บทที่ 3 เสาเศรษฐกิจ

Page 1

บทที่ 3

“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” : ประโยชน์ ผลกระทบและการปรับตัว โดย อ.นำาขวัญ วงศ์ประทุม


หัวข้อการนำาเสนอ 1. ประโยชน์ จากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน 2. ความร่วมมือในอาเซียนที่ผา่ นมา 3. การจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4. ผลประโยชน์ และโอกาส/ลู่ทางการค้าภายใต้ AEC 5. ผลกระทบและการปรับตัว


การรวมตัวกับอาเซียน ทีผ่ ่านมาไทยได้ประโยชน์อะไร ?

AEC


ประโยชน์ ที่ได้รบั จากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำาเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด มู ลค่า (ล้านเหรี ยญสรอ.) 40,000

ี น การค้าของไทยก บ ั อาเซ ย

35,000

ไทยส่งออกไปอาเซียน

30,000 25,000 20,000 15,000 10,000

ไทยนำาเข้าจากอาเซียน

5,000

ปี

19 91 19 92 19 93 19 94 19 95 19 96 19 97 19 98 19 99 20 00 20 01 20 02 20 03 20 04 20 05 20 06 20 07

0

ี น การสง่ ออกไทยไปอาเซย

ี น การนำ าเข ้าไทยจากอาเซย


การค้าของไทยกับอาเซียน ปี พ.ศ. 2534(ค.ศ.1991) ก่อนการตัง้ AFTA สหภาพยุโรป 21.7%

อืน ่ ๆ 26.5%

ี มาเลเซย ี 2.4% อินโดนีเซย 0.8% เวียดนาม 0.1% ฟิ ลป ิ ปิ นส ์ 0.4% กัมพูชา 0.0%

ASEAN 12.4%

สหรัฐอเมริกา 21.3%

ญีป ่ น ุ่ 18.1%

สงิ คโปร์ 8.2%

บรูไน 0.1%

ลาว 0.3% พม่า 0.2%


การค้าของไทยกับอาเซียน ปี พ.ศ. 2550/ ค.ศ.2007 อืน ่ ๆ 40.2%

ี มาเลเซย 5.1%

ี อินโดนีเซย 3.1%

ฟิ ลป ิ ปิ นส ์ 1.9% กัมพูชา 0.9%

ASEAN 21.3 %

สหภาพยุโรป 14.0% สหรัฐอเมริกา 12.6%

เวียดนาม 2.5%

ลาว 0.9% พม่า 0.6%

ญีป ่ น ุ่ 11.9%

สงิ คโปร์ 6.3%

บรูไน 0.1%


สินค้าสำาคัญของการค้าไทย-อาเซียน ลำาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ี น ไทยสง่ ออกไปอาเซ ย

รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำำมัน (สำำเร็จรูป) แผงวงจรไฟฟ้ำ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักร เหล็ก เหล็กกล้ำและผลิตภัณฑ์ เคมีภณ ั ฑ์ เม็ดพลำสติก ยำงพำรำ ส่วนประกอบอำกำศยำนและอุปกรณ์กำรบิน

ี น ไทยนำาเข้าจากอาเซ ย

เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภณ ั ฑ์ ก๊ำซธรรมชำติ น้ำำมัน (ดิบ) แผงวงจรไฟฟ้ำ สินแร่โลหะอืน่ ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้ำและส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ สือ่ บันทึกข้อมูล ภำพ เสียง น้ำำมัน (สำำเร็จรูป)


อาเซียน ได้ทำาอะไรร่วมกันมาอย่างไร ?

