หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
หน้า
หน้า
ชี วิ ต ของแม่ ผู ้ ต ้ อ งอยู ่ ร ่ ว มกั บ เชื้ อ เอชไอวี และสิ ท ธิ ข องผู ้ ป ่ ว ย
ชี วิ ต ในไร่ ส ้ ม เมื อ งเหนื อ ของแรงงานข้ า มชาติ
4
8
FACEBOOK TWITTER INSTAGRAM WEBSITE nisitjournal
@nisitjournal nisit.journal
หน้า
12
ข้ า วกองทั พ ผั ก หนึ่ ง ไร่ ไ ก่ ห นึ่ ง ตั ว พบระเบี ย บ เบีย ้ เลีย ้ งทหารให้เงินส่วนต่างบ�ำรุงหน่วย ประธาน กมธ.ความมั่ น คงฯ ชี้ อ าหารดี ไ ม่ ดี อ ยู ่ ที่ ผ บ. นักวิชาการเชื่อทหารโปร่งใสเมื่อพลเมืองเข้มแข็ง อนามัยชี้ทางก�ำหนดกับข้าวทหาร
“ผักหนึ่งไร่ไก่หนึ่งตัว” พชร เศาธยะนันท์ อายุ 26 ปี อดีตทหารเกณฑ์ ผลัด 2/2560 ที่กรุงเทพมหานคร สรุปสั้นๆ และระบุอีก ว่าแม้อาหารจะดีกว่าที่ตนคาดไว้ แต่ก็ยังไม่มีคุณภาพ มีผักเป็นส่วนใหญ่ และให้พลังงานน้อย “ช่วงทหารใหม่สิบสัปดาห์แรก เราถูกโรงเลี้ยงบังคับ กินสามมือ้ พอกลับมาเป็นช่วงประจ�ำการ โรงเลี้ยงจะ ไม่ได้ให้ทกุ คนเข้ากิน แต่อาจเลือกเป็นกองร้อยละ 10 คน เพื่อเข้าไปกิน โดยเบี้ยเลี้ยงยังหักเหมือนเดิมทุกอย่าง” พชร อดีตทหารเกณฑ์อธิบายและยอมรับว่าเป็นปกติ เนื่องจากทหารเกณฑ์จะรู้สึกเบื่อจากการวนอาหารซ�้ำ ทุกๆ สัปดาห์ จึงไปซื้ออาหารที่ตัวเองอยากกินมากกว่า
พื้นที่ความคิด
เยือนร้านน�้ำชา แหล่งพบปะสังสรรค์ ของชาวสามจั ง หวั ด ชายแดนใต้
“ผักหนึ่งไร่ไก่หนึ่งตัว” ทหารเกณฑ์โวยสภาพอาหาร รูรั่วของระบบข้าวทหาร อดีตทหารเกณฑ์ระบุ
nisitjournal.press
ไม่ต่างกับ ณั ฐนนท์ พรหมมานนท์ อายุ 27 ปี อดีตทหารเกณฑ์ผลัด 1/2559 ที่จังหวัดอุบลราชธานี ระบุว่า อาหารในแต่ละมื้อจะไม่เหมือนกัน กองทัพจะ เป็ น ผู ้ จั ด มาให้ อาหารส่ ว นใหญ่ ป ระกอบด้ ว ยผั ก เป็นส่วนใหญ่และเนื้อสัตว์มีปริมาณน้อย “จะมีกับข้าวแค่อย่างหรือสองอย่าง ของหวานจะมี แค่ครั้งหรือสองครั้งต่อสัปดาห์ ส่วนใหญ่ก็จะเป็นแกง เขียวหวาน เกาเหลาผักบุ้งถั่วงอก ต้มฟัก ที่จะได้กิน บ่ อ ยๆ สภาพอาหารคื อ ไม่ ดี เ ลย กิ น ได้ แ ค่ พ ออิ่ ม ” ณัฐนนท์ระบุและยังกล่าวว่า ในช่วงฝึกจะถูกบังคับให้กนิ แต่ช่วงที่ประจ�ำการแล้วจะเป็นไปตามความสมัครใจ แต่เบี้ยเลี้ยงค่าอาหารก็ยังถูกหักตามปกติ ซึ่งคนส่วน ใหญ่ จ ะไม่ กิ น จะไปเลื อ กกิ น ข้ า วกั บ ร้ า นค้ า ร้ า นจ่ า เพราะกับข้าวที่กองทัพท�ำซ�้ำซากและไม่อร่อย เมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม 2561 ศรี สุ ว รรณ จรรยา เลขาธิ ก ารสมาคมองค์ ก ารพิ ทั ก ษ์ รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย เข้ายื่นหนังสือตรวจสอบต่อนายกรัฐมนตรีว่าอาหาร ของทหารเกณฑ์ในค่ายแห่งหนึง่ ใน จังหวัดกระบี่ แต่ละมือ้ ไม่พอกินและไม่อร่อย บางมื้อมีแค่น�้ำแกงและลูกชิ้น สองลูกเท่านั้น กรณีดังกล่าวทางกองทัพบกได้ออกมา ปฏิเสธต่อสื่อ และระบุว่าเป็นภาพตัดต่อ
เรื่อง : ทิฆัมพร บุญมี ภาพ : สรรชัย ชัชรินทร์กุล
• พบระเบียบเบี้ยเลี้ยงทหารให้ ส่วนต่างบ�ำรุงหน่วย มติคณะรัฐมนตรีลงวันที่ 3 มีนาคม 2558 ระบุถึง การปรับเบีย้ เลีย้ งพลทหารจาก 75 บาทต่อวัน เป็น 96 บาท ต่อวัน มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ 1 ตุลาคม 2557 จนถึงปัจจุบนั ซึ่งการจัดสรรเบี้ยเลี้ยงดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบของ แต่ละกองทัพ พชร อดีตทหารเกณฑ์ระบุขอ้ มูลว่าตนได้รบั เบีย้ เลีย้ ง 96 บาท โดยมีการหักเป็นค่าอาหารเป็นจ�ำนวน 70 บาท ต่อวัน แบ่งเป็นค่าข้าวสาร (เพื่อใช้หุงประกอบเลี้ยง) 20 บาท ค่ากับข้าว 42 บาท ค่าเชื้อเพลิง 8 บาท แหล่งข่าวทีเ่ ป็นเจ้าหน้าทีส่ ทู กรรมของกองทัพ ระบุวา่ งบประมาณจะถูกจัดสรรจากกรมบัญชีกลางเป็นรายหัว จากนั้นการเบิกจ่ายจะเบิกตามจ�ำนวนคนที่มีอยู่จริง โดยใช้การตรวจนับยอดก�ำลังพล ซึง่ เมือ่ ยอดก�ำลังพลขาด เงินที่ถูกจัดสรรมาจะไปอยู่ในส่วนของก�ำไรการเลี้ยง เพื่อน�ำมาเบิกจ่ายในการจัดเลี้ยงเพิ่มเติม เช่น ขนม หรืออาหารพิเศษในมือ้ ต่อๆ ไป จากนัน้ จึงเป็นการจ่ายจริง ตามจ�ำนวนหัวที่มี ซึ่งการจ่ายจริงนั้นอาจจะมีเงินส่วน ที่เหลือ ซึ่งเงินส่วนนี้จะถูกเก็บไปไว้พัฒนาหน่วย เช่น จัดซื้อพัสดุภัณฑ์ที่จ�ำเป็น หรือบ�ำรุงซ่อมแซมอาคาร อ่านต่อหน้า 2
2
NEWS
| ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 2 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ต่อจากหน้า 1 สอดคล้องกับระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการใช้จ่าย เงินเบีย้ เลีย้ งประจ�ำ พ.ศ.2504 ทีร่ ะบุในข้อ 6 ว่าเงินที่หัก ไว้เป็นค่าประกอบอาหารเลี้ยง ถ้าปรากฏว่ายังมีเหลือ อยู่เกินกว่าได้ใช้จ่ายไป เมื่อผู้มีอํานาจสั่งการเบิกจ่าย ของหน่ ว ยนั้ น จะพิ จ ารณาสั่ ง จ่ า ยเงิ น ดั ง กล่ า วนี้ เพื่อประโยชน์แก่นายสิบพล ทหารกองประจําการ หรือ นักเรียนทหารในหน่วยนั้นได้ ในกรณีนี้ ได้แก่ ประกอบ อาหารเลีย้ งพิเศษ จัดซือ้ สิง่ ของแจก จ่ายเป็นเงินให้รบั ไป (จ่ายคืนเป็นเงิน) จัดหาและซ่อมแซมสิ่งของใช้ราชการ ที่เป็นประโยชน์ และจัดให้มีมหรสพต่างๆ เพื่อความ บันเทิง และระเบียบในข้อ 8 ยังระบุอกี ว่า การจ่ายดังกล่าว ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
• ชี้อาหารดีไม่ดีอยู่ที่ผบ.หน่วย “ค่าประกอบเลี้ยง ถ้าค�ำนวณข้อมูลดีๆ เราจะรู้เลย ว่าจะต้องใช้เงินประกอบเลี้ยงเท่าไร แล้วจะประหยัด เงินได้ เมือ่ คุณด�ำเนินการไปแล้วบางทียอดทหาร 100 คน มากินจริงๆ 50 คน คุณก็ประหยัดค่าอาหารได้ ก็จะกลาย เป็นเงินนอกงบประมาณ” พล.ท.พงศกร รอดชมภู ส.ส.พรรคอนาคตใหม่ และประธานกรรมาธิ ก าร (กมธ.) ความมัน่ คงแห่งรัฐ กิจการชายแดน ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ สภาผู้แทนราษฎรกล่าว ประธานกมธ. ความมั่นคงฯ อธิบายว่า เงินเหลือ จากค่าประกอบเลี้ยงจะกลายเป็นเงินนอกงบประมาณ ส่ ว นมากแล้ ว จะน� ำ ไปบ� ำ รุ ง ในสิ่ ง ที่ ข าด สมั ย ที่ ต น ประจ�ำการการตรวจสอบจะดูจากสภาพของกองร้อย ถ้าผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ สูงกว่าเห็นว่ากองร้อยโทรม ดูแลไม่ดี ผูบ้ งั คับกองพันหรือกองร้อยทีถ่ อื เงินก็อาจจะโดนลงโทษได้ พล.ท.พงศกรยอมรับว่า ระบบในกองทัพอนุญาต ให้ มี ก ารใช้ เ งิ น นอกงบประมาณโดยผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ย แต่ไม่มีการตรวจสอบที่รัดกุม ท�ำให้เกิดการทุจริตเป็น วงจรขึ้น และไม่เพียงเกิดในระบบทหารเกณฑ์ ยังเกิด กับการจ่ายเบี้ยเลี้ยงที่มีก�ำลังพล เช่น โรงเรียนทหาร รวมถึงอีกปัญหาหนึ่งของส่วนต่างจากค่าอาหารก็คือ ระบบงบประมาณ โดยเมื่ อ ท� ำ โครงการเพื่ อ เบิ ก เงิ น ราชการมา เมือ่ สิน้ ปีเงินงบประมาณดังกล่าวต้องไม่เหลือ เพราะการคืนเงินถือว่าหน่วยงานไม่มีประสิทธิภาพใน การบริหารเงิน ซึ่งระบบดังกล่าวท�ำให้เกิดการทุ จ ริ ต อื่ น ๆ เช่ น ซื้ อ ของสู ง กว่ า ราคา เพราะจ� ำ เป็ น ต้องใช้ เงินให้หมด “การทุจริตปกติมันห้ามท�ำ ถ้าผู้บังคับบัญชารู้สึก ต้องระมัดระวังเพราะถูกตรวจสอบตลอดเวลา เขาก็จะ ตรวจสอบลูกน้องเขา แต่ถ้าวันหนึ่ง (ทุจริต) ได้ สองวัน ก็ทำ� ได้ ไปเรือ่ ยๆ สักพักนึงจะทุจริตเป็นขบวนการ ดังนัน้ ต้องท�ำให้ประชาชนมีอ�ำนาจตรวจสอบให้ได้” อดีต นายทหารย�้ำในประเด็นเกีย่ วกับระบบการบังคับบัญชา ที่ใช้ตรวจสอบในปัจจุบัน และกล่าวว่าถ้าระบบเอื้อให้ เงิ น ไปอยู ่ กั บ การดู แ ลของบุ ค คลบุ ค คลหนึ่ ง จะเกิ ด ช่องว่างในการทุจริตได้เสมอ ด้ า นเจ้ า หน้ า ที่ สู ท กรรมของกองทั พ รายหนึ่ ง ยอมรับว่ามีเงินที่เหลือจากการเลี้ยงจริง โดยเงินส่วน ดังกล่าวจะถูกเก็บโดยผู้บังคับกองพัน ซึ่งจะไม่มีการ ตรวจสอบเงินส่วนนี้ แหล่งข่าวยังระบุวา่ “อยูท่ ดี่ ลุ ยพินจิ คนถื อ เงิ น ผู ้ พั น ถื อ เงิ น เท่ า นี้ เขาให้ เ ราไปจ่ า ยเท่ า นี้ เวลาเขา (ผูต้ รวจสอบภายในของกองทัพ) มาตรวจสอบ ก็มาตรวจสอบเฉพาะหลักฐานเบิกจ่าย คุณภาพของ อาหารดีไม่ดีก็อยู่ที่คนถือเงิน”
• ทัพบกแจงขัน ้ ตอนการจ่ายเบีย ้ เลีย ้ ง โปร่งใส พ.อ.วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบกยืนยันเกี่ยวกับ ความโปร่งใสของเบี้ยเลี้ยง ต่อส�ำนักข่าวสปริงนิวส์เมื่อ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 ว่า ปกติ เรื่องของเบี้ยเลี้ยง และเงินเดือนทหาร ในระดับหน่วยปฏิบัติ ส่วนใหญ่จะ มีผบู้ งั คับบัญชาในระดับพันโทหรือพันเอกเป็นผูร้ บั ผิดชอบ ไม่ใช่ในระดับชัน้ นายพล ซึง่ ทีผ่ า่ นมาเรือ่ งสิทธิประโยชน์ ของทหารนั้น ทางผู้บังคับบัญชาให้ความส�ำคัญ โดย เน้นย�ำ้ ให้มกี ารด�ำเนินการอย่างเป็นธรรมโปร่งใสอยูแ่ ล้ว ทั้งนี้ผู้สื่อข่าวติดต่อไปยัง พ.อ.วินธัย สุวารี โฆษก กองทัพบก เพื่อสอบถามเกี่ยวกับเรื่องเบี้ยเลี้ยง และ นโยบายเกี่ยวกับอาหารของทหาร แต่ยังไม่ได้รับการ ติดต่อกลับ • เชือ ่ ทหารโปร่งใสเมือ ่ พลเรือนเข้มแข็ง
ศ.ดร.สุรชาติ บ�ำรุงสุข นักวิชาการด้านยุทธศาสตร์ ทางการทหาร และอาจารย์ ป ระจ� ำ คณะรั ฐ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า องค์กรทหารเป็น หน่วยงานปิด เนือ่ งจากภารกิจของทหารเป็นการสงคราม จึงท�ำให้การออกแบบองค์กรไม่ได้มีในลักษณะเปิด แล้วยิ่งในประเทศไทยหรือประเทศที่ประชาธิปไตยยัง ไม่ได้เข้มแข็งมาก สั ง คมทหารจึ ง มี ประตูที่ไม่ได้เปิด มากให้คนภายนอกเข้าไปรับรู้ เรือ่ งของงบประมาณทหาร วันนีก้ ม็ ขี อ้ ถกเถียงจ�ำนวนมาก เช่น กรณีงบซื้ออาวุธหรือ ทหารเกณฑ์ก็เป็นตัวอย่างของข้อถกเถียงด้านความ โปร่งใส
• ชี้อาหารทหารต้องสอดคล้อง หลักโภชนาการ ส� ำ หรั บ แนวทางที่ เ หมาะสมแก่ ก ารก� ำ หนด โภชนาการส�ำหรับทหาร รศ.ดร.ส�ำอาง สืบสมาน อาจารย์ ป ระจ� ำ สาขาวิ ช ามนุ ษ ย์ นิ เ วศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระบุไว้ในเอกสาร เกี่ ย วกั บ แนวทางการจั ด บริ ก ารส� ำ หรั บ โรงเลี้ ย ง ว่ า การจั ด บริ ห ารอาหารในโรงเลี้ ย งค่ า ยทหารว่ า แม้จะอยู่ภายใต้ข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณ แต่ต้องยึด หลักการที่จัดรายการอาหารที่สร้างความพึงพอใจแก่ ผู้บริโภคระดับหนึ่ง ค�ำนึงถึงความน่ารับประทาน และ ความปลอดภัยในอาหาร ทั้ ง นี้ คู ่ มื อ ธงโภชนาการที่ อ อกโดยกรมอนามั ย กระทรวงสาธารณสุข ระบุวา่ ผูใ้ ช้กำ� ลังและแรงงานมาก ควรได้รับพลังงานอย่างน้อยวันละ 2,400 กิโลแคลอรี่ และก�ำหนดปริมาณอาหารแยกประเภทต่อวัน ได้แก่ ข้าว 720 กรัม ผัก 240 กรัม ผลไม้หั่นพอดีค�ำ 6-8 ค�ำ เนือ้ สัตว์ 180 กรัม นม 1 แก้ว และน�ำ้ มันไม่เกิน 9 ช้อนชา
“ในสังคมที่การเมืองเปิด (รัฐบาลพลเรือน) มีความ เข้มแข็ง จะมีการตรวจสอบการใช้งบประมาณ เพื่อจัด ซื้อยุทโธปกรณ์ เช่น องค์กรทหารในฝั่งตะวันตก แม้จะ มีเรื่องของความลับทางการทหาร แต่ในหลายเรื่องจะ ถูกตรวจสอบในภาคการเมืองหรือภาคประชาสังคม หากจะปรับองค์กรทหารให้โปร่งใสมากขึ้น อาจจะต้อง คิดถึงเรือ่ งทีใ่ หญ่กว่าคือการปฏิรปู ทางการเมือง เพื่อให้ ภาคพลเรือนมีความเข้มแข็งในการตรวจสอบกองทัพ” ศ.ดร.สุรชาติกล่าว รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ในสังคมไทย กองทัพจ�ำกัดการสัง่ สอนให้วา่ นอนสอนง่าย อยู่แต่ในองค์กรตัวเอง ต้องขึ้นตามสายบังคับบัญชา และไม่ ก ระด้ า งกระเดื่ อ งเท่ า นั้ น โดยไม่ สั ม พั น ธ์ กั บ การเป็ น กลไกรั ฐ ที่ ค วรอยู ่ ใ ต้ ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาของ รัฐบาล หรือทีจ่ ริงแล้วสิง่ ทีท่ ำ� งานไม่ให้กระด้างกระเดือ่ ง ขึ้นมาอาจไม่ใช่วินัยที่ฝึก แต่อาจเป็นความสัมพันธ์ ทางสังคมที่กดอีกที เช่น ระบบรุ่น เมื่ อ ถามว่ า วิ ธี ก ารแก้ ป ั ญ หาทุ จ ริ ต ในกองทั พ และในสั ง คมไทยควรท� ำ อย่ า งไร รศ.ดร.อนุ ส รณ์ กล่าวว่า “ง่ายที่สุด คือ สังคมต้องกลับมาเป็นสังคม ที่เคารพในกฎเกณฑ์กติกา และทุกคนต้องอยู่ภายใต้ อย่างทั่วหน้าและเสมอกัน ถ้าไม่เชื่อตรงนั้นยังไงก็แก้ ปัญหาทุจริตไม่ได้ เพราะการคอรัปชั่นคือการยกเว้น กฎเกณฑ์กติกาเพื่อประโยชน์ส่วนตัว”
รายละเอียดค่าครองชีพ ของทหารกองประจ� ำ การ
EDITORIAL / OPINION
กองบรรณาธิการ
หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ที่ปรึกษา : พิชัยวัฒน์ แสงประพาฬ พรรษาศิริ กุหลาบ บรรณาธิการเนื้อหา : ทิฆัมพร บุญมี, สุชานันท์ เสมหิรัญ บรรณาธิการสร้างสรรค์สื่อออนไลน์ : สุประวีณ์ รักเหล่า, ถิราภา เสียงเลิศ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ : ณภัทร เจริญกัลป์ กองบรรณาธิการ : ทิฆัมพร บุญมี, สุชานันท์ เสมหิรัญ, สรรชัย ชัชรินทร์กุล, ณภัทร เจริญกัลป์, ภาวิตา แจ่มคล้าย, วรัญญา บูรณากาญจน์, สุประวีณ์ รักเหล่า, ถิราภา เสียงเลิศ, อินทัช สัตยานุรักษ์ บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา : ผศ.ดร.ณรงค์ ข�ำวิจิตร์ ที่อยู่ : 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร : 0-2218-2140 Facebook : www.facebook.com/nisitjournal Twitter : @nisitjournal Instagram : nisit.journal Website : http://nisitjournal.press
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 |
3
บทบรรณาธิการ
ขาดการรายงานและการควบคุ ม (IUU) ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นั้ น ประเทศไทยก็ถูกทางการสหรัฐอเมริกาลดชั้นอันดับเป็นเทียร์ 3 วรรคแรกของบทกวี “เปิปข้าว” ของ จิตร ภูมิศักดิ์ นักคิด จากปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งสองเหตุการณ์นี้ส่งผลให้ภาครัฐต้อง นักเขียน และศิษย์เก่าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หั น มาใส่ ใ จกระบวนการผลิ ต อาหารต้ น ทางคื อ การประมง เนือ้ หาของกวีบทนีถ้ า่ ยทอดความทุกข์ยากของชาวนา ผูท้ ไี่ ด้ชอื่ ว่า จนภายหลั ง เมื่ อ วั น ที่ 8 มกราคม 2562 คณะกรรมาธิ ก าร เป็นกระดูกสันหลังของชาติ ทัง้ ยังคือกลุม่ ประชากรทีม่ คี วามยากจน สหภาพยุ โ รปก็ได้ปลด IUU ลง นี่เป็นอีกหนึ่งในตัวอย่างของ กลุ่มหนึ่งในประเทศไทย ปัญหาเชิงระบบของสายพานอุตสาหกรรมอาหารในไทยที่ มี ปญ ั หา แม้เวลาจะผ่านมาหลายสิบปี บทกวียังคงเป็นความจริง จนนานาชาติเข้ามากดดันให้รัฐบาลรีบแก้ไข จนถึงวันนี้ วันที่ประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างไทยขึ้นไปอยู่อันดับ 1 อาหารจึงไม่ได้เป็นเพียงภาพโฆษณาที่สวยหรูในฐานะของ ของประเทศที่มีความเหลื่อมล�้ำที่สุดในโลก จากการจัดอันดับ ขึ้นชื่อในไทย แต่เป็นภาพย�้ำเตือนของประเทศที่ก�ำลังมองตัวเอง ของ CS Global Wealth Report 2018 ซึ่งได้รายงานว่าประชากร ว่าเป็นครัวของโลกให้หันมามองสายพานแห่งอุตสาหกรรมอาหาร ร้อยละ 1 ทีร่ ำ�่ รวยทีส่ ดุ ของไทยเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ถึงร้อยละ 66.9 ที่พบปัญหาเชิงโครงสร้างมากมายตามรายทาง มากไปกว่านั้น ของประเทศ อาหารยั ง สามารถสะท้ อ นชี วิ ต และสั ง คมไทยได้ เ ป็ น อย่ า งดี ข้าวในบทกวีของจิตรจึงไม่เป็นเพียงแค่ข้าวหรือเป็นเพียง ในฐานะวั ฒ นธรรมของประเทศ และตั ว คนไทยเองก็ ใ ห้ อาหารที่ไว้ประทังชีวิต แต่เป็นภาพสะท้อนความเหลื่อมล�้ำของ ความส�ำคัญกับวัฒนธรรมการกินมากเป็นพิเศษ ประเทศที่ ต ้ น สายพานการผลิ ต อาหาร มี ค วามเป็ น อยู ่ อ ย่ า ง รั ฐ บาลไทยจึ ง ควรให้ ค วามส� ำ คั ญ แก่ ทุ ก ภาคส่ ว นของ ยากล� ำ บากและมี ห น้ า ที่ รั บ ใช้ ห ่ ว งโซ่ อ าหารที่ ค นไทยทั้ ง อุตสาหกรรมอาหาร ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้บริโภค โดยสร้างมาตรฐาน ประเทศต้องบริโภค ความปลอดภัย ไร้การปนเปื้อน และสร้างโภชนาการที่ดีเพื่อให้ ไม่ เ ฉพาะชาวนาหรื อ อุ ต สาหกรรมเกษตรที่ มี ป ั ญ หา แต่ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล รวมไปถึงต้องเฝ้าระวังไม่ให้นายจ้าง อุตสาหกรรมประมงก็มีปัญหาเช่นกัน เมื่อวันที่ 21 มกราคม ละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของแรงงานภาคการเกษตร และยกระดับ 2558 คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป (EU) ประกาศให้ใบเหลือง สภาพความเป็นอยู่ของแรงงานผู้ผลิตอาหาร จึงจะสมภาคภูมิ กับประเทศไทย ในฐานะประเทศที่ท�ำการประมงผิดกฎหมาย กับการเป็นครัวโลกตามที่รัฐบาลตั้งเป้าหมายไว้ในอนาคต “เปิบข้าวทุกคราวคํา จงสูจําเป็นอาจิณ”
