บทที่ 5 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

Page 1

บทที่ 5 การสื่ อสารข้ ามวัฒนธรรม By: อ.นำำขวัญ วงศ์ ประทุม


topic • ควำมหมำยของกำรสื่อสำรข้ ำมวัฒนธรรม • ระดับควำมแตกต่ ำงทำงวัฒนธรรม • กำรศึกษำควำมแตกต่ ำงทำงวัฒนธรรม ที่มีผลต่ อกำรสื่อสำร มี 4 ระดับ • แนวคิดเกี่ยวกับกทท.วัฒนธรรม • ควำมตระหนกทำงวัฒนธรรม


Cross ?

Chirstopher wright ; 2549 หมายถึง เรียนรู้ แลกเปลีย่ น และเอาไป ประยุกต์ ใช้ มีอะไรบ้ าง ?


การศึกษาข้ ามวัฒนธรรม การเรียนภาษา

ควำมสำมำรถในกำร พูด

EX.

กำรปฏิบตั ติ วั


การสื่ อสารข้ ามวัฒนธรรมคือ ? • คริสโตเฟอร์ ไรท์ คือ ข้ อควรปฏิบัตขิ องผู้สื่อสารข้ ามวัฒนธรรม • Lusting & Koester หมายถึง กระบวนการแลกเปลีย่ นและตีความสั ญลักษณ์ และปริบทหนึ่ง ๆ โดยบุคคลในกระบวนการสื่ อสารนั้นมีความแตกต่ างทาง วัฒนธรรมมากพอทีจ่ ะแสดงให้ เห็นพฤติกรรมและความคิดแต่ ละ “กลุ่มสั งคม”ทีท่ าำ ให้ เราสามารถทำานายและคาดเดาได้ ว่าจะมีรูป แบบใด และเป็ นไปในลักษณะและทิศทางใด


ระดับของความแตกต่ างทางวัฒนธรรม • ซีกโลกตะวันออก - ตะวันตก (east - west) • ทวีป (continental) • ประเทศ (national) • รัฐ/ ภาค (regional) • กลุ่มชาติพนั ธุ์ต่าง ๆ (Ethnic) • กลุ่มสั งคมและวัฒนธรรมต่ าง ๆ (Socio-cultural group)

- ฐานทางเศรษฐกิจ อาชีพ / เพศ / ฯลฯ


ระดับของความแตกต่ างทางวัฒนธรรม อืน่ ๆ

1) กำรสื่อสำรระหว่ ำงกลุ่มเชือ้ ชำติ (interracial communication) นิกกรอยด์

มองโกรอยด์

คอเคซรอยด์


2) กำรสื่อสำรระหว่ ำงกลุ่มชำติพันธุ์ (interethnic communication) แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม 2.1 ) กลุ่มเร่ ร่อน ผีตองเหลือง ในประเทศไทย


2.2) กลุ่มตัง้ ถิ่นฐำนกึ่งถำวร

ชนเผ่ ำกลุ่มชิน อำศัยอยู่ในประเทศพม่ ำ

ชนเผ่ ำนำกำ (อยู่ตงถิ ั ้ ่นฐานอยู่บนเทือก เขาในบริเวณตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว เวียดนาม ในส่วนที่เชื่อมโยงกับ ตอนใต้ ของประเทศจีน


2.3) กลุ่มรั ฐประเทศ คือ กลุ่มที่มีกำรจัดตัง้ ฐำนถำวรและจัดตัง้ เป็ นอำณำจักรหรื อ ประเทศขึน้


การศึกษากลุ่มชาติพนั ธุ์ในปัจจุบัน แบ่ งตำมตระกลูภำษำเป็ นหลัก 1)กลุ่มภำษำตระกูลไท ได้ แก่ โซ่ ง (ไทดำำ) ไทลือ้ พวน ไทใหญ่ ฯลฯ 2)กลุ่มภำษำตระกลูออสโตรเอเชียติก ได้ แก่ ขมุ ซำไก ญัฮกร มอญ ฯลฯ 3)กลุ่มภำษำตระกูลจีน-ทิเบต ได้ แก่ กะเหรี่ ยง จีนฮ่ อ ลีซู อำข่ ำ ฯลฯ 4)กลุ่มภำษำตระกูลออสโตรเนเซียน ได้ แก่ มำเลย์ (ยำวี) มอเก็น(มอ เกล็น) และอุรักละโวย 5)กลุ่มภำษำตระกูลม้ ง – เมี่ยน ได้ แก่ ม้ ง และเมี่ยน


