หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พื้นที่ความคิด
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
หน้า
5
ชีวิตของผู้ลี้ภัยไทยในประเทศ ที่ไม่เปิดรับชาวต่างชาติ อย่างเกาหลีใต้
Facebook nisitjournal
Twitter @nisitjournal
หน้า
8
ชวนท�ำความรู้จัก ต�ำบลที่มี ผู้พิการขาขาดจากทุ่นระเบิด สูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง ของประเทศไทย
Website nisitjournal.press
หน้า
12
บอกเล่าทุกปัญหา ว่าท�ำไม เลือดบริจาคสุนัขจึงไม่เคย เพียงพอ
เสียงคนรุ่นใหม่สะท้อนเลือกตั้งยังไกลตัว นักวิชาการชี้สังคมจ�ำกัดการมีส่วนร่วม
เรื่อง : ศุภจิต ภัทรจิรากุล ภาพ : ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์, วริศรา ชัยศุจยากร
คนรุ่นใหม่ยังมองการเลือกตั้งเป็นเรื่องไกลตัวเพราะไม่กระทบต่อการใช้ชีวิตโดยตรง นักวิชาการเตือน คนรุ่นใหม่สร้างแรงกระเพื่อมทางการเมืองได้ แต่หากละเลยการเลือกตั้งอาจท�ำให้ประชาชนเสียอ�ำนาจ ทางการเมือง พร้อมแนะต้องท�ำให้คนเห็นประโยชน์ที่ได้จากการเลือกตั้ง มากกว่ามองเป็นแค่สิทธิและหน้าที่
ผลส�ำรวจของส�ำนักการบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2561 ระบุวา่ ในปี 2562 มีจำ� นวนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกผูแ้ ทนราษฎร (ส.ส.) ทัว่ ประเทศ ทั้งหมด 51,564,284 คน โดยเป็นผู้ที่เกิดระหว่าง 3 ม.ค. 25392 ม.ค. 2544 หรือกลุ่มคนอายุ 18-22 ปีที่ยังไม่เคยใช้สิทธิ เลื อ กตั้ ง หลั ง จากการเลื อ กตั้ ง ส.ส.ครั้ ง สุ ด ท้ า ยที่ ถู ก ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้เป็นโมฆะเมื่อ 2 ก.พ. 2557 จ�ำนวน 4,510,052 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 8.75 ของจ�ำนวนผูม้ สี ทิ ธิเลือก ตั้งทั้งหมด แต่หากย้อนไปดูตั้งแต่การเลือกตั้งส.ส.อย่างเป็นทางการ ครั้งสุดท้ายเมื่อ 3 ก.ค. 2554 หรือเมื่อเจ็ดปีที่แล้ว จะพบว่า ประชาชนอายุ 18-25 ปี หรือผู้เกิดในปี 2536-2543 ที่ยังไม่เคย ใช้สิทธิเลือกตั้งมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 7,496,454 คน โดยอ้างอิงจาก สถิติประชากรผู้มีสัญชาติไทยและมีรายชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ปี 2560 ของส�ำนักการบริหารทะเบียน กรมการปกครอง หรือ คิดเป็นร้อยละ 14.54 ของจ�ำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด “นิสิตนักศึกษา” สอบถามความเห็นของคนรุ่นใหม่ที่ยัง ไม่เคยใช้สิทธิเลือกตั้งจ�ำนวน 20 คน ถึงมุมมองต่อการเลือกตั้ง พบว่า หลายคนมองว่าการเมืองเป็นเรื่องของระบบการบริหาร ประเทศและไม่ได้เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตส่วนตัวมากนัก แต่ยัง มีผลต่อชีวิตประชาชนโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ ภัทรพงศ์ ตันสกุล บัณฑิตใหม่จากคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี วัย 23 ปี มองว่า การเลือกตั้งมีความส�ำคัญ ในเชิ ง หน้ า ที่ แ ละกลไก แต่ ถ ้ า ทุ ก คนไม่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ทุกกระบวนการในการเลือกตั้ง หรือเลือกคนไม่ดีเข้ามา ก็ไม่ได้ ช่วยให้ประเทศดีขึ้น อย่างไรก็ตาม เขาคิดว่าตนเองไม่ได้รับ ผลกระทบมากนักหากมีหรือไม่มกี ารเลือกตัง้ เพราะไม่มใี ครช่วย เขาได้นอกจากตนเอง เขาหวังเพียงแค่ให้รัฐบาลช่วยเหลือคนที่ เดือดร้อนและไม่ท�ำให้ประเทศล้มละลาย เช่นเดียวกับ อภิ ช ญา ราษฎร์ เ จริ ญ บัณฑิตใหม่จาก คณะมัณฑนศิลป์ วัย 22 ปี ทีเ่ ห็นว่า การเลือกตัง้ เป็นเครือ่ งหมาย ของประชาธิ ป ไตย เธอจึ ง ไม่ อ ยากให้ หายไป ขณะเดี ย วกั น เธอกลับมองว่าการเลือกตั้งไม่ได้มีผลต่อการใช้ชีวิตของเธอ โดยตรงแต่อาจจะกระทบต่อสังคมแล้วส่งผลต่อการใช้ชีวิตของ เธออีกที อีกทั้งเธอรู้สึกว่าระบบการบริหารไม่เข้าถึงประชาชน เพราะหลั ง การเลื อ กตั้ ง จบลง ชี วิ ต ของประชาชนไม่ ไ ด้ เปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด ส่ ว น ทศพร คชาชาติ นั ก ศึ ก ษาอาชี ว ะ อายุ 18 ปี กล่าวว่า การเลือกตัง้ มีความส�ำคัญ และอาจส่งผลต่อการใช้ชวี ติ บ้าง แต่ไม่ได้ทำ� ให้ปากท้องดีขนึ้ เพราะสุดท้ายแล้วก็เป็นเรือ่ งของ นักการเมืองซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับเขา ขณะที่ พงศธร จิ รั ฐ จิ น ตนา พนั ก งานซ่ อ มเครื่ อ งบิ น วัย 21 ปี ให้ความเห็นว่า การเลือกตั้งมีความส�ำคัญระดับหนึ่ง เพราะเป็ น สิ ท ธิ ข องประชาชนตามระบอบประชาธิ ป ไตย
แต่ไม่สำ� คัญมากถึงขัน้ ต้องหยุดงานเพือ่ ไปใช้เสียง อย่างไรก็ตาม ตนยั ง เชื่ อ ว่ า การเลื อ กตั้ ง อาจช่ ว ยท� ำ ให้ เ ศรษฐกิ จ ดี ขึ้ น จาก ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน รศ.ดร.สิ ริ พ รรณ นกสวน สวั ส ดี หั ว หน้ า ภาควิ ช า การปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ในการเลือกตั้งปี 2562 เธอประเมินไว้ว่าพรรคการเมืองจะต้อง ได้คะแนนเสียง 70,000 คะแนนจึงจะได้ที่นั่งส.ส. 1 ที่นั่ง และ เมื่อพิจารณาจากสถิติคนรุ่นใหม่ที่ยังไม่เคยใช้สิทธิเลือกตั้ง 7.5 ล้านคนนัน้ มีการคาดการณ์ขนั้ ต�ำ่ ว่า ถ้าคนกลุม่ นีไ้ ปใช้สทิ ธิ เลือกตั้งเพียงแค่ครึ่งเดียวหรือ 3.5 ล้านคน คะแนนเสียงจาก คนรุ่นใหม่จะสามารถเลือกส.ส.ได้ 50 ที่นั่ง ซึ่งถือเป็นตัวเลขที่ สร้างแรงกระเพื่อมทางการเมืองได้ ทุกพรรคจึงให้ความสนใจ กับคนกลุ่มดังกล่าว อย่างไรก็ตาม นักวิชาการรัฐศาสตร์แสดงความเป็นห่วงว่า หากคนรุ่นใหม่ไม่สนใจไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งแรกและครั้งต่อๆ ไปอาจท�ำให้ระบบการเมืองถูกควบคุมด้วยกลุ่มชนชั้นน�ำกลุ่ม เล็กๆ จนกลายเป็นระบบการเมืองทีไ่ ม่มปี ระชาชนเป็นศูนย์กลาง อ�ำนาจในที่สุด รศ.ดร.สิ ริ พ รรณ อธิ บ ายว่ า การที่ ค นรุ ่ น ใหม่ ไ ม่ เ ห็ น ถึ ง ความส�ำคัญของการเมืองนั้นไม่ใช่สิ่งที่ผิด และยังเกิดขึ้นใน หลายประเทศ โดยเฉพาะในไทยที่ระบบการศึกษา โครงสร้าง สังคม และกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองท�ำให้คนรุน่ ใหม่ ละเลยต่อความส�ำคัญและการเชื่อมโยงตัวเองกับการเมืองจน กลายเป็นคนเฉื่อยชาทางการเมือง (political inertia) เพราะผู้มี อ� ำ นาจหรื อ รั ฐ หวั่ น เกรงต่ อ พลั ง ของคนรุ ่ น ใหม่ ที่ ส ามารถ เปลี่ยนแปลงสังคมได้ “ปรากฏการณ์ทกุ วันนีเ้ ป็นภาพสะท้อนความส�ำเร็จของพลัง อนุ รั ก ษนิ ย มในสั ง คมไทยที่ ส ร้ า งขอบเขตและข้ อ จ� ำ กั ด ต่ อ การมีส่วนร่วม หรือการคิดตั้งค�ำถาม” รศ.ดร.สิริพรรณกล่าว นักวิชาการด้านการเลือกตั้งกล่าวอีกว่า การออกไปใช้สิทธิ เป็ น การตั ด สิ น ใจที่ อ ยู ่ บ นเหตุ แ ละผล (Rational Choice) กล่าวคือ หากผูไ้ ปใช้สทิ ธิคำ� นวณแล้วว่าผลประโยชน์ทไี่ ด้รบั กลับ มาบวกกับน�้ำหนักของพลังเสียงของเขามีมากกว่าต้นทุนของ การออกไปเลือกตั้ง เช่น การสละเวลาไปเข้าคูหา คนจะเห็น ความส�ำคัญของการเลือกตัง้ ดังนัน้ ระบบต้องบอกว่าประชาชน จะได้อะไรจากการออกไปเลือกตั้ง ไม่ใช่บอกแค่เป็นสิทธิและ หน้าที่ “เราต้องท�ำให้คนรุ่นใหม่เข้าใจว่าจริงๆ แล้ว ‘ปากท้อง’ ไม่ได้อยู่มาลอยๆ แต่สัมพันธ์โดยตรงกับคนที่จะมาเป็นรัฐบาล และนโยบายของรัฐบาล ถ้ามองตามสมการแล้วตัวแปรทีห่ ายไป คือ เขาขาดความเข้าใจว่าปากท้องของเขาเป็นผลโดยตรงจาก ระบบการเมือง และสิทธิที่เขาจะเลือกผู้ก�ำหนดนโยบายทาง การเมืองที่จะท�ำให้เขาอยู่ดีกินดีหรืออดอยากปากแห้ง” รศ.ดร. สิริพรรณกล่าว
NEWS
2 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ผู้ใช้บีทีเอสย�้ำ ควรติดตั้งประตูกั้นชานชาลาทุกสถานี ผูใ้ ช้บริการรถไฟฟ้าบีทเี อสเห็นด้วยกับการติดตัง ้ ประตูกน ั้ ชานชาลาทุกสถานี เพือ ่ ป้องกันการพลัดตกราง การจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ยืนยันเร่งติดตัง ้ ประตูกน ั้ ใน 10 สถานีทก ี่ ทม. เป็นผูด ้ ำ� เนินการสร้าง
ผูส้ อื่ ข่าวส�ำรวจการรายงานของสือ่ มวลชนเกีย่ วกับอุบตั เิ หตุ ผู้โดยสารพลัดตกชานชาลาบีทีเอส พบว่าตั้งแต่ปี 2553-2561 เกิดอุบตั เิ หตุในลักษณะนีอ้ ย่างน้อย 8 ครัง้ โดยครัง้ ล่าสุดเกิดเมือ่ วันที่ 17 ก.ย. 2561 เมื่อผู้โดยสารหมดสติ ขณะยืนรอรถไฟฟ้า ที่สถานีหมอชิต และล้มฟาดกับขบวนรถไฟฟ้าที่ก�ำลังเทียบ ชานชาลา ท�ำให้ได้รับบาดเจ็บ จากการส�ำรวจเมือ่ เดือนตุลาคม 2561 พบว่า บีทเี อสเปิดให้ บริการ 35 สถานี ติดตั้งประตูกั้นชานชาลาแล้ว 10 สถานี ได้แก่ สถานีช่องนนทรี สถานีศาลาแดง สถานีสยาม สถานีพญาไท สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สถานีชิดลม สถานีอโศก สถานี พร้อมพงษ์ สถานีอ่อนนุช และสถานีส�ำโรงซึ่งติดตั้งแล้วแต่ยัง ไม่สามารถใช้งานได้ ส่วนอีก 25 สถานียังไม่มีการติดตั้งประตู กั้นชานชาลา วรรณี พุ ่ ม รั ต นา แม่ บ ้ า นวั ย 63 ปี ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสถานี สนามกีฬาแห่งชาติ กล่าวว่า เธอใช้บริการสถานีรถไฟฟ้าที่ไม่มี ประตูกนั้ ชาลาทุกวัน เห็นว่าเป็นเรือ่ งไม่ถกู ต้องทีบ่ ที เี อสเลือกติด ตั้งประตูกั้นชานชาลาเพียงบางสถานีเท่านั้น บีทีเอสควรติดตั้ง ประตูกั้นชานชาลาให้ครบทุกสถานี เพื่อความปลอดภัยของ ผู้โดยสาร ดาวเรือง ยางศรี พยาบาลวัย 36 ปี พยาบาล ผู้ใช้บริการ สถานีราชเทวี เล่าว่า เธอเคยหมดสติบนชานชาลา แต่เกิดเหตุ ในบริเวณทีห่ า่ งจากรางรถไฟฟ้า จึงไม่ได้รบั บาดเจ็บ เธอเห็นว่า การมียามคอยเตือนให้ผู้โดยสารยืนรออยู่ด้านหลังเส้นสีเหลือง
4
อย่างเดียว เป็นมาตราการที่ไม่เพียงพอ เนื่องจากบางครั้งมี ผู้ใช้บริการในเวลาเร่งด่วนจ�ำนวนมาก ท�ำให้เบียดเสียดกัน จนมีความเสี่ยงที่คนจะพลัดตกไปยังบริเวณรางได้ ถ้าเป็นไปได้ อยากให้ มี ก ารติ ด ตั้ ง ประตู กั้ น ชานชาลาทุ ก สถานี แต่ ถ ้ า เป็นไปไม่ได้ ก็อยากให้ติดตั้งประตูกั้นในสถานีที่มีผู้ใช้บริการ จ�ำนวนมากก่อน นพวรรณ ถาวรอุปกรณ์ นักศึกษาวัย 20 ปี ผู้ใช้บริการ สถานีหมอชิต กล่าวว่า ควรติดตั้งประตูกั้นชานชาลาทุกสถานี เพื่อรักษาความปลอดภัยของผู้ใช้บริการและภาพลักษณ์ของ ประเทศ เธอคิดว่าสถานีต้นทางควรติดตั้งมากกว่าสถานีอื่นๆ เนื่องจากเป็นสถานีหลักที่มีผู้ใช้บริการจ�ำนวนมาก ผู้สื่อข่าวได้ติดต่อไปยังบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อขอสัมภาษณ์ความคืบหน้าในการติดตั้งประตูกั้น ชานชาลาทุกสถานี แต่ได้รับการปฏิเสธจากฝ่ายสื่อสารองค์กร ของบริษัท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 17 ก.ย. 2561 เว็บไซต์ The Bangkok Insight รายงานว่า อาณัติ อาภาภิรม ประธานคณะกรรมการ ที่ปรึกษา บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ในการติดตั้งประตูกั้นชานชาลาเพิ่มเติมนั้น บริษัทจะต้องหารือ กับทางกทม.ก่อนว่าจะด�ำเนินการอย่างไร แต่เบื้องต้นจะติดตั้ง ตามความพร้อมและความจ�ำเป็น ส�ำหรับการเตรียมการของกทม.นัน้ ส�ำราญ ทวีกาญจน์ นัก วิ จั ย การจราจรช� ำ นาญการ ส� ำ นั ก การจราจรและขนส่ ง กรุงเทพมหานคร ระบุวา่ ส�ำนักฯ ได้ของบประมาณ 700 ล้านบาท จากสภากรุ ง เทพมหานคร เพื่ อ ใช้ ติ ด ตั้ ง ประตู กั้ น ชานชาลา เพิ่มเติม ทั้งในส่วนของสถานีต่อขยายและส่วนสัมปทานของ บีทีเอส แต่ถูกปฏิเสธ เนื่องจากสภาฯ มองว่าการที่กทม.เข้าไป ร่วมลงทุนจะเอื้อประโยชน์ให้กับบีทีเอส
เรื่อง : วัศพล โอภาสวัฒนกุล
“ถ้าบีทเี อสสร้างจะได้ประโยชน์ หนึง่ เขาได้โฆษณา สอง ถ้า เราไปลงทุนสร้างเอง วันหนึ่ง (บีทีเอส) ต้องโฆษณาแน่ๆ ทีนี้เรา ลงทุนแต่ก�ำไรไปเข้าเขา มันก็หมิ่นเหม่” ส�ำราญกล่าว ส� ำ ราญอธิ บ ายว่ า ระบบขนส่ ง มวลชนยั ง เป็ น เรื่ อ งใหม่ ส�ำหรับประเทศไทย พร้อมเสริมว่า ระบบขนส่งมวลชนไทย ใช้มาตราฐานเดียวกับต่างประเทศ ซึ่งไม่ได้ระบุว่าต้องมีการ ติดตั้งประตูกั้นชานชาลา ทั้งนี้กระบวนการติดตั้งประตูกั้นชานชาลามีความซับซ้อน เนือ่ งจากต้องมีการเชือ่ มต่อระบบการท�ำงานเข้ากับระบบรถไฟฟ้า ส่วนอืน่ ๆ จึงอาจท�ำให้ระบบรถไฟฟ้าขาดความเสถียรได้ อย่างไรก็ตาม นักวิจัยการจราจรช�ำนาญการ ส�ำนักการ จราจรและขนส่ง กทม.ย�้ำว่า ส�ำนักฯ จะพยายามให้มีการติดตั้ง ประตูกั้นชานชาลาในสถานีที่กทม.เป็นผู้ด�ำเนินการก่อสร้างทั้ง 10 สถานี ได้แก่ สถานีกรุงธนบุรี สถานีวงเวียนใหญ่ สถานี โพธิน์ มิ ติ ร สถานีตลาดพลู สถานีวฒ ุ ากาศ สถานีบางหว้า สถานี บางจาก สถานี ปุ ณ ณวิ ถี สถานี อุ ด มสุ ข และสถานี บ างนา แม้ยังระบุไม่ได้ว่าจะเสร็จเมื่อไร แต่คาดว่าในอนาคตน่าจะมี การติดตั้งครบทุกสถานี เพราะหากติดตั้งประตูกั้นชานชาลา ไม่ ค รอบคลุ ม ทุ ก สถานี อาจท� ำ ให้ ผู ้ ใ ช้ เ กิ ด ข้ อ เปรี ย บเที ย บ ในแต่ละสถานีได้ ย้อนรอยอุบัติเหตุผู้โดยสารบีทีเอสพลัด ตกรางรถไฟฟ้าระหว่างปี 2553-2561
ปีผ่านไป ... ท�ำอะไรส�ำเร็จบ้าง ? เรื่อง-ภาพ : เบญญา หงษ์ทอง
พิชชา ฉ่องจรัส น.ศ. ปี 4 มศว
นปภา วิชัยกุล น.ศ. ปี 4 ม.ศิลปากร
ทศพร ไกรวุฒิวงศ์ ค้าขาย
ณัชชา วงศ์ใหญ่ ฟรีแลนซ์
“เราเป็นคนที่ติ่งมาก แต่ก่อนเราไม่มีเงิน เป็นของตัวเอง ต้องใช้เงินพ่อแม่ มันก็รู้สึกผิด พอเข้ามหาวิทยาลัยเริ่มท�ำงานพิเศษก็เก็บไป เรื่อยๆ จนได้ไปไต้หวัน ไปคอนเสิร์ตด้วยเงิน ตั ว เองทั้ ง หมด ทั้ ง ค่ า ที่ พั ก ค่ า เครื่ อ งบิ น ค่าบัตรคอนฯ เลยรู้สึกว่ามันคือการประสบ ความส�ำเร็จจากที่ติ่งมาทั้งหมด”
“ตอนปี 2 ได้รางวัลทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ รางวัลทีเ่ รา ภูมิใจที่สุด เป็นประกวดโฆษณาที่ถ้าได้หนึ่ง ในสาม เขา (บริษทั ผูจ้ ดั การประกวด) จะรับเข้า ท�ำงานเลย แล้วจะได้เทีย่ วต่างประเทศฟรี และ สามารถเลือกต�ำแหน่งท�ำงานกับบริษัทเขา คือเราพิสูจน์ตัวเองกับที่บ้านด้วย กับตัวเอง ด้วยว่า ‘เออ … เราท�ำได้’ ”
“ปีที่แล้ว หาซื้อหนังสือที่หามานานมาก ชื่ อ เรื่ อ ง Zoo เป็ น เรื่ อ งสั้ น มั น เคยขายนาน มาแล้ว ตามร้านหนังสือทัว่ ไปหาไม่ได้แล้ว อยูๆ่ ก็ไปเดินเจอที่งานหนังสือในซอกๆ หนึ่ง ก็จ่าย เงิ น ไม่ คิ ด ชี วิ ต หามาตั้ ง แต่ ต อนเรี ย นปี ห นึ่ ง ปีสอง”
“เรียนจบมาปีหนึ่ง เราได้ไปเที่ยวคนเดียว มีเพจเป็นของตัวเอง มีบทสัมภาษณ์ลงนิตยสาร ตีพมิ พ์นยิ ายเล่มแรกเป็นของตัวเอง ลดน�ำ้ หนัก ได้ แ ปดกิ โ ลฯ แล้ ว ไปเรี ย นต่ อ ศิ ล ปะบ� ำ บั ด ที่แคนาดา”
แล้วคุณล่ะ 4 ปีผ่านมา คุณท�ำอะไรส�ำเร็จไปบ้าง?