AEC


ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผา่ นมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

• ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่ มใช้ 2536

2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นรม.อำานวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539

3. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) • เริ่ มใช้ ปี 2539

4. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA)

• ลงนาม (โดย นรม.ศุภชัย พานิ ชย์ภกั ดิ์ ) เริ่ มใช้ ปี 2541


ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผา่ นมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

• ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536 • คือ การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้ าหมายเพื่อลดภาษี ศลุ กากร ระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทาำ ข้อตกลงลงให้เหลือน้ อยที่สดุ หรือ เป็ น 0% และใช้อตั ราภาษี ปกติที่สงู กว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การ ทำาเขตการค้าเสรีในอดีตมุง่ ในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า (Goods) โดยการลดภาษี และอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี เป็ นหลัก แต่ เขตการค้าเสรีในระยะหลัง ๆ นัน้ รวมไปถึงการเปิดเสรีด้าน บริการ (Service) และการลงทุนด้วย


ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผา่ นมา 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นรม.อำานวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539

การเสริมสร้าง ความร่วมมือ ด้านการบริการ ระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน

ระเบียบข้อบังคับ ทัง้ หมดของ AFAS จะมีความ สอดคล้องกับ ระเบียบข้อบังคับ ของ GATS

ข้อผูกพันฯ ครอบคลุมการเปิด ตลาดเสรีการบริการหลาย ประเภท ได้แก่ - สาขาบริการธุรกิจบริการด้าน วิชาชีพ การก่อสร้าง การจัด จำาหน่ าย - การศึกษา บริการด้านสิ่ง แวดล้อม สุขภาพ การขนส่งทาง น้ำ า การโทรคมนาคม และการ ท่องเที่ยว


ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผา่ นมา • • • •

3. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO)

เริ่ มใช้ ปี 2539 เพือ่ ส่งเสริมการดำาเนินกิจกรรมทางด้านอุตสาหกรรมร่วมกันระหว่างภาคเอกชนในภูมภิ าคอาเซียน สนับสนุนการแบ่งสรรการผลิตภายในประเทศอาเซียน มุง่ ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมทีใ่ ช้เทคโนโลยีเป็ นฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน การแบ่งส่วนการผลิตตามความสามารถและความถนัด • ส่งเสริมการลงทุนและการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากทัง้ ประเทศสมาชิกและประเทศนอกกลุ่มโดยใช้มาตรการทาง ภาษีและสิทธิพเิ ศษอื่นๆ ทีม่ ใิ ช่ภาษีเป็ นสิง่ จูงใจ AICO จะได้รบั สิทธิประโยชน์ 4 ประการคือ 1. สินค้าและวัตถุดบิ ทีน่ ำาเข้าภายใต้โครงการ จะเสียภาษีนำาเข้าในอัตรา ร้อยละ 0-5 2. สินค้านัน้ ได้รบั การยอมรับเสมือนเป็ นสินค้าทีผ่ ลิตภายในประเทศ 3. สามารถขอรับสิทธิประโยชน์ทม่ี ใิ ช่ภาษีได้ ตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขของประเทศทีใ่ ห้สทิ ธิประโยชน์ 4. ไม่ถกู จำากัดด้วยระบบโควตา หรือมาตรการกีดกันทางการค้าทีม่ ใิ ช่ภาษี


ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผา่ นมา 4. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA : ASEAN Investment Area)

• ลงนาม (โดย นรม.ศุภชัย พานิชย์ภกั ด์ ิ ) เริ่มใช้ ปี 2541 • เพื่อส่งเสริมให้มีกาวะการลงทุนที่โปร่งใส และเสรีใน อาเซียนในอันที่จดุ ึงดูดการลงทุนจากภายในและภายนอก ภูมิภาค โดยให้ประเทศสมาชิกเปิดให้มีการลงทุนทาง อุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมภาคการผลิต เกษตร ประมง ป่ าไม้ และเหมืองแร่ รวมทัง้ การบริการที่เกี่ยว เนื่ องกับสาขาการผลิตดังกว่า ยกเว้นการลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์


ก้าวสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

AEC


การจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน •

ผูน้ ำาอาเซียนได้ประกาศแถลงการณ์ที่เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ เมื่อ 13 มกราคม 2550 เพื่อเร่งรัดการจัดตัง้ “ ประชาคมอาเซียน” ใน ปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ชุมชน อาเซียน อาเซียน


ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)

ประชาคม ความมันคง ่ อาเซียน (ASC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

•พิมพ์เขียว AEC •AEC Blueprint

ตารางดำาเนินการ Strategic Schedule


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 (ASEAN Economic Community : AEC) เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม ประชาคม เคลือ่ นย้ายบริการ อย่างเสรี เศรษฐกิจ เคลือ่ นย้ายแรงงาน อาเซียน (AEC) เคลือ่ นย้ายการ

เคลือ่ นย้ายสินค้าเสรี

มีฝีมืออย่างเสรี

ลงทุนอย่างเสรี

เคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้ น


แผนงานเร่งรัดการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(AEC Blueprint : พิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) • ทำาไมต้องมี AEC Blueprint ?  เพื่อกำาหนดทิศทาง/แผนงานที่ จะต้องดำาเนินงานตามกรอบ ระยะเวลาที่กาำ หนด จนบรรลุ

เป้ าหมาย AEC ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)  สร้างพันธสัญญาระหว่างสมาชิก ที่จะดำาเนินการไปสู่เป้ าหมายดังกล่าวร่วมกัน


แผนงานสำาคัญภายใต้ AEC Blueprint วัตถุประสงค์ 4 ด้าน

ตลาดและ สร้างเสริมขีดความ ลดช่องว่าง บูรณาการเข้ากับ ฐานการผลิตร่วม สามารถการแข่งขัน ความแตกต่าง เศรษฐกิจการค้าโลก --- แผนงาน ------ ---- แผนงาน ------- ---แผนงาน ----ส่งเสริมการ ส่งเสริมการ ส่งเสริมขีด เคลื่อนย้ายสินค้า ความสามารถในด้าน รวมกลุ่มของประเทศ บริการ การลงทุน ต่างๆ เช่น นโยบาย สมาชิก ลดช่องว่าง/ความ แรงงาน และ การแข่งขัน แตกต่างของระดับ เงินทุนที่เสรี โดยลด ทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนาระหว่าง อุปสรรคในด้านต่างๆe-commerce ฯลฯ สมาชิกเก่าและใหม่

--- แผนงาน -- ส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก ปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาค สร้างเครือข่ายการ ผลิต/จำาหน่ าย


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิ ดเสรีการค้าสินค้า ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษี นำาเข้า ลดภาษีตามลำาดับ

ปี 2553

อาเซียน - 6

ภาษี 0%

เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา

ปี 2558 ภาษี 0%

มียกเว้นบางรายการ ทีเ่ ป็ นสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) ภาษี ไม่ต้องเป็ นศูนย์ แต่ต้องต่าำ กว่า 5% ไทย มี 4 รายการ ไม้ตดั ดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรัง่ กาแฟ


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิ ดเสรีการค้าสินค้า

ขจัดมาตรการกีดกันการค้าทีไ่ ม่ใช่ภาษี เช่น การใช้โควตาภาษี , การออกใบอนุญาตนำาเข้า , การอนุญาตให้หน่ วยงานเฉพาะสามารถนำาเข้าได้

ปี 2553 อาเซียน 5 ยกเลิกทัง้ หมด ฟิลิปปินส์ ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม

ปี 2555

ปี 2558

ยกเลิ กทัง้ หมด ยกเลิ กทัง้ หมด


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิ ดเสรีภาคบริการ

ให้นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการต่างๆ

สาขา PIS

ปี 2549 (2006)

ปี 2551 (2008)

ปี 2553 (2010)

49%

51%

70%

:เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเทีย่ ว การบิน สาขาอื่น

30%

49%

PIS: Priority Integration Sectors

ปี 2556 (2013)

ปี 2558 (2015)

ลอจิสติกส์

70%

51%

(สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม)

