บทที่ 3 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม1

Page 1

ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน

อ.นำาขวัญ วงศ์ ประทุม

1


ประเด็น

• กฎบัตรอาเซียน ทีเ่ กีย่ วกับประชาคมสั งคมและวัฒนธรรม • ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรม คือ ? • หน่ วยงานหลักระดับชาติดูแลประชาคมสั งคมและ วัฒนธรรมอาเซียน

2


กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ในระหว่ างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั ง้ ที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย. 2550 ผู้นำาอาเซียนได้ ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็ นเสมือนธรรมนูญของ อาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้ างองค์ กร โดยมีเป้า หมาย 3 ประการ คือ

- มีกฎกติกาในการทำางาน (Rules-based) - มีประสิทธิภาพ - มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง

• มีผลใช้ บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551

ที่มา: กรมอาเซียน


กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ที่เกี่ยวกับประชาคมสังคมและวัฒนธรรม • การเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรี ภาพขันพื ้ ้นฐาน • การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเพื่อประโยชน์ของประชาชนรุ่นปั จจุบนั และ อนาคต • พัฒนาความเป็ นอยูท่ ี่ดี การดำารงชีวิต และสวัสดิการของประชาชน เพื่อสร้ างประชาคมอาเซียน • มีความรับผิดชอบทางสังคม เพื่อที่จะตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อความท้ าทายและโอกาสในปั จจุบนั และอนาคต


กฎบั กฎบัตตรอาเซี รอาเซียยนน (ASEAN (ASEAN Charter) Charter) ทีที่ เ่ เกีกี่ ย่ ยวกั วกับบประชาคมสั ประชาคมสังงคมและวั คมและวัฒฒนธรรม นธรรม (ต่(ต่ออ)) • เสริ มสร้ างพลังประชาชนและเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งแห่งประชาคมอาเซียน • เพิ่มพูนความเป็ นอยูท่ ี่ดีและการดำารงชีวิตของประชาชนอาเซียนด้ วยการให้ ประชาชนมีโอกาสที่ทดั เทียมกันในการเข้ าถึงการพัฒนามนุษย์ สวัสดิการ สังคม และความยุติธรรม • ส่งเสริ มอาเซียนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง ทุกภาคส่วนของสังคมได้ รับการ ส่งเสริมให้ มีสว่ นร่วม และได้ รับประโยชน์จากการรวมตัวและการสร้ าง ประชาคมอาเซียน


ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

คือ ? 6


ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) เน้นให้ความสำาคัญ ในประเด็นของทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนทำาให้เกิดความกลมเกลียว ในหมู่ประชาชนอาเซียน • โดยพิมพ์เขียวประชาคมสังคมและวัฒนธรรมนี้ ถือเป็ นตัวแทนที่สื่อ ถึงมิติของ “มนุษย์” เป็ นหลัก และเน้นความร่ วมมือในอาเซียน เพื่อให้ เกิดการยกระดับชีวติ ความเป็ นอยูข่ องประชาชน โดยมีเป้ าหมายที่ สร้างและพัฒนามาจากความต้องการให้สงั คมมีความรับผิดชอบ โดยมี ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง

7



9


A. การพัฒนามนุษย์ A1. ให้ ความสำ าคัญกับการศึกษา A2. การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ A3. ส่ งเสริมการจ้ างงานทีเ่ หมาะสม A4. ส่ งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ A5. การอำานวยความสะดวกในการเข้ าถึงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเชิง ประยุกต์ A6. เสริมสร้ างทักษะในการประกอบการสำ าหรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พกิ าร A7. พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ 10


11


B. การคุ้มครองและสวัสดิการสั งคม B1. การขจัดความยากจน B2. เครือข่ ายความปลอดภัยทางสั งคมและความคุ้มกันจากผลกระ ทบด้ านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวฒ ั น์ B3. ส่ งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้ านอาหาร B4. การเข้ าถึงการดูแลสุ ขภาพและส่ งเสริมการดำารงชีวติ ทีม่ ีสุขภาพ B5. การเพิม่ ศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่ อ B6. รับประกันอาเซียนทีป่ ลอดยาเสพติด B7. การสร้ างรัฐทีพ่ ร้ อมรับกับภัยพิบัตแิ ละประชาคมทีป่ ลอดภัยยิง่ ขึน้