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 3
SHOWCASE
กองบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ที่ปรึกษา : พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการเนือ้ หา : พชรกฤษณ์ โตอิม้ , ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ กองบรรณาธิการ : ชนนิกานต์ แก้วแก่นเพชร, ณิชชา เสริฐปัญญา รุง่ , เบญญา หงษ์ทอง, พชรกฤษณ์ โตอิม้ , ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์, มีนามณี ลีวิวิธนนท์, เมธาวจี สาระคุณ, วริศรา ชัยศุจยากร, วัศพล โอภาสวัฒนกุล, ศุภจิต ภัทรจิรากุล บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ : วริศรา ชัยศุจยากร บรรณาธิการสร้างสรรค์สื่อออนไลน์ : มีนามณี ลีวิวิธนนท์, เมธาวจี สาระคุณ, บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา : ผศ.ดร. ณรงค์ ข�ำวิจิตร์ ที่อยู่ : 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร : 0-2218-2140 Facebook : www.facebook.com/nisitjournal Twitter : @nisitjournal Website : https://nisitjournal.press
ของในประเทศนี้ถูกเสกให้หายได้
ชั่วขณะที่ผู้ชมจับจ้องการร่ายมนตร์ของ นักมายากล พยายามจับไต๋ว่ากลเม็ดใดซ่อน ของให้หายวับ สูดหายใจเข้าแล้วจ้องนิ่งตา ไม่กะพริบ เพียงชั่ววินาทีแห่งความจดจ่อนั้น ผู ้ ช มก็ ถู ก เบี่ ย งเบนความสนใจอย่ า งไม่ รู ้ ตั ว แท้จริงแล้วคาถาที่ออกจากปากเป็นเพียงสิ่ง ล่อสายตา กลลวงที่แท้จริงก�ำลังเกิดขึ้นที่อื่น หลุดรอดสายตาอย่างน่าเสียดาย ขณะนี้ระฆังเปิดฉากหาเสียงดังขึ้นอย่าง เงียบงันท่ามกลางเค้าลางการเลือกตั้งที่งุนงง นั ก มายากลเดิ น สายพร�่ ำ คาถา ชี้ ช วนให้ ประชาชนเล่นซ่อนหาโดยตั้งรางวัลเป็นการ พัฒนาที่ฝันถึง เสียงกระซิบนั้นดังเป็นท�ำนอง กรอกหูประชาชนความว่า “เลือกคนดี” “ประชาธิปไตยไทยนิยม” กลายเป็นศัพท์ ใหม่ แ ห่ ง ยุ ค ที่ ถู ก บั ญ ญั ติ โ ดยคณะรั ก ษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) โดยระบุความหมาย ไว้ในคู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยกระทรวง มหาดไทยไว้ว่า นิยมความดี ความงาม ท�ำเพื่อ ประโยชน์ส่วนรวม ประเทศชาติ และลูกหลาน ในอนาคต เพือ่ ให้ประชาชนรับรู้ เข้าใจลักษณะ ของ “คนดี” และเลือกตั้งคนดีเข้าไปบริหาร ประเทศ คู่มือนี้ ยังระบุสาเหตุที่ประเทศไม่เจริญ ก้าวหน้าไว้ในกรอบเนื้อหาของประชาธิปไตย ไทยนิยม ความว่า “ … ท�ำไมประเทศถึงไม่เจริญก้าวหน้า? สาเหตุเกิดจากการยึดหลักสากลมากเกินไป จนหลงลืมความเป็นไทย สิ่งที่ตามมาคือไม่ สามารถแก้ไขปัญหาของประเทศไทย ประเทศ จึ ง ไม่ ก ้ า วหน้ า ตั ว อย่ า งเช่ น มี ก ารเลื อ กตั้ ง แต่เลือกคนไม่ดีเข้ามาบริหารประเทศ ท�ำให้ ปัญหาของประเทศยังคงอยู่ และไม่ได้รับการ
บทบรรณาธิการ
การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และ การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) พ.ศ.2561 คือ สัญญาณบ่งบอกว่าการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ก�ำลังถูกก่อร่างเป็นรูปธรรมชัดเจนมากกว่า ครั้งใดที่รัฐบาลเคยลั่นค�ำสัญญา
และการวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ รั ฐ บาลกลายเป็ น หั ว ข้ อ สนทนาต้องห้ามไปในที่สุด
นอกจากการปิ ด กั้ น เสรี ภ าพการแสดงออก รัฐบาลคสช. ยังฝากแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีที่ ไร้ ก ารมี ส ่ ว นร่ ว มจากประชาชนเป็ น ตั ว อย่ า งแก่ คนรุ่นใหม่ การกระท�ำของผู้มีอ�ำนาจเช่นนี้กลายเป็น เครื่องมืออันทรงพลังยิ่งในการกล่อมเกลาความคิด ผู้คนให้ปลีกตัวออกจากระบบการเมือง จนน�ำไปสู่ การเพิกเฉยต่อการเลือกตัง้ และเพิกเฉยต่อความเป็น ประชาธิปไตยในสังคม
แม้การเลือกตั้งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นนั้นมีนัยส�ำคัญ ถึ ง การหวนคื น สู ่ บ รรยากาศแห่ ง ประชาธิ ป ไตย แต่คนรุน่ ใหม่ผมู้ อี ทิ ธิพลในการก�ำหนดอนาคตสังคม ส่วนหนึ่งกลับมองว่าการเลือกตั้งที่ก�ำลังจะมาถึงนี้ ยังเป็นเรือ่ งห่างไกลจากชีวติ ประจ�ำวัน เสมือนการเมือง สิ่งที่มาพร้อมกับการเลือกตั้งครั้งใหม่นี้ไม่ควร ยังคงเป็นเรือ่ งของชนชัน้ น�ำ และไม่วา่ “ค�ำสัญญา” ของ ลงเอยที่คณะรัฐบาลชุดใหม่กับประชาธิปไตยเพียง รัฐบาลคสช.จะเป็นจริงหรือไม่นั้น ก็ไม่สลักส�ำคัญ ในนาม แต่ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนสร้าง “พื้นที่ เท่ากับเรือ่ งปากท้องของตนเอง ความคิ ด ” เป็ น ของตนเอง มอบเสรี ภ าพใน นั ก วิ ช าการด้ า นการเลื อ กตั้ ง มี ข ้ อ สั ง เกตว่ า การเปล่ ง เสี ย งสะท้ อ นถึ ง ปั ญ หาต่ า งๆ ในสั ง คม ปรากฏการณ์ความเมินเฉยต่อการเลือกตัง้ นี้ สะท้อน มอบอ�ำนาจในการตรวจสอบการท�ำงานของรัฐ รวม ให้ เ ห็ น ถึ ง ความส� ำ เร็ จ ของรั ฐ บาลคสช. ที่ ท� ำ ให้ ถึงเสนอแนวทางความเปลี่ยนแปลงโดยปราศจาก ประชาชนเฉื่อยชาทางการเมือง เพราะหากย้อนมอง การผูกขาดทิศทางการพัฒนาให้ตกอยูแ่ ก่ผมู้ อี ำ� นาจ ห้วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่าสังคมไทยตก ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อยู่ในภาวะเงียบงัน สิทธิและเสรีภาพในการแสดง การตระหนักและการมองเห็นคุณค่าของพลัง ความคิดเห็นต่างๆ ถูกช่วงชิงไปด้วยการบังคับใช้ ประชาชน คือวิถีทางแห่งประชาธิปไตยอย่างแท้จริง กฎหมายมาตรา 44 มาตรา 116 ประกาศค�ำสัง่ คสช. และถือเป็นคุณค่าทีค่ วรมอบให้แก่คนรุน่ ใหม่ รวมถึง และพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทําความผิดเกีย่ ว คนทุกรุ่นต่อไปในอนาคต กับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 จนท�ำให้คำ� ว่า “การเมือง”
มายากลซ่อนหา ประชาธิปไตยล่องหน เรื่อง : เมธาวจี สาระคุณ
แก้ไข เสียงส่วนมากหรือเสียงส่วนน้อยสร้าง ความวุน่ วาย ดังนัน้ ประชาชนจะต้องหลอมรวม หลั ก สากลและความเป็ น ไทยเข้ า ด้ ว ยกั น ไปสูค่ วามดีงาม ความสงบ สันติสุขอย่างยั่งยืน โดยหลักประชาธิปไตยไทยนิยม ตัวอย่างเช่น การเลื อ กตั้ ง ประชาชนต้ อ งเลื อ กคนดี เ ข้ า ไปบริหารประเทศ...” “เลือกคนดี” ไม่ว่านานเท่าไรคาถานี้ก็ยัง เป็ น คาถาคลาสสิ ก ที่ อ ยู ่ เ คี ย งคู ่ ก ารเลื อ กตั้ ง เมืองไทย และคอยหลอกหลอนย�้ำเตือนยาม ประเทศเกิดปัญหาว่า สาเหตุของปัญหานั้น เป็ น เพราะประชาชนไม่ เ ลื อ กคนดี เ ข้ า สภา คาถานี้เป็นคาถาวิเศษ จูงใจประชาชนให้ไป ใช้สทิ ธิเ์ ลือกคนดีเข้าไปนัง่ ในสภา และคาดหวัง
“
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ ห นึ่ ง ใ น ห น ้ า ที่ พื้ น ฐ า น ข อ ง ส . ว . คื อ การกลั่ น กรองกฎหมาย ซึ่ ง หมายรวมถึ ง การควบคุมการแก้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 ที่ ค สช.เป็ น ผู ้ เ ขี ย นผ่ า นสภานิ ติ บั ญ ญั ติ การแก้ไขรัฐธรรมนูญจ�ำเป็นต้องผ่านการเห็น ชอบจากส.ว.จ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ดังนั้น ในช่วงห้าปีแรกหลังการเลือกตั้ง การแก้ไขรัฐธรรมนูญจึงไม่ใช่เรื่องที่สมาชิก สภาผูแ้ ทนราษฎร (ส.ส.) ทีป่ ระชาชนเป็นผูเ้ ลือก ตั้งเข้ามา สามารถตัดสินใจได้เอง แต่ต้องผ่าน
... บนสนามมายากลลวงตา ประชาชนต้ อ งตระหนั ก สิ ท ธิ ทีต ่ นเองมี ปกป้องสิทธินน ั้ ไม่ให้ถก ู ริดรอน และอย่ากลัวทีจ ่ ะใช้สท ิ ธิ นั้น เพราะมันคือความชอบธรรมของประชาชน
ว่าคนดีนนั้ จะเปลีย่ นแปลงทุกอย่าง โดยหลงลืม ไปว่า ภาพใหญ่ของระบบทีเ่ ราเลือกคนดีเข้าไป นั้น อาจไม่ได้เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงเท่าไรนัก รัฐธรรมนูญปี 2560 ก�ำหนดว่าในช่วงห้าปี แรกของการบริหารประเทศโดยรัฐบาลจากการ เลือกตั้ง คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จะคัดเลือกบุคคลเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิก วุฒิสภา (ส.ว.) จ�ำนวน 250 คน โดยจ�ำนวน นี้ คั ด เลื อ กจากกลุ ่ ม อาชี พ ที่ ค ณะกรรมการ เลือกตั้ง (กกต.) เสนอต่อคสช.จ�ำนวน 50 คน มาจากการสรรหาของคณะกรรมการที่ คสช.แต่งตั้ง 194 คน และ 6 คนที่เหลือคือ ผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ปลั ด กระทรวงกลาโหม
”
การตัดสินใจของส.ว.ทีค่ สช.เป็นผูเ้ ลือกไว้ดว้ ย นอกจากนี้ ส.ว.มีหน้าทีร่ ว่ มออกเสียงเลือก ผู ้ เ ข้ า มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกรั ฐ มนตรี โดย สามารถเลือก “นายกฯ คนนอก” หรือบุคคลที่ ไม่ได้เป็นสมาชิกในรัฐสภา ให้ขึ้นเป็นนายกฯ ได้ หากมีการลงเสียง 2 ใน 3 ของสภา ส.ว.ยั ง มี ห น้ า ที่ ติ ด ตามตรวจสอบการ ด�ำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ทีร่ ฐั บาลคสช.เป็นผูเ้ ขียนขึน้ และบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 13 ต.ค. 2561 คณะรัฐมนตรีชุดใหม่ต้องแจ้ง ความคืบหน้าของการด�ำเนินการตามแผนฯ ต่อ รัฐสภาทุกสามเดือน คณะรัฐมนตรีและส.ส.จึง
ไม่มอี ำ� นาจเปลีย่ นแปลงแก้ไขแผนฯ นอกเหนือ จากท�ำตามที่ถูกก�ำหนดไว้ในอีก 20 ปี กฎเหล็กของนักมายากล คือห้ามเปิดเผย กลให้ใครรู้ เพราะเมือ่ ไรทีก่ ลเม็ดนัน้ ถูกเปิดเผย คาถาเวทมนตร์ทั้งสิ้นก็จะกลายเป็นแค่เรื่อง หลอกตา กลายเป็นแค่เป้าหลอกที่ชี้ชวนคนให้ มองไปผิดทาง หากเมื่อไรที่ประชาชนตระหนัก ถึงกลทีแ่ ท้จริง เมือ่ นัน้ ประชาชนจะเลิกเล่นตาม เกมของนักมายากล แล้วหันมาเล่นตามเกม ของประชาธิ ป ไตย ที่ ไ ม่ ม องข้ า มเสี ย งของ ประชาชน แท้ จ ริ ง แล้ ว ประชาธิ ป ไตยไม่ ไ ด้ จ บที่ การเลือกตั้ง แม้หน้าที่บริหารอาจเป็นของผู้ถูก เลื อ กในสภา แต่ สิ ท ธิ ทั้ ง หลายเป็ น ของ ประชาชนทุกคนอย่างไม่ต้องถูกเลือก สิทธิทั้ง หลายรองรับให้ประชาชนมีอ�ำนาจในการพูด การวิจารณ์ และการตัง้ ค�ำถามต่อการท�ำหน้าที่ ของรัฐ รวมไปถึงการเข้าชื่อเพื่อสร้างความ เปลี่ยนแปลง รั ฐ ธรรมนู ญ พ.ศ.2560 ระบุ สิ ท ธิ ก ารมี ส่วนร่วมของประชาชนไว้หลายประการ เช่น มาตรา 133 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจ�ำนวน ไม่น้อยกว่า 10,000 คน สามารถเข้าชื่อเสนอ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของประชาชนได้ มาตรา 256 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจ�ำนวน ไม่น้อยกว่า 50,000 คน สามารถเข้าชื่อเพื่อ เสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ โจทย์ใหญ่ก็คือ บนสนามมายากลลวงตา ประชาชนต้ อ งตระหนั ก รู ้ ถึ ง สิ ท ธิ ที่ ต นเองมี ปกป้องสิทธินนั้ ไม่ให้ถกู ลิดรอน และอย่ากลัวที่ จะใช้สทิ ธินนั้ เพราะมันคือความชอบธรรมของ ประชาชน หากระบบยั ง ไม่ เ ปิ ด ช่ อ งให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลง ประชาชนต้องเปลี่ยนเอง
SOCIAL ISSUE
4 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
CCTV กทม. หลักฐานในกระบวนการยุติธรรมชั้นดี ที่(ควร)พร้อมใช้งาน เรื่อง-ภาพ :ชนนิกานต์ แก้วแก่นเพชร
เพื่อป้องกันปัญหาภาพถูกลบจากระบบ ผู้ต้องการภาพ สามารถติดต่อไปยังศูนย์กล้องวงจรปิด เพื่อขอให้เจ้าหน้าที่ ตรวจสอบและเก็บภาพก่อนก�ำหนดลบทิง้ และติดต่อขอรับภาพ ได้ในภายหลัง
กล้ อ งโทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด (Closed-circuit television หรือ CCTV) เปรียบเสมือนพยานผู้เห็น เหตุ ก ารณ์ ที่ ส ามารถบั น ทึ ก เรื่ อ งราวตั้ ง แต่ ก ่ อ น เกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ ภาพจากกล้อง วงจรปิ ด จึ ง มั ก เป็ น หนึ่ ง ในหลั ก ฐานที่ ผู ้ เ สี ย หายใน คดีความต่างๆ น�ำมาใช้ประกอบการด�ำเนินคดี
ส�ำหรับผู้สื่อข่าวได้ตรวจสอบระบบติดตามผลการปฏิบัติ ราชการ ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร พบว่าในปีงบประมาณ 2561 กทม. มีโครงการจัดหาพร้อม ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบติดตั้งประจ�ำที่ (Stand alone) พร้อมเชื่อมโยง สถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ
แต่ในการพิจารณาคดีฆาตกรรม ธนิต ทัฬสุนทร ทีถ่ กู แทง เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 15 เม.ย. 2559 บริเวณถนนประชาสงเคราะห์ 1 ดินแดง นัน้ ศาลชัน้ ต้นได้พพิ ากษายกฟ้องจ�ำเลยเมือ่ วันที่ 23 ก.ค. ทีผ่ า่ นมา โดยระบุวา่ หนึง่ ในสาเหตุสำ� คัญของการยกฟ้องคือ ภาพ จากกล้องวงจรปิดทีน่ ำ� มาใช้เป็นหลักฐาน เป็นภาพบริเวณหน้า ปากซอยทีบ่ นั ทึกเพียงช่วงต้นของการทะเลาะวิวาท ไม่ใช่จดุ ทีเ่ กิด การฆาตกรรม จึงไม่สามารถระบุผลู้ งมือได้ การยกฟ้องในครั้งนั้นเป็นเหตุให้ ศุภชัย ทัฬสุนทร ผู้เป็น พ่อ ตัดสินใจกระโดดศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก เสียชีวิตทันที “การใช้พยานบุคคล หากถูกปัจจัยภายนอกข่มขู่ เขาอาจ ไม่ให้การ หรือเปลี่ยนค�ำให้การได้ แต่ถ้ากล้องวงจรปิดใช้การได้ จับภาพชัด มันก็จบ นี่คือข้อดีของมัน” ธนพร ศิริบานเย็น ทนายความฝ่ายโจทก์ร่วมในศาลชั้นต้น คดีฆาตกรรมธนิต ทัฬสุนทร กล่าว ทนายธนพรให้ความเห็นว่ากล้องวงจรปิดเปรียบเสมือน พนักงานรักษาความปลอดภัยชั้นดี ทีส่ ามารถบันทึกการกระท�ำ และใบหน้าผู้อยู่ในเหตุการณ์ แต่ถ้ากล้องช�ำรุดไม่พร้อมใช้งาน กล้องด้อยคุณภาพ แสงสว่างไม่เพียงพอ หรือมุมกล้องแสดงภาพ ไม่ทั่วถึง ท�ำให้ภาพที่น�ำมาใช้เป็นหลักฐานไม่สามารถระบุตัวผู้ ก่อเหตุได้อย่างชัดเจน ศาลจะพิจารณาและตัดสินคดีตามพยาน หลักฐานที่มีอยู่ ซึ่งนั่นอาจท�ำให้ขาดข้อมูลบางส่วนไป สอดคล้องกับค�ำอธิบายของ ดร.น�ำ้ แท้ มีบญ ุ สล้าง อัยการ จั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานอั ย การคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละช่ ว ยเหลื อ ทาง กฎหมายและการบั ง คั บ คดี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ที่ ก ล่ า วว่ า กระบวนการยุ ติ ธ รรมคื อ การให้ ค วามเป็ น ธรรมกั บ ทุ ก คน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 227 ใจความว่า การด�ำเนินคดีต้องมีหลักฐานพิสูจน์ให้สิ้นข้อสงสัย ว่าจ�ำเลยกระท�ำความผิดจริง หากมีความสงสัยให้ยกประโยชน์ แห่งความสงสัยนัน้ ให้จำ� เลย ดังกรณีทศี่ าลตัดสินยกฟ้องจ�ำเลย ในคดีฆาตกรรมข้างต้น อย่างไรก็ตาม ดร. น�ำ้ แท้ระบุวา่ หากภาพจากกล้องวงจรปิด ได้รับการตรวจสอบและยืนยันแล้วว่าไม่ได้ผ่านการตัดต่อ เห็น พฤติการณ์และผู้กระท�ำความผิดชัดเจน ศาลจะรับฟังหลักฐาน และมีน�้ำหนักเพียงพอที่จะเข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดี “กล้องวงจรปิดส�ำคัญมาก เล่าเรื่องได้ชัดเจน คนโกหกได้ กล้องโกหกไม่ได้ แต่ภาพจากกล้องมีคา่ แค่ไหนขึน้ อยูว่ า่ เห็นอะไร บ้าง บางคดีทไี่ ม่เห็นการกระท�ำความผิดทีช่ ดั เจน กล้องวงจรปิด เป็นเพียงหลักฐานทีบ่ ันทึกเรื่องราวไว้สว่ นหนึง่ ทีอ่ าจชี้ให้เห็นถึง มูลเหตุจูงใจ แต่ไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด จึงต้องมีสืบสวน สอบสวนและหาพยานหลักฐานเพิ่มเติม” ดร.น�้ำแท้กล่าว + จะขอภาพจาก CCTV ไปใช้ได้อย่างไร ? หากต้องการน�ำภาพจากกล้องวงจรปิดของ กทม.ที่ติดตั้ง ตามพื้นที่สาธารณะ ไปใช้เป็นหลักฐานในการด�ำเนินคดี ผู้ใช้ สามารถยืน่ ค�ำร้องไปทีศ่ นู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร โดยต้องแจ้งหมายเลขกล้อง CCTV ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ์ ก ทม.บริ เ วณกล้ อ ง ตู ้ หรื อ เสาติ ด ตั้ ง พร้อมทัง้ วันและเวลาเกิดเหตุทตี่ อ้ งการน�ำภาพไปใช้ และมีบนั ทึก ประจ�ำวันของสถานีต�ำรวจท้องที่ที่ได้ไปแจ้งความด้วย