อาหารและห้องครัว ภาระที่แบกรับภายใต้ความเป็น “ผู้หญิง” เรื่อง : วรัญญา บูรณากาญจน์
โดยปกติ แ ล้ ว เรามั ก นึ ก ถึ ง ห้ อ งครั ว ในฐานะที่ เ ป็ น พื้ น ที่ แ สดงออกถึ ง ความเป็นหญิง ไม่วา่ จะเป็นในบทบาทของแม่หรือภรรยาก็ตาม ในขณะเดียวกัน บทบาททั้งสองก็ดูเหมือนจะเป็นบทบาทที่ผูกติดกับความเป็นบ้านเช่นกัน
ลินดา ซิวิเตลโล (Linda Civitello) ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์อาหารได้กล่าวใน หนังสือเรื่อง Cuisine and Culture: A History of Food and People (2007) ว่า “งานที่ เกี่ยวข้องกับอาหารนั้น ในระยะแรกแบ่งด้วยเพศ โดยผู้ชายเป็นคนออกจากบ้านไปล่าสัตว์ และผู้หญิงจะอยู่รอบสถานที่พักอาศัย คอยเก็บพืชผลไม้แทน เพราะพวกเธอต้องใช้ชีวิต วนเวียนกับการตั้งครรภ์ การคลอด และเลี้ยงลูก” ด้วยวิถีชีวิตดังกล่าวจึงเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้หญิงผูกติดกับสถานที่พักอาศัยและอาหาร อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากหากผู้ชายต้องออกไปล่าสัตว์เป็นเวลานาน ผู้หญิงก็ต้อง จัดการกับอาหารเพื่อจะประทังชีวิตของตัวเองและเลี้ยงลูกไปด้วย ในประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คมไทยพบว่ า บทบาทของผู ้ ห ญิ ง สามั ญ ชนในสมั ย อยุ ธ ยานั้ น ส่วนใหญ่คือภาระงานภายในบ้าน อย่างเช่น การปลูกผักและท�ำอาหาร แต่ก็ยังมีบทบาท ทางด้านเศรษฐกิจอยู่บ้าง ขณะที่ผู้หญิงชนชั้นสูงจะมีบทบาทได้แค่เพียงในบ้านเท่านั้น เมื่อพื้นที่ของผู้หญิงมีแค่ในบ้าน อีกทั้งห้องครัวก็เป็นพื้นที่ส�ำคัญของทุกคนภายในบ้าน ความเป็นหญิงจึงแสดงออกผ่านห้องครัว โดยเชื่อมโยงกับ “ภาระหน้าที่” ที่ผู้หญิงต้อง รับผิดชอบ ซึ่งหากผู้หญิงคนไหนท�ำหน้าที่ในห้องครัวได้ดี มี “เสน่ห์ปลายจวัก” คนก็จะ ชื่นชม แต่ถ้าล้มเหลวก็จะโดนติเตียน จนบางคนอาจรู้สึกกดดันว่าตัวเองไม่ใช่ผู้หญิงที่ดี อาหารจึงกลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ประกอบสร้างคุณค่า “ความเป็นหญิง” ในวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ปี 2548 เรื่อง ความสัมพันธ์ ระหว่างเพศสภาพต่อการ ให้คณ ุ ค่าตนเองของสตรี ในกรุงเทพมหานคร ของ กนิษฐา จันทรงาม ที่ศึกษากลุ่มผู้หญิง โสดทั้ ง เลื อ กเองและไม่ ไ ด้เลือกเอง กลุ่ม ผู้ห ญิง ที่ถูก กระท�ำ แม่บ้านและแม่เ ลี้ยงเดี่ยว พบว่าผู้หญิงในกลุ่มทั้งหมด ยังให้ความส�ำคัญกับบทบาททางเพศที่ได้ถูกปลูกฝังมา เช่ น การมีความสามารถในงานบ้านและการท�ำอาหาร ในขณะเดียวกัน ทั้งหมดยังมีความเชื่อว่า ผูห้ ญิงเป็นเพศทีด่ อ้ ยกว่าผูช้ าย นัน่ ท�ำให้ผหู้ ญิงต่างก็พยายามท�ำหน้าทีท่ รี่ บั ผิดชอบให้ได้ หรือ อย่างน้อยทีส่ ดุ ก็สามารถซือ้ อาหารเข้ามาในบ้านได้เพือ่ ท�ำให้ตวั เองมี “คุณค่า” และคุณสมบัติ ที่ดีอย่างที่ผู้หญิงควรจะเป็น
ปรากฏการณ์ดังกล่าวยังคงปรากฏอยู่อย่างต่อเนื่อง อย่างที่เห็นได้ตามกระทู้พันทิปว่า “ผู้หญิงท�ำอาหารไม่เป็นนี่ดูแย่มากไหมคะ?” หรือ “คุณผู้ชายคิดอย่างไรกับผู้หญิงที่ท�ำ อาหารไม่เป็น” ในทางกลับกันก็จะเห็นกระทูอ้ ย่าง “ผูช้ ายท�ำอาหารเป็นแปลกไหม? คุณผูห้ ญิง คิดว่าไง” หรือ “ผู้หญิงจะคิดยังไงถ้าผู้ชายท�ำอาหารเก่งกว่าตัวเอง” ทั้งหมดเป็นเสียงสะท้อน ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงอันเหนี่ยวแน่นระหว่างคุณค่าของผู้หญิงและงานครัว เป็นที่น่าสนใจว่า การผลิตซ�้ำเรื่องบทบาททางเพศปรากฏอยู่ในระบบการศึกษาขั้นต้น ของบ้านเรา จากงานวิจัยเรื่อง มิ ติหญิ งชายในแบบเรี ยนของไทย: การวิ เคราะห์ เนื ้อหา ปี 2562 ของ ตรีวิทย์ อัศวศิริศิลป์ อาจารย์ประจ�ำบัณฑิตวิทยาลัยเซาท์อีสต์บางกอก ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาแบบเรียนไทย โดยยกตัวอย่างจากหนังสือเสริมประสบการณ์ เรื่อง ครอบครัวของฉัน ว่า ขณะที่ผู้ชายใส่เครื่องแบบท�ำงาน แต่ผู้หญิงจะใส่เสื้อผ้ากันเปื้อน ในครัว และยังมีภาพจากบทเรียนที่แสดงภาพให้เห็น “แม่” ขณะก�ำลังท�ำอาหารและ “พ่อ” ก�ำลังอ่านหนังสือพิมพ์ในห้องรับแขก ทั้งนี้ภาระดังกล่าวอาจน�ำไปสู่ปัญหาทางจิตใจได้ อย่างเช่น กรณีของหญิงชาวอเมริกัน ชื่อ ลิซ เลนซ์ (Lyz Lenz) ผู้เขียนบทความ I’m a Great Cook. Now That I’m Divorced, I’m Never Making Dinner for a Man Again ในเว็บไซต์ glamour.com เธอเล่าเหตุการณ์ ตั้งแต่ช่วงที่มีความสุขกับการท�ำอาหารกระทั่งมันกลายเป็นความกดดันและเครียดเมื่อสามี มักจะถามว่า “คุณจะท�ำอาหารเย็นอะไร” อยู่เสมอๆ แม้ปัญหาต่างๆ ที่เ กิดขึ้นนี้จะดูหนักหน่วง แต่เราก็พบตัวอย่างของความพยายาม ขับเคลื่อนเพื่อเปลี่ยนแปลงจากหลายๆ แห่ง เช่น โรงเรียนโกเลฮิโอ มอนเตกัสเตโล (Colegio Montecastelo) ในสเปนที่ จั ด สอนให้ เ ด็ ก ผู ้ ช ายท� ำ งานบ้ า นเพื่ อ ลดความไม่ เ ท่ า เที ย ม ทางเพศ พวกเขาเรียนทั้งการท�ำอาหาร การเย็บผ้าและการท�ำความสะอาดบ้าน นั่นท�ำให้ นักเรียนชายเข้าใจว่าการรับผิดชอบบ้านนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิด หรือ การเคลื่อนไหว ขององค์กรภาคประชาชนอย่างศูนย์ทรัพยากรผู้ชายของรวันดา (The Rwanda Men’s Resource Centre) ซึ่งจัดโครงการสอนให้ผู้ชายท�ำอาหารและงานบ้าน โดยเชื่อว่าจะท�ำให้ ผู้ชายเข้าใจถึงความเหนื่อยของผู้หญิงในบ้าน และสร้างมุมมองที่เท่าเทียมต่อเพศตรงข้าม จากรายงานของ BBC World เรื่อง How Cooking and Cleaning Transformed a Violent Man ในปี 2560 เผยให้เห็นว่า สองปีหลังจากการจัดโครงการ คู่รักที่เข้าร่วมมีการใช้ ความรุนแรงต่อกันน้อยลงเมื่อเทียบกับคู่ที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม จากตัวอย่างของความพยายามดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า อย่างน้อยที่สุด การเปลี่ยนแปลง มุ ม มองต่ อ หน้ า ที่ ภ ายในบ้ า นจากการแบ่ ง หน้ า ที่ ต าม “บทบาททางเพศ” ไปเป็ น การช่ ว ยกั น รับผิดชอบพื้นที่บ้านนั้น ท�ำให้มุมมองที่มีต่อเพศเองเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น และเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาและลดภาระที่ต้องแบกรับของผู้หญิง
ไม่ใช่ให้การท�ำอาหารและห้องครัวเป็น “ภาระที่ต้องแบกรับ” ของคนที่เกิดมาเป็น ผู้หญิงแต่เ พียงฝ่ายเดียว
4
SOCIAL ISSUE
| ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
มารดาผู้ติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย ชีวิตภายใต้ความกลัวและความไม่รู้ในเรื่องสิทธิที่ตนพึงมี เรื่อง-ภาพ : สุชานันท์ เสมหิรัญ และ ภาวิตา แจ่มคล้าย “เราไม่ รั บ รองนะว่ า ลู ก คุ ณ จะปลอดภัย”
ข้อความดังกล่าวอาจไม่ใช่สงิ่ ทีผ่ เู้ ป็นแม่ อยากฟั ง จากปากของแพทย์ ผู ้ รั ก ษา โดยเฉพาะกลุ่มมารดาที่มีความเสี่ยงสูง ด้านสุขภาพอย่างมารดาผู้ติดเชื้อเอชไอวี แต่ นั่ น คื อ ค� ำ พู ด จริ ง ที่ ค นกลุ ่ ม นี้ ใ น ประเทศไทยต่างประสบพบเจอมาตัง้ แต่ใน อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยไม่สามารถลุกขึ้น มาปกป้อง “สิทธิ” ของตนเองได้เลย ในปี 2559 องค์ ก ารอนามั ย โลก (World Health Organization: WHO) มอบเกียรติบตั รให้กบั ประเทศไทยในฐานะ ประเทศที่ประสบความส�ำเร็จในการยุติ การถ่ายทอดเชือ้ เอชไอวีและซิฟลิ สิ จากแม่ สู่ลูกตามเป้าหมายโลก ถือเป็นประเทศ แรกของเอเชี ย และเป็ น ประเทศที่ ส อง ของโลกรองจากคิวบา กรมอนามั ย ระบุ ว ่ า ประเทศไทยมี เป้ า หมายในการแก้ ไ ขปั ญ หาโรคเอดส์ คือ ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ ไม่มีผู้เสียชีวิต จากเอดส์ ไม่มกี ารเลือกปฏิบตั ิ และทีส่ ำ� คัญ มากที่ สุ ด คื อ ลดการติ ด เชื้ อ รายใหม่ ที่ มี ผลมาจากการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจาก แม่สู่ลูกให้กลายเป็นศูนย์ภายในปี 2573 น�ำมาสูก่ ารขอความร่วมมือจากแม่ผตู้ งั้ ครรภ์ เรื่องความใส่ใจและการดูแลการตั้งครรภ์ ของตนเองตั้งแต่แรก หนึ่งในมาตรการส�ำคัญที่แม่ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีและบุตรต้องปฏิบัติตามคือ เด็กที่ เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีต้องได้รับยา ต้ า นไวรั ส ที่ มี ฤ ทธิ์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เพื่ อ ป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ และรั บ นมผสมเพื่ อ ทดแทนนมแม่นานถึง 18 เดือน ซึง่ แนวคิดนี้ ได้ รั บ การยอมรั บ เป็ น อย่ า งมาก ทั้ ง ใน ประเทศไทยและในอี ก หลายประเทศ เ พ ร า ะ มี ตั ว เ ล ข แ ส ด ง ห ลั ก ฐ า น ผ ล การด�ำเนินงานปี 2559 และ 2560 อย่าง ชั ด เจนถึ ง อั ต ราการติ ด เชื้ อ เอชไอวี ใ น เด็ ก ทารกแรกเกิ ด ที่ ล ดลงเหลื อ เพี ย ง ร้อยละ 1.80 และร้อยละ 0.92 ตามล�ำดับ ในปี 2561 องค์การอนามัยโลกและ องค์ ก ารทุ น เพื่ อ เด็ ก แห่ ง สหประชาชาติ (United Nations Childre’s Fund: UNICEF) ได้เผยแพร่รายงานการด�ำเนิน การเรือ่ งการเลีย้ งลูกด้วยนมของแม่ผตู้ ดิ เชือ้ เอชไอวี โดยระบุใจความส�ำคัญไว้ดังนี้ มารดาทีม่ ีเชือ้ เอชไอวีสามารถเลีย้ งลูก ด้วยนมแม่ได้ โดยไม่มีผลกระทบด้านลบ ต่อสุขภาพของตนเองและสุขภาพของลูก เมื ่อมารดาเหล่ านี ้กินยาต้านไวรัสอย่ าง สม�่ ำ เสมอตลอดระยะเวลาที ่ใ ห้น มบุต ร ความเสี ่ยงในการแพร่ เชื ้อเอชไอวี ไปสู่ลูก ของพวกเขานัน้ จะอยู่ในระดับที ต่ �่ ำมาก
แนวทางปรับปรุงในการให้นมทารก และเรื่องเอชไอวีของ WHO และ UNICEF ในปี 2559 ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า การรั ก ษาด้ ว ย ยาต้า นไวรัส (ART) นั้นมีประสิทธิภาพ ในการลดการแพร่ เ ชื้ อ ไวรั ส ระหว่ า ง ตั้ ง ครรภ์ แ ละให้ น มบุ ต รอย่ า งมาก โดย แนวทางดังกล่าวได้เน้นย�้ำและแนะน�ำให้ สตรีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ตั้งครรภ์และให้นม บุตรลงทะเบียนในการดูแลและเริม่ การรักษา ด้วยยาต้านไวรัส เพื่อปกป้องสุขภาพของ ตนเองและลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อ เอชไอวีไปยังทารก • สิทธิผู้ป่วยในประเทศไทย ในประเทศไทยมี ก ารบั ญ ญั ติ เ รื่ อ ง สิท ธิผู้ป่ว ยไว้ชัดเจนในค�ำประกาศสิทธิ และข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วยที่ร่วมกันออก โดยผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ด้ า นสุ ข ภาพ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภา เ ภ สั ช ก ร ร ม ทั น ต แ พ ท ย ส ภ า ส ภ า กายภาพบ� ำ บั ด สภาเทคนิ ค การแพทย์ และคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ ในวันที่ 12 สิงหาคม 2558 ว่าด้วยสิทธิ 9 ข้อ โดยข้อที่ 2 และ 3 ระบุว่า ผู้ ป่ วยทุ ก คนมี สิ ท ธิ ขั้น พื ้น ฐานที ่ จ ะ ได้ รั บ การรั ก ษาพยาบาลและการดู แ ล ด้า นสุข ภาพตามมาตรฐานวิ ช าชี พ จาก ผู้ป ระกอบวิ ช าชี พ ด้า นสุข ภาพโดยไม่ มี การเลื อกปฏิ บั ติ ตามที ่ บั ญ ญั ติ ไว้ ใ น รัฐธรรมนูญ ผูป้ ่ วยทีข่ อรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิ ได้รับทราบข้อมูลที ่เป็ นจริ งและเพี ยงพอ เกี ่ยวกับการเจ็บป่ วย การตรวจ การรักษา ผลดี และผลเสี ยจากการตรวจรักษาจาก ผูป้ ระกอบวิ ชาชี พด้านสุขภาพ ด้วยภาษา ทีผ่ ปู้ ่ วยสามารถเข้าใจได้ง่าย เพือ่ ให้ผปู้ ่ วย สามารถเลื อกตัดสิ นใจในการยิ นยอมหรื อ ไม่ยินยอมให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ปฏิ บั ติ ต่ อ ตน เว้ น แต่ ใ นกรณี ฉุ ก เฉิ น อันจ� ำเป็ นเร่ งด่วนและเป็ นอันตรายต่อชีวิต สิ ท ธิ ผู ้ ป ่ ว ยในประเทศไทยไม่ ไ ด้ มี การระบุไว้เป็นกฎหมายโดยตรงเหมือนกับ หลายประเทศทั่ ว โลก เช่ น ในประเทศ อั ง กฤษที่ มี ก ารบั ญ ญั ติ ก ฎบั ต รผู ้ ป ่ ว ย (Patient’s Charter) เพื่อวางกรอบหลัก เกณฑ์การให้บริการสาธารณสุขแห่งชาติ (National Health Service) ในประเทศ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ผรู้ บั และผูใ้ ห้การรักษา หรืออย่างในประเทศเยอรมนีที่เสรีภาพ ส่วนบุคคลในการเคลื่อนไหว (Personal Freedom of Movement) ไม่ว่าจะเป็น บุ ค คลธรรมดาหรื อ ผู ้ ป ่ ว ยย่ อ มได้ รั บ การคุ้มครองตามประมวลกฎหมายอาญา ของประเทศ ซึ่ ง สิ ท ธิ ผู้ป่วยในประเทศไทย มี ป รากฏไว้ เ พี ย งในรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติ
คุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค พ.ศ.2522 เท่ า นั้ น อย่ า งไรก็ ดี แม้ สิ ท ธิ ดั ง กล่ า วจะไม่ ถู ก บรรจุ เ ข้ า ไปในตั ว กฏหมายอย่ า งเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร แต่ยงั คงมีความสอดคล้อง ด้านความหมายของหลักสิทธิมนุษยชนสากล กล่ า วคื อ บุ ค คลมี สิ ท ธิ ที่ จ ะตั ด สิ น ใจใน กิจการส่วนตัวต่างๆ ด้วยตนเอง แสดงให้เห็น เสรี ภ าพและอิ ส ระในการเลื อ กแนวทาง การด� ำ รงชี วิ ต โดยเฉพาะกั บ ผู ้ ป ่ ว ยที่ ควรได้ รั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ แนวทาง การรั ก ษาเพื่ อ สนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจ เลื อ กการรั ก ษาที่ เ หมาะสมที่ สุ ด กั บ ตั ว ผู ้ ป ่ ว ยเอง “นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา” ได้ เ ดิ น ทางไปยั ง โรงพยาบาลระดั บ อ� ำ เภอแห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เพื่ อ พู ด คุ ย กั บ ผู้ที่อยู่ร่วมกับเอชไอวี และประธานมูลนิธิ ผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเอชไอวีเกี่ยวกับสิ่งที่ คนเหล่านี้ในฐานะผู้รับแนวทางการรักษา และผู ้ ท� ำ งานในสถานสาธารณสุ ข ต้ อ ง เผชิญ รวมถึงให้ความเห็นต่อการปฏิบตั งิ าน ในสถานพยาบาลของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข
