หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
FACEBOOK nisitjournal nisitjournal
@nisitjournalV2 nisit.journal @nisitjournalV2 nisit.journal
WEBSITE
nisitjournal.press nisitjournal.press
หน้ า
5
ซ้ อ มทรมานกั บ หลักฐานที่หายไป หน้ า
8
เบื้องหลังวงการ ประกวดศิลปะเด็ก หน้ า
12
สิทธิในการเข้าถึง ข่าวสารของ คนพิการทางการเห็น
เรือ ่ ง: ชญานิน โล่หส ์ ถาพรพิพธ ิ และ ธนพร เกาะแก้ว ภาพ: กานดา ชัยสาครสมุทร
เด็กหญิงวัย 15 เผย หารายได้ จากการขายภาพและคลิ ป โป๊ ข อง ตนเองผ่านทวิตเตอร์ เหตุครอบครัว ฐานะยากจน แม่ตด ิ คุก พ่อแยกทาง ต�ำรวจชี้ผิดตาม พ.ร.บ.คอมฯ และ พ.ร.บ.แก้ไข ป.อาญา พ.ศ. 2558 เกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็ก ด้าน นักวิชาการห่วง กฎหมายขัดหลัก สิทธิเด็กเนื่องจากไม่เว้นช่องว่างให้ ผู้กระท�ำผิดที่ “รู้เท่าไม่ถึงการณ์”
พบวัยรุ่นขาย “ภาพโป๊” หาค่าเทอม นักวิชาการชี้ กม.ไม่คุ้มครองเด็กที่ท�ำความผิด ภาพใช้เพื่อประกอบการรายงานข่าวเท่านัน้ ค�ำเตือนเนือ้ หา: การคุกคามทางเพศในเด็ก, ความรุนแรงในครอบครัว, การใคร่เด็ก
“หนูขายห้ารูป หนึง่ คลิป 150 (บาท) แค่นี ้ หนูไม่ขาย ไปมากกว่านี ้ ถ้าคลิปเดียว บางทีเขาอาจจะตังค์ไม่พอ หนูก็ลดให้ได้” พลอย (นามสมมติ) นักเรียนหญิงชัน้ ม.3 เล่าว่า ช่วงปิ ดเทอมภาคฤดูรอ้ นที่ผ่านมา เธอเริ่มขายภาพโป๊ และคลิปช่วยตัวเอง เพราะอยากมีรายได้ขณะอยูบ่ า้ น เฉยๆ รวมถึงเห็นว่ามีคนในทวิตเตอร์ขายจึงลองท�ำตาม ระยะแรกที่เปิ ดแอคเคาท์ พลอยเคยมี “เสี่ยเลีย้ ง” เป็ นชายวัยท�ำงาน โดยพลอยเป็ นคนก�ำหนดขอบเขต ความสัม พัน ธ์ ส่ ว นฝ่ ายชายเป็ น คนตัด สิ น ใจเรื่ อ ง เงินที่ให้ และตลอดช่วง 2-3 เดือนนัน้ พ่อแม่ของเธอรับรู ้ แต่ไม่ได้หา้ มอะไรมากไปกว่าเตือนไม่ให้ทอ้ ง “บ้านหนูฐานะไม่ได้ดีดว้ ยมัง้ คะ มันยากมากที่จะ หาเงินไปเรียนแต่ละวัน ถ้าหนูหาเงินเองได้ ก็สบาย คนในบ้านไปด้วย” พลอยกล่าวเสริม
คลิ ป ของพลอยเคยถู ก ปล่ อ ยไปในกลุ่ ม ไลน์ เป็ นคลิปแบบเห็นหน้าซึง่ เธอส่งให้แฟนเก่า ที่รูจ้ กั จาก การขายรู ปในทวิตเตอร์ เธอรู ส้ ึกกลัวและเครียดมาก แม้จะอยากแจ้งต�ำรวจก็ทำ� ไม่ได้ เพราะหลักฐานไม่ เพียงพอจะแจ้งความ ส�ำหรับคลิปทีห่ ลุดไป พลอยมองว่า “มันน่าจะโดนคลิปอื่นทับไปแล้ว น่าจะไม่มใี ครไปรือ้ มา ดูแล้วค่ะ หนูก็เลยพยายามลืมไป” หลังจบ ม.3 พลอยอยากเรียนต่อสายอาชีพด้านการ โรงแรมหรือการตลาด ไหม (นามสมมติ) นักเรียนหญิงชัน้ ม.ปลาย เล่าว่า เธอฝื นใจเปิ ดแอคเคาท์ขายภาพโป๊ เมื่อเดือนสิงหาคม ที่ผา่ นมา เพื่อหาค่าเทอมและค่าเช่าหอ เพราะพ่อที่เป็ น คนในครอบครัวเพียงหนึ่งเดียว เพิ่งถูกจ�ำคุกในข้อหา เกี่ยวกับยาเสพติด ตอนนีเ้ ธอไม่มีบา้ นอยู่ และการอยู่ โรงเรียนประจ�ำท�ำให้ไม่สามารถท�ำงานพาร์ทไทม์ได้ (อ่านต่อหน้า 2)
2
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN COURSE NEWS
เพื่อนสนิทของไหมเป็ นคนแนะน�ำให้หารายได้วิธีนี ้ และน�ำภาพโป๊ ของตนเองมาให้ไหมขาย คนที่มาซือ้ ส่วนใหญ่เป็ นผูช้ าย อายุตงั้ แต่ 20-50 ปี ทุกครัง้ หลังตกลงซือ้ ขายรู ป ไหมบอกว่าเธอรู ส้ ึก “เหนื่อย เกลียดตัวเองที่ตอ้ งท�ำแบบนี ้ รู ส้ กึ ว่าชีวิตเรา น่าสมเพชมาก” และเธอเคยถูกคุกคามทางเพศในแชท เช่น “น้องมานั่งขายรู ปงกๆ ดูไปเขาก็ท ำ� อะไรไม่ได้ สูข้ ายให้พ่ีดีกว่า พี่ให้ xx,xxx บาท ทัง้ เสียว ทัง้ ได้เงิน” หรือ “น้องน่าเอามากๆ เลยครับ พี่ขอซือ้ ได้ไหม” ซึง่ เธอ ปฏิเสธหรือไม่ตอบข้อความเหล่านัน้ ไป ไหมชอบเรียนภาษาต่างประเทศ ศิลปะ และดนตรี เวลาว่างเธอชอบเล่นกีตาร์ วาดรูป และแต่งนิยาย โตขึน้ เธออยากเป็ นไกด์นำ� เที่ยว เด็กอาจถูกล่อลวง หรือบังคับให้ขายรูป พ.ต.อ.มรกต แสงสระคู เจ้าหน้าที่ชดุ ปฏิบตั กิ าร ปราบปรามการล่ ว งละเมิ ด ทางเพศต่ อ เด็ ก ทาง อินเทอร์เน็ต หรือไทแคค (TICAC) ส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ เล่าว่า จากการท�ำงานตัง้ แต่ปี 2559 ไม่พบเคส ทีเ่ ด็กถ่ายและขายภาพเอง รวมถึงไม่มใี ครแจ้งเคสแบบนี ้ เข้ามา ส่วนมากจะมีคนกลางที่สร้างเงื่อนไขกับเด็ก เช่น หลอกล่อด้วยการให้เงิน ข่มขูว่ า่ จะแบล็กเมล์ ฯลฯ “ค�ำถามคือคนที่มาโพสต์ภาพนีเ้ ป็ นเด็กหรือเปล่า เพราะอาจเป็ นการแต่งเรื่องขึน้ มาก็ได้ ที่เราเจอก็เป็ น แบบนี ้ มีให้เข้ากลุ่มที่อา้ งว่าเจ้าของถ่ายเอง แล้วก็มี โปรไฟล์เป็ นใบหน้าเจ้าของรูปโป๊ ถามว่ายืนยันได้ยงั ไง ว่าเด็กเป็ นคนโพสต์เอง” เจ้าหน้าที่ไทแคคตัง้ ข้อสังเกต แต่ถา้ สืบแล้วพบว่าเด็กเป็ นผูก้ ระท�ำจริง เจ้าหน้าที่ ชี ้ว่ า เด็ ก จะมี ค วามผิ ด ตาม พ.ร.บ.ว่ า ด้ ว ยการ กระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คือ นาํ เข้าสูร่ ะบบ คอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลใดๆ ที่มีลกั ษณะอันลามกและ ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ รวมถึง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2558 มาตรา 287/1 คือ ครอบครองและส่งต่อ อาจารย์ประจ�ำคณะนิตฯิ มธ. ย�ำ้ ว่า ตามอนุสญ ั ญา สื่อลามกอนาจารเด็ก และ 287/2 คือ ใช้ส่ือลามก ว่าด้วยสิทธิเด็ก วัตถุประสงค์แรกของกฎหมาย คือต้อง อนาจารเด็กเพื่อความประสงค์แห่งการค้า คุม้ ครองเด็ก จึงไม่เหมาะสมถ้าเด็กต้องมารับโทษหนัก เท่าผูใ้ หญ่จากการกระท�ำโดยรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ ควรปรับ ชี้กม.ไม่คุ้มครองเด็กที่ ทัศนคติให้เด็กเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิในเนือ้ ตัวร่างกายของ กระท�ำผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ตัวเอง และให้เรียนรู ถ้ ึงผลกระทบระยะยาวที่เด็กยัง ด้าน มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คิ ด ไม่ ถึ ง กฎหมายดัง กล่ า วจึ ง น�ำ มาสู่ค ำ� ถามที่ ว่ า ประจ�ำศูนย์กฎหมายแพ่งและศูนย์กฎหมายอาญาและ “เราต้องการจะคุม้ ครองเด็ก หรือว่าเราต้องการที่จะ อาชญาวิทยา คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ควบคุมเด็ก” กล่าวถึงข้อห่วงใยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.แก้ไขเพิม่ เติมประมวล ค�ำว่า “รู เ้ ท่าไม่ถึงการณ์” ใช้เฉพาะกับผูก้ ระท�ำ กฎหมายอาญา พ.ศ. 2558 มาตรา 287/1 และ 287/2 ความผิดที่เป็ นเด็กเท่านัน้ ไม่สามารถใช้กบั ผูใ้ หญ่ได้ ว่าเป็ นบทบัญญัติท่ีไม่เว้นช่องว่างส�ำหรับผูก้ ระท�ำผิด มาตาลักษณ์อธิบายว่า “ในทฤษฎีเกี่ยวกับการท�ำผิด ที่เป็ นเด็ก เพราะการใช้คำ� ว่า “ผูใ้ ด” หมายความว่า ของเด็กและเยาวชน เด็กไม่ใช่อาชญากร การกระท�ำ ถ้าเด็กเป็ นผูค้ รอบครอง จะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน ของเด็กจึงไม่ใช่อาชญากรรม แม้เขารู ว้ ่าสิ่งที่เขาท�ำ 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท ถ้าเป็ นผูส้ ่งต่อ คืออะไร แต่เขายังไม่รูผ้ ิดชอบถึงผลเสียหายที่ตามมา สื่อลามกอนาจาร จะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 7 ปี การจะรู ผ้ ิ ด ชอบได้นั้น เป็ น เรื่อ งที่ ต อ้ งสั่ง สมมาโดย หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท ประสบการณ์และการอบรมสั่งสอน”
ทวิตเตอร์กับ “ด้านมืด” ที่ยังควบคุมไม่ได้ ในเดื อนมี นาคม 2562 ทวิตเตอร์ได้ประกาศใช้ นโยบายต่อ ต้า นการแสวงหาผลประโยชน์ท างเพศ ต่อเด็ก โดยห้ามไม่ให้ผใู้ ช้กระท�ำการ เช่น แสดงภาพ เด็กที่มีสว่ นร่วมในการกระท�ำทางเพศ หรือการกระท�ำ ล่อแหลม แสดงข้อคิดเห็นทางเพศเกี่ ยวกับเด็กหรือ ต่ อ เด็ ก พยายามให้เ ด็ ก มี ส่ ว นร่ ว มในบทสนทนา ล่อแหลม เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อ่ืนที่มีเนือ้ หาแสวงหา ผลประโยชน์ทางเพศต่อเด็ก ฯลฯ หากฝ่ าฝื น แอคเคาท์ นัน้ จะถูกระงับทันทีอย่างถาวร ไบโอทวิตเตอร์ของ สุดา (นามสมมติ) ระบุวา่ เธออยู่ ม.ปลาย เธออ้างว่าเปิ ดแอคเคาท์นีข้ นึ ้ มา เพราะอยากรู ้ ความต้องการทางเพศของผูช้ าย โดยรูปภาพและวิดีโอ ทัง้ หมดน�ำมาจากอินเทอร์เน็ต ข้อมูลอื่นๆ ก็เป็ นเพียง การสมมติขนึ ้ มา
MAIN COURSE NEWS/ EDITORIAL
ทวิตเตอร์เป็ นโซเชียลมีเดียที่สดุ าเลือกใช้ เพราะ เธอมองว่า การคัด กรองข้อ มูล ในแพลตฟอร์ม นี ไ้ ม่มี ประสิทธิภาพ สุดาเล่าว่า เธอแค่ลงรู ปหรือคลิปโป๊ แต่ไม่ได้ขาย คนที่มาขอดูส่อื เหล่านีม้ ีตงั้ แต่เด็กอายุ 15 จนถึงคนแก่ เธอเสริ ม ว่ า ถ้า เป็ น เรื่ อ งสื่ อ ลามกอนาจร ค�ำ อย่ า ง “มัธยม” จะยิ่งช่วยดึงดูดความสนใจ ในท�ำนองเดียวกัน พลอยเคยได้รบั เงินจากการถ่ายภาพ ในชุดเนตรนารี แต่ท่ีบอ่ ยที่สดุ คือ การขอซือ้ คลิปที่เธอ ช่วยตัวเองในชุดนักเรียน โรคใคร่เด็ก ภัยที่ไร้การป้องกัน และเยียวยาอย่างจริงจัง พญ.ปริชวัน จันทร์ศิริ หัวหน้าหน่วยจิตเวชเด็ก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า โรคใคร่เด็ก (Pedophilia) คือความผิดปกติทางจิต อย่างหนึ่ง ที่ชอบหรือพอใจจะมีความสัมพันธ์ทางเพศ กับเด็ก หลายครัง้ คนกลุม่ นีจ้ ะพยายามท�ำให้เด็กไว้ใจ โดยอาจท�ำให้ตนอยูใ่ นฐานะผูด้ แู ล เช่น ครู หรือเข้าหา เด็กผ่านทางผูป้ กครอง ภายนอกอาจจะดูเหมือนความ สัมพันธ์ท่ วั ไป แต่กว่าจะรู ว้ ่าใครเป็ นโรคใคร่เด็กก็เกิด การล่วงละเมิดทางเพศไปแล้ว “ผู้ก ระท�ำ ไม่ ไ ด้ร ับ การช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาเท่ า ไร เป็ นส่วนน้อยที่จบั กุมผูก้ ระท�ำได้ดว้ ยซ�ำ้ ” หัวหน้าหน่วย จิตเวชเด็กกล่าวถึงการประเมินและรักษาอาการทางจิต ของผูก้ ระท�ำผิดที่แทบไม่เกิดขึน้ และให้ความเห็นว่า ควรมี ม าตรการป้อ งกัน ไม่ใ ห้ผู้ก ระท�ำ ผิ ด เข้า ถึง เด็ก คนอื่ น อี ก โดยเฉพาะกรณี ท่ี เ หตุ เ กิ ด จากบุ ค คล ในสถานศึกษา ซึง่ ปรากฏในหน้าข่าวบ่อยครัง้ ใช้ความรักเปลี่ยนให้เด็กยอมรับ การกระท�ำผิด วีรวรรณ มอสบี้ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการฮัก มูลนิธิ สานสัมพันธ์ครอบครัว ซึง่ ท�ำงานร่วมกับไทแคค เล่าว่า จากประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับต�ำรวจในการยุติ การแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศต่อเด็ก ส่วนใหญ่เด็ก ที่ไม่รูว้ ่าตัวเองเป็ นผูเ้ สียหาย มักมีปัญหาครอบครัว หรือไม่มีพอ่ แม่ดแู ล ดังนัน้ เป้าหมายของเด็กกลุม่ นีค้ ือ ท�ำอย่างไรก็ได้ให้ตวั เองอยูร่ อด
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
วีรวรรณเยียวยาเด็กกลุม่ นีโ้ ดยใช้หลักการรักอย่าง ฉลาด (Love and Logic) ซึ่งเน้นให้ธรรมชาติเป็ น ตัวสอนเด็ก โดยผูใ้ หญ่ทำ� หน้าที่เป็ นโค้ช “มีเคสเด็กเป็ น ผูเ้ สียหายค้ามนุษย์ เขามาอยูก่ บั เราสามเดือน แล้วเขา แอบไปขายอีก เพราะเขาอยากได้เงิน เราก็ บอกว่า ‘ไม่เป็ นไร หนูทำ� มาได้ตงั้ สามเดือน พี่เชื่อว่าหนูจะท�ำ ได้ดี ก ว่ า นี ’้ เราจะไม่ ตัด สิ น ความผิ ด พลาดของเขา แต่ให้เขาได้เรียนรู ก้ ับมัน แล้วเราจะเสริมพลังใจให้” ผอ.โครงการฮักเล่า ต้องผลักดันการสอนเรื่องสิทธิ บนเนื้อตัวร่างกายตั้งแต่เด็ก แสงจันทร์ เมธาตระกูล ผูจ้ ดั การโครงการโรงเรียน สร้า งเสริ ม สุ ข ภาวะของ Path2Health กล่ า วว่ า มีโครงการจัดอบรมครูเรือ่ งการสอนเพศวิถีรอบด้านมา ตัง้ แต่ปี 2540 และเริ่มเปลี่ยนมาจัดแบบออนไลน์เมื่อ ปี 2562 โดยเน้นการจ�ำลองสถานการณ์ให้เด็กฝึ กคิด และวิ เ คราะห์ มี เ ป้า หมายให้เ ด็ก เข้า ใจและเท่า ทัน พฤติกรรมที่จะส่งผลกระทบทัง้ บวกและลบต่อตนเอง
