บทที่ 3 ประชาคมการเมืองและควมมั่นคง

Page 1

บทที่ 3

ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง

By ; อ.นำาขวัญ วงศ์ ประทุม


Topic ;

- โครงสร้ างประชาคมการเมืองและความ มัน่ คงอาเซียน - การเกิดของประชาคมการเมืองและความ มัน่ คงอาเซียน -APSC คือ ?


โครงสร้ างใหม่ ของอาเซียนภายใต้ กฏบัตรอาเซียน ทีป่ ระชุ มสุ ดยอดอาเซียน (ASEN Summit) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEN Coordinating Council) คณะรัฐมนตรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน

คณะมนตรีประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน (ASEN Political Security Community Council)

คณะรัฐมนตรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน

องค์ กรเฉพาะสาขาอืน่ ๆ ภายใต้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ทีป่ ระชุ มรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ทีป่ ระชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ทีป่ ระชุมรัฐมนตรีอาเซียน ด้ านกฎหมาย ทีป่ ระชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ คณะกรรมการเขตปลอดอาวุธ นิวเคลียร์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีป่ ระชุมอาเซียนว่าด้ วยความร่ วมมือด้ านการเมืองและความ มัน่ คงในภูมิภาคเอเซีย แปซิฟิก (ASEN Sectoral Bodies Under APSC Piliar)


การเกิดของประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน เกิดจาการต่ อยอดให้ เป็ นรูปธรรม ข้ อบทต่ าง ๆ ภายใต้ สนธิสัญญามิตรภาพและความร่ วมมือในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia- TAC) ปฏิญญาว่ าด้ วยเขตแห่ งสั นติภาพ เสรีภาพ และความเป็ นกลาง (Zone of Peace , Freedom and Neutrality Declaration - ZOPFAN) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมภิ าคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone-SEANWFZ) การประชุมอาเซียนว่าด้ วยความร่ วมมือด้ านการมืองและความมัน่ คงในภูมภิ าค เอเซียแปซิฟิก (ASEN Regional Forum-ARF)


สมาชิกเข้ าร่ วมประชุ ม 26 ประเทศ อาเซียน 10 ประเทศ

กลุ่มประเทศสำ าคัญ 1. สหรัฐอเมริกา 2. รัสเซีย 3. จีน 4. ญีป่ ุ่ น 5. อินเดีย 6. ออสเตรเลีย 7. กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป


APSC คือ ? APSC คือ แผนงานเพือ่ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community) -เอกสารแผนปฏิบัตกิ ารสำ าหรับ การจัดตั้งประชาคมความมั่นคง อาเซียน -แผนปฏิบัตกิ ารเวียงจันทร์ (แวป) -ข้ อตัดสิ นใจต่ าง ๆ จากองค์ กร เฉพาะด้ านของอาเซียน

-ระบุให้ มีกจิ กรรมตาม วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งฯ - เอกสารการวางมาตรการที่ จำาเป็ นระหว่ างปี 2547-2553


APSC คือ ? คือ เอกสารแผนงานและกรอบ เวลาสำ าหรับการจัดตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558


วัตถุประสงค์ เพือ่ ? (1) สร้ างค่านิยมและแนวปฏิบัตริ ่ วมกันของ อาเซียนในด้ านต่ างๆ เช่ น ค่านิยมว่าด้ วยการไม่ ใช้ กาำ ลังแก้ไข ปัญหา และการไม่ ใช้ อาวุธนิวเคลียร์ (2) เสริมสร้ างขีดความสามารถของอาเซียนในการ เผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรู ปแบบเดิมและรู ปแบบใหม่ บนพืน้ ฐานของการมีความมั่นคงของมนุษย์ และ (3) ให้ ประชาคมอาเซียนมีความสั มพันธ์ ที่ แน่ นแฟ้นและสร้ างสรรค์กบั ประชาคมโลก โดยให้ อาเซียนมี บทบาทนำาในภูมิภาค


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? 1) ความมุ่งหวังว่ า ประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (APSC ) จะให้ ความร่ วมมือด้ าน การเมืองและความมั่นคงของอาเซียน ให้ อยู่อย่ าง สั นติระหว่ างกันและกับโลกภายนอกในบรรยากาศ เป็ นประชาธิปไตย ความยุตกิ รรมและการมีความปร องดรองต่ อกัน