12


13


C. ความยุตธิ รรมและสิ ทธิ C1. การส่ งเสริมและคุ้มครองสิ ทธิและสวัสดิการสำ าหรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พกิ าร C1. การคุ้มครองและส่ งเสริมแรงงานโยกย้ ายถิน่ ฐาน C1. ส่ งเสริมความรับผิดชอบต่ อสั งคมขององค์ กรธุรกิจ

14


15


กลไกพิเศษด้ านสิทธิมนุษยชน กฎบัตรอาเซียนข้ อ 14 ระบุให้ มีการจัดตังองค์ ้ กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เพื่อให้ สอดคล้ องกับหลักการและวัตถุประสงค์หลักของกฎบัตรในเรื่ องการ ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรี ภาพขันพื ้ ้นฐาน • AICHR (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights) จึงได้ จดั ตังขึ ้ ้นเมื่อเดือนตุลาคม 2552 ประกอบด้ วยผู้แทนประเทศ ละ 1 คน รวม 10 คน สำาหรับผู้แทนไทย คือ นางสาวศรี ประภา เพ็ชรมีศรี อาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล) •

16


กลไกพิเศษด้ านสิทธิมนุษยชน (ต่ อ) ภายใต้ แผนงานการจัดตัง้ ASCC ภายใต้ เป้าหมายความยุติธรรมและ สิทธิ ระบุให้ มีการจัดตังคณะกรรมาธิ ้ การอาเซียนด้ านการส่งเสริ มและ คุ้มครองสิทธิสตรี และสิทธิเด็ก (ASEAN Commission on the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children : ACWC) • ACWC ได้ จดั ตังขึ ้ ้นเมื่อเดือนเมษายน 2553 ผู้แทนประเทศละ 2 คน (ด้ านสิทธิเด็ก 1 คน และด้ านสิทธิสตรี 1 คน) รวมเป็ น 20 คน สำาหรับผู้แทน ไทย ได้ แก่ นางสายสุรี จุติกลุ (ด้ านสิทธิเด็ก) และนางกานดา วัชราภัย (ด้ านสิทธิสตรี ) •

17


D. ส่ งเสริมความยัง่ ยืนด้ านสิ่ งแวดล้ อม D1. การจัดการปัญหาสิ่ งแวดล้อมของโลก D2. การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่ งแวดล้อมข้ ามแดน D3. ส่ งเสริมการพัฒนาที่ยงั่ ยืนโดยการศึกษาด้ านสิ่ งแวดล้อม และการมีส่วนร่ วมของ ประชาชน D4. ส่ งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่ งแวดล้ อม (อีเอสที) D5. ส่ งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำารงชีวติ ในเขตเมืองต่ างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง D6. การทำาการประสานกันเรื่องนโยบายด้ านสิ่ งแวดล้ อมและฐานข้ อมูล D7. ส่ งเสริมการใช้ ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่ างยัง่ ยืน D8. ส่ งเสริมการจัดการเกีย่ วกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่ างยัง่ ยืน D9. ส่ งเสริมความยัง่ ยืนของทรัพยากรน้ำ าจืด D10. การตอบสนองต่ อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่ อผลกระทบ D11. ส่ งเสริมการบริหารจัดการป่ าไม้ อย่างยัง่ ยืน

18


19


E. การสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียน E1. ส่ งเสริมการตระหนักรับรู้ เกีย่ วกับอาเซียน และความรู้ สึกของ การเป็ นประชาคม E2. การส่ งเสริมและการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน E3. ส่ งเสริมการสร้ างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม E4. การมีส่วนเกีย่ วข้ องกับชุ มชน