การศึกษาความแตกต่ างทางวัฒนธรรม ทีม่ ีผลต่ อการสื่ อสาร มี 4 ระดับ 1) ระดับบุคคล Individual level 1.1) Information acquisition คือ กำรฟั ง กำรอ่ ำน กำรเห็น กำรได้ สัมผัส


1.2) Information Processing คือ กำรคิด กำรเรี ยนรู้ และกำรจดจำำ


1.3) Information Transmission คือ กำรพูด กำร เขียน ลักษณะท่ ำทำง และกำรเคลื่อนไหว


2) ระหว่ างบุคคล (Interpersonal level) attraction Source credibility Immediate feedback Interpersonal trust

Status relationship


3) ระดับองค์ กร organizational level


3) ระดับมวลชน Mass level


แนวคิดเกีย่ วกับการท่ องเทีย่ วทางวัฒนธรรม วาเรน สมิท (Valene Smith) ( อ้างใน ศิริ ฮามสุ โพธิ์, ๒๕๓๙ : ๖๕-๖๖)

ได้ ให้ ความหมายการท่ องเทีย่ วประเภทต่ าง ๆ ไว้ดงั นี้ •การท่ องเทีย่ วเพือ่ วัฒนธรรม (Cultural Tourism) คือ การท่ องเทีย่ วเพือ่ สั มผัสและเข้ าร่ วมการใช้ วถิ ีชีวติ แบบดั้งเดิม เก่ า ๆ ของท้ องถิน่ เพือ่ ให้ เกิดความเข้ าใจถึงประวัติความเป็ นมาและการ ดำาเนินชีวติ ทีแ่ ตกต่ างจากวัฒนธรรมของตน •การท่ องเทีย่ วเพือ่ ชาติพนั ธุ์ ( Ethnic Tourism ) คือ การท่ องเทีย่ วเพือ่ การสั งเกต การแสดงออกทางวัฒนธรรม และ แบบแผนการใช้ ชีวติ ประจำาวันของชนต่ างสั งคม ต่ างเผ่ าพันธุ์ รวมทั้งการ เดินทางไปเยีย่ มเยือนบ้ านเกิดเมืองนอน


แนวคิดเกีย่ วกับการท่ องเทีย่ วทางวัฒนธรรม • การท่ องเทีย่ วเพือ่ ประวัติศาสตร์ ( Historical Tourism ) คือ การท่ องเทีย่ วเพือ่ ชมพิพธิ ภัณฑสถานโบราณวัตถุ โบราณสถาน ทีเ่ น้ นความรุ่ งเรืองในอดีต ***************************************

Sugar (อ้ างในพลอยศรี โปราณานนท์ ๒๕๓๙ : ๙๔) กล่าวถึงส่ วนประกอบทางวัฒนธรรมทีส่ ามารถดึงดูดนักท่ องเทีย่ วในเชิง ของการท่ องเทีย่ วทางวัฒนธรรม ประกอบด้ วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ งานหัตถกรรม กิจกรรมทางประเพณี ภาษา อาหาร ศิลปะ ดนตรี ศาสนา สถาปัตยกรรม การศึกษา ลักษณะการแต่ งกาย เทคโนโลยีของชุ มชนท้ อง ถิน่ และกิจกรรมยามว่าง


การท่ องเทีย่ วเชิงศิลปะและวัฒนธรรม ศิลปะ วัฒนธรรม ไทย ทีม่ ศี ักยภาพ ในการส่ งเสริมการ ท่ องเทีย่ วในระดับ สากล

• ศิลปวัฒนธรรมพื ้นบ้ าน ศิลปะร่วมสมัย • ภาพยนตร์ เอมิเนชัน่ • อาหารไทย, มวยไทย • โบราณสถาน โบราณวัตถุ • กิจกรรมและประเพณี

เทศกำลสงกรำนต์ , ปี ใหม่ , ลอยกระทง, แห่ เทียนพรรษำ • เส้ นทำงท่ องเที่ยวลุงโฮ GI และสงครำมเอเชียบูรพำ • เส้ นทำงท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ล้ ำนนำ, อีสำน) • กำรพัฒนำย่ ำนกำรค้ ำจังหวัด