• เสียงของ “คน” ที่อยู่ร่วม กับเอชไอวี “ไม่ รู ้ เ ลยว่ า นมแม่ จ ะให้ ไ ด้ เรากลั ว มากด้วย เพราะหมอเขาก็ห้ามมาตลอด” โกศล หรื อ พ่ อ ใหญ่ โ กศล ตามค� ำ เรี ย ก ของชาวบ้านในแถบภาคอีสานคือพ่อของ น้ อ งบี (นามสมมุ ติ ) เด็ ก สาวผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวีที่เพิ่งให้ก�ำเนิดลูกชายตัวน้อยวัย 1 ขวบ เล่าให้เราฟังว่านี่คือครั้งแรกที่เขา รับรู้ว่ามารดาหรือลูกสาวของเขามีสิทธิ์ เลือกเลี้ยงลูกด้วยนมของเธอได้ เกษตรกรวัย 50 ปีเล่าว่า ตลอดระยะเวลา 1 ปี ที่ ต นไปรั บ นมผงแทนน้ อ งบี ตนรู ้ เพี ย งอย่ า งเดี ย วว่านี่เป็นสิ่งที่พึงกระท�ำ เพราะกลั ว ว่ า หลานจะเสี่ ย งได้ รั บ เชื้ อ ไปด้วย จากการทีล่ กู ก็ตดิ เชือ้ จากตนไปแล้ว คนหนึ่ง ดังนั้นการตัดสินใจที่จะให้ลูกสาว ให้นมตัวเองนั้นจึงเป็นการเสี่ยงเกินไป
“แต่ถ้าหมอเขาอนุญาต ถ้าเขารับรอง ว่ามันปลอดภัยกับเราจริงๆ ก็อยากให้ลูก ให้นมแม่ เพราะสารอาหารมันมากกว่า หมอเขาบอกว่ า ให้ กิ น นมผงอย่ า งเดี ย ว ห้ามกินนมแม่เด็ดขาด ผมก็คดิ ไปทางเดียว น่ะสิ” พ่อใหญ่เล่าให้ฟังพร้อมกับหัวเราะ และส่ายหน้าเบาๆ กับตัวเอง “หนู ไ ม่ เ ข้ า ใจค� ำ ว่ า ลิ ด รอนสิ ท ธิ มันหมายถึงอะไร” น้องบี ลูกสาวพ่อใหญ่ โกศล ถามกลับขณะที่พูดคุยเกี่ยวกับเรื่อง การให้นมของมารดาผูต้ ดิ เชือ้ และเรือ่ งสิทธิ ผู้ป่วย เธอไม่เข้าใจว่าค�ำว่า “ลิดรอน” และ “สิทธิ” มีความหมายว่าอย่างไร “ไม่แน่ใจ ว่ารู้สึกอย่างนั้นไหม แต่ก็เสียใจนิดหนึ่ง” แม่ลูกอ่อนกล่าว ด้าน เพ็ญศรี แม่บ้านวัย 47 ปี ผู้อาศัย อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นแสนสุ ข ในอ� ำ เภอเดี ย วกั น เล่าว่า เธออยู่กับสามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีและ มีลูกด้วยกัน เธอเองมีผลเลือดต่าง และ เลื อ กที่ จ ะเลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมตั ว เอง ด้ ว ย เหตุ ผ ลที่ ต นเองตรวจไม่ พ บเชื้ อ เอชไอวี และเชื่อในประสิทธิภาพของยาต้านไวรัส
ที่สามีรับ “เขา (หมอ) พูดกับเราว่าคุณจะ เชื่อหมอหรือจะเชื่อใคร ถ้าไม่เชื่อหมอก็ ไม่ต้องมารักษา” เพ็ญศรีเล่าเหตุการณ์ที่ เธอเดิ น ทางไปยั ง โรงพยาบาลประจ� ำ อ� ำ เภอเพื่ อ ขอให้ ห มอตรวจผลเลื อ ดซ�้ ำ เพราะเธอต้องการทีจ่ ะแน่ใจว่าตนจะให้นม ตัวเองกับลูกได้จริงๆ หญิ ง ผู ้ มี ผ ลเลื อ ดต่ า งผู ้ นี้ บ รรยาย ความกลั ว ผ่ า นสี ห น้ า เคล้ า ความกั ง วล ปนกับความอับอายว่า เธอมีความกลัว และความกดดันมากว่าจะถ่ายทอดเชือ้ ทีต่ น อาจได้รับจากสามีไปสู่ลูกผ่านการให้นม และเธอหวังว่าตอนนั้นจะได้รับค�ำแนะน�ำ และการสนั บ สนุ น ที่ ดี จ ากหมอ แต่ สิ่ ง ที่ เธอได้ รั บ กลั บ มาคื อ ความไม่ พ อใจจาก เจ้าหน้าที่ ด้วยเหตุผลและค�ำต่อว่าเรื่อง การใช้งบสวัสดิการรัฐที่ฟุ่มเฟือย
SOCIAL ISSUE
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 |
“ต้องให้ความรู้หมอในการเคารพสิทธิของ ผู้ป่วยด้วย ไม่ใช่ไปฟัดเฟียดจนคนไข้กลัว”
• สิ่งที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีต้อง เผชิญในสถานพยาบาล “ค�ำแรกที่เขา (เจ้าหน้าที่) ถามทุกครั้ง ที่ ม าตามนั ด คื อ ตั ด สิ น ใจได้ ห รื อ ยั ง จะท�ำหมันไหม เด็กก็ถามกลับว่า ถ้าหนูไม่ ท�ำหมันจะเกิดอะไรขึ้น เขาก็จะให้ข้อมูลที่ รอบด้านเฉพาะของเขาว่า เราไม่รับรองนะ ว่าลูกคุณจะปลอดภัย” ศรัญญา บุญเพ็ง ประธานมูลนิธิผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเอชไอวี เล่าให้ฟงั ถึงประการณ์การท�ำงานกว่า 16 ปี ในโรงพยาบาลแห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด อุบลราชธานี เธอยังเล่าอีกว่าเจ้าหน้าที่มักใช้คำ� พูด เชิงข่มขูว่ า่ การมีลกู ในอนาคตของผูต้ ดิ เชือ้ เป็นเรือ่ งยุง่ ยาก ในเชิงตัดสินใจแทนผูป้ ว่ ย และให้ความหมายต่อการตั้งครรภ์ของคน กลุ ่ ม นี้ ว ่ า เป็ น เรื่ อ งที่ ไ ม่ มี ใ ครอยากจะ รับผิดชอบหรือสนับสนุน เพราะเป็นปัญหา “ผู้หญิงพอได้รับข้อมูลแบบนี้ซ�้ำๆ จน กลายเป็ น ความเคยชิ น ก็ ท� ำ ให้ เ กิ ด การขาดความมั่ น ใจในตั ว เองในเรื่ อ ง ของการตัดสินใจว่า เขาจะปกป้องตัวเอง เนื้อตัวร่างกายของตัวเองอย่างไร ท�ำให้ เขารูส้ กึ เก็บกดและไม่กล้าทีจ่ ะพูดความรูส้ กึ ของตัวเอง” ศรัญญามองว่าการให้ข้อมูล ด้านเดียวแก่ผป้ ู ว่ ย ทัง้ การรักษาและการให้นม เป็นการลิดรอนสิทธิผู้ป่วยอย่างเต็มประตู เนื่ อ งจากมารดาไม่ มี สิ ท ธิ ท่ี จ ะคิ ด และ ตัดสินใจเอง นอกจากนี้เจ้าหน้าที่ยังขาด ความเข้าใจในเรื่องเอชไอวีอย่างแท้จริง โดยเฉพาะเรื่องของทัศนคติทางลบมีผล ต่อการให้บริการในสถานพยาบาลระหว่าง เจ้าหน้าที่และผู้ป่วย “ถ้าไม่เอานมมาเป็นตัวบังคับ เด็กจะ ถู ก ท� ำ ให้ ห ายไปจากระบบ อย่ า งเช่ น ถ้ า แม่ ม าคลอดแล้ ว ไม่ ม ารั บ นมจาก โรงพยาบาล เด็กจะไม่ได้มาตรวจหาซีซอี าร์ หรือการตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อเอชไอวี ในเลือดของเด็ก ซึง่ เด็กต้องตรวจสามครัง้ ” ศรัญญาอธิบายกลไกของขัน้ ตอนการรับนม และความเสี่ ย งหรื อ ผลกระทบที่ อ าจ เกิ ด ขึ้ น ตามมา หากมารดาผู ้ ติ ด เชื้ อ ปฏิเสธการรับนมผง “โรงพยาบาล ยิง่ ใหญ่ ยิง่ เกิดการตีตรา ระบบก็ยิ่งแข็ง โดยกับเฉพาะผู้ให้บริการ” ศรั ญ ญาชี้ ว ่ า มารดาผู ้ ติ ด เชื้ อ มั ก โดน กดดั น ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนแรกที่ เ ข้ า มารั บ การรักษาและรับค�ำแนะน�ำ และมักโดน
ตั้งค�ำถามเกี่ยวเรื่องส่วนตัว เช่น ลูกเป็น อย่ า งไร ท� ำ ไมไม่ มี พ ่ อ พ่ อ เด็ ก ไปไหน ท้องได้อย่างไร ติดเชื้อได้อย่างไร ซ�้ำไป ซ�ำ้ มาในลักษณะนีจ้ นกลายเป็นกระบวนการ ที่ถูกส่งต่อ ประธานมูลนิธิให้ความเห็นว่า สิทธิ จะเกิ ด ขึ้ น ได้ ต ่ อ เมื่ อ ผู ้ ก� ำ หนดนโยบาย อย่ า งรั ฐ บาลเริ่ ม แก้ ไ ขอย่ า งเข้ า ใจ “สุดท้ายมันก็ขึ้นอยู่ที่รัฐทั้งนั้น แม่เด็กเขา ยังไม่รู้เลยว่าเขามีสิทธิ เพราะเขาไม่เคย ได้ รั บ สิ ท ธิ หรื อ ถู ก เสนอทางเลื อ ก มี แ ต่ Guideline (แนวปฏิบัติ) อย่างเดียวที่เขา (รัฐบาล) ให้” • มุ ม มองของบุ ค คลากร ทางการแพทย์ตอ ่ แนวทาง สาธารณสุขในไทย ศ.เกียรติคณ ุ น.พ.ประพันธ์ ภานุภาค ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร ศู น ย ์ วิ จั ย โ ร ค เ อ ด ส ์ สภากาชาดไทย (คลิ นิ ก นิ ร นาม) ชี้ ว ่ า
ผอ.คลิ นิ ก นิ ร นามเผยว่ า หลายครั้ ง การปฏิ เ สธไม่ รั บ นมผงของแม่ ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี มักน�ำมาซึง่ ผลกระทบในการรักษา ที่ไม่ต่อเนื่อง “ถ้าไม่เชื่อหมอ จะมารักษา กั บ ฉั น ก็ มี ป ั ญ หา ล� ำ บากแล้ ว นะ ถ้ า ไม่ เชื่ อ หมอ ลู ก ติ ด เชื้ อ ไป ฉั น ไม่ รู ้ ด ้ ว ยนะ ไม่รับรองนะ แค่พูดอะไรแบบนี้ก็จบแล้ว เพราะฉะนั้นต้องให้การศึกษาต่อบุคคล ทางการแพทย์ ใ นการเคารพสิ ท ธิ ข อง ผู ้ ป ่ ว ยด้ ว ย” “คนไข้เองต้องรู้จักสิทธิ ต่อสู้เพื่อสิทธิ ที่มีอยู่ จะรู้จักสิทธิได้ก็ต้องมีคนสอนเขา มีข้อมูลให้เขาอ่าน จะต่อสู้สิทธิได้ก็ต้องมี คนช่วยเขาต่อสู้ องค์กรเอกชนที่ท�ำงาน ด้านเอดส์จะช่วยรณรงค์เรื่องนี้ได้ก็ต้อง เข็มแข็ง ต้องช่วยปกป้อง เป็นปากเสียง เป็ น ที่ ร ้ อ งเรี ย นของคนไข้ ห รื อ เหยื่ อ ช่ ว ยด� ำ เนิ น การให้ ถึ ง ที่ สุ ด ” ผอ.คลิ นิ ก นิ ร นามให้ความเห็นว่า เวลานี้คือเวลาที่ สมควรแก่ ก ารร่ ว มมื อ ของหลายฝ่ า ยใน เรื่องสิทธิของผู้ป่วย โดยเฉพาะภาครัฐที่มี อ� ำ นาจในการเข้ า ไปเจรจาไกล่ เ กลี่ ย ฟ้องร้องในเรื่องสิทธิต่างๆ เหล่านี้ “ทั้ ง ภาครั ฐ กรมอนามั ย หมอและ สมาคมวิ ช าชี พ เองจะได้ ค� ำ นึ ง ถึ ง เรื่ อ ง ของสิทธิ ดูข้อมูลให้ถี่ถ้วนเพราะทุกอย่าง ไม่ใช่ 100% ต้องดูเจตนาของคนไข้เป็นหลัก เราต้ อ งท� ำ ทุ ก อย่ า งโดยมี ค นไข้ เ ป็ น
“ค�ำแรกที่เขา (เจ้าหน้าที่) ถามทุกครั้งที่มาตามนัดคือ ตั ด สิ น ใจได้ ห รื อ ยั ง จะท� ำ หมั น ไหม เด็ ก ก็ ถ ามกลั บ ว่ า ถ้าหนูไม่ทำ� หมันจะเกิดอะไรขึน ้ เขาก็จะให้ขอ ้ มูลทีร่ อบด้าน เฉพาะของเขาว่า เราไม่รับรองนะว่าลูกคุณจะปลอดภัย” ศรัญญา บุญเพ็ง
มารดาทุ ก คน รวมถึ ง มารดาผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวีควรได้รบั ทางเลือกและสิทธิในการ ให้ น มบุ ต ร อี ก ทั้ ง ยั ง ควรได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ แน่ชัดและครบถ้วนอย่างยุติธรรมโปร่งใส “ต้องใช้ข้อมูลที่ครบถ้วน ข้อมูล U=U (Undetectable = Untransmittable) ก็ทำ� ให้การตัดสินใจชัดขึน้ ระบุขอ้ ดี ข้อเสีย เป็นอย่างไร แล้วให้เขา (ผูป้ ว่ ย) ตัดสินใจเอง ไม่ ค วรไปบั ง คั บ ” นพ.ประพั น ธ์ แ นะน� ำ แนวทางทีน่ ำ� ไปสูก่ ารได้รบั สิทธิของผูต้ ดิ เชือ้ ทั้ ง ยั ง สนั บ สนุ น ให้ สื่ อ กระจายข้ อ มู ล ใน เรื่องสิทธิของผู้ป่วยให้เข้าถึงสาธารณะ มากขึ้นในทุกครัวเรือน นพ.ประพันธ์เห็นว่าผู้ป่วยในประเทศ ไม่มีอ�ำนาจมากพอในการยืนหยัดในเรื่อง สิ ท ธิ ข องตน ซึ่ ง มี ส าเหตุ จ ากการที่ เจ้าหน้าที่ในสถานพยาบาลมักให้ข้อมูล เพียงด้ า นเดี ย วมาโดยตลอด รวมถึ ง ยัง มีการเหมารวมและแบ่งแยกจากความเชือ่ และความเข้ า ใจผิ ด ของสั ง คมรอบข้ า ง
จุ ด ศู น ย์ ก ลาง ไม่ ใ ช่ เ อาตั ว หมอเป็ น จุดศูนย์กลาง เขาไม่เอาก็อย่าไปโมโหเขา ไปขู่เขา แต่ไม่ใช่ว่าหมอผิด หมอเขาก็มี วิธีการของเขา แต่ต้องปรับปรุงวิธีการที่ จะตอบสนองกั บ คนไข้ ที่ ไ ม่ เ ชื่ อ เรา ทุ ก อย่างมันต้องท�ำความเข้าใจกัน ไม่ใช่ใคร ผิดใครถูก หรือไปด่าใคร” นพ.ประพันธ์ กล่าวด้วยน�้ำเสียงหนักแน่น • ปั ญ หาสาธารณสุ ข ไทย และแนวทางการแก้ ไ ข เรื่องการให้สิทธิผู้ป่วย รศ.ดร.สิรมิ า มงคลสัมฤทธิ์ รองคณบดี ฝ ่ า ย วิ จั ย แ ล ะ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ค ณ ะ สาธารณสุ ข ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มองปัญหาเรื่องสาธารณสุข ต่ อ การให้ สิ ท ธิ ผู ้ ป ่ ว ยว่ า เป็ น เรื่ อ งของ การสือ่ สาร โดยเฉพาะในกลุม่ ของผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี รศ.ดร.สิ ริ ม าชี้ ว ่ า บุ ค ลากร ทางการแพทย์ต้องมีความรู้ว่าจะสื่อสาร
5
ให้คนเป็นแม่สามารถที่จะเข้าใจว่าเรื่อง การให้ น มแม่ กั บ ลู ก มี ผ ลดี ห รื อ ผลเสี ย อย่างไร โดยไม่ใช้วิธีการกึ่งบังคับมาเป็น แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ไ ม่ ใ ห้ ท างเลื อ กหรื อ การตกลงร่วมกัน ดังนั้นหากจะท�ำให้เกิด การเข้ า ใจที่ ชั ด เจน จึ ง ต้ อ งมี เ รื่ อ งของ กระบวนการสื่อสาร (Communication) หรื อ การให้ ค� ำ ปรึ ก ษา (Counselling) เข้ามาช่วยเหลือ “ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี อ าจมองว่ า ตน ด้อยกว่า เลยไม่กล้าและกลัว” นักวิชาการ ด้ า นสาธารณสุ ข ศาสตร์ อ ธิ บ ายถึ ง เหตุการณ์ที่อาจท�ำให้เกิดการถูกลิดรอน สิ ท ธิ การที่ ม ารดาผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี อ าจ เคยมีประสบการณ์หรือเห็นประสบการณ์ การถูกระท�ำบางอย่างในอดีตจากคนที่มี อ�ำนาจมากกว่า จึงท�ำให้เกิดความกลัวใน การตัง้ ค�ำถามหรือมีขอ้ ขัดแย้งบางประการ ที่อาจจะน�ำมาสู่การกระท�ำบางอย่างของ เจ้าหน้าที่ เช่น การถูกดุดา่ หรือติเตียน ทัง้ ที่ เป็นเรื่องสิทธิของตัวเองที่สามารถท�ำได้ “ผู้ให้ค�ำปรึกษา เวลาอยู่กับเรื่องเดิมๆ ซ�้ ำ ๆ อาจอยู ่ ใ นภาวะชิ น ชา เลยรู ้ สึ ก ว่ า เรื่องพวกนี้ไม่ได้มีผลกระทบทางจิตใจต่อ ผูท้ มี่ ารับบริการ เขาควรต้องกลับมา ทบทวน ว่าบางทีสิ่งที่ท�ำมันอาจเหมือนเป็นกิจวัตร ประจ�ำวันทีท่ ำ� ได้ แต่มนั ไม่ใช่กจิ วัตรประจ�ำวัน ของผูป้ ว่ ยทีค่ วรต้องมาเจอ” รศ.ดร.สิรมิ ากล่าว “พอไม่รู้ว่าตัวเองมีสิทธิอะไร ก็ไม่รู้ว่าช่อง ทางในการรับรูข้ อ้ มูลในเรือ่ งสิทธิคอื ทางไหน” รศ.ดร.สิรมิ าแนะน�ำว่าทัง้ ฝ่ายบุคลากร ทางการแพทย์และผู้ป่วยควรสื่อสารกัน โดยเจ้ า หน้ า ที่ ต ้ อ งรู ้ จั ก วิ ธี สื่ อ สารที่ เ น้ น ความเข้าใจและลดความขัดแย้ง โดยไม่ ยึดแนวทางใดแนวทางหนึ่งเป็นหลัก เช่น การไม่ให้มารดาได้มสี ว่ นร่วมในการตัดสินใจ เพราะแนวทางดังกล่าวอาจไม่ใช่แนวทาง ที่ดีที่สุด และในส่วนของผู้ป่วยแต่ละคน ก็ควรศึกษาว่าตนมีสิทธิแค่ไหนและมีสิทธิ อะไรบ้างในการรับการรักษา โดยเฉพาะ มารดาผู ้ ติ ด เชื้ อ เองก็ ต ้ อ งมี ค วามฉลาด รอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ด้วย เพื่อที่จะเป็นเกราะชั้นหนึ่งในการปกป้อง สิทธิของตนเอง “เพราะการรู ้ สิ ท ธิ ข องตนเองเป็ น หน้าที่ที่ทุกคนพึงมี รวมถึงการเคารพสิทธิ ของผู ้ อ่ื น โดยปราศจากการใช้ อ� ำ นาจที่ เหนือกว่า มันไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใด คนหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ของคนทุกคนเพื่อ ให้เกิดความเข้าใจกัน” รศ.ดร.สิริมาสรุป
สแกน QR Code เพื่ออ่านเพิ่มเติม เกี่ยวกับบทสรุปการสนับสนุนเรื่อง การให้นมและเอชไอวีโดย WHO และ UNICEF
VOX POP
บทีบ่ ที 2่ ปี กษา 2562 | ฉบั 2 กปีารศึ การศึ กษา 2562 6 6 | ฉบั
TASTE OF HOME ไปเมืองนอกนานๆ กลับมาอยากทานเมนูอะไร
เรื่อง-ภาพ : อินทัช สัตยานุรักษ์
หากใครได้มีโอกาสไปต่างประเทศเป็นเวลานาน ก็คงต้องห่างหายจากอาหารไทยที่รสชาติคุ้นชิน หลายครั้ง อาหารที่เตรียมไปไม่ช่วยคุณได้ไปตลอดทริป คงมีสักครั้งที่อยากจะเนรมิตอาหารมื้อตรงหน้าให้กลายเป็นเมนู ที่โปรดปราน แต่ก็คงท�ำได้เพียงแค่จินตนาการ ต้องอดทนอดกลั้นจนได้กลับมารับประทานเมนูนั้นให้สมใจ “กลั บ มาไทย เมนู แ รกที่ กิ น เลยก็ คื อ (ผั ด ) กะเพรา จะเป็ น กะเพราหมู สั บ ไข่ ด าว หรื อ กะเพราเนื้ อ ก็ ไ ด้ เพราะเหมื อ นกั บ ว่ า มั น ขาดหายไป ...เวลาเราไปประเทศอย่างอเมริกา หรือเยอรมนี เราก็ไปกินอาหารฝรัง ่ ของเผ็ดๆ ที่นู่น มั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ค วามเผ็ ด ร้ อ นสไตล์ บ ้ า นเรา หรื อ แม้ ก ระทั่ ง เอเชี ย อย่ า งเกาหลี ความเผ็ ด มั น ก็ ไม่ ใช่ แ บบไทยๆ” พีรพัฒน์ ตุลยาเดชานนธ์ เจ้าของเพจ กินกับพีท เที่ยวกับผม
“แกงส้ ม ชะอมไข่ ร ้ อ นๆ พร้ อ มข้ า วสวย คื อ เมนู ที่ ป ้ า เลื อ ก ป้าชอบรสชาติที่มันเปรี้ยวๆ เผ็ดน้อยๆ กลมกล่อม กินมาเเต่เด็ก แบบคนภาคกลางอ่ะ เคยชิน” ธนสร ฤกษ์เสรี เจ้าของร้าน นทีเป็ดย่าง
“อยากกิ น เส้ น ใหญ่ ผั ด ซี อิ๊ ว ครั บ จ� ำ ได้ ว ่ า กลั บ มาจากไปอิ ต าลี ม าปี นึ ง นี่ คื อ สิ่ ง แรกที่ เ ดิ น หากิ น เลย ...ผั ด ซี อิ๊ ว นี่ ยากตั้ ง แต่ เ ส้ น แล้ ว ไหนจะซี อิ๊ ว ด� ำ ผั ก คะน้ า อี ก แล้ ว จะให้ อ ร่ อ ยมั น ต้ อ งผั ด ในกระทะก้ น ลึ ก สรุ ป คื อ เป็ น ไปไม่ ไ ด้ ใ นอิ ต าลี ข ณะนั้ น ค� ำ ตอบจึ ง เป็ น เส้ น ใหญ่ ผั ด ซี อิ๊ ว ครั บ ...ว่ า แต่ นั บ เป็ น อาหารไทยไหมอ่ ะ ”
ผศ.สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์ อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัย
“จ�ำได้เลยว่า กลับมาแล้วรีบไปกินก๋วยเตี๋ยวน�้ำตก เพราะรสชาตินี้ คิดถึงมากตอนไปอยู่นู่น มันเป็นรสชาติที่หาที่อื่นไม่ได้จริงๆ” มนทิยา แซ่อึ้ง นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ข้าวเหนียวส้มต�ำ เพราะมันมีครบทุกรสชาติทั้งเปรี้ยวหวานเค็มเผ็ด ...พอไปอยู ่ เ มื อ งนอกนานๆ กลั บ มาเวลาขั บ ถ่ า ยมั น ไม่ ต รงกั น ส้ ม ต� ำ นี่ ก็ เ ป็ น ผั ก ๆ จะช่วยเรื่องระบบขับถ่ายได้ มะละกอ มะเขือ ถั่วฝักยาว แต่ก็จะแอบทานไก่ย่างบ้างเล็กน้อย ให้มีโปรตีนบ้าง” ประไพ วิเศษจินดา เจ้าของร้านขายของช�ำ
แล้วคุณล่ะ?
