บทที่ 2 กฎบัตรอาเซียน

Page 1

บทที่ 2 กฎบัตรอาเซียน

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

1 ม Bv ; อ.นำาขวัญ วงศ์ ประทุ


• • • • •

Topic ; ความเป็ นมาของกฎบัตรอาเซียน จุดกำาเนิดของกฎบัตรอาเซียน วัตถุประสงค์ ของกฎบัตรอาเซียน โครงสร้ างของกฎบัตรอาเซียน สาระสำ าคัญของกฎบัตรอาเซียน บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

2


ความเป็ นมาของกฎบัตร ? ช่ วงแรกๆ หลังการก่ อตั้ง ความร่ วมมือด้ านเศรษฐกิจ

เน้ นความร่ วมมือด้ านการเมือง ความร่ วมมือด้ านสั งคม

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

3


การเปลีย่ นแปลงของบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจของโลกและภูมิภาค

มีการรวม กลุ่มทีใ่ กล้ ชิดยิง่ ขึน้

ความขัดแย้ งด้ าน อุดมการณ์ ทางการเมืองใน ยุคสงครามเย็น ยุตลิ ง

การก้าวเข้ าสู่ โลก ยุคโลกาภิวตั น์ ทมี่ ี มหาอำานาจใหม่ คือ จีนและอินเดีย

เผชิญกับภัยคุกคามใน รู ปแบบใหม่ เช่ น โรคระบาด การก่ อการร้ าย การค้ า มนุษย์ สิ่ งแวดล้ อม ภัยพิบัติ

อาเซียนต้ องปรับตัว และปรับระบบการทำางาน บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

4


เน้ นประสิ ทธิภาพและการมีส่วนร่ วมของประชาชน

เพือ่ สร้ างโอกาส เพิม่ ความสามารถในการแข่ งขัน และอำานาจต่ อรอง

ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคง

ประชาคม เศรษฐกิจ

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

ประชาคมสั งคม และวัฒนธรรม

5


จุดกำาเนิดของกฎบัตร ? การประชุมสุ ดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ทีบ่ าหลี ปี 2546 ทีป่ ระชุมได้ เห็นชอบให้ มกี ารจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ.2020) การประชุมสุ ดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ทีเ่ วียงจันทน์ สปป.ลาว ปี 2547 ผู้นำาได้ เห็นชอบต่ อแผนปฏิบัตกิ ารเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme – VAP) ซึ่งกำาหนดมาตรการในการขับเคลือ่ นการสร้ างประชาคมอาเซียน ซึ่งรวมถึงการจัดทำา กฎบัตรอาเซียนด้ วย การประชุมสุ ดยอดอาเซียน ครั้งที่ 11 ปี ถัดมา ได้ เห็นชอบให้ จัดทำากฎบัตรอาเซียนและตั้ง คณะผู้ทรงคุณวุฒิเรื่องกฎบัตร อาเซียน (Eminent Persons Group on the ASEAN Charter-EPG) เพือ่ จัดทำาข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับทิศทางการรวมตัวของอาเซียนและสาระ สำ าคัญทีค่ วร มีปรากฏในกฎบัตรอาเซี น ตรอาเซียน อ.นำาขวัญ บทที่2ยกฏบั 6


จุดกำาเนิดของกฎบัตร ? ปี 2549 การร่ างกฎบัตรอาเซียน การประชุมสุ ดยอด อาเซียน ครั้งที่ 13 ทีส่ ิ งคโปร์ ปี 2550 ผู้นำาอาเซียนลงนามในกฎบัตรอาเซียนระหว่ าง

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

7


มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ อะไร ? (1) เพิม่ ประสิ ทธิภาพของอาเซียนในการดำาเนินการ ตามเป้าหมายต่ างๆ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ การรวมตัว ไปสู่ การเป็ นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 (2) สร้ างกลไกทีจ่ ะส่ งเสริมให้ รัฐสมาชิกปฏิบัตติ าม ความตกลงต่ างๆ ของอาเซียน และ (3) ทำาให้ อาเซียนเป็ นองค์ กรทีใ่ กล้ ชิดและก่ อให้ เกิด ประโยชน์ ต่อประชาชนอย่ าง แท้ จริงมากขึน้ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

8


ประกาศใช้ เมือ่ ไหร่ ? - วันที่ 15 ธันวาคม 2551 - ทีป่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของสมาคมประชาชาติแห่ ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ณ ทีส่ ำ านักงานเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการ์ ตา ประเทศอินโดนีเซีย - กำาหนดให้ การดำาเนินงานของอาเซียน เป็ นไปภายใต้ กฎหมายเดียวกันและปูทางไปสู่ การสร้ างตลาดเดียวใน ภูมภิ าคภายใน 7 ปี บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