กล้องวงจรปิ ดในย่านชุมชน เช่น เขตพญาไท กทม. ถูกคาดหวัง ว่าจะบันทึกเหตุการณ์ เพือ่ ใช้เป็ นหลักฐานในคดีอาชญากรรม เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิดอธิบาย ว่า ภาพจากศูนย์มีความน่าเชื่อถือส�ำหรับน�ำไปประกอบการ พิจารณาคดีเพราะไม่มกี ารตัดต่อ และมีการลงนามเป็นหลักฐาน เพื่ อ ตรวจสอบย้ อ นหลั ง ได้ แต่ ป ั ญ หาที่ ผู ้ เ สี ย หายบางส่ ว น ไม่สามารถน�ำภาพจากกล้องวงจรปิดไปใช้ประกอบการด�ำเนิน คดีนั้น เกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ 1. กล้องช�ำรุดเพราะมีอายุการใช้งานเกินก�ำหนด ท�ำให้ภาพ บางช่วงขาดหายไป ซึง่ ปัจจัยนี้ ศูนย์ควบคุม CCTV จะพยายาม ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น โดยมีเจ้าหน้าที่จากบริษัทกล้องวงจรปิด ทีก่ ทม.จัดซือ้ และติดตัง้ คอยตรวจเช็คทุกวัน และแก้ไขปัญหาเมือ่ ตรวจพบการท�ำงานผิดปกติ 2. มุมทีต่ ดิ ตัง้ กล้องไม่สามารถจับภาพในบริเวณทีต่ อ้ งการได้ 3. กล้องบริเวณจุดเกิดเหตุไม่ใช่กล้องของกทม.เพราะกทม. สามารถติดตัง้ กล้องวงจรปิดเฉพาะแค่ในพืน้ ทีส่ าธารณะเท่านัน้ หากเป็นพื้นที่เอกชนหรือส่วนบุคคล ทางเจ้าทุกข์อาจต้องให้ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจขอความร่วมมือเจ้าของกล้องวงจรปิดในการขอ น�ำภาพมาใช้ เช่น ภาพจากร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น 4. ภาพถูกลบไปจากระบบจัดเก็บแล้ว กล่าวคือ ศูนย์จะจัด เก็บภาพจากกล้องวงจรปิดออนไลน์ไว้ในระบบเพียง 7 วัน ขณะ ทีภ่ าพจากกล้องทีไ่ ม่ใช่ระบบออนไลน์จะถูกจัดเก็บไว้ 15-30 วัน หากผู้ขอภาพ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลทั่วไปหรือเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ไม่ได้ท�ำเรื่องขอภาพก่อนที่ระบบจะลบก็จะไม่ได้ภาพที่ต้องการ
“
กระบวนการยุติธรรมบ้านเราต้องมีการปฏิรูป สองส่วนหลักๆ คือ หนึ่งต้องไม่มีใครคนใดผูกขาด การรู้เห็นพยานหลักฐาน และ สอง หลายหน่วยงาน ต้องร่วมมือกันในการสืบคดี
”
ดร.น�้ำแท้ มีบุญสล้าง อัยการจังหวัด ส�ำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ์ และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี จ.กาญจนบุรี
ด้วยงบประมาณ 307,600,000 บาท เพือ่ แก้ไขปัญหากล้อง วงจรปิด ที่ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กทม.กว่า 10,135 จุด ซึ่ง อยู่ระหว่างขั้นตอนขอความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทย หากโครงการนีแ้ ล้วเสร็จจะสามารถลดปัญหากล้องเสีย หรือซ่อม บ�ำรุงล่าช้าได้ + CCTV จะช่วยลดอาชญากรรมได้อย่างไร? ดร.จอมเดช ตรีเมฆ อาจารย์ประจ�ำสถาบันอาชญาวิทยา และการบริหารงานยุติธรรม วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า กล้องวงจรปิดท�ำให้ประชาชนรู้สึกปลอดภัย รวมทั้งมี ผลทางอ้อมที่ช่วยยับยั้งการก่อเหตุได้ “CCTV ไม่ได้ช่วยลด อาชญากรรมโดยตรงในการจับกุมผู้ก่อเหตุ แต่มีผลทางอ้อม ที่ท�ำให้ประชาชนอุ่นใจขึ้น หากมีคดีที่สามารถจับกุมผู้กระท�ำ ความผิดโดยใช้กล้องวงจรปิดได้ จะมีส่วนท�ำให้เกิดความกลัว ที่อาจจะน�ำไปสู่การยับยั้งการก่อเหตุได้” ด้าน ดร.น�ำ้ แท้ มีบญ ุ สล้าง อัยการจังหวัด ส�ำนักงานอัยการ คุ้มครองสิทธิ์และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี จังหวัดกาญจนบุรี เล่าถึงประสบการณ์ที่เคยพูดคุยกับผู้กระท�ำ ความผิดในเรือนจ�ำว่า ผู้ต้องขังส่วนมากบอกว่าหากออกจาก เรือนจ�ำไปแล้วจะกระท�ำความผิดซ�้ำอีก เพราะรู้สึกว่าคุ้มที่จะ เสีย่ งและมีโอกาสไม่ถกู จับ แต่เมือ่ ถามว่าถ้ารูว้ า่ มีกล้องวงจรปิด จับภาพได้ชดั เจน เขาจะยังท�ำผิดอีกไหม ทุกคนตอบว่าไม่ เพราะ ไม่อยากถูกด�ำเนินคดี อย่างไรก็ตาม ดร.น�ำ้ แท้เสนอว่า แนวทางแก้ปญ ั หาทีค่ วรท�ำ คือ ท�ำให้กระบวนการยุติธรรมโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นให้ กับประชาชนว่าภาพทีบ่ นั ทึกได้จะสามารถน�ำมาใช้เป็นหลักฐาน และด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำความผิดได้จริง โดยไม่มีอ�ำนาจเงิน หรือต�ำแหน่งเข้ามามีผลกับรูปคดี นอกจากนี้ อัยการจังหวัดกาญจนบุรีเสริมว่า กระบวนการ ยุตธิ รรมของไทยจ�ำเป็นต้องมีการปฏิรปู เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส “กระบวนการยุติธรรมบ้านเราต้องมีการปฏิรูปสองส่วน หลักๆ คือ หนึ่งต้องไม่มีใครคนใดผูกขาดการรู้เห็นพยานหลัก ฐาน และ สอง หลายหน่วยงานต้องร่วมมือกันในการสืบคดี เช่น ต�ำรวจท้องถิ่น กองพิสูจน์หลักฐาน อัยการ ฝ่ายปกครอง ลงพื้น ทีเ่ กิดเหตุ สอบปากค�ำพยาน ตรวจสอบกล้องวงจรปิดและบันทึก ภาพทันที ทั้งนี้เพื่อความรวดเร็ว โปร่งใส คานอ�ำนาจซึ่งกันและ กัน และไม่มีหน่วยงานใดผูกขาดคดี” ดร. น�้ำแท้กล่าวทิ้งท้าย
สามารถติดต่อขอรับภาพจากกล้องวงจรปิดได้ที่ ศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุม) และศูนย์กล้องวงจรปิดของกทม. ทั้ง 12 ศูนย์ ได้แก่ + เขตจตุจักร + เขตบางเขน + เขตห้วยขวาง
+ เขตบึงกุ่ม + เขตจอมทอง + เขตบางบอน
+ เขตบางพลัด + เขตพระโขนง + เขตบางคอแหลม
+ เขตราชเทวี + เขตมีนบุรี + เขตราษฎร์บูรณะ
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 5
SOCIAL ISSUE
เรื่องเล่าจากผู้ลี้ภัยไทย เรื่ อ งราวการขอลี้ ภั ย ในเกาหลี ใ ต้ ข องการ์ ตู น ได้ รั บ ในวันที่ไกลบ้าน ความสนใจจากนักข่าวจากหนังสือพิมพ์การเมือง ฮันคยอแร เรื่อง-ภาพ : ศุภจิต ภัทรจิรากุล
แม้สถานะผู้แสวงหาที่ลี้ภัยจะช่วยให้เธอสามารถอยู่ใน เกาหลีใต้ได้ไม่จ�ำกัดระยะเวลาจนกว่าการยื่นขอสถานะผู้ลี้ภัย ถูกอนุมัติหรือปฏิเสธ แต่สถานะดังกล่าวท�ำให้เธอได้รับสิทธิ คุ้มครองจากรัฐที่จ�ำกัดและไม่อาจเทียบเท่าพลเมืองได้ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพจนกว่าจะถือครองวีซ่าผู้ลี้ภัยครบ หกเดือน และไม่ได้รับสิทธิประกันสุขภาพ (Health Insurance) ผู ้ แ สวงหาที่ ลี้ ภั ย จึ ง ต้ อ งจ่ า ยค่ า รั ก ษาพยาบาลเต็ ม จ� ำ นวน การ์ตูนเล่าว่าเพื่อนของเธอเคยพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็น เวลาสองคืน แต่ไม่มีสิทธิประกันสุขภาพเลยต้องจ่ายค่ารักษา ทั้งหมดกว่า 30,000 บาท ซึ่งเป็นราคาที่แพงมากส�ำหรับผู้ที่ยัง ไม่สามารถหารายได้ได้ ตามกระบวนการขอสถานะผู้ลี้ภัย ผู้ขอสถานะจะต้องยื่น เอกสารและหลักฐานให้แก่สำ� นักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) และ ผ่านการสัมภาษณ์จากเจ้าหน้าที่ ก่อนส่งข้อมูลให้คณะกรรมการ พิจารณาสถานภาพผู้ลี้ภัยของเกาหลีใต้ เนื่องจากประเทศนี้มี กฎหมายการดูแลผูล้ ภี้ ยั ทีก่ ำ� หนดขึน้ เองและไม่ได้ขนึ้ กับข้าหลวง ใหญ่ผลู้ ภ้ี ยั แห่งสหประชาชาติ (UNHCR) “มั น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ประเทศที่ เ ราคิ ด ว่ า อยากจะมาอยู ่ หรือต้องมาใช้ชีวิตอยู่ตั้งแต่แรกอยู่แล้ว แต่พอเราได้ หมายฯ ของคดีวันที่ 16 ม.ค. เราไม่มีเวลาเตรียมตัว อะไรเลย หลังจากเก็บเสือ ้ ผ้าภายในไม่กช ี่ ว ั่ โมง แล้วเรา ก็บินเลย พอมาถึงเกาหลี เราช็อกทุกอย่าง ตั้งแต่ ภาษา วัฒนธรรม คน ตั้งแต่มาถึงสนามบินอินชอน เราไม่รู้ด้วยซ�้ำว่าเราต้องไปที่ไหนต่อ”
ชนกนั น ท์ รวมทรั พ ย์ หรื อ การ์ ตู น นั ก เคลื่ อ นไหว เพื่อประชาธิปไตยวัย 25 ปี เล่าถึงช่วงที่ต้องตัดสินใจลี้ภัยไป ต่างประเทศ หลังได้รบั หมายเรียกผูต้ อ้ งหาในวันที่ 16 ม.ค. 2561 ด้วยข้อกล่าวหากระท�ำผิดในมาตรา 112 ตามประมวลกฎหมาย อาญา จากการส่งต่อข่าวพระราชประวัติรัชกาลที่ 10 จาก ส�ำนักข่าวบีบซี ไี ทยในเฟซบุก๊ เช่นเดียวกับจตุภทั ร์ บุญภัทรรักษา หรือไผ่ ดาวดิน ทีถ่ กู ตัดสินจ�ำคุกห้าปี แต่ภายหลังไผ่รบั สารภาพ จึงลดโทษลงกึ่งหนึ่งเหลือสองปีหกเดือน + แรกเริ่มที่หลุดลอย กว่าสิบเดือนของการลี้ภัยไปอยู่ท่ีเกาหลีใต้ไม่ได้ราบรื่น อย่างทีห่ ลายคนคิด การ์ตนู ต้องปรับตัวกับภาษาและวัฒนธรรม ที่แตกต่าง อีกทั้งยังต้องจัดการหลักฐานเอกสารเพื่อขอสถานะ ผูล้ ภี้ ยั (Refugee) ซึง่ มีขนั้ ตอนทีย่ งุ่ ยากและใช้เวลานาน ช่วงแรก เธอมีเพียงวีซ่าท่องเที่ยวระยะสั้นที่สามารถอาศัยในประเทศได้ เพียง 90 วันเท่านั้น เมื่อใกล้ครบก�ำหนดเธอต้องยื่นส่งเอกสาร ขอวีซ่าผู้ลี้ภัย (G-1 Visa) เพื่อเปลี่ยนสถานะเป็นผู้แสวงหา ที่ลี้ภัย (Asylum Seeker) และรอการพิจารณาสถานะผู้ลี้ภัย เต็มตัวจากกระทรวงยุติธรรมของเกาหลีใต้ในขั้นต่อไป
หากตม.ไม่อนุมัติ ผู้ขอสถานะสามารถยื่นเรื่องให้ศาล พิจารณาได้โดยผ่านศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ซึง่ การพิจารณาของแต่ละชัน้ ศาลใช้เวลาหนึง่ ปี รวมเวลาสามปี ในการผ่านกระบวนการศาลทัง้ หมด แรงงานผิดกฎหมายจึงมัก ใช้โอกาสนี้ในการลักลอบท�ำงาน จนคนเกาหลีใต้เข้าใจผิดและ ไม่ยอมรับผูแ้ สวงหาทีล่ ภี้ ยั ทัง้ ยังท�ำให้ตม.เพิม่ ความเข้มงวดใน การตรวจสอบหลักฐานทั้งหมดของผู้ยื่นขอสถานะผู้ลี้ภัยด้วย “แรงงานไทยที่เข้ามาแบบผิดกฎหมาย เขายื่นขอสถานะ ผู้ลี้ภัย แต่ว่าจริงๆ เขาไม่ได้เป็นผู้ลี้ภัย มีจ�ำนวนเยอะมากที่ยื่น ไป แล้วมันสร้างความเกลียดชังและสับสนในสังคมเกาหลีว่า พวกที่ยื่นสถานะลี้ภัยเป็นพวกแรงงานเถื่อนผิดกฎหมาย แต่ว่า อยากจะท�ำงานต่อ อยากอยู่ต่อได้” การ์ตูนกล่าว + คนตัวเล็กในต่างแดน
(Hankyoreh) ซึ่งมาสัมภาษณ์ถึงสถานการณ์การเมืองไทยและ การลีภ้ ยั ของเธอ ท�ำให้เธอเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ในกลุม่ คนเกาหลีใต้ รวมถึงเจ้าหน้าที่ตม.ถึงบทบาทนักเคลื่อนไหวทางการเมือง
ทว่าหลังบทสัมภาษณ์เผยแพร่ไม่นาน ชาวเกาหลีใต้หลาย พันคนในกรุงโซลก็ออกมาประท้วงการรับผู้ลี้ภัยชาวเยเมนและ ชาวมุสลิมบนเกาะเจจู โดยเฉพาะแกนน�ำกลุม่ กลุม่ เรียกร้องสิทธิ สตรีที่กลัวว่าผู้ลี้ภัยจะมาแย่งงานและก่ออาชญากรรมทางเพศ เจ้าหน้าที่ตม.เกาหลีใต้จึงเร่งสัมภาษณ์ชาวเยเมนเพื่อปฏิเสธ การขอสถานะผู้ลี้ภัย ท�ำให้ก�ำหนดการเรียกสัมภาษณ์ของเธอ ล่าช้าไปอีกสามเดือน “เราถูกเหมารวมไปแล้วว่าผู้ลี้ภัยต้องมาจากประเทศที่มี สงคราม เขาไม่มคี ำ� ว่าผูล้ ภี้ ยั ทางการเมืองในหัว เขามีผลู้ ภี้ ยั แบบ เกิดสงครามกลางเมืองแล้วอยูบ่ า้ นไม่ได้ตอ้ งโดนระเบิดตายแล้ว ก็มาที่เกาหลี” การ์ตูนกล่าว การ์ตูนบอกว่า ถึงการกีดกันผู้แสวงหาที่ลี้ภัยในประเทศนี้ จะท�ำให้การใช้ชีวิตยากล�ำบาก แต่พวกเขากลับไม่สามารถ รวมตัวกันเพื่อเรียกร้องสิทธิใดๆ ได้ เพราะมีจ�ำนวนไม่มากนัก และมาจากหลายประเทศ ซึง่ บางคนพูดภาษาเกาหลีและภาษา อังกฤษไม่ได้ด้วยซ�้ำ จึงยากต่อการเรียกร้องหรือสื่อสารกับ ทางการเกาหลีใต้ + ฝากหวังถึงสักวันหนึ่ง การรอคอยของการ์ ตู น สิ้ น สุ ด ลงแล้ ว เธอเริ่ ม ใช้ ชี วิ ต ใน สถานะ “ผู้ลี้ภัย” อย่างเต็มตัวเมื่อ 9 พฤศจิกายนที่ผ่านมา หลังจากนี้เธอต้องยื่นขอวีซ่าผู้พ�ำนักอาศัยระยะยาว (F-2 Visa) ซึ่ ง จะท� ำ ให้ เ ธอสามารถเรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย หรื อ ท� ำ งานใน เกาหลีใต้ได้ การ์ตูนได้เข้าร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวเรื่องสิทธิของผู้มี ความหลากหลายทางเพศกับสิทธิผู้ล้ีภัยในเกาหลีใต้โดยไม่ถูก ทนายห้ามทัง้ ทีไ่ ม่ใช่พลเมือง เธอใช้เฟซบุก๊ เป็นช่องทางบอกเล่า เรื่องราวความเป็นอยู่ขณะลี้ภัยที่เกาหลีใต้และแสดงความเห็น ต่อการเมืองไทย แม้ก่อนหน้านี้จะมีคนในประเทศบ้านเกิดของ เธอเตือนว่าให้หยุดเคลื่อนไหวและอย่าเปิดเผยตัวตนก็ตาม
ในมุมมองของการ์ตนู เกาหลีใต้ไม่ใช่ตวั เลือกทีด่ ใี นการลีภ้ ยั เพราะสังคมที่นี่ยังไม่เปิดรับผู้ลี้ภัยหรือชาวต่างชาติ โอกาสใน การอนุ มั ติ ส ถานะผู ้ ลี้ ภั ย จึ ง ยิ่ ง น้ อ ยลง รายงานของฮิ ว แมน ไรตส์วอตช์ (Human Rights Watch) พบว่า ช่วงเดือนมกราคม ถึงตุลาคม 2560 มีใบยื่นค�ำร้องขอสถานะผู้ลี้ภัยในเกาหลีใต้ จ�ำนวน 7,291 ใบ แต่มีเพียง 96 ใบหรือร้อยละ 1.31 เท่านั้นที่ได้ รับการอนุมัติสถานะจากรัฐบาล
“มีแต่คนในไทยทีพ่ ดู ไม่ได้ แต่เนือ่ งจากว่าคุณพูดไม่ได้ ท�ำไม คุณต้องมาห้ามเราด้วย เราโดนคดีมาแล้ว เราหนีออกจาก ประเทศแล้ว เราควรจะแบกรับหน้าที่ตรงนี้ด้วยซ�้ำ ในเมื่อเรา ลีภ้ ยั มา หน้าทีใ่ นการพูดเรือ่ งนีต้ อ้ งเป็นของเรา มันเป็นเรือ่ งทีเ่ รา ท�ำได้มากกว่าคนที่อยู่ในไทย” การ์ตูนกล่าว
โชคดีทเี่ ธอได้รบั การช่วยเหลือจาก มูลนิธิ 18 พฤษภาร�ำลึก ซึ่งเป็นองค์กรที่เคลื่อนไหวเรื่องประชาธิปไตยในเกาหลีใต้ช่วย ประสานงานเรื่องการยื่นขอสถานะผู้ลี้ภัยและให้ที่พักอาศัยใน ระยะแรก การ์ตนู บอกว่าหากไม่ได้รบั การช่วยเหลือจากองค์กรนี้ ชีวติ ในต่างแดนของเธอคงล�ำบากกว่านี้
“เราหวังมากกว่านั้นด้วยซ�้ำ เราหวังว่าเราจะได้กลับบ้าน ก่อนจะหมดอายุความ เราจะสามารถกลับไทยได้ ณ ปัจจุบันนี้ เราสามารถกลับไทยได้ก็ต่อเมื่อ 15 ปีผ่านไป แต่เรายังมีความ หวังว่าเราสามารถกลับได้ก่อนหน้านั้น ประเทศเราจะเปลี่ยน ก่อน 15 ปี” การ์ตูนกล่าว
+ ผู้ลี้ภัย (Refugee) vs ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย (Asylum Seeker) ผูล ้ ภ ี้ ย ั คือบุคคลทีจ่ ำ� เป็นต้องย้ายถิน ่ ฐานจากประเทศของตนเอง
เพราะหวาดกลั ว หรื อ เสี่ ย งต่ อ การถู ก ประหั ต ประหารจากเหตุ ความขัดแย้งทางเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา กลุ่มทางสังคม หรือ การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง และไม่สามารถที่จะได้รับการ คุ้มครองจากรัฐที่ตนเป็นพลเมืองได้
ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย คือบุคคลที่ยังไม่ได้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัย
อย่างเป็นทางการตามอนุสัญญาฯ ว่าด้วยสถานะผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2494 หรือตามกฎหมายผู้ลี้ภัยของประเทศที่ตนยื่นขอสถานะ ที่มา: แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย
ถึงอย่างนั้น การ์ตูนก็ยังไม่หมดหวังกับการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองในไทย
+ รู้จักกับคดีมาตรา 112 การละเมิดมาตรา 112 ตามประมวล กฎหมายอาญาถือเป็นคดีอาญาแผ่นดิน ใครก็ตามทีพ ่ บเห็นการกระท�ำทีเ่ ข้าข่ายจึง สามารถเป็ น “ผู ้ ก ล่ า วโทษ” ได้ แ ม้ ไ ม่ ใ ช่ ผู้เสียหายโดยตรง ผู้ต้องหาที่โดนหมาย เรียกจะต้องมาตามนัดทีร่ ะบุ ซึง ่ ในระหว่างนี้ ยังสามารถเดินทางออกนอกประเทศได้ ตามปกติ แต่หากไม่ไปตามหมายเรียกทั้ง สองครัง ้ สน.ทีร่ บ ั เรือ ่ งจะออกหมายจับท�ำให้ ไม่สามารถเดินทางออกนอกประเทศตาม ปกติได้
โทษของมาตรา 112 คือจ�ำคุก 3-15 ปี หากจ�ำเลยรับสารภาพจะลดโทษลงกึง ่ หนึง ่ ในกรณีทจ ี่ ำ� เลยไม่เคยกระท�ำผิด ศาลอาจจะ ให้รอลงอาญา หากพิพากษาแล้วมีโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือถ้าจ�ำเลยได้รบ ั ประกัน ตัวระหว่างต่อสู้คดีก็สามารถสู้คดีตาม กระบวนการยุติธรรมได้ โดยคดีนี้มีอายุ ความ 15 ปี ที่มา: ภาวิณี ชุมศรี (ทนายแอน) ศูนย์ทนายเพื่อสิทธิมนุษยชน
GENDER
6 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
เพราะเป็นหญิง จึงถูกสอน ให้เป็นหญิง เรื่อง : เมธาวจี สาระคุณ “เขาจะสอนว่ า เป็ น ผู ้ ห ญิ ง ต้ อ งท� ำ ตั ว ยั ง ไง เป็ น ผูห ้ ญิงท�ำอะไรได้ ท�ำอะไรไม่ได้ มีกรอบมาเลยว่า ถ้าเป็น ผู้หญิงท�ำแบบนี้คือถูก ท�ำแบบนี้คือผิด” - เจน (นาม สมมุติ) วัย 20 ปี ศิษย์เก่าโรงเรียนหญิงล้วนแห่งหนึ่ง กล่าว
มุมหนึง่ ของโลกการศึกษา มีโรงเรียนทีเ่ รียกว่าโรงเรียนหญิง ล้วน มุมหนึ่งของโรงเรียนหญิงล้วน มีส่วนหนึ่งที่ด�ำเนินงาน ภายใต้จุดมุ่งหมายและอัตลักษณ์การสร้าง “กุลสตรี” และ มุมหนึ่งของความเป็นกุลสตรีทั้งหลาย เจน ศิษย์เก่าโรงเรียน หญิงล้วนแห่งหนึ่ง บอกเล่าถึงมุมที่เธอเคยพบเจอ “มันเป็นเรื่องของความเป็นผู้หญิง” เจนกล่าวแล้วน�ำเราเข้าสู่โลกการศึกษาของเธอ เพราะเป็นหญิง จึงต้องศึกษาความเป็นหญิง
คนใดลืมใส่เสื้อทับมาโรงเรียน ครูจะให้ไปซื้อที่สหกรณ์เพื่อใส่ เรียนในวันนั้น เจนเล่าให้ฟังว่าแม้แต่ในวันหยุด หากอาจารย์ทราบว่า แต่งตัวโป๊ ไม่ว่าจะเห็นจากโซเชียลมีเดีย หรือมีคนมาฟ้อง ก็ ถูกเรียกไปตักเตือนได้ ครั้งหนึ่งหน้าเสาธง เคยมีการน�ำประเด็นของการแต่งตัว นอกรั้วโรงเรียนมาต�ำหนิ เธอเล่าให้เราฟังถึงประโยคที่เธอจ�ำ ขึ้นใจว่า “ครูไม่อยากให้ใครมามองเธอไม่ดี เธอท�ำเองใครเขาก็มอง เธอไม่ดี หรือถ้าเธอไม่แคร์ว่าใครจะมองเธอไม่ดี (เขาจะมองว่า) โรงเรียนก็ไม่ดีด้วยนะ” เมือ่ เราถามว่าสิง่ ทีก่ ำ� หนดให้ผคู้ นจะมองโรงเรียนเธอดีหรือ ไม่ดีคืออะไร เธอตอบกับเราว่า “กุลสตรี”