20


ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในกลุ่มสมาชิกอาเซียน


F. การลดช่ องว่ างทางการพัฒนา

22


กลไกระดับอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียนหรื อประชุมผู้นำาอาเซียน (ASEAN Summit) คณะมนตรี ประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC)

C P R

คณะมนตรี ประชาคมการเมือง และความมัน่ คงอาเซียน (APSC/SOM)

คณะมนตรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC/SEOM)

คณะมนตรี ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC/SOCA)

ความร่ วมมือเฉพาะด้ านระดับ รัฐมนตรี และ ระดับ จนท. อาวุโส และกลไก สิทธิมนุษยชน

ความร่ วมมือเฉพาะด้ านระดับ รัฐมนตรี และ ระดับ จนท. อาวุโส

ความร่ วมมือเฉพาะด้ านระดับ รัฐมนตรี และระดับ จนท. อาวุโส 19 สาขาการประชุม และ กลไกสิทธิมนุษยชน

โดยมีสาำ นักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat-ASEC) เป็ นฝ่ ายเลขาฯ 23


การประชุ การประชุมมรมต./จนท.อาวุ รมต./จนท.อาวุโโสส(19 (19สาขา สาขา)) ภายใต้ ภายใต้ ASCC ASCC

 เทคโนโลยีสารสนเทศ (AMRI)

 สาธารณสุข (AHMM)

 ยาเสพติด (ASOD)  วัฒนธรรมและศิลปะ (AMCA)  การศึกษา (ASED)  การประชุมภาคีตามข้ อตกลงอาเซียนด้ าน มลพิษหมอกควันข้ ามแดน (COP)  การจัดการภัยพิบตั ิ (AMMDM)

 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (AMMST)

โทรคมนาคมและเทคโนโลยี (TELMIN)  เกษตรและป่ าไม้ (AMAF)  แรงงาน (ALMM)  การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน (AMRDPE)  สวัสดิการสังคมและการพัฒนา(AMMSWD) ผู้รับ ผิดชอบ คือ สป.พม.  เยาวชน (AMMY) ผู้รับผิดชอบ คือ สท.  ข้ าราชการพลเรื อน (ACCSM)

 การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับรั ฐมนตรี

 สตรี (AMMW) ผู้รับผิดชอบ คือ สค.

 สิ่งแวดล้ อม (AMME)

ของอนุภมู ิภาคเพื่อขับเคลื่อนเรื่ องมลพิษหมอกควันข้ าม แดน (MSC)

 สาขากีฬา (AMMS)

24


การเป็ นหน่ วยงานหลักระดับชาติของ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) • คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2554 รับทราบคำาสัง่ นายก รัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 มอบหมายให้ กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมัน่ คงมนุษย์ (พม.) เป็ นหน่วยงานรับผิดชอบ หลัก ทังในระดั ้ บหัวหน้ าคณะผู้แทน และระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโสของ คณะมนตรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) • นายกรัฐมนตรี ได้ ลงนามในคำาสัง่ แต่งตังคณะกรรมการขั ้ บเคลื่อนการ เป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555 โดยมี รมว. พม. เป็ นประธาน ปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้ องเป็ นกรรมการ


ภารกิจสำาคัญที่ พม. ต้ องดำาเนินการ ในฐานะหน่ วยงานหลักระดับชาติของ ASCC • ประสานและติดตามการดำาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องของไทยที่จะมุง่ ไป สูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนด้ านสังคมและวัฒนธรรม • กำาหนดทิศทาง/ลำาดับความสำาคัญเร่งด่วนของไทยในการผลักดันให้ เกิดความ ร่วมมือภายใต้ แผน ASCC • เป็ นหัวหน้ าคณะผู้แทนไทยเพื่อเข้ าร่วมประชุม ASCC ทังระดั ้ บเจ้ าหน้ าที่ อาวุโส (SOCA-Senior Officials Committee for ASCC) และระดับ รัฐมนตรี (ASCC Council Meeting) ปี ละ 2 ครัง้ • เป็ นหัวหน้ าคณะผู้แทนไทยในการประชุมร่วมสามเสาหลัก (JPM: Joint Preparatory Meeting for the ASEAN Coordinating Council) ปี ละ 1- 2 ครัง้