70%


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิ ดเสรีลงทุน

ไปลงทุนในอาเซียนได้อย่างเสรี นักลงทุนไทยจะได้รบั การปฏิบตั ิ อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม นัก ลงทุนท้องถิน่ ในอาเซียนอืน่ ๆ


ลู่ทางและโอกาสทางการค้าใน “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

AEC


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน

ตลาดขนาดใหญ่ 

ประชากรกว่า 560 ล้านคน

ผลิตยิ่งมาก ต้นทุนยิ่งถูกลง

ต่างประเทศสนใจมาลงทุน มาค้าขายด้วย


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน

ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ  

ได้ประโยชน์ จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน

วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำ าลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้ น

เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ได้เปรียบที่สุด กลุ่มที่มีวตั ถุดิบและ กลุ่มที่มีความถนัด กลุ่มที่เป็ นฐานการผลิต แรงงาน ด้านเทคโนโลยี

เวียดนาม กัมพูชา พม่าลาว

สิ งคโปร์ มาเลเซีย ไทย

ไทย มาเลเซีย อิ นโดนี เซีย เวียดนาม


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน สินค้าที่มีลู่ทาง มีโอกาสในอาเซียน 

เกษตร : ข้าวโพด น้ำามันพืช(ทำาจากเมล็ดทานตะวัน เมล็ดดอกคำาฝอย เมล็ด ฝ้าย) มันสำาปะหลัง ข้าว น้ำาตาล  ผลิตภัณฑ์ประมง : ปลาสดหรือแช่เย็น ปลาทีป ่ รุงแต่งต่างๆ กุง้ ฯลฯ 

ยางพาราและผลิตภัณฑ์ยาง : รองเท้า ถุงมือ ของเล่น ฯลฯ

ผลิตภัณฑ์เนื้ อสัตว์ : เนื้อไก่ เนื้อหมู

ผลิตภัณฑ์ไม้ : แผ่นชิน้ ไม้อดั ไฟเบอร์บอร์ด ฯลฯ


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน สินค้าที่มีลู่ทาง มีโอกาสในอาเซียน ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ : แผงวงจรพิมพ์ แผงวงจรไฟฟ้า วงจรรวม กล้อง ถ่ายวิดโี อ วิทยุตดิ ตามตัว  ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ : แผ่นบันทึก ซีดรี อม ดีวด ิ ี ฯลฯ  ยานยนต์ : ขนาดกระบอกสูบ > 1,000 cc  ส่วนประกอบ-อุปกรณ์ ยานยนต์ : ถังน้ำามัน เครือ ่ งยนต์ ไส้หมอน้ำา ฯลฯ  สิ่งทอ : เส้นใย กลุม ่ ใยยาวสังเคราะห์ ด้าย ผ้าพิมพ์ ฯลฯ

ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ : ยา เครือ่ งมือแพทย์ เครือ่ งสำาอาง กระดาษผ้าอ้อม ฯลฯ


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการรวมกลุ่มของอาเซียน

เพิม่ กำาลังการต่อรอง  10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว  แนวร่วมในการเจรจาต่อรอง ในเวที การค้าโลก เช่น WTO  เป็ นที่ สนใจของประเทศอื่น ที่ จะมาทำาข้อตกลงการค้าเสรี

(FTA)


ประโยชน์ของการทำาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)ร่วมกันของอาเซียน ลูกไม้ถกั ฟิลปิ ปินส์