แนวคิดการท่ องเทีย่ วเชิงสร้ างสรรค์ แนวคิดการท่ องเทีย่ วเชิงสร้ างสรรค์ มีทมี่ าจากการท่ อง เทีย่ วเชิงวัฒนธรรมโดยมีจุดเริ่มต้ นจากในแถบทวีปยุโรปซึ่งจะเน้ น การท่ องเทีย่ วเพือ่ เป็ นประสบการณ์ และการเพิม่ พูนความ รู้ RaymondและRichardsซึ่งเป็ นสมาชิกของสมาคมเพือ่ การศึกษา การท่ องเทีย่ วและสั นทนาการ (ATLAS) ได้ ให้ คาำ จำากัดความการ ท่ องเทีย่ วเชิงสร้ างสรรค์อย่ างเป็ นทางการ ว่ าเป็ นการท่ องเทีย่ วที่ เน้ นการมีส่วนร่ วมในวัฒนธรรมของชุ มชนผ่ านทางกิจกรรมและ ประสบการณ์ ทไี่ ด้ รับ(Wurzburger,Aagesen,Pattakos,&Pratt,2009)


องค์ กร UNESCO สนับสนุนการพัฒนา และสร้ างเครือข่ ายเมืองสร้ างสรรค์ ซึ่งส่ งเสริม ความรู้ ความเข้ าใจวัฒนธรรมอัตลักษณ์ ของแต่ ละ ชุมชนผ่ านประสบการณ์


แบบจำาลองกำารพัฒนาการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม Bywater (1993) ได้ แยกประเภทนักท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมออกเป็ น 3 ประเภท 1.นักท่ องเทีย่ วตามแรงกระตุ้นทางวัฒนธรรม(Culturally Motivated)หมายถึงผู้ทเี่ ดินทางท่ องเทีย่ วด้ วยเหตผุลทางวัฒนธรรมนักท่ อง เทีย่ วกลุ่มนีม้ คี วามสนใจทีจ่ ะเรียนรู้ ศึกษาวัฒนธรรมและมีพฤติกรรมทีจ่ ะพักอยู่ ในแหล่งท่ องเทีย่ วเป็ นระยะเวลานาน 2.นักท่ องเทีย่ วตามแรงบันดาลใจทางวัฒนธรรมCulturally Inspired)หมายถึงผู้ทถี่ ูกดึงดูดใจด้ วยศักยภาพของแหล่งท่ องเทีย่ วทีเ่ ป็ นทีร่ ้ ู จกั หรือได้ รับการประชาสั มพันธ์ ผ่านสื่ อรูปภาพโดยนักท่ องเทีย่ วประเภทนีจ้ ะใช้ ระยะเวลาทีจ่ ะพักอยู่ในแหล่งท่ องเทีย่ วน้ อยกว่าประเภทแรกแต่ มโี อกาสทีจ่ ะเดิน ทางกลับมายังสถานทีท่ ่ องเทีย่ วอีกครั้งในอนาคต


แบบจำาลองการพัฒนาการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม 3.นักท่ องเทีย่ วตามแรงดึงดูดทางวัฒนธรรม(Culturally Attracted) หมายถึง ผู้ทมี่ คี วามสนใจในกิจกรรมการท่ องเทีย่ วทีเ่ กิดขึน้ โดยนักท่ องเทีย่ ว ประเภทนีจ้ ะมีระยะเวลาในการท่ องเทีย่ วน้ อย อาจจะเป็ นในลักษณะเยีย่ มชม มากกว่าการพักอาศัย


Smith(2003) ได้ จดั ประเภทและพฤติกรรมนักท่ องเทีย่ ว ในแหล่ งท่ องเทีย่ วทางวัฒนธรรมดังนี้ ประเภทนักท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นักท่ องเที่ยวแหล่ งมรดก(Heritage Tourist)

สถานที่และกิจกรรมที่สนใจ

นักท่ องเที่ยวศิลปะ(Arts Tourist)

ปราสาท พระราชวัง บ้ านโบราณ แหล่ งโบราณคดี อนุสาวรีย์ โรงละคร การแสดง คอนเสิ ร์ต เทศกาล งานประเพณี

นักท่ องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์ (Creative Tourist)