เมนูใดที่จะเลือกรับประทานเป็นอย่างแรก หลังจากการรอนแรมในต่างประเทศ
QUALITY OF LIFE
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 |
7
ร้านข้าวขาหมูจุฬาฯ อีกหนึ่งร้านที่ได้รับตรา เชลล์ ชวนชิ ม ในปี 2535
อดีตที่ทิ้งไว้ กับการจากไป ของคุณชายยอดนักชิม เรื่อง-ภาพ : สรรชัย ชัชรินทร์กุล
“สวั ส ดี ค รั บ ท่ า นผู ้ ช ม.... วันนีผ ้ มมาหาข้าวแกงกินที… ่ ”
โดยใช้นามปากกา “ถนัดศอ” ซึ่งต่อมา ได้ พั ฒ นามาเป็ น รายการวิ ท ยุ เ เละ รายการโทรทั ศ น์ ต ามล� ำ ดั บ เเละได้ ขยายขอบเขตการน� ำ เสนอไปถึ ง เรื่ อ งราวอื่ น ๆ ด้ ว ย ในชื่ อ รายการ ครอบจักรวาล ออกอากาศทางช่อง 5 ทุกวันอาทิตย์
ที่ ไ ด้ รั บ การั น ตี จ ากม.ร.ว.ถนั ด ศรี ในปี 2499 เล่ า ความประทั บ ใจว่ า คุ ณ ชายได้ เ ข้ า มารั บ ประทานอาหาร ที่ร้านของตน สมัยที่คุณพ่อยังบริหาร ร้านอยู่ เเล้วพูดกับคุณพ่อว่าอยากขอ เขี ย นรี วิ ว ร้ า นอาหารลงหนั ง สื อ พิ ม พ์ สยามรั ฐ และในปี ต ่ อ มา คุ ณ ชายได้ เดินทางกลับมาพร้อมป้าย “เชลล์ชวนชิม” ให้กบั ร้าน ซึง่ เป็นช่วงเดียวกับทีเ่ รือ่ งราว ของร้ า นได้ ถู ก ตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ์ สยามรัฐฯ ท�ำให้มคี นมาทีร่ า้ นจ�ำนวนมาก และเป็นที่รู้จักมากขึ้นเรื่อยๆ
เสี ย งที่ เ ราในวั ย เด็ ก จะได้ ยิ น เสมอๆ ในช่วงเช้าวันอาทิตย์ ราวแปดโมง เช้าทางช่อง 5 เป็นเสียงที่เต็มไปด้วย ความอบอุ่น มีจังหวะการพูดอันเป็น เอกลั ก ษณ์ แต่ แ กล้ ม มุ ข ตลกเเละ ส�ำนวนทีฟ่ งั ได้มริ เู้ บือ่ เสียงซึง่ เล่าเรือ่ งราว กล่ า วกั น ว่ า ม.ร.ว.ถนั ด ศรี ไ ด้ รั บ พร้อมเกร็ดความรู้ต่างๆ ทั่วโลก พร้อม พรสวรรค์ ด ้ า นการชิ ม จากหม่ อ มย่ า ตบท้ายด้วยการแนะน�ำอาหารรสเด็ด ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าการห้องเครื่องใน ทีช่ วนให้เราไปชิมสักครัง้ ในชีวติ หลายคน วังสระปทุม จนเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน จึงรู้จัก ม.ร.ว.ถนั ด ศรี สวั ส ดิ วั ฒ น์ หรื อ “คุ ณ ชายถนั ด ศรี ” ผ่ า นรายการ ครอบจักรวาล เเละช่วงพิเศษที่ชื่อว่า “ผมมาคลั่ ง ไคล้ ผ ลงานของท่ า นก็ ต อนอยู ่ เชลล์ ช วนชิ ม ที่ ท� ำ ให้ คุ ณ ชายเป็ น ที่ มั ธ ยมปลาย ที่ ไ ด้ ฟ ั ง รายการของท่ า น... จดจ�ำของคนไทย น่ า ใจหายและอาลั ย เป็ น ที่ สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 27 สิ ง หาคม ที่ ผ ่ า นมา ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ ได้จากไป อย่างสงบด้วยโรคมะเร็งท่อน�ำ้ ดี สิรริ วม อายุ ไ ด้ 93 ปี ถื อ ว่ า ประเทศไทยได้ สูญเสียทรัพยากรบุคคลอันทรงคุณค่า ไปอี ก หนึ่ ง ท่ า น แต่ เ ส้ น ทางชี วิ ต และ ผลงานของท่านยังคงมีประโยชน์อย่าง มหาศาล ให้สังคมได้เรียนรู้สืบไป ม.ร.ว.ถนัดศรี คือผู้ที่ริเริ่มใช้ค�ำว่า “รีววิ ร้านอาหาร” ในไทย ก่อนทีจ่ ะถูกใช้ อย่ า งแพร่ ห ลายตามโซเชี ย ลมี เ ดี ย คุณชายได้รับการยกย่องให้เป็นนักชิม ผูส้ ร้างต�ำนานความอร่อยไปทัว่ ประเทศ ด้ ว ยการการั น ตี ค วามอร่ อ ยของร้ า น อาหารผ่ า นการมอบเครื่ อ งหมาย “เชลล์ชวนชิม” พร้อมกับเขียนรีววิ ลงใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์
รายการนี้ ม.ร.ว.ถนัดศรี ไม่เพียงเเต่น�ำ คอลัมน์ เชลล์ชวนชิ ม ที่เป็นที่นิยมมาสู่ รายการทีม่ กี ารสือ่ สารโต้ตอบกันเท่านัน้ เเต่ยงั มีเรือ่ งราวความรู้ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย จากที่ต่างๆ มาเล่าสู่กันฟังอีกด้วย นอกจากนัน้ ด้วยความเป็นผูอ้ นุรกั ษ์ สืบสานวัฒนธรรมเรือ่ ยมา ไม่วา่ จะเป็น การมี ส ่ ว นร่ ว มในงานสื่ อ สารมวลชน การใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องทั้งการพูด การเขียน การเเสดง และการขับร้อง ม.ร.ว.ถนัดศรี จึงได้รับการเชิดชูเกียรติ ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการเเสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ในปี 2551
“ผมมาคลั่ ง ไคล้ ผ ลงานของท่ า น ก็ตอนอยู่มัธยมปลาย ที่ได้ฟังรายการ เราถูกใจวิธีการพูดของท่าน เเละเรื่องราวความรู้ ของท่าน... เราถูกใจวิธีการพูดของท่าน เเละเรื่ อ งราวความรู ้ ท่ี ท ่ า นน� ำ มาเล่ า ที่ท่านน�ำมาเล่า เรียกได้ว่าครอบจักรวาลจริงๆ” รนล กิตติบาล เรียกได้ว่าครอบจักรวาลจริงๆ” รนล กิตติบาล วัย 20 ปี เเฟนพันธุแ์ ท้ “ท่านก็บอกว่า ร้านนี้ บะหมี่ทานได้ ยุค 2000 ของม.ร.ว.ถนัดศรี กล่าวถึง ในปี 2500 ม.จ.ภีศเดช รัชนี ได้เชิญ ม.ร.ว.ถนัดศรีเข้ามาช่วยในโครงการ เปาะเปี๊ยะทานได้ ข้าวหมูเเดงทานได้ ความประทับใจที่มีต่อคุณชาย ส่งเสริมการใช้ก๊าซหุงต้มในครัวเรือน ของบริษทั เชลล์เเห่งประเทศไทย จ�ำกัด
หลังจากนัน้ คุณชายเกิดไอเดียทีจ่ ะ มอบตราสัญลักษณ์ความอร่อยให้แก่ ร้ า นอาหาร โดยได้ รั บ แรงบั น ดาลใจ มาจาก “มิชลินไกด์” ในต่างประเทศ “เชลล์ชวนชิม” จึงได้ถอื ก�ำเนิดขึน้ โดยมี บริ ษั ท เชลล์ แ ห่ ง ประเทศไทย จ� ำ กั ด เป็นผู้สนับสนุนค่าเดินทางให้คุณชาย ได้ไปชิมอาหารทั่วประเทศ สุรนิ ทร์ นุชจิรสุวรรณ เจ้าของร้าน “ตัง้ เลียกเส็ง บะหมีป่ ”ู ย่านบางขุนนนท์
เพราะถือว่าเป็นของเก่า ไม่มอี อกหวาน” สุรนิ ทร์กล่าว พร้อมเล่าว่า ตอนทีค่ ณ ุ ชาย น�ำป้าย “เชลล์ชวนชิม” มาให้พ่อของตน ส่ ว นตั ว ดี ใ จมาก เพราะท� ำ ให้ ร ้ า นมี ทุกวันนี้ได้ ตนเเละคนในครอบครัวต่าง นับถือคุณชายเหมือนคุณพ่ออีกคนหนึง่ ทุ ก วั น นี้ ที่ เ ลี้ ย งลู ก เลี้ ย งครอบครั ว ได้ ก็เพราะท่านมาการันตีรา้ นให้ ท�ำให้รา้ น เป็นทีร่ จู้ กั และมีผคู้ นเข้ามาไม่ขาดสาย ม.ร.ว.ถนั ด ศรี ยั ง เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น รายการ ครอบจักรวาล ที่ออกอากาศ ครั้ ง แรกในปี 2520 ทางวิ ท ยุ ซึ่ ง ใน
รนลยังมองว่า ม.ร.ว.ถนัดศรี มักจะ พูดถึงคติชีวิตหรือแนวทางประพฤติตัว อี ก ทั้ ง ตนยั ง รู ้ สึ ก ว่ า ผลงานของ ม.ร.ว.ถนัดศรีเป็นอมตะ “อย่างผลงาน เพลงของท่ า น หรื อ รู ป แบบการชิ ม ของท่าน ส�ำหรับผมมันคือผลงานที่เป็น อมตะเลย มันใช้ได้ตลอด ไม่ล้าสมัย” “ผมดี ใ จที่ ร ายการของท่ า นที่ มี ม.ล.ภาสันต์ ลูกชายมาสานต่อต�ำนาน เชลล์ชวนชิม และ ม.ล.ศิรเิ ฉลิม สวัสดิวฒ ั น์ (หมึกแดง) สานต่อรายการครอบจักรวาล” รนลทิ้งท้าย
MAIN COURSE
| ฉบั ารศึ ษา2562 2562 บบ ทีที ่ 2่ 2ปีปี กก ารศึ กก ษา 8 | ฉบั 8 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ลมหายใจที่หายไป ในห่วงโซ่อาหาร เรื่อง: สุประวีณ์ รักเหล่า, ถิราภา เสียงเลิศ และ ทิฆัมพร บุญมี ภาพ: สรรชัย ชัชรินทร์กุล
เหนือจากตัวเมืองเชียงใหม่ 137 กิโลเมตร ผ่ า นเส้ น ทางคดเคี้ ย วและสู ง ชั น สู ่ อ� ำ เภอฝาง ศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ของเชี ย งใหม่ ต อนบน อ� ำ เภอที่ มี ป ระชากรมากเป็ น อั น ดั บ สามของ จังหวัด พื้นที่ที่ล้อมรอบด้วยภูเขา และประชากร ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม ที่ นี่ คื อ แหล่งผลิตส้มที่ใหญ่ที่สุดของไทย ผลไม้ยอดฮิต ทีม ่ ข ี ายอยูท ่ ก ุ มุมตลาด แต่ใครจะรูว ้ า่ แท้จริงแล้ว เบื้ อ งหลั ง ของการผลิ ต ผลไม้ ลู ก เล็ ก ๆ เหล่ า นี้ น�ำมาซึง ่ หยาดเหงือ ่ และน�ำ้ ตาของคนจ�ำนวนมาก
• ท่องเหนือสู่ไร่ส้ม เมื่อเข้าสู่อาณาบริเวณของไร่ส้ม กลิ่นสารเคมีปลิวตาม สายลม ปะทะเข้ า กั บ โสตประสาทอย่ า งช้ า ๆ ควั น สี ข าว พวยพุง่ ออกมาจากพืน้ ทีท่ างการเกษตรเป็นจุดๆ สองข้างทาง ของถนนที่มุ่งเข้าไป มีป้ายโฆษณาขนาดเล็กที่ตัดแปะเอง ของแต่ละไร่เรียงรายตามทาง อวดอ้างสรรพคุณของสารเคมี ที่สวนตนเองใช้กันอย่างเอิกเกริก “เป็ น ไงล่ ะ รู ้ ห รื อ ยั ง ว่ า กลิ่ น ของไร่ ส ้ ม มั น เป็ น ยั ง ไง” ค�ำกล่าวพร้อมใบหน้าเปือ้ นรอยยิม้ ของ ประเสริฐ ปัญญาวงศ์ ชายวั ย 50 ปี ผู ้ พ าเราเข้ า สู ่ พื้ น ที่ ป ลู ก ส้ ม ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่สุดของประเทศไทย ประเสริฐเป็นครูท้องถิ่นของลูกหลาน ชาวไทใหญ่ และยั ง เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ “ฟอร์ จู น ” องค์ ก ร เล็ ก ๆ ในพื้ น ที่ ที่ ก ่ อ ตั้ ง เพื่ อ ช่ ว ยให้ เ ด็ ก หรื อ ลู ก ของคนงาน ในไร่ ส ้ ม ได้ มี โ อกาสทางการศึ ก ษา เหมื อ นดั ง ชื่ อ องค์ ก ร ที่ แ ปลว่ า โชคชะตา • การเข้ามาในไร่ส้มของชาวไทใหญ่ ต้ น ส้ ม เป็ น พื ช ยื น ต้ น ที่ ส ามารถเก็ บ เกี่ ย วได้ ทั น ที เมื่ อ เวลาผ่ า นไป 3-5 ปี ท� ำ ให้ เ กษตรกรหั น มาปลู ก กั น อย่างแพร่หลาย แต่พืชชนิดนี้ต้องการความเอาใจใส่อยู่มาก เนื่องจากมีความอ่อนแอ และสภาพอากาศของไทยไม่ค่อย เหมาะสมในการปลูก ทั้ งยังไม่มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ เข้ า มารองรั บ การดู แ ลต้ น ส้ ม งานในไร่ ส ้ ม จึ ง ต้ อ งอาศั ย แรงงานมนุษย์ในการจัดการอย่างใกล้ชิด ด้ ว ยความบอบบางของต้ น ส้ ม และการขยายฐาน การผลิ ต เพื่ อ การบริ โ ภคภายในและส่ ง ออกภายนอก ประเทศ ท�ำให้เกิดความต้องการด้านแรงงานจ�ำนวนมาก แรงงานชาวไทใหญ่ผู้ลี้ภัยจากความไม่สงบและสงคราม ในบ้านเกิด จึงหลั่งไหลเข้ามาทางอ�ำเภอฝาง ซึ่งมีเขตแดน ติดกับรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์อย่างไม่ขาดสาย หลั ง จากข้ า มแดนเข้ า มาในประเทศไทยได้ ส� ำ เร็ จ แรงงานจ�ำนวนไม่นอ้ ยมุง่ หวังทีจ่ ะเข้ามาเป็นคนงานในไร่สม้ เพราะเชื่อว่า งานในไร่ส้มค่อนข้างสบาย และมีเงินเดือน ที่สูงหากเทียบกับรายได้ที่ตนได้รับอยู่ในประเทศบ้านเกิด ชาวไทใหญ่บางส่วนจึงเลือกที่จะลักลอบข้ามแดนเข้ามา เป็ น แรงงานในไร่ ส ้ ม เพื่ อ รอเวลาให้ ต นเองมี บั ต รท� ำ งาน อย่างถูกกฎหมาย
ด้านผลประโยชน์ของเจ้าของสวนที่ได้จากแรงงานเหล่านี้ สุมิตรชัย หัตถสาร ทนายด้านสิทธิมนุษยชนและแรงงาน ข้ามชาติทางภาคเหนือ ตัง้ ข้อสังเกตว่า การลดต้นทุนของไร่สวน ในภาคเหนือมักจะใช้แรงงานทีไ่ ม่ถกู กฎหมายปะปนกับแรงงาน ถูกกฎหมาย เพราะแรงงานที่ลักลอบเข้ามาจะมีค่าแรงที่ถูก ส่วนแรงงานทีถ่ กู กฎหมายมีไว้ตบตาเจ้าหน้าทีร่ ฐั ในการสุม่ ตรวจ แรงงานในไร่ “ไร่ส้ม ไร่สตรอว์เบอร์รีมันใช้คนงานหมด แต่ค�ำถามคือ มีแรงงานถูกกฎหมายอยู่กี่เปอร์เซ็นต์ 50 คนอาจจะถูกสัก 10 คน” สุมิตรชัยกล่าว • บ้านใหม่ ชีวิตใหม่ เนื่องจากตั้งอยู่ภายในรั้วลวดหนามและอาณาบริเวณ กว้ า งใหญ่ บ นพื้ น ที่ ร าบสลั บ กั บ เขาสู ง ไร่ ส ้ ม จึ ง ค่ อ นข้ า ง ปลอดภัยจากเจ้าหน้าที่รัฐที่มาส�ำรวจ แรงงานส่วนใหญ่นั้น อาศัยอยู่ภายในไร่ ด้วยพื้นที่ดังกล่าวจะมีลักษณะปิดจึงเป็น กลไกที่คอยป้องกันโลกภายนอกไม่ให้สามารถเข้าไปในพื้นที่ ส่ ว นบุ ค คลได้ ขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น กลไกที่ ท� ำ ให้ แ รงงาน ไม่ ส ามารถเข้ า ออกไร่ ส ้ ม ได้ โ ดยอิ ส ระ ท� ำ ให้ พ วกเขาต้ อ ง อาศัยอยู่ในพื้นที่เป็นส่วนใหญ่ ที่ พั ก ของแรงงานมี ลั ก ษณะเป็ น ห้ อ งแถวมุ ง หลั ง คา สังกะสีเรียงติดกันประมาณสิบห้อง ภายในห้องนั้นอาศัยเป็น ครอบครัว มีสมาชิกเฉลีย่ 3-4 คน โดยมีหอ้ งน�ำ้ รวมเพียงแห่งเดียว เท่านั้น บางที่ยังมีการปลูกผักและเลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภคกันเอง ภายใน เนื่องจากไม่สามารถเดินทางเข้าออกทุกวันได้ ซึ่งพื้นที่ พักอาศัยนัน้ ไม่ได้มเี พียงแค่บา้ นพักของเหล่าแรงงาน ในบริเวณ ใกล้เคียงยังมีโรงเก็บสารเคมีอกี ด้วย ภาพทีช่ นิ ตาคือเปลเด็กเล็ก ที่ถูกผูกไว้ไม่ไกลนักจากถังสารเคมี ในช่ ว งเวลาปกติ แรงงานส่ ว นใหญ่ ต ้ อ งดู แ ลต้ น ส้ ม ด้วยการถางหญ้า ตัดแต่งกิ่งต้นส้ม ทาสีเคลือบล�ำต้นเพื่อ ไม่ให้แมลงเข้ามากัดกิน และงานจะล้นมือเมื่อเข้าสู่ฤดูกาล เก็บเกีย่ ว ทั้งหญิง ชาย และเด็กๆ ที่อยู่ในสวนจะเข้ามาร่วมกัน เก็บผลผลิตสีเหลืองทองเพื่อส่งต่อไปให้พ่อค้ารายย่อยอื่นๆ “ปกติก็ไม่ได้ออกไปไหนบ่อยค่ะ เพราะว่ามันไกลจาก ตัวเมือง บางวันก็เอาขวดใสใส่นำ�้ ผสมยาแก้อกั เสบ ไปเสียบใส่ ต้นส้มค่ะ” เด็กสาวคนหนึ่งในไร่เล่าถึงชีวิตในช่วงปิดเทอม ขวดลิตรหลายร้อยขวดที่ถูกต่อกับสายยางช่วยยืนยันเรื่องที่ เธอถ่ายทอดได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงแค่เธอเท่านั้น แต่กิจกรรม เหล่ า นี้ ก ลายเป็ น กิ จ วั ต รประจ� ำ วั น ของเด็ ก น้ อ ยคนอื่ น ๆ ในไร่ เ ช่ น กั น • อันตรายที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ ไม่ไกลออกไปจากทีพ่ กั คนงานนัก มีอาคารก่อด้วยอิฐบล็อก มุงด้วยสังกะสีหลังหนึง่ ทีไ่ ม่ได้ปดิ ป้ายว่าท�ำหน้าทีอ่ ะไร แต่กลิน่ ฉุน ทั่วบริเวณเป็นค�ำเตือนให้คนต่างถิ่นอย่างเราว่าอย่าเข้าใกล้ เพราะคาดเดาได้ ไ ม่ ย ากนั ก ว่ า อาคารหลั ง นี้ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น โรงเก็บสารเคมี
“ยามันเปลีย่ นไปเรือ่ ยๆ เขาไม่ได้บอกว่านีเ่ ป็นยาอะไร มีคน ผสมให้ เรามีหน้าที่แค่ฉีดอย่างเดียว” จัน แรงงานข้ามชาติ วัย 70 ปี ผู้มีอายุการท�ำงานในไร่ส้มมานานมากกว่า 15 ปี เล่าด้วยน�้ำเสียงราบเรียบ เขายังเล่าต่อด้วยว่า สารเคมีท่ีใช้ มีความรุนแรงขึน้ จากเมือ่ 10 ปีทแี่ ล้ว รวมถึงอัตราการฉีดก็ถขี่ นึ้ จากอาทิตย์ละครั้ง เป็นสี่วันต่อหนึ่งครั้ง “หลังจากฉีดเสร็จแล้วเดินไป หันกลับมาวัชพืชที่โดนยาไป ก็ตายหมดแล้ว” จันเล่าถึงความรุนแรงของสารเคมีทใี่ ช้กนั ในไร่ ลักษณะของสารเคมีทอี่ อกมาจากปลายสายเป็นละอองน�ำ้ สีขาว ซึง่ ในการฉีดพ่นยาแต่ละครัง้ จะต้องฉีดให้ทวั่ ทัง้ ต้น จากละอองน�ำ้ ที่ เ กิ ด การควบแน่ น จนกลายเป็ น หยดน�้ ำ ไหลลงมาจากต้ น นีเ่ ป็นสัญญาณว่าต้นส้มได้รบั สารเคมีทเี่ พียงพอแล้ว ซึง่ โดยเฉลีย่ จะใช้ เ วลาประมาณ 2-3 นาที ต ่ อ ต้ น และแรงงานหนึ่ ง คน จะต้ อ งพ่ น สารเคมี ใ ห้ ไ ด้ ป ระมาณร้ อ ยต้ น ถึงแม้ว่าสารเคมีจะมีความเข้มข้นสูง แต่เหล่าแรงงานก็ยัง ไม่ได้รับการป้องกันที่เหมาะสม จันเล่าต่อว่า พวกเขาต้อง ป้องกันความรุนแรงของสารเคมีเหล่านีด้ ว้ ยตนเอง โดยเครือ่ งมือ ที่ใช้ป้องกันร่างกายนั้นมีเพียงรองเท้ายาง ถุงมือ หมวก และ หน้ า กากอนามั ย แบบใช้ ค รั้ ง เดี ย วที่ ห าซื้ อ ได้ ทั่ ว ไปเท่ า นั้ น ซึง่ แรงงานบางคนทีไ่ ม่สามารถซือ้ อุปกรณ์เหล่านีไ้ ด้ ก็จะแต่งกาย โดยไม่มีเครื่องป้องกันขณะต้องฉีดพ่นยา “เคยมีคนเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีที่ตกค้างในร่างกาย ของแรงงาน แต่ผลมันก็ยังไม่ได้ออกมาชัดเจนว่า แรงงานมี สารเคมีเหล่านัน้ เพราะว่าท�ำงานในสวนส้ม แต่ถา้ จะให้แรงงาน ออกไปตรวจก็จะเป็นเรื่องยากอีก เพราะว่าจะต้องขอนายจ้าง ออกมา และจะต้องเข้าไปตรวจที่โรงพยาบาลในเชียงใหม่” ประเสริฐเล่าถึงความพยายามในการพิสจู น์วา่ สารเคมีภายในไร่ ส่งผลต่อสุขภาพของแรงงาน แม้ว่าจะมีหลายองค์กรเข้ามา เก็บข้อมูล แต่ก็ยังไม่มีองค์กรไหนสามารถติดตามผลอย่าง ต่ อ เนื่ อ งได้ ท�ำให้ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า สารเคมีในพื้นที่ เกษตรกรรมเป็ น สาเหตุ ใ ห้ แ รงงานหลายรายต้ อ งเจ็ บ ป่ ว ย และบางคนได้รับผลจากการใช้สารเคมีจนเสียชีวิต แม้ว่าจะมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นภายในไร่ แรงงานก็ไม่ได้รับ การเหลียวแลจากนายจ้าง ภาระของค่ารักษาพยาบาลจึงตกอยูท่ ี่ ตั ว ลู ก จ้ า งเพี ย งเท่ า นั้ น “เวลาป่ ว ยก็ ไ ปโรงพยาบาลเอง นายจ้างไม่ได้ท�ำอะไรให้ วันไหนหยุด นายจ้างเขาก็ไม่ได้จ่าย เงินเรา เขาไม่ได้ให้อะไรเราเลย ให้เงิน 250 บาทต่อวันก็จบกันไป” จันเล่าถึงความล�ำบากของการเจ็บป่วยของแรงงานในไร่ • ชะตากรรมบนเส้นด้าย แม้แรงงานหลายคนจะโชคดีในการได้เข้ามาท�ำงานในไร่สม้ แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ทุ ก คนคาดหวั ง คื อ การได้ ค รอบครองเอกสาร อนุญาตท�ำงานอย่างถูกกฎหมาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก ส�ำหรับแรงงานเหล่านี้
MAIN COURSE 9 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
“ทุกอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องบัตร คนงานแทบจะท�ำด้วยตัวเอง ไม่ได้ เพราะว่านโยบายหรือว่ากฎระเบียบขั้นตอนทุกอย่าง ถูกตัง้ ให้เข้าถึงยาก” สายทิพย์ อาวัน ชาวไทใหญ่และเจ้าหน้าที่ ช่วยเหลือของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนากล่าว พร้อมระบุด้วยว่าเอกสารบางประเภท เช่น เอกสารตามแบบ ข้อตกลงว่าด้วยการจ้างแรงงานต่างด้าวระหว่างประเทศกับ ประเทศคูภ่ าคี (MOU) ต้องใช้เวลาท�ำ 3-4 เดือน บางคนเป็นปีกม็ ี