ส่งไปปกั ในกัมพูชา

กระดุมเวียดนาม ผ้ามาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย

จีน ญี่ปุ่น

อาเซียน

สหภาพยุโรป EU

เกาหลี

ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์


ผลกระทบและการปรับตัว

AEC


จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015 32

••“การเปลี “การเปลี่ยย่ นแปลง นแปลง อาเซีย นจะกลายเป็น ตลาดร่ว ม เกิเกิดดจากผลการ จากผลการ อาเซีย นสามารถถือ หุน ้ ได้ถ ึง 70% ใน ดำดำาาเนิเนินนการอย่ การอย่าางค่ งค่ออยย ธุร กิจ บริก ารในอาเซีย น เป็เป็นค่ นค่ออยไป ยไป AEC AEC อาเซีย นดึง ดูด การลงทุน จากทัว ่ โลก ไม่ ไม่ไได้ด้ททาำ าำ ให้ให้เกิเกิดดความ ความ เปลี เปลีย่ ย่ นแปลงใน นแปลงใน อำา นวยความสะดวกในการดำา เนิน ทัทันนทีทีแต่ แต่เป็เป็นนwork work ธุร กิจ ระหว่า งประเทศ inin progress progress และ และ มีก ารรวมตัว ของตลาดเงิน และตลาด เป็เป็นนปรากฎการณ์ ปรากฎการณ์ ทุน อย่า งเป็น ระบบ เชิเชิงงสัสัญญลัลักกษณ์ ษณ์”” พัฒ นาความร่ว มมือ ทางเศรษฐกิจ ต่อ เนื่อ ง เศรษฐกิจ อาเซีย นบูร ณาการเข้า กับ


จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015: ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ • 33

•กลุ่มทีม่ วี ตั ถุดบิ และ แรงงาน •เวียดนาม กัมพูชา พม่ า ลาว

•กลุ่มทีม่ คี วาม ถนัดด้ าน เทคโนโลยี •สิ งคโปร์ มาเลเซีย ไทย

•กลุ่มทีเ่ ป็ นฐานการผลิต •ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม


จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015: ผลกระทบด้ านลบ • 34

••มีมีคคู่แู่แข่ข่งงทางการค้ ทางการค้าาสิสินนค้ค้าา และการให้ และการให้บบริริกการจาก ารจาก ประเทศอาเซี ประเทศอาเซียยนอื นอื่น่นเพิเพิ่ม่ม ขึขึ้ น้ น

••อาจถู อาจถูกกใช้ใช้มมาตรการที าตรการที่ ่ มิมิใใช่ช่ภภาษี าษีจจากประเทศ ากประเทศ อาเซี อาเซียยนอื นอืน่ น่ เพิ เพิม่ ม่ ขึขึน้ น้

••อาจถู อาจถูกกแย่ แย่งงแรงงาน แรงงาน วิวิชชาชี าชีพพไปทำ ไปทำาางานใน งานใน ประเทศอาเซี ประเทศอาเซียยนอื นอื่น่น

••ผูผูป้ ป้ ระกอบการจากประเทศ ระกอบการจากประเทศ •• อาจถู ก ลอกเลี ย นแบบ อาจถู ก ลอกเลี ย นแบบ อาเซี อาเซียยนเข้ นเข้าามาลงทุ มาลงทุนนในไทย ในไทย สิ น ค้ า และบริ ก ารโดย สิ น ค้ า และบริ ก ารโดย มากขึ น ทำ า ให้ ก ารแข่ ง ขั น มากขึ้ ้ น ทำาให้การแข่งขัน ประเทศอาเซี ย นอื ่ น ประเทศอาเซี ย นอื ่น สูสูงงขึขึ้ น้ น


• สิ นค้ าทีไ่ ทยได้ เปรียบ/เสี ยเปรียบ •สิน ค้า ที่ไ ทยได้เ ปรีย บ

สิน ค้า เกษตรและอุป โภคบริโ ภค เช่น ข้าว ข้าวโพด

เลีย ้ งสัตว์ ถั่วเหลือง กาแฟสำาเร็จรูป สินค้าประมง สินค้าปศุสัตว์ (นม เนื้อไก่ ไก่แปรรูป) สิ่ง ทอและเครื่องนุ่งห่ม ผ้าไหม นำ้าตาล •

สิน ค้า อุต สาหกรรม เช่น ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ กระดาษ

