บทที่ 4 แนวคิด
พฤติกรรมการแสดงข้ ามวัฒนธรรม
ทางการท่ องเทีย่ ว
By; อ.นำาขวัญ วงศ์ ประทุม
Topic ; - ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์
- พฤติกรรมนักมานุษยวิทยา - วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ - ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการสื่ อสาร - ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคมความ
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์ เมื่อประมาณ 6,000 ปี ทีแ่ ล้ว มนุษย์ ได้ พฒ ั นารัฐแห่ งแรก ขึน้ ซึ่งทำาให้ เกิดอารยธรรมในดินแดนทีเ่ รียกว่ าเมโสโปเตเมีย, ลุ่ม แม่ น้ำาซาฮารา / ไนล์ และอารยธรรมลุ่มแม่ น้ำาสิ นธุรัฐเหล่ านีม้ ีการ จัดรู ปแบบการบริหารการปกครองโดยรัฐบาล และจัดกำาลังทางการ ทหารเพือ่ การป้ องกัน มีการร่ วมมือกันและแข่ งขันกันระหว่ างรัฐ ต่ าง ๆ เพือ่ ได้ ทรัพยากร ซึ่งในบางกรณีกถ็ งึ ขั้นทำาสงครามระหว่ าง กัน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี ทีแ่ ล้ว บางรัฐเช่ น เปอร์ เซีย, อินเดีย , จีน , โรม , และกรีซ เป็ นรัฐแรก ๆ ทีป่ ระสบ ความสำ าเร็จจากการขยายดินแดนและพัฒนาตัวเองจากรัฐจนกลาย เป็ นอาณาจักร
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์ ในช่ วงเวลาตอนปลายของยุคกลางได้ เกิดการปฏิวตั ทิ างความคิดและ เทคโนโลยี สั งคมเมืองทีก่ ้ าวหน้ าใน ประเทศจีนได้ เป็ นปัจจัยทีช่ ่ วยให้ เกิดนวัตกรรมและความรู้ ใหม่ ๆ เช่ น การหว่ านเมล็ดพืช และการพิมพ์ ความก้าวหน้ าทาง วิทยาศาสตร์ ได้ สร้ างยุคทองหรือยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการของ อิสลามให้ กบั อาณาจักรมุสลิม การกลับมาค้นพบความรู้ในยุค คลาสสิ คของยุโรปและการประดิษฐ์ แท่ นพิมพ์นำาไปสู่ การฟื้ นฟู ศิลปะวิทยาการในศตวรรษที่ 14
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์ ในระยะเวลา 500 ปี ต่ อมา เป็ นยุคแห่ งการเดินทางสำ ารวจและสร้ างอาณานิคม จนกระทัง่
ดินแดนส่ วนใหญ่ ในทวีปอเมริกา
เอเซีย
แอฟริกา
อยู่ภายใต้ การควบคุมและครอบครองโดยชาวยุโรป การดิน้ รนเพือ่ อิสรภาพ การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 17 และการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18-19 ก่ อให้ เกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงรู ปแบบการเดินทางการขนส่ งครั้งใหญ่
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์
มนุษย์ สามารถเดินทางได้ ในระยะเวลาทีเ่ ร็วขึน้ มาก
มนุษย์ สามารถรวมกลุ่มกันได้ ง่ายขึน้ การเปลีย่ นแปลงทางอาชีพ การทำางานในโรงงานอุตสาหกรรม
การทำาการเกษตรกรรม อาชีพบริการ
รองรับระบบสั งคมเมืองและจำานวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่ างรวดเร็ว
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์ ปลายศตวรรษที่ 20 เป็ นการเริ่มต้ นของยุคข้ อมูลข่ าวสารหรือสารสนเทศ อินเตอร์ เนท
เครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์ มนุษย์ มแี หล่งกำาเนิดในตอนกลางของทวีปแอฟริกา และทวีปเอเชียทีต่ ิดกับยุโรป "ยูเรเชีย" (Eurasia) แพร่ ไปสู่ เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งทวีปอืน่ ๆ
มนุษย์ ในระยะแรก ๆ มีชีวติ ความเป็ นอยู่เหมือนสั ตว์อนื่ ๆ โดยทัว่ ไป รู้ จกั การใช้ เหตุผล ความคิด รู้ จกั การใช้ เครื่องมือเครื่องใช้ ต่าง ๆ และ สามารถสร้ างปฏิกริ ิยาตอบโต้ ต่อสภาพแวดล้อม การค้นคิดและสร้ างสั ญลักษณ์ เพือ่ สื่ อความเข้ าใจ จนกลายเป็ นกระสวนหรือแบบ อย่ างแห่ งพฤติกรรมทีเ่ รียกว่ า "วัฒนธรรม" (Cultures)
พัฒนาการของมนุษย์ เริ่มจากสมัยแห่ งความดุร้าย (Savagery)
วัฒนธรรมทีล่ ้าหลังทีส่ ุ ด
มาสู่ สมัยป่ าเถือ่ น (Barbarism)
วัฒนธรรมทีส่ ู งขึน้ มา
เริ่มประดิษฐ์ ตัวอักษร สมัยแห่ งการสื่ อภาษาด้ วยสั ญญาณเสี ยง ทำาการเพาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ มีบ้านเป็ นหลักแหล่ง สร้ างอารยธรรม (Civilization) รวมกันสร้ างสั งคมเมือง (Urban Life)
ต้ นกำาเนิดวัฒนธรรมของมนุษย์
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา นักมานุษยวิทยาทางสั งคม ก็มองไปทีป่ ฏิสัมพันธ์ ของสั งคม สถานภาพและสถาบัน
นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
เน้ นทีบ่ รรทัดฐานและคุณค่ า
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา มนุษย์ ถูกจัดอยู่ในสปี ชีส์เดียวกัน คือ Homo sapiens sapiens นักมานุษยวิทยาแบ่ งมนุษย์ ออกเป็ น 5 เผ่ าพันธุ์ คือ 1) ออสเตรลอยด์ (australoids) ศีรษะยาว จมูกแบน ผมเป็ นลอน ขนตามตัวมาก ผิว ดำา ได้ แก่ คนพืน้ เมืองของออสเตรเลีย และเกาะแทสมาเนีย
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา 2) คอเคซอยด์ (caucasoids) จมูกโด่ ง ผมเป็ นลอน หนวดเคราดก ผมยาว ผิวสี อ่อน ดำารงชีวติ อยูในเขตอบอุ่น คือ ยุโรป เมดิ เตอเรียเนียน (mediteraneans) ยุโรปเหนือ (nordics) และ พวกยุโรปกลางต่ อไปยังรัสเซีย (alpines) พวกคอเคซอยด์ แบบเมดิเตอร์ เรเนียน มี บทบาททาง Cult. ในยุคแรก ๆ ของโลก ซึ่งอาศัยอยู่ทาง ลุ่มแม่ น้ำาไนล์ (ดินแดนอียปิ ต์ )
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา 3) มองโกลอย์ ด (mongoloids)
ศีรษะกว้ าง จมูกแก้ มเป็ นโหนก ผมแข็งเหยียดตรง จมูกไม่ โด่ งมาก ผิวเหลืองหรือแดง หนวดเคราและขนตามร่ างกายมีน้อย mongoloids อาศัยอยู่ตามเอเชียตะวันออก เอสกิโม (eskimo) คน ไทยและอินเดียนในอเมริกา (american indians) มีความเจริญทางCult. มานับพัน ๆ ปี โดยเฉพาะวัฒนธรรม ทางด้ านจิตใจ และปรัชญาต่ าง ๆ ในการดำารงชีวติ Ex. วัฒนธรรมในการนับถือศาสนาพุทธ
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา 4) นิกรอยด์ (negroids) ศีรษะยาวจมูกกว้ าง ริมฝี ปากหนา ผิวดำา ผมหยิก ไอคิวเฉลีย่ สมัยนีก้ ้ าวหน้ าดีกว่ าเผ่ าพันธุ์อนื่ อาศัยอยู่ในป่ า เขตร้ อนคองโก (african negroes) คนป่ าซู ลู (zulu) เผ่ าแคฟเฟอร์ (kaffir) คนผิวดำาตาม มหาสมุทรแปซิฟิกของนิวกีนี (oceanic negroes new guinea)
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