“กุลสตรี” โรงเรี ย นของเจนจารึ ก ค� ำ นี้ ไ ว้ บ นป้ ายหน้ าโรงเรี ย น บน อัตลักษณ์โรงเรียน บนหลักสูตร และบนค�ำพูด “วิชากุลสตรี” เป็นวิชาที่เจนต้องเรียนตลอดสิบเอ็ดปีในรั้ว โรงเรียน วิชานี้สอนถึงวิธีปฏิบัติตัวของเพศหญิง ตั้งแต่การพูด การเดิน การยืน การนั่ง การวางตัว และการปฏิบัติตัวกับผู้ใหญ่ เจนยกตัวอย่างให้ฟงั ว่า เธอถูกสอนให้นงั่ พับเพียบอยูเ่ สมอ การพับเพียบทีถ่ กู ต้องจะต้องนัง่ เก็บปลายเท้า กระโปรงคลุมเข่า หากเปลี่ ย นไปนั่ ง ขั ด สมาธิ ต้ อ งมี ท ่ า ที่ ใ ช้ ใ นการเปลี่ ย นเพื่ อ ป้องกันไม่ให้ขากางออกหรือกระโปรงเลิกขึ้นสูงเพราะดูไม่งาม แม้แต่การยืนเข้าแถว หรือยืนฟังอาจารย์ ก็ให้ยืนประสานมือไว้ ที่ระดับเอว “นั ก เรี ย นต้ อ งเป็ น ผู ้ มี กิ ริ ย ามารยาทเรี ย บร้ อ ย ตาม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย” ข้อความข้างต้นถูกบรรจุไว้ในคู่มือนักเรียน หากพบเห็น การกระท�ำทีไ่ ม่สอดคล้อง อาจารย์มสี ทิ ธิท์ จี่ ะดูแลความประพฤติ นั ก เรี ย น โดยสามารถตั ก เตื อ น ท� ำ โทษ เรี ย กพบผู ้ ป กครอง ไปจนถึงให้พ้นสภาพนักเรียน หากนักเรียนคนไหนสามารถรักษากิริยามารยาทของตน ให้เป็นไปตามกรอบกุลสตรีที่ก�ำหนดไว้ได้ เมื่อจบปีนักเรียน คนนั้นจะได้รับประกาศนียบัตรเป็นรางวัล นอกเหนือจากกฎระเบียบ เจนเล่าว่าหลายครั้งการอบรม ยังมาในรูปแบบของ ‘“การเป็นผู้หญิง”’ ว่าควรท�ำอย่างไร “เป็นผู้หญิงต้องท�ำตัวให้ดูแพง” ประโยคนี้เป็นประโยคที่เจนได้ยินเสมอ เป็นสิ่งที่เจนใช้ ในการนิยามค�ำว่าผู้หญิงที่ดี และผู้หญิงที่ไม่ดีในโลกของเธอ “ท� ำ ตั ว ให้ ดู แ พง หมายความว่ า เป็ น ผู ้ ห ญิ ง ที่ เ รี ย บร้ อ ย รักนวลสงวนตัว พูดจาระวังถ้อยค�ำ ระวังการแต่งตัว อันนี้คือ ดูแพง ต้องระวัง เป็นผู้หญิงมันมีค�ำว่าดี ไม่ดี” เรื่องการแต่งตัวเป็นเรื่องใหญ่ที่เจนถูกสั่งสอน เป็นผู้หญิง ไม่ ส มควรแต่ ง ตั ว โป๊ หรื อ เปิ ด เผยเนื้ อ หนั ง จนเกิ น ไป อย่ า ง ชุดนักเรียน โรงเรียนของเธอก�ำหนดให้ใส่เสือ้ ทับ (เสือ้ กล้ามทีใ่ ส่ ทับเสือ้ ชัน้ ใน) ใต้เสือ้ นักเรียน เพือ่ ป้องกันไม่ให้ดโู ป๊ หากนักเรียน
เพราะเป็นหญิง แล้วปัญหา อยู่ตรงไหน ? “การคุมขังจิตส�ำนึกทางเพศของนักเรียน เริ่มตั้งแต่การ ก�ำหนดเครื่องแต่งกายว่าผู้หญิงต้องใส่กระโปรง” ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์และนักวิชาการด้านเพศวิถศี กึ ษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยกล่าว ดร.ชเนตตี มองว่าปัญหาของการเรียนเช่นนี้จะจ�ำกัดความ เป็ น ไปได้ ข องมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกรอบเพศ สถาบั น ทางสั ง คมและ วัฒนธรรมมีส่วนในการสร้างความเป็น “เพศ” ที่สมบูรณ์ ด้วย การก�ำหนดวิธปี ฏิบตั ใิ ห้แก่มนุษย์ ทัง้ ทีค่ วามจริงแล้ว “เพศ” เป็น เพียงคุณลักษณะทีต่ ดิ ตัวมนุษย์มาตัง้ แต่กำ� เนิดเท่านัน้ การเรียน การสอนเช่นนี้ จะสร้างความคาดหวังต่อบทบาททางเพศของ มนุษย์ เช่น ผูช้ ายต้องเข้มแข็งเป็นผูน้ ำ� ผูห้ ญิงต้องอ่อนหวานและ เป็นแม่ทดี่ ี หากผิดจากกรอบทีส่ งั คมคาดหวัง มนุษย์ผนู้ นั้ ก็จะได้ รับการลงโทษจากสังคม การกระท�ำเช่นนี้เป็นการเพิ่มความ เครียดในการเป็นมนุษย์มากเกินไป เพราะในความเป็นจริงไม่ใช่ มนุษย์ทกุ คนทีส่ ามารถท�ำตามคุณสมบัตทิ างเพศของตนได้เต็ม ร้อย “เราคิดว่าเพศเป็นเรือ่ งธรรมชาติ แต่จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เรือ่ ง ธรรมชาติ มันเป็นประดิษฐกรรมทางสังคม ที่มีอ�ำนาจบังคับใช้” ดร.ชเนตตีกล่าว
“
เราคิดว่าเพศเป็นเรื่องธรรมชาติ แต่จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เรือ ่ งธรรมชาติ มันเป็นประดิษฐกรรม ทางสังคมทีม ่ อ ี ำ� นาจบังคับใช้
”
ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ ดร. ชเนตตียงั ชีอ้ กี อีกว่าการก�ำหนดบทบาททาง เพศเป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ของการสร้ า งชนชั้ น เป็ น การยกย่ อ ง คนประพฤติ ตั ว แบบหนึ่ ง มากกว่ า อี ก แบบหนึ่ ง เป็ น การลด ความพิเศษของมนุษย์ ทั้งที่มนุษย์ทุกคนพิเศษเพราะมีความ แตกต่าง สมควรได้รบั การยกย่องและยอมรับ ไม่วา่ เขาจะเกิดมา ในเพศใด เลือกวิถที างทางเพศแบบไหน หรือปฏิบตั ติ วั อย่างไร
“ผู้หญิงดี แต่งตัวดี พูดจาดี (มี) มารยาท นี่คือการเอา ระเบียบวินัยมาชู ให้คนเห็นดีเห็นงามกับการมีวินัย แต่วินัย ไม่ได้สร้างชาติ วินัยไม่ได้ท�ำให้สังคมพัฒนา วินัยไม่ใช่ค�ำตอบ ของการสร้างความเป็นมนุษย์ “ ดร.ชเนตตีให้ความเห็น ด้าน ดร.ปิ ย ฤดี ไชยพร นักวิชาการด้านปรัชญาสตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า การสร้างภาพจ�ำให้กับมนุษย์ ในเพศนั้นๆ ส่งผลกระทบต่อบางอาชีพ คนนิยามว่าเป็นอาชีพ ของเพศใดเพศหนึ่ง เช่น อาชีพเกี่ยวกับการบริการ การดูแลเด็ก และผูส้ งู อายุ คนมักคิดว่าเป็นอาชีพของผูห้ ญิง เพราะคนมองว่า ผู้หญิงเหมาะกับการดูแลมากกว่าผู้ชาย “ปัญหาคือเมื่อเราคิดถึงผู้หญิง เราจะคิดเชื่อมโยงไปหา ลักษณะที่เราเชื่อกันมาตลอดว่านี่คือผู้หญิง” ดร.ปิยฤดีเน้นย�้ำ นอกจากนี้ ในทัศนะของดร.ปิยฤดี สถานศึกษาจ�ำเป็นต้อง เปิดกว้างให้ความเป็นหญิง โดยไม่จ�ำเป็นต้องชื่นชมหรือเชิดชู บุ ค ลิ ก ประเภทไหนเป็ น พิ เ ศษ ไม่ ว ่ า เด็ ก คนนั้ น จะทโมน หรือเรียบร้อย ก็ลว้ นแต่นา่ ชืน่ ชมในรูปแบบของตัวเอง “พอเราเห็นคุณค่าผู้หญิงในทุกแบบ มันคือการเปิดโอกาส ให้ผู้หญิงเป็นได้ทุกอย่าง” ดร.ปิยฤดีกล่าว
“
พอเราเห็นคุณค่าผู้หญิงในทุกแบบ มัน คือการเปิดโอกาสให้ผห ู้ ญิงเป็นได้ทก ุ อย่าง
”
ดร. ปิยฤดี ไชยพร อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เพราะเป็นหญิง แล้วเลิกสอนความเป็นหญิงได้หรือไม่ ? “ความท้าทายของการอบรมสัง่ สอนผูห้ ญิงคือการปรับให้ทนั ตามโลก คุ ณ ค่ า ดั้ ง เดิ ม เมื่ อ เวลาเปลี่ ย นก็ ค ่ อ ยๆลดลงไป ทุกอย่างยังเป็นตัวกรองให้เหลือว่าคุณค่าใดจะอยู่ต่อ มันจะได้ สิ่งดีงามในช่วงเวลาของมัน” ดร.พิรุณ ศิริศักดิ์ นักวิชาการ ศึกษาผู้พัฒนาหลักสูตรกุลสตรี ให้ความเห็น ดร.พิรณ ุ มองว่าโรงเรียนหญิงล้วนจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องสอนความ เป็นผูห้ ญิงให้กบั นักเรียนเนือ่ งจากสังคมไทยยังเป็นสังคมทีค่ าด หวังกับเพศหญิง ยังคงมองคนทีภ่ าพลักษณ์ การวางตัวมากกว่า ระดับการศึกษาเพียงอย่างเดียว “การเรียนการสอนที่คาดหวังการวางตัวของผู้หญิงเป็น ผลผลิตจากความคาดหวังของสังคม” ดร.พิรุณกล่าว ดร.พิรณ ุ อธิบายว่าโรงเรียนเองก็เป็นธุรกิจประเภทหนึง่ เมือ่ เป็นธุรกิจจึงจ�ำเป็นต้องผลิตผลผลิตที่ตรงกับความต้องการของ สังคมเพื่อท�ำให้ธุรกิจนั้นยังคงด�ำเนินต่อไปได้ เมื่อใดสังคมที่เป็นเหมือนตลาดก�ำหนดโจทย์ที่ต่างไปให้ คุณค่าความเป็นหญิง เมื่อนั้นเราคงได้เห็นโรงเรียนปรับตัวและ เปลี่ยนแปลง ดร.พิรุณให้ความเห็นสรุป
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 7
QUALITY OF LIFE
ปวดหลัง เพราะ นั่งเรียน เรื่อง-ภาพ : มีนามณี ลีวิวิธนนท์, วริศรา ชัยศุจยากร, เมธาวจี สาระคุณ
“นั่ ง นานแล้ ว ปวดหลั ง ตั ว เบาะเป็ น พลาสติ ก เลยแข็ ง มาก ถ้ า วั น ที่ ต ้ อ งนั่ ง ยาวๆ 3-4 ชั่ ว โมงก็ ปวดก้นกบเลย เอนไม่ได้ พิงไม่ได้ นั่งตรงๆ ก็ไม่ถนัด”
ธิ ติ นั น ท์ ก� ำ แพงสิ น นั ก ศึ ก ษาคณะสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรั พ ยากรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลเล่ า ถึ ง ประสบการณ์ ความทรมานจากการนั่งเรียนในมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับ พีรวิชญ์ แสงจันทร์ นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เล่าว่าการเรียนการสอนของคณะ ตนส่วนใหญ่เป็นแบบฟังบรรยาย ตัวเองเป็นคนตัวสูง ท�ำให้ตอ้ ง นั่งและก้มคอเป็นเวลานานติดต่อกันกว่าสองชั่วโมง จนรู้สึก ปวดหลังปวดคอมาก โดยเฉพาะเวลาสอบที่ต้องก้มหน้าเขียน ติดต่อกัน ท�ำให้เขาต้องเงยหน้ามานวดหรือหมุนคอเป็นพักๆ นี่คือส่วนหนึ่งของเสียงสะท้อนของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อ เก้าอีใ้ นห้องเรียน หรือทีเ่ รียกกันว่า “เก้าอีเ้ ลคเชอร์” ทีใ่ ช้กนั อย่าง แพร่หลายในมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะเป็นเก้าอี้พลาสติก มีแผ่นกระดานรองเขียนอยูฝ่ ง่ั ขวาฝัง่ เดียว ไม่สามารถปรับระดับ ความสู ง ของเก้ า อี้ แ ละแผ่ น รองเขี ย นให้ พ อดี กั บ สรี ร ะของ แต่ละคนได้ จึงเป็นสาเหตุ ท�ำให้ผู้ใช้งานต้องเจอกับปัญหา ปวดคอปวดหลังอยู่เป็นประจ�ำ รศ.ดร.ประวิ ต ร เจนวรรธนะกุ ล หัวหน้าหน่วยวิจัย การบาดเจ็บทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อจากการท�ำงาน ภาควิ ช ากายภาพบ� ำ บั ด คณะสหเวชศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อธิบายว่า ไม่อาจพูดได้ว่าอาการปวดเมื่อยหลัง และคอเกิดจากการนั่งเก้าอี้เพียงอย่างเดียว ปัจจัยหลักที่ท�ำให้เกิดอาการแบ่งออกเป็นสามปัจจัย คือ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น กล้า มเนื้อหลังอ่อนแอ ท่านั่งไม่ เหมาะสม 2. ปัจจัยทางจิตใจ เช่น ความเครียด 3. ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมและพฤติกรรม เช่น การใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน อาจารย์ ค ณะสหเวชศาสตร์ ก ล่ า วว่ า ลั ก ษณะเก้ า อี้ ที่ เหมาะสมกับสรีระร่างกายควรมีพนักพิงหลัง มีที่วางแขน มี ความมั่นคงและสามารถปรับระดับความสูงให้เข้ากับสรีระของ แต่ละคนได้ แต่เก้าอีเ้ ลคเชอร์ทใี่ ช้กนั อยูน่ นั้ ไม่ตอบโจทย์ทวี่ า่ ซึง่ อาจจะเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ท�ำให้เกิดโรคปวดคอปวดหลังได้ แล้วเราจะท�ำอย่างไร ให้เวลานัง่ เก้าอีน้ แี้ ล้วไม่ปวดคอ ปวดหลังได้บ้าง ?
เก้าอีเ้ ลคเชอร์ ยอดนิ ยมในมหาวิ ทยาลัยทีน่ ิ สิตนักศึกษาใช้นงั่ เรี ยนไม่ต�่ำกว่า 2 ชม. ต่อวัน ต้องหยุดแล้ว แล้วการที่จะท�ำให้หายไม่สบายหลังไม่สบายคอ ก็คือลุกออกไป” นักวิชาการด้านกายภาพบ�ำบัดกล่าว รศ.ดร.ประวิตรมองว่า ด้วยข้อจ�ำกัดเรือ่ งต้นทุนและการดูแล รักษาอาจท�ำให้ไม่สามารถเปลี่ยนเก้าอี้ในมหาวิทยาลัยให้เป็น ไปตามเก้าอี้ที่ถูกต้องตามสรีระได้หมด จึงให้ค�ำแนะน�ำว่า
วิธีแก้ปัญหา โดยเสนอว่าโต๊ะที่ดี ด้านล่างต้องโล่งให้สอดขาได้ ส่วนเก้าอี้ ไม่วา่ จะถนัดมือซ้ายหรือขวาหรือมีความบกพร่องทาง ร่างกายก็สามารถใช้งานได้หมด
“ออกก�ำลังกายไง ถ้าร่างกายคุณแข็งแรงต่อให้คุณนั่งเก้าอี้ ห่วยแค่ไหนคุณก็ไม่เป็นไร”
ส�ำหรับเก้าอีเ้ ลคเชอร์ทเี่ ป็นสาเหตุหนึง่ ของอาการปวดเมือ่ ย คอและหลั ง รวมถึ ง ไม่ ต อบโจทย์ ก ารใช้ ง านของทุ ก คนนั้ น ความเห็นสั้นๆ ของ ฐากูร ลีสัมพันธ์ นิสิตคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ได้เป็นตัวแทนเสียงของนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยว่า
นอกจากปัญหาเรื่องสุขภาพแล้ว เสียงสะท้อนจากผู้ใช้งาน ยังมองว่า การออกแบบเก้าอี้เลคเชอร์ไม่ได้ตอบสนองสรีระของ ผู้ใช้งานที่แตกต่างกัน
นั่งอย่างไร ไม่ให้ปวดหลัง ?
“ควรเอาไปทิ้ง”
“อีเก้าอี้เนี่ย มันเหยียดคนอ้วน” ภูรินท์ กสิคุณ นิสิตคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวถึง ปัญหาการใช้งานเก้าอี้เลคเชอร์ เนื่องจากเขาเป็นคนรูปร่าง ค่อนข้างใหญ่ ท�ำให้เข้าไปนั่งก็ล�ำบาก และเวลานั่งก็รู้สึกอึดอัด ส่วน ธนภรณ์ แป้นจันทร์ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เล่าว่าเนื่องจากตัวเองเป็นคนถนัดซ้าย แต่พนักวางแขนของเก้าอี้เลคเชอร์ทั่วไปอยู่ด้านขวา ท�ำให้วาง แขนล�ำบาก และเมื่อไม่มีที่วางแขนซ้าย ก็รู้สึกเมื่อย จึงต้องนั่ง เอียง แต่ก็ยังรู้สึกปวดเมื่อยจนเสียสมาธิในการเรียนอยู่ดี ทางด้าน รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ หัวหน้าศูนย์ออกแบบ สภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า เก้าอี้เลคเชอร์ไม่ได้ถูกออกแบบมาตามหลักการออกแบบเพื่อ ทุกคน (Universal Design) ที่ค�ำนึงถึงความเท่าเทียมในการ ใช้งานของคนทุกประเภท ทุกวัย และทุกข้อจ�ำกัดทางร่างกาย รศ. ไตรรัตน์อธิบายให้เห็นภาพง่ายๆ ของหลักการออกแบบ เพื่อทุกคนว่า เมื่อมีทางลาดกับบันไดคู่กัน คนทั่วไปสามารถ ใช้งานได้ทงั้ สองอย่าง แต่คนพิการใช้งานได้เพียงทางลาด ดังนัน้ ตามหลักการออกแบบเพื่อทุกคนแล้ว การสร้างทางลาดเพียง อย่างเดียวก็เพียงพอต่อการใช้งานของคนทุกประเภท
“อย่านั่งนาน” รศ.ดร. ประวิตร กล่าว เพราะระยะเวลาที่นั่ง คือปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดอาการปวดคอปวดหลัง ไม่ใช่เก้าอีเ้ ลคเชอร์ อย่างเดียว แต่เป็นเก้าอี้ทุกประเภทและควรขยับตัวบ่อยๆ
“เก้าอี้นี้ยังไม่ตอบหลักของ Universal Design เพราะมัน ต้องออกแบบแล้วทุกคนใช้ได้ ไม่ใช่เฉพาะคนพิการ แต่ผมว่า พวกคุณก็นั่งไม่ถนัด” หัวหน้าศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อ ทุกคนกล่าว และมองว่าการเปลี่ยนมาใช้เก้าอี้ที่เหมาะสมเป็น สิ่งจ�ำเป็น
“ความไม่ ส บายตั ว เป็ น ต้ น เหตุ ข องการเป็ น โรคปวดคอ ปวดหลัง เพราะฉะนัน้ ถ้าหากรูส้ กึ ได้วา่ เริม่ ไม่สบายตัวก็แสดงว่า
“กลับมาใช้ระบบดั้งเดิม ใช้โต๊ะและเก้าอี้ธรรมดา” หัวหน้า ศู น ย์ อ อกแบบสภาพแวดล้ อ มเพื่ อ ทุ ก คนกล่ า วเมื่ อ ถามถึ ง
ไม่ควรนั่งติดต่อกันเกิน 1 ชม.
10
เปลี่ยนท่าอย่างน้อย 10ครั้ง/ชม. ผ่อนคลายความเครียด ออกก�ำลังกายกล้ามเนื้อหลัง
นั่งตัวตรง หลังชิดพนักพิง
โต๊ะไม่ควรอยู่สูง จนเวลานั่งต้องยกไหล่
ศอกท�ำมุมมากกว่า 90 องศา
ใช้เก้าอี้ที่มีพนักพิง ที่วางแขน และปรับระดับความสูงได้
ที่มา : รศ.ดร.ประวิตร เจนวรรธนะกุล หัวหน้าหน่วยวิจัยการบาดเจ็บ ทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อจากการท�ำงาน ภาควิชากายภาพบ�ำบัด คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
เมื่อพลันมีเสียงระเบิดดังก้อง และชีวิตที่หลงเหลือในโดมประดิษฐ์
ความเหลื่อมล�้ำในการเข้าถึงสิทธิการฟื้นฟูเยียวยาของชาวบ้านผู้ประสบภัยพิการขาขาด ในตําบลโดมประดิษฐ์ อําเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี
เรื่อง : พชรกฤษณ์ โตอิ้ม, ชนนิกานต์ แก้วแก่นเพชร ภาพ : เบญญา หงษ์ทอง, ชัญญานุช หวง ตัวอย่างทุ่นระเบิดประเภท สังหารบุคคลที่พบตาม แนวระนาบชายแดน ชื่อพื้นบ้าน : ฝักข้าวโพด ชื่อทางการ : ทุ่นระเบิด POMZ-2, POMZ-2M หากมีแรงกระทบ 1-5 กก. จะจุดระเบิดทันที เหล็ ก ด้ า นในทุ ่ น จะถู ก ขั บ ให้ ล อยสู ง ขึ้ น เปลือกนอกจะแตกออก และสาดสะเก็ดไป ไกลได้ถึง 4 เมตร
ชื่อพื้นบ้าน : ปิ่นโต ชื่อทางการ : ทุ่นระเบิด PMN, PMN2 มีรูปทรงคล้ายปิ่นโต แต่ ขนาดเล็กกว่า อานุภาพรุนแรงสามารถ สั ง หารบุคคลได้ หากมีถูกเหยี ย บหรื อ มีนำ�้ หนักกดทับจะจุดระเบิดทันที
ชื่อพื้นบ้าน : กระปุกครีม ชื่อทางการ : ทุ่นระเบิด M14, M14A1 เ ป ็ น ก ร ะ ปุ ก พ ล า ส ติ ก ขนาดเล็ก เบา บางครัง ้ จะลอยตามน�ำ้ มา เปลือกนอกเป็นพลาสติกสีเขียวทึบและมี ลูกศรสีเหลืองที่ส่วนบน จุดระเบิดเมื่อมี แรงกดทับ ที่มา : รายงานการวิจัยกรณีศึกษา กลุ่มนอกก�ำลังแรงงาน ผู้พิการจากภัยทุ่นระเบิด โดย รศ.ดร.ณรงค์ เฟ็ชรประเสริฐและคณะ ปี 2547
เ สี ย ง ก ร ะ สุ น ป ื น จ า ก ส ง ค ร า ม อินโดจีนสิน ้ สุดมาเป็นเวลายาวนานร่วม 40 ปี แต่หมูบ ่ า้ นหลายแห่งตามชายแดน ไทย-กั ม พู ช า ยั ง คงต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความหวาดกลัวจากภัยสงครามจนถึง ทุกวันนี้ ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลจ�ำนวน มากยั ง หลั บ ใหลอยู ่ ใ ต้ ดิ น และสร้ า ง ความเสี ย หายร้ า ยแรงยามชาวบ้ า น พลั้งเผลอเหยียบทุ่นระเบิดเหล่านั้น
+ สงครามไร้กาลเวลา “ต�ำบลโดมประดิษฐ์” อยูต่ ดิ ชายแดนไทยกัมพูชา และเคยเป็นสนามรบในช่วงสงคราม อินโดจีน ระหว่างปี 2518-2532 เมือ่ กองทัพไทย กับกัมพูชาแย่งชิงพื้นที่ดังกล่าวเพื่อสร้างเป็น ฐานกองก�ำลังทหารบริเวณชายแดน สมหมาย ก้อนหิน ชายวัย 50 ปี ผู้ช่วย ผูใ้ หญ่บา้ นแปดอุม้ ต�ำบลโดมประดิษฐ์ อ�ำเภอ น�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี คือหนึ่งในผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากทุ ่ น ระเบิ ด ที่ ห ลงเหลื อ จาก สงคราม สมหมายเล่าให้ฟงั ถึงวันทีเ่ ขาประสบภัยว่า ตนโชคร้ายเผลอเหยียบทุ่นระเบิดตั้งแต่ตอน อายุเพียง 25 ปี ณ วันเกิดเหตุ เขาออกไปเก็บ เห็ดทีข่ นึ้ แถวละแวกบ้านตามปกติ ระหว่างทาง เขาเหยี ย บขอนไม้ เ พื่ อ ไม่ ใ ห้ เ ท้ า สั ม ผั ส พื้ น เพราะเกรงว่ า อาจมี ทุ ่ น ระเบิ ด ฝั ง อยู ่ ใ ต้ ดิ น แต่จงั หวะทีก่ า้ วพลาดและเท้าหล่นจากขอนไม้ เหยียบพื้น เสียงระเบิดก็ดังขึ้นทันที แรงระเบิด ท� ำ ให้ สั ม ภาระกระจั ด กระจายไปคนละทิ ศ แต่ทรี่ า้ ยไปกว่านัน้ คือท�ำให้ขาข้างหนึง่ ของเขา ฉีกขาดตั้งแต่หัวเข่าลงไป