ถ่ ายภาพ วาดภาพ เครื่องปั้น ทำาอาหาร หัตถกรรม

นักท่ องเที่ยววัฒนธรรมเมือง(Urban Cultural Tourist) แหล่ งประวัตศิ าสตร์ แหล่ งอุตสาหกรรม นักท่ องเที่ยววัฒนธรรมชนบท(Rural Cultural Tourist) การท่ องเที่ยวเชิงเกษตร ชุมชน ฟาร์ ม พิพธิ ภัณฑ์ ธรรมชาติ ภูมิทัศน์ นักท่ องเที่ยววัฒนธรรมภูมิปัญญาท้ องถิน่ (In digeneous ชาวเขา ทะเลทราย เดินป่ า ศูนย์ วฒ ั นธรรมศิลปะและ Cultural Tourist) หัตถกรรม นักท่ องเที่ยววัฒนธรรมทันสมัย (Popular Cultural สวนสนุก ห้ างสรรพสิ นค้ า การแสดงคอนเสิ รต์ Tourist) งานแข่ งขันกีฬา


การท่ องเทีย่ วญีป่ ่ ุน

• การท่ องเทีย่ วญีป่ นตั ุ่ ้งเป้ าไว้ว่าภายใน 2-3 ปี ข้ างหน้ า จะมีนัก ท่ องเทีย่ วมาเยือนญีป่ ุ่ นเพิม่ เป็ น 10 ล้านคน และทางการญีป่ ุ่ น พยายามแก้ปัญหาการสื่ อสารด้ านภาษา ทีร่ ู้กนั ดีว่าคนญีป่ นส่ ุ่ วน ใหญ่ พูดอังกฤษไม่ ค่อยได้ • นักท่ องเทีย่ วทีม่ าเยือนญีป่ ุ่ นจำานวนมากเคยบอกว่ าสิ่ งทีน่ ่ า ประทับใจของประเทศนีค้ อื ความปลอดภัย ความสะอาด และสิ่ ง อำานวยความสะดวกต่ างๆ ขณะทีเ่ รื่องแย่ ทสี่ ุ ดก็คอื ภาษาและการ สื่ อสารต่ างๆ ทีไ่ ม่ มีภาษาอังกฤษอธิบายเลย


การท่ องเทีย่ วญีป่ ่ ุน

• ทีผ่ ่านมาคนญีป่ นอาจจะไม่ จำาเป็ นต้ องใช้ ภาษาอังกฤษ เพราะไม่ ุ่ ได้ ใช้ ในชีวติ ประจำาวัน หากเราต้ องต้ อนรับนักท่ องเทีย่ วทีเ่ พิม่ มากขึน้ ก็ต้องมีสิ่งอำานวยความสะดวกด้ านภาษาด้ วย อาทิ – เรามีบริการด้ านภาษาในรถแท็กซี่ เมือ่ มีแขกต่ างชาติเรียกรถ หากพูด กันไม่ ร้ ูเรื่อง โชเฟอร์ จะโทรศัพท์ ไปที่ศูนย์บริการด้ านภาษา จะมีโอ เปอเรเตอร์ พดู ภาษาอังกฤษคอยทำาหน้ าทีเ่ ป็ นล่ามให้ ท้งั สองฝ่ ายได้ ติดต่ อกัน – ทุกวันนีม้ ีป้ายบอกสถานที่ และเส้ นทางเป็ นภาษาอังกฤษติดไว้ ตาม ถนนหนทาง อาคารสำ านักงาน ศูนย์ การค้ าต่ างๆ และสถานีรถไฟมาก ขึน้ เพือ่ ให้ นักท่ องเทีย่ วสามารถเดินทางสั ญจรเองได้ " ทาจิมากล่ าว


5 วัฒนธรรม การอาบน้ำ าทีแ่ ปลกทีส่ ุ ด • Beer Bath


• Petroleum Bath

ช่ วยป้องกันโรคข้ ออักเสบและโรคผิวหนังเนื่องจากมีกาำ มะถันเจือปน การอาบน้ำ าประหลาดนี้ ให้ บริการบำาบัดที่ สถานพยาบาลใน Naftalan ประเทศอาเซอร์ ไบจาน