5) ปิ กมี่ (pygmies)
เป็ นคนแคระสู งไม่ ถงึ 145 ซม ศีรษะกว้ าง จมูกกว้ าง อาศัยอยู่ในป่ าเขตร้ อนของคองโก (congo) และชามอด (chamod)
พฤติกรรมนักมนุษยวิทยา
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ วัฒนธรรมภูมภิ าคจำานวนมากได้ รับ อิทธิพลจากการติดต่ อกับภูมภิ าคอืน่ Ex. การเป็ นอาณานิคม การค้ าขาย การย้ ายถิน่ ฐาน การสื่ อสารมวลชน ศาสนา
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่
1) แอฟริกา แม้ จะมีต้นตอทีแ่ ตกต่ างกัน วัฒนธรรม แอฟริกา โดยเฉพาะวัฒนธรรมแถบใต้ สะฮา ราซึ่งได้ รับการก่ อรู ปโดยการตกเป็ น อาณานิคมของยุโรป และโดยเฉพาะแอฟริกา เหนือทีถ่ ูกก่ อรู ปโดยวัฒนธรรมอาหรับและ
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ 2) อเมริกา วัฒนธรรมของอเมริกาได้ รับอิทธิพลอย่ างสู งจาก ชนพืน้ เมืองทีอ่ าศัยในผืนทวีปนั้นมานานก่ อนทีช่ าว ยุโรปย้ ายถิน่ เข้ ามาอยู่ ผู้มาจากแอฟริกา (โดยเฉพาะ สหรัฐฯ ทีป่ ระชากรชาวแอฟริกนั -อเมริกนั ) และจาก ผู้อพยพชาวยุโรปต่ าง ๆ โดยเฉพาะชาวสเปน ชาว อังกฤษ ชาวฝรั่งเศส ชาวโปรตุเกส ชาวเยอรมัน ชาว ไอร์ แลนด์ ชาวอิตาลีและชาวฮอลแลนด์
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ 3) เอเชีย แม้ ว่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศเอเซียจะสู งมากก็ตาม แต่ กย็ งั มีอทิ ธิพลของการเปลีย่ นถ่ ายวัฒนธรรมให้ เห็นไม่ น้อย แม้ เกาหลี ญีป่ นและ ุ่ เวียดนามไม่ ใช้ ภาษาจีนในการพูด แต่ ภาษาของประเทศเหล่ านีก้ ม็ ีอทิ ธิพลของจีน ทั้งการพูดและการเขียน ดังนั้น ในเอเซียตะวันออก อักษรจีนจึงได้ รับการยอมรับว่ า เป็ นตัวกลางของอิทธิพล ด้ านศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธและลัทธิเต๋ า มีผลกระ ทบสู งต่ อวัฒนธรรมประเพณีของประเทศกลุ่มเอเซียตะวันออก รวมทั้งการมีลทั ธิ ขงจือ้ ผสมปนอยู่ในปรัชญาทางสั งคมและศีลธรรมของประเทศเหล่ านี้ ศาสนาฮินดู และ อิสลาม ส่ งอิทธิพลทางวัฒนธรรมต่ อประชากรในเอเซียใต้ มา นานนับหลายร้ อยปี เช่ นเดียวกันที่ศาสนาพุทธแพร่ กระจายเป็ นอย่ างมากในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ 4) แปซิฟิก เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกได้ รับอิทธิพล อย่ างต่ อเนื่องจากวัฒนธรรมของชนพืน้ ถิน่ เดิม แม้ จะได้ รับ ผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้ าง โดยเฉพาะ ฟิ ลิปปิ นส์ และเกือบทุกประเทศในหมู่เกาะโปลินีเซียนับถือ ศาสนาคริสต์ ประเทศอืน่ ๆ เช่ นออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ถูกครอบงำาโดยผู้อพยพทีเ่ ป็ นชนผิวขาวและลูกหลานของ พวกชนเหล่านี้ แต่ ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพืน้ ถิ่นออสเตรเลีย และวัฒนธรรมเมารีในนิวซีแลนด์ กย็ งั ปรากฏให้ เห็นชัดเจน
• วัฒนธรรมพืน้ ถิน่ ออสเตรเลีย มีพนื้ ฐานอยู่บนเรื่องราวของนักต่ อสู้
• วัฒนธรรมเมารี มีวฒั นธรรมเป็ นของ ตนเอง มีจติ ใจเป็ นนักรบ และกล้ าหาร