“ตอนนั้นก็คิดว่าหมดกัน รู้สึกไม่อยากอยู่ อยากตาย หันเรียกหาเพือ่ นบอกให้ชว่ ยเอามีด ที่ ห ล่ น อยู ่ ม าให้ ห น่ อ ย จะได้ แ ทงตั ว ตาย เพื่อนไม่ให้ เพื่อนๆ ก็บอกว่าอย่าเพิ่งใจน้อยไป เลย ชาวบ้านเขาเหยียบระเบิดกันทั่วบ้านทั่ว เมือง เขาก็อยูก่ นั ได้” สมหมายเล่าถึงเหตุการณ์ ด้วยน�้ำเสียงเรียบๆ
“ชาวบ้านจะหักกิ่งไม้หรือท�ำเครื่องหมาย ให้รู้ว่าพบวัตถุระเบิดอยู่ที่ไหนบ้าง แล้วค่อยไป แจ้งทหาร แต่กว่าทหารจะเข้ามาเก็บกูก้ อ็ กี นาน ชาวบ้านเลยพยายามเลี่ยงไม่ไปเส้นทางนั้น แทน” สมพรขยายความ
เช่นเดียวกับ สมพร ประวา ชายวัย 46 ปี ที่พิการขาขาดจากทุ่นระเบิดในหมู่บ้านเดียว กัน ช่วงแรกที่สมพรประสบภัยทุ่นระเบิด เขา จะรูส้ กึ ท้อและหมดหวังเพราะรับไม่ได้กบั สภาพ ที่เป็นอยู่ ก่อนเริ่มปรับตัวได้อีกครั้งหลังจาก ที่ตนได้รับขาเทียมโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจาก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
พล.ต.สิ ทธิ พ ล นิ่ ม นวล ผู้อ�ำนวยการ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทุ ่ น ระเบิ ด แห่ ง ชาติ ศู น ย์ บัญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย (ศทช.ศบท.) กล่าวว่าเจ้าหน้าที่ใช้ผลส�ำรวจ ผลกระทบจากปัญหาทุ่นระเบิดเมื่อปี 2542 เป็ น แหล่ ง อ้ า งอิ ง อั น ดั บ แรก และแบ่ ง พื้ น ที่ ส�ำหรับเก็บกู้ทุ่นระเบิดเป็นสองประเภท คือ พื้นที่มีความเร่งด่วนมาก และพื้นที่มีความเร่ง ด่วนน้อย
แต่ ก ารใช้ ข าเที ย มในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ก็ ไม่ราบรื่น “หลังจากที่ใช้ขาเทียม ถามว่าเจ็บ อยู่ไหม ถ้างานที่ท�ำไม่หนักมาก ก็พอท�ำไป เรื่อยๆ ได้ แต่ถ้าท�ำเยอะหรือต้องเดินตลอดทั้ง วัน จะเจ็บมากตรงระหว่างข้อต่อที่ใส่ขาเทียม” ชาวบ้านแปดอุ้มบอก สมพรเล่าว่าชาวบ้านหลายคนตระหนักดี ว่าในพื้นที่ป่านั้นเต็มไปด้วยทุ่นระเบิด เห็น ได้จากป้ายสีแดงที่มีสัญลักษณ์กระโหลกไขว้ ที่ติดตั้งอยู่ทั่วบริเวณ แต่พวกเขาจ�ำเป็นต้อง เข้าป่าเพราะเป็นพืน้ ทีท่ ำ� กินหลักทีพ่ วกเขาเก็บ เห็ดหรือของป่าอื่นๆ เพื่อน�ำไปขาย สมพรคาดว่าทุ่นระเบิดยังคงตกค้างอยู่ ใต้ดินอีกหลายหมื่นลูก เจ้าหน้าที่เองก็มักออก มาเตือนชาวบ้านบ่อยครั้งว่า ถ้าหากใครพบ วัตถุทคี่ าดว่าเป็นทุน่ ระเบิด ต้องรีบต้องแจ้งข่าว ให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่อมาเก็บกู้โดยเร็ว
+ เก็บกู้และท�ำลายทุ่นระเบิด
“เจ้าหน้าที่มีความเสรีในการปฏิบัติตาม ความเหมาะสม ตรงนี้แต่ละหน่วยจะพิจารณา ถ้าเป็นพืน้ ทีม่ ชี าวบ้านผ่านตลอด นัน่ อาจก่อให้ เกิดอันตรายได้ ทางเราจะเร่งให้ปฏิบัติการใน พื้นที่นั้นก่อน” พล.ต สิทธิพลชี้แจง ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทุ ่ น ระเบิ ด อธิ บ ายต่ อ ว่ า ภาพรวมการเก็ บ กู ้ ทุ ่ น ระเบิ ด ในต�ำบลโดมประดิษฐ์ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว “เบื้องต้นหน่วยงานของเราเก็บกู้ไปเกือบ หมดแล้ว ในพื้นที่เขตชุมชนน่าจะความเสี่ยง น้อยลง แต่ความเสี่ยงอื่นๆ จะมีอยู่ตามแนว ชายแดนที่ปกติแล้วคนจะไม่ค่อยเข้าไป คนที่ เข้าไปน่าจะเป็นคนที่ท�ำมาหากินกับพื้นที่ป่า เป็นหลัก เช่น คนเก็บของป่าขาย คนที่เข้ามา ตัดไม้ หรือคนที่เข้ามาส่งของตามเส้นทาง ชายแดน” พล.ต สิทธิพลอธิบายเพิ่มเติม
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 9
MAIN COURSE ทัง้ นี้ แนวทางการเก็บกูร้ ะเบิดของไทยเป็นไปตามอนุสญ ั ญา ว่าด้วยการห้ามใช้ สะสม ผลิต และโอน และการท�ำงานทุน่ ระเบิด สังหารบุคคล หรือ อนุสัญญาออตตาวา ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2542 ในอนุสัญญาระบุว่าไทยต้องก�ำจัด ทุ ่ น ระเบิ ด ให้ เ สร็ จ สิ้ น ภายในปี 2552 แต่ ป ั จ จุ บั น ไทยยั ง ไม่ สามารถเก็บกู้ระเบิดได้ด้วยเงื่อนไขหลายประการ อาทิ พื้นที่ เก็บกู้เข้าถึงได้ยาก หรือ ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งใน พื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เป็นต้น ท�ำให้ไทยต้องขยายระยะ เวลาเก็บกู้ทุ่นระเบิด จนถึงปี 2566 + การรักษาและเยียวยา ในภาวะจ�ำกัด สมหมายและสมพรพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ไม่ว่าจะเป็น ช่วงสงครามหรือสิ้นสุดสงคราม ชาวบ้านโดมประดิษฐ์ที่ประสบ ภัยทุ่นระเบิดจนพิการก็ยังประสบปัญหาด้านการเข้าถึงสิทธิ รักษาพยาบาลมาโดยตลอด ยกตัวอย่างเมื่อ 30 ปีก่อน ที่สมพรประสบภัยแล้วเข้ารักษา ตัวในโรงพยาบาลประจ�ำอ�ำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี เขาต้องพักฟื้นที่โรงพยาบาลร่วมเดือน โดยไม่สามารถเบิกจ่าย ค่ารักษาพยาบาลได้จากโครงการสวัสดิการใดๆ ของรัฐ ท�ำให้ สมพรต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจ�ำนวนเงิน 5,000-6,000 บาท ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าก�ำลังจ่ายของตน “จริงๆ ค่าใช้จ่ายเยอะกว่านี้ แต่หมอรู้ว่าฐานะเรายากจน หมอเขาก็ช่วยเหลือ และทางทหารช่วยประสานกับโรงพยาบาล ให้จ่ายเท่าที่ตัวเองมี นอกจากนั้นเขาจะจัดการให้” สมพรกล่าว ค่าใช้จา่ ยเพือ่ รักษาพยาบาลไม่ใช่ปญ ั หาเดียวทีผ่ ปู้ ระสบภัย ต้องเผชิญ บัณฑิต ศรีทา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดมประดิ ษ ฐ์ อ� ำ เภอน�้ ำ ยื น จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เ สริ ม ว่ า โรงพยาบาลในพืน้ ทีย่ งั ขาดแคลนทัง้ บุคลากรทางการแพทย์และ เครื่องมือส�ำหรับผ่าตัดผู้ที่ประสบภัยทุ่นระเบิด จึงท�ำได้เพียง ปฐมพยาบาลผูป้ ว่ ยเบือ้ งต้น ก่อนจะประสานงานกับหน่วยทหาร ในพื้นที่เพื่อช่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปรับการรักษาโรงพยาบาล ที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีต่อไป ในฐานะผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ เมื่ อ 25 ปี ก ่ อ น สมหมายให้ ความเห็นเพิ่มเติมว่า “ถ้าเทียบกันแล้วสมัยนี้ล�ำบากกว่ามาก แต่ก่อนจะมีหมอคนที่ผ่าตัดขาระเบิดในอ�ำเภอใกล้ๆ (อ�ำเภอ นาจะหลวย) แต่ตอนนี้หมอที่เชี่ยวชาญทางด้านการผ่าตัดใน อ�ำเภอไม่มสี กั คน ถ้าตอนนีถ้ กู ระเบิดขึน้ มาต้องส่งต่อไปทีอ่ ำ� เภอ เมืองอุบลราชธานีอย่างเดียว” แม้ พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2545 จะท�ำให้โดยผู้พกิ ารขาขาดสามารถใช้สิทธิบัตรทอง ท.74 ส� ำ หรั บ ผู ้ พิ ก าร ในการเข้ า รั บ การรั ก ษาพยาบาลและ การกายภาพบ�ำบัดโดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย แต่รองนายก อบต. โดมประดิษฐ์กล่าวว่า แม้ผู้พิการจะไม่เสียค่าใช้จ่ายรักษา พยาบาลก็จริง แต่การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่าง ทันท่วงทีและครบวงจรยังถือเป็นช่องว่างที่ควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน + หนทางของผู้ประสบภัย “ขั้นแรกคืออยากให้รัฐบาลช่วย เหมือนอย่างที่เขาช่วยทาง ผู้ประสบภัยทางภาคใต้ โดยให้เงินค่าเยียวยารายละ 100,000200,000 บาท เราอยากได้ นั่นคือสิทธิของคนไทย” สมพรเอ่ย ผู ้ ป ระสบภั ย ชาวแปดอุ ้ ม กล่ า วว่ า หลายครั้ ง ที่ เ ขาและ ชาวบ้านรวมกลุ่มกันเพื่อเรียกร้องสิทธิเงินเยียวยาภัยสงคราม จากภาครั ฐ แต่ ค วามพยายามของพวกตนไม่ เ คยประสบ ความส�ำเร็จเลยสักครั้ง “ทางเราพยายามยืน่ เรือ่ งกับทางรัฐบาลมาตลอด เคยยืน่ มา หลายรัฐบาล แม้แต่รัฐบาลปัจจุบันเราเองก็เคยยื่น ล่าสุดเขา ขอให้พวกเรามายื่นเรื่องที่ศูนย์ด�ำรงธรรม พอยื่นเสร็จเรียบร้อย ทางศูนย์เขาก็ตอบกลับมาว่ารัฐไม่มงี บประมาณพอส�ำหรับเป็น ค่าเยียวยา” สมพรเปรย ด้านสมหมาย ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นแปดอุม้ เล่าถึงช่วงทีส่ งคราม สิ้นสุดลงไม่นานว่า มีองค์กรระหว่างประเทศยื่นมือเข้ามาช่วย เหลือชาวบ้านที่พิการขาขาดบ้างเป็นครั้งคราว แต่นั่นเป็นเพียง
การเอือ้ เฟือ้ ด้วยการให้อปุ กรณ์ทยี่ งั ชีพ เช่น ข้าวสารหนึง่ กระสอบ วัวนม เท่านั้น
“คนถูกกับระเบิดมีเยอะอยูใ่ นหมูบ ่ า้ นนี้ ไม่ใช่เรือ ่ งแปลกอะไร ชาวบ้านเขาโดน กั น เยอะแยะ อยากช่ ว ยให้ เ ก็ บ กู ้ ระเบิ ด ให้ ห มดไปเลย จะได้ ไ ม่ มี ปัญหา”
ส่วนบัณฑิต รองนายก อบต. ชีแ้ จงว่าผูพ้ กิ ารขาขาดในต�ำบล โดมประดิษฐ์จะได้รบั ค่ารัฐสวัสดิการผูพ้ กิ ารรายเดือน 800 บาท ตามอั ต ราเบี้ ย เลี้ ย งความพิ ก ารที่ ถู ก ก� ำ หนดไว้ ใ นระเบี ย บ กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยความพิการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2553
นายค�ำ พันเสนา (51 ปี) เกษตรกร “เราท�ำเอง ใช้เอง เลยรูว้ า่ ควรท�ำอย่างไร ให้เหมาะกับการใช้งานจริงของชาว บ้านทีต ่ อ ้ งท�ำเกษตรกรรม”
อย่างไรก็ตาม เงินจ�ำนวนนี้ยังไม่เพียงพอต่อการยังชีพ เพราะผู้ประสบภัยทุ่นระเบิดส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าครอบครัว ที่ต้องรับผิดชอบสมาชิกครอบครัวคนอื่นๆ ด้วย ดังนั้นหัวหน้า ครอบครัวที่พิการขาขาดจึงมีภาระมากกว่าการเลี้ยงชีพตนเอง เพียงคนเดียว
“
ใส ละเม็ก (47 ปี) ช่างท�ำขาเทียมในศูนย์ทำ� ขาเทียม อบต. โดมประดิษฐ์
สิทธิของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อสถานการณ์เหล่านี้ถูกยกขึ้นมาเป็นประเด็น ในสั ง คม ถ้ า โจทย์ ชุ ด นี้ ไ ม่ ถู ก ยกขึ้ น มาเป็ น ประเด็ น ปัญหาก็จะถูกลืม ศ.ดร.สุรชาติ บ�ำรุงสุข อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ตอนนัน ้ ขึน ้ เขาไปหากลอย โดนตรง แค่ปลายเท้า แต่ตอ ้ งตัดทัง ้ ขาท่อน ล่าง ถามว่าไม่ไปได้ไหม ไม่ไปได้ไง ใครจะหาอะไรให้กน ิ ”
”
สู ธิวงศ์ (56 ปี) เก็บของป่าขาย
+ ไร้ตัวตน หลงลืม และเงียบหาย ศ.ดร.สุ ร ชาติ บ� ำ รุ ง สุ ข อาจารย์ ป ระจ� ำ สาขาวิ ช า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ระบุ ว ่ า ปั ญ หาผู ้ ป ระสบภั ย ทุ ่ น ระเบิ ด ตาม แนวชายแดนไทย-กัมพูชา เป็นปัญหาที่ถูกละเลยไปจากความ สนใจของคนในสังคมไทย สาเหตุทผี่ คู้ นไม่สนใจประเด็นปัญหา ดังกล่าวเพราะ 1.สังคมไทยมองว่าปัญหานี้เป็นเรื่องไกลตัว 2.ปั ญ หาทุ ่ น ระเบิ ด เป็ น ปั ญ หาที่ เ รื้ อ รั ง ยาวนาน และ 3.ปรากฏการณ์ นี้ไม่เคยถูกผลักดันให้เป็นสาระส�ำคัญที่ควรเร่ง แก้ไขจากรัฐบาลทุกยุคทุกสมัย “สิทธิของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ สถานการณ์เหล่านี้ถูกยกขึ้นมาเป็นประเด็นในสังคม ถ้าโจทย์ ชุดนี้ไม่ถูกยกขึ้นมาเป็นประเด็น ปัญหาก็จะถูกลืม ชาวบ้านที่ ได้ รั บ ผลกระทบก็ ถู ก ลื ม ” ศ.ดร.สุ ร ชาติ ระบุ ด้ ว ยเหตุ นี้ ผู ้ ป ระสบภั ย ทุ ่ นระเบิ ดตามแนวชายแดนไทย-กั มพู ช าจึ งถู ก มองข้าม ต่างจากกรณีผู้ประสบภัยจากความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนใต้ หรื อ เหตุ ร ะเบิ ด ในบริ เ วณศาลพระพรหม แยกราชประสงค์ กรุงเทพมหานคร ปี 2558 เนื่องจากเป็น สถานการณ์และพื้นที่ที่ผู้คนให้ความสนใจ ส่วนกระบวนการทีจ่ ะท�ำให้ผปู้ ระสบภัยได้รบั ค่าเยียวยานัน้ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์เห็นว่า จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัย ระบบราชการผลักดันให้เรื่องนี้เป็นวาระในการประชุมรัฐสภา เพื่ อ ให้ รั ฐ สภาจั ด สรรงบประมาณประจ� ำ ปี ม าเยี ย วยา ผู้ประสบภัยต่อไป “โดยพื้ น ฐานแล้ ว ระบบราชการจะไม่ มี ก ารจั ด ท� ำ งบประมาณเยียวยาผูป้ ระสบภัยระเบิด จึงไม่แปลกถ้าไม่มหี น่วย งานราชการตั้ ง เรื่ อ งเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาผู ้ ป ระสบภั ย ” ศ.ดร.สุรชาติชี้แจง ศ.ดร.สุรชาติเสนอแนะว่าสังคมไทยควรให้ความส�ำคัญกับ ปัญหาผู้ประสบภัยเหยียบทุ่นระเบิดมากขึ้น โดยต้องผลักดัน ให้เป็น “ประเด็นสาธารณะ” และพัฒนาให้กลายเป็น “ประเด็น ทางการเมือง” เพื่อกระตุ้นให้สมาชิกผู้แทนราษฎรยื่นเรื่องเข้า ทีป่ ระชุมรัฐสภา และเพือ่ จัดสรรงบประมาณส�ำหรับการเยียวยา หากยกประเด็นเรื่องทุ่นระเบิดเป็นประเด็นสาธารณะไม่ได้ การตั้ งเรื่ อ งเพื่ อ เบิ ก งบประมาณในทางราชการก็ ไ ม่ มี ทางที่ จะเป็นไปได้ “เราได้รับอุบัติเหตุจากภัยสงคราม เป็นปัญหาที่ พวกเราไม่ ไ ด้ เ ป็ น คนก่ อ มั น น่ า จะได้ รั บ สิ ท ธิ เ หมื อ น อย่างทีเ่ ขาประสบภัยทีภ ่ าคใต้ หรือทีก ่ รุงเทพฯ หรือไม่ ว่าที่ไหนที่โดนระเบิด” สมหมายเอ่ย “ถึงแม้เรื่องจะเกิดมานาน แต่ก็เป็นคนไทยเหมือน กันผมว่าน่าจะย้อนหลังได้ เรื่องนี้ท�ำไมย้อนหลังไม่ได้ ผมก็ยังสงสัยอยู่” สมพรกล่าวทิ้งท้าย
“ผมเล่นกีฬาได้ทก ุ อย่างครับ เล่นมา ตลอดตัง ้ แต่ตอนทีข ่ าดี แต่พอเป็น แบบนี้ เวลาเล่ น ตะกร้ อ ใช้ ข านี้ (ชีไ้ ปทีข ่ าเทียม) จะล�ำบาก แต่ยง ั ใช้เข่าข้างนี้เดาะได้ หรือ ใช้หลัง เท้าเล่นได้อยู”่ บุญสนอง จิตสง่า (55 ปี) อาชีพ ลูกจ้างกรีดยาง “คนพิการที่นี่ จ�ำเป็นต้องสู้ เพื่อ ครอบครัว เพื่อความอยู่รอด” รัส สุดทนัง (48 ปี) ช่างท�ำขาเทียมในศูนย์ทำ� ขาเทียม อบต. โดมประดิษฐ์
ยอดผูไ้ ด้รบ ั ผลกระทบจากภัยสงครามความรุนแรง ตามแนวชายแดน ไทย-กัมพูชา จาก 3 ต�ำบล ได้แก่ ต.โดมประดิ ษ ฐ์ ต.นาจะหลวย และต.บุ ญ ฑริ ก จ.อุบลราชธานี
151 ผู้ได้รับผลกระทบ จากทุ่นระเบิด
88 63
ผู้เสียชีวิตจากการ เหยียบกับทุ่นระเบิด ผู้พิการ (รวมขาขาด แขนขาด ตาบอด)
เฉพาะผู้พิการขาขาด ใน ต.โดมประดิษฐ์ (ไม่รวมการบกพร่องด้านอื่น)
51
ต.โดมประดิษฐ์ เป็นต�ำบลที่มีผู้พิการขาขาดจาก การเหยียบทุ่นระเบิดสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย
ที่มา : บันทึกการรายงานการประชุมกลุ่ม ผู้ประสบภัย โดย อบต. โดมประดิษฐ์ ปี 2556 ความก้าวหน้าในการเก็บกู้ทุ่นระเบิด ทุ่นระเบิด ที่ถูกเก็บกู้ในวง รอบปี ง บประมาณ พ.ศ. 2560-2561
12,829 10 360
พื้ น ที่ ป น เปื ้ อ น ด้ ว ย ทุ ่ น ระ เ บิ ด ใ น ประเทศไทย จากเดิ ม 13 จั ง หวั ด (จังหวัดทีป ่ ระกาศว่าปลอดภัยเพิม ่ คือ ตาก ยะลา และ อุตรดิตถ์) ปัจจุบน ั เหลือ
พื้นที่เร่งด่วนที่จ�ำเป็นต้องเก็บกู้ เหลือ
30 ก.ค. 61
ทุ่น
จังหวัด
ตร.กม.
วันที่มีผู้เหยียบทุ่นระเบิดครั้งล่าสุด สง สิงโต (64 ปี) คือผู้ประสบภัยคนล่าสุด แรงระเบิดท�ำให้ นายสงสูญเสียเท้าซ้ายไปอย่างถาวร
TECHNOLOGY
10 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ไลฟ์สดขายของด้วยภาษายุคพ่อขุนรามฯ! เทรนด์ใหม่ถก ู ใจวัยรุน ่ เรื่อง : วัศพล โอภาสวัฒนกุล ภาพ : เมธาวจี สาระคุณ
ระบบถ่ายทอดสดบนเฟซบุ๊กเปิ ดโอกาสให้ผูค้ า้ สือ่ สารกับผูบ้ ริ โภคอย่างใกล้ชิดยิ่ งขึ้น เทคโนโลยีถ่ายทอดสดทางโซเชียล มีเดียท�ำให้การขายของเป็นเรือ ่ งสะดวก สบายมากขึ้น เพราะไม่ว่าอยู่ที่ไหน ผู้ค้า ก็ ส ามารถขายของได้ ขณะเดี ย วกั น การที่พ่อค้าแม่ค้าพูดจากับลูกค้าด้วย ภาษาเป็นกันเองผ่านการถ่ายทอดสด ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ใ ช ้ ส ร ร พ น า ม กู - มึ ง ใ ช ้ ค� ำ ส บ ถ แ ล ะ ค� ำ ห ย า บ ค า ย ก็ ไ ด ้ รับความนิยมเช่นกัน
วิทยานิพนธ์เรื่อง การวิเคราะห์เนื้อหา ทางด้านเพศ การใช้ภาษา ความรุนแรง ภาพตัวแทน และการเปิดรับ และทัศนคติ ที่ มี ต ่ อ การถ่ า ยทอดสดบนเฟซบุ ๊ ก โดย ณัฐธิดา แขวงสวัสดิ์ จากคณะนิเทศศาสตร์ และนวั ต กรรมการจั ด การ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ เมื่ อ ปี 2560 เผย ผลการส�ำรวจผูถ้ า่ ยทอดสดผ่านเฟซบุก๊ จ�ำนวน 930 คน พบการถ่ายทอดที่แสดงออกด้านเพศ ไม่เหมาะสมมีจ�ำนวนมากที่สุด รองลงมาคือ การถ่ายทอดสดทีม่ กี ารใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม และเนื้อหาเกี่ยวกับความรุนแรง ผู ้ เ ขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะบุ ว ่ า ผู ้ ข ายของ ออนไลน์ในปัจจุบัน พูดจาไม่สุภาพกับลูกค้า ผ่ า นการถ่ า ยทอดสดมากขึ้ น ตามกระแส ความนิยมที่มีต่อณัฐนัน ต้นศึกษา หรือ เจ๊น�้ำ แม่ค้าขายเสื้อผ้า ผู้โด่งดังจากการโชว์ลีลา ขายของที่ไม่เหมือนใครผ่านการถ่ายทอดสด บนเฟซบุก๊ “เท่าที่เห็นตอนนี้ก็ (มีจ�ำนวน) มากขึ้นจริง มันคงเป็นกระแส พูดหยาบขายของ ดูเป็นคน ตรงๆ ใจๆ ขายของได้ คนซือ้ คงชอบ โดยเฉพาะ คนต่างจังหวัด จะชอบ (เพราะ) เห็นว่ามันตลก” ณัฐธิดากล่าว นภัสรา อิธิสรางกุล ผู้ขายของออนไลน์ ทางเฟซบุ๊ก กล่าวว่า ส่วนตั ว เป็ น คนพู ด จา ภาษายุคพ่อขุนรามฯ กับคนรอบข้างอยู่แล้ว