และสิ่งพิมพ์ พลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ ยางพารา เครื่องปรับอากาศและทำาความ เย็น สินค้าหัตถอุตสาหกรรม • สิน ค้า ที่ไ ทยเสีย เปรีย บ

สิน ค้า ที่ม ีข ้อ กัง วลว่า จะได้ร ับ ผลกระทบจาก การเปิด

• เสรีก ารค้า ในอาเซีย น เช่น นำ้ามันปาล์ม (มาเลเซีย) กาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) ชา (อินโดนีเซีย) ไหมดิบ (เวียดนาม) ยา เครื่องสำาอาง เครื่องจักรกล เครื่อง ใช้ไฟฟ้า เหล็กและเหล็กกล้า

35


• 25

• บริการทีไ่ ทยได้ เปรียบ/เสี ยเปรียบ

• บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระ ทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก

36


การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน

37


การเคลือ่ นย้ายแรงงาน Q: แรงงานไทยจะถูก แย่ง งานจากแรงงาน อาเซีย น? A: ปัจ จุบ น ั ไทยมีอ ต ั ราว่า งงานตำ่า มากกว่า ใน อาเซีย น และมีแ นวโน้ม ตึง ตัว /ขาดแคลน (MRAs 8 สาขาวิช าชีพ เป็น เพีย งการอำา นวยความ สะดวกขั้น ตอนหนึง่ ในการรับ รองคุณ สมบัต ิ นัก วิช าชีพ เท่า นัน ้ ซึ่ง ยัง คงมีร ายละเอีย ดที่ อาเซีย นต้อ งหารือ ร่ว มกัน อีก )

• 38

•ที่มา: tradingeconomics.com, Bank of Thailand


การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ)

39


การเคลือ่ นย้ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่ อ) • 40


การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่ อ) • 41


ASEAN วาระแห่ง ชาติ •แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)

• 42

••

แนวทางการพั แนวทางการพัฒฒนาเพื นาเพือ่ อ่ สร้ สร้าางความพร้ งความพร้ออมในการเข้ มในการเข้าาสูสู่ ป่ ประชาคมอาเซี ระชาคมอาเซียยนน

•(1) •เตรียม •ความพร้ อม •ธุรกิจไทย •พัฒนาความร่ วมมือระหว่าง ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มี ศักยภาพ โดยเสริ มสร้างความรู ้ ความเข้าใจ ในเรื่ องประชาคม อาเซี ยน (กฎระเบียบ ข้อตกลง ภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม)

•(2) •(3) •เตรียม •เตรียม •ความพร้ อม •ความพร้ อม •สิ นค้ า/บริการไทย •แรงงานไทย •เสริมสร้ างความเข้ มแข็งให้ •กำาหนดมาตรฐานขั้นพืน้ ฐานของ ภาพสิ นค้ าและบริการ ตลอด สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและ คุณจนการกำ าหนดระบบบริหาร เอกชนให้ มีมาตรฐานเป็ นที่ จัดการร่ วมด้ านการพัฒนาทักษะ ยอมรับในระดับสากล ตลอดจน และด้ ณสมบัติของแรงงานนำา การยกระดับทักษะฝี มือแรงงาน เข้ า เพืานคุ อ่ ให้ ได้ แรงงานทีม่ ีคุณภาพ (ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และตรงกั บความต้ องการสำ าหรับ วัฒนธรรม) ทุกประเทศ


• 43

• • • •

ASEAN วาระแห่ง ชาติ: นโยบาย รัฐ บาล (แถลงรัฐ สภา วัน ที่ 23 สิง ยหาคม นำาประเทศไทยสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี นในปี 2558 อย่ า2554) งสมบูรณ์ โดยสร้ าง