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่
5) ยุโรป
วัฒนธรรมยุโรปก็เช่ นกันทีไ่ ด้ ส่งอิทธิพลอย่างกว้ างขวาง ออกไปไกลจากผืนทวีปจากการล่ าอาณานิคม ในความหมาย อย่ างกว้ างมักเรียกว่ าเป็ น “วัฒนธรรมตะวันตก" อิทธิพล ดังกล่ าวนีเ้ ห็นได้ ชัดจากการแพร่ หลายของภาษาอังกฤษ และภาษายุโรปบางภาษาแม้ ไม่ มากเท่ า อิทธิพลทาง วัฒนธรรมสำ าคัญทีม่ ตี ่ อยุโรปได้ แก่ วฒ ั นธรรมกรีกโบราณ โรมันโบราณและศาสนาคริสต์ แม้ อทิ ธิพลทางศาสนาจะจาง
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ 6) ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ โดยทัว่ ไป ประเทศกลุ่มตะวันออกกลางมีวฒ ั นธรรมสำ าคัญที่ เด่ นชัดอยู่ 3 ได้ แก่ - วัฒนธรรมอารบิก - วัฒนธรรมเปอร์ เซีย - วัฒนธรรมตุรกี ซึ่งต่ างก็มีอทิ ธิพลต่ อกันและกันในระดับต่ างมาตลอดช่ วงเวลา ต่ าง ๆ ทีผ่ ่ านมา ภูมิภาคทั้งหมดเป็ นมุสลิมแต่ กม็ ีคริสเตียนและ ศาสนาของชนกลุ่มน้ อยบางศาสนาแทรกอยู่บ้าง
วัฒนธรรมทางการท่ องเทีย่ วของแต่ ละพืน้ ที่ 6) ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ วัฒนธรรมอารบิกได้ รับอิทธิพลทีล่ กึ มากจากวัฒนธรรมเปอร์ เซียและตุรกี ผ่ านทางศาสนาอิสลาม ระบบการเขียน ศิลปะ สถาปัตยกรรม วรรณคดีและ อืน่ ๆ ระยะทางทีใ่ กล้ของอิหร่ านส่ งอิทธิพลต่ อภูมภิ าคทีอ่ ยู่ใกล้ Ex. อิรัก และ ตุรกี การสื บย้อนทางภาษาพบได้ ในสำ าเนียงอาหรับใน ภาษาอิรักและภาษา คูเวต รวมทั้งในภาษาตุรกี การครอบครองตะวันออกกลาง ทีน่ านถึง 500 ปี ของพวกอ๊อดโดมานมีอทิ ธิพลทีร่ ุ นแรงมากต่ อวัฒนธรรม อาหรับ ซึ่งอาจแผ่ ไปไกลถึงอัลจีเรียและจะพบอิทธิพลระดับสู งทีอ่ ยี ปิ ต์ อิรัก และลิแวนด์ (Levant) ในแถบตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการสื่ อสาร
มนุษย์ รวมตัวกันอยู่เป็ นกลุ่ม ตามวิถชี ีวติ ความเชื่อ ภาษาทีใ่ ช้ ในการสื่ อสาร
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการสื่ อสาร มนุษย์ อาศัยอยู่บนโลก
ในลักษณะกลุ่มชนเผ่ าต่ าง ๆ
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการสื่ อสาร เมือ่ บุคคลออกจากวัฒนธรรมเดิมๆของตนก้ าวหา วัฒนธรรมใหม่ อาจเกิดปัญหาความตระหนกทางวัฒนธรรม และผ่ านขั้นตอนต่ างๆของการปรับตัวมากน้ อยต่ างกัน Enculturation – การซึมซับ เรียนรู้วฒ ั นธรรมตนเอง Deculturation – การละทิง้ สิ่ งทีเ่ คยเรียนรู้ มาจากวัฒนธรรมเก่ า ของตน Acculturation – การเรียนรู้การปรับตัวเพือ่ เข้ าสู่ วฒ ั นธรรมใหม่
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการสื่ อสาร ขั้นตอนการปรับตัวทางวัฒนธรรม 1) ขั้นตืน่ ตาตืน่ ใจ 2) ขั้นเทียบเคียง 3) ขั้นการมีส่วนร่ วมกับวัฒนธรรมใหม่ การ ปรับตัวเข้ ากับวัฒนธรรมใหม่
กิจกรรม
1) ให้ นักศึกษาอ่านข้ อมูล เรื่อง “เข้ าใจ วัฒนธรรมต่ างชาติ.....เพือ่ การ ปฏิสัมพันธ์ ทรี่ าบรื่น” ของ ดร.นลินี ทวีสิน 2) ให้ นักศึกษาวิเคราะห์ ความแตกต่ างทาง วัฒนธรรมจากการสื่ อสารในรู ปแบบต่ าง ๆ ว่ ามีผลต่ อดำาเนินชีวติ อย่างไรบ้ าง ?