“
เรื่องเพศเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในตัวเด็ก ทุกคน แต่ไม่สามารถควบคุมหรือ ก�ำกับได้ตลอดเวลา แสงจันทร์ เมธาตระกูล
”
แสงจันทร์อธิบายว่า ต้องสอนพัฒนาการทางเพศ ไปพร้อมกับการสอนเรื่องความยินยอม ตัง้ แต่ประถม ศึกษาตอนต้น เพราะเรือ่ งเพศเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิต เมื่อต้นปี 2563 วิภาพร ตัง้ ตรงหฤทัย ครูสอนวิชา สังคมศึกษาชัน้ ม.1-ม.3 โรงเรียนแม่สอด เข้าร่วมอบรม การสอนเพศวิถีแบบออนไลน์ของ Path2Health เพราะ อยากน�ำความรูไ้ ปให้คำ� แนะน�ำกับนักเรียนที่เป็ นวัยรุน่ วิภาพรเผยว่า การอบรมช่วยให้เธอเข้าใจแง่มมุ ใหม่ ในการสอนเพศศึกษามากไปกว่าเรือ่ งเพศสัมพันธ์ เช่น ทัศนคติทางเพศ การให้คณ ุ ค่าตนเองและผูอ้ ่ืน วิภาพรเล่าว่า มีเด็กหญิงชัน้ ม.3 คนหนึง่ ปรึกษาเธอ เรื่ อ งประจ�ำ เดื อ นไม่ ม า เด็ ก รู ้สึ ก กั ง วลเพราะมี เพศสัมพันธ์กบั แฟนโดยไม่ปอ้ งกัน และไม่กล้าทดสอบ การตัง้ ครรภ์ดว้ ยตนเอง เธอจึงช่วยเหลือให้เด็กได้ตรวจ การตัง้ ครรภ์ ท�ำให้เด็กรูส้ กึ สบายใจขึน้ เมื่อเด็กคนอื่น รูว้ า่ ไว้ใจครูคนนีไ้ ด้ ก็เข้ามาปรึกษาเรือ่ งของตนมากขึน้
กองบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา: ผศ.ดร.ณรงค์ ข�ำวิจิตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา: พิชยั วัฒน์ แสงประพาฬ, พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการเนือ้ หา: ชญานิน โล่หส์ ถาพรพิพิธ, ปรียานุช ปรีชามาตย์ บรรณาธิการศิลป์ : วโรดม เตชศรีสธุ ี บรรณาธิการสร้างสรรค์สื่อออนไลน์: มณิสร วรรณศิริกุล กองบรรณาธิการ: เกือ้ กูล หมอนค�ำ, จิรชั ยา ปุญญฤทธิ์, ชญานิน โล่หส์ ถาพรพิพิธ, ธนพร เกาะแก้ว, ธเนศ จันทนาอรพินท์, ปรียานุช ปรีชามาตย์, มณิสร วรรณศิรกิ ลุ , วโรดม เตชศรีสธุ ี, สิทธิเดชมั่นทอง ที่อยู่: 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุ งเทพมหานคร 10330 โทร: 0-2218-2140 Facebook: www.facebook.com/nisitjournal Twitter: @nisitjournalV2 Instagram: nisit.journal Website: https://nisitjournal.press
บทบรรณาธิการ การตั้ ง ค�ำ ถามต่ อ สภาพสั ง คมที่ เ ป็ นอยู่ และบอกเล่ า หรื อ ถกเถี ย งถึ ง “ภาพ” สัง คม ที่ แ ต่ล ะคนปรารถนา ปรากฏขึน้ อย่ า งเด่น ชัด ในการเคลื่ อ นไหวเพื่ อ ประชาธิ ป ไตยปี 2563 ประเด็นของคนชายขอบถูกพูดถึงไปพร้อมกับ ข้อ เรี ย กร้อ งหลัก คนที่ เ คยถูก กดทับ ไม่ ว่ า จะ ด้ว ยเหตุแ ห่ ง เพศ เชื อ้ ชาติ ชนชั้น ความเชื่ อ หรือด้วยภาพจ�ำที่ส่ือสร้างไว้ ได้ออกมาส่งเสียง ด้วยความหวังจะปลดแอกตัวเองไปสูช่ ีวติ ที่ดกี ว่า แม้วา่ ทิศทางของสังคมจะเริม่ หันมาให้คณ ุ ค่า กับความหลากหลายในความเป็ นมนุษย์มากขึน้ กระนัน้ ยังมีส่ือบางส่วนเลือกที่จะเป็ นเครื่องมือ ของอ�ำนาจเก่า โดยการผลิตซ�ำ้ ชุดความคิดที่ เต็มไปด้วยอคติและภาพเหมารวมของคนชายขอบ ไม่ว่าจะเป็ นการด้อยค่าเด็ก ผูห้ ญิ ง ผูม้ ี ความ หลากหลายทางเพศ การใส่รา้ ยนักเรียนอาชีวะ หรือการละเลยปั ญหาของเกษตรกรและชนชัน้ แรงงานผูเ้ ป็ นก�ำลังหลักของประเทศ กลุม่ คนตัวเล็กที่ถกู เอาเปรียบจากโครงสร้าง สั ง คมนั้ น มี อ ยู่ ทุ ก ที่ และจะมี ม ากขึ ้น เรื่ อ ยๆ หากประเทศยัง ขาดกลไกอัน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการวิพากษ์วิจารณ์ชนชั้นปกครอง สิ่งที่ ส่ือ ควรท�ำที่สดุ คือการชีใ้ ห้เห็นถึงความไม่เป็ นธรรม ที่เกิ ดขึน้ กับพวกเขา เพื่อกดดันให้ผูก้ ระท�ำผิด ไม่วา่ จะอยูใ่ นชนชัน้ ใด รับผิดชอบต่ออาชญากรรม ที่ตนก่อ ทั้ง นี ้ การต่อ สูก้ ับ อ�ำ นาจน�ำ อาจสั่น คลอน ความมั่ น คงขององค์ก ร แต่ เ ป็ นหน้ า ที่ ข อง สื่ อ มวลชนที่ ต ้อ งตรวจสอบรัฐ บาล และคาน อ�ำนาจกับชนชั้นน�ำ เพื่อรักษาสิทธิ ขัน้ พืน้ ฐาน ของประชาชน เพราะจุดยืนของสื่อควรเป็ นการ อยูข่ า้ งประชาชน กองบรรณาธิ การ “นิ สิตนักศึกษา” ฉบับนี ้ จึงร่วมเคลื่อนไหวไปพร้อมกับมวลชนด้วยการ น�ำเสนอภาพของผูค้ นที่สงั คมอาจยังไม่เคยเห็น หรืออาจถูกหลงลืม รวมถึงแสดงให้เห็นความ ส�ำคัญของพวกเขา เมื่อภาพเหล่านัน้ ปรากฏชัด อาจเผยให้เ ห็ น ทั้ ง แง่ ง ามในเรื่ อ งที่ ไ ม่ มี ใ คร เห็ น คุณ ค่ า หรื อ อาจส่ อ งให้เ ห็ น ความรุ น แรง ในสังคมได้ชดั เจนขึน้ สื่อสามารถหยุดวงจรความรุ นแรงที่เกิดจาก อ�ำ นาจอัน ไม่ เ ท่ า เที ย ม โดยการตระหนั ก ถึ ง อิทธิพลและความน่าเชื่อถือที่พ่วงมากับวิชาชีพ น�ำเสนอเรื่องราวของผูท้ ่ีถกู ท�ำร้ายโดยโครงสร้าง และถ่ายทอดให้เห็นถึงมิติอันหลากหลายของ คนชายขอบ เพื่อเป็ นอีกหนึ่งแรงส�ำคัญในการ ทวงคืนความยุตธิ รรมให้ผถู้ กู กดขี่
3
4
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN SOCIAL COURSE ISSUE
ภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร
กฎระเบี ย บที่ ค รอบสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน? เรื่อง-ภาพ: จิรัชยา ปุญญฤทธิ์
ตัง ้ แต่เล็กจนโตเรามักได้รบ ั การปลูกฝัง อยู่เสมอว่ากฎระเบียบคือสิ่งส�ำคัญของ ว้เไพืว้อ ่ เ พื ดูแ่ อลความเรี ยบร้อยยช่บร้ วยจั สังงคม คมมีไมี ดู แ ลความเรี อด ย ระบบ และท� ำ ให้ ท ุ ก คนอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ อ ย่ า ง ช่วยจัดระบบ และท�ำให้ทุกคนอยู่ร่วมกัน สงบสุ ข แต่ขเ มื ่ อเใดที ่ ก ฎดู จ ะกลายเป็ อย่ างสงบสุ แต่ มือ ่ ใดที ก ่ ฎดู จะกลายเป็น ข้อบังคับทีล ่ ะเมิด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ดสิทธิมนุษยชนค�ค�ำำถามคื ถามคือ เรายังควรปฏิ บต ั บต ิ ัตามกฎต่ อไปหรื อ อ ควรจะปฏิ ิตามกฎต่ อไปหรื กฎระเบียบที่หนีไม่พ้น
การท�ำตามกฎไม่ได้สง ่ ผลต่อการท�ำงาน
แ จ ง (นามสมมติ ) อดี ต พนั ก งานต้ อ นรั บ บนเครื่องบินของสายการบินชื่ อดังในเอเชี ย เห็นว่า เธอเข้าใจว่ากฎระเบียบจะช่วยให้ทำ� งานอยู่ในองค์กร ได้อย่างราบรื่น แต่กฎบางประการก็ยากที่จะเข้าใจ เหตุผลว่าท�ำไปท�ำไม “เรารู ส้ กึ ว่ากฎบางข้อก็เกินไปหน่อย ห้ามท�ำสีผม ทาเล็บได้แค่สามสีท่ีกำ� หนด หรือถ้าใส่เครื่องแบบแล้ว ห้ามนั่งกินข้าวในสนามบิน ห้ามคุยโทรศัพท์ เราคิดว่า ถ้า ท�ำ นิ ด หน่ อ ย ไม่ ไ ด้เ กิ น ควร เราก็ ไ ม่ ไ ด้ท �ำ งาน แย่ลง หรือท�ำให้ภาพลักษณ์ของสายการบินดูแย่นะ อาจท�ำงานได้ดกี ว่าเดิมด้วยซ�ำ้ เพราะสิง่ เหล่านัน้ ท�ำให้ เรามีความมั่นใจมากขึน้ ” แจงกล่าว
สุ วิ ช ชา อรุ ณ เกรี ย งไกร อดี ต พนัก งานขาย ของบริษัทรถยนต์ช่อื ดัง เล่าถึงประสบการณ์การท�ำงาน ครัง้ แรกในชีวิตว่า “ฝ่ ายบุคคลยื่นสมุดภาพดาราชาย ภาพลักษณ์ที่ดีคือสิทธิองค์กร ให้เราดู เขาบอกให้เลือกทรงผมตามนี เ้ ท่านั้น แล้ว “เรื่องของกฎระเบียบไม่ได้เกี่ยวกับการไปลิดรอน ไปตัดมา สรุปเราก็ไปตัดผมตามที่เขาบอก ตอนนัน้ เรา คิดว่ามันสัน้ ไปหน่อย เหมือนทรงนักเรียนหัวเกรียนเลย สิทธิ ของพนักงาน แต่การตัง้ และบังคับใช้กฎมันเป็ น แต่ ก็ ย อมท�ำ ตามเพราะมัน คื อ กฎของบริ ษั ท และ สิทธิ ขององค์กร” มณฑล ณ นคร ผูบ้ ริหารบริษัท มายโฮม ดีเวลอปเม้นท์ จ�ำกัด แสดงความคิดเห็น อีกอย่างเราก็อยากได้งาน” เขากล่าวว่า กฎเป็ นสิ่งส�ำคัญ ทัง้ มีไว้เพื่อก�ำกับ เมื่อกฎระเบียบเบียดเบียนทรัพย์ ขอบเขตที่ เ หมาะสมให้ กั บ พนั ก งาน และสร้า ง แก้ว (นามสมมติ) พนักงานบริการในร้านอาหาร ภาพลักษณ์องค์กร ซึง่ หากพนักงานมีทศั นคติไม่ตรงกับ ญี่ ปุ่นรู ปแบบเฉพาะ เล่าว่า แม้จะเป็ นเครื่องแบบที่ องค์กรและไม่พร้อมปฏิบัติตามกฎก็คงไม่เหมาะกับ องค์กรบังคับ แต่เครือ่ งแต่งกายบางอย่างเธอกลับต้อง องค์กรของเขา ในอี ก มุม หนึ่ ง อานนท์ ศรี ช าญกิ จ ผู้จัด การ จ่ า ยเงิ น ซื อ้ เอง ซึ่ง ก็ มี ร าคาสูง และไม่ คุม้ ค่า ที่ จ ะซื อ้ ฝ่ ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษัท น�ำ้ ตาลขอนแก่น เพราะน�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวันไม่ได้ เช่นเดียวกันกับ ธนัชชา เธียรปรีชา อดีตพนักงาน จ�ำกัด (มหาชน) อธิบายว่า ในองค์กรของเขาจ�ำเป็ น ขายเสือ้ ผ้ายี่ หอ้ ดัง สัญชาติญ่ี ปุ่น ได้พูดถึงกฎที่ เคย ต้องมีขอ้ ก�ำหนดเหมือนกับองค์กรอื่นๆ ต่างกันที่กฎ เผชิญว่า เธอต้องเสียเงินท�ำสีผมใหม่ เพราะองค์กร เปรี ย บเสมื อ นข้อ ตกลงระหว่ า งสองฝ่ ายมากกว่ า ไม่แจ้งระเบียบให้ทราบก่อนตัง้ แต่ตอนสัมภาษณ์งาน จะเป็ นข้อบังคับ เพราะองค์กรเคารพสิทธิของพนักงาน จึงจัดพืน้ ที่ให้พวกเขาได้แสดงความคิดเห็นและน�ำไป ว่าต้องมีผมสีเข้มเท่านัน้ ยิ่งไปกว่านัน้ ยังมีเรื่องการแต่งกาย “ท�ำงานที่น่ นั ปรับปรุงแก้ไข อย่างไรก็ตาม เขาไม่เห็นด้วยกับกฎที่สดุ โต่งทัง้ แบบ เราต้องใส่เสือ้ ผ้าของแบรนด์เขาเท่านัน้ ถ้าไม่มีก็ตอ้ ง ซือ้ ใหม่ แม้จะบอกว่ามีสว่ นลดให้ เราก็ไม่คอ่ ยอยากซือ้ ที่เข้มงวดหรือเสรีเกินไป และมองว่า “กฎก็ยงั จ�ำเป็ นอยู่ เพราะเรามาท�ำงานหาเงิ น แต่ก็ตอ้ งมาเสียเงิ นอี ก” แต่ควรปรับให้เหมาะกับองค์กร ต้องหาตรงกลางให้เจอ ไม่มากไปจนรุกล�ำ้ สิทธิและไม่นอ้ ยไปจนไร้ระเบียบ” ธนัชชาอธิบาย
สิทธิองค์กรต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
ศุ ภ ศิ ษ ฏ์ ทวี แ จ่ ม ทรั พ ย์ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ ข้อมูลด้านกฎหมายแรงงานไว้วา่ แม้กฎอาจจะละเมิด สิทธิ แต่ไม่มีบทบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องโดยตรง กฎหมาย จะถู ก น�ำ มาใช้ก็ ต่ อ เมื่ อ องค์ก รบั ง คั บ ใช้ก ฎอย่ า ง ไม่เป็ นธรรม กระทั่งลูกจ้างไม่สามารถท�ำงานอยูต่ อ่ ไปได้ แล้วฟ้องร้องเอาความ ทางด้าน คอรีเยาะ มานุแช ทนายความด้านสิทธิ มนุษ ยชน ระบุว่ า สิ ท ธิ ใ นเนื อ้ ตัว ร่า งกายเป็ น สิ ท ธิ ขั้นพื น้ ฐานตามรัฐธรรมนูญ หากข้อบังคับใดขัดต่อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนก็ ค วรถู ก เพิ ก ถอนแก้ ไ ข แต่ ไ ม่ ไ ด้ หมายความว่าองค์กรห้ามมีกฎระเบียบ ทว่าต้องเคารพ สิทธิและก�ำหนดอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามยังไม่มี กฎหมายด้านสิทธิ มนุษยชนที่เข้ามาควบคุมกฎของ องค์กรได้อย่างจริงจัง ทั้ง นี ้อ งค์ก รมี อ �ำ นาจในการตั้ง กฎและท�ำ เพื่ อ ผลประโยชน์ของบริษัท แต่สิทธิองค์กรต้องไม่ละเมิด สิทธิมนุษยชน
“
พี่ไม่อยากให้ทุกคนมองว่า การถูกละเมิดสิทธิเป็นเรื่องเล็กน้อย เราควรตระหนักว่าสิทธิและเสรีภาพ ของเราเป็นสิ่งส�ำคัญ คอรีเยาะ มานุแช
กฎระเบียบใดที่เหมาะสม?