ลู ก ค้ า ที่ เ ข้ า มาดู ก ารถ่ า ยทอดสดส่ ว นใหญ่ เป็ น คนรอบข้ า ง จึ ง เลื อ กใช้ ภ าษาแบบนี้ กับลูกค้า แต่กบั ลูกค้าใหม่ เธอจะบอกล่วงหน้า ว่าเป็นคนเช่นนี้ ซึ่งเธอคิดว่าการพูดกับลูกค้า ในลักษณะดังกล่าวให้ความรู้สึกสนิทชิดเชื้อ และลูกค้าส่วนใหญ่ก็ชอบ เพราะไม่เหมือน เวลาคุยกับแม่ค้าทั่วไป อีกทั้งสมัยนี้การใช้ค�ำ พูดหยาบคายก็เป็นกระแสนิยม “อย่างเจ๊น�้ำจะเป็นค�ำพูดประมาณ ‘มึง อย่างงั้น มึงอย่างนี้’ มันกลายเป็นว่าเหมือน
“
เป็นกันเอง และมองว่าแม่ค้ามีความจริงใจ มากกว่ า คนที่ พู ด จาไพเราะเพื่ อ โน้ ม น้ า วให้ ลูกค้ามาซื้อของ วิไลลักษณ์ สันติกลุ อาจารย์ประจ�ำสาขา การโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย วิ เ คราะห์ ก ารขายของผ่ า น การถ่ายทอดสดออนไลน์โดยใช้วาจาไม่สุภาพ กับลูกค้าว่า เป็นการตลาดแบบเล่นกับอารมณ์ กล่าวคือ คนขายกระตุ้นให้ผู้ซื้อเกิดอารมณ์ ความรูส้ กึ บางอย่างเพือ่ ท�ำให้เกิดการซือ้ สินค้า
พอเรารูส ้ ก ึ ว่าทุกคนท�ำกันเป็นเรือ ่ งปกติ เราก็เอาความหยาบคายนัน ้ มา เป็นสิ่งปกติของสังคม วิธีคิดของเราก็จะกลายเป็นลักษณะนั้น เราจะรับอะไร ทีม ่ น ั ไม่สภ ุ าพ ไม่ละเอียดอ่อน ไม่ได้คด ิ ถึงใจคนอืน ่ ได้งา่ ยขึน ้ อาจจะส่งผลเสีย ในทางอ้อม ท�ำให้สังคมเราดูหยาบกระด้างมากขึ้น
”
ดร.หยกฟ้า อิศรานนท์ อาจารย์คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เราสนิทกัน คุยกันแบบตลกๆ ไม่ได้ด่าแบบ จริงจัง” นภัสรากล่าว เธอยอมรั บ ว่ า การขายของด้ ว ยการใช้ ภาษาที่ไม่สุภาพเป็นตัวอย่างที่ไม่ดีแก่เยาวชน แต่คนไม่ได้เปิดรับภาษาหยาบคายจากการชม การถ่ า ยทอดสดเพี ย งอย่ า งเดี ย ว เพราะมี การใช้ภาษาหยาบคายในช่องทางอื่นเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นทางโซเชียลมีเดียหรือการพูดคุย กับเพื่อนฝูง เสารส เณรคล้ า ย นักศึกษาวัย 18 ปี หนึ่ ง ในลู ก ค้ า ประจ� ำ ของนภั ส รา กล่ า วว่ า ไม่มีปัญหากับการที่แม่ค้าพูดจาหยาบคาย เพราะมองว่าเป็นเทคนิคการขายของของแม่คา้ ทีท่ ำ� ให้ลกู ค้ารูส้ กึ เป็นกันเอง ส่วนภาษาทีแ่ ม่คา้ ใช้ พู ด ก็ ไ ม่ ห ยาบคายจนเกิ น ไป เช่ น เดี ย ว กับ กนกวรรณ เพ็งทับ อาชีพรับจ้างวัย 18 ปี หนึง่ ในลูกค้าของนภัสราเช่นกัน แสดงทัศนะว่า การถ่ า ยทอดสดในลั ก ษณะนี้ ใ ห้ ค วามรู ้ สึ ก
หรื อ บริ ก าร การตลาดประเภทนี้ ใ ช้ ไ ด้ ผ ล กั บ การขายสิ น ค้ า ราคาถู ก ไม่ ต ้ อ งใช้ เ วลา ในการตั ด สิ น ใจซื้ อ นาน พร้ อ มยก “เจ๊ น�้ ำ ” เป็นกรณีศึกษา “เท่าที่สังเกต ของที่เขา (เจ๊น�้ำ) ขายก็ไม่ได้ เป็นของแพงมาก เป็นสินค้าประเภทที่ใช้ก�ำลัง ซื้อน้อย มันซื้อโดยใช้อารมณ์ซื้อได้ ไม่ต้องหา ข้อมูลประกอบ ไม่เหมือนสินค้าราคาแพง เช่น รถยนต์ บ้าน คอมพิวเตอร์ ที่ต้องหาข้อมูลก่อน ถึ ง ค่ อ ยตั ดสิ นใจซื้ อ สิ นค้ าพวกนี้ เ ป็ นสิ นค้ า พวกแฟชั่น ซื้อมาแล้ว ใช้ไม่ได้ หรือ ใช้ไม่โอเค ก็ทิ้งไปได้” วิไลลักษณ์อธิบาย อาจารย์ดา้ นการโฆษณาขยายความว่า การ ถ่ายทอดสดออนไลน์ขายของได้รับความนิยม มากขึ้น เพราะผู้บริโภคได้รับความบันเทิงจาก การรับชม ผูบ้ ริโภคสามารถสือ่ สารกับผูข้ ายได้ อย่างรวดเร็ว และการใช้ภาษาหยาบคายก็ทำ� ให้ ผูบ้ ริโภครูส้ กึ ใกล้ชดิ กับผูข้ าย
“ถ้ า เรามี ก ารสาธิ ต สิ น ค้ า ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคดู จะท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคเห็ น วิ ธี ก ารใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มากขึ้ น จะไปกระตุ ้ น ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคอยากซื้ อ อยากได้สินค้ามากขึ้น” วิไลลักษณ์กล่าว ด้าน ดร.หยกฟ้า อิศรานนท์ อาจารย์ ประจ� ำ สาขาจิ ต วิ ท ยาสั ง คม คณะจิ ต วิ ท ยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า การที่คน เริม่ ชินชากับภาษาหยาบคาย เกิดจากการทีค่ น พบการใช้ ภ าษาไม่ สุ ภ าพบ่ อ ยครั้ ง จน เกิดการซึมซับ และคิดว่าเป็นเรื่องปกติที่ ใครๆ ก็ทำ� กัน ส่วนการทีค่ นมองว่าการใช้ภาษาหยาบ คายให้ความรู้สึกจริงใจ อาจเกิดจากผู้รับสาร เป็นคนใช้ภาษาประเภทนั้นอยู่แล้ว เมื่อเจอ คนที่ใช้ภาษาประเภทนั้นเหมือนกัน จึงเกิด ความรู้สึกเหมือนเป็นคนกลุ่มเดียวกัน ดร.หยกฟ้ า ยั ง กล่ า วอี ก ว่ า ความนิ ย ม การชมการถ่ายทอดสดการขายของด้วยภาษา ทีไ่ ม่สภุ าพ อาจท�ำให้กลยุทธ์ในการโน้มน้าวใจ ถู ก จ� ำ กั ด เพี ย งการพู ด จาหยาบคายเพื่ อ สร้างความสนใจ และเสริมด้วยว่า ค�ำหยาบ คายไม่ใช่แค่การพูดไม่สุภาพเพียงอย่างเดียว แต่อาจเป็นการพูดถึงคนอื่นในแง่ที่ไม่ดีด้วย “พอเรารู้สึกว่าทุกคนท�ำกันเป็นเรื่องปกติ เราก็เอาความหยาบคายนัน้ มาเป็นสิง่ ปกติของ สังคม วิธีคิดของเราก็จะกลายเป็นลักษณะนั้น เราจะรับอะไรที่มันไม่สุภาพ ไม่ละเอียดอ่อน ไม่ได้คดิ ถึงใจคนอืน่ ได้งา่ ยขึน้ อาจจะส่งผลเสีย ในทางอ้อม ท�ำให้สงั คมเราดูหยาบกระด้างมาก ขึ้น” ดร. หยกฟ้ากล่าว อาจารย์คณะจิตวิทยา ย�้ำว่า หากเยาวชน รับสื่อที่มีการใช้ภาษาหยาบคายเป็นประจ�ำ จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบ โดยเฉพาะ กั บ วั ย รุ ่ น ที่ ต ้ อ งการการยอมรั บ จากสั ง คม จะมี แ นวโน้ ม เลี ย นแบบตามคนหมู ่ ม าก หรือคนที่มีชื่อเสียงได้
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 11
EDUCATION
อีกหนึ่งที่พึ่งของนักศึกษา จิตแพทย์-นักจิตวิทยาประจ�ำมหาวิทยาลัย เรื่อง : ณิชชา เสริฐปัญญารุ่ง ภาพ : ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
“การตัดสินใจตอนนัน ้ ทีบ ่ า้ นไม่รู้ ต้อง ใช้เงินตัวเอง เป็นอะไรทีเ่ หนือ ่ ยมากด้วย ความที่ส่วนตัวพยายามพึ่งพาตัวเอง ให้ ม ากที่ สุ ด บวกกั บ ภาระที่ เ ราไม่ เ คย คาดคิดว่าเราจะเจอแบบนี้มาก่อน ถ้า มี ศู น ย์ อ� ำ นวยความสะดวกที่ ช ่ ว ยคน ทีก ่ ำ� ลังรูส ้ ก ึ เหนือ ่ ยแบบนีใ้ นมหาวิทยาลัย มั น เป็ น ทางเลื อ กที่ น ่ า จะช่ ว ยชี วิ ต ใคร ได้หลายคน”
กชพร วนิชกีรติ หรือ จ๋า นักศึกษาชัน้ ปี 4 คณะรั ฐ ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ อธิ บ ายความรู ้ สึ ก เมื่ อ ตั ด สิ น ใจไปเข้ า พบ จิตแพทย์ จ๋าเล่าให้ฟงั ว่า ตนเริม่ ต้นรับค�ำปรึกษาจาก จิตแพทย์ในช่วงมหาวิทยาลัย เนื่องจากเธอ มีปญ ั หาสะสม ทัง้ เรือ่ งการเรียน ครอบครัว และ เพื่ อ น จนไม่ รู ้ จ ะหั น หน้ า ไปทางไหน เรื่ อ ง บางเรื่องเองครอบครัวไม่ใช่ที่ปรึกษาที่ดีเท่าไร จึงคิดว่าการขอค�ำปรึกษาจากจิตแพทย์น่าจะ เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด จ๋าอาศัยการค้นคว้า ข้อมูลเกีย่ วกับจิตแพทย์ทางอินเทอร์เน็ต จนใน ที่ สุ ด เธอจึ ง เลื อ กเข้ า รั บ ค� ำ ปรึ ก ษาครั้ ง แรก ที่ โ รงพยาบาลสมิ ติ เ วช สุ ขุ ม วิ ท ซึ่ ง เธอเสี ย ค่ารักษาไปกว่า 7,000 บาท ถือว่าเป็นเงิน จ�ำนวนมากส�ำหรับนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เล่าว่าที่คณะ มีวชิ าการเรียนรูข้ องมนุษย์และจิตวิทยาส�ำหรับ ครูซ่ึงเป็นรายวิชาบังคับให้นักศึกษาได้คุยกับ นักจิตวิทยาถึงสามครัง้ ด้วยกัน การเรียนวิชานี้ ท�ำให้ความคิดของมะปริงเกี่ยวกับการปรึกษา นักจิตวิทยาเปลี่ยนไป จากเดิมเธอเคยคิดว่า คนที่เข้าไปปรึกษานักจิตวิทยาต้องเป็นโรคซึม เศร้าเท่านัน้
“
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ควรมี ใ ห้ เ รา เรามี บ ริ ก ารทาง ด้านสุขภาพกาย ก็ควรมีทางใจด้วยเช่นกัน จริงๆ ไม่ใช่แค่ในมหาวิทยาลัย โรงเรียน องค์กรต่างๆ ก็ควรจะมี เหมือนเรามีประกันสังคม ประกันสุขภาพ สุขภาพจิตก็ควรจะอยูใ่ นประกันสุขภาพด้วยซ�ำ้ ดร.พนิดา เสือวรรณศรี อาจารย์คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“เราได้รเู้ รือ่ งราวเกีย่ วกับเพือ่ นในแบบทีเ่ รา ไม่เคยรู้มาก่อน ครั้งแรกเขาถามเราก่อนว่า ความรู้สึกเราตอนนี้เป็นแบบไหน ให้เปรียบ เทียบกับฤดูกาลต่างๆ คนก็เริ่มพูดกันเรื่อยๆ แชร์ประสบการณ์ต่างๆ เพื่อให้ก�ำลังใจเพื่อน บ้าง หรือไม่ก็แชร์ปัญหาที่บางครั้งเราไม่กล้า ปรึกษาใคร เราว่ามันก็ดีนะถ้ามีวชิ านี้อยู่ในทุก มหาวิทยาลัย” มะปริงเล่าให้ฟังถึงความรู้สึก ในการเข้ารับค�ำปรึกษากับนักจิตวิทยาครัง้ แรก
“บอกตรงๆ จิตแพทย์ในมหาวิทยาลัยเป็น ทางเลือกที่ดีมาก คือต้องยอมรับว่า (การเข้า พบ) จิตแพทย์ที่อยู่ข้างนอกค่าใช้จ่ายสูงมาก แต่ ด ้ ว ยความที่ เ ราเป็ น หนั ก ด้ ว ย ปาเข้ า ไป 7,000 กว่าบาท ซึง่ บอกเลยว่าตกใจพอสมควร” จ๋ากล่าวเสริม
สมภพ แจ่ ม จั น ทร์ นั ก จิ ต วิ ท ยาการ ปรึกษา ผู้อ�ำนวยการประจ�ำศูนย์บริการการ ปรึ ก ษาเชิ ง จิ ต วิ ท ยาและส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ (Knowing Mind Center) อธิ บ ายถึ ง ความเครียดนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยว่า แบ่ ง ออกเป็ น สามเรื่ อ ง คื อ เรื่ อ งการเรี ย น เรื่ อ งครอบครั ว และเรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ นั ก ศึ ก ษาควรไปพู ด คุ ย กั บ จิ ต แพทย์ ห รื อ นักจิตวิทยาได้เมื่อรู้สึกว่าตนเองไม่สบายใจ โดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ป ั ญ หาสุ ข ภาพจิ ต หรื อ เป็นโรคซึมเศร้า
ด้าน พร้อมพันธ์ โพธารส หรือ มะปริง นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 2 คณะศึ ก ษาศาสตร์
นอกจากนี้ สมภพยั ง แนะน� ำ ว่ า ทาง มหาวิทยาลัยควรสร้างความเข้าใจเพิ่มเติม
นอกจากต้องรับผิดชอบกับความเครียด ของตนเองแล้ว ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการพบ จิตแพทย์เฉลี่ยเกือบหมื่นบาทต่อเดือนท�ำให้ เธอยิ่งเครียดและสิ้นหวังมากกว่าเดิม
ให้กับนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้ารับการปรึกษา อาจเป็นการบรรยายเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ อาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้า หรือเปิดมุม ให้นักศึกษาได้เข้ามาอ่านหนังสือในศูนย์ให้ ค�ำปรึกษาเพือ่ สร้างความคุน้ เคยกับสถานที่ ส่วน มหาวิทยาลัยทีย่ งั ไม่มจี ติ แพทย์ หรือนักจิตวิทยา ประจ�ำ สามารถเริม่ ให้บริการช่วงสัน้ ๆ ก่อน เช่น มีนักจิตวิทยาเข้ามาให้บริการสามวันในหนึ่ง
”
สัปดาห์ จะช่วยให้นกั ศึกษารูส้ กึ มีทพี่ งึ่ มากขึน้ ผูอ้ ำ� นวยการประจ�ำศูนย์บริการการปรึกษา เชิงจิตวิทยาและส่งเสริมสุขภาวะยังอธิบายถึง ความส� ำ คั ญ ของจิ ต แพทย์ แ ละนั ก จิ ต วิ ท ยา ประจ�ำมหาวิทยาลัยว่า “ต้องเริ่มต้นให้มีก่อน อาจจะมีแล้วแต่ไม่มีคนมา แต่ถ้าไม่มีก็ไม่ได้ เพราะจริงๆ แล้วบริการนีเ้ ป็นบริการทางวิชาชีพ มีความแตกต่างจากพูดคุยกับคนทัว่ ไป เพราะ เป็นการพูดคุยบนพืน้ ฐานของคนมีความรู้ ต่าง จากการพูดคุยกับเพือ่ น ถึงเพือ่ นคนนัน้ จะผ่าน การอบรมมาก็ตาม ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องมี” มหาวิ ท ยาลั ย จ� ำ นวนหนึ่ ง มี น โยบายส่ ง เสริมสุขภาพจิตส�ำหรับนักศึกษาและบุคลากร โดยจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ใ ห้ บ ริ ก ารรั บ ค� ำ ปรึ ก ษาที่ มี จิตแพทย์-นักจิตวิทยาประจ�ำ เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness), มหาวิทยาลัย มหิ ด ล วิ ท ยาลั ย นานาชาติ มี ค ลิ นิ ก วั ย ที น (Adolescent Clinic) และ มหาวิทยาลัยรังสิต มี โ ครงการคลิ นิ ก รั ง สิ ต ฟ้ า ใส ขณะเดี ย วกั น มหาวิทยาลัยบางแห่งที่ยังไม่มีการก่อตั้งศูนย์ ให้บริการปรึกษาสุขภาพจิตก็มีบริการให้ค�ำ
ปรึกษาผ่านทางออนไลน์และโทรศัพท์ เช่น มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ มี ส ายด่ ว น สุขภาพจิตเพื่อนิสิต มศว และมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ มีศูนย์ให้ค�ำปรึกษาปรึกษา ชีวติ นักศึกษาทางออนไลน์ (Student help and Support Center) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม จากการส�ำรวจของผูส้ อื่ ข่าว พบว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ส่ ว นหนึ่ ง ไม่ มี ศู น ย์ ใ ห้ บริการเฉพาะนิสิต หรือมหาวิทยาลัยบางแห่ง ที่มีศูนย์ให้ค�ำปรึกษาเฉพาะนิสิตและบุคคล ภายใน ยังไม่มกี ารประชาสัมพันธ์เพียงพอ เช่น ไม่มีเว็บไซต์เฉพาะของศูนย์ให้ค�ำปรึกษา หรือ มีเว็บไซต์แต่บอกข้อมูลไม่ครบถ้วน ขาดที่ตั้ง ของศูนย์ที่ชัดเจน หรือเบอร์โทรติดต่อเพื่อขอ นัดหมายล่วงหน้า สอดคล้องกับค�ำบอกเล่าของ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์ประจ�ำสาขาจิตวิทยา การปรึ ก ษา คณะจิ ต วิ ท ยา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ทีก่ ล่าวถึงมุมมองของคนไทยต่อ สวัสดิการด้านสุขภาพจิตว่า สังคมไทยรวมถึง มหาวิทยาลัยยังไม่เห็นปัญหาทางสุขภาพจิต เป็นเรือ่ งส�ำคัญ เพราะยังคิดว่าเป็นเรือ่ งใหม่อยู่ ท�ำให้คนเพิกเฉยแก่การให้สวัสดิการต่อกลุม่ คน ทีต่ อ้ งการ แท้จริงแล้วการให้บริการเหล่านีค้ วร เป็นสิ่งส�ำคัญอันดับแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในมหาวิทยาลัย “เป็นความรับผิดชอบทีม่ หาวิทยาลัยควรมี ให้เรา เรามีบริการทางด้านสุขภาพกาย ก็ควรมี ทางใจด้วยเช่นกันจริงๆ ไม่ใช่แค่ในมหาวิทยาลัย โรงเรียน องค์กรต่างๆ ก็ควรจะมี เหมือนเรา มีประกันสังคม ประกันสุขภาพ สุขภาพจิตก็ควร จะอยู ่ ใ นประกั น สุ ข ภาพด้ ว ยซ�้ ำ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ยังไม่มี มีแต่ในองค์กรทีเ่ ป็นนานาชาติ สิง่ เหล่า นี้ (สวัสดิการด้านสุขภาพจิต) เป็นที่ยอมรับ ในหมู่ต่างชาติอยู่แล้ว เมืองไทยก�ำลังเริ่มต้น” ดร. พนิตากล่าว
LIFESTYLE
12 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
เลือดสุนัข : โอกาสอันขาดแคลน เรื่อง-ภาพ : ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
“ พี่ครับ กรี๊ดเสียแล้วนะครับ เมื่อเช้า ”
ย้อนกลับไปราวหนึง่ สัปดาห์กอ่ นข่าวร้ายมาเยือน ภาพของ กรี๊ด สุนัขไทยพันธุ์ผสมผู้เต็มไปด้วยรอยคมเขี้ยวบนล�ำตัวถูก เผยแพร่บนเฟซบุ๊กของ นิติพนธ์ อินทบุตร ช่างซ่อมโทรศัพท์ มือถือวัย 37 ปี เพื่อขอความช่วยเหลือจากบรรดาคนรักสุนัขให้ ช่วยสนับสนุนค่ารักษากรี๊ดที่พุ่งสูงกว่า 30,000 บาท และเพื่อ ตามหาเลือดทีจ่ ะมาช่วยต่อลมหายใจของสัตว์แสนรัก “กรีด๊ โดนกัดเป็นแผลตามตัว ตอนแรกเราไม่คดิ ว่าหนักมาก แต่ ต ่ อ มามี อ าการอาเจี ย นเป็ น เลื อ ด เลยต้ อ งรี บ พามาที่ โรงพยาบาล” นิตพิ นธ์เล่าด้วยน�ำ้ เสียงสัน่ เครือว่าเขาพาสุนขั ตัวอืน่ ในบ้าน มาตรวจสุขภาพเพือ่ บริจาคเลือดให้กรีด๊ ไม่ตำ�่ กว่าหกตัว ผลลัพธ์ คือมีแค่สองตัวที่ผ่านเกณฑ์ และเลือดจากสุนัขไทยขนาดกลาง ทั้งสองก็ไม่เพียงพอที่จะเยียวยาเพื่อนให้พ้นขีดอันตราย กรี๊ดจึงนอนรอคอยความหวังขณะที่เวลานับถอยหลังทุก วิ น าที จนกระทั่ ง นิ ติ พ นธ์ ไ ด้ รั บ การติ ด ต่ อ จากเจ้ า ของสุ นั ข โกลเด้นรีทรีฟเวอร์ผู้พร้อมบริจาคเลือดให้เพื่อนสี่ขาในจ�ำนวน เพียงพอต่อการรักษา แต่โชคร้ายที่หนึ่งวันหลังการติดต่อนั้น อาการป่วยของกรี๊ดกลับทรุดหนักลงจนกระทั่งเสียชีวิต “สถานการณ์เลือดสุนัขส�ำรองในโรงพยาบาลตอนนี้ถือว่า ขาดแคลนเข้าขั้นวิกฤติ” สพ.ญ.จรรยาภรณ์ ธัญกานต์สกุล หรือ หมอยิม้ หัวหน้า หน่วยธนาคารเลือดโรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนเผย ในปี 2560 จ�ำนวนสุนขั ทีต่ ดิ ต่อขอรับเลือดมายังโรง พยาบาลมี จ� ำ นวนเฉลี่ ย มากถึ ง 4,000 ตั ว ขณะที่ ป ริ ม าณ ผลิตภัณฑ์เลือดส�ำรองของทางธนาคารมีเพียง 2,000 ยูนิต เท่านั้น ซึ่งหมายความว่ามีสุนัขจ�ำนวนกว่าครึ่งหนึ่งมีจุดจบ ไม่ต่างจากกรี๊ดเพราะขาดแคลนเลือดมาเยียวยาอาการป่วย “คนเลี้ยงสุนัขในตอนนี้มีมากขึ้น ฉะนั้นปริมาณสัตว์ป่วยที่ เข้ามาขอเลือดก็เยอะตามมา ทัง้ จากของโรงพยาบาลเราเองและ จากการส่งตัวเข้ามาจากที่อื่น” หมอยิ้มกล่าว ขณะที่ ตั ว เลขจากโรงพยาบาลสั ต ว์ เ ล็ ก จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยชี้ให้เห็นว่าในแต่ละเดือน จ�ำนวนเฉลี่ยของสุนัขที่ ป่วยต้องการเลือดมีสูงถึง 640-800 ตัว แต่ยอดสุนัขที่มาบริจาค เลือดกลับมีไม่เกิน 170 ตัว หรือเพียงร้อยละ 20 ของจ�ำนวนที่ ต้องการ สัดส่วนดังกล่าวสะท้อนว่าปัญหานี้เป็นเรื่องวิกฤต เช่นเดียวกัน สพ.ญ.สุ ว รั ต น์ วดี รั ต น์ หรือ หมอปุ ๋ ม หัวหน้าหน่วย ธนาคารเลือดโรงพยาบาลสัตว์เล็ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้