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม
ความเชื่อ
ค่ านิยม
- ลักษณะทางวัฒนธรรม - สภาพแวดล้อมทางกายภาพ - การพัฒนาเศรษฐกิจ - วิทยาการและเทคโนโลยีทแี่ ตกต่ างกัน
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม สาเหตุความแตกต่ างทางสั งคมและวัฒนธรรม
1. ความแตกต่ างทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ และศาสนา ย่ อมมีวถิ กี ารดำาเนินชีวติ ในแต่ ละสั งคมที่ แตกต่ างกัน เช่ น การแต่ งกาย การกินอยู่ พิธีกรรม จึงมีลกั ษณะทีแ่ ตก ต่ างกันอย่ างเห็นได้ ชัด 2. ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศ และภูมิอากาศ ย่ อมทำาให้ มีวฒ ั นธรรมทีแ่ ตกต่ างกัน ไป เช่ น คนทีอ่ าศัยอยู่ในทีร่ าบลุ่มจะมีลกั ษณะการกินอยู่ ประเพณี ความเชื่อ และค่ านิยมทีแ่ ตกต่ างกันไปจากคนทีอ่ าศัยอยู่ในเขต ทีร่ าบสู งหรือเขตทะเลทราย
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม สาเหตุความแตกต่ างทางสั งคมและวัฒนธรรม
3. รู ปแบบทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ลักษณะงาน และการ ทำางาน จะทำาให้ มคี วามเชื่อและค่ านิยมทีแ่ ตกต่ างกันออกไป ดังเช่ นคนทีม่ คี วามคิดแบบตะวันตก นิยมใช้ เทคโนโลยีจะ แตกต่ างกันกับการดำารงชีวติ แบบเกษตรกรรมหรือพึง่ พา ธรรมชาติ
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม ความเชื่อในสั งคมไทย
สั งคมไทยมีพนื้ ฐานมาจากพระพุทธศาสนา และความ เชื่อพืน้ บ้ าน ได้ แก่ - ความเชื่อเกีย่ วกับธรรมชาติ - ความเชื่อเรื่องการเกิด การตาย - ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ - ความเชื่อเรื่องพิธีกรรม - ความเชื่อเรื่องอาชีพ
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม ศาสนาพุทธ เป็ นวัฒนธรรมส่ วนใหญ่ ของคนไทย ลาว พม่ า เวียดนาม ศาสนาอิสลาม เป็ นวัฒนธรรมส่ วนใหญ่ ของคนของคนมาเลเซีย อินโดนีเซีย บูรไน ศาสนาคริสต์ เป็ นวัฒนธรรมส่ วนใหญ่ ของคนฟิ ลิปินส์ ซึ่งหากแบ่ ง ตามสถิตจิ ะได้ ดงั นี้
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม • บรู ไน: อิสลาม (67%) พุทธมหายาน (13%) คริสต์ (10%) ภูตผี และอืน่ ๆ (10%) • กัมพูชา: พุทธหินยาน (93%) ภูตผี และอืน่ ๆ (7%) • ติมอร์ ตะวันออก: คริสตศาสนา (95%) • อินโดนีเซีย: อิสลาม (81%) คริสต์ พุทธ ฮินดู และอืน่ ๆ