ฉบั ฉบับบทีที่ ่22ปีปีกการศึ ารศึกกษา ษา2562 2562|| 9
• ปัญหาที่ตกมาถึงครอบครัว
แรงงานข้ า มชาติ ส ่ ว นใหญ่ ย ้ า ยมาพร้ อ มกั บ ครอบครั ว ท� ำ ให้ ผ ลกระทบทั้ ง หลายไม่ ไ ด้ ต กอยู ่ ที่ ตั ว แรงงานเท่ า นั้ น แต่ครอบครัวของพวกเขาก็เช่นกัน เด็กจ�ำนวนไม่น้อยเดินทาง ตามพ่อแม่ออกมาจากประเทศเมียนมาร์ แน่นอนว่าการอาศัย ในไร่ส้มที่ห่างจากตัวเมืองกว่าสิบกิโลเมตร เป็นอุปสรรคใหญ่ ที่ขัดขวางไม่ให้ลูกหลานของแรงงานเหล่านี้ออกมาสู่โรงเรียน สายทิพย์ยงั กล่าวอีกว่า กระบวนการขอเอกสารการท�ำงาน ภายนอก เหล่านี้ ต้องอาศัยนายจ้างเป็นผูไ้ ปติดต่อกับราชการ ซึง่ ส่วนใหญ่ นักเรียนจากไร่สม้ ส่วนมากจึงมีวฒ ุ กิ ารศึกษาเพียงภาคบังคับ นายจ้างมักไม่สะดวกมาท�ำให้ เนื่องจากใช้เวลานาน แรงงาน (มัธยมศึกษาปีที่ 3) เพราะการเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา เหล่านีจ้ งึ มักอาศัยนายหน้าเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ “ปกติแล้ว ตอนปลายและอุดมศึกษาต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง ตามกฎหมายนายหน้าจะเรียกได้ไม่เกินหมื่น แต่ความเป็นจริง “ถ้ า จบ ม.3 จะออกมาท� ำ ไร่ ส ้ ม ครั บ ” ทุ น แน เด็ ก ชาย นายหน้ามักจะเรียกเกินเป็น 12,000 - 13,000 บาทต่อคน” วัย 15 ปี กล่าวด้วยน�้ำเสียงเรียบๆ ส�ำหรับพวกเขาทีเ่ ติบโตมา นอกจากนี้ ในหลายกรณี แม้วา่ พวกเขาจะได้รบั บัตรแรงงาน ท่ามกลางไร่ส้ม โลกภายนอกกลายเป็นโลกที่อันตราย พวกเขา อย่างถูกกฎหมายแล้ว ก็ยงั มีนายจ้างหลายรายทีย่ ดึ บัตรแรงงาน จึงยินดีที่จะเป็นแรงงานในไร่ส้มต่อไป เด็กชายหลายคนเข้ามา ไว้กบั ตัวนายจ้างเองเพือ่ ป้องกันไม่ให้แรงงานหลบหนี ท� ำ งานในไร่ ส ้ ม หลั ง จากเรี ย นจบชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น “การละเมิดสิทธิมันมีอยู่ทั่วไปในกลุ่มคนที่เขามีข้อจ�ำกัด เนือ่ งจากเป็นแรงงานทีห่ นุม่ กว่า อีกทัง้ ยังผ่านการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ในการปกป้องตัวเอง เนื่องจากการเข้ามาอย่างผิดกฎหมาย พวกเขาจึงได้ต�ำแหน่งที่สูงกว่าแรงงานทั่วไป เพราะฉะนั้นการใช้กฎหมายป้องกันตัวเองจึงเป็นเรื่องยาก” “ผมสอนมาตั้ง 20 กว่าปี เด็กที่จบปริญญาตรียังไม่มีสักคน ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ อดีตผูอ้ ำ� นวยการศูนย์พฒ ั นา แค่จบ ม.3 ท�ำงานได้ก็ไปแล้ว ความคิด (ที่จะเรียนต่อ) มีก็จริง แรงงานและการจัดการ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่รายได้ของครอบครัวไม่เอือ้ อ�ำนวย” ประเสริฐกล่าวถึงการศึกษา ให้ความเห็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิแรงงาน ของเด็ ก ในไร่ รวมทั้ ง บอกว่ า หากพวกเขาจบในระดั บ ชั้ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเศรษฐศาสตร์ แ รงงานยั ง เสริ ม อี ก ว่ า มัธยมศึกษาขึ้นไป พวกเขาเลือกที่จะสมัครงานเป็นพนักงาน เมื่ อ แรงงานไม่ ส ามารถพึ่ ง พิ ง กฎหมายได้ แรงงานเหล่ า นี้ บริการอยู่ในตัวเมือง แต่ไม่ได้ไปไหนไกลจากไร่ส้มมากนัก จึ ง เกิ ด ทั ศ นคติ ล บต่ อ บุ ค ลากรของรั ฐ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ครูประเสริฐยังยอมรับอีกว่าทุนแนเป็นเด็กทีย่ งั โชคดี เพราะในไร่ “ต�ำรวจ” เนื่องจากพวกเขาเข้าประเทศมาอย่างผิดกฎหมาย ยังมีเด็กอีกหลายคนทีข่ าดเอกสารยืนยันตัวตนเพือ่ สมัครเข้าเรียน ท�ำให้ตอ้ งอยูอ่ ย่างหลบๆ ซ่อนๆ อีกทัง้ ยังมักจะถูกขูจ่ ากนายจ้าง • กลไกของรัฐที่ไม่ตอบโจทย์ ว่ า หากไม่ ท� ำ ตามค� ำ สั่ ง จะถู ก ส่ ง ตั ว ให้ กั บ ต� ำ รวจ ท� ำ ให้ ในฝั่งภาครัฐ พอหทั ย วงศ์ ส วั ส ดิ์ นักวิชาการแรงงาน การด� ำ เนิ น การจั บ กุ ม นายจ้ า งที่ ล ะเมิ ด สิ ท ธิ เ ป็ น เรื่ อ งยาก ช�ำนาญการ ส�ำนักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม่ ยอมรับว่า เนื่องจากแรงงานไม่กล้าแจ้งเจ้าที่หน้าที่โดยตรง และถึงแม้ว่า ปัญหาระหว่างนายจ้างและลูกจ้างยังมีอยูม่ าก กรมการจัดหางาน แรงงานจะเข้ามาอย่างถูกกฎหมาย มีบัตรอนุญาตท�ำงานแล้ว กระทรวงแรงงานเองทราบปัญหามาตลอด ทั้งปัญหานายจ้าง แต่ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกละเมิดค่าแรงได้ ซึ่งพวกเขา โกงค่าแรงลูกจ้าง ปัญหาการท�ำบัตรที่นายจ้างมักเรียกเก็บเงิน ก็ไม่ได้ติดใจที่จะด�ำเนินคดีกับนายจ้างแต่อย่างใด เกินกว่าที่ลูกจ้างต้องจ่าย หรือปัญหาการเลิกจ้างที่นายจ้าง “คนงานเขามีความคิดอีกอย่างหนึ่ง ถ้าเขาป่วยหรือใคร แจ้งออกโดยลูกจ้างไม่ทราบ แต่การแก้ไขปัญหาเป็นเรื่องยาก ท�ำอะไรเขา มักจะโทษเวรกรรมไปก่อน ก็เลยไม่อยากท�ำอะไร เพราะแรงงานส่วนใหญ่ไม่กล้าร้องเรียนกับกรมการจัดหางาน ในทางคดี ถ้าเกิดมีนายจ้างทารุณเขา ก็คอื เวรกรรม ช่างมันเถอะ โดยตรง เนื่องด้วยตนลักลอบเข้าประเทศมา หรือหลายครัง้ ที่ แม้ แ ต่ บ างเคสที่ เ รี ย กร้ อ งแล้ ว ได้ เ งิ น เขาก็ ไ ม่ อ ยากท� ำ ลูกจ้างร้องเรียนแล้ว กลับโดนนายจ้างรังแกหนักกว่าเดิม อีกทั้ง เพราะมันเป็นบาป” สายทิพย์ระบุถึงความเชื่อของชาวไทใหญ่ นโยบายของกรมการจั ด หางานขณะนี้ ไ ม่ ไ ด้ เ ปิ ด ให้ แ รงงาน ที่ท�ำให้ไม่เกิดการฟ้องร้องกรณีที่ถูกนายจ้างเอารัดเอาเปรียบ ที่ลักลอบเข้ามาขึ้นทะเบียนเป็นแรงงานที่ถูกกฎหมายได้
ในฐานะเจ้ า หน้ า ที่ ก รมการจั ด หางาน พอหทั ย ระบุ ถึ ง แนวทางการแก้ปญ ั หาแรงงานข้ามชาติวา่ ในอนาคตอันใกล้จะมี ข้อตกลงว่าด้วยการจ้างแรงงานข้ามชาติระหว่างประเทศไทยกับ ประเทศคูภ่ าคี หรือระบบ MOU ซึง่ จะมีการส่งรายชือ่ แรงงานจาก รัฐบาลเพื่อนบ้านเพื่อให้เข้ามาใช้แรงงานอย่างถูกกฎหมายใน ประเทศไทยได้ โดยอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติสามารถท�ำงานได้ เพียงแค่สองอาชีพเท่านั้น คือ งานกรรมกร และคนรับใช้ในบ้าน ทั้งนี้ วิธีที่แรงงานจะได้ MOU คือแรงงานต้องกลับประเทศ ตัวเองแล้วเข้ามาใหม่โดยใช้พาสปอร์ต ซึ่งเป็นปัญหาส�ำหรับ แรงงานส่วนใหญ่ที่ทั้งครอบครัวได้ย้ายถิ่นฐานมาประเทศไทย หมดแล้ว ไม่สามารถกลับไปประเทศตัวเองได้อีก เพราะเมื่ อ กลั บ ไปที่ นั่ น พวกเขาก็ ไ ม่ มี ตั ว ตน ไม่ ส ามารถท� ำ พาสปอร์ต อย่างที่กรมการจัดหางานต้องการได้ อีกทั้งยังมีข้อก�ำหนดที่ว่า แรงงานที่ถูกน�ำเข้าประเทศไทยต้องมีอายุต�่ำกว่า 55 ปี และเมือ่ แรงงานมีอายุเกิน จะต้องกลับไปประเทศของตน “กลุม่ ทีถ่ กู กฎหมายตอนนีก้ ไ็ ม่ได้รบั ประกันว่าจะอยูไ่ ด้ตลอด ถ้าเปลี่ยนรัฐบาลใหม่ก็ต้องลุ้นกันอีกที” พอหทัยกล่าว ส�ำหรับความหวังของแรงงานเหล่านี้ ศาสตราภิชาน แล ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านแรงงาน มองว่า แรงงานเหล่านี้ต้อง มารวมกลุ ่ ม กั บ สหภาพแรงงานอื่ น ๆ เพราะจะมี ส ่ ว นช่ ว ยใน การผลักดันนโยบายของรั ฐ ซึ่ ง โดยหลั ก การแล้ ว ถ้ า แรงงาน ข้ า มชาติ ท� ำ งานอยู ่ ใ นประเทศไทยก็ ต ้ อ งได้ รั บ การคุ ้ ม ครอง ตามกฎหมายไทย ซึ่ ง ก็ เ ป็ น กฎหมายเดี ย วกั บ การคุ ้ ม ครอง แรงงานไทยในภาคอุตสาหกรรม หรือภาคบริการต่างๆ เช่น ต้องท�ำงานไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง “ประวั ติ ศ าสตร์ รั ฐ เป็ น ของใคร ถ้ า รั ฐ เป็ น ของประชาชน คนทั่วไป ประชาชนสนใจเรื่องเหล่านี้ รัฐจะต้องสนใจ ไม่งั้น รัฐก็จะอยู่ไม่ได้ แต่ส�ำหรับรัฐบาลที่มาจากคนส่วนน้อย เขาก็ ไม่ ไ ด้ มี แ รงกดดั น ที่ จ ะต้ อ งไปดู แ ลคนส่ ว นใหญ่ ยกเว้ น กรณี ที่ ป ล่ อ ยปละละเลยแล้ ว เรื่ อ งมั น จะบานปลาย เกิ ด เป็ น ขบถ จลาจล หรือไม่มีก�ำลังใจท�ำการผลิต ท�ำให้ประเทศชาติเสียหาย อย่างนั้นเขาอาจจะลงไปดู ไม่ใช่เพื่อคนงาน แต่เพื่อเสถียรภาพ ของรัฐนั้นๆ” ศาสตราภิชาน แล สรุป
สแกน QR Code
ติดตามข้อมูลเพิ่มเติม
และภาพถ่ายในไร่ส้ม
โรงเก็บสารเคมีทางการเกษตรของไร่ส้มแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่
ENVIRONMENT
10 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ไมโครพลาสติก แค่ลดการใช้ ก็จัดการได้ เรื่อง : อินทัช สัตยานุรักษ์
“กิ น ข้ า วกั บ น�้ ำ พริ ก สิ จ ๊ ะ ถึงได้สะได้สวย บ้านน้องใช่รำ�่ ใช่รวย มีแต่กุ้ง แต่หอย...” กิ น ข้ า วกับ น�้ ำ พริ ก เพลงยอดฮิ ต เมื่อปี 2518 มีเนื้อหาเกี่ยวกับ “ข้าวกับ น�้ำพริกกะปิปลาทู” เมนูยอดนิยมใน สมัยนั้น เพราะถูกสนับสนุนในฐานะ อาหารเศรษฐกิจ และรัฐบาลส่งเสริม ให้ ค นไทยได้ รั บ ไอโอดี น จากปลาทู คุณแม่ของผูเ้ ขียนก็มเี มนูนเี้ ป็นเมนูโปรด เช่นกัน คุณแม่ยังเล่าถึงการท�ำน�้ำพริก ปลาทูทานกับคุณตาคุณยายเป็นประจ�ำ อย่างไรก็ตาม 44 ปีหลังจากเพลง กินข้าว กับน�้ำพริ ก (ปลาทู) ได้เกิดขึ้นนั้น บริบท ในเพลงนี้อาจไม่เป็นจริงอีกเเล้ว การรายงานของไทยพีบเี อสเมือ่ วันที่ 10 กันยายน ที่ผ ่านมา ระบุว่า ศูนย์ ปฏิบตั กิ ารอุทยานแห่งชาติทางทะเลที่ 3 จังหวัดตรัง ได้สุ่มตัวอย่างปลาบริเวณ ท่าเรือหาดเจ้าไหม พบว่าในกระเพาะ ของปลาทูมีไมโครพลาสติกสะสมมาก ถึง 78 ชิ้นต่อตัวโดยเฉลี่ย ซึ่งถือว่าเป็น ค่าเฉลี่ยที่สูงมาก การค้นพบดังกล่าว สร้างความตื่นตระหนกแก่สังคมเเละ เกิ ด ค� ำ ถามถึ ง ความปลอดภั ย ของ ปลาทูที่วางขายอยู่ทั่วไปในตลาด อีกทัง้ มหาวิทยาลัยแมคกิล (McGill University) ประเทศเเคนาดา ได้เผยเเพร่ ผลงานวิ จั ย เมื่ อ วั น ที่ 25 กั น ยายน ที่ผ่านมา งานวิจัยพบว่า เมื่อน�ำถุงชา พลาสติกมาแช่ในน�้ำร้อนจัดที่อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส พบว่ามีปริมาณของ ไมโครพลาสติกออกมาถึง 11.6 พันล้านชิน้ ซึง่ มีปริมาณมหาศาลกว่าทีเ่ คยตรวจพบ ในอาหารใดๆ จากการพูดคุยกับคนทั่วไป พบว่า ส่ ว นใหญ่ เ คยได้ ยิ น จากข่ า วการพบ ไมโครพลาสติกในปลาทู และในถุงชา หลายพั น ล้ า นชิ้ น แต่ ไ ม่ ท ราบว่ า มี ผลกระทบต่ อ ตนอย่ า งไร และไม่ มี แนวทางปฏิบัติใดต่อจากนั้น “ไมโครพลาสติกเป็นค�ำศัพท์ใหม่ที่ ก�ำลังตืน่ ตัวในช่วงไม่กปี่ นี เี้ อง ตัวนิยาม ก็ บ อกว่ า เป็ น พลาสติ ก อะไรก็ ไ ด้ พลาสติกมีหลายประเภท อาจได้ยินชื่อ พลาสติกอย่าง PT, PET, Polypropylene, Polyethylene จะเป็ น ชนิ ด ไหนก็ ไ ด้
แต่ขอให้มีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร หรือครึ่งเซนติเมตรลงไป เพราะฉะนั้น สเกลมั น คื อ ตั้ ง แต่ ที่ เ รามองเห็ น ไป จนถึ ง มองไม่ เ ห็ น ” รศ.ดร.เจษฏา เด่ น ดวงบริ พั น ธ์ อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ให้ ข ้ อ มู ล เกี่ยวกับไมโครพลาสติก รศ.ดร.เจษฏา อธิบายว่าไมโครพลาสติก มีอยู่ทั่วไปในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เส้นใย ทีห่ ลุดออกมาจากเสือ้ เวลาซัก หญ้าเทียม ใ น ส น า ม ฟุ ต บ อ ล ที่ ห ลุ ด อ อ ก ม า หลังจากการเตะบอล อีกลักษณะเรียกว่า ไมโครพลาสติกแบบ ทุตยิ ภูมิ คือ ขยะ ทีใ่ ช้แล้วถูกทิง้ ลงไปในธรรมชาติ จะโดน น�้ำกัดเซาะและเล็กลงกว่า 5 มิลลิเมตร จึงน่าห่วงว่าขยะทีม่ นุษย์ทำ� ขึน้ มาก�ำลัง สร้างไมโครพลาสติก ไม่ใช่เฉพาะใน แหล่งน�ำ้ เท่านัน้
กระแสน�ำ้ ในมหาสมุทรนัน้ ทรงพลังมาก ขยะทีถ่ กู ทิง้ ลงไปทะเลจ�ำนวนมหาศาล สามารถถูกพัดพาจากจุดทิ้งไปได้ไกล จนถึงขั้วโลกเลยทีเดียว” นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ห ญิ ง อธิ บ ายว่ า ณ ตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก�ำลัง ศึ ก ษาผลกระทบที่ ไ มโครพลาสติ ก มี ต ่ อ มนุ ษ ย์ คงต้ อ งใช้ เ วลาอี ก ประมาณ 5 - 10 ปีขึ้นไปถึงจะทราบ เพราะไมโครพลาสติกไม่ได้เป็นมลพิษ ที่รุนแรง แต่สิ่งที่น่ากังวลคือ การสะสม ของไมโครพลาสติกในร่างกายของเรา นานๆ อาจท�ำให้เกิดผลกระทบตามมา “จากการศึกษาวิจัยของพวกเราที่ ศึกษาผลกระทบของไมโครพลาสติก ต่อพวกสัตว์อย่างเช่น พวกกุ้ง หอย ปู ปลา ตอนนี้เริ่มทราบถึงผลกระทบแล้ว กุ ้ ง ที่ มี ก ารสะสมของไมโครพลาสติ ก เข้ า ไปในตั ว ของเขามาก มั น จะไป
“จะท� ำ อย่ า งไรเรื่ อ งการจั ด การ ไม่ใ ห้ ( ไ ม โ ค ร พ ล า ส ติ ก ) ห ลุ ด ร อ ด เ ข ้ า ไ ป ใ น ระบบนิ เ วศหรื อ สิ่ ง แวดล้ อ ม”
รศ.ดร.สุชนา ชวนิชย์
“ทุ ก อย่ า งมั น มี ข ้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย กระแสความหวาดกลั ว พลาสติ ก เป็นสิง่ ทีไ่ ม่ควรเกิด มันจะหวาดกลัวเกินไป ในมุมหนึ่งคือ เราต้องสามารถเลือกใช้ ให้เหมาะสม ไม่ใช่ว่าปฎิเสธพลาสติก ออกจากชี วิ ต เลย ถ้ า คุ ณ สามารถทิ้ ง ขยะได้ดี มันเป็นสินค้าเอาไปรีไซเคิล ขายได้ ใช้ซ�้ำได้ นั่นแปลว่าปัญหามัน ไม่ได้อยู่ที่ตัวขวด มันอยู่ที่การจัดการ” รศ.ดร.เจษฏา กล่าว ด้ า น รศ.ดร.สุ ช นา ชวนิ ช ย์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย นักวิทยาศาสตร์หญิงไทย คนแรกที่ ไ ด้ ไ ปศึ ก ษาวิ จั ย ยั ง ทวี ป แอนตาร์กติกา เล่าประสบการณ์เมื่อ ครั้ ง ไปวิ จั ย ว่ า “เมื่ อ ครั้ ง ไปศึ ก ษายั ง แอนตาร์ ก ติ ก พบทั้ ง เศษพลาสติ ก และพลาสติกเป็นขวด เมื่อพบก็ตกใจ อยู่เหมือนกัน แต่สิ่งนี้เป็นไปได้เพราะ
ยั บ ยั้ ง ในเรื่ อ งของการสื บ พั น ธุ ์ หรื อ ยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โต ท� ำ ให้ เ จริ ญ เติบโตช้าลงและการลอกคราบไม่ปกติ หรื อ อย่ า งพวกปลาที่ เ ราพบ ถ้ า มี ไมโครพลาสติกเข้าไปสะสมอยู่ในท้อง จะท�ำให้เกิดบาดแผลในท้องได้ เพราะว่า ไมโครพลาสติกมันคม เมือ่ เป็นแผลแล้ว โอกาสจะเป็ น เนื้ อ งอกมะเร็ ง ก็ มี สู ง ” รศ.ดร.สุชนา กล่าว นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล ยังยอมรับว่าไมโครพลาสติกได้ปนเปือ้ น อยู่ในสิ่งแวดล้อมแล้ว เพราะนอกจาก พบไมโครพลาสติกในอาหารทะเลทีเ่ รากิน ยังพบจากน�้ำที่เราดื่ม (มากับภาชนะ) หรื อ อากาศที่ เ ราสู ด (ปะปนอยู ่ กั บ ฝุ่นละอองในอากาศ) “น�้ำดื่มเป็นขวดก็มีการเจือปนของ ไมโครพลาสติกโดยเฉพาะทีฝ่ า หลอดดูด ยิง่ ใหม่จะมีเยอะ เฉลีย่ 3-4 ชิน้ บรรจุภณ ั ฑ์ ที่ ท� ำ มาจากพลาสติ ก มี โ อกาสที่ จ ะมี ไมโครพลาสติ ก ที่ ห ลุ ด รอดออกมา
ภาพ : Iris Hamelmann
ปนเปือ้ นอยูก่ บั สิง่ ทีเ่ รารับประทานก็มสี งู ” รศ.ดร.สุ ช นาระบุ ถึ ง ไมโครพลาสติ ก ที่ พ บใกล้ ตั ว พร้ อ มแนะแนวทางแก้ ปั ญ หาว่ า ขณะนี้ ค งต้ อ งยอมรั บ ว่ า เราคงหลีกเลี่ยงพลาสติกไม่ได้ เพราะ ประโยชน์ของพลาสติกก็มีมาก ฉะนั้น วิ ธี ที่ ไ ด้ ผ ลคื อ การจั ด การการใช้ พลาสติกที่มีประสิทธิภาพ “ไมโครพลาสติกไม่ใช่แค่ผลกระทบ กับเราอย่างเดียว มันคือปัญหาทีเ่ ราเอง ต้องร่วมด้วยช่วยกันแก้ไข อยากฝากไว้ ว่าอย่าไปตื่นตระหนักกับมัน เพียงแต่ เราจะท�ำอย่างไรเรื่องการจัดการ ไม่ให้ มันหลุดรอดเข้าไปในระบบนิเวศหรือ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งพฤติกรรมของเรา เราจะหลีกเลี่ยงพลาสติกตรงนี้ได้มาก น้อยแค่ไหนด้วย” รศ.ดร.สุชนา เสริม แม้วา่ ในปัจจุบนั องค์การอนามัยโลก ยังไม่มีการวิจัยที่ยืนยันถึงผลเสียของ ไมโครพลาสติ ก ที่ มี ต ่ อ มนุ ษ ย์ แต่ ล� ำ พั ง ผลเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสัตว์น�้ำนั้นก็มากโขอยู่ โดยเฉพาะการพบว่ า สั ต ว์ น�้ ำ เอง สามารถเป็ น มะเร็ ง จากการสะสม ไมโครพลาสติกได้ สิ่ ง ที่ เ ราเห็ น ประจั ก ษ์ ใ นทุ ก วั น นี้ คื อ สิ่ ง ที่ ล ้ ว นเกิ ด จากน�้ ำ มื อ มนุ ษ ย์ ที่ ส ร้ า ง น� ำ พลาสติ ก ลงสู ่ ท ้ อ งทะเล และในที่ สุ ด พลาสติ ก นั้ น ก็ ย ้ อ นกลั บ มาหาผูส้ ร้าง ต้องรอให้มงี านวิจยั ออกมา อีกกี่ฉบับ เราถึงจะตื่นตัวและเริ่มที่จะ ลงมือปฏิบตั เิ พือ่ สร้างความเปลีย่ นแปลง ดังที่อาจารย์ทั้งสองได้กล่าวเอาไว้ว่า ส�ำคัญที่การสร้างความตระหนักและ การจัดการ ซึ่งทั้งสองอย่างนั้นเริ่มต้น ได้ด้วยมือเรา ด้วยใจหวังอย่างยิ่งว่า ปลาทูไทย จะไร้ซึ่งไมโครพลาสติก และเราคงได้ กลับมาทานข้าวกับน�ำ้ พริกอย่างสบายใจ “กิ น ข้ า วกั บ น�้ ำ พริ ก สิ จ ๊ ะ ถึ ง ได้ ส ะได้ ส วย บ้ า นน้ อ ง ใช่ร�่ำใช่รวย มีแต่กุ้ง แต่หอย เก็ บ ผั ก ตั ก น�้ ำ ตามประสา คนป่ า คนดอย ค�่ ำ ลงอาบ น�้ ำ ตามคลอง น�้ ำ ในคลอง น่าลอย...”