• Tomato bath กิจกรรมฮิตในช่ วงเทศกาลมะเขือเทศของ โคลอมเบีย เป็ นวัฒนธรรมทีม่ ชี ื่อ เสี ยง โดยให้ ผู้รักการกินมะเขือเทศได้ ฉ่ำาปอดกลางกองมะเขือยักษ์ ผสม ปนเปกันเป็ นน้ำ าผักสุ ดวิเศษ


• Red Wine Bath ในบ่ อน้ำ าพุร้อน แถบ Hakone Kowakien ประเทศญี่ปุ่น


• Soil Bath การอาบดิน เป็ นวัฒนธรรมที่ได้รับการนิยมมากใน Kyushu ประเทศญี่ปุ่น การ นอนฝังดินนั้นช่วยขับเหงื่อออกทัว่ ร่ างกาย เป็ นการพักผ่อนทั้งภายนอกและ ภายใน ให้ความรู ้สึกสดชื่น


กฎหมายแปลกทัว่ โลก

• ห้ ามเดินเคีย้ วหมากฝรั่งบนถนน ทีส่ ิ งคโปร์ ถูกบัญญัติข้ ึนในประเทศสิ งคโปร์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 เพื่อรักษาความสะอาด ไม่ให้บา้ นเมืองสงปรก


• สู บบุหรี่ผดิ กฎหมาย แต่ สูบกัญชาได้ สบายที่ Amsterdamเนเธอร์ แลนด์


• ห้ ามกินทุเรียนในทีส่ าธารณะ หลายโซนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


• สาวโสดห้ ามโดดร่ ม ที่ Florida สหรัฐอเมริกา ในวันอาทิตย์


• ขับไม่ จูบ ที่ Eboli อิตาลี ปรับถึง 500 ยูโร ก็ประมาณ 2 หมื่น


• ห้ ำมใส่ รองเท้ ำมีเสียง ที่ Capri อิตำลี


• ห้ ำมกดชักโครกหลังสี่ท่ มุ กฎหมำยน่ ำกลุ้ม! ที่สวิตเซอร์ แลนด์


ความตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) • Culture Shock เป็ นศัพท์ ทใี่ ช้ ครั้งแรกโดยนักมานุษยวิทยา ชื่อ Kalvero Oberg (1960) • ความตระหนกทางวัฒนธรรมเกิดขึน้ เมือ่

– เกิดขึน้ อย่ างฉับพลัน ซึ่งเป็ นผลมาจากการสู ญเสี ยสั ญลักษณ์ บาง อย่ างทีค่ ุ้นเคยในการติดต่ อหรือมีปฏิสัมพันธ์ ทางสั งคม – สั ญลักษณ์ เหล่ านีร้ วมไปถึงวิธีการปฏิบัตติ นในบริบทต่ าง ๆ เช่ น การทักทายและการจับมือ เมือ่ เราเจอคนรู้จกั การให้ ทปิ การสั่ งงาน การซื้อของ การยอมรับหรือปฏิเสธคำาเชื้อเชิญ เป็ นต้ น หรือสั ญลักษณ์ เหล่านีอ้ าจจะเป็ นคำาพูด ท่ าทาง สี หน้ า ประเพณี บรรทัดฐาน


• ความตระหนกทางวัฒนธรรมจึงเกิดขึน้ เมือ่ คนคนหนึ่งต้ องพบ กับอุปสรรคของสิ่ งเร้ าให้ เราเกิดการรับรู้ ใหม่ และความ ตระหนกทางวัฒนธรรมเป็ นผลมาจากสิ่ งทีเ่ รา “คาดคิด” ใน วัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ไม่ ตรงกับสิ่ งทีพ่ บเห็นจริง ๆ • โดยทัว่ ไป ความเครียดจะสู งขึน้ เมือ่ คนเราไม่ ได้ พบกับสิ่ งทีเ่ คย เจอเป็ นประจำาในวัฒนธรรมเก่ าของตน ไม่ สามารถสื่ อสาร ไม่ เข้ าใจสิ่ งต่ าง ๆ รอบตัว ไม่ เข้ าใจว่ าทำาไมคนในวัฒนธรรมนั้น จึงประพฤติปฏิบตั เิ ช่ นนั้น