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? 2) APSC จะส่ งเสริมพัฒนาด้ านการเมืองโดยยึด หลักการของประชาธิปไตย นิตธิ รรม ธรรมาภิบาล ความเคารพ การส่ งเสริมและคุ้มครองสิ ทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพืน้ ฐานภายใต้ กฏบัตรอาเซียน


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? 3) APSC จะส่ งเสริมความร่ วมมือทีแ่ น่ นแฟ้ นและมี ประโยชน์ ร่วมกันระหว่ างอาเซียนกับปท.คู่เจรจา และมิตรประเทศ 4) APSC สนับสนุนแนวทางด้ านความมั่นคงที่ ครอบคลุมทุกมิติ ซึ่งมีความเกีย่ วโยงพัฒนาการด้ าน การเมือง เศรษฐกิจและสั งคมอย่ างใกล้ ชิด


คุณลักษณะของ APSC มีอะไรบ้ าง ? 1) ประชาชนมีกฏเกณฑ์ และบรรทัดฐานและค่ านิยม ร่ วมกัน (A rule – based community of shared values and norms) ก. ความร่ วม ข. การสร้ าง มือด้ านการ และแบ่ งบัน พัฒนาทางการ กฎเกณฑ์ ร่วม เมือง

ค. ภูมภิ าคทีม่ พี ลวัตร และมองไปยังโลก ภายนอก ในโลกทีม่ ี การรวมตัวและพึง่ พา อาศัยกันยิง่ ขึน้


คุณลักษณะของ APSC มีอะไรบ้ าง ?

ก. 1) ความร่ วมมือด้ านการพัฒนาการทางการเมือง ก 1.1) ส่ งเสริมความเข้ าใจและการยอกรับ ในระบอบการเมืองต่ าง ๆ วัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ ของรัฐสมาชิกอาเซียน กิจกรรม 1)จัดตั้งองค์ กรความร่ วมมือเฉพาะด้ าน เพือ่ ดำาเนินมาตรการทีจ่ ำาเป็ นในการส่ ง เสริมความเข้ าและการยอมรับในระบอบ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ของประเทศสมาชิกอาเซียน 2)จัดสั มมนา / ประชุมเชิงปฏิบตั ิการเกีย่ ว กับสถาบันประชาธิปไตย 3)พยายามรวบรวมแนวปฏิบตั ิทดี่ ที สี่ ุ ด ของการสั งเกตการณ์ การเลือกตั้งโดย สมัครใจ

ก.1.2 ปูทางสำ าหรับกรอบองค์ กรเพือ่ อำานวยความสะดวก ต่ อการไหลเวียนของข้ อมูลโดยเสรี เพือ่ การสนับสนุน และความช่ วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่ างรัฐสมาชิก อาเซียน กิจกรรม 1)สนับสนุนให้ รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้ านข้ อมูลข่ าวสาร (AMRO) พัฒนากรอบองค์ กรฯ 2)เพิม่ ศักยภาพของสื่ อเพือ่ ส่ งเสริมการสร้ างประชาคม ในระดับภูมิภาคพิจารณาความเป็ นไปได้ ในการจัดตั้ง คณะบุคคลด้ านสื่ อของอาเซียนฯ 3)ให้ มีการฝึ กงาน ทุนฝึ กงาน มอบทุนการศึกษาการ ประชุมปฏิบัตกิ ารการศึกษาดูงานและแลกเปลีย่ นผู้สื่อ ข่ าวเพือ่ เพิม่ ศักยภาพและความเป็ นมืออาชีพ 4)อำานวยความสะดวกให้ มีการสร้ างภาพยนตร์ รายการ โทรทัศน์ เกมส์ เพือ่ ส่ งเสริมการแลกเปลีย่ นทาง วัฒนธรรม


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ก 1.3) จัดทำาแผนงานเพือ่ สนับสนุนและให้ ความช่ วยเหลือ ซึ่งกันและกันระหว่ างรัฐสมาชิกอาเซียนในการพัฒนา ยุทธศาสตร์ เพือ่ เสริมสร้ างหลักนิตธิ รรม ระบบยุตธิ รรม และโครงสร้ างพืน้ ฐานทางกฎหมาย ก 1.4) ส่ งเสริมธรรมาภิบาล ก 1.5 ส่ งเสริมและคุ้มครองสิ ทธิมนุษยชน ก 1.6 เพือ่ การมีส่วนร่ วมขององค์ กรทีม่ คี วามสั มพันธ์ กบั อาเซียนทีเ่ กีย่ วข้ องต่ อการขับเคลือ่ นความคิดริเริ่มเพือ่ พัฒนาการทางการเมืองของอาเซียนให้ ดาำ เนินไปข้ างหน้ า