ECONOMY 11 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 | 11
เกษตรออร์แกนิกไทย ดีจริงไหม? เมื่อมาตรฐานของไทยยังไกลจากสากล เรื่อง : ภาวิตา แจ่มคล้าย และ ณภัทร เจริญกัลป์
“เวลาอ่ า นค� ำ โปรยสิ น ค้ า แล้วพบว่าเป็นผักออร์แกนิก ปลอดสารพิษ เราก็เชื่อจริงๆ ว่ า กิ น แล้ ว จะปลอดภั ย จะไม่ เป็นอะไร” ค�ำบอกเล่าจากผู้บริโภคผักออร์แกนิก ผ่านการพูดคุยกันในเวลาไม่นาน สะท้อน ให้ เ ห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มั่ น ในมาตรฐาน ความปลอดภั ย ต่ อ สุ ข ภาพของพื ช ผั ก ที่ ขึ้ น ชื่ อ ว่ า “ออร์ แ กนิ ก ” แต่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว การแปะป้ า ยว่ า เป็ น “ออร์แกนิก” นัน้ เท่ากับความปลอดภัยทีเ่ รา สมควรจ่ายในราคาที่แพงกว่า จริงหรือ? “วิ ถี แ ห่ ง อนาคต” หนึ่ ง ในค� ำ นิ ย าม ของการผลิ ต และบริ โ ภคเกษตรอิ น ทรี ย ์ หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น เป็ น วงกว้ า งในนาม “ออร์ แ กนิ ก ” จนกลายเป็ น ค� ำ แปะป้ า ย ของสินค้าที่พยายามสื่อสารว่ามีคุณภาพ ปราศจากสารพิษที่อันตรายต่อมนุษย์ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ นั้นเป็ น เกษตรแบบองค์ ร วม พิ จ ารณา ความสั ม พั น ธ์ ข องเกษตรกรรมและ สิ่ ง แวดล้ อ ม ผลกระทบต่ อ ระบบนิ เ วศ ไม่ ใ ช้ ส ารเคมี ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช หรื อ ปุ ๋ ย เคมี เป็ น เกษตรกรรมที่ ตั้ ง อยู ่ บ นหลั ก การ อนุรักษ์ธรรมชาติทั้งระบบ พลูเพ็ชร สีเหลืองอ่อน ผูป้ ระสานงาน และกรรมการรับรองฟาร์ม ฝ่ายส่งเสริม ของกลุม่ เกษตรอินทรีย์ อ�ำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา กล่าวว่า เกษตรอินทรีย์ มีความครบถ้วนในแง่ของความยั่ ง ยื น หนึ่งคือ ดีต่อสุขภาพของผู้บริโภค สองคือ ยั่งยืนมั่นคงต่อสิ่งแวดล้อม และสามคื อ สามารถสร้ า งการต่ อ รองราคาได้ หากไม่ มี ก ลไกราคาตลาดมาแทรกแซง ท�ำให้ราคาเกษตรอินทรีย์เป็นธรรมทั้งต่อ ผู้ผลิตและผู้บริโภค ด้วยเหตุนี้ ในรอบสิบกว่าปีที่ผ่านมา สินค้าออร์แกนิกจึงกลายเป็นที่นิยมมาก จากรายงานการศึ ก ษา The World of Organic Agriculture ฉบับปี 2561 โดย สถาบั น วิ จั ย ด้ า นการเกษตรอิ น ทรี ย ์ (FiBL) และสหพั น ธ์ เ กษตรอิ น ทรี ย ์ นานาชาติ (IFOAM) พบว่ า ผู ้ บ ริ โ ภคมี ความต้ อ งการบริ โ ภคสิ น ค้ า ออร์ แ กนิ ก เพิ่มขึ้น ท�ำให้เกษตรกรหันมาท�ำ เกษตร อิ น ทรี ย ์ แ ละพื้ น ที่ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ก็เพิ่มขึ้นตาม ประเทศไทยเองก็ มี ค วามพยายาม ในการผลักดันสินค้าเกษตรรูปแบบดังกล่าว โดยในยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาเกษตร อินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2564 ที่จัดท�ำ โดยคณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ แห่งชาติ ระบุวิสัยทัศน์ว่า ประเทศไทย ต้องเป็นผูน้ ำ� ในระดับภูมภิ าคด้านการผลิต การบริโภค การค้า และการบริการเกษตร อินทรีย์ที่มีความยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล
ภาพ : Shutterbug75
นอกจากนั้ น การตรวจพบผลผลิ ต เกษตรกรรมที่มีสารพิษตกค้างในปริมาณ ที่ เ ป็ น อั น ตรายบ่ อ ยครั้ ง ส่ ง ผลให้ ค วาม ไว้วางใจต่อการบริโภคผักและผลไม้ทไี่ ม่ได้ ถู ก แปะป้ า ยว่ า เป็ น ออร์ แ กนิ ก ลดลง ผนวกกับทิศทางของพฤติกรรมผูบ้ ริโภคใน ปัจจุบันที่หันมาใส่ใจดูแลสุขภาพมากขึ้น ปั จ จั ย เหล่ า นี้ ส ่ ง ผลต่ อ การเติ บ โตของ เกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม แม้วา่ พืชผักออร์แกนิกจะ มี ภ าพลั ก ษณ์ ว ่ า ไร้สารพิษ แต่บางครั้งก็ ยังคงตรวจพบสารเคมีตกค้างในผลผลิต ออร์แกนิกที่มีมาตรฐานรับรอง “โดยภาพรวมแล้ ว มี ก ารตรวจพบ สารเคมี ต กค้ า งในผั ก ผลไม้ ที่ จ� ำ หน่ า ย ในห้างสรรพสินค้ามากกว่าในตลาด ผักใน ห้างนั้นตรวจพบสารเคมีทั้งที่รองรับด้วย มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices - GPA) และมาตรฐานออร์แกนิก” ปรกชล อูท๋ รัพย์ ผู้ประสานงานเครือข่ายเตือนภัยสารเคมี ก�ำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) กล่าว ปรกชลให้ ข ้ อ มู ล ว่ า ส่ ว นใหญ่ จ ะมี การตรวจสารเคมีตกค้างในผักผลไม้ตาม ห้างสรรพสินค้าและตลาดปีละ 1-2 ครั้ง แต่ไม่ได้เข้าไปถึงฟาร์มผู้ผลิต เนื่องจาก กฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภคจะบังคับใช้เมือ่ ผู้บริโภคซื้อสินค้าที่จุดจ�ำหน่าย ถ้าสินค้า อาหารที่ ผู ้ บ ริ โ ภคซื้ อ มี ส ารพิ ษ ตกค้ า ง เกินค่ามาตรฐาน พ.ร.บ. คุ้มครองอาหาร จะมาคุ้มครองผู้บริโภคแทน เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู ้ บ ริ โ ภคจะมั่ น ใจได้ อย่างไรว่าเงินที่จ่ายแพงกว่ า ไปนั้ น จะได้ สินค้ามาตรฐานทีร่ บั ประกันความปลอดภัย ได้จริงๆ ในปัจจุบันมีการตรวจรับรองผลผลิต ออร์แกนิกหลายมาตรฐาน ทั้งมาตรฐาน การรับรองแบบมีส่วนร่วม ที่ให้กลุ่มท�ำ หน้าทีใ่ นการควบคุมผู้มีส่วนร่วมและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย หรือมาตรฐานการรับรอง แบบสากลที่ มี ห น่ ว ยงานภาครั ฐ เข้ า มา ร่วมในกระบวนการตรวจรับรอง อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตว่า “มาตรฐาน ออร์ แ กนิ ก ไทยแลนด์ ” นั้ น ก็ ยั ง ไม่ เ ป็ น ที่ยอมรับในระดับสากล “ถ้าขอเป็นมาตรฐานออร์แกนิกไทย แลนด์ การส่งออกจะมีปญ ั หา เพราะว่าไม่ได้ มาตรฐานสากล เวลาเขามาตรวจกี่ครั้งๆ ออร์แกนิกไทยแลนด์ก็เจอสารตกค้างใน ผลผลิต” พลูเพ็ชรกล่าว พลูเพ็ชรในฐานะผู้ประสานงานของ กลุ ่ ม เกษตรอิ น ทรี ย ์ กล่ า วเสริ ม ว่ า กลุ ่ ม เกษตรอิ น ทรี ย ์ ส นามชั ย เขตเลื อ ก ที่ จ ะขอมาตรฐานสากล เครื่ อ งหมาย เหล่านี้จะช่วยรับรองว่าสามารถส่งสินค้า เกษตรอินทรีย์ไปขายที่ไหนได้บ้าง เช่น
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ (IFOAM) และตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ แคนาดา ซึง่ ถ้าผ่านมาตรฐานแคนาดาก็จะ ผ่านมาตรฐานสหรัฐอเมริกาด้วย “เราพบว่ า ตรารั บ รองของสากล มีการตรวจพบสารเคมีน้อยกว่า” ปรกชล ผู้ประสานงาน Thai-PAN กล่าว ปรกชลอธิบายเพิ่มเติมว่า ในบรรดา ตรามาตรฐานออร์แกนิกของประเทศไทย มาตรฐานที่พบสารเคมีตกค้างบ่อยที่สุด คือ มาตรฐานของออร์แ กนิกไทยแลนด์ ของส� ำ นั ก งานมาตรฐานสิ น ค้ า เกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) “หากตรวจพบสารเคมี เขาก็ จ ะไม่ ท� ำ การต่ อ ใบอนุ ญ าตให้ แ ก่ เ กษตรกร เจ้านั้นๆ ซึ่งมันแสดงให้เห็นว่าเขาไม่ได้ เข้าไปดูสาเหตุจริงๆ ว่าท�ำไมถึงเจอสารเคมี แล้วก็ทิ้งตัวเกษตรกรไป” ปรกชลเสริม
“ไม่ มี เ ลย” พลู เ พ็ ช รยอมรั บ พร้ อ ม เล่ า ต่ อ ว่ า ทางกลุ ่ ม เกษตรอิ น ทรี ย ์ สนามชั ย เขตต่ อ สู ้ กั บ การแย่ ง ชิ ง พื้ น ที่ ระหว่างภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม มาโดยตลอด เริ่ ม ตั้ ง แต่ มี ก ารต่ อ ต้ า น การสร้ า งโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ที่ จ ะมาใช้ พื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ แหล่ ง ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ตลอดจนมีสถานการณ์ที่หนักข้อ ขึ้นกว่าทุกครั้ง อย่างในกรณีการยกเว้น การใช้ พื้ น ที่ โ ครงการระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) หนึ่ ง ใน นโยบายหลักของรัฐบาลคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่ อ พั ฒ นาพื้ น ที่ เศรษฐกิ จ ใหม่ หากยกเว้ น กฎหมาย บางอย่างเพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายนี้ ไม่ ติ ด ข้ อ จ� ำ กั ด ซึ่ ง การยกเว้ น ดั ง กล่ า ว กระทบต่อกับการน�ำที่ดินเพื่อการเกษตร ไปใช้ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ แ ล้ ว จะมั่ น ใจได้ อย่ า งไรว่ า คนไทยจะได้ ท านผั ก ผลไม้ ออร์แกนิกที่ไร้สารพิษตกค้างจริงๆ
“ตอนนี้เกษตรอินทรีย์ คือความมั่นคงทางอาหาร... ไม่ใช่แค่ผู้ผลิตต้องต่อสู้ แต่รวมทั้งผู้บริโภคและหุ้นส่วนของสังคม พลูเพ็ชร สีเหลืองอ่อน ที่คิดว่าตนเองอยากมีชีวิตรอด”
นอกจากนี้ ป ั ญ หาสารเคมี ต กค้ า ง ในผลผลิ ต ที่ ไ ด้ ม าตรฐานออร์ แ กนิ ก ส่ ว นหนึ่ ง มาจากปั ญ หาการสวมสิ ท ธิ์ คื อ การแปะป้ า ยหน้ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ ว ่ า ผั ก ผลไม้ที่วางขายนั้นได้มาตรฐานออร์แกนิก แต่ผ ลผลิตด้านในนั้นไม่ใ ช่ ผูป้ ระสานงาน Thai-PAN เล่าว่า เคยพบ ปั ญ หาการสวมสิ ท ธิ์ จ ากทั้ ง พ่ อ ค้ า คนกลางและห้าง พร้ อ มยกตั ว อย่ า งว่ า เขาเคยตรวจพบผักออร์แกนิกทีม่ สี ารพิษ ตกค้างเกินค่ามาตรฐาน จึงส่งผลตรวจ ดังกล่ า วให้ ท างกรมวิ ช าการเกษตรซึ่ ง เป็ น ผู ้ ดู แ ลมาตรฐาน ท� ำ ให้ เ กษตรกร เจ้าของผลผลิตไม่สามารถต่อใบอนุญาตได้ หลังจากนั้นเขาจึงโทรศัพท์มาสอบถามว่า ตรวจสารพิษจากผักชนิดใด ทาง Thai-PAN บอกว่ า เป็ น ถั่ ว ฝั ก ยาว เขาตอบกลั บ ว่ า ช ่ ว ง เ ว ล า นั้ น ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง เ ข า ไ ม ่ มี ถั่วฝักยาวเลย จนเมื่อท�ำการตรวจสอบ ในภายหลังพบว่าพ่อค้าคนกลางได้น�ำผัก จากประเทศจีนมาจัดใส่ถงุ แล้วติดมาตรฐาน ออร์แกนิกของเขาเอง นอกจากปั ญ หาด้ า นมาตรฐาน การรั บ รองแล้ ว อี ก หนึ่ ง ความท้ า ทายที่ ภาคเกษตรก� ำ ลั ง เผชิ ญ คื อ การจั ด การ พื้นที่ท�ำเกษตรอินทรีย์ “นิสิตนักศึกษา” สอบถามถึงการช่วย จั ด สรรพื้ น ที่ ที่ เ อื้ อ ต่ อ การท� ำ เกษตร อินทรีย์จากภาครัฐ
“บางคนมีช่างตัดผมส่วนตัว เลือกร้าน เลือกช่าง แต่ไม่เคยรูเ้ ลยว่าใครปลูกข้าวให้ เรากิน ซื้อข้าวจากใครก็ได้อย่างนั้นหรือ?” ปรกชลตั้งค�ำถาม ปรกชลมองว่าการเลือกซื้อผักผลไม้ ให้ปลอดภัยกับตัวเองมากทีส่ ดุ นัน้ ส่วนหนึ่ง อาจจะต้องปลูกกินเอง ท�ำกับข้าวเอง หรือ กระทั่งรู้จักตัวเกษตรกร รวมทั้งต้องค�ำนึง ถึงบทบาทของตัวผู้บริโภคเองว่ามองตน เป็ น แค่ ค นซื้ อ หรื อ จะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ การแก้ปญ ั หานี้ ถ้ามองตัวเองเป็นผูแ้ ก้ปญ ั หา ก็ต้องหาข้อมูลในการคั ด สรรผั ก ผลไม้ เช่น การดูความเป็นไปได้ว่าผลผลิตนั้นๆ สามารถผลิตขึ้น และขายสู่ท้องตลาดใน ฤดูนี้หรือไม่ เป็นต้น “ถ้ามองตัวเองเป็นผูแ้ ก้ปญ ั หา ต้องมอง เลยว่าเงินทุกบาทเป็นการโหวต คุณซื้อ สารเคมี อ ยู ่ ห รื อ เปล่ า หรื อ คุ ณ ก� ำ ลั ง ซื้ อ สิ่งแวดล้อม ซื้ออนาคตที่ปลอดภัย หรือ แค่ซอื้ ๆ ไป สุดท้ายเงินมันก็ออกไปสูบ่ ริษทั เคมี” ปรกชลกล่าว “ตอนนี้เกษตรอินทรีย์ คือความมั่นคง ทางด้านอาหาร คือทางออกการปรับตัว รับมือกับสภาพอากาศที่มันเปลี่ยนแปลง รับมือกับสุขภาพของคน และการมีชีวิต อยู่อย่างยั่งยืนของภาคประชาชน ไม่ใช่แค่ ผู้ผลิตต้องต่อสู้ แต่รวมทั้งผู้บริโภคและ หุ้นส่วนของสังคมที่คิดว่าตนเองอยากมี ชีวิตรอดจะต้องมาร่วมขับเคลื่อน มาร่วม ต่อสู้ด้วยกันไปด้วยกัน” พลูเพ็ชรกล่าว
CULTURE
12 ฉบับบทีที่ 2่ 2ปีปีกการศึ ารศึกกษา ษา2562 2562 12 | |ฉบั
ร้านน�้ำชา
เรื่อง: ภาวิตา แจ่มคล้าย, สุชานันท์ เสมหิรัญ และ ทิฆัมพร บุญมี ภาพ: ทิฆัมพร บุญมี
พื้นที่สร้างความสัมพันธ์ในความขัดแย้ง หลังจากถอดหมวกแห่งหน้าที่เมื่อเสร็จ ภารกิจของชีวต ิ เหล่ามนุษย์กรุงเทพฯ จ�ำนวน ไม่น้อยต่างมุ่งหน้าไปหาแสง สี เสียงดนตรี เคล้าบรรยากาศสังสรรค์กับเพื่อนฝูงตาม ร้านเหล้า หรือผับบาร์ เพื่อพูดคุยผ่อนทุกข์ และเติมความสุขให้ชวี ต ิ
ขณะเดี ย วกั น ห่ า งจากกรุ ง เทพฯ ไปทางใต้ ร าว 1,055 กิโลเมตร บนแผ่นดินปลายด้ามขวานที่มีประชากร ชาวมุสลิมจ�ำนวนมาก และมีความเชื่อว่าทุกสิ่งที่ดื่มแล้ว มึนเมาเป็นของต้องห้าม (หะรอม) พืน้ ทีส่ ร้างความสัมพันธ์ ของผูค้ นในปัตตานีจงึ เปลีย่ นจากผับบาร์ กลายเป็น “ร้านน�ำ้ ชา” ที่กระจายตัวอยู่ทั่วจังหวัด แต่สถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดต่อเนื่อง ท�ำให้ บางร้านน�้ำชาต้องหันมาปรับตัว บ้างก็ปิดเร็วขึ้นจากเดิม ที่เปิด 24 ชั่วโมง หรือปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ด้วยการแต่งร้าน ดึงดูดคนให้เข้ามาแวะเวียนมากขึน้ แต่สงิ่ หนึง่ ที่ร้านน�้ำชา ยั ง คงท� ำ หน้ า ที่ เ ช่ น เดิ ม คื อ เป็ น แหล่ ง พบปะสั ง สรรค์ ของคนทุกวัย ไม่ต่างจากสถานบันเทิงในภูมิภาคอื่น
คล้ า ยร้ า นเบี ย ร์ พ ร้ อ มกั บ มี โ ปรเจคเตอร์ ถ ่ า ยทอดสด ฟุตบอลให้ลูกค้าได้ชม อย่างไรก็ดี สิ่งที่ขาดไม่ได้ในร้าน น�้ ำ ชาคื อ เมนู น�้ ำ ชา กาแฟ ที่ พ บได้ ทุ ก ร้ า นแม้ ร สชาติ จะแตกต่างกันไป “ร้านน�ำ้ ชาทีน่ เี่ ป็นทุกอย่าง” นาซือเราะ เจะฮะ นักข่าว ศู น ย์ ข ่ า วภาคใต้ ส� ำ นั ก ข่ า วอิ ศ รา เล่ า ระหว่ า งเรารอ เครื่องดื่มน�้ำชาและโรตีที่ซุ้มชาในร้านขึ้นชื่อของโรงแรม ซี.เอส. ปัตตานี ผู้คนในจังหวัดปัตตานีมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับร้านน�้ำชา ตั้งแต่วัยเยาว์จนกระทั่งแก่เ ฒ่า กล่าวได้ว่าร้านน�้ำชา ไม่ ใ ช่ เ พี ย งที่ พ บปะสั ง สรรค์ พู ด คุ ย ไถ่ ถ ามสารทุ ก ข์ หากแต่หมายรวมถึงเป็นสัญลักษณ์ที่ผู้คนใช้สื่อสารถึง เหตุการณ์บ้านเมือง ร้านน�้ำชาจึงตั้งอยู่ตามชุมชนต่างๆ ท�ำหน้าที่เป็นเหมือนร้านขายเครื่องดื่ม ร้านขายอาหาร และร้านขายของช�ำในร้านเดียวกัน
• ร้านน�ำ้ ชา สิง ่ ทีข ่ าดไม่ได้ของทุกชุมชน
“เวลาอยากรูเ้ รือ่ งอะไรก็ให้ไปนัง่ ร้านน�ำ้ ชา จะปล่อยข่าว อะไรก็ไปร้านน�้ำชา หรือถ้าจะสังเกตว่าพื้นที่บริเ วณนี้ จะเกิดเหตุ ก็ให้สังเกตว่าร้านน�้ำชาคนมันจะหาย เราก็หา ค�ำตอบไม่ได้ว่าท�ำไมคนถึงหายก่อนที่จะมีเหตุเกิดตลอด 15 ปี มันเป็นเช่นนี้มาตลอด” นาซือเราะเล่า
โต๊ ะ ที่ เ รี ย งราย ผู ้ ช ายที่ นั่ ง สนทนากั น เป็ น กลุ ่ ม ๆ พร้ อ มกั บ นกเขาที่ แ ขวนอวดโฉมอยู ่ บ ริ เ วณหน้ า ร้ า น เป็นสภาพของร้านน�้ำชาโดยทั่วไปตามชานเมือง แต่เมื่อ เข้ามาในเมือง ร้านน�้ำชาจะถูกปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย บ้างก็ตกแต่งร้านด้วยของเก่าจ�ำนวนมาก บ้างก็อยูก่ ลางแจ้ง
หากในโลกออนไลน์มีทวิตเตอร์เป็นพื้นที่ในการแพร่ กระจายข่าวสารและความคิดเห็นได้อย่างรวดเร็ว เข้าถึง คนจ� ำ นวนมาก ร้ า นน�้ ำ ชาในปั ต ตานี ก็ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ไ ด้ ไม่ต่างกัน ทุกเรื่องราวในสังคมที่เกิดขึ้นไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ถูกหยิบยกมาพูดคุยกันได้ในพื้นที่ร้านน�้ำชา
บรรยากาศร้านน�้ำชาแห่งหนึ่งในย่านเมืองเก่าจะบังติกอ อ.เมือง จ.ปัตตานี