9


โครงสร้ างของกฎบัตรอาเซียนมีอะไรบ้ าง ? โครงสร้ างของกฏบัตรนี้ ประกอบด้ วยอารัมภบทและข้ อบังคับ 55 ข้ อใน 13 หมวด หมวด 1 ความมุ่งประสงค์ และหลักการ – กล่าวถึงวัตถุประสงค์ และหลักการ หมวด 2 สภาพบุคคลตามกฏหมาย – ระบุฐานะทางกฏหมาย หมวด 3 สมาชิกภาพ – อธิบายรัฐสมาชิก สิ ทธิและพันธกรณี การรับสมาชิก ใหม่ หมวด 4 องค์ กร – กล่าวถึงองค์ กรและทำางานประกอบด้ วย ทีป่ ระชุมสุ ดยอด อาเซียน คณะมนตรี ประสานงานคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่ าง ๆ "องค์ ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา เลขาธิการอาเซียนและสำ านักเลขาธิการ อาเซียน คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำ าอาเซียน สำ านักเลขาธิการอาเซียนแห่ ง บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ 10 ชาติ องค์กรสิ ทธิมนุษยชนอาเซียน มูลนิธิอาเซียน”


โครงสร้ างของกฎบัตรอาเซียนมีอะไรบ้ าง ? หมวด 5 องค์ ภาวะทีม่ คี วามสั มพันธ์ กบั อาเซียน – มีรายชื่อตามภาคผนวก 2 หมวด 6 ความคุ้มและเอกสิ ทธิ์ – เอกสิ ทธิ์ทางการทูตของอาเซียน หมวด 7 การตัดสิ นใจ – กล่าวถึงเกณฑ์ การตัดสิ นทีอ่ ยู่บนหลักการปรึกษาหารือ และฉันทามติ หมวด 8 การระงับข้ อพิพาท – กล่าวถึงวิธีระงับข้ อพิพาทและคนกลาง โดยที่ ประชุมสุ ดยอดอาเซียน เป็ นช่ องทางสุ ดท้ าย หมวด 9 งบประมาณและการเงิน – กล่าวถึงการจัดทำางบประมาณของสำ านัก เลขาธิการ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

11


โครงสร้ างของกฎบัตรอาเซียนมีอะไรบ้ าง ? หมวด10 การบริหารและขั้นตอนการดำาเนินงาน – กล่าวถึง ประธานอาเซียน พิธีการทางการทูต ภาษาทำางาน หมวด11 อัตลักษณ์ และสั ญลักษณ์ – กล่าวถึงคำาขวัญ ธง ดวงตรา วันและเพลง อาเซียน หมวด12 ความสั มพันธ์ – กล่าวถึงแนวทางและขั้นตอนการเจรจาของอาเซียน กับคู่เจรจา หมวด13 บทบัญญัติทวั่ ไปและบทบัญญัติสุดท้ าย – กล่าวถึงการบังคับใช้ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

12


โครงสร้ างของกฎบัตรอาเซียนมีอะไรบ้ าง ? ภาคผนวก 1 – กล่ าวถึงองค์ กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา ภาคผนวก 2 – กล่ าวถึงองค์ ภาวะทีม่ คี วามสั มพันธ์ กบั อาเซียน คือ รัฐสภา องค์ กรภาคธุรกิจ สถาบันวิชาการ และองค์ กรภาคประชาสั งคม ภาคผนวก 3 – อธิบายรายละเอียดธงอาเซียน ภาคผนวก 4 – อธิบายรายละเอียดดวงตราอาเซียน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ ที่ http://www.baanjomyut.com/library_2/asean_community/03.html บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

13


สาระสำ าคัญของกฎบัตรอาเซียน มีอะไร ? ตามกฎบัตรนี้ อาเซียนมีฐานะเป็ นนิตบิ ุคคล วัตถุประสงค์ ของกฎบัตรเป็ นการประมวลบรรทัดฐาน (Norm) และค่ านิยม (Value) ของอาเซียนทีส่ รุปได้ ดงั นี้

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

14


โครงสร้ างอาเซียนใหม่ ภายใต้ กฎบัตรฯ ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558

ประชาคม การเมือง ความมั่นคง

ประชาคม เศรษฐกิจ

ประชาคมสังคม วัฒนธรรม

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

ภาคประชาสังคม AIPA, CSO, ABAC 15


ด้ านความมัน่ คงของมนุษย์ บรรเทาความยากจน และลดช่ องว่ างการ พัฒนา ส่ งเสริมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผ่าน ความร่ วมมือด้ านการศึกษา และการเรียนรู้ ตลอดชีพ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