• การตกตะลึงทางวัฒนธรรมเกิดจากการเข้ ามาอยู่อาศัยใน วัฒนธรรมทีไ่ ม่ คุ้นเคยเป็ นความไม่ สบายกายและไม่ สบายใจในการเข้ ามาอยู่อาศัยในโลกทีค่ าดการณ์ ไม่ ได้ รวมทั้งการสู ญเสี ยความสะดวกสบายในสั งคมส่ วน ตัว” (งามพิศ สั ตย์ สงวน, 2542) • อาการของความตระหนกทางวัฒนธรรมแตกต่ างกันไป แต่ ละคน ทั้งนี้ขนึ้ อยู่กบั ความรุนแรงของความตระหนก ช่ วงเวลา ความยืดหยุ่นของแต่ ละคน ฯลฯ


• อาการทางกายทีพ่ บมักเป็ นเรื่องวิตกกังวลเกีย่ วกับความ สะอาดของอาหาร ทีน่ อน และจานชาม สุ ขภาพ และ ความปลอดภัยของชีวติ ความกลัวในเรื่องโรคติดต่ อ การ สั มผัสทางกายกับคนในวัฒนธรรมใหม่ การใช้ ยาและ แอลกอฮอล์ รวมทั้งอยากจะกินอาหารของชาติตนที่ ถูกปากมากกว่ า


• อาการทางจิตใจ ได้ แก่ การนอนไม่ หลับ ความเหนื่อย อ่อน ความโดดเดีย่ ว และเปลีย่ วเหงาใจ ความรู้สึกไม่ มี พวก ความสิ้นหวัง การวิพากษ์ วจิ ารณ์ วฒ ั นธรรมใหม่ ความกระวนกระวายใจ ความสงสั ยในตนเอง ความ หงุดหงิด ความเสี ยใจ และความโกรธ


• ผลกระทบของความตระหนกทางวัฒนธรรมมีอทิ ธิพลต่ อ การสื่ อสารต่ างวัฒนธรรมอย่ างเด่ นชัด และมีผลต่ อ ประสิ ทธิภาพการสื่ อสารต่ างวัฒนธรรม เช่ น เมือ่ เกิด ความสิ้นหวังกับการเรียนรู้วฒ ั นธรรมใหม่ อาจจะทำาให้ ถูกตีความจากคนในวัฒนธรรมนั้น ๆ ได้ ว่าต้ องการเป็ น ศัตรู หรือสร้ างความขัดแย้งกับพวกเขา เช่ น ไม่ เข้ าร่ วม กิจกรรม พยายามหลบหน้ าคนแปลกหน้ า


• บางคนมีอาการเจ็บป่ วยจากความตระหนกมากต้ องการ กลับบ้ านเกิดทันที ขณะทีบ่ างคนอาจมีอาการเพียงเล็ก น้ อย และสามารถปรับตัวได้ ในระยะเวลา 4-5 เดือน ทั้งนี้ ขึน้ อยู่กบั ความแตกต่ างระหว่ างวัฒนธรรมเดิม และวัฒนธรรมใหม่ บางคนอาจมีความอดทนและมี ทักษะในการถ่ ายทอดเป็ นพฤติกรรมและทัศนคติใน การเรียนรู้ทดี่ จี นสามารถพิจารณาความแตกต่ างทาง วัฒนธรรมหรือสถานการณ์ ทางสั งคมได้ ดี ซึ่งช่ วย พัฒนาทักษะในการสื่ อสารระหว่ างบุคคลได้


ความตระหนกทางวัฒนธรรมและการปรับตัว Morris Sill เชื่อว่ าการเข้ าสู่ วฒ ั นธรรมใหม่ บุคคลน่ าจะผ่ าน ขั้นตอนต่ าง ๆ ดังนี้ • ขั้น Discovery ความตื่นเต้นและความรู้สึกยินดีในถิ่นที่ไปอยูใ่ หม่ • ขั้น Self-Alignment เริ่มหันมาสนใจกับความแตกต่ างและสิ่งต่ าง ๆ ทีไ่ ม่ คุ้นเคย

• ขั้น Participation เริ่มเข้าใจตัวเองและควบคุมตัวเองได้ พยายาม พัฒนาทักษะการสื่ อสาร เริ่มต้ นผูกมิตรกับคนในท้ องถิน่ นั้น ๆ

• ขั้น Devolution ปรับตัวให้ เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ได้โดยสมบูรณ์