”
ผู้ เ ชี่ ยวชาญด้ า นภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก รอย่ า ง พนม คลี่ฉ ายา รองศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชา การประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิ บายว่า ในการจัดการภาพลักษณ์ ให้เป็ นไปตามที่คาดหวัง ทรัพยากรบุคคลมีสว่ นส�ำคัญ อย่ า งยิ่ ง แต่ เ มื่ อ ใดที่ อ งค์ก รค�ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ เป็ นหลัก และมองข้ามความสัมพันธ์ท่ีดีต่อบุคลากร อาจเกิ ด การต่ อ ต้ า น ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว การบริ ห าร ภาพลัก ษณ์อ งค์ก รก็ จ ะล้ม เหลวไปพร้อ มๆ กับ การ บริหารทรัพยากรบุคคล ดังนั้น การพูดคุยตกลงกัน จึงเป็ นทางออกที่ควรท�ำ “หากอยากสร้างภาพลักษณ์ดว้ ยกฎระเบียบ แต่ ไม่ส่อื สารกันภายในองค์กรให้ดี การสื่อสารภาพลักษณ์ สูภ่ ายนอกก็ยากที่จะประสบความส�ำเร็จ และองค์กรก็ อาจจะเสียโอกาสในการมีบคุ ลากรคุณภาพ” พนมกล่าว
MAIN COURSE SOCIAL ISSUE
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
5
ค�ำเตือนเนือ้ หา: อธิบายถึงลักษณะการซ้อมทรมาน และมีภาพประกอบเป็ นศพ
ร่างผูเ้ สียชีวิต ณ โรงพยาบาลแห่งหนึง่ ในจังหวัดสงขลา
ไร้ร่องรอยปรากฏ
การซ้อมทรมานกับหลักฐานทีห ่ ายไป เรื่อง-ภาพ: ธนพร เกาะแก้ว และ มณิสร วรรณศิริกุล “การชันสูตรพลิกศพ” คือวิธีหา สาเหตุการตายเพือ ่ ไขข้อข้องใจให้กบ ั ญาติ ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต แต่ ใ นชายแดนใต้ การชั น สู ต รไม่ ส ามารถท� ำ ได้ เ ต็ ม ที่ เพราะความเชือ ่ ของชาวมลายูมส ุ ลิม ที่ ไ ม่ ยิ น ยอมให้ แ พทย์ นิ ติ เ วชผ่ า ศพ นอกจากนั้ น ยั ง พบการร้ อ งเรี ย น เรื่อง “ซ้อมทรมาน” ที่หลายเคสเล่า ตรงกันว่าไม่ปรากฏบาดแผล ยิง ่ ท�ำให้ ร่ อ งรอยการละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ชาวมลายู มุ ส ลิ ม หายไป ในขณะที่ อ�ำนาจฝ่ายความมัน ่ คงไม่เคยลดลง
ศพชาวมลายูมุสลิม: การชันสูตรทีไ่ ม่เป็นไปตามต�ำรา
หมอภัทร (นามสมมติ) แพทย์นติ เิ วช ประจ�ำโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัด สงขลา กล่าวว่า ประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาก�ำหนดให้แพทย์ ผ่ า ศพได้ แต่ ห น้า งานจริ ง เป็ น ความ ล�ำบากใจ เพราะ “ความเชื่ อท้องถิ่ น” ของชาวมลายูมสุ ลิมไม่อนุญาตให้ผา่ ศพ หลายครัง้ แพทย์จึงต้องเลี่ยงการปะทะ โดยยินยอมไม่ผา่ ตามค�ำขอของญาติ นอกจากความเชื่ อ แล้ว ตามที่ ไ ด้ ฟั งเสียงคนในพืน้ ที่มา หมอภัทรกล่าวว่า เหตุท่ีชาวมลายูมสุ ลิมไม่ยอมให้ผ่าศพ เพราะ “ต่ อ ให้ผ่ า เจอหลัก ฐานแล้ว ไง ความยุตธิ รรมก็ไม่เคยเกิดขึน้ กับพวกเขา อยูด่ ี” ซ้อมทรมาน: ผ่าศพไม่ได้ ร่องรอยไม่มี
เคสหนึ่งที่ หมอภัทรเคยรับผิ ดชอบ เป็ นศพชายมุสลิมที่เสียชีวติ ในค่ายทหาร
ปั ญหาความไม่สงบ แต่ในความเป็ นจริง กลับ ถู ก ใช้เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ละเมิ ด สิ ท ธิ ชาวมลายูมสุ ลิมในพืน้ ที่แทน พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ผูอ้ ำ� นวยการ มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ชีว้ า่ ผูถ้ กู กล่าวหา ในคดีความมั่นคงล้วนแล้วแต่เป็ นชาว มลายูมสุ ลิมทัง้ สิน้ “แทบไม่เคยมีการจับ เจ้าหน้าที่รฐั เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม โดยกฎหมายพิเศษเลย การใช้กฎหมาย พิเศษตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานการเลือกปฏิบตั ”ิ กฎอัยการศึกท�ำให้บุคคลถูกคุมตัว ในค่ายทหารได้โดยไม่ตอ้ งมีหมายศาล เป็ นเวลา 7 วัน จากนัน้ เจ้าหน้าที่จะอ้าง พ.ร.ก.ฉุกเฉินเพื่อควบคุมตัวได้อกี 30 วัน รวมเป็ น 37 วัน ชาวมลายูมสุ ลิมสามารถ ถูก “เชิญตัว” ไปซักถามที่ใดหรือเมื่อใด ก็ได้ หลายครัง้ พบว่า วิธีซกั ถามเข้าข่าย การทรมาน แม้ไม่พบบาดแผลทางกาย แต่เกิดผลกระทบกับจิตใจ
ผลชันสูตรไม่พบสาเหตุการตายแน่ชัด แม้จะมีการตรวจเอกซเรย์และเจาะเลือด เพิ่มเติมแล้ว ก็ยงั ไม่สามารถอธิบายการ เสียชีวติ ได้ อีกทัง้ ญาติผตู้ ายก็ปฏิเสธการ ผ่าชันสูตร เคสนัน้ จึงต้องสรุปว่าไม่ทราบ สาเหตุการตาย หมอภัทรเคยรับหน้าที่ตรวจร่างกาย ผูเ้ สียหายจากความรุ นแรงในครอบครัว เธอเล่าว่า ถูกสามี บี บคอ แต่กลับไม่มี ร่องรอยการโดนบีบ เนื่องจากสามีของ เธอท�ำงานใน “วงการนัน้ ” แถวชายแดน และเขามี “วิธี” ของพวกเขา เช่น ไม่ใช้ นิ ว้ จิ ก ขยี ้ หรือขย�ำ ลงบนคอขณะบี บ แต่ใช้บริเวณฝ่ านิว้ กดลงไปคล้ายนวดคอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดรอยช�ำ้ เมื่อการซ้อมทรมานเกิดขึ้น ส�ำหรับเคสซ้อมทรมาน แพทย์นติ เิ วช โดยไม่ทิ้งหลักฐาน กล่าวว่า “อาจไม่ได้ตรวจเพียงพอเพราะ ไม่ ไ ด้ผ่ า ศพ หรื อ เป็ นการลงมื อ โดย นุรอาซีกีน บูโซะ เจ้าหน้าที่มลู นิธิ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ” จึ ง น�ำ มาสู่ ข ้ อ สรุ ป ว่ า ผสานวัฒนธรรมในพืน้ ที่ชายแดนภาคใต้ “ถ้าหลักฐานไม่พอ ก็เอาผิดผูก้ ระท�ำไม่ได้” ชีแ้ จงว่า แม้บางกรณีจะมีหลักฐานการ ซ้อ มทรมาน แต่ ช่ ว งเวลาระหว่ า งถูก 16 ปีผ่านไป ไฟใต้ไม่เคยดับ ควบคุมตัว 37 วัน ที่ผตู้ อ้ งสงสัยไม่อาจ “คดีความมั่นคง” ที่เกิดขึน้ ในจังหวัด เข้าถึงแพทย์ได้ ก็ทำ� ให้รา่ งกายซ่อมแซม ชายแดนใต้ ตั้ ง แต่ ปี 2547 น�ำ ไปสู่ ตัวเองจนหายเป็ นปกติ การประกาศใช้กฎหมายพิเศษสามฉบับ ส่ ว นการซ้อ มทรมานที่ ไ ม่ ปรากฏ ได้แก่ พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 ร่องรอย สามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ถุงพลาสติกคลุมศีรษะ ใช้ผา้ เปี ยกคลุม ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และ พ.ร.บ.การรักษา หน้า แล้ว หยดน�้ำ กรอกปาก เป็ นต้น คว ามมั่ น คงภ ายใ นร าชอ าณ าจั กร แม้ไม่มีรอ่ งรอยปรากฏทางกาย แต่เมื่อ พ.ศ. 2551 ตลอด 16 ปี ท่ีรฐั ไทยประกาศ ได้รบั การร้องเรียนซ�ำ้ ๆ จนเห็นรูปแบบที่ ใช้ก ฎหมายพิ เ ศษ โดยอ้า งการแก้ไ ข คล้า ยกั น จึ ง ท�ำ ให้นัก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
ตัง้ ค�ำถามถึงการซ้อมทรมานระหว่างคุมตัว ด้าน อับดุ ลกอฮาร์ อาแวปูเต๊ะ ทนายความและผู้ อ �ำ นวยการศู น ย์ ทนายความมุส ลิม จัง หวัด ชายแดนใต้ เสนอว่า การแก้ไขปั ญหาซ้อมทรมาน อย่างเร่งด่วนที่สดุ คือการตัง้ องค์กรกลาง มาดูแลข้อร้องเรียนโดยตรง เพื่อคุม้ ครอง ผูถ้ กู กระท�ำและป้องกันข้อครหาเกี่ยวกับ การกระท�ำของเจ้าหน้าที่ ทนายมองว่า การมอบเงินเยียวยา ไม่ใช่ทางออกของปัญหาการซ้อมทรมาน
“
บางอย่างไม่สามารถซือ ้ ได้ดว ้ ยเงิน ในเคสถูกทรมานที่เป็นข่าว บางครั้งญาติอยากรู้ความจริง มากกว่า การได้ฟังค�ำขอโทษคือ สิ่งที่เป็นความรู้สึกทางจิตใจ อันมีค่ามากกว่าตัวเงิน อับดุลกอฮาร์ อาแวปูเต๊ะ
”
คนไทยกับความไม่เข้าใจ ในสถานการณ์สามจังหวัด
ภาวิณี ชุมศรี ทนายความประจ�ำ ศู น ย์ท นายความเพื่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน กล่า วว่ า เหตุท่ี ค นส่ว นใหญ่ ไ ม่ เ ข้า ใจ ปั ญหาในชายแดนใต้ ส่วนหนึ่งมาจาก ความห่างไกลเชิงกายภาพ และความ ไม่คุน้ เคยในอัต ลัก ษณ์ข องชาวมลายู มุสลิม ภาวิณีมองว่า ปั จจุบนั คนไทยเข้าใจ บริบทของชายแดนใต้มากขึน้ เพราะการ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินทั่วประเทศเนื่องจากการ ระบาดของโรคโควิด-19 มีการต่ออายุ ในลักษณะเดียวกับ พ.ร.ก.ฉุกเฉินทีม่ กี าร ประกาศใช้ในพืน้ ที่ชายแดนใต้ “ปั ญหาสามจังหวัดคื อปั ญหาของ ทุกคน ถ้ารัฐท�ำกับคนในสามจังหวัดได้ รัฐก็ทำ� กับเราได้เหมือนกัน” ภาวิณีกล่าว
6
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN EDUCATION COURSE
ป้ายไวนิลหน้าโรงเรียน : ความยินดีที่ถูกตีกรอบ
เรื่อง-ภาพ: ธเนศ จันทนาอรพินท์
การแขวนป้ า ยขนาดใหญ่ ไ ว้ ด ้ า นหน้ า ข อ ง โ ร ง เ รี ย น เ พื่ อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี ต ่ อ “ความส�ำเร็จทางการศึกษา” ของนักเรียน หากมองอย่ า งผิ ว เผิ น ดู เ หมื อ นเป็ น ความ ประสงค์ดข ี องโรงเรียนต่อตัวเด็ก แต่เมือ ่ ป้าย เหล่ า นี้ ถู ก ใช้ เ พื่ อ เชิ ด ชู ค วามส� ำ เร็ จ เพี ย ง บางประเภท จึงเกิดค�ำถามถึงความส�ำคัญ ของคุณค่าด้านอื่นๆ ของนักเรียน
“คนเก่ง” ของโรงเรียน ไข่ ห วาน (นามสมมติ ) นัก เรี ย นหญิ ง ชั้น ม.5 สายวิทย์-คณิตโรงเรียนย่านปทุมวัน เล่าว่าเคยได้ขึน้ ป้ายแสดงความยินดีจากการชนะเลิศแข่งขันแต่งกลอน และสอบได้คะแนนโอเน็ตคณิตศาสตร์ 100 เต็ม ตอน ม.ต้น “เราเป็ นเด็กกิจกรรม โรงเรียนเคยส่งไปแข่งอ่าน ออกเสียงเราก็ทมุ่ เทและตัง้ ใจเหมือนกัน แต่ก็ยงั รูส้ กึ ว่า เขาให้คณ ุ ค่าเด็กสายแข่งวิชาการจนไม่เห็นพวกเราเลย” ประสบการณ์ระหว่างเรียนระดับมัธยมปลายท�ำให้เธอ เห็นการส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนที่ไม่ทดั เทียมกัน ไม่ต่างจาก น�้ำฝน (นามสมมติ) นักศึกษาหญิ ง ชัน้ ปี ทส่ี าม คณะบริหารธุรกิจ ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ที่ตงั้ ค�ำถามถึงความส�ำเร็จบนป้าย
“
เรารู้สึกว่าอาจจะยังมีอีกหลาย ความส�ำเร็จที่ไม่ได้ไปอยู่บนนั้น เพราะอย่างเราที่ชอบร้องเพลง ลึกๆ แล้วก็เคยคิดว่าโรงเรียนจะมี ป้ายยินดีกับเราเหมือนกันไหม ถ้าเรามีโอกาสได้ไปแข่งแล้วชนะ น�้ำฝน
สอบโอเน็ตวิชาคณิตศาสตร์สงู สุดในระดับชัน้ ข้อความ บนป้ายนัน้ ไม่ได้มีผลต่อความรูส้ กึ ของเธอ แต่มนั กลับ ท�ำให้พอ่ เล่าความส�ำเร็จของเธอให้เพื่อนฟั งด้วยความ ภาคภูมิใจ ทัง้ ที่ปกติพ่อของชิดชนกไม่ค่อยเล่าเรื่อง ครอบครัวให้คนนอกบ้านฟั ง ความเป็นเลิศบนป้ายกับ การตัดสินใจส่งลูกเข้าเรียน บั ว (นามสมมติ ) คุ ณ แม่ ข องนั ก เรี ย นประถม โรงเรียนรัฐแห่งหนึ่ง พูดถึงป้ายที่แขวนอยู่บริเวณรอบ โรงเรีย นว่า เป็ น สิ่ง แรกๆ ที่ เ ห็ น ได้จ ากนอกโรงเรีย น ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ การตั ด สิ น ใจส่ ง บุ ต รเข้า เรี ย น แม้ว่ า จะยังไม่ได้เข้าไปสัมผัสสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน “เหมือนเป็ นตัวอย่างการเรียนการสอนของโรงเรียนว่า เขาผลัก ดั น เด็ ก ให้ป ระสบความส�ำ เร็ จ ยั ง ไงบ้า ง” บัวกล่าว ในท�ำนองเดียวกัน เก๋ (นามสมมติ) คุณแม่ของ นักเรียนประถมโรงเรียนรัฐอีกคนหนึง่ มองว่า เด็กที่อยู่ บนป้ า ยเป็ น หนึ่ ง ในองค์ป ระกอบที่ แ สดงให้เ ห็ น ถึ ง ประสิทธิ ภาพของโรงเรียนว่าสามารถผลักดันให้เด็ก ประสบความส�ำเร็จได้มากน้อยแค่ไหน อคติของมนุษย์ร่วมสร้าง บรรทัดฐานทางการศึกษา
ภัทราภา เวชภัทรสิริ และ ภานุวฒ ั น์ สัจจะวิรยิ ะกุล ตัวแทนจาก Nudge Thailand กลุ่มคนที่สนใจและ ศึกษาเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม มองว่า บรรทัดฐาน การแขวนป้ายแสดงความยินดีหน้าโรงเรียนเกิดจาก กระแสตอบรับของผูป้ กครองที่ส่งบุตรหลานเข้าเรียน ด้าน ชิดชนก หลกภิชาติ นิสิตหญิงชัน้ ปี ท่ีสาม มากขึน้ เนื่องจากคิดว่าป้ายบ่งบอกถึงความเป็ นเลิศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าว่า ทางวิชาการ ภัทราภาและภานุวฒ ั น์เสริมว่า การแข่งขัน เมื่อเธออยู่ ม.3 เธอเคยได้ขึน้ ป้ายเพราะมีผลคะแนน ระหว่างโรงเรียนยังคงใช้ตัวชี ว้ ัดด้านความสามารถ
”