สุนขั โกลเด้นรี ทรี ฟเวอร์ ตวั นีก้ �ำลังบริ จาคเลือดเพือ่ ช่วยเยียวยาอาการป่ วยของเพือ่ นสีข่ าตัวอืน่ ๆ ความเห็นว่า “สาเหตุของปัญหา (การขาดแคลนเลือด) คือหนึ่ง ความรู้สึกกลัว ส่วนใหญ่เจ้าของมักกลัวว่าถ้าสุนัขไปบริจาค เลือดแล้วจะป่วย ซึ่งนั่นเป็นความเชื่อที่ผิด อย่างที่สองคือคนไม่ รู้สึกว่าการให้เลือดจะเป็นประโยชน์กับคนอื่นจนกว่าสุนัขของ ตัวเองจะต้องการเลือด ไม่คิดว่าเป็นสิ่งที่ต้องช่วยเหลือกัน” นอกจากอุปสรรคด้านทัศนคติและความเข้าใจของเจ้าของ สุนัขข้างต้น หมอปุ๋มระบุว่าการที่คนในเมืองนิยมพักอาศัยใน คอนโดซึ่งมีพ้ืนที่จ�ำกัดมากขึ้น รวมถึงค่าใช้จ่ายการเลี้ยงสุนัข พันธุใ์ หญ่ทคี่ อ่ นข้างสูงจากราคาอาหารและการรักษา เป็นผลให้ คนนิยมเลี้ยงสุนัขพันธุ์เล็กมากกว่า ด้วยเหตุนี้ แม้จำ� นวนคนเลีย้ งสุนขั จะเพิม่ ขึน้ แต่จำ� นวนสุนขั พันธุ์ใหญ่ที่สามารถบริจาคเลือดได้ยังคงเท่าเดิม ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีแนวโน้มลดลงเนือ่ งด้วยเจ้าของบางส่วนเลีย้ งดูไม่เหมาะสม อาทิ ไม่ป้องกันเห็บหมัด ไม่ควบคุมอาหารจนค่าไตสูง ท�ำให้ สุขภาพสุนัขไม่ผ่านเกณฑ์การบริจาค โดยหมอปุ๋มประเมินว่า ในจ�ำนวนสุนัขบ้าน 20 ตัวที่เข้ามาบริจาคเลือดจะมีสุขภาพแข็ง แรงผ่านเกณฑ์แค่ตัวเดียว
“
ส ถ า น ก า ร ณ ์ เ ลื อ ด สุ นั ข ส� ำ ร อ ง ใ น โรงพยาบาลตอนนี้ ถื อ ว่ า ขาดแคลนเข้ า ขั้ น วิกฤต สพ.ญ.จรรยาภรณ์ ธัญกานต์สกุล หัวหน้าหน่วยธนาคารเลือด รพ.สัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน
”
ดั ง นั้ น ทางเลื อ กหนึ่ ง ของโรงพยาบาลสั ต ว์ เ หล่ า นี้ คื อ การ “ออกหน่วย” หรือใช้หน่วยรับบริจาคเคลือ่ นทีเ่ ดินทางไปตาม บ้านและฟาร์มสุนัขพันธุ์ใหญ่ อย่างไรก็ตาม หมอยิ้มระบุว่า การออกหน่วยมีข้อจ�ำกัดทั้งด้านจ�ำนวนบุคลากร การขนย้าย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ น ทุ น ค่ า เดิ น ทาง อี ก ทั้ ง โรงพยาบาลในเครื อ มหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งใช้ เ วลายื่ น เอกสารขออนุ ญ าตออกนอก สถานที่ทุกครั้ง “บุคลากรของเรายังถือว่าไม่เพียงพอที่จะออกหน่วยได้ เป็นประจ�ำ และเมื่อเราได้ผลิตภัณฑ์เลือดกลับมา ผลิตภัณฑ์ เลือดเหล่านั้นต้องมีการขนย้ายที่ถูกต้อง อุณหภูมิต้องควบคุม ได้ อีกเรื่องหนึ่งคือจ�ำนวนบ้าน การออกหน่วยแค่หนึ่งถึงสอง บ้านแม้จะดีกว่าไม่ได้ แต่ก็อยากให้มีจ�ำนวนที่มากพอก่อนค่อย ออกไป” หมอยิ้มชี้แจง หมอยิ้มอธิบายเพิ่มเติมว่า เนื่องจากธนาคารเลือดสามารถ ออกหน่วยอย่างจ�ำกัด การแก้ไขปัญหาขาดแคลนเลือดส�ำรอง เฉพาะหน้ า นั้ น จึ ง เป็ น การติ ด ต่ อ ขอความช่ ว ยเหลื อ ไปยั ง
สถานพยาบาลใกล้เคียงเพือ่ ขอแบ่งปันผลิตภัณฑ์ รวมถึงการใช้ พื้นที่เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการประกาศรับบริจาคเลือด “เราจะประกาศเชิญชวนตามสื่อต่างๆ เช่น ในเฟซบุ๊กเพจ ของโรงพยาบาล กลุ่มสุนัขที่เข้ามาบริจาคเลือดเป็นประจ�ำบน โซเชียลเน็ตเวิร์ก อย่างบ้านนินจา (Ninja And The Gang) กลุ่มของปู่ลอยด์ เขาจะช่วยประกาศหาให้” หมอยิ้มว่า แต่ส�ำหรับการแก้ไขปัญหาในระยะยาว หมอปุ๋ม หัวหน้า หน่ ว ยธนาคารเลื อ ดโรงพยาบาลสั ต ว์ เ ล็ ก จุ ฬ าฯ กล่ า วว่ า “การแก้ไขปัญหาท�ำได้ยากมาก เพราะเป็นเรื่องการเลี้ยงสัตว์ ของคน เราไม่สามารถบังคับได้เลยว่าต้องเลีย้ งสุนขั ทีใ่ หญ่พอจะ บริจาคเลือด จึงอาจจะท�ำได้แค่กระตุน้ จิตส�ำนึกว่าถ้าคุณมีสตั ว์ ทีส่ ขุ ภาพแข็งแรงก็มาร่วมบริจาคเลือดก่อนทีเ่ ขาจะป่วย … และ ต่ อ ให้ ธ นาคารเลื อ ดมี เ พิ่ ม ขึ้ น แต่ ถ ้ า ไม่ มี สุ นั ข เพิ่ ม ขึ้ น ก็ ไ ม่ มี ประโยชน์” ด้านหมอยิ้ม หัวหน้าหน่วยธนาคารเลือดโรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนเสนอว่าการรณรงค์ฉดี วัคซีน แก่ สุ นั ข เพื่ อ ป้ อ งกั น โรคจะช่ ว ยเพิ่ ม จ� ำ นวนสุ นั ข พั น ธุ ์ ใ หญ่ ที่ แข็งแรงมากขึ้น รวมถึงการให้ความรู้เรื่องการบริจาคเลือดแก่ เจ้าของน่าจะช่วยบรรเทาปัญหาเรื้อรังนี้ได้ “บางคนอาจจะยังไม่ทราบว่าสุนัขบริจาคเลือดได้ เราเลย ต้องพยายามโฆษณาให้เห็นว่าสุนัขที่เขาเลี้ยงสามารถบริจาค เลือดได้ ถ้ามีอายุเข้าเกณฑ์คือ 1-7 ปี น�้ำหนัก 17 กิโลกรัมขึ้นไป ให้วัคซีนครบถ้วน ไม่ป่วยใดๆ ถ้าเราให้ข้อมูลว่าสุนัขของเขา บริจาคเลือดได้ เขาก็น่าจะเข้ามาเพิ่มขึ้น” หมอยิ้มทิ้งท้ายด้วย ความหวัง คุณสมบัติเบื้องต้นของสุนัขที่ สามารถบริจาคเลือด + มี สุ ข ภาพสมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง อายุ ร ะหว่ า ง 1-7 ปี น�้ำหนักตัว 17 กิโลกรัมขึ้นไป + ได้ รั บ การฉี ด วั ค ซี น ป้ อ งกั น โรคประจ� ำ ปี ควบคุ ม ป้องกันเห็บ หมัด พยาธิหนอนหัวใจอย่างต่อเนื่อง + ไม่เคยได้รับผลิตภัณฑ์เลือดมาก่อน + ไม่มีประวัติเข้ารับการผ่าตัดใหญ่ในช่วง 3 เดือน ก่อนหน้า + ไม่รับประทานยาใดๆ ในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนหน้า + ไม่มีบาดแผลหรือเป็นโรคผิวหนัง + หากเป็ น เพศเมี ย ต้ อ งไม่ อ ยู ่ ใ นช่ ว งเป็ น สั ด ตั้งครรภ์ หรือให้นมลูก
ที่มา : โรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 13
FASHION
ฮิญาบ : ความท้าทายใน โลกแฟชั่นของหญิงมุสลิม
ฮิ ญาบทีม่ ี ลวดลายไม่มากและโทนสีสภุ าพคืออีกหนึ่งทางเลือกของผูห้ ญิ งมุสลิ ม รู ปจากอิ นสตาแกรม @rashahijab_office
เรื่อง : ณิชชา เสริฐปัญญารุ่ง “การเป็นมุสลิมทีด ่ ค ี อ ื ท�ำตามบทบัญญัติ เราไม่ได้ แต่ ง ตั ว มิ ด ชิ ด มากขนาดตามกฎหมายบทบั ญ ญั ติ ผู ้ ห ญิ ง ตามบทบั ญ ญั ติ ข องอิ ส ลามเห็ น ได้ เ ฉพาะ ใบหน้าเเละฝ่ามือเท่านั้น ที่เหลือต้องปกปิดทั้งหมด แต่สำ� หรับเราไม่ได้ปกปิดร้อยเปอร์เซ็นต์นะคะ พยายาม ท�ำให้ได้มากที่สุด อย่างเช่น เวลาเราใส่รองเท้าส้นสูง เราก็ไม่ได้ใส่ถุงเท้า เนื่องจากไม่เคยชิน ซึ่งก็ถือว่าเป็น ข้อบกพร่องทางด้านการปฏิบัติตัวตามหลักศาสนา ของรชาด้วยเช่นกัน”
รชา ทับโทน เน็ตไอดอลสาวชาวมุสลิมที่มียอดผู้ติดตาม หลักหมื่นบนอินสตาแกรมกล่าว รชาโด่งดังมาจากการเป็นเจ้าของร้าน “รชา ฮิญาบ” ที่มี หน้าร้านทางอินสตาแกรม (@rashahijab_office) สินค้าของรชา โดดเด่นกว่าร้านขายฮิญาบอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบที่ เรียบง่าย มีลวดลายไม่มาก โทนสีสุภาพ ใส่ได้ในทุกโอกาส และมีหลายรูปแบบให้เลือก ทั้งผ้าขนาดยาว ผ้าสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผ้าชีฟองเนือ้ ทราย หรือผ้าเนือ้ หนานุม่ ทีน่ ำ� เข้าจากประเทศญีป่ นุ่ ขณะที่ราคายังอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สูงเกินไป รชาผันตัวมาเป็นแม่ค้าขายฮิญาบออนไลน์ เนื่องจากเธอ มักพบปัญหาจากการสั่งซื้อฮิญาบทางอินเทอร์เน็ต เช่น สินค้า ไม่ตรงตามความต้องการ ขนาดผ้าเล็กจนเกินไป เนื้อผ้าสัมผัส ไม่ดี เธอจึงตัดสินใจเริ่มตัดเย็บฮิญาบเพื่อสวมใส่เอง ก่อนขาย คนรอบตัว จนกระทัง่ คนอืน่ ๆ กล่าวถึงและท�ำให้เธอเปิดเป็นร้าน ขายฮิญาบออนไลน์ในที่สุด เน็ตไอดอลสาวชาวมุสลิมเล่าให้ฟังว่า เธอชื่นชอบแฟชั่น และรักการแต่งตัวมาก ท�ำให้บางครั้งไม่สามารถแต่งกายตาม บทบัญญัตขิ องศาสนาอิสลามได้ทงั้ หมด แรกเริม่ นัน้ เธอไม่ได้ใส่ ผ้าคลุมหรือฮิญาบเสียด้วยซ�้ำ แต่เนื่องจากเธอจะต้องย้ายไป ศึกษาต่อทีป่ ระเทศมาเลเซีย จึงมีโอกาสเข้าไปอยูใ่ นสังคมมุสลิม ที่ เ ข้ ม งวดท� ำ ให้ เ ธอเริ่ ม ซึ ม ซั บ บทบั ญ ญั ติ แ ละกฎเกณฑ์ ข อง ศาสนา แต่สิ่งที่มีอิทธิพลต่อเธอมากที่สุด คือการเห็นรุ่นพี่ที่อยู่ ในมาเลเซียสวมใส่ฮญ ิ าบทีม่ ลี วดลายสวยงาม จนท�ำให้เธอสนใจ และตัดสินใจสั่งฮิญาบจากทางออนไลน์มาใส่เอง เพราะเธอคิด ว่าแฟชั่นกับศาสนาควบคู่ไปด้วยกันได้ “บางคนอาจจะคิดว่ามุสลิมต้องใส่ชุดด�ำ ปิดหน้า แต่ รชาคิดว่ามันไม่ใช่ทั้งหมด ทุกอย่างขึ้นอยู่กับความพร้อมและ เจตนารมณ์ของแต่ละบุคคล แฟชัน่ ไม่มที สี่ นิ้ สุดและการมีบคุ ลิก ดีคอื หนึง่ จากตัววัดทีช่ ถี้ งึ ความเป็นมุสลิมทีส่ มบูรณ์แบบเช่นกัน” รชาเอ่ย รชามีวธิ เี ลือกฮิญาบสามข้อ ข้อแรก คือเนือ้ ผ้าจะต้องไม่บาง จนเห็ น เส้ น ผมหรื อ ใบหู เพราะผิ ด หลั ก ศาสนา ข้ อ สอง คื อ สี สั น จะต้ อ งสวยงาม แต่ ไ ม่ ฉู ด ฉาดเกิ น ควร ข้ อ สาม คื อ สะท้ อ นความเป็ น ตั ว ตนของเธอ เช่ น มี ดี ไ ซน์ ที่ ทั น สมั ย เข้ากับชุดง่าย และปกปิดในส่วนของร่างกายได้มากที่สุด “เราไม่ได้สมบูรณ์แบบเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะรชาเริม่ ต้น มาจากศูนย์ เริ่มจากการเปิดใจและเรียนรู้ใหม่ ทุกวันนี้รชา พยายามปฏิบัติตามหลักการที่ศาสนาก�ำหนดไว้ให้ได้สมบูรณ์ ที่สุด เราอยากเปลี่ยนด้วยหัวใจและความรู้สึกที่ตั้งใจจริงๆ ของเรา ไม่ใช่เปลี่ยนเพราะให้คนใดคนหนึ่งพอใจ แต่เปลี่ยน เพราะเราศรั ท ธาและแน่ ว แน่ อ ย่ า งที่ สุ ด รชาเริ่ ม พยายาม จากเรื่องง่ายๆ อย่างเช่น เวลาคลุมฮิญาบจะรวบผมและปกปิด ไม่ให้เส้นผมเล็ดลอดออกมาจากฮิญาบ เป็นต้น ถึงแม้เรื่องนี้
“บางคนอาจจะคิดว่ามุสลิมต้องใส่ชุดด�ำ ปิดหน้า แต่รชาคิดว่าไม่ใช่ มันอยู่ที่จิตใต้ส�ำนึกเรา แฟชั่นไม่มีที่สิ้นสุดแต่ต้องดูกาลเทศะด้วย” รชา ทับโทน เน็ตไอดอลชาวมุสลิม
“
บางคนอาจจะคิดว่ามุสลิมต้องใส่ชด ุ ด�ำ ปิดหน้า แต่รชาคิดว่ามันไม่ใช่ทง ั้ หมด ทุกอย่าง ขึน ้ อยูก ่ บ ั ความพร้อมและเจตนารมณ์ของแต่ละบุคคล แฟชัน ่ ไม่มท ี ส ี่ น ิ้ สุดและการมีบค ุ ลิกดี คือหนึ่งจากตัววัดที่ชี้ถึงความเป็นมุสลิมที่สมบูรณ์แบบเช่นกัน
ส� ำ หรั บ มุ ส ลิ ม บางคนถื อ ว่ า เรื่ อ งเล็ ก ๆน้ อ ยๆ แต่ ส� ำ หรั บ เรา การใส่ ใ จกั บ การเริ่ ม ต้ น จากจุ ด เล็ ก ๆนั้ น คื อ การเริ่ ม ต้ น ที่ ดี ” รชากล่าวเสริม ด้ า น นู ร ์ ฮู ด า หะยึ ด อเล๊ า ะ เจ้ า ของร้ า นขายฮิ ญ าบ ในอ� ำ เภอบาเจาะ จั ง หวั ด นราธิ ว าส ก็ เ ป็ น อี ก คนที่ ชื่ น ชอบ การแต่งตัว เธอเล่าวิธีเลือกฮิญาบของตนเองว่า เนื่องจากเธอ เน้นความคล่องตัวในการสวมใส่เสื้อผ้า ในวันปกติเธอเลือก ผ้ า คลุ ม ผื น ใหญ่ ที่ ส ามารถคลุ ม ส่ ว นบนของร่ า งกายจนถึ ง ข้ อ มื อ แทนการสวมฮิ ญ าบส� ำ เร็ จ รู ป หากต้ อ งไปออกงาน เธอจะเลือกสวมฮิญาบทีม่ ลี วดลายสวยงาม ตามกระแสนิยมของ หญิงสาวมุสลิม เพียงแต่จะต้องปกปิดทุกส่วนของร่างกายตาม แนวทางของศาสนา ส่วนวิธีการเลือกฮิญาบมาขายในร้านนั้น นูร์ฮูดาตั้งใจเลือกแบบที่ชอบเป็นหลัก คือมีสีสันไม่ฉูดฉาด ง่าย ต่อการสวมใส่และอยู่ในสมัยนิยม ดร.อั ม พร หมาดเด็ น อาจารย์ ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก วิ ช า ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านมุสลิม ศึกษา อิสลาม วัฒนธรรมอาหรับ เพศภาวะและวัฒนธรรมศึกษา อธิบายว่า แท้จริงแล้วค�ำว่า “ฮิญาบ” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียก ว่า “Hijab” นั้น ไม่ได้ถูกบัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน แต่ ในคัมภีรอ์ ลั กุรอานมักจะปรากฏค�ำว่า จิลบับ (Jilbab) ซึง่ เป็นค�ำ ที่ไม่ได้ใช้ในวงกว้าง ค�ำว่าฮิญาบนั้นปรากฏในภายหลังและมี ความหมายโดยนัยสื่อถึงการเคลื่อนไหวต่อต้านอ�ำนาจของเจ้า อาณานิ ค มในช่ ว งการปฎิ วั ติ อิ ห ร่ า นเมื่ อ ปี 2522 เพื่ อ ที่ จ ะ ยกระดับความศิวิไลซ์ในการแต่งตัวของผู้หญิงชาวอิหร่านและ ต้องการผู้หญิงให้ได้รับการยกย่อง
”
รชา ทับโทน เน็ตไอดอลชาวมุสลิม
อย่างไรก็ตาม ดร.อัมพรกล่าวว่า ในคัมภีร์อัลกุรอานไม่ได้มี บทบัญญัติที่ชัดเจนว่าผู้หญิงมุสลิมในครรลองของศาสนาจะ ต้องสวมฮิญาบทุกคน รูปแบบในการใส่ฮิญาบจึงไม่แน่นอน ตายตัว ยกตัวอย่างเช่น ผู้หญิงอาหรับจะใส่ผ้าคลุมสีด�ำปกปิด ผิวทั้งหมด บางคนน�ำเข็มกลัดมากลัดใต้คาง หรือบางคนจะน�ำ ผ้ามาคลุมถึงส่วนของหน้าอก เพื่อปกปิดร่างกายให้มิดชิด ขณะที่ปัจจุบันมีงานวิจัยว่าฮิญาบถูกน�ำมาท�ำให้เป็นแฟชั่น เช่น น�ำมาโพกหัวบ้าง บางคนใส่แบบเปิดหูเพื่อให้เห็นต่างหู หรือบางคนดัดแปลงใส่เครื่องประดับลงบนฮิญาบ อย่างมงกุฎ หรือที่คาดผม นักวิชาการด้านมุสลิมศึกษาเห็นว่า เนื่องจากโลกปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมาก การที่คนยังเลือกสวมฮิญาบที่มี รูปแบบและลวดลายตามกระแสแฟชั่นแสดงให้เห็นว่าคนยัง ใส่ใจศาสนา แต่ในขณะเดียวกันก็คำ� นึงถึงความสวยงามในโลก แฟชั่นด้วย ฉะนั้น การสวมใส่ฮิญาบก็ยังสามารถแสดงออกถึง ตัวตนของผู้สวมใส่ได้หรือในอีกแง่หนึ่งอาจมองได้ว่า ผู้หญิง ที่สวมฮิญาบตามกระแสแฟชั่น รวมถึงคนขายฮิญาบบนโลก ออนไลน์ ต้องการสื่อสารว่าฮิญาบไม่ได้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ “บางคนค้าขายในออนไลน์ ในเฟซบุ๊กก็ถือว่าเหมือนเป็น การขายของทัว่ ไป เพราะเป็นสิง่ ทีต่ ลาดต้องการ เพราะฉะนัน้ เรา อาจจะเห็นสินค้า หรือร้านค้าออนไลน์ เราก็มองว่าเขาต้องการ จะเผยแพร่ว่าฮิญาบไม่ได้เป็นของที่น่ากลัว สวมใส่ยังเป็น ตัวของตัวเอง บางทีก็มีแบบส�ำเร็จรูป ใครสวมใส่ก็ยังจะเป็น แฟชั่น มีสไตล์” ดร.อัมพรกล่าว
ARTS & CULTURE
14 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
“อย่าเรียกฉัน ว่าช่างภาพ หญิง!” เรื่อง-ภาพ : เบญญา หงษ์ทอง
บุณยนุช ไกรทอง (ก๊ อย) กับกล้องทีเ่ ธอบอกว่า แค่รู้วิธีใช้ น�้ำหนักก็ไม่ใช่ปัญหา “กูรู้แล้วว่ากูเป็นผู้หญิง แต่เวลาดูงานกู เลิกพูดว่ากูเป็นผู้หญิงได้ไหม!” จุฑารัตน์ ภิญโญดุลยเจต หรือ ปูเป้ ช่างภาพแนวสตรีท เจ้ า ของผลงานที่ เ ข้ า ชิ ง รางวั ล ในรายการ StreetFoto San Francisco ของประเทศสหรัฐอเมริกา กล่าวเมื่อเราถามถึงชีวิต ของเธอ ในฐานะช่างภาพ “เราเห็นผู้หญิงอยู่ในอุตสาหกรรมนี้เยอะ อย่างวงการอินดี้ ผูห้ ญิงก็เยอะ เรารูส้ กึ ว่ามันค่อนข้างเท่าเทียม” ปูเป้มองว่าตลอด ระยะเวลาหลายปีทเี่ ธอท�ำงานเป็นช่างภาพ สังคมอาชีพช่างภาพ ค่ อ นข้ า งเปิ ด กว้ า งส� ำ หรั บ ผู ้ ห ญิ ง เธอไม่ เ คยรู ้ สึ ก ว่ า ได้ รั บ การกีดกัน หรือถูกมองข้ามความคิดเห็นเพราะเพศของเธอ และ ในบางครั้ง การเป็นผู้หญิงเองก็ท�ำให้เธอได้รับอนุญาตให้เข้าไป ถ่ายภาพเด็กหรือผู้สูงวัยได้ง่ายกว่าผู้ชายด้วยความที่เพศหญิง มีภาพจ�ำที่ดูเป็นมิตรมากกว่าผู้ชาย เช่ น เดี ย วกั น กั บ บุ ณ ยนุ ช ไกรทอง หรื อ ก๊ อ ย ผู ้ เ ป็ น ช่างภาพ และผู้ก�ำกับภาพ (director of photography : DOP) ซึ่ ง ดู แ ลการถ่ า ยภาพและการจั ด แสงในการผลิ ต ภาพยนตร์ เล่าถึงประสบการณ์การท�ำงานในวงการทีม่ ผี ชู้ ายเป็นส่วนใหญ่ ว่า เนื่องจากอุปกรณ์สมัยก่อนมีขนาดใหญ่และหนัก จึงต้อง อาศัยก�ำลังในการท�ำงาน ท�ำให้ประชากรชายมีมากกว่าผู้หญิง แต่การใช้อุปกรณ์ถ่ายภาพที่มีขนาดใหญ่นั้นมีวิธียกที่ไม่ต้อง อาศัยก�ำลังอย่างเดียว ผู้หญิงจึงสามารถท�ำงานนี้ได้เช่นกัน
ก๊อยเสริมอีกว่าไม่ใช่ทุกต�ำแหน่งในอุตสาหกรรมนี้จะต้อง อาศัยก�ำลังเสมอไป เธอพูดว่าต�ำแหน่งของเธอเป็นเหมือนจิตรกร “มัน (ภาพถ่าย) ขึ้นอยู่กับสไตล์ของคนนั้นเลย ซึ่งเราว่ามัน ไม่จำ� เป็นว่าเป็นผูห้ ญิงต้องงานอ่อนช้อย นุม่ นวล อาจจะเป็นงาน แข็งแกร่งเท่าผู้ชายก็ได้ หรือว่าผู้ชายบางคนเขาอาจจะมี visual (การสื่อสารด้วยภาพ) ที่อ่อนโยน งดงามมาก ถ้าในตัวเนื้องาน เอามาเทียบกัน ดูไม่ออกหรอกว่าใครถ่าย เป็นผูห้ ญิงหรือผูช้ าย” ก๊อยกล่าวด้วยน�้ำเสียงเรียบๆ แม้ในแวดวงคนท�ำงาน ปูเป้และก๊อยจะไม่พบการน�ำเรื่อง เพศมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งแยกหรือกีดกันความก้าวหน้า ทางอาชี พ แต่ ส� ำ หรั บ คนนอกวงการนั้ น พวกเธอกลั บ พบว่ า คนทัว่ ไปมักตัง้ ค�ำถามว่าช่างภาพหญิงจะมีความสามารถเท่ากับ ช่างภาพชายหรือไม่ “เราไม่ค่อยแคร์เท่าไหร่ เพราะเรารู้อยู่แล้ว ว่าเราท�ำได้ มันอาจจะมีโมเมนต์หนึ่งก็ได้ที่แบบ อ๋อ คิดอย่างนี้ เหรอ แต่เดี๋ยวดูงานที่ออกมาแล้วกัน” ปูเป้กล่าว ขณะเดียวกัน ก๊อยพูดด้วยความไม่แน่ใจนักว่า “ถ้าเป็น ผู้หญิง เรารู้สึกว่าจะโดนตั้งค�ำถามอยู่แล้ว เพราะมันเป็นสิ่งที่ ดูแปลกประหลาด มันคือผูห้ ญิงกับอุปกรณ์ (ถ่ายภาพ) ซึง่ ผูห้ ญิง มันควรจะไปอยู่กับ (การ) เย็บผ้า ท�ำกับข้าวอะไรแบบนี้เหรอ” เหตุทคี่ นในสังคมมีทศั นคติเช่นนี้ ปูเป้มองว่าอาจเป็นเพราะ เมื่อพูดถึงอาชีพช่างภาพ คนมักคิดว่าเป็นงานของผู้ชาย อีกทั้ง ช่างภาพชายยังเป็นทีร่ จู้ กั มากกว่าช่างภาพผูห้ ญิง “สังคมนีผ้ ชู้ าย