• เมือ่ บุคคลเกิดความตระหนกทางวัฒนธรรม มักจะ – เริ่มรู้ สึกถึงความแตกต่ างทางวัฒนธรรม – เริ่มปรับตัว เริ่มเข้ าใจในบางอย่ างทีอ่ ยู่รอบตัว – เริ่มเข้ าใจภาษา ปัญหาเล็ก ๆ น้ อย ๆ เริ่มหายไป กล้ าดืม่ น้ำ า กล้ าสั มผัสกับคนท้ องถิน่ พยายามอดทนและปลอบ ตนเองเกีย่ วกับวัฒนธรรมและนิสัยของคนในท้ องถิน่ ที่ แตกต่ าง – เริ่มเป็ นเพือ่ นกับคนในท้ องถิน่ มองพฤติกรรมของคน ท้ องถิน่ ด้ วยความเข้ าใจ ความวิตกกังวลเริ่มหายไป


รวมทั้งคิดว่ าได้ เรียนรู้ประสบการณ์ ใหม่ ๆ โดยเฉพาะ ประสบการณ์ การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมทีล่ กึ ซึ้ง ทำาให้ เข้ าใจตนเองมากขึน้ และเข้ าใจคนอืน่ ๆ ได้ มากขึน้ - รู้ ว่าควรมีพฤติกรรม ค่ านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ อย่ างไร เข้ าใจในค่ านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ วัฒนธรรมในท้ องถิ่นนั้น สามารถคาดการณ์ ความคิด และพฤติกรรมการสื่ อสารของบุคคลต่ างวัฒนธรรม ล่วงหน้ าได้ อย่างถูกทิศทางมากขึน้


Foster

Sill

Jandit

1) Honey moon 1) discovery

1) Honey moon

2) crisis

2) frustration

3) recovery 4) adaptation

1) Initial Euphoria 2) self2) Irritation alignment &hostility 3) participation 3) Gradual adjustment 4) devolution 4) Adaptation or biculturalism

Kim

3) readjustment 4) resolution


• แม้ สามารถปรับตัวได้ อย่ างดีเพือ่ ให้ เข้ ากับวัฒนธรรมใหม่ ได้ ความตระหนกทางวัฒนธรรมอาจจะเกิดขึน้ เมื่อต้ องการกลับสู่ บ้ านเกิด (Reverse Culture Shock) ความตระหนกทาง วัฒนธรรมนีเ้ ป็ นสาเหตุให้ เกิดความทุกข์ และเกิดความสั บสน อย่ างมาก และอาจมากกว่ าการปรับตัวในตอนแรกเสี ยอีก ทั้งนี้ จะเกิดขึน้ ในกรณีทวี่ ฒ ั นธรรมบ้ านเกิดของตนไม่ ดเี ท่ ากับ วัฒนธรรมใหม่ เมื่อเทียบในแง่ ทเี่ ราประทับใจและชื่นชม วัฒนธรรมใหม่ หรือเกิดจากการคุ้นเคยกับวัฒนธรรม


กระบวนการปรับตัวทางวัฒนธรรมทีแ่ สดงได้ เป็ นรู ปตัว W (W-Shaped Model) • Gullahorn & Gullahorn (1963) ได้ เสนอแบบจำาลองที่ อธิบายถึงช่ วงต่ าง ๆ 7 ช่ วงของกระบวนการปรับตัวทาง วัฒนธรรมทีแ่ สดงได้ เป็ นรูปตัว W (W-Shaped Model)


ADJUSTMENT SATISFACTION HONEY MOON

ช่ วงตื่นตำตื่นใจ และอยำกรู้ อยำกเห็น รู้ สกึ ว่ ำวัฒนธรรมใหม่ เป็ นเสมือนบ้ ำนของตนเอง

IN-SYNC HOMOROUS

รู้สึกเข้ ำที่เข้ ำทำงมำกขึน้

HOSTILITY

รู้ สกึ สับสน

RESOCIALIZATION

ปรั บตัวกลับเข้ ำสู่วัฒนธรรมเดิม

AMBIVALENCE

รู้ สึกใจหำยและอำลัยวัฒนธรรมใหม่

RE-ENTRY

รู้ สึกว่ ำวัฒนธรรมเก่ ำแตกต่ ำงไปจำกควำมคำดหวัง


• การเข้ าสู่ วฒ ั นธรรมและเผชิญหน้ ากับสิ่ งทีแ่ ตกต่ าง และไม่ คุ้นเคยนั้นจะก่ อให้ เกิดความเครียด (Kim, 1994) • ความเครียดกระตุ้นให้ เกิดความพยายามหาทางออก โดยการเปิ ดรับการเรียนรู้ใหม่ ๆ และนำาไปสู่ การปรับ ตัว