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม • ลาว: พุทธหินยาน (60%) Animism และอืน่ ๆ (40%) • มาเลเซีย: อิสลาม (61%) พุทธมหายาน (20%) คริสต์ ฮินดู และ อืน่ ๆ • พม่ า: พุทธหินยาน (89%) อิสลาม (4%) คริสต์ (4%)
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในสั งคม
• ฟิ ลิปปิ นส์ : คริสต์ (92%) อิสลาม (5%) พุทธ และอืน่ ๆ (3%) • สิ งคโปร์ : ศาสนาตามประเทศจีน (พุทธมหายาน เต๋ า และ ขงจือ๊ ) (51%) อิสลาม (15%) คริสต์ (14%) ฮินดู (4%) อืน่ ๆ (16%) • ไทย: พุทธหินยาน (95%) อิสลาม (3%) ฮินดู คริสต์ และ ฮินดู
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการให้ บริการ 1) ความแตกต่ างระหว่ างความเป็ นปัจเจกนิยม/คติรวม หมู่กบั คุณภาพการบริการ
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการให้ บริการ นักท่ องเทีย่ วทีม่ าจากวัฒนธรรมแบบปัจเจกนิยม ความคาดหวังหรือความต้ องการบริการทีม่ ีประสิ ทธิภาพสู ง ความคาดหวังต่ อการรับประกันการบริการจากผู้จัดบริการ (service providers) สู ง
หลีกเลีย่ งการปฏิสัมพันธ์ หรือสนิทสนมกับบุคคลอืน่ ๆ
คิม ฮยอนจุง
คริสเตียโน่ โรนัลโด้
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการให้ บริการ 2) ความแตกต่ างระหว่ างความเป็ นปัจเจกนิยม/คติรวมหมู่กบั การค้ นหาข้ อมูลการเดินทาง
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการให้ บริการ นักเดินทางประเภทนัก ธุรกิจจากประเทศทีอ่ ยู่ใน สั งคมแบบคติรวมหมู่ ระดับสู ง เช่ น ญีป่ ุ่ น และ เกาหลี จะไว้ วางใจบริษัท นำาเทีย่ ว สำ านักงานการท่ อง เทีย่ ว คู่มือนักเดินทาง รวม ทั้งคำาแนะนำาจากเพือ่ นและ คนใกล้ชิด
นักเดินทางประเภทนัก ธุรกิจจากประเทศทีเ่ ป็ นปัจเจก นิยม เช่ น ออสเตรเลีย จะชอบ การค้ นหาข้ อมูลโดยตรงจาก แหล่ง เช่ น สายการบิน หรือ สำ านักงานการท่ องเทีย่ วในเมือง ทีเ่ ป็ นจุดหมายปลายทาง
ความแตกต่ างทางวัฒนธรรมในการให้ บริการ นักท่ องเทีย่ วชาวญีป่ ุ่ น (สั งคมคติรวมหมู่)
ชาวออสเตรเลีย (สั งคมปัจเจกนิยม)
เมือ่ มีเวลาว่ างพวกเขาจะมีวธิ ีการและกลยุทธ์ ในการค้ นหาข้ อมูล สำ าหรับเดินทางท่ องเทีย่ วในรูปแบบทีแ่ ตกต่ างกัน ผลการวิจัยของ (Chen, 2000)
Q&A
คำาถามท้ ายบทที่ 4
1) การเปลีย่ นแปลงของยุคสมัยก่ อให้ เกิดการ เปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมอย่ างไรบ้ าง ? ยก ตัวอย่ างประกอบ 2) รากฐานในการแบ่ งกลุ่มมนุษย์ ของนักมานุษยวิทยา มีผลต่ อการศึกษาพฤติกรรมอย่ างไรบ้ าง ? ยก ตัวอย่ างประกอบ 3) อะไรคือสาเหตุความแตกต่ างทางสั งคมและ