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC ด้ านการศึกษา • มีการเปิ ดตัว ASEAN Curriculum Sourcebook ในคราวประชุมรัฐมนตรี ศกึ ษาอาเซียน ครัง้ ที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2555 ที่ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็ นคูม่ ือสำาหรับครูในการสอนเรื่ อง อาเซียนในสถานศึกษา ตังแต่ ้ ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย • ศธ. ร่วมกับ พณ. และ the Nation Group จัดกิจกรรมมหกรรมสัญจร 4 ภูมิภาค • มีการจัดทำาโครงการ Charter เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ระหว่างนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา และโครงการแข่งขันกีฬาประถมศึกษาอาเซียน • ศธ. กำาลังเร่งดำาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบถ่ายโอนหน่วยกิตระดับมหาวิทยาลัย • กำาลังดำาเนินการในการจัดตังศู ้ นย์อาเซียนศึกษา โดย สกอ • วางยุทธศาสตร์ สปู่ ระชาคมอาเซียน ได้ แก่ พัฒนายกระดับทักษะภาษา การสร้ างความ ตระหนักรู้และเอกลักษณ์ ส่งเสริ มการรู้หนังสือ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการเรี ยนรู้ ตลอดชีวิต และการผลิตและพัฒนาบุคลากร


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) ด้ านแรงงาน

• มีความคืบหน้ าในการจัดทำามาตรฐานฝี มือแรงงาน ตามโครงการ ASEAN Guidelines on the Development of National Framework for Skills Recognition Arrangement โดยกำาลักงจัดทำามาตรฐานฝี มือแรงงาน 190 สาขา อาชีพ • รง. ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำาโครงการเตรี ยมการรองรับการเคลื่อน ย้ ายแรงงาน รวมถึงปั ญหาอุปสรรค และการเตรี ยมความพร้ อมด้ านการบริ หาร จัดการรองรับกรอบความร่วมมือประชาคมอาเซียน


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) ด้ านสาธารณสุข

• ให้ ความสำาคัญต่อความร่วมมือในการควบคุมโรคระบาดต่าง ๆ • ให้ ทกุ วันที่ 15 มิถนุ ายนของปี เป็ นวันไข้ เลือดออกอาเซียน • ออกปฏิญญาว่าด้ วยเรื่ องพันธกิจเรื่ องเอดส์ (Zero new infections, Zero Discrimination และ Zero AIDS-Related Deaths) • สธ. กำาลังเร่งดำาเนินการเพื่อให้ เกิด MRA ใน 3 สาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ แพทย์ พยาบาล และทันตแพทย์


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) ด้ านภัยพิบัตแิ ละสิ่งแวดล้ อม

• เร่งรัดการให้ สตั ยาบันความตกลงของการจัดตัง้ AHA Centre รวมถึงการจ่ายค่า สมาชิกประจำาปี • มีการดำาเนินกิจกรรมเนื่องในวัน ASEAN Day on Disaster Management และ International Day for Disaster Reduction (พุธที่ 2 ของเดือนตุลาคม) โดยในปี 2555 ประเทศไทยได้ จดั สัปดาห์รณรงค์ด้านการจัดการภัยพิบตั ิ เน้ นกลุม่ เป้าหมาย ที่สตรี และเด็ก • มีโครงการประสานความร่วมมือระหว่างทหารและพลเรื อนในการจัดการภัยพิบตั ิ โดยในเดือนมิถนุ ายน 2556 จะมีการฝึ กซ้ อมภาคกลาโหมอาเซียน เพื่อรับมือกับภัย พิบตั ิ ที่ประเทศบรูไนดารุสซาลาม


