เห็ดเป็ นอาหารทีน่ ิยมกันแพร่ หลาย ภาวะพิษจากการกิน เห็ดพบได้ ในหลายประเทศทัว่ โลกเนื่องจากเห็ดขึน้ อยู่ ดาษดืน่ ในประเทศไทยปัญหาการกินเห็ดพิษมักเกิดกับ ประชาชนในชนบททีเ่ ก็บเห็ดกินอย่ างรู้ เท่ าไม่ ถึงการณ์ เห็ด ทีเ่ ก็บมากินมักเป็ นเห็ดทีข่ นึ้ ในป่ าเขาลาเนาไพร ในเรือกสวนไร่ นา
ทีเ่ กาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี มีรายงานการเกิดพิษจากเห็ดชนิดหนึ่ง หลังจากกินเห็ดไปประมาณ 30-60 นาที ผู้กนิ จะมีอาการเคลิบเคลิม้ การรับรู้ ผดิ จากความเป็ นจริง ประสาทหลอน เดินโซเซ จาก การตรวจสอบพบว่ าเป็ นเห็ดทีช่ าวบ้ านเรียกว่ า “เห็ดขีค้ วาย” ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ของเห็ดชนิดนี้ คือ Psilocybe cubensis เห็ดชนิดนีบ้ างคนเรียกว่ า “เห็ดเมา” บ้ างก็เรียกว่ า “เห็ดโอสถลวงจิต” และ มีผ้ ขู นานนามว่ าเป็ น “เห็ดมหัศจรรย์ ” (magic mushroom) เนื่องจากมีสรรพคุณทีท่ าให้ ผ้ บู ริโภคมี อาการมึนเมา เคลิบเคลิม้ เหมือนอยู่ในโลกของความฝันไม่ ต่างจากสู บกัญชา
สารประกอบใน เห็ดเมามีชื่อว่ า ซิโลซัยบิน (psilocybin) เมือ่ กินเห็ดเข้ าไป สารซิโลซัยบินจะถูก ดูดซึมในทางเดินอาหาร ต่ อมาสารนีจ้ ะเข้ าไปทีต่ บั และถูกตับเปลีย่ นเป็ น สารออกฤทธิ์ชื่อ ซิโลซิน (psilocin) ซึ่งจะเข้ าสู่ กระแสเลือด และไปออกฤทธิ์ทสี่ มอง สารซิโลซินมีโครงสร้ างทางเคมี คล้ายกับสารสื่ อประสาทเซโรโทนินในสมองส่ วนหน้ า ซึ่ง ทาหน้ าทีค่ วบคุมอารมณ์ และความคิดอ่ าน สารซิโลซินจะไปแย่งจับกับตัวรับเซโรโทนินบนเซลล์ ประสาท ทาให้ การรับรู้ ของสมองผิดเพีย้ นไป จากปกติ
อาการเมาเห็ดจะเป็ นอยู่นานประมาณ 4-6 ชั่วโมง แล้ วจะดีขนึ้ เอง อาการมักจะไม่ รุนแรง แพทย์จะให้ การรักษา แบบประคับประคองและรักษาตามอาการ หากมีอาการประสาทหลอนมากก็ให้ ยากล่อม ประสาทเพือ่ ให้ อาการสงบ โชคดีทคี่ วามเป็ นพิษของเห็ดเมาค่ อนข้ างต่า จากการศึกษาพบว่ าผู้ทเี่ สี่ ยง อันตรายจากการกินเห็ดนีจ้ ะต้ องกินเห็ดเป็ นปริมาณมากถึงหนึ่งพันเท่ าของปริมาณที่ทาให้ มีอาการ มึนเมา เพราะเมื่อนามาเทียบกับเหล้า พบว่ าหากกินเหล้าปริมาณสิ บเท่ าของที่กนิ จนเมาก็จะหมดสติ ไม่ ร้ ู สึกตัวแล้ ว
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับเห็ด 1.การจาแนกเห็ดว่ าเป็ นชนิดพันธุ์ทมี่ หี รือไม่ มพี ษิ ต้ องอาศัยผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ เห็ดมีพษิ บาง ชนิดพันธุ์มลี กั ษณะคล้ ายกับเห็ดชนิดพันธุ์ทกี่ นิ ได้ 2.ไม่ กนิ เห็ดทีไ่ ม่ ทราบชนิดพันธุ์ 3.ความเป็ นพิษของเห็ดชนิดพันธุ์ต่างๆ แปรเปลีย่ นไปตามสภาพทางภูมศิ าสตร์ 4.ไม่ กนิ เห็ดดิบๆ เห็ดบางชนิดพันธุ์ทมี่ พี ษิ แม้ นามาปรุ งให้ สุกก็ยงั อาจมีพษิ 5.เห็ดทีก่ นิ ได้ เมือ่ ทิง้ ไว้ นานก็อาจมีพษิ ได้ 6.ไม่ กนิ เห็ดร่ วมกับสุ รา เห็ดบางชนิดเมือ่ กินร่ วมกับสุ ราจะเกิดปฏิกริ ิยารุ นแรงจนถึงขั้นเสี ยชีวติ ได้
แหล่งที่มา... HealthToday NO. 169 May 2015 p.58-59 www.healthtoday.net