เชิงวิชาการของนักเรียน “เมื่อสังคมมองว่าโรงเรียนที่ดี คื อ โรงเรี ย นที่ มี เ ด็ ก เก่ ง แล้ ว จะท� ำ ยั ง ไงให้ เ ห็ น ป้ายจึงเป็ นพืน้ ที่ส่อื ของโรงเรียน” ในส่วนของผลที่เกิดต่อทัศนคติของผูป้ กครองนัน้ ภัทราภาและภานุวฒ ั น์เล่าถึงอคติสองแบบในมนุษย์ แบบแรกคือ Availability Bias เป็ นอคติท่ีทำ� ให้คน ตัดสินใจจากข้อมูลที่สมองเราเข้าถึงได้เร็วที่สดุ หรือ เป็ นข้อ มู ล ที่ เ ห็ น บ่ อ ย จนคิ ด ว่ า สิ่ ง นั้ น เกิ ด ขึ ้น จริ ง โดยไม่ได้ไตร่ตรองจากข้อมูลในด้านอื่นๆ อีกหนึง่ อคติท่ีทงั้ สองกล่าวถึง คือ Representative Bias เป็ นพฤติกรรมที่คนเชื่อกลุ่มข้อมูลที่นอ้ ยเกินไป หรือการเหมารวม เมื่อคนเห็นว่ามีเด็กได้รบั รางวัลบน ป้าย ก็จะเหมารวมว่าเด็กโรงเรียนนีท้ งั้ หมดน่าจะเก่ง ทัง้ ที่ในความเป็ นจริง ถ้าดูทางสถิติจะมีขอ้ มูลที่เรียกว่า ‘Outliers’ หรือข้อมูลที่มีคา่ แตกต่างแยกออกจากข้อมูล ค่าอื่น นั่นคือเด็กทั่วไปท�ำได้เท่านี ้ แต่เด็กที่อยูบ่ นป้าย นัน้ โดดเด่นออกมา ซึ่งการที่โรงเรียนน�ำข้อมูลส่วนนี ้ มาแสดงท�ำให้เกิดการน�ำเสนอภาพเหมารวม ผลต่อเนื่องจากกระบวนการคิดเหล่านี ้ ท�ำให้สงั คม สร้า งบรรทัด ฐานทางการศึ ก ษาบางอย่ า งขึ น้ และ ท�ำสืบมาอย่างต่อเนื่อง “ในบางโรงเรียนเขาก็ไม่มีการ ติดป้าย เขาอยากให้ทกุ คนเก่งในทุกๆ ด้าน ไม่มีนยั ยะ ในการให้รางวัลคนใดคนหนึ่งมากกว่าอีกคน และก็ไม่ เป็ นการกดทับคนที่ไม่ถนัดเรียนวิชาการแต่มคี วามถนัด บางอย่างที่ดี เขาก็ไปดึงศักยภาพตรงนัน้ มา” ภานุวฒ ั น์ เสนอทางเลือกของสถาบันการศึกษา ทัง้ นีห้ ากโรงเรียน ต้องการแสดงความยินดีกบั นักเรียนจริงๆ ยังมีทางเลือก อีกมากมายทีส่ ามารถท�ำได้ “หนูวา่ มันมีวธิ ีอน่ื ทีส่ ามารถ ท�ำได้แล้วรู ส้ ึกว่ามันมี คุณค่าทางใจมากกว่าการขึน้ ไวนิล อาจจะเป็ นทุนการศึกษาหรือของเล็กๆ น้อยๆ ที่สามารถเอาไปใช้หรือเก็บไว้เป็ นที่ระลึกได้จริงๆ เพราะ ว่าคงไม่มีใครไปตัดไวนิลตัวเองมาเก็บไว้”
MAIN COURSE ECONOMY
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
7
แปลเถื่อน
ไ ฉ น จึ ง ท� ำ ล า ย
วงการมั ง งะ เรื่อง-ภาพ: สิทธิเดช มั่นทอง พัฒนาการที่เติบโตอย่างก้าวกระโดดของ อิ น เทอร์ เ น็ ต เปิ ด โอกาสให้ มี ก ารคั ด ลอก ท� ำ ซ�้ ำ และเผยแพร่ ก าร์ ตู น มั ง งะโดยไม่ ไ ด้ รับอนุญาต แม้การ์ตูนมังงะจะเป็นผลงาน ที่ มี ก ฎหมายคุ ้ ม ครองเจ้ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ แต่ ใ นกลุ ่ ม ผู ้ บ ริ โ ภคก็ ยั ง ถกเถี ย งกั น ถึ ง ความชอบธรรมของตนในการเสพผลงาน “มังงะแปลเถื่อน” เหล่านี้อยู่
มังงะคืออะไร “มังงะ (Manga)” คือการ์ตนู ช่องของญี่ปนุ่ ซึง่ เป็ น ที่ นิ ย มในหลายประเทศทั่ว โลก จากงานวิ จั ย ของ ธี ร ติ ร ์ บรรเทิ ง ในปี 2553 อธิ บ ายว่า การ์ตูน มัง งะ สามารถสร้างพืน้ ที่แห่งจินตนาการ สร้างความหวังและ ความฝั น ที่ โ ลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง อาจไม่ ส ามารถ มอบให้ได้ ทัง้ ยังเป็ นสื่อที่สามารถเข้าถึงบุคคลได้หลาย ช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก มังงะนัน้ จะช่วย สอดแทรก และปลูกฝั งค่านิยมที่ดี เช่น ความสามัคคี การให้ความส�ำคัญกับมิตรภาพ และความพยายาม ในการต่อสูฝ้ ่ าฟั นอุปสรรค เพือ่ สร้างเยาวชนทีม่ คี ณ ุ ภาพ ให้กบั สังคม อี ก ทั้ง มัง งะยัง เป็ น อุต สาหกรรมที่ ส ามารถสร้า ง รายได้ม หาศาลให้ กั บ ประเทศญี่ ปุ่ น มี ก ารผลิ ต ทัง้ รู ปแบบหนังสือและอีบ๊กุ ส์ โดยในปี 2561 มีมลู ค่า การตลาดราว 4 แสนล้านเยน หรือประมาณ 1 แสนล้าน บาท (ตัวเลขจากเว็บไซต์ DEXNEWS) นอกจากนีย้ งั ต่อยอดเป็นสินค้าอืน่ ๆ เช่น แอนิเมชัน ฟิ กเกอร์ และเสือ้ ผ้า ในประเทศไทย มีผูต้ ิดตามการ์ตนู มังงะมาหลาย สิบปี แล้ว โดยในปี 2562 มีมูลค่าการตลาดจากสื่อ การ์ตนู ญี่ปนทั ุ่ ง้ หมด อยู่ท่ีประมาณ 3,000 ล้านบาท (ตัวเลขจากประชาชาติธรุ กิจ) มังงะแปลเถื่อนคืออะไร? “มังงะแปลเถื่อน” คือการน�ำการ์ตนู มังงะที่มลี ขิ สิทธิ์ มาลบค�ำพูดภาษาญี่ปนุ่ ออก ใส่คำ� แปลภาษาไทยลงไป แล้วเผยแพร่บนเว็บไซต์ของตนหรือโซเชียลมีเดียต่างๆ ในประเทศไทย ผู้แ ปลเถื่ อ นส่ว นใหญ่ จ ะรอมัง งะที่ ถูกแปลเป็ นภาษาอังกฤษก่อน (โดยไม่ได้ซือ้ ลิขสิทธิ์) จากนัน้ จึงแปลเป็ นภาษาไทย จากงานวิจยั ของดารารัตน์ ภูธร ในปี 2560 อธิบาย จุดประสงค์ในการแปลเถื่ อนของผูแ้ ปลส่วนใหญ่ ว่า เพื่อฝึ กประสบการณ์ หรือแปลเพราะอยากให้มงั งะที่ ตนชอบเป็ นที่รูจ้ กั กระนัน้ การแปลเถื่อนที่ทำ� เป็ นธุรกิจ
ก็ปรากฏให้เห็นในรู ปแบบเว็บไซต์ ซึง่ จะพบมังงะทัง้ มี และไม่มีลขิ สิทธิ์ในประเทศไทย โดยเว็บไซต์จะมีรายได้ จากค่าโฆษณา สังเกตได้จากแถบโฆษณาที่ขนึ ้ ด้านข้าง ตลอดขณะอ่านมังงะในเว็บไซต์ประเภทนี ้ “บางเรือ่ งส�ำนักพิมพ์เขาซือ้ ลิขสิทธิ์มา พอขายไม่ดี ก็พิมพ์เล่มใหม่ชา้ หรือไม่พิมพ์อีกเลย เราก็ตอ้ งไปอ่าน เถื่อนแทน” ไทกะ (นามสมมติ) ผูอ้ า่ นมังงะมามากกว่า 10 ปี เล่าถึงเหตุผลที่ในบางครัง้ เขาต้องยอมอ่านแบบ ผิดลิขสิทธิ์เพื่อให้ได้อรรถรสอย่างต่อเนื่อง เมื่อการเผยแพร่มังงะแปลเถื่อน ท�ำลายวงการมากกว่าส่งเสริม ชโยดม สรรพศรี รองศาสตราจารย์ประจ�ำคณะ เศรษฐศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ม หาวิ ท ยาลัย ประธาน หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต อธิบายว่า ลิขสิทธิ์ มีไว้เพื่อปกป้องผูท้ ่ีคิดค้นผลงาน ปกป้องสิ่งที่เกิดจาก ประสบการณ์ การลงทุน และการฝึ กฝนของเขา เพื่อให้ สามารถสร้างรายได้จนุ เจือตัวเองและครอบครัว การ ละเมิดลิขสิทธิ์จึงเป็ นดั่งการขโมยผลงานและรายได้ ไปจากนักเขียนและครอบครัวเช่นกัน ส�ำหรับ ณัฏฐ์ธรณ์ ทวีมงคลสวัสดิ์ หัวหน้าฝ่ าย การตลาดของส�ำนักพิมพ์รกั พิมพ์ซง่ึ เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์ มังงะหลายเรือ่ งในประเทศไทย มองว่า มังงะแปลเถื่อน ไม่เพียงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมมังงะในประเทศ แต่ยงั ส่งผลไปยังผูอ้ ่าน เพราะหากมีการบริโภคงาน แปลเถื่ อ น จนท�ำ ให้ย อดขายของมัง งะถูก ลิ ข สิ ท ธิ์ ลดลงไป หากรายได้เรื่องไหนน้อย ส�ำนักพิมพ์ก็ไม่ซือ้ ลิขสิทธิ์เล่มถัดไปมาพิมพ์ตอ่ ส�ำนักพิมพ์เจ้าของลิขสิทธิ์ ที่ญ่ีปนุ่ จะถือว่าเป็ นเรือ่ งที่ไม่ดงั ท�ำให้การโปรโมท และ การสนับ สนุน ผลงานนั้น ต�่ำ ลง บางครั้ง อาจท�ำ ให้ ผูเ้ ขียนเรื่องนัน้ เลิกเขียน เพราะไม่คมุ้ กับที่เขาลงแรง สร้างมังงะเรือ่ งนัน้ ขึน้ มา สุดท้าย ผลจึงย้อนกลับมายัง ผูอ้ า่ นที่จะไม่ได้เสพผลงานนัน้ อีกต่อไป หัวหน้าฝ่ ายการตลาดของรักพิมพ์อธิ บายเพิ่มว่า ส�ำหรับวงการมังงะนัน้ จะใช้วิธีคิดแบบอุตสาหกรรม ดนตรี ซึง่ มีการคัฟเวอร์ (cover) เพลงอย่างแพร่หลาย ไม่ได้ เพราะว่ามังงะหลายเรือ่ งเขียนมาเพื่ออ่านให้สนุก ที่สุดเพียงครัง้ เดียว ถ้ารู เ้ นือ้ เรื่องแล้วอ่านครัง้ ต่อไป
จะสนุกไม่เท่าครัง้ แรก ไม่เหมือนวงการเพลงที่สามารถ เสพซ�ำ้ ได้ห ลายครั้ง แล้ว ความไพเราะไม่ ล ดลงไป ซึง่ เรือ่ งนีก้ ระทบต่อยอดขายของส�ำนักพิมพ์โดยตรง “ยกตัวอย่างเช่นเรื่อง ชมรมคนไร้เพือ่ น ในเล่มจบ ที่ตอนแรกยอดขายเรือ่ งนีก้ ็ทำ� ได้ดี แต่มีการหลุดสปอยล์ เนือ้ เรือ่ งตอนจบนิดหน่อยก่อนเราวางขาย ซึง่ มันไม่เป็ น อย่ า งที่ นัก อ่ า นเขาอยากให้เ ป็ น ท�ำ ให้ย อดขายตก อย่างชัดเจน” ณัฏฐ์ธรณ์เสริม ปัญหามา ปัญญาเกิด เมื่อข้อได้เปรียบหนึ่งของมังงะแปลเถื่อนคือการที่ สามารถอ่ า นได้ส ะดวกและรวดเร็ว เท่ า กับ ต้น ฉบับ ส�ำนักพิมพ์จะต้องปรับตัวอย่างไร เพื่ออยู่รอดต่อไป บนอุตสาหกรรมนี ้ “แทนที่จะไปไล่ปราบปรามพวกเว็บมังงะแปลเถื่อน บางเรื่องของเราตอนนี ้ เราได้ลงเป็ นรายตอนในแอป MangaQube คูก่ บั แบบเล่มเพื่อให้เร็วเท่าต้นฉบับญี่ปนุ่ ทั้ง รายเดื อ นและรายสัป ดาห์ และในอนาคตก็ จ ะมี เรือ่ งอื่นๆ ลงแบบรายสัปดาห์เพิ่มขึน้ ไปด้วย ซึง่ ก็ได้รบั ผลตอบรับทีด่ คี รับ” ณัฏฐ์ธรณ์กล่าวถึงกลยุทธ์ทร่ี กั พิมพ์ เลือกใช้ในการปรับตัวทางธุรกิจ สอดคล้องกับส�ำนักพิมพ์ช่ื อดังอย่าง Shueisha เจ้า ของลิ ข สิ ท ธิ์ มัง งะซึ่ ง เป็ น ที่ นิ ย มทั้ง ในและนอก ประเทศญี่ปนุ่ เช่น One Piece, Kimetsu No Yaiba และ Naruto ก็ได้เปิ ดตัวแอปพลิเคชัน Manga Plus ที่ใช้ลงผลงานในรูปแบบอีบ๊กุ ส์ ซึง่ ได้รบั การแปลอย่าง แพร่หลาย หนึ่งในนัน้ คือภาษาไทย โดยฉบับแปลไทย จะออกช้ากว่าฉบับภาษาญี่ปนประมาณสามวั ุ่ น และ สามารถอ่านได้ฟรี แต่จะมีเพียงสามตอนล่าสุดเท่านัน้ คือตอนปัจจุบนั และสองตอนก่อนหน้าที่สามารถอ่านได้ ในกรณีนี ้ ส�ำนักพิมพ์จะมีรายได้จากค่าโฆษณา หัว หน้า ฝ่ ายการตลาดของรัก พิ ม พ์ก ล่า วถึ ง ความ ส�ำคัญของการ์ตนู มังงะถูกลิขสิทธิ์ เพื่อเป็ นการสนับสนุน เจ้าของผลงาน “เมื่อสินค้าต่างๆ ถูกสร้างขึน้ มา ลิขสิทธิ์ก็ เกิดขึน้ เพื่อคุม้ ครองผูผ้ ลิต ถ้าผูบ้ ริโภคทุกคนหันมาอ่าน มัง งะที่ ถูก ลิข สิท ธิ์ แฟนคลับ ของผลงานนั้น ๆ ก็ จ ะได้ ผลตอบแทนเป็ น ผลงานสร้า งสรรค์ท่ี ถูก ผลิ ต ออกมา อย่างต่อเนื่อง”
8
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN COURSE
ประกวดศิลปะเด็ก การจองจ�ำใต้วาทกรรมแห่งอิสระ เรื่อง: วโรดม เตชศรีสุธี และ จิรัชยา ปุญญฤทธิ์ ภาพ: กัญญาภัค เลาหศรีสกุล, จิรัชญา อู่สกุล และ พิชชาภา หวังประเสริฐกุล
“เวลามี ง านประกวดวาดภาพก็ ต ้ อ งไป อย่ า งน้ อ ยในหนึ่ ง อาทิ ต ย์ ต ้ อ งมี สั ก งาน ตอนนั้ น ศิ ล ปะคื อ การวาดภาพตามเส้ น ที่ ครู ร ่ า ง และระบายสี ต ามที่ เ ขาใช้ สี ช อล์ ก กากบาทไว้ รอยสีฟา้ คือระบายสีฟา้ รอยสีเทา ก็ระบายสีเทา เราไม่รู้ความหมายของภาพ หรือสี ไม่รู้สึกอะไรเลยกับสิ่งนี้ งานที่ประกวด อาจได้รางวัลมากมาย แต่ทก ุ งานคืองานของครู ไม่ใช่งานของเรา”
พิชชาภา หวังประเสริฐกุล นิสิตหญิ งชัน้ ปี ท่ีส่ี คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึง ประสบการณ์ ก ารฝึ กวาดภาพที่ เ ธอและเพื่ อ นๆ ต้องเข้าร่วมในสมัยประถมศึกษา ซึ่งพิชชาภาเสริมว่า การวาดเส้น และระบายสี ต ามค�ำ บอกของครู ไ ม่ ไ ด้ เกิดขึน้ เพียงตอนฝึ กฝนเท่านัน้ แต่ในการประกวดที่ให้ ผู้แ ข่ ง ขั น ส่ ง ผลงานทางไปรษณี ย ์ หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า การประกวดแบบ “แห้ง” ก็มีกระบวนการผลิตผลงาน โดยครูศิลปะอยูเ่ บือ้ งหลังเกือบทัง้ ภาพ ซึง่ ครูทำ� หน้าที่ จั ด วางองค์ป ระกอบภาพและเลื อ กใช้สัญ ลัก ษณ์ โดยอ้างอิงจากงานประกวดที่ชนะเลิศในปี ก่อน ศิลปะจัดสรร: เครื่องการันตีรางวัลของครู
การประกวดวาดภาพแบ่งออกเป็ นสองประเภท ตามรู ปแบบการจัดงาน คือการประกวดวาดภาพใน สถานที่จดั งานภายในระยะเวลาที่กำ� หนด หรือที่เรียก กันว่าการประกวดแบบ “สด” และการประกวดแบบแห้ง พิชชาภาเล่าว่า แม้การประกวดแบบสดบางรายการ จะแจ้ ง หั ว ข้ อ พร้อ มกั น ทุ ก โรงเรี ย น แต่ ก่ อ นเริ่ ม การแข่งขัน ครู ศิลปะของเธอจะเรียกรวมตัวนักเรียน เพื่ อสรุ ปสิ่งที่ ตอ้ งวาดและการจัดองค์ประกอบภาพ ให้กบั เด็กทีละคน หากเป็ นการประกวดแบบสดที่ทราบ หัว ข้อ มาก่ อ น ครู จ ะร่ า งภาพที่ จัด องค์ป ระกอบไว้ หลายแบบ จากนัน้ จะให้นกั เรียนเลือกภาพที่อยากวาด หรือครูเป็ นผูเ้ ลือกให้ตามดุลพินิจ ด้า น น�้ ำ ทิพ ย์ (นามสมมติ ) นิ สิต หญิ ง ชั้น ปี ท่ี ส่ี คณะนิ ติ ศ าสตร์ จุฬ าลงกรณ์ม หาวิ ท ยาลัย เล่า ว่ า ภาพที่มกั ได้รางวัลมีการจัดวางองค์ประกอบและการใช้ สัญลักษณ์คล้ายเดิม จนกลายเป็ นการแข่งขันเพื่อผลิต ภาพให้ตรงใจกรรมการ ซึ่งน�ำ้ ทิพย์เผยว่า ครู มักจะ พูดหว่านล้อมให้นกั เรียนคิดว่า พวกเขาไม่สามารถชนะ การประกวดได้ดว้ ยตนเอง ที่สำ� คัญเรือ่ งนีถ้ กู ท�ำให้เป็ น ปกติ โดยการบอกว่าโรงเรียนอื่นก็ทำ� เช่นเดียวกัน
การผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ประกอบกับ การตีความภาษาด้วยแนวคิดทีถ่ กู ปลูกฝังมา เมือ่ ได้รบั หัวข้อจึงตีความเหมือนเดิม “อย่างหัวข้อวันพ่อก็รู ้ เลยว่าต้องวาดอะไร” วิภาชยกตัวอย่าง ทางด้า น ธี ร ดา จงกลรั ต นาภรณ์ ผู้ช่ ว ย ศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิ เ ทศศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ม หาวิ ท ยาลัย อธิ บายว่า การประกวดวาดภาพเป็ นงานที่จดั ขึน้
เจตวิภา บุรณเวช อาจารย์หมวดออกแบบและ เทคโนโลยี วชิราวุธวิทยาลัย เล่าประสบการณ์ในฐานะ แม่และครู ศิลปะว่า บางการแข่งขันที่เธอคิดว่า มีการก�ำหนดผูช้ นะมาแล้ว เธอจะไม่ส่งลูกเข้า ประกวด “เขารูว้ า่ กรรมการต้องการภาพแบบไหน เด็กก็ไปดูสไตล์ของกรรมการ แล้วท�ำงานป้อน กรรมการเพื่อเอารางวัล” หัวข้อไม่เคยเปลี่ยนไป สัญลักษณ์ที่ใช้ไม่เคยเปลี่ยนแปลง
“