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) ด้ านสิทธิ

• จัดตังคณะกรรมาธิ ้ การอาเซียนว่าด้ วยการส่งเสริ มและคุ้มครองสิทธิสตรี และสิทธิ เด็ก (ACWC) • ประกาศทศวรรษเพื่อคนพิการอาเซียน • อาเซียนได้ ออกปฏิญญาว่าด้ วยการคุ้มครองและส่งเสริ มสิทธิแรงงานข้ ามชาติ แต่มี ความก้ าวหน้ าช้ ามากในการร่างกรอบตราสารฯ • ยังคงมีประเด็นที่น่าเป็ นห่วงสำาหรับแรงงานต่างด้ าวผิดกฎหมาย เนื่องจากกฎหมาย ไทยยังครอบคลุมไม่ถงึ และได้ มีการจัดตังคณะกรรมการศึ ้ กษาปั ญหาเรื่ องแรงงาน ต่างด้ าว • อาเซียนต้ องผลักดันให้ กลไกสิทธิมนุษยชน กลไกที่ 3 คือ คณะกรรมาธิการอาเซียน ว่าด้ วยการคุ้มครองและส่งเสริ มสิทธิแรงงานต่างด้ าว


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) การสร้ างความตระหนักรู้ • ก.พ. ได้ จดั อบรมให้ แก่ข้าราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม รวม 10 หลักสูตร • ก.พ. ร่วมกับ มท. พัฒนาข้ าราชการจังหวัดตะเข็บชายแดนเพื่อเตรี ยมความพร้ อม • กรมประชาสัมพันธ์เน้ นการให้ ความรู้แก่สื่อมวลชน รวมถึงการผลิตคูม่ ืออาเซียน แจกจ่ายให้ สื่อมวลชนและนักประชาสัมพันธ์ มีศนู ย์ข้อมูลข่าวสาร 9 แห่งทัว่ ประเทศ • ในปี 56 กรมประชาสัมพันธ์ เตรี ยมจัดทำา 4 โครงการ คือ สนับสนุนการ ประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนผ่านสื่อสมัยใหม่ เสริ มสร้ างความตระหนักรู้และ ความรู้สกึ ของการเป็ นประชาคมร่วมกับ วธ. ประชาสัมพันธ์สง่ เสริ มอัตลักษณ์ อาเซียน และการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนและพัฒนาบุคลากร


ความคืบหน้ าการดำาเนินงานรายสาขาภายใต้ ASCC (ต่ อ) ด้ านวัฒนธรรม • พัฒนาองค์ความรู้ด้านมรดกทางวัฒนธรรมและความหลากหลาย โดยเผยแพร่ ผ่านสื่อต่าง ๆ รวมทังพั ้ ฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง รวมถึงศิลปิ น แห่งชาติ ศิลปิ นพื ้นบ้ าน ช่างหัตถกรรม นักเรี ยนนักศึกษาฯลฯ • จัดกิจกรรมนิทรรศการเคลือ่ นที่และสื่อ animation ในชุมชนท้ องถิ่น • ผลิตรายการสารคดีโทรทัศน์เพื่อนำาเสนอผ่านรายการโทรทัศน์ และสือ่ อื่น ๆ ในพื ้นที่ •


ความร่ วมมืออาเซียนรายสาขาภายใต้ ASCC ของ พม.  กรอบความร่ วมมือด้ านเยาวชน แบ่งการประชุมออกเป็ น

2 ระดับ ได้ แก่

1. ระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส หรื อ ASEAN Senior Official Meeting

on Youth (SOMY)

2. ระดับรัฐมนตรี หรื อ ASEAN Ministerial Meeting on Youth

(AMMY)


ความร่ วมมืออาเซียนรายสาขาภายใต้ ASCC ของ พม. (ต่ อ)  กรอบความร่ วมมือด้ านสตรี แบ่งการประชุมออกเป็ น

2 ระดับ ได้ แก่

1. ระดับคณะกรรมการ (เทียบเท่าเจ้ าหน้ าที่อาวุโส) หรื อ ASEAN

Committee on Women (ACW) 2. ระดับรัฐมนตรี หรื อ ASEAN Ministerial Meeting on Women (AMMW) เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 55 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน

ลาว ได้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้ านสตรี ครัง้ ที่ 1 เพื่อ เป็ น การยกระดับความร่วมมือด้ านสตรี