จุฑารัตน์ ภิ ญโญดุลยเขต (ปูเป้) กับผลงานภาพถ่ายของเธอในนิ ทรรศการ IN-TRANSIT
เยอะกว่า ลองดูดิว่างานสตรีทที่ผ่านมาเราเป็นผู้หญิงคนเดียว ถ้าเทียบอัตราสิบคน ผู้หญิงจะไม่เกินสองคน เต็มที่เลย” ปูเป้ เอ่ย เธอยังเล่าอีกว่าเมือ่ งานของเธอและช่างภาพคนอืน่ ๆ ทีเ่ ป็น เพศหญิงเมือ่ ออกสูส่ าธารณะ พวกเธอมักถูกจับตาจากคนทัว่ ไป หรือถูกสื่อมวลชนพาดหัวในฐานะ “ช่างภาพหญิง” ถ้าค้นค�ำว่าช่างภาพหญิง มันจะมาเป็นสไตล์และหน้า (เรา) มันจะไม่ใช่แค่งาน เธออธิบายต่ออีกว่าเมื่อช่างภาพหญิงหลาย คนไปปรากฏอยู่ในการรายงานของสื่อมวลชน กลับกลายเป็น ว่ารูปถ่ายฝีมือพวกเธอถูกน�ำเสนอเพียง 1-2 รูปเท่านั้น
“
คนพยายามขายเราจากการเป็นช่าง ภาพผู้หญิง แต่เรารู้สึกว่าแบบ ‘มึงดูงาน มึงอย่าดูว่ากูเป็นผู้หญิง’
”
จุฑารัตน์ ภิญโญดุลยเขต ช่างภาพแนวสตรีท
ด้านก๊อย ค�ำว่า “ร�ำคาญ” เป็นค�ำแรกที่เธอพูดออกมาสั้นๆ แต่หนักแน่นหลังได้ยินค�ำว่า “ช่างภาพหญิง” ก่อนพูดต่อว่า “เราว่ามันแฝงทัศนคติอยูใ่ นนัน้ ล่ะ มันดูแบบ ‘ช่างภาพหญิงเก่ง จังเลย มึง (ผูห้ ญิง) ท�ำได้ดว้ ยเหรอ’ เรารูส้ กึ ว่าไม่เห็นต้องพูดเลย มันไม่ได้อธิบายอะไรเกี่ยวกับงาน” เธอเล่าต่อว่าหลายคนใช้ ค� ำ นี้ จ นมั น กลายเป็ น การแสดงความยกย่ อ งจนลื ม ถึ ง ความหมายที่ซ่อนอยู่ภายใน ปู เ ป้ ย อมรั บ ว่ า เมื่ อ อาชี พ ช่ า งภาพถู ก มองว่ า เป็ น อาชี พ ส� ำ หรั บ ผู ้ ช าย การที่ ผู ้ ห ญิ ง มาประกอบอาชี พ นี้ จึ ง เป็ น “ความพิเศษ” ความเป็นหญิงจึงกลายเป็นก�ำแพงที่พวกเธอ จะต้ อ งก้ า วข้ า ม เพื่ อ ให้ ค นสนใจในผลงานมากกว่ า เพศ “คนพยายามขายเราจากการเป็นช่างภาพผู้หญิง แต่เรารู้สึกว่า แบบ ‘มึงดูงาน มึงอย่าดูว่ากูเป็นผู้หญิง’ ”ปูเป้มองว่าไม่ใช่ เรื่องยากที่จะหาพื้นที่การท�ำงานให้ผู้หญิงในวงการถ่ายภาพ แต่ สิ่ ง ที่ ย ากคื อ การหาที่ ยื น ให้ ต นเองในฐานะ “ช่ า งภาพ” คนหนึ่ง มากกว่าการเป็น “ช่างภาพหญิง” “สิ่งนี้มันน่าสนใจนะ มันต้องตั้งค�ำถามว่าสังคมมองผู้หญิง เป็นแบบไหน” ปูเป้กล่าว ก๊อยเสนอทิง้ ท้ายว่า “ถ้าคนมันอยูด่ ว้ ยความเป็น ‘คน’ จริงๆ เขาจะให้คุณกลับมาด้วยความเป็นคน ถ้าสมมติเรายิ่ง take (แสดงจุดยืน) ตัวเองว่า ‘กูเป็นผู้หญิง อย่ารังแกกูดิวะ’ คือเรา ท�ำให้ตัวเองแปลกแยกแล้ว พอ (ให้ )ใจกับเขา เขาก็จะใจกับเรา กลับมาร้อยเท่า มันจะกลายเป็นพี่ เป็นน้อง เป็นเพื่อนทันที ไม่เกี่ยวกับเพศเลย (แต่) เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์” บทสรุปที่ปูเป้และก๊อยอยากฝากไว้ให้กับคนที่ยังคงเรียก พวกเธอว่า “ช่างภาพหญิง” คือ “สุดท้ายมันก็วัดกันที่งาน”
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561 | 15
ARTS & CULTURE
ศิลปะบ�ำบัดส�ำหรับกราฟิกดีไซเนอร์ เรื่อง-ภาพ : มีนามณี ลีวิวิธนนท์
ปรัชญพรให้นกั เรี ยนสร้างสรรค์ผลงานในคาบเรี ยนบ�ำบัด
หน้ากากทีผ่ ูเ้ ข้าร่ วมการบ�ำบัดได้ประดิ ษฐ์ ขึ้นมาจากกระดาษเพือ่ ให้นกั ศิ ลปะบ�ำบัดใช้ตีความตัวตนของเขา “บางที ก ารท� ำ กราฟิ ก เนี่ ย ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ตั ว เองเลย เพราะว่ า ต้ อ งคอยเสิ ร ์ ฟ ให้ ค อนเทนต์ ข องคนอื่ น ” ณขวั ญ ศรี อ รุ โ ณทั ย บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ นิตยสาร WAY เอ่ย
ในฐานะบรรณาธิ ก ารศิ ล ป์ ณขวั ญ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบงาน ออกแบบเพื่อเนื้อหา (editorial design) ซึ่งเป็นการออกแบบ การเล่าเรื่องโดยใช้ศิลปะเสริมการน�ำเสนอเนื้อหาด้วยข้อความ บางครัง้ จึงเกิดความเครียดเมือ่ ทีต่ อ้ งออกแบบเนือ้ หาเขาไม่ชอบ หรือไม่เข้าใจ “บางทีเป็นเรื่องที่ไม่เห็นอยากอ่าน แต่เพราะ เป็นงาน เพราะเราต้องท�ำ” ณขวัญกล่าว ณขวัญเล่าว่า ในช่วงปีแรกของการท�ำงาน องค์กรทีต่ นสังกัด ได้ รั บ งานโครงการใหญ่ คื อ การท� ำ หนั ง สื อ ที่ ร ะลึ ก สะพาน มิตรภาพไทยลาวครั้งที่ 2 โดยเขารับหน้าที่ออกแบบปกหนังสือ แต่เมื่อออกแบบและน�ำไปเสนอ ลูกค้ากลับเลือกปกที่ณขวัญ ไม่ชอบมากที่สุด “เขาเลือกปกที่พี่เกลียดที่สุดเลย พี่ก็ไม่เข้าใจว่าอันที่เราท�ำ สวยๆ ท�ำไมเขาถึงไม่เลือก” ณขวัญเอ่ยถึงความรู้สึกในตอนนั้น แต่ต่อมาเขาก็เข้าใจว่าลูกค้าไม่ได้ต้องการงานศิลป์สวยงาม แต่ต้องการงานออกแบบที่สื่อสารให้ผู้ชมเข้าใจทันที นั่นท�ำให้ การท� ำ งานหลั ง จากนั้ น เขาจ� ำ เป็ น ต้ อ งหาจุ ด ร่ ว มระหว่ า ง ความต้องการของลูกค้ากับงานออกแบบของตัวเอง ณขวัญเชือ่ ว่า งานออกแบบเหล่านีไ้ ม่จำ� เป็นต้องใส่ตวั ตนลงไปในงานเพราะ เน้นการออกแบบให้ตรงกับวัตถุประสงค์การสือ่ สาร ต่างจากการ ท�ำงานศิลปะทีเ่ ขาคุน้ ชินทีท่ ำ� เพือ่ สนองความต้องการของตัวเอง โดยไม่มีโจทย์มาก�ำกับ ดังนั้น ณขวัญจึงสร้างพื้นที่ในการสร้างศิลปะแบบไร้โจทย์ คือเพจออนไลน์ชื่อว่า “Antizeptic” ที่แรกเริ่มเป็นแหล่งรวม ผลงานทีไ่ ม่ถกู น�ำไปใช้ และในภายหลังกลายเป็น “พืน้ ทีท่ อี่ ยาก ท�ำอะไรก็ท�ำ” ไม่ว่าจะลองฝึ กมื อ วาดสิ่ ง ที่ สนใจในช่ ว งนั้ น รวมถึ ง ทดลองความคิ ด ใหม่ ๆ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ แล้ ว รู ้ สึ ก สนุ ก เกือบทัง้ หมดยังเป็นงานทีค่ ดิ ได้โดยบังเอิญ ไม่ได้ตงั้ โจทย์ไว้ลว่ ง หน้า ณขวัญมองว่าส�ำหรับเขาแล้วไอเดียดีๆ นั้น “จะเกิดขึ้น เมื่อจิตใจเราปลอดโปร่ง ร่างกายแข็งแรง ไม่เครียดกับงาน” ปรั ช ญพร วรนั น ท์ นั ก ศิ ล ปะบ� ำ บั ด สมาชิ ก สมาคม การแสดงศิลปะบ�ำบัดนานาชาติ ที่สังกัดสถาบันศิลปะบ�ำบัด และการศึกษา มหาวิทยาลัยอีสต์ลอนดอน ให้ความเห็นว่า ลั ก ษณะงานของกราฟิ ก ดี ไ ซเนอร์ เ ป็ น การใช้ ศิ ล ปะใน การสร้างสรรค์ผลงานเพื่อคนอื่น ในที่นี้คือเพื่อตอบโจทย์ลูกค้า ท�ำให้น�้ำหนักของการกระท�ำเป็นไปเพื่อคนอื่นมากกว่าท�ำเพื่อ
ตัวเอง “ในทุกความสัมพันธ์ ถ้าเราไม่มนี ำ�้ หนักแล้วคนอืน่ มาหนัก กว่าเรา เราจะเหนื่อย ดังนั้นการท�ำงานในรูปแบบนี้ต้องรู้ว่า สมดุลเราคืออะไร” ปรัชญพรกล่าว
“
กราฟิกดีไซเนอร์ที่ต้องเชื่อมโยงกับศิลปะ ต้องไม่ลืมว่าคุณค่าของเขาอาจจะเกี่ยวกับ ศิ ล ปะหรื อ ไม่ ก็ ไ ด้ และขอให้ ไ ม่ ลื ม ว่ า สิ่ ง ที่ ขับเคลื่อนเขามากกว่างาน มันคือโลกข้างใน ของเขา ปรัชญพร วรนันท์ นักศิลปะบ�ำบัด
”
ปรัชญพรเสริมว่า ศิลปะโดยทั่วไปคือการที่ผู้วาดรู้สึกพอใจ กับภาพทีว่ าดออกมา แต่งานกราฟิกดีไซน์เป็นการสร้างงานเพือ่ ตอบโจทย์คนส่วนใหญ่ ดังนั้น กราฟิกดีไซเนอร์จึงต้องแบกรับ ความคาดหวังจนเกิดความเครียดได้ “กราฟิกดีไซเนอร์ที่ต้องเชื่อมโยงกับศิลปะต้องไม่ลืมว่า คุณค่าของเขาอาจจะเกีย่ วกับศิลปะหรือไม่กไ็ ด้ และขอให้ไม่ลมื ว่าสิ่งที่ขับเคลื่อนเขามากกว่างาน มันคือโลกข้างในของเขา” นักศิลปะบ�ำบัดกล่าว ปรัชญพรอธิบายว่า การท�ำศิลปะบ�ำบัดเป็นกระบวนการ ทางจิตวิทยาทีม่ ศี ลิ ปะเข้ามาเกีย่ วข้อง ผูส้ ร้างผลงานสามารถใช้ สือ่ กลางประเภทต่างๆ เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับตนเอง เช่น การวาดรูป การเขียน การสร้างหุ่นมือ เป็นต้น แล้วพูดคุยกับ
นักศิลปะบ�ำบัดถึงงานชิน้ นัน้ โดยไม่ตดั สินทีค่ วามสวยงามของผล งาน เพือ่ ให้เข้าใจอารมณ์และความรูส้ กึ ของตัวเอง การท�ำศิลปะ บ�ำบัดจึงเป็นโอกาสที่กราฟิกดีไซเนอร์จะได้มีช่วงเวลาสั้นๆ ส�ำหรับการสร้างสรรค์งานเพื่อตัวเอง ซึ่งเป็นตัวเลือกหนึ่งใน การรักษาสภาวะสมดุลระหว่างคุณค่าของงานและคุณค่าของตน แต่ ใ นกรณี ที่ บ างคนเกรงว่ า ถ้ า ใช้ สื่ อ กลางที่ เ หมื อ นกั บ การท�ำงานประจ�ำ เช่น หากเป็นคนทีต่ อ้ งวาดรูปอยูแ่ ล้ว การวาด รูปอาจไม่เกิดจินตนาการเพือ่ สร้างผลงานแตกต่างไปจากเดิมได้ นักศิลปะบ�ำบัดจึงแนะน�ำว่าให้ลองใช้ศิลปะรูปแบบอื่นๆ แทน เช่น การปั้น นอกจากนี้ ปรัชญพรกล่าวว่าการเกิดสภาวะไม่สมดุลของ จิตใจเป็นเรื่องปกติที่เกิดได้กับทุกคน และไม่ได้จ�ำกัดอยู่เฉพาะ ในวงการกราฟิกเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าสายอาชีพใดก็ท�ำศิลปะ บ� ำ บั ด ได้ โดยไปพบนั ก ศิ ล ปะบ� ำ บั ด เพื่ อ นั่ ง คุ ย และแนะน� ำ วิธีบ�ำบัดที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละคน ซึ่งอาจเป็น วิธที ดี่ กี ว่าการเล่าเรือ่ งของตัวเองผ่านสือ่ สังคมออนไลน์ทจี่ บั ต้อง ไม่ได้ ปรัชญพรยังมองว่าเป็นโอกาสที่ดีหากองค์กรต่างๆ ลงทุน กับเรื่องศิลปะบ�ำบัดส�ำหรับบุคลากรที่ผลิตผลงานสร้างสรรค์ และงานอื่นๆ เพราะนอกจากจะช่วยคลายความเครียดแล้ว ยั ง ถื อ เป็ น อี ก วิ ธี ที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละกระชั บ ความสัมพันธ์ให้กับพนักงานด้วย แต่หากเป็นคนที่ไม่ถนัดในด้านศิลปะ ก็ยังมีทางเลือกอื่นๆ ในการผ่อนคลายให้เลือกตามความสนใจ “บางคนชอบเล่นดนตรี บางคนชอบเขียน แล้วเราก็ท�ำสิ่งนั้นให้เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ ชีวิตของเราเพื่อที่เราจะได้รู้สึกว่าชีวิตสมดุลมากขึ้น พี่ว่าก็เป็น การบ�ำบัดอย่างหนึง่ ” นักศิลปะบ�ำบัดสรุป การวาดรู ประบายสีเป็ นการท�ำศิ ลปะบ�ำบัด ทีไ่ ด้รบั ความนิ ยมอีกรู ปแบบหนึ่ง
TRAVEL
16 | ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2561
เยาวราชของคนท้องถิ่น จากอดีต ปัจจุบันถึงอนาคต เรื่อง-ภาพ : วริศรา ชัยศุจยากร
ของกิน สีแดง ขนมปัง กวยจับ ๊ และป้ายไฟ คือภาพ ของถนนเยาวราชที่เรามักจะเห็นเป็นประจ�ำเมื่อเลื่อน นิ้วผ่านโซเชียลมีเดีย ผ่านสายตาของนักท่องเที่ยว ทั้งไทยและต่างชาติ
ของอาหารการกินของเยาวราชมีมาตัง้ แต่ตอนทีเ่ ยาวราชยังเป็น ศูนย์รวมความบันเทิง และความโด่งดังของอาหารจีนเยาวราช เกิ ด จากความได้ เ ปรี ย บทางสถานที่ บ วกกั บ วั ฒ นธรรมที่ ใ ห้ ความส�ำคัญกับการกินของกลุ่มคน
แต่ในสายตาของคนท้องถิ่น เยาวราชไม่ได้เป็นเพียงแค่ “สถานที่ท่องเที่ยว” แต่เป็น “บ้าน” ภาพของเยาวราชที่เขาเห็น และผูกพันจึงแตกต่างออกไปด้วยเรื่องราวและความทรงจ�ำ
“เรา (เยาวราช) ดีได้เพราะว่าเรามีทา่ เรืออยูต่ รงนี้ เราสัง่ ซีอวิ๊ จากเมืองจีนเข้ามา เราสั่งทุกอย่างจากฮ่องกงเข้ามา เรามี สวนผักอยูข่ า้ งๆ ซึง่ เราสามารถน�ำผลผลิตทางการเกษตรเข้ามา รวมกัน เราผ่านกลุม่ คนซึง่ ในชีวติ นีใ้ ห้ความส�ำคัญกับการกินมาก เพราะมันเป็นความสุขอย่างเดียวทีเ่ ขาเสพได้” อาเจ็กย้อนอดีต
อาเจ็กสมชัย กวางทองพานิชย์ เจ้าของกิจการขายเชือก วั ย 51 ปี ผู ้ อ าศั ย อยู ่ ใ นย่ า นนี้ ม าทั้ ง ชี วิ ต และมี ค วามสุ ข กั บ การค้นคว้าอดีตของบ้านตัวเอง สวมบทบาทนักประวัติศาสตร์ ชุมชนและตัวแทนของคนท้องถิ่น เล่าเรื่องเยาวราชในสายตา ของคนเยาวราชให้เราฟัง หวนย้อนกลับไปในช่วงประมาณปี 2510 เยาวราชเคยเป็น ศูนย์กลางของความบันเทิงแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ที่ ยิ่งใหญ่ไม่แพ้ทองหล่อหรือสยามสแควร์ในปัจจุบันเพราะเคย เป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงภาพยนตร์ แ ละโรงงิ้ ว นั บ สิ บ ไม่ ว ่ า จะเป็ น โรงภาพยนตร์เท็กซัส ศรีเยาวราช ศรีราชวงศ์ สิริรามาและ อีกมากมาย รวมถึงโรงภาพยนตร์ อีกหนึ่ งแห่ งที่โดดเด่นขึ้ น ในความทรงจ�ำสมัยเด็กของอาเจ็กสมชัย “ถ้าคุณพูดถึงถนนเยาวราช เจ็กจะนึกถึง ‘โรงหนังเทียนกัว เทียน’ ” เทียนกัวเทียนตั้งอยู่บนบริเวณซอยเยาวพานิช ใกล้กับ ปากซอยแปลงนาม ฉายหนังของชอว์บราเดอร์ส สตูดิโอจาก ฮ่องกง “มันเป็นตัวแทนของความเป็น Entertainment Complex (ศูนย์รวมความบันเทิง) ทีเ่ จ็กคิดถึง เรามีจนิ ตนาการกับมันเยอะ คุณสามารถดูไปเรื่อยๆ ทุกโรงได้ด้วย มันมีสิบโรง โรงงิ้วก็ผ่าน คณะตั่งชอหุย ไม่เอา ... เบื่อ ข้ามไปศรีราชวงศ์ ศรีเยาวราชนะ แล้วก็วกมาคาเธ่ย์ ถ้าถามว่าชอบดูหนังเรื่องอะไร เรื่อง ‘ฉาย วันนี้ โปรแกรมหน้า’ กับ ‘เร็วๆ นี้’ สองเรื่อง” อาเจ็กเล่นมุกตลก ชวนให้เราหัวเราะเบาๆ ปัจจุบันมีเพียงโรงภาพยนตร์ไชน่าทาวน์รามาเท่านั้นที่ยัง เปิดให้บริการ เทียนกัวเทียนในความทรงจ�ำของอาเจ็กปิดตัวลง บริเวณที่โรงภาพยนตร์สิริรามาเคยตั้งอยู่ปัจจุบันก�ำลังก่อสร้าง คอนโด ส่วนศรีเยาวราชกลายเป็นที่จอดรถส�ำหรับผู้คนที่แวะ เวียนมาเพื่อทานอาหาร เหลือเพียงแค่ป้ายไฟเก่าที่บ่งบอกถึง ความรุ่งเรืองในฐานะศูนย์รวมความบันเทิงในอดีต ถึงแม้ว่าเยาวราชจะเป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยวในฐานะ ถนนสายอาหารซึ่งเป็นผลจากโครงการของการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทยประมาณปี 2540 แต่อาเจ็กยืนยันว่าชือ่ เสียงในเรือ่ ง
แม้ได้รับการยกย่องในฐานะสตรีทฟู้ดชื่อดังของประเทศ อาเจ็กเล่าว่าโครงการกลับไม่ได้เอื้อประโยชน์ให้กับผู้ประกอบ การเท่ า ไรนั ก และขาดไร้ ค วามเข้ า ใจในการวางแผนและ ความร่วมมือระหว่างผู้มีอ�ำนาจกับคนในชุมชน ท�ำให้รากเหง้า ความละเอียดของวัฒนธรรมการกินเลือนหายไป
ยิ้มยิ้มเป็นภัตตาคารอาหารจีนแต้จิ๋วที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่ง ในเมืองไทย เปิดให้บริการมามากกว่าหนึ่งร้อยปี มีเมนูแนะน�ำ เป็นฮื่อแซ (ปลาดิบจีน) และ อีหมี่ (บะหมี่ไข่น�ำไปทอดกรอบ โรยหน้าด้วยแฮมและไก่ฉีก กินคู่กับน�้ำซุป) เสริมด้วยไส้หมูทอด และแมงกะพรุนน�้ำมันงา ในร้านอาหารที่บรรยากาศไม่เคยเปลี่ยนไป บทสนทนา ระหว่างมื้ออาหารนี้กลับกลายเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงของ ถนนเยาวราช “การอนุรักษ์กับการพัฒนา มันเป็นจุดที่จริงๆ แล้วมันท�ำไป ด้วยกันได้” อาเจ็กสมชัยมองว่าการเข้ามาของรถไฟฟ้าใต้ดนิ ในปัจจุบนั เป็น “การพัฒนาแต่ไม่อนุรกั ษ์” เพราะสถาปัตยกรรมทีส่ ร้างใหม่ ท�ำลายหัวใจของเมืองเก่าไป แต่สิ่งใหม่ที่ได้มาไม่สอดคล้องกับ พื้นที่และไม่ปราณีตนัก อาเจ็กยังกล่าวถึงอนาคตของเยาวราชว่า รถไฟฟ้าใต้ดนิ จะ ช่วยให้การเดินทางมายังพื้นที่ท่องเที่ยวขนาด 4,000 ตร.ม. สะดวกมากขึน้ แต่กย็ งั ไม่มแี ผนมารองรับคนทีจ่ ะหลัง่ ไหลเข้ามา
“
ต้องท�ำให้คนเห็นว่าเห็นว่าอีก 20 ปีข้างหน้า ท�ำตามแผนเป็นขั้นตอนไปแล้วควรจะได้อะไร ใน ห้าปีสิบปีเราจะเห็นอะไร คุณต้องมีภาพเหล่านี้ให้ คนเห็น ไม่ใช่ว่าคุณตามไอ้นี่ไปแล้วกัน แล้วคนจะ ต้องท�ำอะไรล่ะ มันไม่มใี ครเห็นทาง
”
สมชัย กวางทองพานิชย์ เจ้าของกิจการขายเชือกและ นักประวัติศาสตร์ชุมชนเยาวราช
เราจึงถามอาเจ็กว่า แล้วร้านอาหารร้านไหนในย่านนี้ที่ยัง คงรสชาติและความละเอียดแบบจีนดั้งเดิมไว้ได้ อาเจ็กตอบ ค� ำ ถามด้ ว ยการพาเดิ น ออกจากซอยวานิ ช ไปยั ง “ยิ้ ม ยิ้ ม ” ภัตตาคารอาหารเหลาอายุกว่าร้อยปีในซอยเยาวพานิช “ยิ้มยิ้มก็เป็นอีกที่ที่ไม่เคยเปลี่ยนเลย” อาเจ็กสมชัยบอก ก่อนจะเอ่ยทักทายอาเฮียเจ้าของร้านรุ่นที่สาม ที่หน้าตายิ้มยิ้ม สมชื่ออย่างเป็นกันเอง พร้อมกับส่งขนมที่หยิบติดไม้ติดมือมา จากบ้านให้อาเฮียเป็นของฝาก
“การเข้ามาของรถไฟฟ้า คนเข้ามาในวันละกี่ร้อยคน จะมา ทุกกี่นาที แล้วเยาวราชจะเกิดอะไรขึ้น ไม่มีอะไรมาก ก็แค่แถว ขนมปังยาวขึน้ เพราะมันไม่มอี ะไรใหม่และไม่มวี ธิ คี ดิ แบบใหม่ๆ เข้ามา สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือความน่าร�ำคาญก็จะมากขึ้น คนมาถึงก็ จะเบื่อ” อาเจ็กตั้งข้อสังเกต เขาปิดท้ายว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องธรรมดา แต่ต้องมี เป้าหมายให้คนไปข้างหน้า และต้องก�ำหนดภาพของเยาวราชที่ อยากให้เป็นในอนาคตร่วมกันให้ชัดเจน “ต้องท�ำให้คนเห็นว่าเห็นว่าอีก 20 ปีข้างหน้า ท�ำตามแผน เป็นขัน้ ตอนไปแล้วควรจะได้อะไร ในห้าปีสบิ ปีเราจะเห็นอะไร คุณ ต้องมีภาพเหล่านีใ้ ห้คนเห็น ไม่ใช่วา่ คุณตามไอ้นไี่ ปแล้วกัน แล้ว คนจะต้องท�ำอะไรล่ะ มันไม่มใี ครเห็นทาง” อาเจ็กสมชัยกล่าว เวลาบังคับให้เราต้องเดินไปข้างหน้า อนาคตจึงเข้ามาอย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ แต่การก้าวไปข้างหน้าโดยปราศจากจุดมุง่ หมาย อาจจะไม่ใช่การก้าวเดินที่ควรจะเป็น ย้ อ นเวลาไปเยื อ นถิ่ น ชุ ม ชนชาวจี น โพ้นทะเลในไทย ผ่านสองพิพิธภัณฑ์ เยาวราช ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ แ ละ ถิ่นที่อยู่ของกลุ่มชาวจีนอพยพ