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ก 1.7) ป้ องกันและปราบปรามการทุจริต ก 1.8 ส่ งเสริมหลักการประชาธิปไตย ก 1.9 ส่ งเสริมสั นติภาพและเสถียรภาพในภูมภิ าค


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ก2. การสร้ างและแบ่ งบันกฏเกณฑ์ ร่วม ก.2.1) ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนให้ เป็ นไป ตามกฎบัตรอาเซียน ก.2.2) เสริมสร้ างความร่ วมมือภายใต้ สนธิสัญญา มิตรภาพและความร่ วมมือใน เอเซียตะวันออกเฉียง ใต้ (PAC) ก.2.3) ส่ งเสริมให้ มกี ารดำาเนินการอย่ างสมบูรณ์ ตามปฏิญญาว่ าด้ วยแนวปฏิบัตขิ องภาคีในทะเลจีนใต้ (DOC) เพือ่ สั นติภาพและเสถียรภาพในทะเลจีนใต้


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ก2. การสร้ างและแบ่ งบันกฏเกณฑ์ ร่วม (ต่ อ) ก.2.4) ส่ งเสริมให้ มนั่ ใจว่ ามีการดำาเนินการตาม สนธิสัญญาว่ าด้ วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ (ซอนเฟซ) และแผนปฏิบตั กิ ารภายใต้ สนธิสัญญาฯ ก.2.5) ส่ งเสริมความร่ วมมือทางทะเลอาเซียน


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข. ภูมิภาคทีม่ ีความเป็ นเอกภาพ สงบสุ ข และมีความแข็งแกร่ ง พร้ อมทั้งมีความรับผิดชอบร่ วมกันเพือ่ แก้ไขปัญหาความมั่นคง ทีค่ รอบคลุมในทุกมิติ ข.1) ส่ งเสริมให้ มั่นใจว่ ามีการดำาเนินการตามสนธิสัญญาว่ าด้ วย เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ซอนเฟซ) และแผนปฏิบัตกิ ารภายใต้ สนธิสัญญาฯ ข.1.1) เสริมสร้ างมาตรการการสร้ างความไว้ เนือ้ เชื่อใจ ข.1.2) ส่ งเสริมความโปร่ งใสและความเข้ าใจในนโยบาย กลาโหมและมุมมองด้ านความมั่นคง


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข.1.3) สร้ างกรอบการดำาเนินการทางสถาบันทีจ่ ำาเป็ นเพือ่ สร้ างเสริมกระบวนการภายใต้ กรอบการประชุ ม ARF เพือ่ สนับสนุนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ข.1.4) เสริมสร้ างความพยายามในการธำารงความเคารพใน บูรณภาพแห่ งดินแดนอธิปไตยและเอกภาพของรัฐสมาชิกตามที่ กำาหนดไว้ ในปฎิญญาว่าด้ วยหลักการแห่ งกฎหมายระหว่ าง ประเทศเกีย่ วกับความสั มพันธ์ ฉันท์ มิตรและความร่ วมมือโดยเป็ น ไปตามกฏบัตรสหประชาชาติ ข.1.5) ส่ งเสริมการพัฒนาบรรทัดฐานเพือ่ เสริมสร้ างความ ร่ วมมือด้ านการป้ องกันทางทหารและความมั่นคงอาเซียน


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข.2) การแก้ ไขความขัดแย้ งและการระงับข้ อพิพาทโดยสั นติ ข.2.1) พัฒนารู ปแบบการระงับข้ อพิพาทโดยสั นติเพิม่ เติมจากรู ปแบบทีม่ ีอยู่และพิจารณาเสริมสร้ างรู ปแบบดังกล่าว ให้ แข็มแข็งขึน้ ด้ วยกลไกเพิม่ เติมตามทีจ่ ำาเป็ น ข.2.2) เสริมสร้ างกิจกรรมการค้นคว้ าวิจัยเรื่องสั นติภาพ การจัดการความขัดแย้ งและการแก้ไขความขัดแย้ ง ข.2.3) ส่ งเสริมความร่ วมมือในภูมิภาคเพือ่ ธำารงไว้ ซึ่ง สั นติภาพและเสถียรภาพ