ความร่ วมมืออาเซียนรายสาขาภายใต้ ASCC ของ พม. (ต่ อ)  กรอบความร่ วมมือด้ านสวัสดิการสังคมและการพัฒนา

แบ่งการประชุมออกเป็ น 2 ระดับ ได้ แก่ 1. ระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส หรื อ ASEAN Senior Official Meeting on Social Welfare and Development (SOMSWD) 2. ระดับรัฐมนตรี หรื อ ASEAN Ministerial Meeting on Social Welfare and Development (AMMSWD)


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน • มีบทบาทแข็งขันในการให้ ภาคประชาสังคมเข้ ามามีสว่ นร่วมในการ ดำาเนินงานภายใต้ กรอบความร่วมมือด้ านสวัสดิการสังคมฯ โดยได้ มี ส่วนผลักดันให้ มีการจัดประชุม ASEAN GO-NGO Forum ขึ ้นและจัด เป็ น ครัง้ แรกที่ประเทศไทยเมื่อปี 2547 โดยปั จจุบนั ได้ มีการจัด Forum ดังกล่าวเป็ นประจำาทุกปี ในลักษณะ back-to-back กับ SOMSWD/AMSWD • ได้ มีการขยาย ASEAN GO-NGO Forum ไปยังกรอบความ ร่วมมือด้ านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน ซึง่ ได้ จดั เป็ นครัง้ แรกที่ประเทศเวียดนาม ในปี 2555 37


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • ASEAN Social Work Consortium: ไทย ร่วมกับฟิ ลปิ ปิ นส์ เป็ น

ผู้ริเริ่มดำาเนินการก่อตังภาคี ้ ความร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบตั ิงาน นักการศึกษา และสถาบันการศึกษาด้ านสังคมสงเคราะห์ในอาเซียน เพื่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ พัฒนาบุคลากร กำาหนดมาตรฐาน การดำาเนินงานและการศึกษา รวมทังส่ ้ งเสริมการเรี ยนการสอนและ การประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ในอาเซียน โดยมีเป้าหมาย สุดท้ ายคือเพื่อให้ การจัดสวัสดิการสังคมสำาหรับประชากรอาเซียนเป็ น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ มาตรฐาน

38


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • ไทยให้ ความสำาคัญต่อมาตรการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของ องค์กรภาคธุรกิจ ซึง่ ปรากฏอยูใ่ น ASCC Blueprint กอปรกับใน อาเซียนเองยังไม่ได้ กำาหนด Sectoral Body เพื่อรับผิดชอบมาตรการ ดังกล่าว ไทยจึงได้ เสนอที่จะเป็ นเจ้ าภาพจัดประชุม Regional Workshop on ASEAN Action Plan on CSR ซึง่ กำาหนดจะจัด ประชุมแบบ back-to-back กับการประชุม SOMSWD ที่ไทยจะเป็ น เจ้ าภาพจัดเมื่อปี 2554 และกำาลังผลักดันให้ อาเซียน มี Focal Point ในเรื่ อง CSR ตามแผนงาน ASCC 39


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • การประกาศทศวรรษอาเซียนด้ านคนพิการ (ASEAN Decade of Persons with Disabilities: 2011-2020) เป็ นข้ อริเริ่มของไทย และ ได้ รับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกให้ บรรจุไว้ ใน Strategic Framework ของ SOMSWD ฉบับปั จจุบนั โดยผู้นำาอาเซียนได้ ประกาศทศวรรษดังกล่าวในคราวประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 19 เมื่อเดือนตุลาคม 2554 40


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • กระทรวงฯ โดย สท. เป็ นเจ้ าภาพจัด Regional Workshop on the

Implementation of the Convention on the Rights of the Child

ระหว่างวันที่ 24 - 27 กันยายน 2555 ณ โรงแรมเดอะสุโกศล วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้ างความร่วมมือและประสิทธิภาพการดำาเนิน งานตามอนุสญ ั ญาว่าด้ วยสิทธิเด็ก และข้ อเสนอแนะของคณะ กรรมการว่าด้ วยสิทธิเด็กของสหประชาชาติ