เราวาดสัญลักษณ์ของ รัชกาลที่ 9 ได้ตง ั้ แต่เด็กแล้ว วาดได้แบบไม่ต้องดูเลย พิชชาภา หวังประเสริฐกุล
”
พิ ช ชาภาหยิ บ กระดาษ ออกมาวาดสัญลักษณ์ดงั กล่าว ให้ดทู นั ที เธอเล่าว่า งานประกวด เนื่ อ งในโอกาสวัน พ่ อ และวัน แม่ ข อง หลายองค์กรมักบังคับทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ให้วาดสัญลักษณ์ของในหลวงและพระราชินี เพื่อสือ่ ว่า องค์กรเหล่านัน้ เชิดชูสถาบัน เช่นเดียวกับน�ำ้ ทิพย์ท่ี แสดงความเห็นว่า “อย่างน้อยถ้าวาดท่านสวยก็ตอ้ งได้ สักรางวัล” พิชชาภาเล่าว่า การแข่งขันประกวดวาดภาพโดย องค์กรภาครัฐและเอกชน เป็ นการใช้โฆษณาชวนเชื่อ ท�ำ ให้อ งค์ก รดูดี “เราเคยเดิ น ไปหอศิ ล ป์ เห็ น งานที่ ได้รางวัลของซีพี มันเป็ นภาพวาดชาวนาใส่งอบที่มี สัญลักษณ์ของซีพีติดอยู่ ชาวนายิม้ อย่างมีความสุข ถามจริงๆ ว่าชาวนามีความสุขแน่หรือ?” ไม่ตา่ งจากความเห็นของ กัญญาภัค เลาหศรีสกุล ครู ศิลปะและอดีตนักเรียนในวงการประกวดวาดภาพ เธอวิจารณ์วงการประกวดศิลปะเด็กว่า ขีดกรอบให้เด็ก วาดแต่ส่ิงเดิมๆ โดยหัวข้อที่เจอบ่อยที่สดุ คือ เทิดไท้ องค์ราชัน สดุดีองค์มหาราชินี ไทยร่วมใจสามัคคี และ เศรษฐกิจพอเพียง “ถึงหัวข้อจะเปลี่ยนเป็ นการอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อม หรืออนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมไทย แต่ชวี ติ ประจ�ำวัน ของคนไทยก็ ต ้ อ งมี สั ญ ลั ก ษณ์ เ ทิ ด ไท้ อ งค์ ร าชั น เหมือนเดิม” กัญญาภัคทิง้ ท้าย วิ ภ าช ภู ริ ช านนท์ อาจารย์ป ระจ�ำ ภาควิ ช า ประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร แสดงความเห็นว่า การก�ำหนดหัวข้อเป็ นการ ก�ำหนดความคิดความเชื่อของผูเ้ ข้าประกวดมากกว่า
เพื่อสร้างภาพลักษณ์และ ภาพจ�ำ จึงไม่ใช่เรือ่ งแปลกที่จะ มี ก ารแทรกสัญ ลัก ษณ์เ ข้า ไปในภาพ ส่วนข้อสังเกตที่ ว่าองค์กรมักจัดการประกวดโดยใช้ หัวข้อเชิดชูสถาบัน ถือเป็ นเรือ่ งความอยูร่ อดขององค์กร “ถ้า วัน พ่อ ไม่ไ ด้ว าดภาพพ่อ ตัว เองก็ ไ ม่ค วรเป็ น หั ว ข้ อ วั น พ่ อ ควรจะเป็ นหั ว ข้ อ วาดภาพกษั ต ริ ย ์ จริงๆ การวาดภาพวันพ่อควรมี วัตถุประสงค์ให้เด็ก ได้ส่อื สารถึงพ่อของเขาเอง” Headache Stencil ศิลปิ น อิสระ แสดงความคิดเห็นและเสนอให้แต่ละองค์กร จัดวัตถุประสงค์และหัว ข้อ ให้ชัด เจน เพื่ อ ไม่ให้เ ด็ก เกิดความสับสนในการสร้างสรรค์ผลงาน
MAIN COURSE
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
9
ของเงินทัง้ หมด ส่วนตัวเธอได้เพียงร้อยละ 30 เท่านัน้ ขอฝันใฝ่ในอิสระอันเหลือเชื่อ “เราสูด้ ว้ ยตัวเองมาตลอดตัง้ แต่ ป.3 จนประกวดชนะ ครั้ง แรกตอน ป.6 อาจารย์ไ ม่ ไ ด้ส อนอะไรเราเลย จากประเด็น “ศิลปะไร้อิสระ” ในวงการประกวด การประกวดวาดภาพสามารถส่ ง ได้ ทั้ ง ใน เราเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จา่ ยทัง้ หมด แต่เขาเอาทัง้ รางวัลของ วาดภาพ น�ำ ไปสู่เ บื อ้ งหลัง ของ “ระบบการศึก ษา” นามบุคคล กลุม่ หรือสถาบันการศึกษา แต่บางกรณี เราและของเพื่อนๆ ไป เขาท�ำให้การประกวดศิลปะเป็ น ที่ พัน ธนาการนัก เรีย นไว้ด ว้ ยผลการเรีย น ทั้ง ยัง เร่ง การส่ ง ในนามบุ ค คลก็ ถู ก โรงเรี ย นขอคื น เงิ น และ ธุรกิจหาเงิน” กัญญาภัคเอ่ย พัฒนาศักยภาพด้านศิลปะอย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้ ถ้วยรางวัลที่นกั เรียนผูท้ ำ� ผลงานได้รบั มา เกิดบาดแผลภายในจิตใจของเด็ก สิ่งเหล่านีก้ ลายเป็ น แม่ ก ญ ุ แจแห่ ง การจองจ� ำ “เขา ‘ได้หน้า’ ว่าเป็ นครูทส่ี ง่ เสริมนักเรียนและได้เงิน” ต้นตอของปั ญหาเชิงโครงสร้างที่หยั่งรากลึกลงไปถึง พิชชาภาสรุ ปพร้อมให้ขอ้ มูลว่า หากเงิ นรางวัลเกิ น จากปัญหาของวงการประกวดวาดภาพเด็กสะท้อน “ทัศนคติ” ท�ำให้ศลิ ปะตกอยูใ่ ต้วาทกรรม “ความงาม” 1,000 บาท ครู ศิ ล ปะจะได้ร ับ ส่ว นแบ่ง ร้อ ยละ 20 ให้เห็นว่า ส่วนหนึ่งเป็ นผลสืบเนื่องมาจากการฝึ กฝน ทัง้ ยังไม่ได้ทำ� หน้าที่ถ่ายทอดอารมณ์อย่าง “อิสระ” ซึง่ ในตอนนัน้ ถือเป็ นการแลกเปลี่ยนในเชิงธุรกิจ ไม่ใช่ ศิลปะในโรงเรียน พิชชาภาซึง่ เคยเป็ นหนึง่ ในผูเ้ ดินสาย อย่างที่ศลิ ปะควรจะเป็ น การช่วยเหลือด้วยความเอ็นดูในฐานะครูศลิ ปะ ประกวดเพื่อสะสมผลงานเล่าว่า เธอเคยขอครู ศิลปะ “สิง่ ที่ตอ้ งเปลี่ยนคงเป็ นทัศนคติของคนดูงานศิลปะ วาดภาพทีเ่ ธออยากวาด แต่ครูมกั ไม่พอใจ และบอกว่า และคนในวงการที่ทำ� ให้เกิดการผลิตซ�ำ้ วาทกรรมและ การวาดภาพด้วยตนเองไม่สามารถชนะการประกวดได้ ความคิดที่บดิ เบีย้ วออกมา” พิชชาภาเสนอ ผลที่ ตามมาคือสภาพจิ ตใจที่ ย่ ำ� แย่และค�ำถามที่ ว่า เช่นเดียวกับเจตวิภาที่สนับสนุนว่า ศิลปะสามารถ “ท�ำไมเราถึงวาดในสิ่งที่เราอยากวาดไม่ได้?” แสดงออกในรูปแบบใดก็ได้อย่างมีอิสระ “การบี บ บัง คับ ให้เ ด็ก วาดตามที่ ผูใ้ หญ่ ต อ้ งการ เป็ นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ถ้าวัดตามต�ำราของจิตวิทยา ไม่ว่ามันจะสะท้อนความอ่อนแอ ความน่ ารังเกียจ หรือเป็นแค่รอยขีด พัฒนาการ ในช่วงวัยเด็กตอนต้น เด็กจะวาดอะไร แต่สุดท้ายมันคือศิลปะ ไม่ได้มาก พอถึงขัน้ ก่อนมีแบบแผน เขาจึงเริม่ วาด ที่เปิดกว้างและเป็นอะไรก็ได้ โดยใช้รูปเรขาคณิตมาต่อกัน การวาดสัน้ วาดยาว เจตวิภา บุรณเวช ขึ ้น อยู่ กั บ ร่ า งกายและกล้ า มเนื ้อ มื อ ของเด็ ก แต่ปัญหาคือผูใ้ หญ่มกั ติดภาพแบบเหมือนจริง ซึง่ เจตวิ ภ ายัง สนับ สนุน ให้ทุก โรงเรีย นมี วิ ช าศิ ล ปะ อยู่ในศิลปะขัน้ สุดท้ายคือ ขัน้ มีเหตุผล แต่เด็กในช่วง เพราะเธอเชื่อมั่นว่า ศิลปะคือช่องทางในการระบายออก อายุ 9-11 ปี เขายังไปไม่ถงึ ขัน้ เหมือนจริง” และท�ำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ พชร วั ง มี อาจารย์แ นะแนว โรงเรี ย นสาธิ ต ส่วนน�ำ้ ทิพย์แสดงความเห็นว่า ปัญหาเชิงโครงสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา อธิบายเพิ่มเติมว่า ต้อ งเริ่ม แก้ไ ขจากการน�ำ ศิ ล ปะออกจากระบบการ การขีดเขียนของเด็กที่เริ่มใช้กล้ามเนือ้ มัดเล็ก ล้วนมี ให้เกรด “เด็กบางคนมีความคิดสร้างสรรค์ท่ีเขาไม่รูจ้ ะ ความหมายตามระดับสติปัญญา แต่ผใู้ หญ่มกั เร่งให้ สื่อยังไง เขาจึงต้องไปจ้างคนอื่นเพื่อให้ได้เกรดดี เราว่า เด็กวาดให้เหมือนจริง ซึ่งการควบคุมการแสดงออก อาจารย์ไม่ควรตีคณ ุ ค่าทางศิลปะเป็ นเกรด มันควรมีแค่ เช่นนี ้ อาจส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในทางลบต่อศิลปะ ผ่านหรือไม่ผา่ น” และท�ำให้เด็กขาดความมั่นใจในการใช้ชีวิต ด้านกัญญาภัคมุ่งมั่นที่จะเป็ นครู เพื่อเปลี่ยนแปลง พชรยังแนะน�ำว่า ช่วงเวลาส�ำคัญในการปลูกฝั ง ทัศ นคติ ข องคนไทยที่ มัก คิ ด ว่ า ศิ ล ปะต้อ งสวยงาม ความรักศิลปะของเด็ก อยู่ตงั้ แต่ช่วงชัน้ ประถมศึกษา “เราอยากท�ำให้เด็กสามารถวาดรูปได้โดยไม่ตอ้ งคิดว่า ถึงระดับมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ดังนัน้ บทบาทของครูศลิ ปะ ‘หนูวาดไม่สวย’ เราอยากให้เด็กสามารถท�ำงานที่เอาสี ในช่วงดังกล่าวจึงมีความส�ำคัญเป็ นอย่างยิ่ง แต่ใน มาปาดๆ แสดงให้เ ห็ น ว่า อารมณ์ข องเด็ก ในตอนนี ้ ส่วนหนึง่ ของผลงาน บางกรณี ครูศลิ ปะกลับใช้นกั เรียนเป็ นเครือ่ งมือในการ มันเป็ นอย่างไร เราต้องการให้คนมีความสุขกับศิลปะ” จากผูเ้ ข้าแข่งขันการประกวดศิลปะ สร้างชื่อเสียงและผลงาน ทัง้ ยังใช้อำ� นาจในการก�ำหนด ตารางสถิตหิ วั ข้อที่ใช้ใน การประกวดวาดภาพปี 2549-2562 ความงาม แทนการกระตุน้ ความเจริญงอกงามทาง จากการรวบรวมของ “นิสติ นักศึกษา” ศิลปะอย่างที่ควร ขณะที่ น ้�ำ ทิ พ ย์ใ ห้ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ กรณี นี ้ว่ า “ฉันยอมรับว่าตอนนัน้ ต้องการเงิน ความต้องการของ เราตรงนีเ้ ลยกลายเป็ นการสร้างชื่อเสียงให้ครู ศิลปะ เช่นเดียวกัน จริงๆ มันไม่ถกู แต่วงการนีท้ ำ� ให้กลายเป็ น เรือ่ งปกติไปแล้ว” ส่วนกัญญาภัคเล่าประสบการณ์วา่ ทีโ่ รงเรียนของเธอ อุปกรณ์ทกุ อย่างคือรายจ่ายของนักเรียน ไม่วา่ จะเป็ น กระดาน กระดาษ หรื อ สี แต่ เ มื่ อ เธอได้ร างวัล มา อาจารย์กลับเอารางวัลบางอย่างของเธอไป เช่น โล่ เหลือให้เธอเพียงประกาศนียบัตร นอกจากนีเ้ งินที่ได้ จากการประกวดยังถูกหักให้อ าจารย์ถึงร้อ ยละ 70 โล่ เงิน ถ้วยรางวัล: ความย้อนแย้ง ของศิลปะในโรงเรียน
“
”
10
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN COURSE HEALTH
เรื่อง: ปรียานุช ปรีชามาตย์ ภาพ: เฟซบุ๊กเสียงจากผู้หญิงหลังก�ำแพง
ผลงานศิลปะของผูต้ อ้ งขังทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
ศิลปะบ�ำบัดในเรือนจ�ำ: กระบวนการสร้าง
แล้วน�ำมาเล่าสูก่ นั ฟั ง ความรูส้ กึ ที่ไม่ดใี นตอนแรกก็อาจ เปลี่ยนเป็ นความเข้าใจหรือการค้นพบมุมมองใหม่ๆ ” ในส่วนของการเตรียมความพร้อมผูต้ อ้ งขังก่อน กลับสู่สงั คม ทีมงานจะให้ผูต้ อ้ งขังวาดเส้นทางชีวิต ขั้นตอนกะเทาะเปลือกผู้ต้องขัง ตั้ง แต่จ ำ� ความได้จ นถึง ปั จ จุบัน และวาดเป้า หมาย ด้วยศิลปะบ�ำบัด ในอนาคตอีกหนึ่งแผ่น จากนัน้ วาดสะพานเชื่อมชีวิต กลุ่ มของขวั ญจากผู้ หญิงหลั งก�ำแพง เชื่อว่า ปั จจุบนั ไปสู่เป้าหมาย ซึ่งจะต้องทบทวนสิ่งที่ตอ้ งท�ำ การกักขังอย่างเดียวไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และต้องหลีกเลี่ยงเพื่อให้เป้าหมายเป็ นจริง ของผูต้ อ้ งขังได้ แต่ควรมีพืน้ ที่ให้เขาได้ใคร่ครวญและ ค้นพบเนื้อในที่งดงาม ทบทวนตัว เอง จึง รวมตัว กัน จัด กระบวนการเรีย นรู ้ และเสียงในใจที่ดังขึ้น เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงให้ผตู้ อ้ งขังจากภายใน ผูต้ อ้ งขังทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ได้เขียนสะท้อน วิจติ รา เตรตระกูล กระบวนกรและนักศิลปะบ�ำบัด กลุ่มของขวัญจากผูห้ ญิงหลังก�ำแพง กล่าวว่า ศิลปะ ความรูส้ กึ ลงในแบบประเมินหลังท�ำกิจกรรม “รูส้ กึ โล่งที่ได้ระบายออกมา เข้าใจเบือ้ งหลังความ บ�ำบัดเป็ นประโยชน์กบั ทุกคน ไม่เฉพาะผูต้ อ้ งขังเท่านัน้ แต่เพราะเรือนจ�ำเป็ นระบบสังคมแบบควบคุมพิเศษ รูส้ กึ ที่เกิดขึน้ เข้าใจว่าอะไรท�ำให้เราเป็ นเราในปั จจุบนั ได้เห็นความเป็ นเด็กของตัวเอง ดูสดใส ร่าเริง น่ารัก จึงท�ำให้ผตู้ อ้ งขังยิ่งรูส้ กึ อึดอัดและรูส้ กึ ถูกกดทับ ท�ำให้รูส้ กึ แปลกใจว่า เอ๊ะ … เรามีมมุ นีด้ ว้ ยเหรอ” การเป็นคนชายขอบของสังคม ความเห็นของ กานต์ (นามสมมติ) หลังท�ำกิจกรรม มันไม่อนุญาตให้พวกเขาได้แสดงออก “เปิ ดโต๊ะระบายคลายใจ” ที่ให้ผตู้ อ้ งขังใช้อปุ กรณ์ศลิ ปะ หรือได้เป็นตัวของตัวเอง ซึ่งการที่เรา แสดงสิ่งที่จริงแท้ในใจตัวเองออกมาไม่ได้ สื่อสารสิ่งที่ตดิ ค้างในใจ เพื่อคลี่คลายปั ญหาส่วนตัว มันจะท�ำให้เราป่วย ขณะที่ แก้ว (นามสมมติ) เปรีย บเทียบความรูส้ กึ วิจิตรา เตรตระกูล ก่อนและหลังท�ำศิลปะบ�ำบัดว่า “ ก่อนท�ำรู ส้ ึกอึดอัด วิจิตราอธิ บายว่า ศิลปะบ�ำบัดเป็ นกระบวนการ ไม่เข้าใจ น้อยใจ กลัว กังวลกับ การอยู่รว่ มกับคนอื่น ทีเ่ ยียวยาหรือปรับสมดุลในตัวมนุษย์ โดยแขนงทีเ่ ธอน�ำมา รูส้ กึ มีอคติ แต่หลังท�ำมีความคิดเปลีย่ นไปจากตอนแรก ใช้คือศิลปะบ�ำบัดเพื่อการแสดงออก ให้ผตู้ อ้ งขังแสดง ความกลัวและอคติเปลี่ยนเป็ นอยากแก้ไขมากกว่า” สั ง คมในปั จ จุ บั น ยั ง คงตี ต ราผู้ ต ้อ งขั ง ว่ า เป็ น อารมณ์ความรูส้ กึ ภายในออกมา ผ่านการสร้างผลงาน ศิลปะ เช่น การขีดเขียน ปั้ นดินน�ำ้ มัน ฉีกกระดาษ หรือ คนอันตราย สิ่งนีย้ ่ิงท�ำให้พวกเขารูส้ กึ ไร้คา่ นอกจากนี ้ พวกเขายัง ถูกแยกขาดจากครอบครัว มา อาศัยกับ ปลดปล่อยร่างกายผ่านการเคลื่อนไหว ธีมในการสื่อสารของกิจกรรมศิลปะบ�ำบัดมักพูดถึง คนแปลกหน้า ท�ำให้เกิดความหวาดระแว ง และรู ส้ กึ การรูจ้ กั ตัวเอง การเข้าใจความหลากหลายของมนุษย์ โดดเดี่ยว คุกเลยเป็ นสถานที่อนั ยากจะพบความสุข ท่ามกลางปั ญหาทัง้ มวล อย่างน้อย การท�ำศิลปะ การทบทวนชีวิต และการวางเป้าหมายในอนาคต “เมื่อกลุม่ ดูตงึ เครียดหรืออึดอัด ก็ให้ระบายอารมณ์ บ�ำบัดจะท�ำให้ผตู้ อ้ งขังไว้ใจกันมาก ขึน้ และสามารถ ออกมาเป็ นสี บีด้ ินน�ำ้ มันเล่นโดยไม่ตอ้ งเป็ นรู ปร่าง จัดระเบียบความคิดของตัวเองระหว่างที่อยูใ่ นคุกได้