“อย่างช่วงเลือกตั้ง คนก็มาคุยการเมือง หรืออย่างถ้า เมื่อคืนมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ก็จะพูดคุยกันไปว่า ท�ำไม ถึงเกิด เราก็จะได้รู้ด้วย ได้ประเด็นใหม่ๆ พวกขบวนการ ก็จบั จุดตรงนีม้ าปล่อยข่าวด้วยเหมือนกัน” ผูส้ อื่ ข่าวท้องถิน่ ชีใ้ ห้เห็นบทบาททีเ่ ป็นมากกว่าร้านขายอาหารและเครือ่ งดืม่ ของร้านน�ำ้ ชา • เวลาท�ำการของร้านน�้ำชา ส่วนใหญ่แล้วผู้คนจะเข้าออกร้านน�้ำชากันเกือบทั้งวัน โดยเฉพาะผู้ชาย แต่ในช่วงกลางวันคนจะน้อย ไม่คกึ คัก เท่ากับช่วงเช้าราวตี 5 ถึง 9 โมง และช่วงหลังเลิกงาน ประมาณ บ่าย 3 โมง ถึงช่วงหัวค�่ำที่คนเริ่มจะเยอะขึ้น ออกจากใจกลางเมืองปัตตานีมาราวสิบนาที ในบริเวณ ชุ ม ชนใกล้ มั ส ยิ ด กรื อ เซะ ศาสนสถานมั ส ยิ ด เก่ า แก่ อายุราว 200 ปี มีร้านน�้ำชาของ “แบดอง” ที่ให้บริการ อยู ่ คู ่ กั บ ชุ ม ชน ขายคนในชุ ม ชนบริ เ วณนี้ ม าช้ า นาน เปิดตั้งแต่ช่วงเช้าจนถึงราวสี่โมงเย็น “คนแถวนี้ จ ะมี เ วลาตามเวลาละหมาด ตื่ น เช้ า มา ละหมาดแล้วมากินร้านน�้ำชา ตอนเย็นละหมาดเสร็จก็ไป กิ น น�้ ำ ชาต่ อ เป็ น วิ ถี ชี วิ ต วนเวี ย นอยู ่ แ บบนี้ ” เจ้ า ของ ร้านน�้ำชาในชุมชนบอก เช่ น เดี ย วกั บ ร้ า น ก๊ ะ แวรารี ย ะ ร้ า นน�้ ำ ชาริ ม แม่ น�้ ำ ปัตตานีทเี่ ปิดให้บริการมากว่า 17 ปี ก็เลือกหยุดทุกวันศุกร์ เพราะเป็ น วั น ละหมาดใหญ่ อี ก ทั้ ง ในช่ ว งแรกที่ เ กิ ด ความไม่ ส งบ พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ ยั ง เคยมี ค นปล่ อ ยข่ า วว่ า
CULTURE
หากใครเปิดท�ำกิจการใดๆ ในวันศุกร์จะถูกตัดหู ส่งผลให้ พ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า ทั้ ง ในและนอกตลาดไม่ ก ล้ า เปิ ด ร้ า น ให้บริการโดยทั่ว แม้ว่าจะใจกล้าเปิดร้านเพราะรู้ว่า นั่นเป็นข่าวลือ แต่ก็ล�ำบากในการหาซื้อข้าวของอยู่ดี เธอจึงเลือกปิดร้านและใช้วนั ศุกร์เป็นวันหยุดมานับตัง้ แต่นนั้ นอกจากนีร้ า้ นน�ำ้ ชาในเมืองปัตตานีกย็ งั มีการปรับตัว ตามฤดูกาล เช่น ในช่วงฤดูถอื ศีลอด หลายร้านก็หยุดขาย ช่วงกลางวัน หันไปขายแค่กลางคืนตามหลักศาสนา อิสลามซึง่ บัญญัตไิ ว้วา่ ในช่วงนีช้ าวมุสลิมจะรับประทาน อาหารได้ในช่วงเวลาหลังพระอาทิตย์ตกดิน ตามการ ค�ำนวณของหลักดาราศาสตร์อิสลามโดยวัดพิกัดองศา ของแต่ละพื้นที่ • การปรับตัวของร้านน�้ำชา ในวันที่บริบทสังคมเปลี่ยนไป ทุ ก วั น นี้ ร ้ า นน�้ ำ ชาในตั ว เมื อ งจั ง หวั ด ปั ต ตานี มีจ�ำนวนมากขึ้น รูปแบบก็ถูกปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย บ้างตกแต่งด้วยแสงสีสดใส บ้างมีเมนูแปลกใหม่ที่ทั้ง คิดค้น ปรับแต่งด้วยความชอบของเจ้าของร้าน หรือกระทัง่ ได้รบั อิทธิพลมาจากเพือ่ นบ้านอย่างมาเลเซีย และบางแห่ง ก็มรี ปู แบบ บรรยากาศทีม่ องแวบแรกเหมือนกับร้านเหล้า เลยทีเดียว ขณะเดี ย วกั น ห่ า งออกนอกตั ว เมื อ งปั ต ตานี ไ ป สั ก หน่ อ ย เราก็ ยั ง คงพบเห็ น ร้ า นน�้ ำ ชาแบบดั้ ง เดิ ม ให้ บ ริ ก ารคนชุ ม ชนอยู ่ ร้านริมถนนใหญ่ ลักษณะเป็นเพิงขนาดไม่ใหญ่นัก หน้าร้านมีควันจากการย่างไก่และบนโต๊ะมีครกส้มต�ำ วางอยู ่ มองผิ ว เผิ น คล้ า ยร้ า นส้ ม ต� ำ ในภาคอี ส าน กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่ของร้านน�้ำชานอกเมืองเป็นผู้ชาย เมื่อเราก้าวเท้าลงจากรถ สายตาทุกคูจ่ บั จ้องคนต่างถิน่ ทีเ่ ดินเข้ามา ชายกลุม่ หนึง่ ทีน่ งั่ อยูก่ อ่ นแทบลุกให้พวกเรา นั่งในทันที หากนั่งร้านน�้ำชาในแถบชานเมืองปัตตานีไปสักพัก เราจะพบวิถีชีวิตที่น่าสนใจ บางคนก็สูบยาเส้นคุยกับ กลุ ่ ม เพื่ อ นตามประสา บางคนก็ น� ำ นกมาอวดโฉม แขวนกรงอยู ่ ห น้ า ร้ า น แต่ ค วามน่ า สนใจยิ่ ง กว่ า คื อ ถึ ง แม้ บ างคนจะไม่ รู ้ จั ก กั น แต่ ก ารเข้ า ไปนั่ ง ที่ โ ต๊ ะ เดียวกัน แค่เอ่ยค�ำทักทายก็สามารถคุยกันได้เหมือนพีน่ อ้ ง ส่วนร้านน�้ำชาในย่านเมืองเก่าจะบังติกออย่างร้าน ข้าวย� ำจริ งใจ ของ ก๊ะ แมะกูเราะ ฮะอีสุหลง ที่ท�ำ ธุรกิจร้านน�้ำชามา 30 กว่าปี ร้านน�้ำชาแห่งนี้มีลักษณะ คล้ายบ้านปูนชั้นเดียว เปิดกว้างด้านหน้า มีอาหาร ขายอยู ่ ด ้ า นหน้ า และมี ซุ ้ ม น�้ ำ ชาอยู ่ ภ ายในตั ว ร้ า น บริเวณโดยรอบเรียงรายด้วยโต๊ะม้าหินอ่อนทีถ่ ูกจับจอง โดยลูกค้าขาประจ�ำกันที่มานั่งจิบน�้ำชา ดื่มกาแฟกัน ตั้งแต่เช้าตรู่ แม้ไม่ได้หรูหราหรือปรับบรรยากาศให้ดู ทั น สมั ย แต่ ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า ในชุ ม ชนก็ ยั ง แวะเวี ย นมา สม�่ำเสมอ เพราะน�้ำชาที่ละมุนลิ้นและรสชาติอาหาร ทีค่ นุ้ เคยในราคาทีย่ อ่ มเยา ทีน่ อกจากเมนูเด็ดจะมีนำ�้ ชา และโรตีเหมือนอย่างร้านน�้ำชาอื่นๆ แล้ว ยังมีข้าวย�ำ ข้าวหมกเนื้อสูตรอาหรับไว้ให้บริการ เช่นเดียวกับร้าน บังหนูด ร้านน�้ำชาเก่าแก่คู่จังหวัด ปัตตานีทตี่ งั้ อยูบ่ นถนนเจริญประดิษฐ์ หรือถนนสายมอ. มา 30 กว่าปี บรรยากาศด้านหน้าร้านในยามเช้านั้น เรี ย งรายด้ ว ยโต๊ ะ เก้ า อี้ จ� ำ นวนมากที่ ถู ก จั บ จองด้ ว ย หลากวงสนทนาและหลายช่ ว งวั ย ที่ ต ่ า งมาพู ด คุ ย
ฉบับบทีที่ 2 ่ 2ปีปีกการศึ ารศึกกษา ษา2562 2562|| 13 ฉบั 13
พร้อมจิบน�้ำชาและทานอาหารเช้ากัน ที่แห่งนี้ตอกย�้ำ ให้เห็นบทบาทส�ำคัญของร้านน�้ำชาในเป็นสื่อกลาง ส่ ง ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรมของชาวปั ต ตานี จ าก คนรุ่นเก่ามายังคนรุ่นปัจจุบัน “ร้านน�้ำชาดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเยอะ บ้างก็ประสบ ความส�ำเร็จแต่บ้างก็ไม่ อาจจะเป็นเพราะทัง้ ตัวอาหาร การบริการ และการประชาสัมพันธ์ด้วย บางคนอยู่ที่นี่ มานานแต่กเ็ พิง่ เคยมาร้านเรา หรือบางคนบอกว่าได้ยนิ ชื่อร้านมานานแต่ว่าไม่รู้ว่าอยู่ที่ไหนก็เลยไม่ได้มาก็มี” ก�ำพล พฤกษวัลต์ ชาวไทยพุทธเชื้อสายจีน เจ้าของ ร้าน ดูปัง ร้านน�้ำชาที่มีขนมปังปิ้งหลากหลายรสชาติ และเบียร์ไร้แอลกอฮอล์ หรือ Malt Drink ให้บริการด้วย ร้านดูปงั ของก�ำพลถูกแปลงมาจากบ้านเก่าสามชัน้ ริมถนนปรีดา เป็นร้านน�ำ้ ชาสองชัน้ ในย่านเมืองเก่า ทีเ่ ปิด ให้บริการตั้งแต่เวลาบ่ายสามโมงเย็นไล่ไปจนถึงตีสาม ภายในร้านตกแต่งด้วยแสงไฟสีส้มสลัว ให้บรรยากาศ คล้ายร้านนั่งชิลที่ชาวกรุงเคยคุ้น ร้านน�้ำชาแห่งนี้เปิด ให้บริการมาราวสี่ปี และกลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ ร้านน�้ำชาที่เจ้าของร้านชาวไทยพุทธมีคือการปรับตัว ให้เข้ากับวิถชี วี ติ ของประชากรส่วนใหญ่ซงึ่ เป็นชาวมุสลิม “ร้านของผม ที่คนมุสลิมมานั่งกันเยอะเพราะเรา ตัด (เมนู) เกีย่ วกับหมูไปแล้วท�ำเป็นฮาลาลซะ ท�ำให้ถกู ขั้นตอน คนทานสบายใจเราก็สบายใจ หรือร้านเราก็มี น�้ำบาร์บิกัน (เบียร์ไร้แอลกอฮอล์ยี่ห้อหนึ่ง) รสชาติ เหมือนเหล้า แต่เป็นฮาลาล” ก�ำพลกล่าว นอกจากรู ป แบบร้ า นน�้ ำ ชาที่ ถู ก พั ฒ นามาให้ มี ความหลากหลายมากขึ้นแล้วนั้น เมนูที่น�ำมาให้บริการ ก็ มี ใ ห้ เ ลื อ กมากขึ้ น เพื่ อ ตอบโจทย์ ก ลุ ่ ม เป้ า หมาย ที่หลากหลาย “เมือ่ ก่อนเราเปิดร้านในรูปแบบง่ายๆ ได้ มีแต่ผชู้ ายมา แต่ ต อนนี้ เ ราก็ ต ้ อ งท� ำ ให้ มั น น่ า นั่ ง ขึ้ น ต้ อ งพั ฒ นา ไปเรือ่ ยๆ เพราะร้านเดีย๋ วนีม้ นั เกิดขึน้ เยอะ ต้องมีการท�ำ เมนูให้หลากหลายเพราะเดี๋ยวนี้ลูกค้ามีหลากหลาย ชอบมานั่งยาวๆ มากินทุกวันถ้ามีแต่แบบเดิมๆ เขาก็ เริ่มเบื่อ เราก็ต้องเปลี่ยนเรื่อยๆ” อาฮามัด ดือราแม เจ้าของ ร้านน�้ำชาช็อคโกแลต ร้านน�้ำชาที่เป็นที่คุ้นเคย ของวัยรุ่นปัตตานีกล่าวเสริม ในบริ บ ทสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป แนวคิ ด และ การพัฒนาที่เข้ามาในจังหวัดทางตอนใต้ของประเทศ แห่งนี้ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบของร้านน�้ำชา ให้มคี วามทันสมัยและหลากหลายขึน้ หากสิง่ ทีย่ งั คงเดิม และเป็นหัวใจส�ำคัญของร้านน�้ำชา นั่นคือ การเป็น สถานแห่งการสร้างความสัมพันธ์ ทั้งรวมตัว พบปะ พูดคุยแลกเปลีย่ นเรือ่ งราวและส่งต่อวัฒนธรรมยังคงอยู่ คู่กับร้านน�้ำชาในจังหวัดปัตตานีไม่เปลี่ยนแปลง ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์และ ความอันตรายในภาพจ�ำของคนนอกพื้นที่ นักเรียน นักศึกษายังคงมีพนื้ ทีใ่ ห้ได้พบปะสังสรรค์ สร้างสัมพันธ์ กับเพื่อนฝูง ส่วนผู้ใหญ่เองก็มีพื้นที่ให้ได้แลกเปลี่ยน เรื่องราวข่าวสาร จิบน�้ำชา ทานอาหารในราคาไม่แพง เกิ น เอื้ อ ม ท่ า มกลางบรรยากาศครึ ก ครื้ น ไปด้ ว ย บทสนทนาในร้านน�ำ้ ชา ทีเ่ ป็นดัง่ สะพานเชือ่ มความสัมพันธ์ ของผู้คนในชุมชนบนพื้นที่แห่งความขัดแย้งแห่งนี้
โรตีมะตะบะ โรตีแกง ไข่ลวก
ART
14 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ส่งออกอาหารไทยผ่านการ์ตูน มองการ์ตูนและสื่อในฐานะพาหนะเผยแพร่วัฒนธรรม
ฉากเรือข้าวผัดสับปะรด จากแอนิเมชันเรื่อง Our Floating Dreams เรื่อง : ณภัทร เจริญกัลป์ และ อินทัช สัตยานุรักษ์ ภาพ : Disney Entertainment ช่ ว งกลางปี 2562 ที่ ผ ่ า นมา ค่ายแอนิเมชันและภาพยนตร์ยักษ์ใหญ่ อย่างดิสนีย์ ท�ำให้ชาวไทยตื่นเต้นกับ แอนิเมชัน Our Floating Dreams ทีพ ่ าไป สนุกกับเรือ ่ งราวความรักของมิคกีแ้ ละ มิ น นี่ เมาส์ ในบรรยากาศตลาดน�้ ำ สุ ด คลาสสิ ก และพาผู ้ ช มทั่ ว โลกไป ท�ำความรูจ ้ ก ั กับเมนูอาหารไทยทีก ่ ำ� ลัง ได้รบ ั ความนิยมในหมูน ่ ก ั ท่องเทีย ่ วอย่าง “ข้าวผัดสับปะรด”
การ์ ตู น เรื่ อ งนี้ มี ส ่ ว นท� ำ ให้ ช าวโลก สนใจเมนูไทยๆ อย่างข้าวผัดสับปะรด มากขึ้น ข้อมูลจาก Google Trends ที่ใช้เช็กความนิยมของคีย์เวิร์ดต่างๆ บนเว็บไซต์คน้ หายอดนิยมอย่าง Google ระบุ ว ่ า สถิ ติ ก ารค้ น หา “Pineapple fried rice” ตลอดช่ ว ง 3 ปีที่ผ ่านมา มียอดการค้นหาพุ่งสูงสุดในช่วงวันที่ 23-29 มิถนุ ายน 2562 ซึง่ เป็นช่วงเดียวกับ ที่ แ อนิ เ มชั น เรื่ อ งนี้ ถู ก อั ป โหลดลง บนเว็บไซต์ YouTube จากแอนิ เ มชั น Our Floating Dreams จะเห็นได้ว่าการ์ตูนเรื่องหนึ่ง ได้ส ร้างแรงกระเพื่อมเล็กๆ ในระดับ นานาชาติได้โดยที่เราอาจมองข้ามไป อย่างง่ายดาย เมือ่ เทียบกับมหาอ�ำนาจ ด้านสื่ออย่างประเทศญี่ปุ่น ซึ่งใช้สื่อ และวั ฒ นธรรมป๊ อ ปเป็ น เครื่ อ งมื อ จั ด การอ� ำ นาจอ่ อ น (Soft Power) ในการท� ำ ให้ ทั่ ว โลกได้ รู ้ จั ก และให้ ความส�ำคัญกับวัฒนธรรมญีป่ นุ่ มากขึน้ แล้ ว วงการสื่ อ ไทยสามารถเรี ย นรู ้ อะไรจากอุ ต สาหกรรมการ์ ตู น และ แอนิเมชันในต่างประเทศได้บ้าง? • การ์ตูนไทย หม้อหลอม ความเป็นไทยในรูปเล่ม “สิง่ ทีน่ า่ พิศวงเกีย่ วกับการ์ตนู คือเมือ่ เราอ่านการ์ตูนสักเรื่องหนึ่ง เราไม่ได้ อ่านเเค่เรื่องราวนั้น แต่เราจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมทั้งหมดที่แวดล้อม
เรือ่ งราวเหล่านัน้ ไปโดยปริยาย” นิโคลัส เฟอร์สตาปเปิน (Nicolas Verstappen) อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะนิ เ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ศึกษาด้าน การสื่อสารผ่านการ์ตูนและแอนิเมชัน โดยตรงจากประเทศเบลเยียมกล่าว นิโคลัสอธิบายว่า การ์ตูนเป็นสื่อที่ รวมไว้หลายอย่างเข้าด้วยกัน ทั้งส่วน ที่เรียกว่ากราฟิก คือการวาด การใช้สี องค์ประกอบศิลป์ต่างๆ และอีกส่วนที่ เรียกว่าวัฒนธรรม คือสิง่ ทีเ่ ป็นเเรงบันดาลใจ ให้กบั งาน เช่น ศิลปะไทย อิทธิพลศิลปะ ยุคโมเดิร์น หรือแม้กระทั่งวิธีที่การ์ตูน ถูกวาด รวมไปถึงตัวหนังสือ “คุณจ�ำเป็นที่จะต้องมีความรู้ท่ีลึกซึ้ง เกี่ยวกับวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ของประเทศนั้ น ด้ ว ย และนั่ น คื อ เหตุ ผ ลที่ ท� ำ ให้ ผ มคิ ด ว่ า การ์ ตู น เป็ น เครื่ อ งมื อ ทางวั ฒ นธรรม ที่ส�ำคัญมาก” ผูศ้ กึ ษาการ์ตนู เสริม ส่ ว นผสมเหล่ า นี้ ท� ำ ให้ วั ฒ นธรรม กลายเป็นส่วนหนึ่งที่แทบแยกไม่ออก จากการ์ตูนหรือแอนิเมชัน การ์ตูนช่วย แ ส ด ง มุ ม ม อ ง ที่ ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง วัฒนธรรม วิถีชีวิต และประวัติศาสตร์ ของเราว่าเป็นอย่างไร นิโคลัสมองว่า การ์ตูนเป็นเครื่องมือที่ทรงพลัง เข้าถึง ได้ ส ะดวก และง่ า ยในการผลิ ต ซ�้ ำ เพราะไม่จำ� เป็นต้องแปลตัวหนังสือมาก เนื่ อ งจากมี ก ราฟิ ก ที่ ส วยงามช่ ว ยใน การเล่าเรื่อง การ์ตูนจึงเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น การส่ ง ออก วั ฒ นธรรม ช่ ว ยให้ เ ห็ น เศษเสี้ยวของ วัฒนธรรมที่ค่อยๆ หยอดมาทีละนิดใน แต่ละหน้าของการ์ตูนหรือแต่ละเฟรม ของแอนิเมชันเรื่องนั้น
• สื่ อ และอิ ท ธิ พ ลในการ ส่งออกอาหาร ตัวอย่างของสือ่ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ในการส่ ง ออกวั ฒ นธรรมและวิ ถีชี วิ ต ของผู ้ ค นในสั ง คมหนึ่ ง มี ใ ห้ เ ห็ น อยู ่ หลายครัง้ และในพรมแดนของอาหารเอง ภาพยนตร์ ละคร หรือแอนิเมชันต่างเคย ถูกใช้เป็นเครื่องมือส่งออก ทั้งโดยตั้งใจ และไม่ตั้งใจ อนุสรณ์ ติปยานนท์ นักเขียนผูผ้ นั ตัว ไปเป็ น นั ก เคลื่ อ นไหวด้ า นอาหาร ให้ ความเห็ นในเรื่ องนี้ ไ ว้ ว ่ า การที่ สื่อ ประเทศญี่ ปุ ่ น หรื อ เกาหลี ใ ต้ ป ระสบ ความส�ำเร็จในเรือ่ งนี้ เป็นเพราะพวกเขา มีกระบวนการเผยแพร่วฒ ั นธรรมอาหาร ของตนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ระบบ ยกตั ว อย่ า งเช่ น สื่ อ เกาหลี ใ ต้ ใ ช้ ละครโทรทัศน์อย่าง แดจังกึม จอมนาง แห่งวังหลวง ในการส่งออกวัฒนธรรม อาหารชาววั ง ในราชส� ำ นั ก โชซอน จนเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ก่อนที่จะ ขยั บเข้ า มาส่ ง ออกวั ฒ นธรรมอาหาร ของชาวบ้านทั่วไป อย่างในฉากหนึ่ง
“คุณอาจจะไม่ชอบเรือ่ งนี้ แต่คณ ุ อาจ จะได้ประสบการณ์เล็กๆ น้อยๆ เกีย่ วกับมัน เรือ่ งถัดไปมันก็ชว่ ยต่อจิก๊ ซอว์ทคี่ ณ ุ รูส้ กึ เกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่น” นักเคลื่อนไหว ด้านอาหารแสดงความเห็น การ์ ตู น ญี่ ปุ ่ น หรื อ มั ง งะเองก็ เ ป็ น รูปแบบสือ่ ทีม่ คี วามส�ำคัญและส่งผลใน ระดับโลก ในมังงะเรือ่ งหนึง่ ผูอ้ า่ นจะได้ เห็นประเพณี ประวัตศิ าสตร์ หรือกระทัง่ อาหารการกินของชาวญี่ปุ่น ท�ำให้เห็น ถึงบทบาทของมังงะในฐานะเครื่องมือ อ�ำนาจอ่อน โดยอาจเปรียบเหมือนการ ใช้ไฟอ่อนๆ ท�ำให้อาหารสุกอย่างช้าๆ “เราอ่านมังงะเรื่องนี้ เห็นตัวละครท�ำ แบบนีเ้ เล้วเราอาจจะพูดว่า “โอ้ เราอยาก ลองท�ำแบบนัน้ ชิมอาหารญี่ ปุ ่ น เมนู นี้ ” หรือถ้ามังงะเรื่องนั้น เกิดเหตุการณ์ขึ้น ในต�ำบลไหน เราก็รู้สึกว่าอยากจะไป เที่ยวที่นั่นดูสักครั้ง” นิโคลัส ผู้ศึกษา การ์ตูนกล่าว
“การ์ตูนไม่ใช่ความบันเทิงส�ำหรับเด็กเท่านั้น แต่เป็นเครื่องมือ อันทรงพลังที่สามารถเเบ่งปันแนวคิดที่มีความซับซ้อนลึกซึ้งได้” นิโคลัส เฟอร์สตาปเปิน