41


ผลงานเด่ นๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • กระทรวงฯ โดย พก. เป็ นเจ้ าภาพจัด ASEAN Dialogue between

GOs/NGOs on disability issues: towards an ASEAN Community 2015 and acceleration of implementation on Disability Inclusive Development ระหว่างวันที่ 24 - 25

กันยายน 2555 ณ โรงแรมเดอะสุโกศล วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นเวที สำาหรับภาครัฐ และเอกชนในการกำาหนดข้ อท้ าทายและความร่วมมือ เพื่อมุง่ สูส่ งั คมที่เอื ้ออำานวยต่อคนพิการ 42


ผลงานเด่ น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • ASEAN+3 Youth Caucus ริเริ่มโดยทย และจัดเป็ นครัง้ แรกที่ประเทศไทย เมื่อปี 2552 เพื่อให้ เป็ นเวทีถาวรสำาหรับเยาวชนได้ มีบทบาทร่วมในการสร้ าง ประชาคมอาเซียน โดยให้ เป็ นการประชุมคูข่ นานกับการประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่ อาวุโส

• ASEAN Children’s Forum (ACF) เป็ นโครงการที่ริเริ่มโดยฟิ ลิปปิ นส์ โดยไทยได้ จดั ส่งคณะเด็กเข้ าร่วมประชุมครัง้ ที่ 1 ที่ฟิลิปปิ นส์เมื่อปี 2553 รวม ทังแต่ ้ งตังเจ้ ้ าหน้ าที่เพื่อร่วมดูแลเว็บไซต์ ACF ที่จะมี webpage เกี่ยวกับ ข้ อมูลสำาคัญเกี่ยวกับสถานการณ์เยาวชนไทย และไทยมีกำาหนดเป็ นเจ้ าภาพ ประชุม ACF ครัง้ ที่ 3 ในปี 2557

43


ผลงานเด่ น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • ASEAN Youth Day Meeting (AYDM) ครัง้ ที่ 18 และ Tayo ASEAN ครัง้ ที่ 7 กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ โดย สท. ได้ เป็ นเจ้ าภาพ

จัดการประชุมดังกล่าวขึ ้น ระหว่างวันที่ 17-21 ก.ย. 55 วัตถุประสงค์ของ การประชุมเพื่อมอบรางวัล ASEAN Youth Award ให้ แก่บคุ คล และ องค์กรที่ทำางานด้ านเยาวชนซึง่ ได้ รับคัดเลือกจากประเทศสมาชิก

44


ผลงานเด่ น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่ อ) • การดำาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อนำาปฏิญญาว่าด้ วยการขจัดความรุนแรง ต่อสตรีในภูมิภาคอาเซียนไปสูก่ ารปฏิบตั ิ โดยไทยได้ มีบทบาทในการเป็ นเจ้ า ภาพจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ จำานวน 3 ครัง้ ได้ แก่

1) ASEAN Regional Workshop on Gender Sensitive and Coordinated VAW Service ปี 2549 2) Regional Workshop on Microcredit Programme for ASEAN Women ปี 2550 3) ASEAN Regional Workshop on Gender Equality Legislation ปี 2551 45


คณะกรรมาธิการอาเซียนด้ านการส่ งเสริมและพิทกั ษ์ สิทธิสตรี และสิทธิ

เด็ก (ASEAN Commission on the Promotion and Protection

of the Rights of Women and Children : ACWC)

• การจัดตัง้ ACWC เป็ นข้ อกำาหนดที่ปรากฏใน Vientiane Action Plan และ ASCC Blueprint ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ให้ เป็ นกลไกในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ มนุษยชนและเสรี ภาพขันพื ้ ้นฐานของสิทธิสตรี และสิทธิเด็กในอาเซียน • ไทยมีสว่ นสำาคัญและมีบทบาทนำาในการผลักดันให้ เกิด TOR ของ ACWC จนเป็ นผลสำาเร็จภายในเวลา 6 เดือน ในปี 2552 ซึง่ ไทยรับหน้ าที่เป็ นประธาน ในการยกร่าง และถือได้ วา่ เป็ น TOR ที่ภาคประชาสังคมของไทยและของประเทศ สมาชิกได้ มีสว่ นร่วมในการร่างด้ วย