ความเปลีย ่ นแปลงให้ผต ู้ อ ้ งขังก่อนกลับสูส ่ ง ั คม เมื่ อ พู ด ถึ ง เรื อ นจ� ำ ไทยก็ มั ก ได้ ยิ น ค� ำ ร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ละเมิ ด สิทธิมนุษยชนต่อผู้ต้องขังอยู่บ่อยครั้ง ชวนให้เกิดค�ำถามว่าแท้จริงแล้วเบือ ้ งหลัง ก�ำแพงคอนกรีตสูงลิ่ว ผู้ต้องขังใช้ชีวิต อย่างไร เรือนจ�ำจะช่วยปรับพฤติกรรม หรือยิ่งท�ำลายสุขภาพจิตกันแน่
คุกไม่เอื้อต่อการพัฒนาจิตใจ ปุณิกา ชูศรี อดีตผูต้ อ้ งขังหญิงใน “คดีชายชุดด�ำ” เสนอสโลแกนใหม่ให้คุกไทยว่า “คื นความเลวที่ สุด สู่สังคม” เพราะสภาพแวดล้อมในคุกไม่ช่วยพัฒนา จิตใจ ซ�ำ้ ยังบีบให้ผตู้ อ้ งขังลักขโมยเพื่อเอาชีวิตรอด “หลวงแจกแปรงสี ฟั น แข็ ง ๆ บี บ ยาสี ฟั น ใส่ ถุ ง พริกน�ำ้ ปลาปริมาณส�ำหรับสามวัน แจกสบู่กอ้ นเล็กๆ เหมือนในโรงแรม เพราะเขาคิดว่าเดี๋ยวก็มีญาติซือ้ ให้” ด้าน จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา หรือ ไผ่ ดาวดิน มองว่า ควรใช้วิธีมอบความรัก คืนความเป็ นมนุษย์ ให้คนที่ ก้าวพลาดเหมื อน “บ้านกาญจนา” แต่จาก ประสบการณ์ในฐานะอดีตผูต้ อ้ งขัง ไผ่ยงั พบเจ้าหน้าที่ เรือนจ�ำละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูต้ อ้ งขังอยูบ่ อ่ ยครัง้ ทัศนคติที่เรือนจ�ำไทยควรมี สลิลา นรัตถรักษา นักรณรงค์เชิงนโยบาย สถาบัน เพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย มองว่า ทัศนคติท่ี เรือนจ�ำควรมี คือการเชื่อมั่นว่าคนเราเปลี่ยนแปลงได้ และมีศกั ยภาพที่นำ� ไปต่อยอดได้ “เราเชื่ อ ว่ า ทุ ก คนมี ตั ว ตนหลายด้า น ซึ่ ง มั น มี หลากหลายวิธีการที่ สามารถดึงตัวตนที่ พึงประสงค์ ออกมาได้ แต่การกดทับไม่ใช่หนึง่ ในนัน้ ”
“
”
MAIN COURSE GENDER
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
11
ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งมโหสถชาดก ณ วัดคงคาราม จังหวัดราชบุรี
ส�ำรวจร่องรอยความรุนแรงต่อ ผู้หญิงผ่านจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง-ภาพ: ธเนศ จันทนาอรพินท์ ภาพด้ า นบน คื อ จิ ต รกรรมฝาผนั ง ที่ วัดคงคาราม จังหวัดราชบุรี ซึ่งถ่ายทอด เรื่อง มโหสถชาดก ส่วนหนึ่งของผลงาน ปรากฏฉากที่แสดงให้เห็นภาพหญิงชาววัง สองคนถู ก ชั ก ขึ้ น ไปแขวนอยู ่ ใ นสาแหรก เรี ย กว่ า “การชั ก สาแหรก” อั น เป็ น การ ลงโทษแบบโบราณเพื่ อ ประจานผู ้ ห ญิ ง ที่ฝ่าฝืนประเพณีเกี่ยวกับเรื่องเพศ
จิตรกรรมฝาผนังบอกทุกข์สุข ของผู้หญิงได้อย่างไร ดินาร์ บุญธรรม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ประจ�ำภาค วิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่าหนึ่งในขนบของช่างเขียนไทย ในการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังตัง้ แต่สมัยอยุธยา คือ การเขียน “ภาพกาก” หมายถึง ภาพที่สอดแทรก วิถีชีวิต หรือสิ่งที่ชา่ งเขียนพบเห็นในสังคม ณ เวลานัน้ ลงไป โดยไม่ เ กี่ ย วข้อ งกั บ เรื่ อ งเล่ า หลัก ของภาพ จิ ต รกรรมฝาผนัง จึ ง สามารถสะท้อ นสัง คมในสมัย ที่ ภ าพนั้น ได้ร ับ การสร้า งสรรค์ขึ น้ ได้ ซึ่ ง รวมไปถึ ง สิ่งที่เกิดขึน้ กับผูห้ ญิงในอดีต ทั้ ง นี ้ เ พื่ อ ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง ข้ อ มู ล ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาประวัติศาสตร์ เสริมว่า “การจะใช้ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนัง ให้เ ป็ น ประโยชน์ ในฐานะหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ เราควรใช้ประกอบ กั บ หลัก ฐานอื่ น ๆ ด้ว ย เพื่ อ สอบทานกั บ สิ่ ง ที่ พ บ ในจิตรกรรมฝาผนัง”
ร่องรอยความรุนแรงที่ปรากฏ “หนึง่ ในความรุนแรงที่เกิดขึน้ กับผูห้ ญิงในจิตรกรรม ฝาผนังที่ เห็นได้ชัด คื อการก�ำหนดบทบาททางเพศ โดยผูห้ ญิงจะอยู่ในครัวท�ำกับข้าว เลีย้ งลูกอยู่ในบ้าน มากกว่าจะมาปรากฏตัวอยู่ในพืน้ ที่สาธารณะ ซึ่งการ ไม่ได้มีพืน้ ที่สาธารณะก็เป็ นความรุ นแรงรู ปแบบหนึ่ง” ชเนตตี ทินนาม อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการออกแบบ และผลิตสือ่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงบทบาทที่แยกความเป็ นหญิ งเป็ นชายอย่าง ชัดเจนในภาพจิตรกรรมฝาผนัง ดังเช่นในวัดมกุฏกษัตริยาราม ซึง่ ปรากฏภาพชายกลุม่ หนึง่ นั่งสังสรรค์บริเวณ หน้าบ้าน และมีผหู้ ญิงชะโงกหน้ามองมาจากหลังบ้าน สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของผูห้ ญิ งในอดีตที่ถูกก�ำหนด ต�ำแหน่งแห่งที่ให้แตกต่างจากผูช้ าย ชเนตตี ย กตั ว อย่ า งการคุ ก คามทางกายภาพ ต่อผูห้ ญิงบนจิตรกรรมฝาผนัง เช่น ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) มีภาพผูห้ ญิงยืนอยูใ่ นสุมทุม พุม่ ไม้ แล้วถูกชายจับหน้าอก หรือที่วดั สุทศั นเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ที่มีภาพผูห้ ญิงนั่งอยู่ แล้วมีผชู้ าย โผล่มาจากพุม่ ไม้ พยายามจะดึงแขนผูห้ ญิง นอกจากนีย้ งั พบภาพความรุนแรงภายในครอบครัว ต่อผูห้ ญิ งด้วย “มีรูปผัวตีเมีย ผัวใช้ไม้เรียวก�ำลังจะ ลงโทษเมี ย จะมี ภาพลักษณะนี ป้ รากฏอยู่” ชเนตตี กล่าวถึงงานจิตรกรรมฝาผนังที่วดั มกุฏกษัตริยาราม กรอบคิดแบบปิตาธิปไตย ในจิตรกรรมไทย “พอน�ำสิง่ ที่เกิดขึน้ ในภาพมาตรวจสอบกับประกาศ
รัชกาลที่ 4 และกฎหมายตราสามดวง พบว่า ผูห้ ญิง ถู ก กระท�ำ อนาจารแต่ ไ ม่ ไ ด้เ ป็ นคดี ค วาม บางที ก็ ไม่ถูกพูดถึง หรือไม่ได้ถูกตัดสินให้มีโทษร้ายแรง” ชเนตตีกล่าว ยิ่ ง ไปกว่า นั้น โครงสร้า งสัง คมแบบปิ ต าธิ ป ไตย และรัฐ สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ใ นยุ ค นั้น ยัง ส่ ง ผล ต่ อ กฎหมาย และทัศนคติของคนในสังคมต่อผูห้ ญิ ง ในขณะนัน้ ด้วย ชเนตตีอธิบายว่า “นอกจากกฎหมาย ไม่ คุ้ม ครองผู้ห ญิ ง ยั ง มี ค่ า นิ ย มที่ ลู ก สาวกั บ เมี ย คื อ สมบัติ ข องครอบครัว ฉะนั้น เรื่ อ งเพศสัม พัน ธ์ ชี วิตสมรส หรือเรื่องเพศของผูห้ ญิ งในบ้าน จะต้อง ขออนุญาตพ่อ เพราะถือว่าพ่อเป็ นเจ้าชีวิต เมื่อลูกชาย ขึน้ มาเป็ นผูน้ ำ� ครอบครัวหลังจากพ่อตาย ผูห้ ญิงทุกคน ทีอ่ ยูใ่ นครัวเรือนนัน้ ก็เป็ นสมบัตขิ องเขา ก็เลยเปิ ดโอกาส ให้มกี ารกระท�ำความรุนแรงทางเพศได้ในทุกพืน้ ที่” เมื่ อ ย้ อ นกลั บ มามองภาพการคุ ก คามผู้ ห ญิ ง ในงานจิตรกรรมฝาผนังเป็ นทีน่ า่ สังเกตว่า คนอืน่ ในภาพ นั้น บ้า งก็ แ อบมอง บ้า งก็ ท ำ� อย่ า งอื่ น ไม่ ไ ด้ส นใจ ว่ า มี ก ารล่ ว งละเมิ ด ทางเพศ ชเนตตี ใ ห้ค วามเห็ น ต่อปรากฏการณ์นีว้ ่า “บางครัง้ มันก็ กลายเป็ นเรื่อง ของผัวเมียไป สมัยก่อน การที่ผวั เมียตีกันไม่ใช่เรื่อง ที่ชาวบ้านจะเข้าไปยุง่ เกี่ยว วิธีคดิ แบบนี ้ ท�ำให้บางครัง้ เวลาผู้ห ญิ ง ถู ก คุก คามทางเพศในพื ้น ที่ ส าธารณะ คนก็อาจคิดว่าเป็ นผัวเมียกัน เลยท�ำให้ไม่มีใครสนใจ” “อ�ำ นาจปิ ตาธิ ป ไตยนั้น อยู่ ใ นทุ ก พื ้น ที่ ไม่ เ ว้น แม้แต่ในแวดวงศิลปะ เพราะฉะนั้นจึงมี ส ำ� นึกแบบ ชายเป็ นใหญ่แฝงอยู่ในการเล่าเรื่อง โดยเฉพาะตรงที่ เป็ นภาพกาก จะเห็นการท�ำให้การคุกคามทางเพศ เป็ นเรือ่ งที่ดปู กติในสังคม” ชเนตตีอธิบายถึงการกดทับ ผูห้ ญิงในอดีตในทุกมิตทิ างสังคม และวงจรความรุนแรง ต่อผูห้ ญิงที่หยั่งลึกมาจนถึงปั จจุบนั การย้อนกลับไปดู ร่องรอยความรุ นแรงในอดีตท�ำให้เห็นว่า ต้นตอของ ปั ญหาที่แท้จริงคืออ�ำนาจปิ ตาธิปไตย
12
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN COURSE MEDIA
Audio Description
เสียงสร้างภาพที่ขาดหาย ไร้สิ่งบรรยายในโลกมืด เรื่อง: เกื้อกูล หมอนค�ำ
ภาพ: ฑิฆัมพร ธรรมเที่ยง
กุ ล นารี ก ล่ า วเสริ ม ว่ า ในต่ า งประเทศ เช่ น สหรัฐอเมริกา หน่วยงานก�ำกับดูเเลสือ่ ของสหรัฐอเมริกา (FCC) มีขอ้ ก�ำหนดให้สถานีโทรทัศน์ท่ีมีฐานผูช้ มมาก ผลิตรายการที่มีบริการเสียงบรรยายภาพในสัดส่วนที่ มากกว่าช่องที่มีฐานผูช้ มน้อย ซึ่งเป็ นเเนวทางหนึ่งใน การส่งเสริมสถานีฯ ให้สามารถผลิตเสียงบรรยายภาพ ได้ อ ย่ า งครอบคลุ ม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง เงื่ อ นไขเเละ ธุรกิจควบคูก่ นั พร้อมกล่าวถึงบริการเสียงบรรยายภาพว่า ข้อจ�ำกัดตามต้นทุนเเละก�ำลังผลิตของเเต่ละสถานี เป็ นเรือ่ งที่ใหม่ และมีตน้ ทุนในการผลิตที่สงู การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตาม ในปี 2564 ทางสถานีฯ มีแผนจะน�ำ สิทธิที่ผู้พิการพึงได้รับ ละครที่เคยได้รบั ความนิยมมาให้บริการเสียงบรรยายภาพ ทัง้ นี ้ แผนการดังกล่าวอยู่ในขัน้ ตอนของการพิจารณา “คนตาบอดไม่ควรถูกกีดกันการเข้าถึงสื่อโทรทัศน์ และต้องรอมติของผูบ้ ริหารต่อไป บางคนบอกว่าไม่ตอ้ งมีเสียงบรรยายภาพก็ได้ แต่เพราะ ตรี บุญเจือ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักรับเรื่องร้องเรียน เนือ้ หาในทีวเี ป็ นภาพและเสียง บริการเสียงบรรยายภาพ และคุม้ ครองผู้บ ริโ ภค ในกิ จ การกระจายเสี ย งและ จึงช่วยเสริมให้เกิดความเท่าเทียมในการเข้าถึงเนือ้ หา” โทรทัศน์ ส�ำนักงาน กสทช. กล่าวว่า เมื่อช่วงต้นปี 2563 กุลนารีกล่าว กสทช. ได้ออกประกาศปรับเปลี่ยนให้ผปู้ ระกอบกิจการ ขณะที่ อมี น า ผู้พิ ก ารทางสายตาให้ค วามเห็ น โทรทัศน์ สามารถให้บริการเสียงบรรยายภาพในรายการ เพิ่มเติมว่า ผูก้ ำ� หนดนโยบายควรมองกันด้วยความ ประเภทอื่น นอกเหนือจากรายการข่าวสารและสาระ เห็นอกเห็นใจ ส่วนคนพิการต้องแสดงตัวว่า มี ความ พร้ อ มทั้ ง ก� ำ หนดเวลาการออกอากาศบริ ก าร ต้องการใช้บริการ และฝ่ ายผูผ้ ลิตเองก็ควรปรับทัศนคติ เสียงบรรยายภาพ จากเดิมในปี แรก บังคับใช้ท่ี 60 นาที ในการผลิตสื่อ ต่อวัน ลดลงเป็ น 30 นาทีตอ่ วัน เพื่อให้ผปู้ ระกอบกิจการ คุณขายสื่อให้กับคนทั้งประเทศ ปรับตัวในสภาพเศรษฐกิจปั จจุบนั หนึ่งในนั้นคือคนพิการ ไม่ควรตัดใคร กุลนารี เสือโรจน์ รองศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชา ออกไปจากสังคม ทุกคนคือลูกค้า วิ ท ยุแ ละโทรทัศ น์ คณะวารสารศาสตร์แ ละสื่ อ สาร ของช่อง เป็นคนที่สามารถขับเคลื่อน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ทั้งหมด มวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ความเห็นว่า อมีนา ทรงศิริ การให้บ ริก ารเสี ย งบรรยายภาพในปั จ จุบัน มี ค วาม ท้าทายในหลายด้าน ทัง้ เป็ นเรือ่ งที่ใหม่ ขาดบุคลากรที่ ทั้ง นี ้ บริก ารเสี ย งบรรยายภาพถื อ เป็ น เรื่อ งใหม่ มีความรูค้ วามเชีย่ วชาญ ซึง่ ต้องมีความรูใ้ นกระบวนการ ส�ำหรับสังคมไทย หลายฝ่ ายพยายามผลักดันให้เกิด เล่าเรื่องผ่านภาพ และสามารถสร้างค�ำบรรยายภาพ บริการดังกล่าวขึน้ แต่ปัจจุบนั ยังมีเงื่อนไขและข้อจ�ำกัด ในเวลาจ�ำ กัด ได้ ท�ำ ให้ก ารผลิ ต รายการที่ มี บ ริก าร จึ ง จ�ำ เป็ นที่ ต ้อ งกระตุ้น ให้ทุ ก คนตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ เสียงบรรยายภาพยังมีตน้ ทุนที่สงู ประกอบกับสภาพ ที่ตนเองพึงมี สนับสนุนให้ทกุ หน่วยงานร่วมสร้างสรรค์ การแข่งขันของธุรกิจสือ่ โทรทัศน์ท่ผี ใู้ ห้บริการหลายแห่ง บริการโดยค�ำนึงถึงคุณภาพ และความทั่วถึงในการ ประสบปั ญหาขาดทุน ให้บริการ เพือ่ ให้ทกุ คนในสังคมได้รบั สารอย่าง “เท่าเทียม”
บริ ก ารเสี ย งบรรยายภาพ (Audio การปรับตัวของสถานีฯ Description) คื อ เสี ย งบรรยายที่ เ พิ่ ม เพื่อให้บริการเสียงบรรยายภาพ เข้ า ไปเพื่ อ บรรยายรายละเอี ย ดสำ�คั ญ ด้า น นิ ม ะ ราซิ ดี ผู้อ ำ� นวยการสถานี โ ทรทัศ น์ ข อ ง ภ า พ ที่ ค น พิ ก า ร ท า ง ก า ร เ ห็ น อ า จ ไ ม่ เ ข้ า ใ จ ด้ ว ย บ ท บ ร ร ย า ย ป ก ติ ไทยทีวีสีชอ่ ง 3 กล่าวว่า ทางสถานีฯ มีเกณฑ์คดั เลือก โดยเทคโนโลยีนี้จะเพิ่มการบรรยายด้วย รายการที่จะให้บริการเสียงบรรยายภาพ โดยค�ำนึงถึง เสียงในช่วงที่ไม่มีการสนทนา เหตุผลด้านช่วงเวลา เนือ้ หารายการ และเหตุผลด้าน