16


ด้ านเศรษฐกิจ สร้ างตลาดและฐานการผลิตเดียว และความ สามารถในการแข่ งขันสู ง การรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ มีการเคลือ่ นย้ ายเสรีของสิ นค้ า/บริการ การลงทุน และแรงงาน การเคลือ่ นย้ ายทุนเสรียงิ่ ขึน้

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

17


ด้ านสั งคม ส่ งเสริมอาเซียนทีม่ ปี ระชาชนเป็ นศูนย์ กลาง สร้ าง สั งคมทีป่ ลอดภัยมัน่ คงจากยาเสพติด เพิม่ พูน ความกินดีอยู่ดขี องประชาชนอาเซียน ผ่ าน โอกาสทีท่ ดั เทียมกันในการเข้ าถึงการพัฒนา มนุษย์ - สวัสดิการ และความยุตธิ รรม บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

18


ด้ านสิ่ งแวดล้อม

สนับสนุนการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืนที่ คุ้มครองสภาพแวดล้อม ความยัง่ ยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

19


ด้ านวัฒนธรรม

ส่ งเสริมอัตลักษณ์ ของอาเซียน โดย เคารพความหลากหลาย และอนุรักษ์ มรดก ทางวัฒนธรรม บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

20


ด้ านการเมืองความมัน่ คง คุ้มครองสิ ทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพืน้ ฐาน เสริมสร้ างประชาธิปไตย เพิม่ พูนธรรมาภิบาลและ หลักนิตธิ รรม ตอบสนองต่ อสิ่ งท้ าทายความมั่นคง เช่ น การก่ อการร้ าย

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

21


ความสำ าคัญของกฎบัตรอาเซียนต่ อประเทศไทย 1) ไทยเป็ น 1 ใน 5 ของผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียน เป็ นสถานทีก่ าำ เนิดของ อาเซียน และมีบทบาทนำาในอาเซียนมาโดยตลอด ไทยเป็ น ประธานอาเซียนในปี 2551-2552 และระหว่างปี 2551-2555 ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ จะเข้ ารับตำาแหน่ งเลขาธิการอาเซียน ซึ่ง เป็ นการตอกย้ำ าบทบาทนำาของไทย ทั้งนี้ การมีกฎบัตรอาเซียน จะช่ วยให้ อาเซียนมีความเข้ มแข็งยิง่ ขึน้ จะเป็ นการสะท้ อนความ สำ าเร็จทั้งของไทยและภูมิภาคนีโ้ ดยรวม บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

22


ความสำ าคัญของกฎบัตรอาเซียนต่ อประเทศไทย 2) กฎบัตรอาเซียนให้ ความสำ าคัญกับการปฏิบัติตาม พันธกรณีต่างๆ ของ ประเทศสมาชิก ซึ่งจะช่ วยสร้ างเสริมหลักประกันให้ กบั ไทยว่ าจะ สามารถได้ รับผลประโยชน์ ตามทีต่ กลงกันไว้ อย่ างเต็มที่ นอกจากนี้ การ ปรับปรุงการดำาเนินงานและโครงสร้ างองค์ กรของอาเซียนให้ มี ประสิ ทธิภาพมาก ขึน้ และการเสริมสร้ างความร่ วมมือใน 3 เสาหลักของ ประชาคมอาเซียนจะเป็ นฐานสำ าคัญทีจ่ ะทำาให้ อาเซียนสามารถตอบ สนองต่ อความต้ องการและผลประโยชน์ ของรัฐสมาชิก รวมทั้ง ยก สถานะและอำานาจต่ อรอง และภาพลักษณ์ ของประเทศสมาชิกในเวที ระหว่างประเทศได้ ดยี งิ่ ขึน้ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

23


ไทยผลักดันให้ ปรากฏในกฎบัตรฯ (1) การจัดตั้งองค์ กรสิ ทธิมนุษยชนของอาเซียน ทั้งนี้ จะต้ องมีการจัดทำา Terms of Reference เพือ่ กำาหนดรายละเอียดเกีย่ วกับอำานาจหน้ าทีข่ อง องค์ กรนีต้ ่ อไป (2) การให้ อาำ นาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่ องและรายงานการปฏิบัติตาม ความตกลงของรัฐ สมาชิก (3) การจัดตั้งกลไกสำ าหรับการระงับข้ อพิพาทต่ างๆ ระหว่ างประเทศสมาชิก (4) การระบุให้ ผู้นำาเป็ นผู้ตัดสิ นว่าจะดำาเนินการอย่ างไรต่ อรัฐผู้ละเมิด พันธกรณี ตามกฎบัตรฯ อย่ างร้ ายแรง (5) การเปิ ดช่ องให้ ใช้ วธิ ีการอื น่ ในการตัดสิ นใจได้ หากไม่ มฉี ันทามติ 24 บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ


ไทยผลักดันให้ ปรากฏในกฎบัตรฯ (6) การให้ ความสำ าคัญกับการส่ งเสริม การปรึกษาหารือระหว่ าง ประเทศสมาชิกเพือ่ แก้ไขปัญหาทีก่ ระทบต่ อผลประโยชน์ ร่ วม ซึ่งทำาให้ การตีความหลักการห้ ามแทรกแซงกิจการภายในมีความ ยืดหยุ่นมากขึน้ (7) การเพิม่ บทบาทของประธานอาเซียนเพือ่ ให้ อาเซียนสามารถ ตอบสนองต่ อสถานการณ์ ฉุกเฉินได้ อย่ างทันท่ วงที (8) การเปิ ดช่ องทางให้ อาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ กบั องค์ กรภาค ประชาสั งคมมากขึน้ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

25


ไทยผลักดันให้ ปรากฏในกฎบัตรฯ (9) การปรับปรุ งโครงสร้ างองค์กรให้ มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เช่ น ให้ มีการประชุ มสุ ดยอดอาเซียน 2 ครั้งต่ อปี จัดตั้งคณะมนตรี เพือ่ ประสานความร่ วมมือในแต่ ละ 3 เสาหลัก และการมีคณะผู้แทน ถาวรประจำาอาเซียนทีก่ รุงจาการ์ ตา เพือ่ ลดเวลาและค่ าใช้ จ่ายใน การประชุ มของอาเซียน เป็ นต้ น

บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

26


สรุป บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

27


กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) 1) ในแง่ กฏหมาย ถือเป็ นธรรมนูญ (Constitution) ขององค์ กร 2) ในแง่ การเมือง เป็ นการแสดงถึงเจตจำานงค์ ทางการเมืองทีจ่ ะให้ ความ ร่ วมมือซึ่งกันและกัน บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

28


กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ในแง่ กฎหมาย : ธรรมนูญ (Constitution) เป็ นการก่อตั้ง ASEAN ให้ เป็ นองค์ การระหว่ างประเทศ ยืนยันการมีนิติฐานะของ ASEAN ระบุหลักการสำ าคัญ อาทิ การไม่ แทรกแซงกิจการภายใน, เคารพใน อธิปไตยและบูรณภาพแห่ งดินแดน, การระงับข้ อ พิพาทโดยสั นติวธิ ี เป็ นต้ น [ทำาให้ ASEAN เป็ น Rules Based Organization] การจัดโครงสร้ างภายใน ASEAN บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

29


กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ในแง่ การเมือง : เจตจำานงค์ ทางการเมืองทีจ่ ะให้ ความ ร่ วมมือซึ่งกันและกัน วิสัยทัศน์ Unity in diversity (ASEAN Solidarity) เอกฉันท์ (Consensus) บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

30


? Q&A บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

31


คำาถามท้ ายบทที่ 2 1) กฎบัตรอาเซียนเกิดขึน้ ได้ อย่ างไร ? และเริ่มมี การใช้ อย่ างเป็ นทางการเมือ่ ไหร่ ? 2) จากความร่ วมมือกันในการกำาหนดกฎหมาย บังคับใช้ ทำาให้ สถานะภาพของอาเซียนเป็ น เช่ นไร ? 3) โครงสร้ างอาเซียนใหม่ ภายใต้ กฎบัตรฯแตกต่ าง บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

32


งานเดีย่ ว 1) ให้ นักศึกษาจับสลากเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ ของกฏบัตร อาเซียนในแต่ ละด้ าน 2) ค้ นหา และศึกษาข้ อมูลข่ าวสารทีเ่ ป็ นปัจจุบันเกีย่ วกับ วัตถุประสงค์ ของกฏบัตรอาเซียนในแต่ ละด้ านนำาเสนอ หน้ าชั้นเรียน (ไม่ เกินคนละ 3 นาที) 3) ส่ งต้ นฉบับข้ อมูลข่ าวสาร (Print / Serox) ส่ งในวันนำา เสนอ บทที่2 กฏบัตรอาเซียน อ.นำาขวัญ

33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.