ACWC (ต่ อ) • ในคราวประชุม ACWC ครัง้ ที่ 1 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ที่ประเทศ อินโดนีเซีย ไทยได้ รับเลือกอย่างเป็ นเอกฉันท์ให้ เป็ นประธาน ACWC มีวาระ ดำารงตำาแหน่ง 3 ปี และได้ มีการร่าง Rules of Procedures (ROP) ของ ACWC ฉบับที่ 1 รวมทังร่้ างแผนการดำาเนินงาน 5 ปี โดยไทยให้ ความ สำาคัญต่อสิทธิในการศึกษา และการพัฒนาชองเด็กปฐมวัย และประเด็นเรื่ อง ความรุนแรงในครอบครัว และไทยได้ เสนอที่ประชุมว่าจะเป็ นเจ้ าภาพจัด ประชุมเรื่ อง Violence against Women and Children ในปี 2555


ความคืบหน้ าในการดำาเนินงานของ ACWC • คณะกรรมาธิการได้ จดั ประชุมไปแล้ ว 5 ครัง้ • เห็นชอบประเด็นหัวข้ อสำาคัญสำาหรับแผนงาน 5 ปี จำานวน 13 หัวข้ อ อาทิ การขจัดความรุนแรงต่อสตรี และเด็ก สิทธิของเด็กในการเข้ าร่วมในกิจกรรมที่ มีผลต่อเด็ก การค้ าสตรี และเด็ก การมีสว่ นร่วมของสตรี ในทางการเมืองและ การตัดสินใจต่างๆ ธรรมาภิบาลและประชาธิปไตย การส่งเสริ มและคุ้มครอง สิทธิสตรี และเด็กที่พิการ ระบบการคุ้มครองเด็ก สิทธิในการได้ รับการศึกษาที่ มีคณ ุ ภาพของเด็กวัยก่อนประถมศึกษา เป็ นต้ น

48


ความคืบหน้ าในการดำาเนินงานของ ACWC (ต่ อ) • แผนงานระยะ 5 ปี (2554-2559) ได้ ยกร่างเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ว และ คณะกรรมาธิการอยูใ่ นระหว่างการจัดทำาข้ อเสนอโครงการภายใต้ หัวข้ อหลักที่กำาหนดไว้ ในแผน 5 ปี โดยเฉพาะตามแผนระยะ 3 ปี แรก • ประเทศไทยจะเป็ นเจ้ าภาพจัดประชุม ACWC สมัยพิเศษ ระหว่างวัน ที่ 4-5 ธันวาคม 2555 ณ กรุงเทพฯ เพื่อให้ คณะกรรมาธิการฯ นำา เสนอโครงการใหม่หรื อโครงการที่แก้ ไข เพื่อให้ แผนการดำาเนินงาน ระยะ 5 ปี มีโครงการรองรับและประมาณการค่าใช้ จ่าย เพื่อจะได้ สรุป เสนอ AMMSWD ต่อไป 49


สรุปสาระสำ าคัญหลักของ ประชาคมอาเซียน

50



Q&A

52


คำาถามท้ ายบทที่ 3.3 • ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรม คือ ? • ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมมีกรอบการทำางานเกีย่ วกับเรื่องใดบ้ าง ยกตัวอย่ างประกอบ • จากวีดที ศั น์ จงวิเคราะห์ กระบวนการจัดการศึกษาของประเทศสมาชิก อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ • จากข้ อมูลทีไ่ ด้ ชมวีดที ศั น์ ท่ านคิดว่ าจะพัฒนาตัวเองให้ เผชิญกับการ เปิ ดประชาคมอาเซียนได้ อย่ างไร 53


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.