ในปี 2559 กสทช. ออกประกาศ เรือ่ ง การส่งเสริม และคุม้ ครองสิทธิ ของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู แ้ ละ ใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ โดยก�ำหนดให้ ผูป้ ระกอบกิจการโทรทัศน์ตอ้ งให้บริการเสียงบรรยายภาพ ในรายการประเภทข่าวสารและสาระประโยชน์ อย่างไรก็ดี เมือ่ ปี 2561 ทาง กสทช. กลับประกาศเลือ่ นการบังคับใช้ ออกไป โดยให้เหตุผลว่าสถานีโทรทัศน์ชอ่ งต่างๆ ยังขาด องค์ความรู ้ บริการที่มีไม่ตอบโจทย์การรับสื่อ ของคนพิการทางการเห็น
ทิวา เอีย่ มธารทอง คนพิการทางการเห็น อายุ 35 ปี กล่ า วว่ า ปกติ ต นเป็ นผู้ ร ั บ ชมโทรทั ศ น์ อ ยู่ ต ลอด แต่ช่วงเวลาการออกอากาศของรายการที่ให้บริการ เสียงบรรยายภาพนัน้ ไม่เหมาะสม “ส่วนใหญ่มันจะไปออกอากาศนู่น หลังเที่ยงคืน คนตาบอดก็เข้าไม่ถงึ เพราะกลับมาบ้าน ถ้างานหนัก ก็อาจหลับเร็ว หรือบางทีมีงานเช้า ก็ตอ้ งเข้านอนก่อน” ทิวากล่าว อมีนา ทรงศิริ นักศึกษาปริญญาโท และคนพิการ ทางการเห็น อายุ 35 ปี กล่าวว่า เธออยากให้มีบริการ เสียงบรรยายภาพ นอกเหนือจากกลุม่ รายการสารคดี เช่น ละคร เกมโชว์ ภาพยนตร์ท่ีฉายบนโทรทัศน์ อมีนากล่าวต่อว่า การเข้าถึงบริการยังมี อุปสรรค จากการทีต่ อ้ งซือ้ กล่องทีวดี จิ ทิ ลั เพิม่ เติม ซึง่ รีโมตมีปมุ่ กด ที่แตกต่างกัน จึงต้องอาศัยคนตาดีปรับจูนให้
“
”
ทิวา เอี่ยมธารทอง ก�ำลังรับชมรายการโทรทัศน์
MAIN COURSE MEDIA
ภาพและวิดีโอต่อไปนี้ ไม่ได้มี “ค�ำเตือน” ส�ำหรับทุกคน เรื่อง: ธนพร เกาะแก้ว ภาพ: กานดา ชัยสาครสมุทร
“พักหลังเลิกตามเพจข่าวไปเยอะ แต่ก็มีให้เห็นบ้างเวลาเล่นโซเชียล เราก็กรองระดับหนึง ่ อาจต้องแลกกับ การไม่ได้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น แต่ภาระทางใจเบาลง”
มุ ก (นามสมมติ ) ผู้ใ ช้ท วิ ต เตอร์ร ายหนึ่ ง กล่า ว เมือ่ ถามถึงผลกระทบจากการใช้สอ่ื ต่อภาวะป่ วยทางจิต จากเหตุก ารณ์รุ น แรง (Post-Traumatic Stress Disorder: PTSD) ที่ เ ธอต้อ งเผชิ ญ จากการถู ก ล่วงละเมิดทางเพศ มุกตัดปั ญหาโดยการซ่อนค�ำ (Mute) ที่เกี่ยวกับ การแอบถ่ายรูปหรือวิดโี อ การล่วงละเมิด การประณาม รูปลักษณ์ภายนอก และค�ำอื่นๆ ที่อาจกระตุน้ บาดแผล ทางใจของเธอ ค�ำที่มกุ ใช้ “กรอง” เนือ้ หา เรียกว่า “ค�ำเตือนเนือ้ หา รุนแรง” หมายถึง ค�ำเตือนเฉพาะเกี่ยวกับเนือ้ หาที่อาจ กระตุน้ อาการของภาวะ PTSD โรควิตกกังวลอื่นๆ หรื อ บาดแผลทางใจ เพื่ อ ให้ผู้ท่ี มี อ าการดัง กล่ า ว ได้เตรียมใจก่อนรับสาร มุกเห็นว่า ค�ำเตือนที่ปรากฏบนสื่อโทรทัศน์ไทย ในปั จ จุบัน ไม่ ไ ด้ค รอบคลุม ถึ ง ตัว กระตุ้น บาดแผล ทางใจ และท�ำงานได้อย่าง “ผิวเผิน” เมื่อเทียบกับการ ใส่คำ� เตือนอย่างเจาะจงที่พบในสื่อต่างประเทศ เช่น เนือ้ หาต่อไปนีแ้ สดงภาพการใช้ความรุ นแรงทางเพศ หรือการท�ำร้ายร่างกาย
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
13
มุกเห็นด้วยว่า สื่อควรใส่ค ำ� เตื อนเนื อ้ หารุ นแรง ค�ำเตือนเนื้อหารุนแรงเป็นเรื่อง เพราะ “อย่างน้อยก็ชว่ ยให้แต่ละวันไม่หนักหนาเกินไป “รอได้” ในสื่อโทรทัศน์ ไม่ ใ ช่ แ ค่ ค นที่ มี บ าดแผลทางใจ แต่ ค นที่ เ หนื่ อ ยล้า กับ ภาระในชี วิ ต ก็ มี ช่ ว งที่ ไ ม่อ ยากรับ ข่า วที่ มี เ นื อ้ หา พลโทพี ร ะพงษ์ มานะกิ จ กรรมการกิ จ การ รุนแรงเหมือนกัน” กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) เห็นว่า โทรทัศน์มีการใช้คำ� เตือน “บาดแผลทางใจ” ไม่ได้อยู่แค่ใน เนื ้อ หามานานแล้ว ซึ่ ง อยู่ ใ นรู ป แบบการจั ด เวลา ผู้ป่วย PTSD ออกอากาศ ส่วนค�ำเตือนที่อาจส่งผลกระทบทางจิตใจ พญ.ปริชวัน จันทร์ศริ ิ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการบ�ำบัด กรรมการ กสทช. รับว่า “ไม่ได้มองละเอียดขนาดนัน้ ” บาดแผลทางใจ คณะแพทยศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์พล.ท.พี ร ะพงษ์ เ ห็ น ว่ า สื่ อ เก่ า ถูก ก�ำ กับ อยู่แ ล้ว มหาวิทยาลัย อธิบายว่า “PTSD ไม่ใช่ตวั แทนทัง้ หมด ภายใต้ พ.ร.บ.การประกอบกิจการกระจายเสียงและ ของสภาวะที่ เป็ นบาดแผลทางใจ เพราะเกณฑ์การ กิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 การใส่คำ� เตือนเนือ้ หารุนแรง วิ นิ จ ฉัย บอกว่ า จะต้อ งเป็ น เหตุก ารณ์ส ะเทื อ นขวัญ บนโทรทัศน์จึงไม่ถือเป็ นเรื่องเร่งด่วน อาจต้องดูเป็ น แต่บางทีไม่จำ� เป็ นต้องพบว่าเหตุการณ์ย่ิงใหญ่อะไร กรณี “สือ่ เก่าจะมีองค์กร และองค์กรก็มรี ะบบตรวจสอบ ก็มีผลลักษณะเดียวกันกับ PTSD” ภายในอยูแ่ ล้ว ฉะนัน้ จะมีหรือไม่มีคำ� เตือนลักษณะนัน้ ตัวอย่างเหตุการณ์ดงั กล่าว เช่น การถูกประจาน ก็ได้ เห็นแนวโน้มเฉพาะเรื่องข่าว เช่น ข่าวเมียดูผวั หรือการสูญเสียสัตว์เลีย้ ง พญ.ปริชวันยกตัวอย่างกรณี แขวนคอตาย อาจต้องเตือนว่าภาพที่เห็นจะท�ำร้ายใคร” ที่พบในเด็กว่า “แค่เด็กคนหนึ่งเจอพ่อแม่ทะเลาะกัน กรรมการ กสทช. ตัง้ ค�ำถามว่า แม้คำ� เตือนเนือ้ หา ก็อาจมีอาการเหมือน PTSD ได้” รุนแรงจะป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบทางจิตใจกับผูช้ ม แต่ “คุม้ หรือเปล่า” ที่ส่อื โทรทัศน์จะออกค�ำเตือนเช่นนี ้ ตัวกระตุ้นบาดแผลทางใจ เพื่อ “พิทกั ษ์” ผูช้ มกลุม่ หนึ่งที่อาจเป็ นเพียงกลุม่ เล็กๆ ที่ยากจะคาดเดา เท่านัน้ “ใครก็มีอาการแบบนีไ้ ด้” คือความกังวลของแพทย์ ทีท ่ างของ “ค�ำเตือนเนือ ้ หารุนแรง” ต่ อ ผู้ท่ี มี บ าดแผลทางใจ ดัง นั้น ภาพความรุ น แรง บนสื่อออนไลน์ ที่ อ ยู่ บ นสื่ อ โทรทั ศ น์ แ ละสื่ อ ออนไลน์ ก็ อ าจเป็ น ตัวกระตุน้ อาการของผูช้ มได้เช่นกัน ขณะเดียวกัน อรพิณ ยิง่ ยงพัฒนา บรรณาธิการ พญ.ปริชวันมองว่า ค�ำเตือนเนื อ้ หารุ นแรงยังคง บริหารไทยรัฐออนไลน์ เห็นว่า มีความเป็ นไปได้สูง มีขอ้ จ�ำกัดอยู่ เพราะในชีวิตจริงไม่อาจคาดเดาได้ว่า ที่จะเห็นส�ำนักข่าวออนไลน์ใส่คำ� เตือนดังกล่าว เนื อ้ หาใดจะเป็ นตัวกระตุน้ บาดแผลทางใจของผูช้ ม อรพิณกล่าวว่า แนวทางที่ไทยรัฐออนไลน์ใช้เพื่อ และอาการของผูช้ มจะรุนแรงระดับใดเมื่อถูกกระตุน้ ลดทอนความรุ นแรงของเหตุการณ์ท่ีนำ� เสนอ คือการ อย่ า งไรก็ ต าม ผู้ เ ชี่ ย วชาญเห็ น ด้ ว ยว่ า การ เบลอภาพ เช่น ภาพหวาดเสียวหรือภาพศพ แต่พกั หลัง ใส่คำ� เตือนเนือ้ หารุนแรงควรเป็ นหนึง่ ในความรับผิดชอบ กองบรรณาธิการเริม่ วางแผนจะใส่คำ� เตือนเนือ้ หารุนแรง ของสื่อ และมองว่าสื่อไม่ควรน�ำเสนอเนือ้ หาที่คกุ คาม ในรายงานข่าวทางเฟซบุ๊กและยูทบู จิตใจ เช่น ภาพศพหรือภาพร�่ำไห้ของญาติผเู้ สียชีวิต อรพิณสรุปว่า เป็ นความท้าทายของสือ่ ในการหาวิธี เพราะอาจกระตุน้ บาดแผลทางใจของผูช้ มได้ เล่าเรือ่ งและสื่อสารค�ำเตือนเนือ้ หารุนแรงไปพร้อมกัน
14
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ART MAIN & CULTURE COURSE
การแข่งขัน PUBG CONTINENTAL SERIES 3 APAC เมื่อวันที่ 6 พ.ย. 63
ข้างหลัง
“พากย์”
เรื่อง: มณิสร วรรณศิริกุล ภาพ: PUBG THAILAND OFFICIAL
หลายครั้ ง ผู ้ ช มการแข่ ง ขั น อี ส ปอร์ ต มั ก ใ ห ้ ค ว า ม ส น ใ จ ที่ นั ก กี ฬ า เ ป ็ น ห ลั ก จนหลงลื ม ไปว่ า “นั ก พากย์ ” ก็ เ ป็ น ส่ ว น ส�ำคัญที่ท�ำให้ผู้ชมรู้สึกสนุก ตื่นเต้น และลุ้น ระทึกไปกับการแข่งขันตรงหน้าไม่แพ้กัน
ต่อการพากย์หนึ่งนัด ดังนัน้ ความจ�ำจึงเป็ นสิ่งส�ำคัญ ไม่แพ้ศลิ ปะการพูดส�ำหรับนักพากย์อีสปอร์ต “ผมต้องท�ำให้คนที่ไม่เล่นเกมเข้าใจด้วย ถ้าพากย์ ให้คนที่เล่นเกมเข้าใจ มันก็ง่าย เพราะเขารู เ้ รื่องเกม อยูแ่ ล้ว” วูกล่าว การพากย์อีสปอร์ตส่วนใหญ่จะมีนกั พากย์สองคน เรียกว่าไมค์หนึ่งและไมค์สอง ไมค์หนึ่งซึ่งเป็ นตัวหลัก ต้องเปิ ด-ปิ ดรายการ ด�ำเนินเรื่องราว และพูดเข้าช่วง คั่นรายการหลัก ส่วนไมค์สองเป็ นคนเสริม วิเคราะห์ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้ ส�ำหรับผูช้ มที่มองไม่ทนั เรียกได้วา่ เป็ นคนที่คอยดึงจังหวะเกมให้ไม่เครียดจนเกินไป เบื้องหลังที่มากกว่าการพูด
นักพากย์อีสปอร์ตคืออะไร นักพากย์อสี ปอร์ต (Shoutcaster) เป็ นส่วนหนึง่ ของ ค�ำว่าแคสเตอร์ (Caster) ทีห่ มายถึงกลุม่ อาชีพเบือ้ งหน้า ของคนท�ำงานในวงการเกม ต้องใช้ทกั ษะในการพูด เพื่อสื่อสารให้คนเข้าใจ ชยุตม์ ฉางทองค�ำ หรือที่รูจ้ กั ในชื่อ วู นักพากย์ ภายใต้สัง กัด เอฟพี เ อสไทยแลนด์ (FPSThailand) นิยามอาชีพตนว่า “ผูบ้ รรยายเสียง” มีหน้าที่บรรยาย ให้ผชู้ มเข้าใจว่านี่คือเกมอะไร เล่นอย่างไร และมีใคร เป็ นผูเ้ ล่นบ้าง
“
เขาเข้าใจค�ำว่า ‘นักพากย์’ แต่ไม่เข้าใจค�ำว่า ‘เกม’ ชยุตม์ ฉางทองค�ำ
”
ในปั จจุบนั หน้าที่ของนักพากย์อีสปอร์ตยังคงเป็ น ข้อกังขาของสังคมอยูเ่ สมอ กระบวนการพากย์อีสปอร์ต
คอมเมนต์วิพากษ์วิจารณ์จากช่องแชท เป็ นหนึง่ ใน แรงกดดันที่คนเบือ้ งหน้าต้องเผชิญ ท่ามกลางความ วุน่ วายด้านหลังกล้อง ภารกิจของพวกเขาคือการท�ำทุกอย่าง เพื่อให้ผชู้ มได้รบั ความสนุกไปตลอดทัง้ การแข่งขัน ความท้าทายของการถ่ายทอดสด คือความผิดพลาด ที่อาจเกิดขึน้ ได้ทกุ เมื่อ จากทัง้ ทีมงานเบือ้ งหลัง และ จากนัก พากย์เ อง การแก้ปั ญ หาเฉพาะหน้า จึง เป็ น อีกหนึง่ ทักษะที่ตอ้ งมี “มีครัง้ หนึ่งก�ำลังพากย์อยู่แล้วจอดับ แรกๆ มานี่ ช็ อ กเลย แต่ เ มื่ อ มี ป ระสบการณ์ม ากขึน้ พอจอดับ เราเห็นจังหวะสุดท้ายเป็ นยังไง ก็จินตนาการเลยว่า ต่อไปจะเกิดอะไรขึน้ ‘โห! จังหวะเมือ่ สักครูน่ สี ้ วยนะครับ’ แต่ความจริงคือจอด�ำไปแล้ว” ศุภณัฐ วรรณแสงข�ำ หรือ เฟม นักพากย์ภายใต้สงั กัดอีสปอร์ต อัลลายแอนซ์ (Esport Alliance) กล่าว นอกจากนี ้ นัก พากย์เ กมหลายคนต้อ งประสบ ปั ญหาสุขภาพเนื่องจากใช้เสียงอย่างต่อเนื่องเป็ นเวลา หลายวัน “มี ค รั้ง หนึ่ ง เคยพากย์ติ ด ต่ อ กั น 13 วัน จนวั น ท้า ยๆ พากย์ไ ปได้ก ลิ่ น เลื อ ดออกมาในคอ ตอนนัน้ เรารูแ้ ล้วว่าเราหนักเกินไปแล้วนะ” เฟมกล่าว
นอกจากนักพากย์จะรับหน้าที่ผูบ้ รรยายเกมแล้ว ยังเป็ นพิธีกรด�ำเนินรายการตัง้ แต่เริ่มต้น แนะน�ำกฎ ผู้หญิงกับวงการนักพากย์ กติกา รูปแบบการแข่งขัน ส่งเข้าสูเ่ กม และพูดสรุปงาน “ก่อนหน้าทีจ่ ะเข้าวงการมาประมาณ 2-3 ปี เคยเห็น เรียกได้วา่ ครอบคลุมตัง้ แต่ตน้ จนจบการแข่งขัน ในการแข่งขัน พับจี (PUBG) หนึง่ เกมจะมีทงั้ หมด ผูห้ ญิงพากย์อยู่บา้ ง แต่เมื่อเข้าวงการมา ไม่ค่อยเห็น 16 ทีม ทีมละ 4 คน เท่ากับมีผเู้ ล่น 64 คน ที่ผพู้ ากย์ ผูห้ ญิ งที่ออกมาพากย์อย่างหลากหลายหรือท�ำแบบ ต้องจ�ำให้ได้ ขณะที่กีฬาฟุตบอลต้องจ�ำเพียง 22 ผูเ้ ล่น จริงจังเท่าไร” วราลี สุลัยมาน หรือที่รูจ้ กั กันในนาม
CatCaster หนึ่งในนักพากย์หญิ งไม่ก่ี คนในวงการ อีสปอร์ตไทยกล่าว ผูห้ ญิงในวงการเกม ส่วนใหญ่มกั อยูใ่ นต�ำแหน่งของ นักแข่งและสตรีมเมอร์ ในขณะที่สายพากย์ยังไม่ได้ รับความสนใจเท่าไรนัก ซึ่งอุปสรรคส�ำคัญของการ เป็ นผูห้ ญิงในสายงานนีไ้ ม่พน้ เรือ่ งของ “เสียง” ที่แหลม กว่ า ผู้ช าย และปั ญ หาการเหยี ย ดเพศก็ มี ใ ห้เ ห็ น พอสมควร “ถ้าพูดถึงจังหวะปะทะ ต่อให้ผูห้ ญิ งพากย์ยังไง มัน ก็ สู้ผู้ช ายไม่ ไ ด้ใ นเรื่ อ งของน�้ำ เสี ย ง ผู้ช ายเสี ย ง หนักแน่น กว่า ก็ จ ะรู ส้ ึกมัน กว่า ” CatCaster เล่า ว่า การเข้ามาท�ำงานตรงนี ้ เวลาพากย์ตอ้ งท�ำอย่างไรก็ได้ ให้มีความมั่นใจและพลังเสียงเทียบเท่าผูช้ าย รายได้นักพากย์: เลี้ยงตัวเองได้ แต่เลี้ยงครอบครัวไม่ได้ “ผมจะท�ำเกี่ยวกับอีสปอร์ตจนอายุ 40 จริงๆ ผมท�ำ อย่างอื่นควบคูอ่ ยูแ่ ล้วเพื่อรองรับ แต่พอถึงจุดหนึง่ ก็คง ต้องออกจากวงการนีไ้ ป ถ้าถามว่าเกี่ยวกับรายได้ไหม ก็ตอ้ งตอบว่าเกี่ยว” วูกล่าวถึงอนาคต เมือ่ เทียบกันแล้ว นักกีฬาอีสปอร์ตมีรายได้เยอะกว่า นั ก พากย์ ม าก เนื่ อ งจากมี สั ง กั ด คอยสนั บ สนุ น ทัง้ เงินเดือนและเงินรางวัลจากการแข่งขัน แต่รายได้ ของนักพากย์มาจากการว่าจ้างตามจ�ำนวนงานเท่านัน้ และไม่มีการก�ำหนดเรทค่าตัวอย่างชัดเจน ทัง้ นี ้ ขึน้ อยู่ กับความสามารถเฉพาะตัว “บางเกมก็มีนักพากย์รอรับงานกว่า 20 คนแล้ว ซึง่ มากกว่าจ�ำนวนทัวร์นาเมนต์ แต่เวลาจ้างงานจริงๆ คนที่ จ ะถูก จ้า งก็ มี อ ยู่แ ค่ 5-6 คน ที่ เ ป็ น ขาประจ�ำ ของแต่ละเกม” CatCaster บอกเล่าถึงปั ญหาที่พบ เธอยังกล่าวอีกว่าในอดีตที่สมาคมกีฬาอีสปอร์ต แห่งประเทศไทยได้ก่อตัง้ ขึน้ ดูเหมือนว่าทางสมาคมฯ จะมีแผนในการจัดท�ำ “ชมรมนักพากย์” เพื่อเข้ามา แก้ปั ญ หาการกระจายงาน และก�ำ หนดมาตรฐาน ในการท�ำงานของกลุม่ นักพากย์ให้ชดั เจน แต่ปัจจุบนั สิ่งเหล่านีก้ ็ยงั ไม่มีการเกิดขึน้ อย่ า งไรก็ ต าม “นัก พากย์อี ส ปอร์ต ” ก็ ยัง มุ่ง มั่น ท�ำงานในสายอาชีพด้วยความรัก และพร้อมขับเคลื่อน วงการเกมด้วยแรงสนับสนุนจากผูช้ มต่อไป