• การปรับตัวนีน้ ำาไปสู่ ความก้าวหน้ าภายใน (Internal growth) คือความ สามารถในการปรับทิศทางการปฏิบัตขิ องตนเองให้ เหมาะสมกับหน้ าที่ ทีต่ ้ องปฏิบัติในวัฒนธรรมใหม่ โดยมีสุขภาพจิตทีด่ ีด้วย • ทั้งนี้ ปัจจัยทั้ง 3 คือ ความเครียด (Stress) การปรับตัว (Adaptation) และความก้ าวหน้ า (Growth) นั้น จะมีการพัฒนาไปในทิศทางทีเ่ ป็ นวง ต่ อเนื่องแบบถอยหลังและเดินหน้ า (Draw-back-to leap) กล่ าวคือ ถอยหลังเป็ นการผละออกจากการหล่อหลอมเดิมชั่วขณะ เพือ่ ปรับ พฤติกรรมของตนเอง แล้วจึงเดินหน้ าเพือ่ หล่อหลอมสู่ วฒ ั นธรรม ใหม่ ต่อไป


ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อระดับความตระหนกทาง วัฒนธรรมและการปรับตัว

• พืน้ ฐาน/ ลักษณะส่ วนบุคคล สิ่ งทีต่ ดิ ตัวและเตรียมตัวไว้ ล่วงหน้ า (Predisposition) • สภาพแวดล้อมของสั งคมและประเทศเจ้ าบ้ าน (Host Environment) • บทบาทสื่ อมวลชน/ กฎหมาย/ ศาสนา ฯลฯ


• พืน้ ฐาน/ ลักษณะส่ วนบุคคล สิ่ งทีต่ ดิ ตัวและเตรียมตัว ไว้ ล่วงหน้ า (Predisposition) – บุคลิกนิสัย – ทัศนคติ/ อคติ/ การมองแบบเหมารวม (Stereotype) – ความคาดหวัง – ระดับการเตรียมตัว/ การศึกษา/ ความรู้ – ความแตกต่ าง – ทักษะการสื่ อสาร/ ทักษะการใช้ ภาษา – ภูมิหลัง


• สภาพแวดล้อมของสั งคมและประเทศเจ้ าบ้ าน –ลักษณะวัฒนธรรม –ความประทับใจแรกพบต่ อวัฒนธรรมเจ้ าบ้ าน –การช่ วยเหลือสนับสนุนจากกลุ่มคนในสั งคม –การรับรองอย่ างเป็ นทางการของทางราชการ –โอกาส/ ความถีใ่ นการสื่ อสาร


• บทบาทสื่ อมวลชน/ กฎหมาย/ ศาสนา ฯลฯ –บทบาทของสื่ อมวลชน –บทบาทของกฎหมาย –บทบาทของศาสนา


Q&A


คำาถามท้ ายบท บทที่ 5 • การสื่อสารข้ ามวัฒนธรรม คือ อะไร ? • พิจำรณำควำมแตกต่ ำงทำงวัฒนธรรมได้ จำกสิ่งใดได้ บ้ำง ? ยก ตัวอย่ ำงประกอบ • กำรศึกษำควำมแตกต่ ำงทำงวัฒนธรรมมีผลต่ อกำรสื่อสำร อย่ ำงไรบ้ ำง ? • ควำมตระหนกทำงวัฒนธรรมเกิดขึน้ ได้ อย่ ำงไรบ้ ำง ? ยกตัวอย่ ำง ประสบกำรณ์ ท่ เี คยเจอในชีวิตประจำำวันประกอบ


งานกล่ มุ

ให้ นักศึกษำแบ่ งกลุ่มศึกษำ Cultural Shock ของประเทศดังต่ อไปนี ้ 1)จีน 9) ฟิ ลิปปิ นส์ 2)รัสเซีย 10) มำเลเซีย 3)อินเดีย 11) สิงค์ โปร์ 4)ญี่ปุ่น 12) พม่ ำ 5)เกำหลี 6)เยอรมัน 7)อังกฤษ 8)ออสเตเรี ย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.