ของภาพยนตร์เรือ่ ง Parasite ทีต่ วั ละคร เอกทานอาหารเกาหลี ที่ โ ด่ ง ดั ง จาก รายการโทรทั ศ น์ แ ละโลกออนไลน์ อย่าง “จาพากูรี” ซึ่งอาหารจานนี้เอง สะท้อนบริบทที่ซ่อนอยู่มากมาย ไม่ว่า จะเป็ น ความเหลื่ อ มล�้ ำ ทางชนชั้ น ยุคสมัย และวิถีชีวิตทุนนิยมของสังคม เกาหลีใต้ สารเหล่ า นี้ ถู ก แสดงออก ผ่ า นเมนู กึ่งส�ำเร็จรูปได้อย่างแยบยล ฉะนัน้ หากมองในภาพใหญ่ อุตสาหกรรม สื่อท�ำงานด้านการเผยแพร่ความเป็น ชาติแบบเป็นมวลรวม อาหารหนึง่ จานที่ ปรากฏในภาพยนตร์ คื อ ชิ้ น ส่ ว นที่ จ ะ ท�ำให้ผู้รับสารเกิดภาพจ�ำและการรับรู้ เกีย่ วกับวัฒนธรรมนัน้
รัฐบาลญี่ปุ่นเข้าใจเรื่องนี้เป็นอย่างดี จึงส่งเสริมและสนับสนุนวงการการ์ตูน ญี่ ปุ ่ น ในฐานะที่ จ ะเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการโปรโมตวั ฒ นธรรม รวมไปถึ ง ประวัติศ าสตร์ช าติต นผ่า นสิ่ง เหล่า นี้ ด้ า นประเทศเกาหลี ใ ต้ หน่ ว ยงาน ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมักจะจัด งานนิทรรศการเกี่ยวกับการ์ตูนเกาหลี หรือเว็บตูน (การ์ตนู ออนไลน์) อยูบ่ อ่ ยครัง้ พวกเขาพานิ ท รรศการเหล่ า นั้ น ไป จัดแสดงทัว่ โลกอยูส่ ม�ำ่ เสมอ นิโคลัสมองว่า เป็นกลยุทธ์ทชี่ าญฉลาด และอุตสาหกรรม การ์ตนู ไทยสามารถน�ำมาปรับใช้ได้ ทางฝั ่ ง มหาอ� ำ นาจทางเศรษฐกิ จ อย่างสหรัฐอเมริกาเอง ก็ใช้ภาพยนตร์
ART
ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 | 15
และการ์ตูนที่สอดแทรกวิถีอเมริกันชน อุดมการณ์ทางการเมือง และเศรษฐกิจ ทุ น นิ ย มเช่ น กั น บางครั้ ง อาจมาใน รูปแบบโฆษณาชวนเชื่อผ่านเรื่องราว ของซุเปอร์ฮีโร่ผู้กอบกู้โลกและส่งออก ความเป็ น อเมริ กั น ไปทั่ ว โลก ในขณะที่วงการสื่อไทยยังไม่ค่อยมี สิ่งเหล่านี้ให้เห็น อนุสรณ์เล่าว่าเขาเคย ดูละครไทยที่มีความพยายามน�ำเสนอ เรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วกับอาหารไทย แต่ยงั ไม่ได้ ลึกพอที่จะท�ำได้อย่างต่อเนื่องเหมือน อย่ า งกรณี ญี่ ปุ ่ น และเกาหลี ใ ต้ เขา ยกตั ว อย่ า งว่ า แม้ จ ะมี ล ะครไทยที่ มี ตัวละครเป็นแม่คา้ ขายอาหาร แต่สว่ นมาก บทบาทหน้ า ที่ ข องตั ว ละครในเรื่ อ งก็ ไม่ได้เกี่ยวกับอาหารโดยสิ้นเชิง แต่ อ นุ ส รณ์ ก็ ยั ง คาดหวั ง ว่ า จะเกิ ด การเปลี่ยนแปลง เพราะสามัญส�ำนึก หรื อ การรั บ รู ้ เ กี่ ย วกั บ อาชี พ เชฟได้ เปลีย่ นไปพอสมควรในช่วงสิบปีทผี่ า่ นมา มีรายการอาหารมากมายบนหน้าจอ โทรทัศน์ และเมือ่ อาชีพเชฟและสายอาชีพ การท�ำอาหารเริม่ ได้รบั การยอมรับมากขึน้ อีกไม่นานคงมีภาพยนตร์ ละคร หรือ การ์ตูนที่ดีเกี่ยวกับอาหารไทยมากขึ้น ไปเรื่อยๆ
• สื่อไทยท�ำอะไรได้บ้าง? เมื่ อ กลั บ มาพู ด ถึ ง แอนิ เ มชั น เรื่ อ ง Our Floating Dreams นิโคลัสเห็นว่า แม้ จ ะเป็ น การผลิ ต ซ�้ ำ ภาพจ� ำ ของ ประเทศไทยในสายตาตะวั น ตกยุ ค สงครามเย็ น แต่ ก็ ส ามารถเห็ น ถึ ง ประสิทธิภาพของสื่อประเภทนี้ ที่ง่าย ต่ อ การชม เเชร์ เเละโชว์ ใ ห้ ค นอื่ น ได้เห็น แอนิเมชันเรือ่ งนีก้ ไ็ ด้ทำ� หน้าทีใ่ น การโปรโมตอาหารไทย และส่วนหนึง่ ของ วัฒนธรรมไทยอย่างประสบความส�ำเร็จ “ผมคิดว่าเรื่องนี้น่าสนใจในเเง่ที่ว่า นี่อาจจะเป็นก้าวเล็กๆ ก้าวเเรก ที่ช่วย เปิดประเด็นให้มีการพูดคุยเเละเเสดง ความคิ ด เห็ น ถึ ง แอนิ เ มชั น เกี่ ย วกั บ วัฒนธรรมและอาหารไทย ซึ่งก็ถือว่า เป็นการเริ่มต้นที่ดี” นิโคลัสกล่าว นิ โ ค ลั ส แ น ะ ว ่ า ยั ง มี เ รื่ อ ง ร า ว วั ฒ นธรรมไทยอี ก มากที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ถู ก แสดงออกไป สื่อไทยสามารถเล่าต่อ โดยอาศัยประเด็นในครั้งนี้เป็นฐานได้ พร้ อ มเสนอให้ ส ร้ า งเป็ น ซี รี ส ์ ที่ มี ประเด็นเฉพาะเจาะจงและน่าสนใจขึ้น เช่น แนะน�ำอาหารไทยที่แตกต่างไป ในแต่ ล ะภู มิ ภ าค หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ประเพณีของท้องถิ่นเช่น งานบุญบั้งไฟ ในภาคอีสาน เป็นต้น
ด้ า นอนุ ส รณ์ แ สดงความเห็ น ว่ า คนท�ำสื่อปัจจุบันค่อนข้างละเลยสิ่งที่ เรียกว่าวัฒนธรรม เน้นเสนอความบันเทิง เป็นหลักแต่ไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับ เนือ้ หาสาระเชิงนามธรรมมากเท่าทีค่ วร ไม่ มี นั ย ยะที่ จ ะพู ด เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ราก ความเป็ น มาของวั ฒ นธรรมเหมื อ น อย่างที่สื่อในต่างประเทศมี อนุ ส รณ์ วิ เ คราะห์ ส าเหตุ ส� ำ หรั บ ประเด็ น นี้ ว่ า เป็ น เพราะประเทศอื่ น เคยประสบปั ญ หาอย่ า งหนั ก หน่ ว ง มาก่อน เช่น ญีป่ นุ่ พ่ายแพ้สงครามโลก หรื อ เกาหลี ใ ต้ ป ระสบปั ญ หาทาง เศรษฐกิจ ด้วยเหตุนจี้ งึ ต้องสร้างบางสิง่ ที่ จะสามารถส่งออกและน�ำรายได้เข้า ประเทศทัง้ สิง่ ทีจ่ บั ต้องได้และจับต้องไม่ได้ อุตสาหกรรมสื่อของประเทศเหล่านี้จึง กลายเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทางเศรษฐกิจ “เราไม่เคยหารายได้จากวัฒนธรรมเลย เราสนใจกับมันน้อยมาก อย่างว่า เราอาศัย รายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย ว เราก็ เ ลย สบายใจกั บ การรอให้ มี ค นมาเที่ ย ว ก็พอแล้ว เราไม่ต้องดิ้นรนเหมือนเขา” อนุสรณ์ให้ความเห็น
ด้ า นนิ โ คลั ส กล่ า วว่ า การให้ ทุ น สนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนจะช่วย ให้ อุ ต สาหกรรมสื่ อ และการ์ ตู น ไทย พัฒนาไปไกลกว่าที่เป็นอยู่ ปูทางให้ ศิลปินการ์ตูนและแอนิเมชันไทยได้มี พื้ น ที่ แ สดงผลงาน และมี อิ ส ระใน การสร้างสรรค์มากขึ้น การสนับสนุนนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องก่อตั้งองค์กรที่ใหญ่โต แต่ ต ้ อ งอาศั ย ความมุ ่ ง มั่ น และตั้ ง ใจ ผ่านการส่งออกด้วยวิธตี า่ งๆ เช่น การแปล การ์ตนู ไทย หรือจัดงานนิทรรศการการ์ตนู ไทยในต่างประเทศ เป็นต้น แม้ ว ่ า ปั จ จุ บั น จะยั ง มี ข ้ อ จ� ำ กั ด อยู ่ หลายอย่าง แต่ทั้งนิโคลัสและอนุสรณ์ ต่างมีความหวัง ว่าในอนาคตจะมีสื่อ ภาพยนตร์ ห รื อ การ์ ตู น ที่ เ ผยแพร่ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย ม า ก ขึ้ น แ ล ะ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น “การ์ ตู น ไม่ ใ ช่ ค วามบั น เทิ ง ส� ำ หรั บ เด็ ก เท่ า นั้ น แต่ ว ่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ทรงพลังที่ สามารถ เเบ่งปันแนวคิดที่มี ความซั บ ซ้ อ นลึ ก ซึ้ ง ได้ ประเทศไทย ก็ค วรจะเห็ น ความส� ำ คั ญ ของสิ่ ง นี้ เช่ น เดี ย วกั บ ที่ ป ระเทศอื่ น ๆ ก� ำ ลั ง ให้ ความส�ำคัญ มัน คือ สิ่ง ที่ประเทศไทย ควรจะขยับตัวได้เเล้ว” นิโคลัสกล่าว
ภาพ : สรรชัย ชัชรินทร์กุล
ตรุษจีน เป็นเทศกาลส�ำคัญส�ำหรับคนไทยเชื้อสายจีน ทั้งยังเป็นโอกาสที่ลูกหลานได้มารวมตัวโดยพร้อมหน้ากันทุกปีในช่วงเวลาพิเศษนี้ ครอบครัวทีอ ่ าศัยอยูใ่ นย่านเยาวราชครอบครัวนี้ ก�ำลังไหว้บรรพบุรษ ุ ด้วยเครือ ่ งเซ่นไหว้ตามประเพณี
TRAVEL
16 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562 16 | ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ปรินซ์ รามา
เพื่อน (เคย) เก่าของชาวเจริญกรุง เรื่อง-ภาพ : สุประวีณ์ รักเหล่า และ ถิราภา เสียงเลิศ
แม้ ว ่ า ส่ ว นอื่ น ของกรุ ง เทพฯ จะเปลี่ยนแปลงไปจนแทบไม่ เหลื อ เค้ า โครงเดิ ม อาคารทรงโบราณ ถู ก แทนที่ ด ้ ว ย รู ป ทร ง ทั น สมั ย ตึ ก เล็ ก ๆ ถู ก แทนที่ ด ้ ว ยตึ ก ระฟ้ า ขนาดใหญ่ ที่ แ ข่ ง กั น สู ง ล�้ ำ หน้ า ราวกั บ จะแสดงถึ ง วิ ท ยาการและ ความร�่ ำ รวยของเจ้ า ของพื้ น ที่ แต่ ย ่ า นเจริ ญ กรุ ง กลั บ เป็ น พื้ น ที่ ที่ พ ยายามหยุ ด เวลาแห่ ง ความ รุ่งเรืองไว้ ไม่ยอมให้ความทันสมัย เข้ามาแทรกได้
“เจริ ญ กรุ ง ” ย่ า นความเจริ ญ ของ บางกอกในอดีต พื้นที่ที่มีการสร้างถนน คอนกรี ต ในแบบตะวั น ตกเป็ น ครั้ ง แรก และพื้นที่ที่มีความเฟื่องฟูทางวัฒนธรรม จนถึ ง ขี ด สุ ด ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ไม่ น ่ า แปลกใจเลยว่ า ท� ำ ไมถนน เจริญกรุงจึงเป็นสถานที่ที่มีนักท่องเที่ยว ทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ เ ข้ า มา เยี่ยมชมอย่างไม่ขาดสายตลอดทั้งปี ไม่เพียงแต่ตึกรามบ้านช่องที่ยังคง มนต์ขลังของพื้นที่เจริญกรุงไว้ หากแต่ วิถีการด�ำเนินชีวิตของชาวเจริญกรุงเอง ก็เดินไปช้าๆ เช่นกัน สถานที่ ยั ง เหมื อ นเดิ ม ผู ้ ค นยั ง เหมือนเก่า อีกสิ่งเลยที่ดูจะไม่เปลี่ยนไป ตามกาลเวลาคือ “อาหาร” หากพูดถึงบางรัก ใครๆ ก็ รู ้ จั ก ย่านนี้ ในฐานะแหล่ ง รวมร้ า นอาหารเจ้ า ดั ง เต็มไปด้วยอาหารหลากหลายเชื้อชาติ ในราคาไม่ เ กิ น 100 บาท เพีย งได้ลอง เดินส�ำรวจเจริญกรุง ก็สังเกตได้เลยว่า ร้ า นอาหารเจ้ า ดั ง เจ้ า เก่ า ส่ ว นใหญ่ ก็ ยังคงเป็นร้านดั้งเดิมของที่นี่ และร้านค้า รถเข็นก็ยงั คงเอกลักษณ์ของมันได้อย่างดี “ปริ น ซ์ รามา” อดี ต โรงหนั ง ชื่ อ ดั ง ก็ เ ป็ น สถานที่ ห นึ่ ง ที่ ยั ง คอยบอกเราว่ า ชาวเจริ ญ กรุ ง นั้ น ไม่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ตั ว เองไปสั ก เท่ า ไหร่ ทั้ ง สถานที่ ผู ้ ค น และอาหาร
• ประวัติศาสตร์ที่ยั่งยืน เมื่อเข้าไปในซอยข้างร้านโจ๊กปรินซ์ เพียงเล็กน้อย ก็ จ ะพบกั บ ป้ า ยโรงหนั ง สี ข าวขนาดใหญ่ ตั ว อั ก ษรสี แ ดงมี ไ ฟ ล้อมรอบตามเอกลักษณ์ของโรงภาพยนตร์ ยุ ค เก่ า ดึ ง ดู ด ให้ ค นต่ า งถิ่ น เลี้ ย วเข้ า ไป ส�ำรวจในทันที อาคารสีขาวครีมปรากฏเด่นตรงสุดทาง โลโก้ ปริ นซ์ รามา ตระหง่านอยู่ตรงหน้า ร้านรถเข็นที่เรียงรายกันอยู่สองสามร้าน ท�ำให้ภาพบรรยากาศเก่าๆ ของสถานที่ แห่งนี้หวนขึ้นมาอีกครั้ง สิ่งที่ปรากฏท�ำให้ ตระหนักถึงความจริงว่าที่ตรงนี้ไม่ได้เป็น โรงหนั ง สแตนด์ อ ะโลน (stand-alone) เหมือนในอดีต “ถ้าลองไปถามคนอายุสักสามสิบปี ว่ า รู ้ จั ก โรงหนั ง ปริ น ซ์ รามามั้ ย เค้ า จะ เขินๆ หน่อยนะ” ลัดดา แม่คา้ ขายน�ำ้ หวาน หน้าโรงหนังกล่าวพร้อมอมยิม้ เล็กน้อย “มันฉายแต่หนังโป๊ควบทัง้ วัน ช่วงหลังๆ เลยไม่ได้ดูแล้ว มีแต่ผู้ชายเข้าไปดู” ลัดดา เฉลยจุ ด เปลี่ ย นของโรงหนั ง นี้ อ ย่ า ง อารมณ์ดี พร้อมทั้งชงน�้ำหวานให้เราอย่าง คล่องแคล่ว ท�ำให้รสู้ กึ ว่าแม้แต่ผคู้ นรอบข้าง สถานทีน่ กี้ ย็ งั ไม่เปลีย่ นไปเลย “แต่ตอนเด็กๆ ก็เข้าไปดูบอ่ ยนะ ตอนทีม่ นั ยังไม่ฉายหนังโป๊ ก็เข้าไปดูหนังฝรัง่ หนังจีนบ้าง เมือ่ ก่อนมัน รอบละห้าบาทเอง” จากพื้นที่สังสรรค์ของคนทุกวัยก็ถูก เปลี่ย นมาเป็น พื้นที่ส�ำหรับคนบางกลุ่ม ปรินซ์ รามาได้เลือกทางเดินใหม่ เพื่อให้ โรงหนังสามารถด�ำเนินกิจการต่อไปได้ “นี่ เ ป็ น โปสเตอร์ จ ริ ง ที่ ไ ด้ ม าตอนรื้ อ โรงหนัง” เด บาร์เทนเดอร์ประจ�ำคาเฟ่ที่ ถูกปรับมาจากห้องจ�ำหน่ายตัว๋ ของโรงหนัง ในอดี ต เล่ า ให้ ฟ ั ง พลางหยิ บ ตั ว อย่ า ง โปสเตอร์ออกมาจากหลังเคาน์เตอร์
Prince Theatre Heritage Stay Bangkok ที่อยู่ : 441/1 ถนนเจริญกรุง (ศรีเวียง) แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2090-2858
โปสเตอร์หนังวาบหวาม มีการเซนเซอร์ ส่วนส�ำคัญด้วยรูปดาว ครัง้ หนึง่ เคยเชือ้ เชิญ กลุ ่ ม คนจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยให้ เ ข้ า มาดู ภาพยนตร์รักฉบับร้อนแรงที่นี่ อย่างไรก็ตามการด�ำเนินกิจการโรงหนัง ก็ไม่สามารถอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน โรงหนังทีฉ่ าย ภาพยนตร์หวาบหวิวถูกบังคับให้เลิกกิจการ อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ และถูก ปิดลงอย่างถาวรในปี 2553 แม้ว่าปรินซ์ รามาจะกลายเป็นเพียง ต�ำนาน แต่เสน่ห์ของอดีตที่มีมายาวนาน หลายสิบปีกลับไม่ได้จางหายไปตามเวลา มีผู้ที่เล็งเห็นคุณค่าของพื้นที่นี้ และเข้ามา พัฒนาให้ ปรินซ์ รามา กลายเป็นที่พักที่ คอยเล่าขานเรื่องราว ภายใต้ชื่อ Prince Theatre Heritage Stay Bangkok โรงแรมและคาเฟ่ ที่ เ ก็ บ กลิ่ น อายของ ความรุ่งเรืองยุคเก่าไว้ได้เป็นอย่างดี
30 บาทต่อคน และสัง่ อาหารจากร้านเก่าแก่ ของพื้นที่ ตั้งแต่ร้านบ้านใกล้เรือนเคียง อย่าง โจ๊กปรินซ์ จนไปถึงขนมหาทานยาก อย่าง “โบ้กเกี๊ย” ขนมหวานจีนไหหล�ำก็มี ให้เลือกสรร เป็นความตั้งใจของเจ้าของที่ ต้ อ งการรั ก ษาคุ ณ ค่ า ของร้ า นอาหาร ท้องถิน่ ไว้ไม่ให้สญ ู หายไป ชูให้รา้ นอาหาร ในพื้ น ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ มากขึน้ ด้วยอาหารรสชาติตน้ ต�ำรับในพืน้ ที่ ที่ เ ปิ ด กิ จ การมาหลายสิ บ ปี สิ่ ง เหล่ า นี้ ช่วยเพิ่มความพิเศษให้ทั้งกับผู้คนในพื้นที่ และตัวลูกค้าของโรงแรมเอง
• เพื่อนคนเก่าที่เปลี่ยนใหม่ ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ส ่ ว นล็ อ บบี้ ไ ด้ ป รั บ ให้ ทันสมัยขึ้นโดยมีคาเฟ่แทรกตัวอยู่ สิ่งที่ สะดุดตาก็คงจะเป็นจอภาพยนตร์ขนาดใหญ่ มีมา่ นก�ำมะหยีส่ แี ดงแสนคลาสสิกประดับ อยู่ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นจอภาพยนตร์เดิม ของโรงหนังปรินซ์ที่โรงแรมน�ำมาตกแต่ง ตามแนวคิ ด การปรั บ เปลี่ ย นให้ เ ข้ า กั บ ยุคสมัย แต่ยังคงเอกลักษณ์ของพื้นที่เดิม เอาไว้ไม่ให้หายไป การบอกเล่าเรื่องราวของ ปรินซ์ รามา ไม่ได้หยุดเพียงแค่โครงสร้างของโรงแรม การตกแต่งห้องพักก็เต็มไปด้วยเรื่องราว ในอดีต เพื่อมอบประสบการณ์แปลกใหม่ ในการพักอาศัยของแขกในโรงแรม รวมถึง ยังเป็นการเก็บอดีตทีผ่ า่ นมาของ ปรินซ์ รามา ไว้ให้ได้มากที่สุด ไม่เพียงบรรยากาศเท่านั้น เอกลักษณ์ ของย่ า นเจริ ญ กรุ ง ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยอาหาร ที่เชิญชวนให้ใครต่อใครมาลิ้มลอง ก็ถูก น�ำเสนอเป็นส่วนหนึ่งของโรงแรมแห่งนี้ เหล่ า ร้ า นอาหารขึ้ น ชื่ อ รอบถนน เจริญกรุง สามารถหาทานได้อย่างง่ายดาย ในโรงแรมแห่งนี้ เพียงแค่จ่ายค่าบริการ
อาหารหลากหลายรสชาติจากถนนเจริญกรุง ภาพจากเพจ Prince Theatre Heritage Stay
ห้องจ�ำหน่ายตั๋วถูกเปลี่ยนเป็นคาเฟ่ โ ด ย มี เ ม นู พิ เ ศ ษ ที่ ถู ก ตั้ ง ชื่ อ ต า ม ภาพยนตร์ ดั ง หลายเรื่ อ ง อย่าง Love Actually Mocktail เครื่ อ งดื่ ม รสชาติ สดชื่ น จากน�้ ำ ผลไม้ อย่างแอปเปิล ลิ้นจี่ แซมกับรสชาติเลมอน และกลิ่นหอมของ ใบมิ น ต์ ช่ ว ยให้ รู ้ สึ ก สดใสเหมื อ นกั บ บรรยากาศในเรื่ อ ง แรงบั น ดาลใจจาก หนั ง กลายมาเป็ น เครื่ อ งดื่ ม สี ส ดใสใน แก้ ว ทรงต่ า งๆ นอกจากนี้ พื้ น ที่ ค าเฟ่ ในยามค�ำ่ คืนจะถูกเปลีย่ นเป็นบาร์ขนาดย่อม และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของร้านก็ตั้งชื่อ ตามภาพยนตร์ชื่อดังเช่นกัน ทุกสิ่งที่อยู่ในโรงแรมต่างร่วมเล่าถึง วั น วานของสถานที่ พื้ น ที่ นี้ ก็ ยั ง เป็ น สถานที่ที่ผู้คนเดินเข้ามาพักผ่อนหย่อนใจ แม้ วั น เวลาจะเปลี่ ย นไป ปริ น ซ์ รามา ก็ยังท�ำหน้าที่เดิมของมันได้เป็นอย่างดี