ความพร้ อมและความเข้ มแข็งทั้งทางด้ านเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม และ การเมืองและความมัน่ คง เร่ งดำาเนินการตามข้ อผูกพันในการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งใน มิตเิ ศรษฐกิจ สั งคม และ ความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้ นทางคมนาคม ขนส่ งภายในและภายนอกภูมิภาค ส่ งเสริมความร่ วมมือและเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและเสริมสร้ างความสั มพันธ์ อนั ดีกบั ประชาคมอาเซียน สร้ างความสามัคคีและส่ งเสริมความร่ วมมือระหว่ างประเทศอาเซียน เพือ่ ให้ บรรลุ เป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เตรียมความพร้ อมของทุกภาคส่ วนในการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งใน ด้ านเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง


ASEAN วาระแห่ง ชาติ: ความรู้ท ี่บ ุค ลากรภาครัฐ ต้อ งมี

• 44

••ความรู ความรู้ เ้ รืเรื่อ่องอาเซี งอาเซียยนน • ความเป็ นมา/เป้ าหมาย ของสมาคมอาเซี ยน • กฎบัตรอาเซี ยน • ความเป็ นมา/เป้ าหมาย ของประชาคมอาเซี ยน • แผนงานการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนใน แต่ละเสา

••ความรู ความรู้ เ้ รืเรื่อ่องง ประเทศสมาชิ ประเทศสมาชิกก อาเซี อาเซียยนน

••ความรู ความรู้ ้ • •

ความรู้เฉพาะเรื่ อง ตาม ภารกิจของหน่วยงาน และ นโยบายต่าง ประเทศของ ไทย

• •

• •

ประวัติศาสตร์ของ ประเทศสมาชิก สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง ของประเทศสมาชิก จุดเด่นของแต่ละ ประเทศ และอื่นๆ


• 45

ASEAN วาระแห่ง ชาติ: ทัก ษะทีบ ่ ุค ลากรภาครัฐ ต้อ งมี

•ทักษะเฉพาะ

•ทักษะทัว่ ไป • ภาษาอังกฤษ (ฟัง เขียน พูด) • การประชุมนานาชาติ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย • การเจรจาต่อรอง • การบริ หารความเสี่ ยง • การติดต่อประสานงาน

ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน  การวิเคราะห์ตลาด/การวิเคราะห์คู่ แข่ง  การวางแผนเชิ งกลยุทธ์  การยกร่ าง MOU สัญญาระหว่าง ประเทศ  การบริ หารแรงงานต่างด้าว  การวางแผนกำาลังคนเชิ งกลยุทธ์ 


ASEAN วาระแห่ง ชาติ ••ยุยุททธศาสตร์ ธศาสตร์กกระทรวงพาณิ ระทรวงพาณิชชย์ย์ 2555-2564 2555-2564

•การใช้ อาเซียนเป็ นฐานไปสู่ เวทีโลก

•การสร้ างขีดความ สามารถให้ ผู้ประกอบการ และวิสาหกิจ

•การส่ งเสริมและพัฒนา โครงสร้ างพืน้ ฐานทางการ ค้ า •ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

•การยกระดับประเทศเข้ าสู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์มูลค่ า

•การสร้ างสภาพแวดล้ อม ภายในประเทศทีเ่ อือ้ ต่ อ การแข่ งขันและเป็ นธรรม 46


ASEAN วาระแห่ง ••ยุยุททธศาสตร์ 2555-2564 ธศาสตร์กกระทรวงพาณิ ระทรวงพาณิชชย์ย์ชาติ 2555-2564

•ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

47


ASEAN วาระแห่ง ••ยุยุททธศาสตร์ ชชย์ย์ 2555-2564 ธศาสตร์กกระทรวงพาณิ ระทรวงพาณิชาติ 2555-2564

•ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

48


Q&A


คำาถามท้ ายบท บทที่ 3 • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืออะไร • ประโยชน์ จากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับ อาเซียนมีอะไรบ้ าง อธิบายพร้ อมยกตัวอย่ าง ประกอบ • AEC Blueprint หรือพิมพ์เขียว AEC คืออะไร จัดทำาขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์ ใด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.