นเมือง ซึ่งเน้นเรื่องสิทธิ ความเป็นอยู่ และอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ แต่ในทางปฏิบัติ เจ้าหน้าที่รัฐกลับละเลยเรื่องเหล่านี้ตลอดเวลาที่ผ่านมา อาทิ ออกกฏหมายโดยมุมมองจากคนพื้นราบซึ่งไม่ตอบโจทย์กลุ่ม ชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บนดอย หรือออกกฏหมายโดยไม่มีการท�ำ ประชาพิจารณ์ ว่ากฏหมายนั้นส่งผลกระทบต่อวิถีของชาวบ้าน หรือไม่ “ในเมื่อกฏหมายมันออกจากในรัฐสภา เพื่อมาให้เราปฏิบัติ เราก็ควรจะมีส่วนในการออกแบบให้มีปัญหากับเราน้อยที่สุด ชาวบ้านเขาไม่ได้ต้องการท�ำให้กฏหมายโดยรวมของประเทศ บิดเบี้ยว แค่ขอมีส่วนในการออกแบบตามวิถีอัตลักษณ์ที่รัฐไทย ไปเซ็นรับรองกับสหประชาชาติแค่นั้นเอง” นอกจากนั้ นนายณั ฐ พลยั งเสนอการจั ดตั้ งเขตวั ฒนธรรม พิเศษ เพื่อสงวนไว้ซึ่งวัฒนธรรมและวิถีชีวิตดั้งเดิม ซึ่งหนึ่งในนั้น คือการท�ำไร่หมุนเวียน รวมถึงผลักดันให้เกิดองค์กรอิสระที่จะ ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาด้านนี้โดยเฉพาะ เพื่อความคล่องตัวใน การท�ำงานและแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด “เราอยากผลักดันให้เกิดองค์กรอิสระเฉพาะด้านที่รัฐจะต้อง สนับสนุนงบประมาณ เพื่อจะได้เอาปัญหาทั้งหมดมาวางไว้บน โต๊ะ มาวิเคราะห์ว่าอะไรที่มันเป็นปัญหากับหน่วยงานรัฐ แล้ว อะไรที่มันเป็นอุปสรรคกับชาวบ้าน ท�ำให้วิถีชีวิตเขามันเปลี่ยน ตรงไหนที่มันจะปรับเข้าหากันได้พอดี เอาตัวแทนจากแต่ละกลุ่ม ชาติ พั น ธุ ์ ม าอยู ่ ใ นกลุ ่ ม อิ ส ระนี้ เพื่ อ ออกแบบนโยบายที่ รั ฐ ก็ ยินยอม ชาวบ้านก็รับรอง หรือออกเป็นพรบ.เฉพาะของกลุ่ม ชาติพันธุ์ให้เป็นรูปร่างชัดเจนไปเลย”
“รั ฐ บอกเปิ ด โอกาสให้ เ รา แสดงความเห็ น แต่ เ ปิ ด ใน เว็บไซต์ซึ่งชาวบ้านหรือคน บนดอยเข้าไม่ถึง มันเหมือน เราจะสร้างบ้านหลังหนึง ่ แต่ มี ค นออกแบบให้ เ ราหมด แล้วไม่ถูกใจเราก็ต้องอยู่”