MAIN&COURSE ART CULTURE
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
15
ลวดลาย ภาษา เวลา ภาพยันต์ เรื่อง-ภาพ: มณิสร วรรณศิริกุล และ สิทธิเดช มั่นทอง
อุดม มีสขุ ขณะสักยันต์ 8 ทิศ
ช า ย ค น ห นึ่ ง นั่ ง หั น ห ลั ง ใ ห ้ อ า จ า ร ย ์ สั ก ยั น ต์ ในส� ำ นั ก ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยเครื่ อ งบู ช า รู ป เคารพและของเซ่ น ไหว้ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เข็มปลายแหลมทิ่มลงบนแผ่นหลัง ปรากฏ อักขระที่คนทั่วไปไม่รู้จัก เสียงบริกรรมคาถา ภาษาบาลีเสริมความขลังท่ามกลางสายตา ผู้คนที่เต็มไปด้วยความสงสัย แต่สิ่งเหล่านี้ กลับมีความหมายมากมายส�ำหรับพวกเขา
สักยันต์: ลวดลายของวัฒนธรรม ในสมัยสุโขทัย พบว่าผูช้ ายนิยมการสักยันต์เพื่อให้ แคล้วคลาดและอยู่ยงคงกระพันเนื่องจากมีสงคราม อยู่บอ่ ยครัง้ การสักยันต์จงึ เป็ นการสร้างขวัญก�ำลังใจ แก่ผอู้ อกรบ เมื่อเข้าสูส่ มัยอยุธยา มีการ “สักขาลาย” ตัง้ แต่เอวลงมาถึงขา นิยมกันในกลุ่มผูม้ ีอำ� นาจอย่าง เสนาบดีหรือกษัตริย ์ เพือ่ ฝึกความอดทนต่อความเจ็บปวด และแสดงถึงอัตลักษณ์ความเป็ นชาย อีกทัง้ ยังมีการ “สักเลก” ที่ขอ้ มือของไพร่ท่ีถกู เกณฑ์มารบ ปั จ จุบัน มี ห ลายลายที่ ได้ร บั ความนิ ย มขึน้ อยู่กับ จุดประสงค์การใช้งาน เช่น “ยันต์เก้ายอด” เป็ นการสัก หัวใจคาถาพุทธคุณ 9 ประการ หรือบทสวดอิติปิโส ด้วยอักษรขอม เพื่อให้หนังเหนียว ฟั นแทงไม่เข้า หรือ “ยันต์หา้ แถว” ที่อาจารย์สกั ยันต์แต่ละคนจะมีความ ถนัดในพุทธคุณเฉพาะทาง เช่น การแก้ฮวงจุย้ หนุนดวง ป้องกันคุณไสยมนตร์ดำ� เพิ่มโชคลาภ และมหาเสน่ห ์ หลายคนคงเคยได้ยนิ ว่ามีดาราอย่าง แองเจลินา โจลี ที่ขา้ มน�ำ้ ข้ามทะเลมา เพื่อสักยันต์หา้ แถวกับอาจารย์ หนู กันภัย ท�ำให้เรื่องของการสักยันต์โบราณที่ในอดีต สังคมมองว่าเกี่ ยวข้องกับเรื่องไสยศาสตร์ถูกลดทอน ลงไป และมีความเป็ นพาณิชย์มากขึน้ ทุกวันนี ้ การสักโดยทั่วไปเริ่มต้นจาก “พิธียกครู ” เป็ นการถวายพานขันห้า ได้แก่ หมาก เงิน เทียน ธูป และบุหรี่ อย่างละห้าชุด เพื่อฝากตัวเป็ นศิษย์ จากนัน้
อาจารย์จะเริม่ ท�ำการเสกเหล็กสักและน�ำ้ หมึก ขณะที่ เพียงแค่วา่ ยันต์นีช้ ว่ ยเสริมด้านใดในชีวิตได้บา้ ง เหล็กสักชักยันต์จะมีการภาวนาคาถาเดินสูตรยันต์ไป “ตัว อัก ษรขอมมัน มี รู ป แบบอัก ขระวิ ธี ท่ี ง่ า ยต่ อ จนกระทั่งเสร็จสิน้ การสัก และจบลงด้วยพิธีไหว้ครู การเขี ยนภาษาบาลีมากกว่าการใช้อักษรไทยเขี ยน ซึง่ แต่ละส�ำนักอาจมีลำ� ดับขัน้ ตอนที่แตกต่างกันไป นอกจากนี ้อั ก ษรขอมยั ง แสดงถึ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ การสักยันต์จึงอาศัยความขลังของทั้งตัวอักษรและ รู้ว่าเจ็บแต่คงต้องขอลอง พระคาถาที่ ใ ช้ป ลุก เสกเกื อ้ หนุน ซึ่ง กัน และกัน ด้ว ย” “ปกติตามงานวัดจะมีวยั รุ ่นตีกัน ตอนนัน้ ผมเห็น พอพล สุกใส อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาตะวันออก ลูกศิษย์วดั หลวงพ่อเปิ่ นเขาโดนตี แต่เขาไม่มีบาดแผล คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร กล่าวถึงการ อะไรเลย ยกเว้นรอยขีดแดง พอผมเห็นแบบนัน้ ผมก็ เลือกใช้อกั ษรขอมในการสักยันต์ ตามหาวัดแล้วไปสักเลย” ทินกร สองสี ชายวัย 33 ปี อาจารย์คณะโบราณคดีกล่าวถึงลายสักที่เคยพบว่า เล่าถึงการสักยันต์ครัง้ แรกเมื่ออายุ 19 ปี จนตอนนี ้ หลายครัง้ การเขียนอักษรขอมบนตัวยันต์ผิดเพีย้ นไป มีลายสักเต็มแผ่นหลังและล�ำตัว ทัง้ ในด้านของรู ปทรง และลายเส้นที่เปลี่ยนต�ำแหน่ง “ตอนแรกผมไม่ได้เชื่อเรื่องพวกนี ้ อยากจะลองว่า หรือมี ค วามสั้น ยาวต่า งกัน ซึ่ง ส่ง ผลต่อ การตี ค วาม มันจริงหรือเปล่า” ยอด (นามสมมติ) ผูจ้ ดั การของบริษทั รูปตัวอักษร หรือบางตัวอักษรก็นำ� เอาอักษรไทยเข้าไปปน ซ่อมบ�ำรุงรถยนต์แห่งหนึง่ วัย 33 ปี เล่าถึงการก้าวเข้าสู่ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการจ�ำ อย่างไรก็ดี การเปลีย่ นแปลงเหล่านี ้ วงการสัก ไม่ได้สง่ ผลต่อการท�ำความเข้าใจความหมายบนตัวยันต์ เมื่ อ สอบถามถึ ง ความเข้า ใจต่ อ ลวดลายยัน ต์ท่ี แก่นแท้ความศักดิ์สิทธิ์ สักลงบนแผ่นหลัง ทัง้ สองตอบเป็ นเสียงเดียวกันว่า ไม่ทราบแม้กระทั่งวิธีอา่ น เนื่องจากไม่ได้มีความสนใจ อุดมกล่าวว่าตัวยันต์ท่ีเขียนลงไปบนร่างกายของ ในตัวภาษาและบทสวดที่สกั ลงไปมากเท่าความศรัทธา ลูกศิษย์นนั้ เป็ นสิ่งเตือนใจให้คนที่มีรอยสักตระหนัก ต่ออาจารย์สกั อยู่เ สมอว่ า ตนเองมี ส่ิ ง ศัก ดิ์สิ ท ธิ์ อ ยู่กับ ตัว การสัก รู ปยันต์สามารถแบ่งออกเป็ นสองลักษณะหลักๆ เป็ นเพียงพิธีกรรมที่ทำ� ให้รูว้ า่ เป็ นศิษย์-อาจารย์กนั แล้ว ได้แก่ รู ปวาดและอักขระ โดยรู ปวาดนัน้ มีทงั้ ภาพของ จะต้อ งปฏิ บัติ ต นตามค�ำ สอนของอาจารย์เ พื่ อ เป็ น พระพุทธเจ้า พุทธสาวก ยักษ์ มาร และสัตว์ ทัง้ ใน คนดีของสังคม เมื่อนัน้ ยันต์จงึ จะเกิดอิทธิฤทธิช์ ว่ ยท�ำให้ ปั จจุบนั และในวรรณคดีไทย รวมไปถึงวัตถุท่ีมีความ พ้นเภทภัยยามเกิดเหตุจำ� เป็ น แต่หากไม่ปฏิบตั ิตาม เกี่ยวข้องกับศาสนา ส่วนอักขระเป็ นการใช้อกั ษรขอม แบบแผนของอาจารย์ ยันต์จะเป็ นเพียงรอยขีดเขียนบน เพื่อบันทึกบทสวดพุทธคุณในภาษาบาลี โดยย่อเอา เนือ้ หนัง อีกทัง้ ยังน�ำพาความอัปมงคลมาแก่คนผูน้ นั้ ค�ำแรกของบทสวดไว้ พอพลพูดในท�ำนองเดียวกันว่า “รูปยันต์ชว่ ยก�ำกับ ให้ยึดมั่นในวิถีท่ีถกู ที่ควร อันนีเ้ ป็ นอีกส่วนที่ทำ� ให้มนั ความหมายใต้ภาพยันต์ เดิ น ไปได้ แต่ ก็ ต ้อ งยอมรับ ความเปลี่ ย นแปลงของ อุดม มีสุข อาจารย์สกั ยันต์ในจังหวัดตราดเล่าว่า ช่วงเวลา จะไปรือ้ ฟื ้ น (อักขระตามแบบโบราณ) ขึน้ มา เขาไม่เคยอธิ บายความหมายของบทสวดบนรอยสัก มันก็ยาก ถ้าเป็ นไปได้ก็ควรที่จะกระจายหรือเผยแพร่ ให้ผทู้ ่ีมาสักยันต์ฟัง เพราะไม่มีใครถาม พวกเขาสนใจ ความรูอ้ อกไปให้ได้เท่าที่จะมีกำ� ลัง”
16
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
MAIN COURSE TRAVEL
พระนครในวันเก่า จากเรือ ่ งเล่าของชาวจีนสยาม เรื่อง-ภาพ: วโรดม เตชศรีสุธี และ สิทธิเดช มั่นทอง
วัด วัง ร้านกาแฟ ร้านถ่ายภาพ และรถราง คือ “หลักฐานและความทรงจ�ำ” แห่ง คืนวันทีเ่ คยรุง่ เรืองและเมืองทีเ่ คยรุง่ โรจน์ ของ “เขตพระนคร” ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี ให้ตงั้ เป็ นพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ เมืองเก่าอายุกว่า 92 ปี เพื่อธ�ำรงคุณค่า ทางวัฒ นธรรมและพัฒ นาเป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยวให้ชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ท่ีเริม่ เลือนหาย ขณะที่เวลาชะล้างเรื่องราวไปจาก การมองเห็น “ชาวจีนในพระนคร” และ สถานที่ เ ก่ า แก่ ห ลายแห่ง บนถนนสาย วัฒนธรรมกลับฉาย “ภาพ” ในวันวาน ให้เราได้ทศั นาอย่างชัดเจน บางขุนพรหม เมื่อครั้งยังเยาว์ สองเท้าก้าวลงบนกระเบือ้ งปูนสีเทา เข้ม รอบด้านไร้รม่ เงาไม้ เหนือหัวมีเพียง สะพานพระราม 8 สิ่งก่อสร้างอายุ 18 ปี ซึง่ ถือเป็ นน้องใหม่ของย่านเมื่อเทียบกับ อายุตกึ แถวที่เรียงรายอยู่รมิ ถนนวิสทุ ธิ์กษัตริย ์ “สี่แยกบางขุนพรหม” อาคารส่ ว นใหญ่ ยัง คงสภาพเดิ ม ตลอดเวลากว่า 70 ปี โดยโครงสร้าง ภายนอกของตึกท�ำด้วยปูน ส่วนหน้าต่าง บริเวณชั้นสองเป็ นไม้แบบที่มักเห็นใน ละครย้อนยุค ประตูเหล็กยืดแบบโบราณ ยังมีให้เห็นอยูป่ ระปราย แต่สง่ิ ที่กำ� ลังจะ หายไปคื อ คนในชุ ม ชนดั้ ง เดิ ม และ ความทรงจ�ำที่ไม่เคยถูกบันทึก ชนิ น ทร์ เตชศรี สุ ธี อายุ 65 ปี หนึ่งในเจ้าของร้าน “ห้องภาพสุวรรณ” ร้า นโปสเตอร์เ ก่ า แก่ ข นาดสามคู ห า ที่ตงั้ อยู่ ณ หัวมุมหนึง่ ของสี่แยก เล่าถึง ความเปลี่ยนแปลงให้ฟังว่า เดิมพื น้ ที่ หน้า บ้า นเป็ น ถนนโล่ง กว้า ง สมัย เด็ ก สามารถลงไปวิ่ ง เล่นคู่กับรถได้ “ส่วน ตอนนีเ้ หลือที่ให้เดินแค่หนึง่ เมตร เพราะ รัฐบาลขอพื น้ ที่ ไปใช้ตั้งเสาค�ำ้ สะพาน พระราม 8 รวมถึ ง ขยายถนนสองฝั่ ง เสาค�ำ้ เป็ นอย่างละ 2 เลน”
ห้องภาพสุวรรณ: บันทึกความทรงจ�ำ ชาวจีนในพระนคร “เราอยูท่ ่ีน่ีมา 90 ปี ได้แล้ว” ชนินทร์ เอ่ ย พลางมองภาพฟิ ล์ม ขาวด�ำ ในมื อ เขานั่งอยู่ภายในร้านห้องภาพสุวรรณ ทีค่ รอบครัวเป็ นเจ้าของร่วมกัน ราวปี 2459 ลีกงั แซ่แต้ ชาวจีนแต้จ๋ิว อพยพจากประเทศจีนมาถึงแผ่นดินสยาม เขาเริ่ ม งานเป็ นกุ ลี เ พื่ อ หาเงิ น ซื ้อ ตั๋ ว เรือส�ำเภาส่งกลับไปให้ภรรยาและลูกชาย เดินทางมาประเทศไทย ระยะแรกลีกัง เช่าบ้านไม้บนพืน้ ที่ท่ีกลายเป็ นร้านห้อง ภาพสุวรรณในปั จจุบนั ทัง้ อยูอ่ าศัยและ เปิ ดร้านกาแฟแบบชง “ลู ก ค้ า สมั ย นั้ น มี ทั้ ง คนไทยและ คนจีน พวกสามล้อถีบจะมาจอดรถนั่งดืม่ กาแฟที่โต๊ะกลมภายในร้าน แม่ของผมก็ ขายไข่ลวก ปาท่องโก๋ และขนมปังสังขยา เสริม แต่ท ำ� ได้ไ ม่ น านก็ ต อ้ งปิ ด ตัว ลง เพราะเทศบาลกล่า วหาว่า ร้า นเราท�ำ สกปรก” เขาเล่ า จากความทรงจ�ำ หลังจากนัน้ ครอบครัวก็ได้เรียนรู ว้ ิธีการ คั่วกาแฟจากญาติชาวจีนทีเ่ ดินทางมาถึง สยามก่อน จนเกิดเป็ น “กาแฟตราหงส์” และไม่นานจากนัน้ ชวนไชย เตชศรีสธุ ี
บุ ต รคนโตของลี กั ง ก็ ริ เ ริ่ ม กิ จการ ล้างอัดรูปห้องภาพสุวรรณไปพร้อมกัน “แต่พอพีช่ ายเบือ่ เขาก็สร้างภาพยนตร์ เรือ่ ง โทน ร่วมกับเปี๊ ยก โปสเตอร์ เพื่อน ของเขาในปี 2512 ถือว่าเป็ นช่วงรุง่ เรือง ที่สดุ ของบ้าน” ชนินทร์เล่า ปั จ จุบัน หน้า ร้า นห้อ งภาพสุว รรณ ได้กลายเป็ นร้านขายโปสเตอร์สำ� หรับ นักสะสมและผูต้ อ้ งการภาพติดฝาผนัง ชนินทร์เล่าขณะน�ำภาพจากกล้องฟิ ล์ม สามใบมาต่อกันในแนวนอนจนปรากฏ เป็ นภาพหัวมุมถนนทัง้ สามทิศของสีแ่ ยก บางขุนพรหมในอดีต พัว กี่: ร้านเย็นตาโฟ รวมความทรงจ�ำ เมื่ อ เดิ น ถึ ง สะพานนรรัต น์ส ถาน ข้ามคลองบางล�ำพู เลีย้ วขวาเข้าถนน พระสุเมรุ ก็มาถึง “ร้านพัว กี”่ ร้านเย็นตาโฟ บนท�ำ เลดั้ง เดิ ม ของครอบครัว ชาวจี น ที่ เ ช่ า ที่ ดิ น ของส�ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น พระมหากษัตริยเ์ ป็ นที่อยูอ่ าศัยตัง้ แต่เมื่อ 80 ปี ก่อน เอิ้ง เจ้าของร้านพัวกี่ ในวัย 63 ปี เล่าว่า เขาและครอบครัวอาศัยอยูช่ นั้ บน ของร้า นเย็ น ตาโฟที่ เ ปิ ด มาได้ 25 ปี
แต่การเช่า ที่ ของส�ำนักงานทรัพ ย์สิน ฯ เริม่ มาตัง้ แต่ยคุ ของบิดาที่อพยพมาจาก ประเทศจีน ซึ่งในสมัยนัน้ ร้านอาหาร บนถนนพระสุเ มรุ มี เ พี ย งร้า นข้า วแกง ร้านอาหารตามสั่ง และร้านก๋วยเตี๋ยว ของชาวจีน เอิง้ จึงเลือกเปิ ดร้านเย็นตาโฟ บนถนนเส้นนี ้ โดยเย็นตาโฟสูตรเด็ดของ ร้ า นมาพร้ อ มเส้ น ใหญ่ ที่ ใ ห้ สั ม ผั ส เหนียวนุ่ม พร้อมด้วยลูกชิน้ ปลา และ เกีย๊ วกุง้ คุณภาพดีขนาดเต็มค�ำ ผสมด้วย น�ำ้ ซุปและซอสสีชมพูรสชาติกลมกล่อม อร่อยถึงขัน้ ซดหมดชาม บรรยากาศภายในร้านสะท้อนภาพ ในอดีตของย่านนี ้ ผ่านการตกแต่งด้วย เครื่ อ งเรื อ นโบราณอย่ า งโคมไฟห้อ ย ทรงเก่า ตูไ้ ม้ตดิ ผนังแบบจีน และชุดโต๊ะ เก้าอีร้ ถไฟอายุกว่า 90 ปี ซึง่ ตกทอดมา จากบิ ด าของเขา หลัง จบการสนทนา เอิง้ จับจ้องไปยังภาพขาวด�ำที่แขวนอยู่ บนผนังใกล้ๆ ภายในภาพมีเด็กผูช้ ายห้าคน ถอดเสือ้ ถ่ายภาพหมูร่ ว่ มกัน นั่นคือความ ทรงจ�ำ ที่ ยัง หลงเหลื อ อยู่ข องเอิ ง้ และ เพื่ อ นสมัยเด็ก เขาเอ่ยทิ ง้ ท้า ยถึง สิ่ง ที่ คิดถึงที่สดุ ว่าเป็ น “รถราง” นอกจากนัน้ ก็มีเพียงสายตาที่โหยหาวันเก่าและเสียง อันแผ่วเบาที่ตอบว่า “คิดถึง”