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข.3) การสร้ างสั นติภาพหลังความขัดแย้ ง ข.3.1) เสริมสร้ างความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมของ อาเซียน ข.3.2) ดำาเนินการตามโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสร้ างขีดความสามารถในพืน้ ทีภ่ ายหลังความขัดแย้ ง ข.3.3) เพิม่ ความร่ วมมือในด้ านการไกล่เกลีย่ ประนีประนอมและค่านิยมทีม่ ีสันติภาพเป็ นศูนย์ กลาง


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข.4) ประเด็นความมั่นคงรู ปแบบใหม่ ข.4.1) เสริมสร้ างความความร่ วมมือในการรับมือ ประเด็นปัญหาความมั่นคงรู ปแบบใหม่ โดยเฉพาะเรื่องการต่ อ ต้ านอาชญากรรมข้ ามชาติและความท้ าทายข้ ามแดนอืน่ ๆ ข.4.2) เพิม่ ความพยายามในการต่ อต้ านการก่ อการร้ าย โดยการให้ สัตยาบันโดยเร็วและดำาเนินการอย่ างเต็มทีต่ าม อนุสัญญาอาเซียนว่ าด้ วยการต่ อต้ านการก่อการร้ าย


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ข.5) เสริมสร้ างความร่ วมมือของอาเซียนด้ านการจัดการภัย พิบัติ และการตอบสนองต่ อสถานการณ์ ฉุกเฉิน ข.6) การตอบสนองอย่ างมีประสิ ทธิภาพและทันกาลต่ อประเด็น เร่ งด่ วนหรือสถานการณ์ วกิ ฤติทสี่ ่ งผลกระทบต่ ออาเซียน


องค์ ประกอบของ APSC มีอะไรบ้ าง ? ค. ภูมิภาคทีม่ ีพลวัตรและมองไปยังโลกภายนอก ในโลกทีม่ ีการ รวมตัวและพึง่ พาอาศัยกันยิง่ ขึน้ ค.1) การส่ งเสริมความเป็ นศูนย์ กลางของอาเซียนเป็ น ศูนย์ กลางในความร่ วมมือระหว่ างภูมิภาคและการสร้ าง ประชาคม ค.2) ส่ งเสริมความสั มพันธ์ ทเี่ พิม่ พูนกับประเทศ ภายนอก ค.3) เสริมสร้ างการปรึกษาหารือและความร่ วมมือใน ประเด็นพหุภาคีทเี่ ป็ นความกังวลร่ วมกัน


Q&A


คำาถามท้ ายบท บทที่ 3 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร ? 2. คณะมนตรีประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีกรอบ ในการทำางานเกีย่ วกับอะไรบ้ าง ? และอยู่ภายใต้ การดูแลของ หน่ วยงานไหน ?

1. APSC มีส่วนเกีย่ วข้ องกับประชาคมการเมืองและความ มัน่ คงอาเซียน อย่างไร ? และมีวตั ถุประสงค์ และองค์ ประกอบอะไรบ้ าง ?


งานกลุ่ม 1) ให้ นักศึกษาแบ่ งกลุ่มศึกษารากฐานทีค่ วามร่ วมมือและความตกลงของอาเซียนด้ าน การเมืองและความมัน่ คง ต่ อไปนี้ 1.1) ข้ อบทต่ าง ๆ ภายใต้ สนธิสัญญามิตรภาพและความร่ วมมือในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia- TAC) 1.2) ปฏิญญาว่ าด้ วยเขตแห่ งสั นติภาพ เสรีภาพ และความเป็ นกลาง (Zone of Peace , Freedom and Neutrality Declaration – ZOPFAN) 1.3) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone-SEANWFZ) 1.4) การประชุมอาเซียนว่ าด้ วยความร่ วมมือด้ านการมืองและความมั่นคงในภูมภิ าค เอเซียแปซิฟิก (ASEN Regional Forum-ARF) 2) นำาเสนอเป็ น PPT. ในวันที่ 4/5 ก.พ. 2558 และส่ งข้ อมูลให้ ก่อนเทีย่ งวันที่ 3/4 ก.พ. 58


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.